You are on page 1of 3

การเมืองอำนาจนิยม: นำสิ้นอำนาจอ างไร าง?

(จบ)
โดย เกษียร เตชะพีระ

แผนภูมิ: จอมเผด็จการสิ้นอำนาจอ างไร? ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๒๐๑๒


แกนตั้งบอก อยละของจำนวนการสิ้นอำนาจทั้งหมด, แกนนอนบอก วงทศวรรษ
แ งสีทึบ-->ขาว: รัฐประหาร/ นจากตำแห งตาม“ปกติ”/ประชาชนลุกฮือ/การ อการกำเริบ/ตายในตำแห ง
(จาก Erica Frantz, Authoritariansim: What Everyone Needs to Know, p. 57)
วิถีโ น นำอำนาจนิยม
จาก อมูลในแผนภูมิ าง น เราอาจสังเกตความเปลี่ยนแปลงสำคัญในวิถีการสิ้นอำนาจของ นำ
อำนาจนิยม ๔๗๓ คน วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (ค.ศ. ๑๙๕๐ - ๒๐๑๒) ไ ดังนี้:
๑) การ นอำนาจไปโดยคนในชักนำ (insider-led exits) ซึ่งประกอบ วยรัฐประหาร (coups)
และการ นจากตำแห ง “ตามปกติ” (“regular” removals from of ce) นั้น แ จะยังมากที่สุด แ ก็มี
แนวโ มลด อยถอยลงพอควรใน หลัง ๆ มานี้ ก าวคือจากก า ๗๐% ในคริส ทศวรรษที่ ๑๙๖๐ --> ไ ถึง
๕๐% ใน วง ค.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๑๒
สาเหตุก็เนื่องจากรัฐประหารลดลงฮวบฮาบหลังสิ้นสุดสงครามเย็น ( ค.ศ ๑๙๙๑ ตามเกณ นับของ
สหรัฐอเมริกา ชนะสงครามเย็น https://www.govinfo.gov/app/details/CFR-2006-title32-vol3/
CFR-2006-title32-vol3-sec578-137 ) ขณะที่การ นจากตำแห ง “ตามปกติ” เพิ่มขึ้นใน วงเดียวกัน
ก าวคือจากเดิมทีร่ ัฐประหารคิดเ น ๕๕% ของการ นอำนาจของ นำอำนาจนิยมทั้งหมดในคริส
ทศวรรษที่ ๑๙๖๐ --> เหลือแ ๖% นับแ ค.ศ. ๒๐๐๐ เ น นมา

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 1


ท่
ค่
น้
ผู้
พ้
ช่
ล่
ร้
น้
ข้
ปี
ผู้
พ้
ช่
น่
ผู้
พ้
ข้
ค่
ย่
ปี
ต้
น่
ย่
ต่
ป็
บ้
ล่
พ้

