You are on page 1of 6

กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 1 of 6

Published on ประชาไท หนังสือพิมพออนไลน (http://www.prachatai3.info)


Home > กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย

กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทาง


เลือกของไทย
Created 2010-10-22 01:25

กานดา นาคนอย
21 ตุลาคม 2553

การออนตัวของเงินดอลลารสหรัฐฯเปนประเด็นสําคัญในการประชุมประจําปของกองทุนการเงิน
ระหวางประเทศ (IMF) เมื่อตนเดือนนี้ แมรมต.คลังสหรัฐฯยืนยันวาสนับสนุนใหดอลลารแข็งตัว
คํายืนยันดังกลาวไมมีน้ําหนักเพราะธนาคารกลางสหรัฐฯไมมีนโยบายพยุงคาเงินและแสดงทาทีวา
จะใชนโยบายดอกเบี้ยต่ําตอไป กลาวไดวาธนาคารกลางสหรัฐฯถือคติวา “เงินตราของเรา
ปญหาของคุณ” (Our currency, your problem)

อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศมีความสําคัญมากในยุคเศรษฐกิจตกต่ํา เพราะนานา
ประเทศหวังพึ่งตลาดตางประเทศเพื่อทดแทนการหดตัวของตลาดในประเทศ การบริหารอัตรา
แลกเปลี่ยนใหเงินออนลงเพื่อสงเสริมการแขงขัน (Competitive devaluation) เปนมาตรการที่
ธนาคารกลางทั่วโลกใชมานาน ถาหลายประเทศใชพรอมกันก็เกิดสงครามเงินตรา (Currency
war) กลาวคือ ความพยายามทําใหเงินออนตัวจนอาจลุกลามเปนความขัดแยงทางการเมือง
สงครามเงินตราเกิดขึ้นหลายครั้งในอดีต เชน สงครามเงินตราในสมัยรัฐบาลพลเอกเปรม ซึ่งจบ
ลงดวยขอตกลงระหวางประเทศอุตสาหกรรมใหเงินเยนและเงินมารคแข็งตัวขึ้น สงครามเงินตรา
ที่มีผลกระทบมากที่สุดในประวัติศาสตรการเงินระหวางประเทศคือสงครามเงินตราในสมัยรัชกาลที่
7 ซึ่งนําไปสูความขัดแยงระหวางประเทศอุตสาหกรรมจนวิกฤตเศรษฐกิจลุกลามไปสูสงครามโลก
ครั้งที่ 2 วิกฤตดังกลาวไดลุกลามมาถึงไทยจนเกิดแรงกดดันใหเปลี่ยนแปลงการปกครองในป
2475

ภาวะบาทแข็งในปจจุบัน
โดยนิยามการออนตัวของเงินดอลลารคือการแข็งตัวของเงินสกุลอื่น การประเมินภาวะบาทแข็ง
ตองคํานึงถึงโครงสรางการคาขายระหวางประเทศเพราะเงินของประเทศคูคาก็ปรับตัวดวย เรา
ตองดูคาเฉลี่ยของการปรับตัวของอัตราแลกเปลี่ยนเงินบาทกับเงินของประเทศคูคาตางๆ นอก
จากนี้ราคาสินคาสงออกขึ้นอยูกับอัตราเงินเฟอดวย ดังนั้นเราตองปรับคาเฉลี่ยดังกลาวดวยอัตรา
เงินเฟอของไทยและประเทศคูคา สถิตินี้เรียกวาดัชนีคาเงินที่แทจริง (Real effective
exchange rate)

รูปขางลางแสดงดัชนีคาเงินที่แทจริงของไทยและประเทศคูแขงที่สําคัญระหวาง ม.ค. 2550 และ


