You are on page 1of 141

ขอแนะนําการใชนี้เปนเพียงพื้นฐานเบื้องตนเทานั้น

รายละเอียดควรดูจากคูมือกลองซึ่งผูใชสามารถดาวนโหลดไดที่ Nikon Asia หรือ Digitutor


รายการอุปกรณที่บรรจุในกลอง
ควรตรวจสอบอุปกรณที่บรรจุในกลอง D60 ดังมีรายการตอไปนี้
การดความจําจะขายแยกตางหาก ไมรวมกับอุปกรณกลองที่มีในกลอง

• กลองถายภาพ D60
• ฝาปดตัวกลอง Body cap
• ฝาปดชองมองภาพ DK-5
• ยางรองชองมองภาพ DK-20 (อยูที่ตัวกลอง)
• ถานแบตเตอรี่ EN-EL9 พรอมฝาครอบ
• แทนชารทถาน MH-23 พรอมสายตอไฟบาน
• สายตอหัว USB รุน UC-E4
• สายวิดีโอ EG-D100
• สายสะพาย AN-DC1

ชุดเลนสคท

• เลนส AF-S DX 18-55 3.5-5.6G VR ED II
• ฝาปดหนาเลนส Front lens Cap
• ฝาปดทายเลนส Rear lens cap

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
• ใบรับประกัน
• สมุด คูมอ ื การใชงานภาษาอังกฤษ
• สมุด คูมอ ื ฉบับยอ (Quick Guide)
• แผนแนะนําการติดตัง ้ โปรแกรมใชงาน (Software Installation Guide)
• แผน CD-ROM (Software Suite)
• ใบรับประกันภาษาไทย (เฉพาะประเทศไทย)
1 หนาตางรับสัญญาณรีโมทอินฟราเรด 11 ขั้วไฟฟาแฟลชภายนอก
2 สวิทช ปด-เปด 12
ปุมกดสําหรับปลอยแฟลชหัวกลอง
และ +/- ชดเชยคาแสงแฟลช
3 ปุมกดชัตเตอร 13 หูรอยสายสะพายกลอง
4 ปุมกด +/- ชดเชยแสงถายภาพ 14 ฝาปดชองปลั้กเสียบสายตอกลอง
กับอุปกรณภายนอก
ปุมตั้งคารูรับแสงถายภาพ
ปุมตั้งชดเชยคาแสงแฟลช
5 ปุม Active D-Lighting เพิ่มคาแสง 15 ชองปลั้กเสียบสงสัญญาณวีดีโอโทรทัศน
ปุมรีเซ็ท Reset คําสั่งที่ใชกลอง
6 ไฟสองชวยระบบหาโฟกัส และ 16 ปุมกด รีเซ็ทการทํางานของกลองทั้งหมด
ชวยลดตาแดงจากแสงแฟลช
และแสดงนับเวลาถอยหลัง
7 ตําแหนงแสดงระนาบจอ CCD 17 ชองปลั้กเสียบสงสัญญาณยูเอสบี
8 แปนหมุนเลือกโหมดชวยถายภาพ P, S, A, 18 ปุมกดตั้งนับเวลาถอยหลัง
M และ ระบบโปรแกรมชวยถายภาพ
อัตโนมัติแบบดิจิตอล Digital Vari-program ปุมฟงคชั่น Fn - Function
9 แฟลชภายในกลอง 19 ปุมกดคลายลอคปลดเลนส
10 แผนฝาปดขั้วแฟลช 20 จุดแสดงตําแหนงใสเลนส
1 กรอบชองมองภาพ และใสอุปกรณเสริม 11 ไฟแสดงสถานะของการดความจํา
2 ชองมองภาพ 12 ฝาปดชองสายไฟ จากหมอแปลงไฟ
(อแดปเตอร)
3 เซ็นเซอรตรวจจับดวงตา 13 ปุมกลอนลอคฝาปดชองใสถานแบตเตอรี่
4 แปนปรับเลนสชองมองภาพใหเขากับสายตา 14 ฝาปดชองใสถานแบตเตอรี่
5 15 รูเกลียวใสขาตั้งกลอง
ปุมกด ลอคคาแสง AE-L หรือ
ลอคจุดโฟกัส AF-L
หรือลอคปองกันการลบภาพที่บันทึกไว
6 แหวน หมุนเลือกคําสั่งการทํางาน 16 จอแสดงภาพ LCD
7 หูรอยสายสะพายกลอง 17
ปุมซูมขยายดูภาพที่กําลังแสดงใน LCD
ปุมตั้งคาคําสั่งรายการใหกลอง
ปุมรีเซ็ท Reset คําสั่งที่ใชกลอง
8 แปนกดสี่ทิศทางเลือกตําแหนงกรอบวางจุด 18
ปุมเรียกดูภาพยอที่บันทึกไวในการด
โฟกัส หรือ ใชเลือกคําสั่งรายการตางๆ
ปุม Help แสดงคําอธิบายคําสั่ง
9 ฝาปดชองใสการดความจํา SD 19 ปุมกดเรียกดูเมนูเลือกรายการคําสั่ง
10 20
ปุมกด คําสัง่ ลบไฟลภาพทิ้ง ปุมกดเรียกดูภาพถายที่บันทึกไว
21 ฝาปดชองมองภาพ
1 แสดงตําแหนงกรอบโฟกัสในชองมองภาพ 11 สัญญาณ แสดงวาแฟลชพรอมใชงาน
2 ไฟสัญญาณแสดงวากลองหาโฟกัสไดแลว 12 สัญญาณ แสดง ระดับกําลังไฟฟาในถาน
3 สัญลักษณ แสดงกรอบหาโฟกัส และ แสดง 13 สัญลักษณ แสดง คาชดเชยแสง หรือ
โหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติที่เลือกใช ตําแหนงระยะของจุดโฟกัส
หรือ คาแสงที่ใช (ในโหมด M แมนนวล)
4 สัญญาณ (EL) แสดงวาไดล็อคคาแสงเอาไว 14 สัญลักษณ แสดง ใชระบบตั้งความไวแสง
อัตโนมัติ (Auto ISO)
5 แสดงวา ตั้งโหมดชวยถายภาพแบบ 15 สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถ
โปรแกรมอัตโนมัติ (P* = Program Shift) ถายได (หากมีจํานวนเกิน 1000 ภาพ)
6 แสดง ตัวเลขคาเร็วชัตเตอรที่ใชอยู 16 สัญลักษณ เตือนความผิดปกติในระบบกลอง
7 แสดง คารูรับแสงที่เลือกใชอยู
8 แสดงเตือนวา ตั้งคาชดเชยแสงแฟลชเอาไว
9 แสดงเตือนวา ตั้งคาชดเชยแสงถายภาพเอาไว
10 แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู กอนความจําในการดจะเต็ม
แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู กอนความจําชั่วคราวจะเต็ม
แสดงเวลาตองการตั้งคาสมดุลยแสงขาวแบบแมนนวล
แสดงคาชดเชยแสงรอบขางที่ตั้งไว (ใชกับขอ 9. )
แสดงคาชดเชยแสงรอบขางที่ตั้งไว (ใชกับขอ 10. )
แสดง PC เมื่อมีการเชื่อมตอเขาคอมฯ.
การแสดงขอมูลถายภาพ Info Display Format

เมื่อกดปุม กลองจะแสดงขอมูลการถายภาพ ที่


จอ LCD ดานหลัง เชน ความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง,
ขนาดภาพ ฯลฯ
และหากกดซ้ํา ก็จะเปนหนา Quick setting display ให
เลือกกําหนดไดวาตองการใหแสดงคาคําสั่งอื่นๆที่เกี่ยวของ
อะไรบาง เชน WB, ความไวแสง ISO, ระบบโฟกัส ฯลฯ
หากกดซ้ําอีกครั้ง ก็จะเปนการ Off ปดการทํางานของจอ

*ผูใชสามารถเลือกไดวาตองการใหแสดงคาคําสั่งอะไรบาง

ภาพสัญลักษณ กราฟฟกแสดงความสัมพันธของความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่กําลังใชงาน
คําสั่งถายภาพทีแ
่ สดงบนจอ LCD ดานหลัง ในรูปแบบตางๆ

เมื่อจับกลองในแนวนอน เมื่อจับกลองในแนวตั้ง

1 โหมดชวยถายภาพอัตโนมัติที่กําลังใชอยู 15 แสดงโหมดเลือกกรอบหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ
2 แสดง ตัวเลขคาเร็วชัตเตอรที่ใชอยู 16 โหมดหาโฟกัสอัตโนมัติ แบบเดี่ยว หรือหาโฟกัส
แบบตอเนื่อง ที่กําลังใช
3 สัญลักษณ แสดงขนาดคารูรับแสงที่ตั้งไว 17 แสดงโหมดถายภาพทีละภาพ หรือ ตอเนื่อง

4 สัญลักษณ ภาพกราฟฟกความเร็วชัตเตอร 18 คาความไวแสง ISO ที่กําลังใช

5 สัญลักษณ ภาพกราฟฟกคารูรับแสง 19 คาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่กําลังใช


6 แสดงแถบมาตรวัดคาแสงถายภาพ 20 แสดงขนาดของภาพที่ถูกบันทึก
และคาชดเชยแสง L-Large, M-Medium, S-Small
7 แสดงคาชดเชยแสงแฟลชที่ใชอยู 21 อัตราบีบอัดไฟลภาพที่กําลังใช
8 แสดงโหมดแฟลชสัมพันธ กับความเร็ว 22 สัญลักษณ แสดงกรอบหาโฟกัส และ แสดงโหมด
มานชัตเตอรที่ใชอยู เลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติที่เลือกใช
9 แสดงคาชดเชยแสงถายภาพที่ใชอยู 23 แสดงระดับพลังงานไฟฟาในถานแบตเตอรี่
10 Help ขอคําอธิบายหรือคําแนะนํา 24 แสดงวาเปดระบบเสียงเตือน (ฺBeep) โฟกัส
11 แสดงสถานะของระบบ Active D-Lighting 25 แสดงเปดใชระบบแตงภาพ Image Optimize
12 แสดงจํานวนภาพที่ยังถายภาพไดอยู 26 แสดงวาเปดระบบความไวแสง ISO อัตโนมัติ
แสดงการทํางาน Preset WB
แสดงสถานะการเชื่อมตอกับ PC
13 สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถ 27 แสดง ผูใชปรับตั้งคาแสงแฟลชไว หรือ ตั้ง
ถายไดในหลักพัน คาชดเชยแฟลชไวใชกับแฟลชภายนอก
14 แสดงระบบวัดแสงที่กําลังใช 28 แสดงวาเปดใชระบบพิมพวันที่ลงในภาพ Date
Imprint
ในหนาชุดคําสั่ง จัดเตรียมกลอง Set up menu เมื่อใชคําสั่ง Info display format

ผูใชสามารถเลือกรูปแบบการแสดงขอมูลกลองบนจอแสดง LCD ได 3 แบบดังนี้

การแสดงขอมูลแบบคลาสสิก Classic ผูใชสามารถเลือกสีฉากหลังได 3 สี คือ น้ําเงิน, ดํา และ สีสม


การแสดงขอมูลแบบกราฟฟก Graphic ผูใชสามารถเลือกสีฉากหลังได 3 สี คือ ขาว, ดํา และ สีสม 
การแสดงขอมูลแบบมีภาพฉากหลัง Wallpaper ผูใชสามารถเลือกสีตัวอักษรได 2 แบบคือ สีออน หรือ สีเขม

หมายเหตุ:
การแสดงขอมูลแบบมีภาพฉากหลัง Wallpaper ผูใชสามารถเลือกไดจากภาพที่บันทึกไวในการดบันทึกความจํา
หากผูใชปลี่ยนภาพฉากหลัง จากการดความจํา ภาพฉากหลังภาพเดิมจะถูกลบทิ้งไปทันที และไมสามารถเรียก
คืนได
ภาพฉากหลังที่ใชแสดงจะไมสามารถเขียนลงไปในการดหรือเรียกดูตางหากได
ภาพฉากหลัง Wallpaper สามารถดาวนโหลดไดที่ Nikon-Asia Wallpaper
การใชแหวนหมุนเลือกคําสั่งการทํางาน Command Dial

ผูใชสามารถใชแหวนหมุนนเลือกคําสั่งการทํางาน Command dial ที่ดานหลังกลอง


สําหรับตั้งคาใหกับรายการคําสั่งตางๆ
โดยหมุนเลือกโดยตรงที่แหวน หรือ อาจจะใชประกอบกับปุมกดตางๆดังนี้

หนาที่ วิธีใช เครื่องหมายที่แสดง


บนจอ LCD และในชองมองภาพ

สําหรับเลือก คาแสงถายภาพ
เมื่อใช P* ในโหมด P- Program
Auto(โปรแกรมอัตโนมัติ)

สําหรับตั้ง คาความเร็วชัตเตอร
เมื่อใชในโหมด S - Shutter Auto
(ผูใชกําหนดความเร็วชัตเตอร)
และ
เมื่อใชในโหมด M – Manual
(ผูใชกําหนดคาแสงเองทั้งหมด)

หมุนไปทางซายหรือขวา

สําหรับตั้ง คารูรับแสง
เมื่อใชในโหมด A – Aperture Auto
(ผูใชกําหนดคารูรับแสง)

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน
สําหรับตั้ง คารูรับแสง
เมื่อใชในโหมด M – Manual
(ผูใชกําหนดคาแสงเองทั้งหมด)
กดปุม พรอมกับหมุนแหวน

สําหรับตั้ง คาชดเชยแสง
เมื่อใชในโหมด P, S, A

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน
สําหรับตั้ง โหมดแฟลช
เมื่อใชในโหมด ดังนี้

กด 2 ปุม พรอมกับหมุนแหวน
สําหรับตั้ง คาชดเชยแสงแฟลช
เมื่อใชในโหมด P, S, A, M

กดปุม พรอมกับหมุนแหวน

สําหรับตั้ง คา Active D-Lighting

เมื่อใชคําสั่งเฉพาะที่ 11 กําหนด กดปุม พรอมกับหมุนแหวน


หนาที่ของปูม ผูใชสามารถ
เลือกได 1 หัวขอคําสั่ง สําหรับใช
กําหนดคาการปรับแตงที่ตองการ

1. ชนิดไฟลภาพ /ขนาดภาพ
2. ชนิดของ White Balance
3. ความไวแสง ISO
4. โหมดถายภาพเดี่ยว/ตอเนื่อง/
รีโมท/ไทมเมอรตั้งเวลา
การใชแปนกด 4 ทิศ เลือกคําสั่งการทํางาน
สวิทช เปด-ปด การทํางานของกลอง
เพื่อความปลอดภัย ปองกันกลองตกหลน
แนะนําใหใสสายสะพายกลอง AN-DC1 (จัดไวใหกับกลอง) ตามขั้นตอนที่แสดงในภาพ
การชารทถาน แบตเตอรรี่ EN-EL9
เลนสถายภาพ

1 ฝาปดหนาเลนสแบบหนีบตรงกลาง
2 แหวนโฟกัส (ปรับเปลี่ยนระยะโฟกัส) ของเลนส
3 แหวนซูม (ปรับเปลี่ยนทางยาวโฟกัส) ของเลนส
4 สวิทช ปด-เปด ระบบ ลดความไหวสะเทือน VR Vibration Reduction
5 สวิทช ตั้งระบบโฟกัสอัตโนมัติ/ผูใชปรับเอง (A/M)
6 ขั้วชิพ CPU สงสัญญาณไฟฟาทายเลนส
7 ฝาปดทายเลนส
8 เลขบอกทางยาวโฟกัสของเลนส
9 จุดชี้ทางยาวโฟกัสของเลนส
10 จุดเครื่องหมาย ชี้แสดงตําแหนงที่ใสเลนสกับกลอง
การใสเลนสถายภาพ กับกลอง D60
เริ่มตนใชกลอง
เมื่อเปดสวิทชกลอง On เปนครั้งแรก กลองจะแสดงรายการภาษาสําหรับใชคําสั่งงาน
เลือกภาษาที่ตองการใชสั่งงานกลอง จากนั้นใหตั้งเวลา และวันที่
กลองจะยังไมสามารถใชถายภาพได จนกวาจะปอนขอมูลเวลา วันที่ เรียบรอยแลว

เมื่อตองการเปลี่ยนเวลานาฬิกาในกลอง
หากผูใชเดินทางขามโซนเวลา ผูใชสามารถเปลี่ยนเวลานาฬิกาในกลองไดโดยเพียง
ไปที่ชุดรายการคําสั่งการใชงานขั้นพื้นฐาน Set up Menu แลวเลือกคําสั่ง World Time
เพื่อเปลี่ยนระบบบอกเวลา หรือ เปลี่ยนโซนเวลา หรือ วันที่ไดทันที
การใสและถอดเปลี่ยนการดความจํา
การปรับโฟกัสชองมองภาพ
การฟอรแมทการดความจํา Format Memory Card
เมื่อใชการด SD เปนครั้งแรกในกลอง D60 ควรทําการฟอรแมท เพื่อเตรียมการดสําหรับการเขียน
บันทึกภาพ และควรระวังเสมอวาการฟอรแมทเปนการลบไฟลภาพและไฟลตางๆที่มีในการดทั้งหมด
ดังนั้นหากไมแนใจ ควรตรวจสอบวาไดทํา copy สําเนาไฟลตางๆที่มีในการดเอาไวเรียบรอยกอนแลว

การฟอรแมท การดความจําทําไดดังนี้

1. เปดสวิทชกลอง

2. กดปุม Menu เรียกเมนูรายการคําสั่ง

3. เลือกชุดรายการคําสั่งจัดเตรียมกลอง Set up
(ที่เปนรูปเครื่องหมาย )

4. กด ขวาเพื่อเขาสูชุดรายการคําสั่ง Set up

5. เลือก หัวขอคําสั่ง Format memory card

6. กลองจะแสดงคําสั่งใหเลือก
หากไมแนใจ หรือตองการยกเลิก ใหกดปุม OK หรือ
แตะกดปุมชัตเตอรเบาๆ เพื่อยกเลิกการทํารายการ
7. เลือก Yes หากตองการจะฟอรแมทการดความจํา

8. กลองจะทําการฟอรแมทการดความจํา SD

ในระหวางนี้ ไมควรปดสวิทชกลอง, เปลี่ยนถาน, หรือ


ถอดเปลี่ยนการดความจํา
การถายภาพเบื้องตน Basic Photography
บทตอไปนี้จะเปนการอธิบายวิธีการใชกลองอยางงายๆ ดวยโหมดถายภาพอัตโนมัติ
โดยจะเปนแบงเปน 4 ขั้นตอนคือ การเตรียมกลอง, การจัดภาพ, การหาโฟกัสและลั่นชัตเตอรถายภาพ,
การเรียกแสดงภาพถายที่ถายบันทึกไวแลว รวมทั้งการใชโหมดชวยถายแบบโปรแกรมดิจิตอล (Digital Vari-
programms) เพื่อปูพื้นฐานการถายภาพ กอนที่เขาไปสูขั้นตอนที่กาวหนาตอไป
โหมดถายภาพแบบอัตโนมัติ สําหรับการใชงานงายๆเพื่อความสะดวกสบาย
เพียงแตยกกลองขึ้นเล็งแลวกดปุมลั่นชัตเตอรถายภาพไดทันที โดยกลองจะจัดการใหหมด
ทุกอยาง ตามความเหมาะสมกับสภาพแวดลอมในขณะนั้น

ขั้นที่ 1 การเตรียมกลอง

1. เปดสวิทชกลองไปที่ On
ถอดฝาครอบเลนส เมื่อเปดสวิทช กลองจะทําความสะอาด
จอรับภาพ และ จอ LCD จะแสดงคาการถายภาพ โดยอัตโนมัติ
เมื่อยกกลองขึ้นเล็ง กลองจะปดจอ LCD และแสดงขอมูลที่ใน
ชองมองภาพแทน

2. หมุนแปนเลือกโหมดไปที่

3. ตรวจดูระดับกําลังไฟฟาในถานแบตเตอรี่

4. ตรวจดูจํานวนภาพที่จะยังสามารถบันทึกในการดความจําได
(ตัวเลขที่แสดงนี้ เปนเพียงการประมาณการเทานั้น)
หากการดความจําเต็ม หรือ มีความจุไมพอเพียงตอการบันทึก
ไฟลภาพ กลองจะแสดง Card is full บนจอ LCD และ กระพริบ
FuL เตือน และแสดงเลขศูนย ในชองมองภาพ

ทุกครั้งที่เปด On หรือ Off ปด สวิทชการทํางานกลอง


กลองจะแสดงหนาตางเตือนวา image sensor cleaningแสดง
วาขณะนี้กําลังทําความสะอาดจอรับภาพ

สัญลักษณ “K” แสดงจํานวนภาพที่สามารถถายได


เชน 1.1 K เทากับ การดความจํายังสามารถบันทึกภาพไดอีก
ประมาณ 1.1 x 1,000 = 1,100 ภาพ

กลองจะถูกตั้ง Default มาจากโรงงาน ใหใชไฟลภาพแบบ


JPEG normal โดยมีอัตราบีบอัดปกติ และมีขนาดกรอบภาพ
Large 3872 X 2592 พิกเซล

แตผูใชสามารถปรับเปลี่ยนตามความตองการได
ขั้นที่ 2 การจัดภาพ

1. จับถือกลองแบบที่แสดงในภาพ
โดยใชมือขวาจับที่กริปกลอง และรองรับตัวกระบอกเลนส
ดวยมือซาย พยายามใหขอศอกทั้งสองอยูแนบลําตัวชวย
รองรับน้ําหนัก และกาวเทาไปขางหนาครึ่งกาวเพื่อให
ความสมดุลยและกลองนิ่ง

2. กรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ

เมื่อผูใชไมไดมองที่ในชองมองภาพ กลองจะแสดงขอมูลถายภาพที่จอ LCD ดานหลังกลองใหเห็น


และจะปดการแสดงขอมูลบนจอ LCD ที่ดานหลัง เมื่อผูใชมองที่ในชองมองภาพ
ขั้นที่ 3 การหาโฟกัส และ ลั่นชัตเตอรถายภาพ

1. การหาโฟกัสอัตโนมัติ

2. ลั่นชัตเตอรถายภาพ

ใหเพิ่มน้ําหนักกดปุมชัตเตอรไปจนสุด กลองก็จะลั่นชัต
เตอรถายภาพ

หลังจากที่ชัตเตอรลั่นไปแลว กลองจะแสดงมีไฟสีเขียว
แสดงสถานะวากลองกําลังเขียนขอมูลไฟลภาพเขาไป
เก็บบันทึกลงในการดความจํา SD

ภาพที่เพิ่งถูกถายไปที่จอแสดงภาพ LCD ที่ดานหลัง


กลอง
ขั้นที่ 4 การเรียกแสดงภาพถายที่ถายบันทึกไวแลว

หลังจากที่กลองถายภาพไปแลว กลองจะแสดงภาพ
ที่บันทึกไวบนจอ LCD ทันที และจะแสดงนานเทาที่
ผูใชตั้งกําหนดไวในเมนูรายการคําสัง่ แสดงภาพ

พรอมกับจะแสดงระดับกําลังไฟฟาในถาน และ
จํานวนภาพที่การดจะยังบันทึกไวไดใหทราบดวย

การเรียกดูภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา

การลบภาพที่ไมตองการ
คําสั่งสําหรับการแสดงภาพ
ในขณะที่กลองกําลังแสดงภาพขนาดเต็มจอ LCD ผูใชสามารถเรียก เลือกคําสั่งไดดังนี้

คําสั่ง กดปุม คําอธิบาย


แสดงภาพซูมขยายใหญ ซูมขยายขนาดภาพที่แสดงบนจอ LCD
Zoom in เพื่อตรวจดูบริเวณสวนตางๆในภาพ
แสดงภาพขนาดยอ แสดงภาพขนาดยอเล็ก Thumbnails
View Thumbnails เพื่อดูหลายๆภาพ หรือ เลือกภาพที่ตองการ
เรียกใชคําสั่งตัดแตงภาพ กดปุม OK เพื่อเรียกคําสัง่ ตัดแตงภาพ
Retouching เพื่อตัดแตงภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น

ยกเลิกการแสดงภาพ เมื่อตองการกลับไปที่โหมดถายภาพอยางรวดเร็ว
Exit to Shooting เพื่อพรอมทีจ
่ ะใชกลองถายภาพตอไปไดทันที
การใชโหมดชวยถายภาพดิจิตอลสําหรับสถานการณตา
 งๆ
นอกจากโหมดชวยถายภาพแบบอัตโนมัติทั้งหมด แลว ผูใชยังสามารถเลือกใช
โหมดชวยถายภาพดิจิตอล (Digital Vari-Programs) ตามที่ไดถูกโปรแกรมมาจากโรงงาน
เพื่อชวยใหถายภาพในแตละโอกาสสถานการณเหลานี้ไดอยางงายดาย

วิธีใชโหมดชวยถายภาพดิจิตอล

1. หมุนแปนโหมดชวยการถายภาพไปที่โหมดชวย
ถายภาพดิจิตอลตามสถานการณที่ตองการ

2. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส,
แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได
การเลือกใชงานโหมดชวยถายภาพดิจิตอล

ลองจะวัดสภาพแสง แลวตั้งคาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสงให ตาม


ความเหมาะสม โดยไมใชแฟลชในการถายภาพ
เหมาะสําหรับใชถายภาพในที่ไมอนุญาตใหใชแสงแฟลชถายภาพ หรือ เมื่อ
ตองการถายภาพแสงธรรมชาติเทาที่มีขณะนั้น

กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ
ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ และเปดไฟสองชวยหา
โฟกัสชวยหากบริเวณนั้นมีแสงนอย

สําหรับถายภาพบุคคลที่ตองการใหดูนุมนวล สีผิวเปนธรรมชาติ
กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ
ความนุมนวลของฉากหลังขึ้นอยูกับแสงแวดลอม

เพื่อใหไดผลดีมากที่สุด ใหฉากหลังอยูไกลที่สุดและใชเลนสที่มีทางยาว
โฟกัสมากๆ เพื่อใหภาพดูลึกมีมิติ

สําหรับการถายภาพทิวทัศน หรืออาคารบานเรือน ที่ตองการเนนสีสรร ความ


สดใส คมชัดเจน
กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ
ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ
ระบบไฟชวยสองหาโฟกัสและ ระบบแฟลชจะไมทํางาน แมวาจะมีแสงตาม
ธรรมชาติในขณะนั้นนอยก็ตาม

เพื่อใหไดผลดีมากที่สุด ควรใชเลนสมุมกวางเพื่อใหมุมมองภาพที่กวางไกล

สําหรับการถายภาพเด็กเล็กที่ตองการความสะดวก และรวดเร็ว
กลองจะปรับเนนสีสรรสดใส และใหสีผิวที่ดูนุมเนียนเปนธรรมชาติ

กลองจะหาระยะโฟกัสที่วถ
ั ตุที่อยูใกลที่สุดกอนเสมอ
สําหรับการถายภาพ กีฬา (ภาพที่ตัวแบบมีเคลื่อนไหว ขณะทําการ
ถายภาพ) กลองจะเลือกความเร็วชัตเตอรที่เร็วที่สุด เพื่อเนนจับภาพของ
การเคลื่อนไหวของตัวแบบ กลองจะปรับจุดโฟกัสตลอดเวลาที่กดปุมลั่น
ชัตเตอร ลงไปครึ่งทาง เพื่อไลจับตามการเคลื่อนไหวในภาพ
ผูใชสามารถเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งในการเริ่มตนหาโฟกัสก็ได

ระบบไฟสองหาโฟกัสและแฟลชจะไมทํางาน แมวาจะมีแสงนอยก็ตาม

สําหรับการถายภาพที่ตองการขยายใหเห็นภาพ เชนดอกไม, แมลง หรือ


สิ่งของขนาดเล็ก กลองจะโฟกัส ที่ตรงกลางกรอบภาพเปนหลัก (แตผูใช
จะเลือกเปลี่ยนก็ได)
แนะนําใหใชขาตั้ง, การตั้งนับถอยหลัง หรือ รีโมทลั่นชัตเตอร เพื่อชวยลด
อาการภาพเบลอ เลนสที่ใชควรเปนเลนสสําหรับถายภาพระยะใกล หากใช
เลนสธรรมดาใชปรับไปที่ระยะถายภาพใกลสุดของเลนส
หากใชเลนสซูม แนะนําใหซูมใหสุดทางยาวโฟกัสของเลนสนั้น เพื่อใหได
ขนาดขยายใหญมากที่สุดเลนสที่ใชควรเปนเลนสสําหรับถายภาพระยะใกล
ระบบแฟลชจะสัมพันธกบ ั มานชุดแรก (เลือกเปลี่ยนได)

