You are on page 1of 11

บทความเรื่อง

ระบบ Computerized provider order entry (CPOE) กับการพัฒนาระบบยา


(Computerized Provider Order Entry system and medication system development)
รหัส 5002-1-000-008-08-2566
จำนวนหนวยกิต 3 หนวยกิต
วันทีร่ ับรอง 18 สิงหาคม 2566
หนวยกิตการศึกษาตอเนื่อง วันที่หมดอายุ 17 สิงหาคม 2567
สำหรับผูประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ชื่อ- นามสกุล ผูเขียน ภญ.ปภัสรา วรรณทอง

วัตถุประสงค
1. เพื่อใหผูอานรูจักระบบ Computerized Physician Order Entry (CPOE) ที่เกี่ยวของกับระบบยา
2. เพื่อใหผูอานนำความรูเกี่ยวกับ CPOE ไปประยุกตใชในระบบยาตามบริบทของโรงพยาบาล

บทคัดยอ
ปจจุบันมีการพัฒนาระบบยาในกระบวนการสั่งใชยา และถายทอดคำสั่ง โดยนำระบบการสั่งยาผาน
คอมพิ ว เตอร หรื อ Computerized Physician Order Entry (CPOE) มาใช เ พื ่ อ ลดโอกาสเกิ ด ความ
คลาดเคลื่อนในการสั่งใชยา อันอาจสงผลกระทบถึงความปลอดภัยตอผูปวยได ทั้งนี้การพัฒนาระบบ CPOE
นั้นสามารถดำเนินการไดหลายรูปแบบ โดยสวนมากมักมีการนำมาใชคูกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจทาง
คลินิก หรือ Clinical Decision Support System (CDSS) ซึ่งอาศัยฐานขอมูลที่สำคัญของผูปวย และขอมูล
ทางดานคลินิกเพื่อการแจงเตือน หรือการแสดงใหผูใชงานระบบทราบถึงขอมูลที่สำคัญที่มีผลตอการพิจารณา
การสั ่ งใช ย าให กั บ ผู  ป วย เช น การแจ งเตื อนเมื ่ อเกิ ด การสั ่ งยาที ่ ผู ป  วยแพ แจ งเตื อนเมื ่ อผู  ป ว ยมี ค าทาง
หองปฏิบัติการที่ตองไดรับการปรับขนาดยา เปนตน แตอยางไรก็ตามแมวาระบบ CPOE และ CDSS นั้น
สามารถลดความคลาดเคลื่อนทางยาได แตกลับพบวาหากไมมีการออกแบบลักษณะของ CPOE ที่เหมาะสม
อาจทำใหเกิดความคลาดเคลื่อนในประเภทอื่น เชน การเลือกยาผิดชนิด ความออนลาจากการแจงเตือนทำให
ละเลยและเกิดความคลาดเคลื่อนในการสั่งยาได โดยบทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อใหผูอานรูจักระบบ CPOE
มากขึ้น และสามารถนำความรูไปประยุกตใชในระบบยาตามบริบทของโรงพยาบาล เพื่อสรางระบบ CPOE ที่มี
ประสิทธิภาพ สงผลใหผูปวยมีความปลอดภัยจากการใชยามากยิ่งขึ้น
คำสำคัญ CPOE, CDSS, การสั่งยาผานระบบคอมพิวเตอร, Human Factor Engineering

1
บทนำ
กระบวนการสั่งใชยา หรือ prescribing process เปนหนึ่งในกระบวนการที่สำคัญของระบบยา ใน
ปจจุบันหลายโรงพยาบาลมี การนำใชกระบวนการสั่งใชย าผ านระบบคอมพิวเตอร หรือ Computerized
Physician Order Entry (CPOE) เขามาใชกันอยางแพรหลายเพื่อลดโอกาสในการเกิดความคลาดเคลื่อนใน
กระบวนการดังกลาวจากการที่แพทยสั่งใชยาผานการเขียนใบสั่งยา และสงตอมายังแผนกเภสัชกรรม โดยมี
เภสัชกรอานคำสั่งของแพทยเพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการจายยา ทำใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการอาน
ลายมือแพทย การใชสัญลักษณที่กำกวมในการสั่งใชยา หรือขาดความชัดเจนของใบสั่งยา สรางความไม
ปลอดภั ย ต อผู  ป  ว ย จากความก าวหน า ด านเทคโนโลยี ในป จ จุ บ ั น ทำให มี การนำระบบการสั ่ งใช ย าผ า น
คอมพิวเตอรมาใชมากขึ้นในสถานพยาบาล[1] ดังนั้นการวางระบบความปลอดภัยในการใชยาที่มีการสั่งใชยา
ผ า นระบบคอมพิ ว เตอร จ ึ ง มี ค วามสำคั ญ นอกจากสามารถลดความคลาดเคลื ่ อ นเรื ่ อ งการคั ด ลอกแล ว
(transcribing process) การวางระบบ CPOE ที่มีประสิทธิภาพจะเปนเครื่องมือในการพิจารณาเลือกใชยาให
เหมาะสมกับผูปวย มีระบบชวยสนับสนุนการตัดสินใจสั่งใชยา และสามารถดักจับความคลาดเคลื่อนทางยาได
เชน การสั่งยาซ้ำซอน การสั่งยาที่ผูปวยแพ การสั่งยาที่เกิดอันตรกิริยากับยาอื่น เปนตน แตอยางไรก็ตามการ
ใช CPOE มีขอควรระวังซึ่งอาจทำใหเกิดความคลาดเคลื่อนประเภทอื่นเกิดขึ้นไดเชนกัน [2]