ก.ย. 2553 ประเด็นคือการเปลี่ยนแปลงของดัชนีไมใชระดับของดัชนี การปรับตัวขึ้นของดัชนี
บงบอกวาเงินแข็งขึ้น รูปนี้สมมุติใหดัชนีเดือน ม.ค. 2550 เปน 100 ป 2550 เปนปที่วิกฤตการ
เงินปะทุที่สหรัฐฯ ปญหาหนี้เสียจากสินเชื่อที่อยูอาศัยทําใหแบรสเติรนส (Bear Stearns) ซึ่งเปน
วาณิชธนกิจเกาแกตองปดกิจการ เห็นไดชัดวาเงินดอลลารสหรัฐฯเออนลงเพียงสกุลเดียว เมื่อ
เทียบกับเดือน ม.ค. 2550 แลวเงินดอลลารออนลง 6% เงินเยนแข็งที่สุดคือแข็งขึ้น 23% แต
ตนปที่แลวเงินเยนญี่ปุนแข็งขึ้นถึง 30% รองลงมาคือเงินหยวนจีนซึ่งแข็งขึ้น 16% ตนปที่แลว
เงินหยวนแข็งขึ้นถึง 20% เงินสกุลอาเซียนทั้ง 4 สกุลไดแกดอลลารสิงคโปร เงินบาท เปโซ
ฟลิปปนส และริงกิตมาเลเซียแข็งขึ้นไลเลี่ยกันดวยอัตรา 11% 9% 8% และ 7% ตามลําดับ ยัง
ไมมีสถิติของเดือนนี้ซึ่งเปนเดือนที่เงินบาทแข็งคาอยางรวดเร็วจนทะลุอัตรา 30 บาทตอดอลลาร
สหรัฐฯ อยางไรก็ตาม ชัดเจนวาสหรัฐฯชนะสงครามเงินตราครั้งนี้อยางขาดลอย เงินดอลลาร
ไมเพียงแตออนคาลงแตเงินสกุลอื่นๆยังแข็งขึ้นมากกวาที่เงินดอลลารออนลงเสียอีก

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553
กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 2 of 6

ใครไดใครเสียจากภาวะบาทแข็ง?
กลุมที่เสียหายจากภาวะบาทแข็งคือผูสงออก โดยเฉพาะผูสงออกรายยอยที่รายจายตายตัว
(Fixed cost) มีมูลคาสูงเมื่อเทียบกับมูลคาการผลิต เมื่อผูสงออกเสียหายแรงงานในภาคสงออก
ก็ไดรับผลกระทบดวย งานวิจัยเชิงประจักษพบวาการแข็งคาของเงินมีผลกระทบเชิงลบตอมูลคา
การสงออกดวยความเฉื่อยประมาณ 6-12 เดือน ถาคาเงินแข็งวันนี้มูลคาสงออกจะลดลงใน 6-12
เดือนขางหนา เนื่องจากสัญญาซื้อขายสินคากําหนดราคาและปริมาณสินคากอนคาเงินจะ
เปลี่ยน และผูสงออกมักยอมลด Profit margin ในระยะสั้น ดังนั้นสถิติการสงออกในระยะสั้นจะ
ไมแสดงผลกระทบจากจากคาเงิน ผลกระทบตอปริมาณการสงออกขึ้นอยูกับทั้งอัตราการแข็งคา
ของเงินและความยืดหยุนของการทดแทน (Elasticity of substitution) ของสินคา แมวาเงิน
บาทแข็งขึ้นดวยอัตราที่ต่ํากวาดอลลารสิงคโปร 2% (ดูดัชนีคาเงินที่แทจริงในรูปขางบน) สินคา
และบริการของไทยยังมีคุณภาพไมสูงทําใหประเทศคูคาทดแทนดวยสินคาและบริการจากประเทศ
คูแขงไดงาย ดังนั้นการหดตัวของปริมาณการสงออกของไทยนาจะมากกวาการหดตัวของ
ปริมาณสินคาและบริการจากสิงคโปร

