You are on page 1of 18

บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง

สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

เภสัชสารสนเทศ : การบูรณาการงานเภสัชกรรมและเทคโนโลยี
สารสนเทศสู พรมแดนใหม ของการให บริ ก ารโดยเภสั ช กร
Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy
Services and Information Technology
รหัสกิจกรรม 2005-1-000-004-06-2566 จำนวนหนวยกิต 3.0 หนวยกิตการศึกษาตอเนื่อง
วันที่รับรอง : 21 มิถุนายน 2566 วันที่หมดอายุ : 20 มิถุนายน 2567
วิรณ
ุ เวชศิริ ภบ. บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (MBA)
หนังสืออนุมัติบัตรเปนผูมีความรูความชำนาญ
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาการบริหารเภสัชกิจ ว.ภ.(บริหารเภสัชกิจ)
กรรมการสมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)
กรรมการเภสัชกรรมสมาคมแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ
กรรมการผูจัดการบริษัท Pharm Connection (Thailand) Co., Ltd.
Email : wirun.wetsiri@gmail.com

เภสัชกรหญิง ฐิติมา พยัฆศิริ


หนังสืออนุมัติบัตรเปนผูมีความรูความชำนาญ
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาการบริหารเภสัชกิจ ว.ภ.(บริหารเภสัชกิจ)
หัวหนากลุมงานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลสมุทรสาคร
Email : teenueng@yahoo.com

เภสัชกรคมกฤช ศรีไสว ภ.ม.(การจัดการเภสัชกรรม)


หนังสืออนุมัติบัตรเปนผูมีความรูความชำนาญ
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาการบริหารเภสัชกิจ ว.ภ.(บริหารเภสัชกิจ)
หัวหนางานผลิตยา กลุมงานเภสัชกรรม
รองประธานคณะทำงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (CIO)
ประธานคณะทำงานพัฒนาระบบ Electronic Medical Record (EMR)
โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห
Email : kaipharmacy@rocketmail.com

เภสัชกรจิตติศกั ดิ์ คำตัน


หนังสืออนุมัติบัตรเปนผูมีความรูความชำนาญ
ในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมสาขาการบริหารเภสัชกิจ ว.ภ.(บริหารเภสัชกิจ)
ผูชวยผูอำนวยการภารกิจดานพัฒนาระบบบริการ
และสนับสนุนบริการสุขภาพดานสารสนเทศทางการแพทย
โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
Email : jittisak.c@cpat.ac.th

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 1


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

บทคัดยอ:
ในปจจุบันความรูดานเภสัชสารสนเทศมีความสำคัญมากขึ้น และเปนสวนหนึ่งที่สำคัญของงานเภสัชกรรม โดยมีประโยชนในการ
ชวยยจัดการระบบการดูแลผูปวยและการจัดการสถานพยาบาล ขอมูลดานเภสัชสารสนเทศสามารถชวยทำใหเกิดการตัดสินใจที่มี
ประสิทธิภาพ ทำใหการสื่อสารเปนไปไดอยางราบรืน่ และเภสัชกรเองก็ไดพัฒนาบทบาทของตนเอง ไมใชแคเปนเพียงผูใชงานระบบ
สารสนเทศ หากแตยังสามารถขยายบทบาทเปนผูพัฒนาระบบ และดูแลระบบ ชวยใหงานบริการสุขภาพเปนไปไดอยางราบรื่น
เพื่อใหเภสัชกรสามารถปฏิบัติงานในบทบาทเภสัชสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ เภสัชกรจำเปนตองเขาใจบทบาทหนาที่ของ
ตนเอง รูจักเครื่องมือทางดานดิจิทัลที่จำเปนตองใช รวมทั้งกรอบกรอบความคิดเชิงออกแบบเพื่อทำใหระบบงานตอบสนองไปตาม
วัตถุประสงคของงานที่ปฏิบัติ และสรางความเปลี่ยนแปลงไดอยางเหมาะสม
.

คำสำคัญ: - Pharmacy Informatics, Information technology, Health Information Technology, Healthcare services,
Design Thinking, Information systems, เภสัชสารสนเทศ, เทคโนโลยีสารสนเทศ, เทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพ, บริการ
ดานสุขภาพ, การคิดเชิงออกแบบ, ระบบขอมูล

I. บทนำ:

ในโลกของการดูแลรักษาสุขภาพเปนโลกที่ไมหยุดนิ่ง มีการพัฒนาและตองปรับตัวใหเขากับความกาวหนาและการคนพบใหมๆ
อยางตอเนื่อง ในดานงานเภสัชกรรมเองก็เชนกัน มีการเปลี่ยนแปลงประการสำคัญที่มีการผนวกระหวางการใหบริการเภสัชกรรม
รวมกับความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพ (HIT : Health Information Technology) เปนการบรรจบกันที่ทำใหเกิด
ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางใหมซึ ่งเรีย กวา “Pharmacy Informatics” บทความนี้มีวัตถุป ระสงคเพื ่อ ใหเภสัชกรไดเขาใจถึ ง
ความหมาย ขอบเขตการทำหนาที่ใหมนี้ รวมทั้งการนำไปใชในเชิงปฏิบัติ และการสรางโอกาสสำหรับการเรียนรูและพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง

ความรูดานเภสัชศาสตรและความรูดานสารสนเทศดูเหมือนเปนสองสาขาที่มีความแตกตางกันโดยสิ้นเชิง แตดวยการถือกำเนิดของ
เทคโนโลยีดิจิทัลไดนำไปสูการปฏิวัติในดานการดูแลรักษาสุขภาพ นำไปสูการเปดชองทางใหมๆสำหรับการดูแลผูปวย การจัดการ
ขอมูล และการใหบริการทางดานสุขภาพในรูปแบบตางๆ เภสัชกรเองนั้นมีความเชี่ยวชาญโดยเฉพาะดานการจัดการดานยาและ
การดูแลผู ปวย ซึ่งหากสามารถใชประโยชนจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีเหลานี้ได ก็จะทำใหสามารถปรับปรุงพัฒนาแนว
ทางการดูแลผูปวยที่ดีขึ้นอยางมากในอนาคต

เภสัชสารสนเทศ (Pharmacy Informatics)i คือสาขาวิชาที่เนนการศึกษาขอมูลที่เกี่ยวของกับยา และความรูในความเชื่อมโยง


ของระบบการดูแลสุขภาพ ซึ่งเกี่ยวของกับ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช และการจัดการระบบขอมูลสำหรับกระบวนการ

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 2


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ใชยา เภสัชสารสนเทศใชเทคโนโลยีและหลักการของสารสนเทศ เพื่อปรับปรุงความปลอดภัยของผูปวย เพิ่มคุณภาพการดูแลรักษา


และเพิ่มประสิทธิภาพของบทบาทเภสัชกรในการดูแลสุขภาพแกผูปวย

การมีความรูในเรื่องในดานเภสัชสารสนเทศนั้นมีความสำคัญ มีประโยชนหลายประการ ซึ่งจะขอสรุปประโยชนของการนำความรู


ดานเภสัชสารสนเทศมาใชดังตอไปนี้

1. ชวยเพิ่มความปลอดภัยในการใชยาของผูปวย (Enhancing Patient Safety) : เภสัชสารสนเทศมีบทบาทสำคัญใน


การลดขอผิดพลาดในการใชยา และปรับปรุงความปลอดภัยของผูปวย ชวยใหสามารถบูรณาการและวิเคราะหขอมูลที่
เกี่ย วของกับ ยา สรางความมั่ นใจในใบสั่งยาที่ถูกตอง ลดความเสี่ยงในการเกิดปฏิกิริยาระหวางยา และแจงเตือน
เหตุการณไมพึงประสงคทีอ่ าจเกิดขึ้นได
2. ชวยพัฒนาระบบการจัดการดานยา (Improving Medication Management) : ดวยการใชเทคโนโลยีและการ
ขับเคลื่อนดวยขอมูล (data-drive) เภสัชสารสนเทศชวยปรับปรุงกระบวนการจัดการดานยา ชวยอำนวยความสะดวกใน
การสั่งจายยาแบบอิเล็กทรอนิกส การทบทวนการจายยา และระบบการจายยาอัตโนมัติ ซึ่งนำไปสูการใหความรวมมือที่ดี
ในการใชยา (adherence) ทำใหระบบงานบริการดานยามีความคลองตัว และลดปญหาที่เกี่ยวของกับการใชยา
3. ชวยใหผลลัพ ธการรัก ษาดี ข ึ้ น (Optimizing Clinical Outcomes) : เภสั ชสารสนเทศสามารถชวยใหบุคลากร
ทางการแพทยสามารถเขาถึงประวัติดานการใชยาที่ครอบคลุม ฐานขอมูลยา และเครื่องมือสนับสนุนการตัดสินใจทาง
คลินกิ สิ่งนี้ชวยใหบุคลาการทางการแพทยสามารถตัดสินใจโดยมีขอมูลประกอบที่ครบถวนมากที่สุด ชวยใหเลือกวิธีการ
รักษาที่เหมาะสมที่สุด และสรางผลลัพธทางคลินิกใหเหมาะสมที่สุดสำหรับผูปวยได
4. ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในงานบริการ (Efficiency and Workflow Optimization) : เภสัชสารสนเทศชวยเพิ่มความ
คลองตัวใหกับงานบริการดานยา ลดขั้นตอนที่ตองใชแรงงานคนและงานเอกสาร ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงาน
ชวยใหเภสัชกรสามารถมุงเนนที่กิจกรรมการดูแลผูปวย การใหคำปรึกษาดานยา และดูแลผูปวยไดมากขึ้น
5. ใหขอมูลเชิงลึกเพื่อการตัดสินใจอยางเหมาะสม (Data-Driven Insights) : ดวยการรวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่
เกี่ยวของกับยา เภสัชสารสนเทศชวยใหขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับรูปแบบการใชยา อัตราการใหความรวมมือในการใชยา
รวมทั้งผลลัพธจากการรักษาของผูปวย ขอมูลเชิงลึกเหลานี้นำไปสูแนวทางการปฏิบัติตามหลักฐาน (Evidence based
practice) การวิจัย และการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพตอไป

