You are on page 1of 10

่ ึ่งเจ้าพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจมีขอ

สถานทีซ ้ จากัดในการจับ
ป.วิ.อ. มาตรา 81
ได้จากัดอานาจในการจับไม่วา่ จะมีหมายหรือไม่มีหมายจับก็ตาม
โดยห้ามจับในทีร่ โหฐาน
เว้นแต่จะได้ทาตามบทบัญญัตใิ นประมวลกฎหมายนี้วา่ ด้วยการ “ค้น”
ในทีร่ โหฐาน

“ทีร
่ โหฐาน” หมายความถึง “ทีต่ า่ ง ๆ
ซึง่ มิใช่ทส
ี่ าธารณสถานดั่งบัญญัตไิ ว้ในกฎหมายลักษณะอาญา” (มาตรา 2 (13))
ซึง่ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา
ต่อมาได้เปลีย่ นมาเป็ นประมวลกฎหมายอาญาได้บญ ั ญัตไิ ว้ในมาตรา 1
อนุมาตรา 3 ว่า “สาธารณสถาน” หมายความว่า “สถานทีใ่ ด ๆ
ซึง่ ประชาชนมีความชอบธรรมทีจ่ ะเข้าไปได้” ดังนัน ้ “ทีร่ โหฐาน”
จึงหมายความว่า “สถานทีใ่ ด ๆ
ซึง่ ประชาชนไม่มีความชอบธรรมทีจ่ ะเข้าไปได้” นั่นเอง
เหตุผลทีม่ าตรา 81 บัญญัตห
ิ า้ มจับในทีร่ โหฐาน
เว้นแต่จะได้ทาตามบทบัญญัตใิ น ป.วิ.อ. อันว่าด้วยการค้นในทีร่ โหฐาน
ทัง้ นี้เพราะ กฎหมายถือว่าการเข้าไปในทีร่ โหฐานนัน ้ เท่ากับการ “ค้น”
ไปด้วยในตัวจึงต้องพิจารณาว่ามีอานาจในการค้นด้วยหรือไม่ ควบคูไ่ ปด้วย
จะพิจารณาเฉพาะอานาจในการ “จับ”
ตามหมายจับหรือจับได้โดยไม่มีหมายตามมาตรา 78 อย่างเดียวไม่เพียงพอ
อานาจในการค้นนัน ้ โดยหลัก คือ ต้องมีหมายค้น ซึ่ง ป.วิ.อ. มาตรา 69 ระบุ
“เหตุในการออกหมายค้นไว้ แต่ในบางกรณี ก็สามารถค้นได้โดยไม่ตอ ้ งมี
“หมายค้น” (ป.วิ.อ. มาตรา 92)

ตัวอย่าง ส.ต.ต.ขาวได้รบ
ั มอบหมายให้จดั การจับนายแดงตามหมายจับ
ส.ต.ต.ขาวพบนายแดงกาลังนั่งเล่นอยูท
่ ส
ี่ นามหญ้า
ภายในบ้านของนายแดงในเวลากลางวัน
ส.ต.ต.ขาวมีอานาจเข้าไปจับนายแดงภายในบ้านนัน ้ ได้ เพราะเหตุผลดังนี้
ก) เป็ นการจับตามหมายจับ
ข) ไม่ขดั ต่อมาตรา 81 เพราะการเข้าไปในบ้านของนายแดง แม้จะเป็ นการ
“ค้น” ไปด้วยในตัว ก็เป็ นการ “ค้น” โดยชอบ เพราะ ป.วิ.อ. มาตรา 92(5)
ให้อานาจค้น (เข้าไปในบ้าน) โดยไม่ตอ ้ งมีหมายค้นได้
เนื่องจากเป็ นบ้านของนายแดงและผูจ้ ะต้องถูกจับเป็ นเจ้าบ้าน
ข้อสังเกต หาก
ส.ต.ต.ขาวพบนายแดงกาลังนั่งคุยอยูก ่ บ
ั นายเหลืองในบ้านของนายเหลือง
ส.ต.ต.ขาวจะเข้าไปจับทันทีไม่ได้ เพราะ ป.วิ.อ. มาตรา 81 ห้ามไว้
เว้นแต่จะมีอานาจ “ค้น” อานาจค้นโดยไม่มีหมายมีระบุไว้ใน ป.วิ.อ. มาตรา 92
่ ตามตัวอย่างทีย่ กไม่มีกรณี ทเี่ ข้ามาตรา 92 (1) ถึง (5) เลย เช่นนี้
(1) ถึง (5) ซึง
ส.ต.ต.ขาวต้องไปขอให้มีการออกหมายค้นเสียก่อนซึง่ มีเหตุทจี่ ะออกหมายค้น
ได้ตาม ป.วิ.อ. มาตรา 69 (4) กล่าวคือ “เพือ ่ พบบุคคลซึง่ มีหมายให้จบ ั ”
หากมีหมายค้นแล้วก็เข้าไปจับนายแดงในบ้านของนายเหลืองได้
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจชัน ้ ผูใ้ หญ่
ปัจจุบนั ไม่มีอานาจในการออกหมายค้นได้เองแล้ว
หากไปทาการค้นด้วยตนเอง ในกรณีทต ี่ อ
้ งหมายค้น
ก็ไม่สามารถค้นได้โดยไม่มีหมายได้อีกต่อไปแล้ว ต้องขอให้ศาลออก “หมาย”
ด้วย หากมีหมายจับและผูจ้ ะถูกจับอยูใ่ นทีร่ โหฐาน
หากไม่มีอานาจในการเข้าไปค้นได้โดยไม่มีหมาย (กล่าวคือ
ไม่เข้าหลักเกณฑ์ของมาตรา 92 (1) ถึง (5)) ก็ตอ ้ งขอให้ศาลออกหมายค้นเสียก่อน
จึงจะมีอานาจเข้าไปจับบุคคลตามหมายจับในทีร่ โหฐานนัน ้ ได้