กลุมที่ไดประโยชนจากภาวะบาทแข็งมี 5 กลุม

1. ผูนําเขาสินคาบริโภค (Consumption goods) จากตางประเทศและผูบริโภค ในแงดีภาวะ


บาทแข็งทําใหผูบริโภคมีโอกาสบริโภคสินคาที่หลากหลายและไดใชสินคาคุณภาพสูงในราคาที่
ต่ําลง ในแงไมดีทําใหสินคาฟุมเฟอยราคาต่ําลง อาจทําใหผูบริโภคบางกลุมสรางหนี้สินเพื่อ
บริโภคสินคาฟุมเฟอย

2. ผูนําเขาสินคาทุน (Capital goods) ที่จําเปนตอการผลิตสินคาเพื่อบริโภคในประเทศ เชน ผู


นําเขาเครื่องจักรที่ใชในการกอสราง ในแงดีผูประกอบการแบงกําไรใหแรงงานไดโดยการขึ้นคา
แรงและนํากําไรไปลงทุนเพื่อยกระดับเทคโนโลยีได ในแงไมดีผูประกอบการอาจผูกขาดทั้ง

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553
กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 3 of 6

ตลาดแรงงานและตลาดสินคา ในกรณีนี้กําไรจากภาวะบาทแข็งจะทําใหความเหลื่อมล้ําทางราย
ไดมากขึ้น

3. นักลงทุนไทยในตลาดตราสารหนี้ ตลาดหุน และตลาดอสังหาริมทรัพย ไดกําไรจากสวน


ตางของราคาทรัพยสิน เพราะเม็ดเงินจากทุนตางชาติเขามาหนุนแรงซื้อ แมวากฏหมายไทยใน
ปจจุบันยังไมยินยอมใหชาวตางชาติซื้อที่ดินเพื่อการอยูอาศัย ชาวตางชาติสามารถเปนเจาของ
หองชุดคอนโดมิเนียมและสามารถจดทะเบียนรวมทุนกับคนไทยเพื่อทําธุรกิจดานอสังหาริมทรัพย

4. นักลงทุนตางชาติที่ลงทุนในตลาดตราสารหนี้ ตลาดหุนและตลาดอสังหาฯ กําไรที่ชัดเจน


ที่สุดคือสวนตางดอกเบี้ยในตลาดตราสารหนี้ สวนการซื้อขายหลักทรัพยในตลาดหุนไทยไมตอง
เสียภาษีเหมือนในสหรัฐฯและอังกฤษ (และอีกหลายประเทศ) ทุนตางชาติมีปริมาณสูงมากจึง
สามารถดันราคาสินทรัพยในตลาดทุนใหปรับขึ้นอยางตอเนื่อง ในอนาคตเมื่อทุนตางชาติ
ไหลออกราคาหลักทรัพยจะปรับตัวลงอยางรวดเร็วแตทุนตางชาติเปนผูกําหนดราคา ดังนั้นนักลง
ทุนรายยอยในตลาดหุนจะรับภาระขาดทุนหลังทุนตางชาติออกไปแลว การลงทุนในตลาดอสัง
หาฯไทยก็ไมมีภาษีทรัพยสินแบบในสหรัฐฯหรือยุโรป ผลกําไรสุทธิจากตลาดอสังหาฯไทยจึง
มากกวาการลงทุนในตางประเทศเมื่อเปรียบเทียบกับอสังหาฯที่ราคาเทากัน

5. กลุมทุนไทยที่นําทุนออกไปซื้อกิจการตางประเทศ ในแงดีกลุมนี้สามารถซื้อเทคโนโลยี
แลวนําเขามาตอยอดในประเทศเพื่อยกระดับเทคโนโลยีและชวยสรางงาน ในแงไมดีคือการลง
ทุนซื้อกิจการตางประเทศอาจเปนเพียงการเก็งกําไรในระยะสั้น เมื่อเงินบาทออนลงในอนาคต
หลังจากที่ทุนตางชาติไหลออกแลว กลุมนี้สามารถขายกิจการในตางประเทศแลวนํากําไรจาก
สวนตางกลับมาซื้อทรัพยสินในไทย วิธีการทํากําไรจากอัตราแลกเปลี่ยนดังกลาวคลายคลึงกับ
การชอนซื้อทรัพยสินไทยโดยกลุมทุนตางชาติดวยราคาถูกหลังวิกฤตตมยํากุงในป 2540

