You are on page 1of 35

หนวยการเรียนรูที่ 4

พื้นฐานทางเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
มาตรฐาน ค 3.1 : ขอ 2 3) การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของ
มาตรฐาน ค 6.1 : ขอ 1 และ ขอ 2 มุมที่กําหนดให
มาตรฐาน ค 6.2 : ขอ 1 4) การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
มาตรฐาน ค 6.3 : ขอ 1 5) การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายัง
สนตรงที่กําหนดให
มาตรฐาน ค 6.4 : ขอ 1 และ ขอ 2
6) การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบน
มาตรฐาน ค 6.5 : ขอ 1
เสนตรงที่กําหนดให
2. นําการสรางพื้นฐานไปสรางรูปเรขาคณิต
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
อยางงายได
1. สรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรง 3. สืบเสาะ สังเกต และคาดการณเกี่ยวกับสมบัติ
และบอกขั้นตอนการสรางตอไปนี้ได ทางเรขาคณิตได
1) การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับ
ความยาวของสวนของเสนตรงที่กําหนดให
2) การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให

สาระการเรียนรู
4.1 จุด เสนตรง สวนของ
เสนตรง รังสี และมุม (2 ชั่วโมง)
4.2 การสรางรูปเรขาคณิตโดยใช
วงเวียนและสันตรง (12 ชั่วโมง)

พรอมหรือยัง ? ถาพรอมแลว ก็เริม่ เรียนแลวนะครับ


125
126 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

4.1 จุด เสนตรง สวนของเสนตรง


รังสี และมุม

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. ระบุรูปและสัญลักษณของรูปเรขาคณิตพื้นฐาน ไดแก จุด เสนตรง
สวนของเสนตรง รังสีและมุมได
2. บอกสมบัติของรูปเรขาคณิตพื้นฐาน ไดแก จุด เสนตรง สวนของ
เสนตรง รังสีและมุมได
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. การอธิบายขั้นตอนในการสรางรูปเรขาคณิตพื้นฐานโดยใชวงเวียน
และสันตรงไดถูกตอง
2. การแกปญหา
3. การใหเหตุผล
4. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
5. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
6. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 127

จุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสี และมุม


ในคณิตศาสตรมีคําบางคําที่ใชเปนพื้นฐานในการสื่อความหมายโดยไมตองใหนิยาม คํา
เหลานี้เปนคําอนิยาม ในเรขาคณิตถือวา จุด เสนตรง และระนาบ เปนคําอนิยาม
จุด (Point)
จุ ด ใช บ อกตํ า แหน ง ไม มี ข นาด กล าวคื อ ไม มี ค วามกว า งและความยาว เขี ย นแทนด ว ย
สัญลักษณ • แทนจุด แลวเขียนตัวอักษรกํากับไว เมื่อตองการระบุชื่อจุด เชน
• แทน จุด A
A
เสนตรง (Straight line)
เส น ตรง มี ค วามยาวไม จํ ากัด และไมคํานึงถึง ความกว างของเส นตรง เมื่อต องการเขีย น
สัญลักษณแทนเสนตรง AB จะเขียนดังนี้
• •
A B
HJJG
เสนตรง AB เขียนแทนดวยสัญลักษณ AB
ขอสังเกต
HJJG
1) เสนตรง AB อาจเรียกวา เสนตรง BA และเขียนแทนดวย BA
2) สัญลักษณของเสนตรง จะเห็นวามีหัวลูกศรทั้งสองขาง หัวลูกศรนี้แสดงวาเสนตรงมีความ
ยาวไมจํากัด สามารถตอเสนตรงออกไปในทิศทางของหัวลูกศรทั้งสองขางโดยไมมีที่สิ้นสุด
3) ในทางปฏิบัติอาจเขียนเสนตรง AB โดยไมจําเปนตองเขียนสัญลักษณจุด • บนเสนตรง
เชน
หมายถึง • •
A B A B

ลองทําดู คุณทําได : ใหนักเรียนเขียนจุดและเสนตรงมาอยางละ 2 แบบ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


128 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

สมบัติของจุดและเสนตรง มีดังนี้
1. มีเสนตรงเพียงเสนเดียวเทานั้น ที่ลากผานจุดสองจุดที่กําหนดให
• •
A B
2. ถาเสนตรงสองเสนตัดกันแลวจะมีจุดตัดเพียงจุดเดียวเทานั้น
A B
O

C D

สวนของเสนตรง (Line segment)