Computerized Physician Order Entry หรือ CPOE


Computerized Physician Order Entry เป น ระบบเทคโนโลยี ที ่ แพทย ใช ป  อนข อมู ล คำสั ่ ง ใช ย า
คำสั่งทางหองปฏิบัติการ คำสั่งทางรังสีวิทยา และคำสั่งอื่น ๆ เขาสูระบบคอมพิวเตอร หรืออุปกรณเคลื่อนที่
โดยตรง จากนั้นคำสั่งดังกลาวถูกสงไปยังแผนกที่เกี่ยวของเพื่อดำเนินการตอ โดยมีระบบการตรวจสอบขอมูล
สำหรับตรวจสอบความถูกตองเหมาะสมของคำสั่งแพทยเพื่อเพิ่มความปลอดภัยใหผูรับบริการ หรือผูปวยมาก
ขึ้น [3, 4]
ระบบ CPOE โดยทั่วไปมักจะมีการใชคูกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (Clinical Decision
Support System หรือ CDSS) ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง เพื่อใหสามารถลดความคลาดเคลื่อนในขั้นตอนการ
สั่งจายยา หรือขั้นตอนการจายยาได ระบบ CDSS เริ่มตน อาจมีการวางระบบเพื่อใหขอมูลกับแพทยสำหรับ
ขนาดยา วิธีการใหยา ความถี่ในการใชยา และอาจพัฒนาระบบ CDSS ใหมีคุณสมบัติเพิ่มเติมเรื่องความ
ปลอดภัยของยา [1-2, 5] เชน การตรวจสอบการแพยา การตรวจสอบอันตรกิริยาระหวางยา (drug-drug
interaction) ความเหมาะสมของขนาดยากับการตรวจทางหองปฏิบัติการ (drug-laboratory interaction)
เชน การแจงเตือนแพทยกอนสั่งยาที่มีความเสี่ยงตอไตในผูปวยที่มีระดับครีเอตินินสูง การตรวจสอบขนาดยา

2
อยูในชวงที่เหมาะสมหรือไม (dose range checking; DRC) การตรวจสอบรายการยาซ้ำซอน หรือมีระบบแจง
เตื อ นเมื ่ อ มี ก ารสั ่ ง ใช ย าที ่ ต  อ งมี แ นวทางการปฏิ บ ั ต ิ เ พิ ่ ม เติ ม (formulary alerts) เช น การสั ่ ง ใช ย า
amphotericin B กับแนวทางปฏิบัติเพื่อปองกันการเกิดผลขางเคียงจากการใชยา ลดโอกาสเกิดพิษตอไตโดย
การใหสารน้ำกอนใหเริ่มใหยา หรือลดโอกาสเกิดอาการไข หนาวสั่นขณะใหยาโดยการใหยาสำหรับปองกันการ
เกิดอาการดังกลาวกอนให amphotericin B
ขอดีของระบบ CPOE [6-7]
จากขอมูลการวิเคราะหอภิมาน (meta-analysis) พบวาความนาจะเปนในการเกิดขอผิดพลาดในการ
สั่งยาตามระบบ CPOE ลดลงรอยละ 48 เมื่อเปรียบเทียบกับการสั่งยาที่ใชกระดาษ สงผลใหสามารถปองกัน
ความคลาดเคลื่อนทางยาไดกวา 17 ลานครั้งตอปในโรงพยาบาลของสหรัฐอเมริกา [6]
CPOE ชวยลดขอผิดพลาด และเพิ่มความปลอดภัยใหกับผูปวย เชน การชวยลดขอผิดพลาดโดย
การสรางคำสั่งที่มีมาตรฐาน อานได และครบถวน การศึกษาการสั่งยาผานระบบ CPOE ในประเทศไทย
โรงพยาบาลบางจาก [8] พบวาการใชระบบ CPOE ลดอุบัติการณความคลาดเคลื่อนทางยาจากเดิมใชระบบ
เขียนใบสั่งยาในกระดาษ เกิดความคลาดเคลื่อน จำนวน 4.43 ตอ 1,000 ใบสั่งยา ลดลงเปน 3.61 ตอ 1,000
ใบสั่งยา ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ ทั้งนี้สามารถลดความคลาดเคลื่อนในขั้นตอนการสั่งใชยา และ
ขั้นตอนการถายทอดคำสั่งใชยาได นอกจากนี้ยังมีการศึกษาเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนทางยา ระหวาง
ระบบสั่งจายยาแบบใหมกับระบบสั่งจายยาแบบเดิมในผูปวยนอก โรงพยาบาลชัยภูมิ [9] พบวาการสั่งใชยาผิด
ชนิด หรือรูปแบบ ผิดขนาด ผิดวิธีใชหรือขอบงใช สั่งจายยาที่ผูปวยแพ ไมไดสั่งยาที่ผูปวยควรไดรับ และการ
สั่งจายยานอกบัญชียาโรงพยาบาล เกิดขึ้นลดลงหลังจากใชระบบสั่งจายยาแบบใหม อยางไรก็ตามพบวา
จำนวนอุบัติการณการสั่งใชยาผิดจํานวน และสั่งยาซ้ำซอน หรือมีปฏิกิริยาตอกันเพิ่มมากขึ้น
นอกจากนี้ยังมีการศึกษาในผูปวยในโรงพยาบาลหนองหาน พบวาอัตราความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช
ยาโดยเฉลี่ยตอเดือนกอนใชระบบ CPOE ที่สั่งยาโดยแพทยจากหอผูปวยเทากับ 66.0 ครั้งตอ 10,000 วันนอน
ภายหลังการใชระบบ CPOE พบวาอัตราความคลาดเคลื่อนในการสั่งใชยาลดลงเทากับ 39.6 ครั้งตอ 10,000
วันนอน แตกตางกันอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ [10]
เพิ ่ มประสิ ทธิ ภ าพในการดำเนิ นงาน การทำให ผ ู  ให บ ริ การส งคำสั ่ งอิ เล็ กทรอนิ กส ด วย CPOE
สามารถชวยใหการสงคำสั่งเกี่ยวกับยา เครื่องมือหองปฏิบัติการ และคำสั่งรังสีวิทยาไปยังแผนกที่เกี่ยวของทำ
ได เ ร็ ว ขึ ้ น ช ว ยประหยั ด เวลา และเพิ ่ มประสิ ทธิ ภ าพในการดำเนิน งาน จากผลการศึ กษาในโรงพยาบาล
รามาธิบดี [11] พบวาระบบการสั่งยาผานระบบ CPOE มีระยะเวลารอรับยาเฉลี่ยนอยกวาระบบใบสั่งยาเดิม
เนื่องจากระบบการสั่งยา CPOE มีการจัดยาลวงหนาตั้งแตใบสั่งจายยาถูกสงมาที่หองยาโดยที่ผูปวยยังไมไดมา

