You are on page 1of 28

บริการเภสัชสนเทศ

(Drug Information Service: DIS)

องค์ประกอบของการให้บริการเภสัชสนเทศที่มีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย
1. โครงสร้างของหน่วยบริการเภสัชสนเทศที่เป็ นไปตามมาตรฐาน
2. การให้บริการทัง้ แบบตัง้ รับและแบบเชิงรุก อาทิ การจัดทำาสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ มี
การนำ า ข้อมูลที่พบจากการให้บริการเภสัชสนเทศแบบตัง้ รับมาสร้างเป็ นองค์
ความรู้ ใหม่ นำ า เสนอหรื อ เผยแพร่ อ อกไปในเชิ ง รุ ก เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรทางการ
แพทย์นำาไปใช้ประโยชน์ต่อในการดูแลผู้ป่วย และแก้ปัญหาขององค์กรได้
3. ความสามารถในการตอบสนองความต้ อ งการและความพึ ง พอใจของผู้ รั บ
บริการ ทัง้ ในเรื่องความทันต่อเวลาที่ต้องการใช้ข้อมูล ความน่ าเชื่อถือของ
ข้ อ มู ล พฤติ ก รรมบริ ก ารของผู้ ใ ห้ บ ริ ก าร ตลอดจนประโยชน์ ที่ ไ ด้ รั บ จาก
ข้อมูล
4. ระบบการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลที่ให้บริก ารในประเด็น ที่สำา คัญต่างๆ
อาทิเช่น ความเพียงพอของข้อมูลภูมิหลัง ความเหมาะสมของเอกสารอ้างอิง
ที่ใช้ ความครบถ้วน ตรงประเด็น หรือตรงต่อความต้องการของผู้รับบริก าร
และที่สำาคัญที่สุดก็คือ ความถูกต้องของข้อมูล

หน้ าที่สำาคัญของหน่วยให้บริการเภสัชสนเทศ คือ


1. การให้บริการรับ-ตอบคำาถามทางด้านยา ปริมาณคำาถามที่ให้บริการบ่งบอก
ถึงปริมาณงานของหน่ วยบริ ก าร ในกรณี คำา ถามที่ต้ องการคำา ตอบอย่ า งเร่ง
ด่ วน มัก จะเป็ นคำา ถามที่ ผู้รั บบริก ารต้ อ งการข้อ มูล ไปใช้อ ย่ า งรวดเร็ว เช่ น
คำา ถามประเภทพิ ษ และการแก้ พิ ษ หน่ ว ยบริ ก ารต้ อ งสามารถให้ บ ริ ก ารได้
อย่างรวดเร็วทันต่อเวลาที่ผู้รับบริการต้องการใช้ข้อมูล
2. สนั บสนุน งานบริก ารทางคลินิ ก (clinical service) เพื่ อ ประโยชน์ ใ นการ
แก้ไขปั ญหาของผู้ป่วย

1
3. สนั บสนุน ข้อมูลยาแก่คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำา บัด ทัง้ นี้ เพื่อ
เป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาปรับปรุงบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลและ
การกำาหนดนโยบายในการใช้ยาของโรงพยาบาล

นิ ยามที่เกี่ยวข้อง
“โครงสร้า งของหน่ วยบริการเภสัช สนเทศ” หมายถึง บุค ลากร สถานที่
เวลาในการให้บริการ การจัดระเบียบการทำางาน เอกสารอ้างอิง และวัสดุอุปกรณ์ที่
จำา เป็ นอื่ นๆ ในการให้ บ ริ ก ารเภสั ช สนเทศ เช่ น เครื่ องคอมพิ ว เตอร์ โทรศั พ ท์
โทรสาร เครื่องถ่ายเอกสาร โมเด็ม โต๊ะ เก้าอี้ เป็ นต้น
“คำาถามเร่งด่วน” หมายถึง คำาถามที่ผู้รับบริการต้องการใช้ข้อมูลทันทีหรือ
ภายในเวลาที่กำาหนด ซึ่งศูนย์เภสัชสนเทศควรจะกำาหนดช่วงเวลามาตรฐานสำาหรับ
การให้บริการคำาถามเร่งด่วน เช่น ภายใน 10 นาที เป็ นต้น
“การให้ บ ริ ก ารเภสั ช สนเทศเพื่ อประโยชน์ ในการแก้ ไ ขปั ญหาของผ้้
ป่ วย” หมายถึง การให้บริการเภสัชสนเทศที่จะต้องอาศัยข้อมูลผู้ป่วยมาประกอบ
การพิจารณาให้บริการ และข้อมูลที่ให้บริการไปอาจถูกนำ า ไปใช้ในการดูแลรักษาผู้
ป่ วย
“ข้อม้ลยาที่นำาเสนอต่อคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำาบัด (drug
monograph)” หมายถึง ข้อมูลที่เป็ นกลาง มีเอกสารอ้างอิงที่ชัดเจน มีการนำ าเสนอ
ในรูปแบบของการวิเคราะห์ วิจารณ์หรือเปรียบเทียบ
“องค์ความร้้ที่หน่ วยบริการเภสัช สนเทศนำ า ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ ที่
สอดคล้องกับปั ญหาขององค์กร” หมายถึง ผลงานซึ่งอาจอยู่ในรูปของสื่อสิ่งพิมพ์
ต่ า งๆ เช่ น แผ่ น พั บ แผ่ น ปลิ ว หรื อ อาจอยู่ ใ นรู ป ของแนวทางปฏิ บั ติ (guideline)
นโยบายการใช้ ย า (drug use policy) เป็ นต้ น ซึ่ ง องค์ ค วามรู้ เ หล่ า นี้ จ ะ เกิ ด จาก
การนำ า ความรู้ที่ได้จากการให้บริก ารเภสัชสนเทศมาใช้ประโยชน์ ในการแก้ปั ญหา
ขององค์กร ทำาให้เพิ่มคุณค่าของการทำางาน

