You are on page 1of 28

คิริมานนทสูตร

โดยสมเด็จองค์ปัจจุบน ั
(พระสูตรนี้ มีคาสอนที่สาคัญอยู่ ๑๐ ข้อ)

คานา
ั ั ทีผมเขียนคิรมานนทสูตร แบบย่อความเป็ นภาษาไทยในปจจุบน ่ ิ มีเหตุจากความศรัทธาในความดีของท่านเจ้าพระคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจนโท) ิั ั เป็ นเบืองต้น ต่อเมื่อใช้ความเพียร (วิรยะ-ขันติ-สัจจะโดยมีปญญาบารมีคุม) ้ ิ อ่านจนจบเล่มแล้วยิงทําให้ผมได้พบพระธรรม ่ ซึงนําไปสูความพ้นทุกข์ได้ละเอียดยิงขึนเป็ นอย่างมาก ่ ่ ่ ้ เมื่อพิจารณาดูประโยชน์ทพงได้จากพระสูตรนี้ เห็นว่ามีอยูสุดประมาณ ่ี ึ ่ เพราะพระพุทธองค์ทรงแสดงอริยสัจไว้อย่างชัดแจ้ง คือ ให้พวกเราได้เห็นทุกข์ตามความเป็ นจริง คือ ทุกข์ของการเกิดมามีรางกายมีอะไรบ้าง ่ ให้พวกเราได้เห็นต้นเหตุททาให้เกิดทุกข์ (สมุทย) ล้วนเกิดทีใจเราทังสิน ่ี ํ ั ่ ้ ้ ให้พวกเราได้เห็นความดับทุกข์ ต้องดับทีใจเราเท่านัน ดับทีอ่นไม่ได้ผล ่ ้ ่ ื และท่านได้ชแนะแนวทางการพ้นทุกข์ พร้อมวิธปฏิบตให้ถงซึงความพ้นทุกข์ได้ ้ี ี ั ิ ึ ่ ั ตามลําดับจนถึงพระนิพพาน ด้วยอธิศล-อธิจต-อธิปญญา ตามลําดับ ี ิ มีทางนี้ทางเดียวทางอื่นไม่มี จิตของผมเจริญระดับไหน ผมย่อมแปลหรืออธิบายพระธรรมของพระองค์ได้แค่ระดับนัน ้ ั ั การแปลแบบย่อ ๆ เป็ นภาษาไทยปจจุบน จึงยังไม่ละเอียดพอ การผิดพลาดหรือเข้าใจผิด ก็ยอมมีได้เป็ นธรรมดา ผมจึงขอขมาพระรัตนตรัยไว้ก่อนล่วงหน้า (ความจริงขอขมาวันละ ๔ ่ หน เป็ นปกติเกือบทุกวันมากว่า ๒๐ ปีแล้ว อาจไม่ครบตอนรับราชการ

หรือเดินทางไปต่างจังหวัดหรือต่างประเทศ) และต้องขออภัยต่อท่านผูรู้ ้ ทีมระดับจิตสูงกว่าผมไว้ ณ ทีน้ีดวย ่ ี ่ ้ ผมขอโมทนากับกลุมบุคคลทีมความสามัคคีรวมกันตังวงสนทนาธรรมทีนําไปสูความพ้น ่ ่ ี ่ ้ ่ ่ ทุกข์ตลอดมา ตังแต่หลวงพ่อฤๅษีทานทิงขันธ์ ๕ หรือเปลือกของท่านไปสูพระนิพพานเมื่อ ๓๐ ้ ่ ้ ่ ั ั ตุลาคม ๒๕๓๕ ตลอดมาจนถึงปจจุบนก็เป็ นเวลา ๑๔ ปีแล้ว ผมมองดูกพบแต่หน้าเก่าๆทังสิน ็ ้ ้ มีหน้าใหม่ๆเพิมขึนมาทุกๆปี จนต้องใช้เครื่องขยายเสียงช่วย ่ ้ บางท่านทีหายไปตามวาระกรรมของท่าน ซึงห้ามไม่ได้คอความตาย แต่ทานก็ตายอย่างผูฉลาด ่ ่ ื ่ ้ คือเอาร่างกายหรือขันธ์ ๕ ทิงไว้กบโลก เพราะรูกบใจว่ากายนี้ไม่ใช่ของเรา ้ ั ้ ั เราอาศัยอยูนนไม่มทางรอด ท่านจึงเอาจิตรอด โดยเอาจิตท่านไปพระนิพพานได้เกือบทุกท่าน ่ ั้ ี อย่างเลวมีบางท่าน ท่านก็ไม่ตองมาเกิดบนโลกมนุ ษย์อกแล้ว คือ ้ ี เป็ นพระอนาคามีอยูบนพรหมโลก หลวงพ่อฤๅษีทานก็เมตตามาสอนให้นิดเดียว ่ ่ ก็จบกิจไปอยูพระนิพพานกันหมด บุคคลทียงมีขนธ์ ๕ อยู่ ่ ่ ั ั ก็มกุศลจิตบริจาคเงินเป็ นธรรมทานและวิหารทาน โดยไม่เคยมีการบอกบุญแม้แต่น้อย ี เงินทังหมดก็นํามาพิมพ์หนังสือแจกฟรีเป็ นธรรมทาน และวิหารทาน โดยซ่อมแซมพระพุทธรูป้ โบสถ์-วิหาร-เจดียและสร้างพระ เป็ นต้น ให้กบวัดท่าซุง จ.อุทยธานี วัดเดียวเท่านัน ์ ั ั ้ เพือบูชาความดีของหลวงพ่อฤๅษี ่ ซึงทําให้พวกเราได้มดวงตาเห็นธรรมทีนําไปสูความพ้นทุกข์ได้อย่างถาวร ด้วยอุบายต่าง ๆ ่ ี ่ ่ มากมายหลายวิธี และจะร่วมมือร่วมใจกันไปเช่นนี้จนกว่าชีวตจะหาไม่ ิ ทุกคนไม่มใครต้องการเกิดอีกทังสิน ทุกท่านทําบุญ-ทํากุศลแล้วไม่มใครเกาะบุญี ้ ้ ี เกาะกุศลอีกต่อไป จิตวางสมมุตธรรมเพือเข้าสูวมตธรรม ิ ่ ่ิ ุ ิ ั ั ้ จิตอธิษฐานขอไปพระนิพพานในชาติปจจุบนนี้ดวยกันทุกท่านเทอญ

คิริมานนทสูตร
ผมขอย่อพระสูตรนี้ เป็ นภาษาไทยปัจจุบนดังนี้ ั

พระสูตรนี้ พระพุทธเจ้าตรัสเทศน์ทพระเชตวันวิหารซึ่งอนาถบิณฑิกเศรษฐีสร้างถวาย ่ี ่ ณ กรุงสาวัตถี มีตนเหตุจากพระคิรมานนท์ ซึงกําลังปวยมีไข้สง (ขณะนันยังไม่จบกิจ) ้ ิ ่ ู ้ ขอให้พระพุทธองค์สงเคราะห์ให้ทุกขเวทนาหาย เมื่อตนเองไม่สามารถมาเฝ้าพระองค์ได้ จึงขอนิมนต์ทานพระอานนท์ชวยกราบทูลพระองค์ให้ทรงทราบด้วย ่ ่ ั พระพุทธองค์จงได้เทศนาให้พระอานนท์ฟง พระอานนท์ซงมีความจําเป็ นเลิศ ึ ่ึ ั ฟงแล้วได้ไปเทศนาทีสานักของท่านคิรมานนท์ต่อไป จึงได้ช่อว่า คิรมานนทสูตร ่ํ ิ ื ิ มีเนื้อความโดยย่อดังนี้ ก่อนอื่นผมขอชีแจงว่า พระสูตรนี้มผนํามาให้ผมได้อานครังนี้เป็ นครังที่ ๓ แล้ว ้ ี ู้ ่ ้ ้ อ่านครังแรกเมื่อ ๒๐ กว่าปีมาแล้ว ขอรับว่ายังมีขอสงสัย อยูมาก ้ ้ ่ เพราะภาษาทีเขียนเป็ นภาษาโบราณ อ่านแล้วหลายๆตอนไม่เข้าใจความหมาย ่ ทําให้ผมหมดอารมณ์ทจะอ่านต่อ ครังที่ ๒ เมื่อประมาณ ๑๐ กว่าปีมานี้ ่ี ้ อ่านแล้วเข้าใจมากขึนกว่าเดิม แต่กยงไม่คอยเข้าใจความหมายอยูหลายตอน ้ ็ ั ่ ่ เพราะยังใช้ภาษาโบราณปนอยูมาก จึงต้องอุเบกขาหรือวางเฉยไว้ก่อน ่ มาครังนี้มผปรารถนาดีเอามาหลายเล่มเพือให้ผมแจก พอผมดูช่อหนังสือแล้วต้องระงับไว้ก่อน ้ ี ู้ ่ ื เพราะผมไม่แน่ใจว่าผูอานจะมีความเพียรทนอ่านจนจบเล่มได้สกกีคน ้่ ั ่ เพราะธรรมทานทีผมพิมพ์แจก ซึงเป็ นคําสังสอนของพระพุทธองค์ ่ ่ ่ ่ ั้ ั ั ของหลวงพ่อฤๅษีและของหลวงปูทงหลาย สอนง่าย ๆ ใช้ภาษาไทยปจจุบน พิมพ์ตวโตๆแจกให้หลายเรื่องหลายรอบแล้ว ยังไม่คอยจะอ่านกันสักเท่าไหร่ ั ่ ั มาครังนี้ผมใช้ความเพียรหนักขึน อ่านไปกว่า ๓ จบ แล้วก็พบอุปสรรคหรือปญหาแบบเดิม คือ ้ ้ ภาษาโบราณ แต่เห็นชื่อเจ้าคุณอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิรจนโท) เข้าความศรัทธาก็เกิด ิั เพราะเคารพนับถือในความดีของท่านมาก (หลวงพ่อท่านบอกผมว่า ท่านไม่เกิดอีกแล้ว) ผูศรัทธาในพระสูตรนี้ได้จางช่างทางภาคเหนือ จารึกเป็ นหนังสือเล่มนี้ขน ้ ้ ้ึ แล้วนําไปให้ทานเจ้าคุณอุบาลีตรวจสอบ (แปลจากภาษาไทยเหนือมาเป็ นภาษาไทยกลาง) เมื่อ ่ ๔ พ.ย. ๒๕๑๑ นี่คอทีมาของหนังสือเล่มนี้ ื ่ ผมเพียรอ่านหลายจบแล้ว เห็นว่ามีประโยชน์เพราะเป็ น หมวดอาพาธสูตร ซึงพระองค์ตรัสไว้เพือให้ผรบฟง ่ ่ ู้ ั ั ่ (ในขณะอาพาธหรือเจ็บปวย มีทุกขเวทนาสูง)

ผ่อนคลายทุกขเวทนาจนถึงหายจากทุกขเวทนาได้อย่างดี และบางรายก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์เลยก็มี เช่น ท่านพระคิรมานนท์ เป็ นต้น ิ พระองค์ทรงสอนให้เหมาะแก่จริต-นิสย และกรรมของแต่ละคนซึงไม่เหมือนกัน ั ่ จึงมีอยูหลายพระสูตร จัดไว้เป็ นหมวดอาพาธสูตร ่ หลักคาสอนที่ ๑ : ให้ละรูปและนาม ซึ่งไม่ใช่เรา-ไม่ใช่ของเรา เราจึงควบคุมบังคับมันไม่ได้ ผมขอสรุปย่อ ๆ ว่า ขันธ์ ๕ หรือร่างกายซึงประกอบด้วยรูป ๑ กับนามอีก๔ คือ เวทนา ่ สัญญา สังขาร และวิญญาณ มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มในมัน และมันไม่มในเรา ี ี รายละเอียดไม่เขียนเพราะหลวงพ่อฤๅษีทานสอนไว้ละเอียดมากอยูแล้ว ่ ่ ผูรกดีตองการพ้นทุกข์ในชาติน้ี ้ั ้ ย่อมหาอ่านศึกษาและนําไปปฏิบตให้เกิดผลได้ดวยตนเองเฉพาะตน กรรมใครกรรมมัน ั ิ ้ หรือของใครของมัน หลักคําสอนที่ ๒ : ให้ละอัตตาด้วยการพิ จารณากองกระดูก ความตาย และสิ่ งสกปรกซึ่งอยู่ในตัวเรา (บาลีว่า อัฏฐิ กสัญญา-มรณสติ -อสุภนุสติ ) ผมขอสรุปย่อ ๆ ว่า ๑. อัตตาหรือตัวตนในพุทธศาสนาไม่มี เพราะในทีสุดแล้วก็ตองเป็ นอนัตตาหมด ่ ้ หรือพังหมด ตายหมด สลายตัวไปหมด เปลียนสภาวะจากสิงหนึ่งไปเป็ นอีกสิงหนึ่งหมด เช่น ่ ่ ่ ๑.๑ อาหารทีกนมีสมมุตช่อเรียกมากมายหลายพันหลายหมื่นชื่อ ่ ิ ิ ื กินเข้าไปทางปากพรุงนี้ออกมาเป็ นขีหมด ไม่สามารถแยกว่าเป็ นอะไรบ้าง ่ ้ ๑.๒ ทุกสิงในมนุ ษย์โลกแม้เทวโลกและพรหมโลก ่ ล้วนตกอยูภายใต้กฎแห่งไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ่ ทังสินหรือจะกล่าวเป็ นสํานวนว่า สิงทีเทียงทีสุดในโลกนี้คอความไม่เทียง ้ ้ ่ ่ ่ ่ ื ่ ๑.๓ ในทีสุดโลกนี้ทงโลกไม่มอะไรเหลือ ่ ั้ ี หมายความว่าทุกสิงในโลกตกอยูภายใต้กฎของไตรลักษณ์ คือ เกิดดับๆ ๆ อยูตลอดเวลา ่ ่ ่

