You are on page 1of 60

ระบบท่อ (Piping System)1

ระบบท่อ (Piping System)


ท่อในระบบปรับอากาศสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทตาม
ลักษณะการใช้งาน คือ ท่อที่ใช้สำาหรับระบบนำ้าเย็น หรือนำ้าร้อน
เคลื่อนผ่าน และท่อที่ใช้สำาหรับระบบนำ้ายาเคลื่อนผ่าน โดยการ
ออกแบบระบบท่อนำ้าสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ด คือ

ท่อน้้ำทีม
1. ่ ีน้ ำไหลผ่ำนไปครัง
้ เดียวไม่ได้น้ำย้อน
กลับมำใช้อีก
(One thru type, ระบบเปิด)
ระบบท่อนำ้าเปิ ด เป็ นระบบซึ่งนำ้าจะไหลไปอย่่ท่ีแหล่งเก็บ
นำ้าซึ่งเปิ ดส่่บรรยากาศ เช่น หอทำาความเย็น (Cooling tower)

2.ท่อน้้ำทีม
่ ีกำรน้ำน้้ำทีผ
่ ่ำนไปแล้วเวียนกลับมำ
ใช้อีก
(Recirculation type, ระบบปิด)
ระบบท่อ (Piping System)2

ระบบท่อนำ้าปิ ด เป็ นระบบซึ่งไม่มีส่วนไหนของระบบการ


ส่งนำ้าเปิ ดส่่บรรยากาศ ในระบบนำ้าที่มีการหมุนเวียนนำ้าที่มก
ี าร
หมุนเวียนผ่านไปแล้วกลับมาใช้อีก สามารถแบ่งย่อยได้ตามการจัด
นำ้ากลับเมื่อมีการนำานำ้ากลับของ 2 ย่นิต (Unit) ขึ้นไป คือ
2.1 ระบบท่อนำำนำ้ำกลับโดยตรง (Direct Return
Piping)
เหมาะสำาหรับระบบที่มีแต่ละย่นิตมีความดันลด
(Pressure drop) ต่างกัน ใช้มากในระบบท่อนำ้าเปิ ด แต่อาจมีใช้บ้างใน
ระบบท่อนำ้าปิ ด ระบบนี้ จำาเป็ นต้องใช้วาล์วปรับสมดุล (Balancing
valve) เพื่อปรับอัตราการไหลของนำ้าให้ได้ตามต้องการ โดยการ
ทำางานของระบบจะทำาให้เครื่องใกล้แหล่งจ่ายนำ้าจะได้รับนำ้า
มากกว่าเครื่องที่อย่่ไกล เนื่ องจากท่อส่งนำ้าจะส่งถึงเครื่องใกล้ก่อน
และจะนำานำ้ากลับจากเครื่องใกล้ก่อนเช่นกัน ทำาให้อัตราการไหล
ของนำ้าผ่านเครื่องใกล้มีแนวโน้มที่จะมากกว่าเครื่องที่อย่่ไกล

2.2 ระบบท่อนำำนำ้ำกลับโดยอ้อม (Reverse Return


Piping)
เหมาะสำาหรับระบบที่มีแต่ละย่นิตมีความดันลด
(Pressure drop) เท่ากัน หรือแตกต่างกันไม่มาก ใช้เฉพาะระบบท่อนำ้า
ปิ ดเท่านั้น ความยาวของท่อนำ้าตั้งแต่เริ่มส่งจนกระทั่งกลับมาที่เดิม
ของทุกๆ ย่นิตจะมีค่าใกล้เคียงกัน เพราะฉะนั้นจึงไม่ต้องใช้วาล์ว
ปรับสมดุล
ระบบท่อ (Piping System)3

2.3 ระบบท่อนำำนำ้ำกลับโดยอ้อมที่ส่วนเฮดเดอร์ และ


โดยตรงที่ส่วนไรเซอร์
(Reverse return header with direct return
risers)
เป็ นระบบซึ่งมีการนำานำ้ากลับโดยอ้อมเฉพาะส่วน
เฮดเดอร์ (Header) ส่วนของไรเซอร์ (Riser) จะเป็ นการนำานำ้ากลับ
โดยตรง ดังนั้นอัตราการไหลของทุกๆ ย่นิตในช่วงของไรเซอร์จะไม่
เท่ากัน ซึ่งอาจจำาเป็ นต้องใช้วาล์วปรับสมดุลในช่วงนี้
ระบบท่อ (Piping System)4

ข้อม่ลเรื่องระบบท่อทั้งหมดจาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ


*
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม ม.ศิลปากร
แหล่งข้อม่ล:
www.eng.su.ac.th/me/elearning/AirConditioning/airchapter7.pdf

กำรออกแบบระบบท่อ
ตารางเปรียบเทียบร่ปแบบของระบบท่อแต่ละร่ปแบบ
ร่ปแบบของ ความ ความดันลด วาล์วปรับสมดุล หมายเหตุ
ยาว
ระบบท่อ ในแต่ละย่นิต
ท่อ

ที่ต้อง
ใช้
ระบบท่อนำา น้อย ไม่เท่ากัน จำาเป็ น นิ ยมใช้กับ
นำ้ากลับ
ระบบเปิ ด
โดยตรง
ระบบท่อนำา มาก เท่ากัน ไม่จำาเป็ น ใช้เฉพาะกับ
นำ้ากลับโดย ระบบปิ ด
อ้อม
ระบบท่อนำา เท่ากันเฉพาะ จำาเป็ นเฉพาะใน สามารถใช้ได้
นำ้ากลับโดย ในส่วนเฮดเด ส่วนของเฮดเดอร์ กับทั้งระบบ
ปาน
อ้อม อร์ เปิ ด และระบบ
กลาง
ปิ ด
ที่ส่วนเฮดเด
อร์ และ

โดยตรงที่
ส่วนไรเซอร์

จากข้อม่ลของระบบท่อแต่ละประเภท สามารถสรุปได้ว่า
ระบบท่อนำ้ำกลับโดยตรง (Direct return piping) เป็ นระบบท่อที่มีความ
เหมาะสมต่อการออกแบบครั้งนี้ มากที่สุด เนื่ องจากมีการใช้ความ
ยาวของท่อน้อยเมื่อเทียบกับประเภทอื่นๆ จึงทำาให้ประหยัดพื้นที่
ติดตั้ง และประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ ยังเหมาะสมกับการใช้งาน
กับระบบเปิ ดซึ่งเป็ นระบบที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งคุณสมบัติท่ีกล่าวมา
ระบบท่อ (Piping System)5

ข้างต้นมีความสอดคล้องที่สามารถเลือกใช้กับงานระบบนำ้าระบาย
ความร้อนของระบบปรับอากาศ

