You are on page 1of 24

ประเทศมาเลเซีย

จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้อาจต้องเขียนใหม่ทง้ ั หมดเพือ่ ให้เป็ นไปตามมา
ตรฐานคุณภาพของวิกพ ิ ีเดีย หรือกาลังดาเนินการอยู่ คุณ
ช่วยเราได้ หน้าอภิปรายอาจมีขอ ้ เสนอแนะ

มาเลเซีย

Malaysia; ‫( مليسيا‬มาเลเซีย)

ธงชาติ ตราแผ่นดิน

คาขวัญ: "Bersekutu Bertambah Mutu"[1]


("ความเป็ นเอกภาพคือพลัง")

เพลงชาติ: เนอการากู
(แผ่นดินของข้า)

MENU
0:00
เมืองหลวง กัวลาลัมเปอร์1
(และเมืองใหญ่สุด) 2°30′N 112°30′E
ภาษาราชการ ภาษามาเลเซีย
การปกครอง สหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้ร ั
ฐธรรมนูญ
- พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชาธิบดีมูฮม
ั มัดที่
5
- นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซะก์

เอกราช
- จาก สหราชอาณาจักร(เฉพาะมลายา 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500
)
- การสร้างชาติ รวม ซาบะฮ์ ซาราวะก์ 16 กันยายน พ.ศ. 2506
และสิงคโปร์
พื้นที่
- รวม 329,847 ตร.กม. (66)
127,287 ตร.ไมล์
- แหล่งน้า (%) 0.3

ประชากร
- 6 กันยายน 2560 (ประเมิน) 32,203,200 (42)

- 2553 (สามะโน) 28,934,135

- ความหนาแน่ น 86 คน/ตร.กม. (109)


216.45 คน/ตร.ไมล์
จีดพี ี (อานาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
- รวม $ 922.057 พันล้าน

- ต่อหัว $ 28,636

จีดพ
ี ี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
- รวม $ 309.860 พันล้าน

- ต่อหัว $ 9,623

จีนี (2552) 46.3


HDI (2558) 0.789 (สูง) (59th)
สกุลเงิน ริงกิต (RM) ( MYR )
เขตเวลา MST (UTC+8)
• ฤดูรอ้ น (DST) Not observed (UTC+8)

ขับรถด้าน ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด .my
รหัสโทรศัพท์ 602
1. ปูตราจายาเป็ นทีต
่ ง้ ั รัฐบาล
2. 020 เมือ
่ โทรฯ จากสิงคโปร์
มาเลเซีย (มาเลเซีย: Malaysia)
เป็ นประเทศสหพันธรัฐราชาธิปไตยภายใต้รฐั ธรรมนูญ ตัง้ อยูใ่ นภูมภ ิ าคเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ ประกอบด้วยรัฐ 13 รัฐ และดินแดนสหพันธ์ 3
ดินแดน และมีเนื้อทีร่ วม 330,803 ตารางกิโลเมตร (127,720 ตารางไมล์)
โดยมีทะเลจีนใต้แบ่งพื้นทีอ ่ อกเป็ น 2 ส่วนซึง่ มีขนาดใกล้เคียงกัน
ได้แก่ มาเลเซียตะวันตกและมาเลเซียตะวันออก มาเลเซียตะวันตกมีพรมแดน
ทางบกและทางทะเลร่วมกับไทย และมีพรมแดนทางทะเลร่วมกับสิงคโปร์ เวีย
ดนาม และอินโดนีเซีย มาเลเซียตะวันออกมีพรมแดนทางบกและทางทะเลร่วม
กับบรูไนและอินโดนีเซีย
และมีพรมแดนทางทะเลกับร่วมฟิ ลิปปิ นส์และเวียดนาม
เมืองหลวงของประเทศคือกัวลาลัมเปอร์ ในขณะทีป ่ ูตราจายาเป็ นทีต
่ ง้ ั ของรัฐบ
าลกลาง ด้วยประชากรจานวนกว่า 30 ล้านคน
มาเลเซียจึงเป็ นประเทศทีม่ ีประชากรมากทีส ่ ุดเป็ นอันดับที่ 42
ของโลก ตันจุงปี ไอ (Tanjung Piai)
จุดใต้สุดของแผ่นดินใหญ่ทวีปยูเรเชียอยูใ่ นมาเลเซีย
มาเลเซียเป็ นประเทศในเขตร้อน และเป็ นหนึ่งใน 17
ประเทศของโลกทีม่ ีความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยิง่ (megadiverse
country) โดยมีชนิดพันธุ์เฉพาะถิน
่ เป็ นจานวนมาก
มาเลเซียมีตน ้ กาเนิดมาจากอาณาจักรมลายูหลายอาณาจักรทีป ่ รากฏในพื้
นที่ แต่ตง้ ั แต่พุทธศตวรรษที่ 24 เป็ นต้นมา
อาณาจักรเหล่านัน ้ ก็ทยอยขึน้ ตรงต่อจักรวรรดิบริเตน โดยอาณานิคมกลุม ่ แรก
ของบริเตนมีชือ ่ เรียกรวมกันว่านิคมช่องแคบ ส่วนอาณาจักรมลายูทเี่ หลือกลาย
เป็ นรัฐในอารักขาของบริเตนในเวลาต่อมา
ดินแดนทัง้ หมดในมาเลเซียตะวันตกรวมตัวกันเป็ นครัง้ แรกในฐานะสหภาพม
าลายาในปี พ.ศ. 2489 มาลายาถูกปรับโครงสร้างเป็ นสหพันธรัฐมาลายาในปี
พ.ศ. 2491 และได้รบ ั เอกราชเมือ ่ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2500
มาลายารวมกับบอร์เนียวเหนือ ซาราวะก์ และสิงคโปร์เป็ นมาเลเซียเมือ ่ วันที่
16 กันยายน พ.ศ. 2506 แต่ไม่ถงึ สองปี ถัดมา คือในปี พ.ศ. 2508
สิงคโปร์ก็ถูกขับออกจากสหพันธ์[2]
มาเลเซียเป็ นประเทศพหุชาติพน ั นธรรมซึง่ มีบทบาทอย่างมา
ั ธุ์และพหุวฒ
กในด้านการเมือง
ประมาณครึง่ หนึ่งของประชากรทัง้ หมดมีเชื้อสายมลายูโดยมีชนกลุม ่ น้อยกลุม