2
ตัวชี ้วัดด้านบริการเภสัชสนเทศ ประกอบด้วย
1. คุณภาพโครงสร้างของหน่วยบริการเภสัชสนเทศ
2. การสนั บสนุ น ข้ อ มู ล ยาแก่ ค ณะกรรมการเภสั ช กรรมและการบำา บั ด
(Pharmacy and Therapeutic Committee: PTC)
3. ระบบการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลที่ให้บริการ
4. ระบบการตรวจสอบความพึงพอใจของผู้รับบริการ
5. ร้อยละของจำานวนข้อมูลยา (drug monograph) ที่จัดทำาเปรียบเทียบกับ
จำานวนรายการยาที่นำาเสนอเพื่อพิจารณาทัง้ หมด
6. สัดส่วนของการให้บริการเภสัชสนเทศเพื่อประโยชน์ในการแก้ไขปั ญหา
ของผู้ป่วยต่อการให้บริการเภสัช-สนเทศทัง้ หมด
7. จำานวนคำาถามทัง้ หมดที่ให้บริการ
8. ร้อยละของคำาถามเร่งด่วนที่สามารถตอบได้ภายในเวลาที่กำาหนด
9. จำานวนองค์ความรู้ที่หน่วยบริการเภสัชสนเทศนำ าไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ที่
สอดคล้องกับปั ญหาขององค์กร

การนำ าไปใช้ / รูปแบบการนำ าเสนอ


1. นำ า เสนอข้อมูลให้แก่หัวหน้ ากลุ่มงาน/หัวหน้ างานหน่ วยบริการเภสัชสนเทศ
ทราบ เพื่อวิเ คราะห์หาแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง และหาโอกาสในการ
พัฒนาบริการให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
2. นำ าเสนอข้อมูลในรูปของตารางหรือแผนภูมิเปรียบเทียบกรณีที่เป็ นข้อมูลเชิง
ปริมาณ โดยแกนนอนเป็ นเดือน แกนตัง้ เป็ นร้อยละหรือสัดส่วน แล้วนำ าเสนอ
ให้ผู้ปฏิบัติหน้ าที่ทราบโดยทัว
่ กัน
3. นำ าไปทบทวนในกลุ่มผู้ให้บริการ เพื่อวิเคราะห์หาแนวทางในการเพิ่มปริมาณ
การให้บริการ และคุณภาพข้อมูลที่ให้บริก าร ตลอดจนจำา นวนองค์ความรู้ที่
หน่ วยบริการเภสัชสนเทศนำ า ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ ที่สอดคล้อ งกับปั ญหา
ขององค์กร

3
4. นำ าไปใช้เทียบเคียงคุณภาพกับหน่ วยบริการเภสัชสนเทศของโรงพยาบาลอื่น
ที่มีขนาดใกล้เคียงกัน

4
ชื่อตัวชี ้วัด คุณภาพโครงสร้างของหน่ วยบริการเภสัชสนเทศ
วัตถุประสงค์ เพื่ อให้ โ ครงสร้ า งของหน่ ว ยบริ ก ารเภสั ช สนเทศเป็ นไปตาม
มาตรฐาน

เกณฑ์การพิจารณา
การดำาเนินการ
เกณฑ์ เต็มรูป ทำาบาง ยังไม่ได้
แบบ ส่วน ทำา
1. มีจำา นวนเภสัชกรที่ป ฏิบั ติห น้ าที่ในหน่ ว ย
บริ ก ารเภสั ช สนเทศอย่ า งน้ อย 1 คน (ดู ข้ อ
จำากัด)
2. มีการกำาหนดคุณสมบัติของเภสัชกรที่
ปฏิบัติหน้ าที่ในหน่วยให้บริการเภสัชสนเทศ
โดยจะต้องมีคุณสมบัติอย่างน้ อยดังต่อไปนี้
• ผ่านการฝึ กอบรม/ดูงาน/ฝึ กปฏิบัติงานทาง
ด้านการให้บริการข้อมูลเภสัชสนเทศ
(drug information service)
• ผ่านการฝึ กอบรมทางด้านการประเมิน
วรรณกรรม (literature evaluation)
• มีประสบการณ์ในการทำางานเภสัชกรรมไม่
น้ อยกว่า 2 ปี (ถ้ามีประสบการณ์ในการ
บริบาลผู้ป่วยทาง
เภสัชกรรมก็จะยิ่งทำาให้เพิ่มประสิทธิภาพ
ในการทำางาน)
• มีความสามารถในการใช้
คอมพิวเตอร์