3
ติดตอที่หองยา และระบบการสั่งยาทางอิเล็กทรอนิกสสามารถลดระยะเวลาในการอานลายมือแพทยเพื่อนำมา
บันทึกเขาระบบอีกครั้งโดยเจาหนาที่หองยา
นอกจากนี ้ CPOE มั กจะมี เ ครื ่ องมือการสนับ สนุ นในการตัด สิน ใจทางคลิ นิ ก (Clinical Decision
Support System; CDSS) ที่รวมอยูดวย ซึ่งสามารถตรวจสอบการแพยา การใชยาที่ไมเหมาะสมกับผลทาง
หองปฏิบัติการ หรือการตรวจสอบการสั่งใชยาที่เกิดอันตรกิริยาระหวางกันไดโดยอัตโนมัติได ทั้งนี้ตองมีการ
บันทึกขอมูลที่สำคัญเพื่อชวยสนับสนุนการตัดสินใจประกอบการตรวจรักษา และการสั่งยา เชน เพศ อายุ
น้ำหนัก และสวนสูงของผูปวย รายการยาที่ผูปวยเคยไดรับ (Drug Profile หรือ Medication Reconcile)
สิทธิการรักษา ขอมูลการแพยา ขอมูลการวินิจฉัย เปนตน
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (CDSS) [7]
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิกมีวัตถุประสงค เพื่อใหขอมูลที่ทันทีแกแพทย หรือบุคลากรเพื่อ
เปนขอมูลในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลผูปวย ตัวอยางเชน ชุดคำสั่งที่สรางขึ้นสำหรับเงื่อนไข หรือประเภท
ของโรคเฉพาะทางของผูปวย โดยกำหนดคาคำแนะนำจากฐานขอมูล แจงเตือนสำหรับการดูแลรักษาผูปวย
หรือแจงเตือนเกี่ยวกับสถานการณที่อาจเปนอันตรายที่จะเกิดขึ้นแกผูปวย ตัวอยางเชน การแจงเตือนเมื่อมีการ
สั่งยาที่เกิดพิษตอไตในกรณีที่ผูปวยมีคาการทำงานของไตลดลงตามระดับที่ตั้งคาไว การแจงเตือนเมื่อมีการสั่ง
ยาในขนาดที่ไมเหมาะสมกับการวินิจฉัย โปรแกรมใหคำแนะนำเพิ่มเติมในการรักษา การแจงเตือนเมื่อมีการสั่ง
ยาที ่ ผู ป  ว ยมี ป ระวั ต ิ แ พ ย านั ้ น ๆ หรื อ การแจ ง เตื อ นเมื ่ อ มี ก ารค น พบป ญ หาเกี ่ ย วกั บ ยา (drug related
problems; DRPs) [12]
ตารางที่ 1 ตัวอยางการแจงเตือนจากระบบ CDSS [12]
ขอมูลในการพิจารณาความเหมาะสม
ลักษณะการแจงเตือน
ในการสั่งใชยา
ขอมูลลักษณะ อายุ Metoclopramide ในเด็กอายุ <1 ป: ไมแนะนำใหใช
ทั่วไป การตั้งครรภ หามใชยากลุม Alpha-adrenoceptor antagonists
ขนาดยาที่ใชใน ขนาดยาสูงสุดในการรักษา Metformin ไมควรใชเกินขนาด 2,550 mg ตอวัน
การรักษา ระยะเวลาสูงสุดในการรักษา ระยะเวลาการใช metoclopramide แนะนำไมเกิน 5 วัน
Gentamycin ในผูปวยที่มีการทำงานของไตบกพรอง: ปรับ
คาการทำงานของไต
คาทาง ขนาดยา
หองปฏิบัติการ คา International normalized Warfarin ในผูปวยที่มีคา INR อยูนอกชวงการรักษาที่
ratio (INR) กำหนด จำเปนตองปรับขนาดยา
การสั่งใชยา Rifampicin และ voriconazole: มีผลลดขนาดยา
ยาที่หามใชรวมกัน
รวมกัน voriconazole
4
ขอมูลในการพิจารณาความเหมาะสม
ลักษณะการแจงเตือน
ในการสั่งใชยา
Methotrexate และ calcium folinate เพื่อปองกันการ
ยาที่จำเปนตองใชรวมกัน
เกิด haematological toxicity
Daptomycin และ vancomycin: ซาซอนเนื่องจาก
ยาที่ซ้ำซอน
spectrum overlap

