You are on page 1of 41

รายงาน

เรื่อง เทคโนโลยีการศึกษา

เสนอ

อาจารย์สุจติ ตรา จันทร์ลอย

โดย

นายภูมิพฒ
ั น์ แป้งใส เลขที่ 4
นางสาวกิ่งกาญจน์ พันมะวงค์ เลขที่ 8
นางสาวสุณี เทิดสกุลธรรม เลขที่ 25
นางสาวสุวรรณา บุญแก้ว เลขที่ 28
นางสาวชุลีพร มากเมือง เลขที่ 35

นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครู รุน่ ที่ 13 หมู่เรียนที่ 1


รายงานฉบับนี้ เป็ นส่วนหนึ่งของวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎหมู่บา้ นจอมบึง อำาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี

คำำนำำ

รายงานฉบับนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของ วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยมีจุดประสงค์ เพื่อการศึกษาความรู ้ที่


ได้จากเรื่ องเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู ้ ความหมาย , ประวัติ , พัฒนาการของ
เทคโนโลยีการศึกษาในยุคต่าง ๆ , พัฒนาการเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย , ความสำาคัญ และขอบข่าย
ของเทคโนโลยีการศึกษา ผูจ้ ดั ทำาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทำารายงาน เนื่องมาจากเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ ผูจ้ ดั ทำาหวังว่า
รายงานฉบับนี้จะให้ความรู ้ และเป็ นประโยชน์แก่ผอู ้ า่ นทุก ๆ ท่าน

นายภูมิพฒั น์ แป้ งใส และ คณะ


สำรบัญ
คำำนำำ ก
สำรบัญ ข
เทคโนโลยีกำรศึกษำ
ควำมหมำยเทคโนโลยีกำรศึกษำ 1
ประวัตขิ องเทคโนโลยีกำรศึกษำ 5
พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำในยุคต่ ำง ๆ 8
พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำ ค.ศ.1700-1900 10
( พ.ศ.2243-พ.ศ.2443 ) ก่ อนปี ค.ศ.1800
พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำ ค.ศ.1900-ปัจจุบัน 14
( พ.ศ.2443-ปัจจุบัน )
พัฒนำกำรเทคโนโลยีกำรศึกษำในประเทศไทย 18
นักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำของไทย 20
สภำพปัจจุบันของเทคโนโลยีกำรศึกษำในประเทศไทย 21
เทคโนโลยีสำรสนเทศเพือ่ กำรศึกษำ 23
นโยบำยทีเ่ กีย่ วข้ องกับเทคโนโลยีสำรสนเทศของประเทศไทย 24
ควำมสำ ำคัญของเทคโนโลยีกำรศึกษำ 26
เทคโนโลยีและสื่ อสำรเพือ่ กำรศึกษำ 31
ขอบข่ ำยของเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ 32
เอกสำรอ้ ำงอิง 38
1

เทคโนโลยีกำรศึกษำ
เทคโนโลยีกำรศึกษำ
คำำ ว่ำ "เทคโนโลยี”(Technology) มำจำกรำกศัพท์ "Technic" หรื อ "Techno" ซึ่ งมีควำมหมำยว่ำ วิธีกำร
หรื อกำรจัดแจงอย่ำงเป็ นระบบ รวมกับ "logy" ซึ่ งแปลว่ำ “ศำสตร์ ” หรื อ “วิทยำกำร” ดังนั้น คำำว่ำ "เทคโนโลยี"
ตำมรำกศัพท์จึงหมำยถึง ศำสตร์ วำ่ ด้วยวิธีกำรหรื อศำสตร์ ที่ว่ำด้วยกำรจัดกำร หรื อกำรจัดแจงสิ่งต่ำง ๆ เข้ำด้วยกัน
อย่ำงเป็ นระบบ เพื่อให้เกิดระบบใหม่และเป็ นระบบที่สำมำรถนำำไปใช้ตำมวัตถุประสงค์หรื อเจตนำรมณ์ที่ต้ งั ใจไว้
ได้ ซึ่ งก็มีควำมหมำยตรงกับควำมหมำยที่ปรำกฏในพจนำนุ กรม คือ วิทยำศำสตร์ ประยุกต์ ดังนั้น เทคโนโลยีกำร
ศึกษำจึงเป็ นกำรจัดแจงหรื อกำรประยุกต์หลักกำรทำงวิทยำศำสตร์ กำยภำพมำใช้ในกระบวนกำรของกำรศึกษำ ซึ่ ง
เป็ นพฤติ ก รรมศำสตร์ โครงสร้ ำ งมโนมติ ข องเทคโนโลยี ก ำรศึ ก ษำจึ ง ต้อ งประกอบด้ ว ย มโนมติ ท ำง
วิทยำศำสตร์ กำยภำพ มโนมติทำงพฤติกรรมศำสตร์ โดยกำรประสมประสำนของมโนมติอื่นที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่ำง
เช่ น กำรประยุกต์หลักกำรทำงวิ ทยำศำสตร์ กำยภำพทำงวิ ศวกรรมและทำงเคมี ไ ด้เ ครื่ อ งพิ ม พ์แ ละหมึ ก พิ ม พ์
สำมำรถผลิตหนังสื อตำำรำต่ำงๆ ได้ และจำกกำรประยุกต์หลักพฤติกรรมศำสตร์ ทำงจิตวิทยำ จิตวิทยำกำรเรี ยนรู ้
ทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้และหลักควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล ทำำให้ได้เนื้อหำในลักษณะเป็ นโปรแกรมขั้น ย่อย ๆ จำก
ง่ำยไปหำยำก เมื่อรวมกันระหว่ำงวิทยำศำสตร์ กำยภำพและพฤติกรรมศำสตร์ ในตัวอย่ำงนี้ ทำำให้เกิดผลิตผลทำง
เ ท ค โ น โ ล ยี ก ำ ร ศึ ก ษ ำ ขึ้ น คื อ "ตำำ ร ำ เ รี ย น แ บ บ โ ป ร แ ก ร ม "
อีกตัวอย่ำงหนึ่งกำรประยุกต์วิทยำศำสตร์ กำยภำพเกี่ยวกับแสง เสี ยงและอิเล็กทรอนิกส์บนพื้นฐำนทำง
คณิ ตศำสตร์ ใช้ระบบเลขฐำนสองทำำให้ได้เครื่ องคอมพิวเตอร์ เมื่อประสมประสำนกับผลกำรประยุกต์ทำง
พฤติกรรมศำสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยำกำรเรี ยนรู ้ ทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ หลักควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
หลักกำรวิเครำะห์งำน และทฤษฎีสื่อกำรเรี ยนกำรสอนแล้วทำำให้ได้ผลผลิตทำงเทคโนโลยีกำรศึกษำ คือ
คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI)
จำกข้อพิจำรณำดังกล่ำวข้ำงต้นจะเห็นได้วำ่ ควำมหมำยของเทคโนโลยีกำรศึกษำมีสองลักษณะที่เน้นหนักแตกต่ำง
กัน คือ
1. เทคโนโลยีกำรศึกษำ หมำยถึง กำรประยุกต์หลักกำรวิทยำศำสตร์ กำยภำพและวิศวกรรมศำสตร์ ให้เป็ น
วัสดุ เครื่ องมือ และอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่สำมำรถนำำมำใช้ในกำรเสนอ แสดง และถ่ำยทอดเนื้อหำทำงกำรศึกษำได้อย่ำง
มีประสิ ทธิ ภำพ ควำมหมำยนี้พฒั นำมำจำกควำมคิดของกลุ่มนักโสต-ทัศนศึกษำ
2. เทคโนโลยีกำรศึกษำมีควำมหมำยโดยตรงตำมควำมหมำยของเทคโนโลยี คือ ศำสตร์ แห่ งวิธีกำร หรื อ
กำรประยุกต์วิทยำศำสตร์ มำใช้ในกำรศึกษำ โดยคำำว่ำ”วิทยำศำสตร์ ”ในที่น้ ีมุ่งเน้นที่วิชำพฤติกรรมศำสตร์ เพรำะ
ถือว่ำพฤติกรรมศำสตร์ เป็ นวิทยำศำสตร์ แขนงหนึ่งเช่นเดียวกับวิชำฟิ สิ กส์ เคมี ชีววิทยำ เป็ นต้น

เทคโนโลยีกำรศึกษำมีควำมสำำคัญและมีควำมจำำเป็ นที่เด่นชัดในปั จจุบนั นี้ คือ กำรนำำเทคโนโลยีและ


นวัตกรรมต่ำง ๆ มำใช้ในกระบวนกำรศึกษำด้วยเหตุผลสำำคัญดังต่อไปนี้
2

1. ควำมเจริ ญอย่ำงรวดเร็ วทำงด้ำนวิชำกำรต่ำงๆ ของโลก โดยเฉพำะระยะหลังสงครำมโลกครั้งที่สอง


เป็ นต้นมำ วิทยำกำร หม่ ๆ และสิ่งประดิษฐ์ต่ำง ๆ ได้ถูกค้นคิดประดิษฐ์ข้ นึ มำใช้ในสังคมมำกมำยเป็ นทวีคูณ ซึ่งมี
ผลโดยตรงต่อกำรเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทำงด้ำนหลักสูตรกำรเรี ยนกำรสอนของสถำนศึกษำ และส่ งผลเป็ น
ลูกโซ่ต่อไปถึงปั ญหำกำรเรี ยนกำรสอน กำรเลือกโปรแกรมและกำรทำำควำมเข้ำใจกับเนื้อหำสำระใหม่ๆ
ของนักเรี ยน ควำมรุ นแรงและควำมสลับซับซ้อนของปั ญหำเหล่ำนี้มีมำกขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ปริ มำณเนื้อหำวิชำกำร
ใหม่ ๆ มีมำกมำยเกินควำมสำมำรถของผูเ้ กี่ยวข้อง จะเลือกบันทึกจดจำำและนำำเสนอในลักษณะเดิมได้ จึงมีควำม
จำำเป็ นต้องใช้เครื่ องมือทำงเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมำะสมกับสถำนกำรณ์เข้ำมำช่วย เช่น กำรเสนอข้อมูล
ทำงวิชำกำรโดยเทปบันทึกเสี ยง เทปบันทึกภำพ ไมโครฟอร์ ม และแผ่นเลเซอร์ กำรแนะแนวกำรเรี ยนโดยระบบ
คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
2. กำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงรวดเร็ วของสังคม ซึ่งเป็ นผลกระทบมำจำกพัฒนำกำรทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ และ
เทคโนโลยีดงั กล่ำวมำแล้ว มีผลกระทบโดยตรงต่อกำรดำำรงชีวิต กำรปรับตัว และพัฒนำกำรของนักเรี ยน กำร
แนะแนวส่ วนตัวและสังคมแก่นกั เรี ยน จำำเป็ นต้องใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมำะสมกับสถำนกำรณ์น้ นั ๆ
จึงจะสำมำรถให้บริ กำรครอบคลุมถึงปั ญหำต่ำง ๆ ได้
3 ลักษณะสังคมสำรสนเทศหรื อสังคมข้อมูลข่ำวสำร ซึ่งเป็ นผลมำจำกพัฒนำกำรทำงด้ำนอิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีโทรคมนำคม ทำำให้ข่ำวสำรทุกรู ปแบบ คือ เสี ยง ภำพนิ่ง ภำพเคลื่อนไหว กรำฟฟิ ก
และข้อมูลคอมพิวเตอร์ สำมำรถถ่ำยทอดและส่ งถึงกันได้อย่ำงรวดเร็ วทุกมุมโลก สังคมในปั จจุบนั และอนำคตจะ
เป็ นสังคมที่ท่วมท้นด้วยกระแสข้อมูลและข่ำวสำร
ข้อมูลและข่ำวสำรจำำนวนมหำศำลจะอยูท่ ี่ควำมต้องกำรของผูใ้ ช้อย่ำงง่ำยดำยมำก ควำมจำำเป็ นที่สถำนศึกษำจะ
ต้องเป็ นแหล่งให้ขอ้ มูลข่ำวสำรจะหมดควำมสำำคัญลง กำรแนะแนวในสถำนศึกษำจะต้องเปลี่ยนบทบำทจำกกำร
ทำำตัวเป็ นแหล่งให้ขอ้ มูลมำเป็ นกำรแนะแหล่งข้อมูล แนะนำำกำรเลือกและกำรใช้ขอ้ มูลในกำรแก้ปัญหำและกำร
คิดสร้ำงสรรค์ ซึ่งบทบำทอย่ำงนี้จะทำำให้สำำ เร็ จได้ยำกหำกไม่สำมำรถใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมเชื่อมต่อกับ
ระบบสำรสนเทศในปั จจุบนั
มีผ้ ใู ห้ คำำ นิยำมของคำำว่ ำ เทคโนโลยีกำรศึกษำ (Educational Technology) ไว้ ดังนี้
วิจิตร ศรี สอ้ำน (วิจิตร ,2517)ให้ควำมหมำยว่ำ เทคโนโลยีกำรศึกษำเป็ นกำรประยุกต์เอำเทคนิควิธีกำร แนว
ควำมคิด อุปกรณ์และเครื่ องมือใหม่ๆ มำใช้เพื่อช่วยแก้ปัญหำทำงกำรศึกษำทั้งในด้ำนกำรขยำยงำนและด้ำนกำร
ปรับปรุ งคุณภำพของกำรเรี ยนกำรสอน
นอกจำกนั้น สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่ งชำติ (สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่ งชำติ,2546)
ยังได้สรุ ปเพื่อควำมเข้ำใจที่ชดั เจนว่ำ "เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ" มีควำมหมำยครอบคลุมกำรผลิต กำรใช้ และกำร
พัฒนำสื่ อสำรมวลชน(อันได้แก่ สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุกระจำยเสี ยง วิทยุโทรทัศน์) เทคโนโลยีสำรสนเทศ(คอมพิวเตอร์
อินเทอร์ เน็ต มัลติมีเดีย) และโทรคมนำคม (โทรศัพท์ เครื อข่ำยโทรคมนำคมและกำรสื่ อสำรอื่นๆ) เพื่อให้เกิด
กระบวนกำรเรี ยนรู ้ได้ตำมควำมต้องกำรของผูเ้ รี ยนในทุกเวลำและทุกสถำนที่
3

ทบวงมหำวิทยำลัย (ทบวงมหำวิทยำลัย,2546) นิยำมว่ำ "เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ" เป็ นเครื่ องมือในกำร


พัฒนำกำรศึกษำ โดยกำรนำำสื่ อสำรมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ โทรคมนำคม และกำรจัดแหล่งทรัพยำกรกำร
เรี ยนรู ้ มำใช้เพื่อจัดให้กำรศึกษำที่สำมำรถผสมผสำนระหว่ำงกำรศึกษำในระบบกำรศึกษำนอกระบบและกำร
ศึกษำตำมอัธยำศัย เอื้ออำำนวยให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถศึกษำค้นคว้ำได้ตำมควำมต้องกำร เพื่อให้กำรเรี ยนรู ้และกำรพัฒนำ
คุณภำพชีวิตเกิดขึ้นได้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิตทั้งด้ำนกำรศึกษำสำระควำมรู ้ทำงวิชำกำร ทำงศำสนำ และศิลปะ
วัฒนธรรม สื่ อเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำตำมควำมหมำยของทบวงมหำวิทยำลัยนั้น ครอบคลุมสื่ อวิทยุกระจำยเสี ยง
สื่ อวิทยุโทรทัศน์ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อโสตทัศน์ เครื อข่ำยคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์ เน็ตโทรสำร โทรศัพท์ และ
โทรคมนำคมอื่นรวมทั้งแหล่งกำรเรี ยนรู ้ทว่ั ไป โดยมุ่งเน้นที่จะส่ งเสริ มให้เกิดกำรเรี ยนรู ้ และกำรพัฒนำทรัพยำกร
มนุษย์ได้เต็มตำมศักยภำพ ปรำศจำกข้อจำำกัดด้ำนโอกำส ถิน่ ที่อยู่ ฐำนะทำงเศรษฐกิจและสังคม
"เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ" ตำมควำมหมำยของร่ ำงพระรำชบัญญัติจดั ตั้งสถำบันเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ
แห่ งชำติ หมำยถึง กำรนำำสื่ อตัวนำำ คลื่นควำมถี่ และโครงสร้ำงพื้นฐำนอื่นๆ ที่จำำ เป็ นต่อกำรแพร่ เสี ยง ภำพ และ
กำรสื่ อสำรในรู ปแบบอื่น ๆ เพื่อใช้ประโยชน์ท้ งั กำรศึกษำในระบบกำรศึกษำนอกระบบ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย
กำรทำำนุบำำ รุ งศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อให้กำรจัดกำรศึกษำเป็ นกระบวนกำรเรี ยนรู ้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต
โดยครอบคลุมสื่ อสำรมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ โทรคมนำคม สื่ อโสตทัศน์ แบบเรี ยน ตำำรำ หนังสื อทำง
วิชำกำรและแหล่งกำรเรี ยนรู ้หรื อเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำอื่นตำมที่คณะกรรมกำรสถำบันเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ
แห่ งชำติกำำ หนด
Carter V. Good(good,1973) กล่ำวว่ำ เทคโนโลยีกำรศึกษำหมำยถึง กำรนำำหลักกำรทำงวิทยำศำสตร์ มำ
ประยุกต์ใช้เพื่อกำรออกแบบและส่ งเสริ มระบบกำรเรี ยนกำรสอน โดนเน้นที่วตั ถุประสงค์ทำงกำรศึกษำที่สำมำรถ
วัดได้อย่ำงถูกต้องแน่นอน มีกำรยึดหลักผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลำงกำรเรี ยนมำกกว่ำยึดเนื้อหำวิชำมีกำรใช้กำรศึกษำเชิง
ปฏิบตั ิโดยผ่ำนกำรวิเครำะห์และกำรใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิคกำรสอนโดยใช้อุปกรณ์ต่ำงๆ เช่น เครื่ อง
คอมพิวเตอร์ สื่ อกำรสอนต่ำงๆ ในลักษณะของสื่ อประสมและกำรศึกษำด้วยตนเอง
Gagne' และ Briggs (gagne',1974)ให้ควำมหมำยว่ำ เทคโนโลยีกำรศึกษำนั้น พัฒนำมำจำกกำรออกแบบกำรเรี ยน
กำรสอนในรู ปแบบต่ำงๆ โดยรวมถึง
1. ควำมสนใจในเรื่ องควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคลในเรื่ องของกำรเรี ยนรู ้ เช่น บทเรี ยน แบบโปรแกรม และ บท
เรี ยนกำรสอนใช้คอมพิวเตอร์ ช่วย เป็ นต้น
2. ด้ำนพฤติกรรมศำสตร์ และทฤษฏีกำรเรี ยนรู ้ เช่น ทฤษฏีกำรเสริ มแรงของ B.F. Skinner
3. เทคโนโลยีดำ้ นวิทยำศำสตร์ กำยภำพ เช่น โสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่ำงๆ รวมถึงสื่ อสิ่งพิมพ์ดว้ ย
Heinich,Molenda และ Russel(Heinich,1989) เสนอว่ำ เทคโนโลยีกำรศึกษำคือกำรใช้ควำมรู ้ทำง
วิทยำศำสตร์ เกี่ยวกับกำรเรี ยนรู ้ของมนุษย์ให้ปฏิบตั ิได้ในรู ปแบบของกำรเรี ยนและกำรสอนอีกนัยหนึ่งก็คือ กำรใช้
ควำมรู ้ทำงวิทยำศำสตร์ (ทั้งด้ำนยุทธวิธี Tactic และด้ำนเทคนิค) เพื่อแก้ปัญหำทำงกำรสอนซึ่งก็คือควำมพยำยำม
4

สร้ำงกำรสอนให้มีประสิ ทธิ ภำพมำกขึ้น โดยกำรออกแบบ ดำำเนินกำรและประเมินผลกำรเรี ยนกำรสอนอย่ำงเป็ น


ระบบ บนพื้นฐำนของกำรศึกษำวิจยั ในกำรเรี ยนและกำรสื่ อสำร
กิดำนันท์ มลิทอง(2545) ปั จจุบนั นี้สมำคมเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำและกำรสื่ อสำรได้ให้ควำมหมำยว่ำ
เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ เป็ นทฤษฏีและกำรปฏิบตั ิของกำรออกแบบ กำรพัฒนำกำรใช้ กำรจัดกำร และกำร
ประเมิน ของกระบวนกำรและทรัพยำกรสำำหรับกำรเรี ยนรู ้ดงั ภำพต่อไปนี้

แผนภูมิแนวคิดของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
แนวคิดของเทคโนโลยีกำรศึกษำจึงประกอบด้วยส่ วนสำำคัญ 5 กลุ่ม คือ กำรออกแบบ(design) กำรพัฒนำ
(Development) กำรใช้(utilization)กำรจัดกำร (management)และกำรประเมิน(evaluation)ซึ่งแต่ละกลุ่มจะโยงเข้ำ
สู่ศนู ย์กลำงของทฤษฏีและปฏิบตั ิดงั นั้นเทคโนโลยีกำรศึกษำจึงเป็ นผสมผสำนกันระหว่ำงควำมรู ้ดำ้ นวิทยำศำสตร์
และสังคมศำสตร์ เป็ นกำรประยุกต์เอำแนวคิดควำมคิด เทคนิค วิธีกำร วัสดุอุปกรณ์ และสิ่งต่ำงๆ อันสื บเนื่องมำ
จำกเทคโนโลยีมำใช้ในวงกำรศึกษำนั้นเอง
เห็นได้ชดั เจนว่ำ "เทคโนโลยีกำรศึกษำ" ครอบคลุมควำมหมำยกว้ำงขวำง ซึ่งในภำษำสำกลนั้น คำำว่ำ
Educational Technology มีควำมหมำยรวมถึงเทคโนโลยีกำรสอน(Instructional Technology) เทคโนโลยีกำรเรี ยน
รู ้ (Learning Technology) สื่ อกำรศึกษำ (Educational Media) และคำำอื่นๆ ที่มีควำมหมำยอย่ำงเดียวกันเข้ำไว้ดว้ ย
แต่คำำ ว่ำ Educational Technology) และ Instructional Technology ดูจะได้รับกำรยอมรับมำกที่สุด โดยมักจะถูกใช้
ในควำมหมำยอย่ำงเดียว
5

ประวัติและพัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
1. ประวัตขิ องเทคโนโลยีกำรศึกษำ
เทคโนโลยีได้ถูกนำำมำใช้ทำงกำรศึกษำนับตั้งแต่สมัยก่อนคริ สตกำล มีกำรกล่ำวถึงนักเทคโนโลยีทำงกำร
ศึกษำพวกแรก คือกลุ่มโซฟิ สต์ (The Elder sophist) ที่ใช้วธิ ี กำรสอนกำรเขียน เช่น กำรใช้มือวำด กำรเขียนสลักลง
บนไม้ ส่ วนกำรใช้ชอล์คเขียนบนกระดำนดำำได้เริ่ มขึ้นในทศวรรษที่ 1800 สำำหรับกำรใช้เทคโนโลยีทำงสื่ อโสต
ทัศน์(audio visual) นั้น สำมำรถนับย้อนหลังไปได้ถึงต้นทศวรรษที่ 1900 ในขณะที่โรงเรี ยนและพิพิธภัณฑ์
หลำยๆ แห่ งเริ่ มมีกำรจัดสภำพห้องเรี ยนและกำรใช้สื่อกำรสอนประเภทต่ำงๆ เช่น ใช้สื่อกำรสอนประเภทต่ำงๆ
เช่น ใช้สื่อภำพ ภำพวำด ภำพระบำยสี สไลด์ ฟิ ล์ม วัตถุ และแบบจำำลองต่ำงๆ และแบบจำำลองต่ำงๆ เพื่อเสริ มกำร
บอกเล่ำทำงคำำพูด
ต่อ Thomas A. Edison ได้ผลิตเครื่ องฉำยภำพยนตร์ ข้ นึ ในปี ค.ศ. 1913 เขำได้เล็งเห็นประโยชน์ของ
ภำพยนตร์ ในกำรเรี ยนกำรสอนเป็ นอย่ำงมำก จนถึงขั้นเขียนไว้เป็ นหลักฐำนว่ำ "ต่อไปนี้ หนังสื อจะกลำยเป็ นสิ่ งที่
หมดสมัยในโรงเรี ยน เพรำะเรำสำมำรถใช้ภำพยนตร์ ในกำรสอนควำมรู ้ทุกสำขำได้ ระบบโรงเรี ยนจะต้อง
เปลี่ยนแปลงโดยสิ้ นเชิงภำยในสิ บปี ข้ำงหน้ำ" แต่ปัจจุบนั แม้มีเทคโนโลยีสมัยใหม่กย็ งั ไม่สำมำรถล้มล้ำง
เทคโนโลยีด้ งั เดิมเช่น กำรใช้หนังสื อในกำรเรี ยนกำรสอนได้
ในช่วงทศวรรษที่ 1920 - 1930 เริ่ มมีกำรใช้เครื่ องฉำยภำพแบบข้ำมศีรษะ (overhead projector) เครื่ อง
บันทึกเสี ยง วิทยุกระจำยเสี ยง และภำพยนตร์ เข้ำมำเสริ มกำรเรี ยนกำรสอนวิทยุกระจำยเสี ยงจึงเป็ นสื่ อใหม่ที่ได้รับ
ควำมนิยม สำำหรับกิจกำรกระจำยเสี ยงในประเทศสหรัฐอเมริ กำนั้นได้เริ่ มขึ้นตั้งแต่รำวปี ค.ศ.1921 กำรเริ่ มขอ
อนุญำตประกอบกิจกำรกระจำยเสี ยงในยุคแรก ๆ มีวตั ถุประสงค์เพื่อกำรศึกษำ และเริ่ มมีกำรใช้วิทยุกระจำยเสี ยง
เพื่อกำรสอนทำงไกลช่วงทศวรรษที่ 1930 แต่ต่อมำระบบธุรกิจเข้ำครอบงำำมำกขึ้นจนวิทยุเพื่อกำรศึกษำใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กำอยูใ่ นสภำวะที่ตกต่ำลงำ
ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็ นปรำกฏกำรณ์ใหม่ในสังคมตะวันตกซึ่งสำมำรถใช้เป็ นสื่ อเพื่อ
กำรศึกษำได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ วิทยุโทรทัศน์จึงมีบทบำทสำำคัญและกลำยเป็ นเทคโนโลยีแถวหน้ำของสังคมนับ
แต่บดั นั้น นักวิชำกำรบำงท่ำนถือว่ำช่วงระหว่ำงทศวรรษที่ 1950 ถึง 1960 นี้ เป็ นกำรเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ใน
แวดวงเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำเนื่องจำกกำรก่อกำำเนิดของวิทยุโทรทัศน์ และยังได้มีกำรนำำเอำทฤษฎีทำงด้ำน
สื่ อสำรมวลชนและทฤษฎีระบบเข้ำมำใช้ในวงกำรเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำอีกด้วย ดังนั้น ในช่วงต้นทศวรรษที่
1950 จึงมีกำรใช้คำำ ว่ำ "กำรสื่ อสำรทำงภำพและเสี ยง" หรื อ "audio-visual communications" แทนคำำว่ำ "กำรสอน
ทำงภำพและเสี ยง" หรื อ "audio-visual instruction" ซึ่งย่อมเป็ นเครื่ องชี้ชดั ประกำรหนึ่งว่ำ เทคโนโลยีกำรสื่ อสำร
นั้น คือเครื่ องมือสำำคัญในกำรถ่ำยทอดกำรเรี ยนกำรสอนนัน่ เอง
6

ในทวีปยุโรป วิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำเริ่ มต้นในช่วงต้นทศวรรษที่ 1950 โดย British Broadcasting Corporation


หรื อ BBC ในปี ค.ศ. 1958 ประเทศอิตำลีกร็ ิ เริ่ มบ้ำงโดยมีกำรสอนตรงผ่ำนสื่ อวิทยุโทรทัศน์ผำ่ น Telescuola
(Television School of the Air) ส่ วนประเทศในเครื อคอมมิวนิสต์ได้มีโอกำสรับชมรำยกำรโทรทัศน์
เพื่อกำรศึกษำเป็ นครั้งแรกในปี 1960 นำำโดยประเทศยูโกสลำเวีย ตำมติดด้วยประเทศโปแลนด์ สำำหรับ
ประเทศ โซเวียตนั้น ได้เริ่ มออกอำกำศรำยกำรทัว่ ไปและรำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำเมื่อปี 1962 ในปี 1965
ประเทศอื่นๆ ในยุโรปตะวันออกก็ได้ทำำ กำรออกอำกำศรำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำโดยผ่ำนดำวเทียมกันอย่ำง
แพร่ หลำย
ปี ค.ศ. 1962 ประเทศจีนคอมมิวนิสต์ริเริ่ มทำำกำรสอนในวิชำต่ำงๆ เช่น เคมี ฟิ สิ กส์ในระดับมหำวิทยำลัย
โดยผ่ำนสถำนีวิทยุโทรทัศน์เซี่ยงไฮ้ นอกจำกนั้นสถำนีวิทยุโทรทัศน์อื่น ๆ เช่น ในปั กกิ่ง เทียนสิ น และกวำงตุง้
ต่ำงก็เผยแพร่ รำยกำรมหำวิทยำลัยทำงโทรทัศน์ (Television Universities) เพื่อเป็ นแรงขับเคลื่อนในระดับชำติเพื่อ
กำรศึกษำสำำหรับประชำชน อย่ำงไรก็ตำมประเทศญี่ปุ่นได้รับกำรยกย่องว่ำเป็ นประเทศแรกในโลกทีมีกำรบูรณำ
กำรกำรใช้วิทยุโทรทัศน์เข้ำกับโครงสร้ำงของกำรศึกษำนับตั้งแต่ระดับอนุบำลไปจนถึงมหำวิทยำลัย และยังรวม
ถึงกำรให้กำรศึกษำผูใ้ หญ่ในสำขำวิชำต่ำงๆ อย่ำงกว้ำงขวำงด้วย ก่อนสิ้ นปี 1965 ประเทศญี่ปุ่นมีสถำนีวิทยุ
โทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำออกอำกำศทัว่ ประเทศเป็ นจำำนวนถึง 64 สถำนี
ประเทศในอเมริ กำใต้ เริ่ มดำำเนินกำรวิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำนับตั้งแต่ปลำยทศวรรษที่ 1950 นำำโดย
ประเทศโคลอมเบีย ซึ่งทำำกำรออกอำกำศวิชำต่ำงๆ ในระดับประถมศึกษำอย่ำงเต็มรู ปแบบระหว่ำงชัว่ โมงเรี ยน
ปกติโดยผ่ำนสถำนีวิทยุโทรทัศน์แห่ งชำติ ต่อมำประเทศโคลอมเบียได้รับควำมช่วยเหลือจำกโครงกำรอำสำสมัคร
เพื่อสันติภำพจำกประเทศสหรัฐอเมริ กำ จึงเป็ นผลให้ประเทศโคลอมเบียกลำยเป็ นแบบอย่ำงของวิทยุโทรทัศน์เพื่อ
กำรศึกษำในเวลำต่อมำ
แม้วำ่ กำรเติบโตของวิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำจะเกิดขึ้นทัว่ โลกก็ตำม กำรพัฒนำที่เด่นชัดที่สุดเห็นจะ
ได้แก่ประเทศสหรัฐอเมริ กำ กำรทดลองครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริ กำเกิดขึ้นที่ lowa University ในช่วง
ระหว่ำงปี 1932-1939 โดยมีกำรผลิตรำยกำรในวิชำต่ำงๆ เช่น วิศวกรรมศำสตร์ พฤกษศำสตร์ ศิลปะ กำรละคร
และชวเลข เป็ นต้น มหำวิทยำลัยในประเทศสหรัฐอเมริ กำ 5 แห่ งที่ถูกจัดว่ำเป็ นผูบ้ ุกเบิกในวงกำรวิทยุโทรทัศน์
เพื่อกำรศึกษำของประเทศ ได้แก่ lowa University ที่ lowa City, lowa State University ที่ Ames, Kansas State
University, University of Michigan และ American University กำรเติบโตของวิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำใน
ประเทศสหรัฐอเมริ กำในช่วง ค.ศ. 1953-1967 นับว่ำสูงมำก เพรำะมีสถำนีวิทยุโทรทัศน์ เพื่อกำรศึกษำทัว่ ประเทศ
เป็ นจำำนวนถึง 140 สถำนี เมื่อเปรี ยบเทียบกับจำำนวนประชำกร 140 ล้ำนคนในขณะนั้น มีกำรคำดคะเนว่ำ ในช่วง
เวลำดังกล่ำว รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำสำมำรถเข้ำถึงโรงเรี ยนได้ไม่ตำกว่ ่ ำ ำ 2,000 โรง และเข้ำถึงนักเรี ยน
ระดับประถมศึกษำ มัธยมศึกษำ และอุดมศึกษำ ได้ไม่ตำกว่ ่ ำ ำ 15 ล้ำนคนทีเดียว
เทคโนโลยีกำรศึกษำและกำรสื่ อสำรได้มีกำรเปลี่ยนแปลงและพัฒนำขึ้นอย่ำงมำกในช่วงปลำยทศวรรษที่
1960 เมื่อโลกได้หนั เข้ำมำสู่ยคุ ของคอมพิวเตอร์ ในด้ำนกำรศึกษำนั้น ได้มีกำรใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ในโรงเรี ยน
7

เป็ นครั้งแรกในปี 1977 ที่ประเทศสหรัฐอเมริ กำ เมื่อบริ ษทั APPLE ได้ประดิษฐ์เครื่ อง APPLE II ขึ้น โดยกำรใช้
ในระยะแรกนั้นมีวตั ถุประสงค์หลักเพื่อกำรบริ หำรจัดกำร ต่อมำได้มีกำรพัฒนำโปรแกรมต่ำงๆ เพื่อให้ใช้ได้ง่ำย
และสำมำรถช่วยในกำรเรี ยนกำรสอนได้มำกขึ้น คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นสิ่ งที่ครู และนักเรี ยนคุน้ เคย และมีกำรใช้กนั
อย่ำงแพร่ หลำยจนทุกวันนี้
ยุคของมัลติมีเดียเพื่อกำรศึกษำได้เริ่ มขึ้นในปี 1987 เมื่อบริ ษทั APPLE ได้เผยแพร่ โปรแกรมมัลติมีเดียครั้ง
แรกออกมำ คือโปรแกรม HyperCard แม้วำ่ โปรแกรมนี้จะต้องใช้เครื่ องที่มีกำำ ลังสู ง ต้องใช้เวลำในกำรฝึ กหัดมำก
แต่ผลงที่ได้รับก็น่ำประทับใจ กำรพัฒนำมัลติมีเดียเพื่อกำรศึกษำได้มีกำรดำำเนินไปอย่ำงต่อเนื่อง มีกำรพัฒนำ
โปรแกรม Hyper Studio มำใช้ และได้รับควำมนิยมมำกขึ้นในหลำยๆ โรงเรี ยน อย่ำงไรก็ตำม เพียงภำยในสองปี
มัลติมีเดียเพื่อกำรศึกษำก็ถูกแทนที่โดยสิ่งที่น่ำตื่นเต้นมำกกว่ำ นัน่ ก็คือ อินเทอร์ เน็ต (Internet) นัน่ เอง
ปั จจุบนั นี้ อินเทอร์ เน็ตมีอตั รำกำรเติบโตอย่ำงรวดเร็ ว The Department of Commerce's Census Bureau ของ
ประเทศสหรัฐอเมริ กำ ได้ทำำ กำรสำำรวจในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2544 พบว่ำในช่วงไม่กี่ปีที่ผำ่ นมำ จำำนวนคน
อเมริ กนั ที่ใช้อินเทอร์ เน็ตมีจำำ นวนเพิ่มขึ้นถึงเดือนละสองล้ำนคน ซึ่งทำำให้ตวั เลขประชำกรที่ออนไลน์มีจำำ นวน
กว่ำครึ่ งหนึ่งของประเทศสหรัฐอเมริ กำผลกำรสำำรวจรำยงำนว่ำ ปั จจุบนั นี้ คนอเมริ กนั ที่ใช้คอมพิวเตอร์ มีจำำ นวน
ถึง 174 ล้ำนคน (หรื อร้อยละ 66 ของจำำนวนประชำกรทั้งประเทศ) และมีชำวอเมริ กนั ใช้อินเทอร์ เน็ตทั้งสิ้ น
ประมำณ 143 ล้ำนคน (รำว ๆ ร้อยละ 54 ของประชำกร) ส่ วนในประเทศไทยนั้นบริ ษทั ACNielsen ซึ่งเป็ นบริ ษทั
วิจยั กำรตลำดระดับนำนำชำติ ได้ทำำ กำรสำำรวจผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตในเขตเมืองใหญ่ในแต่ละภำคของประเทศไทยเมื่อ
เดือนพฤษภำคม 2544 และพบว่ำครอบครัวในเมืองใหญ่ที่มีคอมพิวเตอร์ เป็ นของตนเองมีเพียงร้อยละ 24 เท่ำนั้น
ส่ วนจำำนวนผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตทั้งประเทศมีจำำ นวนประมำณ 10 ล้ำนคน (รำวๆ ร้อยละ 16.6 ของประชำกร) ใน
จำำนวนนี้ ส่ วนใหญ่เป็ นผูใ้ ช้ในเขตกรุ งเทพมหำนคร นอกจำกนั้นศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์
แห่ งชำติ (NECTEC) ก็ได้ทำำ กำรสำำรวจผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทยในช่วงเดือนกันยำยน - ตุลำคม 2544 เช่น
กัน พบว่ำผูใ้ ช้อินเทอร์ เน็ตร้อยละ 52 อยูใ่ นกรุ งเทพมหำนคร เป็ นเพศชำยร้อยละ 48.8 และเพศหญิงร้อยละ 51.2
ในจำำนวนผูท้ ี่ใช้อินเทอร์ เน็ตนี้ส่วนใหญ่เป็ นผูท้ ีมีอำยุระหว่ำง 20-29 ปี (ร้อยละ 49.1) และเป็ นผูม้ ีกำรศึกษำระดับ
ปริ ญญำตรี (ร้อยละ 60.3) อย่ำงไรก็ตำม กำรวิจยั ทั้งสองให้ผลที่ตรงกันว่ำ คนไทยส่ วนใหญ่ใช้อินเทอร์ เน็ตเพื่อส่ ง
e-mail ค้นหำข้อมูล ติดตำมข่ำวสำร และสนทนำ (chat) นอกจำกนั้นยังมีกำรสรุ ปด้วยว่ำกำรใช้อินเทอร์ เน็ตใน
ประเทศไทยแพร่ หลำยมำกขึ้น เพรำะค่ำใช้จ่ำยถูกลง และมีอินเทอร์ เน็ตคำเฟมำกขึ้น
กำรพัฒนำอันน่ำมหัศจรรย์ใจของของอินเทอร์ เน็ตในฐำนะที่เป็ นเครื อข่ำยแห่ งเครื อข่ำยทำำให้มีกำรเชื่อม
โยงกันได้อย่ำงเสรี ไม่มีกำรปิ ดกั้น ดังนั้นคนทุกคนจึงสำมำรถเผยแพร่ ขอ้ มูลของตนบนอินเทอร์ เน็ตได้อย่ำง
ง่ำยดำย พอ ๆ กับกำรที่สำมำรถสื บค้นข้อมูลได้จำกแหล่งควำมรู ้ต่ำงๆ ทัว่ โลก และจำกคุณสมบัติดงั กล่ำวนี้ อันเท
อร์ เน็ตจึงมีประโยชน์อย่ำงยิง่ ในกำรศึกษำรู ปแบบต่ำงๆ เพรำะนักเรี ยนและครู สำมำรถสื่ อสำรถึงกันได้โดยผ่ำน
ระบบอิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล์ กำรแลกเปลี่ยนควำมรู ้ผำ่ นระบบ bulletin board และ biscussion groups ต่ำงๆ ตล
งอดจนกำรใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัยยิง่ ขึ้นในกำรโทรศัพท์หรื อประชุมทำงไกลผ่ำนอินเทอร์ เน็ต อินเทอร์ เน็ตจึงเพิ่ม
8

บทบำทสำำคัญในกำรศึกษำรู ปแบบใหม่และยังช่วยเปลี่ยนบทบำทของครู จำก "ผูส้ อน" มำเป็ น "ผูแ้ นะนำำ" พร้อม


ทั้งช่วยสนับสนุนให้เด็กสำมำรถเรี ยนและค้นคว้ำด้วยตนเองอีกด้วย
2. พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำในยุคต่ ำงๆ
กำรพัฒนำกำรกำรศึกษำที่ถือว่ำเป็ นเทคโนโลยีกำรศึกษำในอดีต เรำสำมำรถแบ่งออกเป็ น 3 ช่วงเวลำดังนี้คือ
1. ตั้งแต่ ยุคเริ่มแรกจนถึงปี ค.ศ.1700
กำรศึกษำช่วงเวลำดังกล่ำวมีกำรพัฒนำกำรที่ชำ้ มำก กำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนอยูใ่ นกลุ่มคนเล็ก ๆ กำรสื่ อสำรยัง
ไม่เจริ ญ กำรจัดกำรศึกษำและพัฒนำกำรศึกษำมีดงั นี้
1. เทคโนโลยีกำรศึกษำของกลุ่มโซฟิ สต์
ในตอนปลำยของศตวรรษที่ 5 ก่อนคริ สต์ศกั รำชนั้น มีกลุ่มนักกำรศึกษำกลุ่มเล็ก ๆ ที่เรี ยกได้วำ่ เป็ นครู
รับจ้ำงสอนตำมบ้ำนในกรุ งเอเธนส์ กรี กโบรำณ และเป็ นที่รู้จกั ในนำมของกลุ่ม Elder Sophist คำำว่ำ Sophist หรื อ
Sophistes ในยุคนั้น (450- 350 ปี ก่อนคริ สต์ศกั รำช) หมำยถึง บุคคลที่เป็ นผูร้ ู ้ ซึ่งในกลุ่มนี้มีผรู ้ ู ้ที่เป็ นที่รู้จกั กันดีอยู่
5 คน คือ โปรตำกอรัส, จอจิแอส, โปรดิคอส, ฮิปเปี ยส และทรำซีมำคัส ซึ่งบำงทีอำจจะเรี ยกได้วำ่ เป็ นนัก
เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำกลุ่มแรกก็ได้
รู ปแบบกำรสอนของกลุ่มโซฟิ สต์ มี 3 ขั้นตอนคือ
- เตรี ยมคำำบรรยำยอย่ำงละเอียด
- เปิ ดโอกำสให้ผฟู ้ ังเสนอแนะให้บรรยำยในสิ่งที่เขำต้องกำรรู ้
- บรรยำยตำมควำมต้องกำรของผูบ้ รรยำยหรื อผูฟ้ ัง
หลักกำรนี้เป็ นจุดเริ่ มต้นของกำรพูดในที่สำธำรณะ (Public Lecture) และนอกจำกนั้นกลุ่มโซฟิ สต์ยงั ได้ใช้ระบบ
กำรพบปะสนทนำกับผูเ้ รี ยน (Tutorial System) เพื่อสร้ำงสัมพันธ์กบั ผูเ้ รี ยนด้วย ลักษณะกำรแบบนี้อำจจะเรี ยกได้
ว่ำเป็ นจุดเริ่ มของกำรสอนแบบมวลชน (Mass Instruction) ได้เช่นกัน
2. เทคโนโลยีกำรศึกษำของโสเครติส (ค.ศ.399-470)
โสเครตีส เพลโตและเซโนฟอนลูกศิษย์ของเขำได้ทำำ กำรบันทึกวิธีกำรสอนของเขำไว้ วิธีกำรของโสเครติส
แตกต่ำงไปจำกวิธีกำรของกลุ่มโซฟิ สต์ที่ได้กล่ำวถึงมำแล้วมำก วิธีกำรสอนของโสเครติส ที่อธิ บำยไว้ใน Plasto's
Meno นั้น มุ่งที่จะสอนให้ผเู ้ รี ยนเสำะแสวงหรื อสื บเสำะหำควำมรู ้ที่เหมำะสมเอง จำกกำรป้ อนคำำถำมต่ำง ๆ ที่
เป็ นกำรชี้แนะแนวทำงให้ผตู ้ อบได้ขอ้ คิด วิธีกำรของ โสเครติสนี้อำจจะเทียบได้กบั วิธีกำรสอนแบบสื บสวน
สอบสวน (Inquiry Method)
3. เทคโนโลยีกำรศึกษำของอเบลำร์ ด
ในระหว่ำงคริ สต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ยุโรปเริ่ มตื่นตัวในเรื่ องกำรจัดกำรเรี ยนกำรสอนแบบมีสถำนศึกษำหรื อ
โรงเรี ยน ซึ่งนับว่ำเป็ นวิธีใหม่แต่กไ็ ด้รับควำมนิยมอย่ำงกว้ำงขวำงจนถึงกับกำรให้สิทธิ แก่ผสู ้ อนตั้งโรงเรี ยนใน
9

โบสถ์หรื อวัดได้ ในบรรดำผูส้ อนในโรงเรี ยนทั้งหมด อเบลำร์ ด (ค.ศ.1079-1142) เป็ นบุคคลตัวอย่ำงที่ดีคนหนึ่ง


อเบลำร์ ด สอนที่ Notre Dame ซึ่งเป็ นโรงเรี ยนวัดในระหว่ำงปี ค.ศ.1108-1139 ต่อมำโรงเรี ยนนี้ได้ยกฐำนะเป็ น
The University of Paris เมื่อ ค.ศ.1180 เขำได้ฝึกนักเรี ยนของเขำ โดยอำศัยหลักกำรวิเครำะห์ตรรกศำสตร์ ของอริ ส
โตเติล ซึ่งเขำได้เขียนไว้ในหนังสื อ Sic et Non (Yes and No) อันเป็ นหนังสื อที่แสดงให้เห็นถึงวิธีสอนของ
เขำ ซึ่งเขำให้แง่คิดและควำมรู ้ ทั้งหลำยแก่นกั เรี ยนโดยกำรเสนอแนะว่ำอะไรควร (Yes) และอะไรไม่ควร (No)
บ้ำงเสร็ จแล้ว นักเรี ยนจะเป็ นผูต้ ดั สิ นใจและสรุ ปเลือกเองอย่ำงเสรี วิธีสอนของอเบลำร์ ด มีอิทธิ พลโดยตรงต่อ
Peter Lombard (ค.ศ.1100-1160) และ St. Thomas Aquinas (1225-1274) ซึ่งเขำทั้งสองได้นำำ แนวคิดของอเบลำร์ ด
มำปรับปรุ งใช้ในกำรเรี ยนกำรสอน โดยกำรระมัดระวังเทคนิคกำรใช้คำำ ถำมให้รัดกุมขึ้น
4. เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำของคอมินิอุส
Johann Amoss Cominius (1592-1670) เกิดในครอบครัวโปรเตสแตนท์ ฐำนะปำนกลำงในโมรำเวีย
(ปั จจุบนั อยูใ่ นเชคโกสโลวำเกีย) สำำเร็ จกำรศึกษำระดับมหำวิทยำลัยในเยอรมันนี คอมินิอุส ได้ใช้ชีวิตในฐำนะ
นักบวชและครู อยูใ่ นโปแลนด์ ฮังกำรี สวีเดน อังกฤษ และฮอลแลนด์ จนกระทัง่ เกิดสงครำม 30 ปี (Thirty Years'
War, 1618-1648) ระหว่ำงคำทอลิค และโปรเตสแตนท์ ชื่อเสี ยงของคอมินิอุส ในฐำนะนักกำรศึกษำผูย้ ง่ิ ใหญ่ ได้
เริ่ มต้นที่เมืองลิสซำในประเทศโปแลนด์ เมื่อ ปี ค.ศ.1627 ในขณะที่เขำเป็ นนักบวชและครู อยูท่ ี่นน่ั โดยกำรเขียน
หนังสื อสำำคัญขึ้นมำหลำยเล่ม และต่อมำเขำได้เป็ นผูร้ ่ ำงหลักสูตรกำรศึกษำในฮอลแลนด์ และสวีเดน ตลอดจน
สร้ำงโรงเรี ยนตัวอย่ำงขึ้นในฮังกำรี ดว้ ย หนังสื อ Great Didactic เป็ นหนังสื อสำำคัญที่สุดเกี่ยวกับเทคนิคกำรสอน
ของ คอมินิอุส (แนวคิดเกี่ยวกับระบบกำรสอนของคอมินิอุสได้เริ่ มเกิดขึ้นที่เมือง Leszne ประเทศโปแลนด์ โดย
เขียนหนังสื อเล่มนี้ข้ ึนมำเป็ นภำษำ Czech พิมพ์ครั้งแรกในเยอรมัน เมื่อปี ค.ศ.1633 และพิมพ์เป็ นภำษำลำตินในปี
ค.ศ.1657) จุดมุ่งหมำยทำงกำรศึกษำของคอมินิอุส คือ ควำมรู ้ คุณธรรม และควำมเคร่ งครัดในศำสนำ เขำเชื่อมัน่
ว่ำกำรศึกษำเป็ นเครื่ องมือสำำหรับเตรี ยมคนเพื่อดำำรงชีพอยูอ่ ย่ำงเป็ นสุ ขมำกกว่ำที่จะให้กำรศึกษำเพื่อมีอำชีพหรื อ
ตำำแหน่ง และนอกจำกนั้น คอมินิอุสยังมุ่งหวังที่จะให้กำรศึกษำเพื่อสังคมมำกกว่ำที่จะเน้นเรื่ องควำมสำมำรถ
เฉพำะ ดังนั้นเพื่อให้จุดหมำยทำงกำรศึกษำของเขำสัมฤทธิ์ ผล คอมินิอุส จึงจัดระบบกำรศึกษำเป็ นแบบเปิ ด
สำำหรับทุก ๆ คน นับตั้งแต่ระดับมหำวิทยำลัย ในบรรดำหลักกำรสอนของคอมินิอุสทั้งหลำย พอสรุ ปเป็ นข้อๆด้
ดังนี้