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 3


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ช่ วยเ พิมความปล อดภั ย ช่ วยพั ฒนาระบบ


ช่ วยให้ผลล พั ธ์การรักษาดี
ในการใช้ ยาของผู้ ป่วย การจัด การด้านยา
ขึน (Optimizing Clinical
(Enhancing Patient (Improving Medication
Outcomes)
Safety) Management)

ช่ วยเ พิมประสิท ธิภาพใน ให้ข้อมูล เชิงล กึ เพือการ


งานบริการ (Efficiency and ตัดสินใจอย่ า งเหมาะสม
Workflow Optimization) (Data-Driven Insights)

ภาพที่ 1 ประโยชนของความรูดานเภสัชสารสนเทศ (Pharmacy Informatics)

II. ระบบสารสนเทศกับการจัดการโรงพยาบาล
IT in Hospital Management
ศักยภาพของการนำระบบสารสนเทศมาใชกับงานบริการในสถานพยาบาลนั้นมีมากมายii ยกตัวอยางเชน

 บันทึกสุขภาพอิเล็กทรอนิกส (Electronic health records : EHRs) : EHR เปนเวชระเบียนของผู ปวยในรูปแบบ


อิเล็ก ทรอนิกส สามารถใชเก็บขอมูลผู ปวย เชน ประวั ติทางการแพทย การใชยา การแพ และผลการทดสอบ EHR
สามารถชวยปรับปรุงการดูแลผูปวยโดยใหบุคลาการทางแพทยเขาถึงขอมูลผูปวย ณ จุดที่ใหการดูแล ซึ่งชวยใหแพทย
ตัดสินใจระหวางการดูแลผูปวยและใหการดูแลไดรวดเร็วยิ่งขึ้น
 ระบบสนั บ สนุ น การตั ดสิ น ใจทางคลิ น ิก (Clinical decision support : CDS) : ระบบ CDS ใชบั นทึ ก สุข ภาพ
อิเล็กทรอนิกสเพื่อใหขอมูลตามเวลาจริงแกแพทยเกี่ยวกับการดูแลผูปวย ตัวอยางเชน สามารถใชระบบ CDS เพื่อแจง
เตือนเมื่อผูปวยแพยาหรือเมื่อยามีขอหามสำหรับอาการของผูปวย ระบบ CDS สามารถชวยปรับปรุงความปลอดภัยของ
ผูปวยโดยการลดจำนวนขอผิดพลาดทางการแพทย
 ระบบการดูแลสุขภาพทางไกล (Telehealth) : เปนการใชเทคโนโลยีโทรคมนาคมเพื่อใหบริการดานสุขภาพจาก
ระยะไกล ซึ่งประกอบไปดวยทั้ง ระบบการแพทยทางไกล (telemedicine) ระบบเภสัชกรรมทางไกล (telepharmacy)
และบริการทางการแพทยอื่นๆ ตัวอยางเชน สามารถใช telehealth เพื่อใหคำปรึกษากับแพทย ใหบริการดานสุขภาพจิต
และใหความรูแกผูปวย Telehealth สามารถชวยปรับปรุงการเขาถึงการรักษาพยาบาล โดยเฉพาะอยางยิ่งสำหรับผูปวย
ในพื้นที่หางไกลและดอยโอกาส หรืออาจอยูในเขตเมืองแตเดินทางลำบาก

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 4


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

 ชองทางอำนวยความสะดวกแกผูปวย (Patient portals) : ชองทางอำนวยความสะดวกแกผูปวย อาจเปนเว็บไซต


หรือชองทางอิเล็คทรอนิกสที่ปลอดภัย ซึ่งอนุญาตใหผูปวยเขาถึงเวชระเบียน กำหนดเวลานัดหมาย และสื่อสารกับผูให
บริการสุขภาพของตนไดอยางสะดวก Patient portals นี้สามารถชวยปรับปรุงใหเกิดการมีสวนรวมและสรางความพึง
พอใจแกผูปวยและผูมารับบริการของโรงพยาบาลได

บันทึกสุขภาพอิเล ็กทรอนิกส์
(Electronic health records : EHRs)

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคล นิ ิก
(Clinical decision support : CDS)

ระบบการดูแล สุ ขภาพทางไ กล (Telehealth)

ช่ องทางอํานวยความสะดวกแก่ผู้ป่วย (Patient portals)

ภาพที่ 2 ตัวอยางของระบบสารสนเทศที่ใชในงานใหบริการของสถานพยาบาล

ระบบสารสนเทศมีความสำคัญอยางยิ ่งตอผลลัพธดานสุขภาพของผู ปวยiii งานวิจ ัย โดย Brenner SK et al, 2016 ไดทำการ


ทบทวนวรรณกรรมอยางเปนระบบเพื่อพิจารณาผลกระทบของ (Health Information Technology: HIT) ตอผลลัพธดานความ
ปลอดภัยของผูปวย การทบทวนรวมการทบทวนอยางเปนระบบ 31 ครั้ง จากการศึกษาทั้งหมด 1,297 เรื่อง ซึ่งประโยชนของ HIT
ที่พบมีดังตอไปนี้

 HIT สามารถชวยลดความเสี่ยงของความผิดพลาดในการใชยา (medication errors) ไดถึงรอยละ 50


 HIT สามารถปรับปรุงประสิทธิภาพในการตอบสนองของการดูแลผูปวย (timeliness of care) โดยลดเวลาที่ใชในการ
สงผลตรวจปฏิบัติการ และการรับยา
 HIT สามารถปรับปรุงความพึงพอใจของผู ปวย โดยทำใหผูปวยสามารถเขาถึงเวชระเบียนของตน และสื่อสารกับผูให
บริการสุขภาพของตนไดงายขึ้น
 ผลกระทบของ HIT ตอความปลอดภัยของผูปวย อาจแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับประเภทของระบบสารสนเทศ และจำนวน
ผูปวย

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 5


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

อยางไรก็ดี Alolayyan MN et al, 2020 ไดทำการทบทวนวรรณกรรมอยางครอบคลุมเกี่ยวกับผลกระทบของระบบเทคโนโลยี


สารสนเทศ (Health Information Technology: HIT) ตอประสิทธิภาพของโรงพยาบาล ซึ่งพบวา คุณภาพของขอมูลเปนปจจัย
สำคัญในการกำหนดผลกระทบของระบบสารสนเทศ (HIT) ตอประสิทธิภาพของโรงพยาบาล การคนพบนี้มีความสำคัญ เนื่องจาก
ชี้ใหเห็นวาโรงพยาบาลจำเปนตองใหความสำคัญกับการปรับปรุง “คุณภาพของขอมูลที่ปอนเขาสูระบบสารสนเทศ (Quality of
Data)” ของตนเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากระบบสารสนเทศ

จากขอมูลดังกลาวทำใหเห็นวา ถึงแมวางานสารสนเทศจะชวยใหกิจกรรมหลายอยางสามารถเกิดขึ้นไดโดยอัตโนมัติ แตการเขามามี


สวนรวมของคนในการเขามาจัดการระบบและตีความขอมูลก็ยังเปนจุดสำคัญที่ทำใหบุคลากรทางการแพทยจะตองเขามาแสดง
บทบาทเพื่อชวยในการควบคุมระบบการรักษาใหไดตามมาตรฐาน

Carayon P et al, 2019 ไดทำการศึกษาถึงปจจัยดานบุคคลที่สงผลกระทบตอระบบสารสนเทศสุขภาพ (HIT)iv ซึ่งพบวา ความทา