รูปตอไปนี้เปนรูปสวนของเสนตรงที่มีความยาวตาง ๆ

บทนิยาม สวนของเสนตรง คือ สวนหนึ่งของเสนตรงที่มีจุดปลาย (End point) สองจุด

ในการเขียนสวนของเสนตรง จะตองกําหนดจุดปลายสองจุด เชน

A B
สวนของเสนตรง AB เขียนแทนดวยสัญลักษณ AB
ขอสังเกต
1) สวนของเสนตรง AB มี A และ B เปนจุดปลาย
2) สวนของเสนตรง AB อาจเรียกวาสวนของเสนตรง BA และเขียนแทนดวย BA
3) สวนของเสนตรง AB ไมจําเปนตองเขียนสัญลักษณจุด • แทนจุดปลายบนสวนของ
เสนตรง เชน

หมายถึง
A B A B

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 129

ความยาวของ AB เขียนแทนดวยสัญลักษณ m( AB ) หรือ AB เชน


ความยาวของสวนของเสนตรง AB เทากับ 5 เซนติเมตร
เขียนแทนดวย m( AB ) = 5 เซนติเมตรหรือ AB = 5 เซนติเมตร
ตัวอยางสวนของเสนตรง
ดานทุกดานของรูปขางลางนี้ เปนสวนของเสนตรง

สันของทรงสามมิติเหลานี้ เปนสวนของเสนตรงเชนกัน

ทําไดหรือเปลา ?

1) เขียนแทนดวยสัญลักษณ………………………..
E F อานวา…………………………………………...
หรือ……………………………………………...
2) เขียนแทนดวยสัญลักษณ………………………..
ก อานวา…………………………………………...
ข หรือ……………………………………………...
3) W เขียนแทนดวยสัญลักษณ………………………..
อานวา…………………………………………...
X หรือ……………………………………………...

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


130 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

รังสี (Ray)
รูปตอไปนี้เปนรูปรังสีที่มีทิศทางตาง ๆ

บทนิยาม รังสี คือ สวนหนึ่งของเสนตรงซึ่งมีจุดปลายเพียงจุดเดียว


A B
JJJG JJJG
รังสี AB เขียนแทนดวยสัญลักษณ AB โดยมี A เปนจุดปลายของ AB
ขอสังเกต
JJJG JJJG JJJG JJJG
1) AB และ BA ไมใชรังสีเดียวกัน เพราะ AB มี A เปนจุดปลาย สวน BA มี B เปนจุด
ปลาย
2) จะเห็ น ว า รั ง สี มี หั ว ลู ก ศรเพี ย งข า งเดี ย ว หั ว ลู ก ศรนี้ แ สดงว า รั ง สี มี ค วามยาวไม จํ า กั ด
สามารถตอรังสีออกไปในทิศทางของหัวลูกศรโดยไมมีที่สิ้นสุด
3) ในทางปฏิบัติอาจเขียนรูปแทนรังสี โดยไมจําเปนตองเขียนสัญลักษณจุด • แทนจุดปลาย
และอีกจุดหนึ่งบนรังสี เชน

หมายถึง •
A B A B

รูหรือเปลา ?

1) เขียนแทนดวยสัญลักษณ………………………..
R S อานวา…………………………………………...
2) เขียนแทนดวยสัญลักษณ………………………..
ค อานวา…………………………………………...

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 131

มุม (Angle)
รูปตอไปนี้เปนรูปมุมที่มีขนาดตาง ๆ

บทนิยาม มุม คือ รังสีสองเสนที่มีจุดปลายจุดเดียวกัน เรียกรังสีสองเสนนี้วา


แขนของมุม และเรียกจุดปลายที่เปนจุดเดียวกันวา จุดยอดมุม (Vertex)

B C
JJJG JJG
ˆ หรือ ∠ABC ซึ่งมี BA และ BC เปนแขนของมุม
จากรูป มุม ABC เขียนแทนดวย ABC
ˆ และ B เปนจุดยอดมุมของ ABC
ABC ˆ
ขอสังเกต
1) ในทางปฏิ บั ติอ าจเขี ย นรู ป แทนมุ ม โดยใช ส ว นของเส น ตรงแทนแขนของมุ ม และไม
จําเปนตองเขียนสัญลักษณจุด • แทนจุดยอดมุม หรือจุดอื่น ๆ ที่เปนจุดปลายของสวนของเสนตรง
เชน
A A
หมายถึง

B C B C
2) ขนาดของ ABC
ˆ เขียนแทนดวย m( ABC
ˆ ) หรือ m( ∠ABC ) เชน
A


B 30 C
จากรูป จะไดวา ABC
ˆ มีขนาดเทากับ 30 องศา เขียนแทนดวย m( ABC
ˆ ) = 30 องศา หรือ
m( ∠ABC ) = 30 องศา

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


132 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตอบไดเปลา ?

1) X เขียนมุมแทนดวยสัญลักษณ……………………..
อานวา…………………………………………...
แขนของมุม คือ………………………………….
45๐
Y Z จุดยอดมุม คือ……………………………………
ขนาดของมุม…………เทากับ…………………..