ตัวอย่าง พ.ต.อ. ขาวเป็ นตารวจชัน ้ ผูใ้ หญ่


กาลังติดตามจับนายแดงผูต ้ อ
้ งหาในคดีชิงทรัพย์ตามหมายจับ พ.ต.อ.
ขาวเห็นนายแดงนั่งอยูใ่ นบ้านนายเหลือง แม้
พ.ต.อ.ขาวจะมีอานาจจับนายแดงตามหมายจับ
แต่ในขณะนัน ้ นายแดงอยูใ่ นทีร่ โหฐาน คือ บ้านของนายเหลือง ซึง่ ป.วิ.อ.
มาตรา 81 ห้ามทาการจับ เว้นแต่จะมีอานาจค้นบ้านนัน ้ ได้
อานาจค้นบ้านโดยไม่มีหมายคือ กรณีตาม ป.วิ.อ. มาตรา 92 (1) ถึง (5)
เมือ
่ ไม่มีเหตุทจี่ ะค้นโดยไม่มีหมายตามมาตรา 92 (1) ถึง (5)
จึงต้องเป็ นการค้นโดยมีหมายค้นซึง่ เป็ นกรณี ทม ี่ ีเหตุออกหมายค้นได้ตามมาต
่ พบบุคคลซึง่ มีหมายในจับ”
รา 69 (4) อันเป็ นกรณี “เพือ
เนื่องจาก ป.วิ.อ. มาตรา 57 ให้อานาจ “ศาล” เท่านัน
้ ทีจ่ ะออก “หมายค้น”
ตารวจชัน้ ผูใ้ หญ่ไม่มีอานาจออกหมายค้นได้อีกต่อไปแล้ว
พ.ตอ.ขาวจึงต้องไปขอให้ศาลออกหมายค้นเสียก่อนโดยอ้าง “เหตุ” ตาม ป.วิ.อ.
่ พบบุคคลซึง่ มีหมายจับ”
มาตรา 69 (4) “เพือ
ข้อสังเกต
ถ้าหาก พ.ต.อ.ขาวเข้าไปในบ้านนายเหลืองโดยชอบ เช่น
นายเหลืองเชิญให้เข้าไป เมือ
่ พบนายแดงหลบซ่อนตัวอยู่
พ.ต.อ.ขาวสามารถจับนายแดงได้ตามหมายจับ การจับไม่ตอ ้ งห้ามตามมาตรา
81 เพราะเข้าไปอันถือเสมือนหนึ่งเป็ นการค้นในทีร
่ โหฐานนัน ้
เป็ นการเข้าไปโดยชอบเสียแล้ว เนื่องจากผูค
้ รอบครองทีร่ โหฐานนัน ้ เชื้อเชิญ
สรุปมาตรา 81 มีความหมายอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
1. เว้นแต่เป็ นการค้นโดยมีหมายค้น หรือ
2. เว้นแต่มีอานาจค้นโดยไม่มีหมายค้น กล่าวคือ กรณีคน
้ ตามมาตรา 92 (1) ถึง
(5)
(การค้นโดยมีหมายค้น หรือโดยไม่มีหมายค้นในกรณีตามมาตรา 92 นัน

หากกระทาการค้นในเวลากลางคืนก็จะต้องมีอานาจค้นตาม ป.วิ.อ. มาตรา 96
อีกด้วย เช่น เป็ นกรณีฉุกเฉิ นอย่างยิง่ ตามมาตรา 96 (2)
3. เว้นแต่จะได้เข้าไปในทีร
่ โหฐานนัน