สําหรับเมื่อตองการภาพถายดวยความสะดวก รวดเร็ว
กลองจะเลือกรูหนากลอง และความเร็วชัตเตอรที่พอเหมาะกับแสงและตัว
แบบ
เพื่อใหไดที่มีภาพที่มีความสวาง สีสรรสดใส และคมชัด
ระบบแฟลชจะสัมพันธกบ ั มานชุดแรก (แตผูใชจะเลือกเปลี่ยนก็ได)

ในกรณีที่ใชโหมดชวยถายภาพ 4 แบบนี้

หากมีแสงถายภาพนอย กลองจะยกแฟลชขึ้นมาเพื่อใชแสงแฟลช
ชวยถายภาพโดยอัตโนมัติ
การใชโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติ P, S, A และ M

ในสวนนี้จะเปนการอธิบายเกี่ยวกับ โหมดชวยการถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ

P - Programmed Auto
สําหรับใชชวยในการถายภาพดวยโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติทั้งหมด
กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตามความเหมาะสม
และผูใชสามารถปรับแตงเลือกจับคูความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตามที่โปรแกรมแนะนํา
รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย

S - Shutter-Priority Auto โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชกําหนด เลือกใช คาความเร็วชัตเตอรเอง


สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร เพื่อควบคุมความเคลื่อนไหวในภาพ
ผูใชสามารถเลือก คาความเร็วชัตเตอรสูงๆ เพื่อหยุดความเคลื่อนไหว
หรือ เลือก คาความเร็วชัตเตอรต่ําๆ เพื่อใหเกิดความเคลื่อนไหวในภาพ
กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคารูรับแสง ที่เหมาะสมกับคาความเร็วชัตเตอร ที่ผูใชเลือก
รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย
เชน ผูใชเลือกความเร็วชัตเตอร 1/2000 วินาที เพื่อตองการจับการเคลื่อนไหวในภาพ
กลองจะวัดแสง แลวตั้งคารูรับแสงใหที่ F/4 ในการถายภาพโดยอัติโนมัติ

A - Aperture-Priority Auto โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชกําหนดเลือกใช คารูรับแสงเอง


สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการกําหนดใช คารูรับแสง เองเพื่อควบคุมความคมชัดของฉากหลัง
หรือควบคุมชวงระยะชัดลึก เพื่อใหภาพมีความคมชัดมากที่สุด ทั้งดานหนาและฉากหลัง
กลองจะวัดแสง แลวเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร ที่เหมาะสมกับคารูรับแสง ที่ผูใชเลือก
รวมทั้งสามารถปรับชดเชยแสง ตามที่ตองการไดดวย

M - Manual โหมดควบคุมการถายภาพแบบผูใชตั้งคาควบคุมเอง
สําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการเลือกใช คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรบ
ั แสง
เพื่อการสรางสรร งานภาพที่ตองการ

ในโหมดชวยการถายภาพ P, S, A, M นี้ ผูใชสามารถปรับแตงควบคุมคาตางๆเชน คาชดเชยแสงถายภาพ,


คากําลังแสงแฟลช, คาสมดุลยแสงสีขาว WB, การปรับแตงสี, ความคมชัด และคาอื่นๆในรายการเมนูชุดคําสั่ง
ถายภาพเพื่อใหไดภาพตามที่ตนเองตองการ
การเลือกใชงานโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติ P, S, A และ M

โหมดชวยถายภาพ คําอธิบายการใชงาน
P - Programmed Auto กลองเลือกทั้งคารูรับแสงและคาความเร็วชัตเตอร ใหทั้งหมดเพื่อให
ไดภาพที่เหมาะสม ใชสําหรับการถายภาพอยางรวดเร็ว
S - Shutter-Priority Auto ผูใชกําหนดคาความเร็วชัตเตอรที่ตองการ กลองจะเลือกคารูรับแสงที่
เหมาะสมใหเอง ใชสําหรับการถายภาพที่เนนการเคลื่อนไหวในภาพ
A - Aperture-Priority Auto ผูใชกําหนดคารูรับแสงที่ตองการ กลองจะเลือกคาความเร็วชัตเตอรที่
เหมาะสมใหเอง ใชสําหรับการถายภาพที่ผูใชตองการเนนความคมชัด
ที่ฉากหนา หรือ ฉากหลังของภาพ (ทําใหฉากหลังเบลอ)
M - Manual ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสง เองทั้งหมด
รวมทั้งเมื่อตองเปดมานชัตเตอรเปนเวลานานๆ (ชัตเตอร B-Bulb)

การใชคาความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสง เพื่อใหไดผลในภาพตางๆกัน

หมายเหตุ: การเปลี่ยนคาความไวแสง ISO sensitivity จะมีผลตอความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงเปลี่ยนไปดวย


วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ P - Programmed Auto

1. หมุนแปนโหมดชวยการถายภาพไปที่โหมดชวย
ถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติ P

2. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส,
แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

โหมดชวยถายภาพดวยโปรแกรมอัตโนมัติแบบผันแปรคาได P* Flexible Program

ตอเนื่องจากโหมดชวยถายภาพโปรแกรมอัตโนมัติ P
กลองเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ตาม
สภาพแสงเพื่อใหไดภาพดีที่สุด
เมื่อเลือกใชโหมดโปรแกรมควบคุมอัตโนมัติแบบ
ผูใชสามารถที่ปรับแตงผันแปร (flexible) คาความเร็ว
ชัตเตอร, คารูรับแสง ที่กลองเลือกมาให โดยการหมุน ผันแปรคาไดนี้ จะมีเครื่องหมาย แสดง
แปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อปรับเลือกคาที่ตองการ ในชองมองภาพ และ ในจอ LCD

ผูใชสามารถปรับแตงเลือกใชคาความเร็วชัตเตอร หรือ
คารูรับแสง ตามที่กลองตั้งใหใหไดลักษณะภาพตาม
แบบที่ตองการไดดวย
เชน กลองเลือกใชคาความเร็วชัตเตอรที่ 1/250 และ
คารูรับแสง F/8
ผูใชสามารถที่ปรับแตงผันแปรเปลี่ยนไปใช ความเร็วชัต
เตอร 1/2000 และ คารูรบ ั แสง F/2.8 เพื่อลดระยะชัด
ลึกในภาพ
(ทั้งสองภาพนี้จะมีความสวางในภาพเหมือนกัน แตมี
ความคมชัดในภาพไมเหมือนกัน)

หากตองการยกเลิก กลับไปใช คาความเร็วชัตเตอร, คารูรับแสง ที่กลองตั้งให ก็ใหหมุนแปนควบคุมจนกวา


เครื่องหมาย ในจอ LCD จะหายไป หรือ หมุนแปนเปลี่ยนไปใชโหมดชวยถายภาพอื่นๆ หรือ ปดสวิทช
กลอง
วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนด ความเร็วชัตเตอร S - Shutter-Priority Auto

1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบผูใชกําหนด
ความเร็วชัตเตอร S - Shutter-Priority Auto

2. ผูใชสามารถเลือกกําหนด คาความเร็วชัตเตอรที่
ตองการโดยการหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อ
ปรับเลือกคาที่ตองการ

คาความเร็วชัตเตอรที่ถูกเลือกจะแสดงในชองมองภาพ
และบนจอ LCD

หรือ กดปุม เพื่อตรวจดูคาความเร็วชัตเตอร ก็


ไดเชนกัน

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส,
แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได

หมายเหตุ: การเลือกใชความเร็วชัตเตอรที่ต่ําเกินไป อาจจะทําใหภาพเบลอไดจากการสั่นสะเทือนของกลอง


แนะนําใหใชความเร็วชัตเตอรอยางต่ําที่สุดตามสัดสวนกลับของความยาวโฟกัสของเลนสที่ใช เชนหากใช
เลนสทางยาวโฟกัส 300 มม. ก็แนะนําใหใชความเร็วชัตเตอรขั้นต่ํา 1/300 วินาที
หรือปรับใชคาความไวแสง ISO ใหสูงขึ้น หรือ ใชแฟลช หรือ ใชขาตั้งกลอง หรือ ใชเลนสที่มีระบบลดความ
ไหวสะเทือน (VR) ชวยในการถายภาพเพื่อลดความเบลอจากการสั่นสะเทือนของกลอง
วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนด คารูรับแสง A - Aperture-Priority Auto

1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบผูใช
กําหนดคา A - Aperture-Priority Auto เอง

2. ผูใชสามารถเลือกกําหนด คารูรับแสง ที่ตองการโดย


การหมุนแปนควบคุมหลัก ซาย-ขวา เพื่อปรับเลือกคาที่
ตองการ

ชวงคารูรับแสงที่เลือกใชไดจะเปนไปตามชวงคารูรับ
แสงของเลนสที่ใชใสที่กลอง

คารูรับแสง ที่ถูกเลือกจะแสดงในชองมองภาพและบน
จอ LCD

หรือ กดปุม เพื่อตรวจดูคารูรับแสงที่ตั้งเอาไว


ก็ไดเชนกัน

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส,
แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได
วิธีใชงานโหมดชวยถายภาพแบบผูใชกําหนดคาแสงถายภาพเองทั้งหมด M – Manual

ผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสง เองทั้งหมด


รวมทั้งเมื่อตองเปดมานชัตเตอรเปนเวลานานๆ (ชัตเตอร B-Bulb)

1. หมุนแปนโหมดไปที่โหมดถายภาพแบบ
M ซึ่งผูใชตองการกําหนด คาความเร็วชัต
เตอร และ คารูรับแสง ดวยตัวเองทั้งหมด

2. ผูใชทําการตั้งคาความเร็วชัตเตอรที่
ตองการ ไดโดยการหมุนแปนควบคุมหลัก
ซาย-ขวา

คาความเร็วชัตเตอรที่ถูกเลือกจะแสดงใน
ชองมองภาพและบนจอ LCD

ผูใชสามารถกําหนดเลือกความเร็วชัตเตอร
ไดตั้ง 1/4000 ถึง 30 วินาที รวมทั้งเปด
มานชัตเตอรแบบคงคางไว (ใช
ถายภาพเวลากลางคืน) ก็ได

ผูใชทําการตั้งคารูรับแสง ที่
ตองการ ไดโดยการกดปุม
ที่ดานบนกลอง
พรอมๆกับหมุนแปนควบคุมหลัก
ซาย-ขวา เพือ
่ ปรับเลือกคาที่
ตองการ

ผูใชสามารถ กดปุม เพื่อตรวจดูคาความเร็วชัตเตอรและคารูรับแสงที่ตั้งเอาไว ก็ไดเชนกัน


หมายเหตุ: ชวงคารูรับแสงที่จะเลือกใชไดจะเปนไปตามชวงคารูรับแสงของเลนสที่ใชใสที่กลองเทานั้น

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัส,
แลวก็ลั่นชัตเตอรถายภาพได
การใชเครือ
่ งวัดแสงในกลอง Analog Exposure Meter Display

เมื่อใชกลอง D60 กับเลนสแบบมี CPU ในโหมด M จะมีแถบเครื่องวัดแสง แสดงในชองมองภาพ


เพื่อชวยวัดแสงถายภาพวามีแสงมาก (ภาพดูสวาง) หรือนอย (ภาพดูมืด) กวาปกติ
หากแถบมาตรวัดแสงนี้กระพริบ ก็แสดงวาแสงถายภาพอาจจะมีมากหรือนอยกวาปกติมากเกินไปจนวัดไมได

การอานแถบมาตรวัดแสงที่แสดงในชองมองภาพ
แถบมาตรที่แสดง คําอธิบาย การใชงาน
คาแสงพอดี ภาพปกติ

หากแถบเยื้องไปทางขวาของเลขศูนยตรงกลาง คาแสงต่ํากวาปกติ
ภาพถายจะออกมามืด จากตัวอยางแถบที่แสดงนี้ ภาพถายที่ไดจะมืดกวา
ปกติประมาณ 0.3 EV หรือ 1/3 สตอป
หากแถบเยื้องไปทางซายของเลขศูนยตรงกลาง คาแสงสูงวาปกติ ภาพถาย
จะออกมาสวาง จากตัวอยางแถบที่แสดงนี้ ภาพถายที่ไดจะสวางกวาปกติ
มากกวา 2.0 EV หรือ 2.0 สตอป

หมายเหตุ: หากผูใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 (ISO auto) ไวที่ On คาความไวแสงจะปรับเปลี่ยนไป


โดยอัตโนมัติ แตจะไมมีผลกับมาตรแสดงของเครื่องวัดแสงที่แสดงในชองมองภาพแตอยางใดทั้งสิ้น
การใชความเร็วชัตเตอร B- Bulb และ Time

เปนการถายภาพโดยเปดมานชัตเตอรคางไวเปนเวลานาน (ความเร็วชัตเตอร B- Bulb และ ในแบบ Time)


ในโหมด M เมื่อปรับความเร็วชัตเตอรไปจนสุดจะพบเครื่องหมาย และ --
ใชสําหรับถายภาพดาว, ไฟรถวิ่ง หรือ อาคารบานเรือน, พลุในเวลากลางคืน
ควรใชขาตั้งกลอง และรีโมทอินฟราเรด ML-L3 หรือสายตอชวยลั่นชัตเตอรถายภาพ

Bulb

เมื่อกดปุมชัตเตอร กลองจะเปดมานชัตเตอรคางไวเพื่อใหบันทึกแสงเปนเวลานาน เทาที่กดปุมชัตเตอรแชคาไว


และเมื่อคลายปุมกดชัตเตอร กลองก็จะปดมานชัตเตอร
ผูใชสามารถเรียกใชโหมดความเร็วชัตเตอร B- Bulb โดยหมุนแปนตั้งโหมดถายภาพไปที่ M – Manual แลว
หมุนแหวนควบคุมที่หลังกลองตั้งความเร็วชัตเตอรไปที่ Bulb ( แสดงในชองมองภาพ)

Time

ตองใชรวมกับรีโมทอินฟราเรด ML-L3 เพื่อเปดมานชัตเตอรใหคางไว แตจะเปดไดนานไมเกิน 30 นาที


โดยทําไดดังนี้
1. ตั้งโหมด M และตั้ง ความเร็วชัตเตอรไปที่ Bulb (จนกวา แสดงในชองมองภาพ)
2. ตั้งโหมดระบบถายภาพไปที่รีโมท (หนวงเวลา หรือ ฉับพลัน ก็ได)
กลองจะแสดงโหมด Time ในชองมองภาพ
3. กดรีโมท 1 ครั้ง จะเปนการเปดมานชัตเตอรคางไว
กลองจะหนวงเวลาประมาณ 1 วินาที กอนที่จะเปดมานชัตเตอรเพื่อลดความสั่นสะเทือนในภาพ
4. กดรีโมทอีก 1 ครั้ง จะเปนการปดมานชัตเตอร (หากไมกดรีโมท กลองจะปดเองใน 30 นาที)

หมายเหตุ:
การเปดมานชัตเตอรคางไวเพื่อใหบันทึกแสงเปนเวลานาน จะทําใหเกิดจุดสี (Noise) รบกวนในภาพได
ใหเลือกรายการ Noise Reduction ในชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu เพื่อใชชวยลดจุดสีรบกวนใน
ภาพได
การเปดมานชัตเตอรเปนเวลานาน จะเปลืองพลังงานไฟฟาจากถานมาก ใหใชถานชารทใหมๆ หรือ หมอแปลง
ไฟจายไฟ EH-5a หรือ EP-5 เพื่อชวยจายไฟเลี้ยงกลอง
การเปลี่ยนคาตางๆที่ใชในการถายภาพ Quick Settings Display

ผูใชสามารถเรียกดูคาตางๆที่จะใชในการถายภาพ และเปลี่ยนคาเหลานี้ไดโดยงายดายโดยกดเพียงปุมเดียว

เมื่อกลองแสดงขอมูลที่จะใชในการถายภาพ
หากผูใชตองการปรับเปลี่ยน ก็ทําโดยกดปุม

ทุกครั้งที่กดปุม กลองจะแสดงเปนวงจรในลักษณะดังนี้
Shooting information display (คาคําสั่งถายภาพ) Quick settings display (เปลี่ยนแปลง
คําสั่ง) Monitor off (ปดจอ LCD) Shooting information display (ค่ําคําสั่งถายภาพ)

คาตางๆที่จะใชในการถายภาพที่แสดงบนจอ LCD ที่สามารถปรับเปลี่ยนไดมีดังนี้

หมายเหตุ:
1. คาตางๆที่จะใชในการถายภาพที่แสดงบนจอ LCD สามารถเปลี่ยนแปลงไดดวยเมนูรายการคําสั่ง
Shooting Menu หรือ Set up Menu ก็ไดเชนกัน
2. คาบางคาอาจจะเปลี่ยนแปลงไมได แลวแตโหมดที่ใชถายภาพดวย
3. หากกลองกําลังแสดงภาพที่บันทึกไว (Playback) ใหกดปุม เพื่อออกจากโหมดแสดงภาพกอน
วิธีการใช Quick settings display เพื่อเปลี่ยนแปลงคาคําสั่งถายภาพ

1. กดปุม ไปที่หนา Quick settings display


กดแปน 4 ทิศ เลือกชองคาคําสั่งที่ตองการเปลี่ยนแปลง
เชนตองการเปลี่ยนขนาดกรอบภาพ Image size ก็กด
แปนไปที่ชองคําสั่งดานขวา บน (กรอบสีแดงในภาพ)

2. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยืนยัน


เชน Image size กลองจะแสดงคําสั่งยอย L, M, S ที่มี
ใหเลือกในหัวขอคําสั่ง Image size

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคําสั่งยอย ในหัวขอ


คําสั่งนั้นๆ เชน เลือก กรอบภาพขนาดกลาง M-
Medium

4. กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยืนยันการเลือก


กลองจะแสดง M ในชองคําสั่ง Image size

ตําแหนงของหัวขอคาคําสั่งถายภาพตางๆ

1. ชนิดไฟลภาพ Image Quality 5. โหมดลั่นชัตเตอรเดี่ยว/ตอเนื่อง 9. โหมดแฟลช


2. ขนาดของภาพ Image size 6. โหมดหาโฟกัสอัตโนมัติ 10. คาชดเชยแสงถายภาพ
3. คาสมดุลยสีขาว WB 7. โหมดเลือกกรอบโฟกัสอัตโนมัติ 11. คาชดเชยแสงแฟลช
4. คาความไวแสง ISO sensitivity 8. ระบบวัดแสง Metering 12. ระบบชวยปรับความสวางภาพ
Active D-Lighting
การเลือกชนิดไฟลภาพ (Image Quality) และขนาดของภาพ (Image Size)

การเลือกชนิดไฟลภาพ (อัตรายอขนาดไฟลภาพ) และขนาดของกรอบภาพ (Image Size) จะเปนตัวกําหนด


จํานวนภาพที่สามารถเก็บไดในการดความจํา
ไฟลภาพขนาดใหญสามารถนําไปพิมพอัดเปนภาพขนาดใหญไดงาย แตก็ใชพื้นที่ของหนวยความจํามากขึ้น
ไปดวย ทําใหบันทึกจํานวนภาพไดนอยลงดวย

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกชนิดไฟล (Image Quality) และขนาดภาพ (Image Size)
ไดโดยตรง

การแสดงจํานวนภาพที่ยังถายได

เมื่อผูใชปรับเปลี่ยนชนิดของไฟลภาพหรือขนาดไฟล
ภาพ จํานวนภาพที่ยังสามารถบันทึกไดในการดที่แสดง
บนจอ LCD และในชองมองภาพก็จะเปลี่ยนไปดวย

อนึ่ง, จํานวนภาพที่ยังบันทึกไดที่แสดงนี้เปนเพียงการคาดคํานวนเทานั้น จํานวนภาพที่ไดจริงอาจจะ


เปลี่ยนไปไดตามลักษณะของรายละเอียดในภาพของแตละภาพไป
การเลือกใชชนิดของไฟลภาพ (Image Quality)
กลอง D60 สนับสนุนการเก็บบันทึกไฟลภาพไดหลายชนิดดังตอไปนี้

ผูใชกลอง D60 สามารถเลือกขนาดของกรอบภาพ (Image size) ได 3 ขนาดดังตอไปนี้

อนึ่ง, เมื่อเปดไฟลภาพแบบ NEF บนเครื่องคอมพิวเตอร จอคอมฯจะแสดงผลที่ 3872 x 2592 พิกเซล

การเลือกใชไฟลภาพแบบ NEF (RAW)


หากผูใชตองการแสดงภาพที่ถูกบันทึกไฟลภาพในชนิดแบบ NEF (RAW) ดวยอุปกรณแสดงภาพอื่นๆ ที่ไมใช
กลอง D60 ไฟลภาพนั้นจะตองถูกแปลงใหเปนไฟลภาพแบบอื่นเชน JPEG เสียกอน โดยการใชคําสั่งแปลงไฟล
ภาพที่มีอยูในชุดคําสั่งตกแตงภาพ Retouch Menu ไฟลภาพแบบ JPEG ที่ถูกสรางขึ้นมานี้สามารถนําไปใชกับ
จอหรืออุปกรณแสดงภาพทั่วไป หรือใชอัดพิมพภาพโดยไดเลยโดยสงผานทางพอรท USB
นอกจากในกลองแลวผูใช สามารถแปลงไฟล ดวยโปรแกรม Capture NX หรือ View NX

เมื่อผูใชเลือกการบันทึกไฟลภาพแบบ NEF (RAW)+JPEG Basic (ดวยคําสั่ง RAW+B)


กลองจะบันทึกไฟล 2 แบบ คือ DSC_nnnn.NEF และ DSC_nnnn.JPG
โดยกลองจะแสดงไฟลภาพแบบ JPEG บนจอแสดงภาพ LCD ดานหลังเทานั้น
หากผูใชสั่งลบไฟลภาพนั้น กลองจะลบทิ้งทั้งสองไฟลภาพทั้งคูทีเดียวพรอมๆกัน

การกําหนดใหชื่อไฟลภาพ
ไฟลภาพที่ถูกบันทึกลงในการดความจํา SD จะถูกกําหนดใหเปนดังนี้
DSC_nnnn.xxx โดยมีรูปแบบดังนี้
DSC_ คือ Digital Still Camera
nnnn คือ หมายเลขลําดับอัตโนมัติที่กลองกําหนดใหแตละภาพ เริ่มตนที่ 0001 จนถึง 9999
xxx คือ ชนิดของไฟล กลาวคือ "NEF" สําหรับไฟลภาพแบบ NEF (RAW) และ "JPG" สําหรับไฟลแบบ JPEG
และ SSC_ คือ ไฟลภาพขนาดเล็กที่ถูกสรางจากรายการคําสั่งแตงภาพ Small picture เชน SSC_0001.JPG
และ CSC_ คือ ไฟลภาพที่ถูกปรับแตงสีสรร จากรายการคําสั่งแตงภาพ Retouch เชน CSC_0001.JPG
และ ไฟลภาพที่ใชรหัสสีแบบ II (Adobe RGB) จะใชถูกกําหนดชื่อ เปน _DSC0001.JPG เปนตน
ไฟลภาพยนตสั้น Short movie จะใชชื่อไฟลนําดวย ASC ตามดวยหมายเลขลําดับ 0001 และลงทาย .AVI เชน
ASC_0001.AVI
ผูใชสามารถเปลี่ยนคา Image quality และ Image size จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu
หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนขนาดกรอบและชนิดไฟลภาพไดเชนกัน
ตารางแสดงขนาดไฟลภาพ และ จํานวนภาพที่สามารถบันทึกได

เมื่อใชการดความจํา SD 1 GB Panasonic Pro High Speed (SDHC)

ชนิดไฟลภาพ ขนาด ขนาดไฟล จํานวนภาพ ความจําสํารอง


ภาพ MB เมกกะไบท กลองที่รองรับได
NEF(RAW) - 9.0 79 6
L 4.8 129 100
JPEG fine M 2.7 225 100
S 1.2 487 100
L 2.4 251 100
JPEG normal M 1.3 431 100
S 0.6 888 100
L 1.2 487 100
JPEG basic M 0.7 839 100
S 0.3 1500 100
RAW+Basic -/L 10.1 70 6
หมายเหตู :
• จํานวนและขนาดไฟล เปนเพียงการประมาณการเทานั้น
คาที่แทจริงอาจจะเปลี่ยนไปได ตามลักษณะของไฟลภาพและรายละเอียดในแตละภาพ
คาสมดุลยแสงสีขาว White Balance
คาสมดุลยสข
ี าว (White Balance) จะเปนตัวควบคุมวาสีของวัตถุที่ถายภาพจะไมเปลี่ยนไปตามสีของแสง
แวดลอมที่ใชในการถายภาพนั้น กลองก็จะไดแกไขชดเชยปรับแตงใหเสมือนวาใชแสงสีขาวในการถายภาพ
เพื่อใหภาพถายที่จะไดเปนสีธรรมชาติของวัตถุนั้นๆมากที่สุด
โดยทั่วไปแลวคาสมดุลยสีขาว WB ควรจะถูกตั้งไวที่อัตโนมัติ Auto ตามที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
แต ไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M
แตคาสมดุลยสีขาว (White Balance) จะถูกตั้งใหเปน Auto ในโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกใชคา คาสมดุลยสีขาว (White Balance) ไดโดยตรงดังนี้

Auto อัตโนมัติ
กลองจะปรับตั้งคาสมดุลยแสงสีขาว WB ใหโดยอัตโนมัติ ใชสําหรับถายภาพทั่วๆไป

Incandescent หลอดไฟทังสเตน
แสงหลอดเผาไส ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากหลอดแบบเผาไสทังสเตน (ใหแสงไฟสีสมเหลือง)

Fluorescent หลอดไฟเรืองแสง
แสงหลอดเรืองแสง ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต (เรียกทั่วไปวาหลอดนีออน)
ผูใชสามารถปรับคา WB ตามชนิดของหลอดเรืองแสงไดอยางละเอียดอีก 7 ชนิดในรายการคําสั่ง Shooting
Menu

Direct sunlight แสงอาทิตยกลางแจง


แสงแดดกลางแจง ใชเมื่อสภาพแสงเปนแสงแดดจากดวงอาทิตยกลางแจง ตามปรกติ

Flash แสงไฟแฟลช
แสงไฟแฟลชจากแฟลชหัวกลอง หรือ แสงไฟแฟลชนอกกลอง เชนจาก SB-800

Cloudy แสงทองฟามีเมฆมาก
แสงจากทองฟาเมื่อมีเมฆปกคลุมอยูมาก

Shade แสงในรมเงา
แสงในที่รมเงาชายคาใชเมื่อสภาพแสงเปนแสงธรรมชาติใตชายคารมเงาไม หรือ ในโรงเรือนที่เปดโลงกวาง

Preset manual ผูใชปรับตั้งเอง


ผูใชปรับตั้งเอง ใชเมื่อสภาพแสงถายภาพเปนแสงจากแหลงอื่นๆ หรือ สภาพแสงผสมจากหลายแหลง ผูใชๆวัตถุ
สีขาว หรือสีเทา สําหรับทําการวัดและตั้งคา WB เอง

ผูใชสามารถเลือกใช คาสมดุลยแสงสีขาว White balance จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu


และปรับแตงคา WB ตามชนิดของหลอดเรืองแสงไดอยางละเอียดอีก 7 ชนิดในรายการคําสั่ง Shooting Menu
หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนคาสมดุลยแสงสีขาว WB ไดเชนกัน
การตั้งคาความไวแสง Sensitivity หรือ ISO
กลองดิจิตอลจะใชความไวแสง เทียบเทาเหมือนกับการใชคา ISO ของระบบฟลมถายภาพ
ความไวแสงที่สูงมากขึ้น ก็สามารถถายภาพในสภาพแสงนอยๆได ดวยความเร็วชัตเตอรที่สูงขึ้น
หรือ ใชคารูรับแสงเล็กลงไดดีขึ้น
กลอง D60 จะตั้งความไวแสงไดตั้งแต 100 ถึง 1600 และคาความไวแสงที่สูงกวา 1600 คือ Hi 1
(เทียบเทา ISO 3200) โดยตั้งไดทีละ 1 EV (หรือ 1 สตอป)
เมื่อผูใชกลองใหใชคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto ISO) กลองจะปรับคาความไวแสงเพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มี
แสงถายภาพนอย เพื่อชวยเพิ่มความเร็วชัตเตอร และลดความไหวสะเทือนจากมือที่ถือกลอง

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อตั้งคาความไวแสง ISO ไดโดยตรงดังนี้

โหมดชวยถายภาพ คาความไวแสง ISO ที่เลือกใชได

Auto*, 100 ถึง 1600 และ Hi 1

100* ถึง 1600 และ Hi 1


* Default (คาปริยายที่ตั้งมาจากโรงงาน)

หมายเหตุ:
• Hi 1 (เทียบเทา ISO 3200) จะใหภาพที่ไมละเอียดนักและอาจจะมีจุดสีรบกวน (Noise) ในภาพได