ขอควรระวังของระบบ CPOE
ถึงแมวาความคลาดเคลื่อนในการสั่งยาทั้งหมดลดลง แตยังพบวาดานผลกระทบของ CPOE ตออัตรา
การเกิดเหตุการณไมพึงประสงคจากยา (adverse drug event; ADE) ที่เปนอันตรายตอผูปวยยังคงไมชัดเจน
[5] ทั้งนีป้ ญหาที่เกิดจากระบบ CPOE ก็เปนสาเหตุสำคัญของความคลาดเคลื่อน
ปญหาจากการออกแบบ และการใชงานของระบบ CPOE ที่ไมงายตอการใชงาน เชน การแสดง
ขอความที่อานยาก การใชคำศัพทไมเปนมาตรฐาน และขาดแคลนขอกำหนดสำหรับการแจงเตือน ผูใชงาน
ระบบ CPOE ไมพึงพอใจตอการใชระบบในการทำงานเนื่องจากทำใหกระบวนการทำงานซ้ำซอน ชาลง หรือ
ผิดพลาด ดังนั้นจึงควรมีการนำหลักการ Human Factor Engineering (HFE) มาใชประยุกตสำหรับออกแบบ
ระบบที่ปลอดภัย มีประสิทธิภาพ และสะดวกสบาย
Human Factor Engineering [13, 14] เปนหลักการที่เกี่ยวของกับการเขาใจลักษณะของมนุษย อาจ
เริ่มทำไดโดยการสำรวจกิจกรรมที่เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับระบบที่ตองการพัฒนา และทำการประเมินเรื่องความ
ตองการทางกายภาพ ความตองการทางทักษะ ภาระงานที่มีผลตอจิตใจ ดานความเปนทีมงาน และเรื่องที่
เกี่ยวของกับสภาพแวดลอมในการทำงาน (เชน แสงสวางเพียงพอ สิ่งที่รบกวนอื่นๆ) จากนั้นทำการออกแบบ
ระบบ หรือโปรแกรมที่ตองการเพื่อใหการทำงานสมบูรณที่สุด ทั้งนี้หลักการ HFE ใหความสำคัญในเรื่องของ
ระบบที่ทำงานในการปฏิบัติจริง อยางไรก็ตามเพื่อปองกันการเกิดความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการนำระบบ
CPOE มาใชควรมีการนำหลักการ HFE เขามาใชในการออกแบบรวมดวย ตัวอยางเชน
- การทดสอบการใชงาน หรือ usability testing โดยผูใชงานจริง หรือการสัมภาษณขอมูล จาก
ผูใชงานจริงเพื่อหาขอบกพรองนำมาแกไขกอนนำมาใชงานทั้งระบบ เนื่องจากหากระบบถูก
ออกแบบมาไมเหมาะสมอาจเปนเหตุใหผูใชงานเกิดขอผิดพลาด หรือใชเวลามากขึ้นในการทำงาน
เนื่องจากบุคลากรตองทำงานซ้ำซอนเพื่อลดการเกิดความคลาดเคลื่อนจากระบบ CPOE เชน
ระบบ bar-code ที่สรางขึน้ เพื่อใชในการลงบันทึกการใหยา แตระบบไมบันทึกในคนไขบางคนทำ
ใหพยาบาลตองลงบันทึกในรายงานอีกครั้งเพื่อปองกันการเกิดความคลาดเคลื่อนทางการใหยา