ั เป็ นสันตติธรรม เห็นได้ดวยตาปญญาเท่านัน อย่างทีทานอัญญาโกณฑัณญะ ้ ้ ่ ่ ท่านเห็นธรรมขันละเอียดว่า โลกนี้จริงๆ แล้วไม่มอะไรเหลือ “มีสงหนึ่งสิงใดเกิดขึนเป็ นธรรมดา ้ ี ิ่ ่ ้ และสิงเหล่านันก็ดบไปเป็ นธรรมดา ่ ้ ั โลกทังโลกมีสภาวะธรรมอยูเพียงแค่น้ี” ท่านจบกิจเป็ นพระอรหันต์ ้ ่ ั ั สาวกองค์แรกของพระพุทธเจ้าองค์ปจจุบนด้วยการวางอัตตาตรงจุดนี้เอง (ท่านเห็นไตรลักษณ์ขนละเอียดสุด) ั้ ๒. สมถะ ๓ กองทีพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ไม่ทง คือ ่ ้ิ ๒.๑ อานาปานุ สติ การกําหนดรูลมหายใจเข้าและออกเพราะทําให้จตสงบเป็ นสุข ้ ิ ั ผูมปญญาท่านพิจารณาลมหายใจให้เป็ นศีล-สมาธิ-ปญญาได้ ให้เป็ นมรณานุ สติกได้ เป็ นต้น ้ ี ั ็ ประโยชน์ของอานาปาหลวงพ่อฤๅษีทานสอนไว้ละเอียดมาก ทังในเทปและหนังสือ ่ ้ ๒.๒ กายคตานุ สติและอสุภะ ๑๐ อย่าง (ไม่ขออธิบาย) ๒.๓ มรณานุ สติและอุปสมานุ สติ (นึกถึงพระนิพพานเป็ นอารมณ์) ผมไม่ขออธิบาย ผูใฝดยอมหารายละเอียดเอาเองได้จากเทป และหนังสือของหลวงพ่อฤๅษีทสอนไว้ ้ ่ ี่ ่ี หลักคาสอนที่ ๓ : ศีล สมาธิ ปัญญา เป็ นทางไปสู่พระนิ พพาน ผมขอสรุปย่อๆว่า ั ก) ศีล สมาธิ ปญญา ย่อมาจากอริยมรรค ๘ ซึงเป็ นข้อปฏิบตทนําไปสูความพ้นทุกข์ ่ ั ิ ่ี ่ ข) “พระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ต่างก็บรรลุเป็ นพระพุทธเจ้าได้ดวยอริยสัจทังสิน ้ ้ ้ และพระสาวกของพระองค์ทุกองค์ ต่างก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์ได้ดวยอริยสัจ มีทางนี้ทางเดียว ้ ทางอื่นไม่ม” ทรงตรัสไว้ชดแจ้งแล้ว ี ั ค) ดังนันท่านผูใดทีตองการจะพ้นทุกข์ หรือไปพระนิพพานภายในชาติน้ี ก็ตองอาศัย ้ ้ ่ ้ ้ ั ศีล สมาธิ ปญญา เป็ นหลักสําคัญในการปฏิบติ ทรงตรัสว่า ”ผูใดต้องการพระนิ พพานจริ ง ั ้ ต้องรักษาศีล ๕ ศีล ๘ ศีล ๑๐ ศีล ๒๒๗ หรือศีลพระปาติ โมกข์เสียก่อน จึงชื่อว่าเข้าใกล้ทาง มีโอกาสที่จกได้ถึงโลกุตรธรรมนิ พพานโดยแท้” ั

หลักคาสอนที่ ๔ : “ผูปรารถนาพระนิ พพาน ้ ต้องแสวงหาครูที่ดีที่ร้แจ้งพระนิ พพานจริ ง” ู ทรงยกตัวอย่าง ท่านพระองคุลมาลเถระ เดิมได้ครูทเี่ ป็ นมิจฉาทิฏฐิ เมื่อเริมต้นผิด ิ ่ ผลทีได้รบก็ผดตลอด คือ เป็ นมหาโจรฆ่าคนตายนับด้วยพัน เมื่อได้พบตถาคตซึงเป็ นสัมมาทิฏฐิ ่ ั ิ ่ ผลทีได้รบก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์ได้ ดังนัน ่ ั ้ บุคคลผูไม่รพระนิพพานไม่ควรเป็ นครูสงสอนท่านผูอ่นในทางพระนิพพานเลย ้ ู้ ั่ ้ื ถ้าขืนเป็ นครูจกพากันฉิบหาย เป็ นบาปกรรมแก่ตวหนักหนาทีเดียว ั ั หลักคาสอนที่ ๕ : ผูร้กบผูไม่รู้ ได้รบทุกข์เหมือนกัน หากทาบาป ู้ ั ้ ั ส่วนผูจะได้สขในนิ พพานต้องรู้เท่าทัน ้ ุ "ดูกรอานนท์ อยากได้สุขอันใด ควรรูจกสุขอันนันก่อนจึงจะได้ ้ั ้ อยากได้สุขในพระนิพพาน ก็ควรรูจกสุขในพระนิพพาน อยากได้สุขในมนุ ษย์และสวรรค์ ้ั ก็ให้รจกสุขในโลกมนุ ษย์และสวรรค์นนเสียก่อนจึงจะได้ไม่เหมือนทุกข์ในนรก ู้ ั ั้ จักรู้กตามไม่ร้กตาม ถ้าทากรรมที่เป็ นบาปแล้ว ็ ู ็ ผูที่ร้หรือผูที่ไม่ร้กตกนรกเหมือนกันถ้าไม่ร้จกนรกก็ยิ่งไม่มีทางพ้นนรกได้ แม้จกทําบุญให้ ้ ู ้ ู ็ ู ั ั ทาน สักปานใดก็ไม่อาจพ้นนรกได้ แต่มใช่วาทําบุญให้ทานแล้วไม่ได้บุญ ิ ่ ความสุขจากบุญนันยังมีอยู่ แต่เป็ นบุญทียงไม่พนทุกข์จากนรก ้ ่ ั ้ จึงควรรูจกทางออกจากนรกให้ชดแจ้ง คือ การรักษาศีล ๕, ๘, ๑๐ และ ๒๒๗ นันเอง ขอสรุปสัน ้ั ั ่ ้ ๆ ว่า - จะพ้นนรกหรืออบายภูมิ ๔ ได้ดวยอธิศล ้ ี - จะพ้นการเกิดการตายจากมนุ ษย์โลกได้ดวย อธิศล และอธิจต ้ ี ิ ั - จะพ้นจากเทวโลก พรหมโลก ได้ดวยอธิศล อธิจต และอธิปญญา ้ ี ิ ั (ผูมปญญาย่อมทราบได้ดวา อธิศล อธิจต อธิปญญา ก็คอสังโยชน์ ๑๐ นันเอง) ้ ี ั ี่ ี ิ ื ่ หลักคาสอนที่ ๖ : การรู้จกนรก-สวรรค์-พระนิ พพาน ควรรู้ในเวลาที่ยงมีชีวิตอยู่ ั ั

เพราะจิตมีดวงเดียว เมื่อมีชวตอยูกจตดวงนี้ เมื่อตายไปแล้วก็จตดวงนี้ ีิ ่ ็ิ ิ เมื่อยังมีชวตอยูมความสุขฉันใด เมื่อตายไปแล้ว ก็ได้รบความสุขฉันนัน ีิ ่ ี ั ้ เมื่อยังมีชวตอยูมความทุกข์ฉนใด เมื่อตายไปแล้วก็ได้รบความทุกข์ฉนนัน (ทรงหมายถึง ีิ ่ ี ั ั ั ้ สุขหรือทุกข์เกิดทีใจ อยูทใจ ใจเป็ นผูสร้างสุขและทุกข์ขนเอง เมื่อจะดับหรือแก้ไขก็ตองดับทีใจ ่ ่ ่ี ้ ้ึ ้ ่ ส่วนกายนันเหมือนกันทุกคน คือ มันมีทุกข์ของมันอยูเป็ นปกติธรรมดา จะยากดีมจน จะมียศ้ ่ ี ศักดิ ์มากน้อยแค่ไหน มันก็ทุกข์อยูเป็ นปกติ ไม่มใครจะมาห้ามมันได้ ทรงเน้นทุกข์จากสัทธรรม ่ ี ๕ เป็ นหลักสําคัญ คือ การเกิดแล้วต้องแก่-เจ็บ-ตาย-พลัดพรากจากของรักของชอบมีความปรารถนาไม่สมหวัง เป็ นธรรมดาของผูมร่างกายจะต้องพบ โดยไม่มผใดได้รบยกเว้น) ้ ี ี ู้ ั หลักคาสอนที่ ๗ : บุคคลที่ปรารถนาพ้นทุกข์ได้สขหรือพระนิ พพาน ุ ควรให้ได้เมื่อยังมีชีวิตอยู่ "ดูกรอานนท์ พระนิพพานนันมี ๒ ประเภท คือ สุกหนึ่ง ดิบหนึ่ง” ้ ั นิ พพานดิ บ หมายถึงบุคคลทียงมีชวตอยู่ เจริญศีล-สมาธิ-ปญญา ่ ั ีิ จนพบสุขในพระนิพพานแล้ว หรือจบกิจทีจะต้องตัดกิเลสทุกชนิดแล้ว แต่ยงมีรางกายอยู่ ่ ั ่ หรือยังไม่ตาย ั นิ พพานสุก หมายถึง บุคคลทีจบกิจในพระพุทธศาสนาแล้วด้วย ศีล-สมาธิ-ปญญา ่ และร่างกายตายหรือพังด้วย จิตเป็ นอิสระก็ไปเสวยสุขทีแดนพระนิพพาน ่ ทรงอธิบายว่า นิพพานดิบนัน จิตเป็ นสุขก็จริงอยู่ แต่ไม่ละเอียด้ ประณีตเท่ากับนิพพานสุก หรือเทียบกันไม่ได้เลย เพราะ ก) ตราบใดทีรางกายยังอยู่ ยังมีชวตอยู่ ทุกข์ของกาย (ทุกขสัจ) ก็ยงคงมีอยู่ คือ ่่ ีิ ั นิพทธทุกข์ ทุกข์ปกติของการมีรางกาย เช่น ปวดท้องขี้ ปวดท้องเยียว หิว ั ่ ่ ต้องอาบนํ้าชําระสิงสกปรกของกาย ต้องทํางานเพื่อหาเงิน หาอาหารมาเลียงดูรางกายเป็ นต้น ่ ้ ่ มีสภาพเหมือนคนติดคุก มีสภาพเหมือนต้องเลียงลูกอ่อนอยูตลอดเวลา หรือตลอดชีวต ้ ่ ิ ข) ทุกข์จากสัทธรรม ๕ ดังกล่าวแล้วในข้อ ๖