มาตรการแกไขปญหาเงินดอลลารออนตัว
ประเทศตางๆรับมือกับภาวะดอลลารออนตัวดวยมาตรการดังตอไปนี้

1. การแทรกแซงในตลาดเงินตราตางประเทศ เชน การแทรกแซงของธนาคารกลางญี่ปุน


จีนและสิงคโปร สวนธนาคารแหงประเทศไทยหรือแบงคชาติไดเปลี่ยนมาใชระบบแลกเปลี่ยนเงิน
ตราตางประเทศที่เสรีกวาระบบตะกราเงินตั้งแตป 2540 ระบบนี้เปนผลโดยตรงจากการสูญเสีย
ทุนสํารองเงินตราตางประเทศ ถาตอนนี้ไทยหันกลับไปใชระบบเดิมแบงคชาติก็ตองแทรกแซง
ในตลาดเงินตราตางประเทศดวยการขายเงินบาทและซื้อเงินดอลลาร นโยบายนี้จะสรางปญหา
เงินเฟอและเพิ่มความเสี่ยงตอภาวะฟองสบู ปญหาเงินเฟอก็เปนปญหาสําหรับจีน แตจีนถือวา
ซื้อเวลาเพื่อใชภาคสงออกถายเทแรงงานออกจากภาคเกษตร ที่สําคัญจีนตอรองใหบรรษัทขาม
ชาติขึ้นคาแรงได ดังนั้นผลกระทบของอัตราเงินเฟอตอคุณภาพชีวิตของคนรายไดต่ําในจีนนอย
กวาในไทย นอกจากนี้จีนมีอํานาจในตลาดสินคาโลกจึงกําหนดราคาสินคาสงออกใหชดเชย
อัตราเงินเฟอได สวนญี่ปุนไมมีปญหาเงินเฟอและมีปญหาประชากรลดลงซึ่งเปนปจจัยหนุนภาวะ
เงินฝด ดังนั้นญี่ปุนจึงแทรกแซงตลาดเงินตราตางประเทศโดยไมตองกังวลปญหาเงินเฟอ สวน
สิงคโปรมีความเสี่ยงตอภาวะฟองสบูต่ํากวาไทยเพราะตลาดอสังหาริมทรัพยของสิงคโปรมีขนาด
เล็กมาก

2. การสนับสนุนใหผูสงออกและผูนําเขาทําสัญญาคาขายระหวางประเทศและชําระเงินดวยเงิน
สกุลของตนแทนเงินดอลลาร นโยบายนี้ใชในสหภาพยุโรปและจีน นโยบายของจีนไดรับการ
ตอบรับที่ดีจากธนาคารตางชาติรวมทั้งธนาคารอเมริกัน วิธีบริหารความเสี่ยงแบบนี้ราคาถูกกวาทํา
สัญญาซื้อขายเงินตราลวงหนาและเปนสวนหนึ่งของยุทธศาสตรระยะยาวในการพัฒนาเงินเปนเงิน
นานาชาติเพื่อแขงขันกับเงินดอลลารในอนาคต ไทยมีอํานาจตอรองในตลาดสินคาและตลาด
เงินตราตางประเทศนอยกวาสหภาพยุโรปและจีน ไทยจึงไมสามารถสนับสนุนใหผูสงออกทํา
สัญญาซื้อขายสินคาดวยเงินบาทได จึงสนับสนุนใหผูสงออกทําสัญญาซื้อขายเงินบาทลวงหนา
แทน การบริหารความเสี่ยงดวยวิธีนี้มีขอจํากัดตรงที่วาเงินบาทไมใชเงินสกุลหลักที่มีปริมาณการ
ซื้อขายลวงหนามากแบบเงินเยน ในภาวะความเสี่ยงสูงมักหาคูคาธุรกรรม (Counterparty) ยาก
และทําใหคาใชจายในการทําธุรกรรมสูงขึ้น