ภำพที่ 1.4 แสดงถึงรู ปวำดของ จอห์น อำมอส คอมินิอุส


10

1. กำรสอนควรจะเป็ นไปตำมธรรมชำติ เนื้อหำวิชำควรจะเหมำะสมกับวัยของผูเ้ รี ยนแต่ละคน


2. ควรสอนผูเ้ รี ยนตั้งแต่เยำว์วยั โดยให้เหมำะสมกับ อำยุ ควำมสนใจ และสมรรถภำพของผูเ้ รี ยนแต่ละคน
3. จะสอนอะไรควรให้สอดคล้องกับชีวิตจริ ง และสอดแทรกค่ำนิยมบำงอย่ำงให้แก่ผเู ้ รี ยนด้วย
4. ควรสอนจำกง่ำยไปหำยำก
5. หนังสื อและภำพที่ใช้ควำมสัมพันธ์กบั กำรสอน
6. ลำำดับกำรสอนที่เป็ นสิ่ งสำำคัญ เช่น ไม่ควรสอนภำษำต่ำงประเทศก่อนสอนภำษำมำตุภูมิ
7. ควรอธิ บำยหลักกำรทัว่ ไปก่อนที่จะสรุ ปเป็ นกฎ ไม่ควรให้จดจำำอะไรโดยที่ยงั ไม่เข้ำใจในสิ่งนั้น
8. กำรสอนเขียนและอ่ำน ควรสอนร่ วมกัน นัน่ ก็หมำยควำมว่ำเนื้อหำวิชำที่เรี ยนควรสัมพันธ์กนั เท่ำที่จะทำำได้
9. ควรเรี ยนรู ้โดยผ่ำนทำงประสำทสัมผัส โดยสร้ำงควำมสัมพันธ์กบั คำำ
10. ครู เป็ นผูส้ อนเนื้อหำ และใช้ภำพประกอบเท่ำที่ทำำ ได้
11. สิ่ งต่ำง ๆ ที่จะสอนต้องสอนไปตำมลำำดับขั้นตอนและในกำรสอนครั้งหนึ่ง ๆ ไม่ควรให้มำกกว่ำหนึ่งอย่ำง
12. ไม่ควรมีกำรลงโทษเฆี่ยนตีถำ้ ผูเ้ รี ยนประสบควำมล้มเหลวในกำรเรี ยน
13. บรรยำกำศในโรงเรี ยนต้องดี ประกอบด้วยของจริ ง รู ปถ่ำย และครู ที่มี ใจโอบอ้อมอำรี

จำกหลักกำรสอนคอมินิอุสที่กล่ำวมำข้ำงต้น เป็ นเครื่ องยืนยันได้วำ่ คอมินิอุส เป็ นผูบ้ ุกเบิกเทคโนโลยีกำร


ศึกษำและกำรสอนสมัยใหม่ ตัวอย่ำงหลักกำรสอนที่สำำ คัญอย่ำงหนึ่งของคอมินิอุส เรำจะเห็นได้จำกหนังสื อ
Orbus Pictus ของเขำ หนังสื อออบัส พิคตุส หรื อโลกในรู ปภำพ พิมพ์ที่เมือง Nurenberg เมื่อปี ค.ศ.1658 สำำหรับ
เด็ก ๆ ที่เรี ยนลำตินและวิทยำศำสตร์ จัดว่ำเป็ นแบบเรี ยนเล่มแรกที่มีภำพประกอบบทเรี ยนมำกถึง 150 ภำพ โดย
ภำพหนึ่ง ๆ จะใช้สำำ หรับบทเรี ยนบทหนึ่งโดยเฉพำะ เนื้อหำในหนังสื อนี้ได้แก่ พระเจ้ำ โลก อำกำศ ต้นไม้ มนุษย์
ดอกไม้ พืชผัก โลหะ และนก เป็ นต้น หนังสื อ ออบัส พิคตุส เป็ นที่นิยมใช้ติดต่อกันมำอีกหลำยร้อยปี และปรำกฏ
ว่ำ เมื่อปี ค.ศ.1810 หนังสื อนี้ยงั มีกำรซื้อขำยกันอยูใ่ นสหรัฐอเมริ กำ

3. พัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำ ค.ศ.1700-1900 (พ.ศ.2243-พ.ศ.2443) ก่ อนปี ค.ศ.1800


กำรเรี ยนกำรสอนในอเมริ กำและยุโรป ไม่วำ่ จะเป็ นระดับประถมหรื อมัธยมศึกษำต่ำงก็ใช้วิธีกำร
คล้ำยคลึงกัน คือ ครู จะสอนโดยกำรเรี ยกนักเรี ยนทีละคนหรื อหลำยคนมำที่โต๊ะของเขำเพื่อให้นกั เรี ยนอ่ำนออก
เสี ยงหรื อท่องจำำสิ่ งต่ำง ๆ ที่ครู กำำ หนดให้ วิธีกำรอื่น ๆ เช่น กำรพัฒนำควำมเข้ำใจโดยกำรอภิปรำยกลุ่มนั้น ไม่มีครู
คนใดรู ้จกั ดังนั้นเมื่อสอนเกี่ยวกับกำรเขียน ครู จะเขียนเป็ นแบบแล้วให้นกั เรี ยนลอกตำมกำรสอนส่ วนมำกจะเป็ น
ไปอย่ำงผิวเผินและไม่มีประโยชน์ ช่วงเวลำกำรเรี ยนก็ส้ นั (ประมำณ 16 เดือน) ดังนั้นจึงมีนกั เรี ยนจำำนวนไม่นอ้ ยที่
ออกจำกโรงเรี ยนไป โดยที่อำ่ นออกเขียนได้เพียงเล็กน้อยและนอกจำกนั้น ครู เองยังไม่กล้ำที่จะจูงใจนักเรี ยนและ
ควบคุมวินยั ในชั้นด้วย ในต้นคริ สต์ศตวรรษที่ 19 สิ่ งต่ำง ๆ เหล่ำนี้ได้รับกำรปรับปรุ งให้ดีข้ ึน แต่ควำมขำดแคลน
สถำนที่เรี ยนเริ่ มเป็ นปัญหำสำำคัญ ดังนั้น ปัญหำเรื่ องประชำกรอ่ำนไม่ออกเขียนไม่ได้จึงเป็ นเรื่ องธรรมดำสำำหรับ
ประชำชนที่ยำกจนในอเมริ กำในยุคนั้น ประกอบกับในช่วงเวลำนี้มีกำรพัฒนำขยำยงำนด้ำนอุตสำหกรรม มีกำร
เปลี่ยนแปลงระบบกำรทำำงำนและบ้ำนเมืองมีควำมเจริ ญขึ้นอย่ำงรวดเร็ ว ควำมต้องกำรทำงกำรศึกษำก็สูงขึ้นเป็ น
11

เงำตำมตัว แต่วิธีกำรสอนแบบเก่ำจะต้องเสี ยค่ำใช้จ่ำยสูง ดังนั้นจึงได้เกิดระบบแลนคำสเตอร์ ข้ ึนมำในอเมริ กำ เพื่อ


จัดกำรศึกษำแบบมวลชน (Mass Education) ซึ่งเสนอวิธีกำรศึกษำแบบประหยัด
1. เทคโนโลยีกำรศึกษำของแลนตำสเตอร์
Joseph Lancaster (1778-1838) ได้ริเริ่ มกำรสอนระบบพี่เลี้ยง (Monitor System) อันยังผลให้เขำประสบ
ควำมสำำเร็ จในกำรจัดกำรศึกษำในยุคนั้น วิธีกำรของเขำก็คือ กำรจัดสภำพห้องเรี ยนและดำำเนินกำรสอนแบบ
ประหยัด รวมถึงกำรจัดระบบเนื้อหำวิชำที่เรี ยนโดยพิจำรณำถึงระดับชั้น สำำหรับกำรสอนนักเรี ยนเป็ นชั้นหรื อ
เป็ นกลุ่ม แนวคิดของเขำได้รับอิทธิ พลมำจำกคอมินิอุส และวิธีกำรของพระเยซูคริ สต์ จึงทำำให้เขำศึกษำกำรเลือก
ใช้สื่อที่มีประสิ ทธิ ภำพในกำรเรี ยนกำรสอน วิธีกำรของเขำรู ้จกั กันในนำมของ Lancaster's Method และจัดว่ำเป็ น
รำกฐำนสำำคัญของระบบทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้อีกด้วย แนวคิดของเขำนอกจำกจะขึ้นอยูก่ บั อิทธิ พลทำงแนวคิดของคอมิ
นิอุสดังกล่ำวมำแล้ว เขำยังยอมรับแนวคิดของ John Locke ซึ่งกำำลังมีชื่อเสี ยงโด่งดังอยูใ่ นขณะนั้นด้วย

วิธีกำรสอนของแลนคำสเตอร์ พยำยำมใช้วสั ดุอุปกรณ์รำคำถูกและประหยัด แม้แต่หอ้ งเรี ยนก็จุนกั เรี ยน


ได้มำกกว่ำ วัสดุที่ใช้ เช่น กระดำนชนวน กระบะทรำย แผนภูมิ ผนังและกระดำนดำำ ทำำให้ประหยัดกระดำษและ
หมึกได้มำกกว่ำ และนอกจำกนั้นทำงโรงเรี ยนยังจัดหนังสื อที่ใช้เรี ยนให้นอ้ ยที่สุดเท่ำที่จำำ เป็ นอีกด้วย ดังนั้นวิธีกำร
ของเขำจึงเป็ นกำรริ เริ่ มกำรสอนแบบมวลชน และเป็ นพื้นฐำนของกำรจัดกำรศึกษำแบบให้เปล่ำของรัฐในเวลำต่อ
มำด้วย

วิธีสอนของแลนคำสเตอร์ มีรำยละเอียดที่สำำคัญอยู่ 6 ประกำร คือ

1. กำรสอนควำมจำำด้วยกำรท่องจำำเนื้อหำ
2. กำรฝึ กแบบมีพี่เลี้ยง
3. กำรควบคุม
4. กำรจัดกลุ่ม
5. กำรทดสอบ
6. กำรจัดดำำเนินกำรหรื อบริ หำร
ภำยใต้กำรจัดดำำเนินกำรอย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ ครู คนหนึ่ง ๆ จะสำมำรถสอนกลุ่มหัวหน้ำนักเรี ยนได้ถึง 50
คน (หัวหน้ำนักเรี ยนคือพี่เลี้ยง) และหัวหน้ำนักเรี ยนแต่ละคนจะสำมำรถฝึ กนักเรี ยนได้ 10 คน ดังนั้นครู คนหนึ่ง ๆ
ก็จะสำมำรถสอนนักเรี ยนจำำนวน 500 คนหรื อมำกกว่ำนั้นได้ในเวลำเดียวกัน วิธีน้ ีได้ปฏิบตั ิต่อกันมำ จนกระทัง่ ค้น
พบวิธีสอนแบบแก้ปัญหำ (Problem Solving) ในภำยหลัง

2. เทคโนโลยีกำรศึกษำของเปสตำลอสซี
Johann Heinrich Pestalozzi (1746-1827) เกิดที่เมืองซูริค ประเทศสวิสเซอร์ แลนด์ ชีวิตกำรศึกษำของเขำ
ในเบื้องต้นนั้น มุ่งที่จะออกไปเป็ นนักกฎหมำยแต่ดว้ ยอิทธิ พลของสังคมและควำมคิดทำงกำรศึกษำของ Jean
12

Jacgues Rousseau (1712-1778) เขำจึงเปลี่ยนวิถีทำงชีวิต ไปศึกษำหลักกำรทำงกำรศึกษำจำกหนังสื อ Emile ของ


รุ สโซ เขำเริ่ มกำรทดลองที่บำ้ นของเขำใกล้ ๆ กับหมู่บำ้ น Birrfield (1774-1780) ต่อจำกนั้นก็มำทำำกำรทดลองต่อ
ในโรงเรี ยนที่ Stanz (1798) Burgdorf (1799-1804) และ Yverdon (1805-1825) อันเป็ นที่ที่เขำทำำงำนครั้งสำำคัญ
ที่สุด ทฤษฎีทำงกำรศึกษำของเปสตำลอสซี เป็ นที่รู้จกั กันดีจำกคำำพูดของเขำเอง คือ "I wish to psychologize
Instruction" ซึ่งหมำยถึง กำรพยำยำมทำำให้กำรสอนทัว่ ไปเข้ำกันได้กบั ควำมเชื่อของเขำอย่ำงมีระเบียบและ
ปรับปรุ งพัฒนำไปด้วยกัน เขำรู ้สึกว่ำศีลธรรม สติปัญญำและพลังงำนทำงกำยภำพของผูเ้ รี ยนควรจะได้รับกำร
คลี่คลำยออกมำ โดยอำศัยหลักธรรมชำติในกำรสร้ำงประสบกำรณ์อย่ำงเป็ นขั้นตอน จำกหลักกำรที่กล่ำวมำข้ำง
ต้นนี้ เปสตำลอสซีเชื่อว่ำ กระบวนกำรสอนโดยกำรเพิ่มควำมรู ้สึกต่อควำมรู ้ในเรื่ องควำมเจริ ญเติบโตและ
พัฒนำกำรของเด็กนั้น เป็ นสิ่ งจำำเป็ นที่สุด นอกจำกนั้น เปสตำลอสซี ยังคำำนึงถึงเรื่ องควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
อันจะมีผลต่อกำรเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วย เปสตำลอสซี ได้เสนอแนะกระบวนกำรของกำรรับควำมรู ้ของผูเ้ รี ยนเป็ น 3
ขั้นตอน คือ
1. ให้รู้ในเรื่ องส่ วนประกอบของจำำนวน (เลขคณิ ต)
2. ให้รู้ในเรื่ องของรู ปแบบ (Form) เช่น กำรวำด กำรเขียน เป็ นต้น
3. ให้รู้จกั ชื่อ และภำษำที่ใช้
นอกจำกนั้น เปสตำลอสซี ยังมีควำมเห็นเกีย่ วกับกำรศึกษำและกำรเรียนกำรสอน พอสรุ ปเป็ นข้ อ ๆ ได้ ดังนี้
1. รำกฐำนสำำคัญยิง่ ของกำรให้ควำมรู ้กค็ ือ กำรหัดให้นกั เรี ยนรู ้จกั ใช้กำรสังเกต (Observation and Sense-
Perception)
2. กำรเรี ยนภำษำ ครู ตอ้ งพยำยำมให้นกั เรี ยนใช้กำรสังเกตให้มำกที่สุด นัน่ คือ เมื่อเรี ยนถ้อยคำำก็ตอ้ งใช้คู่กบั ของ
จริ งที่เขำใช้เรี ยกชื่อสิ่ งนั้น
3. กำรสอนครู ตอ้ งเริ่ มต้นจำกสิ่ งที่ง่ำยที่สุดก่อน แล้วจึงเพิ่มควำมยำกขึ้นไปตำมลำำดับ
4. เวลำเรี ยนต้องให้นกั เรี ยนเรี ยนจริ ง ๆ อย่ำเสี ยเวลำไปกับกำรวิพำกษ์วิจำรณ์ควำมรู ้เหล่ำนั้น
5. ให้เวลำเพียงพอแก่นกั เรี ยนแต่ละคน
6. ต้องยอมรับในเรื่ องควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
7. ต้องทำำให้นกั เรี ยนรู ้สึกว่ำโรงเรี ยนไม่ต่ำงไปจำกที่บำ้ น
แนวควำมคิดของเปสตำลอสซีน้ ี นอกจำกจะมีอิทธิ พลในสหรัฐอเมริ กำแล้ว ยังมีอิทธิ พลต่อวงกำรศึกษำ
ในยุโรปด้วย โดยเฉพำะในประเทศเยอรมันนีน้ นั ฟรอเบลเป็ นบุคคลหนึ่งที่ยอมรับแนวคิดของเปสตำลอสซี
3. เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำของฟรอเบล
Friedrich Wilhelm Froebel (1782-1852) เป็ นนักกำรศึกษำ ซึ่งได้เจริ ญรอยตำมควำมคิดเห็นของเปสตำลอ
สซี ฟรอเบล เกิดที่เมือง oberwcissbach ประเทศเยอรมันนี และได้ร่วมงำนด้ำนกำรสอนกับเปสตำลอสซี ที่ฟรัง
เฟิ ท เขำรู ้สึกพอใจและสนใจมำก โดยเฉพำะกำรสอนเด็กเล็ก ทำำให้ฟรอเบลมีควำมตั้งใจอันแรงกล้ำที่จะปฏิวตั ิกำร
ศึกษำของเด็กเสี ยใหม่ จึงกลับไปศึกษำต่อในมหำวิทยำลัย เมื่อจบกำรศึกษำแล้วได้ออกมำตั้งโรงเรี ยนอนุบำลขึ้น
เป็ นแห่ งแรกที่เมืองแบลงเกนเบอร์ ก (Blankenburg)ในปี ค.ศ. 1837 ฟรอเบลมีควำมเชื่อในเรื่ องศำสนำเป็ นพื้นฐำน
13

เขำเห็นว่ำกำรเกิดของแร่ ธำตุกด็ ี กำรเจริ ญเติบโตของต้นไม้กด็ ี ตลอดจนพัฒนำกำรของเด็กทั้งหลำยนั้นล้วนแล้วแต่


เป็ นผลมำจำกพระเจ้ำ ดังนั้นจุดมุ่งหมำยของนักกำรศึกษำก็คือกำรควบคุมดูแลเยำวชนให้เติบโตเป็ นผูใ้ หญ่เท่ำนั้น
เช่นเดียวกับจุดมุ่งหมำยของคนทำำสวนคือกำรควบคุมดูแลต้นไม้ตน้ เล็ก ๆ ไปจนมันเจริ ญเติบโตออกดอกผลใน
ที่สุด อย่ำงไรก็ตำม กำรควบคุมดูแล (Control) ตำมแนวคิดของฟรอเบลนี้ ยังมีควำมหมำยกว้ำงออกไปถึงกำร
ควบคุมพัฒนำกำรต่ำง ๆ โดยให้ผเู ้ รี ยนได้สมั ผัสกับชีวิตจริ งในฐำนะที่เขำเป็ นส่ วนหนึ่งของสังคมด้วย องค์
ประกอบพืน้ ฐำนในกำรให้ กำรศึกษำแก่ เด็กของฟรอเบล มีอยู่ 4 ประกำรคือ

1. ให้โอกำสผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิกิจกรรมด้วยตนเองอย่ำงเสรี


2. ให้ โอกำสแสดงออกทำงกลไกหรื อกำยภำพ อันได้แก่ กำรเรี ยนโดยกำรกระทำำ (To Learn a thing by doing not
through verbal Communications alone)
วิธีสอนของฟรอเบลเน้นที่กำรสอนเด็กอนุบำล ดังนั้นกำรสอนจึงออกมำในรู ปกำรเรี ยนปนเล่น ซึ่ งมีหลัก
กำรที่สำำ คัญอยู่ 3 ประกำรคือ

1. กำรเล่นเกมและร้องเพลง
2. กำรสร้ำง
3. กำรให้ส่ิ งของและใช้งำน

กำรร้องเพลงและกำรเล่นเกม เป็ นกำรสร้ำงกำำลังให้เกิดขึ้นในเด็ก ส่ วนกำรสร้ำงได้แก่ กำรวำดภำพ กำร


ตัดกระดำษ กำรทำำหุ่ น ฯลฯ เพื่อช่วยให้เกิดควำมพร้อมและคิดสร้ำงสรรค์ต่ำง ๆ ส่ วนกำรให้ส่ิงของและกำรให้
งำนนั้น เป็ นขั้นสุ ดท้ำยของฟรอเบล สำำหรับกำรสอนเด็กเล็ก เช่น เริ่ มจำกกำรให้เล่นลูกบอล ต่อมำก็ให้วตั ถุสำม
มิติรูปทรงต่ำง ๆ เพื่อให้เด็กได้เริ่ มคิดสรรค์สร้ำงตำมจินตนำกำรของเขำ

4. เทคโนโลยีกำรศึกษำของแฮร์ บำร์ ท

แฮร์ บำร์ ท เป็ นนักกำรศึกษำคนหนึ่งที่สืบทอดเจตนำรมย์ของคอมินิอุสและเปสตำลอสซีนกั กำรศึกษำทั้ง


สอง และได้ช้ ีให้เห็นแนวทำงในกำรสร้ำงควำมคิดรวบยอดใหม่จำกควำมคิดรวบยอดเดิม นอกจำกนั้น แฮร์ บำร์ ท
ยังได้เน้นในเรื่ องของจริ ยธรรม (Moral) โดยถือว่ำเป็ นพื้นฐำนสำำคัญของกำรศึกษำและเขำจะใช้อุปกรณ์ทำง
ประวัติศำสตร์ เพื่อให้กำรสอนบรรลุเป้ ำหมำยข้ำงต้น ดังนี้จะเห็นว่ำแนวคิดของเขำก็มีอิทธิ พลแนวคิดของฟรอเบล
แทรกอยูไ่ ม่นอ้ ย

ทฤษฎีทำงกำรศึกษำของแฮร์ บำร์ ท ค่อนข้ำงจะแตกต่ำงไปจำกนักกำรศึกษำ รุ่ นก่อน ๆ กล่ำวคือ แฮร์ บำร์ ท


ได้วำงรำกฐำนเกี่ยวกับวิธีสอนของเขำโดยอำศัยระบบจิตวิทยำกำรเรี ยนรู ้ นับได้วำ่ เขำได้เป็ นผูร้ ิ เริ่ มจิตวิทยำกำร
เรี ยนรู ้สมัยใหม่เป็ นคนแรกที่สอดคล้องกับวิธีกำรของ Locke ที่เรี ยกว่ำ Tabula Rasa (Blank Tablet) เกี่ยวกับทฤษฎี
ทำงจิต และได้สรุ ปลำำดับขั้นสองกำรเรี ยนรู ้ ไว้ 3 ประกำร ดังนี้
14
14

1. เริ่ มต้นด้วยกิจกรรมทำงวิถีประสำท (Sense Activity)


2. จัดรู ปแบบแนวควำมคิด (Ideas) ที่ได้รับ
3. เกิดควำมคิดรวบยอดทำงควำมคิดหรื อเข้ำใจในสิ่ งที่เกิดขึ้น