โดยเจ้าของหรือผูค ้ รอบครองให้ความยินยอมโดยสมัครใจ D1164/46
ได้วน
ิ ิจฉัยเป็ นบรรทัดฐานแล้วว่าไม่ถือว่าเป็ นการค้นโดยมิชอบ
D1259/42 จาเลยที่ 1 เป็ นตัวการร่วมกระทาผิดกับจาเลยที่ 2
ในการกระทาความผิดฐานขายเมทแอมเฟตามีน การทีจ่ าเลยที่ 2
ขายเมทแอมเฟตามีนให้แก่จา่ สิบตารวจ ส.เป็ นความผิดซึง่ หน้า เมือ ่ จาเลยที่ 2
ถูกจับกุมแล้วได้นาจ่าสิบตารวจส.ไปจับกุมจาเลยที่ 1 เป็ นการต่อเนื่องกันทันที
ถือได้วา่ จ่าสิบตารวจ ส.จับกุมจาเลยที่ 1
ในการกระทาความผิดซึง่ หน้าด้วยเช่นกัน เพราะหากล่าช้า จาเลยที่ 1
ก็อาจหลบหนีไปได้ และการตรวจค้นตัวจาเลยที่ 1
ยังพบเมทแอมเฟตามีนของกลางอีก 95เม็ด ดังนัน ้ แม้จา่ สิบตารวจ
ส.เข้าไปจับจาเลยที่ 1 ในห้องพักของจาเลยที่ 1 ซึง่ เป็ นทีร่ โหฐานก็ตาม
จ่าสิบตารวจ ส.ก็ยอ ่ มมีอานาจทีจ่ ะจับกุมจาเลยที่ 1 ได้โดยชอบตาม
ป.วิ.อ.มาตรา 81 (1), 92 (2)

การกระทาความผิดของจาเลยทัง้ สองเป็ นความผิดต่อเนื่องและกระทาต่อเนื่องกั


นทัง้ ในท้องทีส ่ ถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนและสถานีตารวจนครบาลวัดพ
ระยาไกร ดังนัน ้
พนักงานสอบสวนสถานีตารวจนครบาลบางขุนเทียนซึ่งเป็ นท้องทีท ่ จี่ บ
ั กุมจาเล
ยที่ 2 ผูร้ ว่ มกระทาผิดกับจาเลยที่ 1
จึงมีอานาจสอบสวนได้โดยชอบตามป.วิ.อ.มาตรา 19 วรรคหนึ่ง (3)
และวรรคสาม (ก) พนักงานอัยการโจทก์จงึ มีอานาจฟ้ องจาเลยที่ 1

ราษฎรไม่มีอานาจเข้าไปจับในทีร่ โหฐานแม้วา่ กาลังพบเห็นความผิดซึง่ หน้าแล


ะเป็ นความผิดทีร่ ะบุไว้ในบัญชีทา้ ยประมวล

ตัวอย่าง
นายแดงเห็นนายดาทาร้ายร่างกายนายขาวในบ้านของนายดา
่ หน้า”
“อันเป็ นความผิดซึง
และเป็ นความผิดทีร่ ะบุไว้ในบัญชีทา้ ยประมวลฯ
นายแดงไม่มีอานาจเข้าไปจับนายดาในบ้านของนายดา
เพราะเป็ นการจับทีร่ โหฐานซึง่ ป.วิ.อ. มาตรา 81 ห้ามมิให้จบั
เว้นแต่จะได้ทาตามบทบัญญัตวิ า่ ด้วยการค้น
ซึง่ ราษฎรไม่มอี านาจค้นทีร่ โหฐาน ไม่วา่ กรณีใด ๆ ทัง้ สิน

ราษฎรจึงไม่มอ ี านาจเข้าไปจับผูอ้ ืน
่ ในทีร่ โหฐาน
อย่างไรก็ตาม หากราษฎรเข้าไปในทีร่ โหฐานนัน ้ โดยชอบแล้ว เช่น
นายดาเชิญนายแดงเข้าไปนั่งเล่นในบ้านของนายดา
เมือ ่ นายแดงเห็นนายดากาลังทาร้ายร่างกายนายขาวในบ้านของนายดา
นายแดงสามารถจับนายดาได้โดยอาศัยอานาจตามมาตรา 79
ไม่เป็ นการต้องห้ามตามมาตรา 81 เพราะมาตรา 81 บัญญัตห ิ า้ มจับในทีร่ โหฐาน
เว้นแต่จะมีอานาจเข้าไป “ค้น” ในทีร่ โหฐาน ซึง่ หมายความว่า
หากเข้าไปอยูใ่ นทีร่ โหฐานนัน ้ แล้วโดยชอบ
ก็ไม่มีการล่วงละเมิดสิทธิเสรีภาพของผูค ้ รอบครองทีร่ โหฐานนัน ้ อีก
เมือ ่ พบเห็นการกระทาความผิดซึง่ หน้าก็ยอ ่ มทาการจับได้ มาตรา 81
มุง่ หมายแต่เพียงว่าจะเข้าไป “จับ”
ในทีร่ โหฐานได้ตอ ้ งมีอานาจทีจ่ ะเข้าไปในทีร่ โหฐานนัน้ ด้วย
การเข้าไปในทีร่ โหฐานก็คอ ื การ “ค้น” ทีร่ โหฐาน ซึง่ หากมีอานาจในการ “ค้น”
(ไม่วา ่ จะโดยมีหมายหรือไม่มีหมาย) หรือมีอานาจในการเข้าไป เช่น
เพราะเจ้าของบ้านเชื้อเชิญ
ก็ถือว่าเข้าไปโดยชอบและย่อมจับบุคคลในทีร่ โหฐานนัน ้ ได้
ข้อสังเกต
1) กรณี นายแดงเห็นนายดากาลังทาร้ายร่างกายนายขาวในบ้านของนายดานัน