สาคัญคือ ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน ชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย และชนพื้นเมือ
งดัง้ เดิมกลุม ่ ต่าง
ๆ รัฐธรรมนูญประกาศให้ศาสนาอิสลามเป็ นศาสนาประจาชาติ แต่ก็ยงั ให้เสรีภ
าพในการนับถือศาสนาแก่ผท ู้ ีไ่ ม่ใช่ชาวมุสลิม
ระบบรัฐบาลมีรูปแบบคล้ายคลึงกับระบบรัฐสภาเวสต์มน ิ สเตอร์ ระบบกฎหมาย
มีพื้นฐานอยูบ ่ นระบบคอมมอนลอว์ ประมุขแห่งรัฐเป็ นพระมหากษัตริย์หรือทีเ่
รียกว่ายังดีเปอร์ตวนอากง ทรงได้รบ ั เลือกจากบรรดาเจ้าผูค้ รองรัฐในมาเลเซีย
ตะวันตก 9 รัฐ โดยทรงดารงตาแหน่ งคราวละ 5 ปี
ส่วนหัวหน้ารัฐบาลคือนายกรัฐมนตรี
นับตัง้ แต่ได้รบ ั เอกราช
มาเลเซียเป็ นประเทศทีม ่ ีประวัตท
ิ างเศรษฐกิจทีด ่ ท ี่ ุดประเทศหนึ่งในเอเชีย
ี ส
โดยมีคา่ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเติบโตขึน ้ เฉลีย่ ร้อยละ 6.5
ต่อปี เป็ นเวลาเกือบ 50
ปี [3] ระบบเศรษฐกิจแต่เดิมได้รบ ั การขับเคลือ
่ นด้วยทรัพยากรธรรมชาติทม ี่ ีอยู่
แต่ก็กาลังขยายตัวในภาควิทยาศาสตร์ การท่องเทีย่ ว การพาณิชย์
และการท่องเทีย่ วเชิงสุขภาพ ทุกวันนี้
มาเลเซียเป็ นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ทใี่ ช้ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรีซง่ึ มี
ขนาดใหญ่ทส ี่ ุดเป็ นอันดับ 3
ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (รองจากอินโดนีเซียและไทย)
เป็ นสมาชิกจัดตัง้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ การประชุมสุ
ดยอดเอเชียตะวันออก และองค์การความร่วมมืออิสลาม และเป็ นสมาชิกของค
วามร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-
แปซิฟิก เครือจักรภพแห่งชาติ และขบวนการไม่ฝก
ั ใฝ่ ฝ่ ายใด
ประวัตศิ าสตร์[แก้ไขต้นฉบับ]
ยุคก่อนประวัตศ ิ าสตร์[แก้ไขต้นฉบับ]
ประเทศมาเลเซียปัจจุบน ั ไม่คอ่ ยมีหลักฐานแสดงความยิง่ ใหญ่ในอดีตเหมื
อนประเทศอืน ่ ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
อย่างที่ กัมพูชามีเมืองพระนคร อินโดนีเซียมีโบโรบูดรู ์ หลักฐานทางโบราณค
ดีเก่าแก่ทส ี่ ุดทีพ่ บได้แก่ กะโหลกศีรษะมนุษย์ ยุคโฮโมเซเปี ยน ในถา้ นียะห์
รัฐซาราวะก์ โรงเครือ ่ งมือหินทีพ ่ บในโกตาตัมปัน รัฐเประก์
หลักฐานดังกล่าวบ่งชี้วา่ มนุษย์ในยุคแรกเริม ่ ของบริเวณนี้เป็ นนักล่าสัตว์
และผูเ้ พาะปลูกเร่รอ ่ นของ ยุคหินกลาง
อาศัยอยูต ่ ามเพิงหินและถา้ ในภูเขาหินปูนของคาบสมุทร
ใช้เครือ ่ งมือหินตัดบดและล่าสัตว์ป่า ราว 2,500 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช
มีกลุม่ คนยุคหินใหม่อพยพมาจากจีนตอนใต้เข้ามาสูบ ่ ริเวณนี้
และด้วยความทีม ่ ีเครือ่ งมือทันสมัยกว่า รูจ้ กั วิธีเพาะปลูก
ในทีส ่ ุดจึงขับไล่พวกทีม ่ าอยูก
่ อ่ นเข้าไปในภูเขาและป่ าชัน ้ ในของแหลมมลายู
หลังจากนัน ้ ราว 300 ปี ก่อนคริสต์ศกั ราช
ก็มีกลุม ่ คนยุคเหล็กและยุคสาริด ใช้โลหะเป็ นอาวุธ รูจ้ กั ค้าขาย
ก็มาขับไล่พวกเดิมให้อยูใ่ นป่ าลึกเข้าไปอีก
พวกทีม ่ าใหม่นี้ตอ ่ มากลายเป็ นบรรพบุรุษโดยตรงของชาวมาเลเซียในปัจจุบน ั
อย่างไรก็ตาม
ด้วยหลักฐานทางประวัตศ ิ าสตร์ของมาเลเซียในยุคโบราณมีไม่มากนัก
นักประวัตศ ิ าสตร์จงึ มักถือเอาช่วงเวลาที่ มะละกา ปรากฏตัวขึน ้ เป็ นศูนย์กลาง
การค้าทีส ่ าคัญทางชายฝั่งคาบสมุทรมลายูเป็ นจุดเริม ่ ต้นของประวัตศ ิ าสตร์มาเ
ลเซีย

