You are on page 1of 92

หนังสือโอวาทสี่ของทานเหลี่ยวฝาน

ฉบับสมบูรณ

โอวาทสี่ของทานเหลี่ยวฝาน

๑๐มงคลธรรมแหงชีวิตของจีนโบราณ

เซี่ยว
ความกตัญnูกตเวที
ตี้
ความรักความเกรงใจในสายเลือดเดียวกัน
จง
ความจงรักภักดีตอชาติศาสนกษัตริยซื่อสัตยตอผูบังคับบัญชา
รักษาหนาที่และความรับผิดชอบไวดวยชีวิต
ซิ่น
ความมีสัจจะทั้งกายวาจาใจความมั่นใจที่จะทําแตความดีงาม
ทั้งกับตนเองและผูอื่นการตรงตอเวลาพูดอยางไรทําอยางนั้น
หลี่
ความมีระเบียบวินัยอยูในกรอบประเพณีอันดีงามความมีคารวะตอผูอื่น
การวางตนสุภาพออนโยนตามควรแกฐานะของแตละบุคคล
อี้
การยึดหลักคุณธรรมในการรับผิดชอบตอตนเองและตอผูอื่นเสียสละแม
แตชีวิตเพื่อผดุงความถูกตองไวชวยเหลือถวนหนาไมนําพาตอความมีจน
หรือดีเลวของแตละบุคคลมีน้ําใจโดยไมเลือกที่รักมักที่ชัง
เหลียน
ความสันโดษกระทําแตสิ่งที่ถูกตองดีงามยอมรับสภาพความเปนจริง
ไมอยากไดในสิ่งที่ไมควรไดซึ่งจะนําไปสูการทุจริต
โดยตองคํานึงถึงสิทธิหนาที่และความรับผิดชอบ
ฉื่อ
ความมีหิริโอตตัปปะ
เหยิน
ความมีพรหมวิหารสี่พรอมที่จะชวยเหลือไมวาคนหรือสัตว
ไมวามิตรหรือศัตรู
จื้อ
ความมีปญญาที่เห็นปญญาความมีปญญาที่จะใชปญญาใหถูกตอง
ไมสันโดษในการแสวงหาคุณธรรมใหยิ่งๆขึ้นไป

ดวยมงคลธรรมชีวิตสิบขอนี้ ชาวจีนโบราณสวนมาก จึงเปนผูรูคุณ


คน แสดงปฏิการะ เมื่อมีโอกาส พอแมจึงชอบมีลูกหลานมากๆ เพราะได
ชื่นชมยินดี มีความสุขตอความกตัญnูกตเวทีของลูกหลานที่มีตอพอแม
บรรพชน และความรักความเอื้ออาทรที่มีตอสายเลือดเดียวกัน ทําใหมี
ความสงบสุขอบอุนอยูในความรักความเมตตาการุณความสามัคคีเปนน้ํา
หนึ่งใจเดียวกันความเคารพเอาใจซึ่งกันและกันอีกทั้งผูรูเห็นก็ชื่นชมยินดี
เปนเยี่ยงอยางอันงดงามสืบตอกันมา

ผูที่มาจากครอบครัวที่ดี และภาวะแวดลอมที่ดี เมื่อกาวไปยังสังคม


ใดประเทศไหนยอมมีความดีติดตัวเปนนิสัยอันนาคบหาสมาคมดวยเปนที่
ไวเนื้อเชื่อใจ ดังจะเห็นไดวา ชาวจีนในประเทศไทยสมัยตนรัตนโกสินทร
ทําการกูยืมเงินมากนอยเพียงใด ไมตองทําสัญญา เพราะสัจจะที่ไดรับการ
อบรมบมใจกันมาหลายๆ ชั่วคนนานกวาหาพันป ทําใหมีหิริโอตตัปปะ ไม
กลาทรยศหักหลังผูมีอุปการะคุณ ยึดมั่นในความเที่ยงธรรม ขยันหมั่น
เพียรไมทอถอยหญิงไทยสมัยนั้นมีจํานวนไมนอยที่พอใจแตงงานดวยแม
จะมีแตเสื่อผื่นหมอนใบก็ไมรังเกียจ อยูกินกันแลวไมนานเลย ทําใหเกิดลูก
หลานเหลนโหลนมากมาย ดังที่เห็นกันทุกวันนี้ นาเสียดายวัฒนธรรมตะวัน
ตกที่หลั่งไหลเขามา มีทั้งดีและชั่ว สวนไมดีนั้นเสมือนหญาคมที่รุกไลหญา
ที่ละเอียดออนใหสูญสิ้นไปฉะนั้นจึงมีแตคําถามกันวาทําไมคนยุคกอนจึง
มีคุณธรรมกวาคนยุคนี้

โดยเฉพาะบานเมืองในยุคตนรัตนโกสินทรกับปจจุบัน ไฉนจึงตาง
กันนัก ในเมื่อชาวไทยหรือชาวจีน ตางก็มีพระพุทธศาสนาเปนเรือนใจดวย
กันทั้งนั้น

ปญหานี้มิไดผิดที่คนใดคนหนึ่งผิดที่ระบบของสังคมถูกแปรผันดวย
แรงผลักดันอันเปน กระแสของโลกตามกฎแหงไตรลักษณและกฎแหง
กรรมที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงสอนใหมองโลกตามความเปนจริง
จึงไมควรเพงโทษกันและกันเปนการขาดเมตตาธรรม

เราควรชวยกันแกไขที่ระบบ ใหการอบรมจากพอแมและครูอาจารย
ประสานตอเนื่องกันอยางรอบคอบและไมหยุดยั้ง เพียงแคศีลหาเทานั้น ถา
ประพฤติเปนปรกติวิสัยกันแลวภาวะแวดลอมและชีวิตจิตใจของชาวไทยยุค
รัตนโกสินทรสองรอยปก็จะถึงซึ่งความพอใจดวยกันทุกฝาย

ขอสรรพชีวิตจงมีสวนในผลดีอันพึงไดในธรรมพลีนี้เทอญ
เจือจันทนอัชพรรณ
(มิสโจ)
๑๗-๙-๒๐๐
วันสารทไทยในปทองฉลองกรุงรัตนโกสินทรสองรอยป

คุยกับทานผูอาน

๗ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๑๙๙ เทียนเลมแรกไดถูกจุดขึ้นโดยคุณจรูญ


โหราทัยและครอบครัว เปนปจจัยใหเทียนดวงตอๆ มาถูกจุดสวางไสว และ
ยังไมขาดสาย ซึ่งเปนหนังสือธรรมที่ไมสงวนลิขสิทธิ์ ใครใครพิมพ…พิมพ
ใครใครแจก…แจกใครใครขาย…ขายสบายใจทุกฝายดี

คุณจรูญสงหนังสือชีวประวัติของทานเหลี่ยวฝานและทานอวิ๋นกุเถระ
มาให จึงไดยอมาเปน อภินันทนาการแดทานผูอานในโอกาสปทองฉลอง
ความเปนเอกราชของชาติไทย ที่ยืนยงอยูและจะคงอยูคูโลก เพราะชาติ
ไทยใฝธรรม ชาวไทยสวนมากยังคงประพฤติปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ คุณงาม
ความดีของทุกทานเมื่อรวมกันแลวยอมเปนเกราะปองกันผองภัยเปนพลัง
กําจัดอธรรม เปนกุศลวิบากที่ส งผลใหประเทศไทย บังเกิดความผาสุกและ
ไพรฟาหนาใสอีกวาระหนึ่งอยางแนนอน

ชีวประวัติทานเผิงซาวเซิง

ทานผูจารึกชีวประวัติของทานเหลี่ยวฝานมีนามวาเผิงซาวเซิง ทาน
เปนพุทธศาสนิกที่เครงครัดในศีล จริงจังในการฝกกรรมฐาน ชอบอยูตาม
ปาเขาลําเนาไพรและวัดวาอารมทานแตงตําราทางพระพุทธศาสนาไวมาก
มาย ทานเกิดและสอบจิ้นซื่อไดในสมัยพระเจาเฉียนหลงฮองเต ระหวาง
พ.ศ. ๒๒๗๕ - ๒๓๓๘ (ค.ศ. ๑๗๓๒ - ๑๗๙๕) ทานมีความมุงมั่นจะ
ประกอบวี รกรรมให ชื่ อเสี ยงเกี ยรติ คุ ณปรากฏในประวั ติ ศาสตร เหมื อน
บรรพชนทั้งหลาย ตอมาทานกลับเห็นวาทางธรรมดีกวาทางโลก หาก
ปฏิบัติไดตามที่รูแจงเห็นจริงแลว ยอมจะเปนผูที่ไมตองวกกลับ ทานจึงถือ
ศีลกินเจ กลางคืนนอนวัด กลางวันเขียนหนังสือธรรม วันที่ทานจะจากโลก
ไป ทานสวดมนตหันหนาสูทิศตะวันตก สวดจนหมดลมไปดวยอาการนั่ง
อยางสงบ ทานมีชีวิตในโลกนี้เพียง ๕๗ ป แตเปน ๕๗ ปที่ทรงคุณคา ผล
งานของทานเปนประโยชนตอชนรุนหลังอยางมหาศาล ผูดอยปญญาขอ
นอมคารวะตอทานและกราบขออนุญาตที่จะนําประวัติทานมายอไวณที่นี้

ชีวประวัติทานเหลี่ยวฝาน

สําหรับชีวประวัติของทานเหลี่ยวฝาน ทานเปนชาวเจียงหนาน (กัง


หนํา) อายุ ๔๓๓ ปในปนี้ หากทานยังมีชีวิตอยู ทานสอบจิ้นซื่อไดและเขา
รับราชการเมื่ออายุ ๓๗ ป คนสมัยทานมีเวลาร่ําเรียนมากกวาเราสมัยนี้
ทานจึงมีความรูลึกซึ้งกวางขวางยิ่งนัก เชี่ยวชาญในวิชาเกือบทุกแขนง
นอกจากพุทธธรรมที่ทานสนใจมาก จนสามารถเขาถึงพระพุทธศาสนาได
อยางถองแทแลว ทานยังเปนนักปราชญในทางอักษรศาสตร โบราณคดี
คณิตศาสตร ดาราศาสตร โหราศาสตร ไสยศาสตร เกษตรศาสตร อุทก
ศาสตร ธรณีวิทยา นิติศาสตร รัฐศาสตร ฯลฯ แมยุทธศาสตรทานก็ช่ําชอง
สามารถใชปญญาเอาชนะโจรสลัดญี่ปุนที่โจมตีทานในขณะปฏิบัติการทาง
ทหารที่ชายแดนไดอยางงดงาม ตําแหนงหนาที่ทางราชการของทานนั้น
ดํารงทั้งฝายบุนและฝายบู ซึ่งนอยคนนักจักมีความสามารถเชนนี้ เมื่อทาน
ถึงแกอนิจกรรม แมจะเปนเวลาที่มิไดรับราชการแลว ฮองเตก็ยังระลึกถึง
คุณงามความดีของทานอยู จึงทรงสถาปนายศ และทรงประกาศเกียรติคุณ
ของทานใหปรากฏไปทั่วแผนดิน
ทานไมหวงแหนหรือกลัวจะหลุดจากตําแหนงหนาที่ราชการ ใครทํา
ใหประเทศชาติเสื่อมเสียเกียรติภูมิ ใครใชอํานาจโดยไมเปนธรรม ใครทํา
ใหประชาราษฎรเดือดรอน ทานจะตอสูอยางสุดกําลัง แมผูนั้นจะมีความ
ใหญเพียงใด ทานก็ไมยอมสยบ แตสําหรับตัวทานเองแลว ใครจะใสราย
ปายสีทานก็ไมนําพา อิจฉากันนัก ทานก็กราบถวายบังคมลาไปอยูถิ่นเดิม
ของทานทานแตงตําราไวมากมายเปนเพชรน้ําหนึ่งในสมัยราชวงศหมิง
เมื่อครั้งทานเริ่มรับราชการ เปนนายอําเภออยูทางเหนือ ซึ่งเปนทอง
ที่ที่ประสบอุทกภัยเสมอ ทานสามารถปองกันน้ําทวมได ดวยวิธีการแยก
พลังน้ําออกเปน๓ทิศทางแมน้ําสายเดียวแตโบราณมาก็กลายเปน๓สาย
ด วยป ญญาของท านและความสามั คคี ของชาวบ านที่ คิ ดพึ่ งตนเองอย างไม
ยอทอ ผนึกพลังอันนอยนิดของแตละคน รวมเปนพลังมหาศาล ยิ่งใหญ
เหนือพลังน้ําที่นากลัวแลวทานใหปลูกตนหลิ่ว(หลิว)ตามริมฝงแมน้ําและ
ริมฝงทะเลยาวสุดสายตา คราใดที่คลื่นซัดเขาฝง ทรายจะติดอยูบริเวณตน
หลิ่วทับถมกันนานเขา ก็กลายเปนเขื่อนธรรมชาติปองกันน้ําทวมไดเปน
อยางดี ทางภาคเหนือของจีนมักจะมีพายุทรายพัดมาทีละมากๆ ก็ไดอาศัย
ตนหลิ่วเหลานี้ปะทะแรงลมและทรายไวได

แมทานจะกลับมาอยูถิ่นเดิมในบั้นปลายของชีวิต ทานก็ไมนั่งดูดาย
คอยชวยเหลือดูแลทุกขสุขของชาวบานอยางใกลชิด คิดคนวิธีทําไรไถนา
ใหกาวหนายิ่งๆขึ้นใหแผวถางพื้นดินรกชัฎจนเกิดประโยชน แกผูที่ไมมีที่
ดินเปนของตนเอง นอกจากทานจะสอนใหชาวบานมีความรูกวางขวาง มี
รายไดเพิ่มพูนแลวทานยังสอนใหชาวบานรักกันชวยเหลือกันเสียสละและ
หมั่นบริจาคจนเปนนิสัย แตละวันทานจะทําตารางการทํางานสวนตัวและ
สวนที่จะทําเพื่อผูอื่นไวลวงหนา ทานไมเคยอยูนิ่ง ทํางานตลอดวันอยางมี
ระเบียบ ทานฝกสมาธิเปนเวลาสม่ําเสมอจนบรรลุฌาน และเจริญวิปสสนา
กรรมฐานจนบรรลุญาณ
ทานถึงแกอนิจกรรมเมื่ออายุ ๗๔ ป ในขณะที่บุตรของทานอายุ ๔๒
ปแลว คือป พ.ศ. ๒๓๖๖ (ค.ศ.๑๖๒๓) ผิดจากที่ผูเฒาขงพยากรณไวถึง
๒๑ป โดยมิตองบนบวงตอฟาดินและทานผูศักดิ์สิทธิ์ มิตองสะเดาะเคราะห
ปลอยนกปลอยปลา
อันคุณงามความดีนี้ชางมีอานุภาพตอชีวิตมนุษยปานนี้หนอ
ภรรยาของทานก็ใจบุญสุนทรียะธรรม ไมยิ่งหยอนกวากันเลย เปนคู
ชีวิตที่คอยส งเสริมแตในทางที่ดีงาม เปนปจจัยในการทําดีเพื่อกันและกัน
ตลอดเวลา

มีอยูครั้งหนึ่ง ภรรยาของทานซื้อฝายมาปน เพื่อทําเสื้อหนาว ทาน


เหลี่ยวฝานทวงวา
“บานเรามีเสื้อหนาวอยางดี ทําดวยแพรเนื้อดี สอดไสดวยนุนอยางดี
อยูแลวไฉนจะใหลูกใสเสื้อหนาวที่ทําดวยฝายถูกๆเลา”
ภรรยาทานตอบวา
“ก็เพราะฝายนั่นถูก จึงตัดใจขายเสื้อหนาวดีๆ ของลูกเสีย ไดเงินมา
มากๆเพื่อทําเสื้อหนาวแจกชาวบานที่กําลังหนาวสั่นอยูนี้ไดทั่วถึง”
ทานเหลี่ยวฝานดีใจมากพูดดวยความตื้นตันใจวา
“ถาแมใจบุญถึงเพียงนี้ลูกของเราจะไมมีวันลําบากเปนแนแท”
บุตรของทาน ก็สอบจิ้นซื่อไดเชนทานและไดเปนนายอําเภอที่เมือง
กวางตง (กวางตุง) อีก ๒๑ ปตอมา ก็สิ้นแผนดินหมิง ใน พ.ศ. ๒๑๘๗
(ค.ศ.๑๖๔๔) ประเทศจีนตกอยูในเงื้อมมือของชาวแมนจู ที่สถาปนา
ราชวงศชิง (เช็ง) ปกครองชาวจีนตามวิสัยผูเป นนายอยูนานถึง ๒๖๗ ป
ทานซุนจงซาน (ดร.ซุนยัดเซ็น) กับคณะจึงไดลบความเปนเจาเขาเจาครอง
ออกจากประวัติศาสตรไดสําเร็จในปพ.ศ.๒๔๕๔(ค.ศ.๑๙๑๑)
เปนบุญของชาวไทย ที่ไมตองถูกเคี่ยวเข็ญเย็นค่ํากรําไปถึง ๒๖๗ ป
เชนชาวจีน พระคุณของวีรกษัตริยและวีรชนของเรานั้นใหญหลวงนัก แม
ประวัติศาสตรจะไดจารึกความยิ่งใหญไวแลว แตเราจะตองสํานึกในพระ
คุณ จดจําไวในสวนลึกของจิตใจ เพื่อเปนตัวอยางอันดีงามที่จะปกปองผืน
แผนดินไทยตอไปดวยชีวิตของเราทุกคน
ชีวประวัติทานอวิ๋นกุเถระ

ทานหานซานตาซือ ศิษยของทานอวิ๋นเถระ เขียนประวัติเมื่อทาน


อาจารยไดจากไปแลว
ผูดอยปญญาขอกราบคารวะทานหานซานตาซือ กราบขออนุญาต
ทานจารึกประวัติของทานอวิ๋นกุเถระผูพลิกชีวิตทานเหลี่ยวฝานดังตอไปนี้
ทานอวิ๋นกุเถระ เกิดเมื่อ ค.ศ. ๑๕๐๐ (พ.ศ.๒๐๔๓) ในสมัย
ราชวงศหมิง ทานเกิดกอนทานเหลี่ยวฝาน ๔๙ ป ทานคิดบวชตั้งแตยังเปน
เด็ก สมัครเปนศิษยกับอาจารยทานหนึ่งที่วัดตาอวิ๋นจื้อ อายุ ๑๙ ป เริ่มฝก
ฌาน อายุ ๒๕ ป บวชเปนภิกษุ ไดพบอาจารยที่ทรงคุณวิเศษ ณ วัดเทียน
หนิงจึงฝากตัวเปนศิษย
ทานไดตัดขาดจากกิจนิมนตทั้งหมด นั่งเขาที่เปนระยะๆ จาก ๗ วัน
เปน ๑๔ วันครั้ง จนถึง ๔๙ วัน แลวกําหนดใหมจาก ๑ เดือนครั้งเปน ๒
เดือนครั้งจนถึง๑ปเต็มไมเคยกาวลวงธรณีกุฏิของทานไปเลยจิตใจทาน
ใสสวางแตทานอาจารยอธิบายวา
“การฝกจิตเชนนี้ไมสามารถบรรลุมรรคผลนิพพานได”
แลวสอนใหทานฝก มหาสติปฎฐาน ๔ ติดตามการเกิดดับของจิตให
ไดทุกขณะ ไมวาจะอยูในอิริยาบถใด จงตั้งกายานุปสสนาสติปฏฐาน ณ ที่
นั้นเมื่อรูสึกอยางไรจงตั้งเวทนานุปสสนาสติปฏฐานณความรูสึกนั้นเมื่อ
อยูในสภาพจิตอยางไร จงตั้งจิตตานุปสสนาสติปฎฐาน ณ ขณะนั้น เผชิญ
สภาวะธรรมใดจงตั้งธัมมานุปสสนาสติปฎฐานณสภาวะนั้นฝกใหสติและ
สัมปชัญญะคอยกํากับบทบาททุกขณะของปจจุบัน ใหรูเทาทัน ใหรูทัน
ทวงที ใหรูอยางไมยินดียินราย ใหรูอย างหมอที่กําลังตรวจคนไข ใหรูอยาง
ผูพิพากษากําลังวินิจฉัยคดี วาขณะนี้เรากําลังทําอะไรอยู กําลังรูสึกอยางไร
อยู กําลังมีสภาพจิตเชนไร กําลังเผชิญสภาวะธรรมอะไร มองใหเห็น
กระแสแหงกิเลสอุปาทานขันธ๕ที่กําลังเกิด-ดับอยูตลอดเวลาวันแลววัน
เลา คืนแลว คืนเลา จงรูสึกตัวอยูทุกลมหายใจเขาออก ชีวิตลวงไปๆ จง
เพียรพยายามศึกษาปฏิบัติธรรมอยาทอถอย แมแตขณะจิตเดียว จงสํารวจ
ตรวจดูสติสัมปชัญญะวา ไดเจริญงอกงามมีประสิทธิภาพเพียงพอแกการ
ปฏิบัติธรรมหรือยัง จนกวาความรูความเขาใจจะถึงจุดอิ่มตัว ก็จักหลุดพน
อิทธิพลของกิเลสตัณหาอุปาทานขันธ ๕ เสียไดโดยสิ้นเชิง มีแตความผอง
ใส ทามกลางภาวะแวดลอม ดวยมีสติปญญาพรอมที่จะหลุดพนจากปญหา
คือความทุกขทั้งมวลแนนอนไดเอง
ทานอวิ๋นกุเถระจึงเริ่มฝกมหาสติปฎฐาน๔อยางจริงจังทันทีบางครั้ง
ไมฉันไมจําวัดก็มีชีวิตอยูไดอยางเปนสุขอยูมาวันหนึ่งขณะที่ทานอิ่มจาก
การฉันอาหาร ทานเผลอตัวเพียงขณะจิตเดียว ชามขาวก็ตกลงบนพื้น
ทันใดนั้นทานก็เขาถึงความหมายของสติและสัมปชัญญะอยางสมบูรณทาน
รีบไปกราบเลาใหอาจารยฟง ทานอาจารยผงกศีรษะรับรองวาระจิตของลูก
ศิษยวา ไดเขาถึงสภาวะธรรมแลวจริง ตั้งแตนั้นมา จิตของทานอวิ๋นกุเถระ
ไดรับการพัฒนายิ่งขึ้นเปนลําดับ จนหลุดจากนิวรณทั้ง ๕ มีกามฉันทะ คือ
ความพอใจในรูปเสียงกลิ่นรสสัมผัสทางกายและการกระทบทางใจหลุด
พนจากความพยาบาทอันเปนการคิดใหรายคนอื่นหรือสัตวเสียไดหลุดพน
จากถีนมิทธะอันทําใหจิตมืดมัว กายงวงโงกเสียได หลุดพนจากอุทธัจจกุก
กุจจะอันยังความตื่นเตนฟุงซานหวาดหวั่นรําคาญใจเสียได หลุดพนจาก
วิจิกิจฉา อันยังความเคลือบแคลงสงสัย ไมแนใจในการประพฤติปฏิบัติ
ธรรมตามคําสั่งสอนของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจาเสียได การลวง
พนนิวรณทั้ง ๕ นี้ เปนปจจัยใหทานเขาถึงความหมายของอุปาทานขันธ ๕
เห็นความเกิดขึ้น-ตั้งอยู-ดับไปของรูปและนาม เห็นความไมคงทน ตอง
ทรุดโทรม แปรปรวนไปตามเหตุปจจัยของรูป ของเวทนา ของสัญญา ของ
สังขาร และของวิญญาณ (กระแสจิตที่รูบทบาทของรูป เวทนา สัญญา
สังขารเมื่อเกิดขึ้นตั้งอยูดับไปคือวิญญาณ)
ทานละสัญโญชน อันเปนเครื่องจองจําชีวิตใหตองเวียนวายตายเกิด
อยูในวัฏสงสารที่คอยเชื่อมโยงอายตนะภายนอกและภายในทั้ง๖ทวารซึ่ง
กอใหเกิดความประมาทติดใจใหลหลงในรูปธรรมนามธรรมเสียได
เมื่ อท านอวิ๋ นกุ เถระมี สติ และสั มปชั ญญตั้ งอยู เฉพาะหน าเช นนี้ แล ว
กิเลสตัณหาอุปาทานและความเห็นผิดยอมอาศัยนอนเนื่องอยูในจิตทานไม
ไดอีกแลวสิ่งที่เกิดขึ้นคือองคธรรมอันยิ่งใหญคือโพชฌงค๗อันเปนกลุม
ธรรมสามัคคีที่เกิดขึ้นดวยกัน อิงอาศัยใหคุณตอกันและกัน นําไปสูองค
ปญญาแหงการตรัสรู กลุมธรรมอันประเสริฐยิ่งนี้เองที่ทําใหทานอวิ๋นกุ
เถระเห็นแจงในอริยสัจ๔ทุกแงทุกมุมอยางหมดจดขามพนความโศกเศรา
และความร่ําไร ดับไดซึ่งความทุกขโทมนัส มีแตความกระปกระเปรา ชื่น
บานสงบสบายทั้งกายและใจ อยูอยางเปนกลางในทุกสิ่ง แมจะมีใครขอให
ทานขนสัตวใหหมดโลกเสียกอน ก็เปนสิ่งที่ทําไมได เพราะเมื่อจิตไดหลุด
พนจากกระแสการเวียนวายตายเกิดเสียแลว ยอมไม มีทางที่จะหวงหนาหวง
หลังไดอีก พระพุทธศาสนาจึงมิใชสอนใหชาวพุทธตัดชองนอยแตพอตัว
ดังที่หลายทานเขาใจอยู
มีอยูวันหนึ่ง ขณะที่ทานอวิ๋นกุเถระกําลังนั่งเขาที่จนกายไมไหวติงอยู
นั้นไดมีผูรูทรงอิทธิพลมาเที่ยววัดเห็นทานนั่งเฉยไมลุกขึ้นตอนรับก็โกรธ
หาวาทานไมมีสัมมาคารวะ ผรุสวาทอยางไมกลัวบาปกรรม ทานจึงยายไป
อยูที่วัดบนภูเขาชีเสียซานอันเปนสถานที่ที่ทานเหลี่ยวฝานไปกราบนมัสการ
ทานในเวลาตอมา และทานไดสอนใหทานเหลี่ยวฝานฝกมหาสติปฎฐาน ๔
เชนเดียวกับทาน
เมื่อทานหานซานตาซือไปกราบลาทานเพื่อออกธุดงค ทานใหโอวาท
วาโบราณทานเดินธุดงคเพื่อมองเห็นตนเองขูดเกลาตนเองพัฒนาตนเอง
เพื่อความหลุดพน เจาจงสําเหนียกอยูเสมอวา จะมีหนากลับมาพบพี่นองครู
อาจารย ญาติสนิทมิตรสหายไดอยางไร ถาเดินธุดงคโดยรองเทาสึกเสีย
เปลา ไมไดปรั บปรุงแกไขตนเองใหดีขึ้น เปนการสิ้นเปลืองเงินทองของผูที่
ถวายรองเทาเจามาทานหานซานซือประทับใจในโอวาทจนสะอื้นไห
ลูกศิษยของทานมีจํานวนเพิ่มมากขึ้นทุกที อุบาสก อุบาสิกาฟงธรรม
จากทานเนืองแนน ทานพูดนอย พูดแตที่เปนสาระเปนประโยชนแกผูฟง
เสียงทานชัดเจนกองกังวาน กอนทานจะจากโลกนี้ไป ทานกลับไปยังบาน
เกิดเทศนโปรดผูคนจํานวนหมื่นจํานวนแสน
อยูมาคืนหนึ่ง เปนคืน ๕ ค่ํา เดือนอาย ป ค.ศ.๑๕๗๕ (พ.ศ.๒๑๑๘)
ชาวบานเห็นหลังคาที่ทานอยู สวางไสว เหมือนไฟกําลังลุกโชติชวง ฉะนั้น
ครั้นรุงเชาชาวบานพากันไปที่วัด ปรากฏวาทานไดดับขันธไมไหวติงเสีย
แลว ทุกคนจึงลงความเห็นวา ทานดับขันธดวยเตโชกสิณนั่นเอง ขณะนั้น
ทานอายุได๗๕ปพรรษา๕๐
ทานหานซานตาซือรําพึงรําพันวา ตั้งแตทานออกกธุดงค ไดพบพระ
เถระมากมาย แตจะหาใครสักรูปหนึ่ง ที่ทรงคุณวิเศษเชนทานอวิ๋นกุเถระ
ไมมีเลย แมตอมาทานหานซานตาซือพรรษามากขึ้น ก็ไมลืมคําสอนทาน
แมปฏิปทาในศีลาจาวัตรของทาน ก็ไดนํามาประพฤติปฏิบัติตามอยางเครง
ครัด
ที่หลุมฝงสรีระของทานอวิ๋นกุเถระ มีศิลาจารึกคุณธรรมอันสูงสงของ
ทาน โดยทานเหลี่ยวฝาน ทานหานซานตาซือเห็ นวา ควรมีประวัติของทาน
ไวใหอนุชนรุนหลังไดประพฤติปฏิบัติตาม จึงเขียนประวัติและคําสั่งสอน
ของทานไวเปนหนังสือเลมหนึ่งเสียดายผูดอยปญญาบันทึกไวไดเพียงนี้
ขอความหลุดพนจงเกิดแกทานผูอานเทอญ
(มิสโจ)
วันทายวันสงกรานตในปทองฉลองสองรอยปแหงกรุงรัตนโกสินทร
(๑๖-๔ร.ศ.๒๐๐)