3. การลดดอกเบี้ยตามธนาคารกลางสหรัฐฯเพื่อลดสวนตางดอกเบี้ย เชน นโยบายของธนาคาร


กลางที่ญี่ปุน สวิสเซอรแลนด อังกฤษ สิงคโปร ฯลฯ นโยบายนี้เพิ่มความเสี่ยงตอภาวะฟอง

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553
กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 4 of 6

สบู เพราะทําใหทุนในประเทศไหลเขาตลาดหุน ตลาดตราสารหนี้ และตลาดอสังหาฯแทนทุน


ตางชาติ ประเทศที่ตลาดหุนและตลาดอสังหาริมทรัพยซบเซาสามารถใชนโยบายนี้ได โปรด
สังเกตุวาการลดดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐฯในเดือน ตค. 2551 เปนการประสานนโยบายลด
ดอกเบี้ยพรอมธนาคารกลางยุโรป ธนาคารกลางอังกฤษ สวีเดน สวิสเซอรแลนด และแคนาดา
ความรวมมือดังกลาวมีจุดประสงคเพื่อหลีกเลี่ยงสงครามเงินตราระหวางประเทศอุตสาหกรรมตะวัน
ตก

4. นโยบายควบคุมการไหลเวียนของทุนตางชาติ มีทั้งที่ใชกฏเกณฑจํากัดธุรกรรมแบบจีนหรือ
อินเดีย และการเก็บภาษีจากเงินทุนตางชาติแบบบราซิล ในปนี้บราซิลไดประกาศขึ้นอัตรา
ภาษีที่เก็บจากทุนตางชาติถึง 2 ครั้ง ภาษีดังกลาวมีผลบังคับใชกับทุนตางชาติทั้งในตลาดตรา
สารหนี้และตลาดหุน มีผลบังคับครอบคลุมถึงกองทุนรวม กองทุนบํานาญและเฮดจฟนดจากตาง
ประเทศ การสงเสริมใหทุนไหลออกนอกประเทศไมใชมาตรการโดยตรงที่ทําใหเงินออนคาลง
จีนคือตัวอยางที่ชัดเจน แมจีนอนุญาตใหคนจีนไปลงทุนในตางประเทศไดบางและใหสถาบันการ
เงินตางชาติเริ่มซื้อขายพันธบัตรรัฐบาลจีน นโยบายนี้เปนยุทธศาสตรเพื่อพัฒนาเงินหยวนใหเปน
เงินนานาชาติเพื่อแขงขันกับเงินดอลลารในอนาคต และใชพรอมกับการทําสัญญาคาขายระหวาง
ประเทศดวยเงินหยวน ปจจุบันกระทรวงการคลังของไทยไดเสนอใหจัดเก็บภาษีจากดอกเบี้ย
จากการลงทุนในตราสารหนี้ของทุนตางชาติดวยอัตรา 15% แตยังไมปรากฏชัดเจนวารัฐสภาจะ
อนุมัติเมื่อไรและจะมีผลบังคับใชเมื่อไร จึงกลาวไดวาไทยยังไมมีมาตรการควบคุมการไหลเวียน
ของทุนตางชาติ

ทางเลือกของไทย
เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศอื่นแลว ไทยมีความเสี่ยงดานเงินเฟอมากกวาญี่ปุน มีอํานาจตอรอง
ในตลาดสินคาโลกนอยกวาจีน มีอํานาจตอรองคาแรงกับบรรษัทขามชาตินอยกวาจีน มีตลาด
อสังหาฯขนาดใหญกวาสิงคโปร ดังนั้นการเขารวมสงครามเงินตราดวยการแทรกแซงในตลาด
เงินตราตางประเทศไมใชนโยบายที่ดีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว การลดดอกเบี้ยก็ทําไดเพียง
เล็กนอยเพราะตลาดหลักทรัพยและตลาดอสังหาฯของไทยไมซบเซา ไทยไมใชประเทศเดียวที่
ไมลดดอกเบี้ยใหใกลเคียงกับสหรัฐฯ บราซิลก็จําเปนตองใชดอกเบี้ยสูงกวาสหรัฐฯเพื่อควบคุม
เงินเฟอและความเสี่ยงตอภาวะฟองสบู