ภาพวาดเมืองมะละกาช่วงปี 1750
พงศาวดารมลายูกล่าวว่ากษัตริย์ปรเมศวรเป็ นผูต้ ง้ ั ชือ
่ เมืองนี้ตามชือ
่ ต้นม
ะละกา ( A Malaka tree-ต้นมะขามป้ อม)
ซึง่ ในขณะทีพ
่ ระองค์ทรงผักผ่อนใต้รม่ ต้นไม้นี้
ได้ทอดพระเนตรเห็นกระจงหันเตะสุนข ั ล่าสัตว์ แสดงให้เห็นว่าในพื้นทีน ่ ี้
แม้แต่สตั ว์ก็ยงั มีเลือดนักสู้
จึงนับเป็ นลางทีด ่ ที ท
ี่ าให้พระองค์ตดั สินใจตัง้ หลักปักฐานทีน ่ ี่
และสร้างมะละกาให้กลายเป็ นอาณาจักรชายฝั่งทะเลทีร่ ุ่งเรืองต่อมา
อีกคาสันนิษฐานหนึ่งกล่าวว่ามะละกามาจากคาอาหรับทีว่ า่ มะละกัด
(Malakat) หรือศูนย์กลางการค้าอันเป็ นชือ ่ ทีพ่ อ
่ ค้ามักใช้เรียกเกาะวอเตอร์
(Water Island)ทีอ ่ ยูใ่ กล้ๆนานแล้ว
มะละกาจุดเริม ่ ต้นประวัตศ ิ าสตร์ของมาเลเซีย[แก้ไขต้นฉบับ]
้ ประมาณ ค.ศ. 1400
มะละกาเป็ นเมืองท่าสาคัญ ก่อตัง้ ขึน
่ นช่องแคบมะละกาซึง่ คร่อมเส้นทางการค้าสาคัญทางทะเลจากตะวันออ
ตัง้ อยูบ
กสูต ่ ะวันตก ระหว่างสองเมืองสาคัญอย่างจีนกับอินเดีย
ถือเป็ นท่าเรือทีด
่ เี พราะไม่มีป่าโกงกาง
น้าลึกพอให้เรือเทียบท่าและมีเกาะสุมาตราเป็ นทีก ่ าบังพายุ
การเมืองการปกครอง[แก้ไขต้นฉบับ]
มาเลเซียมีการปกครองแบบสหพันธรัฐ
มีรฐั บาลกลางทาหน้าทีด ่ แ
ู ลเรือ
่ งสาคัญๆ เช่น การต่างประเทศ
การป้ องกันประเทศ ความมั่นคง ตุลาการ การคลัง และอืน ่ ๆ
ขณะทีใ่ นแต่ละรัฐมีรฐั บาลของรัฐดูแลด้านศาสนา ประเพณี สังคม
เกษตรกรรม การคมนาคมภายในรัฐ บางรัฐเช่นกลันตัน
มีระบบราชการในรูปแบบของตนเอง
นอกจากนี้ในแต่ละรัฐจะมีสภาแห่งรัฐทีม ่ าจากการเลือกตัง้ ทุกๆ 4 ปี
เหมือนกันหมด
ประมุข[แก้ไขต้นฉบับ]
สมเด็จพระราชาธิบดีเป็ นประมุขอยูภ ่ ายใต้รฐั ธรรมนูญ
มาจากการเลือกตัง้ สุลต่าน 9 รัฐ ได้แก่ ยะโฮร์ ตรังกานู ปะหัง เซอลาโงร์
เกอดะฮ์ กลันตัน เนอเกอรีเซิมบีลน ั เประก์ และปะลิส
้ ดารงตาแหน่ ง วาระละ 5 ปี ส่วนอีก 4 รัฐ คือ ปี นัง
ผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนขึน
มะละกา ซาบะฮ์ และซาราวะก์ ไม่มีสุลต่านปกครอง
ตามปกติสุลต่านทีม
่ ีอาวุโสสุงสุดจะได้รบ
ั เลือก
โดยต้องได้เสียงมากกว่าครึง่ หนึ่ง นอกจากนี้ยงั อาจได้รบ
ั เลือกเข้ามาเป็ นสมัยที่
2 อีกได้ หากสุลต่านจากรัฐอืน่ ๆ ได้ดารงตาแหน่ ง ยัง ดี เปอร์ตวน
อากงเรียบร้อยแล้ว
อานาจส่วนใหญ่ของ ยังดีเปอร์ตวน อากง เกีย่ วข้องกับพิธีการต่างๆ
นอกจากนัน ้ มีอานาจในทางบริหาร และนิตบ ิ ญ ั ญัติ คือ
กฎหมายทีอ ่ อกมาจะต้องประกาศใช้ ถูกยับยัง้ หรือ
ได้รบ
ั การแก้ไขในนามพระองค์ มีอานาจเกีย่ วกับการกาหนดสมัยประชุมสภา
แต่งตัง้ หัวหน้าพรรคการเมืองทีม่ ีเสียงข้างมาก หรือทีส
่ ามารถจัดตัง้ รัฐบาลได้
ให้ดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรี มีอานาจอภัยโทษ
แต่งตัง้ ประธานศาลและผูพ ้ พ
ิ ากษาตามคาแนะนาของนายกรัฐมนตรีหรือคณะ
รัฐบาล นอกจากนี้ยงั สามารถประกาศภาวะฉุ กเฉิน พอเสียชีวต ิ
โดยถ้ารัฐบาลเห็นว่ามีความจาเป็ น ยังดี เปอร์ตวน อากง
จะเป็ นผูป ้ ระกาศพระบรมราชโองการ
และเมือ ่ ประกาศใช้แล้วจะไม่มีพระบรมราชโองการใดมาเปลีย่ นแปลงได้
ฝ่ ายบริหาร[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ รัฐบาลมาเลเซีย
นายกรัฐมนตรีเป็ นผูน
้ าสูงสุด
มาจากหัวหน้าพรรคการเมืองทีส ่ มาชิกได้รบ ั เลือกเข้ามานั่งในสภามากทีส ่ ุด
หรืออาจเป็ นหัวหน้าพรรคทีเ่ ป็ นแกนนาในสภาผูแ ้ ทนราษฎร ทัง้ นี้ ยัง ดี-
เปอร์ตวน อากง จะเป็ นผูแ ้ ต่งตัง้ ผูท
้ จี่ ะมาเป็ นนายกรัฐมนตรี
ต้องเป็ นพลเมืองของสหพันธรัฐโดยกาเนิดเท่านัน ้
และต้องเป็ นสมาชิกสภาผูแ ้ ทนราษฎร
นายกรัฐมนตรีสามารถแต่งตัง้ บุคคลเข้าดารงตาแหน่ งผูบ ้ ริหารระดับสุงสุดในร
ะบบราชการ
รวมทัง้ มีหน้าทีถ
่ วายคาแนะนาชี้แจงนโยบายการปกครองและการบริหารรัฐให้
แก่ ยัง ดี-เปอร์ตวน อากง
ส่วนรองหัวหน้าพรรคจะได้รบ ั ตาแหน่ งรองนายกรัฐมนตรีไปด้วย
ถือเป็ นผูม
้ ีอานาจรองจากนายกรัฐมนตรีและเป็ นบุคคลทีจ่ ะสืบทอดอานาจต่อจ
ากนายกรัฐมนตรี
ภายใต้การนาของนายกรับมนตรี
มีกลุม ่ ผูท
้ าหน้าทีบ
่ ริหารราชการแผ่นดินคือคณะรัฐมนตรี
โดยมีการเลือกรัฐมนตรีกระทรวงต่าง ๆ เอาจากสมาชิกสภาผูแ ้ ทนราษฎร
ซึง่ ด้วยระบบการเมืองของมาเลเซียทีม ่ ีพรรคร่วมรัฐบาลจานวนมาก
อีกทัง้ หลายพรรคตัง้ ขึน ้ มาโดยอาศัยเชื้อชาติ ศาสนา
การเลือกสรรบุคคลจึงเป็ นเรือ ่ งยากเพราะต้องคานึงถึงอัตราส่วนตัวแทนพรรค
และตัวบุคคลว่าจะทางานร่วมกันกับตัวแทนของเชื้อชาติอืน ่ ๆได้หรือไม่
ฝ่ ายนิตบ
ิ ญ
ั ญัต[ิ แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ เดวัน เนกรา และ เดวัน รักยัต
องค์กรทีม่ ีอานาจหน้าทีด
่ า้ นนิตบ
ิ ญ
ั ญัตข
ิ องมาเลเซียคือรัฐสภา
รัฐสภาจะทาหน้าพิจารณากฎหมายต่างๆ และทาการแก้ไขกฎหมายทีม ่ ีอยู่
รวมถึงตรวจสอบนโยบายของรัฐบาล
กฎหมายต่างๆทีอ ่ อกโดยรัฐสภาของมาเลเซียประกอบด้วยสองสภาได้แก่
1.เดวัน รักยัต (Dewan Rakyat) หรือสภาผูแ ้ ทนราษฎรมีสมาชิก 222
คนมาจากการเลือกตัง้ ทั่วไป โดยจะมีการเลือกตัง้ ทุก 5 ปี 2.เดวัน เนกรา
(Dewan Negara) หรือวุฒส ิ ภา มีสมาชิก 70 คน โดยเลือกตัง้ สมาชิกก 26
คนมาจาก ทัง้ 13 รัฐ รัฐละ 2 คน ส่วนอีก 44 คนมาจากการแต่งตัง้ โดย ยัง ดี-
เปอร์ตวน อากง ภายใต้คาแนะนาของนายกรัฐมนตรี อยูใ่ นตาแหน่ งคราวละ 3
ปี อานาจทางการเมืองจะอยูก ่ บั เดวัน รักยัต ในขณะที่ เดวัน
เนกรามีอานาจยับยัง้ กฎหมายต่างๆ ได้
่ เป็ ยการถ่วงดุลอานาจซึ่งกันและกัน
เพือ
พรรคการเมือง[แก้ไขต้นฉบับ]
ฝ่ ายตุลาการ[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ กระบวนการยุตธิ รรมในประเทศมาเลเซีย
สถาบันทางตุลาการทัง้ ประเทศยกเว้นศาลอิสลาม
อยูภ
่ ายใต้ระบบสหพันธรัฐ อานาจตุลาการเป็ นอิสระมาก
ปราศจากการควบคุมหรือแทรกแซงโดยฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายนิตบ
ิ ญ
ั ญัติ
สถาบันตุลาการสูงสุดหรือศาลฎีกา
ทาหน้าทีร่ บ ั ข้อพิจารณาเรือ ่ งอุทธรณ์ จากการตัดสินของศาลรัฐธรรมนูญ
รวมถึงคอยไกล่เกลีย่ ความขัดแย้งระหว่างรัฐกับรัฐด้วย
จากศาลสูงสุดไล่ลงมาเป็ นขัน ้ ๆ จนถึงระดับท้องถิน ่ มีศาลประเภทต่างๆ
ทีป
่ ระชาชนสามารถร้องเรียนเพือ ่ ขอความเป็ นธรรมได้
ถ้าเป็ นปัญหาเกีย่ วกับศาสนาและวัฒนธรรมจะมีศาลอิสลามและศาลของชนพื้น
เมืองเป็ นฝ่ ายพิจารณา นอกจากนี้ยงั มีศาลประเภทอืน ่ ๆ เช่น ศาลสูง
(ศาลรองจากศาลสูงสุด) ศาลเฉพาะ (ศาลทีท ่ าคดีอาญามีโทษจาคุกไม่เกิน 7 ปี
กับศาลแพ่งทีต ่ อ
้ งคืนทรัพย์ไม่เกิน 2 หมืน ่ ริงกิต) ศาลแขวง
(ศาลทีท ่ าหน้าทีพ ่ จิ ารณาคดีอาญาและคดีแพ่งทีม ่ ีโทษสถานเบา) ศาลท้องถิน