บทนํา

ตนฉบับดั้งเดิมของหนังสือนี้ เปนภาษาจีนโบราณสมัยราชวงศหมิง
(ค.ศ.๑๓๖๘-๑๖๔๔หรือพ.ศ.๑๙๑๑-๒๑๘๗)ทานผูนิพนธมีนามวาเหลี่ยว
ฝาน
(สังเกตจากที่ทานเลาใหลูกฟง ทานคงเกิดในราว ค.ศ.๑๕๔๙ หรือ
พ.ศ. ๒๐๙๒ ทานเขียนหนังสือนี้เมื่ออายุ ๖๙ หนังสือนี้จึงมีอายุประมาณ
๓๖๓ป)
แรกเริ่มเดิมที ท านมีนามวา เอวี๋ยนเสวียหาย ทานเปนขุนนางจีนใน
แผนดินหมิง กอนที่จะไดเขารับราชการ ทานไดพบพระเถระที่ทรงคุณ
วิเศษทานหนึ่ง ไดสอนใหทานเขาถึงพระพุทธศาสนาอยางแทจริง ทาน
เหลี่ยวฝานจึงตั้งปณิธาน ที่จะหลุดพนจากความเปนปุถุชนใหได โดย
พัฒนาตนเองดวยวิธีของพระผูมีพระภาค คือการปฏิบัติอยางจริงจังในศีล
สมาธิและปญญาแลวเปลี่ยนชื่อตนเองเสียใหมวา “เหลี่ยวฝาน” ซึ่งมี
ความตรงตามปณิธานที่ตั้งไว
เมื่อการปฏิวัติราชวงศแมนจูของทานซุนยัดเซ็นผานไปได ๓๐ ป
(ค.ศ.๑๙๔๒หรือพ.ศ.๒๔๘๕)เปนขณะที่วัฒนธรรมตะวันตกไดไหลหลั่ง
เขามาทวมทนวัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนอยางนากลัวนักปราชญชาวพุทธจีน
ทานหนึ่งมีนามวา ฮวางจื้อหาย ทานเห็นวาหนังสือของทานเหลี่ยวฝานนี้ มี
คุณคาตอชีวิตของทานอยางลนเหลือจึงใครจะใหอนุชนรุนตอๆไปไดศึกษา
และถือเปนแบบฉบับในการประพฤติดีปฏิบัติชอบอยางทั่วถึง เพื่อหยุดยั้ง
กระแสแหงวัฒนธรรมตะวันตก เพื่ออนุรักษความเปนคนจีนดั้งเดิมที่เต็ม
เปยมดวยคุณธรรมความดีความงามตามหลักธรรมคําสอนของสมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจาใหคงอยูตอไป
โดยที่ตนฉบับเปนหนังสือจีนโบราณ มีความหมายลึกซึ้งยิ่งนัก ยากที่
คนรุนปจจุบันจะเขาถึงอรรถรสไดทั้งหมด ความจริง ทานฮวางตองการ
อนุรักษหนังสือจีนโบราณไวเพื่อใหชาติจีนคงอยู ถึงกับสอนหนังสือจีน
โบราณตั้ งแต ชั้ นเล็ กๆในโรงเรี ยนของท านภาษาสมั ยใหม พี ยงแต ใช
ประกอบการอธิบาย ใหนักเรียนเขาถึงอรรถรสของหนังสือจีนโบราณยิ่งขึ้น
เทานั้น แตมีผูขอรองทานวา การอานหนังสือที่ดี ถาไมสามารถเขาใจได
โดยงาย ทําใหผูอานขาดความกระตือรือรน และเมื่อหมดความสนใจเสีย
แลว ก็ยอมไมไดผลสมเจตนารมณที่ทานตั้งไว ทานจึงเห็นดวยและเริ่ม
เรียบเรียงเสียใหมเมื่อ ค.ศ. ๑๙๔๒ หรือ พ.ศ.๒๔๘๕ พิมพดวยหนังสือจีน
ปจจุบันที่เปนภาษาพูดของชาวบาน เพื่อเปดโอกาสใหผูที่ไมรูหนังสือเลย
เมื่อมีคนอานใหฟง ก็จะเขาใจสามารถนําไปปฏิบัติใหไดผลดั่งที่รูหนังสือ
เชนกัน
สาธุนักปราชญที่เขาใจพุทธรรมยอมไมถือความเห็นของตนเองเปน
ใหญ เสมอไป ทานยอมโอนออนตามความจําเปน เพื่อประโยชนสุขของคน
หมูมากเปนที่ตั้ง ซึ่งขาพเจาก็เปนผูหนึ่งที่ไดรับประโยชนนี้เปนอยางยิ่ง จึง
ขอกราบขอบพระคุณทานฮวางมาณที่นี้ดวย
เมื่ อท านเรี ยบเรี ยงดี แล วก็ นําไปขอให ท านอาจารยเจี่ ยงเอว ยเฉี ยว
ตรวจแกอีกทีหนึ่งดวยความไมประมาท เพราะทานตองการใหหนังสือนี้มี
ความขาดตกบกพรองนอยที่สุด
ทานเจี่ยงก็เปนอีกทานกนึ่ง ที่ไดรับอิทธิพลอันดีงามจากหนังสือเลมนี้
มากมาย ทานเขียนเลาไววาเมื่อทานอายุได ๑๕-๑๖ ปนั้น รางกายออนแอ
มักเจ็บไขไดปวย ทําใหทานขาดเรียนเสมอ ทานบิดาจึงนําหนังสือนี้มาให
ทานอาน ทานยิ่งอานก็ยิ่งชอบใจ ถึงกับปฏิบัติตามคําแนะนําในหนังสือทัน
ที โดยทําบัญชีบันทึกความดีความชั่วของทานเองที่เปนความนึกคิดและ
พฤติกรรมในแตละวัน โดยไมเขาขางตนเอง จากวันเปนเดือน จากเดือน
เปนป บันทึกอยางละเอียดละออ ไมวาจะเปนการแสดงออกทางกายวาจา
หรือใจ เมื่อเวลาไดผานไป ๒-๓ ป ปรากฏวาความชั่วไดลดนอยถอยลง
ความดีปรากฏมากขึ้น นิสัยใจรอนขี้โกรธก็หายไป จิตใจสงบเยือกเย็นเปน
สุข หายจากโรคภัยไขเจ็บ ดวยคุณความดีของหนังสือนี้โดยแท ทําใหทาน
พัฒนาไปเปนคนละคนตรงขามกับแตกอน ทานอาศัยแนวทางของหนังสือ
นี้ดุจเข็มทิศ ดําเนินชีวิตไปไดอยางสงบสุขราบรื่น ไมมีอันตองตกต่ําเปน
อันธพาล เพราะมิไดกออกุศลกรรม ที่ทําใหเกิดความเดือดรอนทั้งกายและ
ใจแตอยางใด ทานจึงรับตรวจแกใหดวยความเต็มอกเต็มใจยิ่ง เพื่อบูชา
พระคุณของทานเหลี่ยวฝาน เพื่อประโยชนสุขของอนุชนรุนหลัง เพื่อความ
ผาสุกของประชาชาติทั้งมวลในโลกนี้
ในขณะที่หนังสือนี้ออกสูสายตาของชาวโลกอีกวาระหนึ่ง ไมทราบ
วาฮวางอายุเทาใด แตทานเจี่ยงนั้นอายุ ๗๑ ป และยังเปนอาจารยสอนที่
มหาวิทยาลัยแหงหนึ่ง ถาทานอายุยืนถึงวันนี้ ก็จะมีอายุ ๑๐๙ ปแลว
สําหรับทานเหลี่ยวฝานนั้น ถาทานมีอายุจนถึงวันนี้ ก็คงจะ ๔๓๒ ปโดย
ประมาณอยางไรก็ตามไมวาทานทั้ง๓จะสถิตณภพใดขาพเจาผูออนทั้ง
คุณและวุฒิ ขอกราบคารวะทานดวยความเคารพอยางสูง และกราบขอ
อนุญาตทานทางจิตที่บังอาจคิดถอดความหนังสือนี้เปนภาษาไทยอีกทั้งขอ
ขอบพระคุณสมาคมพุทธรรมแหงฮองกง (เซียงกางฝูจิงหลิวทงชู) ดวยกุศล
เจตนาของทานทั้งหลายที่กลาวมานี้ และดวยแรงกระตุนของมิสเตอรและ
มิสซิสโฮ ที่มีเจตนารมณเชนเดียวกับทาน เพียงปรารถนาใหพี่นองชาวไทย
ไดรูจักหนังสือเลมนี้ มีโอกาสนําไปประพฤติปฏิบัติได เพื่อใหถึงพรอมดวย
คุณธรรมความดีงาม อันเปนนิสัยของบรรพชนไทย ที่ไดรับอิทธิพลของ
พระพุทธศาสนาชาวไทยรุนตอๆไปควรรับไวเปนแบบอยางไมใชถูกคลื่น
แหงวัฒนธรรมตะวันตก พัดพาไปตามยถากรรม จนคนไทยไมเปนตัวของ
ตั วเอง ไดโปรดหยุดทําตัวเปนฝรั่ง ดึงความเปนไทยกลับคืนมา ชวยกันยัง
ความผาสุกใหเกิดขึ้นแกประเทศไทย ชาติอันเปนที่รักของเราชาวไทยเถิด
หากจากการถอดความทั้งหมดนี้ จะมีขอบกพรองประการใด ขอทานได
โปรดอภัยแกขาพเจาผูรูนอยดวยเถิดจักเปนพระคุณอยางยิ่ง

เจือจันทนอัชพรรณ
วันวิสาขบูชา
(จันทรที่๑๘พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๒๔)

กอนเริ่มเรื่อง

ลัทธิอิทธิพลอยางยิ่งในประเทศจีน ก็คือลัทธิของทานขงจื่อกับทาน
เหลาจื่อ

ทานขงจื่อ ทานดึงคนใหเขามาอยูในกรอบแหงจริยธรรม ประเพณี


และพิธีกรรมเพื่อใหสังคมอยูเย็นเปนสุขชั่วนิรันดร
ทานเหลาจื่อ ทานแกคนใหหลุดจากขอบขายทั้งมวลในสังคม ให
ดํารงชีวิตผสมกลมกลืน เปนอันหนึ่งอันเดียวกับธรรมชาติอันเสรี ใหชีวิต
เปนอมตะชั่วนิรันดร
สมเด็ จพระสั มมาสั มพุ ทธเจ าของชาวพุ ทธ ทรงเห็ นว าแม จะ
รอยรัดชีวิตใหอยูในขอบเขตเพียงใด หากเกิดความขัดแยงทางจิตใจ ซึ่ง
เปนปรกติวิสัยของชาวโลก ความทุกขเขาครอบงําทันที ครั้นเมื่อแกคนให
หลุดพนจากพันธนาการของสังคมไดแลว ก็ยังหนีความทุกขอันเปนไปตาม
กฎแหงไตรลักษณหาพนไม ตราบใดที่ยังตองเวียนวายตายเกิดใน
วัฏสงสาร ยอมหนีความทุกขในวัฏจักรแหงกรรมไปมิไดเลย นอกจากจะ
พัฒนาตนเอง ตามขบวนการของศีล สมาธิและปญญา ดวยวิปสสนา
กรรมฐานจึงจะหลุดพนจากความทุกขทั้งมวลไดโดยสิ้นเชิง
ทานเหลี่ยวฝานเปนผูหนึ่ง ที่เขาใจและเขาถึงคําสอนของพระบรม
ศาสดา ทานจึงนิพนธหนังสือนี้อันเปนประสบการณของทานเอง เพื่อชี้ให
ลูกทานเห็นวา ชีวิตที่อยูในกรอบแหงจริยธรรมก็ดี หรือจะหลุดจาก
ขอบขายทั้งมวลในสังคมก็ดีลวนแตเกิดจากเจตนารมณของตนเองทั้งสิ้นมิ
ไดขึ้นอยูกับลิขิตของฟาดิน ชาตาชีวิตมิใชขอชี้ขาดที่จะแกไขมิได จะดีจะ
ชั่ว มิใชฟาดินจะบันดาลใหโดยไมคํานึงถึงเหตุผล เปนตัวเราเองตางหาก
คือผูกําหนดอนาคตของตนเองปุถุชนมักมองชีวิตวาถูกลิขิตมาแลวแนนอน
กอนเกิดเสียอีก ความจนความรวย ความสูงศักดิ์ ความต่ําตอย ความบุญ
มั่นขวัญยืนหรือไม ลวนแตเกิดจากผลแหงกรรม อันเปนการกระทําดวย
เจตนาที่ดีบางชั่วบาง ที่ตนเองไดสรางสมไวแตชาติปางกอน วิบากยอมสง
ผลของชาติที่แลวมาบาง ที่ยอนขึ้นไปอีกหลายๆ ชาติบาง ทัศนคติที่มีตอ
กรรมเชนนี้ แมจะถูกตอง แตก็มิใชทั้งหมด ทานเขียนหนังสือนี้เพื่ออบรม
สั่งสอนบุตรของทาน ตอมาทานเห็นสมควรพิมพแจกเปนธรรมทาน
หนังสือนี้จึงแพรหลายมาจนทุกวันนี้ คําวา “พอ” ในหนังสือนี้ จึงหมายถึง
ท านเหลี่ยวฝานนั่นเอง

เจือจันทนอัชพรรณ
อังคารที่๑๙พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๒๔

โอวาทขอที่หนึ่ง

การสรางอนาคต

คําพยากรณทานผูเฒาขง

พอนั้นกําพราทานบิดามาตั้งแตอายุยังไมถึง ๒๐ ทานยาของลูกใน
เวลานั้นก็มีอายุมากแลว ทานไดบอกใหพอเลิกคิดที่จะเปนขุนนางเสีย หัน
มาเรียนแพทยดีกวา ทานบอกพอวาการเปนแพทยนั้น นอกจากจะยึดเปน
อาชีพไดแลวยังจะชวยคนยากจนไดอีกถามีความสามารถดีก็จะเปนแพทย
ที่มีชื่อเสียงซึ่งเปนความปรารถนาของทานบิดาที่ไดเสียชีวิตไปแลว
ตอมาพอพบผูเฒาทานหนึ่งที่วัดฉืออวิ๋นจื้อทานมีเครายาวราศีผอง
ใสยิ่งนักรูปรางสูงใหญสงางามราวกับเทพยดาพอจึงคารวะทานดวยความ
เคารพ

ทานพูดกับพอวา

“เธอจะไดเปนขุนนางนะ ปหนาสอบไดทั้งสามขั้น ไฉนจึงไมเรียน


หนังสือเลา”

พอจึงเลาสาเหตุใหทานฟง แลวถามชื่อแซและที่อยูของทาน ทาน


ตอบวา

ทานแซขง เปนชาวอวิ๋นหนาน ได เลาเรียนวิชาโหราศาสตรอันเปน


ตําราตั้งเดิมถายทอดกกันมา โดยมิไดแกไขเพิ่มเติมอันใดใหไขวเขวเลย
ซึ่งเปนตําราของทานบรมโหราจารยผูยิ่งใหญแหงราชวงศซง (ซอง)
(ค.ศ.๙๖๐-๑๑๒๗หรือพ.ศ.๑๕๐๓-๑๖๗๐)

ทานผูเฒาขงตองการจะถายทอดวิชานี้ใหแกพอพอจึงพาทานมาบาน
เพื่อพบทานยาของลูก ทานกําชับใหพอตอนรับทานผูเฒาใหดี แลวทดลอง
ใหทานพยากรณดู ปรากฏวาแมนยําไปเสียทุกอยาง แมแตเรื่องเล็กๆ
นอยๆก็ไมผิ ดพลาดเลย

พอจึงเริ่มเรียนหนังสือใหม ก็ทานลุงของทาน ที่เปนลูกพี่ลูกนองของ


พอนี่แหละ ทานไดแนะนําใหพอไปเปนนักเรียนกินนอนที่สํานักเรียนแหง
หนึ่ง

ทานผูเฒาขงไดพยากรณพอไววา

“จะสอบผานทั้งสามขั้น ขั้นแรกจะไดคะแนนมาเปนที่ ๑๔ ขั้นกลาง


จะไดที่๗๑และขั้นที่สามจะไดที่๙”ปรากฏวาผลออกมาเชนนั้นจริงๆ

ตอมาทานก็พยากรณอนาคตของพอไววา

“ปใดจะสอบไดเปนนักเรียนหลวง ไดขาวพระราชทานเปนจํานวน
เทานั้นถัง ปใดจะสอบขั้นสุดทาย ปใดจะไดเปนนายอําเภอ เมื่อเปนนาย
อําเภอแลว สามปครึ่ง ก็ควรลาออกจากราชการ เพราะอายุ ๕๓ ก็จะสิ้น
อายุขัย จะนอนตายอยางสงบในวันขึ้น ๑๕ ค่ําเดือน ๘ เวลาตี ๑-๓ นาเสีย
ดายจะไมมีบุตรไวสืบสกุล”

ในการตอมาคําพยากรณของทานผูเฒาขงก็ยังคงแมนยําเสมอมา มี
อยูครั้งหนึ่ง ทานพยากรณไววาจะไดรับพระราชทานขาวหลวงครบจํานวน
หนึ่งแลว จึงจะไดสอบขั้นสุดทายเพื่อเตรียมตัวเขาเมืองหลวงนั้น ยังไมทัน
ที่พอจะไดรับพระราชทานขางหลวงครบตามจํานวนที่ทานพยากรณไว พอ
ก็ไดรับคําสั่งใหไปสอบ คราวนี้สอบตก พอเริ่มสงสัยในคําพยากรณอยูใน
ใจ

แตแลวในปตอมา มีอาจารยทานหนึ่งที่เคยเปนกรรมการตรวจขอ
สอบใหพอทานชมพอวา

“คําตอบทั้ง๕ขอของทานนั้นเขียนไดดีเหมือนขุนนางผูใหญที่เขียน
ทูลเกลาฯ ถวายความเห็นตอฮองเตนั่นเทียว ทานวา ถาคนไมมีความรูจริง
ยอมเขียนไมไดเชนนี้ ความสามารถของพอยอมจักเปนประโยชนตอแผน
ดิน ไฉนจึงถูกทําลายอนาคตเสียเลา” ทานจึงสั่งใหพอไปทํางานกับทาน
และใหพระราชทานขาวหลวงยอนหลัง จนครบจํานวนที่ขาดไป ปรากฏวา
เทาจํานวนที่ทานผูเฒาขงคํานวณไวพอดี

พบทานอวิ๋นกุเถระผูพลิกชีวิตทานเหลี่ยวฝาน

เมื่อเปนเชนนี้ ยิ่งทําใหพอเชื่อถือในคําพยากรณของทานผูเฒาขงยิ่ง
ขึ้น เพราะอุปสรรคที่เพิ่งผานพนไปนั้น ทําใหเห็นไดชัดเจนยิ่งขึ้นวา ชาตา
ชีวิตนั้นไดถูกลิขิตมาแลวอยางแนนอน จะชาจะเร็วจะมีใครเปนอุปสรรค
อยางใด ก็หนีไมพน พอจึงปลอยใจใหเปนไปตามยถากรรม ไมมีความคิด
กระตือรือรน ไมทะเยอทะยานขวนขวาย ไมดิ้นรนที่จะเอาดีไปกวานี้อีกตอ
ไปทําใหจิตใจสงบยิ่งนัก

เมื่อพอสอบไดเชนนี้ ก็ตองเดินทางเขาเมืองหลวง (ปกกิ่งในปจจุบัน)


อยูในมหาวิทยาลัยของหลวงหนึ่งป พอไมไดดูหนังสือหรือตําราเรียนใดๆ
อีกเลยเอาแตนั่งสมาธิไมพูดไมจาไมคิดอะไรทั้งสิ้นพอครบหนึ่งปพอได
รับคําสั่งใหไปเขามหาวิทยาลัยของหลวงทางใต(นานกิงในปจจุบัน) อันเปน
สถาบันสุดทายที่นักศึกษาที่สอบไลไดตามขั้นตอนตางๆ ในภูมิลําเนาเดิม
ของตนมาแลว จะตองเขามาฝกฝนเตรียมตัวสอบเพื่อออกรับราชการตอไป
แตกอนที่พอจะเขาไปยังสถาบันแหงนี้ ไดแวะไปที่วัดซีเสียซานเพื่อคารวะ
ทานอวิ๋นกุเถระเสียกอนพอไดนั่งสมาธิกับทานสองตอสองเปนเวลานานถึง
สามวันสามคืนโดยมิไดหลับนอนเลย

พระเถระกลาวกับพอดวยความแปลกใจวา

“อันธรรมดาปุถุชนนั้นจิตใจวาวุนสับสนจึงไมสามารถบรรลุฌานได
สวนพอนั้นไฉนนั่งสามวันสามคืนแลวยังไมเห็นจิตใจวอกแวกเลย”

พอจึงเลาสาเหตุใหทานฟงวา
“ทานผูเฒาขงไดพยากรณอนาคตของพอไวแนนอนแลว คิดวุนวาย
ไปก็ไรประโยชนจึงทําใจใหสบายไรกังวลดีกวา”

ทานอวิ๋นกุเถระหัวเราะรองวา

“โธเอยนึกวาเปนผูวิเศษแลวเสียอีกที่แทก็ยังเปนปุถุชน”

ทานกลาววา

“อันที่จริงคนเรานั้น ถาจิตใจไมวาวุน ทําใจใหสงบไดแลว ก็เกือบจะ


สําเร็จเปนพระอรหันต พนจากความเปนปุถุชนไดแลว แตคนธรรมดานั้น
จิตใจยากที่จะสงบระงับได การฟุงซานนี่เองที่ทําใหคนเราถูกผูกมัดดวย
อํานาจพลังบวกและพลังลบของธรรมชาติ ทําใหไมมีอิสระเสรีตองขึ้นกับ
ดวงชาตาราศี และการโคจรของดวงดาวบนทองฟาที่โหราจารยทั้งหลายได
ทําสถิติกันไว โหราศาสตรจึงมีขึ้นดวยเหตุนี้ ก็มีแตสามัญชนคนธรรมดา
เทานั้น ที่จะถูกกําหนดไดตามวิชาโหราศาสตร แตคนที่ทําแตความดีมากๆ
แลว ชาตาชีวิตจักทําอะไรได โหราศาสตรนั้นหยั่งไมถึงกรรมดีกรรมชั่ว
ของคนเราหรอกวิชาโหราศาสตรจึงยึดเปนบรรทัดฐานไปหมดมิไดเพราะ
คนดีนั้น ถึงแมชาตาชีวิตจะบงไววาไมดีอยางไร แตพลังแหงกุศลธรรมนั้น
ใหญหลวงนัก สามารถพลิกความคาดหมายของโหราศาสตรได คนจนก็
กลายเปนคนรวยได คนอายุสั้นก็กลายเปนคนอายุยืนได ในทํานองเดียวกัน
คนที่สรางอกุศลกรรมอยางหนักไว ชาตาชีวิตก็ไมสามารถผูกมัดเขาไวได
เชนกัน แมจะถูกลิขิตมาวาจะไดดีมีสุขอยางใด แตพลังแหงอกุศลกรรมนั้น
ใหญหลวงนัก ยอมสามารถผันแปรความสุขเปนความทุกข ความมีลาภยศ
กลายเปนหมดลาภยศ ความอายุยืนก็กลายเปนอายุสั้นไดเชนกัน สวนพอ
นั้นปลอยชีวิตใหอยูกับชาตากรรมมายี่สิบปไฉนจะไมใชปุถุชนเลา

พอกราบเรียนทานวา

“ถาเชนนั้นชาตาชีวิตเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไดหรือ”

ทานตอบวา

ชาตาชีวิตนั้นเปนสิ่งไมแนนอน อนาคตเราตองสรางของเราเอง คน
ทําดีชาตาก็ดี คนทําชั่วชาตาก็ชั่ว เมื่อตองการอนาคตดีก็ตองทําดี ถาทําแต
ความไมดี แมชาตาจะดีก็กลายเปนรายได ในพุทธรรมก็กลาวไววา ผูใด
ตองการลาภยศยอมไดลาภยศผูใดตองการบุตรธิดายอมไดบุตรธิดาผูใด
ตองการอายุยืน ยอมไดอายุยืน หากประกอบแตกรรมดียอมสมปรารถนา
แลพระผูมีพระภาคเจาตรัสไวเชนนี้

พอซักทานตอไปวา

นักปราชญทานเมิ่งจือไดกลาวไววา หากปรารถนาสิ่งใดยอมไดสิ่ง
นั้น ทานคงหมายถึงสิ่งที่กระทําไดทางนามธรรมละกระมัง คุณธรรมความ
ดีงามนั้นเปนสิ่งที่มนุษยสรางไดเองโดยไมตองลงทุน ไมตองไปแสวงหา
จากที่ไหน แตทางรูปธรรมนั้น ยศถาบรรดาศักดิ์ชื่อเสียงและความมั่งคั่งจะ
แสวงหาไดอยางไรถาไมมีผูหยิบยื่นให

ทานอวิ๋นกุเถระตอบพอวา

ทานเมิ่งจื่อกลาวไวไมผิดหรอก พอเองที่เขาใจคําสอนของทานผิดไป
ทานลั่กโจวเคยกลาวไววา ความสุขความเจริญทั้งมวล เกิดขึ้นที่ใจกอนทั้ง
สิ้น การแสวงหาใดๆ ก็ตามตองเริ่มที่ใจกอน ไมเพียงแตจะไดคุณธรรม
ความดีงามทางธรรมเทานั้น ความสุขความเจริญ ลาภยศ ชื่อเสียง เงินทอง
อันเปนความดีงามของโลก ก็จะติดตามมาเอง เพราะฉะนั้นการแสวงหาสิ่ง
ที่ดีงามนั้น ยอมไดสิ่งที่ดีงามตามปรารถนา ในทํานองเดียวกัน หากไม
สํารวจตนเองไมเริ่มตนทําความดีจากตัวเราเองกลับดิ้นรนคิดแสวงหาจาก
ภายนอกแมจะแสวงหามาไดก็เปนเพียงไดตามชาตากําหนดไวเทานั้นไม
ใชไดเพราะความดีของเรา เพราะการแสวงหาจากภายนอกนั้น อาจจะตอง
ใชความพยายามในทางที่ถูกบางผิดบาง ไมไดดวยเลหเอาดวยกล ไมได
ดวยมนตเอาดวยคาถา แสวงหาดวยแรงขับของกิเลสตัณหา จึงไมไดคํานึง
ถึงศีลธรรม เปนการสูญเปลาทั้งสองทาง ทางธรรมก็เสียหาย ทางโลกก็เสีย
หายอีกการแสวงหาจากภายนอกนั้นจึงไมไดผลดีเทาที่ควร

การฝกธรรมตองเริ่มสํารวจตัวเองกอน

ทานถามพอวา ทานผูเฒาขงพยากรณไวอยางไรบาง พอก็เลาใหทาน


ฟงอยางละเอียดทานถามพอวา

“เธอลองทายเองดูสิวา จะสอบไดเปนขุนนางหรือเปลา จะมีบุตรได


ไหม”

พอคิดหาเหตุผลอยูนาน โดยสํารวจตนเองตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน
แลวจึงตอบทานวา

“เห็นทีจะสอบไมไดและคงจะไมมีบุตรอีกดวย”

พอใหเหตุผลทานวา

คนที่จะไดเปนขุนนางจะตองมีบุญวาสนาสวนพอนั้นบุญวาสนานอย
ตนเองก็ มิ ได สั่ งสมกุ ศลธรรมอั นใดไว ให เป นพื้ นฐานเพื่ อเสริ มสร างบุ ญ
บารมีใดๆนิสัยของพอก็ไมดีไมมีความอดทนงานหนักไมเอางานเบาไมสู
ใครทําใหไมถูกใจก็โกรธไมยอมใหอภัยใจคอคั บแคบบางครั้งยังอวดดีวา
มีความรูมากมาย ยกตนขมทาน ใจคิดอยางไรก็ทําอยางนั้น คนเชนพอนี้
ไมสมควรมาสอบเพื่อเปนขุนนางกับเขาเลย

แลวพอก็สาธยายใหทานฟงถึงเหตุผลที่คิดวา ตนเองไมสมควรมีบุตร
จริงดั่งคําพยากรณของทานผูเฒาขงใหทานอวิ๋นกุเถระฟงตอไปวา

อันธรรมดานิสัยของพอนั้น ชอบความสะอาดมากเกินไป ไมเปนไป


ตามทางแหงมัชฌิมาปฏิปทาโบราณทานวาไวอันพื้นดินนั้นยิ่งไมสะอาด
เพียงใด ก็ยอมเจริญดวยพืชพันธุนานาชนิด น้ําที่ใสสะอาดมักจะไมมีปลา
มาแหวกวายฉันใด พอนั้นชอบความสะอาดมากเกินไป จึงยอมไมมีบุตร
ฉันนั้นนี่เปนเหตุผลประการหนึ่ง

ธรรมชาติสรรคสรางสรรพสิ่งใหสมดุล เพื่อใหชีวิตเจริญเติบโตดวยดี
แตพอมักโกรธทําใหรางกายและจิตใจเสียดุลอยูเปนนิตยยอมไมสามารถมี
บุตรไดนี่เปนเหตุผลประการที่สอง

ความเมตตาเทานั้นที่ค้ ําจุนโลกไว แตพอนั้น จิตใจขาดความกรุณา


ปราณี ไมยอมลดตนลงชวยเหลือผูอื่น เต็มไปดวยอัสมานะ(การถือเขาถือ
เราถือดีไมยอมลงใคร)ไฉนจักมีบุตรไดเลานี่เปนเหตุผลประการที่สาม

การพูดมาก ทําใหเสียพลัง พออดพูดมากไมได ทําใหรางกายไมแข็ง


แรงนี่คือเหตุผลประการที่สี่

ชีวิตอยูไดดวยพลัง ลมปราณ และการแสดงออกของจิตคือ ความมี


ชีวิตชีวารวมเรียกวา “ชีวิตินทรีย” อันเกิดจากธาตุทั้งหาคือ ธาตุดิน ธาตุ
ทอง ธาตุน้ํา ธาตุไม และธาตุไฟ (ธาตุลมแฝงอยูในทุกธาตุ มากบางนอย
บางตามปจจัยของภาวะแวดลอม จึงไมนับเปนธาตุที่หก) รวมกันทํางานให
ชีวิตเดินไป ธาตุเหลานี้ขาดธาตุใดธาตุหนึ่งไมได ตองอิงอาศัยซึ่งกันและ
กัน กอใหเกิดพลังลมปราณ และความมีชีวิตชีวาใหแกมนุษย คอยดํารง
ชีวิตไวใหดํารงอยู พอดื่มเหลามาก เผาผลาญรางกายของตนเองอยูเสมอ
ทําใหปจจัยทั้งสามนี้ลดนอยถอยลง จักมีบุตรไดอยางไร แมจะมีได บุตรก็
จักไมแข็งแรงและอายุก็คงไมยืนนี่คือเหตุผลประการที่หา

ในยามกลางวัน คนเราไมควรนอน ในยามกลางคืนก็ควรนอนพัก


ผอนใหสบาย แตพอไมชอบนอนกลางคืน ชอบนั่งเขาที่เปนสมาธิอยูตลอด
คืนไดเสมอ ไฉนจักมีบุตรไดเลา นี่เปนเหตุผลประการที่หก ที่ทําใหพอคิด
วาชาตินี้พอจะมีบุตรไมไดสมจริงดั่งคําทํานายเปนแนแท และนอกจากนี้
แลวก็ยังมีสิ่งที่พอทําผิดๆ ไวอีกมากมาย แมจะพูดตอไปก็คงไมรูจักหมด
เปนแน

ทานอวิ๋นกุเถระฟงพอพูดเสียยืดยาวแลวจึงกลาววา

ไมเพียงแตพอไมสมควรจะเขาสอบเปนขุนนางเทานั้น ยังมีอีก
หลายๆ สิ่งที่พอก็ไมสมควรจะไดรับดวย คนในโลกนี้แมจะอยูในภาวะแวด
ลอมเดียวกัน ในเวลาที่ไมตางกัน แตบางคนไดรับแตสิ่งที่ดีมีสุข บางคน
กลับไดรับแตความเดือดรอนเปนทุกขมีแตกตางกันมากมายผูรูยอมเขาใจ
ดีวา นั่นลวนแตเปนผลที ่เกิดจากใจตนเอง ทุกคนสรางเหตุที่จะทําใหเกิดผล
ดีผลชั่วจากใจตนเองทั้งสิ้น ผูไมรูยอมถือวาเปนชาตาชีวิตที่ลิขิตมาแลว
อยางแกไขไมได หารูไมวา ก็ทุกสิ่งเกิดจากใจตนเองแลว ทําไมตนเองจะ
แกไขไมไดเลาคนที่ทําบุญใหทานมากมายนั่นเขากําลังสรางเหตุปจจัยเพื่อ
ความเปนเศรษฐีมีเงินพันชั่งรอยชั่งตามความมากนอยที่เขาทําอยู บางคน
จนถึงขนาดอดตาย นั่นก็เพราะเขาสรางเหตุปจจัยมาเชนนั้น มีความ
ตระหนี่เหนียวแนน ไมยอมเกินใคร ทรมานกักขังสัตวใหอดอยากและอด
ตายมาแลวผลจึงเกิดแกเขาเชนนั้นหาใชฟาดินเกิดความลําเอียงไมฟาดิน
คือธรรมชาติ ยอมปราณีคนดี ลงโทษคนชั่ว เหมือนดั่งที่ปราณีตอพืชพันธุ
ธัญญาหาร คอยหลั่งฝนมาใหความชุมชื้น คอยสงความสวางมา ใหความ
เจริญเติบโต และธรรมชาติก็จะดุดันกับความไรคุณธรรม กระหน่ําทั ้งฝน
พายุและสายฟา ทั้งนี้ยอมขึ้นกับความดีความชั่วในตัวบุคคล ใครดีก็จะได
รับการสงเสริมใครเลวก็ลงโทษเสียบางเพื่อใหเกิดสมดุล