• หากผูใชเปลี่ยนโหมดถายภาพจาก P, S, A, M ไปใชโหมดโปรแกรมดิจิตอล กลองจะเปลี่ยนคา ISO


เปน Auto ใหเองโดยอัตโนมัติ

• ในโหมด P, S, A, M เมื่อผูใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 (ISO auto) ไวที่ On คาความไวแสงจะ


ปรับเปลี่ยนไปโดยอัตโนมัติ แตเมื่อตั้งเปน Hi 1 กลองจะยกเลิกการตั้ง ISO Auto ทันที

• ผูใชสามารถเลือกใช คาความไวแสง ISO จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu


หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนคา ISO ก็ไดเชนกัน
โหมดลั่นชัตเตอรถายภาพเดี่ยว, ถายภาพตอเนื่อง และการนับถอยหลัง Release Mode

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกโหมดการลั่นชัตเตอรถายภาพเดี่ยว, ตอเนื่อง, นับถอยหลัง,


หรือ ใชรีโมทลั่นชัตเตอร ไดโดยตรงดังนี้
Single Frame โหมดถายภาพเดี่ยวทีละภาพ
กลองจะลั่นชัตเตอร ถายภาพ 1 ภาพตอการกดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง

Continuous (Burst) โหมดถายภาพตอเนื่อง


กลองจะลั่นชัตเตอร ถายภาพตอเนื่องที่ความเร็วประมาณ 3 ภาพตอวินาที* เมื่อกดปุมชัตเตอรแชคาไว

Self-timer นับถอยหลัง 10 วินาที


กลองนับถอยหลัง 10 วินาที หรือตามเวลาที่ตั้งกําหนดไว แลวจึงลั่นชัตเตอรถายภาพ ใชสําหรับการถายภาพ
ตัวเองหรือภาพ หรือ ใชลดอาการเบลอจากความสั่นสะเทือนที่เกิดจากการกดปุมชัตเตอร

Delayed Remote รีโมทหนวงเวลา


ใชกับรีโมทแบบ ML-L3 โดยทันทีที่กดปุมรีโมท กลองจะปรับโฟกัส แลวหนวงเวลานาน 2 วินาทีกอนที่จะลั่นชัต
เตอรถายภาพ เพื่อใหผูใชมีเวลาตั้งทา หรือ ใชลดอาการเบลอจากความสั่นสะเทือนที่เกิดจากการกดปุมชัตเตอร

Quick Response Remote รีโมทฉับพลัน


ใชกับรีโมทแบบ ML-L3 โดยกลองจะปรับโฟกัสแลวลั่นชัตเตอรถายภาพในทันทีทันทีที่กดปุมรีโมท

หมายเหตุ:
• ความเร็วถายภาพสูงสุดที่ 3 วินาทีตอภาพ เมื่อใชโหมด S หรือ M ตั้งที่ความเร็วชัตเตอร 1/250 วินาที
• ผูใชสามารถเลือกใช โหมดการลั่นชัตเตอร จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu
หรือตั้งใหใชคําสั่งจากปุมฟงคชั่น และแหวนควบคุมเพื่อเปลี่ยนโหมดลั่นชัตเตอรก็ไดเชนกัน
Default (คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน)

กลอง D60 ถูกตั้งมาจากโรงงานใหปุมฟงคชั่น


และแหวนควบคุม เพื่อใชเปลี่ยนโหมด
ลั่นชัตเตอร

• หากตองใชแสงแฟลชชวยในการถายภาพ กลองจะยกเลิกการใชงานโหมดลั่นชัตเตอรถายภาพตอเนื่อง
Continuous แมวาจะตั้งโหมดนี้ไวกอนแลวก็ตาม
• ในโหมดถายภาพแบบตอเนื่อง กลองจะแสดงจํานวนภาพที่จะเก็บไวในหนวยความจําชั่วคราวสูงสุดที่
100 และจะคอยๆลดลงเมื่อใชถายภาพตอเนื่อง
• จํานวนภาพที่จะถายตอเนื่องเก็บไวได จะขึ้นอยูกบ
ั ขนาดไฟลภาพ และจะแสดงในชองมองภาพ
เชน r11 = ถายตอเนื่องไดทั้งหมด 11 ภาพในขณะนั้น
วิธีการใชโหมดการนับถอยหลัง (Self timer) และรีโมท (Remote) ลั่นชัตเตอร

1. จัดยึดกลองบนขาตั้งกลอง บนพื้นเรียบๆและวางใหไดระดับ

2. ใชคําสั่งเฉพาะรายการที่ 11 หรือ ปุมฟงคชั่น ตั้งโหมดลั่นชัตเตอรตามที่ตองการ


โหมดลั่นชัตเตอร คําอธิบายการใชงาน
Self-timer กลองกลองจะปรับโฟกัส แลวนับถอยหลัง แลวจึง
นับถอยหลัง ลั่นชัตเตอรถายภาพ (ตั้งเวลานับถอยหลังได)
Delayed Remote ทันทีที่กดปุมรีโมท กลองจะปรับโฟกัส แลวหนวง
รีโมทหนวงเวลา เวลานาน 2 วินาทีกอนที่จะลั่นชัตเตอรถายภาพ
Quick Response กลองจะปรับโฟกัสแลวลั่นชัตเตอรถายภาพในทันที
Remote รีโมทฉับพลัน ทันทีที่กดปุมรีโมท

3. จัดองคประกอบภาพ, ปรับโฟกัสโดยการแตะ
ปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง

4.
เมื่อใชโหมดการนับถอยหลัง กดปุม  ชัตเตอร
ลงไปจนสุดทาง กลองจะเริ่มนับถอยหลัง 10
วินาที
โดยที่ไฟนับถอยหลังจะกระพริบสวาง แลวหยุด
กระพริบที่ 2 วินาทีกอนที่กลองจะลั่นชัตเตอร
ถายภาพ

เมื่อใชรีโมท ที่ระยะไมเกิน 5 เมตร เล็งเครื่องสง


ML-L3 ไปที่หนาตางชองรับสัญญาณบนกลอง
กดปุมชัตเตอรที่ตัวรีโมท

• ในแบบรีโมท หนวงเวลา (Delayed


Remote) ไฟนับถอยหลังจะติดสวาง 2
วินาที กอนกลองจะลั่นชัตเตอร
• ในแบบรีโมทฉับพลัน (Quick Response
Remote) ไฟนับถอยหลังจะติดสวางทันที
แสดงวากลองลั่นชัตเตอรถายภาพไดแลว

หมายเหตุ:
เพื่อปองกันแสงจากดานหลังรบกวนการทํางาน
ของระบบวัดแสงในกลอง ผูใชควรใชฝาปดชอง
มองภาพ DK-5 ปดที่ชองมองภาพเพื่อปองกัน
แสงดานหลังรั่วเขาไปในกลอง

หมายเหตุ: ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 17 (Remote duration) ตั้งเวลาการทํางานของรีโมทลั่นชัตเตอร


ระบบการหาโฟกัส Focus Mode

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกระบบหาโฟกัสอัตโนมัติ AF-Auto Focus หรือ เลือกการหา


โฟกัสดวยตัวผูใชเอง (MF-Manual Focus)
ผูใชจะเลือกใชระบบหาโฟกัสแบบ AF-S แล AF-C ไดเฉพาะในโหมดถายภาพ P, S, A, M เทานั้น

AF-A Auto-servo AF * ระบบหาโฟกัสอัตโนมัติ


กลองจะเลือกใชระบบหาโฟกัสแบบเดี่ยวทีละภาพ Single-servo AF หากตรวจดูแลววาวัตถุนั้นอยูนิ่งๆ และ
จะปรับเปลี่ยนไปใชระบบหาโฟกัสแบบตอเนื่อง Continuous-servo AF เมื่อตรวจพบวามีการเคลื่อนไหวในภาพ

AF-S Single-servo AF ระบบหาโฟกัสแบบเดี่ยวทีละภาพ


สําหรับใชถายภาพที่วัตถุอยูนิ่ง เมื่อแตะกดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง กลองจะหาระยะและล็อคโฟกัส

AF-C Continuous-servo AF ระบบหาโฟกัสแบบตอเนื่อง


สําหรับถายภาพที่มีการเคลื่อนไหว กลองจะปรับหาโฟกัสเองตลอดเวลาที่กดแตะปุมชัตเตอรครึ่งทางแชคาไว

MF Manual Focus แมนนวลโฟกัส


ผูใชปรับหาโฟกัสดวยตัวเอง

ในโหมดหาโฟกัสแบบตอเนื่อง Continuous-servo AF รวมทั้งในขณะที่กลองเปลี่ยนโหมดการหาโฟกัส


จากโหมด AF-S ไปเปน AF-C ผูใชจะสามารถกดปุม
 ลั่นชัตเตอรถายภาพไดแมวากลองจะยังหาโฟกัสไมไดก็ตาม

ในโหมด MF Manual Focus แมนนวลโฟกัส ที่ผูใชปรับหาโฟกัสเอาเอง กลองจะไมหาโฟกัสให แมวาผูใชจะ


เปลี่ยนโหมดถายภาพ P, S, A, M หรือเปลี่ยนไปใช โหมดถายภาพดิจิตอลแบบใดๆก็ตาม
ผูใชตองเปลี่ยนกลับมาที่ AF เทานั้น กลองจึงจะใชระบบหาโฟกัสอัตโนมัติใหอีกครั้ง

ไฟสองชวยหาโฟกัส
ถาในขณะที่ถายภาพ สภาพแสงมีนอยเกินไป กลองจะเปดไฟสองชวยหา
โฟกัสใหเอง เมื่อกดปุมชัตเตอรครึ่งทาง

แตไฟชวยโฟกัสนี้จะไมติดสวางหากใชโหมดชวยถายภาพ
หรือโหมดหาโฟกัสแบบตอเนื่อง AF-C Continuous-servo AF
หรือ เมื่อใชคําสั่งเฉพาะที่ 9 สั่งปด Off เอาไว
ไฟชวยโฟกัสจะมีระยะสองสวางประมาณ 0.5-3.0 ม. และใชไดกับเลนส 24-200มม. ที่ไมไดใสฮูดบังแสง

• ผูใชสามารถเลือกโหมดการหาโฟกัส จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน

ในบางกรณี ไฟสองชวยหาโฟกัสอาจจะใชงานไมไดเนื่องจาก
1. ใชติดตอกันบอยครั้ง จนหลอดไฟรอนเกินไป ทําใหปดการทํางานชั่วคราว
2. เลนสที่ใชมีขนาดใหญเกินไป จนบังแสงสองโฟกัส ตามที่แสดงขางลางนี้
• AF-S VR 200 มม. f/2G • AF-S VR 200–400 มม. f/4G ED • AF Micro 200 มม. f/4D ED
• AF-S VR 24–120 มม. f/3.5–5.6G ED • AF Micro 70–180 มม. f/4.5–5.6D ED
• AF-S 17–35 มม. f/2.8D • AF-S 17–55 มม. f/2.8G • AF-S 24–70 มม. f/2.8G
• AF-S 28–70 มม. f/2.8D ED • AF-S DX VR 55–200 มม. f/4–5.6G ED
• AF-S VR 70–200 มม. f/2.8G ED • AF-S 80–200 มม. f/2.8D
• AF 80–200 มม. f/2.8D ED • AF-S VR 70–300 มม. f/4.5–5.6G
• AF-S NIKKOR 14–24 มม. f/2.8G ED
• AF VR 80–400 มม. f/4.5–5.6D ED
โหมดเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ AF-Area Mode

กลอง D60 มีกรอบหาโฟกัสทั้งหมด 3 กรอบ วางอยูในตําแหนงตางๆในภาพใหเลือกใชไดวาจะใช


กรอบอันไหนสําหรับการหาโฟกัส กลองจะถูกตั้งมาจากโรงงานใหเลือกใชกรอบโฟกัสเองโดยอัตโนมัติ
หรือใชกรอบโฟกัสที่ตรงกลางของภาพ
ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกโหมดเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติโดยตรงได

โฟกัสที่จุดใกลที่สุด Closest Subject


กลองจะเลือกใชกรอบหาโฟกัส และปรับโฟกัสไปที่วัตถุที่อยูใกลกลองมากที่สุดกอนเสมอ
กลองจะเลือกการโฟกัสแบบนี้สําหรับใชกับโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล เสมอ
และเปนคาที่ถูกตั้งมาจากโรงาน (Default) ใหผูใชปรับเปลี่ยนไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M

กรอบโฟกัสแบบติดตามการเคลื่อนที่ Dynamic Area


หากตัวแบบเคลื่อนที่ออกจากกรอบโฟกัสที่ผูใชเลือก กลองจะหาระยะโฟกัสโดยใชขอมูลกรอบโฟกัสที่เหลือ
กลองจะพยายามเปลี่ยนโฟกัสไปตามทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวแบบในชองมองภาพ
ระบบนี้เหมาะกับวัตถุที่ ไมคอยอยูนิ่ง หรือมีการเคลื่อนไหว
กลองจะเลือกวิธีนี้สําหรับโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอลกีฬา เสมอ

กรอบโฟกัสเฉพาะจุด Single Point


ผูใชจะเปนผูเลือกกรอบโฟกัสที่จะใหกลองเริ่มตนหาโฟกัส กลองจะหาระยะโฟกัสเฉพาะจุดที่กรอบที่ผูใชเลือก
ใหเทานั้น ระบบนี้เหมาะจะใชกับวัตถุที่อยูนิ่ง ไมมีการเคลื่อนไหว
กลองจะเลือกวิธีนี้สําหรับโหมดชวยถายภาพดิจิตอลระยะใกลชิด เสมอ

กรอบโฟกัสที่ถูกเลือกใชจะถูกแสดงใหเห็นในชองมองภาพ

• ผูใชสามารถเลือกเปลี่ยนโหมดเลือกกรอบโฟกัส จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน


การเลือกใช กรอบหาโฟกัส
ทางโรงงานไดตั้งมาใหกลองใชกรอบหาโฟกัสแบบอัตโนมัติ หรือ ใหใชกรอบกลางกอน
แตผูใชสามารถเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งจากทั้ง 3 ที่แสดงในชองมองภาพไดโดยการใชแปนกด 4 ทิศ
เพื่อใชในการจัดองคประกอบภาพที่ตัวแบบอยูเยื้องไปทางซายหรือขวาของภาพอยางที่ตองการได

วิธีการเลือกใชกรอบโฟกัส

1.
เปดหนา Quick settings display เพือ
่ เลือกโหมดเลือกกรอบ
หาโฟกัสอัตโนมัติโดยตรง

2.
หากผูใชตองการเลือกกรอบโฟกัสเอง ใหเปลี่ยนไปใชระบบ
หาโฟกัสแบบเฉพาะที่ Single point หรือ แบบติดตาม
Dynamic Area เชนในภาพ

ในโหมดชวยถายภาพ
ทางโรงงานไดตั้งกลองใหโฟกัสที่วัตถุที่อยูใกลกลองที่สุด
(Closest subject) ไวกอนเสมอ

3.
กดแปน 4 ทิศ ซาย -ขวา เพื่อเลือก กรอบหาโฟกัสที่ตองการ
กรอบหาโฟกัสที่ถูกเลือกใช จะติดสวางในชองมองภาพ

กรอบหาโฟกัสที่ถูกเลือกใช จะแสดงในจอ LCD ดวย


และแสดงที่แถบแสดงขอมูลในชองมองภาพดวยเชนกัน
การล็อคจุดโฟกัส Focus Lock
การล็อคโฟกัส ใชสําหรับชวยจัดภาพ หลังจากที่วางจุดโฟกัสที่ตัวแบบ หรือ ที่จุดสนใจในภาพไวไดแลว
ซึ่งจะชวยทําให การจัดองคประกอบภาพทําไดงายขึ้นแมวา ตัวแบบอาจจะไมไดอยูในกรอบหาโฟกัสทั้ง 3 กรอบ
การล็อคโฟกัสจะทําไดเมื่อโหมดการเลือกกรอบโฟกัสอยูในโหมดหาโฟกัสแบบเฉพาะที่ Single point หรือ
แบบติดตาม Dynamic Area เทานั้น

วิธีการล็อคจุดโฟกัส

1.
จัดภาพคราวๆ ใหตัวแบบหรือวัตถุ อยูใ นกรอบหาโฟกัสอันที่
เลือกไวแลว กดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง เพื่อใหกลองหา
ระยะโฟกัสเมื่อกลองหาโฟกัสไวไดแลว ก็จะแสดงไฟยืนยัน
การโฟกัส ที่มุมซายดานลางของแถบแสดงขอมูลในชอง
มองภาพ

2.
จัดองคประกอบภาพใหม โดยที่ยังคงแตะกดปุมชัตเตอรคาไว
เมื่อจัดภาพใหมไดแลว กดปุมชัตเตอรลงไปจนสุดเพื่อลั่นชัต
เตอรถายภาพได

เมื่อทําการล็อคโฟกัสไวแลว ขณธทีจ
่ ัดภาพใหม ก็ควรจะ
รักษาระยะหางระหวางกลองและตัวแบบที่โฟกัสไวกอนแลว
ใหเทาเดิมเสมอ

การใชปุม สําหรับใชล็อคโฟกัส

ปุม สามารถใชกดล็อคโฟกัสแทนการกดปุมชัตเตอรคา
แชไวครึ่งทางได

กดปุม แชไวจากนั้นก็กดแตะปุมชัตเตอรเบาใหกลอง
ทํางาน
กลองจะล็อคโฟกัสไว นานเทาที่กดปุม นี้แชไว แมวาจะ
ปลอยนิ้วจากปุมชัตเตอรแลวก็ตาม

หมายเหตุ:
• ปุมชัตเตอจะใชล็อคโฟกัสไมได ในกรณีที่ใชโหมดโปรแกรมชวยถายภาพกีฬา
และ เมื่อใชโหมดหาโฟกัสอัตโนมัติแบบตอเนื่อง (AF-C) หรือ เมื่อใชโหมดถายภาพแบบตอเนื่อง
ทั้ง 3 กรณีนี้ใหใชปุม สําหรับใชล็อคโฟกัสแทน
• เมื่อใชการล็อคโฟกัสดวยปุม กลองจะล็อคระยะโฟกัสไว ผูใชสามารถปลอยและกดปุมชัตเตอรถายภาพ-
-กี่ภาพก็ได
• ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 (AE-L/AF-L) สําหรับกําหนดหนาที่การทํางานของปุม
การใชแมนนวลโฟกัส MF Manual Focus
เมื่อผูใชตองการปรับหาโฟกัสดวยตัวเอง หรือในบางกรณีที่กลองไมสามารถตรวจจับหาโฟกัสได
หรือ เลือกใชเพื่อปรับแตงโฟกัส หรือ เมื่อใชเลนสที่ไมมีมอเตอรในตัวเพื่อหมุนหาโฟกัส

ในหนา Quick settings display ตั้งเลือกโฟกัส ไปที่ MF เพื่อโฟกัสดวยตัวผูใชเอง (MF-Manual Focus)

ผูใชหมุนแหวนหาโฟกัสที่อยูบนเลนสดวยตัวเอง พรอมกับตรวจดู
ความคมชัดในชองมองภาพ

ปุมชัตเตอรจะสามารถกดใชงานถายภาพไดตลอดเวลา

หากใชเลนสที่มีสวิทชแบบ A-M ใหตั้งไปที่ M และเลนสแบบที่มี


สวิทช M/A ผูใชสามารถเลือกไดวาจะตั้งไปที่ M/A หรือ M ไดทั้งคู

สัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส
เมื่อใชระบบหาโฟกัสดวยตัวผูใชเอง กับเลนสที่มีคารูรับแสงกวาง
สุดอยางนอย f/5.6
ผูใชสามารถใชสัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส ทีอ ่ ยูในชอง
มองภาพชวยในการปรับหาโฟกัสได
โดยปรับโฟกัสที่เลนส พรอมกับแตะกดปุมชัตเตอรครึ่งทางเบาๆ
เมื่อไดปรับเลนสจนไดระยะโฟกัสสัญญาณไฟยืนยันการโฟกัส ที่
มุมซายดานลางของแถบแสดงขอมูลในชองมองภาพ จะติดสวา ง
บอกวาผูใชปรับโฟกัสไดแลว

หมายเหตุ:
ใชตั้งคารายการคําสั่งเฉพาะที่ 19 (Range Finder) สําหรับชวยในการปรับโฟกัสดวยมือ
เครื่องหมายบอกแนวระนาบโฟกัส Focus Plane Position
สําหรับใชประกอบการคํานวนระยะทางระหวางวัตถุที่ถายภาพกับแนวระนาบของ CCD
ระยะหางระหวางเครื่องหมายแนวระนาบ ถึงระนาบหนา
แปลนกลอง (ชองใสเลนส) จะยาว 46.5 มม.
ระบบวัดแสง Exposure Metering
กลองจะใชเครื่องวัดแสงภายในกลอง เพื่อตั้งความเร็วชัตเตอรและขนาดรูรับแสงที่เหมาะสมสําหรับทําการถาย
บันทึกภาพ ในโหมดชวยถายภาพแบบดิจิตอล กลองจะถูกตั้งมาจาก
โรงงานใหใชระบบวัดแสงแบบมาตริกซ Matrix เทานั้น แตในโหมดชวยถายภาพแบบ P. S, A หรือ M
ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อเลือกใชระบบวัดแสงแบบอื่นได

วัดแสงแบบมาตริกซ (Matrix)
ใชสําหรับการถายภาพทั่วๆไป กลองจะวัดแสงแบบมาตริกซ (เฉลี่ยทั่วทั้งกรอบภาพ) แลวประเมินคาแสงจาก
ความสวาง, สี, ระยะหางจากกลอง, และการจัดองคประกอบภาพ เพื่อคํานวนคาแสงใหภาพดูเปนธรรมชาติ

วัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลาง (Center Weighted 75/25)


ใชสําหรับการถายภาพบุคคล (Portrait) โดยกลองจะใหนําหนักเนนวัดแสงบริเวณตรงกลางกรอบภาพ

วัดแสงแบบแบบเฉพาะจุด (Spot)
กลองจะวัดแสงตรงเฉพาะจุดที่ตรงกลางพื้นที่กรอบโฟกัสที่เลือกใช (หากตั้งกลองใหใชโหมดหาโฟกัสกับวัตถุที่
ใกลที่สุดกอน -Closest subject กลองจะวัดแสงตรงที่กรอบหาโฟกัสอันกลางเทานั้น)
การวัดแสงแบบนี้เหมาะสําหรับการถายภาพที่ตัวแบบ ที่มีฉากหลังที่สวางมากหรือมืดมากกวาปกติ

ระบบวัดแสงแบบมาตริกซ 3D color Matrix ใชตัววัดแสงและสี RGB แบบ 420 พิกเซล วัดแสงจากพื้นที่ใน


ภาพทั้งหมดที่เห็นในชองมองภาพ ไมวาจะที่สวาง หรือ ที่มืด เทาที่สายตามองเห็น รวมทั้งใชระยะถายภาพ
ประกอบการวัดแสงดวย (ระบบ 3D matrix metering นี้จะใชไดเฉพาะในเลนสแบบ G หรือ D เทานั้น)

ผูใชสามารถเลือกเปลี่ยนโหมดเลือก ระบบวัดแสง จากชุดรายการคําสั่งเฉพาะ Custom Menu ก็ไดเชนกัน


การล็อคคาแสงอัตโนมัติ (AE-Auto exposure Lock)
ในกรณีที่ใชระบบวัดแสงแบบ เฉลี่ยหนักกลาง หรือ เฉพาะจุด บางครั้งตัวแบบไมอยูในบริเวณที่กลองวัดแสง
ซึ่งอาจจะทําใหกลองวัดคาแสงในภาพผิดพลาดได จึงแนะนําใหการล็อคคาวัดแสง กอนทําการถายภาพ
การล็อคคาแสงจะใชไดกับโหมดชวยถายภาพ P, S, และ A เทานั้น
1.
ในหนา Quick settings display ตั้ง ระบบวัดแสง แบบเฉลี่ยหนักกลาง หรือ แบบแบบเฉพาะจุด
และไมแนะนําใหใชการล็อคคาแสงในโหมดวัดแสง แบบมาตริกซ (Matrix) เพราะอาจจะไดคาแสงที่
ผิดพลาดได
2.
จัดภาพคราวๆใหตัวแบบอยูในบริเวณที่โฟกัส (กรอบโฟกัสที่เลือกใช)
กดแตะปุมชัตเตอรเบาใหกลองทํางานจากนั้น กดปุม แชไว
กลองจะล็อคคาแสงไว นานเทาที่กดปุม นี้แชไว แมวาจะปลอย
นิ้วจากปุมชัตเตอรแลวก็ตาม

วัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลาง กลองจะวัดที่ตรงบริเวณกลางภาพ
แบบเฉพาะจุด กลองจะวัดที่ตรงกลางกรอบโฟกัสที่เลือกใช

ตรวจดูไฟยืนยันการโฟกัส ที่แถบแสดงในชองมองภาพ
ขณะที่ล็อคคาวัดแสงไว จะมี EL แสดงใหเห็นที่แถบใตชองมองภาพ

3.
กดปุม แชไว จัดองคประกอบภาพใหม ตามที่ตอ
 งการ
กดปุมชัตเตอรลงจนสุดทาง จนลั่นชัตเตอรถายภาพได
เมื่อกลองล็อคคาวัดแสงไวแลว (ขณะที่กดปุม แชไว) ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนโหมดชวยถายภาพ (P, S,
หรือ A) ไดโดยคาแสง EV ที่ถูกล็อคไวแลวจะไมถูกเปลี่ยนแปลงใดๆทั้งสิ้น

โหมดชวยถายภาพ การใชงาน
แบบโปรแกรมอัตโนมัติ ผูใชเลือก คารูรับแสงและคาความเร็วชัตเตอร (จากโปรแกรม P*)
Programmed Auto
แบบความเร็วชัตเตอร ผูใชเลือก คาความเร็วชัตเตอร
Shutter-Priority Auto
แบบคารูรับแสงเอง ผูใชเลือก คารูรับแสง
Aperture-Priority Auto
ผูใชสามารถดูความเร็วชัตเตอร และ คารูรับแสงที่เปลี่ยนแปลงไป ไดจากจอแสดงในชองมองภาพ

อนึ่ง, ผูใชจะไมสามารถเปลี่ยนระบบวัดแสงได ในขณะที่กลองยังล็อคคาแสงอยู (ขณะที่กดปุม แชคาไว)

หมายเหตุ:
• ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 สําหรับตั้งการทํางานของปุม AE-L/AF-L วาจะใหทํางานในลักษณะใด
• ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 13 สําหรับตั้งการทํางานของปุมกดชัตเตอร กับการล็อคคาแสง
การถายภาพดวยแสงแฟลช Flash Photography
กลอง D60 มีแฟลชขนาดไกดนัมเบอร 11/36 (เมตร/ฟุต) ที่ ISO 100
ใชสําหรับถายภาพขณะที่สภาพแวดลอมมีไมเพียงพอตอการถายภาพ, หรือใชแสงแฟลชลบเงาของแสง
แวดลอม, หรือ เมื่อถายภาพยอนแสง (ฉากหลังสวางมากกวาตัวแบบ) รวมทั้งทําใหเกิดแสงสะทอนในดวงตา
ดูดวงตามีประกายสวยงาม
อนึ่ง,แฟลชหัวกลองจะไมทํางานในโหมดถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล

การใชแฟลชหัวกลอง Built-in Flash ในโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล

1. ตั้งโหมดถายภาพโปรแกรมดิจิตอล

2. เลือกโหมดแฟลชที่จะใช หากอยูในที่ๆหามใชแสงแฟลชถายภาพใหเลือก

3. จัดองคประกอบภาพ, ตรวจดูวาตัวแบบอยูในระยะ
สองสวางของแฟลช แตะปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง
ปรับโฟกัส หากแสงแฟลชสวางไมพอ หรือ ถายภาพ
ยอนแสง แฟลชหัวกลองจะยกขึ้นมาใหเองโดย
อัตโนมัติ
กดปุมชัตเตอรลงจนสุดทาง ลั่นชัตเตอรถายภาพได

4. เมื่อไมใชแฟลชแลว กดแฟลชหัวกลองลงจนล็อค กลับเขาที่เดิม

การใชแฟลชหัวกลอง Built-in Flash ในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M

1. ตั้งโหมดชวยถายภาพ P, S, A หรือ M

2. กดปุม แฟลชหัวกลองจะยกขึ้นมาใหเอง

หากไมตองการใชแฟลช ใหกดแฟลชหัวกลองลงจน
ล็อค กลับเขาที่เดิม

3. เลือกโหมดแฟลชที่จะใช หากอยูในที่ๆหามใชแสงแฟลชถายภาพใหเลือก

4. เลือกระบบวัดแสง, ปรับแตงคาชดเชยแสง (หากตองการ), จัดองคประกอบภาพ, ลั่นชัตเตอรได

