You are on page 1of 43

ประเทศไทย

จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี
"ไทย" เปลีย่ นทางมาทีน
่ ี่ สาหรับความหมายอืน
่ ดูที่ ไทย (แก้ความกากวม)

ราชอาณาจักรไทย

ธงชาติ ตราแผ่นดิน

เพลงชาติ: เพลงชาติไทย
เพลงชาติไทย (บรรเลง)

MENU
0:00

เพลงสรรเสริญพระบารมี: สรรเสริญพระบารมี
สรรเสริญพระบารมี (บรรเลง)

MENU
0:00
ทีต
่ ง้ ั ของ ประเทศไทย (สีเขียว)
ในอาเซียน (สีเทาเข้ม) — [คาอธิบายสัญลักษณ์ ]
เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร
(และเมืองใหญ่สุด) 13°44′N 100°30′E

ภาษาราชการ ภาษาไทย

เดมะนิม ชาวไทย

การปกครอง ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข


ราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ, เผด็จการทหาร (พ

- พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระเจ้าอยูห
่ วั มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพย
- นายกรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

นิตบ
ิ ญ
ั ญัติ สภานิตบ
ิ ญ
ั ญัตแ
ิ ห่งชาติ

สถาปนา

- กรุงศรีอยุธยา 3 เมษายน พ.ศ. 1893 – 7 เมษายน พ.ศ. 2310


- กรุงธนบุรี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 – 6 เมษายน พ.ศ. 2325
- กรุงรัตนโกสินทร์ 6 เมษายน พ.ศ. 2325
- ราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475
- รัฐธรรมนูญปัจจุบน
ั 6 เมษายน พ.ศ. 2560

พื้นที่
- รวม 513,115 ตร.กม. (50)
198,115 ตร.ไมล์
- แหล่งน้า (%) 0.4 (2,230 ตร.กม.)

ประชากร
- 2559 (ประเมิน) 65,931,550 คน[1] (20)
- 2553 (สามะโน) 65,981,659 คน[2]
- ความหนาแน่ น 132.1 คน/ตร.กม. (88)
342 คน/ตร.ไมล์

จีดพ
ี ี (อานาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
- รวม 1.226 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ
- ต่อหัว 17,749 ดอลลาร์สหรัฐ

จีดพ
ี ี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
- รวม 432.898 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
- ต่อหัว 6,265 ดอลลาร์สหรัฐ

จีนี (2553) 37.85

HDI (2558) 0.740 (สูง) (87th)

สกุลเงิน บาท (฿) ( THB )

เขตเวลา (UTC+7)
ขับรถด้าน ซ้ายมือ

โดเมนบนสุด .th

รหัสโทรศัพท์ +66

ประเทศไทย มีชือ ่ อย่างเป็ นทางราชการว่า ราชอาณาจักรไทย เป็ นรัฐชาติ


อันตัง้ อยูบ่ นคาบสมุทรอินโดจีนและมลายู ในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
มีพรมแดนด้านตะวันออกติดประเทศลาวและประเทศกัมพูชา ทิศใต้เป็ นแดน
ต่อแดนประเทศมาเลเซียและอ่าวไทย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและประเท
ศพม่า และทิศเหนือติดประเทศพม่าและลาว มีแม่น้าโขงกัน ้ เป็ นบางช่วง
มีศนู ย์กลางการบริหารราชการแผ่นดินอยูท ่ ีก
่ รุงเทพมหานคร และการปกครอง
ส่วนภูมภ ิ าค จัดระเบียบเป็ น 76
[ก]
จังหวัด แม้จะมีการสถาปนาระบอบราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญและประ
ชาธิปไตยระบบรัฐสภาใน พ.ศ. 2475
แต่กองทัพไทยและตารวจไทยยังมีบทบาทในการเมืองไทย ล่าสุด
เกิดรัฐประหารเมือ ่ วันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
และประเทศไทยปกครองแบบเผด็จการทหาร
ประเทศไทยมีขนาดใหญ่เป็ นอันดับที่ 50 ของโลก มีเนื้อที่
513,115 ตารางกิโลเมตร[3] และมีประชากรมากเป็ นอันดับที่ 20 ของโลก คือ
ประมาณ 66
ล้านคน[4] กับทัง้ ยังเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่[5][6][7][8] โดยมีรายได้หลักจา
กภาคอุตสาหกรรมและการบริการ[9] ไทยมีแหล่งท่องเทีย่ วทีม ่ ีชือ
่ เสียงเป็ นอันม
าก
อาทิ พัทยา, ภูเก็ต, กรุงเทพมหานคร และเชียงใหม่ ซึง่ สร้างรายได้ให้แก่ประเ
ทศ
เช่นเดียวกับการส่งออกอันมีสว่ นสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ[10] และด้วยจีดี
พีของประเทศ ซึง่ มีมูลค่าราว 432,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ตามทีป ่ ระมาณใน
พ.ศ. 2560 เศรษฐกิจของประเทศไทยนับว่าใหญ่เป็ นอันดับที่ 26 ของโลก
ในอาณาเขตประเทศไทย
พบหลักฐานของมนุ ษย์ซงึ่ มีอายุเก่าแก่ทส ุ ถึงห้าแสนปี [11] นักประวัตศ
ี่ ด ิ าสตร์ม ั
กถือว่าอาณาจักรสุโขทัยเป็ นจุดเริม
่ ต้นของประวัตศ ิ าสตร์ไทย
ซึง่ ต่อมาตกอยูใ่ นอิทธิพลของอาณาจักรอยุธยา อันมีความยิง่ ใหญ่กว่า
และมีการติดต่อกับชาติตะวันตก อาณาจักรอยุธยามีอายุยืนยาว 417
ปี ก็เสือ
่ มอานาจและล่มสลายไปโดยสิน ้ เชิง สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงกอบกูเ้
อกราชและสถาปนาอาณาจักรธนบุรี เหตุการณ์ ความวุน ่ วายในช่วงปลายอาณา
จักร
นาไปสูย่ ุคสมัยของราชวงศ์จกั รีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ในช่วงต้นกรุงประเทศเ
ผชิญภัยคุกคามจากชาติใกล้เคียง
แต่หลังรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั เป็ นต้นมา
ชาติตะวันตกเริม ่ มีอท
ิ ธิพลในภูมภิ าคเป็ นอย่างมาก
นาไปสูก ่ ารเข้าเป็ นภาคีแห่งสนธิสญ ั ญาหลายฉบับ
และการเสียดินแดนบางส่วน กระนัน ้
ไทยก็ยงั ธารงตนมิได้เป็ นอาณานิคมของชาติใด ๆ
ต่อมาจนช่วงสงครามโลกครัง้ ทีห ่ นึ่ง ไทยได้เข้าร่วมกับฝ่ ายสัมพันธมิตร
ในปี พ.ศ.
2475 ประเทศไทยได้มีการปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิรา
ชมาเป็ นระบอบราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญตามบริบทของการเปลีย่ นแปล
งทั่วโลก
โดยในระหว่างสงครามโลกครัง้ ทีส ่ องไทยได้เข้ากับฝ่ ายอักษะ จนมาถึงช่วงสง
ครามเย็นไทยได้ดาเนินนโยบายเป็ นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาซึง่ เข้ามามีบทบ
าทในการสนับสนุนรัฐบาลทหารในยุคนัน ้ เป็ นอย่างมาก และแม้ชว่ งทศวรรษที่
2530 ประเทศไทยจะเริม ่ เปลีย่ นมาสูย่ ุครัฐบาลของพลเรือน
แต่เสถียรภาพของระบบการเมืองการปกครองไทยยังคงขาดความต่อเนื่องอัน
มีทมี่ าจากการแทรกแซงโดยกองทัพจวบจนปัจจุบน ั
ชือ่ เรียก
ดูเพิม่ เติมที:่ สยาม
ชาวต่างชาติเรียกอาณาจักรอยุธยาว่า "สยาม" เมือ ่ ราว พ.ศ.
2000[12] เดิมประเทศไทยเองก็เคยใช้ชือ ่ ว่า สยาม มาแต่รชั กาลพระบาทสมเด็
จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั โดยปรากฏใช้เป็ นชือ ่ ประเทศชัดเจนใน พ.ศ.
2399[13] ทว่าคนไทยไม่เคยเรียกตนเองว่า "สยาม" หรือ "ชาวสยาม"
อย่างชาวต่างชาติหรือชือ ่ ประเทศอย่างเป็ นทางการในสมัยนัน ้ เลย[14] ส่วนคาว่า
"คนไทย" นัน้ จดหมายเหตุลาลูแบร์ได้บน ั ทึกไว้ชดั เจนว่า
ชาวอยุธยาเรียกตนเองเช่นนัน ้ มานานแล้ว[15]
ต่อมา เมือ่ วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2482 รัฐบาลจอมพล ป.
พิบูลสงคราม ออกประกาศสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยรัฐนิยม ฉบับที่ 1
เปลีย่ นชือ่ ประเทศ พร้อมกับเรียกประชาชน และสัญชาติจาก "สยาม" มาเป็ น
"ไทย" ซึง่ จอมพล ป.
[16]

ต้องการบอกว่าดินแดนนี้เป็ นของชาวไทย มิใช่ของเชื้อชาติอืน ่


ตามลัทธิชาตินิยมในเวลานัน ้ [17] โดยในช่วงต่อมาได้เปลีย่ นกลับเป็ นสยามเมือ

[16]
ปี พ.ศ. 2488 แต่ก็ได้เปลีย่ นกลับมาชือ ่ ไทยอีกครัง้ เมือ
่ ปี พ.ศ.
2491 ซึง่ เป็ นช่วงทีจ่ อมพล ป. พิบูลสงครามเป็ นนายกรัฐมนตรี
การเปลีย่ นชือ ่ ในครัง้ นี้ยงั เปลีย่ นจาก "Siam"
ในภาษาอังกฤษและภาษาฝรั่งเศส เป็ น "Thaïlande" ในภาษาฝรั่งเศส และ
"Thailand" ในภาษาอังกฤษอย่างในปัจจุบน ั [14] อย่างไรก็ตาม
่ สยาม ยังคงเป็ นทีร่ จู ้ กั กันอย่างแพร่หลายทัง้ ในและต่างประเทศ
ชือ
ชือ่ ประเทศไทยในภาษาอังกฤษมักถูกจาสับสนกับไต้หวันอยูบ ่ ย ๆ [18]
่ อ
ภูมป
ิ ระเทศ ภูมอิ ากาศและสิง่ แวดล้อม
ดูบทความหลักที:่ ภูมศ
ิ าสตร์ไทย และ ภูมอิ ากาศไทย

ภาพถ่ายประเทศไทยจากดาวเทียม
ประเทศไทยตัง้ อยูก ่ ลางคาบสมุทรอินโดจีนในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
และยังอยูบ่ นคาบสมุทรมลายูดว้ ย อยูร่ ะหว่างละติจูด 5° ถึง 21° เหนือ
และลองติจูด 97° ถึง 106° ตะวันออก ประเทศไทยมีพื้นที่ 513,115
ตารางกิโลเมตร เป็ นอันดับที่ 51 ของโลกและอันดับที่ 3
ของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซียและพม่า
ประเทศไทยมีอาณาเขตทางทะเล (Maritime Zone)
ตามอนุสญ ั ญาสหประชาชาติวา่ ด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ.1982กว่า 320,000
ตารางกิโลเมตร ซึง่ คิดเป็ นประมาณร้อยละ 60
ของอาณาเขตทางบกทีม ่ ีอยูป
่ ระมาณ 530,000 ตารางกิโลเมตร
โดยมีความยาวชายฝั่งทะเลทัง้ ฝั่งอ่าวไทย
และฝั่งอันดามันรวมถึงช่องแคบมะละกาตอนเหนือ
รวมความยาวชายฝั่งทะเลในประเทศไทยทัง้ สิน ้ กว่า 3,101 กิโลเมตร
ครอบคลุมจานวน 23 จังหวัด [19]
ประเทศไทยมีลกั ษณะภูมป ิ ระเทศทีห ่ ลากหลาย ภาคเหนือเป็ นพื้นทีภ ่ ูเขาสู
งสลับซับซ้อน จุดสูงทีส ่ ุดในประเทศไทย คือ ดอยอินทนนท์ ณ 2,565
เมตรเหนือระดับน้าทะเล[20] รวมทัง้ ยังปกคลุมด้วยป่ าไม้อน ั เป็ นต้นน้าทีส
่ าคัญ
ของประเทศ ภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือส่วนใหญ่เป็ นพื้นทีข ่ องทีร่ าบสูงโคราช
สภาพของดินค่อนข้างแห้งแล้งและไม่คอ ่ ยเอื้อต่อการเพาะปลูก ภาคกลางเป็ น
ทีร่ าบลุม
่ น้าท่วมถึง
มีแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าใหญ่ทส ี่ ุดในประเทศซึง่ เกิดจากแม่น้าปิ งและแม่น้าน่ า
นทีไ่ หลมาบรรจบกันทีป ่ ากน้าโพ จังหวัดนครสวรรค์ ทาให้ภาคกลางเป็ นภาคที่
อุดมสมบูรณ์ ทส ี่ ุด
และถือได้วา่ เป็ นแหล่งปลูกข้าวทีส ่ าคัญแห่งหนึ่งของโลก[21] ภาคใต้เป็ นส่วนห
นึ่งของคาบสมุทรไทย-มลายู[22] ขนาบด้วยทะเลทัง้ สองด้าน มีจุดทีแ ่ คบลง
ณ คอคอดกระ แล้วขยายใหญ่เป็ นคาบสมุทรมลายู ทะเลสาบสงขลาเป็ นทะเลส
าบทีใ่ หญ่ทส ี่ ุดของประเทศไทย
ส่วนภาคตะวันตกเป็ นหุบเขาและแนวเทือกเขาซึง่ พาดตัวมาจากทางตะวันตกข
องภาคเหนือ
แม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าโขงถือเป็ นแหล่งเกษตรกรรมทีส ่ าคัญของประ
เทศไทย
การผลิตของภาคอุตสาหกรรมการเกษตรต้องอาศัยผลผลิตทีเ่ ก็บเกีย่ วได้จากแ
ม่น้าทัง้ สองและสาขา อ่าวไทยมีพื้นทีป ่ ระมาณ 320,000 ตารางกิโลเมตร
รองรับน้าซึง่ ไหลมาจากแม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าแม่กลอง แม่น้าบางปะกง และ
แม่น้าตาปี ถือเป็ นแหล่งดึงดูดนักท่องเทีย่ ว
เนื่องจากน้าตื้นใสตามแนวชายฝั่งของภาคใต้และคอคอดกระ นอกจากนี้
อ่าวไทยยังเป็ นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมของประเทศ
เพราะมีทา่ เรือหลักทีส ่ ตั หีบ ถือได้วา่ เป็ นประตูทจี่ ะนาไปสูท ่ า่ เรืออืน่ ๆ
ในกรุงเทพมหานคร ภาคใต้มีสถานทีท ่ งเทีย่ วซึง่ ดึงดูดนักท่องเทีย่ วมาก
่ อ
ตัง้ แต่จงั หวัดภูเก็ต จังหวัดกระบี่ จังหวัดระนอง จังหวัดพังงา จังหวัดตรัง และ
หมูเ่ กาะตามแนวชายฝั่งของทะเลอันดามัน
ภูมอ
ิ ากาศของไทยเป็ นแบบเขตร้อน หรือแบบสะวันนา มีอุณหภูมเิ ฉลีย่
18-34 °C และมีปริมาณฝนตกเฉลีย่ ตลอดปี กว่า 1,500 มิลลิเมตร
สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ฤดูกาล คือ
ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถงึ เดือนเมษายนเป็ นฤดูรอ้ น ระหว่างเดือนพฤษภาคม
ถึงเดือนตุลาคมเป็ นฤดูฝน ประเทศไทยได้รบ ั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉี
ยงใต้จากทะเลจีนใต้และพายุหมุนเขตร้อน ส่วนในเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดื
อนมีนาคมเป็ นฤดูหนาว ซึง่ ได้รบ ั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนือจา
[23]
กประเทศจีน ส่วนภาคใต้มีสภาพอากาศแบบป่ าดงดิบ
ซึง่ มีอากาศร้อนชื้นตลอดทัง้ ปี แบ่งได้เป็ น 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและฤดูรอ้ น
โดยฝั่งทะเลตะวันออก ฤดูรอ้ นเริม่ ตัง้ แต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน
่ ตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน[23]
และฝั่งทะเลตะวันตก ฤดูรอ้ นเริม
ประเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพของทัง้ พืชและสัตว์อยูม ่ าก
อันเป็ นรากฐานอันมั่นคงของการผลิตในภาคเกษตรกรรม
และประเทศไทยมีผลไม้เมืองร้อนหลากชนิด[21] พื้นทีร่ าว 29%
ของประเทศเป็ นป่ าไม้
รวมไปถึงพื้นทีป ่ ลูกยางพาราและกิจกรรมปลูกป่ าบางแห่ง[24] ประเทศไทยมีเข
ตรักษาพันธุ์สตั ว์ป่ากว่า 50 แห่ง เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอีก 56 แห่ง โดยพื้นที่
12% ของประเทศเป็ นอุทยานแห่งชาติ (ปัจจุบน ั มี 110 แห่ง[25]) และอีกเกือบ
20% เป็ นเขตป่ าสงวน[24] ประเทศไทยมีพืช 15,000 สปี ชีส์ คิดเป็ น 8%
ของสปี ชีส์พืชทัง้ หมดบนโลก[26] ในประเทศไทย พบนก 982 ชนิด นอกจากนี้
ยังเป็ นถิน
่ ทีอ
่ ยูข
่ องสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
และสัตว์เลื้อยคลานกว่า 1,715 สปี ชีส์ซงึ่ มีการบันทึก[27]
ประวัตศ
ิ าสตร์
ดูบทความหลักที:่ ประวัตศ
ิ าสตร์ไทย
ยุคก่อนประวัตศ
ิ าสตร์