มีความเชื่อกันแตโบราณกาลวา การจะมีบุตรหรือไมนั้น ก็ขึ้นอยูกับ


เหตุผลเดียวกัน ผูที่ทําความดีติดตอกันมาแลวรอยชาติ ก็ยอมมีบุตรหลานที่
ดี สามารถสืบสกุลใหยืนยาวไดถึงรอยชั่วคน ผูที่ทําดีมาสิบชาติติดตอกันก็
ยอมมีบุตรหลานที่ดี สามารถสืบสกุลใหยืนยาวไดถึงสิบชั่วคน ผูที่ทําดีติด
ตอกันเพียงสองสามชาติก็ยอมมีบุตรหลานสืบตอไปสองสามชั่วคนเทานั้นผู
ที่ไมมีบุตรเลยก็จะเห็นไดวาไมเคยสั่งสมคุณธรรมความดีที่เปนชิ้นเปนอัน
มาบางเลย

(นอกจากบางคนเทานั้นที่ไมไดขึ้นอยูกับเหตุผลดังที่กลาวมาแลว คือ
เปนผูไมมีหนี้กรรมกับผูใดมา ธรรมชาติแหงการมีบุตรธิดา ถามองตาม
ทัศนะของกฎแหงกรรมแลว ก็คือการเปดหนาบัญชีลูกหนี้เจาหนี้ขึ้นมา
สะสางกันอีกวาระหนึ่ง บุตรธิดาบางคนเกิดมาทวงหนี้ ก็ทําตัวดื้อรั้นอวดดี
กอความเดือดรอนวุนวายเสียหาย จนบิดามารดาไมมีความสุขตลอดเวลา
สวนบุตรธิดาที่เกิดมาใชหนี้บุญคุณที่ติดคางกันมาในภพกอนๆ ก็มีความ
กตัญnูกตเวทีวานอนสอนงายเปนที่พึ่งทางกายและทางใจของบิดามารดา
นําความปลื้มปติและความภาคภูมิใจมาใหบิดามารดามีความสุขความอิ่มใจ
เสมอ

กุศลกรรมและอกุศลกรรมในอดีตลวนเปนปจจัยใหชีวิตตองเวียนวาย
มาพบกันอีกตามแรงเหวี่ยงของวิบากกรรมมาเปนพอแมลูกกันตามกรรมดี
กรรมชั่ว ที่แตละคนไดกอใหเกิดความสัมพันธกันมาแตอดีต ผูใดมิไดกอ
หนี้กรรมไวกับใครเลย ก็ยอมไมมีใครตามมาใชหนี้หรือทวงหนี้ ก็ทําใหไม
มีบุตรธิดาในชาติปจจุบัน ซึ่งในกรณีเชนนี้มีนอยมาก ทานเหลี่ยวฝานจึงมิ
ไดกลาวไว-ผูถอดความ)

เรงสรางสมคุณธรรมความดีงาม

แลวทานก็บอกพอวา

เมื่อพอรูตัวเองวาไมดีอยางไรบางแลวเชนนี้ และเขาใจความเปนไป
ของฟาดินแลวไซร ก็จงเรงสั่งสมคุณธรรมความดีงามทันที ไมคอยแตจับ
ผิดผูอื่น สามารถใหอภัยได แมความผิดนั้นจะเทียบเทาภูเขาก็ตาม มีขันติ
อดทนตอความไมพอใจ ไมโกรธงายมีแตความเมตตากรุณา ไมพูดมาก
ไมดื่มสุรา รักษาสุขภาพใหดีทั้งทางกายและใจ สิ่งที่แลวมาแลว ก็ใหคิดวา
ตายไปแลวเมื่อวานนี้ มีชีวิตใหมเพื่อสรางสมคุณธรรมที่ดีใหม ไมใชชีวิต
เกาที่มีแตเลือดเนื้อและเต็มไปดวยความเปนปุถุชน พัฒนาชีวิตใหหลุดพน
จากการครอบงําของกิเลสตัณหาอุปาทานขันธหา สามารถพัฒนาตนเองให
บริสุทธิ์ผุดผอง แลวชีวิตก็จะมีคุณคาผิดแผกแตกตางจากชาตาชีวิตที่ได
กําหนดไวแลวในคําพยากรณ

ก็รางกายที่กอปรดวยเลือดเนื้อนี้ ยังเปนไปตามลิขิตของฟาดิน ทําไม


กับชีวิตที่กอปรดวยคุณธรรมความดี ฟาดินจะไมหยั่งรูไดหรือ โชคชาตาที่
ฟาดินลิขิตมา มนุษยยังพอหลีกเลี่ยงได แตเคราะหกรรมที่เกิดจากการ
กระทําของมนุษยเองก็จะหนีไมพนเลยมีโคลงบทหนึ่งกลาวไววา

“มนุษยตองคอยสํารวจตนเองเสมอ
เพื่อจักไดดําเนินชีวิตตามครรลองคลองธรรม
เมื่อกระทําแตความดีงามแลวไซร
ไฉนจักไมไดรับความดีอันเปนผลเลา”

ความดีความชั่ว จึงลวนแตขึ้นอยูกับพฤติกรรมของมนุษยเองทั้งสิ้น
การที่ทานผูเฒาขงพยากรณไวใหนั้น เปนเพียงชาตาชีวิตที่ลิขิตจากฟาดิน
ยอมมีทางแกไขไดจงรีบสรางคุณธรรมความดีงามเริ่มดวยการชวยเหลือผู
อื่นโดยไมเห็นแกตัว เสียสละเพื่อผูอื่นโดยไมหวังการตอบแทน อยามุงหวัง
แตชื่อเสียง ทําอยางเงียบๆ การปดทองหลังองคพระปฏิมานั้นกลับไดบุญ
มากกวา ถามีคนรูเห็นกันมากพากันสรรเสริญอนุโมทนาสาธุการ ความมี
ชื่อเสียงก็จะแบงความดีงามไปเสียมาก บุญก็จะนอยลงเพราะไดผลใน
ปจจุบันไปบางแลว แลวถาทําแลวไมโมโออวดในความดีนั้น ผลบุญก็จะ
เต็มดุจวารีที่เต็มฝง ใครเลาจะแยงบุญของเราไปได นอกจากเราจะยินดี
แบงบุญใหเขาเองการทําดีเชนนี้มีหรือจะไมไดเสวยผลแหงความดีนี้

คัมภีรโบราณชื่อวา อี้จิง ก็ไดเนนถึงความดีความชั่วไวอยางละเอียด


ละออ สอนคนดีใหรูจักหลบหลีกจากกรรมชั่ว สั่งสมแตกรรมดี เพื่อจักได
ผลดีตอบแทน หากวาลิขิตของชาตาชีวิตเปนสิ่งแนนอนแลวไซร จักหลีก
เลี่ยงกรรมชั่ว สั่งสมกรรมดีไดอยางใด ในหนาแรกของคัมภีรก็กลาวไววา
ครอบครัวใดสั่งสมแตความดีงาม ไมเพียงแตหัวหนาครอบครัวเทานั้นที่จะ
ไดเสวยผลแหงความดีนั้น แมแตลูกหลานเหลนโหลนก็พลอยไดเสวยผล
แหงความดีนั้นดวย วิเคราะหดูใหดีแลว จะเห็นไดวาชาตาชีวิตไมสามารถ
ควบคุมมนุษยไวไดเสมอไป จิตใจมนุษยสําคัญกวา จิตใจที่ดีงามยอม
กระทําแตสิ่งที่ดีงามและไดรับผลที่ดีงาม ผูมีจิตใจทราม ยอมกระทําแตสิ่งที่
เลวทรามและไดผลที่เลวทราม

ทานถามพอวาเชื่อทานหรือไมเลา

พอเชื่ออยางมาก เพราะทานพูดมีเหตุผล พอจึงคุกเขาลงกราบทาน


เพื่อแสดงวารับคําสั่งสอนดวยความเคารพอยางสูงแลวพอไปนั่งลงณหนา
ที่บูชาพระรัตนตรัย สารภาพบาปในอดีตตอพระพักตรสมเด็จพระสัมมาสัม
พุทธเจาอยางหมดเปลือก แลวอธิษฐานขอใหไดเปนขุนนาง ตอไปนี้จะเริ่ม
กระทําความดีใหครบสามพันครั้ง เพื่อตอบแทนพระคุณของฟาดินและ
บรรพชนของพอ

ทานอวิ๋นกุเถระเห็นพอมีความตั้งใจทําความดีถึงปานนี้ จึงเอาตัว
อยางบัญชีกรรมดีกรรมชั่วมาใหพอดู แลวสอนพอใหจดบัญชีพฤติกรรม
ของตนเองแตละวันอยางละเอียดถี่ถวนโดยไมเขาขางตนเองถาเปนกรรมดี
ก็จดไวขางหนึ่งเหมือนบัญชีรับจายตองนํากรรมชั่วไปลบกรรมดีใหเหลือ
กรรมดีสามพันครั้งโดยไมมีกรรมชั่วที่ไมไดหักกลบลบหนี้แลวจึงจะนับวา
ทําดีไดครบสามพันครั้งตองนําบัญชีมาทบทวนดูทุกวันเพื่อเตือนใจใหรูวา
ในวันหนึ่งๆ เราไดทําอะไรผิดอะไรถูกจักไดแกไขปรับปรุงตนเอง ไมทํา
ความผิดซ้ําแลวซ้ําเลาอีก กรรมชั่วเบาๆ ก็ตองมาลบกรรมดีออกเสียครั้ง
หนึ่งกรรมชั่วหนักๆ ก็ตองมาลบความดีออกหลายๆ ครั้ง จนกวาความดีจะ
ครบสามพันครั้งดังที่ไดอธิษฐานไว แลวสอนพอสวดมนตบริกรรมคาถา
เพื่อชวยใหจิตใจมั่นคง โดยอาศัยอํานาจคุณพระศรีรัตนตรัยเปนสรณะ
เพื่อใหคําอธิษฐานหนักแนนสัมฤทธิ์ผลเร็ววัน

ฮูศักดิ์สิทธเพราะจิตมั่นคง

ทานยังเลาใหพอฟงตอไปวา

ผูที่ชํานาญการวาดฮู (ลงเลขยันต) ไดกลาวไววา หากมนุษยไมรูวิธี


วาดฮูไดถูกตองแลวไซรจะถูกผีสางเทวดาหัวเราะเยาะเอาไดเพราะฉะนั้น
การวาดฮูก็ตองหัดใหเปนไว เคล็ดลับของวิชานี้อยูที่ตองทําใจ เมื่อเริ่มจับพู
กันก็ตองหยุดความรูสึกนึกคิดใดๆ ไมวอกแวกทําจิตใหนิ่ง รวมพลังจิตทั้ง
หมดพุงตรงไปยังปลายพูกัน แลวจรดปลายพูกันใหแนนิ่งเปนการเบิกทวาร
ฟาดินดวยพลังจิตที่พุงกระทบอยางแหลมคม ฮูจะศักดิ์สิทธิ์หรือไมก็อยูที่จุด
เริ่มตนนี้เอง เมื่อเริ่มตนแลว ก็ตองเขียนใหจบขบวนการโดยไมหยุดชะงัก
ไมตอเติม ไมยกพูกันขึ้น ตองวาดใหตอเนื่องเปนเสนเดียว จิตเปนเอกัคค
ตาตลอดแนวทางที่พูกันตวัดไปมา ฮูนี้ก็จักศักดิ์สิทธิ์ ไมวาจะอธิษฐานใดๆ
ตอฟาดินก็จักสัมฤทธิ์ผลอยางแนนอนและรวดเร็ว

ผูมีกิเลสธุลีหนาแนนในใจ เหมือนตกอยูในความมืด ดั่งอยูในครรภ


มารดา ไมสามารถมองเห็นอะไรอื่น เมื่อจรดปลายพูกันลงไปครั้งแรก ก็
เทากับไดเจาะความมืดใหแสงสวางสองเขาไปไดและเมื่อตวัดพูกันไปดวย
จิตอันแหลมคมเปนสมาธิอยูนั้น ก็เปนการพุงพลังจิตไปตามพูกันนั้น โดยมี
แสงสวางและชาดในพูกันเปนสื่อนําพลังจิตไป พลังจิตประทับอยูตรงไหน
ความศักดิ์สิทธิ์ก็เกิดที่นั่น

เคล็ดลับในการบริกรรม

การบริกรรมก็ตองทําสม่ําเสมอขาดไมไดเชนกัน ตองบริกรรมจนแม
ปากไมบริกรรมแลว แตใจยังคงบริกรรมอยู บริกรรมจนไมรูสึกวา ตัวเรา
เปนผูบริกรรมเพราะมนตก็ดีการบริกรรมก็ดีตัวเราผูบริกรรมก็ดีไดผสม
ผสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันเสียแลว จนแยกไมออกเมื่อใด เมื่อนั้นการ
บริกรรมก็ศักดิ์สิทธิ์

นักปราชญทานเมิ่งจื่อไดกลาวไววา อันวาอายุยืนหรืออายุสั้นหามี
ความแตกตางกันไม ใหมั่นฝกฝนตนเองไปจนกวาจะถึงวันนั้น วันนั้นคือ
วันที่เราจะพบความจริงวา ใดๆ ในโลกนี้หามีความแตกตางกันไม ลวนแต
เปนสภาวะธรรมที่มนุษยสมมติกันขึ้นมา ผูที่ฝกฝนตนเองจะไมเห็นความ
แตกตางของสภาวะธรรม ผูนั้นก็เขาถึงสภาวะธรรม และไมถูกความไมรู
ไมเขาใจหลอกหลอนเบียดเบียน หลุดพนจากการรอยรัดของกิเลสตัณหา
อุปาทานขันธหาไดหมดสิ้น

ถาคิดโดยผิวเผินก็จะรูสึกแปลกใจ เพราะความมีอายุสั้นและอายุยืน
นั้น แตกตางกันอยางตรงกันขามทีเดียว แตถาคิดใหลึกซึ้งแลวก็จะเห็นได
วา ทานพูดไวไมผิดเลย ทุกสิ่งในโลกนี้ลวนเปนสภาวะธรรมหนึ่งๆ เทานั้น
มนุษยมักจัดเขาพวกกันบาง แยกประเภทใหบาง จนดูสับสนสลับซับซอน
กันไปหมด ธรรมดาทารกที่เกิดมาใหมๆ นั้นหารูไมวาอายุยืนมีความหมาย
อยางไรกัน ตอเมื่อเติบโตแลว จึงสามารถแยกแยะความหมาย เลือกคุณคา
ของสรรพสิ่งโดยคําสอนของผูใหญบาง จิตที่ไดรับการอบรมมาแตชาติปาง
กอนเปนเชนนี้บางความแตกตางจึงบังเกิดขึ้นดวยประการฉะนี้

ฉะนั้น ถาเราไมใหความแตกตางระหวางความรวยกับความจน
ความสุขกับความทุกขความตกต่ํากับความรุงเรืองหรือความมีอายุยืนกับ
อายุสั้น จึงจะสามารถสรางสรรคชีวิตใหเปนไปตามความตองการของเรา
ได

ถาเราไปใหความแตกตางกับสิ่งเหลานี้เสียแตกอนแลว เราจะไม
สามารถสรางชีวิตใหดีตามความตองการของเราไดเลย

จะยกตัวอยางใหดูเด็กสองคน คนหนึ่งเกิดมาเปนลูกคนรวย อีกคน


เกิดมาเปนลูกคนจนถาเด็กรวยคิดวาตนเองวิเศษกวาผูอื่นเพราะความรวย
กวาผูอื่นแลวไซร ก็จะเกิดความลําพองถือเงินเปนอํานาจบาตรใหญ เที่ยว
ระรานขมเหงผูอื่น เอาแตใจตนเอง สวนลูกคนจนนั้น ถาคิดวาตนเองยาก
จนไมมีเงินเหมือนลูกคนรวย ก็เกิดความนอยเนื้อต่ําใจ เมื่ออยากไดอะไร
ไมไดดั่งใจ ความกดดันก็จะเปนแรงขับใหเริ่มฉกชิงวิ่งราว ลักเล็กขโมย
นอย จนถึงปลนจี้ฆาเจาทรัพย รุนแรงขึ้นทุกที แมจะตองโทษก็ไมกลัว
หลวงทานเลี้ยงสบายไปเสียอีก

ถาเราแยกแยะความรวยความจนเชนนี้ก็จะเปนคนดีไปไมไดเลย แต
ถาไมคิดวาเรารวยจะทําอะไรก็ระมัดระวังมิใหกระทบกระเทือนถึงผูอื่น คิด
แตจะชวยเหลือเจือจานไปทั่วหนา ใชเงินที่ตัวมีมากใหเปนประโยชนแกผูมี
นอยอาศัยความรวยที่ตนเองไดเปรียบผูอื่นโดนสภาวธรรมมาเกื้อกูลผูอื่น
ที่มีนอยถึงกับขาดแคลนตามสภาวธรรม ความเมตตากรุณาที่เกิดความรู
จริงในสภาวะธรรมนี้ ก็จะหลอหลอมใหชองวางระหวางความรวยความจน
นั้นเชื่อมสนิทไมสามารถเกิดความแตกตางไดเลยสวนเด็กที่เกิดมายากจน
อันเปนสภาวธรรมอีกอยางหนึ่งนั้น ถาไมใหความแตกตางในความรวย
ความจนแลวก็จะไมมีความรูสึกนอยเนื้อต่ําใจรูจักขยันหมั่นเพียรสันโดษ
ในความเปนอยู ซื่อตรงในความประพฤติ รูจักใชแรงกายชวยเหลือผูอื่น
แทนแรงเงินที่ตนขาดแคลน ไมคอยคิดใหผูอื่นมาชวยตน แตไมรังเกียจที่
จะชวยผูอื่นตั้งหนาทํามาหากินหนักเอาเบาสูอดออมถนอมตนไมนานนัก
คนจนก็จะไมจนคนรวยก็ไมจนอยูแลวเมื่อถึงวันนั้นความแตกตางจักมีได
อยางไร

แมอายุสั้นยาวก็เชนกัน ถาเราไมเชื่อชาตาชีวิตไดลิขิตใหเรามีอายุ
สั้น เราก็ไมพะวงถึงความตาย ตั้งหนาประกอบกรรมดี ไมใชอยูรอความ
ตายไปวันหนึ่งๆ ผูที่ไมเชื่อวาชาตาชีวิตไดลิขิตมาใหอายุยืน ก็จะไมทะนง
ตนวายังมีชีวิตอยูอีกยาวนาน เกิดความประมาทเกียจครานที่จะประกอบ
กรรมดี ผัดวันประกันพรุง ดื่มสุรานารี เลนพาชีกีฬาบัตร เผลาผลาญชีวิต
ไปทุกวันๆอายุจักยืนนานไปไดอยางไร

ความเกิดความตายเปนสิ่งสําคัญที่สุดของมนุษย ถาเราไมใหความ
แตกตางในสิ่งที่กลาวมาแลวไซร เราจะเกิดในสภาวธรรมใดก็ตาม ยอมจัก
ดําเนินชีวิตอยูไดดวยจิตใจที่ปราศจากความกดดัน รูจักดํารงชีวิตดวยดี
ตายดีและไปเกิดในสภาวธรรมที่ดีตอไป ทําไมหรือ เพราะความชั่วรายมิ
ไดอยูที่ความรวยความจน มิไดอยูที่ความอายุสั้นหรือยาว ความสุขความ
ทุกขนั้น ยอมขึ้นอยูที่เราจะสามารถประกอบคุณงามความดีไดมากนอยเทา
ใดตางหากเลา

การฝกฝนตนเองใหรูจักประกอบกรรมดีทําดีนั้น ยอมเปนการสั่งสม
บุญบารมีโดยแท เราจะตองหมั่นสังเกตพฤติกรรมของเราเอง มีสิ่งใดผิด
พลาดก็พยายามแกไขเหมือนดั่งหมอที่พยายามรักษาคนไขใหหายจากโรค
ฉะนั้น การสั่งสมบุญบารมี ตองพยายามมอยูทุกขณะจิตคอยทําคอยไป ไม
หวังผลจนเกินกําลังไมหยอนยานจนไมกาวหนาเมื่อจิตไดรับการอบรมที่ดี
แลวนั่นคือความสําเร็จที่จะไดรับในการประพฤติดีปฏิบัติชอบ

ทานบอกกกับพอวา

จิตนั้นเกิดดับอยูทุกขณะ ขอใหหมั่นบริกรรมอยาไดหยุดยั้งจะขาด
การสืบตอ เมื่อบริกรรมจนเกิดความชํานาญแลวก็จะกลายเปนนิสัย ไมวา
ปากจะบริกรรมหรือไม จิตก็จักทําไปเองโดยอัตโนมัติ เมื่อจิตดิ่งเปน
เอกัคตาแลวไซร ยอมรวมมนตคาถาที่บริกรรม ตัวคนบริกรรม และจิตที่
บริกรรมเปนอันหนึ่งอันเดียวกันไมแยกออกจากกัน เมื่อนั้นการบริกรรมก็
จะประสบความสําเร็จทันทีอธิษฐานไวเชนใดก็จะสมปรารถนาเชนนั้น

ทานเหลี่ยวฝานเปลี่ยนชื่อ

พอนั้นแตกอนมีชื่อวา “เสวียหาย” ในวันนั้น พอเปลี่ยนชื่อใหมวา


“เหลี่ยวฝาน”เพราะพอรูซึ้งแลววาการสรางอนาคตจะตองเริ่มที่ตนเองมิใช
รอคอยโชคชาตามาผลักดันใหเปนไปตามยถากรรม พอจะตองหลุดพนจาก
ความเปนปุถุชนใหได ไมยอมตนอยูในอิทธิพลของคําพยากรณอีกตอไป นี่
คือความหมายในชื่อใหมของพอ ตั้งแตนั้นมาพอสํารวมระวังบทบาทของ
กายวาจาใจอยูตลออดเวลาที่ตื่นอยู ทําใหผิดแผกไปกวาแตกอนมาก ความ
มักง าย ตามใจตนเอง ความไมสํารวมในอินทรียไดลดนอยลง มีแตความ
ระแวดระวังตั้งสติไมประมาท ดุจดั่งเตรียมพรอมตั้งรับภยันตรายที่กําลังคืบ
คลานมาหาพอฉะนั้น แมจะอยูในที่มืดหรือในที่รโหฐาน ก็ยังเกรงวาผีสาง
เทวดาคอยจองจับตามองพออยู ตอหนาและลับหลังคนจึงประพฤติไมตาง
กัน หากมีผูใดแสดงความไมพอใจพออยางใด วิพากษวิจารณรุนแรงเพียง
ใดพอกลับรับฟงไดโดยดุษณีไมเคยตอลอตอเถียงกับผูใดอีกเลย

เมื่อกาลเวลาผานไปอีกหนึ่งป พอไดโอกาสเขาทําการสอบไลอีกครั้ง
คราวนี้สอบไดที่หนึ่ง พลิกความคาดหมายของทานผูเฒาขงที่พยากรณไว
วาจะสอบไดที่สาม ทานวาหลังจากสอบครั้งนี้แลว ตอไปจะสอบไมไดอีก
แตเมื่อพอไปสอบก็สอบไดอีก เปนอันวาคําพยากรณไมสามารถกุมวิถีชีวิต
ของพอไดอีกตอไป

แตการทําความดีนั้น มิไดงายอยางที่นึกไว สํารวจดูแลวก็พบขอบก


พรองมากมาย เชนไมมีความอาจหาญพอที่จะเสี่ยงชีวิตเขาชวยเหลือผูที่
ประสบภัย บางที่จิตใจลังเลไมสามารถชวยไดสุดกําลัง บางทีชวยไปบนวา
ไป อดติเตียนเสียมิได เวลาปรกติยังมีสติควบคุมตนเองไดดีอยูบางทีดื่ม
เหลาเมามาย ความประพฤติดั้งเดิมก็กลับมามีบทบาทอีก คะแนนของ
กรรมดีถูกกรรมชั่วลบไปเสียมาก ทําใหตองใชเวลาเกือบ ๑๑ ป คือตั้งแต
พออายุ๒๐ปถึง๓๑ป(ค.ศ.๑๕๖๙-๑๕๗๙หรือพ.ศ.๒๑๑๒-๒๑๒๒)
จึงจะสามารถรวบรวมการทําความดีไดครบสามพันครั้ง

บังเอิญขณะนั้น พอไปเที่ยวนอกดานเสียกับเพื่อน จึงมิไดประกอบ


พิธีอุทิศบุญกุศลดังที่ตั้งจิตอธิษฐานไว จนกระทั่งรุงขึ้นอีกปหนึ่ง
(ค.ศ.๑๕๘๐ พ.ศ.๒๑๒๓) เมื่อกลับมาทางใตแลว จึงนิมนตทานซิ่งคงและ
ทานเฮวยคง ซึ่งลวนเปนพระเถระที่ทรงคุณวิเศษมาประกอบพิธีอุทิศกุศล
ผลบุญ ที่ไดเพียรทําตอเนื่องมาไดรวมสามพันครั้งตามที่ไดตั้งจิตอธิษฐาน
ไว แลวเริ ่มตั้งจิตอธิษฐานใหม ครั้งนี้ขอใหไดลูกที่ดี จะทําความดีอีกสาม
พันครั้ง พอรุงขึ้นอีกป (ค.ศ. ๑๕๘๑ พ.ศ.๒๑๒๔) พอก็ไดเจามา จึงตั้งชื่อ
ใหวาเทียนชี่แปลวาฟาประทาน

เวลาใดที่พอไดกระทําความดีทางกายกรรมก็ดี วจีกรรมก็ดี
มโนกรรมก็ดี พอจะใชพูกันบันทึกไวทันที แตแมเจาเขียนหนังสือไมเปน
เมื่อไดชวยพอกระทําความดีครั้งใด ก็ใชกานขนหานจิ้มชาด กดวงไวบน
ปฏิทิน บางวันใหทานคนยากจนหลายครั้ง ปลอยสัตวมีชีวิตมาก วันหนึ่งๆ
แมเจาวงไวถึงสิบกวาวงดวยกัน เพียงสองปกวาก็ทําใหไดครบสามพันครั้ง
อีก คราวนี้พอนิมนตพระเถระรูปกอนมาทําพิธีอุทิศบุญกุศลที่บานเราเอง
และเริ่มอธิษฐานขอใหสอบตําแหนงจิ้นซื่อได จะทําความดีใหครบหนึ่ง
หมื่นครั้ง ตอมาสามป พอก็สอบไดและไดเปนนายอําเภอในปนั้นเอง
(ประมาณค.ศ.๑๕๘๖พ.ศ.๒๑๒๙)

สมุดบริหารใจ

พอไดทําสมุดขึ้นมาเลมหนึ่ง ใหชื่อวาสมุดบริหารใจ ตอนเชาอันเปน


เวลาที่พอนั่งชําระความ พอไดใหคนนําสมุดนี้มาวางไวบนบัลลังกดวย ใน
แตละวันพอชําระคดีไวอยางใดบาง ก็จะบันทึกไวในสมุดเลมนี้อยาง
ละเอียดละออ เพื่อไวตรวจสอบดูวาจะมีอคติในการชําระความอยางไรบาง
หรือไม มีความยุติธรรมเพียงพอไหม ใหความเมตตาปราณีเพียงพอไหม
เพื่อจะไดไวแกไขในวันตอไป พอตกกลางคืนพอก็จะตั้งโตะไวที่กลางลาน
บานพอแตงตัวเต็มยศเพื่อแสดงความเคารพตอฟาดินแลวจุดธูปเทียนบูชา
ฟาดิน คุกเขาลงอานบันทึกนั้นแลวเผาถวายฟาดินไปหนึ่งชุด เก็บไวหนึ่ง
ชุด ที่พอทําเชนนี้เพราะพอเห็นตัวอยางอันดีงามนี้มาจากขุนนางผูใหญทาน
หนึ่งในสมัยราชวงศซง(ซอง) ที่ไดรับการจารึกไวในประวัติศาสตรจีนดวย
ความเคารพอยางสูง วาเปนผูที่มีความซื่อสัตยสุจริตมีความรับผิดชอบตอ
หนาที่ของทานเทากับชีวิตของทานเอง ไมยอมสยบตอขุนนางกังฉิน ดูแล
ความทุกขสุขของราษฎรและขุนนางใหญนอยอยางไมกลัวตาย ถามีการฉอ
ราษฎรบังหลวง มีการอาศัยหนาที่หรืออิทธิพลกอกรรมทําเข็ญกับชาวบาน
หรือขุนนางผูนอยแลวไซร แมผูนั้นจะเปนขุนนางผูใหญ เปนที่โปรดปราน
ของฮองเตสักเพียงใดก็ตาม ทานก็ไมเกรงกลัว เปนตองนําหลักฐานทูล
เกลาฯถวายฮองเตใหไดรับโทษานุโทษจงไดเมื่อทานสิ้นอายุขัยแลวจึงได
รับพระราชทานเกียรติยศอันสูงสงไดรับสถาปนาเปนที่ชิงเซี่ยงกงหมายถึง
ผูที่กราบทูลดวยความสะอาดบริสุทธิ์ใจ พออานชีวประวัติอันเกริกเกียรติ
ของทานแลวประทับใจมาก จึงถือเปนตัวอยางอันดีงามที่จะตองปฏิบัติ
ตามใหได เพื่อปองกันการชําระความของพอมิใหดางพรอยเสียความยุติ
ธรรมไปพอจึงกระทําเชนนี้ทุกคืน

ลดภาษีกุศลยิ่งใหญ

แมของเจาแสดงความวิตกใหพอฟงวา แตกอนอยูบานเราเอง ก็ชวย


กันทําบุญทําทาน โอกาสประกอบความดีมาก ไมกี่ปก็ไดครบสามพันครั้ง
แตตอนนี้เราอยูในสถานที่ราชการ ไมมีโอกาสสัมผัสกับความจนเหมือนแต
กอนความดีหนึ่งหมื่นครั้งเมื่อใดจะทําสําเร็จไดเลา

พอก็ไดแตรับฟง ในคืนวันนั้นจะวาบังเอิญหรือไมหนอ พอฝนเห็น


เทวดาองคหนึ่ง พอจึงปรับทุกขกับทานถึงเรื่องที่แมเจาวิตกกังวล ทานบอก
กับพอวา พอนั้นไมรูตัวเลย พอไดทําความดีครบหนึ่งหมื่นครั้งแลว เพียง
แตลดภาษีขาวใหแกราษฎรทั้งหมดที่อยูในความมปกครองของพอโดยทั่ว
หนากัน การบรรเทาภาระอันหนักของราษฎรเปนกุศลกรรมอันยิ่งใหญ
เพราะทําใหราษฎรเปนสุขขึ้น พอตื่นขึ้นมาก็นึกขึ้นไดวา พอไดทําไปเชน
นั้นจริงๆ เพราะเห็นใจราษฎรที่ตองเสียภาษีหนักเกินไป ทําไมเรื่องราว
เหลานี้ซึ่งพอเห็นเปนเรื่องเล็กนอย แตลวงรูถึงเทวดาฟาดินได และก็ยัง
สงสัยอยูวา ทําเพียงแคนี้ละหรือก็เปนความดีไดถึงหนึ่งหมื่นครั้ง บังเอิญ
ทานฝานอวี๋ยเถระ มาจากภูเขาอูถายซาน พอจึงกราบถามทานเพื่อใหหาย
สงสัย