หากนายแดงเข้าไปจับนายดา ได้กล่าวแล้วว่าเป็ นการจับไม่ชอบ
เพราะนายแดงไม่มีอานาจเข้าไปค้น อย่างไรก็ตาม
หากนายแดงเข้าไปเพือ ่ ช่วยนายขาว
นายแดงทาร้ายนายดาเพือ ่ ให้นายดาหยุดทาร้ายนายขาว
นายแดงอาจอ้างว่าเป็ นการกระทาโดยป้ องกันตาม ป.อ. มาตรา 68 ซึง่ ผลก็คอ ื
การเข้าไปก็ไม่เป็ นความผิดความผิดฐานบุกรุก
และไม่เป็ นความผิดฐานทาร้ายร่างกาย เพราะ ป.อ. มาตรา 68 ยกเว้นความผิด
ให้หมดทุกฐานความผิด เมือ ่ การเข้าไปของนายแดงชอบด้วยกฎหมาย
การจับก็อาจจะชอบด้วย (เทียบเคียงจากการทีไ่ ด้รบ
ั เชื้อเชิญเข้าไปในบ้าน)
2)
หากเป็ นกรณี นายดาทาร้ายร่างกายนายขาวในบ้านของนายขาวและนายขาวร้อ
งให้นายแดงช่วย
นายแดงเข้าไปในบ้านของนายขาวและจับนายดาได้เป็ นการจับโดยอาศัยอานา
จตาม ป.วิ.อ. มาตรา 79 แม้จะจับในทีร่ โหฐานก็ไม่ตอ้ งห้ามตามมาตรา 81
เนื่องจากนายขาวขอร้องให้นายแดงช่วยเท่ากับเป็ นการ “เชื้อเชิญ”
ให้นายแดงเข้าไปในบ้านโดยชอบ เมือ ่ การ “เข้าไป” เป็ นการกระทาโดยชอบ
การจับก็ชอบตามไปด้วย ไม่ตอ ้ งห้ามตาม ป.วิ.อ. มาตรา 81
ม.81 นัน
้ ข้อสาคัญอยูต
่ รงทีว่ า่ การ “เข้าไป” อันถือว่าเป็ น “ค้น”
ในทีร่ โหฐานนัน้ ชอบด้วยกฎหมายหรือไม่ หากชอบด้วยกฎหมาย
(เพราะมีหมายค้นหรือไม่มีหมายค้น แต่คน ้ ได้ตามมาตรา 92
หรือเพราะผูค้ รอบครอง “เชื้อเชิญเข้าไป” ให้เข้าไป)
การจับก็ชอบด้วยกฎหมายตามไปด้วย หากมีอานาจในการจับ