2) ก เขียนมุมแทนดวยสัญลักษณ……………………

35 ข อานวา…………………………………………...
แขนของมุม คือ…………………………………
ค จุดยอดมุม คือ……………………………………
ขนาดของมุม…………เทากับ…………………..
ขอตกลงเกี่ยวกับมุม
1. เราอาจเขียนเสนโคงที่มุมเพื่อระบุมุมที่ตองการ เชน
A P R

B C Q S

2. เมื่อมุมที่กลาวถึงมีความชัดเจนเกี่ยวกับแขนของมุม การเรียกชื่อมุมสามารถเรียกได 3 วิธี


ดังนี้
1) เรียกเฉพาะจุดซึ่งเปนจุดยอดของมุม จะเรียกเชนนี้ไดในกรณีที่เปนมุมเดียว
หรือไมสับสนกับมุมอื่น เชน
A

B C
∠ B (อานวามุม B) หรือ B̂ (อานวามุม B)

2) เรียกชื่อสัญลักษณของรังสี โดยใหจุดยอดของมุมอยูตรงกลาง เชน ∠ABC


หรือ ∠CBA ( ABC
ˆ หรือ CBA ˆ )

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 133

3) เรียกตามตัวอักษร หรือตัวเลขซึ่งเขียนกํากับไวที่ภายในมุม เชน


1
a
∠a (หรือ â ) ∠ 1 (หรือ 1̂ )
อานวา มุม a อานวา มุม 1
3. เราจําแนกชนิดของมุมตามขนาดของมุมไดดังนี้
1) มุมที่มีขนาดมากกวา 0o แตนอยกวา 90o เรียกวา มุมแหลม (Acute angle)

2) มุมที่มีขนาด 90o เรียกวา มุมฉาก (Right angle) ในการเขียนรูปแสดงมุมฉาก


อาจเขียนสัญลักษณมุมฉากที่มุมดังกลาว

หรือ

3) มุมที่มีขนาดมากกวา 90o แตนอยกวา 180o เรียกวา มุมปาน (Obtuse angle)

4) มุมที่มีขนาด 180o เรียกวา มุมตรง (Straight angle)


5) มุมที่มีขนาดมากกวา 180o แตนอยกวา 360o เรียกวา มุมกลับ (Reflex angle)

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


134 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

นอกจากนี้ยังมีมุมขนาดอื่น ไดแก มุมที่มีขนาด 0o และมุมที่มีขนาด 360o สําหรับ


มุมที่มีขนาด 360o เรียกวา มุมรอบจุด (Round angle)

มุมที่มีขนาด 0o

มุมที่มีขนาด 360o
หรือมุมรอบจุด
4. รูปมุมแตละรูปจะแสดงมุมสองมุม ดังนี้

2
B 1 A

C
มุม ABC จะหมายถึง 1̂ และมุมกลับ ABC จะหมายถึง 2̂ โดยทั่วไปเมื่อกลาวถึงมุม
ABC จะหมายถึงมุมที่มีขนาดมากกวา 0o แตนอยกวา 180o

ลองลากเสนนะจะ : จงเขียนรูปตอไปนี้โดยไมตองยกมือและไมใหดินสอทับกันดวย

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 135

กิจกรรมที่ 4.1 : ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนําเสนอ


1. รูปที่กําหนดใหตอไปนี้ รูปใดแทนจุด เสนตรง สวนของเสนตรง รังสีและมุม เขียนสัญลักษณ
แทนไดอยางไร
1) • ………………………………………………
D
2) • • ………………………………………………
P Q
3) • • ………………………………………………
E F
4) R

S T ………………………………………………

5)
X Y ………………………………………………
6)
E F ………………………………………………

2. จงเขียนรูปแสดงสัญลักษณที่กําหนดใหตอไปนี้ใหถูกตอง
JJJG
1) AB 2) AB

HJJG JJJG
3) AB 4) BA

5) AB = 4 เซนติเมตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


136 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3. จากรูปที่กําหนดใหแตละรูปโดยมีมุมขนาดตาง ๆ กันไดแก a, b, c, d, e, f และ g จงบอกรูปที่มี


มุมและขนาดของมุมตามที่กําหนดให

1) มุมในรูปใดเปนมุมฉาก ……………………………………………….
2) มุมในรูปใดเปนมุมแหลม ……………………………………………….
3) มุมในรูปใดเปนมุมกลับ ……………………………………………….
4) มุมในรูปใดมีขนาดเล็กที่สุด ……………………………………………….
5) มุมในรูปใดมีขนาดใหญที่สุด ……………………………………………….
4. จงบอกชื่อมุมและบอกชนิดของมุมที่กําหนดใหในแตละขอตอไปนี้
1) B C 2) D•