ทานตอบวา

“กุศลกรรมใดก็ตาม ถาทําดวยความจริงใจบริสุทธิ์ใจ ไมหวังตอบ


แทนเปนสวนตัวแลวไซร แมกระทําครั้งเดียวก็เทากับกระทําหมื่นครั้งไดที
เดียว การที่พอเห็นความทุกขยากของราษฎร หาทางแกไขผอนหนักเปน
เบา ความสุขที่ราษฎรทั้งอําเภอไดรับ ยอมเปนกุศลกรรมอันยิ่งใหญ พอ
จึงเอาเงินเดือนของพอเดือนนั้น ถวายแกทานอวี๋ยเถระเพื่อใหทําอาหาร
มังสวิรัติถวายพระภิกษุในวัดของทาน ซึ่งมีประมาณหนึ่งหมื่นรูป และอุทิศ
กุศลกรรมทั้งมวลไปตามที่อธิษฐานเอาไว

ทานผูเฒาขงเคยพยากรณพอไววาพอจะมีอายุได๕๓ปเทานั้นพอก็
มิไดอธิษฐานใหตนเองมีอายุยืนยาวแตอยางใด แตปนั้นพอก็ไมเปนไรอยู
มาจนบัดนี้ พอมีอายุ ๖๙ ปแลว โบราณทานกลาวไววา ฟาดินนั้นสุดที่จะ
หยั่งรูได ชาตาชีวิตจึงเอาแนไมได ชีวิตของใครคนนั ้นก็ตองสรางอนาคต
เอาเอง จะใหคนอื่นสรางใหหาไดไม คําพูดนี้เปนความจริงที่พอพิสูจนได
ดวยตนเอง พอจึงเชื่อมั่นดวยความประจักษแจงแกใจของพอเองวา ความ
สุขความทุกข ลวนแตเกิดจากการกระทําของตนเองทั้งสิ้น ทําดีก็ดี ทําชั่วก็
ชั่ว เปนคําที่ทานนักปราชญโบราณกลาวกันตอๆ มาจนถึงบัดนี้ ถาใครยัง
เชื่อวาสุขทุกขเปนสิ่งที่ถูกลิขิตมาแลวอยางแนนอน แกไขไมไดแลวไซร
แมผูนั้นจะแสนฉลาดปราดเปรื่องอยางใด เขาก็ยังเปนปุถุชนอยู หาความ
กาวหนามิไดเลย

สําหรับตัวของลูกนั้น พอก็ยังไมทราบวาอนาคตจะเปนอยางใด แต
ขอใหลูกจําไววา แมลูกจะมีบุญวาสนาชาตาสูง ก็อยายึดมั่นวาจะเปนเชน
นั้นเสมอไป อาจจะมีวันที่ตกต่ําลงมาได ถาลูกไมรูจักการระวังตัว ยามใดที่
ลูกรูสึกชีวิตมีแตความราบรื่นปลอดโปรงสะดวกสบายไปทุกสิ่ง ลูกก็อยายึด
มั่นวาจะเปนเชนนั้นตลอดไป อาจจะมีวันที่ตองประสบความยุงยากเดือด
รอน ถาลูกไมตั้งตนอยูในศีลในธรรมอยูเสมอ ยามใดที่ลูกมีความเปนอยู
เหลือเฟอ เงินทองไหลมาเทมามีความสมบูรณพูนสุขทุกประการ ก็อยายึด
มั่นวาจะเปนเชนนั้นเสมอไป อาจจะมีสักวันหนึ่งที่ลูกจะตองตกระกําลําบาก
ระหกระเหิน แมที่จะคางกายสักคืนก็ทั้งยาก หากลูกไมรูจักใชเงินใหเปน
ประโยชนในทางที่ถูกที่ควร ทั้งแกตนเองและผูอื่น ยามใดที่มีคนนิยมชม
ชอบเคารพนบนอบตอลูกลูกจะตองทําตนใหเปนที่นาเคารพยิ่งๆขึ้นถอม
เนื้อถอมตัวดวยความจริงใจ มิใชเสแสรงแกลงทํา ปากอยางใจอยาง อวดดี
วางอํานาจ ยามใดที่ลูกไดรับยศถาบรรดาศักดิ์อันสูงสง ลูกก็อยายึดมั่นใน
โลกธรรมนั้นวาจะแนนอนเสมอไป ตองเตือนสติตนเองอยูเสมอวา สักวัน
หนึ่งยศศักดิ์ ชื่อเสียงเงินทองและความสุขทั้งมวลอาจจะพังพินาศไปใน
พริบตาเดียวก็ได ถาลูกไมหมั่นประกอบความดีใหยิ่งๆ ขึ้นไป แมลูกจะมี
ความรูความสามารรถเพียงใด ก็จงอยาทะนงตนวาใครก็สูไมได ลูกจะตอง
หมั่นฝกฝนเพื่อใหความรูแตกฉานยิ่งขึ้นถาลูกทําไดเชนนี้ลูกก็จะเปนผูที่มี
คุณธรรมอันสูงสง และคงความสูงสงนั้นไวได ไมมีวันที่จะตกต่ํา นอกจาก
วิบากแหงกรรมเกาซึ่งไมมีใครรูวาในชาติปางกอนๆ นั้น ลูกไดเคยทํา
อกุศลกรรมอะไรไวบาง วิบากแหงกรรมเกานั้นยอมใหผลเมื่อถึงเวลา
เสมอ แตถาลูกมีความดีมากจริงๆ แลว อกุศลกรรมบางอยางก็จะกลายเปน
อโหสิกรรมไปคือกรรมตามไมทัน

ลูกตองเคารพบรรพชน สรรเสริญคุณงามความดีของบรรพชนใหแผ
ไพศาล ลูกจะตองปกปดความผิดพลาดของพอแมไว อยาใหเปนที่เสื่อมเสีย
แกวงศตระกูลได ชาติบานเมืองเปนสิ่งที่จะตองเทิดทูนรักษาไวดวยชีวิต
ตองมีความซื่อสัตยสุจริตจงรักภักดีตอองคฮองเตมิรูคลาย ลูกจะตองสราง
ครอบครัว ใหมีความสุขความอบอุ นใจตลอดจนคนรับใช ลูกจะตองชวย
เหลือเกื้อกูลผูที่ยากไรใหไดทันทวงที ลูกจะตองมีจิตสํารวมระวังอินทรียอยู
ตลอดเวลาเพื่อปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นทางกายวาจาและใจ

ลูกจะตองสํารวจตรวจขอบกพรองในตัวของลูกเอง ทุกๆ วัน อยาได


ขาดและตองแกไขความผิดพลาดใหทันทวงทีทุกๆวันเชนกันวันใดลูกมอง
ไมเห็นความผิดพลาดของลูก ก็แสดงวาการปฏิบัติธรรมของลูกไมไดกาว
หนาไปเลยและกําลังถอยหลังแล วเพราะฉะนั้นลูกจะตองหาความผิดพลาด
ของตนเองใหพบ และแกไขใหไดทันทวงที มิฉะนั้นแลวลูกจะกาวหนาตอ
ไปไมไดเปนการเสียชาติเกิด

คําสั่งสอนของทานอวิ๋นกุเถระนั้น ชางล้ําลึกตรงตามสภาพธรรมและ
ความเปนจริงทุกประการ ซึ่งจะตองนํามาครุนคิด วิเคราะหวิจัยหาเหตุผล
เพื่ อให ประจั กษแจ งแก ใจของลู กเองและยึ ดถื อนํามาปฏิ บั ติ ตามคําสั่ งสอน
ของทานอยางเครงครัด ใหเกิดเปนจริงเปนจังขึ้นมาได จึงจะไมเสียแรงที่
เกิดมาแลวชาติหนึ่ง มิไดปลอยเวลาอันมีคาใหผานพนไปโดยไรประโยชน
เลย

โอวาทขอที่๒

วิธีแกไขความผิดพลาด

ในยุคชุนชิว (กอนค.ศ. ๗๗๐ - ๔๗๖ หรือกอน พ.ศ.๒๒๗ - ๖๗)


เปนระยะเวลาที่อํานาจของราชวงศ โจว (จิว) (กอน ค.ศ.๑๑๒๒ -๗๗๑
หรือ กอน พ.ศ. ๕๗๙ - ๒๒๘) เสื่อมถอยหัวเมืองใหญนอย ตางแข็งขอตั้ง
ตนเปนใหญ จิตใจคนจีนในยุคนี้ เสื่อมทรามโหดเหี้ยมมาก ลูกฆาพอ ขุน
นางฆาฮองเต นักปราชญทานขงจื ่อก็เกิดในยุคนี้ ทานเห็นวาเหตุการณจะ
รุนแรงยิ่งขึ้น ไมเปนผลดีตอประเทศชาติ จึงนําหนังสือเลมหนึ่งมีชื่อวา ชุน
ชิว ซึ่งเปนของแควนหลูมาปรับปรุงแกไขเสียใหม สวนที่ดีคงไวสวนที่ขาด
เพิ่มเติม บันทึกความชั่วรายในยุคนั้นไวอยางละเอียดละออ เพื่อเตือนใจคน
ไมใหนํามาเปนเยี่ยงอยาง ขุนนางในสมัยนั้นชางดูคนโดยสังเกตจากกิริยา
วาจา ก็สามารถคาดคะเนอนาคตของคนคนนั้นได สังคมขุนนางในสมัยนั้น
จึงมักนําบุคลิกของใครตอใครมาเปนหัวขอในการสนทนา พอจึงอยากให
ลูกคนหาสวนดีสวนเสียของหนังสือเลมนี้ แมจะเปนของโบร่ําโบราณ หาง
จากยุคเราเกือบสามพันปก็ตาม แตลูกก็จะไดประโยชนจากหนังสือนี้อยาง
เหลือลน นอกจากเลมนี้แลว ก็ยังมีอีกหลายเลม ที่บันทึกประวัติศาสตรใน
ระยะสามพันปนี้ลูกอานแลวจะไดเขาใจชีวิตดีขึ้นรูจักนําสวนดีของอดีตมา
เสริมสรางชีวิตอนาคตของลูกเอง ใหเพียบพรอมดวยความเปนคนที่มีศีล
ธรรมหลุดพนจากความเปนปุถุชนไดในที่สุด

ธรรมดานิมิตหรือลางสังหรณนั้น มักจะเกิดทางใจแลวปรากฏใหเห็น
ทางอิริยาบถ บุคลิกลักษณะจึงเปรียบประดุจกระจกเงา ฉายใหเห็นบุญ
วาสนาหรือเคราะหกรรมที่บุคคลนั้นๆ จะตองไดรับในอนาคต ปุถุชนมัก
มองไมเห็นบุคลิกลักษณะอันนาศึกษานี้ กลับเห็นวาเปนการคาดคะเนไม
แนนอน

ธรรมชาตินั้นมีความซื่อตรงยิ่งนัก หากเราเอาอยางธรรมชาติได จิต


ใจของเรานี้ก็จะผสมผสานเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับธรรมชาติซึ่งก็คือฟา
ดินนั่นเอง ฉะนั้น ลูกจงสังเกตพฤติกรรมของบุคคลตางๆ วาเขาชอบทํา
กรรมดีหรือกรรมชั่วถาเขาชอบทําแตกรรมดีทําไดครบตามมาตรการและ
สูงถึงมาตราฐานแลวไซร ก็จงแนใจเถิด วาเขาตองไดรับผลดีแน แตถาเขา
ชอบทําแตกรรมชั่ว ลูกก็จงแนใจเถิดวา เขาจะตองไดรับผลเลวรายตอบ
แทน หากลูกตองการความสุขและหางไกลความทุกข ลูกจะตองรูจักวิธีแก
ไขความผิดพลาดของตนเองเสียกอนดังนี้

ขอ ๑. ลูกจะตองมีความละอายตอการทําชั่ว ไมวาจะอยูตอหนาหรือ
ลับหลังผูคน ลูกลองคิดดูสิ นักปราชญแตครั้งโบราณมา ทานก็เปนชายอก
สามศอกเชนลูก แตไฉนทานเหลานั้นจึงไดรับความเคารพบูชาเปนปูชนีย
บุคคล แมกาลเวลาจะผานไปแลวเปนรอยชั่วคนก็ตาม สวนลูกนั้นเลายังคง
เปนกระเบื้องที่แตกเปนเสี่ยงๆ ในชีวิตยังไมไดสรางอะไรเปนชิ้นเปนอัน
เปนแกนสารใหปรากฏเลย ทั้งนี้เพราะลูกมัวหลงละเลิงอยูกับความสุขทาง
โลก เหมือนผาขาวที่ถูกสีตางๆ แปดเปอนเสียแลว ยอมหมดความบริสุทธิ์
ผุดผอง มักจะทําอะไรที่ไมสมควรทํา แตคิดวาผูอื่นไมลวงรู ตอไปก็ยิ่งเหิม
เกริมทําผิดมากขึ้นทุกที โดยไมมีความละอายตอบาป ลงทายก็เหมือนกับ
สัตวเดรัจฉานที่ไมสามารถรูวาตนเองกําลังทําอะไรอยู ในโลกนี้ จะมีอะไร
อีกเลาที่จะนาละอายไปกวาการที่ตนเองไมรูดีรูชั่ว นักปราชญทานเมิ่งจื่อจึง
ไดกลาวไววาความละอายและเกรงกลัวตอบาปนั้น เปนความยิ่งใหญของ
มนุษยในโลกนี้ ผูใดมีไวยอมไดชื่อวาเปนปราชญ ผูใดมิไดมีไวยอม
เหมือนสัตวเดรัจฉาน ลูกจึงตองเริ่มตนแกไขความผิดพลาดของตนเองดวย
กุศลธรรมขอนี้กอน

ขอ๒.ลูกจะตองมีความเกรงกลัวตอการทําชั่วเทพยดาอยูเบื้องบนผี
สางวิญญาณลวนมีรางโปรงแสงมีอยูเกลื่อนกลาดทุกหนทุกแหง ซึ่งนัยนตา
ของมนุษยธรรมดายอมมองไมเห็น ไมวาลูกจะทําผิดอะไรที่คนไมรู ผีสาง
เทวดาก็รูหมด ถารูทําความผิดรายแรง ลูกก็จะตองไดรับเคราะหกรรมไม
เบาทีเดียวละ ถาลูกทําผิดเพียงนิดหนอย ก็จะทําใหลูกไดรับความสุขที่กําลัง
ใหผลอยูในปจจุบันนอยลงทันที ลูกจะไมกลัวไดหรือ ไมเพียงเทานั้น ลูกจะ
ปกปดความผิดไวดีเพียงใด แตจะปกปดผีสางเทวดาหาไดไม เพราะแมแต
ในตัวลูกมีไสกี่ขด ทานเหลานั้นก็มองเห็นทะลุปรุโปรงอยูแลว หากวันใด
บังเอิญมีคนแอบรูเห็นเขา ลูกก็จะกลายเปนคนไรคาไปทีเดียว อยางนี้ลูกยัง
จะไมกลัวอีกหรือ
ไมเพียงเทานั้น หากลูกยังมีลมหายใจอยูแมจะทําความผิดลนฟา ก็
ยังมีโอกาสแกตัวได ถาลูกสํานึกในความผิดนั้นไดทันทวงที กาลกอนมีชาย
คนหนึ่ง ตลอดชีวิตของเขาชอบทําแตความชั่ว ครั้นพอใกลตายไดสํานึกผิด
เพียงขณะจิตเดียวและจิตสุดทายที่รูจักผิดชอบชั่วดี ก็ยังสามารถทําใหจิตที่
เกิดจากจิตขณะสุดทาย (จุติจิต) ไดปฏิสนธิในสุคติภพทันทวงที รอดจาก
การไปสูทุคติภพอยางหวุดหวิด และเมื่อเขาไดไปสูสุขคติภพเสียกอนแลว
จิ ตที่ รู จั กผิ ดชอบชั่ วดี ในวิ นาที สุ ดท ายนี้ก็ยอมเปนปจจัยใหเขาประกอบแต
กรรมดี หากเขาสามารถสั่งสมความดีไดมากกวากรรมชั่วที่เคยกระทํามา
เปนหมื่นเทาพันทวีแลวไซรวิบากแหงกรรมชั่วที่มิใชกรรมหนักนัก จักติด
ตามมาใหผลไมทันเสียแลว ดุจในถ้ําที่มืดมิดมานานนับพันป เพียงแตจุด
ไฟใหสวางเพียงดวงเดียว ก็สามารถขับไลความมืดมิดมานาน ใหหมดสิ้น
ไปในพริบตาเดียว ฉะนั้นลูกจงจําไววา ความผิดที่ลูกไดกระทําไวนานแลว
หรือเพิ่งกระทํา ขอใหรูสํานึกและแกไขเสียทันที ไมตองไปสูทุคติภพที่มีแต
ความทุกขทรมาน

แตลูกจะตองจดจําไวใหดีวา แมความผิดนั้นจะเปนสิ่งที่แกไขได ก็
อยานอนใจที่จะกระทําผิดบอยๆ อยานึกวาวันนี้เราทําผิดแคนี้ไมเปนไร
พรุงนี้เราจะแกไขไมทําอีกก็แลวกัน ถาคิดเชนนี้ก็ผิดจากวัตถุประสงคที่พอ
พร่ําสอนลูกมา อันความผิดที่เกิดจากรูวาผิดแลวยังจงใจทํา เปนมโนกรรม
ที่มีโทษหนัก แมลูกตั้งใจจะแกไขในวันพรุงนี้ก็อาจจะสายไปเสียแลวเพราะ
ในโลกแหงความวุนวายนี้ ใครจะรับประกันไดวาเราจะมีชีวิตอยูจนถึงวัน
พรุงนี้ มนุษยมีชีวิตอยูไดดวยลมหายใจ ถาลูกขาดลมหายใจเพียงครั้งเดียว
ชีวิตนี้ก็ไมใชของลูกเสียแลว ทุกสิ่งลูกก็นําติดตัวไปดวยไมได เพราะทุกสิ่ง
เปนรูปธรรม ไมมีใครเปนเจาของรูปธรรมไดชั่วนิรันดร สิ่งที่ติดตามลูกไป
มีเพียงกรรมดีกรรมชั่วเทานั้น อันเปนนามธรรมที่มนุษยมองไมเห็น จะ
สัมผัสไดดวยใจเทานั้น หากบุญยังมีเหลือพอไดกลับมาเกิดเปนมนุษยอีก ก็
จะเปนคนที่มีชื่อเสียงไมดีรอยปพันป แมจะมีลูกหลานที่ดีก็ไมสามารถชวย
ลูกไดหากกรรมหนักไมสามารถมาเกิดเปนมนุษยไดอีกก็ตองตกนรกหมก
ไหมทนทุกขทรมานไปชั่วกัปชั่วกัลป แมพระพุทธองคก็ทรงโปรดไมได
เพราะผูใดทํากรรมไว ผูนั้นเองเปนผูไดรับผลแหงกรรมนั้น ลูกยังไมกลัว
ไดหรือ

ขอ ๓. ลูกจะตองมีความกลาที่จะแกไขตนเอง มีกําลังที่จะแกไขอยาง
จริงจังไมทอถอย มีความเพียรอยางสม่ําเสมอไมใชทําบางหยุดบาง ความ
ผิดเล็กๆ นอยๆ เปรียบประดุจหนามตําอยูในเนื้อ ถารีบเรงบงออกเสียก็จะ
หายเจ็บทันทีหากเปนความผิดใหญหลวงก็เปรียบประดุจถูกงูพิษที่รายแรง
ขบกัดเอาที่นิ้วถาลูกไมกลาตัดนิ้วทิ้งพิษก็จะลุกลามไปถึงหัวใจและตายเอา
ไดงายๆ ลูกจะตองมีจิตใจที่เด็ดเดี่ยวกลาเผชิญความจริง รูตัววาผิดตรง
ไหนตองแกตรงนั้นทันทีอยาลีลอลังเลจะเสียการในภายหลังลูกจงศึกษา
วิชาปากวา (โปยกวย) ที่วาดวยความแข็งแกรงของฟา ความออนโยนของ
ดิน ความมีพลังของไฟ ความเยือกเย็นของน้ํา ความกึกกองของเสียงฟา
รอง ความแรงกลาของลม ความมั่นคงของขุนเขา และความเปนกระแส
ของสายธาร แลวลูกจะเขาใจถึงธรรมชาติแปดประการนี้ตางก็เปนปจจัยให
กันและกัน ในยามที่พายุมา เสียงฟารอง ลมก็เปนปจจัยใหฟารองดังยิ่งขึ้น
ฟาก็จะชวยลมใหมีกําลังพัดรุนแรงขึ้น ตัวอยางเหลานี้ถาลูกศึกษาใหเขาใจ
แลว ก็จะสามารถนําวิชาโปยกวยนี้มาประยุกตใชในชีวิตประจําวันใหเกิด
ประโยชนสุขแกลูกเองความผิดถูกชั่วดีลวนเปนปจจัยแกกันและกันเมื่อรู
วาผิดรีบแกไขเสียความถูกก็จะกลับคืนมาเมื่อทําดีอยูความชั่วไหนเลยจะ
มากล้ํากลาย ทั้งหมดนี้ขึ้นอยูกับความเด็ดเดี่ยวกลาหาญของลูกเองเทานั้น
จงจําไว

หิริโอตตัปปะ

เมื่อลูกมีความละอาย มีความเกรงกลัวตอการกระทําผิด และมีความ


กลาหาญเด็ดเดี่ยวที่จะแกไขความผิดพลาดของตนเองแลวไซร ความผิด
นั้นก็ยอมจะลดนอยถอยลงจนหมดไปในที่สุด เปรียบประดุจสายน้ําที่รวม
ตัวกลายเปนน้ําแข็งในฤดูใบไมผลิ เมื่อถูกแสงอาทิตยก็ยอมละลายกลาย
เปนน้ําดังเดิม แตความผิดพลาดของมนุษยนั้น ไมงายดั่งวาไปเสียทั้งหมด
บางสิ่งตองแกที่เหตุการณ บางสิ่งตองแกที่เหตุผล บางสิ่งตองแกที่ใจ วิธี
การแกไขยอมแตกต างกันออกไป ผลที่ไดก็ไมเหมือนกัน ลูกจงฟงใหดีเชน
เมื่อวานนี้เราฆาสัตว วันนี้เราตั้งใจไมฆาอีกตอไป หรือเมื่อวานเราโกรธ
ผรุสวาทไปมากมาย วันนี้เราตั้งใจไมโกรธอีกตอไป นี่คือการแกไขที่เหตุ
การณ ทําผิดแลวจึงคิดได ซึ่งไมคอยไดผล เพียงระงับไวชั่วคราว เผลอ
เมื่อใดเราก็จะทําผิดไดอีก

การแกไขจึงตองแกกอนที่จะมีการกระทําผิดเกิดขึ้น คือตองรูเหตุที่
จะกอใหเกิดความผิดไดเสียกอนเชน การฆาสัตว ถาเราเขาใจเสียกอนวา
ชีวิตใคร ใครก็รัก ไฉนจึงฆาสัตวอื่นเพื่อเลี้ยงชีวิตเราใหยืนยาวเลา ถามี
ใครทํากับเราบางอยางนี้ ลูกจะยอมหรือ อนึ่งการฆาสัตวนั้นทําใหเกิดความ
ทรมานเจ็บปวดแสนสาหัส นําสัตวมาตมในกระทะรอนๆ กวาจะตายก็แสบ
รอนไปทุกขุมขน แมเราจะบริโภคอาหารสัตวเอร็ดอรอยเพียงไร เมื่อเขา
ไปอยูในทองเราแลวก็จะเปลี่ยนเปนปฏิกูลตอไปถาเราบริโภคแตพืชผักผล
ไม เราก็อยูไดอยางเปนสุขเชนกัน ไมเดือดรอนอะไรไฉนจึงตองไปทําลาย
ชีวิตผูอื่นเพื่อความอิ่มเพียงชั่วยาม แตตองทําลายบุญที่มีอยูแลวใหนอยลง
และเพิ่มบาปใหมากขึ้นดวยเลา

ชีวิตที่ประกอบดวยเลือดเนื้อนั้น ยอมมีวิญญาณความรูสึกนึกคิดเชน
เดียวกับเรา ถาเราไมสามารถทําใหสัตวเหลานั้นมารักนับถือเราไววางใจ
เรา และอยากอยูใกลเราแลว เราก็อยาสรางความเคียดแคนชิงชังจนถึงขั้น
จองเวรจองกรรมกันขึ้นเลย ถาลูกคิดไดเชนนี้แลว ลูกก็จะกลืนเนื้อสัตว
เหลานั้นไมลงคอ เมื่อสมัยโบราณกาลในยุคหินใหม เรามีผูนําที่ทรงเปยม
ดวยพระเมตตากรุณา และทรงปรีชาสามารถยิ่งพระองคหนึ่ง ซึ่งมีพระนาม
วา ตี้ซุน กอนเสวยราชยโดยราษฎรพรอมใจกันเลือกทาน ทานเปนชาวนา
ระหวางที่ทํานาอยูนั้น จะมีชางมาชวยทานไถนา มีนกมาชวยทานถอนหญา
ซึ่งปจจุบันนี้ภาพเชนนี้หาดูไมไดอีกแลว ก็เพราะมนุษยขาดความเมตตา
การุณอยางใจจริงนั่นเอง

เรื่องความโกรธก็เชนกันถาเรารูจักคิดสักนิดวา คนนั้นแตกตางกัน
ทั้งทางนิสัยและสติปญญา ภูมิหนาภูมิหลังของแตละคนจึงไมเหมือนกัน
บางอยางเขาสูเราไมได บางอยางเราสูเขาไมได เมื่อเขาพลาดพลั้งไป ก็
ดวยความรูเทาไมถึงการณ เปนความโงเขลาเบาปญญา นาเห็นใจมากกวา
นาใหอภัยมากกวา ถึงแมเขาจะใหรายเรา ก็เปนเรื่องที่เขาทําผิดเอง เราไม
เดือดรอนนักก็จะไมเกิดความโกรธขึ้นมาไดเลย

ลูกจะตองคิดใหไดวาในโลกนี้ ไมมีใครเลยที่ไมเคยทําความผิด คนที่


อวดดีอวดวิเศษนั้น หาใชปราชญที่แทจริงไม คนที่มีความรูสมเปนนัก
ปราชญนั้นทานมักถอมตนคอยจับผิดตนเองไมกลาโกรธเคืองผูอื่นไมจับ
ผิดผูอื่นคอยสํารวจตนเองวาไดลวงเกินใครอยางไรบางหรือเปลายามมีคน
ลวงเกินตน ก็จะถามตนเองเสียกอนวาไดเคยลวงเกินเขาไวกอนหรือไม
ยามที่มีคนไมจริงใจตอตนก็จะถามตนเองเสียกอนวาไดเคยแสดงความไม
จริงใจตอเขากอนหรือไม เรามัวคิดเชนนี้ เราก็จักไมทันไดโกรธผูอื่น ยิ่ง
ถามตนเองแลวปรากฏวาไมเคยลวงเกิน ไมเคยไมจริงใจตอเขามากอน เรา
ก็ยิ่งไมสบายใจ รับเอาความผิดพลาดของผูอื่นมาเปนบทเรียนฝกฝนตนเอง
ตอไป เราก็จะกลายเปนคนดียิ่งๆ ขึ้น เมื่อคิดไดเชนนี้ ใครทําไมดีกับเรา
เราก็รับบทเรียนไวดวยความยินดี จิตใจไมขุนมัว จักมีความโกรธมาแต
ไหน

ถามีคนนินทาวารายลูก ลูกก็จะตองคิดใหไดวาเหมือนคนจุดกองไฟ
เผาฟา แมกองไฟจะมหึมาเพียงใด แตฟานั้นวางเปลาไมมีเชื้อที่จะติดไฟ
ได กองไฟจะลุกโชติชวงสักเพียงใด ก็จะไหมและมอดไปขางเดียวในที่สุด
คนที่วารายลูกเห็นลูกอยูในความสงบ ไมโกรธตอบไมตอบโต เขาก็จะหยุด
ไปเองเชนกัน เพราะการนินทาวารายนั้น เหมือนนําสีไปปายที่ผาขาว ผา
นั้นยอมยากที่จะขาวไดดังเดิม แมลูกจะมีเหตุผลดีอยางใด ก็ไมสามารถจะ
โตแยงใหขาวกระจางได เปรียบประดุจตัวไหมในฤดูใบไมผลิ หลงกินใบ
หมอนไปดิ้นไปยิ่งกระดุกกระดิกมากเทาไร ใยไหมก็ยิ่งผูกมัดตัวเองมาก
เทานั้น ความโกรธก็เชนกัน มีแตโทษหามีคุณไม ถาลูกสามารถใชเหตุผล
ใครครวญดูแลว ทุกสิ่งก็จะไมนาโกรธ ความโกรธก็จะไมเกิดขึ้นกับลูกอีก
เลย

แกไขที่ใจ

วิธีแกไขความผิดพลาดที่พูดไปแลว มีแกไขเมื่อเกิดความผิดขึ้นแลว
และแกไขเมื่อยังมิไดกระทําความผิด วิธีที่ดีที่สุดก็คือการแกไขที่ใจนั่นเอง
โบราณทานวาไว กิเลสพันหาตัณหารอยแปดก็ลวนเกิดที่ใจทั้งสิ้น ถาเรา
หามใจมิใหเกิดกิเลสตัณหาได ความผิดใดๆ ก็เกิดขึ้นไมไดทั้งสิ้น ดุจดั่ง
ดวงตะวันสาดแสงสองมาทางใด ความมืดก็หมดไป ปศาจยังตองหลบๆ
ซอนๆไมกลาออกมาเพนพ านเปรียบไดกับการโคนลมตนไมที่มีพิษลูกจะ
ตองขุดรากถอนโคนใหหมดสิ้นไปไมใชคอยๆลิดกิ่งปลิดใบซึ่งไมทันการ

สรุปแลวการแกที่ใจจึงจะเขาถึงความบริสุทธิ์ผุดผองไดอยางแทจริง
เพียงเกิดความรูสึกวาจะทําผิด ก็จะรูสึกตัวเสียกอนแลวดวยสติสัมปชัญญะ
ความผิดจึงเกิดขึ้นไมได นี่คือการยับยั้งชั่งใจที่ตองอบรมบมเพาะ ใหสติ
ประคองใจเราไวตลอดเวลา ทั้งหมดนี้ลูกจะตองใชวิจารณญาณใหถูกตอง
วาคราใดที่จะใชวิธีใด จึงจะเหมาะจะควร ถาลู กนําวิธีมาใชไมเหมาะไม
ควรก็จะไมทันการแลวลูกก็จะตองตกอยูในความโงตอไปไมมีทางไดดี

การตั้งปณิธานอันแนวแน ที่จะแกไขความผิดพลาดของตนเองก็ดี
การอธิษฐานอยูบอยๆ ตลอดคืนก็ดี ลวนแตจะชวยกระชับความหนักแนน
ใหแกลูก นอกจากนี้ยังตองมีกัลยาณมิตรคอยชวยเหลือตักเตือน มีผีสาง
เทวดาคอยดลใจ จิตใจของลูกตองเด็ดเดี่ยวแนวแนทั้งกลางวันกลางคืน ทุก
ขณะจิตทุกลมหายใจเขาออกเพียงสักหนึ่งหรือสองสัปดาหอยางชาก็ไม
เกินสามเดือนยอมปรากฏผลอยางแนนอน