วัสดุท่อ
การเลือกใช้วัสดุท่อต้องคำานึ งถึงจุดประสงค์ของการใช้
งาน โดยพิจารณาจากปั จจัยต่างๆ เช่น คุณสมบัติของของไหลที่
ไหลผ่าน อุณหภ่มิของของไหล ความดันลด แนวโน้มการเกิดการผุ
กร่อนหรือการเกิดอ็อกซิเดชัน (Oxidation) เป็ นต้น

ตารางเปรียบเทียบวัสดุท่อแต่ละชนิ ด
วัสดุท่อ คุณสมบัติ ราคาต่อหน่ วย ร่ปแบบของงาน
ความยาว ที่รองรับ
1. ท่อจะเสื่อมได้ง่าย

ท่อพลาสติก เมื่อถ่กแสงแดด ท่อส่งนำ้า

2. มีน้ ำาหนักเบา ปานกลาง (ทั่วไป)

3. มีความแข็งแรงน้อย
ท่อเหล็กอาบ ต้านทานการผุกร่อนได้ ถ่ก ท่อส่งนำ้า
สังกะสี ส่ง
(ทั่วไป)
ท่อเหล็กดำา เกิดการผุกร่อนได้ง่าย ถ่กที่สุด ท่อส่งนำ้า

(ขนาดใหญ่)
ท่อเหล็กหล่อ 1. มีความแข็งแรงส่ง แพง ระบบนำ้าทิ้ง
ระบบท่อ (Piping System)6

2. ทนความร้อน และท่ออากาศ
1. มีน้ ำาหนักเบา

2. ต้านทานการผุกร่อน

ได้ส่ง ท่อส่งนำ้า

ท่อทองแดง 3. มีผิวเรียบ ส่งผล แพงที่สุด (ขนาดเล็ก)


ให้การต้านทานการไหล
มีนอ้ ย

4. อายุการใช้งานมาก

นอกจากนี้ ในการออกแบบยังต้องคำานึ งถึงข้อบังคับต่างๆ


สำาหรับท่อนำ้าจากมาตรฐานท่อในอาคาร และมาตรฐานระบบปรับ
อากาศและระบายอากาศหมวด 11 ของ วสท. ได้มีการให้คำา
แนะนำาสำาหรับการเลือกวัสดุท่ีสอดคล้องกับงานแต่ละประเภทไว้
ดังนี้

• ท่อประปา ใช้ท่อเหล็กอาบสังกะสี และท่อพีวีซี


• ท่อระบายความร้อน และท่อน้้าเย็นในระบบปรับอากาศ ใช้ท่อเหล็ก
อาบสังกะสี และท่อเหล็กดำาทาสีกันสนิ ม
• ท่อน้้าร้อน ใช้ท่อทองแดง และท่อเหล็กอาบสังกะสี

จากข้อม่ลของวัสดุท่อแต่ละชนิ ด สามารถสรุปได้ว่า ท่อเหล็ก


ดำำ เป็ นวัสดุท่อที่มีความเหมาะสมต่อการออกแบบครั้งนี้ มากที่สุด
เนื่ องจากมีราคาถ่ก และเป็ นไปตามข้อบังคับมาตรฐานท่อใน
อาคาร โดยสามารถแก้ปัญหาการเกิดการผุกร่อนได้จากการทาสี
กันสนิ ม ซึ่งคุณสมบัติท่ีกล่าวมาข้างต้นมีความสอดคล้องที่สามารถ
เลือกใช้กับงานระบบนำ้าระบายความร้อนของระบบปรับอากาศ
ระบบท่อ (Piping System)7

รูปแบบกำรจัดวำงระบบท่อระหว่ำงหอท้ำควำม
เย็นเข้ำกับระบบรวม
การออกแบบระบบท่อระหว่างหอทำาความเย็นเข้ากับ
ระบบรวม สามารถออกแบบได้เป็ น 2 แบบหลักดังนี้
รูปแบบที่ 1

เป็ นการติดตั้งหอทำาความเย็น (Cooling tower) 1 ตัว


ต่อคอนเดนเซอร์ (Condenser) 1 ตัวโดยตรง จึงทำาให้มีข้อดี คือ อัตรา
การไหลที่ผ่านหอทำาความเย็นจะมีค่าเท่ากันในแต่ละตัว และไม่
จำาเป็ นต้องใช้วาล์วควบคุมกับระบบ แต่มีข้อเสีย คือ ต้องใช้ท่อ
จำานวนมาก ทำาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และพื้นที่ติดตั้ง

รูปแบบที่ 2
ระบบท่อ (Piping System)8

เป็ นการติดตั้งหอทำาความเย็นในร่ปแบบอนุกรม
กับระบบ โดยหอทำาความเย็นแต่ละตัวจะจัดวางในร่ปแบบขนาน
เช่นเดียวกันกับระบบคอนเดนเซอร์ซึ่งต่ออนุกรมอย่่กับปั ๊ ม และ
วาล์วควบคุม ทำาให้หอทำาความเย็นแต่ละตัวสามารถใช้งานร่วมกัน
กับคอนเดนเซอร์แต่ละตัวได้ ข้อดีของร่ปแบบนี้ คือ ร่ปแบบการจัด
วางท่อที่มีความเป็ นระเบียบ และใช้ท่อจำานวนน้อยกว่าร่ปแบบข้าง
ต้น ทำาให้ใช้พ้ ืนที่ในการติดตั้งน้อย และสะดวกต่อการด่แลรักษา
แต่มีข้อเสีย คือ อัตราไหลที่ไหลผ่านหอทำาความเย็นจะมีค่าลดลง
และไม่เท่ากันในแต่ละตัว จึงอาจมีความจำาเป็ นต้องติดตั้งวาล์ว
ควบคุม
จากข้อม่ลของการออกแบบทั้ง 2 ร่ปแบบ สามารถสรุป
ได้ว่า รูปแบบที่2 มีความเหมาะสมต่อการออกแบบครั้งนี้ มากกว่า
เนื่ องจากมีการจัดวางร่ปแบบท่อที่ใช้พ้ ืนที่ติดตั้งน้อย และสะดวก
ต่อการด่แลรักษา ซึ่งจะทำาให้ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้มาก

กำรพิจำรณำควำมดันลดในท่อ
ท่อนำ้าที่ใช้เป็ นทางเดินของนำ้าผ่านอุปกรณ์ต่างๆ ใน
ระบบนำ้าระบายความร้อนของระบบปรับอากาศนั้น อาจทำาให้เกิด
ความดันลดในท่อได้ตามสมการ
ระบบท่อ (Piping System)9

2
_
   
 p + v +  −  p + v +  =  fL + k  v
2 2

 ρg 2 g z   ρg 2 g z   ∑ D ∑  2 g
1 1 2 2
1 2

   