4. เทคโนโลยีกำรศึกษำ ค.ศ.1900-ปัจจุบัน (พ.ศ.2443-ปัจจุบัน)


ใน ค.ศ. 1900 William James ได้เขียนหนังสื อชื่อ Talks to Teacher on Psychology อันแสดงให้เห็นถึง
ควำมแตกต่ำงระหว่ำงศิลปะและวิทยำศำสตร์ ในกำรสอนนัน่ ก็หมำยควำมว่ำ ได้เริ่ มมีผนู ้ ำำ วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์
เข้ำมำใช้ในกำรสอนกันแล้ว และในปี เดียวกันนี้ John Dewey (1859-1952) ได้นำำ วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ เข้ำมำใช้
ในกำรสอน และทำำให้หอ้ งเรี ยนเป็ นห้องปฏิบตั ิกำรทดลองด้วย รุ่ งขึ้นอีกปี หนึ่ง คือ ค.ศ. 1900 Edward
I. Thorndike (1874-1949) ได้เสนอวิชำกำรวัดผลกำรศึกษำเป็ นวิชำหนึ่งในมหำวิทยำลัยโคลัมเบียและต่อมำได้
กลำยเป็ นวิธีกำรวิจยั ปั ญหำต่ำง ๆ ทำงกำรสอนเป็ นวิธีแรก ดังนั้น ธอร์ นไดค์ จึงได้รับกำรยกย่องว่ำเป็ นบิดำแห่ ง
วิชำกำรวัดผลกำรศึกษำ G. Stanley Hall (1846-1924) ได้เขียนหนังสื อชื่อ Adolescence (1904) นักจิตวิทยำชำว
ฝรั่งเศสชื่อ Alfred Binet (1857-1911) และ Theodore Simon ได้ร่วมกันเขียนหนังสื อชื่อ A Method of Measuring
The Intelligence of Yound Children ดังนั้นจะเห็นได้วำ่ วิทยำศำสตร์ เชิงพฤติกรรมที่แท้ และทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้โดย
เฉพำะได้เริ่ มนำำเข้ำมำประยุกต์ใช้กบั เทคโนโลยีทำงกำรสอนในช่วงนี้เอง
ในตอนต้นของศตวรรษที่ 20 ปรำกฏว่ำ ทฤษฎีทำงกำรสอนของธอร์ นไดค์ และดิ้วอี้ นั้นไม่สำมำรถจะได้
ด้วยกันได้ เนื่องจำกดิวอี้เน้นในเรื่ องของกำรปฏิบตั ิ ซึ่งอำศัยพื้นฐำนกำรสังเกตและกำรตั้งสมมติฐำนแต่เพียงเล็ก
น้อยเท่ำนั้นเอง ถึงแม้เขำจะย้ำให้ำ มีกำรสอบถำม กำรทดสอบและกำรวิจำรณ์อยูบ่ ำ้ งก็ตำมที ในทำงตรงกันข้ำม ธ
อร์ นไดค์ กลับใช้กำรสังเกตและกำรสื บสวนเป็ นหลักกำรสำำคัญ ดังนั้นทฤษฎีของธอร์นไดค์จึงถูกนักกำรศึกษำ
กลุ่มของดิวอี้ซ่ ึงเชื่อหลักเสรี ประชำธิ ปไตยของกำรเรี ยนด้วยกำรปฏิบตั ิคดั ค้ำน ถึงแม้วิธีกำรของดิวอี้จะยังไม่ได้รับ
กำรทดสอบก็ตำม
1. เทคโนโลยีกำรศึกษำของธอร์ นไดค์
Edward L. Thorndike (1874-1949) นักกำรศึกษำและจิตวิทยำชำวอเมริ กำที่มีชื่อเสี ยงคนหนึ่งได้เป็ นผูใ้ ห้
กำำเนิดทฤษฎีแห่ งกำรเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นที่ยอมรับกันอย่ำงแพร่ หลำยทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ของธอร์ นไดค์ มีชื่อว่ำ ทฤษฎี
สัมพันธ์เชื่อมโยง (Connectionism Theory) จำกกำรที่ธอร์นไดค์ ได้ศึกษำเรื่ อง กำรเรี ยนรู ้ของสัตว์ และต่อมำได้
กลำยมำเป็ นทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ทว่ั ไปโดยอำศัยวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ น้ นั เป็ นที่รู้จกั กันดีในนำมทฤษฎีควำม
้ ำ ่ องกำรฝึ กหัดหรื อกำรกระทำำซ้ำแล้
สัมพันธ์เชื่อมโยง ในเรื่ องนี้ นอกจำกธอร์ นไดค์จะได้ยำในเรื ำ ว เขำยังให้ควำม
สำำคัญของกำรให้รำงวัลหรื อกำรลงโทษ ควำมสำำเร็ จหรื อควำมผิดหวังและควำมพอใจหรื อควำมไม่พอใจแก่ผเู ้ รี ยน
อย่ำงทัดเทียมกันด้วย
ทฤษฎีสมั พันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ได้เน้นที่ควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่ำง สิ่งเร้ำ (Stimulus) กับกำร
ตอบสนอง (Response) เขำเชื่อว่ำ กำรเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้ดว้ ยกำรที่มนุษย์หรื อสัตว์ได้เลือกเอำปฏิกิริยำตอบสนอง
15

ที่ถูกต้องนั้นมำเชื่อมต่อ (Connect) เข้ำกับสิ่ งเร้ำอย่ำงเหมำะสม หรื อกำรเรี ยนรู ้จะเกิดขึ้นได้กโ็ ดยกำรสร้ำงสิ่ งเชื่อม
โยง (Bond) ระหว่ำงสิ่ งเร้ำกับกำรตอบสนองให้เกิดขึ้น ดังนั้นเรำจึงเรี ยกทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ของธอร์ นไดค์วำ่ ทฤษฎี
เชื่อมโยงระหว่ำงสิ่ งเร้ำกับตอบสนอง (S-R Bond Theory) หรื อทฤษฎีสมั พันธ์เชื่อมโยง (Conectionism Theory)
จำกกำรทดลองและแนวควำมคิดต่ำง ๆ ที่เกี่ยวกับกำรเรี ยนรู ้ของธอร์ นไดค์ ดังกล่ำวมำข้ำงต้น เขำได้เสนอ
กฎกำรเรี ยนรู ้ที่สำำ คัญขึ้นมำ 3 กฎ อันถือว่ำเป็ นหลักกำรเบื้องต้นที่นำำ ไปสู่เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำและกำรสอน
กฎทั้ง 3 ได้แก่
1. กฎแห่ งกำรฝึ กหัดหรื อกำรกระทำำซ้ำำ (The Law of Exercise or Repetition) ซึ่งเขำได้ช้ ีให้เห็นว่ำ กำรก
ำ อกำรฝึ กหัดนี้ หำกได้ทำำ บ่อย ๆ ซ้ำำ ๆ ซำก ๆ จะทำำให้กำรกระทำำนั้น ๆ ถูกต้องสมบูรณ์และมัน่ คง
ระทำำซ้ำหรื
2. กฎแห่ งผล (The Law of Effect) เป็ นกฎที่มีชื่อเสี ยงและได้รับควำมสนใจมำกที่สุด ใจควำมสำำคัญของกฎ
นี้กค็ ือรำงวัลหรื อควำมสมหวัง จะช่วยส่ งเสริ มกำรแสดงพฤติกรรมนั้นมำกขึ้น แต่กำรทำำโทษหรื อควำมผิดหวังจะ
ลดอำกำรแสดงพฤติกรรมนั้นลง
3. กฎแห่ งควำมพร้อม (The Law of Readiness) กฎนี้หมำยถึงควำมพร้อมของร่ ำงกำย ในอันที่จะแสดง
พฤติกรรมใด ๆ ออกมำ
2. เทคโนโลยีกำรศึกษำของดิวอี้
เทคโนโลยีกำรศึกษำและกำรสอนของ จอห์น ดิวอี้ มีควำมสำำคัญต่อระบบกำรศึกษำของสหรัฐอเมริ กำเป็ น
อย่ำงมำก โดยเฉพำะอย่ำงยิง่ แนวควำมคิดในกำรแก้ปัญหำ (Problem-Solving) ดิวอี้ได้ศึกษำเรื่ องนี้กบั ฮอลล์ ที่
มหำวิทยำลัย จอห์น ฮอบกิน ซึ่งเป็ นมหำวิทยำลัยที่เขำได้รับปริ ญญำดุษฎีบณ ั ฑิต หลังจำกที่ดิวอี้ จบจำก
มหำวิทยำลัยแห่ งนี้ เขำได้สอนที่มหำวิทยำลัยมิชิแกน มินิโซตำ และชิคำโก จำกนั้นเขำได้ไปสอนที่มหำวิทยำลัย
โคลัมเบียในปี ค.ศ.1904 นักจิตวิทยำกำรเรี ยนรู ้ของจอห์น ดิวอี้ ตรงกับข้ำมกับ ธอร์ นไดค์ ดิวอี้ เชื่อว่ำสิ่ งเร้ำกับ
ปฏิกิริยำตอบสนอง ไม่สำมำรถแยกออกจำกกันได้อย่ำงชัดเจน แต่มีควำมสัมพันธ์กนั อย่ำงใกล้ชิด ดิวอี้ ได้โจมตี
พวกมีควำมเชื่อในเรื่ องมโนภำพแบบสะท้อนกลับ (The Reflect Arc Concept) ซึ่งยืนยันกำรเรี ยนรู ้รวมเอำกำรมี
ผลกระทบต่อกัน ระหว่ำงผูเ้ รี ยนกับสิ่งแวดล้อมของเขำเข้ำไว้ดว้ ยจำกกำรทดลองของดิวอี้ที่มีต่อเทคโนโลยีกำร
ศึกษำนั้น น่ำจะได้แนะแนวควำมคิดของเขำที่เกี่ยวกับกำรสอน ซึ่งเป็ นวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ สำำ หรับดิวอี้ ควรคิด
ที่ให้ผลคุม้ ค่ำก็คือวิธีกำรไตร่ ตรอง (Reflective Method) หรื อกำรพิจำรณำอย่ำงรอบคอบและแน่นอน เกี่ยวกับ
ควำมเชื่อหรื อแบบแผนของควำมรู ้ที่เกิดขึ้น สำระของวิธีกำรแบบไตร่ ตรองของดิวอี้ มีอยูใ่ นหนังสื อชื่อ How We
Think ซึ่งได้กล่ำวถึงกำรไตร่ ตรองในฐำนะที่เป็ นควำมเคลื่อนไหวทำงจิตวิทยำ โดยมีข้ นั ตอนดังนี้
1. ผูเ้ รี ยนปะทะกับปั ญหำ เขำจะต้องรู ้จุดมุ่งหมำยบำงอย่ำง และรู ้สึกถูกกีดกันจำกอุปสรรคที่สอดแทรกเข้ำมำ ดัง
นั้นเขำจำำเป็ นต้องทำำให้มีควำมต่อเนื่องกัน
2. หลังจำกได้ปะทะกับปั ญหำ หรื อรู ้สึกว่ำข้อมูลที่รู้มำขัดแย้งกัน เขำจะตั้งสมมติฐำนขึ้นเพื่อกำำหนดคำำตอบลองดู
ซึ่งอำจจะเป็ นกำรแก้ปัญหำที่ใช้ได้
16

3. บำงครั้งภำวะกำรณ์ที่เป็ นปัญหำ ได้รับกำรตรวจสอบและสังเกตเพื่อเอำควำมและประสบกำรณ์ที่มีอยูม่ ำใช้เพื่อ


ทดสอบสมมติฐำนที่ต้ งั ขึ้น ขั้นตอนต่ำง ๆ ที่นำำ มำให้ต่อเนื่องกันเป็ นกิจกรรมของผูเ้ รี ยน หรื อจุดมุ่งหมำยของผู ้
เรี ยน จะต้องได้รับกำรทำำให้เห็นได้ชดั เจนเพียงพอ
4. ผูเ้ รี ยนต้องทดสอบสมมติฐำนต่ำง ๆ ที่ต้ งั ขึ้น และพยำยำมพิสูจน์ผลที่ได้รับจำกสมมติฐำนนั้น
5. สุ ดท้ำยผูเ้ รี ยนจะต้องสรุ ปให้ได้ ซึ่งจะรวมเอำทั้งกำรยอมรับ กำรขยำยหรื อกำรปฏิเสธสมมติฐำนหรื อมันอำจจะ
นำำไปสู่ขอ้ สรุ ปที่วำ่ หลักฐำนที่เชื่อถือได้ ไม่อำจทำำให้มีพ้นื ฐำนสำำหรับกำรกระทำำ หรื อไม่อำจจะทำำให้ได้ขอ้ ควำม
(Statement) ที่ยนื ยันได้แน่นอน
3. เทคโนโลยีกำรศึกษำมอนเตสซอรี
Maria Montessori (1870-1952) นักกำรศึกษำสตรี ชำวอิตำลีผบู ้ ุกเบิกเกี่ยวกับกำรสอนแบบ Nourishing
สำำเร็ จกำรศึกษำทำงกำรแพทย์จำกมหำวิทยำลัยโรม แต่เพรำะควำมสนใจในเรื่ องพัฒนำกำรและกิจกรรมของเด็ก
ทำำให้เธอหันเหชีวิตจำกงำนด้ำนกำรแพทย์เข้ำมำสู่กำรศึกษำ เธอไปเป็ นครู ระหว่ำงปี ค.ศ.1899-1901 ในช่วงนี้เธอ
ได้ปรับปรุ งเทคนิคกำรสอนทำงจิตของเด็กที่พิกำรเพรำะขำดแคลนอำหำร โดยอำศัยพื้นฐำนทำงวิธีกำรและ
อุปกรณ์ของ Seguin (เป็ นนักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำชำวฝรั่งเศลที่ศึกษำเกี่ยวกับเด็กพิกำรทำงจิต เช่น Idiot
เป็ นต้น เขำมีชีวิตอยูร่ ะหว่ำงปี ค.ศ. 1812-1880)
เมื่อมอนเตสซอรี เขียนหนังสื อ "Scientific Pedagogy as Applied to Child Education in the Children's Houses"
ออกพิมพ์เผยแพร่ ในปี ค.ศ.1909 ปรำกฏว่ำได้รับควำมสนใจจำกประชำชนทัว่ ไป นักกำรศึกษำสำำคัญ ๆ จำกทัว่
โลกไปสังเกตวิธีสอนที่โรงเรี ยนของเธอเป็ นจำำนวนมำก
แนวคิดพื้นฐำนของวิธีสอนแบบมอนเตสซอรี เทคโนโลยีกำรศึกษำและกำรสอนของมอนเตสเซอรี มีลกั ษณะที่
สำำคัญอยู่ 3 ประกำร คือ
1. กำรจัดกิจกรรมของโรงเรี ยนให้เหมำะสมกับผูเ้ รี ยนแต่ละคน
2. แบ่งเด็กให้มีโอกำสทำำงำนได้อย่ำงอิสระ โดยไม่ข้ นึ อยูก่ บั ครู ผสู ้ อนฝ่ ำยเดียว
3. เน้นในเรื่ องลักษณะกำรแบ่งแยกระบบประสำทสัมผัส

หลักกำรพืน้ ฐำนของวิธีกำรสอนแบบมอนเตสซอรี มีอยู่ 2 ประกำรคือ

1.ยอมรับในเรื่ องควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล และส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้ทำำ งำนอย่ำงมีอิสระ โดยไม่คำำ นึงถึงแต่เพียง


เฉพำะในเรื่ องของสภำวะทำงกำยภำพในห้องเรี ยนและบรรยำกำศทำงจิตวิทยำเท่ำนั้น
2.ต้องคำำนึงถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงครู กบั ผูเ้ รี ยน สื่ อกำรสอนและธรรมชำติของกระบวนกำรสอนด้วย
17

4.เทคโนโลยีกำรศึกษำของเลวิน
จำกกำรศึกษำค้นคว้ำทดลองของ Kurt Lewin ที่มหำวิทยำลัยแห่ งเบอร์ ลิน ประมำณปลำยปี ค.ศ.1920
ทำำให้เกิดหลักกำรทฤษฎีที่สำำ คัญขึ้นมำทฤษฎีหนึ่ง และถึงแม้ทฤษฎีน้ ีจะได้ทดลองปฏิบตั ิอย่ำงใกล้ชิดกับจิตวิทยำ
เกสตัลท์ ในกรุ งเบอร์ ลินก็ตำม แต่ทฤษฎีของเลวิน มีควำมสัมพันธ์กบั นักจิตวิทยำกลุ่มเกสตัลท์ตำมที่คนทัว่ ๆ ไป
เข้ำใจอยูเ่ พียงเล็กน้อยเท่ำนั้นเอง
ทฤษฎีทว่ั ๆ ของเลวิน ถึงแม้กำรกล่ำวถึงทฤษฎีทว่ั ๆ ไป ของเลวินจะไม่ใช่จุดมุ่งหมำยของเรำในกำร
ศึกษำเรื่ องพัฒนำกำรของเทคโนโลยีกำรศึกษำ แต่กำรได้ทรำบถึงจุดเริ่ มของกำรศึกษำค้นคว้ำและทฤษฎีของเขำ
จะช่วยให้เรำเข้ำใจมูลฐำนของกำรสร้ำงทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ของเขำแจ่มแจ้งขึ้น ทฤษฎีของเลวินมีลกั ษณะคล้ำยกับ
ทฤษฎีกลุ่มเกสตัลท์ ในแง่ที่วำ่ เขำได้เน้นในเรื่ องกำรจัดสถำนกำรณ์เพื่อกำรตอบสนองในลักษณะรวมทั้งหมด (As
a whole) ไม่ใช่กำรพิจำรณำส่ วนย่อยของสถำนกำรณ์หรื อสิ่ งนั้น ๆ แต่ทฤษฎีของเลวินก็ต่ำงไปจำกเกสตัลท์ใน
เรื่ องเกี่ยวกับกำรจูงใจ โดยเขำได้เน้นในเรื่ องเกี่ยวกับกำรจูงใจเป็ นหลักกำรสำำคัญ
Life Space หรื อที่เรำเรี ยกกันว่ำ อวกำศแห่ งชีวิตตำมแนวคิดของเลวินนั้น เขำใช้คำำ นี้ เพื่อต้องกำรหมำยถึง
อวกำศหรื อห้วงแห่ งชีวิตอันเป็ นเสมือนโลกอีกโลกหนึ่งต่ำงหำก ซึ่งเป็ นโลกทำงควำมคิดหรื อโลกของจิต
(Rsychological World) ของแต่ละบุคคล อวกำศแห่ งชีวิตจะมีอิทธิ พลหรื อควำมสัมพันธ์กบั พฤติกรรมของบุคคล
แต่ละคน ตำมแต่เขำจะมีอวกำศแห่ งชีวิตอย่ำงไร
ส่ วนควำมคิดรวบยอดเกี่ยวกับ Topological ของเลวินนั้น เขำใช้เพื่ออธิ บำยโครงสร้ำงเกี่ยวกับกำรรับรู ้
และปฏิกิริยำต่ำง ๆ ที่ควรจะดำำเนินกำรไปได้ของอวกำศแห่ งชีวิตในลักษณะของย่ำน (Regions) และอำณำเขตหรื อ
ขอบเขต (Boundaries) เช่น ในอวกำศแห่ งชีวิตของคน ๆ หนึ่ง สมมติวำ่ เขำกำำลังคิดถึงเรื่ องของ "กำรกินในตอนนี้
เป็ นเรื่ องของย่ำน (Regions) ควำมคิดเขำจะมีปฏิกิริยำในขอบเขต (Boundaries) ต่ำง ๆ กันออกไปตำม แต่วำ่ ใน
ขณะนั้น เขำหิ วหรื ออิ่ม เป็ นต้น
5. ทฤษฎีกำรศึกษำของสกินเนอร์
ทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไขแบบอำกำรกระทำำ (Operant Conditioning) หรื อพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ของ B.F.
Skinner จัดว่ำเป็ นทฤษฎีที่เสริ มต่อจำกทฤษฎีจิตวิทยำ S-R หรื อทฤษฎีสมั พันธ์เชื่อมโยงของธอร์ นไดค์และทฤษฎี
พฤติกรรมของ Watson โดยรวมเอำแนวคิดของทฤษฎีท้ งั สองเข้ำด้วยกัน กล่ำวคือ เขำมีควำมเห็นว่ำมนุษย์เรำนั้นมี
ลักษณะที่เป็ นกลำงและอยูน่ ่ิงเฉย (Man is neutral and passive) ดังนั้น พฤติกรรมทั้งหลำยของมนุษย์จึงสำมำรถ
อธิ บำยได้ดว้ ยเรื่ องของกลไก (Mechanistic) ในกำรควบคุมพฤติกรรม จำกกำรทดลองสกินเนอร์ จึงได้เกิดเป็ น
ทฤษฎีทำงจิตวิทยำที่เขำเรี ยกว่ำ ทฤษฎีเงื่อนไขแบบอำกำรกระทำำ (Operant Conditioning) พอสรุ ปได้ดงั นี้ คือ
"กำรกระทำำใด ๆ ถ้ำได้รับกำรเร้ำด้วยกำรเสริ มแรง อัตรำควำมเข้มแข็งของกำรตอบสนองจะมีโอกำสสู งขึ้น"
อย่ำงไรก็ตำม กำรเสริ มแรงมีท้ งั ทำงบวกและทำงลบ ตลอดจนตัวเสริ มแรงปฐมภูมิและทุติยภูมิ (Primary
and Secondary Reinforces) ดังนั้นพฤติกรรมในด้ำนกำรตอบสนองต่อตัวเสริ มแรง จึงมีแตกต่ำงกันออก
ไปตำมแต่ชนิดของกำรเสริ มแรง
18

5. พัฒนำกำรทำงเทคโนโลยีกำรศึกษำในปัจจุบัน และแนวโน้ มในอนำคต


ตลอดระยะเวลำประมำณ 2 ศตวรรษ นับแต่ปี ค.ศ.1960 เป็ นต้นมำ สื่ อกำรศึกษำบำงประเภท ได้ถูกนำำมำใช้
กับงำนกำรศึกษำมำกขึ้น ผลจำกกำรค้นคว้ำทดลองของนักวิทยำศำสตร์ ประยุกต์บวกกับแนวควำมคิดของนักกำร
ศึกษำ ก่อให้เกิดควำมก้ำวหน้ำใหม่ ๆ ทำงเครื่ องมือทำงกำรศึกษำขึ้น เช่น ทำงด้ำนกำรใช้โทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ
มวลชน กำรใช้โทรศัพท์ในลักษณะวงจรปิ ดเพื่อเรี ยนเป็ นกลุ่ม กำรใช้เทคโนโลยีวีดิโอเทป ซึ่งกลุ่มผูเ้ รี ยนเป้ ำหมำย
แคบลง ๆ กำรใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ มำพ่วงกับควำมคิดและกำรพัฒนำกำรสอนในลักษณะใหม่ เช่น กำรเรี ยนด้วย
ในช่วงทศวรรษที่ 1950 วิทยุโทรทัศน์เกิดเป็ นปรำกฏกำรณ์ใหม่ในสังคมตะวันตกซึ่งสำมำรถใช้เป็ นสื่ อเพื่อ
กำรศึกษำได้อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพ วิทยุโทรทัศน์จึงมีบทบำทสำำคัญและกลำยเป็ นเทคโนโลยีแถวหน้ำของสังคมนับ
แต่บดั นั้น นักวิชำกำรบำงท่ำนถือว่ำช่วงระหว่ำงทศวรรษที่ 1950 ถึง 1960 นี้ เป็ นกำรเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ใน
แวดวงเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำเนื่องจำกกำรก่อกำำเนิดของวิทยุโทรทัศน์ และยังได้มีกำรนำำเสนอเอำทฤษฏีทำง
ด้ำนสื่ อสำรมวลชนและทฤษฏีระบบเข้ำมำใช้ในวงกำรเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำอีกด้วย ดังนั้น ในช่วงต้นทศวรรษ
ที่ 1950 จึงมีกำรใช้คำำ ว่ำ "กำรสื่ อสำรทำงภำพและเสี ยง" หรื อ "audio-visual communications" แทนคำำว่ำ "กำร
สอนทำงภำพและเสี ยง"
พัฒนำกำรเทคโนโลยีกำรศึกษำในประเทศไทย