ขัน
้ ตอนในการจับ
มาตรา 83 ทีแ
่ ก้ไขเพิม
่ เติม
ได้เปลีย่ นแปลงหลักการทีเ่ กีย่ วกับขัน
้ ตอนในชัน
้ จับกุม ดังนี้
1) สั่งให้ผถ
ู้ ูกจับไปยังทีท
่ าการของพนักงานสอบสวนแห่งท้องทีท
่ ถ
ี่ ูกจับ
ในกรณีทีน่ าไปทีท่ าการของพนักงานสอบสวนผูร้ บ ั ผิดชอบได้ในขณะนัน ้
ก็ให้นาไปทีท่ าการของพนักงานสอบสวนผูร้ บ ั ผิดชอบ
พนักงานสอบสวนผูร้ บ ั ผิดชอบโดยหลักก็คอ ื
พนักงานสอบสวนแห่งท้องทีท ่ ค
ี่ วามผิดอาญา “ได้เกิด” (มาตรา 18 วรรคสาม)
นัน
้ เอง
2) เจ้าพนักงานผูจ
้ บ
ั ต้องแจ้ง “ข้อกล่าวหา” ให้ผถ
ู้ ูกจับทราบ
หากมีหมายจับให้แสดงต่อผูถ
้ ูกจับ
3) เจ้าพนักงานผูจ
้ บ
ั ต้องแจ้งด้วยว่า
ก) ผูถ
้ ูกจับมีสท
ิ ธิทีจ่ ะไม่ให้การหรือให้การก็ได้ และ
ข) ถ้อยคาของผูถ
้ ูกจับนัน
้ อาจใช้เป็ นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้
และ
ค)
ผูถ
้ ูกจับมีสท ้ งึ่ จะเป็ นทนายความ
ิ ธิทจี่ ะพบทนายและปรึกษาทนายความหรือผูซ
4)
เจ้าพนักงานผูจ้ บ
ั ต้องอนุญาตให้ผถ ้ งึ่ ถูกจับไว้วางใจทร
ู้ ูกจับแจ้งให้ญาติหรือผูซ
าบถึงการจับกุม ตามสมควรแก่กรณีหากผูจ้ บ ั ประสงค์เช่นนัน ้ เว้นแต่
ก) ไม่สามารถดาเนินการได้สะดวก หรือ
ข) เป็ นการขัดขวางการจับหรือการควบคุมผูถ
้ ูกจับ หรือ
ค) ทาให้เกิดความไม่ปลอดภัยแก่บุคคลหนึ่งบุคคลใด

ขัน
้ ตอน ณ ทีท
่ าการของพนักงานสอบสวน (ม.84)

คารับสารภาพในชัน ้ จับกุมหรือในชัน
้ รับมอบตัวผูถ
้ ูกจับว่าตนได้กระทาความผิ
ด “รับฟัง” ไม่ได้โดยเด็ดขาด
ม.84 วรรคสี่ บัญญัติ “ห้ามมิให้รบั ฟังเป็ นพยานหลักฐาน” ซึง่ ถ้อยคาใด ๆ
ซึง่ เป็ น “คารับสารภาพ” ของผูถ้ ูกจับ “ว่าตนได้กระทาความผิด”
ซึง่ ผูถ
้ ูกจับได้ให้ไว้
ก) ในชัน
้ จับกุม ต่อเจ้าพนักงานผูจ้ บ
ั หรือ
ข) ในชัน
้ รับมอบตัวผูถ
้ ูกจับต่อพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ
ข้อสังเกต
มาตรา 84 วรรคสี่ ไม่ให้รบ ั ฟังโดยเด็ดขาดโดยไม่มีขอ ้ ยกเว้นใด ๆ ทัง้ สิน

แม้วา่ (ก)
เจ้าพนักงานหรือพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจจะแจ้งให้ผถ ู้ ูกจับทราบถึงสิท
ธิของผูถ ้ ูกจับทีจ่ ะไม่ให้การหรือให้การก็ได้และสิทธิอืน ่ ๆ แล้วก็ตาม และแม้วา่
(ข) คารับสารภาพของผูถ ้ ูกจับว่าตนได้กระทาความผิดนัน ้
ผูถ
้ ูกจับจะให้ถอ ้ ยคาออกมาโดยผูจ้ บ ั หรือผูร้ บ
ั มอบตัวผูจ้ บั จะมิได้จูงใจ ข่มขู่
ฯลฯ ใด ๆ เลยก็ตาม
จะเห็นได้วา่ การทีม่ าตรา 84 วรรคสี่ บัญญัตเิ ช่นนี้
เท่ากับเป็ นการคุม้ ครองสิทธิของผูถ ้ ูกจับทีจ่ ะไม่ให้ถอ
้ ยคาทีเ่ ป็ นปฏิปก
ั ษ์ ตอ
่ ตนเ
องอันอาจทาให้ตนถูกฟ้ องคดีอาญา
เพราะเท่ากับว่าคารับสารภาพของผูถ ้ ุกจับกุม “ว่าตนได้กระทาความผิด”
ในชัน้ จับกุมหรือในชัน ้ รับมอบตัวผูถ ้ ูกจับนัน ้ โดยผลของกฎหมาย
ถือว่าเป็ นถ้อยคาทีใ่ ห้ออกมาโดยไม่สมัครใจ จึงรับฟังไม่ได้ ด้วยเหตุนี้
หากผูต ้ อ
้ งหาให้การรับสารภาพต่อพนักงานสอบสวนว่าตนได้กระทาความผิด
แต่ให้การปฏิเสธในชัน ้ พิจารณา
ก็จะนาคารับสารภาพในชัน ้ จับกุมหรือในชัน ้ รับมอบตัวผูถ
้ ูกจับ
“ว่าตนได้กระทาความผิด”
มาเป็ นพยานหลักฐานส่วนหนึ่งในการลงโทษบบุคคลนัน ้ มิได้
ข้อสังเกต สิทธิทจี่ ะ
“ไม่ให้ถอ
้ ยคาเป็ นปฏิปก ั ษ์ ตอ
่ ตนเองอันอาจทาให้ตนถูกฟ้ องคดีอาญา”
โดยหลักแล้วย่อม “สละสิทธิ” ได้ ดังนัน ้
คารับสารภาพโดยสมัครใจว่าตนได้กระทาความผิด ก็คอ ื การสละสิทธินี้น่ น
ั เอง
อย่างไรก็ตาม มาตรา 84 วรรคสี่ ห้ามมิให้รบ
ั ฟังเป็ นพยานหลักฐาน
ก็แสดงว่ากรณี นี้ กฎหมายห้ามมิให้มีการสละสิทธิน่ นั เอง