5
- กฎบังคับ หรือ Forcing functions เปนการออกแบบที่ปองกันการกระทำที่ไมไดตั้งใจ หรือไม
ตองการ หรือการอนุญาตใหกระทำเพียงแตถามีการกระทำอื่นที่กำหนดเอาไวกอน เชน การทำ
hard-stop alert กรณีแพทยไมสามารถคียยาที่มีอันตรกิริยาระหวางยาระหวางกัน ในอันตร
กิริยาระดับที่สงผลรุนแรงถึงชีวิต (Fatal drug interaction) อยางไรก็ตามกฎบังคับไมจำเปนตอง
เกี่ยวของกับการออกแบบอุปกรณ หรือโปรแกรมเทานั้น ตัวอยางเชน การนำยาที่เปน strong
electrolyte เชน 3%Sodium Chloride, Potassium Chloride (KCl) ออกจาก stock ของหอ
ผูปวยเพื่อปองกันการนำมาใชผิดพลาด โดยการใชยาเหลานี้ตองผานการตรวจสอบจากเภสัชกร
กอนเทานั้น
- การสรางอุปกรณ หรือกระบวนการมาตรฐาน (standardization) เชน การใชรายการตรวจสอบ
(checklists) สำหรั บ กระบวนการจั ด การเมื ่ อ ผู  ป  ว ยเกิ ด การรั ่ ว ของยาออกนอกหลอดเลื อด
(extravasation) หรือกระบวนการมาตรฐานกรณีผูปวยตองเขารับการเอกซเรยคอมพิวเตอรและ
ใชสารทึบแสง เพือ่ ใหมั่นใจวาขั้นตอนการปฏิบัติในเชิงความปลอดภัยทำไดอยางถูกตองครบถวน
ดังนั้นในอนาคตหากเราตองการพัฒนาระบบ CPOE ใหมีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ควรใหความสำคัญ
กับการออกแบบระบบโดยใชหลักการ HFE รวมดวยเพื่อลดการเกิดความคลาดเคลื่อนไดมากขึ้น และผูงาน
ระบบมีความพึงพอใจในการใชงานกอใหเกิดงานที่มีประสิทธิภาพ
ปญหาการเหนื่อยลาจากการแจงเตือน หรือ alert fatigue [1, 15] เปนปญหาที่เกิดกับผูใชงาน
ระบบ CPOE จากการแจงเตือนที่มากเกินไป หรือไมเฉพาะเจาะจง ทำใหเกิดความละเลยการแจงเตือนแมจะ
เปนการแจงเตือนที่สำคัญ ซึ่งนำมาสูความไมปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้นตามมาได ดังนั้นการปองกันปญหา alert
fatigue จึงควรเนนใหความสำคัญในการปรับแตงการแจงเตือนใหเหมาะสม และสรางความปลอดภัยสูงสุด
ตัวอยางเชน
การจัดประเภทการแจงเตือนตามระดับความสำคัญ แบงออกเปน hard-stop alert, soft-stop alert
และ passive alert โดย hard-stop alert คือการที่ผูใชงานระบบไมสามารถดำเนินการไดหลังจากมีการแจง
เตือน หรือสามารถดำเนินการตอไปแตตองมีการอนุญาตเพิ่มเติมจากบุคคลภายที่สาม เชน การสั่งใชยาที่ผูปวย
มีโอกาสแพขามกลุม หากมีความจำเปนแพทยตองติดตอมายังเภสัชกรเพื่อรับทราบขอมูล และดำเนินการปลด
ล็อคดังกลาว และติดตามผลตอไป ในขณะที่ soft-stop alerts คือการที่ผูใชงานระบบสามารถดำเนินการ
ตอไปไดเมื่อมีการเติมขอมูลในการแจงเตือนดังกลาว เชน การสั่งใชยาที่เกิดอันตรกิริยาที่สามารถใชรวมกันได
หากมีความจำเปนแตตองไดรับการติดตามผลการใชคูกันเพื่อปองกันการเกิดเหตุการณไมพึงประสงค ตัวอยาง
การแจงเตือนแพทยเมื่อสั่งใช thioridazine รวมกับ fluoxetine แพทยตองระบุเหตุผลลงในการแจงเตือนดัง