5
• มีทก
ั ษะในการสื่อสารที่ดี ทัง้ โดย
วาจาและการเขียน
• มีใจรักในงานบริการ
3. มีแฟ้ มประวัติการฝึ กอบรมของเภสัชกรที่
ปฏิบัติหน้ าที่ในหน่วยให้บริการเภสัชสนเทศ
4. มีวัสดุ อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ทเี่ พียงพอต่อ
การให้บริการ ดังนี้
• โต๊ะ เก้าอี้สำาหรับเจ้าหน้ าที่และผู้มารับ
บริการ
• ตู้หรือชัน
้ เก็บหนังสือ/เอกสาร
• โทรศัพท์/โทรสาร/โมเด็ม
• คอมพิวเตอร์/เครื่องพิมพ์
• เครื่องถ่ายเอกสาร
5. มีบัญชีรายการเอกสารอ้างอิงที่แสดงให้
เห็นถึงความครอบคลุมในการให้บริการเภสัช
สนเทศอย่างน้ อย 6 ประเภท ดังนี้
• ข้อมูลยาทัว
่ ไป (drug monograph)
• การใช้ยาในหญิงสตรีมีครรภ์และให้นม
บุตร (pregnancy and lactation)
• พิษและการแก้พิษ (poisoning)
• อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
(adverse drug reaction)
• การเก็บรักษาและความคงตัวของยา
(storage & stability)
• เภสัชบำาบัด (pharmacotherapy)

6
การดำาเนินการ
เกณฑ์ (ต่อ) เต็มรูป ทำาบาง ยังไม่ได้
แบบ ส่วน ทำา
6. มีการปรับปรุงเอกสารอ้างอิงให้มีความทัน
สมัย อย่างน้ อยทุก 2 ปี
7. เวลาในการให้บริการจะต้องไม่น้อยกว่า 7
ชัว
่ โมงต่อวัน หรือทุกวัน-เวลาราชการ
8. มีระบบการให้บริการนอกเวลาทำาการ
9. มีการจัดทำาคู่มือการปฏิบัติงานที่จำาเป็ นใน
การให้บริการเภสัช-สนเทศ
10. มีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่ให้บริการ
และแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการนำ า
ข้อมูลกลับมาใช้ประโยชน์

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ทีไ่ หน อย่างไร
จำานวนเภสัชกรที่ ข้อมูลโครงสร้าง / การ นับจำานวนเภสัชกรที่ปฏิบัติ
ปฏิบัติหน้ าที่ แบ่งงานของกลุ่มงาน หน้ าที่
เภสัชกรรม เปรียบเทียบกับเกณฑ์การ
พิจารณา
คุณสมบัติของเภสัชกร แฟ้ มบริหารงานบุคคล ตรวจสอบคุณสมบัติของ
ที่ปฏิบัติหน้ าที่ ของกลุ่มงาน เภสัชกรเปรียบเทียบกับเกณฑ์
เภสัชกรรม การพิจารณา
ประวัติการฝึ กอบรม แฟ้ มประวัติการฝึ ก ตรวจสอบประวัติการฝึ กอบรม
ของเภสัชกรที่ปฏิบัติ อบรมของบุคลากรของ เปรียบเทียบกับเกณฑ์การ
หน้ าที่ กลุ่มงานเภสัชกรรม พิจารณา

7
รายการวัสดุ อุปกรณ์ บัญชีรายการวัสดุ ตรวจสอบรายการวัสดุ อุปกรณ์
และครุภณ
ั ฑ์ที่มีใช้ใน อุปกรณ์ และครุภัณฑ์ที่ และครุภณ
ั ฑ์ที่มีใช้ในหน่วยให้
หน่วยให้บริการเภสัช มีใช้ในหน่วยให้บริการ บริการเภสัชสนเทศเปรียบเทียบ
สนเทศ เภสัชสนเทศ กับเกณฑ์การพิจารณา
รายชื่อเอกสารอ้างอิงที่ บัญชีรายชื่อเอกสาร ดูความครอบคลุมของเอกสาร
มีใช้ในหน่วยให้บริการ อ้างอิงที่มีใช้ในหน่วย อ้างอิงที่มีว่าครบตามประเภท
เภสัชสนเทศ บริการเภสัชสนเทศ ของการให้บริการเภสัชสนเทศ
ตามที่กำาหนดในเกณฑ์การ
พิจารณาหรือไม่
รายชื่อเอกสารอ้างอิงที่ บัญชีรายชื่อเอกสาร ดูความเคลื่อนไหวของการ
มีใช้ในหน่วยให้บริการ อ้างอิงที่มีใช้ในหน่วย ปรับปรุงบัญชีรายการเอกสาร
เภสัชสนเทศ บริการเภสัชสนเทศ อ้างอิงเปรียบเทียบกับเกณฑ์การ
พิจารณา
เวลาในการให้บริการ ระเบียบปฏิบัติงาน ดูเวลาในการให้บริการเภสัช
เภสัชสนเทศ สนเทศเปรียบเทียบกับเกณฑ์
การพิจารณา
ระบบการให้บริการ ระเบียบปฏิบัติงาน ดูว่ามีระบบในการให้บริการ
เภสัชสนเทศนอกเวลา เภสัช-สนเทศนอกเวลาทำาการ
ทำาการ หรือไม่
แนวทางการปฏิบัติงาน คู่มือการปฏิบัติงาน ดูว่ามีคู่มือการปฏิบัติงานที่
จำาเป็ นหรือไม่
ระบบการจัดเก็บข้อมูล โปรแกรมที่ใช้ในการจัด ดูว่ามีระบบการจัดเก็บข้อมูลที่
เก็บข้อมูล ให้บริการและแสดงให้เห็นถึง
ความสามารถในการนำ าข้อมูล
กลับมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร

8
ข้อจำากัด / ข้อยกเว้น
สำา หรับ โรงพยาบาลขนาดเล็ก ที่มี จำา นวนเภสั ช กรน้ อย อาจไม่ จำา เป็ นต้ อ งมี
เภสัชกรปฏิบัติหน้ าที่ในหน่ วยให้บริการเภสัชสนเทศเต็มเวลา แต่ควรจะมีเภสัชกร
ที่ได้รับมอบหมายให้เป็ นผู้รับผิดชอบหลัก