หากศาลล่าง “รับฟัง”
คารับสารภาพดังกล่าวของผูต ้ อ
้ งหาในชัน ้ จับกุมก่อนมาตรา 84 วรรคสี่
มีผลใช้บงั คับ แต่เมือ่ คดีนน
้ ั อยูใ่ นระหว่างการพิจารณาของศาลฎีกาตามมาตรา
84 วรรคสี ่ มีผลใช้บงั คับแล้ว ศาลฎีกาจะรับฟังคารับสารภาพดังกล่าวได้หรือไม่
D2215/48 วางหลักว่า ถ้อยคาซึง่ เป็ นคารับสารภาพของผูถ ้ ูกจับว่า
“ตนได้กระทาความผิด” นัน ้ ห้ามมิให้รบั ฟังเป็ นพยานหลักฐาน
ต่อเมือ
่ เป็ นถ้อยคาทีใ่ ห้ไว้ ภายหลังจากทีม ่ าตรา 84 (แก้ไขเพิม ่ เติม)
มีผลใช้บงั คับแล้วเท่านัน ้ กล่าวคือ ตัง้ แต่วนั ที่ 24 ธ.ค. 47 เป็ นต้นไป
ข้อสังเกต อย่างไรก็ตาม หากคารับสารภาพดังกล่าวเกิดจากการข่มขู่ ฯลฯ
ของผูจ้ บ
ั ถ้อยคานัน้ ก็รบ
ั ฟังไม่ได้ตามมาตรา 226
และถ้อยคาโดยไม่สมัครใจดังกล่าว ก็ไม่อยูใ่ นเงือ่ นไขของมาตรา 226/1
ทีศ
่ าลจะใช้ดลุ พินิจรับฟังได้

หากเป็ น “ถ้อยคาอืน
่ ”ในชัน
้ จับกุมหรือในชัน
้ รับมอบตัวผูถ
้ ูกจับ รับฟังได้
หากมีการแจ้งให้ทราบสิทธิ
หากเป็ น “ถ้อยคาอืน
่ ”มาตรา 84 วรรคสี่ วางเงือ่ นไขไว้วา่ จะ “รับฟัง” ได้
ก็ตอ
่ เมือ

ก) มีการแจ้งสิทธิตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง แก่ผถ
ู้ ูกจับ หรือ
ข) มีการแจ้งสิทธิตามมาตรา 83 วรรคสอง แก่ผถ
ู้ ูกจับ

การแจ้งสิทธิตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง และการแจ้งสิทธิตามมาตรา 83


วรรคสอง คือการแจ้งให้ผถู้ ูกจับทราบว่า
1) ผูถ
้ ก
ู จับมีสท
ิ ธิทจี่ ะให้การหรือไม่ให้การก็ได้ และ
2) ถ้อยคาของผูถ
้ ูกจับอาจใช้เป็ นพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได้
ข้อสังเกต
การแจ้งตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง คือ การแจ้งสิทธิตาม (2) ของมาตรา 84
โดยแจ้งเมือ
่ ผูถ
้ ูกจับมาถึงยังทีท
่ าการของพนักงานสอบสวนแล้ว
(มาถึงสถานีตารวจแล้ว) และผูแ ้ จ้งคือ
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจซึง่ รับมอบตัวผูถ ้ ูกจับ
และจะต้องแจ้งก็ตอ ่ เมือ
่ ในชัน้ จับกุมนัน้ ราษฎรเป็ นผูจ้ บั เท่านัน้
หากในชัน ้ จับกุมเจ้าพนักงานผูจ้ บ ั มาตรา 83 วรรคสอง
บัญญัตใิ ห้เจ้าพนักงานผูจ้ บั ต้องแจ้งสิทธิดงั กล่าวอยูแ่ ล้ว ดังนัน