ค) ทุกข์จากกฎของกรรม ทีตามให้ผลกับร่างกายได้ตลอดเวลา ่ กฎของกรรมข้อใดทีเราทําไว้ในอดีตตามมาทัน วิบากกรรมนันก็ตามให้ผล เช่น ่ ้ โมคคัลลาน์ถูกโจร ๕๐๐ ทุบ จนร่างกายแหลกเหลว ่ พระสารีบุตรก่อนจะเข้าสูพระนิพพานก็ปวยหนักแม้แต่พระองค์เองก่อนจะเข้าสูปรินิพพาน ่ ่ ก็ยงถูกกฎของกรรมตามมาเล่นงาน เป็ นต้น ั หลักคาสอนที่ ๘ : ทาตัวเราให้เหมือนแผ่นดิ น หรือปล่อยวาง จึงได้ชื่อว่าพระนิ พพานดิ บ ถ้าปรารถนาจักถึงพระนิพพาน จักต้องทําจิตให้หนักแน่นเหมือนแผ่นดินเสียก่อน ซึงไม่ใช่ของง่าย ต้องพากเพียรลําบากยิงนักจึงจักได้ เพราะแผ่นดินนันคน สัตว์ ่ ่ ้ จะมาทําร้ายทําดีประการใด แผ่นดินก็มได้โกรธเคืองหรือว่ากล่าวอย่างใด ิ ให้ระลึกไว้เสมอว่าเราเกิดมาตามกรรม ทีเราทําไว้ (กรรมลิขต) ่ ิ เราคือจิตดวงเดียวทีมาอาศัยร่างกายอยูชวคราวเท่านัน ่ ่ ั่ ้ เราอยูเพือชดใช้กรรมเพื่อคอยวันตายเท่านัน (ด้วยความไม่ประมาท ่ ่ ้ ซ้อมตายและพร้อมทีจะตายอยูเสมอ) ทรงให้หลักในการอบรมใจซึงเป็ นของเรา ่ ่ ่ เราต้องบังคับและอบรมมันให้ได้

หลักสาคัญในการทาใจเราให้หนักแน่ นเหมือนแผ่นดิน
ทรงให้หลักไว้ ดังนี้ ก) ให้ละอารมณ์โลภ-โกรธ-หลง และโลกธรรม ๘ คืนไว้ให้แก่โลกตามเดิม เพราะบนโลกุตรนิพพานนันปราศจากวิญญาณ วิญญาณยังมีทใด ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ้ ่ี ก็ยงมีอยูในทีนน (วิญญาณในทีน้ีทรงหมายถึงระบบประสาทสัมผัสทัง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน ั ่ ่ ั้ ่ ้ ้ กายและใจ หรืออายตนะสัมผัสทัง ๖ นันเอง ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของร่างกาย หรือขันธ์ ๕ ้ ่ ซึงประกอบด้วยรูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ) ่ ข) บุคคลบางกลุ่มหลงไปเกิดเป็ นอรูปพรหม ซึงไม่ใช่โลกุตรพระนิพพาน ่ เพราะหลงคิดไปว่าวิญญาณของขันธ์ ๕ (อันเป็ นระบบประสาทสัมผัสของร่างกาย) ว่าเป็ นจุตวญญาณ (ใจ) จึงพาตัว (พาใจ) ขึนไปอยูในทีอนไม่มรป (อรูปฌาน) ิิ ้ ่ ่ ั ีู

หลงคิดว่าเป็ นสุขในอรูปพรหม ซึงยังไม่เทียงจัดเป็ นนิพพานโลกีย์ ่ ่ เมื่อหมดอายุของอรูปฌานแล้ว ยังต้องมีเกิด แก่ เจ็บ ตายต่อไป (ข้อเท็จจริงพวกเล่นอรูปฌานนันยังมีอารมณ์ไม่พอใจ (ปฏิฆะ) ในรูป ยังนึกรังเกียจรูปเลย ้ เอาใจหนีรปไปอยูอรูป จึงไม่ใช่อารมณ์ตดหรือละ ปล่อยวางรูปแต่อย่างใด เมื่อออกจากอรูปฌาน ู ่ ั ตัวกิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม ก็ยงคงอยูเหมือนเดิม) ั ่ ั ค) ผูปฏิบตอริยมรรค (ศีล สมาธิ ปญญา) ให้เต็มที่ จึงจักวางใจได้เหมือนกับแผ่นดิน ้ ั ิ ง) เหตุทเี่ ขาวางใจไม่ได้ เพราะยังถือตัวถือตนว่าเป็ นเขาเป็ นเรา หรือเป็ นของเขาเป็ นของเรา เป็ นพวกเขาเป็ นพวกเรา (สาเหตุเพราะคิดว่าร่างกายหรือขันธ์ ๕ เป็ นเราเป็ นของเรา หรือร่างกายเป็ นอัตตา ตัวตน จึงปล่อยวางไม่ได้) หลักคาสอนที่ ๙ : ผูถือเอาความสุขในนิ พพาน ต้องวางความสุขในโลกียให้หมด ้ ์ ๙.๑ ความสุขในโลก เกิดจากประตูทง ๖ (ทวารทัง ๖) อายตนะทัง ๖ ในอินทรียทง ๖ ั้ ้ ้ ์ ั้ โดยยกให้ใจเป็ นหัวหน้า เอาระบบประสาททัง ๕ (วิญญาณของขันธ์ ๕) คือ ประสาทของตา หู ้ จมูก ลิน กาย นันเป็ นกามคุณ ๕ ประสาททัง ๕ ้ ้ ้ นี้เป็ นผูปรุงแต่งความสุขให้กบเจ้าพระยาจิตตราช (ใจ) จึงชื่อว่ากามคุณ ๕ ้ ั สุขในโลกนี้มแต่กามคุณทัง ๕ นี้เท่านัน ตลอดขึนไปจนถึงสุขในเทวโลกและพรหมโลก ี ้ ้ ้ ก็ยงไม่พนกามคุณทัง ๕ จัดเป็ นความสุขทีเจืออยูดวยความทุกข์ ดังนัน ั ้ ้ ่ ่ ้ ้ หากไม่วางโลกียสุขเสียก็ไม่มทางพ้นทุกข์ เพราะสุขกับทุกข์เป็ นของคู่กน ์ ี ั จะเลือกเอาอย่างเดียวไม่ได้ ๙.๒ "อานนท์ บุคคลทังหลายที่จกรู้ตามความเป็ นจริ งว่าสุขกับทุกข์ติดกันอยู่นันห ้ ั ้ ายากยิ่ งนัก ไม่มใครสามารถพรากสุขทุกข์ ออกจากกันได้ ี แม้แต่ตถาคตเองก็เคยแสวงหาสุขโดยส่วนเดียวมาก่อน และพบความจริงว่าไม่มทางทําได้ ี ตถาคตจึงวางโลกียสุขนันเสีย (สุขทีไม่เทียงหรือสุขทีเจือทุกข์อยู) เมื่อวางโลกียสุขแล้ว ์ ้ ่ ่ ่ ่ ์ ทุกข์ไม่ตองวางก็หายไปเอง ตถาคตจึงสําเร็จพระนิพพาน ้ พ้นจากกองทุกข์อย่างถาวรด้วยประการดังนี้"

๙.๓ ผูจะถึงพระนิ พพาน ้ ต้องพ้นจากกุศลธรรมและอกุศลธรรม (พ้นดีพนชัว) “ดูกรอานนท์ กุศลธรรมและอกุศลธรรม ้ ่ นัน ได้แก่ กองกิเลส ๑,๕๐๐ นันเอง อัพยากฤตธรรม (ธรรมที่ไม่เป็ นกุศลและอกุศล) คือ ่ ่ องค์พระนิ พพาน ครันพ้นจากกองกุศลธรรม และอกุศลธรรมแล้ว ้ จึงเป็ นองค์แห่งพระอรหันต์และนิพพานโดยแท้ "ดูกรอานนท์ กุศลนันได้แก่กองสุข อกุศลนันได้แก่กองทุกข์ ้ ้ ซึงสุขทุกข์น้ีตดเนื่องอยูดวยกัน ไม่มใครจักพรากให้แตกออกจากกันได้ ครันวางกองสุขแล้ว ่ ิ ่ ้ ี ้ กองทุกข์ไม่ตองวางก็มผลเหมือนกับวางกองทุกข์ดวย (หมายความว่าทําความดี ้ ี ้ แต่จงอย่าติดหรือเกาะความดีหรือทําบุญ แต่จงอย่าติดหรือเกาะในบุญ หรือทํากุศลธรรม แต่กจงอย่าติดหรือเกาะในกุศลธรรม) เมื่อวางโลกียสุขลงมาแล้ว จึงจักถึงพระนิพพานได้ ็ ์ แต่สาหรับบุคคลทียงมีกําลังใจไม่เต็ม (บารมี) ไม่อาจทําพระนิพพานให้แจ้งได้ ํ ่ ั ั ั (ในชาติปจจุบนนี้) ก็ให้ยดเอากุศลนันไว้ก่อน เพือกันนรก เมื่อร่างกายแตกตาย ึ ้ ่ จิตจักได้เสวยโลกียสุขในมนุ ษยโลกและสวรรค์โลกได้ หรือให้ยดเอากุศลนันไว้เป็ นสะพานสําหรับไต่ ไปสูความสุขอย่างถาวร ึ ้ ่ (เอาโลกียสุขชัวคราวเป็ นสะพานเพือไปสูโลกุตรสุขถาวร)" ์ ่ ่ ่ ๙.๔ จิ ตและตัณหาเป็ นที่มาของสุขและทุกข์ ซึ่งต้องวางให้หมดจึงจักถึงนิ พพานได้ “ดูกรอานนท์ ตถาคตจักแสดงทีสดโดยย่อ ๆ ุ่ พอให้เข้าใจง่ายๆ คือ สุขกับทุกข์ บุญกับบาป ดีกบชัว (เลว) ั ่ กุศลกับอกุศลล้วนเกิดจากอารมณ์ของจิตทังสิน หากคิดดีกเป็ นกุศลเป็ นบุญ เป็ นความดี ้ ้ ็ หากคิดไม่ดกเป็ นอกุศล เป็ นบาป เป็ นความเลว ี ็ ั ั ้ ้ ทุกอย่างเกิดขึนในปจจุบนทังสิน เมื่อจิ ตคิ ดดีมีความสุขมากเท่าใด ้ ตัณหาก็ทาให้เกิ ดทุกข์ตามมาเท่านัน เพราะสุขและทุกข์อยูตดกันแกะไม่ออก ้ ่ ิ เมื่อได้สุขเท่าใด ทุกข์กพลอยเกิดมีเท่านันครันภายหลังเราตถาคต ็ ้ ้ ั พิจารณาด้วยญาณจักษุปญญา (ญาณทัศนะอันบริสุทธิ ์) เห็นแจ้งชัดว่าสุขและทุกข์ตดอยูดวยกันจึงหาอุบายแยกสุขกับทุกข์ออกจากกัน ิ ่ ้ ด้วยความยากลําบากอย่างยิง เมื่อพบหนทางแล้ว จึงวางเสียซึงสุขคืนให้แก่ทุกข์ คือ ่ ่ วางใจให้แก่ตณหา เมื่อวางได้ความสุขในพระนิพพาน ก็เกิดขึน เป็ นนิพพานดิบ ั ้

(จิตพ้นทุกข์อย่างถาวรแล้ว แต่ขนธ์ ๕ หรือร่างกายยังไม่ตาย) เมื่อวางใจได้จงเป็ นอัพยากฤต ั ึ ถือเอาอัพยากฤต เป็ นอารมณ์ เป็ นองค์พระอรหันต์ คือ ได้เข้าถึงพระนิพพานได้ดวยอาการดังนี้ ้ (อารมณ์อพยากฤต หมายถึง สุขเกิดก็รแต่ไม่เอา ไม่รบ ทุกข์เกิดก็รแต่ไม่เอาไม่รบ ั ู้ ั ู้ ั ั เป็ นอารมณ์กลางๆ ทีรดวยอธิปญญา หรือ สังขารุเบกขาญาณนันเอง ่ ู้ ้ ่ พระอรหันต์ทุกองค์ทานจึงมีอารมณ์เดียว คือ อารมณ์อพยากฤต หรือสังขารุเบกขาญาณ) ่ ั ๙.๕ อรหันต์หรือการเข้าถึงพระนิ พพาน เป็ นของมีไว้สาหรับโลก มีความสําคัญโดยย่อๆดังนี้ ก) บุคคลใดปราศจากกิเลสแล้ว บุคคลนันก็ได้เป็ นพระอรหันต์เสมอกันทุกคน ้ ข) บุคคลผูทยงมากด้วยกิเลส ้ ่ี ั จะอ้อนวอนพระอรหันต์จงมาช่วยตนให้หมดกิเลสย่อมไม่ได้ อุปมาเหมือนบุคคลผูตกอยูในสระนํ้า ทีแสนจะสกปรกน่ารังเกียจยิง ้ ่ ่ ่ จะมาชวนให้พระอรหันต์ซงพ้นจากวังวนหรือวัฏฏะแล้ว ให้เข้ามาอยูกบเขา ่ึ ่ ั ซึงแสนจะทุกข์ทรมาน สกปรกอย่างยิงอีก ย่อมไม่มทาง ่ ่ ี ค) พระอรหันต์มหน้าทีชแนะทาง (มรรคและปฏิปทาของมรรค) ี ่ ้ี ทีจะให้พนจากกิเลสหรือวังวนได้เท่านัน การปฏิบตเป็ นหน้าทีของผูรบฟง พึงใช้ตนช่วยตนเอง ่ ้ ้ ั ิ ่ ้ั ั โดยนํามาปฏิบตให้เกิดผลทีกายและใจตนเองเท่านัน ั ิ ่ ้ หลักคาสอนที่ ๑๐ : ปกิ ณกะธรรมที่ช่วยให้พ้นจากอานาจของกิ เลส มีความสําคัญโดยย่อดังนี้ ๑๐.๑ กิ เลสและตัณหาล่อลวงให้จิตไม่หลุดพ้นจากวัฏฏสงสาร ทางพ้นมีขนตอนดังนี้ ั้ ก) ผูใดตังอยูในนิจศีล คือ ศีล ๕ ผูนนชื่อว่ายังหนาอยูดวยกิเลส ้ ้ ่ ้ ั้ ่ ้ แต่เป็ นผูบางจากกิเลสไปขันหนึ่ง (อธิศลเพียงรักษาศีล จนกระทังศีลรักษาใจเราให้เป็ นสีลานุ สติ ้ ้ ี ่ มีผลทําให้พนวังวน หรือวัฏฏสงสารจากอบายภูมทง ๔ หรือนรก ได้เป็ นพระอริยเจ้าเบืองต้น ้ ิ ั้ ้ คือพระโสดาบันและพระสกิทาคามี)