9
ชื่อตัวชี ้วัด การสนั บสนุ น ข้อ มู ล ยาแก่ ค ณะกรรมการเภสั ช กรรมและ
การบำาบัด (Pharmacy and Therapeutic Committee: PTC)
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินว่าเภสัชกรในหน่วยบริการเภสัชสนเทศมีส่วนร่วมในการให้
ข้อมูลยาเพื่อประกอบการพิจารณาปรับปรุงบัญชีรายการยา หรือกำาหนดนโยบายใน
การใช้ยาของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำาบัดของโรงพยาบาลหรือไม่

เกณฑ์พิจารณา
การดำาเนินการ
เกณฑ์ เต็มรูป บางส่วน ยังไม่ได้
แบบ ทำา
1. มีการจัดทำาข้อมูลยา (drug monograph)
เพื่อเสนอต่อคณะกรรมการเภสัชกรรมและการ
บำาบัด โดยเภสัชกรจากหน่วยบริการเภสัช
สนเทศ
2. เภสัชกรจากหน่วยบริการเภสัชสนเทศเป็ น
ผู้นำาเสนอข้อมูลยาในการประชุมคณะกรรมการ
เภสัชกรรมและการบำาบัด

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ที่ไหน อย่างไร
ข้อมูลยาที่นำาเสนอต่อ รายงานการประชุมคณะ ดูว่ามีการจัดทำาข้อมูลยา
คณะกรรมการเภสัชกรรม กรรมการเภสัชกรรมและ เพื่อประกอบการพิจารณา
และการบำาบัด การบำาบัด ปรับปรุงบัญชีรายการหรือ
ไม่ อย่างไร
บทบาทของเภสัชกร รายงานการประชุมคณะ ดูว่าเภสัชกรประจำาหน่วย

10
ประจำาหน่วยบริการเภสัช กรรมการเภสัชกรรมและ บริการเภสัชสนเทศมี
สนเทศในการประชุมคณะ การบำาบัด บทบาทในฐานะเป็ นผู้ให้
กรรมการเภสัชกรรมและ ข้อมูลเพื่อประกอบการ
การบำาบัด พิจารณาปรับปรุงบัญชี
รายการยาหรือไม่

เกณฑ์มาตรฐาน
หน่ ว ยบริ ก ารเภสั ช สนเทศจะต้ อ งมี ส่ ว นร่ ว มในการให้ นำา เสนอข้ อ มู ล ยาแก่
คณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำาบัด

หมายเหตุ
ดูตัวอย่างโครงสร้างของ drug monograph ทีภ
่ าคผนวก 5

11
ชื่อตัวชี ้วัด ระบบการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลที่ให้บริการ
วัตถุประสงค์ เพื่ อเป็ นการประกั น คุ ณ ภาพของข้ อ มู ล ที่ ใ ห้ บ ริ ก ารจากหน่ ว ย
เภสัชสนเทศ

เกณฑ์การพิจารณา
การดำาเนินการ
เกณฑ์ เต็มรูป ทำาบาง ยังไม่ได้
แบบ ส่วน ทำา
มีระบบการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลที่ให้
บริการ

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ที่ไหน อย่างไร
ระบบการตรวจสอบ 1. แนวทางปฏิบัติเรื่อง 1. ดูแนวทางปฏิบัติเรื่อง
คุณภาพของข้อมูลที่ให้ ระบบการตรวจสอบ ระบบการตรวจสอบ
บริการ คุณภาพของข้อมูลที่ให้ คุณภาพของข้อมูลที่ให้
บริการ บริการ
2. แบบบันทึกการตรวจ 2. การสัมภาษณ์ผู้ปฏิบัติ
สอบคุณภาพของข้อมูลที่ หน้ าที่เพื่อแสดงการรับรู้
ให้บริการ และการปฏิบัติตาม
แนวทางที่วางไว้

เกณฑ์มาตรฐาน
หน่ วยบริการเภสัชสนเทศจะต้องมีระบบในการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูล
ที่ให้บริการ

12
ชื่อตัวชี ้วัด ระบบการตรวจสอบความพึงพอใจของผู้รับบริการ
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการให้บริการของ
หน่วยเภสัชสนเทศ

เกณฑ์การพิจารณา
การดำาเนินการ
เกณฑ์ เต็มรูป ทำาบาง ยังไม่ได้
แบบ ส่วน ทำา
มีระบบการตรวจสอบความพึงพอใจของผู้รับ
บริการที่ชัดเจนและสมำ่าเสมอ

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ทีไ่ หน อย่างไร
ความพึงพอใจของผู้รับ จากผู้รับบริการซึ่งอาจเป็ น โดยใช้แบบสอบถาม หรือ
บริการต่อการให้บริการ บุคลากรในโรงพยาบาล การสัมภาษณ์
ของหน่วยเภสัชสนเทศ หรือผู้ป่วย

เกณฑ์มาตรฐาน
กำาหนดให้มีการประเมินเป็ นระยะๆ ไม่ต่ำากว่า 6 เดือน/ครัง้

หมายเหตุ
ดูตัวอย่างแบบบันทึกการให้บริการข้อมูลยาที่ภาคผนวก 6

13
ชื่อตัวชี ้วัด ร้ อ ยละของจำา นวนข้ อ มู ล ยา (drug monograph) ที่ จั ด ทำา
เปรียบเทียบกับจำานวนรายการยาที่นำาเสนอเพื่อพิจารณาทัง้ หมด
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาศักยภาพในการให้บริการข้อมูลยาของหน่วยบริการเภสัชสนเทศ
เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาปรับปรุงบัญชีรายการยา หรือกำาหนดนโยบายในการใช้
ยาของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำาบัดของโรงพยาบาล (Pharmacy and
Therapeutic Committee: PTC)