6
กลาวถึงเหตุผลที่สั่งใช และเพิ่มคำสั่งในการติดตามคา QT interval เพื่อใหสามารถดำเนินการสั่งยาตอไปได
และการแจงเตือนที่เปน passive alert คือการที่มีขอมูลที่เกิดขึ้นแตไมมีการขัดของในกระบวนการใชงานของ
ผูใชงานระบบ และไมตองมีการดำเนินการใดๆ จากผูใชงานดวยเชนกัน เชน การ POP-UP เพื่อแจงเตือนที่
สามารถกดผานไดโดยงาย
ตัวอยางปญหาอื่นๆ ที่เกิดจากการใชระบบ CPOE [16]
- การเลือกรายการคลาดเคลื่อน (selection error) จากการที่แพทยเลือกรายการยา หรือตัวเลือก
ของวิ ธ ี ก ารใช ย าคลาดเคลื ่ อ นจากการใช drop-down menu พบ 43.4% จากการเกิ ด ความ
คลาดเคลื่อนจากระบบ CPOE ทั้งหมด เชน แพทยตองการสั่ง cyclosporine 75 mg แตเลือกผิด
เปน 50 mg ทำใหผูปว ยไดร ับ ยาในขนาดน อยเกิ น ไป หรือการเลื อกวิธ ีใชย าคลาดเคลื ่ อน เชน
salbutamol inhalation แตเลือกผิดเปน intravenous เปนตน อยางไรก็ตามเราอาจนำแนวคิด
HFE มาออกแบบการแสดง list รายการยาที่เหมาะสม (ยาที่ใชบอยอยูดานบนของ list) และการใช
Tall Man lettering ในการแสดงใหเห็นความแตกตางไดชัดเจนขึน้ [2, 17]
- ขอผิดพลาดในกระบวนการแกไข หรือแกไขขอความ (editing error) พบ 21.1% จากการเกิดความ
คลาดเคลื่อนจากระบบ CPOE ทั้งหมด เปนลักษณะของขอผิดพลาดที่เกิดเมื่อผูใชงานระบบมีการ
แกไขประโยคคำสั่งที่กำหนดไวลวงหนา
- ความผิดพลาดในการเปลี่ยนวันที่ และเวลาเริ่มตนที่ถูกตอง เชน การนัดฉีดวัคซีนพิษสุนัขบาหากมี
การสั่งโดยไมไดเปลี่ยนวันทีเ่ ริ่มตนโดยแพทย อาจเสี่ยงตอการใหนัดหมายผิดได
- ความผิดพลาดที่เกี่ยวของกับขอมูลเสริม โดยความผิดพลาดนี้เกิดขึ้นเมื่อขอมูลที่ใหไวจากแพทยไม
สอดคลองกันกับขอมูลในคำสั่งที่มีโครงสราง เชน คำสั่ง Enalapril 20 mg พรอมคำแนะนำที่เปน
อัตโนมัติวายานี้ไมควรหักแบงเม็ดยาเนื่องจากยาเสื่อมสภาพจากความชื้นงาย แตความผิดพลาดนี้
เกิดขึ้นเมื่อคำสัง่ ใชยาคือ ครึ่งเม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเชา แตขอมูลเสริมไมถูกเปลี่ยนแปลง ซึ่ง
อาจเสี่ยงตอการเกิดความสับสนใหกับผูปวยได
ขอเสนอแนะแนวทางการพัฒนาระบบ CPOE
ในการดำเนินการพัฒนาระบบ CPOE ใหมีประสิทธิภาพ และมีการปฏิบัติตามระบบอยางเหมาะสม
จากผูมีสวนเกี่ยวของ เชน แพทย พยาบาล และเภสัชกร เพื่อเปาหมายคือ มีการสั่งใชยาทีถ่ ูกตอง เหมาะสม
และปลอดภัยในการใชยากับผูปวยมากยิ่งขึ้น ดังนั้นในการวางแนวทาง หรือขอตกลงเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม
ระบบ CPOE ควรดำเนินการดังนี้

7
1. ผูวางแนวทางควรรวบรวมขอมูลจากการสอบถาม หรือสัมภาษณความคิดเห็น หรือความตองการจาก
ผูเกี่ยวของ
2. นำขอมูลเขาสูคณะกรรมการเภสัชกรรม และการบำบัด (Pharmaceutical and therapeutic
Committee; PTC) หรือทีมนำระบบยา เพื่อกำหนดเปนนโยบายนำมาใชเปนแนวทางปฏิบัติรวมกัน
สำหรับทีมสหวิชาชีพโดยเฉพาะองคกรแพทยซึ่งมีบทบาทโดยตรงในการสั่งใชยาใหกับผูปวย
3. ทีมกำหนดลักษณะของขอตกลงระหวางทีมสหวิชาชีพ ซึ่งควรกลาวถึงประเด็นของการกำหนด
ลักษณะของการสั่งใชยาที่อาจทำใหเกิดความไมปลอดภัย ระดับความรุนแรงที่ทีมรวมกันกำหนดตาม
ขอมูลทางวิชาการ รวมไปถึงลักษณะของการแจงเตือนตามระดับความรุนแรง เชน การเตือนการแพ
ยาขามกลุม หรือกลุมเดียวกัน, การเกิด drug interaction, การสั่งยาซ้ำซอน, การเตือนเมื่อสั่งยาเกิน
ขนาดยาสูงสุด, การเตือนการใชยาในผูปวยกลุมสำคัญ (เชน ผูปวยที่ใชยา HAD, ผูปวยที่ใชยา
warfarin, ผูปวยโรคไตเรื้อรัง, ผูปวยตั้งครรภ หรือใหนมบุตร, ผูปวยที่ขาดเอ็นไซม G6PD เปนตน)
4. ทีมกำหนดแนวทางที่ชัดเจนถึงรูปแบบการจัดการเมื่อเกิดการแจงเตือนเกี่ยวกับระบบสั่งใชยาเกิดขึ้น
รวมถึงบทบาทหนาที่ของแตละวิชาชีพ เชน การแจงเตือนของเหตุการณที่อาจเกิดอันตรายรายแรงทีม
กำหนดใหแจงเตือนแบบ hard-stop alert เปนตน ทั้งนี้เพื่อลดความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นขณะ
ปฏิบัติงาน
5. หลังจากไดขอตกลงควรมีการออกแบบโดยใหหลักการ Human Factor Engineering รวมดวย และ
ดำเนินการทดลองใชโปรแกรม ติดตามผลของการใชโปรแกรมเพื่อนำขอมูลมาพัฒนา และปรับปรุงให
ตอบสนองความตองการผูใช มีความสะดวกในการใชเพื่อใหสามารถใชโปรแกรมไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ลดอาการลาจากการแจงตือน นอกจากนี้อาจมีการจัดทำคูมือการสั่งใชยา รวมทั้งการ
ใหความรู อบรมแพทยในการสั่งใชยาใหสามารถใชระบบสั่งยาไดอยางเขาใจ เพื่อใหเปนไปตาม
เปาหมายที่องคกรกำหนด
6. ติดตามผลลัพธของแนวทางการสั่งใชยาที่พัฒนาขึ้นโดยกำหนดตัวชี้วัด เชน อุบัติการณการเกิด
medication error (เชน การสั่งยาคลาดเคลื่อนจากตัวโปรแกรมเชน รูปแบบยา วิธีใช LASA),
อุบัติการณการเกิด ADE, ระยะเวลารอคอย และอาจกำหนดตัวชี้วัดดานการปฏิบัติ เชน การปฏิบัติ
ตามแนวทาง และความพึงพอใจของผูใชงานระบบ เพื่อสะทอนผลงานที่ไดดำเนินการและพัฒนา
ปรับปรุงระบบใหมีผลลัพธที่ดีขึ้นอยางตอเนื่อง