ใจสงบกายสบาย

ลูกจงคอยสังเกตถึงจิตใจที่สงบขึ้น สติปญญาแจมใสสมองโปรง ไม
ปวดศีรษะ ทําอะไรก็ดูจะงายขึ้นเร็วขึ้นไมผิดพลาด ไมเครียดจนหงุดหงิด
ถาลูกพบคนที่ไมถูกโรคกันมากอน กลับรูสึกเฉยๆ แทนที่จะเกิดความอิด
หนาระอาใจอยางที่เคยเปนมา กลางคืนอาจจะฝนวาตนเองไดอาเจียนของ
ดําๆ ออกมา บางทีก็จะฝนเห็นนักปราชญโบราณมาสั่งสอนแนะนํา บางทีก็
จะฝนวาไดบินไปเที่ยวบนทองฟา บางทีก็จะเห็นเครื่องบูชาพระพุทธเจา
ลวนเปนนิมิตที่ดี เพื่อใหลูกรูวา บาปกรรมนั้นไดลดนอยลงแลว แตลูกอยา
ไดลําพองใจเปนอันขาด เพราะความเพียรของลูกจะหยุดกาวหนาไดทันทีที
เดียว

แตกอนนี้สมัยชุนชิว มีขุนนางในแควนเอวยทานหนึ่งเมื่ออายุไดยี่สิบ
ป ทานก็รูสึกตัววาตนเองไดทําผิดอะไรมาบาง และสามารถแกไขไดหมด
สิ้น ครั้นเมื่อทานอายุได ๒๑ ป ทานก็รูอีกวาที่คิดวาแกไขหมดแลวนั้น ที่
แทยังไมหมดจดดี ครั้นเมื่อทานอายุได ๒๒ ป ทานก็ยังเห็นอีกวายังเหลือ
ความผิดอะไรอยูบางเชนนี้ทุกปมาจนเมื่อทานอายุ๕๐ปก็ยังรูวาเมื่อทาน
อายุ ๔๙ ปนั้น มีความผิดที่ยังไมไดแกไขอะไรมาบาง ลูกจงดูไวเปนตัว
อยางวา คนโบราณนั้น ทานมีความจริงใจตอการแกไขเพื่อพัฒนาตนเอง
เพียงใด

พวกเราสมัยนี้ลวนแตเปนคนหยาบคาย มีความผิดติดตัวกันมากมาย
ราวกับตัวเหลือบที่เกาะเต็มไปหมด แตเราก็ไมเห็น ไมรูสึกวาอดีตนั้นเรา
ไดกระทําอะไรผิดพลาดมาบาง นี่ก็เพราะความหยาบของจิต มีดวงตาก็หา
มีแววไมนั่นเอง

ลูกจงสังเกตคนที่บาปหนา มักจะปรากฏบุคลิกที่อาภัพใหเห็นไดงายๆ
เชน เปนคนขี้หลงขี้ลืม ปวดหัวมึนงง งวงเหงาหาวนอน แมไมมีเรื่องราย
แรงอะไรเกิดขึ้น ก็มีจิตใจที่หงุดหงิด เศราซึมเลื่อนลอย ขี้หวาดกลัวหา
ความสุขความรื่นเริงไมได เห็นคนก็ไมกลาสบตาดวย ไมชอบฟงเทศนฟง
ธรรม บางทีทําดีกับใครก็กลับไดผลในทางตรงกันขาม กลางคืนนอนก็ฝน
ราย พูดจาเลอะเลือนจิตใจทอแท เหลานี้ลวนเปนนิมิตของคนบาปหนาทั้ง
สิ้น ถาลูกรูสึกตัววาเปนเชนนี้ ก็จงรีบหาทางแกไขโดยดวน อยาไดรั้งรออยู
เลย

โอวาทขอที่๓

วิธีสรางความดี

(โอวาทขอที่สองนั้น ทานเหลี่ยวฝานไดสอนวิธีแกไขความผิดในชีวิต
ปจจุบันแตการที่ไมทําผิดในชาตินี้ยังไมสามารถที่จะทําใหชีวิตเสวยผลดีมี
สุขตลอดไป เพราะเหตุวา แมชาตินี้จะมิไดกอกรรมทําเข็ญเพิ่มขึ้น แตเรา
จะรูไดอยางไรวา ชาติกอนๆ นี้เราทําความไมดีอะไรไวบาง ก็จะตองมี
แนๆ เพียงแตมากหรือนอยเทานั้น ที่เราไมอาจทราบได ซึ่งจะตองได รับ
วิบากแหงกรรมในชาตินี้ตอไป ฉะนั้น ไมเพียงแตเราจะตองละการทําชั่ว
แลว ยังตองสรางกรรมดีใหเพิ่มพูนขึ้น เพื่อหนีวิบากที่ไมดีในชาติปาง
กอนๆโอวาทขอที่สามนี้ทานเหลี่ยวฝานจึงสอนใหลูกทานรูจักสรางความ
ดี)

อดีตเปนตัวอยางอันดี

ลูกจะตองอานคัมภีรอี้จิงใหเขาใจอยางทะลุปรุโปรง เพราะเปนคัมภีร
ที่ดีมากเลมหนึ่ง เพียงหนาแรกก็ใหกําลังใจแกผูอานอยางมหาศาล โดย
กลาวไววาครอบครัวที่สั่งสมแตความดี ไมเพียงแตหัวหนาครอบครัวจะได
รับผลดีเทานั้น แมแตลูกหลานเหลนโหลนก็พลอยไดเสวยผลแหงความดี
นั้นดวย เพราะเหตุนี้ทานตาของทานขงจื่อนักปราชญอันเลื่องชื่อของจีน
ทานจึงยกลูกสาวของทานใหกับทานพอของทานขงจื่อ เพราะทานได
พิจารณาอยางถี่ถวนแลววา ชายที่จะมาเปนบุตรเขยของทานนั้น ไมเพียง
แตจะเปนผูประพฤติดีปฏิบัติชอบแลว ยังตองมีบรรพชนที่ประพฤติดีปฏิบัติ
ชอบมาหลายชั่วคนดวย และก็เปนความจริง ตระกูลนี้ไดกําเนิดนักปราชญ
ที่ชาวจีนทั้งประเทศตองสักการะบูชา เปนปูชนียบุคคลที่หายากในโลกผู
หนึ่ง คือทานขงจื่อไงละลูก ตอมา ทานขงจื่อไดสรรเสริญทานตี้ซุนวาเปนผู
มีความกตัญnู อยางยอดเยี่ยมหาใครเปรียบไดยาก บรรพชนของทานตี้ซุน
จะตองยินดีปรีดาที่มีลูกหลานที่ดีเชนนี้มาเซนไหวบูชาดวยลูกศึกษาประวัติ
ศาสตรสมัยชุนชิวแลว ลูกก็จะเขาใจวา ลูกหลานของทานตี้ซุนก็คือแควน
เฉินทั้งหมดไดมีความรุงเรืองอยูนานหลายชั่วคนทีเดียว

อดีตจึงเปนตัวอยางอันดีที่ลูกจะไดศึกษา ทําความเขาใจใหรูแจงเห็น
จริงและจดจํามาแตสิ่งที่ดีงามเพื่อประยุกตใชในชีวิตประจําวันของลูกเอง

ชวยแตคนไมสนทรัพยสิน

มีขุนนางทานหนึ่งมีหนาที่ถวายอักษรฮองเต เมื่อยังทรงพระเยาว
ทานผูนี้มีบรรพชนที่ยึดอาชีพแจวเรือจางมาหลายชั่วคน มีอยูครั้งหนึ่ง ตั้ง
แตพระอาจารยยังไมเกิดฝนตกนานจนน้ําทวมตลิ่งกระแสน้ําไดพัดพา
ชีวิตผูคนและทรัพยสินลอยตามน้ํามามากมาย ชาวเรือจางตางก็สาละวน
เก็บทรัพยสินขึ้นเรือเปนของตนมีแตทานทวดและทานปูของอาจารยทานนี้
เทานั้น ที่ไมยอมแตะตองสิ่งของใดๆ เลย ตั้งหนาตั้งตาช วยชีวิตคนที่ลอย
ตามกระแสน้ําอันเชี่ยวกรากมา ใครๆ ก็พากันหัวเราะเยาะวาทานทั้งสอง
เปนคนโงไมรูจักฉวยโอกาสหาความร่ํารวยใสตนแตการณหาเปนเชนนั้น
ไม เมื่อทานปูไดลูกชาย คือทานบิดาของพระอาจารยนี้ ความเปนอยูของ
ทานกลับไมลําบากดังแตกอน ครอบครัวมีความสุขสบายขึ้น ทานทวดสิ้น
บุญไปแลว ตอมาทานปูก็ถึงแกกรรมลง มีเตาหยินทานหนึ่งซึ่งเชื่อกันมาวา
เปนเทวดาแปลงรางมาปรากฏ ไดแนะนําใหทานพอของพระอาจารยนําศพ
ของทานทวดและทานปูไปฝงรวมกันในที่แหงหนึ่งใกลบานซึ่งเปนชัยภูมิที่
ดีมาก เปนมงคลแกลูกหลานตอไป ทุกวันนี้ฮวงจุยกระตายขาวนี้เปนที่เลื่อง
ลือกลาวขวัญกันทั่วทุกทิศ สดุดีในเกียรติคุณของคนแจวเรือจางที่เปนทาน
ทวดและทานปูของพระอาจารย เมื่อพระอาจารยถือกําเนิด พออายุได ๒๐
ป ก็สอบไลไดตามขั้นตอนทั้งหมด ไดรับราชการเปนขุนนาง จนไดเปน
พระอาจารยถวายอักษรแดฮ องเต เมื่อฮองเตทรงทราบถึงคุณงามความดี
ของทานทวดและทานปูของพระอาจารย ก็ไดโปรดเกลาฯ พระราชทานยศ
ขุนนางใหกับทานทวดทานปูของพระอาจารยอีกดวย เพื่อเปนการแสดงให
ปรากฏวาการทําความดีงามนั้นยอมไดรับสิ่งที่ดีงาม สมควรเปนแบบอยาง
แกบุคคลทั่วไปแมชีวิตหาไมแลวก็ตามอนึ่งลูกหลานของพระอาจารยก็ได
รับราชการเปนใหญเปนโตตราบจนทุกวันนี้มากมาย

จิตที่เปยมดวยเมตตาสยบความดุรายได

มีเสมียนอําเภอทานหนึ่ง แมจะมีตําแหนงเล็กๆ แตจิตใจนั้นเปยม


ดวยเมตตาธรรมเปนคนรักษาระเบียบของราชการอยางเครงครัด มีความ
ยุติธรรมเปนที่ตั้งไมทําในสิ่งที่ผิดศีลธรรมสวนนายอําเภอนั้นเปนคนดุราย
อยูมาวันหนึ่ง นายอําเภอสั่งเฆี่ยนผูตองหาที่ไมยอมรับสารภาพ ตีจนเนื้อ
แตกเลือดไหลนองพื้น ก็ยังไมหายโกรธ เสมียนอําเภอทนเห็นความทารุณ
ไมไหว จึงคุกเขาที่หนาโตะวาความของนายอําเภอ ขอใหปราณีนักโทษ
หยุดตีเสียที นายอําเภอตอบวา ปราณีนะได แตผูตองหาคนนี้ไมรักษา
กฎหมาย ไมมีศีลธรรม จะไมใหโกรธกระไรได เสมียนอําเภอจึงโขกศีรษะ
ลงกับพื้นพลางพูดวา ผูที่เปนขุนนาง ถาไมชําระความตามเหตุผลขอเท็จ
จริง เอาแตอารมณตนเปนใหญ ราษฎรยอมไมมีตัวอยางอันดีงามให
ประพฤติปฏิบัติตาม จิตใจของราษฎรหาที่ยึดเหนี่ยวเปนสรณะไมได การ
ชําระความนั้นแมจะสอบสวนไดความจริงออกมาแลว ก็ไมควรดีใจ จะทํา
ให เกิ ดความประมาทเลิ นเล อไม ได ความจริ งที่ อยู ลึ กกว าความจริ งผิ วเผิ น
ทําใหการชําระความผิดพลาดไดงาย แมจะไดความจริงทั้งหมดออกมาแลว
ก็ยังไมควรดีใจ ควรจะเสียใจและเห็นใจ ที่เขาทําผิดไปโดยความจงใจก็ดี
เพราะความรูเทาไมถึงการณก็ดี ยังตองนําเมตตาธรรมมารวมการวินิจฉัย
คดีความดวย ทางใดที่จะผอนหนักเปนเบาได ก็ควรใหโอกาสเขากลับตัว
กลับใจ เปนคนดีตอไป ถาแสดงความโกรธมากมายเชนนี้ ผูตองหาเกรง
อาญา ก็ยอมรับเสียกอน ทั้งๆ ที่ตนมิไดทําผิดดังที่ถูกกลาวหา จะมิเปนการ
ปกปรําราษฎรไปหรือ ดีใจยังเปนการไมบังควร จักโกรธไดที่ไหน นาย
อําเภอสํานึกในคําพูดของเสมียนอําเภอ แตนั้นมาก็ไมกลาแสดงความโกรธ
ความดีใจในขณะที่ชําระความอีกเลย

เสมียนอําเภอทานนี้ฐานะยากจนมาก เพราะมีแตเงินเดือนขั้นต่ํา ไม
เคยขูดรีดราษฎรไมยอมรับของกํานัลจากใคร มีแตชวยนักโทษ วันหนึ่ง มี
ผูตองหาหลายคนที่อดอยากมาตลอดทางจากหัวเมืองไกล หนาตาซีดเซียว
หมดเรี่ยวหมดแรง หนาหาสีเลือดไมไดแลว เปนที่สังเวชใจยิ่งนัก บังเอิญที่
บานของเสมียนอําเภอทานนี้ ขาวสารก็กําลังจะหมด เหลืออยูมื้อสุดทายเทา
นั้นถานํามาใหผูตองหาเหลานี้แลวทานและภรรยาก็ตองอดขาวมื้อนั้นดวย
ทานจึงปรึกษากับภรรยาเพื่อใหภรรยาเปนผูตัดสินใจ ตกลงทั้งสองยอมสละ
ความมื้อนั้น นํามาตมขาวตมเลี้ยงผูตองหาทั้งหมด ตอมาภรรยาของทานก็
ใหกําเนิดบุตรชายสองคน ลวนแตไดเปนขุนนางผูใหญในเวลาตอมา และ
หลานของทานอีกสองคนก็ไดเปนขุนนางผูใหญเชนกัน

คุณธรรมล้ําเลิศเพราะปญญา

สมัยพระเจาอิงจงฮองเต (ค.ศ.๑๔๓๖ - ๑๔๔๙ หรือ พ.ศ. ๑๙๗๙ -


๑๙๙๒) มีขุนโจรกอกวนจลาจลขึ้นที่เมืองฝูเจี้ยน มีราษฎรและนักศึกษา
สนับสนุนขุนโจรกันมากมาย ฮองเตจึงโปรดใหนายทหารคุมกองทัพออก
ปราบปราม นายทหารทานนี้หาทางจับเปนขุนโจรไดโดยไมสูญเสียชีวิต
ไพรพลและราษฎรเลย ตอมาทางดานตะวันออกของเมืองฝูเจี้ยนยังมีสมุน
ขุนโจรหลงเหลืออยูมากมาย นายทหารทานนี้จึงบัญชาใหขุนนางแซเจี่ยใน
กรมมหาดไทยของเมืองนั้น ใหออกกวาดลางแทนท าน ถาจับไดใหฆาให
หมดสิ้น แตทานเจี่ยไมยอมปฏิบัติตาม ทานกลับใหคนไปลอบแจงแก
ราษฎรวา ถาใครไมเขาขางโจรก็ใหเอาผาขาวมาแขวนไวที่หนาประตูบาน
ถาบานใดมีผาขาวแขวนอยู ก็จะไมถูกลงโทษใดๆ ทั้งสิ้น เปนอันวาครั้ง
กระนั้น ราษฎรและนักศึกษารอดตายประมาณหนึ่งหมื่นคน ทานเจี่ยมีคุณ
ธรรมล้ําเลิศ ตอมาบุตรชายสอบไดที่ ๑ ไดเปนจอหงวน รับราชการจนได
เปนไจเซี่ยง ซึ่งเปนตําแหนงสูงสุดในราชการฝายบุน (ฝายบริหารประเทศ)
และหลานชายของทานเจี่ยตอมาก็สอบไดที่๓ไดรับราชการเชนกัน

ใหทานตองไมอิดหนาระอาใจ

ที่เมืองฝูเจี้ยน มีตระกูลหนึ่งแซหลินบรรพสตรีทานหนึ่งเปนผูใจบุญ
มากชอบทําขนมเลี้ยงคนจนใครมาขอขนมก็รีบกุลีกุจอตักใหไมเคยแสดง
สีหนารังเกียจเดียดฉันทตอมามีเทวดาแปลงรางเปนเตาหยินมาขอขนม
คุณยายทานนี้ทุกเชาและขอมากๆเสียดวยทานก็ไมเคยบนวาตักใหมากๆ
ทุกวันเปนเวลาสามป ตลอดระยะสามปนี้ไมเคยขาดเลยแมแตวันเดียว ไม
เคยใหนอย ไมเคยเบื่อหนายตอการให สามปประดุจหนึ่งวัน เตาหยินแอบ
ชมเชยนางอยูในใจวา จะหาใครใหทานไดสม่ําเสมอโดยไมอิดหนาระอาใจ
เชนนี้ไมไดอีกแลว ทานจึงพูดกับนางวา อาตมาฉันขนมของทานมาเปน
เวลาสามปแลว จึงใครจะขอตอบแทนพระคุณทานเสียที ที่หลังบานของ
ทานมีที่วางอยู ถาทานทําฮวงจุยในบริเวณนี้ได ตอไปลูกหลานอีกหลายๆ
ชั่วคนของทานจะไดเปนขุนนาง ถาจะเปรียบก็พูดไดวา จะเปนขุนนางมาก
มายเทากับเมล็ดงาหนึ่งถังใหญทีเดียว ทานลองคิดดูแลวกันเมล็ดงานั้นเล็ก
เพียงไร อยูในถังใหญๆ จะมีปริมาณมากเพียงไร ตอมานางไดถึงแกกรรม
ลง บุตรชายจึงนําไปฝงไวในที่นี้ อีกไมนาน ตระกูลนี้เขาสอบครั้งแรก ก็
สอบไดถึงเกาคน และไดเปนขุนนางทั้งหมดเชนกัน ไดเปนขุนนางทุกชั่ว
คน จนมีคําร่ําลือกันไปทั่ววา ไมเคยมีครั้งใดที่การสอบไลจะไมมีคนใน
ตระกูลหลินติดอันดับ

ชวยชีวิตตองฉับพลัน

อีกตระกูลหนึ่งคือตระกูลเฝง บุตรชายรับราชการในกองประวัติ
ศาสตรแหงชาติกอนหนานั้นบิดาสอบไดเปนที่ซิ่วฉาย ทุกเชาจะตองไป
เรียนตอที่อําเภอ อยูมาวันหนึ่งอากาศหนาวจัดมาก ทานเดินไปตามทาง
พบคนนอนหนาวจมหิมะอยู คลําดูปรากฏวาแข็งไปครึ่งตัวแลว ทานรีบ
ถอดเสื้อหนาวออกใสให พยุงใหลุกขึ้นพากลับมาบานของทาน ชวยประคบ
ประหงมจนพื้นดีดังเดิม คืนนั้นทานฝนไปวา มีเทวดาองคหนึ่งมาพูดกับ
ทานวา

“เปนการยากยิ่งนัก ที่เจาสามารถชวยเหลือคนใหฟนจากรอดตายได
อยางหวุดหวิดเราจะใหหานฉีมาเกิดในตระกูลของเจา”

ตอมาบุตรชายที่ทํางานกองประวัติศาสตรอยูในเวลานี้ก็เกิดมา จึง
ขนานนามวาฉี ตามที่ฝนไป หานฉีทานเกิดในสมัยราชวศซง (ซอง)
(ค.ศ. ๙๖๐ - ๑๑๒๗ หรือ พ.ศ. ๑๕๐๓ - ๑๖๗๐) เปนขุนนางในตําแหนง
ไจเซี่ยงถึงสองรัชกาล คือพระเจาอิงจงฮองเต (ค.ศ. ๑๐๖๘ -๑๐๘๕ หรือ
พ.ศ.๑๖๑๑-๑๖๒๘)เปนที่รักของคนทั่วไปและเปนที่เกรงขามของชาว
ตางประเทศยิ่งนัก เกียรติคุณของทานแผไพศาล เมื่อถึงแกอนิจกรรมแลว
พระเจาสินจงฮองเตไดโปรดเกลาสถาปนาเปนที่จงเซี่ยนกง เปนเกียรติยศ
อันสูงสุดที่ไดรับการขนานนามวา เปนผูที่อุทิศตนเองเพื่อความจงรักภักดี
และรักชาติยิ่ง

ชวยเหลือทั่วหนา

มีขุนนางทานหนึ่งแซอิ้ง เมื่อตอนที่ทานอยูในวัยกลางคน ไดเปนซิ่ว


ฉายแลว แตยังไมไดเปนขุนนาง จึงไปนั่งทองตําราที่ชายเขาแหงหนึ่ง ซึ่ง
ปลอดจากผูคนมารบกวน มีเสียงปศาจรองระงมชุมนุมกันอยูในบริเวณนั้น
ทานแซอิ้งก็ไมกลัว อยูมาคืนหนึ่ง ทานไดยินเสียงปศาจคุยกันวา มีผูหญิงผู
หนึ่ง สามีเดินทางไปหากินยังแดนไกลนานแลวไมกลับมา พอผัวแมผัวก็
เลยบังคับใหแตงงานเสียใหมผูหญิงไมยอมจะมาแขวนคอตายบริเวณนี้ใน
คืนพรุงนี้ ปศาจตนหนึ่งซึ่งผูกคอตายมาเหมือนกัน เมื่อมีคนมาแทนก็จักได
ไปเกิดใหมเสียที ทานแซอิ้งไดยินเขาก็บังเกิดความเห็นใจผูหญิงคนนี้ขึ้น
มาจับใจ จึงนําที่นาของตนไปขายอยางเงียบๆ ไดเงินมาสี่ตําลึง เขียนจด
หมายขึ้นมาฉบับหนึ่ง แลวสงไปยังบานของแมผัวพอผัวของผูหญิงคนนั้น
พอแมเห็นจดหมายก็รูวาไมใชลายมือของบุตรตนพากันสงสัยแตแลวก็ลง
ความเห็นวาจดหมายนั้นอาจปลอมกันไดแตเงินนั้นถาไมใชลูกแลวจะเปน
ใครสงมาใหเลา ก็เชื่อกันวาลูกของตนคงสุขสบายดี จึงสงเงินมาใหพอแม
ใช ก็เลยกลับใจไมบังคับใหลูกสะใภไปแตงงานใหม ตอมาบุตรชายของตน
กลับมาสามีภรรยาก็ไดอยูกินเปนปกติสุขตลอดมา

อยูมาอีกคืนหนึ่งทานแซอิ้งก็ไดยินปศาจพูดวา

“ฉันนะจะมีคนตายแทนแลวเชียวนาแตซิ่วฉายนี่ทําเสียเรื่องหมด”

ปศาจอีกตนหนึ่งก็พูดขึ้นวา“งั้นเราก็ชวยกันฆาเสียเถอะ”

ปศาจตนแรกบอกวา “ไมไดหรอก เพราะเทพเจาเบื้องบนเห็นเขา


เปนคนใจดี ไดแตงตั้งใหเขาเปนขุนนางในยมโลก ใครก็ทําลายเขาไมได
เสียแลว”

ทานแซอิ้งไดฟงเชนนั้น ก็ยิ่งมีกําลังใจที่จะทําดียิ่งๆ ขึ้น ยามเกิด


ทุพภิกขภัยก็นําขาวและอาหารไปแจกจายแกผูอดอยาก ยามเมื่อญาติมิตร
เดือดรอน ก็ชวยเหลืออยางเต็มความสามารถ ยามประสบภัยพิบัติ ก็ไมเคย
โทษฟาโทษดิน กลับโทษตนเองวาไดกออกุศลกรรมมาจึงยอมรับสถาน
การณอันเลวรายไดอยางสงบ เมื่อไดเปนขุนนางแลว ลูกหลานก็ยังไดเปน
ขุนนางอีกมากมาย

ชวยตองทันที

มีซิ่วฉายทานหนึ่งแซสวี๋ย บิดาเปนผูมั่งคั่งในเมืองซูโจว มีอยูปหนึ่ง


ฝนแลงมากทานจึงใหชาวนาทํานาของทานฟรีไมเก็บคาเชานาเลยเปนตัว
อยางอันดีงามที่เจาของนาทั้งหลายก็ปฏิบัติตามเชนกันไมเพียงเทานั้นทาน
ยังนําขาวที่เก็บไวมาแจกจายแกคนยากไรอีกดวย พอตกกลางคืนก็ไดยิน
เสียงปศาจมารองวา

“แมจะพูดสักพันครั้งหรือสักหมื่นครั้ง ขาพเจาขอยืนยันวาเปนความ
จริงที่ซิ่วฉายในตระกูลสวี๋ยนี้จะไดเปนจวี่ยเหยินแลว”

ปศาจรองติดตอกันนาน จนกระทั่งวันหนึ่ง เมื่อมีการสอบไลซิ่วฉาย


ทานนี้ก็ไปสอบกับเขาดวย ปรากฏวาสอบไดเปนจวี๋ยเหยินจริงตามที่ปศาจ
มารอง บิดาของทานเห็นวาการทําดีเพียงเทานี้ ยังไดผลดีถึงเพียงนี้ ทานก็
ยิ่งมุมานะทําดียิ่งๆ ขึ้น สะพานชํารุดทานก็ใหคนไปซ อมเสียใหดี ถนนหน
ทางขรุขระสัญจรไมสะดวก ทานก็ใหคนไปซอมใหเรียบรอย ภิกษุที่ไมมี
โยมอุปฏฐาก ทานก็ทําสํารับกับขาวไปถวายทุกวัน ใครขาดแคลนขาวปลา
อาหารเสื้อผาและอื่นๆ ทานก็เจือจุนอยูเสมอ ไมใหอดอยากยากไร ไมวา
ใครจะมีเรื่องทุกขรอนอยางไร ทานชวยไดเปนชวยทันที ตอมาปศาจก็มา
รองอีกทุกคืนวา
“แมจะพูดสักพันครั้งหรือหมื่นครั้ง ขาพเจาขอยืนยันวาเปนความจริง
ที่จวี่ยในตระกูลสวี่ยนี้ จะไดเปนขุนนางผูใหญที่มีตําแหนงสูงสุดในภูธร”
ตอมาก็เปนเชนนั้นจริงๆ

การใหความยุติธรรมเปนความยิ่งใหญ

มีขุนนางอีกทานหนึ่งแซถู รับราชการอยูในเรือนจําที่เมืองเจียฟาง
ทานพักอยูในเรือนจํา มีเวลาวางทานก็จะไปคุยกับพวกนักโทษ เพื่อจะไดรู
ความจริงวานักโทษนั้นทําผิดจริงหรือเปลา ปรากฏวามีนักโทษหลายคนที่
ไมไดกระทําผิดตามที่ถูกกลาวหา ทานจึงทําบันทึกไปมอบใหผูบังคับบัญชา
การพิจารณาโทษในสมัยนั้นก็ตองผานการพิจารณาคดีสามขั้นตอนดวยกัน
เมื่อสอบสวนไดความอยางใด ในทองที่ที่เกิดเหตุแลว ก็สงตัวนักโทษมายัง
คณะกรรมการอีกชุดหนึ่งที่จะสอบสวนอีกครั้งหนึ่ง เมื่อไดความอยางไร
แลวก็นําทูลเกลาฯถวายฮองเตใหทรงวินิจฉัยอีกทีหนึ่ง โดยแยกเสนอนัก
โทษออกเปนสามประเภท คือประเภทที่หนึ่ง กระทําผิดจริง ประเภทที่สอง
เปนนักโทษที่รอลงอาญาได ประเภทที่สาม เปนนักโทษที่ควรใหอภัยโทษ
ทั้งหมดนี้สุดแลวแตฮองเตจะทรงวินิจฉัยอยางใดอยางหนึ่ง ถารับสั่งให
ประหารก็ประหารทันที สวนพวกที่รอลงอาญา ถาโชคดีก็อาจจะไดรับพระ
ราชทานอภัยโทษในวันสําคัญของฮองเต ทานแซถูนี้ เมื่อทานสอบสวนได
ความจริงจากนักโทษแลว ทานก็ทําบันทึกสงใหผูบังคับบัญชา ธรรมเนียม
ในสมัยนั้น ถาผูใดสามารถสืบไดความจริงวานักโทษไมผิดแตถูกปรักปรํา
ก็จะไดความดีความชอบ แตทานแซถูนี้ ทานมิไดคิดเอาดีเอาชอบ กลับยก
ความดีความชอบนั้น ใหแกผูบังคับบัญชาของตน มีความประสงคแตจะ
ชวยแกทุกขใหกับนักโทษเทานั้น นักโทษถูกปลดปลอยเพราะทานในขณะ
นั้นสิบกวาคน ราษฎรตางพากันชื่นชมยินดี โดยไมทราบวาที่แทเปนการ
ปดทองหลังพระของทานแซถูนั่นเอง ทานแซถูยังเสนอตอผูบังคับบัญชาวา
ในเมืองหลวงแทๆ ยังมีผูถูกปรักปรํามากมายเชนนี้ ถาหัวเมืองที่ไกลปน
เที่ยงออกไป จะไดรับความอยุติธรรมขนาดไหน ควรที่จะแตงตั้งคนดีมี
ความยุติธรรมเปนผูตรวจการไปรื้อฟนคดีมาพิจารณาวา ไดพิพากษาลง
โทษสมควรแก โทษหรือเปลา ถาหนักไปก็ควรผอนใหเบาลง ถาเบาไปก็
ตองเพิ่มใหหนักขึ้นไปอีก เพื่อทรงความยุติธรรมไว ผูใดมิไดกระทําผิดก็
สมควรปลอยตัวไปเสีย ฮองเตทรงเห็นชอบดวยจึงทรงแตงตั้งขุนนางแยก
ยายกันไปตามหัวเมืองนอยใหญ ทานแซถูก็ไดรับการแตงตั้งดวย อยูมาคืน
หนึ่งทานฝนไปวามีเทวดามาชมเชยทานวาการกระทําของทานเปนที่ถูกใจ
ฟาดินมาก ความจริงทานแซถูมีชาตาชีวิตที่ไรบุตรสืบสกุล แตเนื่องจาก
ความดีครั้งนี้ใหญหลวงนัก ฟาดินจึงประทานบุตรชายใหทานสามคน ตอ
ไปจะไดเปนขุนนางผูใหญทั้งสิ้นตอมาความฝนนั้นก็กลายเปนความจริง