สูตรการคำานวณ
ร้ อ ยละของจำา นวนข้ อ มู ล ยา (drug monograph) ที่ จั ด ทำา เปรี ย บเที ย บกั บ
จำานวนรายการยาที่นำาเสนอเพื่อพิจารณาทัง้ หมด =

จำานวนข้อมูลยาที่จัดทำาเพื่อนำ าเสนอต่อ PTC ทัง้ หมด X 100


จำานวนรายการยาทัง้ หมดที่นำาเสนอเพื่อพิจารณาปรับปรุงบัญชีรายการยาของโรง
พยาบาล

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ที่ไหน อย่างไร
1. ข้อมูลยาที่นำาเสนอต่อ รายงานการ นับจำานวนข้อมูลยาที่จัดทำาเพื่อนำ าเสนอ
PTC ประชุม ต่อ PTC ทัง้ หมดเปรียบเทียบกับจำานวน
2. รายการยาที่นำาเสนอ PTC รายการยาทัง้ หมดที่นำาเสนอเพื่อ
เพื่อพิจารณาปรับปรุงบัญชี พิจารณาปรับปรุงบัญชีรายการยาของโรง
รายการยาของโรง พยาบาลในรูปของร้อยละ โดยสรุปทุก 3
พยาบาล เดือน หรือตามความถี่ในการพิจารณายา
ของ PTC

14
เกณฑ์มาตรฐาน
โรงพยาบาลเป็ นผู้กำา หนดเกณฑ์เป้าหมาย โดยหน่ วยบริการเภสัชสนเทศจะ
ต้องมีส่วนร่วมในการให้นำาเสนอข้อมูลยาแก่ PTC

หมายเหตุ
ดูตัวอย่างโครงสร้างของ drug monograph ทีภ
่ าคผนวก 5

15
ชื่อตัวชี ้วัด สัดส่วนของการให้บริการเภสัชสนเทศเพื่อประโยชน์ ในการแก้ไข
ปั ญหาของผู้ป่วยต่อการให้บริการเภสัชสนเทศทัง้ หมด
วัตถุประสงค์
เพื่ อ ประเมิ น ความถี่ ข องการให้ บ ริ ก ารเภสั ช สนเทศที่ เ ป็ นประโยชน์ ใ นการ
แก้ไขปั ญหาของผู้ป่วยเทียบกับปริมาณการให้บริการเภสัชสนเทศทัง้ หมดในรอบ 1
เดือน

สูตรการคำานวณ
No. การให้บริการเภสัชสนเทศเพื่ อประโยชน์ ในการแก้ไขปั ญหาของผู้ป่วย : No.
การให้บริการเภสัชสนเทศทัง้ หมด
โดย No. = จำานวนรายงาน

การเก็บข้อมูล

เก็บอะไร ทีไ่ หน อย่างไร


1. จำานวนรายงานการให้บริการ แบบ นับจำานวนรายงานการให้บริการ
เภสัชสนเทศเพื่อประโยชน์ใน บันทึกการ เภสัชสนเทศเพื่อประโยชน์ในการ
การแก้ไขปั ญหาของผู้ป่วย ให้บริการ แก้ไขปั ญหาของผู้ป่วยเปรียบเทียบ
2. จำานวนรายงานการให้บริการ เภสัช กับจำานวนรายงานการให้บริการ
เภสัชสนเทศทัง้ หมด สนเทศ เภสัชสนเทศทัง้ หมดในรอบ 1
เดือน สรุปทุกเดือน

ข้อจำากัด / ข้อยกเว้น
ข้อมูลที่เก็บได้มาจากแบบรายงานการให้บริการ ถ้าโรงพยาบาลขนาดเล็กบาง
แห่งที่ไม่มีผู้รับผิดชอบงานบริการเภสัชสนเทศโดยตรง และไม่มีการบันทึกการให้
บริการในระบบรายงานที่ชัดเจน ไม่ต้องทำาตัวชี้วัดข้อนี้

16
ชื่อตัวชี ้วัด จำานวนคำาถามทัง้ หมดที่ให้บริการ
วัตถุประสงค์ เพื่อดูปริมาณงานของหน่วยบริการเภสัชสนเทศ

สูตรการคำานวณ
จำานวนคำาถามทัง้ หมดที่ให้บริการในรอบ 1 เดือน

การเก็บข้อมูล

เก็บอะไร ทีไ่ หน อย่างไร


จำานวนคำาถามทัง้ หมด แบบบันทึกการให้บริการ นับจำานวนคำาถามจากแบบ
ที่ให้บริการ เภสัชสนเทศ บันทึกการให้บริการเภสัช
สนเทศ เดือนละ 1 ครัง้

17
ชื่อตัวชี ้วัด ร้อยละของคำาถามเร่งด่วนที่สามารถตอบได้ภายในเวลาที่กำาหนด
วัตถุประสงค์ เพื่อให้การบริการเภสัชสนเทศเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทัน
ต่อเวลาที่ผู้รับบริการต้องการใช้ข้อมูล

สูตรการคำานวณ
ร้อยละของคำาถามเร่งด่วนที่สามารถตอบได้ภายในเวลาที่กำาหนด =
X 100
จำานวนคำาถามเร่งด่วนที่สามารถตอบได้ภายในเวลาที่กำาหนด
จำานวนคำาถามเร่งด่วนทัง้ หมดในรอบ 1 เดือน