เมื่อไมใชแฟลชแลว กดแฟลชหัวกลองลง จนล็อคกลับเขาที่เดิม


การทํางานของโหมดแฟลชตางๆ
ผูใชสามารถเลือกใชโหมดแฟลชตางๆได กับโหมดชวยถายภาพอัตโนมัติดังตอไปนี้

สัญลักษณ คําอธิบาย การใชงาน


1. Auto เมื่อกดปุมชัตเตอร หัวแฟลชจะยกขึ้นมาและสองสวางใหเอง เมื่อมีแสงนอย
หรือ มีฉากหลังที่สวางมาก (ถายภาพยอนแสง)
2. Red-Eye ไฟชวยหาโฟกัสจะสวาง 1 วินาที กอนจะยิงแแสงแฟลชหลัก และลั่นชัต
Reduction เตอร เพื่อทําใหมานตาหรี่ลง ลดอาการตาแดงจากแสงสะทอนของแฟลช
3. Slow กลองและแฟลชจะทํางานรวมกัน แบบใชความเร็วชัตเตอรต่ํา (ถึง 30
Sync. วินาที) เพื่อบันทึกทั้งตัวแบบ และ แสงฉากหลังในเวลากลางคืน
4. Rear แฟลชกลองจะรอจนกวามานชัตเตอรเปดนานจนใกลจะปด แลวจึงจะยิงแสง
Curtain แฟลช กอนที่มานชัตเตอรจะปดลง ทําใหเกิดเสนสายลําแสงที่หลังวัตถุใน
Sync. ภาพ สรางความรูสึกการเคลื่อนไหวในภาพ
หากไมมีเครื่องหมายนี้แสดง กลองจะยิงแฟลชพรอมๆกันเปดมานชัตเตอร

การใชปุมแฟลช เพื่อตั้งโหมดแฟลช
ผูใชสามารถเลือกใชโหมดแฟลชโดยการกดปุม
แฟลช พรอมกับหมุนแปนควบคุมหลักไป
ทางซาย หรือ ขวา
ในโหมดชวยถายภาพ P, S. A, M ใหกดปุม
เพื่อยกหัวแฟลช แลวกดปุม อีกครั้งพรอม
กับพรอมกับหมุนแปนควบคุมหลักไปทางซาย
หรือ ขวา เพือ
่ เลือกใชโหมดแฟลชตามที่ โหมดแฟลชจะแสดงใหเห็นในจอ LCD ที่ดานหลังกลอง
ตองการ

หมายเหตุ: ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 10 สําหรับตัง้ คาความไวแสง ISO และความเร็วชัตเตอรต่ําสุดได


ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 สําหรับเลือกโหมด TTL หรือ M ปรับกําลังแสงแฟลชใหเพิ่มหรือลดได
แฟลชในกลอง สามารถใชกับเลนสทุกรุนที่มีชิพ CPU ทุกความยาวโฟกัสตั้งแต 18 ถึง 300 มม.
แตแสงแฟลชจากหัวกลอง อาจจะครอบคลุมไดไมทั่วถึงทุกมุมภาพ เมื่อใชกับเลนสบางรุน หรือเมื่อใชฮูด
แฟลชกลองมีระยะสองสวางของแฟลชต่ําสุดของแฟลชหัวกลอง 0.6 เมตร ดังนั้นจึงไมสามาถใชกับเลนส
ถายภาพระยะใกลๆ (เลนสมาโคร) ได

หากใชแฟลชในโหมดถายภาพตอเนื่อง กลองจะถายภาพใหเพียงภาพเดียวเทานั้นเมื่อกดชัตเตอร
หากใชเลนสแบบลดความไหวสะเทือน (VR) ระบบลดความไหวสะทือนจะไมทํางาน ในระหวางที่แฟลชกําลัง
ชารทหรือรีชารท
หากใชแฟลชหัวกลองถายภาพติดตอกันหลายๆภาพ แฟลชอาจจะปดพักการทํางานชั่วคราว เพื่อชวยลดความ
รอนของหลอดแฟลช

โหมดแฟลชสัมพันธมานชัตเตอร
ตามปกติกลองจะยิงแสงแฟลชทันทีที่เปดมานชัตเตอร (Front curtain sync.)
ทําใหเวลาถายภาพดวยแฟลชปกติในเวลากลางคืนดูไมสมจริง เพราะแสงไฟในภาพจะอยูทางดานหนา

ในโหมดแฟลชสัมพันธมานชัตเตอรชุดหลัง (Rear Curtain sync)


กลองจะเปดมานชัตเตอรกอน แลวรอจนใกลๆจะปดมานชัตเตอรจึงจะยิงแสงแฟลช
ทําใหเวลาถายภาพดวยแฟลชปกติในเวลากลางคืนดูสมจริง โดยมีแสงไฟวิ่งตามหลัง
การชดเชยแสงถายภาพ Exposure Compensation
บางครั้ง การจัดองคประกอบภาพในบางลักษณะแสง ทําใหมีความจําเปนที่จะตองปรับชดเชยใหกับคาแสงที่
กลองวัดได ผูใชสามารถปรับแตงคาชดเชยแสงไดตั้งแต -5 EV (อันเดอร:มืดกวาปรกติ) จนถึง +5 EV (โอ
เวอร:สวางกวาปรกติ) โดยการปรับตั้งไดเปนขั้นๆละ 1/3 สตอป
โดยทั่วไปแลว การปรับชดเชยแสงจะถูกตั้งเปน บวก + ในกรณีที่ตัวแบบ มีลักษณะทีด ่ ูมืดกวาฉากหลัง
และ การปรับชดเชยแสงจะถูกตั้งเปน ลบ - ในกรณีที่ตัวแบบดูสวางกวาฉากหลัง
การชดเชยแสงถายภาพจะใชไดผลที่สุดเมื่อใชกับระบบวัดแสงระบบวัดแสง แบบเฉลี่ยหนักกลาง ( ) หรือ
วัดแสงแบบเฉพาะจุด ( ) และการตั้งคาชดเชยแสงจะทําไดเฉพาะในโหมดชวยถายภาพ P, S, A เทานั้น
และจะไมมีผลใดๆในโหมด M ที่ผูใชตั้งคาแสงถายภาพเอง

ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงได 2 วิธี
1. ใช Quick settings display เพื่อตั้งปรับชดเชยคาแสง
ถายภาพ

คาชดเชยแสงที่ตั้งไวจะแสดงในจอ LCD

2. กดปุม พรอมกับหมุนแหวนควบคุมไปทางซาย (+)


เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อลดคา

ตรวจดูคาชดเชยแสงที่ตั้งไวในจอ LCD หรือในชองมองภาพ

การตั้งคาชดเชยแสงสามารถทําไดในโหมดชวยถายภาพ P,
S, หรือ A เทานั้น

หากผูใชตั้งคาชดเชยแสงไว คาชดเชยแสงที่ตั้งไวจะยังคงอยู
แมวาจะปดสวิทช Off กลองไปแลวก็ตาม
เมื่อตองการยกเลิกการตั้งคาชดเชยแสง ก็ใหตั้งกลับไปที่ 0.0

ภาพตัวอยางการตั้งคาชดเชยแสงถายภาพ
การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลช Flash Compensation
การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลช เพื่อปรับลด - หรือ เพิ่ม + ความสวางของตัวแบบ เมื่อใชแสงแฟลชถายภาพ
เชนปรับลด - เพื่อลดแสงสะทอนจากแฟลช เมื่อใชถายภาพวัตถุที่มีผิวมัน หรือ แวววาว
การปรับตั้งชดเชยแสงแฟลชจะทําไดเฉพาะในโหมด P, S, A, และ M เทานั้น

ผูใชสามารถใช Quick settings display เพื่อตั้งปรับคาชดเชยแสงแฟลชได

แฟลชในตัวกลองสามารถตั้งไดตั้งแต -3 EV ( ใหแสงแฟลชนอยลง ) จนถึง +1 EV (ใหแสงแฟลชมากขึ้น)


โดยปรับตั้งทีละ 1/3 สตอป

หากผูใชตั้งคาชดเชยแสงแฟลชไว คาชดเชยแสงแฟลชที่ตั้งไวจะยังคงอยู แมวาจะปดสวิทช Off กลองไปแลวก็


ตาม
เมื่อตองการยกเลิกการตั้งคาชดเชยแสงแฟลช ก็ใหตั้งกลับไปที่ 0.0

ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงแฟลชกับแฟลชภายนอกกลอง SB-400, SB-600, SB-800 หรือ SU-800 ได


เชนกัน

การตั้งคาชดเชยแสงแฟลช

การตั้งคาชดเชยแสงสามารถทําไดในโหมดชวย
ถายภาพ P, S, A และ M เทานั้น

กดปุม และ และ พรอมกับหมุนแหวน


ควบคุมไปทางซาย (+) เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อ
ลดคา

คาชดเชยแสงแฟลชหัวกลองสามารถตั้งไดตั้งแต -3
EV ( ใหแสงแฟลชนอยลง ) จนถึง +1 EV (ใหแสง
แฟลชมากขึ้น) โดยปรับตั้งทีละ 1/3 สตอป

ตรวจดูคาชดเชยแสงแฟลชที่ตั้งไวไดในชองมองภาพ
ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting

เมื่อผูใชเปดใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting กอนที่จะถายภาพ กลองจะชวยปรับ


คาชดเชยแสงเพิ่มความสวางในภาพใหโดยอัตโนมัติ เพื่อชวยรักษารายละเอียดทั้งในพื้นที่สวนที่สวาง
(highlight) และบริเวณในสวนเงามืด (shadow) ในภาพ ทําใหไดภาพที่มีคอนทราสดูเปนธรรมชาติ
ใชสําหรับถายภาพที่มีคอนทราสสูง เชนการถายภาพจากหนาตางหอง เพื่อถายภาพวิวทิวทัศนที่มี-
-ความสวางมาก หรือ เมือ ่ ตัวแบบอยูในรมเงาแตมีแสงแดดจัดภายนอกชายคา

ภาพตัวอยางระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting

การทํางานระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting


• เมื่อเปดใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting กลองจะประเมินสวนตางๆในภาพ
แลวจะจัดการภาพโดยการ ปรับลดคาแสงสําหรับถายภาพ, จากนั้นก็จะปรับแตงในสวนสวาง (highlights)
และสวนมิดโทน (mid tones) กอนที่จะทําการบันทึกภาพเพื่อใหไดความสวางในภาพที่พอเหมาะพอดี
• ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting จะใชเวลาในการบันทึกไฟลภาพยาวนานกวาปกติ
• เมื่อใชระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting รวมกับ โหมดชวยถายภาพ P, S, A หรือ M ควรจะ
ระบบวัดแสงแบบมาตริกซ แบบมาตริกซ (Matrix) เทานั้น
• ระบบชวยปรับความสวางในภาพ Active D-Lighting ตางกับระบบเพิ่มแสงในภาพ D-Lighting ตรงที่
Active D-Lighting จะเปนการปรับคาแสง กอนที่จะถายภาพ สวนระบบ D-Lighting จะปรับหลังจากที่ถายภาพ
ไปแลว เพื่อปรับปรุงชวง Dynamic range

การเรียกใชงาน Active D-Lighting

กดปุม พรอมกับหมุนแหวนควบคุมไปทางซาย
(+) เพื่อเพิ่มคา หรือ ขวา (-) เพื่อลดคา

ตรวจดูวา Active D-Lighting ปด-เปด ไวไดในชอง


มองภาพ

• ผูใชสามารถเรียกใช Active D-Lighting จากชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu ก็ไดเชนกัน


การรีเซ็ทคําสั่งตางๆทีใ่ ชกับกลองอยางรวดเร็ว Two Buttons Reset

เมื่อกดปุม และปุม พรอมๆกันแชไวนานกวา


2 วินาที จะเปนการรีเซ็ท (Reset) คําสั่งตางๆภายใน
กลอง ใหกลับไปใชคําสั่งเดิมตามที่ถูกตั้งมาจาก
โรงงาน (แตจะไมมีผลกับคําสั่งตางๆในชุดรายการ
คําสั่งเฉพาะตัว (Custom menu) ของผูใช)

ปุม และปุม ทั้ง 2 ปุมนี้จะมีจุดสีเขียวแตมไวขางๆ ใหเปนที่สังเกตุไดงาย

คําสั่งที่ถูกรีเซ็ท คาที่ตั้งจากโรงงาน คําสั่งที่ถูกรีเซ็ท คาที่ตั้งจากโรงงาน


(Default) (Default)
Image quality JPEG normal Metering Matrix
ชนิดของไฟลภาพ ไฟล JPEG มาตรฐาน ระบบวัดแสง แบบมาตริกซ
Image size Large โหมดแฟลช Flash mode
ขนาดของกรอบภาพ 3872 x 2592 โหมดถายภาพ Auto
White balance Auto แฟลชอัตโนมัติ
คาสมดุลยสีขาว อัตโนมัติ โหมดถายภาพ Auto slow sync
คาความไวแสง ISO sensitivity แฟลชอัตโนมัติ
โหมดถายภาพ ความเร็วชัตเตอรต่ํา
ISO Auto โหมดถายภาพ Fill flash
ISO อัตโนมัติ แฟลช ลบเงา
ISO 100 Exposure compensation 0.0
Release mode Single frame คาชดเชยแสงถายภาพ
โหมดลั่นชัตเตอร ถายเดี่ยวทีละภาพ Flash compensation 0.0
Focus mode AF-A คาชดเชยแสงแฟลช
โหมดหาโฟกัส หาโฟกัสอัตโนมัติ Active D-Lighting Off
ระบบเลือกโฟกัส AF Area mode ระบบเพิ่มความสวางในภาพ ปด ไมใชงาน
โหมดถายภาพ Closest subject Flexible program (P*) Off
โฟกัสที่วัตถุที่ใกล โหมดโปรแกรมชวย ปด ไมใชงาน
ที่สุดกอนเสมอ ถายภาพแบบอัตโนมัติ
(P*)
โหมดถายภาพ Dynamic area
โฟกัสแบบติดตาม
โหมดถายภาพ Single point
โฟกัสแบบคงอยูกับที่

Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
การใชปุมคําสั่งเรียกดูภาพ (Playback)

ในตอนนี้จะเปนการอธิบายการเรียกดูภาพที่บันทึกไวในการดความจํา และการล็อคไฟลภาพ เพื่อปองกับการลบ


ไฟลภาพทิ้งโดยไมไดตั้งใจ

นอกจากเรียกดูภาพแลว ผูใชยังสามารถใชคําสั่งตัดแตงภาพ จาก ชุดรายการคําสั่งแตงภาพ (Retouch menu)


รวมทั้งการนําไฟลภาพมาติดตอกัน เพื่อใหแสดงไฟลภาพชุดนั้นในรูปแบบเปนหนังสั้นๆไดดวย
การเรียกดูภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา

กดปุม เพื่อเรียกดูภาพที่เพิ่งถายไปลาสุด ใหแสดงบนจอ


LCD หากภาพใดที่ถูกถายในแนวตั้ง ภาพที่แสดงก็จะแสดงใน
แนวตั้งดวย ตามตัวอยางภาพดานขวามือ

คําสั่งที่ใชสําหรับแสดงภาพถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้
คําสั่ง ปุมที่ใชสั่งงาน คําอธิบาย
เรียกดูภาพอื่นๆที่บันทึกไว กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา หรือ หมุนแหวน
ควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลองแสดง
ภาพที่บันทึกไวมนการด
ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้
ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

เรียกดูขอมูลภาพที่กําลังแสดง กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง (เลือกดูขอมูลของ


ภาพถายที่แสดง)

ซูมขยายภาพที่กําลังแสดง กดปุมแวนขยาย เพื่อซูมขยายดูรายละเอียดใน


ภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น
ลบไฟลภาพทิ้ง กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางให
ยืนยันวาตองการลบภาพที่แสดงนั้นทิ้งไป
กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ
ลบภาพที่บันทึกไวทิ้งไป หากไมแนใจ หรือยัง
ไมตองการลบภาพทิ้งใหกดปุมอื่นๆปุมใดก็ได
เพื่อยกเลิกการลบไฟลภาพนั้น
ใสคําสั่งไมใหลบภาพ กดปุม เพื่อปองกันไมใหมีการลบภาพที่
กําลังแสดงนั้นทิ้งไปโดยการกดปุม
ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถ
ลบไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได
เรียกดูภาพแบบเปนกลุมภาพ กดปุมตาราง เพื่อใหกลองแสดงภาพเปนแบบ
กลุมภาพ (Thumbnail)

แสดงรายการคําสั่งแตงภาพ กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อยกเลิก


การแสดงภาพ และเรียกดูรายการคําสั่งสําหรับ
ใชตัดแตง Retouch ภาพที่กําลังแสดงอยูนั้น
กลับไปใชงาน กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ
พรอมถายภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ
และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu


หมายเหตุ:
• ใชรายการคําสั่ง Auto Image Rotation ในชุดรายการคําสั่ง ใน Set up menu สําหรับสั่งใหกลองแสดงภาพใน
แนวตั้งเอง และคําสั่งกลับภาพ Rotate tall ใน Playback menu สําหรับกลับภาพแนวตั้ง
• ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 07 สําหรับตั้งใหกลองแสดงภาพถายทันทีหลังจากกดชัตเตอร
• ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 15 สําหรับตั้งเวลาใหกลองปดการทํางานภายใน 2, 5, 10 หรือ 20 วินาที
ขอมูลการถายภาพ
ผูใชสามารถเรียกดูขอมูลภาพถายของภาพที่กําลังแสดงโดยการกดแปน 4 ทิศ บน-ลาง ไดเปนลําดับดังนี้

ขอมูลไฟลภาพ File Information

1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) ในกลองแลว


2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันการถูกลบทิ้ง (Protect)
3. แสดง หมายเลขภาพ/จํานวนภาพทั้งหมดที่มีในการด
4. แสดง ชื่อโฟรเดอร
5. แสดง ชื่อไฟลภาพ
6. แสดง ชนิดของไฟลภาพนั้น Image quality
7. แสดง วันที่ที่ถายภาพนั้น
8. แสดงเวลาที่ถายภาพนั้น
9. แสดงขนาดของกรอบภาพ Image size

ขอมูลการถายภาพ หนาที่ 1

1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) ในกลองแลว


2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันการถูกลบทิ้ง (Protect)
3. แสดง รุนของกลองที่ถายภาพ
4. แสดง ระบบวัดแสงที่ใชถายภาพนั้น (Metering)
5. แสดง คาความเร็วชัตเตอร (Shutter speed)
6. แสดง คารูรับแสง (Aperture)
7. แสดง โหมดถายภาพ (P, S, A, M) mode
8. แสดง คาชดเชยแสงถายภาพที่ใช (Exposure
compensation)
9. แสดง คาทางยาวโฟกัสที่ใช (Focal length)
10. แสดง โหมดแฟลชที่ใช (Flash mode)
11. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด-
-ที่มีในการด
ขอมูลการถายภาพ หนาที่ 2

1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว


2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect)
3. แสดง คารูปแบบการปรับแตงภาพที่ใช (Image
optimization)
4. แสดง คาความไวแสงที่ใช (ISO sensitivity)
5. แสดง คาสมดุลยสีขาว (White balance)
และคาปรับแตงที่ใช (white balance fine tuning)
6. แสดง ขนาดภาพและชนิดของไฟลภาพ (Image
- size/image quality)
7. แสดงคาโทนความสวางที่ใช (Tone
compensation)
8. แสดง คาปรับแตงความคมชัดที่ใช (Sharpening)
9. แสดง คาโหมดสี/โทนสี Hue ที่ใช (Color
mode/hue)
10. แสดง คาปรับแตงความอิ่มเขมของสี (Saturation)
11. แสดง ขอความกํากับภาพ (Image comment)
12. แสดง หมายเลขภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด
-ที่มีในการด

หมายเหตุ:
1. หากผูใชตั้งคาความไวแสงไวที่ ISO Auto กลองจะแสดงคา ISO ที่ใชดวยตัวเลข ISO สีแดง
2. ผูใชสามารถใสขอความกํากับประจําภาพไดไมเกิน 36 ตัวอักษร แตจะแสดงไดเพียง 15 ตัวแรกเทานั้น

บันทึกการตัดแตงภาพ และ ระบบ Active D-Lighting

1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว


2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect)
3. แสดง สถานะวาไดใชระบบเพิ่มความสวางในภาพ
(Active D-Lighting) *
4. แสดง รายการประวัตวิ าภาพไดถูกตัดแตงดวยคําสั่ง
แตงภาพ (Retouch) ใดมาแลว (เริ่มจากแถวบน
ลงลาง)
5. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด
ที่มีในการด

* กลองจะแสดง “AUTO” หากผูใชไดเปดใชระบบเพิ่มความสวางในภาพ (Active D-Lighting) ในการ


ถายภาพนั้น
บริเวณที่สวางเกินไปในภาพ Highlights

บริเวณที่สวางเกินไปในภาพ Highlight จะกระพริบเตือนวาบริเวณนั้นสวางเกินกวากลองจะบันทึกภาพได


ผูใชอาจจะดูการกระพริบเตือนนี้ เพื่อปรับแตงลดคาแสงถายภาพใหเหมาะสมในการภาพตอไป

1. แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว


2. แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect)
3. กระพริบแสดงพืน
้ ที่ในภาพที่สวางโอเวอรเกินไป
(Highlights)
4. แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด
ที่มีในการด

กราฟขอมูลฮิสโตแกรม Histogram

กราฟฮิสโตแกรม ใชบอกการแจกแจงของความสวางในภาพวาสมดุลยกับจํานวนพิกเซลอยางไร
แกนแนวนอนของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงปริมาณความสวางโดยดานซายจะมืดและดานขวาจะสวาง
แกนแนวตั้งของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงจํานวนพิกเซลโดยยิ่งสูงยิ่งมีจํานวนมาก

1 แสดง ภาพไดมีการตัดแตง (Retouch) แลว


2 แสดง ภาพไดถูกล็อคปองกันถูกลบทิ้ง (Protect)
3 แสดง แทงกราฟฮิสโตแกรม Histogram
4 แสดง หมายเลขลําดับภาพ/จํานวนภาพทั้งหมด
ที่มีในการด
ภาพตัวอยาง การแปลความหมายของกราฟฮิสโตแกรม

แกนแนวนอน ของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงปริมาณความสวางโดยดานซายจะโทนมืดและดานขวาจะโทน


สวาง
แกนแนวตั้ง ของกราฟฮิสโตแกรม แสดงถึงจํานวนพิกเซลโดยยิ่งสูงยิ่งมีจํานวนมาก

• หากในภาพมี สวนสวางและสวนเงาในระดับพอดี
เทาๆกัน แกนหลักของแทงกราฟจะเรื่มจากตรง
กลางและกระจายออกไปอยางคอนขางสม่ําเสมอ

• หากในภาพมีโทนมืดกวาปกติ แกนหลักของแทง
กราฟจะไปกระจุกตัวไปหนักทางดานซายมือ

• หากในภาพมีความสวางในระดับสูงกวาปกติ แกน
หลักของแทงกราฟจะไปกระจุกตัวทางดานขวามือ

ในกรณีภาพดูมืดเกินไป(แกนแทงกราฟหนักซาย) หรือ สวางเกินไป (แกนแทงกราฟหนักขวา)


ผูใชสามารถตั้งคาชดเชยแสงเพื่อปรับชดเชยคาแสง โดยปรับคาชดเชยเพิ่ม (+) คาแสงในกรณที่ภาพดูมืด
หรือ ปรับคาชดเชยแสงลบ (-) คาแสงในกรณที่ภาพดูสวางเกินไป แลวถายภาพอีกครั้ง เพื่อแกไขได

หมายเหตุ: แทงกราฟฮิสโตแกรม Histogram ที่แสดงในกลองเปนเพียงตัอยางแนวทางเทานั้น ซึ่งอาจจะ


แตกตางกับที่แสดงในโปรแกรมแสดงภาพอื่นๆ และจะเปลี่ยนไปตามลักษณะของภาพและองคประกอบอื่นๆใน
ภาพที่ถายจริง
การเรียกดูภาพถายแบบภาพยอสวน Thumbnails playback

กดปุม เพื่อเรียกดูภาพเปนกลุมภาพยอ ครั้งละ 4 หรือ


9 ภาพใหแสดงบนจอ LCD หากภาพใดที่ถูกถายในแนวตั้ง
ภาพที่แสดงก็จะแสดงในแนวตั้งดวย ตามตัวอยางภาพดาน
ขวามือ

คําสั่งที่ใชสําหรับแสดงภาพยอสวน ถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้
คําสั่ง ปุม
 ที่ใชสั่งงาน คําอธิบาย
เพิ่มจํานวนภาพที่แสดง กดปุมตาราง เพื่อใหกลองแสดงภาพ จากภาพ
บนจอ LCD เดี่ยว เปนแบบภาพยอ (Thumbnail) แสดงที
ละ 4 ภาพ หรือ เพิ่มจาก 4 เปน 9 ภาพ
ลดจํานวนภาพที่แสดง กดปุมแวนขยาย เพื่อใหกลองแสดงภาพเปน
บนจอ LCD แบบภาพยอ (Thumbnail) แสดงทีละ 9 ภาพ
เปน 4 ภาพ หรือ จาก 4 ภาพ เหลือ ภาพใหญ
ภาพเดียว
ขยายดูภาพที่เลือกไว กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อดูภาพ
ยอสวนที่เลือกไว ใหขยายเต็มจอ LCD

ใชเลือกภาพจากกลุมภาพที่ กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง หรือ หมุน


แสดงบนจอ LCD แหวนควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลอง
แสดงภาพที่บันทึกไวมนการด
ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้
ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

ลบไฟลภาพทิ้ง กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางให


ยืนยันวาตองการลบภาพที่เลือกไว นั้นทิ้งไป
กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ
ลบภาพที่เลือกไวทิ้งไป
หากไมแนใจ หรือยังไมตองการลบภาพทิ้งให
กดปุมอื่นๆปุมใดก็ไดเพื่อยกเลิกการลบไฟล
ใสคําสั่งไมใหลบภาพ กดปุม เพื่อล็อคภาพปองกันไมใหมีการ
ลบภาพที่เลือกไวโดยไมตั้งใจ
ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถ
ลบไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได
กลับไปใชงาน กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ
พรอมถายภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ
และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu


การซูมขยายดูภาพขนาดใหญ Playback zoom
กดปุม เพื่อซูมขยายดูรายละเอียดในภาพที่กําลังแสดงบนจอ LCD
โดยสามารถเลือกใหได 25 เทาสําหรับภาพขนาด L, ขยาย 19 เทา
สําหรับภาพขนาด M, และ 13 เทาสําหรับภาพขนาด S

คําสั่งที่ใชสําหรับซูมขยายภาพ ถูกควบคุมจากปุมตางๆดังนี้
คําสั่ง ปุมที่ใชสั่งงาน คําอธิบาย
ขยาย ขนาดภาพใหใหญขึ้น กดปุมแวนขยาย

ลด ขนาดภาพใหเล็กลง กดปุมตาราง

เลื่อนไปดูสวนที่ขยาย กดแปน 4 ทิศ


ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง ในจอ LCD กลองจะแสดง
หนาตางเล็กๆที่แสดงภาพ
ขนาดยอและสวนที่ถูกขยาย
อยูใหเห็นในภาพยอสวนนั้น

เลื่อนไปดูภาพถัดไป หมุนแหวนควบคุมไปทางซาย-ขวาเพื่อใหกลอง
แสดงภาพที่บันทึกไวมนการด
ไปทางซาย แสดงภาพที่ถายกอนหนานี้
ไปทางขวา แสดงภาพถัดไปจากภาพนี้

ยกเลิกการขยายดูภาพ กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อดูกลับไป


ดูภาพแบบปกติเต็มจอ LCD

ลบไฟลภาพทิ้ง กดปุมรูปถังขยะ กลองจะแสดงหนาตางใหยืนยัน


วาตองการลบภาพที่เลือกไว นั้นทิ้งไป
กดปุมรูปถังขยะ ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันใหทําการ
ลบภาพที่เลือกไวทิ้งไป
หากไมแนใจ หรือยังไมตองการลบภาพทิ้งใหกด
ปุมอื่นๆปุมใดก็ไดเพื่อยกเลิกการลบไฟล
ใสคําสั่งไมใหลบภาพ กดปุม เพื่อล็อคภาพปองกันไมใหมีการลบ
ภาพที่เลือกไวโดยไมตั้งใจ
ระวัง!! การฟอรแมท Format ยังคงสามารถลบ
ไฟลภาพทั้งหมดที่มีในการดทิ้งได
กลับไปใชงาน กดแตะปุมชัตเตอรเบาๆ หรือ กดปุมแสดงภาพ
พรอมถายภาพ Playback ซ้ําอีกครั้ง เพื่อยกเลิกการแสดงภาพ
และสั่งใหกลองพรอมใชถายภาพอยางรวดเร็ว

