You are on page 1of 15

บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 1

บทที่ 1

เรื่อง มารูจ
้ ักเมโลเดี้ยนกันเถอะ

ลักษณะของเมโลเดี้ยน
เมโลเดี้ยนเป็ นเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดชนิ ดหนึ่ ง
ทำาให้เกิดเสียงได้โดยการเป่ าและใช้น้ ิ วมือกดที่ล่ิมนิ้ ว ปั จจุบันทำา
ด้วยพลาสติก ลักษณะทัว่ ไปด้านหน้ามีล่ิมนิ้ วสำาหรับกดประมาณ
24 – 37 คีย์ แล้วแต่ชนิ ดและขนาดของเมโลเดี้ยนซึ่งในปั จจุบัน
มีอย่่ 4 ขนาดแต่ละขนาดมีร่ปร่างลักษณะและช่วงเสียงดังนี้ คือ
1. เมโลเดี้ยนเสียงโซปราโน เป็ นขนาดเล็กที่สุดมีล่ิมนิ้ ว
สำาหรับกดอย่่ 27 คีย์ มีเสียงแหลมส่ง เหมาะสำาหรับใช้บรรเลง
แนวส่งสุดของทำานองเพลงช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียงโซปราโน
คือ
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 2

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1
ภาพที่ 1 ช่วงเสียงและร้ปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง
โซปราโน

2. เมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้ เป็ นขนาดเล็กที่สุดมีล่ิมนิ้ วสำาหรับ


กดอย่่ 27 คีย์เท่ากันกับ
เมโลเดี้ยนเสียงโซปราโนแต่มีระดับเสียงส่งกว่า 1 ออคเทฟ มี
เสียงส่งปานกลางเหมาะสำาหรับ
ใช้บรรเลงแนวทำานองรองจากเมโลเดี้ยนเสียงโซปราโน ร่ปร่าง
ลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้และช่วงเสียง
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 3

ภาพที่ 2 ช่วงเสียงและร้ปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงอัลโตู

3. เมโลเดี้ยนเสียงเทนเนอร์ มีล่ิมนิ้ วสำาหรับกดอย่่ 32


คีย์ มีเสียงระดับกลาง เหมาะสำาหรับใช้บรรเลงแนวทำานองรอง
จากเสียงอัลโต้

ภาพที่ 3 ช่วงเสียงและร้ปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงเทน
เนอร์
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 4

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1
4. เมโลเดี้ยนเสียงเบส มีล่ิมนิ้ วสำาหรับกดอย่่ 24 คีย์ มี
เสียงตำ่า หนั กแน่น มีอำานาจ เหมาะสำาหรับใช้บรรเลงแนวตำ่าสุด
ของทำานองเพลง ช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียงเบส คือ

ภาพที่ 4 ช่วงเสียงและร้ปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงเบส
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 5

ส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน
เมโลเดี้ยนเป็ นเครื่องดนตรีสากลจัดอย่่ในเครื่องดนตรี
ประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments) ทำาให้เกิดเสียงโดย
การเป่ าและใช้น้ ิ งกดที่ล่ิมนิ้ ว ลักษณะทัว่ ไปแบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ
ส่วนตัวเครื่องดนตรี ส่วนปากเป่ า และส่วนสายเป่ า
ส่วนที่ 1 ปากเป่ า

ส่วนที่ 2 สายเป่ า
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 6

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1
ส่วนที่ 3 ตัวเครื่องดนตรี

ภาพที่ 5 แสดงส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน

วิธีการด้แลรักษาเมโลเดี้ยน
การด่แลรักษาและทำาความสะอาดเมโลเดี้ยนที่ถ่กต้อง จะ
ช่วยให้อายุการใช้งานได้นานขึ้น เครื่องดนตรีท่ีสะอาดไม่ก่อให้
เกิดอันตรายต่อผ้่เล่น หลังจากปฏิบัติทุกครั้งควรด่แลรักษาดังนี้
คือ
1. หลังจากเลิกปฏิบัติแล้วให้ถอดปากเป่ าหรือสายเป่ าแล้ว
สบัดเอานำ้าลายออกแล้วนำาสายหรือปากเป่ าไปล้างนำ้า แล้วสะบัด
เอานำ้าออกอีกครั้งจนนำ้าหมด
2. ใช้ผ้านุ่มเช็ดทำาความสะอาดส่วนต่าง ๆ ของเมโลเดี้ยน
เช่นลิ่มนิ้ วกด ตัวเมโลเดี้ยน
3. เมื่อเช็ดจนแห้งดีแล้ว ควรเก็บใส่กล่องที่ติดมากับตัว
เครื่องให้เป็ นระเบียบ และจัดเก็บวางไว้ในบริเวณปลอดภัย
4. ไม่ควรใช้เมโลเดี้ยนร่วมกับผ้่อ่ ืน
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 7

ภาพที่ 6 การเก็บเมโลเดี้ยนเขูากล่อง

การจับเมโลเดี้ยน
ในปั จจุบันจะเห็นว่า ท่าทางการจับเครื่องดนตรีเมโลเดียน
นั้ น จะไม่มีกฎเกณฑ์ท่ีแน่นอนตายตัว ทั้งนี้ ขึ้นอย่่กับความเหมาะ
สมของลักษณะเครื่องดนตรีและเทคนิ คท่าทางในการเดิน ท่าทาง
การจับเครื่องดนตรีเมโลเดียนไม่ว่าจะอย่่ในลักษณะใด ควรจะเป็ น
ท่าที่จับแล้วร้่สึกสบายและมีความคล่องตัว ทั้งการเดินพาเหรด
(Marching) และการแสดงดนตรีภาคสนาม (Display) ท่าทางการ
จับเมโลเดียนที่นิยมใช้กันสามารถแบ่งได้ดังนี้ คือ