ในชัน
้ รับมอบตัวผูถ ้ ูกจับจึงไม่ตอ้ งแจ้งสิทธิสองประการข้างต้นอีก
เพราะจะเป็ นการซา้ ซ้อน (มาตรา 84 วรรคหนึ่ง (2))
ส่วนการแจ้งสิทธิตามมาตรา 83 วรรคสอง หมายถึง
การแจ้งสิทธิในชัน
้ จับกุม ในกรณีทเี่ จ้าพนักงานเป็ นผูจ้ บ
ั หากราษฎรเป็ นผูจ้ บ

ราษฎรไม่มีหน้าทีต่ อ
้ งแจ้งสิทธิ
การแจ้งสิทธิตามมาตรา 83 วรรคสอง นัน
้ มีการแจ้งสิทธิมากกว่ามาตรา 84
วรรคหนึ่ง กล่าวคือ
3) ผูถ
้ ก
ู จับมีสท ้ งึ่ จะเป็ นทนายความ
ิ ธิทจี่ ะพบและปรึกษาทนายความหรือผูซ
่ ” ซึง่
หากไม่มีการแจ้งสิทธิ 2 ประการข้างต้น ((1) และ (2)) “ถ้อยคาอืน
“รับฟังไม่ได้” ตามมาตรา 84 วรรคท้ายนัน ้ จะเข้าหลักเกณฑ์ของมาตรา 226/1
ซึง่ ศาลอาจใช้ดุลพินิจรับฟังได้หรือไม่
จะเห็นได้วา่ การไม่แจ้งสิทธิ 2 ประการ น่ าจะต้องถือว่า “ถ้อยคาอืน ่ ”
นัน
้ ให้ออกมา “โดยไม่สมัครใจ” ด้วยเหตุผลทีว่ า่ สิทธิ 2
ประการซึง่ กฎหมายบังคับให้แจ้งนี้ มีพื้นฐานมาจาก
“สิทธิทจี่ ะไม่ให้การเป็ นปฏิปก ั ษ์ ตอ
่ ตนเอง” เมือ ่ ไม่มีการแจ้งสิทธินี้
ก็ถือว่าผูถ้ ูกจับให้ “ถ้อยคาอืน่ ” ออกมาโดยไม่สมัครใจ
เพราะหากผูถ ้ ูกจับทราบถึงสิทธินี้ตง้ ั แต่แรกทีถ ่ ูกจับ เขาก็อาจจะไม่ให้
“ถ้อยคาอืน ่ ” นัน้ ออกมาก็ได้ การทีผ ่ ถ ู้ ูกจับให้ “ถ้อยคาอืน ่ ”
ออกมาอาจเป็ นเพราะเข้าเข้าใจผิดไปว่าเขามีหน้าทีต ่ อ
้ งให้ถอ
้ ยคานัน
้ ออกมาก็
ได้
เมือ
่ ถือว่า “ถ้อยคาอืน่ ”
ผูถ
้ ูกจับให้ออกมาในชัน ้ จับกุมหรือในชัน
้ รับมอบตัวผูถ ้ ูกจับโดยไม่มีการแจ้งสิท
ธิ 2 ประการดังกล่าว เป็ นการให้ถอ ้ ยคาออกมาโดยไม่สมัครใจ ก็จะถือว่า
“ถ้อยคาอืน ้ โดยชอบ” ตามความหมายของมาตรา
่ ” เป็ นพยานหลักฐานที่ “เกิดขึน
226/1 ไม่ได้ ดังนัน ้ ศาลคงไม่อาจใช้ดลุ พินิจรับฟัง “ถ้อยคาอืน ่ ” นัน