A E F

……………………………… ………………………………
3) 4)
X•
• • •
P Q R
Y Z•

……………………………… ………………………………
5) 6) J L
H I

G
K
……………………………… ………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 137
MATH

4.2 การสรางรูปเรขาคณิต
โดยใชวงเวียนและสันตรง

จุดประสงคการเรียนรู
ดานความรู : นักเรียนสามารถ
1. สรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรงและบอกขั้นตอนการสรางตอไปนี้
1) การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับความยาวของสวนของเสนตรงที่
กําหนดให
2) การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให
3) การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให
4) การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
5) การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
6) การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรงที่กําหนดให
2. นําความรูการสรางพื้นฐานไปสรางรูปเรขาคณิตอยางงายได
ดานทักษะ / กระบวนการ : นักเรียนมีความสามารถใน
1. การอธิบายขั้นตอนในการสรางรูปเรขาคณิตพื้นฐานโดยใชวงเวียนและ
สันตรงไดถูกตอง
2. การแกปญหาและการใหเหตุผล
3. การสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ
4. การเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ ได
5. ความคิดริเริ่มสรางสรรค
ดานคุณลักษณะ : ปลูกฝงใหนักเรียน
1. มีความรับผิดชอบ
2. มีความสนใจใฝรู
3. มีความรอบคอบ มีระเบียบวินัย
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
5. มีวิจารณญาณและทํางานอยางเปนระบบ
6. ตระหนักในคุณคา และมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


138 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

การสรางรูปเรขาคณิตโดยใชวงเวียนและสันตรง
การสรางรูปเรขาคณิตตองอาศัยความรูในการสรางพื้นฐานตอไปนี้
1. การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับความยาวของสวนของเสนตรงที่กําหนดให
2. การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให
3. การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให
4. การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
5. การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
6. การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรงที่กําหนดให

1. การสรางสวนของเสนตรงใหยาวเทากับความยาวของสวนของเสนตรงที่กําหนดให
ถากําหนด AB ใหดังรูป นักเรียนสามารถสรางสวนของเสนตรง MN โดยให AB = MN
ไดดังนี้

A B
วิธีสราง 1. ลาก MP โดยใหยาวกวา AB ดังรูป

2. ใหจุด M เปนจุดศูนยกลาง กางวงเวียนรัศมีเทากับ AB เขียนสวนโคงตัด MP


ที่ N

3. จะได MN โดยที่ AB = MN ตามตองการ

นักเรียนสามารถตรวจสอบวา AB = MN จริงหรือไม โดยใชวิธีการวัดหรือใช


กระดาษลอกลายก็ได

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 139

ตัวอยางที่ 1 กําหนด a แทนความยาวของสวนของเสนตรง


จงสรางรูปสามเหลี่ยมดานเทา ABC ใหมีดานแตละดานยาวเทากับ a
วิธีสราง
JJJG
1. ลาก AX
JJJG
2. ใช A เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับ a เขียนสวนโคงใหตัด AX ที่จุด B
3. ใช A และ B เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับ a เขียนสวนโคงใหตัดกันที่จุด C
4. ลาก BC และ AC
จะไดรูปสามเหลี่ยม ABC ซึ่งมีดานแตละดานยาวเทากับ a ตามตองการ

2. การแบงครึ่งสวนของเสนตรงที่กําหนดให
การแบงครึ่งสวนของเสนตรง ทําไดโดยการหาจุดกึ่งกลางของสวนของเสนตรงที่กําหนดให
ตัวอยางที่ 2 กําหนด AB ดังรูป นักเรียนสามารถหาจุดกึ่งกลางของ AB หรือแบงครึ่ง AB
ไดอยางไร
A B
วิธีสราง 1. ลาก AB ใหมีความยาวเทากับความยาวที่โจทยกําหนดให
2. ใหจุด A และจุด B เปนจุดศูนยกลาง กางวงเวียนรัศมีมากกวาครึ่งของความยาว
AB เขียนสวนโคงทั้งดานบนและดานลางของ AB ใหตัดกันที่จุด P และจุด
Q ตามลําดับ
3. ลาก PQ ตัด AB ที่จุด O จะไดจุด O เปนจุดกึ่งกลางของ AB ซึ่ง AO = BO
ตามตองการ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


140 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

นักเรียนสามารถตรวจสอบวา AO = BO จริงหรือไม โดยใชวงเวียน


ขอสังเกต เราสามารถแบงครึ่ง AO และ BO ไดอีก โดยวิธีเดียวกัน ซึ่งเปนการแบง AB
ออกเปน 4 สวน