1. ท่ายืนตรง
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 8

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1

ภาพที่ 7 การจับเมโลเดี้ยนท่ายืนตรง
2. ท่าพักแถว

ภาพที่ 8 การจับเมโลเดี้ยนท่าพักแถว
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 9

3. ท่าเดินพาเหรด หรือ Marching Parade and Display

ภาพที่ 9 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินพาเหรด
4. ท่าเดินที่ไม่มีการบรรเลง
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 10

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1

ภาพที่ 10 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่ไม่มีการบรรเลง

5. ท่าเดินที่มีการบรรเลง

ภาพที่ 11 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่มีการบรรเลง
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 11

ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน
ลิ่มนิ ้วสำาหรับกดเมโลเดี้ยนประกอบด้วยลิ้มนิ้ วสีขาว กับลิ่ม
นิ้ วสีดำาสลับกัน ยกเว้นตำาแหน่งเสียงระหว่างเสียง B - C และ
E – F ที่ไม่มีล่ิมนิ้ วสีดำาคัน
่ เพราะเป็ นระดับเสียงที่ห่างกันครึง่
เสียงตามทฤษฏีของดนตรีสากล ระบบเสียงของดนตรีสากลมี
ลักษณะดังนี้ คือ

หมายถึง ระยะห่างของเสียง ครีง่ เสียง

เสียงที่มีระยะห่างกันหนึ่ งเสียงคือ C-D, D-E, F-G, G-


A และ A-B
เสียงที่มีระยะห่างกันครึง่ เสียงคือ E-F และ B-C
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 12

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1

ภาพที่ 12 ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน

ค่่เสียงเอ็นฮาร์โมนิ ค (Enharmonic) คือ เสียงที่เป็ นระดับ


เสียงเดียวกันแต่เรียกชื่อต่างกัน คือ
เสียง ฟาชาร์ป (F#) กับ ซอลแฟลช (Gb) เสียง
ซอลชาร์ป (G#) กับ ลาแฟลช (Ab) เสียง ลาชาร์ป (A#)
กับ ทีแฟลช(Bb) เสียง โดชาร์ป (C#) กับ เร
แฟลช(Db) เสียง เรชาร์ป (D#) กับ มีแฟลช (Eb)
ให้ด่ภาพที่ 12 ประกอบ
แบบฝึ กหัดที่ 1.1
เกม จิก
๊ ซอว์เมโลเดี้ยน

จุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียนร้่จักลักษณะของเมโลเดี้ยน

อุปกรณ์
1. ภาพจิ๊กซอว์ร่ปเมโลเดี้ยน ด้านหลังติดสติ๊กเกอร์แม่
เหล็ก
2. แผ่นป้ ายเหล็กสำาหรับติดจิ๊กซอว์

วิธีเล่น
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 13

1. แบ่งนั กเรียนออกเป็ น 3 กลุ่ม


2. แต่ละกลุ่มมีจ๊ ิกซอว์กลุ่มละ 1 ชุด
3. แต่ละกลุ่มต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำาจิ๊กซอว์มา
ประกอบบนแผ่นป้ ายเหล็กโดยมีเวลาคนละ 10 วินาที (คร่เป็ นผ้่
เป่ านกหวีดหมดเวลา)
4. เมื่อหมดเวลาในแต่ละคน ให้ว่งิ กลับมาแตะมือคนต่อไป
ให้ออกไปต่อจิ๊กซอว์
แล้ววิ่งมาต่อแถวคนสุดท้าย
5. กลุ่มใดต่อเป็ นร่ปเมโลเดี้ยนเสร็จก่อนเป็ นฝ่ ายชนะ
เรียงตามลำาดับที่ 1,2
จักรายุทธ นพราลัย โรงเรียนขัติยะวงษา 14

สพท.ร้อยเอ็ด เขต 1

แบบฝึ กหัดที่ 1.2


เกม 5 ขูอ ขอใหูด้แลฉัน

จุดประสงค์
เพื่อให้นักเรียนร้่จักวิธีการด่แลรักษาเมโลเดี้ยน

อุปกรณ์
1. แผ่นป้ ายประโยคการด่แลรักษาเมโลเดี้ยน แต่ละประโยค
ถ่กตัดแบ่งเป็ นหลายข้อความ ด้านหลังติดสติ๊กเกอร์แม่เหล็ก
2. แผ่นป้ ายเหล็ก

วิธีเล่น
1. แบ่งนั กเรียนเป็ น 3 กลุ่ม
2. แต่ละกลุ่มได้รบ
ั แผ่นป้ ายสำาหรับเรียงประโยค กลุ่มละ
1 ชุด
3. แต่ละกลุ่มต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำาแผ่นป้ ายมา
เรียงเป็ นประโยคการด่แลรักษา เมโลเดี้ยน
4. นั กเรียนแต่ละคนมีเวลาในการเรียงแผ่นป้ าย คนละ 10
วินาที เมื่อเวลาหมด (คร่เป็ นผ้่เป่ านกหวีดหมดเวลา) ให้ว่ิงกลับ
มาแตะมือคนต่อไป แล้ววิ่งมาต่อแถวคนสุดท้าย
5. คร่จับเวลารวมทั้งสิ้น 3 นาที
6. กลุ่มเรียงประโยคได้ใจความมากที่สุด กลุ่มนั้ นเป็ นฝ่ าย
ชนะ
บทที่ 1 การเป่ าเมโลเดี้ยนเบื้ องต้น 15

You might also like