โดยสามารถแบ่งเป็ นปั จจัยต่างๆ ที่ทำาให้เกิดความดัน


ลดภายในท่อได้ดังนี้
1.ควำมเร็วของนำ้ำภำยในท่อ (Water’s velocity)
ค่าความดันลดภายในท่อมีความสัมพันธ์กับ
ความเร็วของของไหลที่ไหลภายในท่อ โดยเมื่อค่าความเร็วของ
ของไหลภายในท่อมีค่ามากจะทำาให้เกิดความเสียดทานภายในท่อ
มากขึ้น ซึ่งเป็ นผลให้เกิดการผุกร่อนภายในท่ออีกด้วย เพราะ
ฉะนั้นการเลือกความเร็วภายในท่อควรเลือกความเร็วที่เหมาะสม
โดยในการออกแบบระบบนำ้าระบายความร้อนของระบบปรับ
อากาศนี้ ได้มีการพิจารณาถึงช่วงความเร็วที่เหมาะสมตามสภาพ
การใช้งาน จากค่่มือการออกแบบระบบปรับอากาศของบริษท ั แค
เรียร์ (Handbook of Air Conditioning System Design, Carrier Air Conditioning
Company)

ตารางค่าความเร็วที่เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน

ลักษณะการใช้ ความเร็วที่

งาน แนะนำา

(ฟุต/วินาที)

ท่อต่อด้านส่ง 8-12

ของปั๊ ม

ท่อต่อด้านดูด 4-7

ของปั๊ ม

ท่อประธาน 4-15
ระบบท่อ (Piping System)10

ท่อแนวดิ่ง 3-10

ท่อนำ้าใช้ทวั ่ ไป 5-10

ท่อส่งนำ้า 3-7

นอกจากนี้ ยังได้มก
ี ารกำาหนดความเร็วส่งสุด ซึ่ง
สามารถลดการกร่อนภายในท่อเนื่ องจากการกระแทกของของไหล
โดยแสดงเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างชั่วโมงการใช้งานกับค่า
ความเร็วส่งสุดที่รองรับได้

ตารางค่าความเร็วส่งสุดของนำ้าที่ไม่ก่อให้เกิดการ
กัดกร่อนภายในท่อ

ชัว่ โมงการใช้ ความเร็ว


งาน นำ้า
(hr/yr) (fps)

1500 15

2000 14

3000 13

4000 12

6000 10

8000 8
ระบบท่อ (Piping System)11

2.ขนำดของท่อ (Pipe’s diameter)


ขนาดของท่อเป็ นอีกหนึ่ งปั จจัยที่มีความสัมพันธ์กับ
ค่าความดันลดภายในท่อ โดยท่อที่มีขนาดใหญ่จะทำาให้ค่าความดัน
ลดมีค่าน้อยลง แต่จะทำาให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายเนื่ องจากท่อที่มี
ขนาดใหญ่ หากเลือกใช้ท่อที่มีขนาดเล็กจะทำาให้ค่าความดันมีค่า
มากขึ้น แต่จะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายเนื่ องจากท่อที่มีขนาดเล็ก
ลงได้ นอกจากนี้ ขนาดของท่อยังส่งผลต่อการเลือกใช้ขนาดของปั ๊ ม
และมอเตอร์ตามค่าความดันลดที่เพิ่มขึ้นอีกด้วย เพราะฉะนั้นจึง
ต้องพิจารณาเลือกใช้ขนาดของท่อให้เหมาะสมกับลักษณะการใช้
งาน

ตารางค่าขนาดของท่อที่เหมาะสมเมื่อพิจารณาจากอัตราการ
ไหล
ระบบท่อ (Piping System)12

อัตราการไหล ขนาดท่อ
(แกลอนต่อนาที)
(นิ้ ว)
1-5.6 ¾
5.6-10 1
10-16 1¼
16-30 1½
23-38 2
38-56 2½
56-100 3
100-200 4
3. 200-600 6
ควำมยำว 600-1300 8
ท่อ
1300-2200 10
(Pipe’s
length) 2200-3400 12
3400-4500 14
4500-6400 16
6400-8800 18
8800-12000 20
12000-19000 24

ความยาวของท่อนำ้ามีความสัมพันธ์ต่อค่าความเสียดทาน
โดยความยาวของท่อที่มากขึ้นจะทำาให้ค่าความเสียดทานมีค่า
มากขึ้นซึ่งส่งผลต่อค่าความดันลดที่เพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย
ระบบท่อ (Piping System)13

โดยการพิจารณาหาค่าได้จากความยาวของท่อนำ้าในแนวตรง
สามารถวัดหาค่าได้โดยวัดระยะระหว่างศ่นย์กลางของวาล์ว
และข้อต่อต่างๆ หรืออาจทำาได้โดยการ คำานวณหาเป็ นค่า
ความยาวสมม่ล หรือความยาวเทียบเท่าของวาล์ว ข้อต่อ ข้อ
งอ และอุปกรณ์อ่ ืนๆในระบบท่อ

วำล์ว (Valve)
วาล์ว (Valve) เป็ นอุปกรณ์ท่ีมีความสำาคัญอย่างมากโดย
เฉพาะอย่างยิ่งต่อการพิจารณาค่าความดันลดภายในระบบ โดย
การพิจารณาเลือกวาล์วจำาเป็ นจะต้องพิจารณาถึงปั จจัยต่างๆ ของ
ของไหล เช่น ความหนื ด ความดัน อุณหภ่มิ การผุกร่อน เป็ นต้น
ซึ่งวาล์วแต่ละชนิ ดจะมีคณ ุ สมบัติ และหน้าที่การทำางานที่แตกต่าง
กันออกไปดังนี้
1. เกทวำล์ว (Gate valve)
แผ่นกั้นทางไหลของวาล์วชนิ ดนี้ จะคล้ายประต่ ซึ่ง
เลื่อนขึ้น-ลงในทิศตั้งฉากกับการไหลของของไหล เมื่อเปิ ดวาล์วเต็ม
ที่จะไม่มีส่วนใดขวางการไหล ทำาให้มีความต้านทานการไหลตำ่า จึง
มักใช้วาล์วชนิ ดนี้ ในกรณีเปิ ดและปิ ดอย่างเต็มที่ เหมาะสมกับการ
ใช้งานเพื่อแยกอุปกรณ์มาบำารุงรักษา แต่โดยส่วนใหญ่จะไม่ใช้
วาล์วชนิ ดนี้ ในการควบคุมการไหลเนื่ องจากเมื่อเปิ ดวาล์วไม่เต็มที่
ของไหลที่ไหลผ่านจะทำาให้เกิดการสั่นสะเทือนและง่ายต่อการ
สึกหรอ นอกจากนี้ วาล์วชนิ ดนี้ มีน้ ำาหนักมาก จึงต้องการที่รองรับ
นำ้าหนักด้วย
ระบบท่อ (Piping System)14

