You are on page 1of 7

Water cycle P.

5
1. ความดันอากาศเกิดจากสมบัติข้อใด

a) อากาศมีน้ำหนัก b) อากาศมีปริมาตรคงที่

c) อากาศมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา d) อากาศมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลน้อย

2. จากการทดลองเรื่อง อากาศมีแรงดัน เพราะเหตุใดเมื่อเทน้ำร้อนออกจากขวดพลาสติกแล้วปิดฝาขวดให้สนิท ขวดพลาสติกจะ


บุบ

a) ความร้อนจากน้ำดันให้ขวดบุบ b) อากาศภายนอกขวดลอยเข้าสู่
ภายในขวด
c) อากาศภายในขวดมากกว่า d) อากาศภายนอกขวดมากกว่า
ภายนอกจึงดันให้ขวดบุบ ภายในจึงดันให้ขวดบุบ

3. จากการทดลองเรื่อง แก้วมหัศจรรย์ จะสังเกตเห็นได้ว่า อากาศภายนอกแก้วสามารถออกแรงดันกระดาษแข็งให้ติดอยู่กับปาก


แก้วที่คว่ำอยู่ นักเรียนสามารถสรุปผลการทดลองนี้ได้ว่าอย่างไร

a) ของเหลวมีแรงพยุง b) อากาศมีแรงดันทุกทิศทาง

c) ระดับความสูงมีผลต่อความดัน d) ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่จะมีแรงต้าน
อากาศ การเคลื่อนที่ของวัตถุ

4. นักเรียนสามารถสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความสูงและความดันอากาศได้ว่าอย่างไร

a) เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ความดัน b) เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น ความดัน


อากาศจะเพิ่มขึ้น อากาศจะลดลง
c) ทุกๆ ระดับความสูง ความดัน d) ระดับความสูงไม่มีผลต่อความดัน
อากาศจะมีค่าเท่ากัน อากาศ
5. ข้อใดไม่ใช่การใช้ประโยชน์จากความดันอากาศ

a) การดูดน้ำหมึกของปากกาแบบ b) การประดิษฐ์หลอดฉีดยา
เติมหมึก
c) การเจาะกระป๋องนมข้นหวาน d) การสร้างเขื่อนกักเก็บน้ำ

6. เครื่องมือวัดความดันอากาศ มีชื่อว่าอะไร

a) เทอร์มอมิเตอร์ b) บารอมิเตอร์

c) แมนอมิเตอร์ d) แอนนิมอมิเตอร์

7. เมื่อเรากดลูกดอกยางลงไปที่กระจก ลูกยางจะแนบสนิทติดกับพื้นผิวของกระจก ทำให้ตรงกลางของลูกดอกยางมีความดัน


อากาศน้อย แต่อากาศภายนอกมีความดันอากาศมากกว่า จึงกดลูกยางติดกระจกไว้ จากข้อมูลข้างต้น นักเรียนคิดว่า วัตถุใด
ต่อไปนี้มีหลักการทำงานเช่นเดียวกับลูกดอกยางติดกระจก

a) เรือดำน้ำ b) เสื้อชูชีพ

c) ฝาเกลียวขวด d) หลอดหยด

8. จากภาพ กาลักน้ำ เป็นการใช้ประโยชน์จากเรื่องใด

a) แรงดันอากาศ b) แรงดันของเหลว

c) แรงลอยตัวของของเหลว d) แรงลัพธ์และแรงเสียดทาน

9. พื้นที่ A มีขนาด 5 ตารางเมตร และมีแรงดันอากาศในแนวตั้งฉากกับพื้นที่ A 25 นิวตัน ความดันอากาศที่กระทำต่อพื้นที่ดัง


กล่าวมีค่ากี่นิวตัน/ตารางเมตร

a) 5 b) 25

c) 100 d) 125
10. เมื่อความสูงเพิ่มขึ้นจากระดับน้ำทะเล 11 เมตร ความดันอากาศจะลดลง 1 มิลลิเมตรปรอท ความดันอากาศที่ระดับน้ำทะเล
(ความดัน 1 บรรยากาศ) มีค่าเท่ากับกี่มิลลิเมตรปรอท

a) 600 b) 670

c) 700 d) 760

11. ข้อใดต่อไปนี้สรุปได้ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของอากาศ

a) ปริมาตรลด ความหนาแน่นลด b) ความสูงเพิ่มขึ้น ความหนาแน่น


ลง ลดลง
c) ความสูงเพิ่มขึ้น ความดันจะเพิ่ม d) ปริมาตรลดลง ความดันจะลดลง
ขึ้น ด้วย