่ งปั้นดินเผาซึง่ ถูกพบใกล้กบ
เครือ ั บ้านเชียง สันนิษฐานว่ามีอายุกว่า 2,000 ปี
ในอดีต
พื้นทีซ่ งึ่ ปัจจุบน
ั เป็ นประเทศไทยนัน ้ มีมนุ ษย์เข้ามาอยูอ่ าศัยตัง้ แต่ยุคหินเก่า คือ
ราว 20,000 ปี ทีแ ่ ล้ว
ภูมภิ าคดังกล่าวได้รบ ั อิทธิพลทางวัฒนธรรมและทางศาสนาจากอินเดีย
นับตัง้ แต่อาณาจักรฟูนน ั เมือ
่ ราวคริสต์ศตวรรษที่
[28]
1 แต่สาหรับรัฐของคนไทยแล้ว ตามตานานโยนกได้บน ั ทึกว่า
การก่อตัง้ อาณาจักรของคนไทยครัง้ แรกเกิดขึน ้ เมือ
่ ราว พ.ศ. 1400[29]
อาณาจักรสุโขทัย
ดูบทความหลักที:่ อาณาจักรสุโขทัย
ภายหลังการล่มสลายของจักรวรรดิขะแมร์ เมือ ่ ต้นคริสต์ศตวรรษที่
13[30] ทาให้เกิดรัฐใหม่ขน ึ้ เป็ นจานวนมากในเวลาไล่เลีย่ กัน
อาทิ ชาวไท มอญ เขมร และมลายู
นักประวัตศ ิ าสตร์ไทยเริม ่ ถือเอาสมัยอาณาจักรสุโขทัย นับตัง้ แต่ พ.ศ. 1781
เป็ นจุดเริม่ ต้นของประวัตศ ิ าสตร์ชาติไทย
ซึง่ ตรงกับสมัยรุง่ เรืองของอาณาจักรล้านนาและอาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรสุ
โขทัยมีการปกครองแบบ ปิ ตุราชา หรือ พ่อปกครองลูก
ทีผ ่ ป
ู้ กครองใกล้ชด ิ กับผูใ้ ต้ปกครอง
อาณาจักรสุโขทัยแผ่ขยายดินแดนออกไปอย่างกว้างขวางในรัชสมัยพ่อขุนราม
คาแหงมหาราช ผูป ้ ระดิษฐ์อกั ษรไทย
แต่เสถียรภาพของอาณาจักรได้ออ ่ นแอลงภายหลังการสวรรคตของพระองค์
รัชสมัยพญาลิไทมีการเปลีย่ นรูปแบบการปกครองมาเป็ นธรรมราชา
จากการรับอิทธิพลของศาสนาพุทธนิกายเถรวาท แบบลังกาวงศ์
อาณาจักรสุโขทัยเสือ ่ มลงและตกเป็ นเมืองขึน ้ ของอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ดูบทความหลักที:่ อาณาจักรอยุธยา, อาณาจักรธนบุรี และ อาณาจักรรัตนโกสิ
นทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)
พระเจ้าอูท
่ องทรงก่อตัง้ อาณาจักรอยุธยาเป็ นอาณาจักรของคนไทยขึน ้ เมื่
อ พ.ศ. 1893
มีการปกครองแบบเทวราชา ซึง่ ยึดตามหลักของศาสนาพราหมณ์ การเข้าแทร
กแซงสุโขทัยอย่างต่อเนื่องทาให้อาณาจักรสุโขทัยตกเป็ นประเทศราชของอาณ
าจักรอยุธยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการปกครองใหม่
ซึง่ บางส่วนได้ใช้มาจนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
และทรงตราพระราชกาหนดศักดินา
ทาให้อาณาจักรอยุธยากลายเป็ นสังคมศักดินา
การยึดครองมะละกาของโปรตุเกสในปี พ.ศ. 2054
ตรงกับรัชสมัยของสมเด็จพระรามาธิบดีที่
2 ทาให้อยุธยาเริม่ ติดต่อกับชาติตะวันตก[31] ขณะเดียวกัน ราชวงศ์ตองอูของ
พม่าเริม่ มีอานาจมากขึน้
กระทั่งขยายดินแดนมายังกรุงศรีอยุธยาในรัชสมัยพระเจ้าตะเบ็งชะเวตี้และพร
ะเจ้าบุเรงนอง การสงครามยืดเยื้อนับสิบปี ส่งผลให้กรุงศรีอยุธยาตกเป็ นประเท
ศราชของอาณาจักรตองอูใน พ.ศ.
2112[32]สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงใช้เวลา 15
ปี สร้างภาวะครอบงาในลุม ่ แม่น้าเจ้าพระยาอีกครัง้ หนึ่ง[33]
โกษาปานนาพระราชสาส์นของสมเด็จพระนารายณ์ ถวายแด่พระเจ้าหลุยส์ที่
14
จากนัน้
กรุงศรีอยุธยาได้รุง่ เรืองถึงขีดสุด[34] ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของอยุธยา
้ อย่างมากในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ซึง่ สถาปนาความสั
รุง่ เรืองขึน
มพันธ์ทางการทูตกับฝรั่งเศส ฮอลันดา และอังกฤษ อย่างไรก็ตาม
อิทธิพลของชาวต่างชาติในกรุงศรีอยุธยาทีเ่ พิม ้
่ ขึน
เป็ นเหตุให้พระเพทราชาประหารชีวต ิ คอนสแตนติน
ฟอลคอน[35] ความขัดแย้งภายในทาให้การติดต่อกับชาติตะวันตกซบเซาลง[36]
อาณาจักรอยุธยาเริม ่ เสือ
่ มอานาจลงราวพุทธศตวรรษที่ 24
การสงครามกับราชวงศ์คองบอง (อลองพญา)
จนส่งผลให้เสียกรุงครัง้ ทีส ่ อง เมือ
่ พ.ศ. 2310 ในทีส ่ ุด ทว่า
ในปี เดียวกัน พระยาตากได้รวบรวมไพร่พลกอบกูเ้ อกราช และย้ายราชธานีมา
อยูท ี่ รุงธนบุรี ซึ่งเป็ นเมืองหลวงของคนไทยอยู่ 15 ปี
่ ก
ถือเป็ นช่วงเวลาของการทาสงครามและการฟื้ นฟูความเจริญของชาติ
จากนัน ้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จกั
รี ได้สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ขน ้ึ เมือ
่ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325
ช่วงกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ไทยเผชิญกับการรุกรานจากชาติเพือ ่ นบ้านหลายครัง้ จนถึงรัชกาลที่ 4
พระราชนโยบายของพระมหากษัตริย์ในช่วงนี้ คือ
การป้ องกันตนเองจากมหาอานาจอาณานิคม
แต่ก็สง่ เสริมการลงทุนจากต่างชาติ เทคโนโลยีตะวันตก
และการศึกษาอันทันสมัย[37]
การเผชิญลัทธิจกั รวรรดินิยมตะวันตก

การยกดินแดนให้ฝรั่งเศสและอังกฤษ ระหว่าง พ.ศ. 2393-2451


ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั เซอร์จอห์น
เบาริง่ ราชทูตอังกฤษ
ได้เข้ามาทาสนธิสญ ั ญาเบาว์รงิ อันนามาสูก
่ ารทาสนธิสญ ั ญากับชาติอืน
่ ๆ
ด้วยเงือ่ นไขทีค ่ ล้ายกัน หากก็นามาซึ่งการพัฒนาเศรษฐกิจในกรุงเทพมหา
[38]

นครและการค้าระหว่างประเทศ[39] ต่อมา
การคุกคามของจักรวรรดินิยมทาให้สยามยอมยกดินแดนให้ฝรั่งเศสและอังกฤ
ษในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ วั และดารงบทบาทของตน
[40]
เป็ นรัฐกันชนระหว่างเจ้าอาณานิคมทัง้ สอง หากแม้จะถูกกดดันอย่างหนักจา
กชาติมหาอานาจ
สยามก็ยงั สามารถธารงตนเป็ นรัฐเดียวในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ซงึ่ ไม่ตกเป็ น
อาณานิคมของชาติตะวันตก
แต่ก็ตอ ้ งรับอิทธิพลจากประเทศตะวันตกเข้ามาอย่างมาก
จนนาไปสูก ่ ารปฏิรูปทางสังคมและวัฒนธรรมในเวลาต่อมา
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห ่ วั มีพระราชดาริให้สยามเข้าร่วมสง
่ นึ่ง โดยอยูฝ
ครามโลกครัง้ ทีห ่ ่ ายเดียวกับฝ่ ายสัมพันธมิตร ทาให้ประเทศได้รบ ั
การยอมรับจากนานาประเทศ
นาไปสูก่ ารแก้ไขสนธิสญ ั ญาอันไม่เป็ นธรรมทัง้ หลายเพือ ่ ให้ชาติมีอธิปไตยอย่
างแท้จริง
แต่กว่าจะเสร็จก็ลว่ งถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั อานันทมหิดล[41]
ปฏิวตั ิ สงครามโลกครัง้ ทีส
่ อง และสงครามเย็น
ดูบทความหลักที:่ การปฏิวตั สิ ยาม พ.ศ.
2475 และ สงครามโลกครัง้ ทีส่ องในประเทศไทย
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห
่ วั ทรงลงพระปรมาภิไธยในรัฐธรรมนูญถา
วรฉบับแรกของไทย
วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.
2475 คณะราษฎรได้ปฏิวตั เิ ปลีย่ นแปลงการปกครองจากสมบูรณาญาสิทธิรา
ชย์มาเป็ นระบอบประชาธิปไตย ทาให้คณะราษฎรเข้ามามีบทบาทในทางการเ
มือง ระหว่างสงครามโลกครัง้ ทีส่ อง ประเทศไทยได้ลงนามเป็ นพันธมิตรทางท
หารกับญีป ่ ุ่ น และประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร
แต่เนื่องจากประเทศฝ่ ายสัมพันธมิตรให้การยอมรับขบวนการเสรีไทย ประเท
ศไทยจึงรอดพ้นจากสถานะประเทศผูแ ้ พ้สงคราม
ช่วงสงครามเย็น ประเทศไทยดาเนินนโยบายเป็ นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริ
กา โดยมีนโยบายต่อต้านการขยายตัวของคอมมิวนิสต์ในภูมภ ิ าค
และส่งทหารไปร่วมรบในสงครามเกาหลีและสงครามเวียดนาม ต่อมา
ประเทศไทยประสบกับปัญหาการขยายตัวของคอมมิวนิสต์ในประเทศ การสูร้
บกับฝ่ ายคอมมิวนิสต์ยุตลิ งอย่างสิน ่ ปี พ.ศ. 2523[42]
้ เชิงเมือ
ร่วมสมัย
ดูบทความหลักที:่ เหตุการณ์ 14 ตุลา, เหตุการณ์ 6
ตุลา, พฤษภาทมิฬ, วิกฤตการณ์ การเมืองไทย พ.ศ. 2548–
2553 และ วิกฤตการณ์ การเมืองไทย พ.ศ. 2556–2557
ผูร้ ว่ มชุมนุมทีถ
่ นนราชดาเนิน ในเหตุการณ์ 14 ตุลา
หลังการปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475
ประเทศไทยยังถือได้วา่ อยูใ่ นระบอบเผด็จการทหาร ในทางปฏิบตั อ ิ ยูห
่ ลายทศ
วรรษ แม้จะมีทวี
บุณยเกตุเป็ นนายกรัฐมนตรีเป็ นพลเรือนคนแรกจากการแต่งตัง้
แต่หลังกบฏสันติภาพ ประเทศไทยประสบกับความไร้เสถียรภาพทางการเมือง
และได้มีการสืบทอดอานาจของรัฐบาลทหารผ่านรัฐประหารกว่าสิบครัง้
อย่างไรก็ดี มีเหตุการณ์ เรียกร้องประชาธิปไตยครัง้ สาคัญในเหตุการณ์ 14
ตุลา
ตัง้ แต่การ รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.
2534 ผูบ ้ ญ
ั ชาการตารวจแห่งชาติ ในสมัยนัน
้ จะได้รบ
ั การดารงตาแหน่ งรองหั
วหน้าคณะยึดอานาจการปกครอง
ตารวจไทยจึงนับมีบทบาทมากขึน ้ ในการเมืองการปกครองไทย
เหตุการณ์ รฐั ประหารครัง้ นัน