ข) ผูใดตังอยูในอุโบสถศีล คือ ศีล ๘ ชื่อว่าบางจากกิเลสได้ขน ๒ ้ ้ ่ ั้ (เพียรรักษาอารมณ์จต คือ ราคะ (โลภะ) กับปฏิฆะ (โทสะ) ให้ทรงตัวจนจิตเป็ นฌาน ิ เป็ นอัตโนมัติ เพียรรักษาศีลจนศีลรักษาเราไม่ให้เราทําผิดศีลอีก ขัน ๒ ้ นี้กเพียรรักษาอารมณ์ทง ๒ นี้ จนอารมณ์ ๒ นี้รกษาเราไม่ให้เกิดอารมณ์ราคะ (โลภะ) ็ ั้ ั และปฏิฆะ (โทสะ) อีก เรียกว่ามีอธิจต มีผลทําให้พนจากวังวนขัน ๒ ิ ้ ้ ทรงจัดไว้เป็ นพระอริยเจ้าเบืองสูง คือ เป็ นพระอนาคามี จิตไม่ตองกลับมาเกิดมีขนธ์ ๕ ้ ้ ั หรือมีรางกายในมนุ ษย์โลกอีกอย่างถาวร ทุกข์ทงหลายล้วนมีเหตุจากการเกิดมีรางกาย ่ ั้ ่ หรือขันธ์ ๕ ทังสิน เมื่อไม่ตองเกิดมาในมนุ ษย์โลกแล้ว ทุกข์จากขันธ์ ๕ ก็ยอมไม่ม)ี ้ ้ ้ ่ ค) ผูตงอยูในศีล ๑๐ (คือบวชเป็ นเณร) ชื่อว่าบางจากกิเลสได้ขน ๓ ้ ั้ ่ ั้ (เพราะเณรมีศลข้อที่ ๑๐ ซึงแปลให้ถูกตรงตามบัญญัติ ี ่ ของพระพุทธองค์ความว่า “มีจิตไม่ยินดีไม่ยินร้าย ด้วยในเงิ นในทองหรือของมีค่า” ทรงเน้นเรื่องมโนกรรม เพราะจิตเป็ นนาย ร่างกายเป็ นบ่าว หมายความว่า เป็ นอารมณ์ตดชีวต คือไม่กลัวตาย ไม่กลัวอด ไม่ตดในลาภ ยศ สรรเสริญ ั ิ ิ และโลกียสุขในมนุ ษย์โลกอันไม่เทียง จะต้องมีกําลังใจเต็ม (บารมี) จึงจะทําได้ ่ ในสมัยของพระพุทธองค์จงมีเณรอายุเพียง ๗ ขวบ (จึงจะบวชเป็ นเณรได้) รักษาศีลแค่ ๑๐ ข้อ ึ ั มีกําลังใจเต็ม (บารมี) เมือรับฟงคําสั ่งสอนของพระพุทธองค์เพียงครังเดียว ่ ้ ก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์กนหลายองค์) ั ง) ผูตงอยูในศีลพระปาติโมกข์ คือ ศีล ๒๒๗ ได้ช่อว่าบางจากกิเลสได้ขนที่ ๔ ้ ั้ ่ ื ั้ (บุคคลธรรมดาๆทียงรักษาศีล ๕ ข้อไม่ได้ จึงไม่ควรจะไปรักษาศีล ๘ ข้อ ่ ั ยกเว้นซ้อมรักษาศีลอุโบสถในวันพระ คือ รักษาศีล ๘ ชัวคราว เพือให้จตชินความดีทสงขึน ่ ่ ิ ่ี ู ้ แม้รกษาศีล ๘ ข้อเวลาเจริญกรรมฐาน ซึงมีอานิสงส์มากกว่าศีล ๕ ข้อมาก ั ่ เพียงชัวคราวก็ยงดีได้บุญสูง ดังนัน ผูใดมีเจตนาเข้ามาบวชเป็ นพระ ในพระพุทธศาสนา ่ ั ้ ้ จะต้องมีกําลังใจสูงมาก (บารมี) จึงจะทําได้ เพราะความเป็ นพระอยูทศล ๒๒๗ ข้อ ่ ่ี ี หากขาดแม้ขอหนึ่งข้อใด ความเป็ นพระก็ยงไม่สมบูรณ์ ้ ั นี่คอเหตุผลทีวาเหตุใดพวกเราฆราวาสจึงต้องกราบไหว้ และเคารพในพระสงฆ์ ื ่่ ก่อนบวชลูกไหว้พอแม่ เมื่อลูกบวชเป็ นพระแล้ว พ่อแม่กลับมาไหว้ลก ่ ู

ดังนันลูกคนใดบวชแล้วไม่ยอมเป็ นพระ คือศีลไม่ครบ ๒๒๗ ข้อ ้ เมื่อพ่อแม่หรือบุคคลอื่นๆมาไหว้ตน จึงเป็ นบาปหรือซวยอย่างยิงสําหรับผูนน) ่ ้ ั้ จากเหตุผลทีกล่าวมาแล้วข้างบน ่ พระองค์ทรงตรัสความว่าผลอานิสงส์มเี ป็ นลําดับตามศีลนัน บุคคลผูมได้ตงอยูในศีล ๕ ้ ้ ิ ั้ ่ ถึงจะมีความรู้ ความฉลาดสักเท่าใด ก็ไม่ควรจะกล่าวคําประมาทแก่ผมศล ๕ ผูทมี ศีล ๕ ู้ ี ี ้ ่ี ก็ควรยินดีแต่เพียงชันศีลของตน ไม่ควรกล่าวคําประมาท ในท่านผูมศล ๘ ผูทมศล ๘ ้ ้ ี ี ้ ่ี ี ี ก็ควรยินดีแต่เพียงชันศีลของตน ไม่ควรทีจะกล่าวคําประมาทในท่านผูมศล ๑๐ ผูทมศล ๑๐ ้ ่ ้ ี ี ้ ่ี ี ี ก็ควรยินดีแต่เพียงชันศีลของตน ไม่ควรทีจะกล่าวคําประมาทในท่านผูทมศล ๒๒๗ ้ ่ ้ ่ี ี ี (ศีลพระปาติโมกข์) ถ้าขืนกล่าวโทษติ เตียนท่านที่มีศีลยิ่ งกว่าตน ชื่อว่าเป็ นคนหลง เป็ นคนห่างจากทางสุขในมนุษย์ สวรรค์ และพระนิ พพานอย่างแท้จริ ง ๑๐.๒ ผูมีความรู้จะฉลาดสักปานใด ้ ไม่ควรถือตัวว่าเป็ นผูยิ่งกว่าผูมีศีล “ดูกรอานนท์ บุคคลผูไม่มศล ปราศจากการรักษาศีล ้ ้ ้ ี ี ไม่ควรกล่าวคําประมาทแก่ผมศล หรือเข้าใจว่าตนเองดีกว่าผูมศล จัดเป็ นมิจฉาทิฏฐิ ู้ ี ี ้ ี ี เป็ นคนหลงทาง ห่างจากความสุขในมนุ ษย์ สวรรค์ และพระนิพพานมาก เพราะเหตุวา ผูมศล ่ ้ ี ี (อธิศล) ได้ช่อว่าใกล้ต่อพระนิพพานอยูแล้ว จะถือเอาความรู้และความไม่รู้ ี ื ่ เป็ นเครื่องวัดความดีไม่ได้ ต้องถือเอาการละกิ เลสได้เป็ นเครื่องวัด เพราะผูจะเข้าถึงพระนิพพาน ้ ต้องอาศัยการละกิเลสได้สวนเดียว เมื่อละกิเลสได้แล้ว แม้จกไม่มความรูมาก ่ ั ี ้ รูแต่เพียงการละกิเลสได้เท่านัน ก็อาจถึงพระนิพพานได้” ้ ้ ๑๐.๓ การที่จะถึงพระนิ พพาน ต้องละกิ เลสเสียให้สิ้น “ดูกรอานนท์ ตถาคตไม่สรรเสริญผูมความรูแต่ไม่มศล ผูมความรูน้อย แต่ตงอยูในศีล ้ ี ้ ี ี ้ ี ้ ั้ ่ เราสรรเสริญและนับถือผูนนว่าเป็ นคนดี ถ้าบุคคลใดนับถือผูมกเลสว่าดีกว่าผูไม่มกเลส ้ ั้ ้ ี ิ ้ ี ิ ชื่อว่าถือศีลเอาต้นเป็ นปลาย เอาปลายเป็ นต้น เอาสูงเป็ นตํ่า เอาตํ่าเป็ นสูง ผิดทางแห่งพระนิพพาน เป็ นมิจฉาทิฏฐิ เป็ นคนหลงโลก หลงทางแห่งพระนิพพาน”

๑๐.๔ การให้ทาน การรักษาศีล และบาเพ็ญภาวนา จะเกิ ดอานิ สงส์มาก (เพราะเป็ นปฏิ บติบชา) “ดูกรอานนท์ การทําบุญทําทาน การรักษาศีล การเจริญภาวนา ั ู ชื่อว่าเดินถูกทางพระนิพพานโดยแท้ จงพากันประพฤติปฏิบตตามคําสอนทีเราแสดงไว้น้ีผใดไม่ประพฤติตาม ั ิ ่ ู้ ก็พงเข้าใจว่าผูนนเป็ นคนนอกพุทธศาสนา (เดียรถีย)์ ตถาคตบัญญัตศล ๕, ๘, ๑๐, ๒๒๗ ึ ้ ั้ ิ ี ไว้กเพือให้สตว์ยกตนออกจากกองกิเลส ดังนัน เมื่อรักษาศีล ๕ ได้แล้ว ็ ่ ั ้ จงเพียรพยายามรักษาศีล ๘, ๑๐ และ ๒๒๗ เป็ นลําดับ เพือยกต้นให้พนจากกองกิเลสตามลําดับ จึงจัดได้วาไม่เป็ นคนหลง ่ ้ ่ เดินตรงเข้าสูพระนิพพานโดยแท้ " ่ “ดูกรอานนท์กุลบุตร ผูเ้ ข้ามาบวชในพุทธศาสนาก็เพือความระงับดับกิเลส ่ ่ ไม่อยากจะเกิดมาในโลก เมื่อพบกับความทุกข์จากความแก่ ความปวยไข้ไม่สบาย ความตาย ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ มีความปรารถนาไม่สมหวังอีกต่อไป ตถาคตอนุ ญาตให้บวช เพือความดับไม่มเี ชือ ่ ้ ไม่ให้เกิดมาในโลกอีกต่อไป เมื่อรู้อย่างนี้ แล้วก็จงตังใจรักษาศีลเพื่อความดับกิ เลสเถิ ด ข้อวั ้ ตรอันใดทีเป็ นไป เพือละกิเลสแล้ว จงกระทําข้อวัตรนันให้บริบรณ์เถิด” ่ ่ ้ ู ๑๐.๕ การบวชเพื่อระงับดับกิ เลสเท่านัน จึงจะเป็ นทางสู่พระนิ พพาน “ดูกรอานนท์ ้ บุคคลผูฉลาดทางธรรม ย่อมศึกษาประโยชน์ของการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา ้ รูตนเหตุของกิเลสทังหมดล้วนอยูทใจ จึงต้องดับเหตุทใจ รากเหง้าของกิเลส คือ โลภ โกรธ หลง ้ ้ ้ ่ ่ี ่ี ั หากตัดรากเหง้าใหญ่ได้ กิเลสอื่นๆก็ดบไปเอง เมือเข้าใจดีแล้ว (ตัวเข้าใจคือตัวปญญา) ั ่ จึงเข้ามาบวชเพือระงับกิเลสให้หมดเชือ หากไม่หวังตามนี้จงอย่าบวชเสียดีกว่า ่ ้ แต่ตถาคตมิได้ตําหนิวาผูทฉลาดเป็ นผูรทางโลก เป็ นผูไม่ดี ไม่เป็ นบุญ ไม่เป็ นกุศล ่ ้ ่ี ้ ู้ ้ หากแต่วาเป็ นความรูทผดไปจากทางสูพระนิพพานเท่านัน” ่ ้ ่ี ิ ่ ้ ๑๐.๖ พาลชนสังสอนได้น้อย เพราะถือว่าตนรู้ดีแล้ว ผมขอสรุปสันๆโดยย่อว่า ่ ้ พระพุทธองค์สอนบุคคลตามจริตนิสยและกรรม ของแต่ละบุคคลซึงมีไม่เสมอกัน ั ่ อุปมาเหมือนดอกบัว ๔ เหล่า