12. เหตุที่บรรยากาศในระดับต่างกันมีความดันต่างกัน เพราะ

a) ความหนาแน่นของอากาศต่าง b) ความสูงต่างกัน
กัน
c) อุณหภูมิต่างกัน d) มวลต่างกัน

13. อากาศมีแรงดันทุกทิศทางเพราะ

a) อากาศขยายตัวได้ง่าย b) อากาศต้องการที่อยู่

c) อากาศมีไอน้ำ d) โมเลกุลของอากาศเคลื่อนที่ทุก
ทิศทาง

14. เราใช้หลอดดูดน้ำอัดลมจากขวดเพื่อดื่ม เป็นการกระทำที่เกี่ยวข้องกับหลักวิทยาศาสตร์ในข้อใด

a) มวล b) แรง

c) ความดัน d) ปริมาตร

15. หลักการของความกดอากาศสามารถนำไปใช้กับเครื่องใช้ชนิดใด

a) กาลักน้ำ b) ปากกาหมึกซึม

c) เครื่องดูดฝุ่น d) ถูกทุกข้อ

16. เมื่อเป่าลูกโป่งให้พองเต็มที่ แต่ยังไม่แตก ความดันอากาศในลูกโป่งจะมีค่าสูงหรือต่ำกว่าความดันอากาศนอกลูกโป่ง


ก ข ค. ง.

a) มากกว่า b) น้อยกว่า

c) เท่ากัน d) แล้วแต่ชนิดของลูกโป่ง

17. เครื่องมือใดไม่เกี่ยวข้องกับการวัดความดันบรรยากาศ

a) อัลติมิเตอร์ b) ไฮโกรมิเตอร์

c) แอนิรอยด์บอรอมิเตอร์ d) บอรอมิเตอร์ปรอท

18. เหตุที่อากาศมีแรงดัน เป็นเพราะอากาศมีคุณสมบัติอะไร

a) . มีการขยายตัวเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น b) มีมวล

c) ต้องการที่อยู่ d) เคลื่อนที่ได้

19. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของบารอมิเตอร์

a) วัดความสูงจากน้ำทะเล b) วัดความดันอากาศ

c) พยากรณ์ความแปรปรวนของ d) วัดความเร็วลม
อากาศ

20. เรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องกับความกดดันของบรรยากาศ

a) ใช้หลอดฉีดยาดูดน้ำกลั่น b) ตุ๊กแกเกาะติดกับผนังห้อ

c) เครื่องบินอยู่ในอากาศ d) ลูกโป่งสวรรค์อัดใหม่ ๆ ลอยได้


21. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับแรงดันน้ำ

a) แรงน้ำตก b) น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ

c) การใช้แรงน้ำจากเขื่อน d) กระดาษแข็งติดปากแก้วที่มีน้ำอยู่
ขณะที่คว่ำแก้ว

22. นำกระป๋องมาเจาะรู 3 รู มีขนาดเท่ากน ดังภาพ ใส่น้ำจนเต็ม ผลการทดลองจะเป็น ดังข้อใด

a) รูที่ 1 น้ำไหลแรงที่สุด เพราะมีแรง b) รูที่ 2 น้ำไหลแรงที่สุด เพราะได้รับ


ดันอากาศมาก แรงกดอากาศทั้งด้านบนและด้าน
ล่าง
c) รูที่ 3 น้ำไหลแรงที่สุด เพราะ อากา d) ทั้ง 3 รู น้ำไหลแรงเท่าๆกัน เพราะ
สอยู่ลึกและมีแรงกดอากาศมาก อากาศทุกๆจุดมีแรงกดอากาศเท่า
กัน