เทคโนโลยีกำรศึกษำของไทยมีกำรพัฒนำกำรมำ 3 ยุค คือ

1. ยุคแรกสมัยกรุ งสุ โขทัยจนถึงสมัยกรุ งธนบุรี ยุคนี้เป็ นยุคเริ่ มต้นของกำรพัฒนำเทคโนโลยีทำงกำรศึกษ


ของไทย ในสมัยสุ โขทัย พ่อขุนรำมคำำแหงมหำรำชทรง ประดิษฐ์อกั ษรไทย เพรำะตัวอักษรเป็ นพื้นฐำนที่สำำ คัญใน
กำรเผยแพร่ วิทยำกำรต่ำงๆ ให้กำ้ วหน้ำยิง่ ขึ้น และทำำให้คนไทยเกิดควำมรู ้สึกหวงแหนชำติไทยนอกจำกนี้พระองค์
ยังทรงเอำใจใส่ ต่อกำรศึกษำของประชำชนด้วย ดังเช่น กำรสัง่ สอนประชำชน ณ พระแทนมนังคศิลำ ทั้งด้วย
พระองค์เองและทรงนิมนต์พระภิกษุมำสัง่ สอน เล่ำเรื่ อง กำรเทศนำ กำรเขียนเป็ นหนังสื อ ฯลฯ ยุคนี้มีเทคโนโลยี
กำรศึกษำผ่ำนสื่ อวรรณกรรมที่สำำ คัญ 2 เรื่ อง คือ ภำษิตพระร่ วง และไตรภูมิพระร่ วง ในสมัยกรุ งศรี อยุธยำ
เทคโนโลยีกำรศึกษำได้กำ้ วหน้ำไปมำก ทั้งด้ำนวิชำกำรทั้งในประเทศและวิทยำกำรจำกประเทศตะวันตก หนังสื อ
เรี ยนเล่มแรกของไทยชื่อ จินดำมณี กเ็ กิดขึ้นในยุคนี้ นอกจำกนี้กม็ ี วรรณกรรมต่ำงๆเกิดขึ้นมำกมำย ในสมัยสมเด็จ
พระนำรำยณ์มหำรำช พระองค์ทรงดำำเนินนโยบำยต่ำงประทศระบบเปิ ด ต้อนรับชำวต่ำงประเทศ กำรค้ำและกำร
ศำสนำ ส่ วนหนึ่งของชำวยุโรปเหล่ำนี้ ได้แก่ คณะมิชชัน่ นำรี ได้นำำ วิทยำกำรใหม่ ๆ หลำยประกำรจำกยุโรปมำเผย
แพร่ ในประเทศด้วย เช่น กำรพิมพ์ กำรจัดตั้งโรงเรี ยน แต่วิทยำกำรเหล่ำนี้ไม่ได้นำำ มำใช้อย่ำงจริ งจัง ก็เลิกล้มไป
เพรำะพระมหำกษัตริ ยส์ มัยหลังสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช ไม่ตอ้ งกำรให้ชำวยุโรปเข้ำมำดำำเนินกำรกิจกำรต่ำงๆ19
ในประเทศไทยใน
สมัยกรุ งธนบุรี เทคโนโลยีกำรศึกษำมีไม่มำกนัก ทั้งนี้เพรำะประเทศได้รับควำมเสี ยหำยมำก จำกกำรเสี ย
กรุ งศรี อยุธยำครั้งที่ 2 ในปี พ.ศ. 2310 พระเจ้ำกรุ งธนบุรีใช้เวลำส่ วนใหญ่ในกำรรวบรวมคนไทย และบูรณะ
ประเทศให้เป็ นปึ กแผ่นอีกครั้งหนึ่ง อีกทั้งสมัยนี้มีระยะเวลำสั้นเพียง 15 ปี เทคโนโลยีกำรศึกษำในสมัยนี้จึงมีเพียง
วรรณกรรมเท่ำนั้น
2. เทคโนโลยีกำรศึกษำยุคปรับเปลีย่ น ในยุคนี้นบั ตั้งแต่สมัยพระพุทธยอดฟ้ ำจุฬำโลกครั้งที่ 2 จนถึง
ปั จจุบนั เมื่อสิ้ นสุ ดสงครำมโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริ กำ ได้เข้ำมำมีอิทธิ พลในประเทศไทยมำกขึ้น แทนอังกฤษและ
ฝรั่งเศษ สหรัฐอเมริ กำได้นำำ เทคโนโลยีกำรศึกษำสมัยใหม่หลำยอย่ำงมำเผยแพร่ ในประเทศไทย เริ่ มต้นด้วย
ภำพยนตร์ ที่สำำ นักข่ำวสำรอเมริ กนั ได้นำำ มำฉำย หลำยเรื่ องมำสำมำรถนำำมำใช้ในกำรศึกษำได้ ทำำให้คนไทยเห็น
คุณค่ำของภำพยนตร์ เพื่อนำำมำใช้ในกำรศึกษำ กองกำรศึกษำผูใ้ หญ่ กระทรวงศึกษำธิ กำรเริ่ มนำำภำพยนตร์ มำใช้ใน
กำรให้กำรศึกษำ ในยุคนี้เองได้มีกำรบัญญัติศพั ท์ " โสตทัศนศึกษำ" ขึ้นโดยมำจำกคำำภำษำอังกฤษว่ำ Audio
Visual
โสตทัศนศึกษำในยุคนี้พฒั นำอย่ำงมีระบบแบบแผน อีกทั้งได้มีกำรเปิ ดสอนในระดับอุดมศึกษำ ทั้งขั้น
ปริ ญญำตรี และบัณฑิตศึกษำ ทำำให้กำ้ วหน้ำกว่ำทุกยุคที่ผำ่ นมำโดยเฉพำะสหรัฐมเมริ กำเข้ำมำมีอิทธิ พลอย่ำงมำก
ในกำรจัดกำรศึกษำของไทย ทั้งนี้เพรำะมีนกั กำรศึกษำและผูบ้ ริ หำรกำรศึกษำคนไทยได้มีโอกำสไปศึกษำใน
สหรัฐอเมริ กำ เริ่ มตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 4 เทคโนโลยีกำรศึกษำในยุคนี้ แบ่งออกได้เป็ นรู ปแบบต่ำงๆดังนี้
1) เทคโนโลยีกำรสอน ได้มีกำรคิดค้นวิธีกำรเรี ยนกำรสอนใหม่ ๆ ขึ้นมำหลำยอย่ำง ทั้งจำกกำรประยุกต์
จำกวิทยำกำรของต่ำงประเทศและจำกกำรสร้ำงขึ้นมำเอง เช่น ระบบกำรเรี ยนกำรสอนแบบศูนย์กำรเรี ยน ระบบ
กำรสอนแบบเบญจขันธ์ ระบบกำรสอนแบบจุลภำค ระบบกำรกำรสอนแบบสื บสวนสอบสวน ฯลฯ ซึ่งระบบกำร
เรี ยนกำรสอนที่ได้รับกำรพัฒนำขึ้นนี้ ล้วนเอำแนวคิดจำกตะวันตกมำทั้งสิ้ น
2) เทคโนโลยีดำ้ นสื่ อ สื่ อกำรศึกษำในยุคนี้ส่วนใหญ่พฒั นำมำจำกผลิตผลทำงด้ำนวิทยำศำสตร์ และ
วิศวกรรมศำสตร์ เช่น เครื่ องฉำยภำพยนต์ เครื่ องฉำยสไลด์ เครื่ องฉำยภำพโปร่ งใส นอกจำกนี้ยงั ได้มีกำรนำำวิทยุ
และวิทยุโทรทัศน์มำใช้เพื่อกำรศึกษำด้วย แต่กำรนำำรู ปแบบสื่ อจำกประเทศตะวันตกมำใช้ทำำ ให้เกิดปั ญหำหลำย
ประกำร เพรำะสภำพทำงสังคมและเศรษฐกิจที่แตกต่ำงกัน นักกำรศึกษำของไทยจึงได้พฒั นำสื่ อกำรศึกษำขึ้นมำ
เองเพื่อให้เหมำะสมกับสภำพทำงสังคมและเศรษฐกิจ โดย กำรใช้ทรัพยำกรพื้นบ้ำน ใช้สื่อรำคำเยำว์เช่น ผลงำนวัต
กรรมพื้นบ้ำนเพื่อกำรสอนของธนู บุญรัตพันธุ์ วิธีกำรและวัสดุอุปกรณ์กำรสอนวิทยำศำสตร์ ที่ผสู ้ อนคิด ประดิษฐ์
ขึ้นเองเช่นวัสดุอุปกรณ์กำรเรี ยนกำรสอนวิทยำศำสตร์ ของ โช สำลีฉนั ท์ ซึ่งมีผลิตผลที่ใช้วสั ดุเหลือใช้ต่ำงๆ ใน
ท้องถิ่น จึงเป็ นแนวโน้มที่ดีในกำรเลือกและใช้สื่อในกำรศึกษำ
3) กำรจัดตั้งหน่วยงำนเพื่อรับผิดชอบเพื่อส่ งเสริ มและพัฒนำเทคโนโลยีกำรศึกษำ ได้มีกำรจัดตั้งสถำบัน
และหน่วยงำนต่ำงๆขึ้นเช่น ศูนย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ ศูนย์บริ ภณั ฑ์เพื่อกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิ กำร
สถำบันส่ งเสริ มกำรสอนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี ในสถำบันกำรศึกษำต่ำงๆก็มีกำรจัดตั้งศูนย์ที่ทำำ หน้ำที่ดำ้ น
สื่ อขึ้นมำ เพื่อตอบสนองและส่ งเสริ มประสิ ทธิ ภำพในกำรศึกษำของผูเ้ รี ยนให้มำกขึ้น
20

3. ยุคสำรสนเทศ เทคโนโลยีกำรศึกษำในยุคสำรสนเทศ เป็ นยุคที่คอมพิวเตอร์ เข้ำมำมีบทบำทในกำร


สื่ อสำรเป็ นอย่ำงยิง่ คือเริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2530 เป็ นต้นมำ อิทธิ พลของคอมพิวเตอร์ ที่มีต่อกำรสื่ อสำรและสังคมทำำให้
บทบำทของเทคโนโลยีกำรศึกษำต้องปรับเปลี่ยนตำมไปด้วย เทคโนโลยีกำรศึกษำในยุคนี้จึงแบ่งได้เป็ น รู ปแบบ
คือ
1) เทคโนโลยีดำ้ นสื่ อ
2) เทคโนโลยีกำรสื่ อสำร
3) เทคโนโลยีดำ้ นระบบ
4) เทคโนโลยีกำรสอน

นักเทคโนโลยีกำรศึกษำของไทย
นักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำของไทย ตั้งแต่ยคุ แรกเริ่ มจนถึงปั จจุบนั ที่สำำ คัญได้แก่
1. พ่อขุนรำมคำำแหงมหำรำช ผูป้ ระดิษฐ์อกั ษรไทย
2. พระมหำธรรมรำชำลิไทย ผูน้ ิพนธ์ "ไตรภูมิพระร่ วง"
3. พระโหรำธิ บดี ผูแ้ ต่ง "จินดำมณี " ซึ่งเป็ นแบบเรี ยนเล่มแรกของไทย
4. พระบำทสมเด็จพระนัง่ เกล้ำเจ้ำอยูห่ วั "บิดำสำขำวิทยำศำสตร์ และให้แนวคิดมหำวิทยำลัยเปิ ดของไทย
5. พุทธทำสภิกขุ ในฐำนะที่ได้นำำ เทคโนโลยีมำใช้ในกำรเผยแพร่ ธรรม
6. ศำส ตรำจำรย์สำำ เภำ วรำงกูล ในฐำนะผูร้ ิ เริ่ มและบุกเบิก นวัตกรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำสมัยใหม่ใน
ไทย
7. รองศำสตรำจำรย์ ดร.เปรื่ อง กุมุท ผูค้ ิดวิธีสอนแบบเบญจขันธ์
8. ศำสตรำจำรย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ นักเทคโนโลยีกำรศึกษำ ที่เน้นแนวคิดทำงพฤติกรรมศำสตร์ ผลงำนที่
สำำคัญได้แก่ ระบบกำรเรี ยนกำรสอน แบบศูนย์ กำรเรี ยน ระบบแผนจุฬำ แบบ มสธ.. ฯลฯ
9. อำจำรย์ธนู บุณยรัตพันธ์ นักเทคโนโลยีกำรศึกษำที่มีผลงำนทั้งด้ำนวัสดุอุปกรณ์ กำรสอนโดยเฉพำะในด้ำน
วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่น
10. ศำสตรำจำรย์ ดร. วีรยุทธ วิเชียรโชติ นักจิตวิทยำและเทคโนโลยีกำรศึกษำที่ได้ประยุกต์หลักธรรมทำงพุทธ
ศำสนำมำใช้ประโยชน์ในกำรเรี ยนกำรสอน ผลงำนที่สำำ คัญ ได้แก่ ระบบกำรเรี ยนกำรสอน แบบสื บสวนสอบสวน
11. รองศำสตรำจำรย์ โช สำลีฉนั นักเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำที่มีผลงำนเด่นในด้ำนกำรผลิตวัสดุอุปกรณ์กำรสอน
วิทยำศำสตร์ จำกทรัพยำกรพื้นบ้ำน
12. ศำสตรำจำรย์ ดร.วิจิตร ศรี สะอ้ำน ผูร้ ิ เริ่ มตั้งมหำวิทยำลัยเปิ ดโดยกำรสอนทำงไกลของมหำวิทยำลัยสุ โขทัยธร
รมมำธิรำช
มุมมองเทคโนโลยีที่สมัยเก่ำมองเป็ นภำพของโสตทัศนศึกษำเปลี่ยนไป ปรับเป็ น เทคโนโลยีสำรสนเทศ
และกำรสื่ อสำร แนวคิดของเทคโนโลยีกำรศึกษำยังอยูแ่ ต่เน้นกำรนำำเอำเทคโนโลยีสื่อสำรและกำรสนเทศ
(Information and Communication Technology) มำใช้เพื่อควำมทันสมัยและทันกับควำมก้ำวหน้ำของกำรสื่ อสำร
21

สภำพปัจจุบันของเทคโนโลยีกำรศึกษำในประเทศไทย

สิ่ งพิมพ์ เพือ่ กำรศึกษำ


ปั จจุบนั สิ่ งพิมพ์ในเมืองไทยมีกำรใช้อย่ำงกว้ำงขวำง ทั้งประโยชน์ทำงด้ำนกำรศึกษำ เศรษฐกิจ กำรเมือง
และสังคม สิ่ งพิมพ์จึงมีควำมเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำำวันของประชำชนคนไทยอยูม่ ำก ปั จจุบนั นี้มีท้ งั หน่วยงำนรัฐ
บำลลัสำำ นักพิมพ์เอกชนที่ต่ำงแข่งขันผลิตสิ่งพิมพ์ออกมำหลำยประเภทด้วยกัน
สิ่ งพิมพ์ทว่ั ไป (Printed Material) หมำยถึงสำงที่ใช้ระบบพิมพ์ถ่ำยทอดข้อควำมและภำพที่แสดงควำมรู ้วิทยำกำร
ก้ำวหน้ำ ข้อมูลข่ำวสำร ควำมคิด ควำมเชื่อ ประสบกำรณ์ และจินตนำกำรของมนุษย์ เผยแพร่ ออกไปสู่ผอู ้ ่ำนอย่ำง
กว้ำงขวำงและทัว่ ถึง ในรู ปลักษณ์ต่ำงๆ เช่น หนังสื อเล่ม หนังสื อพิมพ์ วำรสำร นิตยสำร จุลสำร แผ่นพับ แผ่นปลิว
สลำก เป็ นต้น สิ่ งพิมพ์เพื่อกำรศึกษำ (Educational/Instructional Material) หมำยถึงสิ่ งพิมพ์ในรู ปลักษณ์ต่ำงที่จดั
ทำำขึ้นเป็ นเครื่ องมือในกำรเรี ยนกำรสอน ทำำหน้ำที่ถำ่ ยทอดควำมรู ้ ควำมคิด ควำมเข้ำใจ เจตคติ ค่ำนิยม ควำมรู ้ สึ ก
ประสบกำรณ์กำรเรี ยนรู ้ สำำหรับกำรนำำไปใช้ในกำรจัดกำรเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนและผูส้ อน เช่น หนังสื อ ตำำรำเรี ยน
แบบเรี ยนแบบฝึ กหัด ใบงำน คู่มือกำรสอน และสื่ อเสริ มกำรเรี ยนรู ้ ซึ่งได้แก่ หนังสื อเสริ มควำมรู ้ สำรำนุกรม
พจนำนุกรม หนังสื ออุเทศ หนังสื อพิมพ์ หนังสื อบันเทิงคดี และสำรคดีที่มีเนื้อหำเป็ นประโยชน์ เป็ นต้น

สื่ อโสตทัศนูปกรณ์ เพือ่ กำรศึกษำ


หน่วยงำนที่จดั กำรศึกษำได้แก่ สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแห่ งชำติ กรมสำมัญศึกษำ
สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำเอกชน กรมกำรศำสนำ กรมอำชีวศึกษำ สถำบันรำชภัฏ สถำบันเทคโนโลยีรำช
มงคล มีอุปกรณ์และเครื่ องมือ (Hardware) เพื่อให้บริ กำรสื่ อทัศนูปกรณ์แก่ผเู ้ รี ยนโดยกระจำยอยูต่ ำมสถำนศึกษำ
ต่ำงๆ แต่ยงั ไม่เคยมีกำรประวำนงำนกันระหว่ำงสถำบัน ส่ วนหน่ำยงำนที่จดั กำรศึกษำให้แก่กลุ่มเป้ ำหมำยนออก
ระบบ คือกรมกำรศึกษำยอกโรงเรี ยน มีกำรจัดซื้อ จัดหำวัสดุอุปกรณ์ (Hardware) ด้ำนสื่ อโสตทัศนูปกรณ์ในรู ป
ของเครื่ องเล่นวีดีทศั น์ เครื่ องรับโทรทัศน์ เครื่ องเล่นเทปเสี ยง ให้กบั สถำนศึกษำในสังกัด มีกำรจัดระบบสื่ อที่เป็ น
วัสดุ (Software) ซึ่งเป็ นม้วนวีดีทศั น์ และม้วนเทปเสี ยง เพื่อใช้ประกอบกำรเรี ยนกำรสอนให้กบั สถำนศึกษำและ
แหล่งกำรเรี ยนรู ้ในสังกัดอย่ำงทัว่ ถึง ทั้งในระดับภำค จังหวัด อำำเภอ และหน่วยจัดกำรศึกษำนอกโรงเรี ยน โดยมี
เครื อข่ำยในกำรผลิต ได้แก่ ศูนย์กำรศึกษำนอกโรงเรี ยนภำค ศูนย์กำรศึกษำนอกโรงเรี ยนจังหวัด เครื อข่ำยในกำร
ใช้ได้แก่ ศูนย์บริ กำรกำรศึกษำนอกโรงเรี ยนอำำเภอและศูนย์กำรเรี ยนชุมชน แต่สื่อทัศนูปกรณ์ที่ให้บริ กำรส่ วน
ใหญ่เป็ นสื่ อที่ใช้เฉพำะส่ วนที่เกี่ยวช้องกับกำรศึกษำนอกระบบโรงเรี ยน ส่ วนสื่ อทัศนูปกรณ์ที่ใช้ในกำรศึกษำใน
ระบบและตำมอัธยำศัย ยังมีนอ้ ยไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของกลุ่มเป้ ำหมำย

วิทยุกระจำยเสี ยงเพือ่ กำรศึกษำ


ปั จจุบนั ประเทศไทยมีวิทยุกระจำยเสี ยงทั้งสิ้ น 514 สถำนี จำำแนกตำมคลื่นควำมถี่เพื่อกำรกระจำยเสี ยงได้เป็ น
ระบบ AM 205 สถำนี และระบบ FM 309 สถำนี1 แม้วำ่ ประเทศไทยจะมีวิทยุกระจำยเสี ยงเป็ นจำำวนมำก และมี
รัศมีครอบคลุมทัว่ ประเทศแต่สถำนีวิทยุกระจำยเสี ยงส่ วนใหญ่ตกอยูภ่ ำยใต้กำรดำำเนินงำนของภำคธุรกิจเอกชน
22

จำกรำยงำนกำรศึกษำเพื่อเตรี ยมกำรจัดตั้งสถำบันเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกำแห่ งชำติ สำำนักงำนปลัดทบวง


มหำวิทยำลัยเมื่อปี 2543 พบว่ำ สัดส่ วนที่คลื่นควำมถี่วิทยุที่ได้รับกำรจัดสรรให้แก่หน่วยงำนด้ำนกำรศึกษำมี
จำำนวนน้อยมำก เช่น ทบวงมหำวิทยำลัยมีสถำนีวิทยุ 12 สถำนี (คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 2.3 ของสถำนีวิทยุท้ งั หมด)
และรำยกำรที่ออกอำเกศไม่ได้เป็ นไปเพื่อกำรศึกษำโดยตรง แต่ส่วนใหญ่เป็ นรำยกำรสำระบันเทิง ส่ วนกระทรวง
ศึกษำธิ กำรนั้นมีสถำนีวิทยุ 2 สถำนี 3 คลื่นควำมถี่ (คิดเป็ นสัดส่ วนร้อยละ 0.6 ของสถำนีวิทยุท้ งั หมด) ทั้งนี้คณะ
รัฐมนตรี ยงั ได้อนุมตั ิให้จดั ตั้งสถำนีวิทยุกระจำยเสี ยงแห่ งประเทศไทยเพื่อกำรศึกษำ เป็ นระบบเครื อข่ำยมี 11
สถำนี ครอบคลุมพื้นที่ทว่ั ประเทศเพื่อให้กำรบริ กำรด้ำนรำยกำรวิทยุเพื่อกำรศึกษำอีกด้วย แต่สถำนีวิทยุกระจำย
เสี ยงเพื่อกำรศึกษำก็ยงั กระจำยไปมท่ะวถึงในบำงภูมิภำคที่อยูใ่ นพื้นที่ห่ำงไกล
ปั จจุบนั นี้ศนู ย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ กรมกำรศึกษำนอกโรงเรี ยน ทำำกำรผลิตละเผยแพร่ รำยกำรวิทยุเพื่อกำร
ศึกษำ ออกอำกำศระหว่ำงเวลำ 06.00-20.00 น. ทุกวัน ทำงสถำนีวิทยุกระจำยเสี ยงเพื่อกำรศึกษำ ควำมถี่ FM 92
MHz และ AM 1161 KHz และยังมีกำรเผลแพร่ รำยกำรออกอำกำศทำงสถำนีวิทยุกระจำยเสี ยงแห่ งประเทศไทย
เพื่อกำรศึกษำ (วิทยุโรงเรี ยน) วันจันทร์ - วันศุกร์ เวลำ 09.00 - 15.00 น. นอกจำกนั้น ยังมีรำยกำรวิทยุนอกโรงเรี ยน
ออกอำกำศทุกวัน สัปดำห์ละ 17 ชัว่ โมงอีกด้วย
วิทยุโทรทัศน์ เพือ่ กำรศึกษำ
1. วิทยุโทรทัศน์ประเภทสำธำรณะรับได้โดยตรง (Free TV) ซึ่งแบ่งเป็ น 2 ระบบคือ
1.1 สถำนีวิทยุโทรทัศน์ที่ใช้ควำมถี่ยำ่ นสูงมำก หรื อ VHF (Very High Frequency) มีอยูท่ ้ งั หมดสถำนีคือ
1. สถำนีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3 อสมท.
2. สถำนีโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5
3. สถำนีโทรทัศน์สีกองทัพบก ช่อง 7
4. สถำนีโทรทัศน์แห่ งประเทศไทยช่อง 11 ของกรมประชำสัมพันธ์
5. สถำนีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 9 ขององค์กำรสื่ อสำรมวลชนแห่ งประเทศไทย(อสมท.)
1.2 สถำนีโทรทัศน์ที่ใช่คลื่นควำมถี่ยำ่ นสูงมำก หรื อ UHF (Ultra High Frequency)จำำนวน 1 สถำนี คือ
สถำนีโทรทัศน์ ITV (Independent Television)
2. วิทยุโทรทัศน์ประเภทบอกรับสมำชิก (Pay TV) มีกำรให้บริ กำรเป็ น 3 ระบบคือ
2.1 กำรใช้ช่องสัญญำณดำวเทียมในระบบ DTH (Direct To Home) มีกำรดำำเนินกำรออกอำกำศด้วย
ระบบนี้อยู่ 3 หน่วยงำน ได้แก่ United Broadcasting Corporation Plc (UBC) สถำนีวิทยุโทรทัศน์กำรศึกษำทำงไกล
ผ่ำนดำวเทียม (ไกลกังวล) และสถำนีวิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิ กำร (Education Television หรื อ
ETV)
2.2 กำรใช้สำยนำำสัญญำณและสำยใยแก้วนำำแสง (Optical Fiber) ได้แก่ สถำนีวิทยุโทรทัศน์ UBC ซึ่งให้
บริ กำร Cable TV เป็ นหลักในเขตกรุ งเทพมหำนคร และสถำนี Cable TV ในต่ำงจังหวัด
2.3 กำรให้บริ กำรโดยใช้คลื่นวิทยุ หรื อคลื่นควำมถี่ระบบ MMDS (Multichannel Multipoint
Distribution System) ได้แก่ สถำนีโทรทัศน์ (TTV) ซึ่งให้บริ กำรในเขตกรุ งเทพมหำนครและจังหวัดใกล้เคียง
23