ก) บัวพ้นนํ้าแล้วกําลังจะบาน พวกนี้มบารมีเต็มแล้ว โดยธรรมชาติเป็ นผูมปญญาแท้ ี ้ ี ั ไม่ตองกล่าวอะไรเลย ก็รูได้ดวยปญญาของตนเอง ้ ้ ้ ั ข) บัวพ้นนํ้าแล้ว พวกนี้แม้จกกล่าว (สอนหรือแนะนํา) ั เพียงเล็กน้อยก็เข้าใจได้มากมาย หลายอย่างหลายนัย ค) บัวปริมนํ้า พวกนี้ถากล่าวแต่น้อยพอเป็ นสังเขป ก็ไม่เข้าใจ ่ ้ ต้องใช้อุบายอื่นเสริมชีแนะด้วย จึงจะเข้าใจได้ ้ ง) บัวใต้น้ํา พวกนี้เป็ นพาลชน ยังไม่มศรัทธาเลื่อมใสในตถาคต ี ตถาคตจึงเว้นเสียไม่กล่าว เพราะเสียเวลา และไม่เกิดประโยชน์ ๑๐.๗ ผูต้องการพระนิ พพาน ไม่ควรถือเนื้ อถือตัวว่าตัวรู้ตวดี ้ ั (มีมานะทิ ฏฐิ ) “ดูกรอานนท์ บุคคลผูฉลาดเป็ นนักปราชญ์ ย่อมไม่ถอเนื้อถือตัวว่าตัวรูตวดีแล้ว ้ ื ้ ั แต่พวกพาลปุถุชนทีหางไกลพระนิพพานย่อมถือเนื้อถือตัว คิดว่าตนเองรูแล้วดีแล้ว ่ ่ ้ การมีมานะทิฏฐิมากเท่าใด ยิงห่างไกลพระนิพพานเท่านัน” ่ ้ ๑๐.๘ ผูมีปัญญาเลือกรักษาศีลและข้อวัตรแต่เล็กน้ อยก็มีความสุขทังกายและใจไ ้ ้ ั ด้ ผมขอสรุปย่อ ๆ ว่า ผูฉลาดมีปญญา ท่านพิจารณาศีลเห็นคุณและโทษของศีลได้ชดแจ้งว่า ้ ั ตัวเจตนาทีจะงดเว้นไม่กระทําชัว คือ ศีล (บุญบาป ดีชว กุศลอกุศล ่ ่ ั่ ล้วนอยูทเี่ จตนาของใจเป็ นหลักสําคัญ) เมื่อท่านเข้าใจอารมณ์จตของท่านก็ไม่หนัก ่ ิ ั แต่เบาสบายเป็ นสุข ไม่เหมือนผูทไม่เข้าใจ (ขาดปญญา) ย่อมรักษามากมายหลายอย่างทังกาย ้ ่ี ้ วาจา ใจ จิตวิตกและสงสัยในธรรมปฏิบตเรื่องศีลอยูเสมอ จึงเป็ นทุกข์ทงกายและใจ ั ิ ่ ั้ เพราะเหตุทรกษามากเกินไป หรือพูดสันๆว่า “คนฉลาดใช้ใจรักษาศีล ่ี ั ้ ั (ใช้ปญญาอบรมศีลให้บริสุทธิ ์) ไม่ให้กระทําผิดศีล จึงเบาและเป็ นสุข (เพราะใจไม่เหนื่อย) แต่คนโง่ใช้กายรักษาศีล เท่ากับแบกศีล จึงหนักและเป็ นทุกข์ หรือจะพูดว่า คนฉลาดเอาจิตคุมกาย คนโง่เอากายคุมจิตก็ได้” ๑๐.๙ ดับกิ เลสตัณหาได้มากเท่าไหร่ ก็เป็ นบุญเป็ นกุศลมากเท่านัน ผมขอสรุปสันๆเป็ นข้อๆ เพือความเข้าใจให้งายขึนดังนี้ ้ ้ ่ ่ ้

ก) บาปอกุศลทุกชนิดคือตัวกิเลส หรือสิงใดทีมากระทบจิตแล้วทําให้จตเศร้าหมอง ่ ่ ิ ล้วนเป็ นกิเลสทังสิน ส่วนตัณหา อุปาทาน อกุศลกรรมต่างๆล้วนเป็ นกิเลสทังสิน ้ ้ ้ ้ แต่มรายละเอียดต่างกัน จึงสมมุตช่อเรียกให้แตกต่างกันออกไป ี ิ ื ข) สุขทุกข์ บุญบาป คุณโทษ ดีชว ล้วนอยูทใจเรา หรือเกิดจากใจเราทังสิน ั่ ่ ่ี ้ ้ ค) ผูใดทีไปหาบุญบาป นอกกายเรา นอกใจเรา ล้วนเป็ นคนหลง ้ ่ เป็ นมิจฉาทิฏฐิทงสิน ั้ ้ ง) การระงับดับกิเลส จึงต้องแก้ทกายเราทีจตเราเท่านัน จึงจะเป็ นสัมมาทิฏฐิ ่ี ่ิ ้ อย่าไปยุงกับกายและใจของผูอ่น ่ ้ื จ) ในเมื่อสุขทุกข์, บุญบาปอยูทใจเรา เราเองเป็ นผูก่อให้เกิดขึน ดังนัน ่ ่ี ้ ้ ้ จึงไม่มใครจะช่วยเราให้พนทุกข์ ได้รบสุขได้ นอกจากตัวเราเอง หรือทีพงอันสุดท้ายจริง ๆ ี ้ ั ่ ่ึ ก็คอตัวเรา หรือจงเอาตนเองเป็ นทีพง เป็ นทีอาศัย อย่าเอาผูอ่นเป็ นทีพงเป็ นทีอาศัย” ื ่ ่ึ ่ ้ื ่ ่ึ ่ ๑๐.๑๐ บุญกุศล-สวรรค์-นิ พาน เกิ ดจากตัวเราเองไม่มีผใดนามาให้ “ดูกรอานนท์ ู้ บุญกับสุข หากเป็ นอันเดียวกัน เมื่อมีบุญก็ช่อว่ามีความสุข บาปกับทุกข์กเป็ นอันเดียวกัน ื ็ เมื่อมีบาปก็ช่อว่ามีทุกข์ ถ้าไม่รบาปก็ละบาปไม่ได้ ื ู้ ถ้าไม่รจกบุญก็หาบุญไม่ได้” ผมขอสรุปพระธรรมจุดนี้โดยย่อว่า ู้ ั พระองค์ทรงหมายถึงบุคคลส่วนใหญ่มกไม่เข้าใจว่าบุญบาป สุขทุกข์มได้อยูนอกตัวเรา ั ิ ่ ความจริงแล้วบุญบาป สุขทุกข์ ล้วนอยูทกายและใจเราทังสิน ตามธรรมทีพระองค์ตรัสไว้ในข้อ ่ ่ี ้ ้ ่ ๑๐.๙ มีรายละเอียดแยกไว้จากข้อก.ถึงข้อจ.นันเอง ่ ๑๐.๑๑ จะไปสวรรค์ ไปพระนิ พพาน ต้องไปด้วยตนเอง จะพาเอาคนอื่นไปด้วยไม่ได้ ผมขอสรุปสันๆ เป็นข้อ ๆ ดังนี้ ้ ก) ผูใดอยากพ้นนรก ก็จงทําตนให้พนนรกตังแต่มชวตอยูน้ี ้ ้ ้ ี ีิ ่ ั ั เพราะธรรมของตถาคตจริงในปจจุบนเท่านัน อดีตทีผานมาแล้วก็ไม่ใช่ อนาคตซึงยังไม่ถงก็ไม่ใช่ ้ ่ ่ ่ ึ ั ั ทุกสิงทุกอย่างจริงในปจจุบนเท่านัน อย่าไปติดอดีตทีผานมาแล้ว อย่าไปหวังอนาคตซึงยังไม่ถง ่ ้ ่ ่ ่ ึ หากไม่เข้าใจจุดนี้แล้ว ก็ไม่มทางทีจะสูกบกิเลสได้ ี ่ ้ ั

ข) “ดูกรอานนท์ สวรรค์ในโลกมนุ ษย์กคอ การมีลาภ มียศ มีตําแหน่งสูงๆ ็ ื มีคนชมหรือสรรเสริญ ก็คดว่ามีความสุข (เหมือนขึนสวรรค์) แต่ความจริงแล้ว ิ ้ แม้สวรรค์จริงๆในทุกชันฟ้า ย่อมเจือปนด้วยความทุกข์ทงสิน สุขในสวรรค์นนเป็ นสุขจริง ้ ั้ ้ ั้ แต่ยงเป็ นสุขทียงเจือปนอยูดวยทุกข์ แต่กยงดีกว่าตกนรกโดยแท้ ไม่เหมือนสุขในพระนิพพาน ั ่ ั ่ ้ ็ ั ซึงเป็ นเอกันตบรมสุข มีแต่สุขโดยส่วนเดียวไม่มทุกข์เจือปนด้วยเลย” (ธรรมะจุดนี้หมายถึง ่ ี มนุ ษย์โลก และสวรรคโลกยังตกอยูภายใต้กฎของไตรลักษณ์ คือ ่ ความไม่เทียงเพราะความไม่เทียงนี่แหละ เป็ นต้นเหตุให้เกิดทุกข์ เช่นความหิวเป็ นทุกข์ ่ ่ พอกินอิมแล้วทุกข์คลายตัวก็หลงว่าเป็ นสุข แต่ครูเดียวก็หวอีก อาบนํ้าเพือชําระความสกปรก ่ ่ ิ ่ ของร่างกายก็บรรเทาได้ชวคราว ประเดียวก็ตองอาบอีก ซักเสือผ้าทีใช้แล้ว (สกปรก) ั่ ๋ ้ ้ ่ ต่อมาก็ตองซักอีก ทํางานแล้วก็ตองทําอีก เพราะงานในโลกไม่มใครทําเสร็จ ้ ้ ี สรุปว่าทุกสิงในโลกล้วนเป็ นไตรลักษณ์ทงสิน ่ ั้ ้ พระองค์ทรงตรัสเป็ นหลักธรรมว่า “ภาระที่หนักยิ่ งในโลกก็คือภาระที่ต้องดูแลขันธ์ ๕ หรือร่างกาย” เพราะต้องดูแลเอาใจมันตลอดชีวต ตังแต่เกิดจนกระทังตาย ิ ้ ่ ไม่มยกเว้นแม้แต่วนเดียว จึงมีสภาพเหมือนกับต้องเลียงลูกอ่อนตลอดชีวต ี ั ้ ิ หรือมีสภาพเหมือนต้องติดคุกตลอดชีวต (คุกทีแสนสกปรก ต้องล้างขี้ิ ่ เยียวให้มนตังแต่หวลงมาถึงเท้าทุกวันตลอดชีวต ่ ั ้ ั ิ ผูใดพิจารณาสภาวะธรรมจุดนี้จนเข้าใจได้ดแล้ว จะเห็นทุกข์-เห็นโทษ้ ี เห็นภัยจากการเกิดมามีรางกายได้ตามความเป็ นจริง ผลทําให้มอารมณ์เบื่อกาย-เบื่อเกิด ่ ี ไม่อยากเกิดมาพบกับความทุกข์เช่นนี้อก เรียกว่าเข็ดแล้วในการเกิด ี ขอเกิดชาติน้ีเป็ นชาติสุดท้าย ขันธ์ ๕ หรือร่างกายตายเมื่อไหร่ เราหรือจิตก็ขอพุงตรงไปพระนิพพานเมื่อนัน เรียกว่ามีดวงตาเห็นธรรม ่ ้ ธรรมทีนําเราไปสูความพ้นทุกข์ตลอดกาล หรือธัมมวิโมกข์นนเอง) ่ ่ ั่ ๑๐.๑๒ อยากรู้ว่าได้รบความสุขหรือความทุกข์ ั ให้สงเกตดูอารมณ์ จิตเราขณะยังมีชีวิตอยู่ ั “ดูกรอานนท์ ในอดีตชาติ ตถาคตหลงอยูในวัฏฏสงสารนี้มาช้านาน ่ มุงทําบุญกุศลเพือให้พนทุกข์ ่ ่ ้