แม้จะจบลงด้วย เหตุการณ์ พฤษภาทมิฬ แต่ก็สง่ ผลให้ อาเภอจะแนะ อาเภอเจา
ะไอร้อง อาเภอระแงะ อาเภอแว้ง อาเภอศรีสาคร อาเภอสุคริ น ิ อาเภอกาบัง อาเ
ภอธารโต อาเภอบันนังสตา อาเภอเบตง อาเภอยะหา อยูภ ่ ายใต้กฎอัยการศึก ย
าวนานถึง 14 ปี 4 เดือน 26 วัน[43]โดยมีพระบรมราชโองการยกเลิกในวันที่
21 กรกฎาคม พ.ศ. 2548
ช่วงพุทธทศวรรรษ 2540 เกิดวิกฤตการณ์ ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ.
2540 ทาให้ไทยต้องกูย้ ืมเงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ต่อมา ทักษิ
ณ ชินวัตรได้ดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรีสองสมัยติดต่อกัน
เขาเป็ นนายกรัฐมนตรีทเี่ ป็ นทีถ่ กเถียงกันมากทีส
่ ุด
ได้ดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจจนประสบผลหลายอย่าง
แต่ก็ตกเป็ นทีก่ ล่าวหาอย่างกว้างขวางเช่นกัน ในปี พ.ศ. 2547
เกิดคลืน ่ สึนามิพดั ถล่มภาคใต้และเริม ่ ต้นความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนใ
ต้อีกครัง้ เกิดวิกฤตการณ์ ทางการเมืองขึน ้
ขณะทักษิณดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรีเป็ นสมัยทีส ่ อง ใน พ.ศ. 2549
มีรฐั ประหารล้มรัฐบาลทักษิณ การเลือกตัง้ เป็ นการทั่วไปใน พ.ศ. 2550
ทาให้ประเทศกลับเข้าสูบ ่ รรยากาศประชาธิปไตยอีกครัง้
วิกฤตการณ์ การเมืองนี้เกีย่ วข้องกับกลุม ่ มวลชนสองกลุม ่
คือ พันธมิตรประชาชนเพือ ่ ประชาธิปไตยและแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเ
ผด็จการแห่งชาติ กลุม ่ แรกชุมนุมประท้วงรัฐบาลทักษิ ณ
เรือ
่ ยมาถึงรัฐบาลสมัครและสมชาย โดยมีการชุมนุมใหญ่ในห้วง พ.ศ.
2551 ส่วนกลุม ่ หลังชุมนุมประท้วงรัฐบาลอภิสท ิ ธิใ์ น พ.ศ. 2552 และ พ.ศ.
2553 ในการเลือกตัง้ เป็ นการทั่วไปใน พ.ศ.
2554 ผลปรากฏว่าพรรคเพือ ่ ไทย นาโดยยิง่ ลักษณ์ ชินวัตร ชนะการเลือกตัง้
และเป็ นผูน้ าจัดตัง้ รัฐบาล ในปี เดียวกัน เกิดมหาอุทกภัย มีพื้นทีป่ ระสบภัย 65
จังหวัด
ปลาย พ.ศ. 2556
เกิดวิกฤตการณ์ การเมืองรอบใหม่ มีสาเหตุหลักจากสภาผูแ ้ ทนราษฎรผลักดัน
ร่างพระราชบัญญัตน [44]
ิ ิรโทษกรรมฯ เกิดการชุมนุมประท้วงรัฐบาลยิง่ ลักษณ์
และรัฐบาลยุบสภาผูแ ้ ทนราษฎร
และจัดการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ ้ ทนราษฎรไทยเป็ นการทั่วไปเมือ
่ วันที่ 2
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 แต่ศาลรัฐธรรมนูญเพิกถอนการเลือกตัง้ วันที่ 20
พฤษภาคม พ.ศ. 2557 กองทัพบกประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศ
โดยครัง้ นี้ประกาศเป็ นระยะเวลา 10 เดือน 11 วัน
ซึง่ ประกาศใช้ท่วั ประเทศเป็ นระยะเวลายาวนานรองจาก สงครามโลกครัง้ ทีส ่ อ
งในประเทศไทย และอีกสองวันต่อมาได้ ยึดอานาจการปกครองประเทศ พ.ศ.
2560
ระหว่างการปกครองของรัฐบาลทหารได้กอ ่ ให้เกิดรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจั
กรไทยฉบับล่าสุด
การเมืองการปกครอง
ดูเพิม
่ เติมที:่ การเมืองไทย, รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย, กฎหมายไทย
, รัฐบาลไทย และ การเลือกตัง้ ในประเทศไทย

ห้องประชุมรัฐสภาไทย
ทีท
่ าการศาลฎีกา
เดิมประเทศไทยมีการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตัง้ แต่สมัยอ
าณาจักรอยุธยาเป็ นต้นมา
มีการปกครองแบบรวมศูนย์เด็ดขาดตัง้ แต่รชั กาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเ
กล้าเจ้าอยูห่ วั [45] ครัน
้ วันที่ 24 มิถุนายน
2475 คณะราษฎรปฏิวตั ใิ นรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห ่ วั แล้วเ
ปลีย่ นแปลงการปกครองมาเป็ นราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ
ในปี 2560 ประเทศไทยมีรฐั ธรรมนูญมาแล้ว 20 ฉบับ
นับเป็ นประเทศทีม ่ ีรฐั ธรรมนูญมากทีส ่ ุดในทวีปเอเชีย
ประเทศไทยขาดเสถียรภาพทางการเมืองสูงและมีรฐั ประหารหลายครัง้
หลังเปลีย่ นรัฐบาลสาเร็จ
รัฐบาลทหารมักยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับเก่าและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
โดยมีการเปลีย่ นสมดุลอานาจฝ่ ายการปกครองเรือ ่ ยมา นอกจากนี้
พระราชอานาจของพระมหากษัตริย์ยงั เปลีย่ นไปตามรัฐธรรมนูญด้วย[46] ประเ
ทศไทยมีรฐั ประหารมากเป็ นอันดับ 4
ของโลก[47] และมากทีส ่ ุดในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ในปี 2559
"ประเทศไทยมีทหารหรืออดีตทหารเป็ นนายกรัฐมนตรีในประเทศไทยเป็ นเวล
า 56 จาก 84 ปี นับแต่ลม ้ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปี 2475"[48]
ในทางพฤตินยั
ปัจจุบนั ประเทศไทยปกครองในระบอบเผด็จการทหารตารวจ ในปี
2557 คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)
ควบคุมอานาจการปกครองประเทศ เมือ ่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ต่อมา
มีประกาศให้รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 สิน ้ สุดลง
ต่อมาในปี 2560 มีการประกาศใช้รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2560 ซึ่งเป็ นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 20 ในรัฐธรรมนู ญดังกล่าว
ระบุวา่ ประเทศไทยมีรูปแบบรัฐเป็ นราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ
และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
หรือใช้วา่ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข โดยกาหนดรูป
แบบองค์กรบริหารอานาจทัง้ สามส่วนดังนี้
 อานาจนิตบ ิ ญ
ั ญัติ มีสภานิตบ ิ ญ
ั ญัตแิ ห่งชาติ ประกอบด้วยสมาชิกไม่เกินส
องร้อยยีส่ บ
ิ คน ทาหน้าทีส ่ ภาผูแ ้ ทนราษฎร วุฒส ิ ภา และรัฐสภา
ไม่มีระบุวาระ
 อานาจบริหาร มีนายกรัฐมนตรี ซึ่งมาจากการแต่งตัง้ โดยพระมหากษัตริย์
ตามมติของสภานิตบ ิ ญ
ั ญัตแ
ิ ห่งชาติ และรัฐมนตรีอืน ่ ไม่เกินสามสิบห้าคน
ซึง่ พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตัง้ ตามคากราบบังคมทูลของนายกรัฐมนตรี
คณะรัฐมนตรีเป็ นองค์กรบริหารอานาจ ไม่มีระบุวาระ
นายกรัฐมนตรีเป็ นประมุขแห่งอานาจและเป็ นหัวหน้ารัฐบาล
 อานาจตุลาการ มีระบบศาล ซึง่ ประกอบด้วยศาลยุตธิ รรม ศาลรัฐธรรมนู
ญ และศาลปกครอง เป็ นองค์กรบริหารอานาจ
มีประธานศาลฎีกา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูง
สุด เป็ นประมุขในส่วนของตน
สาหรับราชการส่วนท้องถิน ่ มีการแบ่งเป็ นผูบ
้ ริหารท้องถิน
่ และสภาองค์ก
รปกครองส่วนท้องถิน ่
ซึง่ ข้าราชการฝ่ ายบริหารและนิตบ ิ ญ
ั ญัตม
ิ าจากการเลือกตัง้ โดยตรงของประชา
ชนแทบทุกระดับ
เดิมประเทศไทยมีรฐั สภา ซึง่ ใช้ระบบสภาคู่ ประกอบด้วยสภาผูแ ้ ทนราษ
ฎรและวุฒส ิ ภา เป็ นสภานิตบ
ิ ญ
ั ญัติ สภาผูแ้ ทนราษฎรมีสมาชิก 500 คน
มาจากการเลือกตัง้ แบบแบ่งเขต 375 คน แบบสัดส่วน 125 คน มีวาระ 4 ปี
วุฒส ิ ภามีสมาชิก 150 คน มาจากการเลือกตัง้ 77 คน มีวาระ 6 ปี
นายกรัฐมนตรีมีวาระ 4 ปี ดารงตาแหน่ งได้ไม่เกินสองวาระติดต่อกัน
นายกรัฐมนตรีมไิ ด้มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชนโดยตรง
แต่มาจากมติของสภาผูแ ้ ทนราษฎร
ระบบพรรคการเมืองของไทยเป็ นแบบหลายพรรค
นายกรัฐมนตรีมาจากพรรคการเมืองต่าง ๆ
แต่ก็มีนายกรัฐมนตรีทม ี่ าจากรัฐประหารหลายคน หลัง พ.ศ. 2544
มีพรรคการเมืองครอบงาสองพรรค
่ ไทย ซึ่งเปลีย่ นมาจากพรรคพลังประชาชนและพรรคไทยรักไทย
คือ พรรคเพือ
ตามลาดับ
และพรรคประชาธิปต ั ย์ พรรคการเมืองซึง่ เป็ นพันธมิตรทางการเมืองของ ทักษิ
ณ ชินวัตร ชนะการเลือกตัง้ ทั่วไปทุกครัง้ ตัง้ แต่ปีนัน
้ พรรคการเมืองอืน

เช่น พรรคภูมใิ จไทย พรรคชาติไทยพัฒนา เป็ นต้น
การแบ่งเขตการปกครอง
ดูบทความหลักที:่ การแบ่งเขตการปกครองของประเทศไทย และ จังหวัดในป
ระเทศไทย
การแบ่งภูมภิ าคของประเทศไทยโดยใช้เกณฑ์อย่างเป็ นทางการของราชบัณฑิ
ตยสถาน [49]

ภาคเหนือ ภาคตะวันออก
ภาคอีสาน
ภาคตะวันตก
ภาคกลาง
ภาคใต้

ประเทศไทยแบ่งเขตการบริหารออกเป็ น (1) ราชการส่วนกลาง ได้แก่


กระทรวง, ทบวง และกรม (2) ราชการส่วนภูมภ ิ าค ประกอบด้วย
[50]
76 จังหวัด 878 อาเภอ 7,255 ตาบล และ
(3) ราชการส่วนท้องถิน
่ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด, เทศบาล, องค์การ
บริหารส่วนตาบล, กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา
ใน พ.ศ. 2458 ประเทศสยามแบ่งการปกครองเป็ น 72 จังหวัด หลัง
พ.ศ. 2476 จังหวัดกลายเป็ นหน่ วยการปกครองส่วนภูมภ ิ าคระดับสูงสุด
หลังยุบมณฑลเทศาภิบาล พ.ศ. 2514
มีการรวมจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีเป็ นเขตการปกครองแบบพิเศษชือ ่
"นครหลวงกรุงเทพธนบุรี" ซึง่ ได้เปลีย่ นชือ ่ เป็ น "กรุงเทพมหานคร" ใน พ.ศ.
2515 ปี เดียวกัน มีการแยกจังหวัดอุบลราชธานี จดั ตัง้ เป็ นจังหวัดยโสธร พ.ศ.
2520 มีการแบ่งจังหวัดเชียงรายจัดตัง้ เป็ นจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2525
มีการแบ่งจังหวัดนครพนมตัง้ เป็ นจังหวัดมุกดาหาร พ.ศ. 2536
มีการแยกจังหวัดอุดรธานี จดั ตัง้ เป็ นจังหวัดหนองบัวลาภู, จังหวัดปราจีนบุรีจดั
ตัง้ เป็ นจังหวัดสระแก้ว และจังหวัดอุบลราชธานีจดั ตัง้ เป็ นจังหวัดอานาจเจริญ
จังหวัดล่าสุดของประเทศไทย
คือ จังหวัดบึงกาฬซึง่ แยกจากจังหวัดหนองคายใน พ.ศ. 2554
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการทหาร
ดูบทความหลักที:่ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย และ กองทัพไทย
ปัจจุบน
ั ประเทศไทยมีบทบาทมากขึน ้ ในเวทีระหว่างประเทศ
โดยเข้าไปมีสว่ นร่วมในองค์การระหว่างประเทศและองค์การท้องถิน ่
ประเทศไทยเป็ นพันธมิตรทีส ่ าคัญของสหรัฐอเมริกา
และยังได้กระชับความสัมพันธ์กบ ั ประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชี
ยตะวันออกเฉี ยงใต้ (อาเซียน) ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ การค้า การธนาคาร
การเมือง และด้านวัฒนธรรม นอกจากนี้
ประเทศไทยยังได้ให้ความร่วมมือกับองค์การท้องถิน ่
อาทิ องค์การว่าด้วยความมั่นคงและความร่วมมือในยุโรป[51] นอกจากนี้
ประเทศไทยยังเคยส่งทหารเข้าร่วมในกองกาลังนานาชาติในติมอร์ตะวันออก,
อัฟกานิสถาน, อิรกั [52], บุรุนดี[53] และปัจจุบน
ั ในดาร์ฟูร์ ประเทศซูดาน[54]