ทายประการของระบบ HIT คือ จะตองถูกใชงานโดยผูคนที่หลากหลาย รวมถึงแพทย พยาบาล เภสัชกร และผูปวย ผูใชเหลานี้แต
ละคนมีความตองการและความคาดหวังที่แตกตางกัน และการออกแบบระบบที่ตอบสนองความตองการของทุกคนอาจเปนเรื่อง
ยาก รวมทั้ง HIT จะตองถูกนำมาใชในสถานที่ตางๆ ที่หลากหลาย รวมถึงโรงพยาบาล คลินิก และสำนักงานแพทย สภาพแวดลอม
ที่ใชระบบ HIT สามารถมีผลกระทบอยางมากตอความสามารถในการใชงาน ยกตัวอยางเชน ระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล
ขนาดใหญอาจไมเหมาะกับผูใชงานในโรงพยาบาลเล็กๆ หรือคลินิก ซึ่งนำไปสูความสำคัญของปจจัยดานมนุษย ความสามารถใน
การใชงาน และการออกแบบระบบใหเหมาะสมตอผูใช ทำใหเห็นวา มีความจำเปนที่จะตองมีผูควรคุมดูแลใหระบบ HIT ตองมีการ
ดำเนินการดังนี้คือ

 ออกแบบโดยเนนผูใช เปนศูนยกลางในการพัฒนาระบบ HIT (user-centered design)


 ใหความสำคัญกับการทดสอบการใชงานในการพัฒนาระบบ HIT (usability testing)
 มีการฝกอบรมการใชงานระบบ HIT (Training)
 มีการประเมินการใชงานระบบ HIT อยางตอเนื่อง (ongoing evaluation)

การศึกษาเหลานี้ชี้ใหเห็นวาการมีสวนรวมหรือการกำกับดูแลของบุคลากรทางการแพทยยังคงมีความสำคัญตอการรับรองคุณภาพ
และความปลอดภัยของการดูแลในโรงพยาบาล HIT สามารถเปนเครื่องมืออันมีคาในการปรับปรุงการดูแลผู ปวย แตไมสามารถ
ทดแทนความเชี่ยวชาญและการตัดสินของบุคลากรทางการแพทยได

เภสัชกรนั้นมีความเชี่ยวชาญในการจัดการดานยาและการดูแลผูปวย ทำใหเภสัชกรมีตำแหนงที่ดีในการที่มีบทบาทจะสรางความ
เชื่อมโยงจากระบบเหลานี้ดวยความเขาใจความตองการเฉพาะของสถานพยาบาล และความเขาใจความทาทายในมิติตางๆ ซึ่งทำ
ใหสามารถปรับปรุงคุณภาพการดูแล

เภสัชกรในปจจุบันไดเขามามีสวนรวมในการสรางระบบบัญชียา ระบบการใหบริการ ของสถานพยาบาล ทั้งในรูปแบบดั้งเดิมและ


ระบบออนไลน ทำใหทุกฝายมั่นใจวาระบบสนับสนุนภายในโรงพยาบาลนั้นมีความทันสมัยถูกตองและมีประสิทธิภาพทำใหสามารถ
ตัดสินใจไดหลากหลายมิติและเพิ่มความปลอดภัยในการใชยาได

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 6


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

III. บทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของเภสัชกร
The Evolving Role of Pharmacists
โดยปกติแลวบทบาทของเภสัชกรจะมุงเนนไปที่การทำใหยาหรือเวชภัณฑนั้นพรอมใหบริการแกผูปวย การจัดยา การจายยา การให
คำปรึกษาผูปวย ติดตามปฏิกริ ิยาระหวางยา และตรวจสอบความปลอดภัยจากการใชยา นอกจากนั้นยังมีบทบาทเพิ่มเติมอีกหลาย
บทบาทv อาทิ การจัดการการรักษาดวยยา (medication therapy management : MTM) การสรางเสริมภูมิคมกั
ุ น
(immunizations) และการจัดการโรคเรื้อรัง (chronic disease management) หรือแมแตภาระงานอีกหลายประการที่เกิดขึ้น
ในชวงการแพรระบาดของโควิด-19vi ซึ่งเภสัชกรจะตองสามารถปรับตัวเพื่อรับมือกับโรคระบาดไดอยางทันทวงทีดวย มีงานวิจัย
โดย Falconer N et al, 2020 ไดกลาวถึงอีกหนาที่หนึ่งที่นาสนใจคือ นักใหขอมูลดานยา (The pharmacist informaticianvii) ซึ่ง
ตองมีความสามารถในการใชงานระบบดานสารสนเทศ อาทิ Telehealth, EHR ในการดูแลผูปวยไดอยางเหมาะสม

และดวยภาระงานที่เพิ่มขึ้นของเภสัชกรในหลายจุดใหบริการ จึงมีความจำเปนอยางยิ่งที่จะตองมีเครื่องมือในการชวยบริการจัดการ
ดวยความกาวหนาอยางรวดเร็วในดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ไดเขามามีสวนขยายบทบาทการใหบริการอยางมีนัยยะสำคัญ ทำให
เปนการเปดโอกาสใหมๆในเรือ่ งขอบเขตความรับผิดชอบ และหนาที่ใหมๆ สำหรับเภสัชกร

ทุกวันนี้ เภสัชกรกำลังกาวเขาสูการนำวิชาชีพของตนมาประยุกตใหเขากับเครื่องมือดานสารสนเทศ (information technology)


การจัดการระบบดิจิตอล การตีความขอมูล รวมถึงการมีสวนรวมในการพัฒนาระบบสารสนเทศใหมๆ ซึ่งทำใหบทบาทของเภสัชกร
มีความโดดเดนที่สามารถสรางการบรรจบกันระหวางการดูแลสุขภาพและงานดานสารสนเทศได ทำใหเกิดบทบาทใหมและเพิ่มการ
มีสวนรวมในการสรางวิวัฒนาการของงานบริการดานสุขภาพ

IV. เภสัชกรในการพัฒนาระบบสารสนเทศ
Pharmacists in HIT Development
บทบาทของเภสัชกรกับงานในดาน IT นั้น ไมใชแครูจักกับระบบสารสนเทศ นำระบบไปใช และจัดการระบบเทานั้น แตยังเกี่ยวกับ
การทำความเขาใจและจัดการกับชองวางและปญหาในระบบงานเหลานี้ดวย ทำใหเภสัชกร ตองมีความเขาใจอยางลึกซึ้งทั้งในดาน
ระบบการดูแลสุขภาพ ระบบงานสารสนเทศ รวมถึงความสามารถในการพัฒนาหรือเลือกใชเทคโนโลยีใหเหมาะสมเพื่อตอบสนอง
ความตองการเฉพาะนี้ได

เภสัชกรเขามามีสวนรวมมากขึ้นในการพัฒนาและบำรุงรักษาระบบสารสนเทศของสถานพยาบาลหลายแหง ซึ่งมักไมไดเปนเพียง
ผูใชระบบเทานั้น ดวยความสามารถในการทำความเขาใจความตองการเฉพาะของสถานพยาบาล ความทาทายในการจัดการระบบ
ยา และเขาใจถึงศักยภาพของระบบสารสนเทศในการนำมาจัดการกับความทาทายเหลานี้ ซึ่งทำใหเภสัชกรสามารถสรางความ

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 7


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

แตกตางและมุมมองที่ไมเหมือนวิชาชีพใดในโรงพยาบาล จึงมีส วนสำคัญอยางยิ่งที่ทำใหโรงพยาบาลนั้นสามารถปรับตนเองให


เหมาะกับความตองการดานการดูแลสุขภาพของประชาชนได

เพื่อใหผูอานไดเห็นภาพบทบาทของเภสัชกรที่เปลี่ยนแปลงไป ขอยกตัวอยาง 3 กรณีศึกษาดังตอไปนี้

กรณีศึกษา 1 : บทบาทของเภสัชกรในการสราง Application งานบริหารวัคซีนในสภาวะวิกฤต


เภสัชกรหญิงฐิติมา พยัฆศิริ หัวหนากลุมงานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลสมุทรสาคร

“งานบริหารโครงการ” นั้นมีความสำคัญ และหนึ่งในตัวอยางที่สำคัญที่นาจะชวยใหผูอานเห็นภาพไดชัดเจน เชนกรณีศึกษานี้ เปน