เป็ นพยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผูถ ้ ูกจับได้

ถ้อยคาอืน
่ ก็รบ
ั ฟังไม่ได้ แม้มีการแจ้งสิทธิ หากให้ถอ
้ ยคาโดยไม่สมัครใจ
แม้มีการแจ้งสิทธิครบถ้วนตามมาตรา 83 วรรคสอง หรือตามมาตรา 84
วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี แล้วก็ตามก็มไิ ด้หมายความว่า “ถ้อยคาอืน ่ ”
นัน
้ จะรับฟังเป็ นพยานหลักฐานในการพิสูจน์ความผิดของผูถ ้ ูกจับได้เสมอไป
“ถ้อยคาอืน
่ ” นัน
้ จะอาจจะรับฟังไม่ได้
หากผูถ
้ ูกจับให้ถอ
้ ยคาออกมาโดยไม่สมัครใจ
เพราะยังมีหลักทั่วไปบัญญัตใิ นมาตรา 226 มีใจความว่า
พยานหลักฐานซึง่ เกิดขึน
้ จากการจูงใจ มีคามั่นสัญญา ขูเ่ ข็ญ
หลอกลวงหรือโดยมิชอบประการอืน ่ จะอ้างเป็ นพยานหลักฐานไม่ได้
ด้วยเหตุนี้ หากมีการแจ้งสิทธิครบถ้วน แต่มีการขูเ่ ข็ญผูถ ้ ูกจับจนผูถ้ ูกจับให้
“ถ้อยคาอืน ่ ” ออกมา “ถ้อยคาอืน ่ ” นัน
้ ก็รบ
ั ฟังไม่ได้ตามหลักทั่วไปในมาตรา 226
แม้วา่ จะรับฟังได้ตามความในมาตรา 84 วรรคท้ายก็ตาม มีขอ ้ สังเกตว่า
“ถ้อยคาอืน ่ ” ทีใ่ ห้ออกมาในลักษณะเช่นนี้ เป็ นการให้ออกมาโดยไม่สมัครใจ
จึงมิใช่
“พยานหลักฐานทีเ่ กิดขึน ้ โดยชอบแต่ได้มาเนื่องจากการกระทาโดยมิชอบ”
จึงไม่เข้าเงือ่ นไขของมาตรา 226/1 ทีศ ่ าลจะใช้ดลุ พินิจรับฟังได้
ด้วยเหตุนี้ “ถ้อยคาอืน
่ ” ตามมาตรา 84 วรรคสี่ จะ “รับฟังได้” ก็ตอ
่ เมือ่
1) ต้องเป็ นถ้อยคาทีผ
่ ถ
ู้ ูกจับให้ออกมาโดยสมัครใจ
ปราศจากการข่มขู่ จูงใจ
หลอกลวง ทรมาน ใช้กาลังบังคับ หรือกระทาโดยมิชอบด้วยประการใด ๆ และ
2) แม้ถอ
้ ยคาทีผ
่ ถ
ู้ ก
ู จับกุมให้ออกมาโดยสมัครใจ
ก็จะต้องเป็ นถ้อยคาทีใ่ ห้ออกมาหลังจากทีม
่ ีการแจ้งสิทธิตามมาตรา 83
วรรคสองหรือตามมาตรา 84 วรรคหนึ่ง แล้วแต่กรณี โดยครบถ้วนแล้ว

อานาจของพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจผูซ ้ งึ่ รับตัวผูถ


้ ูกจับ
ในการควบคุมและปล่อยชั่วคราว (มาตรา 84/1)
ข้อสังเกต ม.84/1 บัญญัตใิ ห้ชดั เจนถึงกรณีทจี่ ะต้องส่งผูถ
้ ูกจับไปยังศาล เช่น
เป็ นการจับโดยมีหมายจับและจะต้องส่งตัวผูถ ้ ูกจับไปยังศาลผูอ ้ อกหมายตามบ
ทบัญญัตใิ นมาตรา 64 เช่น
เป็ นการจับจาเลยซึง่ รับการปล่อยชั่วคราวแต่หลบหนีไม่มารับฟังพิจารณาคดี
หรือจับจาเลยตามหมายจับในคดีทรี่ าษฎรเป็ นโจทก์และศาลประทับฟ้ องแล้ว
แต่ยงั ไม่ได้ตวั จาเลยมาตามมาตรา 169 หรือเป็ นการจับกุมพยานตาม ป.วิ.พ.
มาตรา 111(2) เป็ นต้น
กรณีเช่นนี้
หากไม่อาจส่งตัวผูถ
้ ูกจับไปได้เนื่องจากเป็ นเวลาทีศ่ าลปิ ดหรือใกล้จะปิ ดทาการ
มาตรา 84/1
จึงให้อานาจฝ่ ายปกครองหรือตารวจรับตัวผูถ ้ ูกจับมีอานาจควบคุมผูถ ้ ูกจับไว้ไ
ด้จนกว่าจะถึงเวลาทีศ่ าลเปิ ดทาการหรือปล่อยชั่วคราว ผูถ ้ ูกจับก็ได้
ม.84/1 ให้อานาจพนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ ซึง่ มีผน
ู้ าผูถ
้ ูกจับมาส่งนัน
้ จะ
“ปล่อยชั่วคราว” ก็ได้ อย่างไรก็ตาม
พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจนัน ้ จะต้องเป็ น “พนักงานสอบสวน” ด้วย
มิฉะนัน้ จะไม่มีอานาจปล่อยชั่วคราว เพราะตาม ป.วิ.อ. มาตรา 106(1)
ผูต ้ งหาซึง่ ถูกควบคุมอยูจ่ ะต้องยืน
้ อ ่ คาร้องให้ปล่อยชั่วคราวต่อ
“พนักงานสอบสวน” ดังนัน ้ จึงจะยืน ่ คาร้องให้ปล่อยชั่วคราวต่อ
“พนักงานฝ่ ายปกครองหรือตารวจ” ซึง ่ ไม่ได้เป็ นพนักงานสอบสวนไม่ได้

You might also like