(ศาลทีท ่ าหน้าทีพ ่ จิ ารณาคดีทมี่ ีการกระทาความผิดเล็กน้อย เน้นการรอมชอม)
ศาลเด็ก (ศาลทีพ ่ จิ ารณาคดีของบุคคลทีอ ่ ายุต่ากว่า 18 ปี ) เป็ นต้น

(สีน้าเงิน) รัฐ
ปะลิส เกอดะฮ์ ปี นัง กลันตัน ตรังกานู เประก์ เซอลาโงร์
เนอเกอรีเซิมบีลน
ั มะละกา ยะโฮร์ ปะหัง
ซาราวะก์ ซาบะฮ์ ลาบวน กัวลาลัมเปอร์ ปูตราจายา มาเลเซียตะวันตก
มาเลเซียตะวันออก
(สีแดง) ดินแดนสหพันธ์
ทะเลจีนใต้
ช่องแคบ
มะละกา
อ่าวไทย
ทะเลซูลู
ทะเลเซเลบีส
ประเทศบรูไน
ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศไทย
ประเทศมาเลเซียเป็ นประเทศสหพันธรัฐ แบ่งเขตการปกครองออกเป็ น
13 รัฐ และ 3 ดินแดนสหพันธ์[4] โดย 11 รัฐ กับ 2 ดินแดนสหพันธ์
อยูใ่ นมาเลเซียตะวันตก และอีก 2 รัฐ กับ 1 ดินแดนสหพันธ์
อยูใ่ นมาเลเซียตะวันออก แต่ละรัฐแบ่งเป็ นเขต แต่ละเขตแบ่งเป็ นมูกม
ิ (muki
m) ในรัฐซาบะฮ์และรัฐซาราวะก์ เขตในรัฐจะถูกจัดกลุม ่ โดยบาฮาเกียน
(ภาษามลายู: Bahagian, อังกฤษ: division) [5]

ดินแดนสหพันธ์เป็ นดินแดนทีร่ ฐั บาลกลางปกครองโดยตรง


ได้แก่ กัวลาลัมเปอร์ (เมืองหลวง), ปูตราจายา (เมืองราชการ)
และลาบวน (ศูนย์กลางทางการเงินระหว่างประเทศนอกชายฝั่ง)
โดยทัง้ กัวลาลัมเปอร์และปูตราจายาอยูใ่ นพื้นทีร่ ฐั เซอลาโงร์
ส่วนลาบวนอยูใ่ กล้รฐั ซาบะฮ์

ด•พ•ก

เมืองใหญ่ทส
ี่ ุดในมาเลเซีย
จากการสารวจสามะโนครัวประชากรในปี พ.ศ
ที่ เมือง รัฐ ประชากร (คน) ที่ เมือ
1 กัวลาลัมเปอร์ ดินแดนสหพันธ์ 1,674,621 11 มะละกา
2 ยะโฮร์บาห์รู รัฐยะโฮร์ 1,386,569 12 โกตาบารู
3 กาจัง รัฐเซอลาโงร์ 795,522 13 โกตากีนาบ
กัวลาลัมเปอร์ 4 อีโปะฮ์ รัฐเประก์ 767,794 14 กวนตัน
5 กลัง รัฐเซอลาโงร์ 744,062 15 ซูไงปตานี
6 ซูบงั จายา รัฐเซอลาโงร์ 708,296 16 บาตูปาฮัต
7 กูชงิ รัฐซาราวะก์ 617,887 17 ตาเวา
ยะโฮร์บาห์รู 8 เปอตาลิงจายา รัฐเซอลาโงร์ 613,977 18 ซันดากัน
9 เซอเร็มบัน รัฐเนอเกอรีเซิมบีลน
ั 555,935 19 อลอร์สตาร
10 จอร์จทาวน์ รัฐปี นัง 520,202 20 กัวลาเตอเร