หน่ วยงำนต่ ำง ๆ ทีร่ ับผิดชอบด้ ำนกำรผลิต และกำรเผยแพร่ รำยกำรโทรทัศน์ เพือ่ กำรศึกษำในปัจจุบนั


ได้ แก่
1. ศูนย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ กรมกำรศึกษำนอกโรงเรี ยน กระทรวงศึกษำธิ กำร จัดผลิตรำยกำร
โทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ บริ กำรให้แก่กลุ่มเป้ ำหมำยในระบบโรงเรี ยน นอกระบบโรงเรี ยน ทั้งกำรศึกษำระดับก่อน
วัยเรี ยน ประถมศึกษำ มัธยมศึกษำ อุดมศึกษำ รวมทั้งกำรศึกษำตำมอัธยำศัยสำำหรับประชำชนทัว่ ไป
ในส่ วนของกำรเผยแพร่ ออกอำกำศ ศูนย์เทคโนโลยีทำงกำรศึกษำได้เช่ำช่องสัญญำณดำวเทียมไทยคมย่ำนควำมถี่
KU-Band จำำนวนหนึ่งช่องสัญญำณ เพื่อทำำกำรเผยแพร่ รำยกำรเหล่ำนี้ ทำงสถำนีวิทยุโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ
(ETV) ช่อง UBC 18 ออกอำกำศรำยกำรวันละ 15 ชัว่ โมง ตั้งแต่ 07.00 - 22.00 น. ทุกวันโดยจำำแนกประเภทของ
รำยกำรออกเป็ น 5 ประเภท คือ
- รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำในระบบโรงเรี ยนสำำหรับนักเรี ยนระดับชั้นประถมศึกษำ 3-6 และ
นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษำ 1-3
- รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำนอกโรงเรี ยน เป็ นรำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำในระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้นถึงมัธยมศึกษำตอนปลำย และระดับชั้นประกำศนียบัตรวิชำชีพทำงไกล (ปวช. ทำงไกล) สำำหรับนักศึกษำ
กำรศึกษำนอกโรงเรี ยน
- รำยกำรเสริ มควำมรู ้ เป็ นรำยกำรเพิ่มพูนควำมรู ้แก่นกั เรี ยน นักศึกษำ และประชำชนทัว่ ไป
- รำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำตำมอัธยำศัย
นอกจำกนั้นยังมีกำรเผลแพร่ รำยกำรบำงส่ วนโดยขอเช่ำเวลำของสถำนีวิทยุโทรทัศน์แห่ งประเทศไทย
ช่อง 11 สัปดำห์ละ 2 ชัว่ โมงอีกด้วย
2. มูลนิธิกำรศึกษำทำงไกลผ่ำนดำวเทียม (ไกลกังวล) ร่ วมกับกรมสำมัญศึกษำ ดำำเนินกำรผลิตรำยกำร
โทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ เพื่อบริ กำรกลุ่มเป้ ำหมำยในระบบโรงเรี ยนระดับมัธยมศึกษำ ซึ่งมูลนิธิกำรศึกษำทำงไกล
ผ่ำนดำวเทียมได้เช่ำสัญญำณดำวเทียมไทยคมย่ำนควำมถี่ KU - Band จำำรวน 7 ช่องสัญญำณเพื่อทำำกำรเผยแพร่
รำยกำรเหล่ำนี้ทำงสถำนีวิทยุโทรทัศน์ช่อง UBC 11 – 17
3. สถำบันเทคโนโลยีรำชมงคล กระทรวงศึกษำธิ กำรดำำเนินกำรผลิตรำยกำรโทรทัศน์เพื่อกำรศึกษำ
บริ กำรกลุ่มเป้ ำหมำยนักศึกษำของสถำบันในทุกวิทยำเขตและแพร่ ภำพออกอำกำศโดยกำรเช่ำช่องสัญญำณ
ดำวเทียม ย่ำนควำมถี่ C - Band จำำนวน 1 ช่องสัญญำณ

เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรศึกษำ
1. เทคโนโลยีสำรสนเทศเพื่อกำรศึกษำ" หมำยถึง กำรนำำเอำเทคโนโลยีสำรสนเทคซึ่งประกอบด้วย
เทคโนโลยีทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ และเครื อข่ำยโทรคมนำคมที่ต่อเชื่อมกัน สำำหรับส่ งและรับข้อมูลและมัลติมีเดีย
เกี่ยวกับควำมรู ้โดยผ่ำนกระบวนกำรประมวลหรื อจัดทกให้อยูใ่ นรู ปแบบที่มีควำมหมำยและควำมสะดวก มำใช้
ประโยชน์สำำ หรับกำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ และกำรศึกษำตำมอัธยำศัย เพื่อให้คนไทยสำมำรถเรี ยน
24

รู ้และพัฒนำตนเองได้อย่ำงต่อเนื่อง ในรอบทศวรรษที่ผำ่ นมำ ได้มีวิฒนำกำรทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศเกิดขึ้น


ในประเทศไทยอย่ำงต่อเนื่อง ส่ วนหนึ่งนั้นมำจำกกระแสโลกำภิวฒั น์และควำมเจริ ญก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยี อีก
ส่ วนเกิดจำกแรงผลักดันภำยในประเทศเอง ประเทศไทยได้มีกำรจัดตั้งคณะกรรมกำรส่ งเสริ มกำรพัฒนำ
เทคโนโลยีสำรสนเทศแห่ งชำติข้ นึ เมื่อ พ.ศ. 2535 ตำมระเบียบสำำนักนำยกรัฐมนตรี ต่อมำเมื่อวันที่ 20 กุมภำพันธ์
2539 คณะรัฐมนตรี ได้มติให้ประกำศใช้ " หรื อ IT 2000 โดยมีเสำหลักในกำรพัฒนำ 3 ประกำรคือ 1. พัฒนำ
โครงสร้ำงพื้นฐำน ( National Information Infrastructure หรื อ NII)2) พัฒนำทรัพยำกรมนุษย์ ( Human Resource
Development) และ 3. พัฒนำระบบสำรสนเทศและปรับปรุ งบทบำทภำครัฐเพื่อกำรบริ กำรที่ดีข้ นึ รวมทั้งสร้ำง
รำกฐำน อุตสำหกรรมสำรสนเทศที่แข็งแกร่ ง (IT for Good Governance) สำำหรับกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์น้ นั
ได้มีกำรกไหนดกลยุทธ์ไว้ 2 ประกำร คือ
2. เร่ งสร้ำงบุคลำกรที่มีทกั ษะทำงด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศทุกระดับเพื่อแก้ปัญหำควำมขำดแขลง แล
เพื่อเตรี ยมรับควำมต้องกำรของตลำด
3. ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศเป็ นเครื่ องมือที่มีประสิ ทธิ ภำพเพื่อกำรศึกษำและกำรฝึ กอบรมทุกระดับทั้งใน
สำขำวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี และมนุษย์ศำสตร์ สังคมศำสตร์

นโยบำยที่เกีย่ วข้ องกับเทคโนโลยีกำรศึกษำของประเทศไทย


1. รัฐธรรมนูญแห่ งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2540 ได้มีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับกำรสื่ อสำรของ
ประชำชนเสรี ภำพในกำรสื่ อสำร ( มำตรำ 37 ) เสรี ภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็น สื่ อควำมหมำย และเสนอข่ำว
( มำตรำ 36 และ 41 ) สิ ทธิ์ ในกำรได้รับข้อมูลข่ำว ควำมคิดเห็น สื่ อควำมหมำย และเสนอข่ำว ( มำตรำ 39 และ 41 )
สิ ทธิ์ ในกำรได้รับข้อมูลข่ำวสำร ( มำตรำ 58 และ 59 ) กำรกระจำยอำำนำจในกำรพัฒนำระบบโครงสร้ำงพื้น
สำรสนเทศ(มำตรำ 78 ) และเสรี ภำพในกำรใช้สื่อสำรมวลชน ( มำตรำ 37) และ เสรี ภำพในกำรใช้สื่อสำรมวลชน
( มำตรำ 37,39,41,58,และ 59) ที่สำำ คัญคือ บทบัญญัติในมำตรำ 40 ซึ่งระบุไว้วำ่
คลื่นควำมถี่ที่ใช้ในกำรส่ งวิทยุกระจำยเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ และ วิทยุโทรคมนำคม เป็ นทรัพยำกรสื่ อสำร
ของชำติเพื่อประโยชน์สำธำรณะ ให้มีองค์กรของรัฐที่เป็ นอิสระทำำหน้ำที่จดั สรรคลื่นควำมถี่ตำมวรรณหนี่งและ
กำำกับดูแลกำรประกอบกิจกำรวิทยุกระจำยเสี ยง วิทยุโทรทัศน์และกิจกรรมโทรคมนำคมทั้งนี้ ตำมที่กฎหมำย
บัญญัติ กำรดำำเนินกำรตำมวรรคสองต้องคำำนึงถึงประโยชน์สูงสุ ดของประชำชนในระดับชำติและระดับท้องถิ่ง
ทั้งในด้ำนกำรศึกษำ วัฒนธรรมควำมมัน่ คงของรัฐ และ ประโยชน์สำธำรณะ รวมทั้งกำรแข่งขันโดยเสรี อย่ำงเป็ น
ธรรม"
กำรจัดทำำแผนแม่บทกิจกรรมกระจำยเสี ยงและกิจกำรโทรทัศน์ และกำรอนุญำตให้ประกอบกิจกรรมดัง
กล่ำว ต้องคำำนึงถึงสัดส่ วนที่เหมำะสมระหว่ำงผูป้ ระกอบกำรภำครัฐ ภำคเอกชน และภำคประชำชน โดยจะต้องจัด
ให้ภำครประชำชนได้ใช้คลื่นควำมถี่ไม่นอ้ ยกว่ำร้อยละยีส่ ิ บ ในกรณี ที่ภำคประชำชนยังไม่มีควำมพร้อมในกรณี ที่
ภำคประชำชนยังไม่มีควำมพร้อมให้ กสช ให้กำรสนับสนุนกำรใช้คลื่นควำมถี่ในสัดส่ วนตำมที่กำำ หนด
25

เพื่อประโยชน์ในกำรจัดสรรคลื่นควำมถี่ให้ภำคประชำชนได้ใช้ และกำรสนับสนุนกำรใช้คลื่นควำมถี่ให้
ประชำชนใช้และกำรสนับสนุนกำรใช้เคลื่นควำมถี่ของประชำชน ให้ กสช. กำำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับลักษณะ
ของภำคประชำชนที่พึงได้รับกำรจัดสรรและสนับสนุนให้ใช้คลื่นควำมถี่ รวมทั้งลักษณะกำรใช้คลื่นควำมถี่ที่ได้
รับจัดสรร โดยอย่ำงน้อยประชำชนนั้นต้องดำำเนินิกำรโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อประโยชน์สำธำรณะและไม่แสวงหำ
กำำไรในทำงธุรกิจ
มำตรำ 27 กำรกำำหนดเกณฑ์และกำรพิจำรณำออกใบอนุญำตให้ใช้คลื่นควำมถี่และใบ อนุญำตให้
ประกอบกิจกำรกระจำยเสี ยงหรื อกิจกำรโทรทัศน์ให้คำำ นึงถึงประโยชน์สำธำรณะตำมที่บญั ญัติไว้ในมำตรำ 25
เป็ นสำำคัญ
2. พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่ งชำติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 ว่ำด้วยเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ มีสำระสำำคัญ
สรุ ปได้ดงั นี้
1.มำตรำ 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นควำมถี่ สื่ อตัวนำำและโครงสร้ำงพื้นฐำนอื่นที่จำำ เป็ นต่อกำรส่ ง
วิทยุกระจำยเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนำคม และ กำรสื่ อสำรในรู ปอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำำ หรับกำรศึกษำใน
ระบบ กำรศึกษำนอกระบบ กำรศึกษำตำมอัธยำศัย กำรทะนุบำำ รุ งศำสนำ ศิลป และวัฒนธรรมตำมควำมจำำเป็ น
2.มำตรำ 64 รัฐต้องส่ งเสริ มและสนับสนุนให้มีกำรผลิต และพัฒนำแบบเรี ยนตำำรำหนังสื อทำง
วิชำกำร สื่ อสิ่ งพิมพ์อื่นๆ วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำอื่น โดยเร่ งรัดพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำร
ผลิตจัดให้มีเงินสนับสนุนกำรผลิตและมีกำรให้แจงจูงใจแก่ผผู ้ ลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนกำรผลิตและมีกำรให้แรง
จูงใจแก่ผผู ้ ลิต และพัฒนำเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ ทั้งนี้ โดยเปิ ดให้มีกำรแข่งขันโดยเสรี อย่ำงเป็ นธรรม
3.มำตรำ 65 ให้มีกำรพัฒนำบุคลำกรทั้งด้ำนผูผ้ ลิต และผูใ้ ช้เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ เพื่อให้มีควำมรู ้
ควำมสำมำรถและทักษะในกำรผลิต รวมทั้งกำรใช้เทคโนโลยีที่เหมำะสม มีคุณภำพ และประสิ ทธิ ภำพ
4.มำตรำ 66 ผูเ้ รี ยนมีสิทธิ ได้รับกำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำใน
โอกำสแรกที่ทำำ ได้ เพื่อให้มีควำมรู ้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยเพื่อกำรศึกษำในกำรแสวงหำควำมรู ้ดว้ ย
ตนเองได้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต
5.มำตรำ 67 รัฐต้องส่ งเสริ มให้มีกำรวิจยั และพัฒนำ กำรผลิตและกำรพัฒนำเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ
รวมทั้งกำรติดตำม ตรวจสอบ และประเมินผลกำรใช้เทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ เพื่อ ให้เกิดกำรใช้เกิดกำรใช้ที่คุม้ ค่ำ
และเหมำะสมกับกระบวนกำรเรี ยนรู ้ของคนไทย
6.มำตรำ 68 ให้มีกำรระดมทุน เพื่อจัดตั้งกองทุนพัฒนำเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ จำกเงินอุดหนุนของ
รัฐ ค่ำสัมปทำนและผลกำำไรได้จำกกำรดำำเนินกิจกำรด้ำนสื่ อมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ และโทรคมนำคมจำก
ทุกฝ่ ำยเกี่ยวข้องทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน และองค์กรประชำชน รวมทั้งให้มีกำรลดอัตรำค่ำบริ กำรเป็ นพิเศษในกำรใช้
เทคโนโลยีดงั กล่ำว เพื่อกำรพัฒนำคนและสังคมหลักเกณฑ์และวิธีกำรจัดสรรวเงินกองทุนเพื่อผลิต กำรวิจยั และ
กำรพัฒนำเทคโนโลยีเพื่อกำรศึกษำ ให้เป็ นไปตำมที่กำำ หนดในกฎกระทรวง
26

7.มำตรำ 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงำนกลำงทำำหน้ำที่พิจำรณำเสนอนโยบำยแผน ส่ งเสริ ม และประสำน


กำรวิจยั กำรพัฒนำและกำรใช้ รวมทั้งกำรประเมินคุณภำพและประสิ ทธิ ภำพของกำรผลิตและกำรใช้เทคโนโลยี
เพื่อกำรศึกษำ
ควำมสำ ำคัญของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
1. ควำมสำ ำคัญของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
กำรนำำเอำเทคโนโลยีกำรศึกษำมำใช้น้ นั ส่ วนใหญ่นำำ มำใช้ในกำรแก้ปัญหำ ในด้ำนกำรศึกษำก็เช่นเดียวกัน
เพรำะปั ญหำทำงด้ำนกำรศึกษำมำกมำย เช่น
- ปัญหำผูส้ อน
- ปัญหำผูเ้ รี ยน
- ปัญหำด้ำนเนื้อหำ
- ปัญหำด้ำนเวลำ
- ปัญหำเรื่ องระยะทำง
นอกจำกนั้นกำรนำำเทคโนโลยีกำรศึกษำมำใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนก็เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภำพทำงกำรเรี ยน
กำรสอนและเพิ่มประสิ ทธิ ผลทำงกำรศึกษำอีกด้วย
คณะกรรมกำรด้ ำนเทคโนโลยีกำรศึกษำได้ สรุ ปควำมสำ ำคัญของเทคโนโลยีกำรศึกษำดังนี้
1. เทคโนโลยีกำรศึกษำทำำให้กำรเรี ยนกำรสอน มีควำมหมำยมำกขึ้น ทำำให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนได้กว้ำง
ขวำง เรี ยนได้เร็ วขึ้น ทำำให้ผสู ้ อนมีเวลำให้ผเู ้ รี ยนมำกขึ้น
2. เทคโนโลยีกำรศึกษำสำมำรถตอบสนองควำมแตกต่ำงของผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนได้ตำมควำม
สำมำรถของผูเ้ รี ยน กำรเรี ยนกำรสอนจะเป็ นกำรตอบสนองควำมสนใจและควำมต้องกำรของแต่ละบุคคลได้ดี
3. เทคโนโลยีกำรศึกษำทำำให้กำรจัดกำรศึกษำ ตั้งบนรำกฐำนของวิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์ ทำำให้กำร
จัดกำรศึกษำเป็ นระบบและเป็ นขั้นตอน
4. เทคโนโลยีกำรศึกษำช่วยให้กำรศึกษำมีพลังมำกขึ้น กำรนำำเทคโนโลยีดำ้ นสื่ อเป็ นเครื่ องมืออย่ำงหนึ่ง
ที่จะทำำให้กำรศึกษำมีพลัง
5. เทคโนโลยีกำรศึกษำทำำให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนรู ้ได้อย่ำงกว้ำงขวำง และได้พบกับสภำพควำมจริ งใน
ชีวิตมำกที่สุด
6. เทคโนโลยีกำรศึกษำทำำให้เปิ ดโอกำสทำงกำรศึกษำทั้งๆ กำรศึกษำในระบบ กำรศึกษำนอกระบบ และ
กำรศึกษำตำมอัธยำศัย
27

2. บทบำทของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
บทบำทของเทคโนโลยีกำรศึกษำในกำรเรียนกำรสอนจึงมีอยู่ 4 บทบำท ดังนี้
1. บทบำทด้ำนกำรจัดกำร
2. บทบำทด้ำนกำรพัฒนำ
3. บทบำทด้ำนทรัพยำกร
4. บทบำทด้ำนผูเ้ รี ยน
จำก Domain of Education Technology จะเห็นได้วำ่ แนวโน้มของเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ คือ กำรจัดระเบียบ
(organizing) และกำรบูรณำกำร (integrating) องค์ประกอบต่ำงๆ ทั้งหลำยที่จะเอื้ออำำนวยให้ผเู ้ รี ยนเกิดกำรเรี ยนรู ้
อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพและประสิ ทธิ ผล หรื อกล่ำวได้วำ่ เป็ นกำรเอื้ออำำนวยต่อกำรเรี ยนรู ้ องค์ประกอบต่ำงๆ ทั้ง
หลำยนั้น ประกอบด้วย
1. กำรจัดกำรทำงกำรศึกษำ (Educational Management Functions) เป็ นหน้ำที่ที่มีจุดมุ่งหมำย เพื่อควบคุม
หรื อกำำกับกำรพัฒนำกำรศึกษำ/กำรสอน หรื อกำรจัดกำรทำงกำรศึกษำ/กำรสอน (กำรวิจยั กำรออกแบบ กำรผลิต
กำรประเมนผล กำรให้ควำมช่วยเหลือกำรใช้) เพื่อเป็ นหลักประกันประสิ ทธิ ผลกำรปฏิบตั ิงำน ซึ่งแบ่งเป็ น 2
ประกำรใหญ่ ๆ คือ
1.1 กำรจัดกำรหรื อบริ หำรด้ำนหน่วยงำนหรื อองค์กำร (Organization Management) เพื่อให้ดำำ เนินงำนตำม
วิธีระบบและบรรลุวตั ถุประสงค์ จะเกี่ยวข้องกับงำนสำำคัญ ๆ ดังนี้คือ
1.1.1) กำรกำำหนดจุดมุ่งหมำยและนโยบำย เกี่ยวกับบทบำท วัตถุประสงค์ กำรเรี ยนกำรสอน
ผูเ้ รี ยน ทรัพยำกรกำรเรี ยน ฯลฯ จะต้องให้มีควำมเหมำะสมและสอดคล้องกัน
1.1.2) กำรให้กำรสนับสนุน จะต้องมีกำรวำงแผน กำรจัดหำข้อมูล ตลอดจนสิ่งอำำนวยควำม
สะดวกในกำรพิจำรณำและตัดสิ นใจ และกำรวำงแผนปฏิบตั ิงำนและกำรประเมินผลงำนที่ดี
1.1.3) กำรจัดบริ กำรที่มีประสิ ทธิ ภำพ
1.1.4) กำรสร้ำงควำมประสำนสัมพันธ์ ให้มีกำรร่ วมมือในกำรปฏิบตั ิงำนของทุกฝ่ ำย ตลอดจน
วิธีกำรเผยแพร่ ข่ำวสำร และกำรติดต่อสื่ อสำรเพื่อให้กำรปฏิบตั ิงำนดำำเนินไปด้วยควำมเรี ยบร้อยและสำำเร็ จตำม
วัตถุประสงค์

1.2 กำรจัดหรื อบริ หำรงำนด้ำนบคคล (Personal Management) เป็ นกำรจัดงำนทำงด้ำนกำรจัดบุคลำกรให้


เหมำะสมตำมหน้ำที่กำรงำน และควำมสำมำรถเฉพำะงำน เพื่อให้กำรดำำเนินงำนมีประสิ ทธิ ภำพ อันได้แก่กำรคัด
เลือกบุคคลเข้ำทำำงำนทั้งกำรบรรจุใหม่ หรื อกำรว่ำจ้ำง กำรฝึ กอบรมหรื อพัฒนำกำำลังคน กำรนิเทศงำน กำรบำำรุ ง
ขวัญกำรทำำงำน สวัสดิกำร และ กำรประเมินผลกำรประกอบกิจกำรของบุคลำกร
28

2. กำรพัฒนำทำงกำรศึกษำ (Educational Development) เป็ นหน้ำที่ที่มีจุดมุ่งหมำยเพื่อกำรวิเครำะห์ปัญหำ