ทางเลือกอื่นคือการควบคุมการไหลเขาของทุนตางชาติควบคูไปกับการลดดอกเบี้ยเพียงเล็กนอย
หรือคงดอกเบี้ยไว การควบคุมทุนตางชาติมี 2 วิธี หนึ่งคือกระทรวงการคลังเก็บภาษีจากทุนตาง
ชาติเหมือนนโยบายในบราซิล สองคือวิธีที่ชิลีใชในอดีต กลาวคือ ธนาคารกลางกําหนดวากี่
เปอรเซ็นตของทุนตางชาติที่ไหลเขาตลาดตราสารหนี้และตลาดหุนตองกลายเปนทุนสํารองใน
บัญชีที่ไมไดดอกเบี้ยนานเทาไร ที่สําคัญคือตองประกาศกฏเกณฑใหนักลงทุนรูลวงหนาวาจะมี
ผลบังคับใชเมื่อไร ไมใชทําโดยไมประกาศลวงหนาแบบที่ไทยลองเมื่อ 3 ปที่แลว การ
ประกาศลวงหนาจะปองกันภาวะตื่นตระหนกในตลาดทุน

ทุนตางชาติไหลทะลักเขาตลาดทุนไทยใน 3-4 ปที่ผานมาเพราะภาวะเศรษฐกิจตกต่ําและดอกเบี้ย


ต่ําที่สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุน ทําใหสถาบันการเงินตางชาติไมคอยมีที่เก็งกําไร ดวยเหตุนี้
อํานาจตอรองของไทยในตลาดทุนจึงสูงกวาทศวรรษที่แลวมากมาย ขณะนี้ไทยสามารถพลิก
วิกฤตใหเปนโอกาสเพื่อตั้งกฎเกณฑควบคุมทุนตางชาติใหมีแรงจูงใจลงทุนระยะยาว มิฉะนั้นทุน
ตางชาติจะเก็งกําไรและดันใหเงินบาทแข็งจนอาจจะทําลายฐานสงออก เมื่อทุนตางชาติไหลออก
ในภายหลัง เงินบาทจะออนตัวลงแตตอนนั้นฐานสงออกอาจจะถูกทําลายแลว ผูสงออกไม
สามารถปรับตัวในเวลาระยะสั้น เมื่อเทียบกับมูลคาผลผลิตแลวรายจายตายตัว (Fixed cost) ของ
การผลิตเพื่อสงออกสูงกวาการรายจายตายตัวของการลงทุนในตลาดทุน

แมวาในระยะยาวทุกประเทศมีเปาหมายลดการพึ่งพาตลาดตางประเทศ โครงสรางเศรษฐกิจไทย
ในปจจุบันยังหางไกลจากจุดนั้นเปนทศวรรษ ในดานการผลิตไทยยังไมใชเจาของเทคโนโลยีที่
ผลิตสินคาและบริการที่จําเปนตอการบริโภค อาทิ การรักษาพยาบาล อาวุธยุทโธปกรณ
เครื่องจักรกล ยานพาหนะ ฯลฯ ญี่ปุนและเกาหลีใตเปนตัวอยางชัดเจนของประเทศที่ปรับคาเงิน
หลังพัฒนาเทคโนโลยีแลว การพัฒนาคุณภาพสินคาสงออกขึ้นอยูกับทั้งภาคสงออกและภาค
ธุรกิจอื่น เพราะคุณภาพวัตถุดิบและบริการที่เปนปจจัยการผลิตมีอิทธิพลกับคุณภาพสินคาสง
ออกเทากับเทคโนโลยีของผูสงออก ดังนั้นคุณภาพแรงงานในภาคธุรกิจอื่นมีผลกระทบตอ
คุณภาพสินคาสงออกดวย เปนไปไมไดที่ภาคสงออกจะพัฒนาคุณภาพสินคาไดฉับไวในเวลาไม
กี่ป ในดานการบริโภค กําลังซื้อในไทยยังไมสูงพอที่จะยกระดับรายไดและฐานภาษีเพื่อสราง