ครันกายตายไปก็ตายแต่ขนธ์ ๕ หรือร่างกาย ส่วนใจนันไม่ตายเป็ นอมตะ ้ ั ้ ต้องไปเกิดเสวยกรรมตามทีใจทําไว้ เมื่อมีเกิดก็ตองมีตาย เกิด-ตายอยูเช่นนี้นบชาติไม่ถวน ่ ้ ่ ั ้ ั ั ั มาชาติปจจุบนนี้ (ปจฉิมชาติ) จึงรูวาสวรรค์-นิพพานอยูทใจ จึงรีบเร่งปฏิบตทใจ ้่ ่ ่ี ั ิ ่ี จนได้เป็ นพระบรมครู แล้วจึงสังสอนเวไนยสัตว์ ให้พนทุกข์ตามตถาคตอยูทุกวันนี้” ่ ้ ่ ๑๐.๑๓ สวรรค์และนิ พพานต้องทาเอาเอง ด้วยการดับกิ เลสตัณหา พระพุทธเจ้าเป็ นเพียงผูบอกชี้แนะแนวทางปฏิ บติให้เท่านัน ธรรมข้อนี้ชดเจนอยูแล้ว ้ ั ้ ั ่ ผมไม่ขออธิบายอีก ๑๐.๑๔ การตกนรกหรือขึนสวรรค์ ้ เอาร่างกายไปไม่ได้ต้องเอาจิ ตไป ธรรมข้อนี้ชดเจนอยูแล้ว เพราะร่างกายซึงประกอบด้วยธาตุ ั ่ ่ ๔ เป็ นสมบัตของโลก จึงไม่มใครสามารถเอาไปได้ ส่วนจิตเป็ นของเรา จิตไม่ตายเป็ นอมตะ ิ ี จิตมาอาศัยร่างกายอยูชวคราว เพือบําเพ็ญบารมี หรือกําลังใจให้เต็ม เต็มแค่สวรรค์กไปสวรรค์ ่ ั่ ่ ็ เต็มแค่พรหมก็ไปพรหม เต็มบริบรณ์ (ปรมัตถะ) ก็ไปพระนิพพาน หากไม่ปฏิบติ ู ั ตามหลักธรรมทีพระพุทธองค์ประกาศ พระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ในวันมาฆบูชา ่ มีความสําคัญย่อ ๆ ๓ ข้อว่า จงละกรรมชัวทังหมด จงทําแต่กรรมดี จงทําจิตให้ผองใสอยูเสมอ ่ ้ ่ ่ พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ตรัสอย่างนี้เหมือนกันหมด วิธปฏิบตให้พนทุกข์กคอ ศีล-สมาธิี ั ิ ้ ็ ื ั ปญญา หรือทาน-ศีล-ภาวนา ใครไม่ปฏิบตตามนี้ ก็ไปตามกรรมคือนรก ั ิ ๑๐.๑๕ สิ่ งที่จะช่วยให้พ้นทุกข์ได้มีแต่บญกุศลเท่านัน ธรรมข้อนี้ชดเจนอยูแล้ว ุ ้ ั ่ ทรงยกตัวอย่างว่า เช่นการให้ทานและรักษาศีลเป็นต้น ผมขออธิบายเพิมเติมว่า ่ ทาน ศีล เป็ นตัวตัดความโลภ เป็ นตัวตัดความโกรธ

ภาวนา เป็ นตัวตัดความหลง ศีล เพียรรักษาศีล จนกระทังศีลรักษาใจเราไม่ให้ทาผิดศีลอีกเป็ น ้ ํ สีลานุ สติหรือเป็ นอธิศล ซึงกันตกนรกได้ตลอดกาล ี ่

สมาธิ เพียรรักษาสมาธิ หรือทําจิตให้เป็ นสมาธิ จนกระทังสมาธิรกษาเรา (จิต) ่ ั ให้เป็ นผูทรงฌานหรือทรงสมาธิได้เป็ นอัตโนมัตตลอด ๒๔ ชัวโมง หรือเป็ นอธิจต ้ ิ ่ ิ มีผลทําให้อารมณ์ชว ๒ อย่างไม่สามารถเกิดได้ คือ โลภะ (ราคะ) กับปฏิฆะ (โทสะ) ั่ ซึงกันไม่ให้จตดวงนี้ลงมาเกิดหรือมีขนธ์ ๕ อีกตลอดกาล (ไม่เกิดในมนุ ษย์โลก) ่ ิ ั ปัญญา เกิดจากการใคร่ครวญพิจารณาหรือธัมมวิจยะ ยกเอาพระธรรมคําสังสอนของพระองค์มาใคร่ครวญ ่ ั เรียกว่าวิปสสนาจนกระทังพบเห็นอริยสัจคือ ่ ก) เห็นทุกข์ได้ตามความเป็ นจริง คือ ทุกขสัจ เป็ นทุกข์ของกายซึงไม่มใครสามารถห้ามได้ ให้เห็นเป็ นเพียงสภาวะธรรมให้ใจเรากําหนดรูวา ่ ี ้่ มันก็ทุกข์เป็ นธรรมดาของมันอย่างนี้แหละ จงอย่าไปยุงกับมัน เพราะร่างกายหรือทุกข์ของกาย ่ เวทนาของกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ข) เห็นต้นเหตุททาให้เกิดทุกข์ (สมุทย) ใจเป็ นต้นเหตุเพราะมีอุปาทาน ่ี ํ ั ซึงเป็ นอารมณ์ยดมันถือมัน คิดว่าขันธ์ ๕ หรือร่างกายเป็ นเรา เป็ นของเรา ่ ึ ่ ่ จึงมีอารมณ์ฝืนความจริงทีไม่ยอมรับว่าทุกข์ของกายหรือเวทนาของกาย มันไม่ใช่เรา ่ ไม่ใช่ของเรา ยิงฝืนก็ยงทุกข์ ดังนัน หากใครวางหรือละอุปาทานขันธ์ ๕ ได้อย่างเดียว ่ ิ่ ้ ก็พนทุกข์ตลอดกาล หรือจบกิจในพระพุทธศาสนา (ผมขออธิบายสันๆ แค่น้ี) ้ ้ ค) เห็นความพ้นทุกข์ หรือเห็นความดับทุกข์คอนิโรธ ตามข้อ ข) ื ง) เห็นวิธปฏิบตให้ถงซึงความพ้นทุกข์ คือ อริยมรรค ๘ ขอย่อสันๆว่า คือ ศีล-สมาธิี ั ิ ึ ่ ้ ั ปญญา หรือทาน-ศีล-ภาวนา (ขออธิบายสันๆแค่น้ี) ้ “พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ ต่างก็บรรลุเป็ นพระพุทธเจ้าได้ด้วยอริ ยสัจทังสิ้ น ้ และพระสาวกของพระองค์ทกๆองค์ต่างก็บรรลุด้วยอริ ยสัจ ุ มีทางนี้ ทางเดียวทางอื่นไม่มี” นี่คอพระพุทธพจน์ ื ั ดังนัน หากผูใดต้องการไปพระนิพพาน ก็ตองใช้อริยสัจเป็ นหลักสําคัญในการแก้ปญหา ้ ้ ้ (ความทุกข์) ทังทางโลกและทางธรรม จึงจะพ้นทุกข์ได้ ้

๑๐.๑๖ สุขทุกข์อยู่ที่ใจ “ดูกรอานนท์ จิตสุขเป็ นสวรรค์ จิตทุกข์เป็นนรก ถ้าอยากได้สขในพระนิ พพาน ุ ต้องวางเสียทังสุขและทุกข์ ให้เอาใจวางหรือวางทีใจ เพราะธรรมทังหลายมีใจเป็ นหัวหน้า ้ ่ ้ มีใจเป็ นใหญ่ (เป็ นประธาน มีใจประเสริฐทีสุด) ทุกสิงสําเร็จได้ทใจ” ่ ่ ่ี ๑๐.๑๗ ผูที่เห็นจิ ตคนอื่นได้คือพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์เท่านัน มีรายละเอียด ้ ้ ทีควรเขียนให้ทราบโดยย่อดังนี้ ่ ก) อาจมีผอ่นซึงใช้อานาจของสมาธิ ทําให้รเห็นได้กมอยูแต่ไม่แน่นอน ู้ ื ่ ํ ู้ ็ ี ่ มีโอกาสทีจะผิดพลาดได้ เพราะตัวสมาธิไม่สามารถจะฆ่ากิเลส ให้ตายได้ ่ เป็ นเพียงแค่ระงับกิเลสไว้ชวคราวเท่านัน เพราะสมาธิมี ๒ ชนิด ั่ ้ คือ มิ จฉาสมาธิ หมายถึงสมาธิทมได้ตงมันอยูบนศีลอันบริสุทธิ ์ (อธิศล) จึงไม่มนคง ่ี ิ ั ้ ่ ่ ี ั่ หากศีลข้อใดบกพร่องสมาธิหรือฌานสมาบัตกไม่ทรงตัวหรือเสื่อม เช่น ท่านเทวทัตเป็ นต้น ิ ็ อีกข้อหนึ่ง คือ สัมมาสมาธิ หมายถึง สมาธิทตงมันอยูบนศีลอันบริสุทธิ ์ (อธิศล) สมาธิน้ีจงมันคง ่ี ั ้ ่ ่ ี ึ ่ ไม่มคาว่าเสื่อม การรูการเห็นจึงไม่ผดพลาด (พระอรหันต์เท่านันทีทานมีครบทัง อธิศล อธิจต ีํ ้ ิ ้ ่ ่ ้ ี ิ ั และอธิปญญา) ข) บุคคลทีรเห็นไม่จริงนี่แหละจะเป็ นผูทาให้ศาสนาของตถาคตเสื่อมลง ่ ู้ ้ ํ ค) บุคคลผูทาลายพระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย์ ตัดไม้ศรีมหาโพธิ ์ เป็ นบาปก็จริง ้ ํ แต่มได้ทาลายพระพุทธศาสนา จึงไม่มโทษหนักเท่ากับพวกปรามาสพระรัตนตรัย ิ ํ ี ซึงเป็ นการทําลายพระพุทธศาสนา ่ ง) พวกทําลายพระพุทธรูป สถูป เจดีย์ ยังมีทางเป็ นกุศลได้ หากเขาสร้างหรือแก้ไขให้ดขน สวยขึน แม้การตัดต้นโพธิ ์ หากขึนอยูในทีไม่สมควร เช่น ี ้ึ ้ ้ ่ ่ ใกล้ถาวรวัตถุ จะตัดเสียก็หาโทษมิได้ บุญบาปอยูทเี่ จตนาของใจ ่ จ) นักบวชพวกอวดอุตริมนุ ษยธรรม แสดงธรรมหรือกรรมทีไม่มในตน ่ ี มีโทษถึงขันปราชิก เป็ นการทําลายพระศาสนาโดยตรง พระองค์ทรงตรัสว่า ้ อุปมาเหมือนโจรมาปล้นพระศาสนาของพระองค์ทเี ดียว