กำรคิดค้น กำรปรับใช้ และกำรประเมินผล ข้อแก้ไขปั ญหำ ทรัพยำกำรเรี ยน ด้วยกำรวิจยั (Researci-tneory) กำร
ออกแบบ (Desing) กำรผลิต (Production) กำรประเมินผล (Evaluation) กำรใช้ (Utilizsiton) ทั้งหมดนี้ต่ำงก็มีวิธี
กำรดำำเนินกำรที่มีส่วนสัมพันธ์กบั ทรัพยำกรกำรเรี ยน เช่น ในด้ำนกำรวิจยั นั้น เรำก็วิจยั ทรัพยำกรกำรเรี ยนนัน่ เอง
ซึ่งก็ได้แก่กำรวิจยั ข่ำวสำรข้อมูล บุคลำกร วัสดุ เครื่ องมือ เทคนิค และอำคำรสถำนที่ ดังนี้เป็ นต้น นอกจำกนี้
เนื่องจำกว่ำเทคโนโลยีกำรศึกษำมีส่วนในกำรพัฒนำ และเอื้ออำำนวยต่อกระบวนกำรสอนต่ำง ในระบบกำรสอน
จึงจะต้องมีกิจกรรมที่สมั พันธ์กบั กำรพัฒนำระบบกำรสอนและระบบกำรศึกษำด้วย
2.1 กำรวิจยั ในกำรพัฒนำทรัพยำกรกำรเรี ยนเป็ นกำรสำำรวจศึกษำค้นคว้ำ และทดสอบเกี่ยวกับควำมรู ้
ทฤษฎี (ทฤษฎี และระเบียบวิธีวิจยั ) ที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดกำรและกำรพัฒนำทรัพยำกรกำรเรี ยน องค์ประกอบ
ระบบกำรสอนและผูเ้ รี ยน กำรวิจยั เป็ นกำรพัฒนำโครงสร้ำงของควำมรู ้ ซึ่งจะเป็ นพื้นฐำน กำรตัดสิ นใจในกำร
ดำำเนินกำรผลของกำรวิจยั คือ ได้ควำมรู ้ ซึ่งจะนำำไปใช้ ศึกษำค้นคว้ำข้อมูล อ่ำนข้อมูล วิเครำะห์ขอ้ มูล สังเครำะห์
ข้อมูล ทดสอบข้อมูล วิเครำะห์และทดสอบผลลัพธ์ที่ได้
2.2 กำรออกแบบ เป็ นกำรแปลควำมหมำย ควำมรู ้ในหลักกำรทฤษฎีออกมำในรำยละเอียด เฉพำะสำำหรับ
เกี่ยวกับทรัพยำกำรเรี ยน หรื อองค์ประกอบระบบกำรสอน ผลลัพธ์ของกำรออกแบบได้แก่รำยละเอียดเฉพำะ
สำำหรับผลิตผลของทรัพยำกรกำรเรี ยน/องค์ประกอบระบบกำรสอนในเรื่ องเกี่ยวกับ รู ปแบบหรื อแหล่ง หรื อ
ทรัพยำกรกิจกรรมที่ใช้ในกำรดำำเนินกำร วิเครำะห์ สังเครำะห์ และเขียนวัตถุประสงค์ ศึกษำลักษณะผูเ้ รี ยน
วิเครำะห์งำน กำำหนดเงื่อนไขกำรเรี ยนกำำหนดสภำวกำรเรี ยน กำำหนดรำยละเอียดทรัพยำกรกำรเรี ยน หรื อองค์
ประกอบระบบกำรสอน
2.3 กำรผลิต มีวตั ถุประสงค์เพื่อแปลควำมหมำย ข้อกำำหนดรำยละเอียดสำำหรับ ทรัพยำกำรกำรเรี ยน/องค์
ประกอบระบบกำรสอนให้เป็ นแบบลักษณะเฉพำะ หรื อเป็ นรำยกำรที่จะปฏิบตั ิได้ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ผลิตผลลักษณะ
เฉพำะในรู ปแบบ ข้อทดสอบ แบบจำำลอง กิจกรรมที่ดำำ เนินงำน ได้แก่ กำรใช้เครื่ องมือสำำหรับกำรผลิต กำรเขียน
แบบ กำรร่ ำงแบบ กำรเขียนเรื่ องหรื อเค้ำโครง สร้ำงแบบจำำลอง
2.4 กำรประเมินผล มีวตั ถุประสงค์เพื่อวัดประเมินผลกำรดำำเนินงำนของทรัพยำกรกำรเรี ยน/องค์
ประกอบระบบกำรสอน และเพื่อพัฒนำแบบจำำลองที่ใช้ทดสอบ ผลลัพธ์ที่ได้ กำรประเมินผลกำรออกแบบ
ประสิ ทธิ ผลของทรัพยำกรกำรเรี ยน หรื อองค์ประกอบระบบกำรสอนที่บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กำำ หนด กำรประเมิน
ผลที่ได้ ทรัพยำกรกำรเรี ยน หรื อองค์ประกอบกำรเรี ยนที่เชื่อถือยอมรับได้ตำมเกณฑ์มำตรฐำน กำรประเมินผลเพื่อ
กำรประเมินผล เช่น ประเมินผลแบบจำำลอง กำรประเมินผลเพื่อกำรเลือก …ประเมินผลเพื่อกำรใช้ ทรัพยำกรกำร
เรี ยนที่ได้ตำมเกณฑ์มำตรฐำนเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ที่กำำ หนด กิจกรรมในกำรดำำเนินงำนใช้วิธีกำรวิเครำะห์
คุณภำพ มีเกณฑ์มำตรฐำนเป็ นเครื่ องกำำหนด
2.5 กำรให้ควำมช่วยเหลือ มีวตั ถุประสงค์เพื่อทำำให้ทรัพยำกรกำรเรี ยน/องค์ประกอบระบบกำรสอน เอื้อ
อำำนวยต่อองค์ประกอบหน้ำที่อื่น ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือกำรสัง่ จอง กำรจัดหำกำรแยกประเภทจัดหมวดหมู่ กำรทำำแคต
ตำลอก กำรกำำหนดตำรำงเรี ยน ตำรำงกำรใช้ กำรจำำหน่ำยจ่ำยแจก กำรใช้เครื่ องมือ กำรบำำรุ งรักษำ และกำร
29

ซ่อมแซมเกี่ยวกับทรัพยำกรกำรเรี ยน/องค์ประกอบกำรสอน กิจกรรมที่ดำำ เนินกำรคือ กำรสัง่ กำรจัดคลังอุปกรณ์


กำรจัดหมวดหมู่ กำรทำำแคตตำลอก กำรทำำตำรำงสอน กำรจำำหน่ำยแจกจ่ำย กำรใช้เครื่ อง กำรซ่อมแซมบำำรุ งรักษำ
ทรัพยำกรกำรเรี ยน
2.6 กำรใช้ เป็ นเรื่ องของกำรใช้วสั ดุ เครื่ องมือ เทคนิคกำรวิจยั และกำรประเมินผล เพื่อให้กำรจัดกำร
ศึกษำและกำรเรี ยนกำรสอนมีประสิ ทธิ ผล ตรงตำมวัตถุประสงค์ของผูเ้ รี ยนมีกำรเลือก เช่น กำรเลือกวัตถุประสงค์
กำรสอน กำรเลือกทรัพยำกรกำรเรี ยน กำรกำำหนดขนำดกลุ่ม-กลุ่มใหญ่-กลุ่มเล็ก หรื อกำรเรี ยนแบบรำยบุคคล มี
กำรเตรี ยมกำร เช่น เตรี ยมทรัพยำกรกำรเรี ยนเตรี ยมผูเ้ รี ยน เตรี ยมชั้นเรี ยน มีกำรนำำเสนอ และกำรประเมินผลกำร
เรี ยน อันเนื่องมำจำกกำรใช้เทคโนโลยีกำรศึกษำ รวมทั้งกำรสอนซ่อมเสริ มสำำหรับผูเ้ รี ยนที่มีปัญหำในกำรเรี ยนไม่
ได้มำตรฐำนเท่ำระดับชั้น หรื อผูเ้ รี ยนที่มีปัญหำในเรื่ องเกี่ยวกับส่ วนบุคคล เป็ นต้น

3. ทรัพยำกรกำรเรียน (Learning Resources)


ทรัพยำกรกำรเรี ยน ได้แก่ ทรัพยำกรทุกชนิด ซึ่งผูเ้ รี ยนสำมำรถใช้แบบเชิงเดี่ยว หรื อแบบผสม แบบไม่
เป็ นทำงกำร เพื่อเอื้ออำำนวยต่อกำรเรี ยนรู ้ ทรัพยำกรกำรเรี ยนรู ้ ได้แก่ขอ้ สนเทศ/ข่ำวสำร บุคคล วัสดุ เครื่ องมือ
เทคนิค และอำคำรสถำนที่
1. ข้อสนเทศ/ข่ำวสำร (Message) คือ ข้อสนเทศที่ถ่ำยทอดโดยองค์ประกอบอื่น ๆ ในรู ปแบบ
ของควำมจริ ง ควำมหมำย และข้อมูล
2. บุคคล (People) ทำำหน้ำที่เก็บและถ่ำยทอดข้อสนเทศและข่ำวสำร เป็ นคณะบุคคลที่ปฏิบตั ิงำน
ในหน่วยงำน ได้แก่ ครู นักกำรศึกษำ นักวิชำกำร
3. ผูเ้ ชี่ยวชำญ เพื่อเตรี ยมงำน ปรับปรุ ง ผลิต ดำำเนินกำรประเมินผลและพัฒนำ เพื่อให้กำรเรี ยน
กำร
สอนประสบผลสำำเร็ จ
4. วัสดุ(Material) ได้แก่สิ่งของ นิยมเรี ยนว่ำ software มี 2 ประเภท คือ
ก ประเภทที่ที่บรรจุหรื อบันทึกข่ำวสำรที่จะต้องถ่ำยทอดด้วยเครื่ องมือ เช่น แผ่นเสี ยง ฟิ ลม์สตริ ป
สไลด์ ภำพยนตร์ วิดิโอเทป ไมโครฟิ ลม์ ไมโครพิช ฯลฯ
ข ประเภทที่ตวั ของมันเองใช้ได้ และไม่ตอ้ งพึ่งเครื่ องมือ เช่น แผนที่ ลูกโลกหนังสื อ ของจริ ง ของ
จำำลอง ฯลฯ เป็ นต้น
5. เครื่ องมือ (Devices) เครื่ องมืออุปกรณ์ที่เป็ นตัวถ่ำยทอดข่ำวสำรที่บรรจุหรื อบันทึกไว้ในวัสดุ
(นิยมเรี ยกว่ำ Hardware) ส่ วนมำกจะเป็ นเครื่ องกลไก ไฟฟ้ ำ และอิเลคทรอนิค บำงอย่ำงก็ไม่จำำ เป็ นจะต้องเป็ น
เครื่ องกลไกที่ใช้ไฟฟ้ ำ หรื อเครื่ องอิเลคทรอนิค ได้แก่ เครื่ องฉำยภำพยนตร์ เครื่ องฉำยสไลด์ เครื่ องบันทึกเสี ยง
เครื่ องบันทึกภำพ เครื่ องฉำยภำพทึบแสง กล้องถ่ำยรู ป-ถ่ำยภำพยนตร์-โทรทัศน์ เครื่ องพิมพ์ และอ่ำนไมโครฟิ ล์ม/ 30
ไมโครพิช กระดำนดำำ ป้ ำยนิเทศ
6. เทคนิค (Techniques) เป็ นกลวิธีในกำรถ่ำยทอดข่ำวสำรหรื อเสนอเนื้อหำวิชำ-ควำมรู ้ให้แก่
ผูเ้ รี ยนได้แก่
ก. เทคนิคทัว่ ไป (Gerneral Technique) ได้แก่ เทคนิคกำรสอนแบบต่ำงๆ เช่น กำรสำธิ ต กำรสังเกต
กำรอภิปรำย กำรแสดงนำฎกำร กำรบรรยำย กำรสำธิ ต กำรฝึ กปฏิบตั ิกำรเรี ยน แบบแก้ปัญหำ หรื อแบบค้นพบและ
แบบสอบสวน และสื บสวน กำรเรี ยนกำรสอนแบบโปรแกรม สถำนกำรจำำลอง เกมต่ำงๆ กำรเรี ยนกำรสอนแบบ
โครงกำร ฯลฯ
ข. เทคนิคกำรใช้ทรัพยำกร (Resource-based Techniques) ได้แก่ กำรศึกษำนอกสถำนที่ กำรใช้
ทรัพยำกรชุมชน กำรจัดห้องเรี ยน
ค. เทคนิคกำรใช้วสั ดุและเครื่ องมือ (Material/devices-based Techniques) เป็ นเทคนิคของกำรใช้วสั ดุ
และเครื่ องมือในกำรจัดกำรศึกษำ และกำรเรี ยนกำรสอนเช่น ใช้โสตทัศนูปกรณ์ในกำรเรี ยนกำรสอนใช้บทเรี ยน
แบบโปรแกรมตลอดจน เทคนิคกำรเสนอเนื้อหำวิชำด้วยวิธีกำรใช้เครื่ องมือ หรื ออุปกรณ์ดว้ ยวิธีกำรเสนอที่ดีเช่น
ใช้วธิ ี บงั ภำพบำงส่ วนที่ยงั ไม่ใช้ก่อนเมื่อใช้จึงเปิ ดส่ วนนั้นออกมำ หรื อเทคนิคกำรใช้สื่อประสมเพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้
ควำมคิดรวบยอดที่กระจ่ำงจำกตัวอย่ำง หรื อกำรแสดงด้วยสื่ อหลำยชนิด
ง. เทคนิคกำรใช้บุคคล (People-based Technique) ได้แก่ เทคนิคในกำรจัดบุคคลให้เหมำะสมกับงำน
เช่น กำรสอนเป็ นคณะ เทคนิคกลุ่มสัมพันธ์ หรื อพลวัตรของกลุ่ม กำรสอนแบบซ่อมเสริ ม ตัวต่อตัว หรื อกำร
สัมมนำ ฯลฯ เป็ นต้น
สภำพแวดล้อมเป็ นสิ่ งแวดล้อมในกำรเรี ยนอย่ำงหนึ่ง ควรจะอำำนวยควำมสะดวกให้แก่ผเู ้ รี ยน เพื่อที่จะ
ประกอบกำรศึกษำ ค้นคว้ำ หรื อกำรเรี ยนในรู ปแบบต่ำงๆ
4. ผู้เรียน (Learner) จุดหมำยปลำยทำงรวมของเทคโนโลยีกำรศึกษำอยูท่ ี่ผเู ้ รี ยนและควำมต้องกำรของผู ้
เรี ยน จึงเป็ นสิ่ รงจำำเป็ นที่จะต้องเข้ำใจลักษณะของผูเ้ รี ยนซึ่งแตกต่ำงไปตำมลักษณะ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล
ของแต่ละคน อันจะทำำให้เรำสำมำรถที่จะออกแบบระบบกำรเรี ยนกำรสอนตลอดจนสื่ อกำรเรี ยนกำรสอนสนอง
วัตถุประสงค์กำรเรี ยนกำรสอนตลอดจนสื่ อกำรเรี ยนกำรสอนสนองวัตถุประสงค์กำรเรี ยนกำรสอน หรื อสนอง
วัตถุประสงค์ผเู ้ รี ยน ได้ให้บรรลุประสงค์อย่ำงมีประสิ ทธิ ภำพและประสิ ทธิ ผล มีส่ิงที่จะต้องเข้ำใจในตัวผูเ้ รี ยน
หลำยประกำร เช่น เกี่ยวกับอำยุ เพศ ระดับไอคิว ประสบกำรณ์เดิมในด้ำนควำมรู ้ ควำมเข้ำใจ และทัศนคติระดับ
ควำมสำมำรถในกำรอ่ำน คะแนนกำรทดสอบสุ ขภำพทำงด้ำนกำรฟัง กำรพูดมีควำมบกพร่ อง ทำงด้ำนกำยภำพอื่น
ๆ บ้ำงหรื อไม่ สุ ขภำพจิต สุ ขภำพทำงร่ ำงกำยโดยทัว่ ไป ควำมสนใจพิเศษ งำนอดิเรก ควำมคล่องแคล่วในภำษำ
ข้อมูลเกี่ยวกับสังคม สัมพันธ์ของผูเ้ รี ยน สภำพทำงครอบครัวอยูใ่ นชนบทหรื อเมือง ควำมเจริ ญก้ำวหน้ำของกำร
เรี ยนในวิชำต่ำงๆ แบบวิธีกำรเรี ยน เรี ยนเร็ วช้ำ ควำมตั้งใจ เป็ นแบบเป็ นแผนหรื อแบบยืดหยุน่ แบบแนะแนวหรื อ
แบบเรี ยนได้ดว้ ยตนเอง ลักษณะงำนและกำรประกอบกิจที่เหมำะสม ควำมสนใจในวิชำชีพ ทักษะกำรอ่ำนภำพ
และกำรฟังควำม ฯลฯ เป็ นต้น
31

เทคโนโลยีและสื่ อสำรเพือ่ กำรศึกษำ


เทคโนโลยีและสื่ อสำรกำรศึกษำที่ตอ้ งจัดหำและนำำมำใช้ในกำรเรี ยนกำรสอนเพื่อให้เป็ นไปตำมลักษณะ
กำรศึกษำตำมเจตนำรมณ์ของพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่ งชำติ จะต้องประกอบด้วย โครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนช่อง
ท ำ ง แ ล ะ สื่ อ ดั ง ต่ อ ไ ป นี้
4.1 เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์โทรคมนำคม (E-communication) ที่สำำ คัญได้แก่ กำรสื่ อสำรผ่ำนดำวเทียม
เครื อข่ำยกระจำยสำรโลก เครื อข่ำยเส้นใยนำำแสง เครื อข่ำยคอมพิวเตอร์
4.2 ระบบกำรสอนผ่ำนจอภำพ (On - Screen Interactive Instruction) ที่สำำ คัญได้แก่ กำรสอนด้วย
คอมพิวเตอร์ กำรสอนด้วยโทรทัศน์ปฏิสมั พันธ์ กำรสอนด้วยกำรประชุมทำงไกล กำรสอนด้วยเครื อข่ำยโลก
4.3 ระบบสื่ อตำมต้องกำร (Media On Demand) เช่น สัญญำณภำพตำมต้องกำร เสี ยงตำมต้องกำร บท
เรี ยนตำมต้องกำร เป็ นต้น
4.4 ระบบฐำนควำมรู ้ (Knowledge-Based System) เป็ นระบบที่พฒั นำต่อยอดมำจำกระบบฐำนข้อมูล ซึ่ง
รวบรวมและจัดเรี ยงเนื้อหำข้อมูลตำมลำำดับที่มีกฎเกณฑ์ตำยตัวโดยใช้คำำ ไข (Key word) เป็ นตัวค้นและตัวเรี ยก
ข้อมูล ส่ วนฐำนควำมรู ้จะจัดข้อมูลไว้หลำกหลำย เช่น ตำมประเภทของหลักสูตร ตำมกลุ่มอำยุของผูใ้ ช้ ตำม
ประเภทของวัตถุประสงค์ของกำรใช้ เป็ นต้น กำรทำำงำนของฐำนควำมรู ้จะต้องทำำงำนประสำนกันอย่ำงน้อย 3
ระบบได้แก่ ระบบสื่ อสำร ระบบสำรสนเทศ และระบบเหตุผล เพื่อให้สำมำรถค้นและเรี ยกข้อมูล/ควำมรู ้ที่ตรงกับ
อำยุ ควำมต้องกำร วัตถุประสงค์ของกำรใช้และปั ญหำของผูเ้ รี ยกใช้
ประโยชน์ ของเทคโนโลยีกำรศึกษำ
เมื่อกล่ำวถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีกำรศึกษำ สำมำรถแบ่งออกได้เป็ นด้ำน ๆ ดังนี้
1. ประโยชน์สำำ หรับผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนจะได้รับประโยชน์ดงั นี้
1. ทำำให้ผเู ้ รี ยนมีโอกำสใช้ควำมสำมำรถของตนเองในกำรเรี ยนรู ้อย่ำงเต็มที่
2. ผูเ้ รี ยนมีโอกำสตัดสิ นใจในกำรเลือกเรี ยนตำมช่องทำงที่เหมำะกับควำมสำมำรถของตนเอง
3. ทำำให้กระบวนกำรเรี ยนรู ้ง่ำยขึ้น
4. ผูเ้ รี ยนมีอิสระในกำรเลือก
5. ผูเ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนรู ้ในทุกเวลำ ทุกสถำนที่
6. ทำำให้กำรเรี ยนมีประสิ ทธิ ภำพมำกขึ้น
7. ลดเวลำในกำรเรี ยนรู ้และผูเ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนรู ้ได้มำกกว่ำเดิมในเวลำเท่ำกัน
8. ทำำให้ผเู ้ รี ยนสำมำรถเรี ยนรู ้ได้ท้ งั ในแนวกว้ำงและแนวลึก
9. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั เสำะหำแหล่งกำรเรี ยนรู ้
10. ฝึ กให้ผเู ้ รี ยน คิดเป็ นและสำมำรถแก้ปัญหำด้วยตนเองได้
32

2. ประโยชน์สำำ หรับผูส้ อน ผูส้ อนจะได้ประโยชน์ดงั นี้


1. ทำำให้ประสิ ทธิ ภำพของกำรสอนสูงขึ้น
2. ผูส้ อนสำมำรถจัดกิจกรรมได้หลำกหลำย
3. ทำำให้ผสู ้ อนมีเวลำมำกขึ้น จึงใช้เวลำที่เหลือในกำรเตรี ยมกำรสอนได้เต็มที่
4. ทำำให้กระบวนกำรสอนง่ำยขึ้น
5. ลดเวลำในกำรสอนน้อยลง
6. สำมำรถเพิ่มเนื้อหำและจุดมุ่งหมำยในกำรสอนมำกขึ้น
7. ผูส้ อนไม่ตอ้ งใช้เวลำสอนทั้งหมดอยูใ่ นชั้นเรี ยนเพรำะบทบำทส่ วนหนึ่งผูเ้ รี ยนทำำเอง
8. ผูส้ อนสำมำรถแก้ปัญหำควำมไม่ถนัดของตนเองได้
9. ผูส้ อนสำมำรถสอนผูเ้ รี ยนได้เนื้อหำที่กว้ำงและลึกซึ้งกว่ำเดิม
10. ง่ำยในกำรประเมิน เพรำะกำรใช้เทคโนโลยี มุ่งให้ผเู ้ รี ยนประเมินตนเองด้วย

3. ประโยชน์ต่อกำรจัดกำรศึกษำ ในแง่ของกำรจัดกำรศึกษำจะได้รับประโยชน์ดงั นี้


1. สำมำรถเปิ ดโอกำสของกำรเรี ยนรู ้ได้อย่ำงแท้จริ ง
2. ทำำให้ลดช่องว่ำงทำงกำรศึกษำให้นอ้ ยลง
3. สำมำรถสร้ำงผูเ้ รี ยนที่มีประสิ ทธิ ภำพมำกกว่ำเดิม
4. ทำำให้กำรจัดกำรและกำรบริ หำรเป็ นระบบมำกขึ้น
5. ทำำให้ลดกำรใช้งบประมำณและสำมำรถใช้งบประมำณที่มีอยูใ่ ห้คุม้ ค่ำ
6. สำมำรถแก้ปัญหำทำงกำรศึกษำได้หลำยประกำร
ขอบข่ ำยของเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ
หน่ วยที่ 2 ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทำงกำรศึกษำ
1. ทฤษฎีกำรรับรู้
กำรรับรู ้เป็ นผลเนื่องมำจำกำรที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรี ยกว่ำ เครื่ องรับ (Sensory) ทั้ง
5 ชนิด คือ ตำ หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง จำกกำรวิจยั มีกำรค้นพบว่ำ กำรรับรู ้ของคนเกิดจำกกำรเห็น 75% จำกกำร
ได้ยนิ 13% กำรสัมผัส 6% กลิ่น 3% และรส 3% กำรรับรู ้จะเกิดขึ้นมำกน้อยเพียงใด ขึ้นอยูก่ บั สิ่ งที่มีอิทธิ พล หรื อ
ปั จจัยในกำรรับรู ้ ได้แก่ ลักษณะของผูร้ ับรู ้ ลักษณะของสิ่ งเร้ำ เมื่อมีส่ิ งเร้ำเป็ นตัวกำำหนดให้เกิดกำรเรี ยนรู ้ได้น้ นั จะ
ต้องมีกำรรับรู ้เกิดขึ้นก่อน เพรำะกำรรับรู ้เป็ นหนทำงที่นำำ ไปสู่กำรแปลควำมหมำยที่เข้ำใจกันได้ ซึ่งหมำยถึงกำร
รับรู ้เป็ นพื้นฐำนของกำรเรี ยนรู ้ ถ้ำไม่มีกำรรับรู ้เกิดขึ้น กำรเรี ยนรู ้ยอ่ มเกิดขึ้นไม่ได้ กำรรับรู ้จึงเป็ นองค์ประกอบ
สำำคัญที่ทำำ ให้เกิดควำมคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อนั เป็ นส่ วนสำำคัญยิง่ ในกระบวนกำรเรี ยนกำรสอนและกำร
ใช้สื่อกำรสอนจึงจำำเป็ นจะต้องให้เกิดกำรรับรู ้ที่ถูกต้องมำกที่สุด ดังคำำกล่ำวของ ฉลองชัย
33