23. การสร้างเขื่อนฐานเขื่อนต้องมีความหนามากกว่าสันเขื่อน เพราะเหตุใด

a) น้ำในระดับลึกไหลแรงกว่าระดับ b) เพื่อให้ยึดติดกับพื้นด้านล่างได้
ตื้น โดยไม่โยกคลอน
c) น้ำในระดับลึกความดันมากกว่า d) เพื่อให้สามารถเก็บกักน้ำได้
น้ำระดับตื้น ปริมาณมาก

24. เพราะเหตุใดเมื่อดำน้ำลึกๆ จึงรู้สึกหูอื้อ

a) แรงดันของน้ำ b) แรงพยุงของน้ำ

c) การไหลของน้ำ d) ความหนาแน่นของน้ำ

25. จากภาพ ของเหลวไหลออกภายนอกภาชนะสู่ที่ต่ำกว่าระดับน้ำ เนื่องจากหลักการใด

a) แรงดันน้ำภายในภาชนะน้อยกว่า b) แรงดันน้ำภายในภาชนะมากกว่า
ภายนอก ภายนอก
c) ปริมาณความร้อนของน้ำภายในา d) ความร้อนทำให้น้ำขยายตัวไหล
ชนะมากกว่าภายนอก ออกสู่ภายนอก

26. คนที่ดำน้ำลงสู่ใต้ทะเลลึก ความดันของของเหลวมีผลต่อร่างกายอย่างไร

a) ปวดหู b) ตาลาย

c) อึดอัด หายใจลำบาก d) ปวดตามตัว

27. เมื่อปล่อยก้อนหินลงในน้ำ ก้อนหินจะเคลื่อนที่ในลักษณะใด

a) ทิศทางเดียวกับแรงเสียดทาน b) ทิศทางเดียวกับแรงดึงดูดของโลก

c) ทิศทางเดียวกับแรงพยุงของ d) ทิศทางตรงข้ามกับแรงดึงดูดของ
ของเหลว โลก

28. แดงทำการทดลองโดยใส่น้ำเต็มทั้งสามกระบอก แล้วดึงเทปออกพร้อมกัน ผลการทดลองจะเป็นอย่างไร

a) น้ำจากกระบอกที่ 1 พุ่งไกลที่สุด b) น้ำจากกระบอกที่ 2 พุ่งไกลที่สุด

c) น้ำจากกระบอกที่ 3 พุ่งไกลที่สุด d) น้ำจากทั้ง 3 กระบอก พุ่งไกลเท่า


กัน
29. ความลึกของระดับน้ำในข้อใดที่มีแรงดันน้ำสูงสุด

a) ผิวน้ำ b) 5 เมตร

c) 15 เมตร d) 30 เมตร

30. จากภาพ จุดใดที่มีแรงดันน้ำมากที่สุด

a) A b) B

c) C d) D

31. เครื่องมือที่ใช้วัดความดันของของเหลวคือข้อใด

a) แมนอมิเตอร์ b) บารอมิเตอร์

c) ไฮกรอมิเตอร์ d) เทอร์มอมิเตอร์

32. การถ่ายของเหลวโดยสายยางจากภาชนะหนึ่งไปยังอีกภาชนะหนึ่งที่อยู่ต่างระดับกัน เรียกว่าอะไร

a) การดูดน้ำ b) การตักน้ำ

c) กาลักน้ำ d) แป้นยางดูดติดกระจก

33. ใส่น้ำในภาชนะเบาที่มีรูปร่างต่างกันโดยน้ำมีปริมาตรเท่ากันและมีระดับความสูงเท่ากัน ปริมาณใดที่ไม่เท่ากัน

a) น้ำหนักของน้ำ b) แรงดันน้ำที่ปากภาชนะ

c) แรงดันน้ำที่ก้นภาชนะ d) แรงเสียดทานที่ก้นภาชนะ

34. ถ้าเราใช้ไม้เคาะขวดแก้วเปล่า แล้วค่อยๆ เติมน้ำลงในขวด แล้วเคาะไปเรื่อยๆ เสียงที่ได้ยินจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร

a) เสียงจะค่อยๆต่ำลง b) เสียงจะค่อยๆสูงลง

c) เสียงจะค่อยๆดังลง d) เสียงจะค่อยๆเบาลง

35. ข้อใดเป็นลักษณะของมลพิษทางเสียง

a) เสียงดัง 85 เดซิเบลขึ้นไป b) เสียงดังจากการจราจรคับคั่ง

c) เสียงดังจากเครื่องบินไอพ่น d) เป็นไปได้ทั้ง 3 ข้อ

36. วัสดุในข้อใดที่นำมาใช้ในการทดลองการเกิดเสียงสูงต่ำได้

a) ท่อเหล็กที่มีลักษณะตันและกลวง b) ลวดเส้นเล็กและลวดเส้นใหญ่
ขนาดเท่ากัน ความยาวเท่ากัน
c) แก้วที่มีขนาดเท่ากันและใส่ d) ขวดมีน้ำขนาดเท่ากันและใส่น้ำใน
ปริมาณน้ำต่างกัน ปริมาณเท่ากัน

37. ถ้าทดลองเคาะระฆังทรงเดียวกันที่มีขนาดใหญ่ กลาง เล็ก ผลที่ออกมาควรเป็นอย่างไร

a) ระฆังที่มีขนาดเล็กเสียงสูงที่สุด b) สรุปไม่ได้

c) ระฆังที่มีขนาดกลางเสียงสูงกว่า
ระฆังที่มีขนาดเล็ก

38. "แดงทดลองเคาะระฆังใบเล็กและเปรียบเทียบเสียงเคาะระฆังใบใหญ่" แดงควรลงความเห็นว่าระฆังใบเล็กเกิดเสียงแหลม


กว่าระฆังใบใหญ่ เพราะเหตุผลใด

a) ระฆังใบเล็กมีปริมาณเนื้อสารน้อย b) ระฆังใบเล็กมีความหนาแน่น
กว่า จึงเกิดการสั่นสะเทือน มากกว่า จึงเกิดการสั่นสะเทือน
มากกว่า มากกว่า
c) ระฆังใบใหญ่มีปริมาณเนื้อสาร d) ระฆังใบใหญ่มีความหนาแน่นน้อย
มากกว่า จึงเกิดการสั่นสะเทือน กว่า จึงเกิดการสั่นสะเทือน
มากกว่า มากกว่า

39. เสียงสูงต่ำของวัตถุขึ้นอยู่กับสิ่งใด

a) วัตถุต้นกำเนิดเสียง b) ระยะทางที่เสียงเดินทาง

c) แรงที่ทำให้วัตถุสั่น d) ความถีี่ของเสียง
40. ถ้าวัตถุสั่นสะเทือนช้าจะเกิดเสียงตามข้อใด

a) เสียงสูง b) เสียงต่ำ

c) เสียงทุ้ม d) เสียงดัง

41. เสียงในข้อใดทำให้เกิดมลพิษทางเสียง

a) เสียงดนตรี b) เสียงพูดคุย

c) เสียงเด็กร้องไห้ d) เสียงรถจักรยานยนต์

42. ในการเล่นเครื่องสาย ถ้าต้องการปรับแต่งให้ขิมหรือจะเข้มีระดับเสียงสูงขึ้นควรทำตามข้อใด

a) เพิ่มขนาดและเพิ่มความตึงของ b) เพิ่มขนาดและลดความตึงของสาย
สายขิม ขิม
c) ลดขนาดและลดความตึงของสาย d) เพิ่มขนาดและเพิ่มความตึงของ
ขิม สายยขิม

43. นักดนตรีที่สีไวโอลินจะใช้นิ้วกดสายเลื่อนตำแหน่งกดสายไปมาขณะสีไวโอลินเพื่ออะไร

a) ปรับให้เกิดเสียงสูงต่ำตาม b) ปรับให้เกิดเสียงดังค่อยตาม
ต้องการ ต้องการ
c) บังคับไม่ให้สายไวโอลินสั่น d) บังคับไม่ให้เสียงสั่น
Answer Key
1. a 28. a
2. d 29. d
3. b 30. d
4. b 31. a
5. d 32. c
6. b 33. c
7. d 34. a
8. a 35. d
9. a 36. c
10. d 37. a
11. b 38. a
12. a 39. d
13. d 40. b
14. c 41. d
15. d 42. d
16. a 43. a
17. b
18. c
19. d
20. c
21. d
22. a
23. c
24. a
25. b
26. a
27. b

You might also like