ป็
พ้
ช่
ต้
ว่
น่
fi
ก่
ผู้
ปี
ด้
ต์
ด้
.​
ม้
ช่
น่
ผู้
ฑ์
ต่
ม่
ต์
ความ อนี้สอดรับกับงานวิจัยที่ งชี้ าการเปลี่ยนแปลงลำดับระเบียบวาระสำคัญทางภูมิรัฐศาสต ของ
โลกตะวันตกหลังสิ้นสุดสงครามเย็น (จากเดิมที่ยอมรับรัฐประหารและหนุนหลังเผด็จการไ เพื่อ วย าน
คอมมิวนิส --> แทบไ เหลือคอมมิวนิส ใ านแ ว) นำไป ความเสื่อมถอยของเผด็จการทหารและการลด
ต่ำลงของรัฐประหารในบรรดาประเทศอำนาจนิยมทั่วโลก (Andrea Kendall-Taylor & Erica Frantz, “How
Autocracies Fall,” The Washington Quarterly, 37:1 (2014), 35-47)
นอกจากนี้อวสานสงครามเย็นยังนำไป การออกกฎหมาย งเสริมประชาธิปไตยในสหรัฐอเมริกาและ
สหภาพยุโรปซึ่งกำหนดใ เพิกถอนความ วยเหลือแ ประเทศ รับหากเกิดรัฐประหารในประเทศเห านั้น อัน
เ นการบั่นทอนแรงจูงใจของพวกวางแผน อการรัฐประหารและลดทอนความถี่ของการ อรัฐประหารลง
(Nikolay Marinov & Hein Goemans, “Coups and Democracy,” British Journal of Political
Science, 44:4 (2013), 799 - 825)
ขณะเดียวกัน การ นจากตำแห ง “ตามปกติ” ของ นำอำนาจนิยมก็เพิ่มขึ้นใน วงเดียวกัน จาก
เดิมที่ไ ถึง ๒๕% ของการสิ้นอำนาจของ นำอำนาจนิยมทั้งหมดใน วงคริส ทศวรรษที่ ๑๙๖๐ และ ๑๙๗๐
--> ๔๔% จาก ค.ศ ๒๐๑๐ - ๒๐๑๒
อันสะ อนความโดดเ นของระบอบอำนาจนิยมประเภทที่มีพรรคการเมืองเ มแข็งใน หลัง ๆ นี้
โดยที่บางแ งชนชั้นนำสามารถ งอิทธิพล อการคัดเลือกและโละทิ้ง นำไ อาทิ ระบอบคอมมิวนิส ในจีน
และเวียดนาม เ น น
๒) สำหรับการ นอำนาจไปโดยคนนอก/มวลชนชักนำ (outsider/mass-led exits) ซึ่งแ งไ เ น
การลุกฮือของประชาชน (popular uprisings) และการ อการกำเริบ (insurgencies) นั้นก็เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ
นับแ สิ้นสงครามเย็นเ น นมา
จากเดิมที่มี นำอำนาจนิยมถูกมวลชนโ นราว ๕% ของการสิ้นอำนาจของ นำอำนาจนิยมทั้งหมดใน
ยุคสงครามเย็น (จาก ค.ศ ๑๙๔๕ - ๑๙๙๑) --> เพิ่มเ นก า ๑๐% หลังสิ้นสงครามเย็นเ น นมา
อาทิ การ อการกำเริบ (insurgency) อันเ นศัพ บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน เดิมทีทางราชการ
ไทยมักเรียก า “การ อการ าย” วนในทางวิชาการหมายถึง “เทคโนโลยีการขัดแ งทางทหารซึ่งมีลักษณะ
เฉพาะตรงอาศัยเห ากองกำลังขนาดเล็กติดอาวุธเบาทำสงครามจรยุทธจากฐานที่มั่นในชนบท” ตามนิยาม
ของ James Fearon & David Laiten แ งคณะรัฐศาสต มหาวิทยาลัยสแตนฟอ ด สหรัฐฯ นั้น

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 2


ป็
ต่
ม่
ต์
ห่
ว่
ข้
ท้
ปี
ป็
ก่
ต้
ล่
ผู้
ก่
.​
ป็
ม่
พ้
ห้
.​
ต้
พ้
ร้่
ด่
ส่
ส่
บ่
ช่
ต์
ผู้
น่
ห่
ต่
ก่
ห้
ว่
ต้
สู่
ค่
ล้
ก่
ป็
ป็