สุ รวัฒนบูรณ์ (2528) และ วไลพร ภวภูตำนนท์ ณ มหำสำรคำม (ม.ป.ป. : 125) ที่กล่ำวว่ำ กำรที่จะเกิดกำร
เรี ยนรู ้ได้น้ นั จะต้องอำศัยกำรรับรู ้ที่เกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเป็ นผลมำจำกกำรได้รับประสบกำรณ์
กำรรับรู ้มีขบวนกำรที่ทำำ ให้เกิดกำรรับรู ้ โดยกำรนำำควำมรู ้เข้ำสู่สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจำำไว้
สำำหรับเป็ นส่ วนประกอบสำำคัยที่ทำำ ให้เกิดมโนภำพและทัศนคติ ดังนั้นกำรมีส่ิ งเร้ำที่ดีและมีองค์ประกอบของกำร
รับรู ้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็จะทำำให้เกิดกำรเรี ยนรู ้ที่ดีดว้ ยซึ่งกำรรับรู ้เป็ นส่ วนสำำคัญยิง่ ต่อกำรรับรู ้
นอกจำกนี้ กระบวนกำรรับรู ้ยงั สำมำรถใช้ประโยชน์ในกำรเรี ยนกำรสอนด้วย ซึ่ง Fleming (1984: 3) ให้ขอ้ เสนอ
แนะว่ำมีเหตุผลหลำยประกำรที่นกั ออกแบบเพื่อกำรเรี ยนกำรสอนจำำต้องรู ้และนำำหลักกำรของกำรรับรู ้ไปประยุกต์
ใช้กล่ำวคือ
1. โดยทัว่ ไปแล้วสิ่ งต่ำง ๆ เช่น วัตถุ บุคคล เหตุกำรณ์ หรื อสิ่งที่มีควำมสัมพันธ์กนั ถูกรับรู ้ดีกว่ำ มันก็
ย่อมถูกจดจำำได้ดีกว่ำเช่นกัน
2. ในกำรเรี ยนกำรสอนจำำเป็ นต้องหลีกเลี่ยงกำรรับรู ้ที่ผิดพลำด เพรำะถ้ำผูเ้ รี ยนรู ้ขอ้ ควำมหรื อเนื้อหำผิด
พลำด เขำก็จะเข้ำใจผิดหรื ออำจเรี ยนรู ้บำงสิ่งที่ผิดพลำดหรื อไม่ตรงกับควำมเป็ นจริ ง
3. เมื่อมีควำมต้องกำรสื่ อในกำรเรี ยนกำรสอนเพื่อใช้แทนควำมเป็ นจริ งเป็ นเรื่ องสำำคัญที่จะต้องรู ้วำ่ ทำำ
อย่ำงไร จึงจะนำำเสนอควำมเป็ นจริ งนั้นได้อย่ำงเพียงพอที่จะให้เกิดกำรรับรู ้ตำมควำมมุ่งหมำยกฤษณำ ศักดิ์ศรี
(2530: 487) กล่ำวถึง บทบำทของกำรรับรู ้ที่มีต่อกำรเรี ยนรู ้วำ่ บุคคลจะเกิดกำรเรี ยนรู ้ได้ดี และมำกน้อยเพียงใด
ขึ้นอยูก่ บั กำรรับรู ้และกำรรับรู ้ส่ิงเร้ำของบุคคล นอกจำกจะขึ้นอยูก่ บั ตัวสิ่ งเร้ำและประสำทสัมผัสของผูร้ ับรู ้แล้ว
ยังขึ้นอยูก่ บั ประสบกำรณ์เดิมของผูร้ ู ้และพื้นฐำนควำมรู ้เดิมที่มีต่อสิ่ งที่เรี ยนด้วย
จิตวิทยำกำรเรียนรู้
เมื่อทรำบถึงควำมสัมพันธ์ของกำรรับรู ้ ที่จะนำำไปสู่กำรเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภำพแล้ว ผูบ้ รรยำยจึงต้องเป็ นผู ้
กระตุน้ หรื อเสนอสิ่ งต่ำง ๆ ให้ผเู ้ รี ยน เพรำะกำรเรี ยนรู ้เป็ นกระบวนกำรที่เกิดขึ้นในตัว ผูเ้ รี ยนซึ่ง จำำเนียร ช่วงโชติ
(2519) ให้ควำมหมำยไว้วำ่ "…กำรเรี ยนรู ้ หมำยถึง กำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอันเกิดจำกประสบกำรณ์ที่มี
ขอบเขตกว้ำง และสลับซับซ้อนมำกโดยเฉพำะในแง่ของกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม…"
วรกวิน (2523: 56-60) กำรเรี ยนรู ้ หมำยถึง กระบวนกำรเปลี่ยนพฤติกรรม ซึ่งหมำยถึง กิจกรรมที่ผเู ้ รี ยนแสดงออก
และสำมำรถสังเกตและวัดได้ กำรศึกษำกระบวนกำรเรี ยนรู ้จึงต้องศึกษำเรื่ องของพฤติกรรมมนุษย์ที่เปลี่ยนไปใน
ลักษณะที่พึงประสงค์ กำรศึกษำพฤติกรรมต่ำง ๆ จะต้องมีระบบระเบียบ วิธีกำร และอำศัยควำมรู ้ต่ำง ๆ เช่น
จิตวิทยำ กำรศึกษำ สังคมวิทยำ มำนุษยวิทยำ เศรษฐศำสตร์ รัฐศำสตร์ กระบวนกำรสื่ อควำมและสื่ อควำมหมำย
และสื่ อควำมหมำย กำรพิจำรณำกำรเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนจำำเป็ นต้องสังเกตและวัดพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป กำรศึกษำ
พฤติกรรมต่ำง ๆ นำำไปสู่กำรกำำหนดทฤษฎี กำรเรี ยนรู ้ต่ำง ๆ ทฤษฎีกระบวนกำรกลุ่มพฤติกรรมร่ วมกันระหว่ำงครู
และผูเ้ รี ยนรวมทั้งวิธีกำรจัดระบบกำรเรี ยนกำรสอนที่จะช่วยทำำให้ผเู ้ รี ยนเปลี่ยนพฤติกรรมกำรเรี ยนรู ้ไปตำม
วัตถุประสงค์ กำรเรี ยนรู ้เป็ นพื้นฐำนของกำรดำำเนินชีวิต มนุษย์มีกำรเรี ยนรู ้ต้ งั แต่แรกเกิดจนถึงก่อนตำย จึงมีคำำ
34

กล่ำวเสมอว่ำ "No one too old to learn" หรื อ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรี ยน กำรเรี ยนรู ้จะช่วยในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต
ได้เป็ นอย่ำงดี
กำรเรี ยนรู ้ของคนเรำ จำกไม่รู้ไปสู่กำรเรี ยนรู ้ มี 5 ขั้นตอนดังที่ กฤษณำ ศักดิ์ศรี (2530) กล่ำวไว้ดงั นี้
"…กำรเรี ยนรู ้เกิดขึ้นเมื่อสิ่ งเร้ำ (stimulus) มำเร้ำอินทรี ย ์ (organism) ประสำทก็ตื่นตัว เกิดกำรรับสัมผัส หรื อ
เพทนำกำร (sensation) ด้วยประสำททั้ง 5 แล้วส่ งกระแสสัมผัสไปยังระบบประสำทส่ วนกลำง ทำำให้เกิดกำรแปล
ควำมหมำยขึ้นโดยอำศัยประสบกำรณ์เดิมและอื่น ๆ เรี ยกว่ำ สัญชำน หรื อกำรรับรู ้ (perception) เมื่อแปลควำม
หมำยแล้ว ก็จะมีกำรสรุ ปผลของกำรรับรู ้เป็ นควำมคิดรวบยอดเรี ยกว่ำ เกิดสังกัป (conception) แล้วมีปฏิกิริยำตอบ
สนอง (response) อย่ำงหนึ่งอย่ำงใดต่อสิ่ งเร้ำตำมที่รับรู ้เป็ นผลให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงพฤิตกรรม แสดงว่ำกำรเรี ยน
รู ้ได้เกิดขึ้นแล้วประเมินผลที่เกิดจำกกำรตอบสนองต่อสิ่งเร้ำได้แล้ว…"
กำรเรี ยนรู ้เป็ นพื้นฐำนของกำรดำำเนินชีวิต มนุษย์มีกำรเรี ยนรู ้ต้ งั แต่แรกเกิดจนถึงก่อนตำย จึงมีคำำ กล่ำวเสมอว่ำ
"No one too old to learn" หรื อ ไม่มีใครแก่เกินที่จะเรี ยน กำรเรี ยนรู ้จะช่วยในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตได้เป็ นอย่ำงดี

ธรรมชำติของกำรเรียนรู้ มี 4 ขั้นตอน คือ


1. ควำมต้องกำรของผูเ้ รี ยน (Want) คือ ผูเ้ รี ยนอยำกทรำบอะไร เมื่อผูเ้ รี ยนมีควำมต้องกำรอยำกรู ้ อยำก
เห็นในสิ่ งใดก็ตำม จะเป็ นสิ่ งที่ยว่ั ยุให้ผเู ้ รี ยนเกิดกำรเรี ยนรู ้ได้
2. สิ่ งเร้ำที่น่ำสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรี ยนรู ้ได้ จะต้องมีส่ิ งเร้ำที่น่ำสนใจ และน่ำสัมผัสสำำหรับมนุ ษย์
ทำำให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวำย และใฝ่ ใจที่จะเรี ยนรู ้ในสิ่ งที่น่ำสนใจนั้น ๆ
3 กำรตอบสนอง (Response) เมื่อมีส่ิ งเร้ำที่น่ำสนใจและน่ ำสัมผัส มนุ ษย์จะทำำกำรสัมผัสโดยใช้ประสำท
สัมผัสต่ำง ๆ เช่น ตำดู หู ฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็ นต้น ทำำให้มีกำรแปลควำมหมำย
จำกกำรสัมผัสสิ่ งเร้ำ เป็ นกำรรับรู ้ จำำได้ ประสำนควำมรู ้เข้ำด้วยกัน มีกำรเปรี ยบเทียบ และคิดอย่ำงมีเหตุผล
4. กำรได้รับรำงวัล (Reward) ภำยหลังจำกกำรตอบสนอง มนุษย์อำจเกิดควำมพึงพอใจ ซึ่งเป็ นกำำไรชีวิต
อย่ำงหนึ่ง จะได้นำำ ไปพัฒนำคุณภำพชีวิต เช่น กำรได้เรี ยนรู ้ ในวิชำชีพชั้นสูง จนสำมำรถออกไปประกอบอำชีพ
ชั้นสูง (Professional) ได้ นอกจำกจะได้รับรำงวัลทำงเศรษฐกิจเป็ นเงินตรำแล้ว ยังจะได้รับเกียรติยศจำกสังคมเป็ น
ศักดิ์ศรี และควำมภำคภูมิใจทำงสังคมได้ประกำรหนึ่งด้วย

ลำำดับขั้นของกำรเรียนรู้
ในกระบวนกำรเรี ยนรู ้ของคนเรำนั้น จะประกอบด้วยลำำดับขั้นตอนพื้นฐำนที่สำำ คัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
(1) ประสบกำรณ์ (2) ควำมเข้ำใจ และ (3) ควำมนึกคิด
1. ประสบกำรณ์ (experiences) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสำทรับรู ้อยูด่ ว้ ยกันทั้งนั้น ส่ วนใหญ่ที่เป็ นที่
เข้ำใจก็คือ ประสำทสัมผัสทั้งห้ำ ซึ่งได้แก่ ตำ หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสำทรับรู ้เหล่ำนี้จะเป็ นเสมือนช่องประตู
35

ที่จะให้บุคคลได้รับรู ้และตอบสนองต่อสิ่ งเร้ำต่ำง ๆ ถ้ำไม่มีประสำทรับรู ้เหล่ำนี้แล้ว บุคคลจะไม่มีโอกำสรับรู ้หรื อ


มีประสบกำรณ์ใด ๆ เลย ซึ่งก็เท่ำกับเขำไม่สำมำรถเรี ยนรู ้ส่ิงใด ๆ ได้ดว้ ย
ประสบกำรณ์ต่ำง ๆ ที่บุคคลได้รับนั้นย่อมจะแตกต่ำงกัน บำงชนิดก็เป็ นประสบกำรณ์ตรง บำงชนิดเป็ น
ประสบกำรณ์แทน บำงชนิดเป็ นประสบกำรณ์รูปธรรม และบำงชนิดเป็ นประสบกำรณ์นำมธรรม หรื อ
เป็ นสัญลักษณ์
2. ควำมเข้ ำใจ (understanding) หลังจำกบุคคลได้รับประสบกำรณ์แล้ว ขั้นต่อไปก็คือ ตีควำมหมำยหรื อ
สร้ำงมโนมติ (concept) ในประสบกำรณ์น้ นั กระบวนกำรนี้เกิดขึ้นในสมองหรื อจิตของบุคคล เพรำะสมองจะเกิด
สัญญำณ (percept) และมีควำมทรงจำำ (retain) ขึ้น ซึ่งเรำเรี ยกกระบวนกำรนี้วำ่ "ควำมเข้ำใจ"
ในกำรเรี ยนรู ้น้ นั บุคคลจะเข้ำใจประสบกำรณ์ที่เขำประสบได้กต็ ่อเมื่อเขำสำมำรถจัดระเบียบ (organize)
วิเครำะห์ (analyze) และสังเครำะห์ (synthesis) ประสบกำรณ์ต่ำง ๆ จนกระทัง่ หำควำมหมำยอันแท้จริ งของ
ประสบกำรณ์น้ นั ได้
3. ควำมนึกคิด (thinking) ควำมนึกคิดถือว่ำเป็ นขั้นสุ ดท้ำยของกำรเรี ยนรู ้ ซึ่งเป็ นกระบวนกำรที่เกิดขึ้น
ในสมอง Crow (1948) ได้กล่ำวว่ำ ควำมนึกคิดที่มีประสิ ทธิ ภำพนั้น ต้องเป็ นควำมนึกคิดที่สำมำรถจัดระเบียบ
(organize) ประสบกำรณ์เดิมกับประสบกำรณ์ใหม่ที่ได้รับให้เข้ำกันได้ สำมำรถที่จะค้นหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
ประสบกำรณ์ท้ งั เก่ำและใหม่ ซึ่งเป็ นหัวใจสำำคัญที่จะทำำให้เกิดบูรณำกำรกำรเรี ยนรู ้อย่ำงแท้จริ ง
ทฤษฎีกำรเรียนรู้
ทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ที่เป็ นพื้นฐำนของเทคโนโลยีกำรศึกษำนั้นเป็ นทฤษฎีที่ได้จำก 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism)
2. กลุ่มควำมรู ้ (Cognitive)
ทฤษฎีจำกกลุ่มพฤติกรรมนิยม
นักจิตวิทยำกำรศึกษำกลุ่มนี้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยำกลุ่มนี้มี
หลำยทฤษฎี เช่น ทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีควำมสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism
Theory) ทฤษฎีกำรเสริ มแรง (Stimulus-Response Theory)
เจ้ำของทฤษฎีน้ ีคือ พอฟลอบ (Pavlov) ทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไข (Conditioning Theory) กล่ำวไว้วำ่ ปฏิกริ ยำ
ตอบสนองอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งของร่ ำงกำยของคนไม่ได้มำจำกสิ่งเร้ำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งแต่เพียงอย่ำงเดียว สิ่งเร้ำนั้นก็
อำจจะทำำให้เกิดกำรตอบสนองเช่นนั้นได้ ถ้ำหำกมีกำรวำงเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมำะสม
ทฤษฎีควำมสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้ำของทฤษฎีน้ ี คือ ทอนไดค์ (Thorndike) ซึ่งกล่ำวไว้
ว่ำ สิ่ งเร้ำหนึ่ง ๆ ย่อมทำำให้เกิดกำรตอบสนองหลำย ๆ อย่ำง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขำได้คน้ พบกฎกำร
เรี ยนรู ้ที่สำำ คัญ คือ
36

1. กฎแห่ งกำรผล (Low of Effect)


2. กฎแห่ งกำรฝึ กหัด (Lowe of Exercise)
3. กฎแห่ งควำมพร้อม (Low of Readiness)
ทฤษฎีกำรวำงเงื่อนไข/ทฤษฎีกำรเสริ มแรง (S-R Theory หรื อ Operant Conditioning) เจ้ำของทฤษฎีน้ ีคือ
สกินเนอร์ (Skinner) กล่ำวว่ำ ปฏิกริ ยำตอบสนองหนึ่งอำจไม่ใช่เนื่องมำจำกสิ่งเร้ำสิ่ งเดียว สิ่ งเร้ำนั้นๆ ก็คงจะ
ทำำให้เกิดกำรตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้ำได้มีกำรวำงเงื่อนไขที่ถูกต้อง

กำรนำำทฤษฎีกำรเรี ยนรู ้ของกลุ่มพฤติกรรมมำใช้กบั เทคโนโลยีกำรศึกษำนี้จะใช้ในกำรออกแบบกำรเรี ยน


กำรสอนให้เข้ำกับลักษณะดังต่อไปนี้คือ

1 กำรเรี ยนรู ้เป็ นขั้นเป็ นตอน (Step by Step)


2. กำรมีส่วนร่ วมในกำรเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน (Interaction)
3. กำรได้ทรำบผลในกำรเรี ยนรู ้ทนั ที (Feedback)
4. กำรได้รับกำรเสริ มแรง (Reinforcement)
แนวคิดของสกินเนอร์ น้ นั นำำมำใช้ในกำรสอนแบบสำำเร็ จรู ป หรื อกำรสอนแบบโปรแกรม (Program
Inattention) สกินเนอร์ เป็ นผูค้ ิดบทเรี ยนโปรแกรมเป็ นคนแรก
ทฤษฎีจำกกลุ่มควำมรู้ (Cognitive)
นักจิตวิทยำกลุ่มนี้เน้นควำมสำำคัญของส่ วนรวม ดังนั้นแนวคิดของกำรสอนซึ่งมุ่งให้ผเู ้ รี ยนมองเห็นส่ วนรวม
ก่อน โดยเน้นเรี ยนจำกประสบกำรณ์ (Perceptual experience) ทฤษฎีทำงจิตวิทยำของกลุ่มนี้ซ่ ึงมีชื่อว่ำ Cognitive
Field Theory นักจิตวิทยำในกลุ่มนี้ เช่น โคเลอร์(kohler) เลวิน (Lawin) วิทคิน (Witkin) แนวคิดของทฤษฎีน้ ีจะ
เน้นควำมพอใจของผูเ้ รี ยน ผูส้ อนควรให้ผเู ้ รี ยนทำำงำนตำมควำมสำมำรถของเขำและคอยกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนประสบ
ควำมสำำเร็ จ กำรเรี ยนกำรสอนจะเน้นให้ผเู ้ รี ยนลงมือกระทำำด้วยตัวเขำเอง ผูส้ อนเป็ นผูช้ ้ แี นะ
กำรนำำแนวคิดของนักจิตวิทยำกลุ่มควำมรู ้ (Cognition) มำใช้คือ กำรจัดกำรเรี ยนรู ้ตอ้ งให้ผเู ้ รี ยนได้รับรู ้จำก
ประสำทสัมผัส เพื่อกระตุน้ ให้เกิดกำรเรี ยนรู ้ จึงเป็ นแนวคิดในกำรเกิดกำรเรี ยนกำรสอนผ่ำนสื่ อที่เรี ยกว่ำ
โสตทัศนศึกษำ (Audio Visual)
37

ทฤษฎีกำรสื่ อสำร
กำรสื่ อสำร (communication )คือกระบวนกำรแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่ำวสำรระหว่ำงบุคคลต่อบุคลหรื อบุคคล
ต่อกลุ่ม โดยใช้สญ ั ญลักษณ์ สัญญำน หรื อพฤติกรรมที่เข้ำใจกัน โดยมีองค์ประกอบดังนี้
ผู้ส่งสำร คือผูท้ ี่ทำำ หน้ำที่ส่งข้อมูล สำรไปยังผูร้ ับสำรโดยผ่ำนช่องทำงที่เรี ยกว่ำสื่ อ ถ้ำหำกเป็ นกำรสื่ อสำร
ทำงเดียวผูส้ ่ งจะทำำหน้ำที่ส่งเพียงประกำรเดียวแต่ถำ้ เป็ นกำรสื่ อสำร 2 ทำง ผูส้ ่ งสำรจะเป็ นผูร้ ับในบำงครั้งด้วย
ผูส้ ่ งสำรจะต้องมีทกั ษะในกำรสื่ อสำร มีเจตคติต่อตนเอง ต่อเรื่ องที่จะส่ ง ต้องมีควำมรู ้ในเนื้อหำที่จะส่ งและอยู่
ในระบบสังคมเดียวกับผูร้ ับก็จะทำำให้กำรสื่ อสำรมีประสิ ทธิ ภำพ
ข่ำวสำรในกำระบวนกำรติดต่อสื่ อสำรก็มีควำมสำำคัญ ข่ำวสำรที่ดีตอ้ งแปลเป็ นรหัส เพื่อสะดวกในกำรส่ ง
กำรรับและตีควำม เนื้อหำสำรของสำรและกำรจัดสำรก็จะต้องทำำให้กำรสื่ อควำมหมำยง่ำยขึ้น
สื่ อ หรื อช่องทำงในกำรรับสำรคือ ประสำทสัมผัสทั้งห้ำ คือ ตำ หู จมูก ลิ้น และกำยสัมผัส และตัวกลำงที่
มนุษย์สร้ำงขึ้นมำเช่น สิ่ งพิมพ์ กรำฟิ ก สื่ ออิเลกทรอนิกส์
ผู้รับสำร คือผูท้ ี่เป็ นเป้ ำหมำยของผูส้ ่ งสำร กำรสื่ อสำรจะมีประสิ ทธิ ภำพ ผูร้ ับสำรจะต้องมีประสิ ทธิ ภำพ
ในกำรรับรู ้ มีเจตคติที่ดีต่อข้อมูลข่ำวสำร ต่อผูส้ ่ งสำรและต่อตนเอง
38

เอกสำรอ้ ำงอิง
วสันต์ อติศพั ท์,"ทิศทำงใหม่ของนวัตกรรมทำงเทคโนโลยีกำรศึกษำ : กระบวนทัศน์ใหม่ของนัก
เทคโนโลยีกำรศึกษำและกำรเตรี ยมครู แห่ งอนำคต", เอกสำรประกอบกำรสัมมนำ โสตฯ-เทคโนสัมพันธ์ ครั้ง
ที่ 16, มหำวิทยำลัยเชียงใหม่, 2544,

สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำแห่ งชำติ สำำนักนำยกรัฐมนตรี ,พระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่ งชำติ พ.ศ.


2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545,12 พฤศจิกำยน 2550,

วรัท พฤกษำกุลนันท์ ,แนวโน้มกำรวิจยั ทำงเทคโนโลยีกำรศึกษำตำมนโยบำยและแผนที่เกี่ยวข้อง ,12


พฤศจิกำยน 2550,

สำำนักงำนคณะกรรมกำรอุดมศึกษำ,เกณฑ์มำตรฐำน :: กำำหนดตำำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรื อนในสถำบัน


อุดมศึกษำ, สำำนักงำนคณะกรรมกำรอุดมศึกษำ กระทรวงศึกษำธิ กำร, 2548,

You might also like