เรือหลวงจักรีนฤเบศร
พระมหากษัตริย์ไทยดารงตาแหน่ งจอมทัพไทยโดยนิตน ิ ยั
ซึง่ ปัจจุบนั คือสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั มหาวชิราลงกรณ
บดินทรเทพยวรางกูร แต่ในทางปฏิบตั ิ
กองทัพอยูภ ่ ายใต้การบริหารจัดการของกระทรวงกลาโหม มีรฐั มนตรีวา่ การก
ระทรวงกลาโหมเป็ นผูส ้ ่งั การ
และอยูภ ่ ายใต้การบังคับบัญชาของกองบัญชาการกองทัพไทย โดยมีผบ ู้ ญ
ั ชากา
รกองทัพไทยเป็ นผูบ ้ ญ
ั ชาการ กองทัพไทยแบ่งออกเป็ น 3 เหล่าทัพ
ได้แก่ กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ ทุกวันนี้กองทัพไทยมีกาลังท
หารทัง้ สิน้ 1,025,640 นาย และมีกาลังหนุนกว่า 200,000 นาย
และมีกาลังกึง่ ทหารประจาการกว่า 113,700 นาย[55] เมือ ่ พ.ศ. 2553
กระทรวงกลาโหมได้รบ ั จัดสรรงบประมาณทัง้ สิน ้ 154,032,478,600
บาท[56] ใน พ.ศ. 2554
สถาบันวิจยั สันติภาพระหว่างประเทศสตอกโฮล์มรายงานว่า
รายจ่ายทางทหารของไทยคิดเป็ น 168,000 ล้านบาท[57] ใน พ.ศ. 2557
เว็บไซต์โกลบอลไฟเออร์พาวเวอร์ (GlobalFirepower)
จัดอันดับความแข็งแกร่งของกองทัพไทยอยูอ
่ น
ั ดับที่ 24 ของโลก (จาก 106
ประเทศ) จานวนตารวจในปี พ.ศ. 2557 รวม 216958 ราย[59]
[58]

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัตไิ ว้วา่ การป้ องกันประเทศเป็ น


หน้าทีข ่ องพลเมืองไทยทุกคน[60] ชายไทยทุกคนมีหน้าทีร่ บั ราชการทหาร
โดยชายสัญชาติไทยต้องไปแสดงตนเพือ ่ ลงบัญชีทหารกองเกินในปี ทีอ
่ ายุยา่ งเ
ข้าสิบแปดปี
และจักมีสภาพเป็ นทหารกองเกิน[61] กองทัพจะเรียกเกณฑ์ทหารกองเกินชายซึ่
งมีอายุยา่ งเข้า 21
ปี [62] ส่วนทหารกองเกินทีเ่ ป็ นนักศึกษาวิชาทหารจะได้รบ
ั การยกเว้นการเรียกเ
ข้ามาตรวจเลือกเพือ ่ เข้ารับราชการทหารกองประจาการในยามปกติ[63]
เศรษฐกิจ
ดูบทความหลักที:่ เศรษฐกิจไทย
ดูเพิม
่ เติมที:่ เกษตรกรรมในประเทศไทย

เครือ
่ งชี้ภาวะเศรษฐกิจ

ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงิน 11.375 [64]

ล้านล้านบาท (2555)

การเติบโตของจีดพ
ี ี 2.9% (2556) [65]

ดัชนีราคาผูบ
้ ริโภค 3.02% (ทั่วไป) [66]

2.09% (พื้นฐาน) (2555)

อัตราการว่างงาน 0.7% (2556) [67]

หนี้สาธารณะรวม 5.64 ล้านล้านบาท (มิ.ย. [68]

2557)

ความยากจน 13.15% (2554) [69]


กรุงเทพมหานคร เมืองหลวงและศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศ
ประเทศไทยมีเศรษฐกิจแบบผสม โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติจดั ใ
ห้ประเทศไทยเป็ น "ผูป ้ ระสบความสาเร็จสูง" ในเอเชียตะวันออก
ซึง่ ประชาชนพ้นจากความยากจนและเข้าสูช ่ นชัน ้ กลางทีเ่ ติบโตเร็ว
เนื่องจากสาธารณสุขและระบบการศึกษาทีด ่ ข ี น ึ้
แต่ประเทศไทยเผชิญกับความท้าทาย เช่น ประชากรสูงอายุ
ความเสีย่ งด้านสิง่ แวดล้อม แรงกดดันทางการเมืองและความเหลือ ่ มลา้ [70] ใน
พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีดชั นีการรับรูก ้ ารทุจริตค่อนข้างต่า โดยอยูอ ่ น
ั ดับที่
102 จาก 177 ประเทศ[71] เมือ ่ เดือนกันยายน
2557 คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติถูกมองว่าเป็ น
องค์การต่อต้านทุจริตเป็ นองค์การทีถ ่ ูกใช้ทางการเมืองมากทีส ่ ุดในการสารวจอ
งค์การต่อต้านทุจริต 12
แห่งในทวีปเอเชีย[72] ประเทศไทยมีเศรษฐกิจใหญ่เป็ นอันดับสองในเอเชียตะวั
นออกเฉี ยงใต้ รองจากประเทศอินโดนีเซีย ใน พ.ศ.
2556 กองทุนการเงินระหว่างประเทศรายงานว่า
ประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศในรูปตัวเงินเป็ นอันดับที่ 29
ของโลก อยูท ่ ี่ 387,156
ล้านดอลลาร์สหรัฐ[73] และมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทีค ่ วามเท่าเทียมกัน
ของอานาจซื้อเป็ นอันดับที่ 24 ของโลก อยูท ่ ี่ 673,700
ล้านดอลลาร์สหรัฐ[74] ประเทศไทยเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ และเพิง่ เป็ น
ประเทศมีรายได้ปานกลาง-สูงใน พ.ศ.
2554[75] สแตนดาร์ดแอนด์พวั ร์สจัดอันดับความน่ าเชือ ่ ถือของประเทศไทยที่
BBB+ มูดส ี ์จดั ที่ Baa1 และฟิ ทช์จดั ที่ BBB+
ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกเป็ นอันดับที่ 24
ของโลก และมีมูลค่าการนาเข้าเป็ นอันดับที่ 23 ของโลก ประเทศคูค ่ า้ หลัก
ได้แก่ ประเทศจีน ญีป
่ ุ่ น สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ออสเตรเลีย
ฮ่องกงและเกาหลีใต้[76] เครือ่ งจักรเป็ นทัง้ สินค้านาเข้าและส่งออกทีส่ าคัญทีส่ ุด
[77]
ของไทย ใน พ.ศ. 2556 ประเทศไทยมีการส่งออกสุทธิ 390,957
ล้านบาท[65]ธนาคารโลกเป็ นเจ้าหนี้ตา่ งประเทศรายใหญ่ทส ี่ ุดของไทย[78]
ประเทศไทยเป็ นผูส
้ ง่ ออกข้าวรายใหญ่ทส
ี่ ุดของโลก
ในปี 2556 จีดพ ี ีมาจากการใช้จา่ ยของครัวเรือน 54.4%
การใช้จา่ ยของรัฐบาล 13.8% การลงทุนในสินทรัพย์ถาวร
26.7%[65] การส่งออกเป็ นสัดส่วน 74%
ของจีดพ ี ี[79] ภาคอุตสาหกรรมมีสดั ส่วนต่อจีดพ ี ีมากทีส ่ ุดคือ 38.1%
ภาคการค้าส่ง ค้าปลีกมีสดั ส่วนต่อจีดพ ี ี 13.4%
ภาคการขนส่งและการสือ ่ สารมีสดั ส่วนต่อจีดพ ี ี 10.2%
ภาคเกษตรกรรมมีสดั ส่วนต่อจีดพ ี ี 8.3%[80] ในปี 2552–2553
ประเทศไทยส่งชิน ้ ส่วนและส่วนประกอบออก
ซึง่ อยูใ่ นอุตสาหกรรมยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์เป็ นสาคัญ มูลค่า 48,000
ล้านดอลล่าร์สหรัฐ หรือ 25% ของมูลค่าการส่งสินค้าออก[70] ในปี 2555
ประเทศไทยมีทด ี่ นิ เพาะปลูกได้ 165,600 ตารางกิโลเมตร คิดเป็ น 32.3%
ของพื้นทีป ่ ระเทศ[81] ซึง่ ในจานวนนี้กว่า 55% ใช้ปลูกข้าว
ประเทศไทยเป็ นผูส ้ ง่ ออกข้าวรายใหญ่ทส ี่ ุดของโลก
และเป็ นผูผ ้ ลิตรายใหญ่อน ั ดับ 5 ของโลก ในปี 2551
ประเทศไทยส่งข้าวออกราว 10 ล้านตัน คิดเป็ นประมาณ 33%
ของการค้าข้าวทั่วโลก[82] ประเทศไทยเป็ นผูผ ้ ลิตและส่งออกยางรายใหญ่ทส ี่ ุดข
[83]
องโลก พืชทีม ่ ีมูลค่าการผลิตสูงสุดอืน ่ ได้แก่ อ้อย มันสาปะหลัง เนื้อไก่
เนื้อหมู มะม่วง มังคุด ฝรั่ง สัปปะรด
รวมทัง้ พวกผลไม้เขตร้อน[81] ประเทศไทยได้ชือ ่ ว่าเป็ นแหล่งผลิตอาหารทีส
่ าคั
ญของโลก และเป็ นผูส ้ ง่ ออกอาหารรายใหญ่อน ั ดับ 5 ของโลก [84]

ประเทศไทยมีกาลังแรงงาน 39.38 ล้านคน


อยูใ่ นภาคเกษตรกรรมมากทีส ่ ุด 15.41 ล้านคน หรือ 39.1%
ของกาลังแรงงาน ตัง้ แต่วน ั ที่ 1 มกราคม พ.ศ.
2556 ค่าแรงขัน ้ ต่าทางการทุกจังหวัดเป็ น 300
บาท[67] อัตราการว่างงานของประเทศอยูท ่ ี่ 0.7% ซึ่งน้อยเป็ นอันดับ 4
ของโลก รองจากประเทศกัมพูชา โมนาโกและกาตาร์[85]
่ มลา้ ของรายได้ในประเทศไทยถือว่าสูงสุดประเทศหนึ่งในเอเชี
ความเหลือ
ยตะวันออกเฉี ยงใต้ ครัวเรือนทีร่ วยทีส่ ุด 20%
มีรายได้ครัวเรือนเกินครึง่ ดัชนีจีนีของรายได้ครัวเรือนอยูท
่ ี่ 0.51
ความแตกต่างของระดับการพัฒนาเศรษฐกิจระหว่างภูมภ ิ าคเป็ นปัจจัยกาหนด
ความยากจนและความเหลือ ่ มลา้ ของภูมภิ าคในประเทศไทย
ครอบครัวรายได้น้อยและยากจนกระจุกอยูใ่ นภาคเกษตรกรรมอย่างมาก และ
90%
ของผูย้ ากจนอาศัยอยูใ่ นชนบท[86] กรุงเทพมหานครซึง่ มีผลิตภัณฑ์จงั หวัดสูงสุ
ดมีมูลค่าผลิตภัณฑ์จงั หวัดเป็ น 406.9
เท่าของจังหวัดแม่ฮอ่ งสอนซึง่ มีน้อยทีส
่ ุด
ด้วยการขาดเสถียรภาพจากการประท้วงใหญ่ในปี 2553
การเติบโตของจีดพ ี ีของประเทศไทยอยูท ่ รี่ าว 4–5% ลดลงจาก 5–7%
ในรัฐบาลพลเรือนก่อน
ความไม่แน่ นอนทางการเมืองถูกระบุเป็ นสาเหตุหลักของการเสือ ่ มของความเชื่
อมั่นนักลงทุนและผูบ ้ ริโภค กองทุนการเงินระหว่างประเทศทานายว่า
เศรษฐกิจไทยจะฟื้ นตัวอย่างแข็งแรงจากจีดพ ี ีเพิม ้ 0.1% ในปี 2554 เป็ น
่ ขึน
5.5% ในปี 2555 และ 7.5% ในปี 2556
เนื่องจากนโยบายการเงินทีอ ่ านวยความสะดวกของธนาคารแห่งประเทศไทย
ตลอดจนมาตรการกระตุน ้ การคลังรวมทีร่ ฐั บาลยิง่ ลักษณ์ เสนอ[87] หลังรัฐประห
ารในประเทศไทยเมือ ่ วันที่ 22 พฤษภาคม 2557
สานักข่าวทั่วโลกเอเอฟพีจดั พิมพ์บทความซึง่ อ้างว่า ประเทศไทยอยู่ ณ
"ขอบภาวะเศรษฐกิจถดถอย" บทความดังกล่าวมุง่ สนใจชาวกัมพูชาเกือบ
180,000 คนทีอ ่ อกนอกประเทศเนื่องจากเกรงการจากัดการเข้าเมือง
ก่อนสรุปด้วยสารสนเทศว่าเศรษฐกิจไทยหดตัว 2.1%
ตัง้ แต่เดือนมกราคมถึงปลายเดือนมีนาคม 2557[88]
พลังงาน
ดูบทความหลักที:่ พลังงานในประเทศไทย
ประเทศไทยเป็ นผูน ้ าน้ามันและแก๊สธรรมชาติเข้าสุทธิ
มีการผลิตและปริมาณสารองน้ามันน้อยและต้องนาเข้าเป็ นส่วนใหญ่เพือ ่ การบ
ริโภค แม้วา่ มีปริมาณสารองแก๊สธรรมชาติทพ ี่ ส
ิ ูจน์แล้วขนาดใหญ่
แต่ยงั ต้องนาเข้าเพือ
่ ให้ทนั อุปทานในประเทศ
การบริโภคพลังงานหลักของประเทศไทยมาจากเชื้อเพลิงซากดึกดาบรรพ์ คิดเ
ป็ นกว่า 80% ของทัง้ หมด ในปี 2553
ประเทศไทยบริโภคพลังงานจากน้ามันมากทีส ่ ุด (39%) รองลงมาคือ
แก๊สธรรมชาติ (31%) ชีวมวลและของเสีย (16%) และถ่านหิน (13%)
ในเดือนมกราคม 2556 ออยล์แอนด์แก๊สเจอร์นลั ว่า
ประเทศไทยมีน้ามันสารอง 453
ล้านบาร์เรลและมีแก๊สธรรมชาติสารองทีพ ่ ส
ิ ูจน์แล้ว 10.1
ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
ประเทศไทยเป็ นผูน ้ าเข้าน้ามันรายใหญ่อน
ั ดับสองของเอเชียตะวันออกเฉี ยงใ
ต้รองจากประเทศสิงคโปร์
เชื้อเพลิงดีเซลเป็ นสัดส่วนหนึ่งในสามของผลิตภัณฑ์น้ามัน
และเป็ นเชื้อเพลิงหลักสาหรับการขนส่ง[89]
ในปี 2554 ประเทศไทยมีสมรรถภาพติดตัง้ ผลิตไฟฟ้ าประมาณ
32.4 กิกะวัตต์ โดยผลิตจากแก๊สธรรมชาติมากทีส ่ ุด (71%)
ประเทศไทยคิดสนับสนุนพลังงานนิวเคลียร์เพือ ่ ลดการพึง่ พาแก๊สธรรมชาติ
แต่หลังภัยพิบตั น
ิ ิวเคลียร์ฟุกุชม
ิ ะไดอิชใิ นปี นัน

ทาให้โรงไฟฟ้ านิวเคลียร์แห่งแรกทีเ่ สนอถูกเลือ ่ นไปหลังปี 2569[89]
การขนส่ง
ดูบทความหลักที:่ การขนส่งในประเทศไทย