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553
กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 5 of 6

สวัสดิการสังคม สวัสดิการสังคมในที่น้คี ือการประกันความเสี่ยงขั้นพื้นฐานที่แมแตประเทศทุน


นิยมสุดขั้วอยางสหรัฐฯยังมี เชน ประกันการตกงาน (Unemployment insurance) ดังนั้นการ
สงออกจะมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาไทยไปอีกหลายทศวรรษ การแทรกแซงตลาดทุนเพื่อ
แกปญหาบาทแข็งจึงเปนนโยบายที่สําคัญมากตออนาคตของไทย

แมวาสถาบันการเงินตางชาติจะไมชื่นชอบนโยบายควบคุมทุนตางชาติ ถาเศรษฐกิจไทยมี
เสถียรภาพสถาบันการเงินตางชาติจะปรับตัวไดเอง เพราะการลงทุนในตลาดทุนมีรายจายตายตัว
(Fixed cost) ที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับมูลคาการผลิต ไทยไมจําเปนตองหวาดกลัววาทุนตางชาติ
จะไมไหลกลับมา แมแตอารเจนตินาที่เคยชักดาบไมจายดอกเบี้ยตอนเศรษฐกิจตกต่ําก็ไมมี
ปญหาวาเงินทุนนอกไมไหลกลับ เมื่อเศรษฐกิจในประเทศดีหรือเมื่อเศรษฐกิจตางประเทศซบ
เซาทุนตางชาติจะไหลกลับมาเอง แม IMF จะคัดคานการควบคุมทุนตางชาติ นั่นไมไดหมาย
ความวาไทยจะเสียสิทธิการเปนสมาชิกของ IMF ไทยไมจําเปนตองตามนโยบายของ IMF ตราบ
ใดที่ไมกูเงินจาก IMF นอกจากนี้สมดุลอํานาจใน IMF ไดมาถึงยุคเปลี่ยนผานแลว อีกไมนาน
ประเทศในเอเชียตะวันออกและตะวันออกกลางจะมีอํานาจใน IMF สูสีกับสหรัฐฯและสหภาพยุโรป
โดยการนําของจีน เกาหลีใต และซาอุดิอาระเบีย สวนประเทศในละตินอเมริกามีบราซิลเปนหัว
หอกตอรองเพื่อเปลี่ยนแปลงสมดุลอํานาจใน IMF