กิจกรรมที่ 4.2 : ทักษะการการแกปญหา การสื่อสาร และการนําเสนอ


1. กําหนด PQ ใหดังรูป จงสราง
1) สวนของเสนตรง AB ใหยาวเทากับ PQ

P Q

2) สวนของเสนตรง AB ใหยาวเทากับสองเทาของ PQ
• •
P Q

2. กําหนด a และ b แทนความยาวของสวนของเสนตรงสองเสน ดังรูป

a b
จงสรางสวนของเสนตรงเสนหนึ่งใหมีความยาวเทากับ a + b และอีกเสนหนึ่งยาวเทากับ a – b

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 141

3. จงสรางรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว ใหมีดานที่เทากันแตละดานเทากับสวนของเสนตรง a และมี


ฐานยาวเทากับสวนของเสนตรง b ตามที่กําหนดให

a b

4. กําหนด a, b และ c แทนความยาวของสวนของเสนตรงสามเสน ดังรูป จงสรางรูป


สามเหลี่ยม ABC ใหมีดายทั้งสามยาว a, b และ c

a b c

5. จงแบง AB ที่กําหนดใหออกเปนสองสวนที่ยาวเทากัน

A B

6. จงแบง RS ซึ่งยาว 6 นิ้วออกเปนสี่สวนที่ยาวเทา ๆ กัน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


142 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

3. การสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให
ตัวอยางที่ 3 ถากําหนดมุม ABC ใหดังรูป จะสามารถสรางมุม PQR ใหมีขนาดเทากับมุม ABC
ไดอยางไร A

B
C•
วิธีสราง 1. ลาก QR ใหยาวพอสมควร

JJJG
2. จากรูปที่กําหนดใหใช B เปนจุดศูนยกลางรัศมีพอสมควร เขียนสวนโคงตัด BA
JJG
และ BC ที่จุด D และจุด E ตามลําดับ
A

B
C•
JJJG
3. ใชจุด Q เปนจุดศูนยกลางรัศมีเทากับความยาวของ BD เขียนสวนโคงตัด QR
ที่จุด S

4. ใชจุด S เปนจุดศูนยกลาง รัศมีเทากับความยาวของ ED เขียนสวนโคงตัด


สวนโคงแรกที่จุด P
JJG
5. ลาก QP จะได PQR ˆ ตามตองการ ซึ่ง m( ABC
ˆ ) = m( PQR
ˆ )

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 143

ตัวอยางที่ 4 จงสรางรูปสามเหลี่ยมใหมีฐานยาว a และมุมที่ฐานทั้งสองมุมมีขนาดเทากับ


m( XYZ
ˆ ) Z

a
Y
X
วิธีสราง 1. สราง AB ใหยาวเทากับ a
ˆ ใหมีขนาดเทากับขนาดของ XYZ
2. ที่จดุ A สราง BAC ˆ
JJJG
3. ที่จดุ B สราง ABD
ˆ ใหมีขนาดเทากับขนาดของ XYZ
ˆ ให E เปนจุดตัดของ BD
JJJG
และ AC

จะไดรูปสามเหลี่ยม ABE เปนรูปสามเหลี่ยมที่มีลักษณะตามตองการ


4. การแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
การแบงครึ่งมุม ทําไดโดยการหาเสนแบงครึ่งมุมที่กําหนดให
ตัวอยางที่ 5 กําหนด ABC ˆ ใหดังรูป สามารถแบงครึ่งมุม ABC ออกเปนสองสวนไดดังนี้
A

B
C•
JJJG
วิธีสราง 1. ใชจุด B เปนจุดศูนยกลาง กางวงเวียนรัศมีพอสมควรเขียนสวนโคงตัด BA และ
JJG
BC ที่จุด D และจุด E ตามลําAดับ

B
C•

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


144 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

2. ใชจุด D เปนจุดศูนยกลาง กางวงเวียนรัศมีพอสมควรเขียนสวนโคง และใชจุด


E เปนจุดศูนยกลาง รัศมีเทาเดิม เขียนสวนโคงตัดสวนโคงเดิมที่จุด M

A

B
C•
JJJG
3. ลาก BM
A

B
C•
JJJG
จะได BM แบงครึง่ มุม ABC ที่ทําให m( ABM
ˆ ) = m( MBC
ˆ ) ตามตองการ
เราสามารถตรวจสอบวา ABM
ˆ มีขนาดเทากับขนาดของ MBC
ˆ โดยใชวงเวียน

กิจกรรมที่ 4.3 : ทักษะการการแกปญหา การสื่อสาร และการนําเสนอ


1. จงสราง ABC
ˆ ใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให พรอมทั้งบอกขั้นตอนวิธีการสราง

2. จงสราง ABC
ˆ ใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมกลับที่กําหนดให