จาคะดวยเมตตาการุณ

มีอีกทานหนึ่งแซเปา บิดาทานเปนขุนนางตําแหนงขาหลวง ทานมีพี่


นองเจ็ดคน ทานเปนลูกคนสุดทอง แตงงานแลวก็ไปอยูบานพอตาแมยาย
ทานชอบพอกับทานบิดาของพอมาก ไปมาหาสูเสมอ ทานเปนคนเกงมี
ความรูมากมาย แตเสียดายที่สอบเปนจวี่ยเหยินตกทุกป ทานสนใจพระ
พุทธศาสนาและลัทธิเตามาก วันหนึ่งทานไปเที่ยวที่ทะเลสาบแหงหนึ่ง ไป
พบศาลเจาเกาๆ มีสภาพทรุดโทรมมาก เขาไปในศาลก็เห็นรูปเทพเจากวน
อิมยืนตากฝนเปยกอยู ทานจึงหยิบเงินในกระเปาของทานซึ่งมีอยูสิบตําลึง
ถวายทานเจาอาวาสใหซอมแซมใหดีดวย ทานเจาอาวาสบอกวา เงินเพียง
เทานี้ไมเพียงพอที่จะซอมแซมไดหมดทานจึงหยิบผาที่เพิ่งซื้อมาสี่พับ กับ
เสื้อที่ติดตัวมาดวยอีกเจ็ดชุดถวายแกเจาอาวาสคนใชไดคานขึ้นวาเสื้อผา
เหลานี้ลวนเพิ่งทํามาใหมๆ แลวทานจะใชอะไรมาแทนเลา ทานบอกวาชาง
เถิด ขอใหเทพเจากวนอิมไมตองตากแดดตากฝนก็พอใจแลว เราไมมีเสื้อ
ผาใสจะเปนไรไป ทานเจาอาวาสไดฟงแลวประทับใจมาก รองไหพลางพูด
วา ของที่ใหมานั้นหาไมยากดอก แตน้ําใจเชนนี้สิ จะหาไดจากที่ไหน ครั้น
ซอมแซมเรียบรอยแลว ทานแซเปาก็ชวนทานบิดาใหไปไหวเจาดวยกัน
คืนนั้นคางอยูที่วัด ตกดึกก็มีเทพเจามาเขาฝนทานบิดาวา ขอบใจที่มาชวย
ใหไมตองเปยกฝนอีกแลว ตอไป บุตรหลานของทานจะไดเปนใหญเปนโต
ในราชการมากมายตอมาก็เปนเชนนั้นจริงๆ

ยุติธรรมค้ําจุนโลก

อีกทานหนึ่งแซจือ ทานบิดารับราชการอยูในกรมราชทัณฑ อยูมาวัน


หนึ่งมีนักโทษประหารคนหนึ่ง ซึ่งถูกปรักปรําโดยไมไดทําผิดอันใดเลย
ทานบิดาสงสารมากจึงปลอบใจนักโทษวาอยาเปนทุกขไปเลย จะชวยเหลือ
นักโทษจึงปรับทุกขกับภรรยาวา เราซาบซึ้งในบุญคุณอันนี้ยิ่งนัก แตนา
ละอายใจที่เรายากจนมาก ไมมีสิ่งของอันใดพอที่จะนํามาตอบแทนพระคุณ
ทาน ก็เห็นมีแตเจาเทานั้นที่จะชวยเหลือเราได พรุงนี้เมื่อทานไปทําการ
สอบสวนที่บาน เจาจงบอกกับทานตามตรงวา เราขอยกเจาใหเปนภรรยา
ของทาน นางไมอยากทําเชนนี้ก็ไดแตรองไหพลางรับปากไปพลางดวย
ความสลดใจยิ่ง แตการณกลับผิดคาด ทานบิดาของทานแซจือไมยอมรับ
และช วยเหลือจนสําเร็จ เมื่อออกจากที่คุมขังแลว สองสามีภรรยาก็เดินทาง
มาขอบพระคุณทานและพูดวาคุณธรรมของทานที่มีตอขาพเจานั้นหายาก
ยิ่งแลวในโลกนี้ หากขาพเจาไมสามรถตอบแทนพระคุณของทานเสียบาง
คงจะไมสบายใจไปตลอดชาติ จึงใครยกลูกสาวใหเปนทาสชวงใช ขอทาน
อยาไดปฏิเสธเลย ทานบิดาของทานแซจือก็รับไว แตมิไดใหเปนทาสรับใช
ทําพิธีแตงงานกันตามประเพณีนิยม ตอมาจึงไดกําเนิดทานแซจือ พออายุ
ได๒๐ปทานแซจือก็สอบไลไดเปนขุนนางในกรมประวัติศาสตรตอมาลูก
หลานก็ไดเปนขุนนางกันทั้งนั้น

ขอคิดพิจารณา

ที่พอเลามาใหฟงทั้งหมดนี้ มีอยูสิบเรื่องดวยกัน แมเรื่องราวจะแตก


ตางกันลวนแตเปนการประพฤติดีปฏิบัติชอบทั้งสิ้นถาจะอธิบายใหละเอียด
ลึกซึ้งกวานี้ ก็ยังจะตองพิจารณาวา การทําดีนั้นดีจริงหรือไม แบงออกเปน
๘ขอดวยกันคือ

๑.ดีจริงหรือดีปลอม
๒.บริสุทธิ์ใจหรือไมบริสุทธิ์ใจ
๓.ทําแลวมีคนรูเห็นหรือไมมีคนรูเห็น
๔.ทําถูกหรือผิด
๕.ทําดวยความรูเทาถึงการณหรือไม
๖.ทําครึ่งๆกลางๆหรือทําอยางสมบูรณ
๗.ทําใหญหรือเล็ก
๘.ทํายากหรือทํางาย

ทั้งหมดนี้จะตองใครครวญใหถองแท หากการกระทําความดีโดยไม
อาศัยเหตุผลแลวไซรความดีนั้นอาจจะใหผลรายเปนบาปไปก็ได เปนการ
สูญเปลาไมไดประโยชนอันใดเลยทีนี้พอจะมาพูดใหฟงทีละขอ

ขอแรกการทําดีนั้นดีจริงหรือดีปลอม

ในสมัยราชวงศหยวน (ค.ศ. ๑๒๗๑ -๑๓๖๘ หรือ พ.ศ. ๑๘๑๔ -


๑๙๑๑) มีพระเถระรูปหนึ่งมีนามวาทานจงฟง ฮองเตในสมัยนั้นได
สถาปนาทานเปนถึงสังฆราช ทานมีคุณธรรมล้ําเลิศ มีคนไปนมัสการมาก
มาย

อยูมาวันหนึ่ง มีพวกนักศึกษาลัทธิขงจื่อไดพากันไปนมัสการทาน
กราบถามทานถึงปญหาหนึ่งวา

“พระพุทธศาสนานั้นเนนหนักในเรื่องกฎแหงกรรม ใครทําดีไดดีทํา
ชั่วไดชั่ว ดุ จเงาตามตัว บัดนี้ปรากฏวาบางคนทําความดีแตลูกหลานไม
เจริญรุงเรือง สวนคนที่ทําชั่วนั้นเลา กลับไดดีมีหนามีตา เชนนี้แลวจะเชื่อ
คําสอนของพระพุทธศาสนาไดอยางไรกัน”

พระเถระจงฟงกลาวตอบวา

“หากเราจะวินิจฉัยสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ถาใชทัศนะชาวโลก ก็จะวินิจฉัยได


แงมุมในทางโลก ถาใชทัศนะทางพุทธธรรม ก็จะวินิจฉัยไดแงมุมในทาง
ธรรม อันปุถุชนคนธรรมดาไมสามารถจะมองเห็นไดแจมแจงเทา เพราะ
ฉะนั้น การวินิจฉัยในทัศนะทางโลก จึงไมอาจถูกตองเสมอไป บางทีคนดีก็
มองไปวาเปนคนไมดี สวนคนไมดีก็มองเห็นวาเปนคนดีไปก็มี ชาวโลกจึง
มักจะไมสํารวจตนเองเอาแตโทษฟาดินลําเอียง”

แลวทานก็ใหพวกนักศึกษาลัทธิขงจื่อ ยกตัวอยางที่พวกเขาเห็นวาดี
และไมดีออกมาจะไดเขาใจความหมายของความดีถองแทขึ้น บางคนก็ยก
ตัวอยางวา การตีคนดาคนไมดี การออนนอม มีมารยาทดีจึงจะดี บางคนก็
ยกตัวอยางวา การละโมบอยากไดของเขาอื่นไมดี การไมละโลภถือสันโดษ
เปนความดี

ทานจงฟงเถระก็ไดสายหนาวาไมใชอยางวาเสมอไปทานอธิบายวา

“ถาเราทําประโยชนเพื่อผูอื่นเรียกวา ทําความดี แตถาเราทําเพื่อตัว


เราเอง นั่นคือความไมดี ถาเราทําเพื่อประโยชนสุขของผูอื่น ถึงแมเราจะตี
เขาก็ดี ดุดาวากลาวก็ดี ลวนแตเปนการกระทําดีทั้งนั้น ถาเพื่อประโยชน
ของเราเอง เราจึงออนนอมตอผูอื่น ทําความคารวะตอผูอื่น นี่เปนความดี
ปลอมไมใชดีจริง ฉะนั้นการกระทําใดๆ ก็ตาม ถาทําเพื่อประโยชนสุขของ
ผูอื่นแลวไซร เปนความดีจริงทั้งนั้น ถาเราเพื่อผลประโยชนของเราเอง ก็
เปนดีปลอมทั้งนั้น ถาเราทําดวยความบริสุทธิ์ใจมีความจริงใจ ไมหวังสิ่ง
ตอบแทน จึงจะเปนความดีที่ดีแท หากยังตองการอามิสสินจางรางวัล จึงจะ
ทําความดี ความดีนั้นก็เปนความดีปลอม เพราะฉะนั้นกอนที่จะกลาววาสิ่ง
นั้นดี สิ่งนั้นไมดี คนนี้ดี คนนี้ไมดี ก็ตองพิจารณาใครครวญทุกแงทุกมุม
เสียกอนมิฉะนั้นการวินิจฉัยของเราก็จะเกิดการผิดพลาดขึ้นได ”

ความดีขอที่สองคือการทําความดีนั้นบริสุทธิ์ใจหรือไมบริสุทธิ์ใจ

สมัยนี้คนสวนมากชอบคนที่มีนิสัยไมดื้อรั้นวาเปนคนดี แตนัก
ปราชญทานมักจะชอบคนที่เปนตัวของตัวเอง เพราะคนชนิดนี้ มักจะสอน
งาย แตหาไดยากมาก คนที่วานอนสอนงาย ชักจูงอยางไรก็ไปอยางนั้น ถึง
แมใครตอใครพากันชมเชยวาเปนคนดีนักหนาก็ตามที แตทานนักปราชญ
กลับเห็นวาคนชนิดนี้เปนผูรายในคุณธรรม สอนใหดีไดยาก หาความกาว
หนาไมได เพราะฉะนั้น ความดีความไมดี ชาวโลกมักเห็ นตรงกันขามกับ
นักปราชญเสมอ สวนเทวดาฟาดินนั้น มีความเห็นตรงกับปราชญ ดังนั้น
การทําความดีจึงมิไดอาศัยที่ตาดู หูฟง แตตองเริ่มที่ใจของตนเอง เริ่ม
ไตรตรองสํารวจตนเองอยางระแวดระวังอาศัยกําลังใจของเราเองซักฟอก
จิตใจใหใสสะอาด ไมวาจะทําอะไรก็ใหคิดถึงประโยชนสุขของผูอื่นกอน
แลวทําดวยความบริสุทธิ์ใจ ไมแฝงไวดวยเจตนาที่จะตองการตอบแทนจาก
ใคร จึงจะเปนความดีโดยบริสุทธิ์ หากเราทําดีเพื่อเอาใจผูอื่นก็ดี หวังการ
ตอบแทนก็ดี ก็ไมใชความดีที่เกิดจากความบริสุทธิ์ใจเสียแลว เปนการเส
แสรงเพทุบายเพื่อหวังประโยชนตนเปนที่ตั้ง เปนเจตนาที่ไมบริสุทธิ์ จะถือ
เปนความดีแทไมได

ความดีขอที่สามคือการทําความดีนั้นทําแลวมีคนรูเห็นหรือไมมีคน
รูเห็น

ความดีทางธรรมซึ่งฟาดินยอมประทานผลดีให สวนความดีทางโลก
ก็จะไดรับแตชื่อเสียงเกียรติยศความมั่งคั่งเปนผลตอบแทน การมีชื่อเสียง
โดงดังนั้น ชาวโลกมักจะเห็นวาเปนผูมีบุญวาสนา แตทางธรรมแลวเห็นวา
ผูนั้นมิไดทําความดีมากพอกับการมีชื่อเสียง จึงมักจะไดรับผลไมดีในบั้น
ปลาย แตคนดีที่ไดรับการปรักปรําจนเสียชื่อเสียงนั้น ลูกหลานกลับรุงเรือง
ไดดีมีสุข เพราะผูที่ไดรับการปรักปรํา สามารถอดทนตอการถูกประณาม
หยามเหยียดหวานอมขมกลืน กมหนารับความขมขื่นอยูดวยอาการสงบ
เปนการสั่งสมกุศลกรรมอยางใหญหลวง ลูกหลานจึงมีโอกาสไดดี เพราะ
ฉะนั้น ลูกจะตองเห็นความสลับซับซอนอันล้ําลึกของการทําความดีที่ดีแท
และดีปลอมจึงจะทําความดีไดถูกตอง

ความดีขอที่สี่คือการทําความดีนั้นทําถูกหรือทําผิดกาละเทศะ

ในแควนหลูราษฎรถูกจับไปเปนเชลยในแควนอื่นเมื่อมีคนไถมาได
สงคืนแควนหลูไป ก็จะไดรับเงินจํานวนหนึ่งเปนการตอบแทน เพราะสมัย
ชุนชิวนั้น ตางก็ตั้งตัวเปนอองกัน รบราฆาฟนชวงชิงเขตแดนกัน จับเชลย
ศึกไดก็นําไปเปนขาทาสทั้งชายหญิง แควนหลูเปนแควนเล็กๆ ไมคอยจะมี
กําลังไปสูรบกับใครนัก จึงมักถูกแควนอื่นบุกเขามาจับราษฎรไปเปนทาส
เสมอ ใครใจบุญอยากทําความดีก็นําเงินไปไถมาคืนเจาผูครองแควนหลูก็
จะไดรับรางวัลทันที ตอมาทานจื่อกงซึ่งเปนศิษยเอกของทานขงจื่อ ทานได
ไปไถเชลยศึกมาคืนแควนหลู แตไมยอมรับเงินรางวัล เพราะทานมีฐานะดี
อยูแลว ทําไปโดยมิหวังผลตอบแทนใดๆ แตเมื่อทานขงจื่อทราบเรื่องเขา
ทานก็โกรธลูกศิษยของทานมาก ทานบอกวา แควนหลูนั้นคนจนมากคน
รวยมีนอย ตอไปนี้คงจะไมมีใครกลาไปไถเชลยศึกมาอีกแลว เพราะทาน
จื่อกงไปทําตัวอยางเอาไวเชนนั้น ก็มีแตคนที่ฐานะดีจึงกลาเอาอยางทานจื่อ
กงได สวนคนที่โลภเงินรางวัลก็ดี คนที่ไมคอยจะมีเงินนักก็ดี ตางก็ไมทํา
ความดีอีกตอไป เพราะไมไดเงินรางวัลจะทําไปทําไม ดังนี้จึงเห็นไดวานัก
ปราชญนั้น ไมวาจะทําอะไรก็จะเปนเยี่ยงอยางแกผูอื่น จึงตองระมัดระวัง
จะทําอะไรผิดไมได คนก็จะพากันทําตามอยางผิดๆ ไปดวย ความดีก็เลย
เปนความดีปลอมไป

(มีทานผูอานแยงมาวา พระพุทธศาสนาสอนมิใหทําความดีเพื่ออามิส
สินจางทานเหลี่ยวฝานหมายถึงวาเมื่อมีเจตจํานงจะทําความดีสวนผลตอบ
แทนนั้น ถาพึงไดโดยชอบธรรม แมตนเองไมตองการ ก็สามารถนําไปทํา
ความดีเพื่อผูอื่นอีกตอไปได เชนทานจื่อกง เมื่อทานรับเงินมาแลว ทาน
สามารถนําเงินไปไถคนมาใหกับแควนหลูไดอีก เปนการทําความดีที่ตอ
เนื่องไปสูประโยชนสุขของผูอื่นไดอีกมากมาย และไมเสียธรรมเนียมของ
แควนหลู เปนการไมเสียหายทั้งทางโลกและทางธรรม จึงไมขัดกับคําสอน
ของพระพุทธศาสนาเลย-ผูถอดความ)

ทานจื่อลูซึ่งก็เปนศิษยเอกของทานขงจื่อเชนกัน อยูมาวันหนึ่งทานจื่อ
ลูไดชวยคนตกน้ําไวได ชายคนนั้นใหวัวตัวหนึ่งเปนการตอบแทนที่ไดชวย
ชีวิตไว ทานจื่อลูก็รับเอาวัวนั้นมา ทานขงจื่อเมื่อทราบเรื่องก็ดีใจมาก ทาน
พูดวาตอไปนี้แควนหลูของเรานี้ จะมีคนชอบชวยเหลือผูอื่นเพิ่มขึ้นอีก
เพราะเมื่อทําความดีแลว มีคนเห็นความดีและไดรับการตอบแทนทันที
ใครๆ ก็อยากจะทําความดีเชนนี้กันมากขึ้น แตในสายตาของชาวโลกแลว
จะตองมองในทัศนะกลับกันกับทานขงจื่อเปนแน ชาวโลกจะตองเห็นวา
ทานจื่อกงดีชวยคนแลวไมหวังสิ่งตอบแทนสวนทานจื่อลูนั้นไมดีชวยแลว
ก็ไมปฏิเสธการตอบแทน แตนักปราชญทานมองการณไกล การทําความดี
ที่มีคนนําไปเปนเยี่ยงอยางใหเกิดประโยชนตอสวนรวมได จึงจะเปนความ
ดีแท

ความดีขอที่หาคือการทําความดีนั้นทําดวยความรูเทาถึงการณหรือ
ไม

แตกอนนี้ มีขุนนางไจเซี่ยง (ไจเสี่ยง) ทานหนึ่งรับราชการในรัชกาล


ของพระเจาอิงจงฮองเต(ค.ศ.๑๔๓๖-๑๔๔๙หรือพ.ศ.๑๙๗๙-๑๙๙๒)
ทานรับราชการดวยความซื่อสัตยสุจริตไมมีดางพรอย เปนที่เคารพนับถือ
ของคนทั่วไป ตอมาทานปลดเกษียณตนเองกลับไปอยูภูมิลําเนาเดิมของ
ทานที่ชนบทประชาชนก็พากันมาเคารพทานตางก็เปรียบทานดุจขุนเขาอัน
สูงสุดในแผนดินจีน คือ ทายซาน และเปรียบดุจดาวเหนือที่สุกใสกวาดาว
ใดๆในพิภพ

ครั้นแลวมีชายขี้เมาคนหนึ่งมาดาทานซึ่งๆหนาทานเห็นเปนคนเมา
ก็ไมถือโกรธกลับมาบอกคนรับใชวา อยาไปเอาเรื่องกับคนเมาเลย ปด
ประตูเสียเถิด

ตอมาชายขี้เมาคนนี้ไดรับโทษประหารชีวิต

เมื่อทานอดีตไจเซี่ยงรูเขาก็เสียใจมากรําพึงวา

“ถาเราเอาเรื่องเสียแตแรกที่ดาเรา จับไปทําโทษสถานเบาเสียที่
อําเภอ เขาจะไมตองรับโทษประหารในวันนี้ เพราะเราแทๆ กรุณาเขาผิด
กาละไปดวยความรูเทาไมถึงการณทําใหเขาเหิมเกริมทําชั่วจนตัวตาย”

นี่คือตัวอยางของความใจดีแตกลับทําใหผูอื่นไดรับผลชั่วตอบแทน

สวนการกระทําที่เห็นวาชั่วแตกลับเปนผลดีนั้นก็มีตัวอยางเชนกัน

มีอยูครั้งหนึ่ง บานเมืองเกิดทุพภิกขภัย ราษฎรตางแยงชิงทรัพยสิน


กันเองในกลางวันแสกๆ มีเศรษฐีทานหนึ่ง ไปรองตอนายอําเภอ ขอให
ระงับเหตุกอนที่จะเกิดจลาจล แตนายอําเภอไมเอาเรื่อง คนยากจนก็เลยได
ใจ พากันยื้อแยงกันมากขึ้น เศรษฐีเห็นไมเปนการจึงระดมผูคนของตน
ออกปราบเองเรื่องจึงสงบ

การกระทําของเศรษฐีทานนี้ แมจะรุนแรง แตก็ทําดวยความสุจริตใจ


หวังมิใหเกิดการจลาจลจึงเป นการทําความดีแทอีกวิธีหนึ่ง

ความดีขอที่หกคือการทําความดีนั้นทําครึ่งๆกลางๆหรือทําอยาง
สมบูรณ

ในคัมภีรอี้จิงไดกลาวไววา ผูที่ไมสั่งสมความดี จึงมีความดีไมพอที่


จะไดรับชื่อเสียงดี ผูที่ไมสั่งสมบาป ยอมไมตองไดรับเคราะหกรรมถึงตาย
ในประวัติศาสตรก็ไดกลาวถึงราชวงศซาง (เซียง) (กอน ค.ศ. ๑๗๖๖-
๑๑๒๒หรือกอนพ.ศ.๑๒๒๓-๕๗๙)วาโจวอวางซึ่งเปนฮองเตที่โหดรายที่
สุ ดพระองคหนึ่ งในประวั ติ ศาสตรจี นและเป นองคสุ ดท ายของราชวงศซาง
ถูกปราบปรามสําเร็จโดยโจวอูอวาง (จิวบูออง) ในปกอน ค.ศ.๑๑๒๒
(กอน พ.ศ. ๕๗๙) โจวอวาง สั่งสมแตบาปกรรม ดุจการรอยเงินเหรียญไว
เต็มพวง จึงรักษาแผนดินและชีวิตของตนเองไวไมได การสั่งสมความดี
ความชั่วนั้น ดุจนําของบรรจุลงในภาชนะทุกวันก็จะเต็มเปยม ถาสั่งสมบาง
ไมสั่งสมบาง หยุดๆ ทําๆ บุญหรือบาปนั้นก็พรองอยูเสมอไมมีวันเต็มได
เลย

แตกอนนี้มีเด็กสาวคนหนึ่งเขาไปในวัดเพราะอยากทําบุญแตมีเงิน
เพียงสองอีแปะ ความจริงราคาของเงินนั้นนอยนิด แตคาของความมีใจ
อยากทําบุญนั้นเหลือหลาย ทานเจาอาวาสจึงกลาวอนุโมทนาคาถาเอง ให
ศีลใหพรเอง

ตอมาหญิงนั้นไดเปนพระสนมของฮองเตมีเงินมากมาย จึงนําเงิน
หลายพันตําลึงมาที่วัดนั้นอีกเพื่อทําบุญ คราวนี้เจาอาวาสใหพระลูกวัดกลาว
อนุโมทนาคาถาและใหศีลใหพรแทน

พระสนมเกิดความสงสัยยิ่งนักจึงกราบถามทานวา

“เมื่อกอนนี้ขาพเจายากจน มีเงินเพียงสองอีแปะ แตทานมากลาว


อนุโมทนาคาถาและใหศีลใหพรขาพเจาดวยตนเอง มาบัดนี้ขาพเจาพอมี
เงินบาง จึงนํามาถวายหลายพันตําลึง แตทําไมทานกลับใหพระลูกวัดทํา
หนาที่แทนทานเลา”

ทานเจาอาวาสกลาววา

“แตกอนนี้ แมทานจะทําบุญนอย แตใจทานนั้นเปยมไปดวยเจตนาที่


เปนกุศล มาบัดนี้แมทานจะมีเงินทําบุญมาก แตใจของทานนั้นไมเหมือน
แตกอนเสียแลวจึงไมจําเปนที่จะตองใหอาตมาไปกลาวเอง”

นี่ คื อตั วอย างของการทําดี ที่ ไม จําเป นต องอาศั ยราคาของเงิ นมาาวั ด


ความดีนั้น ทําบุญดวยเงินนอยนิด กลับเปนบุญที่เต็มเปยม เพราะจิตใจที่
เต็มเปยมดวยกุศลเจตนา แมทําบุญดวยเงินมากมาย หากจิตใจมีศรัทธา
เพียงครึ่งๆกลางๆการทําความดีนั้นก็จะไดผลเพียงครึ่งๆกลางๆเทานั้น

อีกตัวอยางหนึ่ง มีเซียนทานหนึ่งชื่อวา จงหลี ทานเปนชาวฮั่น (กอน


ค.ศ.๒๐๖-ค.ศ.๘หรือพ.ศ.๓๓๗-๕๕๑)เมื่อตายไดสําเร็จเปนเซียนผู
วิเศษ เสวยสุขอยูบนสวรรคหลายรอยป จนสมัยราชวงศถัง (ค.ศ. ๖๑๘ -
๙๐๗หรือพ.ศ.๑๑๖๑-๑๔๕๐)

ทานเซียนจงหลีก็รับลูกศิษยไวคนหนึ่ง มีชื่อวาทานหลี่ยตงปง ตอมา


จนถึงปจจุบันผูคนเรียกทานวา หลียจู (ลื่อโจว) ทานเปนขุนนางรับราชการ
เปนนายอําเภออยูสองครั้ง เมื่อมีโอกาสพบเซียนผูวิเศษ ทานก็ไดรับการ
ถายทอดวิชาตางๆ ในลัทธิเตารวมทั้งการนั่งสมาธิดวย ทานติดตามเซียนผู
วิเศษไปฝกสมาธิที่ภูเขาแหงหนึ่งจนสําเร็จไดเปนเซียนเชนกัน

ตอมาทานจงหลีไดสอนใหทานลื่อโจวรูจักผสมยาวิเศษ เพียงแตเอา
ยานั้นหยดลงไปที่เหล็กเหล็กนั้นก็จะกลายเปนทองสามารถนําไปชวยเหลือ
ความยากจนของผูคนได

ทานลื่อโจวจึงกราบถามทานอาจารยวา

“เมื่อเปลี่ยนไปเปนทองแลวจะกลับเปนเหล็กดั่งเดิมอีกไหม”

ทานจงหลีบอกวา

“เมื่อครบหารอยปแลวจะกลับสภาพเดิมได”

ทานลื่อโจวจึงปฏิเสธไมยอมทําเหล็กใหเปนทอง เพราะทานเห็นวา
เมื่อครบหารอยปแลวก็จะทําใหผูคนเสียหายมากมายเพราะอยูๆทองในมือ
ก็กลายเปนเหล็กไปเสียแลว ยอมนํามาซึ่งความสูญเสียอยางมากมาย เปน
การใหรายผูอื่นโดยไมเปนธรรม

การที่ทานจงหลีลองใจทานลื่อโจวครั้งนี้ ทําใหทานภูมิใจในลูกศิษย
ของทานเปนอยางยิ่งเพราะคําพูดเพียงคําเดียวก็แสดงใหเห็นความเปนคน
ของทานลื่อโจววาสูงสงเพียงใด

ทานจึงกลาวกับศิษยรักของทานวา

“การจะบรรลุความเปนเซียนนั้น จะตองสั่งสมคุณธรรมใหไดถึงสาม
พันอยางคําพูดของเจาเพียงคําเดียวก็เทากับไดสรางคุณธรรมครบสาม
พันอยางแลวในพริบตา”

การทําความดีนั้น เมื่อทําแลวก็แลวกัน อยาไดนํามาคิดถึงบอยๆ ราว


กับการทําดีนั้นชางยิ่งใหญนักใครก็ทําไมไดเหมือนเราถาคิดเชนนี้ความดี
นั้นจะเหลือเพียงครึ่งเดียว แตถาทําแลวก็ไมนํามาใสใจอีก คิดแตจะทํา
อะไรตอไปอีกจึงจะดี ก็จะเปนความดีที่สมบูรณไมตกไมหลน เชนการให
เงินแกคนยากจน ในใจของลูกจะตองคิดวาเราเปนผูให ภายนอกก็อยาไป
สนใจวาใครเปนผูรับ แมแตเงินที่เราบริจาคไปแลว ก็มองไมเห็นวาสําคัญ
ตรงไหน ใหแลวก็แลวกันลืมเสียใหได ไมกลับมาคิดอีกใหเสียเวลา เชนนี้
เรียกวาทําความดีดวยจิตวางเปลาเมื่อไมไดบรรจุอะไรไวที่จิตเลยจิตนั้นก็
ยอมเต็มเปยมไปดวยกุศลผลบุญ พลังแหงกุศลธรรมเชนนี้ใหญหลวงนัก
สามารถทําลายเคราะหกรรมไดถึงหนึ่งพันครั้งเพราะฉะนั้นการทําความดี
จึงมิไดขึ้นอยูกับปริมาณของเงินทองหรือวัตถุที่บริจาค แตอยูที่ใจเราเทา
นั้นที่จะทําจิตใจใหวางเปลาจนสามารถบรรลุบุญกุศลไดเพียงใดตางหาก

ความดีขอที่เจ็ดคือการทําความดีนั้นทําใหญหรือเล็ก

ทําเพื่อผูอื่นนั้นบุญหนัก

มีขุนนางผูหนึ่งมีนามวาเอี้ยมจุนรับราชการอยูในกองประวัติศาสตร

อยูมาวันหนึ่ง ถูกจับไปยังยมโลก พญายมไดสั่งใหเสมียนในยมโลก


นําบัญชีดีชั่วของทานเอวยมาใหดู ปรากฏวา บัญชีชั่วนั้นชางมากมายกาย
กองวางจนเต็มหองไปหมด สวนบัญชีความดีนั้นเล็กนิดเดียว มีขนาดพอๆ
กับตะเกียบขางหนึ่งเทานั้น

พญายมสั่งใหคนนําตาชั่งมาชั่ง ปรากฏวาบัญชีความดีนั้นแมจะเล็ก
นิดเดียวแตกลับมีน้ําหนักมากกวาบัญชีความชั่วที่รวมกันแลวทั้งหมด

ทานเอวยมีความสงสัยเปนอันมากจึงถามพญายมวา

“ขาพเจามีอายุยังไมถึงสี่สิบปไฉนจึงมีความชั่วมากมายเชนนี้”

พญายมตอบวา

“เพียงแตจิตคิดมิชอบเทานั้นก็เปนบาปแลวเชนเห็นผูหญิงสาวสวยก็
มีจิตปฏิพัทธจิตที่คิดมิชอบเชนนี้ก็จะถูกบันทึกในบัญชีความชั่วทันที”

ทานเอวยถามตอไปวา

“ถาเชนนั้นในบัญชีความดีอันนอยนิดไดบันทึกไววาอยางไร”

พญายมตอบวา

“มีอยูครั้งหนึ่งฮองเตทรงดําริจะซอมสะพานหินที่เมืองฝูเจี้ยน ทาน
เกรงวาราษฎรจะเดือดรอนจึงถวายความเห็นเพื่อยับยั้งพระราชดํารินั้นเสีย
บัญชีความดีนั้นก็คือสําเนาที่ทานทูลเกลาฯถวายฮองเตนั่นเอง”

ทานเอวยก็แยงวา

“แมขาพเจาจะกระทําดังกลาวจริงแตก็ไมเปนผลสําเร็จ พระองคทรง
ดําเนินการไปแลวไมนาเลยที่บัญชีความดีเพียงอยางเดียวจะมีน้ําหนักมาก
กวาบัญชีความชั่วที่กองอยูเต็มหองนี้”

พญายมจึงพูดวา

“การที่ทานมีเมตตาจิตตอราษฎร เกรงจะไดรับความลําบากกันมาก
มาย กุศลจิตเชนนี้ใหญหลวงนัก ถาหากทานยับยั้งไดสําเร็จ ก็จะยิ่งเพิ่มน้ํา
หนักมากขึ้นอีกพลังแหงกุศลกรรมนี้จะยิ่งใหญอีกหลายเทานัก”