ก่
ร์
ท์
ว่
สู่
ผู้
ผู้
ส่
ช่
ผู้
ด้
ต์
ร์
ผู้
ย้
ข้
ก่
ว้
ป็
ช่
ต้
ปี
ช่
ล่
ต้
บ่
ต์
ด้
ร์
ป็
การ อการกำเริบเคยคิดเ นกรณีแ หยิบมือของการโ น นำอำนาจนิยมในยุคสงครามเย็น --> ท า
แพ หลายขึ้นในภายหลังโดยเฉพาะ วงคริส ทศวรรษที่ ๑๙๙๐ ซึ่งสอดรับไปกับการเพิ่มขึ้นของสงคราม
กลางเมือง (civil wars) ทั่วโลกในจังหวะที่สหภาพโซเวียต มสลายพอดี (https://ourworldindata.org/civil-
wars) จนคิดเ นก า ๑๐% เล็ก อยใน วง ค.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๑๒
วนการลุกฮือของประชาชนก็มีแนวโ มเพิ่มขึ้นเ นกัน ก าวคือในยุคสงครามเย็น มันคิดเ นไ ถึง
๕% ของการสิ้นอำนาจของ นำอำนาจนิยมทั้งหมด --> แ กลับ งพรวดไปเ น ๒๕% ใน วง ค.ศ. ๒๐๑๐ -
๒๐๑๒ เ นการโ นประธานาธิบดีเคอ มานเบก บากิเยฟในคี กีซสถานเมื่อ ค.ศ. ๒๐๑๐ (https://
wikipang.com/wiki/Kurmanbek_Bakiyev) และการโ นประธานาธิบดีเบน อาลีในตูนิเซียเมื่อ ค.ศ.
๒๐๑๑ เ น น (ศิวัช ศรีโภคางกุล, “การปฏิวัติดอกมะลิ: บทวิเคราะ า วยการปฏิวัติอันยิ่งให ที่สุดแ ง น
ศตวรรษที่ ๒๑,” การประชุมวิชาการแ งชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสต วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ ๑๐,
๒๕๕๖)
สาเหตุที่ทำใ เกิดกระแสสูงแ งการลุกฮือของประชาชนเพื่อโ น นำอำนาจนิยมใน วงดังก าวเ น
ไปไ หลายประการ วยกัน อาทิ หลังสิ้นสุดสงครามเย็น ระบอบอำนาจนิยมหลายแ งยอม อนคลายใ เลือก
ตั้งแ งขันกันทางการเมืองมากขึ้น ซึ่งเ น องทาง วย งเสริมสมรรถภาพของพลเมืองที่จะลงถนนรณรง
ประ วงใ สูงขึ้นไป วย ดังที่กระแสสูงการประ วงของนักศึกษาประชาชนภายใ ชื่อก มราษฎรและอื่น ๆ
อยทยอยเกิดขึ้นและขยายตัวออกไปประมาณหนึ่ง ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไป พ.ศ. ๒๕๖๒ จนถึง จจุบัน
เ น น (“แฟลชม็อบนักศึกษาถึงชุมนุมให ของ "คณะราษฎร 2563" ลำดับเหตุการ ชุมนุมทางการเมือง
2563”, บีบีซีไทย, https://www.bbc.com/thai/thailand-54741254)
จะเห็นไ ารอบทศวรรษที่ านมา านหนึ่งมีแนวโ มที่การลุกฮือของประชาชนจะกลายเ นพลังแข็ง
ก าขึ้นในการ าทาย นำอำนาจนิยม ท าในทางกลับกัน ายระบอบเผด็จการอำนาจนิยมในประเทศ าง ๆ ก็
หาไ อ นิ่งเฉยไ หากแ เรียน จุด อนจุดแข็งของขบวนการเคลื่อนไหวของประชาชนและปรับแ งยุทธ-
ศาสต ยุทธวิธีของตนในการรับมือเพื่อคงอำนาจไ อไป ดังที่นักวิชาการ านอารยะ อ าน (civil resistance)
ตั้ง อสังเกต าในระยะหลังนี้ การประ วงของประชาชนในโลกมีจำนวนมากขึ้นแ กลับสำเร็จ อยลง
(https://www.the101.world/loose-and-leaderless-movement/)
หรือก าวอีกนัยหนึ่งคือระบอบอำนาจนิยมในประเทศ าง ๆ รวมทั้งไทยไ ปรับตัวใน าน าง ๆ จน
เพิ่มความยืดห นคงทน ออารยะ อ าน (authoritarian resilience to civil resistance) ใ สูงขึ้นนั่นเอง

!"#$%&'()*+%,"-.$/&0**% ()*+%,"-" &)2&34%5 +(674* +89:;7*: 3


ค่
ป็
ล้
ข้
ร่
ด้
ด้
ข่
ต้
ท้
ร์
ยู่
ช่
ป็
ส่
ห้
ต้
ว่
ก่
ป็
ท้
ยุ่
ล่
ม่
ค่
ด้
ว่
ว่
ด้
ด้
ห้
ผู้
ต่
ต่
ผู้
รู้
น้
ต่
ป็
อ่
ช่
ผ่
ต้
ป็
ห่
ร์
ท้
ห่
ช่
ว่
ช่
ญ่
ต์
ค่
ปี
ด้
น้
ท้
ว้
ช่
ต่
ปี
ส่

ค่
ล่
ต่
ฝ่
ช่
น้
ร์
ค่
ต่
พุ่
ผู้
ล่
ห์
ค่
ว่
ร์
ด้
ด้
ผู้
ปี
ป็
ต้
ต่
ด้
ห่
ต่
ณ์
ลุ่
ต้
ช่
ผ่
ช่
น้
ห้
ปี
ด้
ญ่
ต่
ปี
ต่
ป็
ปั
ป็
ล่
ต่
ห้
ค์
ม่
ห่
ป็
ปี
ว่
ต้

You might also like