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 145

3. จงสรางมุมใหมีขนาดเปนสองเทาของขนาดของมุม ABC
ˆ ที่กําหนดให

A

B
C•

4. จงสราง ABCˆ ใหมีขนาดนอยกวา 180 องศา


1) จงสรางเสนแบงครึ่งมุม ABC
2) จงสรางเสนแบงครึ่งมุมกลับ ABC

5. กําหนด XYZ ˆ จงสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของ XYZ


ˆ แลวแบงมุมที่สรางออกเปน
มุมที่มีขนาดเทากัน 4 มุม

Y Z

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


146 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

6. จงสรางรูปสามเหลี่ยม ABC ให AB = a, m( ABC


ˆ ) = m( PQR
ˆ ) และ m( BAC
ˆ )=
m( XYZ
ˆ ) R
Z
a

Q Y X
P

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 147

5. การสรางเสนตั้งฉากจากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
HJJG
ตัวอยางที่ 6 ให P เปนจุดที่อยูภายนอก AB ดังรูป

P

• •
A B
HJJG
วิธีสราง การสรางสวนของเสนตรงจากจุด P ใหตั้งฉากกับ AB ทําไดดังนี้
HJJG
1. ให P เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนสวนโคงตัด AB ที่จุด C และ
จุด D
2. ใชจุด C และจุด D เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากัน เขียนสวนโคงใหตัดกันที่
จุด C
HJJG HJJG
3. ลาก EP ตัด AB ที่จุด Q จะได EP ตั้งฉากกับ AB ที่จุด Q ตามตองการ


P

• •
A B

นักเรียนชวยกันตรวจสอบวา AQP ˆ กับ BQPˆ มีขนาดเทากันหรือไม………………………


และมีขนาดเทากับครึ่งหนึ่งของมุมตรงหรือไม โดยใชวงเวียน ………………………………………
แลวชวยกันสรุปดังนี้วา
HJJG
- PQ เปนเสนตั้งฉากจากจุดภายนอก P มายัง AB ที่กําหนดให
HJJG HJJG
- จากการที่ PQ ตั้งฉากกับ AB จะกลาววา PQ เปนระยะหางระหวางจุด P กับ AB
- สวนของเสนตรงที่ลากจากจุดยอดมุมของรูปสามเหลี่ยมมาตั้งฉากกับฐานหรือสวนตอของ
ฐาน เรียกวา สวนสูงของรูปสามเหลี่ยม เราสามารถใชความรูเกี่ยวกับการสรางเสนตั้งฉากจาก
จุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดใหเพื่อสรางสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม ดังตัวอยาง

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


148 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

ตัวอยางที่ 7 ถากําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR ใหดังรูป จงสรางสวนสูงที่ลากจากจุด P มาตั้งฉากกับ


QR P

Q R
วิธีสราง 1. การสรางสวนสูงที่ลากจากจุด P มาตั้งฉากกับ QR ทําไดโดยวิธีสรางเสนตั้งฉาก
จากจุดภายนอกมายังเสนตรงที่กําหนดให
P

Q R

2. จากรูปจะได PS เปนสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม PQR ที่ลากจากจุดยอด P ของ


รูปสามเหลี่ยมมายังฐาน QR ตามตองการ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 149

6. การสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรงที่กําหนดให
HJJG
วิธีการสรางเสนตั้งฉากกับ AB ที่จุด P ทําไดโดยสรางมุมฉากที่จุด P หรือสรางเสนแบงครึ่ง
มุมตรง APB ดังนี้
วิธีสราง ใหนักเรียนเขียนเสนตรง AB และกําหนดจุด P บนสนตรง AB ดังนี้

HJJG
1. ให P เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนสวนโคงตัด AB ที่จุด C และจุด D
2. ใชจดุ C และจุด D เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากัน เขียนสวนโคงใหตัดกันที่จุด E
HJJG
3. ลาก PE จะได PE ตั้งฉากกับ AB ที่จุด P ตามตองการ

ใหนักเรียนชวยกันตรวจสอบวา APE ˆ กับ BPEˆ มีขนาดเทากันหรือไม……………………


และมีขนาดเทากับครึ่งหนึ่งของมุมตรงหรือไม โดยใชวงเวียน………………………

สรางไดหรือเปลา : จงสรางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสใหแตละดานมีความยาวเทากับ 5 ซม.