แมจะเปนเรื่องเล็ก แตถากระทําเพื่อชนหมูใหญแลวไซร ความดีนั้น


ก็ใหญหลวงยิ่งขึ้น หากทําดีเพื่อตนเองแลวไซร แมจะทําดีขนาดไหน ก็ได
ผลเล็กนอยมาก ลูกจงจําไววา การทําความดี ไมวาจะเปนความดีมากหรือ
นอยเพียงใด ก็ขึ้นอยูกับเจตนาในการทําความดีนั้น เพื่อผูอื่นหรือเพื่อตน
เอง

ขอที่แปดคือการทําความดีนั้นทํายากหรือทํางาย
สมัยกอน ทานผูคงแกเรียนมักจะพูดวา ถาจะเอาชนะใจตนเองใหได
ตองเริ่มจากจุดที่ขมใจไดยากที่สุดเสียกอน ถาสามารถเอาชนะได จุดอื่นๆ
ก็ไมสําคัญเสียแลวยอมจักเอาชนะไดโดยงาย

ลูกศิษยของทานขงจื่อชื่อฝานฉือไดถามอาจารยวา

“เมตตาธรรมนั้นเปนอยางไร”

ทานขงจื่อตอบวา

“การทําสิ่งที่ยากที่สุดไดเสียกอน จึงจะชนะใจตนเองได เมื่อชนะใจ


ตนเองไดแลวความเห็นแกตัวก็จะหมดไปจึงบังเกิดเมตตาธรรม”

พอจะยกตัวอยางใหลูกฟงลูกจะไดเขาใจงายเขา

ที่มณฑลเจียงซี มีทานผูเฒาแซซู ทานยังชีพดวยการสอนหนังสือตาม


บาน อยูมาวันหนึ่ง มีชายคนหนึ่งเปนหนี้เพราะความยากจน เมื่อไม
สามารถชําระหนี้ไดเจาหนี้ก็จะยึดภรรยาของชายผูนี้ไปเปนคนใช

ทานผูเฒาซูเกิดความเห็นใจสามีภรรยาคูนี้ยิ่งนัก จึงยอมสละเงินที่
เก็บออมไวไดจากการสอนหนังสือเปนเวลาสองป นํามาใชหนี้แทนชายผู
นั้นทําใหสามีภรรยาคูนี้ไมตองแยกจากกัน

อีกตัวอยางหนึ่ง มีชายคนหนึ่งดวยความยากจนยิ่งนัก จึงนําภรรยา


และบุตรไปจํานําไว ไดเงินมาพอประทังชีวิต เมื่อถึงกําหนดไมมีเงินจะไป
ไถคืน ภรรยาก็เดือดรอนคิดจะฆาตัวตาย บังเอิญทานผูเฒาจางรูเรื่องเขามี
ความเห็นใจเปนยิ่งนักจึงนําเงินที่เก็บสะสมมาแลวถึงสิบปมาใชหนี้แทนให
พอแมลูกจึงไดมีโอกาสกลับมาอยูรวมกันอีกครั้ง

ทั้งทานผูเฒาซูและทานผูเฒาจาง ลวนแตไดกระทําในสิ่งที่ทําไดยาก
ยิ่ง เงินที่ทานสะสมไวคนละสองปและสิบปนั้น ทานก็หวังวาเมื่อทํามาหากิน
ไมไดแลว ก็จะไดพึ่งเงินจํานวนนี้ประทังชีวิตตอไป เปนเงินที่ตองใชเวลา
อันยาวนานสะสมไววันละเล็กละนอย แตทานทั้งสองก็สามารถตัดใจชวย
เหลือคนที่ไมรูจักกันเลยแมแตนิดในพริบตาเดียว นี่คือการทําความดีที่ยาก
ยิ่งจริงๆ

อีกตัวอยางหนึ่งของผูที่ชนะใจตนเองได คือทานผูเฒาจิน ทานอายุ


มากแลว ยังไมมีบุตรไวสืบสกุล ดวยความหวังดีของเพื่อนบานคนหนึ่ง ได
ยกบุตรสาวของตนใหเปนอนุภรรยาของทานผูเฒา แตทานกลับไมยอมรับ
ความหวังดีนี้ทานใหเหตุผลวาทานนั้นชราภาพแลว

สวนเด็กสาวนั้นอายุไมถึงยี่สิบ ควรจะไดสามีที่มีวัยไลเลี่ยกันทานจึง
ไมควรที่จะไปทําลายความสุขและอนาคตของเด็กสาวนี้เสีย ดวยความเห็น
แกตัวเพียงเพื่อจะมีบุตรไวสืบสกุลเปนการไมสมควรอยางยิ่ง

ทานผูเฒาทั้งสามทานนี้ลวนแตทําในสิ่งที่ยากเย็นจริงๆ ฟาดินทรง
ประทานความสุขความเจริญใหกับทานทั้งสาม ทั้งในโลกนี้และโลกหนา
เปนแนแท สวนคนที่มีเงินมีอํานาจนั้น ถาจะกระทําความดีก็ยอมงายกวาผู
ที่ไมมีทั้งเงินและอํานาจ แตพวกนี้ก็ไมคอยชอบทําความดี นาเสียดายผูที่มี
โอกาสพรอมกลับไมชอบทําความดีสวนผูที่ดอยโอกาสกวาจะทําความดีได
ก็ดวยความยากลําบากยิ่งนี่คือความแตกตางกันในคุณคาของความดี

การทําความดีตอผูอื่นนั้น ตองแลวแตโอกาสจังหวะเวลาซึ่งมีความ
สําคัญเชนกัน การชวยเหลือผูอื่นนั้น มีวิธีการมากมาย ประมวลแลวก็
สามารถแยกออกได๑๐วิธีดวยกันคือ

๑.ชวยเหลือผูอื่นทําความดี
๒.รักและเคารพทุกคนอยางเสมอหนา
๓.สนับสนุนผูอื่นใหเปนผูมีความดีพรอม
๔.ชี้ทางใหผูอื่นทําความดี
๕.ชวยเหลือผูที่อยูในความคับขัน
๖.กระทําสิ่งที่เปนประโยชนตอสาธารณะ
๗.อยาทําตนเปนปูโสมเฝาทรัพยตองหมั่นบริจาค
๘.ธํารงไวซึ่งความเปนธรรม
๙.เคารพผูมีอาวุโสกวา
๑๐.รักชีวิตผูอื่นดุจรักชีวิตตนเอง

ขอ๑.การชวยเหลือผูอื่นทําความดีนั้นเปนอยางไร

เมื่อครั้งทานตี้ซุนยังมิไดเปนพระเจาแผนดินจีนสมัยโบราณ (กอน
ค.ศ.๒๒๕๕-๒๒๐๘หรือพ.ศ.๑๗๑๒-๑๖๖๕)ทานไปยังหนองน้ําแหง
หนึ่ง เห็นชาวบานกําลังจับปลากันอยูคนที่แข็งแรงก็พากันไปยังที่ที่มีน้ําลึก
ปลาชุม สวนพวกที่ไมแข็งแรงและผูชราถูกกันใหไปจับปลายังที่ที่กระแส
น้ําไหลเชี่ยวและที่มีน้ําตื้น ซึ่งปลาจะไมชอบมาในบริเวณนั้น ทําใหจับปลา
ไมได ทานตี้ซุนเห็นดังนั้น ก็บังเกิดความเห็นใจ ทานจึงเขาไปชวยคนที่ไม
แข็งแรงและผูชราหาปลาใครที่เห็นแกตัวชอบแยงที่น้ําลึกทานก็นิ่งเสียไม
ไปวาเขา ใครที่ไมเห็นแกตัว ทานก็นําพฤติกรรมของเขาไปสรรเสริญจน
ทั่วทานเองก็ทําตัวอยางอันดีใหเปนที่ปรากฏอยูทุกวันๆ

จนกาลเวลาไดผานไปหนึ่งป ชาวบานพากันสํานึกในความเห็นแกตัว
ของตนตางทําดีตอกันและกัน

ในที่นี้พอจะตองบอกใหรูวา พอไมสนับสนุนในเรื่องการจับปลามา
เปนอาหารเพราะการฆาสัตวตัดชีวิตนั้นเปนบาปอยางยิ่ง

แตพอยกเรื่องนี้มาเปนอุทาหรณก็เพื่อใหลูกเขาใจวา การชวยเหลือผู
อื่นทําความดีนั้น ตองใชความอดทนพยายามเพียงไร ทานตี้ซุนนั้นเปนผู
ฉลาดหลักแหลมยิ่งนัก เพียงแตทานใชคําพูดกลอมเกลาจิตใจ ผูคนก็จะเชื่อ
ทานเพราะตางก็มีความเคารพทานอยูแลว แตทานอุตสาหใชเวลาถึงหนึ่งป
เต็ม ก็เพื่อใหทุกคนกลับตัวกลับใจไดหมดและจะไมกลับไปเปนคนเห็นแก
ตัวอีกไมวากรณีใด และเปนไปดวยความสมัครใจ ไมใชดวยบังคับหรือขอ
รอง ใหทุกคนตระหนักถึงความดีที่ตองกระทํารวมกัน เพื่อความผาสุกของ
พวกเขาเองพอจึงสรรเสริญในความอุตสาหะของทานยิ่งนัก

พอและลูกตางก็มีชีวิตอยูในยุคแหงความมืดมน ผูคนไมคอยมีศีล
ธรรมเหมือนดังยุคกอน เพราะฉะนั้น ลูกจะตองเจียมเนื้อเจียมตัว อยาได
อวดดีวาวิเศษกวาผูอื่น อยานําความสามารถของลูกไปขมผูอื่นที่ดอยกวา
ใหเขาไดอายจงเก็บความรูความสามารถของเจาไวในใจอยาไดแสดงออก
ใหปรากฏแกสายตาผูอื่นโดยไมจําเปน ใครพลาดพลั้งลวงเกินลูก ก็จงรูจัก
ใหอภัย อยาไดแพรงพรายความไมดีออกไป เพื่อใหโอกาสเขากลับตัวกลับ
ใจ และเมื่อไมมีใครรู ก็ทําใหเขาไมกลากําเริบเสิบสาน เพราะทุกคนยอม
รักหนารักตา ไมอยากเปนคนเสียชื่อเสียง เมื่อไมวิจารณใหความลับของ
เขาเปนที่เปดเผยออกไป เขาจึงไมกลาที่จะทําผิดอีก บางคนนั้น เมื่อมีคนรู
วาเขาเปนคนไมดีเสียแลว เขาก็ทําตัวเหลวแหลกยิ่งขึ้น เมื่อเปนคนดีไมได
ก็เปนคนชั่วเลย คนเชนนี้ก็มีใหเห็นๆ อยู ลูกจะตองคอยสังเกตวา ผูอื่นนั้น
เขามีความสามารถอะไรบางถาเปนสิ่งที่ลูกยังไมมีก็จงรีบเอาความดีนั้นมา
ใสตนเถิด อยาไดรีรอเลย ลูกจะตองรูจักชมเชยสรรเสริญความดีงามและ
ความสามารถของผูอื่นใหแผไพศาลไปอยาไดมีจิตริษยาในชีวิตประจําวัน
ของลูกไมวาจะพูดสักคําจะทําอะไรสักอยางจงอยาทําเพื่อประโยชนตนเอง
กอนตองถือวาประโยชนสวนรวมเปนสําคัญลูกจงจําไวใหดี

ขอ๒.รักและเคารพทุกคนอยางเสมอหนานั้นเปนอยางไร

ผูดีนั้น คือคนที่มีคุณงามความดีและกระทําแตความดีงามอยาง
สม่ําเสมอ สวนคนเลวนั้น บางทีก็ซอนอยูในคราบของผูดี ปะปนกันจนบาง
ทีก็ดูไมออก แตถาลูกสังเกตใหดีแลว ก็จะเห็นความแตกตางราวกับขาว
และดําทีเดียว ผูดีที่มีขอแตกตางจากคนทั่วไปนั้น คือมีน้ําใจรักและเคารพ
ทุกคนอยางเสมอหนากัน ธรรมดาคนที่เราไดพบเห็นในชีวิตประจําวันนั้น
บางคนเราก็เคยใกลชิดดวย บางคนก็หางเหินไป บางคนสูงศั กดิ์ บางคนก็
ต่ําตอย บางคนฉลาดหลักแหลม บางคนโงเขลาเบาปญญา บางคนมีคุณ
ธรรมประจําใจบางคนก็รายจนไดชื่อวาเปนคนพาล แมทุกคนจะมีสถาน
ภาพและจิตใจไมเหมือนกัน แตทุกคนก็เปนมนุษยที่ตองเกิดแกเจ็บตาย
ดวยกันนักปราชญทั้งปวงจึงไมชอบใหคนเกลียดกันดูถูกกัน ตองรักเคารพ
กันอยางเสมอหนาจึงจะมีสันติสุขเกิดขึ้นได

ขอ๓.สนับสนุนผูอื่นใหเปนผูมีความดีพรอมอยางไร

หยกนั้นยอมมาจากหินชนิดหนึ่ง ถาเราทิ้งขวางไมสนใจ ก็เปนเพียง


หินธรรมดากอนหนึ่ง แมภายในจะมีหยกเรนอยู ก็ไมสามารถปรากฏความ
มีคาของมันได แตถามนุษยนํามาเจียระไน เอาความเปนหยกออกจากหิน
แกะสลักใหสวยงาม ก็จะเปนของมีคาสําหรับฮองเตและขุนนาง กลายเปน
สั ญลั กษณที่ จะต องติ ดตั วไว แสดงถึ งความบุ ญหนั กศั กดิ์ใหญ ยามที่ ฮ องเต
ออกขุนนาง ก็ ตองมีหยกไวแสดงความเปนใหญในแผนดิน ขุนนางเขาเฝา
ฮองเตก็ถือหยกพระราชทานประจําตําแหนงไวในมือ เพื่อแสดงความ
เคารพและจงรักภักดีตอฮองเต หยกยังนํามาใชในพิธีกรรมอื่นๆ อีกมาก
มายลูกตองอยาลืมวาหยกมีความงามและความสําคัญขึ้นมาไดเพราะฝมือ
มนุษยเอง

คนก็เชนกัน ถามีกัลยาณมิตรคอยชวยเหลือใหคําแนะนําที่ดี คน
ธรรมดาๆ ก็จะกลายเปนคนดีพรอมไปได เพราะฉะนั้น ลูกจงใสใจในคนที่
รักดี มุงมั่นจะเปนคนดี ลูกจงใหความชวยเหลือสนับสนุน ใหกําลังใจ
ประคับประคองเพื่อใหเขาเปนคนดีพรอมใหได แมเขาจะถูกผูอื่นปรักปรํา
ก็จงชวยชี้แจงปกปอง และยอมรับขอปรักปรํานั้นวาลูกก็มีสวนผิดอยูดวย ก็
นับวาลูกไดพยายามจนถึงที่สุดแลว

คนดีกับคนเลวนั้นมักจะคบหากันไมได คนดียอมคบกับคนดี คนชั่ว


ยอมคบกับคนชั่ว คนชั่วก็ชอบมั่วสุมกับคนชั่ว คนชั่วมักเกลียดชังคนดี ยิ่ง
ในชนบทบางแหงที่หางไกลความเจริญดวยแลว คนชั่วมีมากกวาคนดี ชอบ
ขมเหงคนดีอยูเสมอจนตั้งตัวไมติด คนดีมักจะเปนคนตรงและไมกลัวตาย
ไมชอบการแตงตัวที่หรูหรา ไมชอบมีความเปนอยูที่ฟุมเฟอย จึงมักตกเปน
ขี้ปากคนชั่วที่ชอบวิพากษวิจารณคนผิดๆ เพราะฉะนั้น เมื่อลูกพบเห็นเหตุ
การณเชนนี้ ก็จงชวยปกปองคนดี และชวยชี้ทางใหคนชั่วกลับใจเปนคนดี
เสียนี่เปนมหากุศลที่ลูกจะตองทําใหได

ขอ๔.ชี้ทางใหผูอื่นทําความดีนั้นอยางไร

เกิดมาเปนมนุษยทุกคนยอมมีศีลธรรมประจําใจอยูบางมากบางนอย
บาง ที่จะไมมีเลยนั้นคงหายาก นอกจากมนุษยจะมัวสาละวนอยูกับการ
แสวงหาลาภยศเงินทองชื่อเสียงโดยไมคํานึงถึงศีลธรรม ทําใหตองตกอยูใน
ความหายนะ ถาลูกพบคนเชนนี้ ลูกจงพยายามชวยเขา ฉุดเขาใหพนจาก
ความหายนะใหจงไดดุจคนฝนรายลูกปลุกเขาใหตื่นจากความฝนใหความ
รูความคิดที่ดีงามแกเขา เขาก็จะตื่นจากฝนรายกลายเปนคนดีได เมื่อครั้ง
ราชวงศถัง(ค.ศ.๖๑๘-๙๐๗หรือ๑๑๖๑-๑๔๕๐)มีขุนนางทานหนึ่งทาน
เขียนหนังสือสอนใจคนไดดีมาก เปนที่แพรหลายไปทั่วประเทศจีน ชาวจีน
มีความเคารพนับถือทานมาก เมื่อทานถึงอนิจกรรม ยังไดรับเกียรติยศอัน
สูงสง ไดรับการสถาปนาจากฮองเตเปนที่ “เอวิ๋น” เปนการเชิดชูแกผลงาน
อันมีทั้งรอยแกวรอยกรองที่เยี่ยมยอดนั่นเอง ชาวบานพากันเรียกทานวา
หานเอวิ๋นกง

ทานหานเอวิ๋นกงเคยกลาวไววา

“การตักเตือนผูอื่นดวยคําพูดนั้น ไมชาก็ถูกลืมเลือนไป ผูที่อยูไกลก็


ไมสามารถไดยินคําเตือนนั้นได หากบันทึกไวเปนหนังสือแลว แมสักรอย
ชั่วคน คําสอนนั้นก็ยังคงอยู สามารถแพรไปไกลกวาพันลี้หมื่นลี้เสียอีก ขอ
ที่หนึ่งพอไดยกตัวอยางใหชวยเหลือผูอื่นดวยการทําตนเปนเยี่ยงอยางผูอื่น
นานวันเขาก็จะมีคนตามอยางโดยไมรูตัว สวนขอนี้พอยกตัวอยางใหใชคํา
พูด ใชหนังสือเปนตัวอยาง ลูกก็จะตองใชใหเหมาะสม มิฉะนั้นก็จะไมได
ผลเลย ดุจดั่งคนปวย ถาไดยาตรงกับโรคก็จะหายวันหายคืน เหมือนคนที่มี
นิสัยแข็งกระดางถาเราใชคําพูดตักเตือนเขาจะไมเชื่อโดยงายพูดไปก็เสีย
เวลาเปลา ถาเปนคนที่มีนิสัยออนโยน การตักเตือนดวยคําพูดมักจะไดผล
ลูกไมควรพลาดโอกาสอันดีนี้เสีย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลูกตองดูคนเปน ตองอาน
นิสัยไดถูกตองแลวจึงจะวินิจฉัยไดวาคนเชนไรสมควรตักเตือนดวยคําพูด
คนเชนไรสมควรใหเขาไดอานหนังสือเพื่อแกไขตัวเขาเอง

ขอที่๕.จะชวยเหลือผูที่อยูในความคับขันไดอยางไร

เคราะหกรรมยอมเกิดขึ้นไดเสมอ ไมวากับใครๆ หากลูกพบเห็นคน


ที่กําลังตกทุกขไดยาก ลูกจะตองเขาชวยเหลือใหทันทวงที และจะตองชวย
แกไขสถานการณดวยสติปญญาของลูกอยางรอบคอบ เพื่อมิใหการชวยนั้น
ไมประสบความสําเร็จ

ทานชุยจื่อ ซึ่งเปนขุนนางในราชวงศหมิง ในปลายรัชสมัยพระเจา


เซี่ยวจงฮองเต(ค.ศ๑๔๘๘-๑๕๐๕พ.ศ.๒๐๓๑-๒๐๔๘)ทานกลาวไววา

“การชวยเหลือนั้น ไมควรคํานึงวาจะไดบุญไดคุณสักเพียงไร ขอให


ชวยใหไดทันทวงทีจึงจะควร ชางเปนคําพูดที่เปยมเมตตาการุณเสียนี่
กระไร”

ขอ๖.การกระทําสิ่งที่เปนประโยชนตอสาธารณะอยางไร

ไมวาลูกจะอยูในชนบทเล็กๆหรือในเมืองใหญๆหากเปนเรื่องที่เกี่ยว
กับประโยชนสุขของสวนรวมแลว ลูกจะตองไมทอถอยในการเปนอาสา
สมัคร เชน ขุดคูสงน้ํา เพื่อไวใชในนายามหนาแลง หรือสรางทํานบเพื่อ
ปองกันน้ําทวม หรือซอมสะพานที่ชํารุด เพื่อใหการสัญจรไปมาสะดวกและ
ปลอดภัยยิ่งขึ้นหรือใหทานอาหารแกคนอดอยาก หรือใหน้ําแกคนกระหาย
แล วลู กก็ ควรชั กชวนชาวบ านให ร วมแรงร วมใจกั นกระทําความดี ร วมกั น
ใครมีเงินก็ออกเงิน ใครมีแรงก็ออกแรง ผนึกกําลังใหเขมแข็ง จะไดชวย
เหลือคนไดมากขึ้น หากใครวารายลูก ก็จงอยาใสใจ ถาเราทําดีโดยสุจริต
แลว ใครๆ ก็ยอมเขาใจและชวยปกปองลูกเสียอีก ลูกจงอยาทอถอย ไมวา
จะประสบอุปสรรคใดๆก็อยาวางมือเปนอันขาด

ขอ๗.อยาทําตนเปนปูโสมเฝาทรัพยใหหมั่นบริจาคอยางไร

คําสอนในพระพุทธศาสนานั้นมากมาย พระผูมีพระภาคเจาทรงแนะ
นําใหรูจักใหทานเสียกอน การใหคือการเสียสละ ทานที่บรรลุธรรมแลว
ทานเสียสละใหหมด ทั้งอวัยวะภายในหรือภายนอกและทรัพยสินเงินทอง ก็
สิ่งที่ระกอบดวยกันขึ้นมาเปนชีวิตทานยังเสียสละไดเรื่องทรัพยสินเงินทอง
ของนอกกายไฉนจักสละไมไดเลา

ถาเราสามารถเสียสละไดทุกอยางเชนนี้แลว เราก็จะรูสึกวาเรามิได
แบงภาระอันใดไวทําใหจิตใจปลอดโปรง ไมหวงหนากังวลหลัง ใครทําของ
เราเสีย ใครขโมยของเราไปก็ไมเดือดรอนเลยแมแตนิดเพราะเราเสียสละ
ใหหมดจริงๆ ผูที่ไมสามารถเสียสละไดทั้งหมด ก็ตองเริ่มตนดวยการให
ทานบริจาคทรัพยเสียกอน คนในโลกนี้เห็นวาปจจัยสี่นั้นเปนสิ่งสําคัญของ
ชีวิต และเงินเทานั้นที่จะบันดาลใหไดมาซึ่งปจจัยสี่ เพราะฉะนั้น คนสวน
มากจึงใหความสําคัญแกเงินเทาชีวิต หาไดคิดสักนิดวา หากยังมีลมหายใจ
ก็ดีอยูหรอก ถาหมดลมเมื่อใด มีใครเอาอะไรติดตัวไปไดบางไหม ผูที่รัก
เงินยิ่งชีวิตมักเปนคนตระหนี่ ใจคอคับแคบ แตถาหมั่นบริจาคก็จะเกิดเปน
นิ สัยอันดีงามขึ้นสามารถบริจาคไดมากขึ้นและไมนึกเสียดายดังแตแรก

ขอที่๘.ธํารงไวซึ่งความเปนธรรมไดอยางไร

ธัมมะคือประทีปที่สองวิถีทางแหงชีวิต เมื่อหนทางขางหนาสวางไสว
ชีวิตยอมดําเนินไปตามทิศทางอันถูกตอง ดุจดั่งคนที่มีนัยนตาดียอม
สามารถเลือกทางเดินที่สะดวกที่สุดและดีที่สุดได โบราณทานจึงวาธัมมะคือ
การธํารงไวซึ่งฟาดินและมนุษย ใหเกิดความสมดุลผสมผสานกลมกลืนเปน
อันหนึ่งอันเดียวกัน จะขาดไปแมแตสิ่งหนึ่งสิ่งใดก็มิได ตองเปนปจจัยอิง
อาศัยซึ่งกันและกัน ทําใหเกิดสรรพสิ่งที่รวมเรียกวาธรรมชาติ ธัมมะทําให
ชีวิตหลุดพนจากหวงแหงความทุกขมีอิสระเสรีที่จะอยูในโลกตอไปก็ไดจะ
ไปใหพนโลกเสียก็ได

ฉะนั้นเมื่อลูกเห็นศาลที่บูชานักปราชญราชบัณฑิต หรือเห็นคัมภีร
โบราณที่เปนธัมมะอันสูงสงลูกจะตองถนอมดวยความเคารพหากมีขาดตก
บกพรอง ลูกจะตองซอมแซมใหอยูในสภาพดีดังเดิม เพื่อประโยชนแก
อนุชนรุนหลังตอไปลูกจะตองเผยแผธัมมะธํารงไวซึ ่งธัมมะปฏิบัติตนดวย
ธัมมะ และสอนใหผูอื่นรูจักธัมมะ จึงจะเรียกวาเปนพุทธศาสนิกที่รูซึ้งใน
พระกรุณาคุณพระปญญาคุณและพระบริสุทธิคุณของพระผูมีพระภาคเจา
ถาลูกทําไดเชนนี้ จึงจะไดชื่อวาเปนผูรูพระคุณของพระองคอยางแทจริง
และไดถวายความกตัญnูกตเวทีแดพระองคอยางถูกตองแลว

ขอ๙.เคารพผูมีอาวุโสกวาอยางไร

ในครอบครัว ยอมมีบิดามารดา ปูยาตายาย ยาทวดยายทวด ครอบ


ครัวใหญก็มีทั้งที่มีอาวุโสกวาเราและผูที่อายุนอยกวาเรา เราตองเคารพรักผู
หลักผูใหญ รูจักปรนนิบัติเอาใจใสดูแลทุกขสุข ใหความสุขความสําราญแก
ทาน ใหความสนิทสนมกลมเกลียว ยิ้มแยมแจมใสเขาหากัน แมวาจะเด็ก
กวาเราจงพูดจากันดวยวาจาอันไพเราะนานไปก็จะเปนผูมีนิสัยอันดีงาม

ในประเทศยอมมีฮองเต เปนประมุข ที่เราจะตองแสดงความจงรัก


ภักดี รับราชการดวยความซื่อสัตยสุจริต รักษากฎหมายยิ่งกวาชีวิตของลูก
เอง อยาอวดดีทําผิดโดยคิดวาพระองคจะไมทรงทราบ การลงโทษคนโดย
อาศัยอํานาจของกฎหมาย ก็อยาเมาอํานาจจนตัดสินโทษดวยอารมณ ทํา
ไปดวยความลําพองใจ โบราณทานวา การรับใชฮองเตก็คือการรับใช
สวรรคสวรรคยอมประทานความเจริญความสุขสมบูรณใหถาลูกทําดีพอ

ขอ๑๐.รักชีวิตผูอื่นดุจรักชีวิตตนเองอยางไร

มนุษยจักทรงความเปนมนุษยอยูได ก็ดวยจิตที่มีเมตตากรุณา การ


เอาชนะสิ่งที่ยากที่สุดคือใจของตนเอง ตองเริ่มปลูกฝงจิตใจใหมีเมตตา
กรุณากอน การสั่งสมคุณธรรมใดๆ ก็ตองเริ่มที่จิตอันกอปรดวยเมตตา
กรุณาเชนกันในสมัยราชวงศโจว(จิว)ทานโจวกงซึ่งเปนไจเซี่ยงของพระ
เจาเฉิงอวาง

ทานไดแตงหนังสือขึ้นมาเลมหนึ่งใหชื่อวา โจวหลี่ อันเปนตนตํารับที่


ราชวงศตอๆ มา ถือเปนแบบฉบับ วาดวยการบริหารประเททศ หนาที่
ความรับผิดชอบของขาราชการกฎหมายและจารีตประเพณีพิธีกรรมตางๆ
และวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมา

มีอยูขอหนึ่งทานกําหนดไววา

“เดือนแรกของป เปนเวลาที่พืชพันธุธัญญาหารมีโอกาสเจริญเติบโต
สรรพสัตวก็งายแกการตั้งครรภ ฉะนั้นการเซนสรวงบูชาในเดือนนี้ หาม
ฆาสัตวตัวเมีย เพราะเกรงวากําลังตั้งครรภอยู” นี่ก็เปนความเมตตากรุณา
ของทาานโจวกง

ทานปราชญเมิ่งจื่อไดกลาวไววา

“ผูดียอมอยูหางไกลจากโรงครัวที่มีการฆาสัตว เพราะเพียงแตไดยิน
เสียงผูอื่นฆาสัตวก็ทําใหจิตใจหดหูเศราหมองได”

ทานผูใหญแหงกาลกอนจึงไมยอมบริโภคเนื้อสัตวสี่ประเภทคือ
๑.ไดยินเสียงสัตวที่กําลังถูกฆา
๒.เห็นเขาฆาสัตว
๓.สัตวที่เลี้ยงอยูเอง
๔.สัตวที่เขาจงใจฆาเพื่อใหเราบริโภค

ลูกเห็นใครที่ไมอยากบริโภคเนื้อสัตว แตยังทําไมไดทันที ก็จงแนะ


นํ าเขาใหเริ่มไมแตะตองเนื้อสัตวสี่ประเภทนี้ใหไดเสียกอน

เริ่มฝกเสียแตเดี๋ยวนี้ ความกาวหนาในการปฏิบัติธรรมยอมติดตาม
มา เมื่อกระแสจิตไดถูกฝกฝนใหเจริญดวยเมตตาธรรมและกรุณาธรรม
แลวไซรก็จะไมนึกอยากฆาสัตวอีกเลย

สัตวทั้งมวลลวนมีจิตใจเชนเราเหมือนกัน การนําตัวไหมลงไปตมใน
น้ํารอนๆ เพื่อทําเครื่องนุงหมที่นิยมกันวาสวยงามมีคามาก ที่แทเปน
บาปกรรมโดยไมรูตัว ความจริงผาไหม มิใชเปนสิ่งจําเปนสําหรับชีวิต
มนุษยเรานาจะใชผาฝายที่ไมตองเบียดเบียนสัตวจะมิดีกวาหรือแมกระทั่ง
การถางดินฆาหนอนก็ลวนแตเปนบาปกรรมทั้งสิ้น

ดูๆ มนุษยเกือบทั้งหมด ลวนแตเบียดเบียนชีวิตผูอื่นเพื่อความมีชีวิต


ของตนเองตองทําปาณาติบาตอยูตลอดเวลาที่มีชีวิตแมกระทั่งมือที่ตบยุงบี้
มดเทาเหยียบลงไปบนสัตวโดยไมเจตนาก็ไมรูวาวันหนึ่งๆไดทําไปกี่ครั้ง
ลูกจงระวังใหดีปองกันใหไดนอกจากจะสุดวิสัยจริงๆ

โคลงโบราณทานมีอยูบทหนึ่ง ซึ่งเปนที่ประทับใจพอจนบัดนี้ ทานวา


ไววา

“เพราะรักหนูจึงเก็บขาวไวใหกิน เพราะสงสารแมลงจึงไมจุด
ตะเกียง”