ต่างประเทศ[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ได้
ความสัมพันธ์กบ
ั ราชอาณาจักรไทย[แก้ไขต้นฉบับ]
มีการเสนอว่า
บทความนี้หรือส่วนนี้ควรแยกเป็ นบทความใหม่ชือ
่ ควา
มสัมพันธ์มาเลเซีย–ไทย (อภิปราย)
ภาพรวมความสัมพันธ์ท่วั ไป[แก้ไขต้นฉบับ]
ไทยสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตกับมาเลเซียเมือ ่ วันที่ 31 สิงหาคม
2500 และมีสถานเอกอัครราชทูต ณ กัวลาลัมเปอร์ เอกอัครราชทูต ณ
กัวลาลัมเปอร์ คนปัจจุบน ั คือ นายกฤต ไกรจิตติ
ซึง่ เดินทางไปรับหน้าทีเ่ มือ
่ วันที่ 2 เดือนตุลาคม 2555 นอกจากนี้
ไทยยังมีสถานกงสุลใหญ่ในมาเลเซีย 2 แห่ง ได้แก่ (1) สถานกงสุลใหญ่ ณ
เมืองปี นัง และ (2) สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองโกตาบารู
สาหรับส่วนราชการและหน่ วยงานต่าง ๆ ของไทย
ซึง่ ตัง้ สานักงานในมาเลเซียได้แก่ สานักงานผูช ้ ว่ ยทูตฝ่ ายทหารทัง้ สามเหล่าทัพ
สานักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ สานักงานแรงงาน
และสานักงานประสานงานตารวจ สานักงานการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย
บริษท ั การบินไทย จากัด (มหาชน) ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) มาเลเซีย
มาเลเซียมีสถานเอกอัครราชทูตมาเลเซียประจาประเทศไทย
และเอกอัครราชทูตมาเลเซียประจาประเทศไทย ได้แก่ ดาโต๊ะ นาซีระห์ บินตี
ฮุสซัยน์ ซึง่ เข้ารับตาแหน่ งเมือ
่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2554
และมีสถานกงสุลใหญ่มาเลเซียประจาจังหวัดสงขลา
และกงสุญใหญ่มาเลเซียประจาจังหวัดสงขลา ได้แก่ นายไฟซัล แอต มุฮม ั มัด
ไฟซัล บิน ราซาลี ซึง่ เข้ารับตาแหน่ งเมือ
่ วันที่ 21 สิงหาคม 2555
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียแบ่งออกเป็ น 2 ด้านหลัก ได้แก่
(1) การดาเนินความร่วมมือภายใต้กลไกต่าง ๆ ทีม ่ ีอยู่ อาทิ
คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคีระหว่างไทยกับมาเลเซีย
(Joint Commission : JC)
คณะกรรมการว่าด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาร่วมสาหรับพื้นทีช ่ ายแดน (Joint
Development Strategy : JDS) คณะกรรมการด้านความมั่นคง ได้แก่
คณะกรรมการชายแดนทั่วไป (General Border Committee : GBC)
คณะกรรมการระดับสูง (High Level Committee : HLC)
และคณะกรรมการชายแดนส่วนภูมภ ิ าค (Regional Border Committee :
RBC) ซึ่งทัง้ 3
ระดับเป็ นกรอบความร่วมมือของฝ่ ายทหารเพือ ่ แลกเปลีย่ นข้อมูลข่าวสารด้าน
ความมั่นคง และความร่วมมือชายแดน
คณะกรรมการด้านความมั่นคงกรอบอืน ่ ๆ เฉพาะเรือ ่ ง อาทิ
คณะกรรมการร่วมด้านการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด
และความร่วมมือในกรอบ Indonesia-Malaysia-Thailand Growth
Triangle (IMT-GT) และอาเซียน และ (2)
ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในพื้นทีจ่ งั หวัดชายแดนภาคใต้
ซึง่ ประกอบด้วยการเสริมสร้างความมั่นคงในพื้นทีช ่ ายแดนร่วมกัน
การร่วมกันพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวต ิ ของประชาชนในพื้นทีช ่ ายแดนข
องทัง้ สองประเทศและการเสริมสร้างมาตรการสร้างความไว้วางใจ
(Confidence Building Measures) บนพื้นฐานของกรอบ 3Es ได้แก่
การศึกษา (Education) การจ้างงาน (Employment)
และการประกอบกิจการ (Entrepreneurship)
ความสัมพันธ์ดา้ นการเมือง[แก้ไขต้นฉบับ]
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับมาเลเซียมีพลวัตร
รวมทัง้ ตัง้ อยูบ
่ นผลประโยชน์รว่ มกัน โดยทัง้ สองฝ่ ายตระหนักถึงการมี
“จุดมุง่ หมาย” ร่วมกัน
โดยให้ความสาคัญกับการส่งเสริมความร่วมมือทวิภาคีเพือ ่ สนับสนุนความเชือ