๑๐.๑๘ หากดับกรรมทัง ๕ ได้ขาดคือ โลภะ โทสะ โมหะ มานะ และสักกายทิ ฏฐิ ้ ก็เข้าถึงพระนิ พพาน ขออธิบายย่อๆดังนี้ ก) หากละขี้ ๓ กองได้ คือ ขีโกรธ ขีโลภ ขีหลง ก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์ ้ ้ ้ หรือละไฟภายใน ๓ กองได้ คือ ไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ ก็เป็ นพระอรหันต์ ข) หากละมานะกิเลสได้กเป็ นพระอรหันต์ ทรงหมายถึงการไม่ถอตัวถือตนขันสูงสุด ็ ื ้ คือ หมดอัตตา หมดตัวตนแล้ว เห็นโลกทังโลกเป็นแค่สภาวะธรรม (กรรม) อันหนึ่งเท่านัน ้ ้ ไม่มคน ไม่มสตว์ ไม่มวตถุธาตุใดๆทังนัน โลกทังโลกไม่มอะไรเหลือ มีแต่สภาวะธรรม คือ ี ี ั ีั ้ ้ ้ ี มีสงใดสิงหนึ่งเกิดขึนเป็ นธรรมดา และสิงเหล่านันก็ดบไปเป็ นธรรมดา ขออธิบายสันๆ แค่น้ี ิ่ ่ ้ ่ ้ ั ้ (หมดการยึดติด-ติดในสมมุตธรรมในโลกแล้ว) ิ ค) หากละสักกายทิฏฐิได้ขอเดียว ก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์ ขออธิบายสันๆ ว่า ้ ้ ละอุปาทานขันธ์ ๕ ได้ขอเดียวกิเลสทุกตัวก็ดบหมด คือ เห็นว่าขันธ์ ๕ ้ ั หรือร่างกายนี้มนไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มในขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ไม่มในเรา ั ี ี ง) การจะไปพระนิพพาน จะว่ายากก็ยาก หากคิดเอาร่างกายไป (ให้ดขอ ู ้ ค.คือละสักกายทิฏฐิ) จะว่าง่ายก็งาย หากเอาใจไปทําใจให้หมดกิเลสได้ชวคราว ่ ั่ ก็ไปนิพพานได้ชวคราว ทําใจให้หมดกิเลสถาวร ก็ไปนิพพานได้ถาวร สภาวะของใจคือรูกบเร็ว ั่ ้ ั หากเราฝึกใจให้รเรื่องวิธเี ข้าสูนิพพานควรทําอย่างไร ตามทีพระองค์ชทางไว้ให้ ู้ ่ ่ ้ี ค่อยๆฝึกให้ใจรูจนเกิดความชํานาญ จนเป็ นอัตโนมัติ เมื่อให้เขารู้อย่างไร ้ เขาก็เร็วไปตามนัน เพราะเวลาของจิตไม่มี เป็ นอกาลิโก ้ ผูชานาญแล้วแค่นึกจิตก็ถงพระนิพพานแล้ว นี่คอคําตอบว่าหากเราเข้าใจแล้ว ้ํ ึ ื การเข้าพระนิพพานจะว่าง่ายมันก็งาย จะจริงหรือไม่อยูทผล ่ ่ ่ี ทังหมดทีเขียนมานี้ลวนเป็ นแค่มรรคเท่านัน ้ ่ ้ ้ ใครนําไปพิจารณาให้เข้าใจแล้วก็ตองใช้วรยะคือความเพียรทดลองปฏิบติอย่างจริงจัง ้ ิิ ั ผลเกิดเมื่อไหร่ ผูปฏิบตยอมรูได้เองเฉพาะตน ของใครของมัน กรรมใครกรรมมัน ้ ั ิ่ ้ ั (ธรรมของตถาคตเป็ นปจจัตตัง)

๑๐.๑๙ เมื่อตนยังไม่หลุดพ้น ก็ไม่ควรจะสอนผูอื่น ขออธิบายย่อๆว่า ้ การหลุดพ้นในพระพุทธศาสนามี ๓ ระดับ หรือ ๓ ขัน พระองค์ทรงแนะให้ใช้สงโยชน์ ๑๐ ้ ั เป็ นเครื่องวัดอารมณ์ของจิตเป็ นหลักสําคัญ ก) หลุดพ้นจากนรก โดยตัดสังโยชน์เบืองตํ่า ๓ ข้อแรกให้ได้ จุดสําคัญอยูทศล ้ ่ ่ี ี คืออธิ ศีล ข) หลุดพ้นจากมนุ ษย์โลก โดยตัดสังโยชน์เบืองตํ่า ๕ ข้อแรกให้ได้ ้ จุดสําคัญอยูทสมาธิ คืออธิ จิต ่ ่ี ค) หลุดพ้นจากเทวโลกและพรหมโลก จุดสําคัญอยูทปญญา คืออธิ ปัญญา ่ ่ี ั โดยตัดสังโยชน์ได้ครบ ๑๐ ข้อ

่ รายละเอียดจะขอไม่เขียนเพราะยาวมาก ผูรกดี-ใฝดี ควรดูจากคําสอนของหลวงพ่อฤๅษี ้ั ท่านสอนไว้ละเอียดทุกซอกทุกมุม กรุณาช่วยตนเองอันเป็ นทีพงอันสุดท้ายทีพระองค์ทรงชีแนะไว้ ่ ่ึ ่ ้ จุดนี้คอสิงทีพระองค์ทรงเน้นมาก เพราะหากผูใดยังไม่มธรรม หรือของจริงในตนแล้ว ื ่ ่ ้ ี ไปสอนผูอ่นนอกจากจะอวดอุตริมนุ ษย์ธรรมซึงมีโทษสูงแล้ว ้ื ่ ยังเป็ นการทําลายศาสนาของพระองค์ดวย ้ พระองค์จงอนุ ญาตให้ผทบวชแล้วเป็ นพระตังแต่พระโสดาบันขึนไปถึงพระอรหันต์ ึ ู้ ่ี ้ ้ ออกประกาศพระพุทธศาสนาได้ ท่านรูแค่ไหน ท่านก็สอนเท่าทีทานรู้ ไม่เดาส่ง ้ ่ ่ ๑๐.๒๐ คฤหัสถ์ นักบวช ที่กล่าวว่าตัวรู้ตวเห็นและพูดจากับผีได้ เป็ นมิ จฉาทิ ฏฐิ ั ไม่ควรเชื่อเอามาเป็ นครู ธรรมข้อนี้ละเอียดอ่อนมาก ทําให้คนเข้าใจผิดเอาง่ายๆ และลงนรกได้งาย ๆ หากรูไม่จริง เพราะคนเราเกิดตาย ๆ มานับชาติไม่ถวน ค่อย ๆ ่ ้ ้ สะสมบารมี หรือกําลังใจให้มากขึนๆ จนเต็ม บางคนได้พบพระพุทธเจ้ามานานแสนนาน ้ ตังแต่พระพุทธเจ้าองค์แรก (สมเด็จองค์ปฐม) เพราะเคยเป็ นลูกเป็ นหลานท่านมาก่อน ้ ั ั มาจนถึงปจจุบนนับเป็ นอสงไขยกัปนับไม่ถวน ก็ยงไปไม่ถงพระนิพพาน ้ ั ึ

พระโมคคัลลาน์ พระสารีบตร มีหลักฐานในพระไตรปิฎกมีความโดยย่อว่า เมื่อ ๙๑ ุ ่ กัปทีแล้ว ทังสองท่านเกิดเป็ นฤๅษี ได้สมาบัติ ๘ ได้อภิญญา ๕ มีลกศิษย์ฝายละ ๑๕,๐๐๐คน ่ ้ ู เมื่อทราบว่ามีพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า สมเด็จพระปทุมมุตระ ลงมาตรัสในโลกมนุ ษย์ ั ก็พาลูกศิษย์ของตนไปทําบุญและขอฟงธรรมจากพระองค์ เมื่อพระองค์เทศน์จบ ลูกศิษย์ทุกท่านจบกิจเป็นพระอรหันต์หมด ยกเว้นอาจารย์ ๒ องค์ไม่ยอมจบ เพราะมีนิวรณ์รบกวนจิตท่านต้นเหตุทานไปพอใจในจริยาของอัครสาวกซ้าย่ ขวาของพระพุทธเจ้าเข้า ทําให้ไม่จบกิจ ทุกสิ่ งมาตามกรรมอยู่ด้วยกรรมและไปตามกรรม คือ กรรมลิ ขิต ซึ่งเที่ยงเสมอและให้ผลไม่ผิดตัวด้วย ทังสองท่านเคยทําบุญ ้ แล้วอธิษฐานขอเป็ นอัครสาวกของพระพุทธเจ้าองค์ใด กรรมทีทานทําไว้ ่ ่ ท่านก็จะต้องมาเป็ นอัครสาวกของพระพุทธเจ้าองค์นน ท่านเกิดตายๆ มานับชาติไม่ถวน ั้ ้ สะสมบารมีมาเรื่อย ๆ ได้พบพระพุทธเจ้ามาหลายพระองค์ ั ั ั ่ ่ ได้ฟงธรรมจากพระองค์กไม่เคยบรรลุ จะต้องมาพบพระพุทธเจ้า องค์ปจจุบนทีทานเคยอธิษฐาน ็ ตอนทีทานปรารถนาจะเป็ นพระพุทธเจ้า แล้วทังสองท่านไปอธิษฐานขอเป็ นพระสาวก ่ ่ ้ กรรมนี้จงต้องเป็ นไปตามทีตนอธิษฐานไว้ สาวกแปลว่าผูรบฟง ึ ่ ้ั ั ั ั ไปฟงใครก็ตามจะดีแค่ไหนก็ไม่จบกิจ จะต้องมาฟงธรรมจากองค์ ทีตนอธิษฐานไว้เท่านันจึงจะจบกิจได้ ทีเขียนมายาวก็เพือจะอธิบายว่า มีบางคนท่านรู้ ่ ้ ่ ่ ท่านเห็นผีและพูดกับผีได้ แต่มน้อย ตามตํารา และหลวงพ่อฤๅษีทานสอนไว้ความว่า ี ่ บุคคลใดทรงฌาน ๔ ได้ ก็สามารถเห็นผี เห็นเทวดา และคุยกันได้ ยิงพวกได้อภิญญา ๕ ่ มาก่อนในอดีตชาติ จึงเป็ นเรื่องปกติสาหรับพวกเหล่านี้ ํ ดังนัน ธรรมะในข้อนี้พระองค์ทรงหมายถึงปุถุชนคนธรรมดาทียงไม่มศล ๕ บริสุทธิ ์ ้ ่ ั ี ี ยังไม่ได้ฌานสมาบัติ ไม่เคยมีบุญเก่าในอดีตมาก่อน ก็ไม่สามารถจะเห็นผี เห็นเทวดา และคุยกับเทวดาได้ แต่อย่างไรก็ตาม หลวงพ่อฤๅษีทานสอนลูกศิษย์ไว้วาเรื่องการเห็น ่ ่ การรู้เรื่องนอกตัวเรา จงอย่าใช้กาลังใจของตนเองให้ขอบารมีของพระพุทธเจ้า ขอบารมีของพระอริ ยเจ้าที่เราเคารพนับถือท่าน ขอความเมตตาจากท่าน ให้ได้รู้ ได้เห็น สิงต่างๆทีเราต้องการจะถูกต้องและมันคงกว่าการใช้กําลังใจ (บารมี) ของเรา ่ ่ ่ ซึงมีโอกาสผิดพลาดได้งาย แม้ตวท่านเองก็ยงต้องขอบารมีพระพุทธเจ้าก่อนเสมอ ่ ่ ั ั แล้วเราเป็ นศิษย์จะไปอวดดีกบอาจารย์ได้หรือ ั

๑๐.๒๑ : พระปาติ โมกข์และธุดงควัตร ที่ทรงบัญญัติไว้ ก็เพื่อเป็ นเครื่องดับกิ เลสตัณหา ธรรมะจุดนี้ ค่อนข้างชัดเจนอยูแล้วผมขอผ่านไป ่ ๑๐.๒๒ : การดับกิ เลสให้สิ้นเชิ ง ให้เลือกประพฤติ ตามความปรารถนา พระพุทธองค์ทรงทราบได้ดกว่าใครๆทังหมดในโลกนี้ ี ้ ว่า คนแต่ละคนเกิดมาในโลกนี้เกิดมาตามกรรมทีตนทําไว้เกิดแล้วก็อยูดวยกรรม ่ ่ ้ เวลาจะไปก็ไปด้วยกรรมด้วยกันทุกคน แต่ละบุคคลจึงมีจริตนิสย และกรรมแตกต่างกันไปทังสิน ั ้ ้ บางคนพระองค์สอนแค่ประโยคเดียวก็จบกิจแล้ว เช่น ท่านพาหิยะทรงสอนสัน ๆ ้ ว่าพาหิยะเธอจงอย่าสนใจในรูป เพราะรูปไม่เทียง ่ ั ฟงเพียงแค่น้ีทานพาหิยะก็จบกิจเป็ นพระอรหันต์แล้วเป็ นต้น และหลาย ๆ ่ ท่านทีฟงเทศน์จากพระองค์แค่จบเดียว ่ ั ก็มดวงตาเห็นธรรมจบกิจในพระพุทธศาสนาได้เพราะพระองค์เท่านันทีมพทธญาณ ี ้ ่ ี ุ หรือสัพพัญญูญาณแต่พระองค์เดียวจึงรูกรรมในอดีต ของแต่ละท่านได้ครบบริบรณ์จงใช้อริยสัจ ้ ู ึ (กรรมทังหลายมาแต่เหตุสอนให้ตรงกับจริตนิสยและ กรรมของแต่ละคนได้ ้ ั โดยไม่มทางผิดพลาด เรื่องนี้ยาวและละเอียดอ่อนมาก ี เป็ นเรื่องพุทธวิสยซึ่งไม่ควรตามรู้ (อจิณไตย ั จะต้องเป็ นพระพุทธเจ้าเสียก่อนจึงจะรูได้ เท่าทีผมเขียนก็เขียน ้ ่ ตามทีทานเคยสอนให้รไว้ก่อนเท่านันหากไม่บอกก็ไม่มทางจะรูได้) ่ ่ ู้ ้ ี ้ ๑๐.๒๓ : ในอนาคต กุลบุตรที่เลื่อมใส (ศรัทธา) ในพระพุทธศาสนา สามารถบวชได้แม้ไม่มีพระภิ กษุ พระพุทธองค์ ทรงประกาศพระศาสนาของพระองค์ไว้เพียง ๕,๐๐๐ ปีโลกมนุ ษย์ เมื่อพระองค์เข้าสูปรินิพพานไปแล้วทุกๆ ๑๐๐ ปีอายุขยของมนุ ษย์จะลดลง ่ ั ั ๑ ปี (ขัยอายุในสมัยของพระองค์ซงเป็ นปญญาธิกะ มีเพียงแค่ ๑๐๐ ปี) ดังนันเมื่อครบ ๕,๐๐๐ ่ึ ้ ปีขยอายุของคนจะเหลือเพียง ๕๐ ปี นิสยคนจะดุราย เห็นกันก็จะมุงทําร้ายกัน ั ั ้ ่ ฆ่ากันเป็ นกายกรรมซึงหยาบทีสุด (กรรมแปลว่าการกระทํา) ่ ่ ขออธิบายว่า กรรม แยกเป็ น ๓ หมวด คือ