2. บอลวำล์ว (Ball valve)


วาล์วชนิ ดนี้ จะมีส่วนของทรงกลมในการเปิ ด-ปิ ด

วาล์ว สามารถเปิ ดได้จนสุดจากการหมุนเพียง 90 นิ ยมใช้ใน


o

งานที่ต้องการความเร็วในการเปิ ด-ปิ ด และมักใช้ในเฉพาะงาน

เปิ ด-ปิ ดเต็มที่เช่นเดียวกับเกทวาล์ว แต่วาล์วชนิ ดนี้ มีขนาดเล็ก


นำ้าหนักเบา และราคาถ่กกว่า จึงมักใช้ในงานขนาดเล็ก

โกลบวำล์ว (Globe valve) / บำลำนซ์ซ่ิงวำล์ว


3.
(Balancing valve)
วาล์วชนิ ดนี้ มักใช้ในงานควบคุมการไหล โดยของไหล

จะเปลี่ยนทิศการเคลื่อนที่อย่างกะทันหัน ทำาให้วาล์วชนิ ดนี้ มีความ

ต้านทานการไหลสูง จึงมักไม่นิยมใช้ในงานเปิ ด-ปิ ดเต็มที่ รวมทั้งวาล์ว

ชนิ ดนี้ ต้องการการติดตั้งให้ถูกทิศทาง นำ้าหนั กมาก และมีขนาดใหญ่


ระบบท่อ (Piping System)15

4. บัทเทอร์ฟลำยวำล์ว (Butterfly valve)


วาล์วชนิ ดนี้ จะใช้แผ่นหมุนรอบแกนเพื่อปรับ
ควบคุมการไหล สามารถเปิ ดได้จนสุดจากการหมุนเพียง 90
o

วาล์วชนิ ดนี้ มักใช้ในการเปิ ดเต็มที่-ปิ ด แต่ก็สามารถใช้ในการ


ี ้ ำาหนักเบา ง่ายต่อการใช้
ควบคุมการไหลได้ ซึ่งวาล์วชนิ ดนี้ มน
งาน ราคาถ่ก แต่อาจมีปัญหาในเรื่องของการรั่วไหลได้ โดยมัก
นิ ยมใช้วาล์วชนิ ดนี้ ในงานขนาดใหญ่

5. เช็ควำล์ว (Check valve)


เป็ นวาล์วที่ควบคุมการไหลของของไหลให้ไหลไปใน

ทิศทางเดียว ไม่ให้เกิดการไหลย้อนกลับ เพื่อป้ องกันความเสียหายของ

อุปกรณ์ ซึ่งวาล์วชนิ ดนี้ สามารถแบ่งเป็ น 2 ชนิ ดหลักๆ คือ เช็ควาล์ว

ประเภทแกว่ง (Swing check valve) และเช็ควาล์วประเภทยก (Lift check


valve)
ระบบท่อ (Piping System)16

6. เพรสเชอร์วำล์ว (Pressure valve)


เป็ นวาล์วที่ออกแบบมาเพื่อควบคุมหรือจำากัด
ความดันในระบบไม่ให้มากเกินไป โดยเมื่อมีความดันในระบบ
มากเกินไป วาล์วจะเปิ ดออกเพื่อลดความดันในระบบ และ
ป้ องกันความเสียหายของระบบ

กำรเลือกชนิ ดของวำล์วทีใ
่ ช้ในระบบท่อ
วำล์วที่ใช้ในกำรเปิ ด-ปิ ดเต็มที่ (Shutoff Valve)

เลือกใช้ เกทวำล์ว เนื่ องจากท่อที่ใช้มีขนาดใหญ่
และมีความต้านทานการไหลตำ่ากว่าวาล์วชนิ ดอื่น รวมทั้งไม่มี
ปั ญหาเรื่องการรั่วของวาล์ว โดยจะติดคร่อมอุปกรณ์เพื่อสะดวกต่อ
การถอดอุปกรณ์ไปซ่อมบำารุง
วำล์วที่ใช้ควบคุมกำรไหล

เลือกใช้ บำลำนซ์ซ่ิงวำล์ว เพื่อควบคุมให้อัตราการ
ไหลเท่ากันในท่อแยกต่างๆ เนื่ องจากวาล์วชนิ ดนี้ ใช้ในการควบคุม
การไหลได้แม่นยำา และมักใช้ในการควบคุมการไหลในงานระบบ
นำ้าปรับอากาศ
เลือกใช้ คอนโทรลวำล์วประเภทควบคุมด้วย
มอเตอร์ไฟฟ้ ำ เพื่อควบคุมให้อัตราการไหลมีความยืดหยุ่นต่อการ
ทำางานที่สภาวะต่างๆ กัน กล่าวคือ สามารถรองรับการทำางานนอก
ระบบท่อ (Piping System)17

เหนื อไปจากสภาวะที่ได้มีการปรับตั้งไว้ในตอนแรก เช่น อาจมีการ


ปรับลดอัตราการไหลในสภาวะที่มีการใช้งานไม่เต็มกำาลัง
• วำล์วที่ใช้ตรวจสอบกำรไหล
เลือกใช้ เช็ควำล์ว โดยจะเลือกใช้ เช็ควาล์วประเภท

แกว่ง (Swing check valve) เนื่องจำกสำมำรถรองรับงำนที่มีขนำดใหญ่

และมีความต้านทานการไหลตำ่ากว่า เช็ควาล์วประเภทยก (Lift check


valve)

อุปกรณ์อ่ ืนๆในระบบท่อ
สเตรนเนอร์ (Strainer)
1.
ทำาหน้าที่กรองตะกอนออกจากระบบ ติดตั้งที่ท่อนำ้า
ก่อนเข้าปั ๊ มเพื่อป้ องกันไม่ให้ ปั ๊ มเสียหายเนื่ องจากตะกอนในนำ้า
2.อุปกรณ์ป้องกันการสั่นสะเทือน (Flexible pipe
connection)
ทำาหน้าที่ป้องกันการส่งผ่านความสั่นสะเทือน ติด
ตั้งบริเวณท่อ-ออกของปั ๊ ม
3. มำตรวัดควำมดัน (Pressure gauge)