เรียกดูหนาชุดรายการคําสั่ง สั่งใหกลองแสดงชุดรายการคําสั่ง Menu


การใสคําสัง ่ ล็อคปองกันไมใหลบไฟลภาพทิ้ง
ผูใชสามารถใสคําสั่งปองกันไมใหลบภาพ เพื่อปองกันไมใหมีการลบภาพที่กําลังแสดงนั้น หรือ ภาพที่เลือกจาก
กลุมภาพยอ (Thumbnail) ทิ้งไปโดยไมไดตั้งใจ
เมื่อใสคําสั่งปองกันการลบภาพใหกับภาพใดๆแลว การกดปุม หรือคําสั่ง Delete จากหนารายการคําสั่งจะไม
สามารถลบภาพนั้นได แตกลองจะอานไฟล หรือ เรียกดูภาพไดตามปกติ
ระวัง!! การฟอรแมท Format การดความจํา ยังคงสามารถลบภาพที่ล็อคไว รวมทั้งภาพทั้งหมดทิ้งได
กดปุม กลองจะแสดงเครื่องหมาย ล็อค ที่ดานบนมุมซายบของภาพที่ถูกล็อค

ในภาพยืนยันวาภาพที่แสดงนั้นไดรับการปองกันการถูกลบแลว
ผูใชสามารถปลดล็อคคําสั่งปองกันการถูกลบได โดยเรียกดูภาพที่ถูกล็อคการลบภาพนั้นใหแสดงขึ้นมา
หรือเลือกจากกลุมภาพยอ (Thumbnail) แลวกดปุม อีกครั้งเพื่อปลดล็อคคําสั่งปองกันการลบภาพนั้น

การเลือกลบภาพที่ไมตองการจาก การดความจํา
วิธีลบภาพที่ไมตองการ ออกจากการดความจํา

เรียกภาพที่ตองการลบ หรือ ภาพยอขนาด


Thumbnail ใหแสดงบนจอ LCD

กดปุม กลองจะแสดงหนาตางถามยืนยันการลบ
ภาพนั้น

กดปุม ซ้ําอีกครั้งเพื่อยืนยันการลบภาพนั้น
หากเปลี่ยนใจ และตองการยกเลิกการลบภาพ ใหกด
ปุม เพื่อกลับเขาสูการแสดงภาพปกติ

หมายเหตุ:
เมื่อไฟลภาพที่ถูกล็อคปองกันการลบไฟลถูกโอน คอมพิวเตอรจะอานไฟลนั้นในรูปแบบของไฟลขอมูลใน
ลักษณะ Read only คือไฟลแบบจํากัดไวเฉพาะใหอานไดเทานั้น
การตอเชื่อมกลองเขากับคอมพิวเตอร, เครื่องพิมพภาพ หรือ จอโทรทัศน

เพื่อใชโอนภาพถายที่บันทึกไวในการดความจํา เขาสูโปรแกรมจัดการ หรือ ปรับแตงภาพ, เครื่องพิมพภาพ หรือ


แสดงภาพลงจอโทรทัศน กอนตอเชื่อมควรตรวจสอบวาถานในกลองถูกชารทไฟจนเต็ม กอนที่จะตอเชื่อมกับ
ระบบคอมพิวเตอร และใชสาย USB ที่จัดมาให
วิธีตอเชื่อมกลองและเครื่องคอมพิวเตอร
วิธีตอเชื่อมกลองและเครื่องพิมพภาพ (ในระบบ PictBridge)
วิธีตอเชือ
่ มกลองและเครื่องรับโทรทัศน
การเรียกดูชุดรายการคําสั่งตางๆในเมนู Camera Menu
เพื่อใชรายการคําสั่งตางๆที่มีในกลองชวยในการถายภาพ, ปรับแตงภาพถาย, จัดการและแสดงภาพถายที่บันทึก
ไวในการดความจํา รวมทั้งตั้งคําสั่งพิเศษเฉพาะตัว ตามที่ผูตองการ

กดปุม เพื่อเรียกดูชุดรายการคําสั่ง

รายการคําสั่งหลัก มี 5 ชุด ประกอบดวย

รายการคําสั่งที่แสดงในจอ LCD ประกอบดวย


การใชแปนกด 4 ทิศเพื่อเลือกคําสั่งในรายการเมนู

การใชแปนกด 4 ทิศเพื่อเลือกคําสั่งในรายการเมนู

1. กดปุม Menu เพื่อเรียกดูรายการทั้งหมด

2. กดแปน 4 ทิศ ไปทางซาย


เพื่อเลือกชุดรายการ

3. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง


เพื่อเลือกชุดรายการคําสั่งที่ตองการ
ชุดคําสั่งเรียกแสดงภาพ (playback),
ชุดคําสั่งถายภาพ (shooting),
ชุดคําสั่งใชเฉพาะตัว (custom settings),
ชุดคําสั่งเตรียมกลอง (set up),
ชุดคําสั่งตัดแตงภาพ (retouch)
4. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา
เพื่อเขาทํารายการคําสั่งยอยในชุดรายการนั้น

5. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง


เพื่อเลือกรายการคําสั่งยอยที่ตองการ

6. กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา


เพื่อเขาไปตั้งคาตางๆในคําสั่งนั้น

7. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น หรือ ลง


เลือกคาตางๆที่มีในคําสั่งนั้น

แลวกดตรงกลางแปน OK เพื่อยืนยันการใชคาที่
เลือกไวสําหรับคําสั่งรายการนั้น

หากตองการออกจากหนาเมนู ใหแตะกดปุมชัตเตอรเบา กลองจะการแสดง


เมนูรายการคําสั่ง และการเตรียมพรอมใชถายภาพไดทันที
รายการคําสั่งตางๆที่ควรทราบ

คําสั่งปรับแตงภาพ Optimize image


ใชปรับแตงภาพที่ไดจากกลองใหออกมาในลักษณะตางๆโดยการปรับแตงคอนทราส, ความเขมของสี, และความ
คมชัดในภาพ ตามที่ผูใชตองการใหภาพถายจากกลองออกมาเปนอยางไร

ภาพปกติ Normal (default) *


สําหรับใชถายภาพทั่วๆไป

ภาพนุมนวล Softer
สําหรับทําใหภาพดูนุมนวล เหมาะสําหรับใชถายภาพบุคคล หรือ ตองการแตงภาพในคอมฯทีหลัง

ภาพสีเขม Vivid
สําหรับเพิ่มคอนทราส, ความอิ่มของสีแดง, สีน้ําเงิน และสีเขียว, และความคมชัดในภาพ

ภาพสีเขมจัด More vivid


สําหรับทําใหเรงเนนคอนทราส, ความจัดจานของสี, และความคมชัดในภาพ

ภาพบุคล Portarit
สําหรับใชถายภาพบุคคล ใหสีผิวที่ดูเปนธรรมชาติ และลดคอนทราสทําใหภาพบุคคลดูนุมนวล

ภาพขาว-ดํา Black and White


สําหรับใชเปลี่ยนภาพสีใหเปนภาพขาว-ดํา

แตงภาพตามแบบเฉพาะตัวผูใช Custom
ใชสําหรับแตงภาพตามความตองการแบบเฉพาะตัวผูใชแตละคน

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน

หมายเหตุ:
• ควรใชเลนสแบบ D หรือ G เพื่อใหผลดีทส
ี่ ุด โดยกลองจะปรับคาแสงตามองคประกอบและรยะถายภาพ
• หากตองการใหภาพมีสีและคอนทราส คงที่เพื่อการปรับแตงดวยเครื่องคอมฯภายหลัง ควรเลือกใช Custom
• ยกเวนแตรายการคําสั่ง Custom นอกนั้นที่เหลือทั้งหมดจะใชรหัสสีแบบ sRGB
การปรับแตงลักษณะภาพตามความตองการเฉพาะของผูใช Optimize image: Custom

ผูใชสามารถเลือกใชคําสั่งแตงภาพตามแบบเฉพาะตัวผูใช
(Optimize image: Custom) ไดตามรายการที่แสดงในภาพ

หลังจากที่ตั้งคาตามรายการที่ตองการตั้งไวแลว
กดแปน 4 ทิศเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยันคําสั่งนั้น

Image sharpening ความคมชัดของขอบลายเสนในภาพ


ผูใชเลือกปรับแตงระดับ ความคมชัดของลายเสน (sharpening) ในภาพได 7 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ
Normal, ต่ํา Low, ต่ําปานกลาง Medium low, สูงปานกลาง Medium high, สูง High, หรือ ไมตองปรับ
None โดยที่ Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto

Tone compensation คอนทราสในภาพ


ผูใชเลือกปรับแตงระดับ คอนทราส (contrast) ในภาพได 6 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ Normal, 8vomikl
ต่ํา Less contract, ต่ําปานกลาง Medium low, สูงปานกลาง Medium high, คอนทราสสูง More
contrast, และ Custom คาคอนทราสที่ต่ําจะรักษารายละเอียดในภาพที่สวางมากๆได และคาคอนทราสที่สูง
จะชวยเนนรายละเอียดในภาพที่มีแสงนอยหรือภาพวิวทิวทัศนที่มีหมอกควันปกคลุมโดยที่ Default คาปริยายที่
ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto ผูใชสามารถตั้งกําหนดคาคอนทราสเอาเอง custom ไดโดยการใช
โปรแกรม Camera Control Pro 2 (ซื้อแยกตางหาก)

Color mode รหัสสีที่ใชในภาพ


กลอง D60 มีโหมดสี (หรือ รหัสสี) ใหเลือก 3 โหมด
Ia (sRGB)
ใชสําหรับภาพถายภาพบุคคล (portrait) ที่จะนําไฟลไปอัดขยายหรือพิมพภาพจากกลองโดยไมตองการ
ปรับแตงสีอีก ภาพถายจะแสดงสีในรูปแบบมาตรฐาน sRGB
II (Adobe RGB)
ใชสําหรับภาพถายที่ตองการใหแสดงสีในแบบ Adobe RGB ซึง่ มีขอบเขตยานการแสดงสีที่กวางกวา sRGB
เหมาะกับภาพถายที่ตองการปรับแตงเพื่อใหไดความแมนยําของสีสูงสุด
IIIa (sRGB) (default) *
ใชสําหรับภาพทั่วๆไปวิวทิวทัศน ภาพธรรมชาติ ที่จะนําไปอัดขยายหรือพิมพภาพจากกลองโดยไมตอง-
ปรับแตงสีอีกภาพถายจะแสดงสีในรูปแบบมาตรฐาน sRGB โดยจะเนนสีเขียว และ สีน้ําเงินในภาพ
Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ IIIA (sRGB) นี้

Saturation ความอิ่มเขมของสี
สําหรับทําใหเรงเนนความอิ่มเขมของสี (color intensity) ในภาพได 4 ระดับคือ อัตโนมัติ Auto, ปกติ
Normal, นอยกวาปกติ Moderate, และ เรงความจัดจานของสีใหมากกวาปกติ Enhanced
โดยที่ Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงานจะถูกตั้งไวที่ Auto

Hue Adjustment คาโทนสี


สําหรับใชปรับแตงโทนสีตามวงลอสี Color wheel ทําใหภาพใหดูอบอุนขึ้น หรือ เย็นลง ปรับ 7 ระดับไดตั้งแต -
9 ถึง +9 องศาโดยปรับทีละ 3 องศา หากตั้งคาเพิ่ม (+) จะทําใหภาพดูรอนขึ้น สีแดงในภาพออกไปสีสม และสี
เขียวออกไปทางสีน้ําเงินและสีน้ําเงินจะะออกไปทางสีมวง แตหากหากตั้งคาเปนลบ (-) จะทําใหภาพดูเย็นลงสี
แดงในภาพออกไปสีมวง และสีเขียวออกไปทางสีเหลืองและสีน้ําเงินจะะออกไปทางสีเขียว
คําสั่งปรับแตงคาสมดุลยสีขาว White balance

ในหนาชุดรายการคําสั่งถายภาพ ผูใชสามารถเลือกใช
คาสมดุลยสข
ี าว WB - White balance ได

ในคําสั่งคา WB สําหรับแสงหลอดเรืองแสงแบบฟลูออ
เรสเซนต (Fluorescent) ผูใชยังสามารถเลือกชนิด
ของหลอดเรืองแสงได 7 ชนิด
สวนในรายการแสงแบบตางๆ ผูใชสามารถเลือก
ปรับแตง +/- ไดเชนกัน

คา WB ของหลอดเรืองแสงแบบฟลูออเรสเซนต (Fluorescent) มีใหเลือกใชไดดังนี้

Sodium vapor lamps หลอดไฟไอโซเดียม


หลอดไฟสีเหลืองที่ใชตามถนน ทางหลวง และสี่แยก

Warm-white fl. หลอดวอรมไวท


หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีเหลืองนวล คลายแสงหลอดทังสเตน ใชตกแตงบานเรือน

White fluorescent หลอดไวทฺฟลูออเรสเซนท


หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีขาวฟา ใชบานเรือน ทั่วๆไป

Cool-white fl หลอดคูลไวท ฟลูออเรสเซนท


หลอดไฟเรืองแสงแบบใหแสงสีขาวฟา สวนใหญเปนหลอดประหยัดไฟ ใชในอาคาร

Day white fl หลอดเดยไวท ฟลูออเรสเซนท


หลอดไฟเรืองแสงแบบเดยไวท ที่ใชบานเรือน

Daylight fluorescent หลอดเดยไลท ฟลูออเรสเซนท


หลอดไฟเรืองแสงแบบเดยไลท ที่ใชซูเปอรมารเก็ต หางราน ทั่วๆไป

Mercury vapor lamps หลอดไฟไอปรอท


หลอดไฟสีขาวเหลืองที่ใชมนสนามกีฬา เวลากลางคืน หรือ ในสนามยิม สนามมวย
คาอุณหภูมิสี (Color Temperature)
คาอุณหภูมิของสี (Color Temperature) คือความยาวคลื่นของ หรือสีที่มองเห็นของแสงที่ถูกเปลงออกมาจาก
แหลงกําเนิดเมื่อแหลงนั้นๆถูกทําใหมีอุณหภูมิตามที่กําหนด
โดยทั่วๆไป แหลงกําเนิดแสงสีขาวจะมีอุณหภูมิราว 5,000-5,500 K (เคลวิน) แหลงกําเนิดแสงสีอื่นๆที่มี
อุณภูมิต่ํากวานี้ก็จะใหแสงโทนสีเหลืองสมหรือแดง และหากแหลงกําเนิดมีอุณหภูมิสูงกวานี้ก็จะใหแสง
เหลือบสีฟา
สีของแสงที่มองเห็นไดจะขึ้นอยูกับปจจัยอื่นๆ และจะเห็นไดสีใดก็แลวแตบุคคลดวย

คาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่มีใหเลือกใชในกลอง จะมีคาเทียบเทาอุณหภูมิของแสงดังนี้

สัญลักษณ อุณหภูมิ สัญลักษณ อุณหภูมิ


และความหมาย แสงสี และความหมาย แสงสี
Auto อัตโนมัติ 3500 - Daylight fluorescent 6500 K
8000 K หลอดเดยไลท
Incandescent 3000 K 7200 K
Mercury vapor
หลอดไฟไสทังสเตน lamps หลอดไฟไอปรอท
Sodium vapor lamps 2700 K Daylight 5200 K
หลอดไฟไอโซเดียม แสงแดดกลางแจง
Warm-white fl. 3000 K Flash 5400 K
หลอดวอรมไวท แสงไฟแฟลช
White fluorescent 3700 K 6000 K
Cloudy
หลอดไวทฺฟลูออเรสเซนท แสงใตเมฆหมอก
Cool-white fl 4200 K Shade 8000 K
หลอดคูลไวท แสงในรมชายคา
Day white fl 5000 K
หลอดเดยไวท
คาปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาว WB Fine tuning
ผูใชยังสามารถปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาว WB ที่มีในกลองได เพื่อใหไดสีในภาพที่แมนยํามากขึ้น

วิธีการปรับแตง ทําไดโดย
เลือกรายการคําสั่ง White balance ในหนา
คําสั่งถายภาพ Shooting menu

1. กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง เพื่อเลือกคา WB ที่


ตองการปรับแตง

หากเลือกหลอดเรืองแสง Fluorescent ใหกด


ขวา เพื่อเลือกชนิดของหลอดเรืองแสงดวย

2. กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น หรือ ลง


เพื่อเลื่อนเปลี่ยนตําแหนงของจุดน้ําหนักสีใน
ตารางที่แสดงซายมือในจอ LCD

กด ซาย-ขวา ปรับใหน้ําหนักสีสม A-Amber


หรือ สีน้ําเงิน B-Blue

กด บน-ลาง ปรับใหน้ําหนักสีเขียว G-Green


หรือ สีบานเย็น M-Margenta

ตารางในแตละแกนสีจะมีคาหนวยละ 5 mired เทียบเทาคาฟลเตอรชดเชยแกคาสี Correction


Compensation filter ที่ใชสําหรับแกไขสีในการถายภาพปกติ เหมือนกับกลองฟลม

3. เมื่อปรับแตงไดตามตองดารแลว
กดปุม OK ที่ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อออกจาก
หนารายการ
การตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวโดยใชสีขาวหรือสีเทากลางตั้งคา Preset WB
เมื่อใชสภาพแสงถายภาพที่เปนแสงจากแหลงที่ไมทราบแนนอน หรือ สภาพแสงผสมจากหลายแหลง
ผูใชสามารถปรับแตงคาสมดุลยแสงสีขาวเองได 2 วิธีดังนี้

Measure วิธีเปรียบเทียบสีโดยตรง
วิธีเปรียบเทียบสีโดยตรง โดยการใชวัตถุอางอิง สีขาว หรือ สีเทากลาง ที่อยูใตแหลงแสงที่จะใชถายภาพ

Use photo วัดเทียบสีจากภาพถาย


โดยการใชภาพที่ถายเก็บในการดความจํา หรือ ใชภาพ NEF (RAW) เทียบสีจากภาพที่มีอยูแลวในการดความจํา
การตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวดวยตัวผูใชเอง (White Balance Pre-set)
หมายเหตุ: หากใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 11 โปรแกรมปุมฟงคชั่น ใหใชตั้งคาสมดุลยแสงสีขาวเอาไว
ใหกดปุม แชไว 2 วินาที กลองจะเขาสูขั้นตอนที่ 2 ขางบน (คําสั่ง Measure) ไดทันที

การใชคา WB จากภาพที่ถายไวแลวในกลอง

1.
ในหนารายการคําสั่ง White balance
เลือกรายการ PRE : Preset manual
เลือกรายการคําสั่ง Use photo
แลวกด ขวา เพื่อเขาทํารายการ

2.
กลองจะแสดงภาพครั้งกอนที่ถูกเลือกไว
หากยังไมไดมีการเลือกไว กลองจะแสดงชอง
หนาตางวางเปลา

ใชแปน 4 ทิศ เลือกคําสั่ง Select image

3.
เลือกโฟรเดอรภาพที่ตองการ
แลวกด ขวา เพื่อเปดโฟรเดอรภาพที่
เลือก

4.
ใชแปน 4 ทิศ เลือกภาพที่ตองการใชอางอิง

กด เพื่อใชขยายดูภาพที่ตองการ

5.
เมื่อเลือกภาพที่ตองการใชอางอิงคา WB ได
แลว กด OK ตรงกลางแปนกด 4 ทิศ 1 ครั้ง
เพื่อสั่งกอปปคา WB จากภาพเลือกไวไปเก็บ
ไวใชอางอิง WB ตอไป

หมายเหตุ: ไฟลภาพที่จะใชสําหรับอางอิงคา WB ได จะตองถายจากกลอง D60 ดวยกันเทานั้น


คําสั่งลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction
เมื่อใชคาความไวแสง ISO สูงๆ หรือ เปดมานชัตเตอรนานเกินกวา 8 วินาที
ภาพที่ไดอาจจะมีจุดสีรบกวน Noise ขึ้นเปนหยอมๆ หรือ จุดลายๆ ในภาพถายได
ผูใชสามารถใชคําสั่ง Noise reduction ชวยลดจุดสีรบกวนในภาพไดดังนี้

OFF ปด ไมใชงาน (default) *


ระบบชวยลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction จะถูกปดไมใชงานที่คาความไวแสง ISO 800 หรือต่ํากวา
หากผูใชตั้งคาความไวแสง ISO สูงกวา 800 กลองจะชวยปรับลดจุดสีรบกวนเพียงเล็กนอยเทานั้น
(* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน)

On เปด ใชงาน
เมื่อใชคาความไวแสง ISO 400 หรือสูงกวา หรือ เปดมานชัตเตอรนานเกินกวา 8 วินาที
กลองจะใชระบบลดจุดสีรบกวนในภาพ Noise Reduction ชวยลดอาการนี้ในภาพโดยอัตโนมัติ
ในขณะที่กลองใชระบบลดจุดสีรบกวน ความเร็วถายภาพ และจํานวนที่สามารถถายภาพตอเนื่องจะลดลง
และจะแสดงเครื่องหมาย กระพริบเตือนในชองมองภาพ นานเทาที่มานชัตเตอรเปดอยู
ผูใชตองรอจนกวาเครื่องหมาย นี้ใหหายไปกอน จึงจะเริ่มถายภาพตอไปได
หากปดสวิทชกลอง Off ในระหวางที่เครื่องหมาย กระพริบอยู กลองจะปดและยกเลิก-
-และปดการทํางานของระบบลดจุดสีรบกวนทันที ทําใหภาพไมไดผานการกําจัดจุดสีเหลานี้อยางสมบูรณ
คําสั่งตัง้ คาความไวแสงอัตโนมัติ ISO Auto
รายการคําสัง่ เฉพาะที่ 10 คําสั่งคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto ISO) จะทําใหกลองปรับคาความไวแสง ISO
เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอยๆ ผูใชสามารถเลือกใชคําสั่ง ปรับคาความไวแสงอัตโนมัติ (Auto
ISO) นี้ไดในโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M

OFF ปด ไมใชงาน (default) *


คาความไวแสง ISO จะอยูคงที่ ไมมีการเปลี่ยนแปลง ตามทีผูใชกําหนดไวเทานั้น

On เปด ใชงาน
กลองจะปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอย และจะปรับกําลังแสงแฟลช
ที่เหมาะสมใหดวยเชนกัน

Max. sensitivity คาความไวแสง ISO สูงสุด


กลองจะปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึ้นใหเองในสภาพที่มีแสงถายภาพนอย แตจะไมเกินกวาคา ISO ตามที
ผูใชกําหนดไว เพื่อปองกันไมใหกลองใช ISO สูงเกินไปกวาที่ผูใชกําหนด

Min. shutter speed คาความเร็วชัตเตอรต่ําสุด


ใชกับโหมดชวยถายภาพ P และ A โดยผูใขตั้งกําหนดคาความเร็วชัตเตอรต่ําสุดไว
กลองจะปรับเปลี่ยนคาไวแสง ISO ใหสูงขึ้น เพื่อไมใหความเร็วชัตเตอรต่ํากวาที่ผูใชตั้งกําหนดไว
แตหากเมื่อกลองปรับไปใชคาความไวแสง ISO สูงสุดแลว แตความเร็วชัตเตอรสําหรับคาแสงที่วัดไดยังต่ํากวาที่
ผูใชกําหนดไว กลองก็จะใชความเร็วชัตเตอรจากคาแสงที่วัดได (ต่ํากวา) ถายภาพนั้น

เมื่อเลือกใช คําสั่ง ISO Auto จะแสดงบนจอ LCD และในชองมองภาพ


คําสั่งกําหนดการทํางานของปุมฟงคชั่น Function
รายการคําสั่งเฉพาะที่ 11 ผูใชสามารถเลือกกําหนดหนาที่ปุมฟงคชั่น ใหทําหนาที่ได 1 อยาง
ในรายการดังนี้

Seif-timer เลือกนับเวลาถอยหลัง (default) *


ปุมฟงคชั่น ใหใชเปนปุมนับเวลาถอยหลัง (* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน)

Release mode เลือกโหมดการลั่นชัตเตอรถายภาพ


กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม เลือกโหมดลั่นชัตเตอรเดี่ยวทีละภาพหรือถายภาพตอเนื่อง

Image quality/size กําหนดชนิดไฟลภาพและขนาดของภาพ


กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ตั้งชนิดของไฟลภาพและขนาดของภาพ

Sensitivity กําหนดคาความไวแสง ISO


กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ปรับคาความไวแสง ISO

White balance กําหนดคาสมดุลยสข


ี าว
กดปุมฟงคชั่น และหมุนแหวนควบคุม ตั้งคาสมดุลยสีขาว WB (ใชไดเฉพาะในโหมด P, S, A และ M)
รายการคําสั่งเฉพาะที่ 12 ผูใชกําหนดหนาที่ปุม ทํางานอยางไร

AE/AF lock (default) *


กดปุม จะล็อคคาวัดแสงและระยะโฟกัส นานเทาที่กดแชคาไว (* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน)

AE lock only
กดปุม จะล็อคเฉพาะคาวัดแสง นานเทาที่กดแชคาไว (ระยะโฟกัสจะไมถูกล็อค)

AF lock only
กดปุม จะล็อคเฉพาะระยะโฟกัส นานเทาที่กดแชคาไว (คาวัดแสงจะไมถูกล็อค)

AE lock hold
กดปุม ล็อคคาวัดแสงไวจนกวาจะถูกปลดล็อคโดยการกด ปุม อีกเปนครั้งที่สอง, หรือเมื่อกดปุมลั่นชัต
เตอร หรือ เมื่อระบบวัดแสงถูกปดโดยอัตโนมัติตามที่ตั้งเวลาไว

AF-ON
กดปุม เพื่อสั่งใหกลองหาโฟกัส แทนการแตะกดปุมลั่นชัตเตอรครึ่งทาง
รายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 คําสั่งแฟลชกลองและแฟลชภายนอก Built-in Flash/Optional Flash Unit

คําสั่งควบคุมแฟลชหัวกลองและแฟลชภายนอก (ใชไดเฉพาะในโหมด P, S, A และ M)


หากใชรวมกับแฟลช SB-400 คําสั่ง Built-in Flash จะเปลี่ยนเปน Optional Flash Unit

TTL แฟลชอัตโนมัติแบบ TTL (default) *


แฟลชอัตโนมัติ กลองจะปรับกําลังแสงแฟลชตามสภาพแวดลอมใหโดยอัตโนมัติ
(* Default คาถูกตั้งมาจากโรงงาน)

Manual แฟลชแมนนวล
แฟลชแมนนวล ผูใชปรับอัตรากําลัง ของแสงแฟลชเองตามที่ตองการ
โดยมีกําลังแฟลชสูงสุด (Full power) ที่ไกดนัมเบอร 13/43 (ม./ฟุต) ที่ ISO 100

เมื่อผูใชตั้งแฟลชในโหมด Manual แฟลชแมนนวล

กลองจะแสดงเครื่องหมาย กระพริบเตือน
ในจอ LCD และ ในชองมองภาพ
รายการคําสั่งเฉพาะที่ 18 Date Imprint คําสั่งพิมพวันที่ลงไปในภาพถาย

สําหรับผูใชที่ตองการใหมีวันเวลาที่ถายภาพ ปรากฏในภาพถาย

OFF ปด ไมใชงาน (default) *


ปดระบบพิมพวันที่ ผูใชไมตองการพิมพวันที่ลงในภาพ

Date พิมพวน ั ที่


คําสั่งพิมพวน
ั ที่ ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ

Date and time พิมพ วันที่และเวลา


คําสั่งพิมพวน
ั ที่ และ เวลา ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ

Date counter พิมพ จํานวนวัน


คําสั่งพิมพจาํ นวนวัน ชวงระหวางวันที่ถายภาพ และวันที่ผูใชกําหนด ลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ

เมื่อผูใชเปดใชระบบพิมพวันที่ลงในภาพ

กลองจะแสดงเครื่องหมาย ในจอ LCD

หมายเหตุ: การใชคําสั่งพิมพวันที่ลงในภาพ Date Imprint


• วันที่ที่ถูกพิมพลงในภาพจะอยูอยางถาวรและ ไมสามารถลบออกไปทีหลังได
• ผูใชสามารถเลือกรูปแบบวันที่ที่พิมพแสดงได ในรายการคําสั่ง Date
• คําสั่งพิมพวันที่จะใชไมไดหากไฟลภาพที่บันทึกภาพเปนแบบ RAW หรือ RAW+B
• เมื่อใชเครื่องพิมพภาพแบบมาตรฐาน DPOF ผูใชสามารถสั่งพิมพวันที่ลงในภาพที่พิมพ
ดวยคําสั่ง Print set โดยไมตองใชคําสั่ง Date imprint ในกลองก็ได
คําสั่งบันทึกจํานวนวัน Date Counter