ดูเถิดวาคนโบราณนั้นทานมีเมตตากรุณาเพียงไร

การทําความดีนั้นไมมีที่สิ้นสุด อธิบายเทาไรก็คงไมหมด ถาไมมีการ


เริ่มตนก็ไมทราบวาจะทําดีไดอยางไร จงถือหลักสิบประการนี้ แลวลูกก็จง
แผขยายการทําดีใหกวางขวางออกไปเอง การสั่งสมคุณธรรมใหครบหนึ่ง
หมื่นครั้งก็จะอยูเพียงแคเอื้อม

โอวาทขอที่๔
ความถอมตน

(โอวาททั้งสามขอที่เขียนจบไปแลวนั้น ลวนแตสอนใหละชั่วทําดี
สวนโอวาทขอสุดทายนี้ ทานสอนใหรูจักวางตน ในการคบหาสมาคมกับ
บุคคลทั่วไป โดยใหยึดคุณธรรมขอนี้ไว คือการถอมตน ไมอวดวาตนเอง
วิเศษกวาผูอื่น ก็ยอมจะไมมีเรื่องกับใคร ไมกลาทําความชั่ว สํานึกอยูเสมอ
วา ตนเองยังทําความดีไมเพียงพอ ก็จะมีความกาาวหนาในการฝกตนไม
เพียงแตจะหาความรูเพิ่มเติมอยูตลอดเวลา ยังตองรูจักฝกตนใหเขากับคน
ในสังคมได จะไดไมมีศัตรูทั้งตอหนาและลับหลัง ไมมีอุปสรรคในการสั่ง
สมคุณธรรมความดีงาม)

คัมภีรอี้จิงไดกลาวไววา ผูใดยกตนขมทาน อวดวิเศษกวาผูอื่น ยอม


ตองประสบความเสียหายผูใดออนนอมถอมตนไมจองหองลําพองตนยอม
ตองประสบความสุขความเจริญ

แมแตแผนดินก็หนีกฎนี้ไมพน ดูแตขุนเขาที่สูงตระหงาน ยืนทะมึน


เยยฟาทาดินก็ยังตองพังทลายอยูเนืองๆ สวนแองน้ําที่ต่ําตอยนั้นกลับมีน้ํา
ขังอยูตลอดเวลา แมแตปศาจก็ชอบให รายคนทะนง และอภิบาลคนที่ออน
นอมถอมตน ในวิชาโปยกวยนั้นไดแบงออกเปน ๖๔ หนวย หนวยอื่นๆ
ลวนสอนใหเห็นผลดีและผลชั่วในพฤติกรรมของมนุษย แตหนวยแหงการ
ออนนอมถอมตนนี้ไมมีผลชั่วเลยมีแตผลดีทั้งสิ้นจึงเห็นไดวาฟาดินเทพย
ดาผีปศาจและมนุษยลวนนิยมชมชอบความออนนอมถอมตนกันทั้งสิ้น

ในคัมภีรอื่นๆ ก็กลาวเหมือนกันวา ทะนงตนยอมนํามาซึ่งความวิบัติ


ถอมตนยอมนํามาซึ่งความเจริญ พอไดไปรวมสอบไลกับนักศึกษาอื่นๆ ตั้ง
หลายครั้ง ทุกครั้งพอสังเกตนักศึกษาที่ยากจนบางคน บนใบหนามักทอ
ประกายแหงความถอมตน จนบางครั้งพอคิดอยากจะเอามือทั้งสองขางของ
พอ ไปประคองประกายแหงความถอมตนนั้นมาประดับบนใบหนาของพอ
เสียบางและไมตองสงสัยเลยพวกเขาเหลานี้สอบไลไดทุกทีไป

เมื่อตอนที่พอเขามาสอบในเมืองหลวง มีเพื่อนนักศึกษารวมเดินทาง
มาดวย รวมทั้งหมดสิบคนดวยกัน พอสังเกตดู เห็นมีคนที่อายุนอยที่สุดมี
ชื่อวาปงคนเดียวที่มีความสงบเสงี่ยมเจียมตนมีความถอมตนอยูเปนนิจ

พอจึงบอกกับเพื่อนวา

“คนคนนี้จะตองสอบไลไดอยางแนนอน”

เพื่อนถามวาทําไมพอจึงรูลวงหนาไดเลา

พอบอกเขาวา

“ความถอมตนยอมนํามาซึ่งความเจริญ ในหมูพวกเราทั้งสิบคนนี้ มี
ใครบางที่ซื่อและจริงใจเหมือนเขา คอยเอาใจเพื่อนฝูง ไมเคยเอาเปรียบ
ใครเลย แมใครจะหยอกลอ ก็ไมโกรธตอบ ใครนินทาวาราย ก็ไมโตเถียง
สํารวมระวังไมยอมปลอยตัวปลอยใจไปตามอารมณเหมือนคนอื่น คนเชน
นี้แมแตผีสางเทวดาฟาดินก็ยังตองใหความคุมครองและชวยเหลือ”เมื่อผล
การสอบไลครั้งนั้นปรากฏออกมาก็เปนจริงดังที่พอคาดไวทุกประการ

เมื่อป ค.ศ. ๑๕๗๗ (พ.ศ. ๒๑๒๐) พออยูในเมืองหลวงพักกับเพื่อน


ชื่อไคจือ แซเฝง พอสังเกตดูรูสึกเขาเปลี่ยนแปลงไปมาก เมื่อเด็กๆ เขาขี้
เลนซุกซนและเจาอารมณแตบัดนี้ดูเขามีสติควบคุมอารมณไดดีมากเขามี
เพื่อนอยูคนหนึ่ง เปนคนดีมาก ฉลาดซื่อตรง ชอบชวยเหลือเพื่อน คุณ
ธรรมสามประการนี ้สมแลวที่จักขนานนามวากัลยาณมิตรเขามักจะติเตียน
ไคซือตอหนา ไคซือไมเคยโกรธหรือโตตอบเขาเลย รับฟงอยางอารมณดี
เสมอ

พอจึงบอกเขาวา

“นิสัยอันดีงามของเขานี้ ยอมเปนปจจัยนําเขาไปสูความมีบุญวาสนา
สวนคนที่ตองประสบเคราะหกรรม ก็เปนเพราะเขาสรางนิสัยไมดีมาเปน
เหตุปจจัยนําเขาไปสูความหายนะเชนกัน สําหรับเพื่อนนั้น แมฟาดินก็ตอง
ประทานการสนับสนุนปนี้เพื่อนจะตองสอบไลไดอยางแนนอน

ตอมาก็เปนจริงดังที่พอพูดกับเขาไว

ความถอมตนนํามาซึ่งความสําเร็จ

มีเด็กหนุมคนหนึ่งแซจาว สอบไลไดในภูมิลําเนาของตนเมื่ออายุยัง
ไมถึง ๒๐ ป แตจากนั้นไปจะสอบกี่ครั้งก็ไมเคยสอบไลไดอีกเลย ตอมาได
ติดตามทานบิดาซึ่งตองยายไปรับราชการที่อําเภออื่น

ในอําเภอนั้นมีบัณฑิตที่มีความรูสูงอยูทานหนึ่งมีนามวาเฉียนหมิงอู

เด็ กหนุ มได ทราบข าวก็ รี บนํ าบทประพั นธ ของตนไปหาเพื่ อขอคํ า


แนะนํา โดยไมคาดฝน ทานบัณฑิตจับพูกันไดก็ตวัดขอความในบท
ประพันธนั้นทิ้งเกือบหมด ถาเปนบางคนก็จะโกรธมาก แตเด็กหนุมคนนี้
นอกจากจะไมโกรธแลว ยังขอบพระคุณทานบัณฑิต แลวรีบเขียนใหมนํา
มาใหทานแกไขอีก ดวยความออนนอมถอมตนเชนนี้ เปนสิ่งที่หาไดยากยิ่ง
พอรุงขึ้นอีกปหนึ่งเด็กหนุมก็สอบไลได

สติปญญาควบคุมอารมณได

เมื่อป ค.ศ. ๑๕๙๒ (พ.ศ.๒๑๓๕) พอไดไปเมืองหลวงเพื่อเขาเฝา


ฮองเต ไดพบกับเพื่อนคนหนึ่ง ดูเขาชางมีความจริงใจและอารมณดีเสียนี่
กระไร ประกายแหงความออนนอมถอมตนฉายแสง อยูทั่วบรรยากาศที่
รอบๆตัวเขาทําใหพอไดสัมผัสกับประกายนี้ดวยความชื่นชม

พอกลับจากเขาเฝาไดเลาใหเพื่อนๆฟงวา

“หากฟาจะประทานความเจริญรุงเรืองแกใคร มักจะประทานสติ
ปญญาใหกอน เมื่อมีสติปญญาแลว คนที่เจาอารมณก็จะเปลี่ยนเปนคนที่
ควบคุมอารมณได คนที่อวดดีก็กลายเปนคนถอมตนได เมื่อพัฒนาตนเอง
ไดแลวฟายอมประทานความเจริญรุงเรืองมาให”

และก็เปนจริงดังวาเขาสอบไลไดปนั้นเอง

ออนนอมถอมตนไมตองใชเงิน

เมื่อปค.ศ.๑๕๓๔(พ.ศ.๒๐๗๗)มีนักศึกษาแซจางคนหนึ่งมีความ
รูดี เขียนบทความก็ดี เปนคนเดนคนหนึ่งในบรรดานักศึกษาทั้งหมด เขา
เดินทางมานานกิงเพื่อเขาสอบพักอยูที่วัดๆหนึ่ง

เมื่อผลการสอบประกาศออกมาปรากฏวาสอบตก แทนที่จะโทษตน
เองวาความรูยังไมถึงจึงสอบไมไดแตกลับโกรธกรรมการคุมสอบ หาวาไม
ยุติธรรมมีตาก็หามีแววไมบทประพันธดีๆก็หาวาไมดี

หลวงจีนในวัดทานหนึ่งไดยินเขาจึงยืนยิ้มอยู เขาก็เลยพาลโกรธ
หลวงจีนไปดวยหลวงจีนจึงกลาวกับเขาวา ดูๆ แลวเห็นทีบทประพันธของ
ทานไมดีจริง

เขายิ่งโกรธใหญตวาดหลวงจีนวา

“ยังไมทันเห็นบทประพันธจะรูวาดีไมดีไดอยางไร”

หลวงจีนพูดตอบวา

“การประพันธตองอาศัยความสงบทางใจ จิตเปนสมาธิ จึงจะเขียนได


ดี ทานควบคุมอารมณไมได หวั่นไหวอยูตลอดเวลา จะเขียนบทประพันธ
ไดดีอยางไรได”

นักศึกษาจางไดสติจึงคุกเขาขอขมาและมอบตัวเปนศิษย

หลวงจีนจึงสอนวา

“การสอบไลไดหรือไม ลวนขึ้นอยูกับชาตาชีวิต ถาเขาชาตาไมดี แม


จะเขียนบทประพันธไดดีอยางไร ก็สอบไมได จึงตองแกไขที่ตนเองเสีย
กอน”

นักศึกษาจางกราบถามทานวา

“หากขึ้นอยูกับชาตาชีวิตแลวจะแกไขไดหรือ”

หลวงจีนพูดวา

“ฟาประทานชีวิตใหเรา แตชาตาชีวิตเราตองสรางสมเอง หากกระทํา


แตความดี มีศีลธรรม ชอบชวยเหลือผูอื่น ยิ่งไมมีผูรูเห็น ก็ยิ่งเปนกุศล
มหาศาล เมื่อเราสั่งสมความดีจนเต็มเปยมแลว เราจะตองการชาตาชีวิต
อยางไรก็ไดทั้งนั้น”

นักศึกษาจางจึงปรารภวา

“ขาพเจาเปนคนจนจะมีปญญาชวยเหลือคนอื่นไดอยางไร”

ทานชี้แจงวา

“การทําความดีตองเริ่มที่ใจ มุงแกไขตนเองเสียกอน เชนการออน


นอมถอมตน ก็ไมตองใชเงินเลย ทําไมทานไมตําหนิตนเองวาความรูยังไม
เพียงพอจึงสอบตกแตกลับไปดากรรมการคุมสอบเลา”

นักศึกษาจางเพิ่งคิดได จึงเริ่มปฏิบัติตนเสียใหม ลดความหยิ่งผยอง


ลงไปทุกวันๆเพิ่มคุณธรรมใหกับตนเองมากยิ่งขึ้นทุกวันๆ

ครั้นอีกสามปตอมา ในป ค.ศ.๑๕๓๗ (พ.ศ.๒๐๘๐) ในคืนวันหนึ่ง


เขาฝนไปวาไดไปในตึกสูงใหญหลังหนึ่ง เห็นบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่สอบ
ไลวางอยูเลมหนึ่ง เมื่อเปดออกดูเห็นทุกหนามีชองวาง เกิดความสงสัยจึง
ถามคนที่ยืนอยูใกลๆวา

“ทําไมบัญชีรายชื่อนักศึกษาที่สอบไดแลวจึงมีการคัดออกอีกเลา”

ไดรับคําตอบวา

“เนื่องจากผูที่สอบไลไดแลว จะตองผานการตรวจสอบในยมโลกทุกๆ
๓ปถาใครมีความประพฤติไมดีไมอยูในธรรมก็จะถูกคัดชื่อออกจะสอบ
อีกอยางไรก็สอบไมได แลวชี้ไปที่วางบนสมุดนั้นวา สามปมานี้ เจาตั้งใจ
ฝกตนใหกาวหนาไปมาก ก็จะเอาชื่อเจาไวตรงนี้ ขอใหเจารักตนสงวนตัว
อยาไดวูวามทําผิดเหมือนดังแตกอนอีกปนั้นเขาก็สอบไดที่๑๐๕”

เมื่อดูเหตุการณที่ผานมาแลว ยอมจะเห็นไดวา สูงจากศีรษะมนุษย


ขึ้นไป ๓ ฟุตก็มีเทพเจาคอยเฝาดูอยูแลว เราจะตองทําแตสิ่งที่เปนมงคล
หลีกเลี่ยงการกระทําอันเปนอัปมงคลเสีย จะดีจะชั่วอยูที่ตัวเราเอง ถาควบ
คุมจิตใจและความประพฤติของเราใหดี ไมทําสิ่งที่ฟาดินและผีสางเทวดา
ไมพอใจ ไมหยิ่ง ไมโอหัง ไมวูวาม อดทนในสิ่งที่ทนไดยาก ฟาดินและผี
สางก็ยอมจะเห็นใจเราประทานความชวยเหลือแกเราคนที่จะเปนใหญเปน
โตในอนาคต ยอมไมทําจิตใจคับแคบเห็นแกตัว ยอมไมเปนผูทําลายความ
สุขความเจริญของตนเอง ความถอมตนทําใหมีโอกาสที่จะไดรับการอบรม
สั่งสอนจากทานผูรู ไดรับประโยชนจากทานเหลานั้นไมจบสิ้น นักศึกษาจึง
ควรทําตัวเชนนี้ ลูกจงจําไววา คนที่ยกตนขมทาน ถือดีอวดเบงนั้น แมจะ
ไดดิบไดดีก็ไมยั่งยืนนาน

โบราณทานวาไว ปรารถนาชื่อเสียง ยอมไดชื่อเสียง ปรารถนาความ


ร่ํารวย ก็ยอมไดเปนเศรษฐี ความปรารถนาของมนุษย เปรียบประดุจราก
แกวของตนไม เมื่อหลั่งลึกลงดินแลว ตนไมก็จะมีกิ่งกานไพศาล ออกดอก
ออกผลตามฤดูกาล

รากแกวของมนุษย ก็คือการออนนอมถอมตน ไมวาจะเปนเรื่องเล็ก


นอยหรือเรื่องใหญ เราจะตองยึดมั่นในคุณธรรมขอนี้ ถอมตนไวเสมอ ให
ความสะดวกแกผูอื่น เมื่อไมทําใหผูอื่นสะเทือนใจ เพราะความอวดดีของ
เราแลว ฟาดินยอมประทับใจในความดีของเรา พวกนักศึกษามักบนบวง
เทพยดาฟาดิน ขอใหสอบไลได แตพวกนี้ไมคอยมีความจริงใจการบนบวง
จึงไมไดผล

นักปราชญทานเมิ่งจื่อพูดกับพระเจาฉีเซวียนอองวา

“พระองคโปรดดนตรี ถาโปรดดวยความจริงแลวไซร ชาตาของ


ประเทศก็จักรุงเรืองสุกใสเปนแน แตนี่พระองคโปรดดนตรีเพื่อความสุข
ของพระองคเองหากพระองคสามารถขยายความสุขสวนนี้ใหแผไพศาลไป
ในดวงใจของราษฎรทุกคนแลวไซร ราษฎรก็จะมีความสุขเหมือนดั่งพระ
องค และทุกคนก็จะจงรักภักดีตอพระองคอยางสุดหัวใจ เมื่อนั้นชาตาของ
บานเมืองฉีจะไมรุงเรืองสุกใสอยางใดได”

เมื่อลูกตองการสอบไลไดเปนขุนนาง ลูกก็ตองตั้งความปรารถนาไว
ดุจรากแกวของตนไม แนวแนที่จะทําความดีไมทอถอย สั่งสมความดีงาม
ใหไดทุกๆวันลดความถือดีอวดดีใหหมดสิ้นไปสรางอนาคตดวยตัวลูกเอง
ชาตาชีวิตจักทําอะไรได ขอใหลูกจงเพียรพยายามตอไปเถิด ความสําเร็จ
ยอมรอลูกอยูแลวอยางแนนอน

จบ
ขอใหทานผูอานที่ตั้งใจจะทําดีละชั่วอยางนอยจงเพิ่ม๑ตัด๑ใหได
ทุกวันไปถาเพิ่มความดีใหมากกวา๑และตัดความไมดีไดมากกวา๑ก็ยิ่ง
จะประสบความสําเร็จในการสรางอนาคตไดเร็วขึ้น

ระดับการสอบไลของจีนโบราณ

ซิ่งฉาย(ซิวจาย)
นักศึกษาที่สอบไลไดครั้งแรกในภูมิลําเนาของตน หมายถึงนักศึกษา
ที่คัดมาแลว

จวี่ยเหยิน(กือหยิน)
ซิวจายที่สอบไดอีกครั้งหมายถึงผูฉลาดที่สมควรสนับสนุนตอไป

จิ้นซื่อ(จิ้นสือ)
กื อหยิ นที่ สอบไล ได อี กครั้ งเป นบั ณฑิ ตที่ ควรส งเสริ มให เข าสอบรั บ
ราชการไดทานเหลี่ยวฝานสอบไดจิ้นสือแลวก็สอบเขารับราชการเลยจึงมิ
ไดเขาสอบชิงตําแหนงจอหงวนอีก และเปนเพราะความสันโดษของทาน
ดวย เมื่อนักศึกษาไดผานบันได ๓ ขั้น เปนบัณฑิตแลว ถาจะสอบตอไปก็
ตองเดินทางเขาเมืองหลวงเขาสอบในพระราชวัง ฮองเตทรงคัดเลือกดวย
พระองคเอง

จวงเอวี่ยน(จอหงวน)
ผูที่มีลักษณะเปนเลิศ ตอบขอสอบเปนที่รูใจกรรมการเปนที่สุด ได
เปนที่หนึ่ง

ปงเอี่ยน(ปงหงัน)
ผูที่พลาดไปนิดแมเปนรองก็มีสองตาที่ฉลาดไดเปนที่สอง

ถานฮวา(ถัมฮวย)
ผูเขาใจเก็บดอกไมไดเปนที่สามสมัยราชวงศถังผูสอบจิ้นสือไดแลว
จะไดรับพระราชทานเลี้ยง เรียกวางานเก็บดอกไม โดยคัดเลือกจิ้นสือที่มี
อายุนอย ๒ ทาน ไปเลือกเก็บดอกไมงามและมีชื่อในอุทยานตางๆ เพื่อมา
เปนหัวขอในการแตงโคลงฉันทกาพยกลอนของบัณฑิตในงานเลี้ยงตอมาผู
ที่สอบไลไดที่สามก็จะไดรับพระราชทานนามนี้จนถึงสมัยราชวงศเช็ง(ชิง)

ฉวนหลู(ถวนหลู)
ผูที่สอบไดที่สี่ ไมไดเขาเฝา หมายถึงผูที่รับทราบวา สอบไลไดโดย
พระบรมราชโองการที่ขุนนางประกาศตอๆกันออกมาจากทองพระโรง

หานหลิน(ฮั่นหลิน)
หมายถึงเปน ตําแหนงขาราชการ บัณฑิตที่สอบไลไดในขั้นนี้มาก
มายประดุจไมยืนตนตระหงานในปาเปรียบประดุจกําลังของแผนดิน

คําอธิบายอายตนะโดยยอ

ชีวิตมี๒ระบบคือ
ระบบรูปธรรม ไดแกวิถีชีวิตทางกาย
ระบบนามธรรม ไดแกวิถีชีวิตทางจิต

ทั้ง ๒ ระบบนี้ เสมือนเสนขนาน ๒ เสน ที่ไมมีวันพบกันที่จุดบรรจบ


ไดเลยหากไมมีอายตนะซึ่งเปนกลุมธรรมที่เชื่อมโยงวิถีชีวิตทั้ง๒ระบบให
มาอยูในวงจรเดียวกันคือขบวนการขันธ ๕ ความสัมพันธระหวางอายตนะ
ภายในและอายตนะภายนอก เปนปจจัยสําคัญยิ่งที่กระตุนใหชีวิตเกิดบท
บาทและพลังงานมากมายตั้งแตเกิดจนตายชาติแลวชาติเลา

ทานเปรี ยบธรรม๒กลุมนี้ไววา

อายตนะภายใน๖กลุม
คือขบวนการสื่อความหมายทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ
เสมือนวิถีทางที่นําอาคันตุกะไปสูการพบปะอยางมีเงื่อนไข

อายตนะภายนอก๖กลุม
คือขบวนการรุกเราจากรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะธัมมารมณ
เสมือนแขกผูมาเยือน

ที่วามีเงื่อนไขก็เพราะตองผานวิถีทางตาเทานั้นจึงจะเขาถึงศูนยการ
เห็นไดอยางมีระเบียบ รูปที่อยูนอกทัศนวิสัยก็ดี ไมมีเหตุปจจัยที่เหมาะสม
สนับสนุนก็ดี ยอมไมอยูในเงื่อนไขที่จะเกิดขึ้นไดอยางเปนขบวนการ
อายตนะอีก ๔ คูก็เชนกัน เสียงตองผานวิ ถีทางหูจึงจะเขาถึงศูนยการไดยิน
กลิ่นตองโชยเขาวิถีทางจมูกรสตองมาเยือนตามวิถีทางลิ้นโผฏฐัพพะคือสิ่ง
เราที่ตองสัมผัสผานวิถีทางกายเขาสูศูนยกายสัมผัส ธัมมารมณคือสรรพสิ่ง
ทั้งปวงที่ผานวิถีทางใจเราใหเกิดความนึกคิดจิตไมวาง

กลุมธรรมทั้ง๖คูนี้มาประจวบกันที่จุดบรรจบคราใดก็เปนปจจัยให
เกิดขันธ๕คือรูปเวทนาสั ญญาสังขารวิญญาณทุกครั้งไปขันธ๕ก็เปน
ปจจัยใหระบบทั้ง ๒ ของชีวิต แสดงบทบาทออกมาทางกาย วาจา ใจ เปน
กุศลกรรมบาง เปนอกุศลกรรมบาง เปนกลางบาง สุดแตระดับการฟงรู ดู
ออก บอกถูก ทําเปน เห็นแจง แสดงออก ฯลฯ ของแตละบุคคล ยอมแตก
ตางกันตามแรงขับของ กิเลส ตัณหา อุปาทาน ฯลฯ ขบวนการดังกลาวจัก
เกิดขึ้น ตั้งอยู ดับไป ดวยความไมคงทน แปรปรวนไปตามเหตุปจจัย คือ
อนิจจตา เปนปญหาเดือดรอน วุนวาย คือทุกขตา กําหนดตามความ
ตองการของเราเสมอไปไมได คืออนัตตา ชีวิตตองเปนไปตามกฎแหงไตร
ลักษณนี้ตลอดเวลาที่ยังไมสิ้นชาติภพ

ทานผูอานที่มีจิตใจเปนไปตามมาตรการและสูงถึงมาตรฐานสามารถ
เขาสูวิปสสนากรรมฐานแลวไซร ยอมแจมแจงในความหมายของอายตนะ
ที่ละเอียดออนลึกซึ้งซับซอนยิ่งกวานี้ไดดวยตนเอง

ชวงเวลาของชีวิตนั้นมีจํากัดนัก ชีวิตตองขึ้นอยูกับปจจัยภายนอก
มากวาที่จะมีโอกาสเปนตัวกําหนดความเปนไปของตัวเอง พระบรมศาสดา
จึงทรงพร่ําสอนตลอด๔๕พรรษาของพระองคแมในปจฉิมพจนวา

“จงตั้งตนอยูในความไมประมาท”

การบรรลุเปาหมายของชีวิต จะทันเวลาหรือไม อยูที่ความไม


ประมาทในอายตนะนี้แล

เจือจันทนอัชพรรณ
(มิสโจ)
จันทรที่๒๘/๐๙/๒๕๒๔

ตัดวิจิกิจฉาเพื่อบรรลุโสดา

ทานลื่อโจว

ใชหรือมิใช ใชหรือมิใช เจาตัวสงสัย เปนตัวขัดขวาง


หนทางปฏิบัติ การฝกฝนจิต ใหไดสําเร็จ ตองฝกฝนจิต
ไมออนไมไหว สิ่งใดที่เกิด ไมเปนดั่งใจ ตองทําใจวาง
อยาใหขวางทาง ที่จักกาวเดิน อยาคิดเกินเลย จัดการผสม
แตงปรุงเขาไป ใหจิตมิวาง นั้นเปนไมดี แกตัวของตัว
จิตตองปลอยวาง ปลอยวางทุกสิ่ง ไมเอาสิ่งใด มาเปนอารมณ
กวนจิตกวนใจ สิ่งที่มิเปน แลเห็นวาเปน อยางนั้นอยางนี้
ขอจงแลมอง สองตาแลเปน เห็นเปนธรรมดา เชนนี้เองแล
เรื่องราวใดใด อยาปรุงอยาแตง ใหเปนดังใจ รูเห็นเพียงใด
ใหหยุดเพียงนั้น จิตจึงจักวาง สําหรับฝกฝน

โสดาโสดา อะไรคือโสดา จิตที่ฝกดี ละวางทุกสิ่ง


ไมมีตัวเรา ไมมีตัวเขา คือไมยึดติด วานั่นของเรา
หรือนั่นของเขา เอามาใสใจ ใหปรุงใหแตง วาเปนตางตาง
เมื่อละวางได ความชอบโกรธเกลียด ไมมีในจิต ความโลภอยากได
มาเปนของเรา ก็จะไมมี เมื่อจิตสะอาด ปลอดโปรงแจมใส
ดวงจิตดวงนี้ ใสดุจดวงแกว เปลงปลั่งแวววาว ดุจเพชรเจียระไน
ไมมีปญหา มีแตปญญา เห็นแจงในธรรม ไมมีเคลือบแคลง

ขออนุญาตทานลื่อโจว เทพเจาผูกอปรดวยพรหมวิหาร ๔ นําโอวาท


ของทานมาประดับไวเตือนจิต ยามขันธหากําลังปรุงแตง เมื่ออายตนะมา
เยือน

ธรรมะพระอริยะจี้กง

จิตเหนือสํานึก

มนุษยนั้นมีพฤติกรรมไปตามที่จิตใตสํานึกจะสั่งการจิตที่อยูใตสํานึก
ยอมอยูลึก และไกลกวาจะคืนกลับ จิตใตสํานึกยอมทับถมตัวมันเอง ไมวา
ใครผูใด สํานึกยอมเปนใหญกวาจิต จิตจึงถูกสํานึกกดทับไวใตบังคับบัญชา
สํานึกที่วาคือ กิเลส ตัณหา อุปาทานทั้งปวง สํานึกจึงเปนหวงลามจิตมิให
แสวงหาสิ่งอื่นใด นอกไปจากคําบัญชา จิตอันถูกสํานึกจึงเปนหวงลามจิตมิ
ใหแสวงหาสิ่งอื่นใด นอกไปจากคําบัญชา จิตอันถูกสํานึกยึดเหนี่ยวไว นั้น
คือจิตอันเปนทุกข คือจิตอันเปนทาส คือจิตอันปราศจากแสงสวางแหงพระ
ธรรมเปนจิตที่มืดดํา เปนจิตที่ต่ําชา เปนจิตที่หาประโยชนใดๆ มิได ดังนี้
แลวจิตใตสํานึกจึงเปนพลังกดดันหันมนุษยเขาหาอาสวกิเลสทั้งมวล

จิตอันอยูใตสํานึกจึงเปนผลึกของสันดานนิสัย อันใฝอยูในความชั่ว
ความกลัวความขลาดเขลาจิตใตสํานึกจึงเปนจิตที่เศราหมองยากที่จะเห็น
ธรรมะ ขอชักนําพวกเราทั้งหลายจงมารวมกันแปลงกายเปลี่ยนใจ พาจิตให
ผองใสดวยการทําจิตใหอยูเหนือสํานึก ตรึกตรอง ศีล สมาธิปญญา ใหเห็น
แมอริยสัจสี่ก็พึงหวังใหเห็นโดยแจมชัดขจัดเสียซึ่งความมืดดําแหงจิตแลว
ชีวิตของเราก็จะสบาย เปนชีวิตที่ใกลถึงธรรมอันประเสริฐ บรรเจิดกวาสิ่ง
ทั้งปวง

มีจิตอยูเหนือสํานึกแลวใจยอมผองแผว ดุจแกวใสไรฝุนธุลี ดังนี้ทาน


เวยหลางจึงวา ใยตองเช็ดถูอีกดวยเลา เพราะแทที่จริงแลว แมโพธิก็ไรตน
เขาใจดังนี้ชีวิตยอมเปนสุขอยูในปจจุบันขณะ เปนหวงเปนทุกขไปใยกับวัน
พรุงนี้ เชนนี้ปจจุบันเราจักเศราหมอง มิใยจะตองกลาวถึงอนาคต เมื่อวันนี้
ทุกขเสียแลวพรุงนี้จะสุขไดอยางไรเพราะใจมีเพียงวันนี้เทานั้นใจไมอาจ
รอเราอยูในวันพรุงนี้

ธรรมะกระเบียดนิ้ว

ธรรมะกระเบียดนิ้ว ยังคลายหิวดับกระหาย
เปนธรรมอันงายงาย ไมยักยายใจโลเล
ธรรมะกระเบียดนิ้ว ยังดับกริ้วดับโทสา
นั่นแหละคือธรรมา ธรรมดาในตัวเรา
ธรรมกระเบียดนิ้ว ใชเล็กจิ๋วไรคุณคา
แทธรรมมารดา เปนคุณคายิ่งใหญเอย

บัญชีบริหารกายวาจาใจ

วันเดือนป กุศลกรรม หมายเหตุ อกุศลกรรม หมายเหตุ










บัญชีนี้จะชวยกระตุนเตือนใหเรามีสติสัมปชัญญะ เมื่อยามที่จะโนม
เอียงไปในทางมิชอบ ทําบัญชีนี้ใหไดสม่ําเสมอ ความดีจะเพิ่มขึ้น ความชั่ว
จะลดนอยลง จนในที่สุดเหลือแตความดีลวนๆ การบรรลุธรรมยอมบังเกิด
ขึ้นตามขั้นตอนของการประพฤติปฏิบัติชอบอยางแนนอน

You might also like