กำรพิจำรณำถึงปั จจัยในกำรออกแบบระบบท่อ
ในการออกแบบระบบท่อเพื่อใช้สำาหรับงานระบบนำ้า
ระบายความร้อนของระบบปรับอากาศนั้น จำาเป็ นจะต้องทำา กำร
ศึกษำถึงตัวแปรต่ำงๆ (Parametric Study) ที่มีผลต่อการออกแบบระบบ
ท่อนี้ โดยในที่น้ี จะพิจารณาถึง 2 ปั จจัยหลัก คือ รำคำ (Price) และ
ควำมเสียดทำนสูญเสีย (Friction loss)
รำคำ (Price)
1.
ในการทำาการศึกษาถึงราคาของท่อนั้น จะ
พิจารณาจากวัสดุท่อที่เลือกใช้ คือ ท่อเหล็กดำำทำสีกันสนิ ม โดยจะ
พิจารณาถึงปั จจัยในเรื่องของ คุณภำพ (Grade) และรอยเชื่อม
(Seamed) โดยจะแสดงราคาของท่อที่ปัจจัยต่างๆ ในตางรางด้านล่าง
ระบบท่อ (Piping System)18
ระบบท่อ (Piping System)19
ระบบท่อ (Piping System)20

ราคาต่อความยาวท่อ (Baht/meters)*

ขนาดของ เกรดเอ เกรดบี เกรดบี

ท่อ
รอยเชื่อม รอยเชื่อม รอยเชื่อม

(Inch) เยอะ เยอะ น้อย

½ 25 54 120

¾ 31 71 161

1 47 105 195

1¼ 83 143 255

1½ 95 170 300

2 130 229 323

2½ 207 363 506

3 267 475 671

4 400 675 945

5 529 825 1283

6 695 1069 1650

8 1074 1288 1998

10 1723 1825 2850

12 2065 2412 3741

14 2551 3020 5178

16 3557 3940 6750


ระบบท่อ (Piping System)21

ตารางราคาต่อความยาวของท่อเหล็กดำาทาสีกันสนิ ม

* พิจารณาจากท่อ SCH. 40

จะเห็นได้ว่าเมื่อขนาดท่อมีขนาดใหญ่ข้ ึน ราคาท่อต่อ

เมตรจะมากขึ้น และท่อที่มีรอยเชื่อมน้อย (Seamless) จะมีราคาสูงกว่า


ระบบท่อ (Piping System)22

ท่อที่มีรอยเชื่อมมาก (Seamed) แต่ในทางตรงกันข้ามท่อที่มีรอยเชื่อมมาก

ก็จะมีแรงเสียดทานในท่อมากกว่าท่อที่มีรอยเชื่อมน้อย และอาจเกิดรอย

รัว่ หรือแตกได้ตามรอยเชื่อมจำานวนมากที่มีอยู่ เมื่อพิจารณาถึงเกรด


ของท่อ ท่อเกรดบีจะมีราคาส่งกว่าท่อเกรดเอที่ทุกๆ ขนาดท่อ
เดียวกัน
จากข้อม่ลของราคาท่อต่อความยาว สามารถสรุป
ได้ว่า ท่อเกรดบี รอยเชื่อมเยอะเป็ นวัสดุท่อที่มีความเหมาะสมต่อ
การออกแบบครั้งนี้ มากที่สุด เนื่ องจากมีราคาถ่กเมื่อเทียบกับวัสดุ
ท่อในลักษณะอื่นๆ ในขณะเดียวกันก็สามารถจัดหาได้ เมื่อต้องการ
ท่อที่มีขนาดใหญ่

2. ค่าสูญเสียหลัก (Major loss)


ในการทำาการศึกษาถึงค่าส่ญเสียหลักนั้น จะ
พิจารณาปั จจัยจากจำานวนท่อลำาเลียงหลักในแนวดิ่ง เป็ นร่ปแบบที่
มีท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่ง 1 ท่อ, 2 ท่อ และ 3 ท่อ ซึ่งจะส่งผลถึงการ
ออกแบบอุปกรณ์ข้อต่อ และการเลือกใช้ขนาดของท่อด้วย

○ รูปแบบที ่ 1 ท่อลำำเลียงหลักแนวดิง่ จำำนวน 1


ท่อ
ระบบท่อ (Piping System)23

ภาพแสดงร่ปแบบการวางท่อที่บริเวณชั้นดำดฟ้ ำ

ภาพแสดงร่ปแบบการวางท่อที่บริเวณชั้นใต้ดิน
ระบบท่อ (Piping System)24

กำรเลือกขนำดท่อ

• ท่อเอ (Pipe A)
: อัตราการไหล (QA ) = 11616 GPM =
0.73 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DA) = 24’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.59055 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VA) = 2.665
m/s
• ท่อบี (Pipe B)
: อัตราการไหล (QB ) = 3872 GPM =
0.24 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DB) = 14’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.33655 m
ระบบท่อ (Piping System)25

: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VB) = 2.698


m/s

• ท่อซี (Pipe C)
: อัตราการไหล (QC ) = 3872 GPM =
0.24 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DC) = 14’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.33655 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VC) = 2.698
m/s

• ท่อดี (Pipe D)
: อัตราการไหล (QD ) = 1936 GPM =
0.12 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DD) = 10’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.25451 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VD) = 2.359
m/s

• ท่ออี (Pipe E)
: อัตราการไหล (QA ) = 484 GPM = 0.0305
m /s
3
ระบบท่อ (Piping System)26

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DA) = 6’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.15405 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VA) = 1.636
m/s

• ท่อเอฟ (Pipe F)
: อัตราการไหล (QA ) = 3872 GPM =
0.24 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DA) = 14’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.33655 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VA) = 2.698
m/s

• ท่อจี (Pipe G)
: อัตราการไหล (QG ) = 968 GPM = 0.0611
m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DG) = 8’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.20272 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VG) = 1.893
m/s
ระบบท่อ (Piping System)27

• ท่อเอช (Pipe H)
: อัตราการไหล (QH ) = 5808 GPM =
0.37 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DH) = 16’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.38735 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VH) = 3.14
m/s

• ท่อไอ (Pipe I)
: อัตราการไหล (QI ) = 1936 GPM =
0.12 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DI) = 12’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.3048 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VI) = 1.645
m/s

• ท่อเจ (Pipe J)
: อัตราการไหล (QJ ) = 1936 GPM =
0.12 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DJ) = 8’’


ระบบท่อ (Piping System)28

- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)


= 0.20272 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VJ) = 3.717
m/s

• ท่อเค (Pipe K)
: อัตราการไหล (QK ) = 1936 GPM =
0.12 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DK) = 10’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.25451 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VK) = 2.359
m/s
ระบบท่อ (Piping System)29

ตำรำงสรุปหน้ำที่ในระบบ และข้อมูลจำำเพำะของท่อแต่ละประเภท
ระบบท่อ (Piping System)30

ท่ หน้าที่ในระบบ ขนาด อัตราการ อัตราเร็ว


อ ท่อ ไหล (เมตร/
(นิ้ ว) (เมตร 3/ วินาที)
วินาที)