คําสั่งพิมพจาํ นวนวัน ในชวงระหวางวันที่ถายภาพ และ


วันที่ผูใชกําหนด โดยสามารถกําหนดใหบันทึกจํานวน
วันที่กําลังจะมาถึง เชนนับจํานวนกอนที่จะถึงวัน
แตงงาน หรือ นับจํานวนวันที่ผานมาแลว เชน นับ
จํานวนวันจากวันแรกเกิดวาผานมาแลวกี่วัน เพื่อบันทึก
ความเจริญเติบโตของเด็กเล็ก
เชนตั้งวันที่ 23/04/2008

ผูใชสามารถเลือกกําหนดวันที่ตองการจะนับได 3 ชุด

ผูใชสามารถเลือกใหกลองแสดงรูปแบบได 3 แบบ

Number of days : แสดงจํานวนวัน

Years and days : แสดงจํานวนป และ วัน

Years, months and days : แสดงจํานวน ป เดือน วัน

จํานวนวันที่ถูกสั่งใหนับจะถูกพิมพลงตรงที่มุมขวามือ ดานลางในภาพ

เชน อีก 2 วันก็จะถึงวันที่กําหนดนัดไว หรือ ผานมาได 2 วันแลว (25/04)


การใชชุดรายการคําสั่งแตงภาพในกลอง Retouch Menu

ชุดรายการคําสั่งแตงภาพ Retuouch menu ใชสําหรับ ตัด (cropped), ลดขนาดภาพ (resized) หรือ


แตงภาพ (retouch) รวมทั้งใชแปลงไฟลภาพจากไฟลแบบ NEF (RAW) ที่บันทึกไวในการดความจํา
ใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG เพื่อความสะดวกในการพิมพภาพอีกดวย

Quick retouch ตัดแตงภาพอยางรวดเร็ว


สรางสําเนาไฟลภาพ โดยใหภาพใหมมีคาคอนทราส contrast และความอิ่มเขมสี color saturation มากขึ้น

D-Lighting เพิ่มความสวางในภาพที่ถายยอนแสง
เพิ่มความสวางในบริเวณที่เปนเงามืด เสมือนใชแสงแฟลช เมื่อถายภาพยอนแสง

Red-eye correction แกไขอาการตาแดงจากแสงแฟลช


แกไขอาการตาแดงของตัวแบบในภาพจากแสงแฟลช

Trim ตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพ
ตัดขอบภาพทิ้งบางสวนเพื่อชวยเนนสวนที่ตองการในภาพ

Monochrome ทําใหเปนภาพโมโนโครม
สรางสําเนาไฟลภาพขึ้นโดยใหเปนภาพสีโทนเดี่ยว เชน ขาว-ดํา, ซีเปย sepia, หรือ ภาพยอมสี cyanotype

Filter effects ฟลเตอรเสมือน


สรางสําเนาไฟลภาพขึ้นโดยใหเปนภาพที่เสมือนใชฟลเตอรแบบตางๆถายภาพตนฉบับนั้น

Small picture ลดขนาดของภาพ


ลดขนาดของภาพใหมีขนาดเล็กเพื่อสะดวกในการสงเมล

Image overlay การซอนภาพ


สําหรับซอนภาพไฟล 2 ภาพใหซอนทับกับกลายเปนภาพใหม (ใชไดเฉพาะกับําฟล NEF เทานั้น)

NEF (RAW) processing การแปลงไฟลภาพ


คําสั่งแปลงไฟล NEF ใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG

Stop-motion movie แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น


แปลงชุดภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น

Before and after เปรียบเทียบกอนและหลัง


เปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนและหลัง การตัดแตง Retouch
วิธีใชคําสั่งปรับแตงภาพ Retouch ผานทางปุม Menu
1.
กดปุม Menu เพื่อเลือกหนารายการ
แลวกดแปน 4 ทิศ เพื่อเลือกทํารายการคําสั่ง
Retouch menu

2.
กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง
เลือกรายการคําสั่งที่ตองการ

3.
กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา
เพื่อเขาทํารายการนั้น

กลองจะแสดงภาพที่บันทึกในการดความจําให
เลือก

4.
กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง
เพื่อเลือกภาพที่จะถูกใชคําสั่งแตง Retouch นั้น

หากไมแนใจ กดปุม เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะ


เลือกแตงภาพก็ได

5.
เมื่อเลือกภาพที่ตองการแตง retouch ไดแลว
กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ
กลองจะแตงภาพใหเปนไปตามคําสั่งแตงภาพ
retouch ที่เลือกไว พรอมกับแสดงขอความกํากับ

กด OK เพื่อยืนยันใหสรางไฟลภาพใหมที่ถูกแตง
ภาพเก็บไวในการด หรือ กด เพื่อยกเลิกการ
จัดเก็บภาพที่สรางใหมนั้น
วิธีใชคําสั่งปรับแตงภาพรวดเร็ว Quick retouch ขณะที่กลองกําลังแสดงภาพที่เพิ่งถาย
ในขณะที่กลองกําลังแสดงภาพ Playback ภาพที่เพิ่งถาย ผูใชสามารถเรียกใชคําสั่งแตงภาพนั้นไดเลยเชนกัน
1.
กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพลาสุดที่
ถายเก็บไวในการด

กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพกอนหลัง


ภาพที่แสดงอยู

2.
กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ
กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตงภาพ
อยางรวดเร็ว Quick retouch

3.
กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง
เพื่อเลือกคําสั่งแตงภาพ Retouch ที่ตองการ

(คําสั่งซอนภาพ Image overlay จะใชไมไดกับ


ชุดรายการ Quick retouch นี้)

4.
กดแปน 4 ทิศ ไปทางขวา เพื่อเลือกใชคําสั่งแตง
ภาพในรายการที่เลือกไวจากขอ 3.

กลองจะตัดแตงภาพใหเปนไปตามคําสั่งแตงภาพ
retouch ที่เลือกไว พรอมกับแสดงขอความกํากับ
แลวจัดเก็บไวในการดความจําใหเอง

หากไมแนใจ กดปุม เพื่อยกเลิกการแตงภาพ


นั้นก็ได

หมายเหตุ:
• คําสั่งปรับแตงจะไมสามารถใชซ้ําๆกันใน 1 ภาพได (1 คําสั่ง ตอ 1 ภาพ เทานั้น)
• คําสั่งรายการปรับแตง Retouch (ยกเวนแตคําสั่งลดขนาด resize เทานั้น) หากทําซอนกับไฟลภาพที่ถูก
ทําการตัดแตงอื่นๆมาแลว คุณภาพของภาพจะลดลงไปดวย
• คําสั่งแปลงไฟลภาพ ที่ใชกับไฟล RAW จะสรางสําเนาไฟลภาพแบบ JPEG Fine ที่ขนาด 3872 x 2592
• คําสั่งการลดขนาดภาพ resize จะสรางสําเนาไฟลภาพแบบ JPEG Fine (อัตราสวนบีบอัด 1 ตอ 4)
• คําสั่งซอนภาพ Image overlay จะสรางสําเนาไฟลแบบ JPEG ที่มีขนาดและอัตราบีบอัดเทาที่ตั้งไว กอน
ทําการซอนภาพ
วิธีใชคําสั่ง D-Lighting เพิ่มความสวางในภาพที่ถายยอนแสง
เพิ่มความสวางในบริเวณที่เปนเงามืด เสมือนใชแสงแฟลช เมื่อภาพที่ถายมานั้นยอนแสง

1.
กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพทีตองการ
เปรียบเทียบลาสุดที่ถายเก็บไวในการด

กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพที่ตองการ

2.
กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ
กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตงภาพ
อยางรวดเร็ว Quick retouch

กด ขึ้น-ลง เลือกรายการคําสั่ง D-Lighting


แลวกด OK

3.

กลองจะแสดงภาพตนฉบับทางซายมือ
และแสดงภาพที่แกไขดวยคําสั่ง D-Lighting ดานขวา

ผูใชสามารถเลือกปรับเพิ่มความสวางในภาพได 3
ระดับคือ High สวางมาก, Normal ปกติ, Low สวาง
เล็กนอย

หากไมแนใจ กดปุม เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะเลือก


ตรวจดูภาพก็ได

เมื่อเลือกใชคําสั่ง High, Normal หรือ Low แลว


กด OK เพื่อยืนยันใหแปลงไฟลภาพเก็บลงไวในการด
วิธีใชคําสั่งฟลเตอรเสมือน Filter Effect

ใชสําหรับแตงภาพ ทําใหไดภาพใหมที่เสมือนใช
ฟลเตอรแบบตางๆดังตอไปนี้

Skylight ฟลเตอรสกายไลท
ทําใหภาพเสมือนใชฟลเตอรสีอมชมพู (skylight) ลดโทนสีน้ําเงินในภาพลง

Warm filter วอรมฟลเตอร


ทําใหโทนภาพดูอบอุนขึ้น เสมือนใชฟลเตอรสีสมแดง (skylight) เพิ่มโทนสีแดงในภาพ

Red intensifier เนนสีแดง


เนนเฉพาะบริเวณสีแดงในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป

Green intensifier เนนสีเขียว


เนนเฉพาะบริเวณสีเขียวในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป

Blue intensifier เนนสีน้ําเงิน


เนนเฉพาะบริเวณสีน้ําเงินในภาพ โดยไมกระทบตอสีอื่นๆใหผิดเพี้ยนไป

Cross screen ฟลเตอรประกายดาว


ทําใหเกิดแฉกประกายดาวรอบๆจุดที่สวางในภาพ ผูใช
สามารถเลือกกําหนดใหสราง
1. Number of points:
เลือกสรางแฉกดาวได 4, 6, 8 แฉก
2. Filter amount:
เลือกความหนาแนนของดาวได 3 ระดับ
3. Filter angle:
เลือกมุมเอียงของประกายแฉกดาวได 3 ระดับ
4. Length of points:
เลือกความยาวของปรักายแฉกดาวได 3 ระดับ

เมื่อกําหนดคาตางๆตามที่ตองการไดแลว กดแปน 4 ทิศ เลือก Confirm เพื่อใหกลองทําคําสั่ง


กลองจะแสดงภาพที่สรางแฉกประกายดาวแสดงใหเห็น
หากตองการเซฟไฟลภาพที่สรางขึ้นใหมนี้ลงในการด ใชแปน 4 ทิศ กดเลือก Save และกด OK
หากไมแนใจ กดปุม เพื่อยกเลิกการแตงภาพนั้นก็ได
ภาพตัวอยางการใชคําสั่งสรางแฉกประกายดาวในภาพ

Color balance การแตงโทนสีของภาพ


เลือกใชคําสั่ง Color balance นี้ เมื่อตองการแตงโทนสีของภาพ

เมื่อเลือกใชคําสั่ง Color balance กลองจะแสดงภาพ และ ฮิสโตแกรม Histogram ทั้ง 3 (แดง, เขียว, น้ําเงิน)
กดแปน 4 ทิศ : ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง เพื่อปรับแตงโทนสีในภาพ ใหเพิ่มหรือลดโทนสีที่ตองการ

หากตองการเซฟไฟลภาพที่สรางขึ้นใหมนี้ลงในการด กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ


หากไมแนใจ กดปุม เพื่อยกเลิกการแตงโทนสีภาพนั้นก็ได
วิธีใชคําสั่งทําภาพซอน Image overlay
ใชภาพ NEF (RAW) 2 ภาพที่บันทึกไวแลวในการดความจํา 2 ซอนทับกันสรางเปนสรางสําเนาไฟลแบบ JPEG
ใหตั้งขนาดภาพไฟล (Large, Medium, Small) และคุณภาพ (Fine, Normal, Basic) ของภาพใหมกอนที่จะใช
คําสั่งซอนภาพ
ไฟลภาพใหมที่ถูกสรางขึ้นจะถูกบันทึกเก็บไวในการดความจําดวยเชนกัน
วิธีใชคําสั่งการแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) processing
คําสั่งแปลงไฟล NEF ที่ตองการใหเปนไฟลภาพแบบ JPEG สําหรับใชอัดพิมพภาพ

1.
เมื่อเลือกคําสั่ง NEF (RAW ) processing จาก
หนาชุดรายการคําสั่งแตงภาพ Retouch menu

กดเแปน 4 ทิศ ขวาพื่อเขาทํารายการนั้น

กลองจะแสดงไฟลภาพแบบ NEF ที่บันทึกใน


การดความจําใหเลือก

2.
กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง
เพื่อเลือกภาพที่จะตองการจะแปลงใหเปนไฟล
ภาพแบบ JPEG
หากไมแนใจ กดปุม เพื่อซูมขยายดูภาพที่จะ
เลือกตรวจดูภาพก็ได

เมื่อเลือกภาพ NEF ที่ตองการแปลงเปน JPEG ได


แลว กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ
3.
กลองจะแสดงตารางคําสั่งยอยใหแปลงเปนไฟล
ภาพ JPEG ตามแบบที่ตองการไดดังนี้

Image quality: เลือกคุณภาพของไฟลภาพ


JPEG fine, JPEG normal, หรือ JPEG basic

Image size: เลือกขนาดของกรอบภาพ


(large), x (medium), หรือ (small)

White balance: เลือกคาความสมุดลยสีขาว

Exposure comp.: เลือกคาชดเชยแสง +/- 3 เมื่อเลือกใชคําสั่งแปลงภาพเสร็จแลว


เลือก EXE แลวกด OK เพื่อยืนยันใหแปลงไฟล
Optimize image: เลือกการปรับแตงภาพ
ภาพเก็บลงไวในการด หรือ กด เพื่อยกเลิก
N - Natural, So-Soft, Vi - Vivid ฯลฯ
การแปลงไฟลภาพนั้น

หมายเหตุ: การแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) ใหเปน JPEG


• กลอง D60 สามารถแปลงไฟลภาพ NEF ที่ถายจากกลอง D60 รุนเดียวกันเทานั้น
• คาสมดุลยสีขาวแบบผูใชวัดเอง (White balance>Preset manual) จะใชไดเฉพาะกับไฟลภาพที่ใชคา
สมดุลยสีขาวแบบ Preset manual เหมือนกันเทานั้น
• คาสมดุลยสีขาว จะไมสามารถเลือกใชได หากภาพนั้นเปนภาพซอนที่สรางจากคําสั่ง Image overlay
• คําสั่งตั้งคาชดเชยแสงจะใชไมได หากใชระบบเพิ่มแสง Active D-Lighting ในภาพนั้นไปแลว
• คําสั่งตั้งคา WB และ Optimize image จะใชไมไดหากใชโหมดถายภาพดิจิตอล
วิธีใชคําสั่ง Stop-motion movie แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนตสั้น
ใชสําหรับแปลงชุดภาพนิ่งที่ถายติดตอกัน ทําเปนเปนภาพยนตสั้นๆ

1.
เมื่อเลือกคําสั่ง Stop-motion movie จากหนาชุด
รายการคําสัง่ แตงภาพ Retouch menu

กลองจะแสดงคําสั่งยอยดังนี้
Create movie: เริ่มสรางภาพยนตสั้น
เลือกชุดภาพที่จะใชเรียงติดตอกัน

Frame size: ขนาดของภาพที่จะใชแสดง


เลือกขนาดของภาพที่จะใชแสดง 640 x 480, 320
x 240, หรือ 160 x 120

Frame rate: ความเร็วภาพ


เลือกความเร็วที่จะใชแสดง 15 fps, 10 fps, 6 fps,
หรือ 3 fps (fps = เฟรมภาพ ตอ วินาที )

กดเแปน 4 ทิศ ขวาพื่อเขาทํารายการ Create movie


แลวกดตรงกลาง OK เริ่มสรางภาพยนต
กลองจะแสดงไฟลภาพที่บันทึกในการดความจํา

2.
กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวา-ขึ้น-ลง
เมื่อเลือกภาพแรกที่จะใชสรางภาพยนต กด OK

ภาพแรกที่ถูกเลือกจะมีคําวา Start แสดงกํากับในภาพ

3.
กดแปน 4 ทิศแชคาไว เพื่อเลือกภาพตอไป ตามลําดับ
เมื่อถึงภาพสุดทาย ใหปลอยนิ้วที่กดแชคาไว
ภาพสุดทายที่แสดงจะมีคําวา End กํากับไว

ลําดับภาพที่จะใชแสดงจะมีสัญลักษณ 9แสดงไว
และแสดงตามลําดับที่เลือกไวในแถวดานลาง
(ในชุดลําดับภาพจะมีไดไมเกิน 100 ภาพ)
4.
เมื่อเลือกลําดับภาพเสร็จแลว
เลือก Save แลวกด OK เพื่อยืนยันคําสั่งใหกลองสราง
ไฟลภาพยนตเก็บลงไวในการด

5.
หากตองการตัดภาพออกบางภาพเลือก Edit เพื่อตัด
ตอไฟลภาพยนตที่สรางนั้น
เลือก Starting image เพื่อเปลี่ยนภาพแรก
เลือก Middle image เพื่อตัดภาพในชุดลําดับภาพ
เลือก End image เพื่อเปลี่ยนภาพสุดทาย

หากตองการยกเลิกการตัดตอภาพใหเลือก Cancel

6.

ใชคําสั่ง Save เพื่อสั่งใหกลองสรางไฟลภาพยนตสั้น


เก็บไวในการดความจํา
คําสั่ง Preview ใชเรียกดูภาพยนตที่สรางไว
คําสั่ง Frame rate ใชกําหนดความเร็วในการแสดงที่กี่
ภาพตอวินาที
คําสั่ง Edit ใชสําหรับตัดตอลําดับภาพใหมอีกครั้ง

หมายเหตุ: Stop-Motion Movies


• ภาพถายจากกลองอื่นๆที่ไมใช D60 หรือภาพทีส่ รางจากคําสั่งตัด Trim หรือ คําสั่งยอขนาด Resize จะไม
สามารถใชสรางเปนไฟลภาพยนตสั้นได
• ผูใชสามารถเรียกดูไฟลภาพยนตสั้น ไดจากการใชคําสั่ง Playback ตามปกติ โดยไฟลภาพยนตสั้นจะมี
เครื่องหมาย กํากับชี้แสดงไว
• ไฟลภาพยนตสั้นจะใชชื่อไฟลนําดวย ASC ตามดวยหมายเลขลําดับ 0001 และลงทาย .AVI เชน
ASC_0001.AVI
วิธีใชคําสั่ง Before and after เปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนและหลังทําการแตงภาพ (retouch)
ใชสําหรับเปรียบเทียบภาพตนฉบับกอนการแตงภาพและหลังจากที่ทําการแตงภาพแลว วาจะใหผลอยางไร
คําสั่ง Before and after นี้จะใชไดเฉพาะกับภาพตนฉบบ และ ไฟลภาพที่ Retuoch แลวเทานั้น
และจะใชไมไดกับเปรียบเทียบไฟลภาพถาย 2 ภาพที่ถายทีละครั้งไมได

1.
กดปุม Playback กลองจะแสดงภาพที
ตองการเปรียบเทียบลาสุดที่ถายเก็บไวในการด

กดแปน 4 ทิศ ซาย-ขวาเพื่อเลือกภาพกอนหลัง


ภาพที่แสดงอยู

2.
กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ
กลองจะกระโดดไปที่หนาเมนูรายการตัดแตง
ภาพอยางรวดเร็ว Quick retouch

3.
กดแปน 4 ทิศ ขึ้น-ลง
เพื่อเลือกคําสั่งแตงภาพ Before and after

คําสั่ง Before and after จะใชไดเฉพาะกับภาพ


ตนฉบบ และ ไฟลภาพที่ Retuoch แลวเทานั้น

คําสั่งนี้จะใชกับไฟลภาพถาย 2 ภาพไมได

4.

กลองจะแสดงภาพตนฉบับ ทางดานซาย และ


ภาพที่ตัดแตง Retouch ทางดานขวามือ

พรอมกับแสดงขอความคําสั่งที่ใชแตงภาพนั้น

หากตองการดูภาพขยายใหกด ซาย-ขวา เพื่อ


เลือกภาพ แลวกดปุม เพื่อซูมขยายดูภาพ
ที่จะเลือกตรวจดูภาพก็ได

หากมีไฟลภาพที่ถูกแตงหลายครั้ง ใหกด ขึ้น-


ลง เพื่อดูภาพที่แตงดวยคําสั่งอื่นๆ

หากภาพที่ดูถูกสรางขึ้นจากการใชคําสั่งทําภาพซอน Image overlay


กดขึ้น-ลง เพื่อดูภาพที่ใชทําภาพซอนกัน

กด OK ตรงกลางแปน 4 ทิศ เพื่อออกจากคําสั่งเปรียบเทียบภาพ และใหกลองแสดงภาพถายปกติ


อุปกรณเสริมชวยการถายภาพแบบตางๆ (Optional Accessories)
เลนสถายภาพสําหรับกลอง D60

กลอง D60 มีระบบหาโฟกัสอัตโนมัติจะใชไดกับเลนสที่มีมอเตอรไฟฟาภายในไดแกรุน AF-I และ AF-S เทานั้น


เลนสที่มี CPU แตไมมีมอเตอรไฟฟาภายในจะใชไดโดยการหาโฟกัสดวยมือเทานั้น
เลนสที่มี CPU จะดูไดจากปุมสัมผัสขัว้ ไฟฟาที่อยูท
 ายเลนส
เลนสรุน AF-I และ AF-S จะมีอักษร "AF-I" และ "AF-S" เขียนนําหนาที่ที่ปายชื่อบนกระบอกเลนส
เลนส CPU แบบ IX (ใชกับกลองฟลม APS รุน Pronea) จะไมสามารถใชงานกับกลอง D40 ได

ตารางแสดง เลนสที่ใชได กับ ระบบตางๆของกลองมีดังนี้

คําอธิบาย
1. วัดแสงเฉพาะจุด จะอยูตรงกลางกรอบโฟกัสที่เลือกใช
2. ระบบวัดคาแสง และ คาแสงแฟลช จะทํางานไมถูกตอง เมื่อใชกับเลนสแบบปรับองศาภาพ (Shifting and Tilting)
หรือเมื่อใชคารูรับแสงอื่นๆ ที่ไมใชคารูรับแสงกวางสุด
3. ไฟยืนยันระยะโฟกัสในชองมองภาพ ใชไมไดกับเลนส แบบปรับองศาภาพ (Shifting and Tilting)
4. ใชไดกับเลนสรุนดังตอไปนี้
• AF-S VR Micro ED: 105mm f/2.8G IF (autofocus not supported)
• AF-S VR ED: 70–200mm f/2.8G IF, 200mm f/2G IF, 300mm f/2.8G IF, 200–400mm f/4G IF
• AF-S ED: 80–200mm f/2.8D IF, 300mm f/2.8D II IF, 300mm f/2.8D IF, 300mm f/4D IF*, 400mm
f/2.8D II IF, 400mm f/2.8D IF, 500mm f/4D II IF*, 500mm f/4D IF*, 600mm f/4D II IF*, 600mm
f/4D IF*
• AF-I ED: 300mm f/2.8D IF, 400mm f/2.8D IF, 500mm f/4D IF*, 600mm f/4D IF*
* ระบบโฟกัสอัตโนมัติ Autofocus ใชไมได
5. ใชกับระบบเลนสที่ทําใหมีคารูรับแสงจริง (Effective Aperture) อยางต่ํา F/ 5.6
6. หากใชกับเลนส AF 80–200 mm f/2.8, AF 35–70 mm f/2.8,
AF 28–85 mm f/3.5–4.5, หรือ AF 28–85 mm f/3.5–4.5
ขณะที่ซูมภาพที่ระยะโฟกัสใกลสุด ภาพในชองมองภาพอาจจะปรากฏไมคมชัดทั้งๆที่กลองแสดงวาโฟกัสไดแลว
ใหใชการปรับโฟกัสดวยมือ และใชภาพในชองมองภาพในการปรับโฟกัสแทน
7. ใชไดกับเลนสที่มีคารูรับแสงอยางนอย F/ 5.6
เลนสและอุปกรณ ที่ไมสามารถใชกับกลอง D60 มีดังตอไปนี้
• เลนสแบบ Non-AI
• เลนสเสริม TC-16A (AF)
• เลนสแบบที่ตองใชหนวยโฟกัส AU-1 (400 mm f/4.5, 600 mm f/5.6, 800 mm f/8, 1200 mm f/11)
• เลนสตาปลา Fisheye (6 mm f/5.6, 8 mm f/8, OP 10 mm f/5.6)
• เลนส 21 mm f/4 (รุนเกา)
• แหวน K2
• เลนส ED 180–600 mm f/8 (หมายเลขที่ 174041–174180)
• เลนส ED 360–1200 mm f/11 (หมายเลขที่ 174031–174127)
• เลนส 200–600 mm f/9.5 (หมายเลขที่ 280001–300490)
• เลนส สําหรับกลอง F3AF (80 mm f/2.8, 200 mm f/3.5, เลนสเสริม TC-16 Teleconverter)
• เลนส PC 28 mm f/4 (หมายเลขที่ 180900 หรือกอนหนานี้)
• เลนส PC 35 mm f/2.8 (หมายเลขที่ 851001–906200)
• เลนส PC 35 mm f/3.5 (รุนเกา)
• เลนสกระจกเงาสะทอน 1000 mm f/6.3 Reflex (รุนเกา)
• เลนสกระจกเงาสะทอน 1000 mm f/11 Reflex (หมายเลขที่ 142361–143000)
• เลนสกระจกเงาสะทอน 2000 mm f/11 Reflex (หมายเลขที่ 200111–200310)

เลนสแบบมีขั้วไฟฟา CPU และ แบบ Type G และ แบบ Type D

การใชคําสั่ง Non-Cpu Lens Data ในชุดรายการคําสั่งถายภาพ Shooting Menu


เมื่อใชรายการคําสั่ง Non CPU Lens Data ทําการปอนคาทางยาวโฟกัส และ คารูรับแสงกวางสุดของเลนส
ก็จะทําใหเลนสที่ไมมีหนวย CPU ทํางานไดเสมือนเปนเลนสแบบมีหนวย CPU

หากผูใชไมใสปอนคาเลนสใหกับกลอง ระบบวัดแสงสีแบบมาตริกซเฉลี่ยทั้งภาพ Color Matrix Metering จะใช


งานไมได และหากตั้งระบบวัดแสงไวที่มาตริกซ กลองจะเปลี่ยนไปใชระบบวัดแสงแบบเฉลี่ยหนักกลางแทน
ทันที

เลนสที่ไมมีหนวย CPU จะใชไดกับโหมดชวยถายภาพ A-Aperture และ M-Manual เทานั้น


การปรับคารูรับแสงทําไดโดยปรับที่แหวนปรับคารูรับแสงทายเลนส
หากผูใชไมระบุคารูรับแสงในรายการคําสั่ง Non-Cpu Lens Data กลองจะแสดงจํานวนคาสตอปจากที่เปดจาก
คารูรับแสงกวางสุดแทน

คารูรับแสงที่ใชจริงจะดูไดจากที่แหวนปรับคารูรับแสงที่ดานทายเลนสเทานั้น
หากผูใชโหมดชวยถายภาพ P-Programmed หรือ S Shutter Speed กลองจะเปลี่ยนไปใชโหมดชวยถายภาพ
A-Aperture และในจอ LCD ที่แสดงโหมดชวยถายภาพจะวาง แตมีตัว A แสดงในชองมองภาพ
การใชแฟลชภายนอก

กอนใชแฟลชภายนอก ใหถอดฝาปดชองใสแฟลชออกกอนตามภาพ

กลอง D60 ใชระบบแฟลช i-TTL และสนับสุนการทํางานระบบ CLS กับแฟลช SB-400, SB-600, SB-800
รวมทั้งหนวยสั่งงาน SU-800 และแฟลชระยะใกล SB-R200 ดังนี้

1. ใชไดเฉพาะเมื่อใชหนวยแฟลช SU-800 เปนตัวบัญชาการสั่งงาน


2. ใชไดกับเลนส CPU เทานั้น
3. หากใชระบบวัดแสงเฉพาะจุด โหมดแฟลชจะเปน i-TTL ธรรมดา
หากใชระบบวัดแสงแบบอื่นๆ โหมดแฟลชจะเปน i-TTL-BL แบบสมดุลยแสงสําหรับลบเงา (ฟลอิน) ดวย
4. ใชรายการคําสั่งเฉพาะที่ 14 ที่ตัวกลอง D40 สําหรับกําหนดการใชงาน
5. โหมดแฟลชเปน i-TTL-BL แบบสมดุลยแสงสําหรับลบเงา (ฟลอิน) สําหรับกลองดิจิตอล SLR
6. เลือกใชโหมดแฟลชจากปุม SEL ที่ตัวแฟลช หากใชเลนสที่ไมมี CPU แฟลชจะตั้งเปนโหมดอัตโนมัติ Auto เอง
7. หากใชเลนส CPU คารูรบั แสงจะปรับตามกลองใหโดยอัตโนมัติ
8. เลือกใชโหมดแฟลชจากปุม SEL ที่ตัวแฟลช
ขอจํากัดการใชงานของแฟลชหัวกลอง (Built-in flash)
แฟลชหัวกลอง (Built-in flash) ถูกออกแบบใหกับเลนสที่มี CPU ตั้งแต 18 ถึง 300 มม.
ควรถอด กระบังแสง (ฮูด) ที่หนาเลนสออกอนใชแฟลชหัวกลอง เพราะตัวฮูดอาจจะบังแสงแฟลชได

แฟลชหัวกลองมีระยะการทํางานต่ําสุดที่ 60 ซม. (2ฟุต) ดังนั้นจึงไมสามารถใชงานกับเลนสถายภาพ


-ระยะใกล (มาโคร) ได
และในบางกรณีแฟลชหัวกลองจะไมสามารถสองสวางครอบคลุมหมดทั่วทั้งภาพได ตามตารางนี้

เลนส ตําแหนงซูม ระยะแฟลชใกลสุด


AF-S DX 12–24mm f/4G ED 18 mm 1.5 ม./4 ฟ. 11 น.
20 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
AF-S DX 16-85mm f/3.5-5.6G ED VR 24 mm ไมมีขอจํากัด
AF-S 17–35mm f/2.8D ED 24 mm 2.0 ม./6 ฟ. 7 น.
28 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
35 mm ไมมีขอจํากัด
AF-S DX 17–55mm f/2.8G ED 28 mm 1.5 ม./4 ฟ. 11 น.
35 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
45 mm ไมมีขอจํากัด
AF 18–35mm f/3.5–4.5D ED 18 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น..
35 mm ไมมีขอจํากัด
AF DX 18–70mm f/3.5–4.5G ED 18 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
24 mm ไมมีขอจํากัด
AF DX 18–135mm f/3.5–5.6G ED 18 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
24 mm ไมมีขอจํากัด
AF DX VR 18–200mm f/3.5–5.6G ED 24 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
35 mm ไมมีขอจํากัด
AF 20–35mm f/2.8D 24 mm 2.5 ม./8 ฟ. 2 น.
28 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
35 mm ไมมีขอจํากัด
AF-S 24–70mm f/2.8G 35 mm 1.5 ม./4 ฟ. 11 น.
50 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น.
AF VR 24–120mm f/3.5–5.6G ED 24 mm 1.0 ม./3 ฟ. 3 น..
28 mm ไมมีขอจํากัด
AF-S 28–70mm f/2.8D ED 35 mm 1.5 ม./4 ฟ. 11 น.
50 mm ไมมีขอจํากัด
AF VR 200–400mm f/4G ED 250 mm 2.5 ม./8 ฟ. 2 น.
300 mm 2.0 ม./6 ฟ. 7 น.