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


150 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 4.4 : ทักษะการการแกปญหา การสื่อสาร และการนําเสนอ


HJJG HJJG
1. ให M เปนจุดที่อยูภายนอก PQ ดังรูป จงสรางสวนของเสนตรงจากจุด M ใหตั้งฉากกับ PQ

• •
P Q

2. กําหนดรูปสามเหลี่ยม PQR จงสรางสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม PQR ทั้งสามเสน

Q R

3. กําหนดรูปสามเหลี่ยม ABC จงสรางสวนสูงของรูปสามเหลี่ยม ABC ทั้งสามเสน

B C

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 151

4. กําหนดจุด A เปนตําแหนงของบาน และ BC เปนถนนสายหนึ่งดังแผนผัง จงหาวาบาน


หลังนี้อยูหางจากถนนกี่เมตร (มาตราสวน 1 : 500)

A

5. จงสรางรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใหมีดานประกอบมุมฉากยาวเทากับ a และ b
a b

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


152 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

การสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย
การสรางรูปเรขาคณิตอยางงาย เชน การสรางรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วใหมีฐานยาว 5 เซนติเมตร
และมุมที่ฐานมีขนาดเทากับ 45o จะตองอาศัยความรูเกี่ยวกับการสรางพื้นฐานหลายขอ เชน การสราง
ส ว นของเส น ตรงให ย าวเท า กั บ ความยาวของส ว นของเส น ตรงที่ กํ า หนดให การแบ ง ครึ่ ง มุ ม
ที่กําหนดให และการสรางมุมใหมีขนาดเทากับขนาดของมุมที่กําหนดให ตอไปจะเปนการนําความรู
เกี่ยวกับการสรางพื้นฐานไปใชในการสรางมุมที่มีขนาดตาง ๆ การสรางเสนขนานและการสรางอื่น ๆ
ที่เกี่ยวของ
1. การสรางมุมทีม่ ีขนาดตาง ๆ
วิธีการสรางมุมที่มีขนาดเทากับ 90o และ 45o
การสรางมุมที่มีขนาดเทากับ 90o ซึ่งอาศัยการสรางเสนตั้งฉากที่จุดจุดหนึ่งบนเสนตรง
ที่กําหนดให ก็จะไดมุมฉาก ซึ่งไดเรียนผานมาแลว
นักเรียนคิดวาจะสรางมุมที่มีขนาดเทากับ 45o โดยใชวงเวียนและสันตรงไดหรือไม
ทําอยางไร……………………………………………………………………………………………

วิธีสราง
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 153

วิธีการสรางมุมที่มีขนาดเทากับ 60o
การสรา งมุ ม ที่ มี ข นาดเท า กั บ 60 o อาศั ย แนวคิ ด ในการสร า งสามเหลี่ ย มด า นเท า ซึ่ ง
สามเหลี่ยมดานเทาจะมีขนาดของมุมภายในแตละมุมเทากับ 60o
วิธีสรางที่ 1
JJJG
1. ลาก AB
JJJG
2. ใชจุด A เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวพอสมควร เขียนสวนโคงใหตัด AB ที่จุด C
3. ใชจุด C เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทาเดิม เขียนสวนโคงใหตัดสวนโคงเดิมที่จุด D
4. ลาก AD และ CD จะไดรูปสามเหลี่ยม ADC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา
ˆ มีขนาดเทากับ 60o ตามตองการ
ดังนั้น จะได DAC

วิธีสรางที่ 2
JJJG
1. ลาก AC ยาวพอสมควร
2. ใชจุด A เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับความยาว AC เขียนสวนโคง
3. ใชจุด C เปนจุดศูนยกลาง รัศมียาวเทากับความยาว AC เขียนสวนโคงตัดสวนโคง
เดิมที่จุด B
4. ลาก AB และ BC
ดังนั้น รูปสามเหลี่ยม ABC เปนรูปสามเหลี่ยมดานเทา มีมุมทุกมุมกาง 60o

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


154 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 4.5 : ทักษะการการแกปญหา การสื่อสาร และการนําเสนอ


1. จงสรางมุมใหมีขนาดเทากับมุมที่กําหนดให
1) 30o 2) 120o

3) 150o 4) 22.5o

2. จงสราง
1) รูปสามเหลี่ยมมุมฉากใหมีดานประกอบมุมฉากยาว 4.5 เซนติเมตรและ 6 เซนติเมตร
2) รูปสามเหลี่ยมมุมฉากใหมีดานประกอบมุมฉากดานหนึ่งยาว 5 เซนติเมตรและดานตรง
ขามมุมฉากยาว 12 เซนติเมตร

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 155

3. จงสรางรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วรูปหนึ่งใหมีฐานยาวเทากับ a และมุมยอดมีขนาดเทากับ 90o


a

4. กําหนด O เปนจุดศูนยกลางดังรูป


O

1) จงสรางเสนแบงมุมรอบจุด O ออกเปนมุมที่มีขนาดเทากัน 4 มุม และจงหาวามุมแตละ


มุมมีขนาดเทาไร
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
2) ถาลากสวนของเสนตรงเชื่อมตอจุดทั้ง 4 จุดที่เสนแบงมุมทั้งสี่ตัดเสนรอบวงรูปสี่เหลี่ยม
ที่ไดเปนรูปสี่เหลี่ยมชนิดใด จงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