กรณีศึกษาบทบาทของเภสัชกรที่โรงพยาบาลสมุทรสาคร เภสัชกรหญิงฐิติมา พยัฆศิริ หัวหนากลุมงานประกันสุขภาพ ซึ่งเปน
เภสัชกรที่เปนผูดูแลระบบยา (Admin) ในโปรแกรม HOSxP ของโรงพยาบาล เชน การตั้งคาวิธีการใชยา การลงขอมูลคำแนะนำ
เรื่องยาในระบบ เพื่อใหไปปรากฎอยู บนฉลากยา โดยแตเดิมนั้น ระบบโปรแกรมบริหารโรงพยาบาล (Hospital Information
System : HIS) ไมไดเชื่อมโยงกันทั้งโรงพยาบาล จะมีการใชโปรแกรมแยกเปนสวนๆ เชน สวนของงานเวชระเบียน งานหองยา
งานหอง LAB ฯลฯ ซึ่งขาดความเชื่อมโยงกันทั้งระบบ แตดวยความพยายามในการพัฒนาระบบบริการของโรงพยาบาล จึงทำใหมี
การนำ HOSxP เขามาใชเปนโปรแกรมหลักเพื่อใหเกิดความสะดวก รวดเร็ว และมีความปลอดภัยตอผูรับบริการ

ในชวงที่มกี ารเกิดภาวะวิกฤต การระบาดของโรคโควิด-19 โรงพยาบาลสมุทรสาครเปนโรงพยาบาลแหงแรกๆ ที่ไดรับวัคซีนมาและ


เริ่มจัดทำแผนการบริหารจัดการการฉีดวัคซีน ดานแรกที่สำคัญของการจัดบริการคือ การคาดการณและจัดระเบียบกลุมเปาหมาย
ที่ตองวางแผนการทำงานใหเหมาะสมกับชวงเวลา กำลังคน และทรัพยากรตางๆ ในการจัดบริการ เพราะในขณะเดียวกันระบบ
บริการสุขภาพในภาวะปกติของโรงพยาบาลก็ตองดำเนินการตอไปดวย ในอีกดานของการเตรียมความพรอมของระบบของประเทศ
ซึ่งเปนระบบใหญยังไมสามารถรองรับการเริ่มตนกระบวนการได แอปพลิเคชั่น “หมอพรอม” ยังไมเปดการใชงาน แตจังหวัด
สมุทรสาครตองเดินหนาใหเร็วที่สุด ทางผูบริหารจึงมอบหมายใหพัฒนาโปรแกรมจองคิวฉีดวัคซีนเอง โดยในการออกแบบระบบ
ตองมีประสิทธิภาพในการกำกับกระบวนการทำงานไดดี ตองทำใหผู ทำงาน และผู รับบริการไดประโยชน สรางภาพแหงความ
เชื่อมั่นและพึงพอใจ ลดความซ้ำซอนและภาระในขั้นตอนการทำงาน เพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร ลดความเสี่ยงที่จะทำใหเกิด
ขอผิดพลาด ที่สำคัญคือประชาชนทุกคนควรเขาถึงระบบนี้ไดโดยมีขอจำกัดนอยที่สุด

การออกแบบระบบในเวลานั้น เภสัชกรไดทำงานประสานกับ ฝายสารสนเทศของโรงพยาบาลอยางใกลชิด โดยชวยประเมิน


โปรแกรมใหสามารถใชงานงาย “User interface” ตองชัดเจน เขาใจงาย อีกทั้งตัวโปรแกรมยังตองชวยประมวลผลขอมูลการจอง
วัคซีนใหสอดคลองกับปริมาณวัคซีนที่มีอยูในคลัง จนกวาจะมั่นใจจึงเผยแพรใหเกิดการใชงาน โดยเริ่มตนจากการใชงานเฉพาะใน
โรงพยาบาลกอน จากนั้นมีการลงพื้นที่เพื่อสอนการใชงานใหกับ รพ.สต., อบต., และเทศบาล เพื่อกระจายจุดการจองคิวฉีดวัคซีน

จากการใชโปรแกรมดังกลาว สงผลใหประชาชน มาฉีดวั คซีนตรงตามวันและเวลาที่นัด ลดความแออัดบริเวณจุดฉีดวัคซีน


โรงพยาบาลจัดอัตรากำลังเจาหนาที่ประจำแตละศูนยไดเหมาะสม เพราะรูขอมูลจำนวนประชาชนที่จะมา และสามารถวางแผน
บริหารจำนวนและชนิดของคลังเวชภัณฑและคลังวัคซีนไดเหมาะสม

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 8


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

เรื่องราวของการออกแบบระบบสารสนเทศที่ใชชวยในการจองคิวฉีดวัคซีนนี้ เปนตัวอยางของการสรางผลลัพธ ในการลดความ


แออัด ลดความเสี่ยง และชวยบริหารผูรับบริการใหมีความสอดคลองกับปริมาณวัคซีน

ซึ่งเพื่อใหสามารถสรางระบบนี้ได เภสัชกรเองนั้นจะตองมีความสนใจและ “ลงรายละเอียดเกี่ยวกับการทำงานหนางานอยาง


ใกลชิด” มี “ความสนใจในระบบขอมูล” และ “มองใหเห็นวาระบบสารสนเทศในรูปแบบใดสามารถนำมาประยุกต” ใชกับ
ความตองการของงานบริการดังกลาวได จะตองมีความเขาใจในขอมูลที่มี และระบบไดถึงขอมูลหรือสิ่งที่ขาด จึงสามารถพัฒนา
Application ไดอยางเหมาะสม

กรณีศึกษา 2 : เภสัชกรกับการเริ่มตนพัฒนางานสารสนเทศจากภายในแผนกสูการจัดการทั้งระบบ
เภสัชกรคมกฤช ศรีไสว หัวหนางานผลิตยา กลุมงานเภสัชกรรม
รองประธานคณะทำงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (CIO), ประธานคณะทำงานพัฒนาระบบ Electronic Medical Record
(EMR),โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห

การเริ่มตนพัฒนางานสารสนเทศ ในกรณีศึกษาของโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห เริ่มจากหนวยงานจำเปนตองเปด


ใหบริการผสมยาเคมีบำบัด จึงไดไปศึกษาดูงานจากโรงพยาบาล 2 แหง ซึ่งพบวาโรงพยาบาลที่นำระบบสารสนเทศมาใชในการ
บันทึกขอมูลการผสมยาเคมีบำบัดชวยเพิ่มประสิ ทธิภาพและลดความซ้ำซอนในการทำงานได เชน ลดภาระงานในการจัดทำ
medication profile การคิดเงินคายาและคาบริการ การจัดเตรียมยา อุปกรณ ฉลากยา และเอกสารกำกับการผสมยา ทำใหเภสัช
กรผูรับผิดชอบงานนี้ ไดริเริ่มพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับผสมยาเคมีบำบัดและการบริบาลเภสัชกรรมในผูปวยมะเร็งขึ้นมาใชใน
โรงพยาบาลไดเปนผลสำเร็จ โดยอาศัยความรูที่เคยเรียนการพัฒนาโปรแกรมฐานขอมูล Microsoft Access ในวิชาคอมพิวเตอร
เมื่อครั้งที่ยังเปนนักศึกษาเภสัชศาสตร ประกอบกับคำแนะนำจากเภสัชกรรุนพี่ที่มีประสบการณในการพัฒนาโปรแกรมฐานขอมูล
จากนั้น ไดขยายการพัฒนาระบบสารสนเทศไปยังงานผลิตยาอื่ นๆ ที่ตนเองเปนผู ดูแล ไดแก ยาฉีดที่ใหทางหลอดเลือดดำ
สารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดำ ยาปราศจากเชื้อและยาทั่วไปทั้งการเตรียมปริมาณมากและสำหรับผูปวยเฉพาะราย

ในภาพของกลุมงานเภสัชกรรรมก็ไดเขาไปชวยพัฒนาระบบสารสนเทศใหคลอบคลุมงานอื่นๆ มากยิ่งขึ้น เชน โปรแกรม MedAlert


และ MedAnal สำหรับ verify ใบสั่งยา ทำหนาที่คนหาปญหาจากการใชยาโดยอัตโนมัติไดทั้งผูปวยนอกและผูปวยใน พัฒนาบัญชี
ยาโรงพยาบาลอิเล็กโทรนิกสรวมกับระบบเสนอยาใหมซึ่ งมีตนทุนที่ต่ำแตใหขอมูลที่เปนปจจุบันและเขาถึงงาย เพื่อใชแทนบัญชียา
เดิมที่อยูในรูปแบบเอกสาร พัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับงานบริบาลเภสัชกรรม เชน วารฟารินคลินิก คลินิกวัณโรค คลินิกเอดส
คลินิกโรคมะเร็ง เพื่อติดตามและแกปญหาการใชยาใหผูปวยเฉพาะกลุม พัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับงานตรวจวัดระดับยาใน
เลือด (Therapeutic Drug Monitoring) ชวยลดระยะเวลาและความคลาดเคลื่อนในการคำนวณทาง pharmacokinetic ที่มีความ
ซับซอน และสามารถนำผลการตรวจวัดระดับยาในเลือดจากหองปฏิบัติการมาแจงเตือนไดโดยอัตโนมัติ ทำใหเภสัชกรรับทราบเคส
และใหคำแนะนำกับแพทยในการปรับขนาดยาไดอยางรวดเร็ว พัฒนาระบบประสานรายการยา (medication reconciliation)
สำหรับทบทวนประวัติการใชยาในทุกขั้นตอนตั้งแตแรกรับ ระหวางนอนโรงพยาบาล และจำหนายผูปวยกลับบาน พัฒนาระบบ
ควบคุมกำกับดูแลการใชยาตานจุลชีพ (Antibiotic Automatic Alert : AAA) เพื่อเชื่อมโยงขอมูลการสั่งใชยาตานจุลชีพกับผล
ตรวจทางหองปฏิบัติการดานจุลชีววิทยา และแจงแพทยเจาของไขเพื่อทบทวนคำสั่งการรักษาใหสอดคลองกับเชื้อจุลชีพที่พบและ