A ท่อขึ้น-ลง ในแนวดิ่ง 24 0.73 2.665

B ท่อส่งนำ้าหลักบนดาดฟ้ า 14 0.24 2.698

C ท่อส่งนำ้า เข้าท่อลำาเลียง 14 0.24 2.698

หลัก
D ท่อลำาเลียงนำ้าหลักเข้า 10 0.12 2.359

หอทำาความเย็น
E ท่อนำ้าเข้าหอทำาความ 6 0.0305 1.636

เย็น
F ท่อส่งนำ้าออกหอ 14 0.24 2.698

ทำาความเย็น เข้าท่อส่ง
นำ้าหลัก
G ท่อนำ้าออกหอทำาความ 8 0.0611 1.893

เย็น
H ท่อส่งนำ้าหลักที่ช้ันใต้ดิน 16 0.37 3.14

I ท่อด้านด่ดของปั ๊ ม 12 0.12 1.645

J ท่อด้านส่งของปั ๊ ม 8 0.12 3.717

K ท่อนำ้าออกคอนเดนเซอร์ 10 0.12 2.359


ระบบท่อ (Piping System)31

วำล์ว ข้อต่อ และอุปกรณ์ต่ำงๆ ในระบบ


ระบบท่อ (Piping System)32

อุปกรณ์ สัญลักษ ค่าสูญ หน้ าที่

ณ์ เสีย

Globe
0.15 ปรับอัตราไหลของของไหลใน
ท่อ
valve

Gate
10 เปิ ด-ปิ ด ของไหลในท่อ

valve

Balancing
10 ควบคุมอัตราไหลของของไหล
ในท่อ
valve
ด้วยความแม่นยำาส่ง

Check
2.5 ป้ องกันการไหลย้อนกลับของ
นำ้า
valve

Strainer
1.3 กรองสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ใน
ระบบ

Flexible
0.31 ป้ องกันการสั่นสะเทือนของ
ระบบ
connectio

Pressure
- วัดความดันของของไหลที่ไหล
ผ่าน
gauge

90
0.31 ข้องอปรับทิศการไหล

Degree

elbow
ระบบท่อ (Piping System)33

แผนภาพแสดงการต่อระบบท่อเข้ากับหอทำาความเย็น1

แผนภาพแสดงการต่อระบบท่อเข้ากับคอนเดนเซอร์

1 ที่ด้านขาออก พิจารณาเฉพาะท่อออกของนำ้ าเท่านั้น โดยละเว้นท่อเสริมต่างๆ


ระบบท่อ (Piping System)34

○ รูปแบบที ่ 2 ท่อลำำเลียงหลักแนวดิง่ จำำนวน 2


ท่อ
ระบบท่อ (Piping System)35

กำรเลือกขนำดท่อ
ในร่ปแบบที่ 2 การเลือกขนาดท่อต่างๆ ยังคงมีความ
คล้ายกับร่ปแบบที่ 1 แต่จะมีความแตกต่างกันอย่่บ้างตรงบริเวณ
ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่ง คือ

• ท่อเอ-2 (Pipe A-2)


: อัตราการไหล (QA-2 )= 5808 GPM =
0.37 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DA-2) = 18’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.43815 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VA-2) = 2.454
m/s

○ รูปแบบที ่ 3 ท่อลำำเลียงหลักแนวดิง่ จำำนวน 3


ท่อ
ระบบท่อ (Piping System)36
ระบบท่อ (Piping System)37

กำรเลือกขนำดท่อ
ในร่ปแบบที่ 3 การเลือกขนาดท่อต่างๆ ยังคงมีความ
คล้ายกับร่ปแบบที่ 1 แต่จะมีความแตกต่างกันอย่่บ้างตรงบริเวณ
ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่ง คือ

• ท่อเอ-3 (Pipe A-3)


: อัตราการไหล (QA-3 )= 3872 GPM =
0.24 m /s
3

: เส้นผ่านศูนย์กลาง (DA-3) = 14’’


- เส้นผ่านศูนย์กลางภายใน (Inner Diameter)
= 0.33655 m
: อัตราเร็วของของไหลภายในท่อ (VA-3) = 2.698
m/s
ระบบท่อ (Piping System)38
ระบบท่อ (Piping System)39

ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าส่ญเสียหลัก (Major loss) ระหว่าง


การออกแบบทั้ง 3 ร่ปแบบ

Ca Number Size of ID (m) Flow rate Flow rate V (m/s) Re e/D f

se of vertical vertical (GPM) (m3/s)

pipe pipe

(inch)

1 1 24 0.59055 11616 0.73 2.665 176833 7.78935 0.012

2.3 E-05 39

2 2 18 0.43815 5808 0.37 2.454 120811 0.00010 0.013

2.5 4987 7

3 3 14 0.33655 3872 0.24 2.698 102023 0.00013 0.013

8.1 6681 5

ตารางแสดงการเปรียบเทียบค่าส่ญเสียหลัก (Major loss) และราคา2


พิจารณาเทียบระหว่างการออกแบบทั้ง 3 ร่ปแบบ

Price (Baht)
Cas Informati Size of vertical Major
Pipe Fitting Total
e on pipe (inch) loss (m)

1 4, 11,75 16,25
Vertical
1 494,337.00 7,621.00 1,958.00

2 พิจารณาเฉพาะราคาของท่อเท่านั้น ไม่รวมวาล์ว และอุปกรณ์ข้อต่อต่างๆ


ระบบท่อ (Piping System)40

Pipe 24 1.20237

2 5, 12,92 18,25
Vertical
2 326,131.00 5,621.00 1,752.00
18 1.46326
Pipes

3 3, 13,01 16,60
Vertical
3 592,035.00 3,621.00 5,656.00
14 2.40756
Pipes
ระบบท่อ (Piping System)41

ตารางแสดงการเปรียบเทียบราคารวมของท่อระหว่างการ
ออกแบบทั้ง 3 ร่ปแบบ

ร่ปแบบที่ 1 : ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่งจำานวน 1 ท่อ ขนาด


ท่อ 24 นิ้ ว
Pipe Length Size Price/Leng Total price

(m) (inch) th (baht/m) (baht)

A 317.6 24 11901 3779757.6

B 35 14 3020 105700

C 27.1 14 3020 81842

D 75.3 10 1825 137422.5

E 48 6 1069 51312

F 34.1 14 3020 102982

G 12 8 1288 15456

H 46 16 3940 181240

I 6 12 2412 14472

J 6 8 1288 7728

K 9 10 1825 16425

TOTAL 616.1 - - 4494337

.1

ร่ปแบบที่ 2 : ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่งจำานวน 2 ท่อ ขนาด


ท่อ 18 นิ้ ว
ระบบท่อ (Piping System)42

Pipe Length Size Price/Length Total price

(m) (inch) (baht/m) (baht)

A 635.2 18 7260 4611552

B 35 14 3020 105700

C 27.1 14 3020 81842

D 75.3 10 1825 137422.5

E 48 6 1069 51312

F 34.1 14 3020 102982

G 12 8 1288 15456

H 46 16 3940 181240

I 6 12 2412 14472

J 6 8 1288 7728

K 9 10 1825 16425

TOTAL 933.7 - - 5326131.5

ร่ปแบบที่ 3 : ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่งจำานวน 3 ท่อ ขนาด