156 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

5. จงสรางรูปหกเหลี่ยมดานเทามุมเทา

2. การสรางเสนขนาน
ตัวอยางเสนขนาน (Parallel) ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน เชน รางรถไฟ ขอบกระดาน
กรอบประตู ไมบรรทัด หนาตาง บันได และชั้นวางของ เปนตน เราทราบมาแลววา (รูจริงหรือเปลา)
“เสนตรงสองเสนขนานกันก็ตอเมื่อเสนตรงสองเสนนั้นมีระยะหางเทากันเสมอ” ดังรูป

HJJG HJJG HJJG HJJG


จากรูป AB ขนานกับ CD เขียนแทนดวยสัญลักษณ AB // CD AC และ BD เปนระยะหาง
ระหวางเสนขนานโดยที่ AC = BD
สมบั ติของเส นขนานซึ่ งจะนํ าไปใชในการสรางเสนขนาน คือ “ถาเส นตรงเส นหนึ่ งตั ด
เสนตรงคูหนึ่งทําใหมุมแยง (Alternate angles) มีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นจะขนานกัน” ดังรูป

Y
C D

A X B
HJJG HJJG HJJG HJJG HJJG
จากรูปถา XY ตัด AB และ CD ทําให m( AXY
ˆ ) = m( DXY
ˆ ) แลวจะไดวา AB และ CD
ขนานกัน

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 157

การสรางเสนตรงใหผานจุดจุดหนึ่งและขนานกับเสนตรงที่กําหนดให
HJJG
กําหนดจุด P และ AB ดังรูป

P

• •
A B
HJJG
การสรางเสนตรงใหผานจุด P และขนานกับ AB ทําไดดังนี้
HJJG
1. สําหรับ Q ซึ่งเปนจุดจุดหนึ่งบน AB ลาก PQ
2. สราง CPQˆ ใหมีขนาดเทากับขนาดของ PQBˆ ซึ่ง CPQ
ˆ และ PQB
ˆ เปนมุมแยง
HJG HJJG
3. จะได CP // AB ตามตองการ


P

• •
A B

การสรางเสนตรงใหขนานกับเสนตรงที่กําหนดใหและมีระยะหางตามที่กําหนด
HJJG
กําหนด AB และสวนของเสนตรงที่มีความยาวเทากับ a ดังนี้
A B a
HJJG HJJG
การสราง CD ใหขนานกับ AB และมีระยะหางเทากับ a มีวิธีการสรางดังนี้
JJJG HJJG HJJG
1. ที่จุด A สราง AC ใหตั้งฉากกับ AB และสรางให AB ยาวเทากับ a
HJJG
2. ที่จุด C สราง CD ใหตั้งฉากกับ AC
HJJG HJJG
3. จะได CD ขนานกับ AB และมีระยะหางกันเทากับ a ตามตองการ

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


158 สื่อเสริมสาระการเรียนรู คณิตศาสตรพื้นฐาน ม.1

กิจกรรมที่ 4.6 : ทักษะการการแกปญหา การสื่อสาร และการนําเสนอ


1. กําหนดเปนแนวคลองชลประทานตองการสรางถนนใหตรงโดยผานจุด A และขนานกับแนว
คลองชลประทาน จงสรางแนวถนน

A

2. จงสรางเสนขนานคูหนึ่งใหมีระยะหางระหวางเสนขนาน 3 เซนติเมตร

3. จงสร า งรู ป สี่ เ หลี่ ย มด า นขนานที่ มี ด า นด า นหนึ่ ง ยาว 5 เซนติ เ มตร อี ก ด า นหนึ่ ง ยาว 3
เซนติเมตร และมุมมุมหนึ่งมีขนาดเทากับ 60 องศา

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3


หนวยการเรียนรูที่ 4 พื้นฐานทางเรขาคณิต 159

ชวนคิดคณิตศาสตร

ชวยกันแบงรูป

ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู
ปญหานี้ดูงาย ๆ แตตองใชจินตนาการสักเล็กนอย จากรูปที่กําหนดใหจงแบงออกเปน 4 สวน
โดยใหแตละสวนมีขนาด รูปรางอยางเดียวกัน (เหมือนกัน) โดยการลากเสนตรงเพียง 4 เสนเทานั้น

มาชวยลากเสนหนอย

ลองทํากิจกรรมดู แลวคุณจะรู
รูปนี้ดูงาย ๆ แตตองใชความพยายามสักหนอย จากรูปที่กําหนดใหจงลากเสนตามรูป โดยไม
ตองยกปากกาหรือดินสอขึ้นจากแผนกระดาษและอยาใหเสนปากกาหรือดินสอทับเสนเดิมดวย

ครูครรชิต แซโฮ โรงเรียนจันทรประภัสสรอนุสรณ สพท.ยะลา เขต 3

You might also like