การเก็บข้อมูล
เก็บอะไร ทีไ่ หน อย่างไร
1. จำานวนคำาถาม แบบบันทึกการให้ นับจำานวนรายงานคำาถามเร่ง
เ ร่ ง ด่ ว น ที่ ส า ม า ร ถ บริการ ด่วนทัง้ หมดที่สามารถตอบได้
ตอบได้ภายในเวลาที่ เภสัชสนเทศ ภายในเวลาที่กำาหนด เปรียบ
กำาหนด เทียบกับจำานวนรายงานคำาถาม
2. จำานวนคำาถาม เร่งด่วนทัง้ หมดในรูปของร้อยละ
เร่งด่วนทัง้ หมด สรุปรายงานอย่างน้ อยเดือนละ 1
ครัง้

18
ชื่อตัวชี ้วัด จำา นวนองค์ ค วามรู้ ที่ ห น่ วยบริ ก ารเภสั ช สนเทศนำ า ไปเผย
แพร่ใช้ประโยชน์ ที่สอดคล้องกับปั ญหาขององค์กร
วัตถุประสงค์
เพื่อประเมินความสามารถของหน่ วยเภสัชสนเทศในการสร้างองค์ความรู้ใหม่
จากการให้ บ ริ ก ารเภสั ช -สนเทศที่ เ ป็ นประโยชน์ และสอดคล้ อ งกั บ ปั ญหาของ
องค์กร

สูตรการคำานวณ
จำา นวนองค์ความรู้ที่หน่ วยบริการเภสัชสนเทศนำ า ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ ที่
สอดคล้องกับปั ญหาขององค์กรในรอบ 1 เดือน หน่วยเป็ น เรื่องต่อเดือน

การเก็บข้อมูล

เก็บอะไร เก็บที่ไหน เก็บอย่างไร


จำานวนองค์ความรู้ที่หน่วย แบบบันทึกข้อมูลองค์ นับจำานวนองค์ความรู้ที่
บริการเภสัชสนเทศนำ าไป ความรู้ที่หน่วยบริการ หน่วยบริการเภสัชสนเทศ
เผยแพร่ใช้ประโยชน์ที่ เภสัชสนเทศนำ าไปเผย นำ าไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์
สอดคล้องกับปั ญหาของ แพร่ใช้ ที่สอดคล้องกับปั ญหาของ
องค์กร ประโยชน์ที่สอดคล้องกับ องค์กรในรอบ 1 เดือน
ปั ญหาขององค์กร

เกณฑ์มาตรฐาน
จำา นวนองค์ความรู้ที่หน่ วยบริการเภสัชสนเทศนำ า ไปเผยแพร่ใช้ประโยชน์ ที่
สอดคล้องกับปั ญหาขององค์กรต้องไม่น้อยกว่า 1 เรื่องต่อเดือน

ตัวอย่าง

19
ตัวอย่างที่ 1 หน่ วยให้บริการเภสัชสนเทศแห่งหนึ่ งถูกถามคำาถามเรื่อง
ยาที่ ห้ า มใช้ ใ นผู้ ป่ วยที่ ทำา myelogram และจากการสื บ ค้ น ข้ อ มู ล เพื่ อ ตอบคำา ถาม
เภสัชกรผู้ทำาหน้ าที่ให้บริการเห็นโอกาสของการพัฒนาว่า มีรายการยาหลายรายการ
ที่ห้ามใช้ทัง้ ก่อนและหลังการทำา myelogram การตอบคำาถามหรือให้บริการแก่ผู้รับ
บริการเพียงคนเดียวไม่สามารถทำาให้ผู้ป่วยที่ทำา myelogram ทัง้ หมดปลอดภัย จึง
ได้ นำา ข้ อ มู ล ไปหารื อ ต่ อ ในที ม รั ก ษาและจั ด ทำา แนวทางปฏิ บั ติ ใ นการดู แ ลผู้ ป่ วย
myelogram กำาหนดบทบาทหน้ าที่ของแต่ละวิชาชีพ และในส่วนของหน่ วยบริการ
เภสัชสนเทศก็ได้ให้การสนับสนุนทีมรักษาโดยการจัดทำารายการยาที่ห้ามใช้ทัง้ ก่อน
และหลังการทำา myelogram

ตัวอย่างที่ 2 หน่ ว ยบริ ก ารเภสั ช สนเทศแห่ ง หนึ่ งถู ก ถามคำา ถามเรื่ อ ง


การรักษาผู้ป่วยที่เกิด extravasation จากการได้รับยาเคมีบำาบัด เนื่ องจากมีผู้ป่วย
เกิด extravasation อยู่ที่หอผู้ป่วยแต่พยาบาลไม่ทราบว่าจะต้องทำาอย่างไรบ้าง จาก
การสืบค้นข้อมูลเพื่อให้บริการ เภสัชกรที่ทำาหน้ าที่พบว่ามียาเคมีบำาบัดหลายรายการ
ที่อาจทำาให้เกิด extravasation และแนวทางในการดูแลผู้ป่วยอาจมีความแตกต่าง
กั น ไปในแต่ ช นิ ดของยา นอกจากนี้ ยั ง พบข้ อ มู ล ในเชิ ง การป้ องกั น การเกิ ด
extravasation ด้วย จึงเห็น โอกาสในการพั ฒ นาว่า ไม่ ค วรที่ จะตอบคำา ถามหรื อให้
บริการแก่ผู้รับบริการเท่านั ้น แต่ควรสร้างเป็ นแนวทางปฏิบัติทัง้ ในแง่การป้องกัน
การเกิ ด extravasation และการรั ก ษากรณี ที่ พ บปั ญหาแล้ ว จึ ง ได้ จั ด ทำา แนวทาง
ปฏิบัติดังกล่าว นำ า เสนอแก่คณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กำา หนดเป็ นแนวทาง
ปฏิบัติของโรงพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำา บัดที่มีความเสี่ยงต่อการ
เกิด extravasation ต่อไป