มโยงในอาเซียนทัง้ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
การอานวยความสะดวกด้านการเดินทางและความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน
ความสัมพันธ์ดา้ นความมั่นคง[แก้ไขต้นฉบับ]
กองทัพไทยกับมาเลเซียมีการฝึ กทางทหารระหว่างกันเป็ นประจา ได้แก่
(1) LAND EX THAMAL ซึง่ เป็ นการฝึ กประจาปี เริม
่ เมือ่ ปี 2536 (2)
THALAY LAUT ซึ่งมีการฝึ กครัง้ แรกเมือ ้ ทุก 2 ปี
่ ปี 2523 จัดขึน
โดยไทยกับมาเลเซียสลับกันเป็ นเจ้าภาพ (3) SEA EX THAMAL เริม ่ เมือ
่ ปี
2522 มีพื้นทีฝ ่ ึ กบริเวณพื้นทีป ่ ฏิบตั ก
ิ ารร่วมชายแดนทางทะเลระหว่างไทย-
มาเลเซียทัง้ ด้านอ่าวไทยและทะเลอันดามัน (4) AIR THAMAL
เป็ นการฝึ กการปฏิบตั ก ิ ารทางอากาศยุทธวิธีตามบริเวณชายแดนไทย-มาเลเซีย
ตัง้ แต่ปี 2525 โดยทาการฝึ กทุกปี
ประกอบด้วยการฝึ กภาคสนามสลับกับการฝึ กปัญหาทีบ ่ งั คับการ
และสลับกันเป็ นเจ้าภาพ และ (5) JCEX THAMAL
เป็ นการฝึ กร่วม/ผสมภายใต้กรอบการปฏิบตั ก ิ ารทางทหารนอกเหนือจากสงคร
ามในการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบตั ิ
และการช่วยเหลือประชาชน
อนึ่ง เมือ ่ วันที่ 3 - 7 มีนาคม 2555
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงกลาโหมมาเลเซียและผูบ ้ ญ
ั ชาการทหารสูงสุดมาเลเซี
ยเดินทางเยือนไทยอย่างเป็ นทางการ
เพือ ่ เข้าร่วมพิธีเปิ ดงานแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์ ทางทหารและเทคโนโลยีดา้ นกา
รรักษาความปลอดภัยประจาปี 2555
ซึง่ จัดขึน ้ ทีศ ่ ูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพค เมืองทองธานี
มและเมือ ่ วันที่ 17-19 เมษายน 2555
รองผูบ ้ ญั ชาการทหารบกและผูแ ้ ทนระดับสูงจากกระทรวงกลาโหมได้เดินทางเ
ยือนมาเลเซียเพือ ่ เข้าร่วม Defence Services Asia – DSA 2012) ครัง้ ที่
13 และมาเลเซียได้เป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการระดับสูงไทย -
มาเลเซีย (HLC) ครัง้ ที่ 28 ระหว่างวันที่ 14 - 16 พฤษภาคม 2555
ทีก ่ วั ลาลัมเปอร์ โดยมีผบ ู้ ญ
ั ชาการทหารสูงสุดของทัง้ สองฝ่ ายเป็ นประธานร่วม
ความสัมพันธ์ดา้ นเศรษฐกิจ[แก้ไขต้นฉบับ]
การค้า
ในปี 2554 มาเลเซียเป็ นคูค ่ า้ อันดับที่ 4
การค้ารวมระหว่างไทยกับมาเลเซียมีมูลค่า 24,724.8 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(749,626.68 ล้านบาท) ไทยส่งออก 12,398.75 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
(373,606.62 ล้านบาท) และนาเข้า 12,326.06
ล้านดอลลาร์สหรัฐ(376,020.05 ล้านบาท) โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า
72.69 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (เสียเปรียบดุลการค้าเนื่องจากอัตราแลกเปลีย่ น
2,4613.43 ล้านบาท) เพิม ้ ร้อยละ 16.10
่ ขึน
เมือ
่ เปรียบเทียบกับมูลค่าการค้ารวมปี 2553
การค้าชายแดนระหว่างไทยกับมาเลเซียมีมูลค่า 18,688.49
ล้านดอลลาร์สหรัฐ (560,654.99 ล้านบาท) โดยไทยได้เปรียบดุลการค้า
6,602.44 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (198,073.34 ล้านบาท) ทัง้ นี้
การค้าชายแดนประกอบเป็ นสัดส่วนร้อยละ 74
ของการค้ารวมระหว่างไทยกับมาเลเซีย
สินค้าส่งออกของไทยไปมาเลเซีย ได้แก่ ยางพารา คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ และส่วนประกอบรถยนต์อุปกรณ์ และส่วนประกอบ น้ามันสาเร็จรูป
แผงวงจรไฟฟ้ า เคมีภณ ั ฑ์ ผลิตภัณฑ์ยาง
เครือ
่ งจักรและส่วนประกอบของเครือ ่ งจักรกล เม็ดพลาสติก เหล็ก
เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ สินค้าทีไ่ ทยนาเข้าจากมาเลเซียประกอบด้วย
น้ามันดิบ เครือ ่ งคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบ เคมีภณ ั ฑ์
เครือ่ งจักรไฟฟ้ าและส่วนประกอบ สือ ่ บันทึกข้อมูล ภาพ เสียง แผงวงจรไฟฟ้ า
เครือ ่ งจักรกลและส่วนประกอบ เครือ ่ งใช้ไฟฟ้ าในบ้าน น้ามันสาเร็จรูป
สินแร่และโลหะอืน ่ ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์
การลงทุน
ในปี 2554 มาเลเซียลงทุนในไทยจานวน 34 โครงการ มีมูลค่า 6,135
ล้านบาท โดยส่วนใหญ่เป็ นการลงทุนในสาขาการบริการยานยนต์ การเกษตร
และอิเล็กทรอนิกส์ ทัง้ นี้
ได้รบ ั การอนุมตั จิ ากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน จานวน 21
โครงการ คิดเป็ นมูลค่า 3,863 ล้านบาท
มาเลเซียสนใจมาลงทุนในอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์และอิเล็กทรอนิกส์
การแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ามัน
เนื่องจากมาเลเซียมีศกั ยภาพในการลงทุน
และการลงทุนในไทยจะช่วยลดต้นทุนการผลิตเนื่องจากไทยมีแรงงานและอุตส
าหกรรมสนับสนุนทีด ่ ก
ี ว่ามาเลเซีย ทัง้ นี้ Malaysia Industrial