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 9


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ผลการทดสอบความไวตอยาตานจุลชีพเมื่อถึงเวลาที่เหมาะสม รวมถึงการปรับขนาดยาตามคาการทำงานของไตของผูปวยแตละ
ราย พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารเวชภัณฑ (Inventory of Chiangrai : INVC) เพื่อใชในงานบริหารเวชภัณฑของ
โรงพยาบาลทดแทนระบบเดิม ตั้งแตการทำแผนจัดซื้อ การจัดซื้อ การตรวจรับ การคีย e-GP การจายออกจากคลัง การบริหารคลัง
ยอย โดยมีการเชื่อมขอมูล กับ บริ ษั ทผู จำหนายผานระบบ Electronic Data Interchange (EDI) สงขอมูล การรับรู หนี ้เ ขาสู
ฐานขอมูลของระบบงานบัญชีและการเงินของโรงพยาบาลโดยอัตโนมัติ การสงขอมูลการบริหารเวชภัณฑเขาสูระบบ Business
Intelligence ของกองบริหารการสาธารณสุข พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อประเมินอาการไมพึงประสงคจากการใชยาและนำผลการ
ประเมินเขาสูระบบเวชระเบียนอิเล็กโทรนิกส (e-OPD card) และล็อคการแพยาในระบบสารสนเทศของโรงพยาบาลโดยอัตโนมัติ
รวมถึงสรางระบบการติดตามการ rechallenge ยาอยางครบวงจร

จากตัวอยางที่ยกมาจะเห็นวาการพัฒนาระบบสารสนเทศของกลุมงานเภสัชกรรมเริ่มพัฒนาจากระบบงานเล็กๆ ที่ไมซับซอน ที่


ตนเองมีความเขาใจและยังไมจำเปนตองเชื่อมตอกับฐานขอมูลภายนอก เลือกใชเครื่องมือในการพัฒนาที่งาย ไมซับซอน หาใชงาน
งาย เชน Microsoft Access, Microsoft Excel จากนั้นเมื่อเริ่มมีพื้นฐานและประสบการณมากขึ้นก็เริ่มศึกษาภาษาคอมพิวเตอรที่
ซับ ซอนมากขึ ้น เชน SQL, VBA, ASP, PHP, Javascript ทั ้ง จากหนั ง สือ และจากอินเตอรเน็ต เมื่ อ ดำเนิ นการพัฒ นาระบบ
สารสนเทศไปไดซักระยะหนึ่ง หนวยงานอื่นๆ ในกลุ มงานเภสัชกรรม ก็ไดขอใหชวยพัฒนาระบบสารสนเทศใหงานของตนบาง
เนื่องจากยังไมมีใครชวยพัฒนาให และการไดรวมทำงานกับทีม IT ของโรงพยาบาล ทำใหมีโอกาสไดเรียนรูเครื่องมือและเทคนิคใน
การพัฒนาระบบสารสนเทศใหมๆ ที่ทันสมัย สงผลใหสามารถพัฒนาระบบงานที่ใหญขึ้น ซับซอนมากขึ้น และจำเปนตองเชื่อมโยง
ขอมูลจากระบบสารสนเทศหลายๆ ระบบงาน นอกจากนี้เมื่อผูบริหารโรงพยาบาลเห็นผลงานจึงไดสงไปเรียนหลักสูตรการบริหาร
ระบบสารสนเทศทางการแพทยของคณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบ ดี เพื่อกลับ มาชวยพัฒนาระบบสารสนเทศของ
โรงพยาบาลใหดียิ่งขึ้น จนปจจุบันไดดำรงตำแหนงรองประธานคณะทำงานสารสนเทศ และประธานคณะทำงานพัฒนาระบบ
Electronic Medical Record (EMR) ของโรงพยาบาล

ในระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นโดยเภสัชกรในโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห มีบางระบบงานที่มีความสำคัญแตโรงพยาบาล
อื่นๆ ยังไมมีระบบสารสนเทศนั้นใชงาน ก็ไดมีการนำระบบสารสนเทศที่โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะหพัฒนาขึ้นไปเผยแพร
และขยายการใชงานไปในระดับประเทศ เชน โปรแกรมวารฟารินเน็ตเวิรค โปรแกรมผสมยาเคมีบำบัด โปรแกรมบริหารเวชภัณฑ

ปจจัยแหงความสำเร็จของการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้นมาใชเองในกลุมงานเภสัชกรรม คือ “ความเขาใจในระบบงาน” ทำให


ออกแบบระบบสารสนเทศได “ตรงกับความตองการ” สามารถลงลึกในรายละเอียดของงานไดเต็มที่ ใชเวลาในการพัฒนาระบบ
นอยกวาการใหโปรแกรมเมอรของโรงพยาบาล ซึ่งตองใชเวลาทำความเขาใจในระบบงานและรอคิวในการพัฒนาตามลำดับ
ความสำคัญในระดับโรงพยาบาล แตอาจจะมีจำกัดในการเชื่อมโยงขอมูลกับระบบสารสนเทศอื่นๆ ภายในโรงพยาบาลซี่งขึ้นกับ
นโยบายของแตละโรงพยาบาลดวย ผลลัพธของการมีระบบสารสนเทศที่สามารถรองรับในทุกๆ บริการดานเภสัชกรรม ทำใหกลุม
งานเภสัชกรรมมีศักยภาพในการยกระดับการใหบริการดานเภสัชกรรมที่คลอบคลุมทุกมิติตามมาตรฐานวิชาชีพอยางมีคุณภาพ ทั้ง
ที่ยังมีขอจำกัดดานอัตรากำลัง

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 10


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

กรณีศึกษา 3 : บทบาทของเภสัชกรกับการทำ Digital transformation ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข


เภสัชกรจิตติศักดิ์ คำตัน ผูชวยผูอำนวยการ ภารกิจดานพัฒนาระบบบริการและสนับสนุนบริการสุขภาพ (ดานสารสนเทศทาง
การแพทย) โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา

ดวยกระทรวงสาธารณสุขไดมีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวของกับงานดาน Digital transformation ทำใหกลุมงานเภสัชกรรมจำเปนที่


จะตองสรางแนวทางการดำเนินงานใหมีความสอดคลองกัน โดยแบงแนวทางการพัฒนาออกเปน 3 ระดับคือ

1. การทำ Smart tools หรือการมีเครื่องมืออัจฉริยะไวพรอมใหบริการ โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตรวมกับ


ระบบสารสนเทศเดิมโดยทำใหเกิดการเชื่อมประสานไรรอยตอ ลดการทำงาน ลดความซ้ำซอนในกระบวนการตางๆ ทำ
ใหระบบมีความรวดเร็วปลอดภัย ชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพบริการของโรงพยาบาล

ตัวอยางหนึ่งคือ ระบบคิวในรูปแบบดิจิทัล เพื่อการบริการผูปวยนอกแบบองครวม (Holistic patient flow) ซึ่งเดิมนั้นดำเนินการ


เริ่มตนเฉพาะกลุมงานเภสัชกรรม หลังจากนั้นก็ไดขยายการบูรณาการทั้งระบบของโรงพยาบาล โดยมีการออกคิวจากตูรับบัตรคิว
(Kiosk) ซึ่งทำใหผูปวยสามารถลงทะเบียนการรับบริการไดอยางรวดเร็ว และภายในทางเดินของโรงพยาบาลก็จะมีจอแสดงสถานะ
ของผูปวยในแตละจุดที่รับบริการ และเมื่อผูปวยเขารับบริการมาถึงหองยา ก็จะมีการจัดระบบการออกคิว การจัดคิวรับยา การ
คำนวณระยะเวลาการรอคอยเพื่อปรับระบบบริการใหมีความเหมาะสม ผูปวยสามารถทราบไดวาตนเองนั้นอยูในขั้นตอนใดของ
การรับบริการ เชนอยูระหวางรอเภสัชกรตรวจสอบรายการยา และเมื่อผูปวยถูกสงตอไปยังการชำระเงิน การจายยา ผูปวยก็จะ
ทราบไดทันทีผานจอมอนิเตอร และ Mobile application ที่ทำใหผูปวยสามารถไดรับการแจงเตือนระหวางรอรับบริการ จึงทำให
ผูปวยสามารถเลือกจุดรอรับบริการจุดใดก็ไดในโรงพยาบาล และจะไดรับการแจงเตือนเมื่อใกลถึงเวลารับยา และสำหรับผูบริหารก็
มี Mobile application ที่มีระบบ business intelligence ที่ทำใหผูบริหารสามารถมองเห็นสถานะตางๆภายในโรงพยาบาล เชน
จำนวนผูปวยและสถิติตางๆ ที่จำเปนตอการตัดสินใจและการบริหารงานของผูบริหารโรงพยาบาลไดอีกดวย และการทำระบบ API
Service หรือการเชื่อมโยงของระบบขอมูลภายในโรงพยาบาลและระหวางสถานพยาบาล ซึ่งเอื้อตอการพัฒนาแอพพลิเคชั่นตางๆ
ซึ่งเปนประโยชนทั้งงานบริการเภสัชกรรมและงานดานอื่นๆของโรงพยาบาล