ปรากฎการณที่ทุนตางชาติไหลทะลักเขาตลาดทุนไทยเพราะภาวะเศรษฐกิจตกต่ําและดอกเบี้ยต่ํา
ที่สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุน เหมือนการไหลทะลักของทุนตางชาติเขาตลาดทุนไทยกอนวิกฤต
ตมยํากุงป 2540 ถาทุนตางชาติยังไหลเขามาดันราคาทรัพยสินในตลาดทุนและตลาดอสังหาฯ
อยางเสรีตอไป เมื่อเศรษฐกิจประเทศอื่น(ซึ่งไมจําเปนตองเปนสหรัฐฯ ยุโรปหรือญี่ปุน)ดีขึ้น
หรือเมื่อตางประเทศปรับดอกเบี้ยขึ้น หรือเมื่อความเสี่ยงดานการเมืองไทยเพิ่มขึ้น เงินทุนตาง
ชาติจะไหลออกแลวตลาดทุนและตลาดอสังหาฯจะซบเซาเหมือนวิกฤตตมยํากุง และนั่นจะยิ่งซ้ํา
เติมความเสียหายจากภาคสงออกจนอาจกอปญหาหนี้เสียในสถาบันการเงินได นโยบายควบคุม
ทุนแบบชิลินาจะปองกันการไหลออกของทุนอยางกะทันหันและสรางเสถียรภาพไดมากกวาการ
เก็บภาษีจากทุนตางชาติแบบบราซิล การไหลออกของทุนตางชาติอยางกะทันหันจะทําใหเกิด
การเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ทรัพยสินครั้งใหญเหมือนหลังวิกฤตตมยํากุง กลาวคือ ทุนตางชาติจะยอน
กลับมาซื้อทรัพยสินไทยดวยราคาถูกในภายหลังแตคราวนี้จะมีกลุมทุนไทยที่ไปลงทุนในตาง
ประเทศกลับมาซื้อทรัพยสินดวย การเปลี่ยนกรรมสิทธิ์ทรัพยสินหลังวิกฤตการเงินมักทําให
ปญหาทุนผูกขาดย่ําแยลง วิกฤตการเงินทําใหมีการถายโอนกรรมสิทธิ์จากกลุมทุนผูกขาด
บางกลุมกลุมไปยังกลุมทุนผูกขาดกลุมอื่น แตกลุมทุนผูกขาดอีกหลายกลุมก็สามารถขยายตัว
หลังวิกฤตการเงินได ดังที่ไทยไดเรียนรูมาแลวจากวิกฤตตมยํากุง

บทสรุป
“สงครามคือธุรกิจ”ไมวาจะเปนสงครามเงินตราหรือสงครามระหวางกองทัพ สงครามทุกครั้งทํา
กําไรใหคนบางกลุมในขณะที่คนบางกลุมขาดทุน ภาวะบาทแข็งทํากําไรใหผูนําเขาสินคาและ
บริการ กลุมทุนไทยที่ซื้อกิจการตางประเทศ นักลงทุนตางชาติและนักลงทุนไทยในตลาดตรา
สารหนี้ ตลาดหุนและตลาดอสังหาฯ แตใหโทษแกผูสงออกและแรงงานในภาคสงออก ภาค
ธุรกิจที่ไดกําไรจากภาวะบาทแข็งคือภาคที่มีคาแรงสูงกวา ภาวะบาทแข็งจะซ้ําเติมปญหาความ
เหลื่อมล้ําของรายได การเรียกรองใหภาคสงออกพัฒนาคุณภาพสินคาไมใชวิธีการรับมือภาวะ
บาทแข็งที่ตั้งอยูบนความเปนจริง การพัฒนาคุณภาพสินคาสงออกตองควบคูไปกับการพัฒนา
คุณภาพวัตถุดิบ สินคาและบริการในภาคธุรกิจอื่นซึ่งเปนปจจัยการผลิตสินคาสงออก รวมทั้งการ
พัฒนาคุณภาพคน ในทางกลับกันกลุมที่ปรับตัวไดงายกวาคือผูลงทุนในตลาดตราสารหนี้และ
ตลาดหุนโดยเฉพาะผูลงทุนชาวตางชาติที่ลงทุนเพื่อเก็งกําไรระยะสั้น นโยบายควบคุมทุนตาง
ชาติในตลาดตราสารหนี้และตลาดหุนจะชวยบรรเทาพิษของสงครามเงินตราครั้งนี้

ตีพิมพครั้งแรกใน มติชนออนไลน

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553
กานดา นาคนอย : สงครามเงินตราและทางเลือกของไทย Page 6 of 6

กานดา นาคนอย การเงิน ภาวะคาเงินบาทแข็ง อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ บท


ความ เศรษฐกิจ
ประชาไท www.prachatai.com
Source URL: http://www.prachatai3.info/journal/2010/10/31593

http://www.prachatai3.info/print/31593 22/10/2553

You might also like