รถสามล้อหรือตุก ๊ รูปแบบการขนส่งอย่างหนึ่ง
๊ ตุก
การขนส่งส่วนใหญ่ในประเทศไทยจะใช้การขนส่งทางบกเป็ นหลัก
เมือ
่ วันที 31 ธันวาคม 2556 ประเทศไทยมีรถจดทะเบียนสะสม 34,624,406
คัน เป็ นรถจักรยานยนต์สว่ นบุคคลมากทีส ่ ุด คือ 19,853,157 คัน
รองลงมาเป็ นรถยนต์น่ งั ส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน 6,736,602 คัน
และรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล 5,734,302 คัน
มีใบอนุญาตประกอบการขนส่ง 405,378 ฉบับ ในปี 2556
มีผโู้ ดยสารใช้สถานีขนส่งผูโ้ ดยสารทีก ่ รมการขนส่งทางบกกากับดูแล
395,509,573 คน[90] รางรถไฟใช้ประโยชน์ในประเทศไทยมี 4,044
กิโลเมตร[91] ในปี 2555 มีผโู้ ดยสารทางราง 40.8
ล้านคน[92] จากรายงานสกอร์การ์ดจราจรโลกของบริษท ั วิเคราะห์ขอ
้ มูลการจร
าจรอินริกซ์ ในปี 2559
ประเทศไทยเป็ นประเทศทีก ่ ารจราจรติดขัดมากทีส ่ ุดในโลก[93] และเป็ นประเท
ศทีม ่ ีผเู้ สียชีวต
ิ จากอุบตั เิ หตุบนท้องถนนมากทีส ่ ุดของโลก[94]
ประเทศไทยมีทางน้าในประเทศทีใ่ ช้เดินเรือได้ 3,700
กิโลเมตร แม่น้าเจ้าพระยาและคลองแสนแสบเป็ นวิธีการขนส่งทางน้าหลัก
มีผโู้ ดยสารกว่า 360,000 คนต่อวัน ท่าเรือหลักของไทย คือ
ท่าเรือคลองเตยและแหลมฉบัง ในปี 2547 มีสน ิ ค้านาเข้าและส่งออกราว
47.7 ล้านตัน [91]
ด้านการขนส่งทางอากาศ ในปี พ.ศ.
2559 ท่าอากาศยานสุวรรณภูมเิ ป็ นท่าอากาศยานทีม
่ ีผโู้ ดยสารมากเป็ นอันดับ
ที่ 20 ของโลก [95]

ในปี พ.ศ. 2560


ประเทศไทยมีทา่ อากาศยานทีร่ บ
ั เทีย่ วบินจากต่างประเทศทัง้ หมด 10
ท่าอากาศยานได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมืองท่าอากา
ศยานนานาชาติอูต ่ ะเภา (ระยอง-
พัทยา) ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานกระบี่ ท่าอา
กาศยานสมุย ท่าอากาศยานนานาชาติสุราษฎร์ธานี ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง
เชียงราย ท่าอากาศยานหาดใหญ่
การท่องเทีย่ ว
ดูบทความหลักที:่ การท่องเทีย่ วในประเทศไทย
การท่องเทีย่ วทารายได้ให้กบั ประเทศเป็ นสัดส่วนสูงเมือ
่ เทียบกับสัดส่วนข
องหลาย ๆ ประเทศในทวีปเอเชีย (ราว 6% ของจีดพ ี ี)
นักท่องเทีย่ วส่วนใหญ่ทเี่ ดินทางมายังประเทศไทยด้วยเหตุผลหลายประการ
ส่วนใหญ่มาท่องเทีย่ วตามชายหาดและพักผ่อน
ถึงแม้วา่ จะมีความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ก็ตาม [96] โดยแหล่งท่
องเทีย่ วทีส
่ าคัญได้แก่ กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา ภาคใต้ฝ่ งั ทะเลอันดามัน จั
งหวัดภูเก็ต และจังหวัดเชียงใหม่[10][97]
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ประชากรศาสตร์
ดูเพิม
่ เติมที:่ ประชากรศาสตร์ไทย
ประชากร
ประชากรไทย

ปี ประชากร ±%

2453 8,131,247 —

2462 9,207,355 +13.2%

2472 11,506,207 +25.0%


2480 14,464,105 +25.7%

2490 17,442,689 +20.6%

2503 26,257,916 +50.5%

2513 34,397,371 +31.0%

2523 44,824,540 +30.3%

2533 54,548,530 +21.7%

2543 60,916,441 +11.7%

2553 65,926,261 +8.2%

แหล่งทีม
่ า: [6] สานักงานสถิตแ
ิ ห่งชาติ

กระทรวงมหาดไทยประมาณว่า ประเทศไทยมีประชากร 65,931,550


คน[1] ซึ่งมากเป็ นอันดับที่ 20 ของโลก
ประเทศไทยถือว่ามีความหลากหลายทางเชื้อชาติ ราว 75–95%
ของประชากรเป็ นชาติพน ั ธุ์ไท ซึ่งรวมสีภ ่ ูมภิ าคหลัก คือ ไทยกลาง 30%
อีสานหรือลาว 22% ล้านนา 9% และใต้ 7% และมีไทยเชื้อสายจีน 14%
ของประชากร
ทีเ่ หลือเป็ นไทยเชื้อสายมลายู ชาวมอญ ชาวเขมร และชาวเขาหลายเผ่า[98] ขณ
ะทีไ่ ทยทีม ่ ีบรรพบุรุษจีนบางส่วนมีถงึ 40% ของประชากร[99]
ประเทศไทยเป็ นหนึ่งในประเทศทีอ ่ ตั ราเจริญพันธุ์ลดลงเร็วทีส่ ุดในโลก
ระหว่างปี 2513 ถึง 2533 อัตราเจริญพันธุ์ระหว่างประเทศลดลงจาก 5.5
เหลือ 2.2 สาเหตุจากการคุมกาเนิด ขนาดครอบครัวทีป ่ รารถนาลดลง
สัดส่วนผูส ้ มรสลดลง และการสมรสช้า ในปี 2552
อัตราเจริญพันธุ์รวมของไทยอยูท ่ ี่ 1.5 ในปี 2553
อัตราการเกิดอย่างหยาบอยูท ่ ี่ 13 ต่อ 1,000 ประชากรมากกว่า 65
ปี เพิม
่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว
โดยคาดว่าจานวนผูส ้ ูงอายุในประเทศไทยจะเพิม ้ เป็ นสองเท่าในช่วงปี
่ ขึน
2553–2573 จานวนประชากรในวัยทางานทัง้ หมดจะเริม ่ ลดลงหลังปี
2563 [100]
จานวนการเกิดของวัยรุน ้ โดยสถิตห
่ สูงขึน ิ ญิงอายุ 15–19
ปี ทีเ่ คยสมรสในปี 2553 มีประมาณ 330,000 คน และในปี 2552
มีจานวนการเกิดจากแม่อายุไม่เกิน 19 ปี จานวน 765,000 คน
การทาแท้งไม่ชอบด้วยกฎหมายในประเทศไทย
ยกเว้นผูป ้ ระกอบกิจแพทย์ภายใต้บางเงือ่ นไขเท่านัน
้ ในปี 2549–2552
มีการทาแท้งชักนาเกิน 60,000 คนต่อปี [100]
ประเทศไทยมีการย้ายถิน ่ เข้ามากกว่าย้ายถิน ่ ออกมาก
เนื่องจากระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของไทยเป็ นแรงจูงใจให้แรงงานไร้ฝีมือจา
กประเทศเพือ ่ นบ้านเข้ามาหางานในประเทศไทย
ประเทศไทยมีการเคลือ ่ นสูพ ่ ื้นทีเ่ มืองถาวรพอสมควร
การย้ายถิน ่ เข้าประเทศช่วยเร่งการทาให้เป็ นเมือง ในปี 2553
ประเทศไทยมีการมีลกั ษณะแบบเมือง 34%
ซึง่ ต่ากว่าเมือ่ เทียบกับประเทศทีม ่ ีเครือ
่ งชี้ภาวะการพัฒนาพอ ๆ กัน
(เช่น ประเทศโคลัมเบียและเปรู กว่า 75%)
กรุงเทพมหานครเป็ นตัวอย่างสุดโต่งของความเป็ นเอกนคร (urban
primacy) โดยในปี 2536
กรุงเทพมหานครมีประชากรมากกว่านครใหญ่ทส ี่ ุดสามอันดับถัดมารวมกันระ
หว่าง 7.5 ถึง 11 เท่า
ผูอ
้ พยพออกชาวไทยส่วนมากเป็ นชายและส่วนใหญ่เป็ นลูกจ้างสัญญาในอาชีพ
ทักษะต่า คาดว่าจานวนผูย้ า้ ยถิน ่ ออกระยะสัน ้ ไปประเทศมาเลเซียมีสูง
เมือ ่ ปลายปี 2550
ประเมินว่าชาวต่างชาติทอ ี่ าศัยและทางานอยูใ่ นประเทศไทยมี 2.8 ล้านคน
เป็ นผูใ้ ช้แรงงานจากประเทศพม่า กัมพูชาและลาว 70,000 คน เมือ ่ ปลายปี
2552 มีผยู้ า้ ยถิน ่ ไม่มีบน ั ทึกประมาณ 1,314,382 คน มาจากพม่ามากทีส ่ ุด
(82%) มีผเู้ ชีย่ วชาญซึง่ มีทกั ษะการจัดการ เทคโนโลยี
วิศวกรรมหรืออุตสาหกรรมจากประเทศพัฒนาแล้วอย่างสหราชอาณาจักร
สหรัฐอเมริกาและญีป ่ ุ่ น เมือ ่ ปลายปี 2552 ชาวต่างชาติ 210,745
คนมีใบอนุญาตทางานไทย
นอกจากนี้ยงั มีนกั ศึกษาทีอ ่ าศัยอยูใ่ นประเทศไทยเพราะการสมรสและผูท ้ ตี่ ง้ ั ถิ่
นฐานหลังการเกษี ยณอายุ
นักท่องเทีย่ วบางส่วนยังอยูเ่ กินวีซาและกลายเป็ นผูอ ่ าศัยถาวร[100]
้ ยูอ
เมือ
่ ปี 2553 ในประชากรอายุมากกว่า 13 ปี มีผส
ู้ มรส 38,001,676 คน
หม้าย 3,833,699 คน หย่า 670,030 คน และไม่เคยสมรส 16,957,651
คน[101]
เมืองใหญ่
ดูเพิม
่ เติมที:่ รายชือ่ เมืองใหญ่ของประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร และ
รายชือ่ จังหวัดในประเทศไทยเรียงตามจานวนประชากร
รายชือ
่ เมืองใหญ่ทีส
่ ุดในประเทศไทย 20 อันดับแรก

ด•พ•ก

เมืองใหญ่ทส
ี่ ุดในประเทศไทย
31 ธันวาคม 2557 (จากฐานข้อมูลกรมการปกครอง)
ที่ เมือง จังหวัด ประชากร ที่ เมือง จังหวัด ประชาก
1 กรุงเทพมหานคร - 5,692,284 11 พัทยา ชลบุรี 113,66
2 นนทบุรี นนทบุรี 256,190 12 นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช 106,32
3 ปากเกร็ด นนทบุรี 184,501 13 นครสวรรค์ นครสวรรค์ 86,43
4 หาดใหญ่ สงขลา 159,130 14 รังสิต ปทุมธานี 79,31
5 นครราชสีมา นครราชสีมา 134,440 15 อุบลราชธานี อุบลราชธานี 79,02
6 อุดรธานี อุดรธานี 133,429 16 นครปฐม นครปฐม 78,78
7 เชียงใหม่ เชียงใหม่ 132,634 17 แหลมฉบัง ชลบุรี 77,79
8 สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี 128,622 18 ภูเก็ต ภูเก็ต 77,61
9 เจ้าพระยาสุรศักดิ ์ ชลบุรี 119,007 19 พิษณุโลก พิษณุโลก 70,87
10 ขอนแก่น ขอนแก่น 115,928 20 เชียงราย เชียงราย 70,61
ศาสนา
ดูเพิม
่ เติมที:่ ศาสนาในประเทศไทย
ศาสนาในประเทศไทย[102]

ศาสนา %

พุทธ   94.6%

อิสลาม   4.2%

คริสต์   1.1%

อืน
่ ๆ   0.1%

ตามสามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2557


ประชากรไทยนับถือศาสนาพุทธ ประมาณร้อยละ
ั ถือนิกายเถรวาท ซึง่ ถือได้วา่ เป็ นศาสนาประจาชาติของ
94.6[102] ส่วนใหญ่นบ
ประเทศไทยโดยพฤตินยั [103] แม้วา่ จะยังไม่มีการบัญญัตใิ นรัฐธรรมนูญแห่งรา
ชอาณาจักรไทยฉบับใดเลยก็ตาม ทัง้ นี้
ประเทศไทยถือได้วา่ มีผน
ู้ บ
ั ถือศาสนาพุทธมากเป็ นอันดับต้น ๆ ของโลก
รองลงมา ได้แก่ ศาสนาอิสลาม มีผน ู้ บั ถือประมาณร้อยละ
4.2[102] ซึง่ ส่วนใหญ่นบ
ั ถือนิกายซุนนี อาศัยอยูท ่ างภาคใต้ตอนล่าง เช่น
ในจังหวัดยะลาปัตตานี นราธิวาส บางพื้นทีข ่ องสงขลาและชุมพรนับถือศาสนา
อิสลามเป็ นส่วนใหญ่ และศาสนาคริสต์ ประมาณร้อยละ
1.1[102] ซึง่ ส่วนใหญ่นบ ั ถือนิกายโปรเตสแตนต์ อาศัยอยูท ่ างภาคเหนือตอนบ
น เช่น ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮอ ่ งสอน นอกจากนี้
ยังมีผน
ู้ บ
ั ถือศาสนาอืน ่ อีก
เช่น ศาสนาฮินดู ศาสนาซิกข์ ศาสนายูดาห์ ศาสนาบาไฮ ลัทธิขงจื๊อ ลัทธิเต๋า ลั
ทธิอนุตตรธรรม รวมประมาณร้อยละ 0.1[102] สาหรับประชาคมชาวยิวนัน ้
มีประวัตยิ าวนานตัง้ แต่คริสต์ศตวรรษที่ 17
ภาษา
ดูบทความหลักที:่ ภาษาในประเทศไทย
ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็ นภาษาทางการ และเป็ นภาษาหลักทีใ่ ช้ตด ิ ต่อ
สือ
่ สาร การศึกษาและเป็ นภาษาพูดทีใ่ ช้กน ั ทั่วประเทศ
โดยใช้อกั ษรไทยเป็ นรูปแบบมาตรฐานในการเขียน
ซึง่ พ่อขุนรามคาแหงทรงประดิษฐ์ขน ึ้ อย่างเป็ นทางการในสมัยสุโขทัย
นอกเหนือจากภาษาไทยกลางแล้ว
ภาษาไทยสาเนียงอืน ่ ยังมีการใช้งานในแต่ละภูมภ ิ าคเช่น ภาษาไทยถิน
่ เหนือ ถิ่
นใต้ และถิน ่ อีสาน
นอกเหนือจากภาษาไทยแล้ว
ในประเทศไทยยังมีการใช้ภาษาของชนกลุม ่ น้อยเช่น ภาษาจีนโดยเฉพาะสาเนี
ยงแต้จวิ๋ ภาษาลาวในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือซึง่ บางครัง้ นิยามว่าภาษาลาว
สาเนียงไทย ภาษามลายูปต ั ตานีทางภาคใต้
นอกจากนี้ก็มีภาษาอืน
่ เช่น ภาษากวย ภาษากะยาตะวันออก ภาษาพวน ภาษา
ไทลื้อ ภาษาไทใหญ่ รวมไปถึงภาษาทีใ่ ช้กน ั ในชนเผ่าภูเขา
ประกอบด้วยตระกูลภาษามอญ-
เขมร เช่น ภาษามอญ ภาษาเขมร ภาษาเวียดนาม และภาษามลาบรี; ตระกูลภ
าษาออสโตรนีเซียน เช่น ภาษาจาม; ตระกูลภาษาจีน-
ทิเบต เช่น ภาษาม้ง ภาษากะเหรีย่ ง และภาษาไตอืน ่ ๆ
เช่น ภาษาผูไ้ ทภาษาแสก เป็ นต้น
ภาษาอังกฤษมีสอนในระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัย
แต่ผท
ู้ ส
ี่ ามารถใช้ภาษาอังกฤษได้คล่องในประเทศไทยยังมีน้อยอยู่
ส่วนใหญ่อยูใ่ นเขตเมืองและในครอบครัวมีการศึกษาดีเท่านัน้
สาหรับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษนัน ้
จากทีไ่ ทยเคยอยูใ่ นระดับแนวหน้าใน พ.ศ. 2540 แต่เมือ
่ กลาง พ.ศ. 2549
กลับล้าหลังลาวและเวียดนาม [104]