เมื่อใชแฟลชหัวกลองกับเลนส AF-S 14–24mm f/2.8G ED แสงแฟลชหัวกลองจะไมสามารถ


สองสวางครอบคลุมหมดทั่วทั้งภาพได ไมวาจะใชตําแหนงซูมที่เทาใด็ตาม (เพราะมุมภาพกวางมากกวา
มุมฉายแสงแฟลชและตัวเลนสใหญมากเลยบังแสงแฟลชหัวกลองไวเกือบทั้งหมด)

แฟลชหัวกลอง D60 สามารถใชกับเลนส AI-S, AI และ AI แบบดัดแปลงได ที่ไมมีชิพ CPU ได


ตั้งแต 18 ถึง 300 มม. เลนส AI 50–300 มม. f/4.5, เลนส AI ดัดแปลง 50–300 มม. f/4.5,
เลนส AI-S 50–300 มม. f/4.5 ED ตองใชที่ตําแหนงซูม 135 มม. หรือ มากกวา และ เลนส
AI 50–300 มม. f/4.5 ED ตองใชที่ตําแหนงซูม 105 มม. หรือ มากกวา จึงจะไมเกิดเงาจากตัวเลนส
เมื่อใชแฟลชกลอง D60 หรือกับ SB-400, SB-800 หรือ SB-600 และเลนสที่มี CPU
กลองจะใชไฟสองชวยหาโฟกัสจากในตัวแฟลช
หัวแฟลช SB-800 หรือ SB-600 เทานั้นที่จะปรับตามซูมตามเลนสที่ใช
i-TTL Balanced Fill-Flash for digital SLR (i-TTL BL) ในระบบนี้กลองจะปรับกําลังแฟลชใหตามสภาพแสง
แวดลอม เพื่อสรางความสมดุลยระหวางตัวแบบและฉากหลัง
Standard i-TTL Balanced Fill-Flash for digital SLR (Standard i-TTL) ในระบบนี้กลองจะปรับกําลังแฟลชให
พอดีเฉพาะที่ตัวแบบ โดยไมสนใจสภาพแสงแวดลอม
เหมาะสําหรับเมื่อใชแฟลชเปนแสงถายภาพเพื่อเนนตัวแบบ โดยไมสนใจฉากหลัง หรือเมื่อใชกับสายตอแฟลช
SC-17, 28, 29
เมื่อใชระบบวัดแสงแบบมาตริกซ และเฉลี่ยหนักกลาง กลองจะใชระบบแฟลช i-TTL โดยอัตโนมัติ
หากใชระบบวัดแสงแบบเฉพาะจุด Spot กลองจะใชระบบแฟลช Standard i-TTL โดยอัตโนมัติ

ไกดนัมเบอร
คาไกดนัมเบอรเปนตัวกําหนดความสามารถในการสองสวางของแฟลช และใชในการคํานวนหาความสวางที่จะใช
ในการถายภาพดวยแสงแฟลช
โดยคํานวนไดดังนี้ ระยะถายภาพ เทากับ คาไกดนัมเบอร หารดวย คารูรับแสง เชนแฟลช SB-400 มีคาไกดนัม
เบอร 30 เมตร (98 ฟุต) ที่ ISO 200
ดังนั้น หากเปดหนากลองที่ f/5.6 ระยะถายภาพที่จะใหแสงแฟลชพอดี เทากับ 30/5.6 เทากับ 5.3 ม. (หรือ
17.5ฟุต)
หมายเหตุ: หากปรับคาความไวแสง ISO เพิ่มขึน ้ เปน 2 เทา ใหคูณระยะถายภาพดวยตัวคูณ 1.4 เทานั้น

กลอง D60 สามารถใชกับหนวยควบคุมแฟลชแบบไรสาย SU-800 ไดเหมือนกับใช SB-800


การตั้งใหกลองสัน ่ ทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD
เซ็นเซอรรับภาพที่รับแสงจากเลนสถายภาพจะมีกระจกฟลเตอร (low pass filter) ปดหนาอยู
สําหรับปองกันการเดิดเสนซ้ําซอน moiré อาการในภาพที่มีลายเสนริ้วๆ
ผูใชสามารถใชคําสั่ง Clean Image sensor ในหนารายการ Set Up ทําความสะอาดกระจกฟลเตอรนี้ได
หรือ ตั้งใหทําความสะอาดอัตโนมัติ ตอนปด หรือ เปด กลอง ก็ไดเชนกัน

1.

เพื่อใหไดผลดีที่สุด
ควรจัดวางกลองในแนวนอน ไดระนาบ

2.

ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set Up
กด ขึ้น-ลง เลือก Clean image sensor

กด ขวา เพื่อเขารายการ

3.

เลือกคําสั่ง Clean now

กด ขวา เพื่อทํารายการ

กลองจะแสดงขอความ
Cleaning image sensor
ในระหวางที่กําลังทําความสะอาด

เมื่อทําความสะอาดเสร็จ
กลองจะแสดงขอความ Image Sensor
Cleaning เสร็จแลว
การตั้งใหทา
ํ ความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD อัตโนมัติ ตอนปด หรือ เปดกลอง

1.

ในหนารายการ Clean image sensor


เลือกคําสั่ง Clean at startup/shutdown

กด ขวา เพื่อทํารายการ

2.

กลองจะแสดงรายการใหเลือกทํา
เลือกรายการที่ตองการ

กด เพื่อสั่งทํารายการตอไป

คําสั่งอัตโนมัติสําหรับทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD

คําสั่ง คําอธิบาย การใชงาน


Clean at Startup ทําความสะอาด เมื่อเปดสวิทชกลอง กอนใชงาน
Clean at shutdown ทําความสะอาด เมื่อปดสวิทชกลอง หลังใชงาน
Clean at startup and shutdown ทําความสะอาด เมื่อเปด และปด สวิทชกลอง กอน
และ หลังใชงาน
Cleaing off * ไมตองทําความสะอาด
* (Default คาปริยายทีถ่ ูกตั้งมาจากโรงงาน)

หมายเหตุ:
ระบบทําความสะอาดในตัว ยังไมสามารถทําความสะอาดไดดีเทากับการปดลาง CCD โดยตรง

ขณะที่ใชงานระบบทําความสะอาดในตัว: ระบบจะหยุดการทํางานหากปุมชัตเตอร, หรือ ปุม

ระบบทําความสะอาดในตัว จะเขยาตัวเซ็นเซอรใหผงฝุนหลุดออกมาเอง หากยังมีฝุานตกคางอยู


ใหทําการเปาไลดวยตัวเอง หรือ สงรับบริการที่ศูนยบริการ

หากใชระบบทําความสะอาดในตัว ติดตอกันหลายครั้ง ระบบฯอาจจะหยุดทํางานได


เพื่อปองกันความเสียหายภายใน ใหพักการทํางานสักครูหนึ่งกอนจะทําอีก
การทําความสะอาดเซ็นเซอรรับภาพ CCD

หากเซ็นเซอรรับภาพ มีผงฝุนติดแนน จนไมสามารถทําความสะอาดดวยระบบฯ ในตัวกลองเองได


ผูใชสามารถทําความสพอาดดวยตัวเอง แนะนําใหใชบริการของศูนยในการทําความสะอาดแบบนี้

1.

ตรวจเช็คระดับกําลังไฟฟาในแบตเตอรี่กลองวาใชถานชารทใหมๆ
หรือมีไฟเหลือ อยางนอย เทากับ
หรือใชหมอแปลงไฟบาน EH-5a เพื่อชวยใหมีกําลังไฟฟาพอเพียง

2.

ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set Up
เลือก Mirror lock up

หากถานฯมีกําลังไฟต่ํากวา 60%
กลองจะไมใหทํารายการคําสั่งนี้

กด เพื่อสั่งทํารายการตอไป

3.

กดปุมชัตเตอร กระจกจะยกขึ้น
และเปดมานชัตเตอร

จอ LCD แสดงคําสั่ง --- -- กระพริบเตือน

4.

ตรวจดูกระจกฟลเตอร Low pass ที่


ตัวเซ็นเซอร โดยการขยับกลองไปมาในที่
แสงสองถึง
5.

หากมีใชลูกยางบีบเปาเบาๆไลฝุน

หามใชลูกยางแบบมีแปรง หรือ แตะโดน


เซ็นเซอร หากไมแใจ ใหสงศูนยบริการ
ทันที

6.

ปดสวิทชกลองไปที่ OFF เพื่อลดกระจก


ปดมานชัตเตอร ใสฝาปดบอรดี้ หรือ เลนส
เขาที่เดิม
เครื่องหมายและสัญลักษณเตือนตางๆที่แสดงในจอคําสั่ง LCD, ชองมองภาพ,
หรือ จอแสดงภาพมีดังนี้

เครื่องหมายเตือน
จอคําสั่ง LCD ในชองมอง ปญหาที่เกิดขึ้น
จะแสดงขอความดังตอไปนี้ ภาพ • วิธีการแกไขเบื้องตน
Lock lens aperture ring แหวนปรับคารูรับแสงที่เลนสไมได
(กระพริบ) หมุนแหวนปรับคารูรับแสงที่เลนสไปที่รูรับแสงที่
แคบที่สุด
(คา f/- มากที่สุด)
Lens not attached ไมไดใสเลนสที่กลอง หรือ
(กระพริบ) ใสเลนสแลว แตเลนสที่ใสเปนแบบไมมี CPU
Attach a lens • ใสเลนส หรือ ถอดใสใหม
(กระพริบ) • เปลี่ยนไปใชโหมดถายภาพ M
Shutter release disabled. ถานใกลหมดไฟฟา
Recharge battery. เตรียมถานกลองใหม

• ถานหมดไฟฟาแลว
This battery cannot be used.
Choose battery designated • ถานใชไมไดแลว
for use in this camera. (กระพริบ)
• ใชถานที่ไมใชถานแทในกลอง

• ถอดชารทไฟใหม

• ติดตอศูนย หรือ ใชถานใหม

• เปลี่ยนถานใหม

Clock not set


นาฬิกาในกลองยังไมไดถูกตั้ง
(กระพริบ)
ตั้งนาฬิกาในกลองใหม
Card not insert กลองไมมีการด
ใสการด SD ในกลอง
กลองไมสามารถหาโฟกัสได
-- (กระพริบ) ปรับหาโฟกัสดวยตัวผูใชเอง
Memory card is locked. การดถูกล็อค Protect ไว
Slide lock to “write” position. ใหถอดการด SD แลวเลื่อนสวิทชไปที่ Write
(กระพริบ)
This memory card cannot การดความจําเสีย
be used. Card may be • เปลี่ยนการดความจําใหม
damaged. Insert another (กระพริบ) • ฟอรแมทการดใหม
card. • ถอดการดออกมาทําความสะอาดขั้วสัมผัส
• ลบภาพที่ไมตองการทิ้งไปบาง
This card is not formatted.
Format the card. (กระพริบ) • ฟอรแมทการดใหม

Card is full การดความจําเต็ม ไมมีที่เพียงพอสําหรับเก็บ


(กระพริบ) ไฟลภาพ หรือ ตัวเลขลําดับภาพถูกใชหมดแลว
• ลดขนาดภาพลง
• ลบภาพที่ไมตองการทิ้งไปบาง
• เปลี่ยนการดความจําใหม
Subject is too bright.
มีแสงถายภาพมากเกินไป
ภาพที่ไดจะสวางเกินไป (โอเวอร)
• ลดคาความไวแสง ISO ลง
• ใชฟลเตอร ND ชวยลดแสง
• เพิ่มความเร็วชัตเตอรใหสูงขึ้น
หรี่รูรับแสงใหเล็กลง
Subject is too dark. มีแสงถายภาพนอยเกินไป
ภาพที่ไดจะมืดเกินไป (อันเดอร)
• เพิ่มคาความไวแสง ISO ขึ้น
• ใชแฟลช ใหแสงชวยถายภาพ
• ลดความเร็วชัตเตอรใหสูงขึ้น
เปดรูรับแสงใหกวางขึ้น
หากกระพริบนาน 3 วินาทีหลังที่ถายภาพ แสง
-- แฟลชที่ใชถายภาพอาจจะไมพอ ทําใหภาพที่
ถายออกมาดูมืดได
(กระพริบ) • ตรวจดูภาพที่เพิ่งถายไปใจอแสดงภาพ แลว
ปรับแตงแกไข เชน รนระยะถายภาพเขาไป
ใกลขึ้น
Flash is in TTL mode. Choose แฟลชที่ใชไมสนับสนุนการทํางานแบบ i-TTL
another setting or use a CPU หรือ ไมไดถูกตั้งไปที่ โหมดแฟลช i-TTL
lens. (กระพริบ) • ตั้งแฟลชไปที่ โหมดแฟลช i-TTL
• เปลี่ยนไปใชเลนสแบบมี CPU
• แฟลชหัวกลองยังไมถูกยกขึ้น
• ตรวจดูภาพที่เพิ่งถายไปใจอแสดงภาพ แลว
ปรับแตงแกไข เชน รนระยะถายภาพเขาไปใกล
--
(กระพริบ) ขึ้น, ใชคารูรบ
ั แสงกวางขึ้น หรือ เพิ่มความไว
แสง ISO
หากใชกับแฟลช SB-400
• หัวแฟลช SB-400 ถูกยกเงยขึ้น (ใหตั้งหัว
แฟลชใหม ไปทางดานหนา)
• แฟลช SB-400 สงแสงไดไมพอ ที่ระยะ
ถายภาพนั้น
No Bulb in S mode. ผูใชเลือก ในโหมดถายภาพแบบผูใช
(กระพริบ) กําหนดความเร็วชัตเตอร (S Shutter Priority)
เปลี่ยนไปใชความเร็วชัตเตอรอื่น หรือ ใชโหมด
-- ถายภาพ M-Manual แมนนวล
(กระพริบ)
Unable to measure preset
white balance. Please try กลองไมสามารถวัดคาสมดุลยสีขาว WB ได
again. (กระพริบ) • ใหทําการวัดใหม

FOLDER CONTAINS NO ไมมีไฟลภาพถูกเก็บไวในโฟรเดอรนี้


IMAGES. -- • เปลี่ยนเลือกโฟรเดอรใหม หรือ เปลี่ยน
การดใหม
FILE DOES NOT CONTAIN ไฟลภาพถูกดัดแปลงดวยโปรแกรม หรือ
IMAGE DATA. คอมพิวเตอร หรือ กลองยี่หออื่นๆ หรือไฟลภาพ
-- เสียหาย จนไมสามารถแสดงได
กลองไมสามารถแสดงภาพได
• ถอดเปลี่ยนการดใหม
CHECK PRINTER. เครื่องพิมพไมสามารถพิมพภาพได
-- • ตรวจดูสถานะของเครื่องพิมพ, สายตอ,
กระดาษ และหมึกพิมพ
Error. Press shutter release มีความผิดพลาดเกิดในกลอง
button again. • กดลั่นชัตเตอร หรือหากเกิดซ้ําๆกันบอยๆ
(กระพริบ) ใหสงศูนยบริการ โทร. 02 235 2929-34

Initialization error. Contact มีความผิดพลาดเกิดในกลอง


Nikon-authorized service • ใหสงศูนยบริการ โทร. 02 235 2929-34
representative. (กระพริบ)

การรีเซ็ทการทํางานของกลอง (Reset)

ในบางครั้ง กลองอาจจะทํางานผิดปกติ เชน แสดงสัญลักษณแปลกๆในจอ


LCD หรือ ทํางานผิดปกติ หรือ หยุดทํางาน โดยสวนใหญแลวอาการเหลานี้
มักมีสาเหตุเกิดจากอิทธิพลจากสนามไฟฟาสถิตยแรงสูง เชน อากาศเย็น -
แหง อยูใกล สายสงไฟฟา หากมีปญหา ในกรณีเหลานี้ ใหปดสวิทชกลอง
ถอดเปลี่ยนใสถานที่ชารทเต็มที่ แลวเปดสวิทชกลองอีกครั้ง
หากยังคงมีปญหา ใหเปดฝาปดชองเสียบดานขาง กดปุมยางเล็กๆ ที่แสดง
ในภาพเพื่อรีเซ็ทกลองคาคําสั่งตางๆในกลองจะถูกยกเลิกกลับไปที่คาปริยาย
(default) ทั้งหมด โดยตองเริ่มตนตั้งวันที่ เวลา นาฬิกาใหมหมด
การรีเซ็ทแตก็จะไมมีผลกับไฟลภาพที่ไดบันทึกไวในการดความจํา
ขอใหโชคดีทุกทานครับ
ผูใชสามารถ ดึงรายการคําสั่งตางๆที่ใชบอยๆ มาสรางเปนชุดรายการคําสั่งสวนตัว เพื่อความสะดวก
และรวดเร็วในการเรียกใชคําสั่งปรับแตงตางๆ โดยไมตองกระโดดหรือคนการตามหนาชุดคําสั่งตางๆ
เขนหนารายการ Playback, ชุดคําสั่งถายภาพ (Shooting), ชุดคําสั่งเฉพาะตัว Custom Settings,
ชุดคําสั่งจัดเตรียมกลอง (Setup), และ ชุดคําสั่งถายภาพจัดแตงภาพ Retouch menus

ผูใชสามารถรวบรวมคําสัง่ ที่ใชบอยๆจากที่ตางๆมาไวที่ ชุดรายการคําสั่งสวนตัว (My Menu) ไดดังนี้

1.
ในหนาชุดรายการคําสั่ง Set up
เลือก CSM/Setup menu

กด ขวา เพื่อเขาทํารายการ

2.
กลองจะแสดงชุดรายการคําสั่งใหเลือก

กด ขึ้น หรือ ลง
เลือกชุดรายการคําสั่ง My menu

กด ขวา เพื่อเขาทํารายการสราง My
menu

3.
กลองจะแสดงรายการคําสั่งทั้งหมด

กด ขึ้น หรือ ลง
ใหเลือกคําสั่งที่ตองการเรียกใชบอยๆ

กด ขวา เพื่อเลือกคําสั่งนั้น
คําสั่งที่ถูกเลือกไปเก็บที่ My menu

4.
เมื่อเลือกแลว ก็จะมีเครือ
่ งหมาย
แสดงวาคําสั่งรายการนั้นไดเก็บลงที่
รายการ My menu เรียบรอยแลว

ใชขั้นตอนที่ 2-3 สําหรับเก็บคําสั่งตอไป


ตามที่ตองการ
5.
เมื่อเลือกคําสั่งที่ตองการไดแลว
ใหเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยันคํา
ใหกลองเก็บคําสั่งนั้นลงไวใน My menu

ใชขั้นตอนที่ 1-2-3-4 อีกครั้งสําหรับเก็บ


คําสั่งอื่นๆในชุดรายการคําสั่ง Shooting,
Playback, Custom setting, Retouch
ตอไปตามที่ตองการ

6.

เมื่อเลือกคําสั่งที่จะใชใน My menu ได


ครบตามตองการแลว กด ซาย
กลับไปที่หนาแรก CSM/Setup

ใหเลือก Done แลว กด OK เพื่อยืนยัน


คําสั่งใหกลองเก็บคําสั่งตางๆที่ไดเลือกไว
ไปเก็บลงไวใน My menu
D60 - Basic Set up Menu
ชุดรายการคําสั่งการใชงานขั้นพืน
้ ฐานของกลอง D60

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
หัวขอคําสั่ง ความหมาย และ คําอธิบาย
• ตัวเลือก
CSM / Setup menu กําหนดวาจะใหกลองแสดงรายการคําสั่งตางๆอยางไร อะไรบาง
ตั้งวิธีการแสดงรายการคําสั่งตางๆ
• Simple * • Simple แสดงรายการคําสั่งอยางยอ ชุดสั้น (7 รายการ) เทานั้น *
• Full • Full แสดงรายการคําสั่งทั้งหมด ชุดเต็ม (ทั้งหมด 19 รายการ)
• My menu • My menu ใหแสดงเมนูรายการคําสั่งที่ผูใชตองการใชบอยๆ
Done Done ทํารายการ เสร็จแลว
Playback Menu Playback เลือกชุดรายการคําสั่งแสดงภาพ ไวใชใน My Menu
Shooting Menu Shooting เลือกรายการคําสั่งถายภาพ ไวใชใน My Menu
Custom Menu Custom เลือกรายการคําสั่งเฉพาะ ไวใชใน My Menu
Setup Menu Setup เลือกรายการคําสั่งใชงานพื้นฐานไวใชใน My Menu
Retouch Menu Retouch เลือกรายการแตงภาพ ไวใชใน My Menu
Format memory card
การฟอรแมทการดความจํา การฟอรแมทเพื่อลบภาพที่เก็บทั้งหมด เพื่อจัดระเบียบเก็บภาพชุดใหม
• No • No ไม ไมตองการฟอรแมท
• Yes • Yes ใช ตองการฟอรแมทลางการด

Info display format


เลือกรูปแบบการแสดงคําสั่งถายภาพ เลือกรูปแบบการแสดงคําสั่งและขอมูลที่สําหรับจะใชถายภาพ

• Digital Vari-program • Digital Vari-program


Classic Classic แบบคลาสสิก แสดงขอมูลตัวเลขขนาดใหญเห็นงาย
Graphic Graphic แบบกราฟฟก มีขอมูล และ มีภาพประกอบ
Wallpaper Wallpaper แบบภาพวอลเปเปอร มีขอมูลแสดงบนฉากหลัง
• P, S, A, M • P, S, A, M
Classic Classic แบบคลาสสิก แสดงตัวเลขขนาดใหญเห็นงาย
Graphic Graphic แบบกราฟฟก มีขอมูลและภาพสัญลักษณแสดง
Wallpaper Wallpaper แบบวอลเปเปอร มีขอมูลแสดงบนฉากหลัง
• Select wallpaper • Select wallpaper เลือกภาพจาก การดสําหรับใชเปนฉากหลัง
Auto shooting info
ตั้งใหกลองแสดงคําสั่งที่ใชถายภาพ กําหนดใหกลองแสดงขอมูลบนจอ LCD ตลอดเวลาหรือไม
โดยอัตโนมัติ
• Digital Vari-program • Digital Vari-program ในโหมดชวยถายภาพแบบโปรแกรมดิจิตอล
On On เปด กลองจะแสดงขอมูลที่จะใชถายภาพตลอดเวลาที่เปดใช
Off Off ปด กลองจะไมแสดงขอมูลใดๆบนจอ LCD
• P, S, A, M • P, S, A, M ในโหมดชวยถายภาพแบบ P, S, A, M
On On เปด กลองจะแสดงขอมูลที่จะใชถายภาพตลอดเวลาที่เปดใช
Off Off ปด กลองจะไมแสดงขอมูลใดๆบนจอ LCD
Shooting Info Auto off
ตั้งใหกลองปดจอ LCD โดยอัตโนมัติ กําหนดใหกลองเปดมิเตอรวัดแสง และ ปดจอ LCD โดยอัตโนมัติเมื่อ
ผูใชมองในชองมองภาพ

• On • On เปด กลองจะสวิทชปดจอ LCD เมื่อผูใชมองในชองมองภาพ *


• Off • Off ปด กลองจะยังเปดจอ LCD เมื่อผูใชมองในชองมองภาพ
World time
ตั้งเวลาตามสวนตางๆของโลก ตั้งนาฬิกา ใหบอกเวลาตามสวนตางๆของโลกที่ใชงาน

• Time zone • โซนเวลา


Select เลือกโซนเวลา
• Date • วันที่
Date set ตั้งวันที่
Time set ตั้งเวลา
• Date format • ตั้งรูปแบบแสดงวันที่
yy/mm/dd ป/เดือน/วันที่
mm/dd/yy เดือน/ป/วันที่
dd/mm/yy วันที่/เดือน/ป
• Daylight saving time • ตั้งเวลาประจําฤดูรอน
Off ปด ไมใช
On เปด ตั้งเวลาประจําฤดูรอน
LCD Brightness
ตั้งความสวางของจอ LCD ตั้งความสวางจอแสดงภาพ LCD ดานหลัง
• LCD Brightness • ตั้งความสวางจอ LCD ได 7 ระดับ ตั้งแต -3 ถึง +3 จากปกติ
• Auto dim • Auto dim หรี่แสงสวงของจอ LCD โดยอัตโนมัติ *

Video mode
สัญญาณภาพวีดีโอ กําหนดวาจะใหกลองแสดงภาพออกทางสัญญาณโทรทัศนในแบบใด
• NTSC • NTSC สัญญาณโทรทัศน USA, Japan
• PAL • PAL สัญญาณโทรทัศน ประเทศไทย, ประเทศเครือจักรภพ UK
Language
ภาษาในเมนูสั่งงาน เลือกภาษาที่ใชสําหรับเมนูรายการคําสั่งตางๆ

• German • English • German • English


• Spanish • Finish • Spanish • Finish
• French • Italian • French • Italian
• Dutch • Polish • Dutch • Polish
• Portugese • Portugese
• Russian • Swedish • Russian • Swedish
• Chinese Traditional • Chinese Traditional
• Chinese Simplified • Chinese Simplified
• Japanese • Korean • Japanese • Korean
Image comment สําหรับเขียนขอความกํากับลงในไฟลภาพที่บันทึกไว เชน ชื่อเจาของ
ขอความกํากับภาพถาย โดยสามารถเปดดูไดดวยโปรแกรม Capture NX หรือ View NX

• Done > • เขียนขอความเสร็จแลว กลับไปที่เมนูหนาแรก


• Input comment • ตองการใสขอความกํากับ
Text entry เลือกตัวอักษร สําหรับแตงประโยคขอความ
• Attach comment • ติ้กเพื่อเริ่มใสขอความกํากับลงในไฟลลภาพ
No No ไมตองใส
Yes Yes เริ่มใสได (จะเชียนขอความเหมือนกันหมดทุกภาพ)
Folders
การตั้งชื่อแฟมที่ใชเก็บไฟลภาพ กําหนดแฟมที่จะใชเก็บบันทึกไฟลภาพ