8
ตัวอยางการพัฒนารูปแบบ CPOE สำหรับผูปวยเบาหวาน [18]
ขั้นตอนที่ 1: สำรวจขอมูล และรูปแบบของการสั่งยาผานระบบ CPOE จากฐานขอมูลตางๆ หรือศึกษาตัวอยาง
การดำเนินการจากโรงพยาบาลตางๆ
ขั้นตอนที่ 2: ศึกษา และรวบรวมขอมูลที่สำคัญเกี่ยวกับแนวทางการรักษา หรือแนวทางการปฏิบัติสำหรับ
ผูปวยโรคเบาหวานจากนัน้ พัฒนาแบบสอบถาม
ขั้นตอนที่ 3: ใชแบบสอบถามสงไปยังผูเชี่ยวชาญเพื่อสรางชุดขอมูลสำหรับใชในระบบ CPOE เชน ขอมูล
ทางดานแนวทางการรักษา, ขอมูลทางลักษณะของผูปวย, ขอมูลทางคลินิก รวมถึงผลการตรวจทาง
หองปฏิบัติการ รวมถึงลักษณะการแจงเตือน และรูปแบบการจัดการที่เหมาะสมตามความเห็นของผูใชงาน
ระบบ เชน การเชื่อมตอระบบขอมูลเภสัชกรรม และระบบขอมูลอื่นๆ, การเขาถึงคำสั่งที่บันทึกไว,
ความสามารถในการแกไขคำสั่ง, การแจงเตือนเวลาการสั่งคำสั่ง drug interaction, การจัดการเมื่อแพยา,
การแจงเตือนเมื่อมีการสั่งรายการซ้ำ, การควบคุมปริมาณยา, ความสะดวกในการเปลี่ยนแปลงคำสั่งที่ไมใช
คำสั่งที่ระบุเบื้องตน, การแสดงผลขอมูลผลตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกี่ยวของกับคำสั่งโดยอัตโนมัต,ิ การให
คำแนะนำทางอิเล็กทรอนิกส
ขั้นตอนที่ 4: สรุปผลของขอมูลที่นำมาใชเพื่อพัฒนาระบบ CPOE ในผูปวยเบาหวาน โดยเขียนออกมาเปน
ลักษณะของแผนภาพในแตละกรณี ลักษณะการดำเนินการที่เกิดขึ้น ใครเปนผูเกี่ยวของบาง และหนาที่ของ
ผูเกี่ยวของ
ขั้นตอนที่ 5: ออกแบบโปรแกรม และหนาจอแสดงของผูใชงานสำหรับการสั่งใชยา และการรับคำสั่งใช ในสวน
นี้ขึ้นอยูกับความตองการของผูใชงาน และขอสรุปตามที่ตกลง จากนั้นทดสอบโปรแกรม และรวบรวมขอมูล
เพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงตอไปเพื่อสรางความปลอดภัยตอผูปวยที่เขารับบริการ ลดการเกิดความคลาดเคลื่อน
รวมถึงสรางความพึงพอใจตอทีมสหวิชาชีพที่เกีย่ วของ โดยเฉพาะอยางยิ่งแพทยซึ่งเปนผูสั่งใชยา
สรุป
การพัฒนาระบบการสั่งยาผานคอมพิวเตอร หรือ CPOE นั้นสามารถลดความคลาดเคลื่อนของการสั่ง
ใชยา การคัดลอกยาในภาพรวม และลดระยะเวลารอคอยได แตอยางไรก็ตามการพัฒนาระบบ CPOE ที่
เหมาะสมนั้นตองตอบสนองตอความตองการของผูใชงานดวย เชน สามารถใชงานระบบ CPOE ไดไมยาก
สามารถเลือกยาที่ตองการสั่งโดยไมผิดชนิด หรือความแรง การลดความออนลาตอการแจงเตือนตางๆ โดยการ
กำหนดระดับความสำคัญในการแจงเตือน หรือรูปแบบของการแจงเตือนใหเหมาะสม ทั้งนี้อาจอาศัยแนวคิด
Human Factor Engineering มาใชในการพัฒนาระบบ CPOE ตอไปไดใหระบบนั้นกอใหเกิดประโยชนสูงสุด
ตอผูปวย และผูใหบริการ