ท่อ 14 นิ้ ว
Pipe Length Size Price/Length Total price

(m) (inch) (baht/m) (baht)

A 952.8 14 3020 2877456


ระบบท่อ (Piping System)43

B 35 14 3020 105700

C 27.1 14 3020 81842

D 75.3 10 1825 137422.5

E 48 6 1069 51312

F 34.1 14 3020 102982

G 12 8 1288 15456

H 46 16 3940 181240

I 6 12 2412 14472

J 6 8 1288 7728

K 9 10 1825 16425

TOTAL 1251.3 - - 3592035.5


ระบบท่อ (Piping System) 44

ตารางแสดงการใช้วาล์ว และอุปกรณ์ต่างๆ พิจารณาการวางท่อในร่ปแบบที่ 1


3
: ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนว

ดิ่งจำานวน 1 ท่อ ขนาดท่อ 24 นิ้ ว

VALVE OTHER COMPONENT FLOW FITTING

TYPE

Gat Glo Balanc Cont Che Strai Flexible P- Inl Outl 90- T-Joint Cro Ca Redu Expans
PI SI PRICE
e be ing rol ck ner Guage et et ss p cer ion
PE ZE Connecti Elb Li Bran

val valv valve valv val on


4
ow ne ch

ve e e ve

A 2 4 2 2 1 1 199,000.00

B 1 4 2 2 43,200.00

3 พิจารณาจากร่ปแบบการวางปั ๊ ม (Pump) จำานวน 6 ตัว ต่อเข้าโดยตรงกับคอนเดนเซอร์ (Condenser) แต่ละตัว


4 ละเว้นการคำานวณราคาของข้อต่อป้ องกันการสั่นสะเทือน (Flexible Connection) เนื่ องจากไม่สามารถหาข้อม่ลได้
ระบบท่อ (Piping System) 45

C 1 3 3 3 6 3 2,401,587.0

4 0

D 1 2 6 24 984,900.00

0 4

E 6 24 24 -

F 1 12 3 85,500.00

G 8 12 12 12 18,000.00

H 1 4 8 2 2 134,000.00

I 1 6 6 6 6 6 6 5,389,950.0

2 0

J 8 6 6 6 6 6 6 2,501,484.0
ระบบท่อ (Piping System) 46

K 1 6 6 -

TOTAL PRICE 11,757,62

1.00
ระบบท่อ (Piping System) 47

ตารางแสดงการใช้วาล์ว และอุปกรณ์ต่างๆ พิจารณาการวางท่อในร่ปแบบที่ 2: ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่ง

จำานวน 2 ท่อ ขนาดท่อ 18 นิ้ ว

VALVE OTHER COMPONENT FLOW FITTING

TYPE

Gat Glo Balanc Cont Che Strai Flexible P- Inl Outl 90- T-Joint Cro Ca Redu Expans
PI SI PRICE
e be ing rol ck ner Guage et et ss p cer ion
PE ZE Connect Elb Li Bran

val val valve valve valv ion ow ne ch

ve ve e

A 2 8 2 2 1 1
287,000.00
4

B 1 4 2 2
43,200.00
4

C 1 3 3 3 6 3 3,271,587.0
ระบบท่อ (Piping System) 48

4 0

D 1 2 6 24
114,900.00
0 4

E 6 24 24 287,000.00

F 1 12 3
-
4

G 8 12 12 12 85,500.00

H 1 2 4 8 2 2
18,000.00
6

I 1 6 6 6 6 6 6 1,214,000.0

2 0

J 8 6 6 6 6 6 6 5,389,950.0

0
ระบบท่อ (Piping System) 49

K 1 6 6 4,687,374.0

0 0

TOTAL PRICE 15,111,51

1.00

ตารางแสดงการใช้วาล์ว และอุปกรณ์ต่างๆ พิจารณาการวางท่อในร่ปแบบที่ 3: ใช้ท่อลำาเลียงหลักแนวดิ่ง

จำานวน 3 ท่อ ขนาดท่อ 14 นิ้ ว

VALVE OTHER COMPONENT FLOW FITTING

TYPE

Gat Glo Balanc Cont Che Strai Flexible P- Inl Outl 90- T-Joint Cro Ca Redu Expans
PI SI PRICE
e be ing rol ck ner Guage et et ss p cer ion
PE ZE Connect Elb Li Bran

val valv valve valve valv ion ow ne ch

ve e e
ระบบท่อ (Piping System) 50

A 2 12 2 2 1 1
375,000.00
4

B 1 4 2 2
43,200.00
4

C 1 3 3 3 6 3 3,271,587.0

4 0

D 1 2 6 24
114,900.00
0 4

E 6 24 24 -

F 1 12 3
85,500.00
4

G 8 12 12 12 18,000.00

H 1 2 4 8 2 2 1,214,000.0
ระบบท่อ (Piping System) 51

6 0

I 1 6 6 6 6 6 6 5,389,950.0

2 0

J 8 6 6 6 6 6 6 2,501,484.0

K 1 6 6 6
-
0

TOTAL PRICE 13,013,62

1.00
ระบบท่อ (Piping System)52

แผนภ่มิแสดงความสัมพันธ์ของค่าหัวที่อัตราไหลต่างๆ พิจารณา
การวางท่อในร่ปแบบที่ 1

แผนภ่มิแสดงความสัมพันธ์ของค่าหัวที่อัตราไหลต่างๆ พิจารณา
การวางท่อในร่ปแบบที่ 2

แผนภ่มิแสดงความสัมพันธ์ของค่าหัวที่อัตราไหลต่างๆ พิจารณา
การวางท่อในร่ปแบบที่ 3

แผนภ่มิแสดงความสัมพันธ์ของค่าหัวที่อัตราไหลต่างๆ พิจารณา
การวางท่อเปรียบเทียบทั้ง 3 ร่ปแบบ

สรุปส้ำหรับกำรออกแบบระบบท่อ
จากข้อม่ลทั้งหมดที่ได้นำาเสนอมาข้างต้น ทำาให้สามารถ
ออกแบบระบบท่อที่มีความเหมาะสมมากที่สุด โดยพิจารณาเปรียบ
เทียบถึงแต่ละปั จจัยที่มีผลต่อการออกแบบ โดยสามารถสรุปแยก
เป็ นหัวข้อได้ดังนี้ 5
1. เลือกใช้ระบบท่อประเภท ท่อนำ้ำนำำกลับแบบตรง (Direct
return piping)