ก) มโนกรรม คนในอดีตมีมโนกรรมดี จึงมีกเลสตัณหาเบาบาง ิ ั ฟงเทศน์จากพระองค์กบรรลุมดวงตาเห็นธรรมกันมากมาย ็ ี ตังแต่พระโสดาบันขันต้นไปจนถึงพระอรหันต์ ้ ้ พวกทีแย่ทสุดก็ขอถึงซึงไตรสรณาคมณ์ตลอดชีวต ่ ่ี ่ ิ ข) วจีกรรม เมื่อพระองค์เข้าสูปรินิพพานไปแล้ว ๒,๕๐๐ ปี ่ (กึงหรือครึงทีพระองค์ประกาศไว้) พระองค์กทานายไว้ชด มีความสําคัญสันๆ ว่า ่ ่ ่ ็ ํ ั ้ จิตคนจะเสื่อมลง (มโนกรรมเสื่อม) จะเกิดสงคราม ไม่ขอเขียนรายละเอียด ผมขออนุ ญาตเสริมว่า กรรมทังหลายมีใจเป็ นหัวหน้า, มีใจเป็ นใหญ่ ทุกสิงสําเร็จได้ทใจ หรือ ้ ่ ่ี ใจเป็ นนายกายเป็ นบ่าว เมื่อใจเสื่อมลงกิ เลสขันกลาง ้ ก็ออกฤทธิ์ คือวจีกรรม สงครามทีเกิดขึนจะเป็ นสงครามใหญ่ หรือสงครามเล็ก ๆ ก็ตาม ่ ้ สาเหตุกมาจากมโนกรรมก่อนทังสิน มีทฐหรือความเห็นไม่ตรงกันก็ทะเลาะกัน ็ ้ ้ ิิ ด่ากันไปด่ากันมา ซึงเป็ นวจีกรรม จนทีสุดต้องใช้กายกรรม ออกมาประหัตประหารกัน ่ ่ ฆ่ากันตายเป็ น ๑๐ ล้านคน สาเหตุกเพราะมานะทิฐิ (มโนกรรม) ็ ต่างกัน มีผลให้เกิ ดวจีกรรมหรือโรคปากเสียขึน แล้วจบลงด้วยใช้กายกรรมตัดสิน ้ หากจะย้อนมาดูประเทศไทยเวลานี้กจะเห็นกรรมเหล่านี้กําลังแสดงธรรมให้พวกเราเห็น ็ สร้างความทุกข์ให้กบบุคคลทังประเทศ เหตุเพราะทิฐความเห็นไม่เสมอกัน ั ้ ิ ั ั เกิดโรคปากเสียระบาดไปทั ่วประเทศ หากไม่มในหลวงองค์ปจจุบนอยู่ ี ั ก็คงจบด้วยการใช้กายกรรม ตัดสินปญหาในทีสุด แต่นบว่าเป็ นโชคดีของพวกเราทีในหลวง ร.๙ ่ ั ่ ทรงใช้หลักธรรมในพระพุทธศาสนามาแก้ไข ทําให้เหตุรายคลายตัวลง ้ ซึงผมคิดว่าคงจะจบลงด้วยดี ด้วยพระบารมีของพระองค์ ผมออกนอกทางไปเล็กน้อย ่ ขอย้อนกลับเข้าเรื่องเดิม ค) กายกรรม เป็นความชัวหยาบทีสุด พระองค์จงบัญญัตศลพืนฐานขึนมาคือ ศีล ๕ ่ ่ ึ ิ ี ้ ้ ซึงไม่วาคนหรือสัตว์กตองการสภาวะปกติ ๕ อย่างนี้เป็ นพืนฐาน ่ ่ ็ ้ ้ เพือความสงบสุขของคนหมูมาก คือ ไม่ฆาไม่ทาร้ายกัน ไม่ขโมยกัน ่ ่ ่ ํ ไม่แย่งความรักของกันและกันไม่โกหกกัน และไม่เอาสิงมอมเมามาเสพให้ขาดสติ ่ สัมปชัญญะกลายเป็ นคนบ้าไป

ั ทรงตรัสย่อ ๆ ว่า “ดูกรอานนท์ แม้ในปจฉิมกาล เมื่อหาพระสงฆ์ครบคณะบรรพชาไม่ได้ โดยทีสุดแม้มภกษุองค์เดียว เมื่อกุลบุตรมีศรัทธาเลื่อมใสในคุณแห่งเราตถาคต ่ ี ิ อยากจะบวชเป็ นภิกษุในสํานัก ๑ แห่งภิกษุองค์เดียวก็จงบวชเถิด โดยทีสุดลงไปอีก ่ แม้จะหาพระภิกษุสกองค์เดียวไม่ได้ กุลบุตรผูมศรัทธาใคร่จะบวชสืบศาสนาแห่งเราตถาคต ั ้ ี ก็ให้ศกษาจตุตถปาราชิก (อาบัตททาให้ขาดจากการเป็ นพระภิกษุทง ๔ ข้อ) และปลิโพธ ๒ ึ ิ ่ี ํ ั้ (ความกังวลภายนอกและภายใน) นันให้เข้าใจ แล้วเข้าสูพระพุทธรูป หรือพระสถูป ้ ่ หรือพระเจดีย์ หรือแม้หาทีควรเคารพนันไม่ได้ ก็ให้ระลึกถึงเราตถาคตแล้วบวชเป็ นภิกษุเถิด ่ ้ (ปลิโพธหรือปลิโพธิ คือ ความกังวลใจทังภายนอกและภายใน ้ ภายนอกคือชอบยุงเรื่องของชาวบ้าน ส่วนภายในคือเรื่องส่วนตัว เรื่องขันธ์ ๕ ่ ่ อันมีขนธมารคอยรบกวน เช่น กลัวตาย กลัวลําบาก กลัวเจ็บปวย สารพัดกลัว ั จริงๆแล้วก็คออารมณ์ฟ้ ุงซ่านนั ่นเอง) ื ๑๐.๒๔ คิ ริมานนท์กาหนดรูป-นาม ตามพระธรรมเทศนา ก็บรรลุเป็ นพระอรหันต์ มีความโดยย่อดังนี้ เมื่อพระอานนท์รบฟงพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจ้าแล้วก็รบไปยังสํานักของท่านคิริ ั ั ี มานนท์ แล้วแสดงพระธรรมเรื่องสัญญา ๒ คือ รูปสัญญากับนามสัญญา หรือร่างกายประกอบด้วยขันธ์ ๕ มีรป ๑ กับนาม ๔ (เวทนา-สัญญา-สังขารู วิญญาณ) มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มในมัน มันไม่มในเรา เราคือจิต ี ี หรืออทิสมานกาย อาศัยอยูกบมันเพียงชัวคราวเท่านัน ่ ั ่ ้ หากเราวางหรือละมันเสียอย่างเดียว ทุกขเวทนาทังหลายก็จะหมดไปจากใจของเรา ้ เมื่อท่านคิรมานนท์ปฏิบตตาม โรคภัยทีเกิดกับร่างกายทีจตท่านอาศัยอยูกหายไป ิ ัิ ่ ่ิ ่ ็ ทุกขเวทนาก็หายไปสิน จิตท่านก็บรรลุเป็ นพระอรหันต์ ้ จึงใช้ช่อเทศนานี้วา คิ ริมานนทสูตร (พระสูตรนี้พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาทีวดเชตวนาราม ื ่ ่ั มีตนเหตุจากพระคิรมานนท์เกิดอาพาธหนัก เทศน์แล้วมีผลทําให้โรคหาย จิตท่านก็พนทุกข์ ้ ิ ้ จบกิจเป็ นพระอรหันต์)

สรุปส่งท้าย ผมขอให้ทานผูอานทุกท่าน ซึ่งมีเวลาเหลืออยูคนละเล็กน้อย ่ ้่ ่ จงใช้เวลาอันมีคา (ซึงแม้จะมีเงินมากขนาดไหน ก็หาซือกลับคืนมาไม่ได้) ่ ่ ้ ให้เกิดประโยชน์สงสุดด้วยความไม่ประมาทเถิด ผมขอให้เหตุผลไว้ดงนี้ ู ั ๑. สิงทีมคาสูงสุดในโลกนี้ คือพระธรรม ่ ่ ี่ ๒. พระธรรมคําสอนประโยคสุดท้ายทีทรงตรัสไว้คอ ่ ื “ภิ กษุทงหลาย พวกเธอจงอยู่ในความไม่ประมาทเถิ ด” หมายความว่า ั้ พระธรรมคําสังสอนทีพระองค์เพียรสอนมาตลอด ๔๕ ปี มีอยู่ ๘๔,๐๐๐ บทนัน ่ ่ ้ ล้วนเป็ นหนทางทีนําไปสู่ ความพ้นทุกข์ทงสิน ทีสอนไว้มากมายหลายวิธี ่ ั้ ้ ่ ก็เพราะบุคคลในโลกนี้มจริต นิสยและกรรมไม่เสมอกัน ให้ทุกคนจงช่วยตนเอง ี ั ใช้ตนเป็ นทีพงแห่งตน พระองค์มหน้าทีเป็ นเพียงผูชแนะแนวทางเท่านัน ่ ่ึ ี ่ ้ ้ี ้ คือเป็ นมรรคกับปฏิปทาของมรรค ส่วนการปฏิบตให้เกิดผล พวกเราต้องใช้ความเพียรเอาเอง ั ิ ๓. คิรมานนทสูตรนี้ บอกวิธซงนําไปสูความพ้นทุกข์ไว้หลายวิธี เช่น ิ ี ่ึ ่ ๓.๑ สัทธรรม ๕ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ มีความปรารถนาไม่สมหวัง ล้วนเป็ นทุกข์ซงหลีกหนีไม่ได้ ่ึ หากจิตยอมรับความจริงเสียอย่างเดียวก็พนทุกข์ได้ ้ ๓.๒ วิ ธีปิดนรก หรือพ้นนรกอย่างถาวรทําอย่างไร วิธพนมนุ ษย์โลกทําอย่างไร ี ้ วิธพนเทวโลกและพรหมโลกควรทําอย่างไร และวิธพนโลกทัง ๓ เข้าสูพระนิพพานอย่างง่าย ๆ ี ้ ี ้ ้ ่ ทําอย่างไร ด้วยอุบายพร้อมวิธปฏิบติ ล้วนมีอยูในพระสูตรนี้ทงสิน ี ั ่ ั้ ้ ๔. เวลาและความตายไม่คอยใคร เพราะสิงทีเทียงทีสุดในโลกนี้คอความไม่เทียง ่ ่ ่ ่ ื ่ ๕. จงเคารพในกฎของกรรม เพราะกฎของกรรมนันเทียงเสมอ และให้ผลไม่ผดตัวด้วย ้ ่ ิ แม้แต่กรรมเล็กๆ น้อยๆ ก็ยงตามให้ผล ั ๖. จงอย่าหาพระธรรมนอกตัวเรา เพราะพระธรรมอยูทตวเราคือกายกับจิตเราทังสิน ่ ่ี ั ้ ้ (๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ทรงสอนอยูแค่กายกับจิต เท่านัน ่ ้

ั ทุกคนจึงมีตูพระธรรมหรือตูพระไตรปิฎกอยูทุกคนจงพยายามใช้ปญญาศึกษาแต่ธรรมทีนําไปสู่ ้ ้ ่ ่ ความพ้นทุกข์เถิด) ั ั ้ ในปจจุบนนี้ขาพเจ้าได้มอบกายถวายชีวตให้พระพุทธองค์และพระพุทธศาสนาไปแล้ว ิ โดยสัจวาจาของข้าพระพุทธเจ้านี้ ขอความสวัสดีจงเกิดแก่ทานผูอานทุกท่าน ่ ้่ อ่านแล้วนําไปปฏิบติ ก็ขอให้เกิดผลและโชคดี มีดวงตาเห็นธรรม ได้เข้าสูพระนิพพาน ั ่ ั ั ้ ในชาติปจจุบนนี้ดวยกันทุกท่าน เทอญ.

รวบรวมโดย พล.ต.ท. นพ. สมศักด์ ิ สืบสงวน

You might also like