Development Authority (MIDA)
อนุมตั ส ิ ง่ เสริมการลงทุนในโครงการทีม ่ ีภาคการลงทุนของไทยลงทุนด้วยจานว
น 3 โครงการ มีมูลค่า 2,415 ล้านบาท
นักลงทุนไทยทีส ่ นใจไปลงทุนในมาเลเซียได้แก่ บริษท ั เครือเจริญโภคภัณฑ์
กลุม่ บริษท ั ไทยซัมมิท เครือซีเมนต์ไทย กลุม ่ บริษท
ั สามารถ
และร้านอาหารไทย
การท่องเทีย่ ว
ในปี 2554
มีนกั ท่องเทีย่ วจากมาเลเซียเดินทางมาประเทศไทยมากเป็ นอันดับหนึ่งจานวน
2.47 ล้านคน ขณะทีม ่ ีนกั ท่องเทีย่ วไทยไปมาเลเซียจานวน 1.52 ล้านคน
แรงงานไทย
ปัจจุบน
ั มีแรงงานไทยในมาเลเซียประมาณ 210,000 คน
โดยเป็ นแรงงานถูกกฎหมายประมาณ 6,600 คน ทัง้ นี้ ในปี 2553
มีแรงงานต่างชาติทที่ างานอย่างถูกต้องตามกฎหมายในมาเลเซียจานวน
458,698 คน โดยแรงงานจากอินโดนีเซียจัดเป็ นลาดับหนึ่ง ร้อยละ 55.81
และแรงงานไทยจัดอยูใ่ นลาดับ 9 ร้อยละ 1.45
มาเลเซียมีความต้องการแรงงานไทยสาขาก่อสร้าง งานนวดแผนไทย
งานบริการ การเกษตรชายแดน อุตสาหกรรมและงานแม่บา้ น ทัง้ นี้
รัฐบาลมาเลเซียไม่มีการกาหนดอัตราค่าจ้างขัน ้ บังคับใช้
้ ต่าขึน
้ อยูก
ค่าจ้างขึน ่ บ
ั การตกลงระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
ไทยกับมาเลเซียมีความร่วมมือด้านแรงงานในกรอบคณะทางานร่วมด้านควา
มร่วมมือแรงงานภายใต้คณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความร่วมมือทวิภาคี
(JC) ไทย-มาเลเซีย
ความสัมพันธ์ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม[แก้ไขต้นฉบับ]
ชาวไทยทีอ ่ าศัยอยูใ่ นมาเลเซียประกอบด้วย (1)
กลุม ่ แรงงานไทยในร้านต้มยาของมาเลเซีย (ร้านอาหารไทย) จานวนมากกว่า
10,000 คน และ (2) กลุม ่ นักเรียนทุนรัฐบาลมาเลเซีย
ซึง่ ศึกษาระดับมัธยมต้น -
มัธยมปลายในโรงเรียนสอนศาสนาของรัฐบาลมาเลเซียจานวน 350 คน
นอกจากนี้ ยังมีกลุม ่ คนมาเลเซียเชื้อสายสยาม
ซึง่ เป็ นกลุม
่ คนทีม ่ ีบรรพบุรุษเป็ นชาวไทยอาศัยอยูใ่ น 4
มณฑลในภาคใต้ตอนล่างของสยาม เนื่องจากเมือ ่ ปี 2452
รัฐบาลสยามตกลงมอบ 4
มณฑลให้อยูภ ่ ายใต้การปกครองของอังกฤษกับการให้องั กฤษยอมรับอธิปไตย
ของสยามในส่วนอืน ่ ของประเทศ
คนเหล่านี้จงึ ตกค้างและกลายเป็ นพลเมืองของมาเลเซียในปัจจุบน ั
คนสยามดังกล่าวมีการสืบทอดวัฒนธรรมไทย เช่น ประเพณีสงกรานต์
ลอยกระทง เข้าพรรษา ออกพรรษา กฐิน
และใช้ภาษาไทยเป็ นภาษาสือ ่ สารในท้องถิน่
ความร่วมมือทางวิชาการ[แก้ไขต้นฉบับ]
ไทยและมาเลเซียมีความร่วมมือทางวิชาการภายใต้บน ั ทึกความเข้าใจว่าด้
วยความร่วมมือด้านการศึกษาระหว่างไทยกับมาเลเซีย ลงนามเมือ ่ 21
สิงหาคม 2550
และบันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านอุดมศึกษาระหว่างไทยกับมาเล
เซีย ลงนามเมือ ่ 19 มกราคม 2554
ซึง่ ดาเนินความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาของไทยและมาเลเซีย
การแลกเปลีย่ นบุคลากรทางการศึกษา และการให้ทุนการศึกษา นอกจากนี้
ทัง้ สองฝ่ ายยังมีความร่วมมือระหว่างสถาบันวิชาการไทย - มาเลเซีย
(Thailand-Malaysia Think Tank and Scholar Network)
โดยมีศน ู ย์ดเิ รก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
Institute of Strategic and International Studies
ของมาเลเซียเป็ นผูป ้ ระสานงานหลัก
กองทัพ[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ กองทัพมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
กองกาลังกึง่ ทหาร[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ได้
เศรษฐกิจ[แก้ไขต้นฉบับ]
โครงสร้าง[แก้ไขต้นฉบับ]
ตัง้ แต่สมัยอาณานิคม การส่งออกดีบุก ยางพารา
และน้ามันปาล์มก็เป็ นตัวขับเคลือ ่ นเศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียมาโดยตลอ
ดเจ้าของธุรกิจส่วนใหญ่เป็ นชาวจีน ได้รบ ั การส่งเสริมจากรัฐบาลอาณานิคม
รวมทัง้ ชาวยุโรปด้วย เมือ ่ ถึงสมัยสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ (ค.ศ. 1939-1945)
ญีป ่ ุ่ นยกพลขึน ้ บกพร้อมควบคุมประเทศ อุตสาหกรรมดีบุก
ยางพาราและนามันปาล์มต่างซบเซาลง
โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยางพารายังต้องแข่งกันกับยางสังเคราะห์ทเี่ ติบโตขึน ้ ใ
นช่วงสงคราม อย่างไรก็ตามเมือ ่ สงครามสิน ้ สุด
ทัง้ ยางพาราและน้ามันปาล์มก็กลับมาเป็ นสินค้าส่งออกสาคัญ
ยางธรรมชาติได้รบ ั การพิสูจน์วา่ ดีกว่ายางสังเคราะห์
แม้วา่ สวนยางจะประสบความยุง่ ยากบ้างในช่วงทีม ่ ลายาประกาศสถานการณ์ ฉุ
กเฉินในปี ค.ศ. 1948 - 1960
ส่วนปาล์มก็มีการปลูกไปทั่วในช่งวกลางทศวรรษ 1950
ทัง้ ยังมีเงินทุนหลั่งไหลเข้ามา
พร้อมๆกับเป็ นช่วงทีต ่ ลาดการค้าโพ้นทะเลเฟื่ องฟู
ทาให้มาเลเซียกลายเป็ นผูผ ้ ลิตน้ามันปาล์มทีใ่ หญ่ทส ี่ ุดของโลกในช่วงนัน