2. เลือกใช้วัสดุท่อประเภท ท่อเหล็กดำำปรับปรุงด้วยกำรทำสี
กันสนิ ม โดยเลือกใช้ลักษณะ เกรดบี รอยเชื่อมเยอะ (Seamed) ของ
บริษท
ั ไทยสตีลไปป์ จำากัด (Thai steel pipe company)

5 การพิจารณาทั้งหมดจะใช้ร่ปแบบของการวางปั ๊ มจำานวน 3 ตัว ซึง


่ เป็ นร่ปแบบที่มี
ความเหมาะสมมากที่สุด
ระบบท่อ (Piping System)53

3. เลือกใช้ร่ปแบบการวางท่อในแนวดิ่ง เลียบไปตำมช่อง
ลำำเลียงหลัก (Core area)
4. เลือกใช้จำานวนท่อลำาเลียงหลักในแนวดิ่งจำานวน 1 ท่อ
5. เลือกใช้วาล์วแต่ละประเภท และอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้
วาล์วเปิ ด-ปิ ด (On-off valve)
ประเภท : เกทวาล์ว (Gate valve)
ยี่ห้อ-รุ่น : คิทซ์ (Kitz) – 150SCLS
ร่ปแบบ : เหล็กเหนี ยว (Cast carbon steel)
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้
บริเวณด้านขาเข้าหอทำาความ 14’’ 3 ตัว
เย็น (Cooling tower)

บริเวณด้านขาเข้าของปั ๊ ม (Pump) 12’’ 3 ตัว


บริเวณด้านขาเข้าของ 8’’ 6 ตัว
คอนเดนเซอร์ (Condenser)

วาล์วควบคุมการไหล (Flow-regulation valve)


ประเภท : บาลานซ์ซ่ิงวาล์ว (Balancing valve)
ยี่ห้อ-รุ่น : ฮันนี่ เวลล์ (Honeywell) – MNG Kombi F2
ร่ปแบบ : เหล็กเหนี ยว (Cast carbon steel)
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้

บริเวณด้านขาเข้าหอทำาความเย็น
14’’ 3 ตัว
ระบบท่อ (Piping System)54

(Cooling tower)

บริเวณด้านขาเข้าของปั ๊ ม (Pump) 8’’ 3 ตัว


บริเวณด้านขาเข้าของ 12’’ 3 ตัว
คอนเดนเซอร์ (Condenser)

ประเภท : มอเตอร์ไรซ์ คอนโทรลวาล์ว (Motorized


control valve)
ยี่ห้อ-รุ่น : แดนฟอส (Danfoss)
ร่ปแบบ : เหล็กเหนี ยว (Cast carbon steel)
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้

บริเวณด้านขาเข้าหอทำาความเย็น
14’’ 3 ตัว
(Cooling tower)

บริเวณด้านขาเข้าของปั ๊ ม (Pump) 8’’ 3 ตัว


บริเวณด้านขาเข้าของ 12’’ 6 ตัว
คอนเดนเซอร์ (Condenser)

วาล์วตรวจสอบการไหล (Flow-inspection valve)


ประเภท : เช็ควาล์ว (Check valve)
ยี่ห้อ-รุ่น : คิทซ์ (Kitz) – 300SCOS
ร่ปแบบ : เหล็กเหนี ยว (Cast carbon steel)
การติดตั้ง :
ระบบท่อ (Piping System)55

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้
บริเวณด้านขาออกของ 8’’ 6 ตัว
ปั ๊ ม (Pump)

อุปกรณ์ป้องกันต่างๆ (Protection device)


ประเภท : ข้อต่อป้ องกันการสั่นสะทือน (Flexible
connection)
ยี่ห้อ-รุ่น : โทเซน (Tozen) – PT-LS
ร่ปแบบ : ยางยืดหยุ่น (Flexible rubber)
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของ จ้ำนวนที่
ท่อ ใช้
บริเวณหอทำาความเย็น ด้าน 6’’ 3 ตัว
(Cooling tower) หน้า
ด้าน 8’’ 3 ตัว
หลัง
บริเวณปั ๊ ม (Pump) ด้าน 12’’ 3 ตัว
หน้า
ด้าน 8’’ 3 ตัว
หลัง
บริเวณคอนเดนเซอร์ ด้าน 8’’ 6 ตัว
(Condenser) หน้า
ด้าน 10’’ 6 ตัว
หลัง
ระบบท่อ (Piping System)56

ประเภท : สเตรนเนอร์ (Strainer)


ยี่ห้อ-รุ่น : โตโย (Toyo) – 450J
ร่ปแบบ : เหล็กเหนี ยว (Cast carbon steel)
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้
บริเวณด้านขาเข้าของ 12’’ 3 ตัว
ปั ๊ ม (Pump)

อุปกรณ์ตรวจวัดการไหล (Measurement device)

ประเภท : อุปกรณ์วัดความดัน (Pressure Gauge)


ยี่ห้อ-รุ่น : ยามาโมโต (Yamamoto) – Ordinary
ร่ปแบบ : -
การติดตั้ง :

บริเวณทีต
่ ิดตัง
้ ขนำดของท่อ จ้ำนวนที่ใช้
บริเวณด้านขาเข้าของ 12’’ 3 ตัว
ปั ๊ ม (Pump)
บริเวณด้านขาออกของ 8’’ 3 ตัว
ปั ๊ ม (Pump)
ระบบท่อ (Piping System)57

ข้อต่อ และอุปกรณ์ท่อต่างๆ (Joint and other components)

อุปกรณ์
ขนำ ข้อ ข้อ ข้อ ตัวลด ตัวขยำย หัว
บริเวณท่อ ดท่อ งอ ต่อ ต่อ ขนำด ขนำดท่อ ปิด
90 3 4 ท่อ
อง ทำ ทำ
ศำ ง ง
ท่อล้ำเลียงหลักแนว 24’’ 4 2 2 1 1 -
ดิง

ท่อส่งน้้ำบนดำดฟ้ ำ 14’’ 4 2 2

ท่อส่งน้้ำเข้ำท่อ 14’’ 6 3
ล้ำเลียงหลักบน
ดำดฟ้ ำ
ท่อล้ำเลียงหลักเข้ำ 10’’ 24 24 6
หอท้ำควำมเย็น
ท่อส่งน้้ำออกหอ 14’’ 12 3
ท้ำควำมเย็น เข้ำท่อ
ส่งน้้ำหลัก
ท่อส่งน้้ำชัน
้ ใต้ดิน 16’’ 4 4 1 2 2
ระบบท่อ (Piping System)58

แผนภาพไรเซอร์ (Riser Diagram) แสดงการใช้วาล์ว และอุปกรณ์


ต่างๆ ในระบบ
ระบบท่อ (Piping System)59

6. การระบุขนาด (Dimension) และการจัดวางอุปกรณ์ต่างๆ ใน


ระบบ (Composition)
ระบบท่อ (Piping System)60

You might also like