การศึกษา
ดูบทความหลักที:่ การศึกษาในประเทศไทย

จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย สถาปนาเมือ



พ.ศ. 2459
การศึกษาภาคบังคับในประเทศไทยเริม ึ้ ตัง้ แต่ พ.ศ.
่ มีขน
2464 [105] กฎหมายกาหนดให้รฐั บาลจัดการศึกษาขัน ้ พื้นฐานแบบให้เปล่าแก่
ประชาชนเป็ นเวลา 12 ปี ส่วนการศึกษาภาคบังคับกาหนดไว้ 9 ปี
(ถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 3) ในปี การศึกษา 2555
มีผเู้ รียนในและนอกระบบโรงเรียน 16,376,906 คน แบ่งเป็ นในระบบ
13,931,095 คน
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.)
2,445,811 คน นักเรียน นิสต ิ
นักศึกษาในระบบโรงเรียนมีสดั ส่วนในสถานศึกษารัฐบาลมากกว่าเอกชน[106]
มหาวิทยาลัยของไทย 5 แห่งติดอันดับ 100
มหาวิทยาลัยดีทส ้ ไป
ี่ ุดในทวีปเอเชีย[107] ในบรรดาคนไทยอายุ 25 ปี ขึน
43,703,789 คน มีผส ู้ าเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา 24,706,916 คน
ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า 9,604,156 คน ระดับอุดมศึกษา (สามัญ)
5,603,086 คน และระดับอุดมศึกษา (อาชีวศึกษา) 1,533,790
คน[108] อัตรารูห
้ นังสือของไทยอยูท ่ ี่ 93.5%[109]
ในปี งบประมาณ 2556 งบประมาณการศึกษาไทยเป็ นสัดส่วน 3.9%
ี ี และ 20.6% ของงบประมาณแผ่นดิน[106] ซึง่ มากเป็ นอันดับต้น ๆ
ของจีดพ
ของอาเซียน ทว่า สภาเศรษฐกิจโลกจัดให้คณ
ุ ภาพการศึกษาของไทยต่าสุดใน
8 ประเทศอาเซียนทีพ่ จิ ารณา [110]
ในการสารวจเด็กไทย 72,780 คนระหว่างเดือนธันวาคม 2553
ถึงมกราคม 2554 ในระดับประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปี ที่ 3 พบว่า
นักเรียนชาวไทยมีระดับเชาวน์ปญ ั ญาเฉลีย่ 98.53
ซึง่ น้อยกว่ามาตรฐานระหว่างประเทศที่ 100 อภิชยั มงคล
อธิบดีกรมสุขภาพจิต ว่า
ไม่ควรโทษระบบการศึกษาไทยว่าทาให้เยาวชนไทยมีเชาวน์ ปญ ั ญาต่า
เพราะสาเหตุหลักเกิดจากการพร่องไอโอดีน นอกจากนี้ยงั มีปจั จัยอืน
่ อย่างขาด
ความอบอุน ่ ในครอบครัว ถูกแยกจากธรรมชาติและอาหารไม่เหมาะสม[111]
สาธารณสุข
ในปี 2551 ประเทศไทยมีความคาดหมายการคงชีพเมือ ่ เกิด 70 ปี ในปี
2548–2549 มีอตั ราตายทารก 11.3 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน ระหว่างปี
2548–2551 สาเหตุการตายอันดับแรก คือ
เส้นเลือดในสมองแตกทัง้ ชายและหญิง โรคทีพ ่ บอันดับถัดมาในชาย ได้แก่
อุบตั เิ หตุบนท้องถนน เอดส์ หัวใจขาดเลือด ปอดอุดกัน ้ เรื้อรัง และตับแข็ง ใน
หญิง ได้แก่ โรคเบาหวาน หัวใจขาดเลือด
เอดส์ ไตวายเรื้อรังและปอดอักเสบ สาเหุตการป่ วยทีพ ่ บมาก เช่น
กลุม
่ โรคระบบทางเดินหายใจ, กลุม ่ โรคระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น
กระดูกและข้อ, กลุม ่ โรคระบบทางเดินอาหาร, กลุม ่ โรคหัวใจและหลอดเลือด
และกลุม ่ โรคของต่อมไร้ทอ ่ เป็ นต้น สาเหตุความพิการทีพ ่ บมาก เช่น
สายตาเลือนลางทัง้ 2 ข้าง, สายตาเลือนลางข้างเดียว, หูตงึ 2 ข้าง, อัมพฤกษ์
และแขนขาลีบ/เหยียดงอไม่ได้
โรคเอดส์เป็ นปัญหาการเสียปี สุขภาวะของคนไทยเป็ นอันดับแรก
รองลงมาในชายคือ อุบตั เิ หตุจราจรและติดสุรา
รองลงมาในหญิงคือเอดส์และเบาหวาน[112] ประเทศไทยมีอุบตั ก ิ ารณ์ มะเร็งท่อ
น้าดีสูงทีส ่ ุดในโลก [113]

ในปี 2555 ประเทศไทยมีรายจ่ายด้านสาธารณสุขคิดเป็ น 3.9%


ของจีดพ ี ี หรือ 14.2%
ของรายจ่ายภาครัฐทัง้ หมด[114] ประเทศไทยมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตัง้
แต่ปี 2545 ซึ่งครอบคลุมคนไทย 99%[115] ตัง้ แต่ปี 2533
กฎหมายกาหนดให้บค ุ คลทีไ่ ม่ได้ทางานรับราชการต้องส่งเงินเข้า สานักงานป
ระกันสังคม โดยสานักงานประกันสังคมจะกาหนดสถานพยาบาลให้ผป ู้ ระกันต
นเลือกในแต่ละปี ปัจจุบน ั
โรงพยาบาลทีส ่ งั กัดสานักงานประกันสังคมมีไม่เพียงพอต่อผูป ้ ระกันตนทีอ ่ ยูใ่
นระบบดังกล่าว กล่าวคือ ผูป ้ ระกันตนจานวนกว่า 13 ล้านคน
แต่มีโรงพยาบาลเพียง 159
โรง[116] ข้าราชการมีสท ิ ธิใช้บริการโรงพยาบาลของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จา่ ย
สิทธินี้รวมถึงบิดามารดาของข้าราชการด้วย
วัฒนธรรม
ดูบทความหลักที:่ วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยได้รบ ั อิทธิพลหลักจากวัฒนธรรมอินเดีย จีน ขอม
ตลอดจนวิญญาณนิยม ศาสนาพุทธและศาสนาฮินดู
วัฒนธรรมแห่งชาติของไทยเป็ นการสร้างสรรค์ใหม่ซงึ่ สิง่ ทีป ่ จั จุบน
ั ถือเป็
นวัฒนธรรมไทยเดิมไม่มีอยูใ่ นรูปแบบนัน ้ เมือ
่ กว่าร้อยปี ก่อน
บ่อเกิดสามารถสืบย้อนไปได้ถงึ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห ่ ั

สมัยสงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง หลวงพิบูลสงครามสนับสนุนการส่งเสริมวัฒนธรร
มไทยกลางเป็ นวัฒนธรรมแห่งชาตินิยามและยับยัง้ มิให้ชนกลุม ่ น้อยแสดงออก
ซึง่ วัฒนธรรมของตน
วัฒนธรรมพลเมืองรุน ่ ปัจจุบน ั ซึ่งส่วนใหญ่ยด ึ รุน
่ อุดมคติของวัฒนธรรมไทยกล
างเป็ นการสร้างสรรค์ใหม่ซงึ่ รวมลักษณะชาตินิยมสมัยรัชกาลที่ 5
ราชย์กม ั พูชา และลัทธิองิ สามัญชนทีน ่ ิยมบุคคลลักษณะ หรือสรุปคือ
วัฒนธรรมพลเมืองของไทยปัจจุบน ั นิยามว่าประเทศไทยเป็ นดินแดนของคนไ
ทยกลาง มีศาสนาเดียวคือ พุทธนิกายเถรวาท
และปกครองโดยราชวงศ์จกั รี[117]
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทเน้นว่า
คนส่วนใหญ่ไม่สามารถตรัสรูแ ้ ละไปถึงนิพพาน และดีทส ี่ ุดทีท
่ าได้คอ

การสะสมบุญผ่านการปฏิบตั ท ิ เี่ ป็ นพิธีกรรมอย่างสูง เช่น
การถวายอาหารพระสงฆ์และการบริจาคเงินเข้าวัด
คาสอนทางศาสนาถูกเลือกให้สนับสนุ นมุมมองทางโลกแบบศาสนาขงจื๊อใหม่ซึ่
งมีศน
ู ย์กลางอยูท่ ส
ี่ ามเสาหลัก
ศาสนาพุทธของไทยยังรวมการบูชาวิญญาณของกัมพูชาและความเชือ ่ ว่าพระ
มหากษัตริย์เป็ นสมมุตเิ ทพ นอกจากนี้ยงั เน้นรูปแบบมากกว่าแก่นสาร[117]
คนไทยเน้นและให้คุณค่ารูปแบบมารยาทภายนอกอย่างยิง่ เพือ ่ รักษาควา
มสัมพันธ์ประสานกัน กฎมารยาทหลายอย่างเป็ นผลพลอยได้ของศาสนาพุทธ
สังคมไทยเป็ นสังคมไม่เผชิญหน้าทีเ่ ลีย่ งการวิจารณ์ ในทีส
่ าธารณะ
การเสียหน้าเป็ นความเสือ ่ มเสียแก่คนไทย
จึงเลีย่ งการเผชิญหน้าและมุง่ ประนีประนอมในสถานการณ์ ลาบาก
หากสองฝ่ ายไม่เห็นด้วยกัน การไหว้เป็ นแบบการทักทายและแสดงความเคาร
พของผูน ้ ้อยต่อผูใ้ หญ่ตามประเพณีและมีแบบพิธีเข้มงวด
คนไทยใช้ชือ ่ [118]
่ ต้นมิใช่นามสกุล และใช้คาว่า "คุณ" ก่อนชือ
คนไทยเคารพความสัมพันธ์แบบมีลาดับชัน ้
ความสัมพันธ์ทางสังคมนิยามว่า บุคคลหนึ่งสูงกว่าอีกคนหนึ่ง
บิดามารดาสูงกว่าบุตรธิดา ครูอาจารย์สูงกว่านักเรียนนักศึกษา
และเจ้านายสูงกว่าผูใ้ ต้บงั คับบัญชา เมือ่ คนไทยพบคนแปลกหน้า
จะพยายามจัดให้อยูใ่ นลาดับชัน ้ ทันทีเพือ่ ให้ทราบว่าควรปฏิบตั ด
ิ ว้ ยอย่างไร
มักโดยการถามสิง่ ทีว่ ฒั นธรรมอืน ่ มองว่าเป็ นคาถามส่วนตัวอย่างยิง่
สถานภาพกาหนดได้โดยเสื้อผ้า ลักษณะปรากฏทั่วไป อายุ อาชีพ การศึกษา
นามสกุลและความเชือ ่ มโยงทางสังคม[118]
ครอบครัวเป็ นเสาหลักของสังคมไทยและชีวต ิ ครอบครัวมักอยูใ่ กล้ชด
ิ กว่า
วัฒนธรรมตะวันตก ครอบครัวไทยเป็ นลาดับชัน ้ ทางสังคมอย่างหนึ่ง
และเด็กถูกสอนให้เคารพบิดามารดา
สังคมคาดหวังให้สมาชิกครอบครัวดูแลผูอ ้ าวุโสและบ้านพักคนชราและโรงพย
าบาลเป็ นทางเลือกสุดท้าย คนชรามักอยูบ
่ า้ น
อยูก
่ บ
ั ครอบครัวและหลานและเกีย่ วข้องในชีวต ิ ครอบครัว[118]
ศิลปะ
ดูบทความหลักที:่ ศิลปะไทย

พระทีน
่ ่ งั ไอศวรรย์ทพ
ิ ยอาสน์ พระราชวังบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จิตรกรรมไทยเป็ นลักษณะอุดมคติ เป็ นภาพ 2 มิติ
โดยนาสิง่ ใกล้ไว้ตอนล่างของภาพ สิง่ ไกลไว้ตอนบนของภาพ
ใช้สีแบบเอกรงค์ คือ ใช้หลายสี แต่มีสีทโี่ ดดเด่นเพียงสีเดียว[119]
ประติมากรรมไทยเดิมนัน ้ ช่างไทยทางานประติมากรรมเฉพาะสิง่ ศักดิส์ ท ิ
ธิ ์ เช่น พระพุทธรูป เทวรูป โดยมีสกุลช่างต่าง ๆ นับตัง้ แต่กอ
่ นสมัยสุโขทัย
เรียกว่า สกุลช่างเชียงแสน สกุลช่างสุโขทัย อยุธยา และกระทั่งรัตนโกสินทร์
โดยใช้ทองสาริดเป็ นวัสดุหลักในงานประติมากรรม
เนื่องจากสามารถแกะแบบด้วยขีผ ้ งึ้ และตกแต่งได้ แล้วจึงนาไปหล่อโลหะ
เมือ ่ เทียบกับประติมากรรมศิลาในยุคก่อนนัน ้
งานสาริดนับว่าอ่อนช้อยงดงามกว่ามาก
สถาปัตยกรรมไทยมีปรากฏให้เห็นในชัน ้ หลัง
เนื่องจากงานสถาปัตยกรรมส่วนใหญ่ชารุดทรุดโทรมได้งา่ ย โดยเฉพาะงานไม้
ไม่ปรากฏร่องรอยสมัยโบราณเลย
สถาปัตยกรรมไทยมีให้เห็นอยูใ่ นรูปของบ้านเรือนไทย โบสถ์ วัด
และปราสาทราชวัง
ซึง่ ล้วนแต่สร้างขึน
้ ให้เหมาะสมกับสภาพอากาศและการใช้สอยจริง
อาหาร