9
เอกสารอางอิง
1. Page, N., Baysari, M. T., & Westbrook, J. I. (2017). A systematic review of the effectiveness of interruptive
medication prescribing alerts in hospital CPOE systems to change prescriber behavior and improve
patient safety. International journal of medical informatics, 105, 22-30.
2. Vélez-Díaz-Pallarés, M., Pérez-Menéndez-Conde, C., & Bermejo-Vicedo, T. (2018). Systematic review of
computerized prescriber order entry and clinical decision support. American Journal of Health-System
Pharmacy, 75(23), 1909-1921.]
3. CPOE for medication orders. 2010. http://www.cms.gov/RegulationsandGuidance/Legislation/
HERIncentivePrograms/downloads/1_CPOE_for_Medication_Orders.pdf
4. Gellert, G. A., Hill, V., Bruner, K., et al (2015). Successful implementation of clinical information
technology. Applied Clinical Informatics, 6(04), 698-715.
5. Healthcare-Infection Control Practices Advisory Committee, (2019), Computerized Provider Order Entry:
Patient Safety Network. Retrieved 25 July 2023, from https://psnet.ahrq.gov/primer/computerized-
provider-order-entry.
6. Radley, D. C., Wasserman, M. R., Olsho, L. E., Shoemaker, S. J., Spranca, M. D., & Bradshaw, B. (2013).
Reduction in medication errors in hospitals due to adoption of computerized provider order entry
systems. Journal of the American Medical Informatics Association, 20(3), 470-476.
7. ปรียาภรณ สุขงาม, (2021), การสั่งยาทางอิเล็กทรอนิกสใหสอดคลองกับมาตรฐาน Clinical Decision Support.
วารสารวิชาการ ปขมท, 10(2): 180 – 188.
8. สุทธิลกัษณ ริ้วธงชัย. (2023). ผลของการพัฒนาระบบบริการจายยาผูปวยนอกโดยใชใบสั่งยาอิเล็กทรอนิกสตอความ
คลาดเคลื่อนทางยา โรงพยาบาลบางจาก. วารสารวิจยั และพัฒนาระบบสุขภาพ, 16(1): 72-85.
9. สมปรารถนา ภักติยานุวรรตน. (2020). การเปรียบเทียบการเกิดความคลาดเคลื่อนทางยาระหวางระบบสั่งจายยาแบบใหม
กับระบบสั่งจายยาแบบเดิมในผูป วยนอก โรงพยาบาลชัยภูมิ. เชียงรายเวชสาร. 12(3): 99-113.
10. สุมิตรา สงครามศรีม มาลินี เหลาไพบลูย. (2017). การสั่งยาดวยระบบคอมพิวเตอรในการลดความคลาดเคลื่อนในการสั่ง
ใชยา โรงพยาบาลหนองหาน จังหวัดอุดรธานี: Interrupted Time Series Design. วารสารเภสัชศาสตรอสี าน. 13(2): 53-
66.
11. สรายุทธ ทวิธางกูร, วิภารัตน ทวิธางกูร และวินัย วนานุกูล. (2016). ประโยชนและอุปสรรคจากระบบสั่งจายยาโดยแพทย
ทางคอมพิวเตอรในโรงพบาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. Journal of the
Thai Medical Informatics Association. 2(2): 128-133.
12. Ferrández, O., Urbina, O., Grau, S., Mateu‐de‐Antonio, J., Marin‐Casino, M., Portabella, J & Salas, E.
(2017). Computerized pharmacy surveillance and alert system for drug‐related problems. Journal of
clinical pharmacy and therapeutics, 42(2), 201-208.
13. Healthcare-Infection Control Practices Advisory Committee, (2019), Human Factors Engineering: Patient
Safety Network. Retrieved 27 July 2023, from https://psnet.ahrq.gov/primer/human-factors-engineering.
14. Awad, S., Amon, K., Baillie, A., Loveday, T., & Baysari, M. T. (2023). Human factors and safety analysis

10
methods used in the design and redesign of electronic medication management systems: A systematic
review. International Journal of Medical Informatics, 105017.
15. Powers, E. M., Shiffman, R. N., Melnick, E. R., Hickner, A., & Sharifi, M. (2018). Efficacy and unintended
consequences of hard-stop alerts in electronic health record systems: a systematic review. Journal of
the American Medical Informatics Association, 25(11), 1556- 1566.
16. Slight, S. P., Tolley, C. L., Bates, D. W., Fraser, R., Bigirumurame, T., Kasim, A., ... & Watson, N. W. (2019).
Medication errors and adverse drug events in a UK hospital during the optimisation of electronic
prescriptions: a prospective observational study. The Lancet Digital Health, 1(8), e403-e412.
17. Carayon, P., Wetterneck, T. B., Cartmill, R., Blosky, M. A., Brown, R., Hoonakker, P., ... & Walker, J. M.
(2021). Medication safety in two ICUs of a community teaching hospital after EHR implementation:
Sociotechnical and human factors engineering considerations. Journal of patient safety, 17(5), e429.
18. Shahmoradi, L., Saeedi, M. G., Khangholi, S. I., & Mahmoodabadi, A. D. (2020). Modeling of
Computerized Physician Order Entry with Decision Support System for Diabetic Patients. Frontiers in
Health Informatics, 9(1), 26.

11

You might also like