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 11


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ภาพที่ 3 ระบบ Smart tools ที่ทมี เภสัชกรโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมาไดจัดทำ

2. การทำ Smart Services หรื อ การพั ฒนาระบบงานไปสู ระบบบริการแบบอัจฉริย ะ มีก ารบูรณาการระบบการ


ใหบริการโรงพยาบาล โดยนำแนวทางจัดการปรับปรุงระบบงานบริการ (Service Process Management) โดยการนำ
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกตใชงาน ทำใหเกิดการ Lean Process หรือระบบที่มีประสิทธิภาพที่ดีขึ้น สงเสริมใหเกิด
สำนั ก งานไรกระดาษ หรื อ ใชกระดาษนอยลง (Paperless & Less paper) เพิ ่ ม ประสิท ธิ ภ าพการทำงานภายใน
โรงพยาบาล

หนึ่งในเทคโนโลยีที่ทำใหเกิดผลลัพธดังกลาว คือการที่โรงพยาบาลไดประยุกตใชระบบ Electronic Medical Record (EMR)


ทั้งระบบ ซึ่งเปนการแปลงหรือจัดเก็บเอกสารทางการแพทยภายในโรงพยาบาลจากเดิมที่เปนรูปแบบกระดาษใหอยู ในรูปแบบ
อิเล็กทรอนิกส เชนการบันทึกเปนฐานขอมูล หรือภาพสแกน

โดยทีมเภสัชกรเขาไปมีสวนรวมของการพัฒนาระบบ Computerised Physician Ordering Entry system (CPOE) ซึ่งเปน


ระบบที่แพทยบันทึกรายการสั่งยาในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส เพื่อลดปญหาลายมือแพทยไมชัดเจน ซึ่งเดิมสงผลตอความคลาดเคลือ่ น
ทางยา หลายครั้งมีความจำเปนที่เภสัชกรจะตองยอนกลับไปถามแพทยบอยครั้ง เมื่อมีระบบเปนดิจิตอล ทำใหสามารถไดขอมูลที่
ชัดเจน โรงพยาบาลสามารถลดความคลาดเคลื่อนไดยาไดอยางชัดเจน รวมถึงลดความคลาดเคลื่อนในการสั่งยา (Prescribing
Error) ของแพทยได

รวมทั้งระบบนี้ ไดชวยลดการใชกระดาษในการทำเอกสารตางๆ เภสัชกรเองทำหนาที่ในการนำขอมูลที่จำเปนเขาสูระบบ ทั้งขอมูล


การแพยาของผูปวย ขอมูลยาตีกัน (Drug interaction) หรือขอมูลคาผลตรวจปฏิบัติการที่สงผลตอการใชยา แนวทางการเลือกใช
ยาตามหลัก Rational Drug Use (RDU) ซึ่งเมื่อขอมูลอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสแลว ก็สามารถลดปญหาเรื่องการใชยาอยางสม

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 12


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

เหตุผลได ระบบไดชวยใหแพทยไดรับขอมูลยาจากระบบสารสนเทศระหวางนำขอมูลสูระบบ รวมทั้งลดปญหาเรื่องการรอคอยของ


ผูรับบริการ

ภาพที่ 4 การทำ Smart Services หรือการพัฒนาระบบงานไปสูระบบบริการแบบอัจฉริยะ

รวมทั้ งมีก ารจั ด ทำระบบเภสั ชกรรมทางไกล (Telepharmacy) รวมกั บ สหวิ ชาชีพ ในระบบบริ การสุข ภาพทางไกล (Tele-
Health) เพื่อเพิ่มการเขาถึงระบบบริการสุขภาพ และลดความแออัดของการรับบริการที่โรงพยาบาลไดอีกดวย

จะเห็นไดวาเภสัชกรสามารถสราง “บทบาทของตนเองในดานงานเภสัชสารสนเทศ (Pharmacy Informatics)” โดยการนำ


เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศดานสุขภาพหรือ HIT มาใชประกอบการปฎิบัติการ ทำใหเกิดรูปแบบงานใหมๆ ซึ่งมีทั้งการใชในการ
รับมือกับสถานการณเฉพาะหนา การสรางประสิทธิภาพจากงานประจำ รวมถึงสามารถขยายบทบาทตนเองไปชวยปรับปรุงระบบ
บริการสุขภาพในภาพใหญของสถานพยาบาลและระดับประเทศได

V. เรียนรูจากการลงมือทำสูกรอบความคิดเชิงออกแบบ
Learning by doing, The Power of Feedback and Design Thinking
จากกรณีศึกษาขางตน จะเห็นไดวา การที่เภสัชกรซึ่งเปนผูปฏิบัติงานและมีความรูความเขาใจในระบบงาน เขาใจในผูมีสวนรวม
เขาใจในระบบขอมูล จากหนางานใหบริการเปนอยางดี ทำใหสามารถออกแบบระบบเภสัชสาระสนเทศที่สามารถทำใหเกิด
ประโยชนในการบริการผูปวย และแกปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม กวาที่จะไดมาซึ่งผลลัพธที่ดีก็ตองมีจุดเริ่มตน
การลงมือทำ การนำตนเองไปเขาใจตัวงาน มองใหเห็นปญหา และพรอมที่จะปรับปรุงจากผลชิ้นงานแรกที่เกิดขึ้น

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 13


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ความเห็นของผูมีสวนรวมในระบบงานบริการเปนองคประกอบที่สำคัญ เปนการใหขอมูลเชิงลึกอันมีคาที่สามารถนำไปใชในการ
ปรับปรุงการใหบริการและการดูแลผูปวยได ในดานงาน Pharmacy Informatics ซึ่งความเห็นนั้นมีที่มาไดจากหลายแหลงทั้งจาก
บุคลากรทางการแพทย ผูปวย หรือแมแตผูดูแลระบบสารสนเทศเอง

ความเห็นที่เกิดขึ้นนั้นจะมีบ ทบาทสำคัญ ในการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบงานสารสนเทศ โดยจะใหขอมูล เชิงลึกทั้งในดาน


ประสิทธิภาพของระบบ ความทาทายที่ผูใชงานจะตองเผชิญ และโอกาสในการปรับปรุงใหระบบนั้นดีขึ้น โดยนำขอเสนอแนะและ
คำติชมนี้ไปใชในการปรับปรุงระบบเพื่อใหมั่นใจไดวาเปนไปตามวัตถุประสงคและสนับสนุนคุณภาพการดูแลผูปวย ความเห็นและ
คำติชมนี้ไมไดเปนเพียงแคการชี้ใหเห็นถึงประเด็นปญหาเทานั้น แตยังเปดโอกาสใหทีมงานไดตระหนักถึงโอกาสในการปรับปรุงและ
สรางนวัตกรรม สงเสริมการเรียนรูและการพัฒนาอยางตอเนื่อง รวมถึงสงเสริมวัฒนธรรมแหงความเปนเลิศและนวัตกรรมดานการ
ดูแลสุขภาพของสถานพยาบาล

เราพบเห็นตัวอยางเหลานี้จากตัวอยางกรณีศึกษาขางตน ระหวางการออกแบบระบบ เภสัชกรมักจะเริ่มตนจากระบบงานเล็กๆ ที่ไม


ซับซอนที่ตนเองมีสวนรับผิดชอบ โดยเริ่มตนจากทำความเขาใจระบบงาน (workflow) และการไหลหรือการสงตอขอมูล (data
flow) จากนั้นก็มองหาทางเลือกในการนำระบบสารสนเทศมาใชและออกแบบระบบใหเหมาะสมกับ workflow และ data flow
เหลานั้น เมื่อระบบพรอมใชงาน ก็ทดลองนำมาใชดวยตนเองจากนั้นก็เชิญชวนใหผูอื่นในสถานพยาบาลใช ดวยแนวทางเหลานี้
เองจึงทำใหเภสัชกรสามารถรวบรวมคำติชม (feedback) และสังเกตการตอบสนองจากผูใชงาน ซึ่งผลที่ไดก็ไดนำไปสูการปรับปรุง
ระบบใหดีขึ้นไปอีก