ตัวอย่างที่ 3 หน่ ว ยบริ ก ารเภสั ช สนเทศแห่ ง หนึ่ งถู ก ถามคำา ถาม เรื่ อง การ
รักษาพิษจากการได้รับ IV magnesium sulfate เกินขนาด เภสัชกรผู้ให้บริการได้
สอบถามข้อมูลภูมิหลังของคำาถามพบว่า แพทย์ที่สัง่ ยาให้ผู้ป่วยไม่ทราบว่าต้องปรับ

20
ขนาดยา magnesium sulfate ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตบกพร่อง จึงทำา ให้ผู้ป่วยได้รับ
ยาเกิน ขนาด จนเกิดพิษจากยา หลั งจากตอบคำา ถามเพื่ อ ให้ ก ารรั ก ษาแล้ ว หน่ วย
บริการเภสัชสนเทศจึงได้จัดทำา ข้อมูลการใช้ยา IV magensium sulfate และนำ า ยา
ดังกล่าวเข้าสู่บัญชีรายการยาที่มีความเสี่ยงสูง (high alert drug) ของโรงพยาบาล
กำา หนดระเบีย บปฏิบั ติใ นการใช้ ยาและนำ า เสนอให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ ง านที่ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก คน
ทราบ

21
ภาคผนวก 5
ตัวอย่างโครงสร้างข้อมูลยาที่นำาเสนอแก่คณะกรรมการเภสัชกรรมและการ
บำาบัด
(DRUG MONOGRAPH)

ชื่อยาทั่วไป (Generic Name):


ชื่อการค้า (Brand Name):
บริษัทผู้ผลิต/ จัดจำาหน่ าย (Manufacturer/ Distributor):
รูปแบบ/ ความแรง/ ขนาดบรรจุ (Dosage form/ Strength):
กลุ่มยา (Classification):
ยาคล้ายกันที่มีอย่แ
ู ล้วในบัญชีรายการยาของโรงพยาบาล (Similar drug):
สรุ ป ข้ อ มู ล ยาโดยย่ อ และคำา แนะนำ า ในการพิ จ ารณายา (Summary and
Formulary recommendation):
ควรสรุปว่ายาดังกล่าวควรได้รับการพิจารณาบรรจุเข้าในบัญชีรายการยาของโรง
พยาบาลหรือไม่ เพราะอะไร และเมื่ อเข้ามาแล้วจะมีสถานการณ์ ใช้เ ป็ นแบบใด
เช่น จะมีการจำากัดการใช้หรือมีการประเมินการใช้หรือไม่ อย่างไร รวมถึงจะมียา
ตัวใดถูกถอดออกจากบัญชีรายการยาของโรงพยาบาลหรือไม่

ข้อบ่งใช้ที่ได้รับการรับรองจากสำานั กงานคณะกรรมการอาหารและยา
(Approved Indication):

เภสัชวิทยา (Pharmacology): (กรณีที่มียาคล้ายกันควรทำาข้อมูลเชิงเปรียบ


เทียบ)

ประสิทธิภาพยาทางคลินิก (Clinical Efficacy): (กรณีที่มียาคล้ายกันควรทำา


ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ)

22
เภสัชจลนศาสตร์ (Pharmacikinetics): (กรณีที่มียาคล้ายกันควรทำาข้อมูลเชิง
เปรียบเทียบ)

ข้อควรระวัง/ ข้อห้ามใช้ (Precaution/ Contraindication):

อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา (Adverse Drug Reaction): (กรณีที่มียาค


ล้ายกันควรทำาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ)

ขนาดและวิธีการบริหารยา (Dosage and Administration): (กรณีที่มียาคล้าย


กันควรทำาข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ)

เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านยา (Cost Comparison):


ควรทำาเป็ นตารางเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านยากับยาคล้ายกันที่มีอยู่แล้วในโรง
พยาบาลหรือยาที่ได้รับการเสนอเข้าพร้อมกันและเป็ นยาในกลุ่มเดียวกัน หรือใช้
ในข้อบ่งใช้เดียวกัน
การเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายด้านยาควรเปรียบเทียบในหน่วยที่สามารถเปรียบเทียบ
กันได้ เช่น ค่าใช้จ่ายต่อการรักษา 1 วัน หรือค่าใช้จ่ายต่อ 1 course ของการ
รักษาเป็ นต้น

23
ภาคผนวก 6
ลำำดับคำำถำม ..….
ตัวอย่างแบบบันทึกการให้บริการข้อมูลยา
…..