• Select folder • Select folder เลือกชื่อแฟม


NCD60 * (etc.) 100NCD60 (etc.) เชน NCD60 *
• New • New สรางแฟมใหม
Text entry (5 chars) Text entry (5 chars) ตั้งชื่อแฟม (อักษรไมเกิน 5 ตัว)
• Rename • Rename เปลี่ยนชื่อแฟม
Select Select เลือกใชชื่อแฟมใหม
• Delete • Delete ลบแฟมทิ้ง
Select Select ยืนยันทําการลบแฟมทิ้ง (ไฟลภาพจะถูกลบทิ้งไปดวย)
File no. sequence
กําหนดหมายเลขลําดับไฟลภาพ กําหนดหมายเลขลําดับการบันทึกไฟลภาพ

• Off * • Off - ปด กลองจะเริ่มหมายเลขภาพที่ 0001 ทุกครั้งที่ใสการด *


• On • On - เปด สั่งใหกลองใชเลขลําดับไฟลภาพเรียงตอกันไปเรื่อยๆ
• Reset • Reset – ตั้งหมายเลขลําดับกลับไปเริ่มตนที่ 0001 ใหม
Clean Image Sensor
กําหนดการทําความสะอาดจอรับภาพ ตั้งใหกลองทําความสะอาดจอรับภาพ (เซ็นเซอร) ดังนี้

• Clean now • ทําความสะอาดทันที


• Clean at • ทําความสะอาดเมื่อ
On Start up เปด สวิทชกลอง เริ่มใชงาน
Off Shut down ปด สวิทชกลอง ไมใชงานกลองแลว
Start up and shut down * ทั้งตอนเปด และ ปด สวิทชกลอง *
Cleaning off ปด ไมตองทําความสะอาดใดๆทั้งสิ้น

Mirror lock-up
สั่งยกกระจกคางไว ยกกระจกสะทอนภาพขึ้น แลวคางไว เพือ
่ ตรวจเช็คจอรับภาพ CCD

• On • เปด ยกกระจกคางไว เพื่อเปาทําความสะอาดจอ CCD


• Off • ปด ไมตองยกกระจก
Firmware Version
โปรแกรมคําสั่งกลอง สําหรับแสดงขอมูลของโปรแกรมควบคุมกลอง (เฟริมแวร)

• Version No. • หมายเลขลําดับรุนโปรแกรม


A 1.00 A 1.00
B 1.00 B 1.00
D60 - Playback Menu
ชุดรายการคําสั่งแสดงภาพถายที่บันทึกเก็บไวในการดความจํา

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
หัวขอคําสั่ง ความหมาย และ คําอธิบาย
• ตัวเลือก
Delete
ลบไฟลภาพทิ้ง เลือกภาพที่ตองการลบทิ้งจากการด
• Selected • Selected เลือก ลบทิ้งเปนภาพๆไป
• All • All เลือก ลบทิ้งภาพทั้งหมดทุกภาพ
Playback Folder
เลือกโฟรเดอรที่จะใชดูภาพ เลือกโฟรเดอรที่จะใชดูไฟลภาพที่บันทึกไว
• NCD600 • เลือกดูเฉพาะโฟรเดอรที่สรางจากกลอง D60
• All • ดูหมดทุกโฟรเดอร ที่อยูในมาตรฐาน DCF
• Current • โฟรเดอรลา สุดที่กําลังใชบันทึกภาพ
Rotate Tall
กลับภาพ เปนแนวตั้งอัตโนมัติ กําหนดใหกลองกลับภาพแนวตั้งโดยอัตโนมัติ เมื่อตั้งกลองในแนวตั้ง
• On * • เปด ใหกลับภาพเปนแนวตั้งโดยอัตโนมัติ *
• Off • ปด ไมตองกลับภาพ
Slide Show
ใหกลองทยอยแสดงภาพ ตั้งใหกลองทยอยแสดงทีละภาพ เปนจังหวะ

• Start • เริ่ม แสดงภาพได


• Frame Interval • ตั้งเวลาที่จะภาพจะถูกแสดงนานกี่วินาที

Stop-Motion Movies
แสดงภาพถายตอเนื่องแบบภาพยนต แสดงภาพถายตอเนื่องแบบภาพยนต stop-motion (ภาพยนตที่สราง
จาก Retouch menu)
D60 - Shooting Menu
ชุดรายการคําสั่งการบันทึกถายภาพ

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
หัวขอคําสั่ง ความหมาย และ คําอธิบาย
• ตัวเลือก
Optimize image เลือกรูปแบบลักษณะของภาพ หรือ จะตั้งตามรูปแบบของตัวเอง
เลือกรูปแบบลักษณะของภาพ ใชไดเฉพาะในโหมดชวยถายภาพ P, S, A M เทานั้น

• Normal * • ภาพมาตรฐาน ตามปกติ *


• Softer • ภาพนุมกวาปกติ
• Vivid • ภาพสีจัดกวาปกติ
• More vivid • ภาพสีจัดจานมากขึ้น
• Portrait • ภาพบุคคล (เนนสีผิว)
• Black and white • Black and white การแตงโทนภาพ ขาว-ดํา
• Custom • ตั้งลักษณะภาพดวยผูใชเอง
Done Done ปรับเรียบรอยแลว
Image sharpening Image sharpening แตงความคมชัด
Auto Auto อัตโนมัติ (ตามลักษณะเลนสที่ใชและสภาพแสง) *
Normal (0) Normal (0) ปรับแตงเล็กนอย ขึ้นอยูกับขนาดของภาพดวย
Low (-2) Low (-2) คมชัดต่ํากวาปกติ
Medium low (-1) Medium Low (-1) ต่ําปานกลาง
Medium high (+1) Medium High (+1) สูงปานกลาง
High (+2) High (+2) คมชัดสูงกวาปกติ
None None ไมตองแตงความคมชัด
Tone compensation Tone Compensation การปรับโทนความสวางของภาพ
Auto Auto อัติโนมัติ (ตามลักษณะเลนสที่ใชและสภาพแสง) *
Normal (0) Normal (0) ปรับแตงเล็กนอย ขึ้นอยูกับขนาดของภาพดวย
Less contrast (-2) Less Contrast (-2) ใหคอนทราสต่ํากวาปกติ
Medium low (-1) Medium low (-1) ใหคอนทราสต่ําปานกลาง
Medium high (+1) Medium high (+1) ใหคอนทราสสูงปานกลาง
More contrast (+2) More Contrast (+2) ใหคอนทราสสูงกวาปกติ
Custom Custom ตั้งลักษณะโทนความสวางภาพดวยผูใชเอง
Color mode Color Mode การกําหนดรหัสระบบสีของไฟลลภาพ
Ia (sRGB) I (sRGB) * ใชรหัสสี sRGB สําหรับภาพทั่วๆไป
II (Adobe RGB) II (Adobe RGB) ใชรหัส Adobe RGB เนนความแมนยําของสี
IIIa (sRGB) III (sRGB) ใชรหัสสี sRGB เนนสีเขียว/สีฟาสําหรับภาพวิว
Saturation Saturation การเรงความเขมอิ่มตัวของสี
Auto Auto อัติโนมัติ (ตามลักษณะแสงและโหมดถายภาพที่ใช)
Normal (0) Normal ตามปกติ ปรับแตงเล็กนอย (0) *
Moderate (-) Moderate (-) ใหความเขมอิ่มตัวของสีต่ํากวาปกติ
Enhanced (+) Enhanced (+)ใหความเขมอิ่มตัวของสีมากกวาปกติ
Hue adjustment Hue Adjustment การแตงโทนอุณหภูมิของสีในภาพ
-9° to +9° -ตั้งไดตั้งแต -9 (ภาพโทนเย็น) ถึง +9 (ภาพโทนรอน)
Image quality
ขนาดไฟลภาพ กําหนดขนาดของภาพ และไฟลภาพที่จะถูกบันทึกลงในการดความจํา

• NEF (RAW) • NEF (RAW) ไฟลลภาพดิบ ไมมีการตกแตง


• JPEG fine • JPEG Fine ไฟลลบีบอัดนอย รายละเอียดสูงสุด
• JPEG normal * • JPEG Normal ไฟลลบีบอัดปานกลาง รายละเอียดปานกลาง *
• JPEG basic • JPEG Basic ไฟลลบีบอัดมาก รายละเอียดขั้นพื้นฐาน
• NEF (RAW) + JPEG Basic • NEF (Raw) + JPEG Basic บันทึก 2 ไฟล รายละเอียดขั้นพื้นฐาน

Image size
กรอบขนาดของภาพ การกําหนดกรอบขนาดภาพ - กวางxยาว / ขนาดไฟลโดยประมาณ

• Large * - 3008 x 2000 / 6.0 MB *


• Medium - 2256 x 1496 / 3.3 MB
• Small - 1504 x 1000 / 1.5 MB
White balance
คาสมดุลยแสงสีขาว กําหนดเลือกใชสมดุลยสีขาว (ปรับแตงชดเชยได -3 ถึง +3)
ในสภาพแสงตอไปนี้
• Auto * • Auto อัติโนมัติ ตามระบบวัดแสง RGB, แฟลช และเลนสที่ใช *
• Incandescent • Incandescent เมื่อใชแสงจากหลอดไฟฟาแบบเผาไสทังสเตน
• Fluorescent • Fluorescent เมื่อใชแสงจากหลอดไฟฟาแบบหลอดเรืองแสง
• Direct sunlight • Direct Sunlight เมื่อใชแสงจากดวงอาทิตยโดยตรง
• Flash • Flash เมื่อใชแสงจากแสงไฟแฟลช
• Cloudy • Cloudy เมื่อใชแสงธรรมชาติ สภาพทองฟาเมฆมาก
• Shade • Shade เมื่อใชแสงธรรมชาติ ในที่ๆมีรมเงา
• White bal. preset - Select WB ปรับใชตามสภาพแสงที่มีในขณะนั้น
ISO sensitivity
ความไวแสง กําหนดคาความไวแสง ( Auto * ใชไดในโหมด Vari-program
เทานั้น หรือ ** ในโหมด P, S, A, M เมื่อใชกับคําสั่งเฉพาะที่ 10)
• Auto * • Auto
• 200 ** • 200
• 400 • 400
• 800 • 800
• 1600 • 1600
• HI 1.0 (~ISO 3200) • HI 1.0 (~ISO 3200)
Noise reduction
ระบบขจัดจุดสีรบกวน การกําจัดจุดสีรบกวนเมื่อใช ISO 800
หรือ เมื่อใชความเร็วชัตเตอร นานกวา 1 วินาที
• Off * • Off ปด ไมใช *
• On • On เปด ใชงาน
Active D-Lighting ใชตั้งคาชดเชยแสงถายภาพ เมื่อใชถายภาพยอนแสง
ระบบชดเชยคาแสงถายภาพยอนแสง • Off ปด ไมใช *
• On เปด ใชงาน
D60 – Custom Setting Menu
ชุดรายการคําสั่งเฉพาะตัว

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
หัวขอคําสั่ง ความหมาย และ คําอธิบาย
• ตัวเลือก
R Reset
การรีเซ็ท คําสั่งที่ผูใชตั้ง ใช สั่งใหกลองใชคาเดิมที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน ( ตามรายการที่มี * )
• No • No ไมตองการ
• Yes • Yes ใช ใหกลับไปเหมือนเดิมตามที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
01. Beep ใชสั่งใหกลองสงเสียงสัญญาณเตือน เมื่อหาโฟกัสไดแลว
สัญญาณเตือน หรือ ใชไทมเมอร หรือ รีโมท
• On * • On เปด ใหสงเสียงเตือน *
• Off • Off ปด ไมใหมีเสียงเตือน
02. Focus mode
กําหนดโหมดหาโฟกัสที่ตองการใช
• AF-A Auto-servo AF • AF-A AF ใหกลองเลือกเองวาจะหาโฟกัสอัตโนมัติแบบไหน
• AF-S Single-servo AF • AF-S Single ใหกลองหาโฟกัสตอการกดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง
• AF-C Continuous-servo AF • AF-C Continuous ใหหาโฟกัสแบบตอเนื่องเทาที่กดปุมชัตเตอรไว
• M Manual focus • M Manual focus ผูใชปรับหาโฟกัสดวยตัวเองทั้งหมด
03. AF-area mode
เลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ สั่งกลองเลือกกรอบหาโฟกัสอัตโนมัติ (แลวแตโหมดชวยถายภาพ) *
• Single area * • ใหกลองใชกรอบโฟกัสอันเดียว เทานั้น
• Dynamic area * • ใชกรอบโฟกัสอันเดียว แตก็ใหใชกรอบอื่นๆที่เหลือชวยดวยได
• Auto-area AF * • ใหกลองเลือกใชกรอบโฟกัสอันใดอันหนึ่งก็ได

04. Release mode


กําหนดลักษณะการถายภาพ กําหนดลักษณะการลั่นชัตเตอรถายภาพ

• Single frame • Single frame ถายทีละภาพ (กดปุมชัตเตอร 1 ครั้ง ตอ 1 ภาพ)


• Continuous • Continuous ถายภาพตอเนื่อง (ถายตอกันไปหลายภาพ กดแชไว)
• Self-timer • Self-timer ตั้งนับเวลาถอยหลัง กอนที่จะลั่นชัตเตอรถายภาพ
• Delayed remote • Delayed remote หนวงเวลา เมื่อใชกับรีโมทสั่งลั่นชัตเตอร
• Quick-response remote • Quick-response ถายภาพในฉับพลัน ทันทีที่กดปุมรีโมทถายภาพ

05. Metering
ระบบวัดแสง สั่งใหเลือกใชระบบวัดแสง
• Matrix • Matrix วัดแสงเฉลี่ยทั่วทั้งภาพ ดวยตัวเซ็นเซอร 420 จุด
• Center-weighted • Center-weighted วัดเฉลี่ยหนักกลาง 75% และ 25% ขอบภาพ
• Spot • Spot วัดเฉพาะตรงจุดใดจุดหนึ่งในภาพ (ตามกรอบที่ใชหาโฟกัส)
06. No memory card? หากไมไดใสการดความจํา SD ไวในกลอง
หากไมไดใสการดความจํา?
• Release locked * • Release Locked * ใหลอคปุมชัตเตอร ไมใหถายภาพได *
• Enable release • Enable Release ใหกดชัตเตอรได (แตจะไมมีการบันทึกภาพ)

07. Image review


การแสดงภาพที่เพิ่งถาย การแสดงภาพที่เพิ่งถาย ไปลาสุด
• On * • On * เปด ใหแสดงภาพที่เพิ่งถาย (แสดงนาน 4 วินาที)
• Off • Off ปด ไมตองแสดงภาพที่เพิ่งถาย

08. Flash Compensation


ตั้งชดเชยคาแสงสวางของแฟลช ปรับตั้งความสวางของแฟลชหัวกลอง ใหมืดกวาหรือสวางกวาปกติ
• -3.0 to +1.0 EV • ตั้งไดตั้งแต -3 ถึง +1 สตอป
• 0.3 EV steps • ปรับตั้งทีละ 0.3 สตอป

09. AF-Assist ไฟสองชวยหาโฟกัส


ไฟสองชวยหาโฟกัส • On* เปด ใหกลองเปดไฟชวยหาโฟกัสในสภาพแสงนอย *
• Off ปด ไมตองการใชไฟชวยหาโฟกัส
• On *
• Off
10. ISO auto ใชตั้งความไวแสง ISO หรือ ใหกลองตั้ง ISO ใหเองโดยอัตโนมัติ
ตั้งความไวแสง ISO อัตโนมัติ (ISO อัตโนมัติ จะใชไดเฉพาะกับโหมดชวยถายภาพ P, S, A, M)

• Off * • Off * ปด ไมใช (กลองใชคา ISO ตามที่ถูกผูใชกําหนดไวปุม ISO)


• On • On เปด ใช กลองจะปรับคา ISO ใหสูงขึ้น หากแสงไมพอ
• Max. sensitivity • Max. sensitivity ความไวแสงสูงสุดที่ใหกลองเปลี่ยนเลือกเองได
400 400
800 800
1600 1600
• Min. shutter speed • Min. shutter ตั้งความเร็วต่ําสุดที่จะใหกลองเปลี่ยนคา ISO ไดเอง
1/125 s 1/125 วินาที
1/100 s 1/100 วินาที
1/80 s 1/80 วินาที
1/60 s 1/60 วินาที
1/40 s 1/40 วินาที
1/30 s 1/30 วินาที
1/15 s 1/15 วินาที
1/8 s 1/8 วินาที
1/4 s 1/4 วินาที
1/2 s 1/2 วินาที
1s 1 วินาที

11. Fn button เลือกการทํางานของปุม ไทมเมอร/ฟงคชน


ั่ (Fn- Function) ใหทํา
เลือกการทํางานของปุม Fn หนาที่ (เลือกไดเพียง 1 รายการ)

• Self-timer • Self-timer ใชตั้งเวลานับถอยหลัง


• Shooting mode • Shooting mode เปลี่ยนโหมดการถายภาพ (ทีละภาพ/ถายตอเนื่อง)
• Image quality/size • Image quality/size ใชเปลี่ยนแบบไฟลภาพหรือขนาดกรอบภาพ
• ISO sensitivity • ISO sensitivity ใชเปลี่ยนคาความไวแสง ISO
• White balance • White balance ใชเปลี่ยนคาสมดุลยแสงสีขาว
12. AE-L/AF-L กําหนดการทํางานของปุมAE-L/AF-L
กําหนดหนาที่ปุม AE-L/AF-L

• AE/AF lock * • AE/AF Lock * ล็อคคาแสง และโฟกัส เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว*


• AE lock only • AE L Only ล็อคเฉพาะคาแสง เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว
• AF lock only • AF Lock หา และ ล็อคเฉพาะระยะโฟกัส เมื่อกดปุม AE/AF-L คางไว
• AE lock hold • AE L Hold ล็อคคาแสง เมื่อกด AE/AF-L 1 ครั้ง, ปลดลอค 1 ครั้ง
• AF-ON • AF-On ใหทําหนาที่เหมือนปุน AF-ON (หาระยะโฟกัส แลวล็อคไว)

13. AE lock
การล็อคคาแสงที่วัดได เมื่อกดปุมชัตเตอรเบาๆครึ่งทาง ใหกลองล็อคคาแสงที่วัดไดโดยทันที
• Off * • Off * ปด ไมใชงาน*
• On • On เปด ใหกลองล็อคคาแสงไวนานเทาที่กดปุมชัตเตอรครึ่งทาง

14. Built-in Flash กําหนดการทํางานของแฟลชหัวกลอง


แฟลชหัวกลอง

• TTL • TTL * วัดแสงแฟลชผานเลนส*


• Manual • Manual ยิงแสงแฟลชตามที่ผูใชตั้งอัตรากําลัง
Full power Full power ยิงแสงแฟลชเต็มที่ (ไกดนัมเบอร 13 ม.ที่ ISO 100)
1/2 - 1/32 1/2 - 1/32 (ลดทอนกําลังแฟลชลงตั้งแต 1/2 ถึง 1/32)

15. Auto off timers


กําหนดเวลาปดเครื่องวัดแสง กําหนดเวลาปด Off เครื่องวัดแสงเองภายในกลอง โดยอัตโนมัติ

• Short • Short 4 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD


• Normal * • Normal 8 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD *
• Long • Long 20 วินาที หลังจากที่แสดงภาพที่ถายบนจอ LCD
• Custom • Custom กําหนดโดยตัวผูใชเอง วาจะใหกลองปด Off ตัวเอง
Playback / menus Playback / menus เมื่อใชแสดงภาพที่ถายบันทึกหรือใชดูเมนู
4, 8 or 20 sec ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 8, 12 หรือ 20 วินาที
1 or 10 min ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 10 นาที
Image review Image review เมื่อใชแสดงภาพที่ถายเพิ่งถายไป
4, 8 or 20 sec ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 4, 8 หรือ 20 วินาที
1 or 10 min ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 10 นาที
Auto meter-off Auto meter-off เมื่อไมมีการใชงานใดๆ
4, 8 or 20 sec ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 4, 8 หรือ 20 วินาที
1 or 30 min ตั้งปด Off ตัวเองภายใน 1 หรือ 30 นาที
16. Self-timer
กําหนดเวลาไทมเมอร นับถอยหลัง ตั้งวลานับถอยหลัง (ไทมเมอร) กอนที่จะลั่นชัตเตอร
•2s • 2 วินาที
•5s • 5 วินาที
• 10 s * • 10 วินาที *
• 20 s • 20 วินาที

17. Remote on duration


กําหนดเวลาคอยสัญญาณรีโมท กําหนดเวลาคอยสัญญาณรีโมท กอนที่ยกเลิกการทํางานของรีโมท
• 1 min * • 1 นาที *
• 5 min • 5 นาที
• 10 min • 10 นาที
• 15 min • 15 นาที
18. Date Imprint
พิมพบันทึกวันที่ลงในภาพ สั่งใหกลองเขียน แสดงวันที่, เวลา ขณะที่ถายภาพ ลงไปในภาพถาย
• Off • Off * ปด ไมใชงาน*
• Date • Date พิมพแสดงเฉพาะวันที่
• Date and Time * • Date and Time พิมพแสดงเฉพาะวันที่ และ เวลา ที่ถายภาพนั้น
• Date Counter • Date Counter พิมพจาํ นวนวันเดือนประหวางชวงวันที่ที่กําหนดให

19. Rangefinder
เครื่องหาระยะโฟกัส สั่งกลองใหแสดงตําแหนงจุดที่กลองกําลังจับโฟกัสอยู
• Off * • Off * ปด ไมใชงาน*
• On • On เปด ใหกลองแสดงตําแหนงจุดโฟกัสในชองมองภาพ
D60 - Retouch Menu
ชุดรายการคําสั่งปรับแตงภาพสําเร็จรูปภายในตัวกลอง
(กลองจะสรางไฟลภาพขึ้นใหใหม โดยจะยังเก็บไฟลภาพตนฉบับเดิมไวในการดบันทึกภาพ)

* Default คาปริยายที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
หัวขอคําสั่ง ความหมาย และ คําอธิบาย
• ตัวเลือก
Quick Retouch สั่งกลองทําการตัดแตงภาพใหเอง โดยกลองจะปรับเรงคอนทราส
ตัดแตงภาพอยางรวดเร็ว Contrast และ ความเขมสี Saturation ที่ถูกตั้งมาจากโรงงาน
• High • High ปรับใหมากกวาปกติ
• Normal • Normal ปรับแตงธรรมดา
• Low • Low ปรับแตงใหนอยลงกวาปกติ

D-Lighting สั่งกลองใหปรับความสวางของตัวแบบในภาพ ใหดูสวางขึ้นเมื่อ


ตั้งชดเชยภาพที่ถายยอนแสง ถายภาพยอนแสงหรือ มีแสงฉากหลัง background ที่สวางเกินไป
• High • High ปรับใหมากกวาปกติ
• Normal • Normal ปรับแตงธรรมดา
• Low • Low ปรับแตงใหนอยลงกวาปกติ

Red-eye correction ใชไดเฉพาะกับภาพที่ใชแสงแฟลชถายภาพเทานั้น


ปรับแกอาการตาแดงจากแสงแฟลช
• Thumbnail select (single) • Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Zoom / Save Zoom / Save ซูมดูภาพ/เซฟเก็บไว
Trim Crop ครอปตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพใหเล็กลง
ตัดขอบเพื่อลดขนาดภาพ
• Thumbnail select (single) • Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Size Size ตัดขอบภาพออกใหเหลือภาพขนาด
2560 x 1920 2560 x 1920
1920 x 1440 1920 x 1440
1280 x 960 1280 x 960
920 x 720 920 x 720
640 x 480 640 x 480
Pan trim area Pan trim area กวาดดูบริเวณขอบภาพที่ถูกตัดออกไป
Cancel / Save Cancel / Save ยกเลิก/ปรับและเซฟเก็บไว

Monochrome
ทําใหเปนภาพโมโนโครม ลบสีในภาพใหเหลือเพียงสีเดียว (โดยไลโทนสีออน-สีเขม)
• Black-and-white • Black-and-white ภาพโทน ขาว-ดํา
Thumbnail select (single) Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Save Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว
• Sepia • Sepia ภาพโทน สีซีเปย
Thumbnail select (single) Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Lighter / Darker Lighter / Darker ปรับโทนสีออน/สีเขม
Save Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว
• Cyanotype • Cyanotype ภาพโทนฟอก สีคราม ฟา-ขาว
Thumbnail select (single) Thumbnail เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Lighter / Darker Lighter / Darker ปรับโทนสีออน/สีเขม
Save Save ปรับแตงและเซฟเก็บไว
Filter effects
ทําใหเสมือนใสฟลเตอรสี ปรับแตงเรงสีในภาพใหดูเหมือนใสแผนกรองแสงฟลเตอรถายภาพ

• Sky light •Sky light เสมือนใชฟลเตอรสีชมพูออน (ลดสีฟาในบริเวณรมเงา)


• Warm filter •Warm filter เสมือนใชฟลเตอรชมพูสม  (ทําใหภาพดูอุนขึ้น)
• Red Intensifier •Red Intensifier ปรับแตงสีแดง (ดอกไม) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น
• Green Intensifier •Green Intensifier ปรับแตงสีเขียว (ปาไม) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น
• Blue Intensifier •Blue Intensifier ปรับแตงสีน้ําเงิน (ทะเล) ในภาพใหดูอิ่มเขมขึ้น
• Cross screen •Cross screen เพิ่มแฉกประกายดาวในภาพ
Number of points Number of points ตั้งจํานวนแฉก ของประกายดาว (4-8 แฉก)
Filter amount Filter amount ตั้งความเขมของ แฉกประกายดาว
Filter angle Filter angle ตั้งมุมเอียง ของประกายดาว
Length of points Length of points ตั้งความยาวของหางประกายดาว
• Color balance • Color balance การปรับโทนสีตามที่ตองการ

Small picture
ลดขนาดของภาพ ยอลดขนาดภาพใหเล็กลงเพื่องายสําหรับสงภาพทางเนตฯหรืออีเมล
• Select picture • Select picture เลือกภาพที่ตองการ
Thumbnail select (multi) Thumbnail select เลือกภาพยอยที่เก็บบันทึกไวในการด
Set / Zoom / Done Set / Zoom / Done ตั้งขนาด/ซูมดูภาพ/ เซฟเก็บไว
• Choose size • Choose size เลือกขนาดที่ตองการยอใหเหลือ
640 x 480 640 x 480 สําหรับดูทางโทรทัศน
320 x 240 320 x 240 สําหรับแสดงทางอินเตอรเนต
160 x 120 160 x 120 สําหรับเมล
Image overlay
การทําภาพซอนกัน ใชไดเฉพาะไฟลภาพที่บันทึกไวแบบ NEF เทานั้น
• Image 1 • Image 1 เลือกภาพแรก
Image Image
Thumbnail (single) Thumbnail เลือกไฟลภาพ * ที่เก็บบันทึกไวในการด
Gain (x0.1 - x2.0) Gain (x0.1 - x2.0) ปรับความเขมจางของภาพแรก
• Image 2 • Image 2 เลือกภาพที่ตองการใหซอนทับภาพแรก
Image Image
Thumbnail (single) Thumbnail เลือกภาพยอย* ที่เก็บบันทึกไวในการด
Gain (x0.1 - x2.0) Gain (x0.1 - x2.0) ปรับความเขมจางของภาพที่ซอนทับ
• Save • Save ซอนทับและเซฟเก็บไว
* ใชไดเฉพาะกับไฟลภาพที่บันทึกไวในแบบ RAW (NEF) เทานั้น

NEF (RAW) Processing


แปลงไฟล NEF (RAW) ใหเปน JPEG สั่งใหกลองแปลงไฟลภาพ NEF (RAW) ใหเปน JPEG
• Thumbnail เลือกไฟลภาพ • Thumbnail เลือกไฟลภาพ NEF(RAW) ที่เก็บบันทึกไวในการด
Image Quality Image quality เลือกขนาดไฟลภาพ ฺFine, Normal, Basic
Image size Image size เลือกขนาดกรอบภาพ L, M, S
White Balance White Balance เลือกคาสมดุลยแสงสีขาว
Exposure Comp Exposure comp. เลือกคาชดเชยแสง
Optimize image Optimize image เลือกการแตงภาพเพิ่มเติม
Stop Motion Movies สั่งใหกลอง ทําการแปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนต ดวยการนําภาพนิ่งที่
แปลงภาพนิ่งใหเปนภาพยนต ถายไวเอามาแสดงติดตอเนื่องกันอยางรวดเร็ว
• Create Movie • เริ่มสรางภาพยนต
Thumbnail Thumbnail เลือกไฟลภาพ ที่เก็บบันทึกไวในการด
• Frame size • เลือกขนาดภาพ 640 x 480, 320 x 240, หรือ 160 x 120
• Frame rate • เลือก อัตราความเร็วในการแสดงภาพ 15, 10, 6, 3 ภาพตอวินาที

Before and after สั่งใหกลองแสดงภาพตนฉบับ และภาพสําเนาจากการ Retouch


เปรียบเทียบเคียงภาพ (ตกแตงภายในกลอง) เคียงคูกัน ซายและขวา เพื่อดูเปรียบเทียบกัน

You might also like