ซึ่งไมใชเรื่องบังเอิญที่กระบวนการนี้มีความสอดคลองกับกรอบการคิดเชิงออกแบบ หรือ Design Thinking ซึ่งเปนอีกหนึ่งชุด


ความรูที่ผูเขียนอยากใหผูอานไดมีโอกาสทำความเขาใจ และสามารถนำมาใชไดในเชิงปฏิบัติ

การคิดเชิงออกแบบเปนวิธีการแกปญหาที่เริ่มตนดวยการเขาอกเขาใจผูใชงาน การใชความคิดสรางสรรคและการทำงานรวมกันเพือ่
หาทางออกที่เปนนวัตกรรมใหม เปนแนวทางที่เนนการใชมนุษยเปนศูนยกลาง (Human Centered) ซึ่งเนนไปที่การทำความเขา
ใจความตองการของผูที่ไดรับผลกระทบจากการแกปญหา
1. เขาอกเขาใจ (Empathize) :เขาใจความตองการของผูคนที่จะไดรับผลกระทบจากการแกปญหา สิ่งที่ไดตอบรับกลับมา
จากขั้นตอนนี้คือไดรับทราบถึงปญหาทั้งหมดที่เกิดขึ้น เพื่อใหสามารถเขาอกเขาใจไดอยางแทจริง ผูจัดการศึกษาจะตอง
ลงไปนะงานเพื่อใหเห็นถึงปญหาและเห็นสภาพของผูที่มีปญหาไดอยางแทจริง
2. กำหนดของเขตปญหา (Define) :กำหนดขอบเขตของปญหาที่ต องแกไข ในขั้นตอนนี้ผู ทำการศึกษาจะเริ่มมีความ
ชัดเจนวาปญหาที่เลือกจะนำมาแกไขนั้นคืออะไร ซึ่งจะเกิดขึ้นหลังจากที่ไดขอมูลจากการลงพื้นที่และเมื่อทำการระดม
สมองหรือประมวลผลจากแหลงขอมูลที่ไดเพื่อเลือกปญหาที่จะนำมาแกไข
3. สรางไอเดียหรือแนวคิดเพื่อแกไขปญหา (Ideate) : คำวา Idea มาจาก “Idea” + “Create” ซึ่งสะทอนขั้นตอนวา
เปนการสรางแนวทางการแกปญหาอยางสรางสรรค โดยเริ่มตนจากการรวมกันระดมสมองสรางไอเดียใหเยอะมากที่สุด
เทาที่จะเปนไปได จากนั้นคอยมาทำการตัดตัวเลือกโดยคัดเฉพาะไอเดียที่มีโอกาสนำไปปฏิบัติไดจริงมาทดลองทำ

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 14


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

4. สรางตนแบบ (Prototype) :สรางตนแบบของแนวทางแกไขปญหา โดยตนแบบของการแกไขปญหาอาจเปนผลิตภัณฑ


หรือแนวทางการแกไขที่อาจมีเพียงบางคุณสมบัติเทานั้นแตสามารถแกไขปญหาบางประการได ซึ่งเรียกวาเปน MVP
(Minimum Viable Product) ผลิตภัณฑที่มีคุณสมบัตินอยที่สุดแตสามารถแกปญหาที่สำคัญที่สุดไดเพื่อนำไปใชทดสอบ
ตอไป
5. การทดสอบ (Test) : นำตนแบบที่สรางขึ้นมานั้นไปทดสอบกับผูไดรับผลกระทบเพื่อรับขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงตอไป

Bring feedback to
solve problem better
1.Empathize Chunk of Problems

5.Test 2.Define

Minimal Viable
Clear Problem
Product (MVP) to get
feedback

4.Prototype 3.Ideate

Candidate Solution

ภาพที่ 5 แนวคิด Design Thinking กับการนำมาใชในการเขาใจปญหาและสรางแนวทางแกไข


วิรัชญา จันพายเพ็ชรและดวงพรรณ กริชชาญชัย, 2017 ไดนำกรอบความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) มาใชในการวิจัยการ
ออกแบบรูปแบบการจัดการดานยาของโรงพยาบาล ดวยปญหาที่พบของแผนกเภสัชกรรมไดแก การพบการขาดประสิทธิภาพใน
การบริหารคลังยา ขาดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ไมสามารถติดตามรายการยาได รายการสถานะยาไมถูกตอง และพบ
ปญหาจากการจายยา ซึ่งดวยการนำแนวคิดกรอบความคิดเชิงออกแบบมาใชทำใหเห็นถึงปญหา สามารถสราง Model การแกไข
ปญหาและแนวทางในการประเมินผลการปรับปรุงไดviii โดยขั้นตอนในการนำกรอบความคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) มา
ใชในการคนหาปญหา เขาใจปญหา และสรางแนวทางการแกไขมีดังนี้คือ

จากการนำกรอบความคิดเชิงออกแบบมาใชในการออกแบบแนวทางการแกไขปญหาแผนกเภสัชกรรมของโรงพยาบาล ทำใหไดตัว
แบบดังแผนภาพที่ 4 เราจะเห็นไดวา ดวยการนำกรอบแนวคิด Design Thinking มาใชทำใหผูวิจัยสามารถรับทราบไดวาปญหา
ประการสำคัญของแผนกเภสัชกรรมนั้นประกอบไปดวยอะไรบางซึ่งพบวามีอยูหาประการ ซึ่งระบุอยูดานซายมือสุดของแผนภาพ
ขั้นตอนนี้เปนขั้นตอนของการทำความเขาอกเขาใจ (Empathize) ในตัวปญหาซึ่งไดจากการทบทวนวรรณกรรมและการลงพื้นที่
จริงในโรงพยาบาล จากนั้นผูวิจัยไดลำดับความสำคัญของปญหาที่จะถูกเรียกมาทำการแกไข นั่นก็คือปญหาการบริหารคลังยาทีไ่ ม

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 15


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

มีประสิทธิภาพเปนปญหาหลักในการเลือกมาสราง Model ขอเสนอการพัฒนา (Define) โดยผลลัพธของงานวิจัยชิ้นดังกลาวนั้น


ไดทำใหเกิดขอเสนอ (Prototype) ที่จะทำใหระบบการบริหารคลังยามีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยในการทดสอบ (Testing) ได
กำหนดตัวชี้วัดสามดานดวยกัน คือตัวชี้วัดทางดานการเงิน(สามารถลดคลังยาได) ตัวชี้วัดทางดานคลังสินคา (ลดจำนวนรายการยา
ที่ตองใชและยาขาดชวงได) และตัวชี้วัดดานการบริการลูกคา ซึ่งหากตัวโมเดลขอเสนอ (MVP) สามารถทำไดผลลัพธจริงก็จะ
สามารถนำไปสูการปรับแกไขไดทัง้ กระบวนการของงานเภสัชกรรมในที่สุด

ปญหา Supply Chain การออกแบบแนว เทคโนโลยีที่


มาตรฐานที่ใช ระบบสารสนเทศ แนวปฏิบัติ กลยุทธ ประโยชนที่ไดรับ
ของโรงพยาบาล ทางแกไขปญหา เกี่ยวของ

การบริหารคลังยา กระตุนใหมีกิจกรรม
ใชระบบคอมพิวเตอร
ไมมีประสิทธิภาพ บริหารคลังยาดวยการใช การวางแผนคลังยา การบริหารคลังยามี
ในการบริหารคลังยา
ระบบคอมพิวเตอร และการควบคุม ประสิทธิภาพมากขึ้น
และระบบงานเภสัช

ไมสามารถติดตาม สราง Master Data การจับคูรหัสยา


พัฒนาสถาปตยกรรมใน National Product สามารถตรวจ/
ตรวจสอบรายการยาได Code (NPC), ของระบบ, list RFID, 2D-Barcode มาตรฐานกับรหัสยา
การตรวจสอบผลิตภัณฑ Electronic Product ติดตามรายการยาได
Code (EPC
รายการยา ภายใน

ตัวเลขคลังยา จัดระบบตรวจนับ/ Auto-ID, RFID


กำหนดรอบการ ลดมูลคาคลังสินคา
ไมแมนยำ ตรวจนับยา
ตรวจเช็คสตอก และขอมูลที่ผิดพลาด

ผสานระหวางคลังยา กลไกการสงขอมูล การแบงปนขอมูล


การบริหารคลังยา
นโยบายบริหารคลัง การแบงปนขอมูล และ และงานบริการ เชน EDI, XML คลังยารวมกัน เชน ระบบที่มี
แบบรวมศูนย
ยาไมเหมาะสม สรางกลยุทธทำงาน เภสัชกรรม VMI, CPFR ประสิทธิภาพมากขึ้น
รวมกัน