โรงพยาบาล รหัสคำาถาม วันที่เก็บเข้าฐานข้อมูล

เกี่ยวกับผ้ถ
้ าม

ชื่อผู้ถาม
ที่อยู่
% Fax: e-mail:
ประเภทผู้ถาม 01 แพทย์ 02 แพทย์ 03 ทันตแพทย์ 04 เภสัชกร 05
ทัว
่ ไป เฉพาะทาง พยาบาล
06 นักวิทย์ 07 นัก 08 นักศึกษา 09 ประชาชน/ 06 อื่นๆ
สาธารณสุข ผ้ป
ู ่ วย
วิธีถาม 01 วาจา 02 แบบขอรับ 03 โทรศัพท์/ 04 e-mail 05
บริการ โทรสาร ไปรษณีย์
06 อื่นๆ
จุดประสงค์ของการถาม 01 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วย 02 เพื่อประโยชน์ในการ 03 เพื่อเพิ่มเติม
ปฏิบัติงาน ความรู้
04 เพื่อศึกษา/ วิจัย 05 อื่นๆ
วันที/่ เวลาที่ถาม ความรีบด่วน 01 ทันที (ภายใน 02 ภายใน 1 วัน 03 อื่นๆ
10 นาที) ระบุ

เกี่ยวกับคำาถาม

คำาถาม: …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...
หัวข้อสืบค้น (keywords)
ประเภทคำาถาม 01 02 Availability 03 04 Pregnancy/
Identification Pharmacokine Nursing
tics

24
05 Interaction 06 Formulation 07 ADR/ Side 08 Toxicity/
Effects Poisoning
09 Dosage/ 10 Therapeutic 11 12 Herbal/
Administration Use/ Efficacy/ Compatibility/ Conventional
Indication Stability Medicines
13 Storage 14 15 Legal/ 16 Cost/
Contraindication Regulatory/ Pharmacoecono
/ Precaution Law mics
17 18 Alternative 19 20 Others ……
Pharmacology Medicine Compounding ………………..
/ Mechanism
of action
ข้อมูลผู้ป่วย M อายุ ปี นำ้ าหนัก LBW สูง
F เดือน กก. กก. ซม.
ข้อมูล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
อื่นๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………

การสืบค้นข้อม้ล

แหล่งข้อมูล (เลือก 01 เอกสาร 1 02 เอกสาร 2 03 เอกสาร 04 DIS


๐ ๐

ได้>1) 3 Database

05 CD-ROM 06 On-line 07 Drug File 08 อื่นๆ


(Internet)
คำาตอบ: ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
.............................................................................................................................................
.........................................................................
.............................................................................................................................................
.........................................................................

25
ตัวอย่างแบบบันทึกการให้บริการข้อมูลยา (ต่อ)

เอกสารอ้างอิง

เอกสารอ้างอิงที่ 01 AHFS 02 Drug 03 Drug 04 JPR 05 PDR


สืบค้นแต่ไม่พบ Facts and Information
คำาตอบ Comparison Handbook
06 USPDI 07 08 Martindales 09 01
Vol I DrugDex® Poisindex Identidex®
®
10 MIMs/ 11 12 Drug 13 14
MIMs Handbook Interaction Pregnancy Textbook
Annual on Injectable Facts & Lactation of ADR
Drugs
15 16 Text. Of 17 Applied 19 20 Conn’s
Pharamcot Therapeutics Therapeutics Harrison Current
hera. Therapy
21 Clinical 22 23 Remington 24 USP/ 25 Merck
Drug Data Pharmaceuti NF Index
cal Codex
26 27 USPDI 28. Medication 29 30 Internet
Goodman Vol II Teaching Medline/
and Manual IPA/
Gilman Embase
31 Others (ระบุ)
เอกสารอ้างอิงที่ใช้ในการตอบคำาถาม:
…………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

26
วิธีส่งคำาตอบ 01 วาจา 02 ลายลักษณ์ 03 โทรศัพท์/ 04 e-mail 05 06
อักษร โทรสาร ไปรษณีย์ อื่นๆ
วัน/ เวลาที่ตอบกลับ ระยะเวลาที่สืบค้น ระยะเวลาที่กรอกแบบรับคำาถาม
ระยะเวลาที่เขียนคำาตอบ (กรณีส่งคำาตอบเป็ นลายลักษณ์ ผ้ส
ู ืบค้นข้อมูล ผ้ต
ู อบคำาถาม
อักษร)
วันที่ตรวจสอบคำาตอบ ผ้ต
ู รวจสอบคำาตอบ หัวหน้ างานวิชาการ
วันที่แก้ไขคำาตอบ ครัง้ ที่แก้ไขคำาตอบ ผ้แ
ู ก้ไขคำาตอบ

การประเมินความครบถ้วนของ 01 02 ไม่ 03 อื่นๆ ระบุ ผู้ประเมิน


แบบบันทึก ค ค
ร ร
บ บ

การประเมินความพึงพอใจของผ้้รับบริการ

ความครบถ้วนของคำา 01 ครบ 02 ไม่ครบถ้วน 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………


ตอบ ถ้วน
ความชัดเจนของคำาตอบ 01 ชัดเจน 02 ไม่ชัดเจน 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………
ความตรงประเด็นความ 01 ตรง 02 ไม่ตรง 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………
ต้องการ ประเด็น ประเด็น
การนำ าไปใช้ประโยชน์ 01 นำ าไป 02 ไม่นำาไปใช้ ระบุเหตุผล 03 ประเมินไม่ได้ เพราะ
ใช้ …………….. …………
ความทันต่อเวลา/ ความ 01 ทัน 02 ไม่ทันเวลา 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………
ต้องการ เวลา
ผ้ป
ู ระเมินความพึงพอใจ …………………………………………………………………

การประเมินคุณภาพของคำาตอบ

ความถูกต้องของคำาตอบ 01 ถูกต้อง 02 ไม่ถูกต้อง 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………


ความเหมาะสมของ 01 เหมาะ 02 ไม่เหมาะ 03 อื่นๆ ระบุ ………………………………………………
เอกสารอ้างอิง สม สม
ผ้ป
ู ระเมินคุณภาพของคำาตอบ …………………………………………………………………

27
28

You might also like