แกงมัสมั่น
ดูบทความหลักที:่ อาหารไทย
อาหารไทยเป็ นการผสมผสานรสชาติความหวาน ความเผ็ด ความเปรี้ยว
ความขมและความเค็ม ส่วนประกอบซึง่ มักจะใช้ในการปรุงอาหารไทย
รวมไปถึง กระเทียม พริก น้ามะนาว
และน้าปลา และวัตถุดบ ิ สาคัญของอาหารในประเทศไทย
คือ ข้าว โดยมีขา้ วกล้องและข้าวซ้อมมือเป็ นพื้น มีคณ ุ ลักษณะพิเศษ คือ
ให้คณ ุ ค่าทางโภชนาการครบถ้วน
และให้สรรพคุณทางยาและสมุนไพร[84] ตามสถิตพ ิ บว่า
ชาวไทยรับประทานข้าวขาวมากกว่า 100
กิโลกรัมต่อคนต่อปี [120] อาหารทีข ึ้ ชือ
่ น ่ ทีส
่ ุดของคนไทย คือ น้าพริกปลาทู
พร้อมกับเครือ ่ งเคียงทีจ่ ดั มาเป็ นชุด [121] ส่วนอาหารทีไ่ ด้รบ ั ความนิยมและเป็ น
ทีร่ จู ้ กั ไปทั่วโลกนัน ้ คือ ต้มยากุง้ [122] เมือ
่ พ.ศ. 2554 เว็บไซต์ CNNGO
ได้จดั อันดับ 50
เมนูอาหารทีอ ่ ร่อยทีส่ ุดในโลกโดยการลงคะแนนเสียงทางเฟซบุก ๊ ปรากฏว่า แ
กงมัสมั่นได้รบ ั เลือกให้เป็ นอาหารทีอ ่ ร่อยทีส่ ุดในโลก[123]
วัฒนธรรมสมัยนิยมได้เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการกินของคนไทย
โดยหันมาบริโภคอาหารจานด่วนมากยิง่ ขึน้
ส่งผลให้เกิดโรคจากภาวะโภชนาการเกิน
แต่กลับไม่สามารถขจัดโรคขาดสารอาหารได้[84]
ภาพยนตร์
ดูบทความหลักที:่ ภาพยนตร์ไทย
จารัส สุวคนธ์ และ มานี สุมนนัฎ ดาราคูแ
่ รกของไทย
ภาพยนตร์ไทยมีประวัตค ิ วามเป็ นมาทีย่ าวนาน
ภาพยนตร์ไทยเรือ ่ งแรกถ่ายทาในเมืองไทย คือ เรือ ่ ง นางสาวสุวรรณ ผูส ้ ร้าง
คือ บริษทั ภาพยนตร์
ยูนิเวอร์ซลั ภาพยนตร์เรือ่ งนี้ใช้ผแู้ สดงทัง้ หมดเป็ นคนไทย[124] พ.ศ.
2470 ภาพยนตร์เรือ ่ ง โชคสองชัน ้ เป็ นภาพยนตร์ขนาด 35 มิลลิเมตร ขาว-
ดา ไม่มีเสียง
ได้รบั การยอมรับให้เป็ นภาพยนตร์ประเภทเรือ ่ งแสดงเพือ่ การค้าเรือ
่ งแรกทีส่ ร้
างโดยคนไทย[125]
ช่วงหลัง พ.ศ. 2490 ถือเป็ นช่วงยุคเฟื่ องฟูของภาพยนตร์ไทย
สตูดโิ อถ่ายทาและภาพยนตร์มีจานวนเพิม ้
่ มากขึน
แต่เมือ่ ประเทศไทยเข้าสูส ่ งครามโลกครัง้ ที่ 2ภาพยนตร์ไทยก็ซบเซาลง
กระทั่งสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุติ กิจการภาพยนตร์ในประเทศไทยค่อย ๆ
ฟื้ นตัว ได้เปลีย่ นไปสร้างเป็ นภาพยนตร์ขนาด 16 มิลลิเมตรแทน
และเมือ ่ บ้านเมืองเข้าสูภ
่ าวะคับขัน
ภาพยนตร์ไทยหลายเรือ ่ งได้แสดงบทบาทของตนในฐานะกระจกสะท้อนปัญห
าการเมือง และสังคมระหว่าง พ.ศ. 2516-2529
ต่อมาภาพยนตร์ไทยในช่วงปี พ.ศ. 2530-2539
โดยในตอนต้นทศวรรษวัยรุน ่ เป็ นกลุม่ เป้ าหมายใหม่
นอกจากภาพยนตร์ประเภทวัยรุน ่ แล้ว หนังผี และหนังบู๊ รวมทัง้ หนังโป๊
และหนังเกรดบี ก็มีการผลิตมามากขึน ้
ปัจจุบน
ั ประเทศไทยมีภาพยนตร์ทม ี่ ุง่ สูต
่ ลาดโลก เช่น
ภาพยนตร์เรือ ่ ง ต้มยากุง้ ทีส ้ ไปอยูบ
่ ามารถขึน ่ นตารางบ็อกซ์ออฟฟิ สในสหรัฐ
อเมริกา และยังมีภาพยนตร์ไทยหลายเรือ ่ งทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในเทศกาลภาพยนต
ร์ ล่าสุด ภาพยนตร์เรือ ่ ง ลุงบุญมีระลึกชาติ กากับโดยอภิชาติพงศ์
วีระเศรษฐกุล ได้รบ ั รางวัลปาล์มทองคา จากงานเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์
ครัง้ ที่ 63
นับเป็ นภาพยนตร์จากภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้เรือ ่ งแรกทีไ่ ด้รบ
ั รางวัล
นี้ [126] ปัจจุบน ่ ง พีม
ั ภาพยนตร์เรือ ่ าก..พระโขนง ทีอ่ อกฉายใน พ.ศ. 2556
เป็ นภาพยนตร์ไทยทีท ่ าเงินสูงสุดในประเทศ โดยทางจีทีเอช ผูผ้ ลิต
ประมาณว่าภาพยนตร์ทารายได้ท่วั ประเทศ 1,000 ล้านบาท [127]

ดนตรี
ดูบทความหลักที:่ ดนตรีไทย
ดนตรีไทยเกิดจากชนชาติไทยเองและได้รบ ั อิทธิพลจากต่างประเทศ เช่น
จีน อินเดีย มอญ
เขมร[128] ดนตรีไทยแต่ละภาคเป็ นดนตรีพื้นบ้านทีถ ่ า่ ยทอดกันมาด้วยคาพูดซึ่
งเรียนรูผ
้ า่ นการฟังมากกว่าการอ่าน และเป็ นสิง่ ทีพ ่ ูดต่อกันมาแบบปากต่อปาก
เป็ นลักษณะการสืบทอดทางวัฒนธรรมของชาวบ้านตัง้ แต่อดีตจนปัจจุบน ั
เป็ นเอกลักษณ์ ทางพื้นบ้านของท้องถิน ่ นัน
้ ๆ
สืบต่อไป [129] เครือ
่ งดนตรีไทยสามารถแบ่งได้ตามประเภทการบรรเลง มี 4
ประเภท ได้แก่ ดีด สี ตี เป่ า และแบ่งตามภูมภ ิ าคของประเทศเป็ น ภาคเหนือ
ภาคอีสาน ภาคกลาง ภาคใต้
ในอดีตดนตรีไทยนิยมเล่นในการขับลานาและร้องเล่น
ต่อมามีการนาเอาเครือ ่ งดนตรีจากต่างประเทศเข้ามาผสม[130] ดนตรีไทยนิยมเ
ล่นกันเป็ นวง
เช่น วงปี่ พาทย์ วงเครือ ่ งสาย วงมโหรี วงดนตรีไทยแต่ละวงนิยมบรรเลงแตกต่
างกันไปตามโอกาสและสถานที่ ดนตรีไทยเข้ามามีบทบาทในชีวต ิ ประจาวัน
โดยใช้ประกอบงานมงคล งานอวมงคล ฯลฯ
ในปัจจุบน ั ดนตรีไทยไม่คอ ่ ยเป็ นทีน
่ ิยมกันแพร่หลายนักเนื่องจากการวัฒนธรร
มตะวันตกทีเ่ ข้ามาแทน การเล่นดนตรีสากลเป็ นทีน ่ ิยมมากขึน้
ทาให้ดนตรีไทยหาดูได้ยาก
คนส่วนใหญ่จงึ ไม่คอ ่ ยรูจ้ กั ดนตรีไทยสักเท่าไรนัก [131]

การปล่อยโคมลอยในงานประเพณียเี่ ป็ ง
นาฏศิลป์
ดูบทความหลักที:่ นาฏศิลป์ ไทย
นาฏศิลป์ไทยเป็ นศิลปะการแสดงประกอบดนตรีเช่น ฟ้ อน รา ระบา โขน
แต่ละท้องถิน ่ จะมีชือ
่ เรียกและมีลีลาท่าการแสดงทีแ ่ ตกต่างกันไป
นาฏศิลป์ไทยได้รบ ั อิทธิพลแบบแผนตามแนวคิดจากต่างชาติเข้ามาผสมผสาน
เช่น
วัฒนธรรมอินเดียเกีย่ วกับวรรณกรรมทีเ่ ป็ นเรือ ่ งของเทพเจ้าและตานานการฟ้
อนราโดยผ่านเข้าสูป ่ ระเทศไทยทัง้ ทางตรงและทางอ้อมคือผ่านชนชาติชวาแล
ะเขมร ก่อนทีจ่ ะนามาปรับปรุงให้เป็ นรูปแบบตามเอกลักษณ์ ของไทย
ถือเป็ นอิทธิพลสาคัญต่อแบบแผนการสืบสานและถ่ายทอดนาฏศิลป์ของไทยจ
นเกิดขึน้ เป็ นเอกลักษณ์ ของตนเองทีม ่ ีรูปแบบ แบบแผนการเรียน
ขนบธรรมเนียมมาจนถึงปัจจุบน ั [132]

ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
เทศกาลประเพณี
เทศกาลประเพณีในประเทศไทยนัน ้ มีความหลากหลายและอลังการแต่ก็มี
บ้างพื้นทีท
่ เี่ ทศกาลประเพณีในประเทศไทยนัน ่ [13
้ รับอิทธิพลมาจากประเทศอืน
3] เช่น เทศกาลวันขึน ้ ปี ใหม่ เทศกาลวันตรุษจีน เทศกาลวันสงกรานต์ เทศกาล
วันคริสต์มาส ประเพณีบุญบัง้ ไฟ ประเพณีตกั บาตรดอกไม้ ประเพณีลอยกระท
ง ประเพณียเี่ ป็ ง ฯลฯ
วันสาคัญ
ดูบทความหลักที:่ รายชือ่ วันสาคัญของไทย
วันสาคัญในประเทศไทยมีจานวนมาก ส่วนใหญ่มใิ ช่วน
ั หยุดราชการ
้ เนื่องในเหตุการณ์ สาคัญ
และตัง้ ขึน
วันสาคัญอาจจะมาจากวัฒนธรรมประเทศเพือ่ นบ้าน อนึ่ง
ปัจจุบนั วันเฉลิมฉลองของชาติไทยคือ
วันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช ตรงกั
บวันที่ 5 ธันวาคมของทุกปี [134]