การใชระบบสั่งยา วางกลยุทธกระตุน
ปญหาใน สั่งยาผานระบบ อิเล็คทรอนิกส ใหแพทยใชระบบ มีระบบรับสงใบสั่งยา
การสัง่ จายยา อิเล็คทรอนิกส (CPOE) CPOE ที่มีประสิทธิภาพ

ภาพที่ 6 แนวคิด Design Thinking กับกรอบการบริหารจัดการดานยา

VI. การพัฒนาทักษะและการเรียนรูอยางตอเนื่องของเภสัชกร
Skill Development and Continuous Learning
ในขณะที่สาขา Pharmacy Informatics ไดถูกพัฒนาขึ้นเปนอยางมาก โดยเฉพาะในชวงเวลาที่ต องรับมือกับสภาวะการแพร
ระบาดของ covid-19 ความจำเปนในการพัฒนาทักษะและการเรียนรู อยางตอเนื่องของเภสัชกรก็มีสวนสำคัญเชนเดียวกัน ใน
ปจจุบันนี้ ในประเทศไทยมีชองทางการเรียนรูที่หลากหลาย มีทั้งการเรียนการสอนในระบบของมหาวิทยาลัยที่เปดหลักสูตรการ
สอนดานงานดานเภสัชสารสนเทศ ทั้งในรูปแบบหองเรียนหรือหลักสูตรออนไลนที่มีรูปแบบการเรียนที่ยืดหยุน มีทั้งระบบหลักสูตร
ระยะสั้นที่เนนทักษะเฉพาะ การวิเคราะหขอมูลหรือการจัดการระบบสารสนเทศ เปนตน

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 16


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

ยกตัวอยางเชน วิทยาลัยการบริหารเภสัชกิจประเทศไทย ภายใตสภาเภสัชกรรม ไดมีหลักสูตรเภสัชสารสนเทศหรือ Pharmacy


Informatics เกิดขึ้นในรูปแบบหลักสูตรระยะสั้น ซึ่งจะมีสวนชวยใหเภสัชกรผูปฏิบัติงานสามารถพัฒนาตนเอง รองรับกับระบบงาน
ใหมๆ และความทาทายใหมๆทางดานเภสัชกรรม สามารถเรียนรู กรอบแนวคิด เครื่องมือ เทคโนโลยี ที่จำเปนตองรู จัก และ
แนวทางการนำไปลงมือปฏิบัติแกปญหา ที่จะชวยใหเสียเวลาลองผิดลองถูกดวยตนเองนอยลง โดยเปนการเรียนรูจากอาจารยใน
สาขาและเภสัชกรปฏิบัติการที่มีประสบการณโดยตรง ซึ่งจะมีสวนสำคัญอยางยิ่งที่จะเสริมในการเรียนรูและพัฒนาความเชี่ยวชาญ
ของเภสัชกรตอไป ซึ่งสำหรับผูสนใจติดตามหลักสูตรของวิทยาลัยการบริหารเภสัชกิจแหงประเทศไทย สามารถเขาไปดูรายละเอียด
ไดที่ https://app.cpat.ac.th/

VII. บทสรุป
Conclusion
ในปจจุบันนี้ การพัฒนาสูโรงพยาบาลอัจฉริยะ (Smart Hospital) มีความสำคัญและมีผลกระทบในการใหบริการทางการแพทย
อยางมาก ซึ่งเภสัชกรมีบทบาทสำคัญในกระบวนการนี้ โดยใชเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศตางๆ เชน Electronic Medical
Record (EMR) และ Computerised Physician Ordering Entry system (CPOE) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความถูกตองใน
การใหบริการทางการแพทย รวมถึงลดความคลาดเคลื่อนทางยา และการใชกระดาษในการทำเอกสารตางๆ นอกจากนี้ การนำ
เครื่องมือและแนวคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) มาใชในการพัฒนาระบบงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล ชวยใหเภสัชกร
เขาใจปญหาและสรางแนวทางแกไขที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาทักษะและการเรียนรูอยางตอเนื่องของเภสัชกรเพื่อรองรับ
กับการเปลี่ยนแปลงและความกาวหนาในวงการเภสัชกรรม

การบูรณาการการใหบริการทางเภสัชกรรมและงานสารสนเทศนั้นไมไดเพียงแนวโนมหรือกระแสที่มาแรงเทานั้น แตเปนการ
เปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญที่มีโอกาสพลิกโฉมวงการการดูแลสุขภาพ ในขณะที่เราทุกคนกำลังกาวไปสูโลกดิจิตอลมากขึ้น บทบาทของ
เภสัชกรในงานดานสารสนเทศหรือ Pharmacy Informatics จะมีความสำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ อนาคตของการดูแลสุขภาพที่มีจุด
บรรจบระหวางงานบริการเภสัชกรรมและงานสารสนเทศ จะเปนการเดินทางที่นาตื่นเตนที่เรากำลังอยูในชวงของการเริ่มตน ใน
ฐานะเภสัชกร เราตางมีโอกาสที่จะใชประโยชนจากความเชี่ยวชาญเฉพาะนี้เพื่อยกระดับคุณภาพการดูแลผูปวยและกำหนดอนาคต
ของการดูแลสุขภาพได

การศึกษาและการพัฒนาทักษะในสาขา Pharmacy Informatics เปนอีกหนึ่งทางเลือกที่สำคัญสำหรับเภสัชกรที่ตองการเติบโต


และพัฒนาความรูความสามารถในดานนี้ ซึ่งมีหลากหลายทางเลือกในการเรียนรู เชน หลักสูตรการศึกษาที่เปดใหเภสัชกรเรียนรู
และพัฒนาทักษะในสาขานี้ รวมถึงหลักสูตรระยะสั้นที่เนนทักษะเฉพาะ การวิเคราะหขอมูล หรือการจัดการระบบสารสนเทศ
นอกจากนี้ ประสบการณในการปฏิบัติงานจริงมีบทบาทสำคัญในการเสริมสรางการเรียนรูและพัฒนาความเชี่ยวชาญของเภสัชกร
โดยสามารถนำทักษะที่ไดมาใชในการแกไขปญหาและการพัฒนาตนเองเพื่อรองรับกับระบบงานใหมๆและความทาทายในวงการ
เภสัชกรรมได

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 17


บทความการศึกษาตอเนื่อง สถาบันหลักการศึกษาตอเนื่อง
สมาคมเภสัชกรรมการตลาด(ประเทศไทย)

เอกสารอางอิง:

i
Cortes D, Leung J, Ryl A, Lieu J. Pharmacy Informatics: Where Medication Use and Technology Meet. Can J
Hosp Pharm. 2019;72(4):320-326.
ii
Alolayyan MN, Alyahya MS, Alalawin AH, Shoukat A, Nusairat FT. Health information technology and hospital
performance the role of health information quality in teaching hospitals. Heliyon. 2020;6(10):e05040.
doi:10.1016/j.heliyon.2020.e05040
iii
Brenner SK, Kaushal R, Grinspan Z, et al. Effects of health information technology on patient outcomes: a
systematic review. J Am Med Inform Assoc. 2016;23(5):1016-1036. doi:10.1093/jamia/ocv138
iv
Carayon P, Hoonakker P. Human Factors and Usability for Health Information Technology: Old and New
Challenges. Yearb Med Inform. 2019;28(1):71-77. doi:10.1055/s-0039-1677907

v
Nordin N, Hassali MAA, Sarriff A. A GLOBAL PICTURE OF EXTENDED PHARMACY SERVICES,
PERCEPTIONS, AND BARRIERS TOWARD ITS PERFORMANCE: A SYSTEMATIC REVIEW. Asian Journal
of Pharmaceutical and Clinical Research. Published online November 1, 2017:417-427.
doi:10.22159/ajpcr.2017.v10i11.19884

vi
Al Mazrouei N, Ibrahim RM, Al Meslamani AZ, Abdel-Qader DH, Sadeq AS, Mohamed Ibrahim O. The evolving
role of community pharmacists during COVID-19 in the UAE; assessing preparedness and knowledge. International
Journal of Pharmacy Practice. 2021;29(2):137-144. doi:10.1093/ijpp/riaa003

vii
Falconer N, Monaghan C, Snoswell CL. The pharmacist informatician: providing an innovative model of care
during the COVID-19 crisis. International Journal of Pharmacy Practice. 2021;29(2):152-156.
doi:10.1093/ijpp/riaa017

viii
Chanpuypetch W, Kritchanchai D. A design thinking framework and design patterns for hospital pharmacy
management. International Journal of Healthcare Management. 2017;13:1-9. doi:10.1080/20479700.2017.1389479

Pharmacy Informatics : The Intersection of Pharmacy Services and Information Technology 18

You might also like