กีฬา
ดูเพิม
่ เติมที:่ ฟุตบอลทีมชาติไทย, ฟุตบอลในประเทศไทย, ประเทศไทยในโอลิ
มปิ ก และ ประเทศไทยในซีเกมส์
มวยไทย กีฬาประจาชาติของไทย
มวยไทยถือได้วา่ เป็ นกีฬาประจาชาติของไทยโดยพฤตินยั
เป็ นศิลปะการต่อสูท
้ เี่ ผยแพร่ออกไปทั่วโลก
มวยไทยมีลกั ษณะทีค ่ ล้ายคลึงกับศิลปะการต่อสูข
้ องประเทศเพือ ่ นบ้านในเอเชี
ยตะวันออกเฉี ยงใต้หลายประเทศ นอกจากนี้ กีฬาอืน ่ ทีร่ ูจ้ กั กันว่าเป็ นของไทย
เช่น ตะกร้อ
ส่วนกีฬาทีก ่ าลังเติบโตในประเทศไทยอย่างรวดเร็ว
ได้แก่ รักบี้และกอล์ฟ โดยผลงานของนักกีฬารักบี้ทีมชาติไทย
ทาผลงานได้ถงึ อันดับที่ 61
ของโลก[135] ประเทศไทยยังเป็ นประเทศแรกทีเ่ ป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันรักบี้
ทัวร์นาเมนต์รุน ่ เวลเทอร์เวท 80 กิโลกรัมในปี พ.ศ.
2548[136] ส่วนกีฬากอล์ฟนัน ้ ไทยได้รบั สมญานามว่าเป็ น
"เมืองหลวงของกอล์ฟในทวีปเอเชีย" [137] ในประเทศไทย
มีสนามกอล์ฟคุณภาพระดับโลกกว่า 200
แห่ง[138] ซึง่ ดึงดูดนักกอล์ฟจานวนมากจากเกาหลี สิงคโปร์ ญีป ่ ุ่ น
แอฟริกาใต้และประเทศตะวันตกทุกปี [139]
ฟุตบอลเป็ นกีฬาทีน
่ ิยมทีส
่ ุดในประเทศไทย
โดยฟุตบอลทีมชาติไทยได้เป็ นตัวแทนของประเทศไทยในการแข่งขันฟุตบอล
ระหว่างประเทศและเป็ นทีมทีป ่ ระสบความสาเร็จในระดับเอเชียตะวันออกเฉี ย
[140]
งใต้
สาหรับผลงานทางด้านกีฬา
ประเทศไทยได้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับโลกหลายอย่าง
เช่น โอลิมปิ กฤดูรอ้ น โอลิมปิ กฤดูหนาว เอเชียนเกมส์ และซีเกมส์ ซึง่ ประเทศ
ไทยเองได้รบ ั สิทธิจดั การแข่งขันเอเชียนเกมส์ 4 ครัง้ และซีเกมส์ 6 ครัง้
นอกจากนี้ยงั เคยเป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขันเอเชียนคัพและฟุตบอลโลกหญิงเย
าวชนอีกด้วย สมรักษ์
คาสิงห์เป็ นนักกีฬาชาวไทยคนแรกผูค ้ ว้าเหรียญทองในการแข่งขันมวยสากลส
มัครเล่นในโอลิมปิ กฤดูรอ้ น 1996
เชิงอรรถ
ก. ^ ตามข้อมูลของกรมการปกครองเมือ ่ ปี พ.ศ. 2552
ประเทศไทยแบ่งการปกครองออกเป็ น 75 จังหวัด[141] และต่อมา เมือ ่ วันที่ 22
มีนาคม พ.ศ. 2554 มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัตต ิ ง้ ั จังหวัดบึงกาฬ พ.ศ.
2554 ซึง่ ทาให้จงั หวัดบึงกาฬเป็ นจังหวัดที่ 76 ของไทย[142]
อ้างอิง
1. ↑ กระโดดขึน้ ไป:1.0 1.1 กรมการปกครอง, ระบบสถิตท ิ างการทะเบียน
จานวนประชากรแยกรายอายุ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๐
2. กระโดดขึน ้ ↑ ตารางที่ 1 ประชากร จาแนกตามเพศ
ครัวเรือนจาแนกตามประเภทของครัวเรือน จังหวัด
และเขตการปกครอง. สานักงานสถิตแ ิ ห่งชาติ. สืบค้น 7-9-2557.
3. กระโดดขึน ้ ↑ ราชบัณฑิตยสถาน. (2545). อักขรานุกรมภูมศ ิ าสตร์ไทย
ฉบับราชบัณฑิตยสถาน เล่ม 1. ราชบัณฑิตยสถาน. หน้า 4.
4. กระโดดขึน ้ ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง
ไม่มีการกาหนดข้อความสาหรับอ้างอิงชือ ่ CIA factbook
5. กระโดดขึน ้ ↑ Paweł Bożyk (2006). "Newly Industrialized
Countries". Globalization and the Transformation of
Foreign Economic Policy. Ashgate Publishing, Ltd.
p. 164. ISBN 0-75-464638-6.
6. กระโดดขึน ้ ↑ Mauro F. Guillén (2003). "Multinationals,
Ideology, and Organized Labor". The Limits of
Convergence. Princeton University Press. pp. 126 (Table
5.1). ISBN 0-69-111633-4.
7. กระโดดขึน ้ ↑ David Waugh (3rd edition 2000). "Manufacturing
industries (chapter 19), World development (chapter
22)". Geography, An Integrated Approach. Nelson Thornes
Ltd. pp. 563, 576–579, 633, and 640. ISBN 0-17-444706-X.
8. กระโดดขึน ้ ↑ N. Gregory Mankiw (4th Edition
2007). Principles of Economics. ISBN 0-32-422472-9.
9. กระโดดขึน ้ ↑ "ข้อมูลพื้นฐานเศรษฐกิจไทย". ธนาคารแห่งประเทศไทย.
สืบค้นเมือ ่ 07-05-2010. [ลิงก์เสีย]
10. ↑ กระโดดขึน้ ไป:10.0 10.1 ,
menuPK:333304~pagePK:141132~piPK:141121~theSiteP
K:333296, 00.html "Thailand and the World Bank" (ใน
English). World Bank. สืบค้นเมือ ่ 07-05-2010. อ้างอิงผิดพลาด:
ป้ ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชือ ่
"middleIncomeCountry" หลายครัง้ ด้วยเนื้อหาต่างกัน
11. กระโดดขึน ้ ↑ วัลลภา รุง่ ศิรแ ิ สงรัตน์. (2545). บรรพบุรุษไทย:
สมัยก่อนสุโขทัยและสมัยสุโขทัย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
ISBN 974-13-1780-8. หน้า 2.
12. กระโดดขึน ้ ↑ สุจต ิ ต์ วงษ์ เทศ. คนไทยมาจากไหน?.
สานักพิมพ์มติชน บริษท ั มติชน จากัด (มหาชน). หน้า 73.
13. กระโดดขึน ้ ↑ ชัย เรืองศิลป์ (2541). ประวัตศ ิ าสตร์ไทยสมัย พ.ศ.
2352-2453 ด้านเศรษฐกิจ. ไทยวัฒนาพานิช. ISBN 974-08-4124-
4. หน้า 183.
14. ↑ กระโดดขึน้ ไป:14.0 14.1 "ประเทศไทย
หรือประเทศสยาม". การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย. Archived
from the original on 2008-01-31. สืบค้นเมือ ่ 07-05-2010.
15. กระโดดขึน ้ ↑ สุจต ิ ต์ วงษ์ เทศ. คนไทยมาจากไหน?.
สานักพิมพ์มติชน บริษท ั มติชน จากัด (มหาชน). หน้า 217.
16. ↑ กระโดดขึน้ ไป:16.0 16.1 วีรวิท คงศักดิ.์ "ร้องเพลงชาติ...ต้องร้องด้วย
“ใจ”". คลังสมอง วปอ. เพือ ่ สังคม. สืบค้นเมือ ่ 08-05-2010.
17. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส
ิ ม
ั พันธ์. หน้า 57-58.
18. กระโดดขึน ้ ↑ Tourism Authority of Thailand. หน้า 10.
19. กระโดดขึน ้ ↑ http://www.mkh.in.th/index.php/2010-03-
22-18-01-39 อาณาเขตทางทะเล (Maritime
Zone)ฐานข้อมูลความรูท ้ างทะเล
20. กระโดดขึน ้ ↑ "Doi Inthanon National Park". National
Park of Thailand. สืบค้นเมือ ่ 09-05-2010.Unknown
parameter |langague= ignored (help); [ลิงก์เสีย]
21. ↑ กระโดดขึน้ ไป:21.0 21.1 ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส
ิ ม ั พันธ์. หน้า 103.
22. กระโดดขึน ้ ↑ Tourism Authority of Thailand. หน้า 22.
23. ↑ กระโดดขึน้ ไป:23.0 23.1 "ข้อมูลประเทศไทย -
ภูมอิ ากาศ". การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย. Archived from the
original on 2008-01-19. สืบค้นเมือ ่ 07-05-2010.
24. ↑ กระโดดขึน้ ไป:24.0 24.1 "Thai Forests > Dept. National
Parks, Wildlife & Plants". Thai Society for the Conservation
of Wild Animals. สืบค้นเมือ ่ 23-06-2010. Unknown
parameter |langugae=ignored (help);
25. กระโดดขึน ้ ↑ "Nature of National Park". National Park of
Thailand. สืบค้นเมือ ่ 26-07-2010. Unknown
parameter |langugae= ignored (help); [ลิงก์เสีย]
26. กระโดดขึน้ ↑ "Thai Forests > Geography of the Forest
Regions". Thai Society for the Conservation of Wild
Animals. สืบค้นเมือ ่ 23-06-2010. Unknown
parameter |langugae= ignored (help);
27. กระโดดขึน ้ ↑ "THAILAND: Environmental Profle".
Mongabay.com. สืบค้นเมือ ่ 26-07-2010. Unknown
parameter |langugae= ignored (help);
28. กระโดดขึน ้ ↑ Thailand. History. Encyclopædia
Britannica Online
29. กระโดดขึน ้ ↑ พลาดิสยั สิทธิธญ ั กิจ. (2547). ประวัตศ ิ าสตร์ไทย.
ฝ่ ายโรงพิมพ์ บริษท ั ตถาตา พับลิเคชั่น จากัด. หน้า 401.
30. กระโดดขึน ้ ↑ 4th edition "ANKOR an introduction to the
temples" Dawn Rooney ISBN 962-217-683-6
31. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส ิ ม ั พันธ์. (2542). หน้า 39.
32. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส ิ ม ั พันธ์. หน้า 39-40.
33. กระโดดขึน ้ ↑ Christopher John Baker; Pasuk
Phongpaichit (2005). "A history of Thailand" (ใน English).
Everbest Printing Co., Ltd. p. 11. Unknown
parameter |accessedate= ignored
(|accessdate= suggested) (help);
34. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส ิ ม ั พันธ์. หน้า 40.
35. กระโดดขึน ้ ↑ ดนัย ไชยโยธา.
(2543). พัฒนาการของมนุษย์กบ ั อารยธรรมในราชอาณาจักรไทย เล่ม
๑. โอ.เอส. พริน้ ติง้ เฮ้าส์. หน้า 298.
36. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ ส ิ ม ั พันธ์. หน้า 43.
37. กระโดดขึน ้ ↑ Tourism Authority of Thailand. หน้า 110.
38. กระโดดขึน ้ ↑ "Siam"[ลิงก์เสีย]. Encyclopædia Britannica
Eleventh Edition. London. 1911. Retrieved 2007-04-24.
39. กระโดดขึน ้ ↑ "Ode to Friendship, Celebrating
Singapore - Thailand Relations: Introduction". National
Archives of Singapore. 2004. สืบค้นเมือ ่ 2007-04-24.
40. กระโดดขึน ้ ↑ เพ็ญศรี ดุก๊ .
(2542). การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. บริษท ั เท็กซ์
แอนด์ เจอร์นลั พับลิเคชั่น จากัด. หน้า 3.
41. กระโดดขึน ้ ↑ เพ็ญศรี ดุก๊ .
(2542). การต่างประเทศกับเอกราชและอธิปไตยของไทย. บริษท ั เท็กซ์
แอนด์ เจอร์นลั พับลิเคชั่น จากัด. หน้า 186.
42. กระโดดขึน ้ ↑ ชนิดา ศักดิศ ์ ริ สิ ม
ั พันธ์. หน้า 60.
43. กระโดดขึน ้ ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/P
DF/2548/00167639.PDF
44. กระโดดขึน ้ ↑ "Protests as Thailand senators debate
amnesty bill". The Guardian. 11 November 2013. สืบค้นเมือ ่
13 January 2014.
45. กระโดดขึน ้ ↑ ธเนศวร์ เจริญเมือง.
(2547). รัฐศาสตร์ทยี่ งั มีลมหายใจ แนวคิดประชาธิปไตย, การเมืองไทย
และแผ่นดินแม่. ยูโรปา เพรส บริษท ั จากัด. หน้า 82.
46. กระโดดขึน ้ ↑ IDE DISCUSSION PAPER No. 164
47. กระโดดขึน ้ ↑ สถิตท ิ ไี่ ม่น่าภูมใิ จเมือ ่ ไทยติดอันดับที่ 4
ประเทศทีม ่ ีการรัฐประหารบ่อยทีส ่ ุดในโลก | Siam Intelligence
48. กระโดดขึน ้ ↑ Gray, Denis D. (2015-08-2015). "Deadly
bombing in military-ruled Thailand adds to mounting woes
in one-time 'Land of Smiles'". U.S. News & World Report.
Associated Press. สืบค้นเมือ ่ 23 August 2015.
49. กระโดดขึน ้ ↑ การแบ่งภูมภ ิ าคทางภูมศ ิ าสตร์ จาก
ราชบัณฑิตยสถาน[ลิงก์เสีย]
50. กระโดดขึน ้ ↑ [1][ลิงก์เสีย]
51. กระโดดขึน ้ ↑ OSCE. Partners for Co-operation. สืบค้น 8
พฤษภาคม 2553.
52. กระโดดขึน ้ ↑ ส่องโลก. ปฏิบตั ก ิ ารเปี่ ยมมนุษยธรรมในอิรกั [ลิงก์เสีย].
อ้างจาก วารสารกรมประชาสัมพันธ์ ประจาเดือนเมษายน 2547. สืบค้น
8 พฤษภาคม 2553.
53. กระโดดขึน ้ ↑ ทีมข่าวความมั่นคง คม ชัด
ลึก. ผ่าภารกิจ"กองทัพไทย"ในดาร์ฟูร์!"รักษาสันติภาพก็เหมือนได้ซอ ้ มร
บ". สืบค้น 8 พฤษภาคม 2553.
54. กระโดดขึน ้ ↑ กองบัญชาการกองทัพไทย. บทความประชาสัมพันธ์
กองกาลังกองทัพไทยในภารกิจรักษาสันติภาพผสมสหประชาชาติ-
สหภาพแอฟริกาในดาร์ฟูร์[ลิงก์เสีย]. สืบค้น 8 พฤษภาคม 2553.
55. กระโดดขึน ้ ↑ Mongabay.com. COUNTRY PROFILES
Thailand: NATIONAL SECURITY. สืบค้นเมือ ่ 25 เมษายน
2553.
56. กระโดดขึน ้ ↑ พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.
๒๕๕๓. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 126 ตอนที่ 79 ก. วันที่ 22 ตุลาคม
2552. สืบค้นเมือ ่ 25 เมษายน 2553.
57. กระโดดขึน ้ ↑ SIPRI Military Expenditure Database –
Thailand. SIPRI, 2012. Retrieved 3 May 2012.
58. กระโดดขึน ้ ↑ Countries Ranked by Military Strength
(2014). สืบค้น 3-9-2557.
59. กระโดดขึน ้ ↑ ของสานักงานตารวจแห่งชาติ พ.ศ. 2557 - 2566
60. กระโดดขึน ้ ↑ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 134 ตอนที่ 40 ก ราชกิจจานุเบกษา 6
เมษายน 2560 หน้า 1.
61. กระโดดขึน ้ ↑ มาตรา 4 (2), มาตรา 16 และ 18
แห่งพระราชบัญญัตริ บ ั ราชการทหาร พ.ศ. 2497
62. กระโดดขึน ้ ↑ มาตรา 22 ถึง 27
แห่งพระราชบัญญัตริ บ ั ราชการทหาร พ.ศ. 2497
63. กระโดดขึน ้ ↑ มาตรา 14 (3)
แห่งพระราชบัญญัตริ บ ั ราชการทหาร พ.ศ. 2497
64. กระโดดขึน ้ ↑ "Thai Economic Performance in Q1 and
Outlook for 2013". Office of the National Economic and
Social Development Board. สืบค้นเมือ ่ 20 May 2013.[ลิงก์เสีย]
65. ↑ กระโดดขึน้ ไป:65.0 65.1 65.2 ภาวะเศรษฐกิจไทย ปี 2556[ลิงก์เสีย].
ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้น 3-9-2557.
66. กระโดดขึน ้ ↑ "Change in Price Level". Bank of
Thailand. สืบค้นเมือ ่ 9 April 2013.
67. ↑ กระโดดขึน้ ไป:67.0 67.1 เครือ ่ งชี้ภาวะเศรษฐกิจทีส
่ าคัญ. สืบค้น 3-9-
2557.
68. กระโดดขึน ้ ↑ ข้อมูลหนี้สาธารณะคงค้าง.
สานักงานบริหารหนี้สาธารณะ. สืบค้น 3-9-2557.
69. กระโดดขึน ้ ↑ "Indicators ทางสังคม". Office of the
Economic and Social Development Board. สืบค้นเมือ ่ 1
March 2013.[ลิงก์เสีย]
70. ↑ กระโดดขึน้ ไป:70.0 70.1 UNDP Report lists Thailand among
Asia’s fastest growing UNDP Report lists Thailand among
Asia’s fastest growing UNDP. สืบค้น 4-9-2557.
71. กระโดดขึน ้ ↑ Corruption Perceptions Index 2013.
Transparency International. สืบค้น 4-9-2557.
72. กระโดดขึน ้ ↑ เปิ ดรายงาน PERC ฉบับเต็ม!
ทาไมถึงให้คะแนนเสียง "Boo-โห่ไล่" ป.ป.ช.
73. กระโดดขึน้ ↑ "Report for Selected Countries and
Subjects". World Economic Outlook. International Monetary
Fund. April 2014. สืบค้นเมือ
่ 31 May 2014.
74. กระโดดขึน ้ ↑ "Report for Selected Countri

You might also like