ต่างกับดีบุกทีม ่ ีการส่งออกมาตรการประหยัดการใช้ดบ ี ุก
ส่งผลให้ราคาดีบุกขึน ้ ๆ ลงๆ จนผลสุดท้ายอุตสาหกรรมนี้ลดความสาคัญลงไป
นอกจากนี้สน ิ ค้าส่งออกทีส ่ าคัญขณะนัน ้ ยังได้แก่
ไม้ซุงจากเกาะบอร์เนียวเหนือ และพืชเชิงพานิชย์ตา่ งๆ เช่น เนื้อมะพร้าวแห้ง
ปอมะนิลา โกโก้
อาคาร เปโตรนาสทาวเวอร์ซึ่งถือว่าเป็ นอาคารแฝดทีส
่ ูงทีส
่ ุดในโลก
และยังเป็ นตึกสานักงานของ บริษท ั เปรโตรนาส
ซึง่ ถือว่าเป็ นบริษท
ั น้ามันของมาเลเซีย
การกาหนดแนวทางเศรษฐกิจเพือ ่ สร้างความเจริญเติบโตของประเทศไป
พร้อมกับการแก้ปญ ั หาสังคมและการเมืองถูกกาหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิ
จ ซึง่ มีขน
ึ้ ตัง้ แต่ยงั เป็ นสหพันธ์มลายาฉบับแรกๆ (ช่วงปี ค.ศ. 1956 - 1960)
เน้นการสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจ
พยายามผลักดันอุตสาหกรรมในประเทศเพือ ่ ทดแทนการนาเข้าแต่ไม่คอ
่ ยได้ผ
ล เพราะตลาดการค้าในประเทศยังเล็กมาก
นอกจากนี้ยงั มีเรือ ่ งการลดความเหลือ ่ มลา้ ทางเศรษฐกิจระหว่างกลุม
่ ชาติพน
ั ธุ์ต่
างๆ โดยพยายามทาให้รายได้กระจายไปสูป ่ ระชากรอย่างทั่วถึง
ให้ทุกคนมีงานทา
ปัญหาทางเศรษฐกิจทีส ่ าคัญของประเทศมาเลเซีย ได้แก่
การว่างงานและความยากจน โดยเฉพาะกลุม ่ ชาวมลายูในชนบท
รัฐบาลจึงพยายามพัฒนาทีด ่ นิ และสร้างสิง่ อานวยความสะดวก เช่น
ถนนหนทาง โรงเรียน สถานพยาบาล ระบบชลประทาน
แต่ก็ชว่ ยแก้ปญั หาได้ระดับหนึ่งเท่านัน ้
ในขณะทีช ่ าวจีนซึ่งถือว่าเป็ นคนมาอยูใ่ หม่ ไม่ใช่เจ้าของทีก
่ ลับขยันขันแข้ง
เข้ามาหักร้างถางพง และมีฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าชาวมลายูทอ ี่ ยูม
่ าก่อน
ความเหลือ ่ มลา้ ทางเศรษฐกิจระหว่างชาวมลายูกบ ั ชาวจีนขณะนัน ้
ทาให้บางคนถึงกับคิดว่าในอนาคตชาวจีนจะควบคุมประเทศ
ในขณะทีช ่ าวมลายูจะถูกไล่เข้าป่ าดงดิบซึ่งถือเป็ นส่วนหนึ่งทีน
่ าไปสูค
่ วามขัดแ
ย้งทางเชื้อชาติ
หลังจากได้รบ ั เอกราชในปี ค.ศ. 1957
เศรษฐกิจของมาเลเซียก็เติบโตขึน ้
แล้วเริม ่ เปลีย่ นจากการทาดีบุกกับยางพาราเป็ นหลักไปเป็ นทาอุตสาหกรรมทีห ่
ลากหลายและทันสมัยมากขึน ้ แต่ก็ยงั มีปญ ั หาใหญ่ทค ี่ ก ุ คามเศรษฐกิจคือ
ปัญหาความขัดแย้งทางเชื้อชาติซงึ่ เกิดปะทุขน ึ้ รุนแรงจนนาไปสูจ่ ลาจลในเดือ
นพฤษภาคม ค.ศ. 1969
รัฐบาลซึ่งขณะนัน ้ นาโดยพรรคอัมโนจึงคิดนโยบายเศรษฐกิจใหม่ (New
Economic Policy-NEP) ออกมาแก้ปญ ั หา นาออกมาใช้ครัง้ แรกเมือ ่ ปี
ค.ศ. 1970 โดยเนื้อหาสาคัญคือ ให้สท ิ ธิพเิ ศษแก่พวก "ภูมบ ิ ุตร"
หรือพลเมืองเชื้อสายมลายูเช่น
กาหนดสัดส่วนข้าราชการส่วนใหญ่ให้เป็ นชาวมลายู ให้สท ิ ธิการเข้าเรียน
จัดแบ่งทีอ ่ ยูอ่ าศัยและอสังหาริมทรัพย์เพือ ่ การพานิชย์ให้แก่พลเมืองเชื้อสายมล
ายูกอ ่ นพลเมืองเชื้อสายจีนหรืออินเดีย
นโยบายดังกล่าวทาให้เศรษฐกิจของมาเลเซียดีขน ึ้
สัดส่วนผูถ ้ ือหุน้ ชาวมลายูในบริษท ั ต่างๆ เพิม ่ ขึน ้
จนกระทั่งได้รบ ั ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจเอเชีย (วิกฤติตม ้ ยากุง้ )
ระหว่างปี ค.ศ. 1997-1998 ทีท ่ าให้การถือหุน ้ ตกไปอยูใ่ นมือชาวต่างชาติ
รวมทัง้ ชาวมลายูเองก็มกั ลงทุนเพือ ่ แสวงหาผลกาไรในระยะสัน ้
มีวฒ ั นธรรมการเล่นพวกพ้องทีเ่ ป็ นผลมาจากนโยบายเศรษฐกิจชาตินิยม
ช่วงนัน ้ มาเลเซียได้รูว้ ธิ ีการจัดการและกลลยุทธ์ทางเศรษฐกิจ
ซึง่ มีสว่ นช่วยให้มาเลเซียปรับตัวได้ดเี มือ ่ เกิดวิกฤติเศรษฐกิจโลกอีกครัง้ ในปี
ค.ศ. 2008-2009 โดยเศรษฐกิจมาเลเซียหดตัวเพียงเล็กน้อยเท่านัน ้
อย่างไรก็ตาม พลเมืองของประเทศมาเลเซียทัง้ เชื้อชาติมลายู
อินเดียและจีน ส่วนหนึ่งเห็นว่าควรยกเลิก NEP ไป
เพราะเป็ นนโยบายทีเ่ ลือกปฏิบตั ิ ส่วนนักลงทุนต่างชาติตะวันตกเห็นว่า NEP
มีผลเสีย เนื่องจากทาให้พวกภูมบ ิ ุตรเอาแต่รอรับความช่วยเหลือจากรัฐบาล
บ้างก็วจิ ารณ์ กน ั ว่าแท้จริงแล้ว NEP
อาจมีเพือ ่ การรักษาอานาจทางการเมืองของพรรคอัมโน
เนื่องจากเป็ นนโยบายทีอ ่ านวยผลประโยชน์ตอ ่ พลเมืองเชื้อสายมลายู
ซึง่ เป็ นสมาชิกส่วนใหญ่ของพรรค
ในปี ค.ศ. 2010 เศรษฐกิจมาเลเซียเจริญเติบโตอย่างมาก
ธนาคารของมาเลเซียมีเงินทุนทีม ่ ่น
ั คง ใช้การบริการแบบอนุรกั ษนิยม
ไม่มีนโยบายให้สน ิ เชือ
่ แก่ลูกหนี้ทม ี่ ีความเสีย่ งสูง
ซึง่ สัมพันธ์กบั วิกฤติซบ ั ไพร์ทเี่ กิดในอเมริกา
ธนาคารแห่งชาติมีนโยบายรักษาสภาพคล่องในการลงทุน
ห้ามลงทุนในสินทรัพย์ทมี่ ีความเสีย่ งสูงตามระแสการลงทุนในต่างประเทศ
ทาให้มาเลเซียเป็ นประเทศทีม ่ ีเงินทุนสารองระหว่างประเทศสูงและหนี้ตา่ งประ
เทศต่า
ในทีส
่ ุดปี ค.ศ. 2010 นายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค
ทีม
่ าจากพรรคอัมโนได้ยกเลิกข้อบังคับสิทธิพเิ ศษแก่ชาวมลายูในด้านต่างๆ
รวมถึงทางด้านเศรษฐกิจ เช่น
กาหนดให้บริษท ั ทีจ่ ะระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์จะต้องมีชาวมลายูถือหุน
้ อย่า
งน้อย ร้อยละ 30 และประกาศต้นแบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economic
Model-NEM) ซึง่ จะเป็ นพื้นฐานของนโยบายปฏิรูปเศรษฐกิจ (Economic
Transformation Program-ETP) หลักการสาคัญของ NEM ได้แก่
การเพิม่ รายได้ให้ประชาชน
กระจายรายได้และผลประโยชน์ให้ครอบคลุมทุกภาคส่วน
และให้มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน นโยบายหรือการลงทุนต่างๆภายใต้ NEM
จึงต้องคานึงถืองผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจและสิง่ แวดล้อม
มาเลเซียภายใต้การนาของนายกรัฐมนตรี นาจิบ ราซัค
มุง่ ให้ความสาคัญแก่อุตสาหกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ น้ามันชีวภาพ
เครือ ่ งสาอาง และพลาสติก อุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซพลังงานธรรมชาติ
อุตสาหกรรมภาคบริการ เกษตรกรรม พลังงานทางเลือก
รวมถึงอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ อย่าง เพลง ภาพยนตร์ ศิลปะ
และการแสดงด้วย
นอกจากนี้ยงั มีการวางแผนทีจ่ ะเป็ นศูนย์กลางของภูมภ
ิ าคในด้านเทคโนโลยีชีว
ภาพ และวิทยาศาสตร์ชีวภาพ รวมถึงเป็ นศูนย์ทางการเงินของอิสลาม

 ยุทธศาสตร์ของ NEM
เพือ่ ให้นโยบายเศรษฐกิจใหม่ของมาเลเซียบรรลุเป้ าหมาย
จึงได้มีการกาหนดยุทธศาสตร์ NEM 8 ประการขึน ้ มา ได้แก่

1. ผลักดันให้ภาคเอกชนเป็ นผูข ้ บั เคลือ


่ นการเจริญเติ
บโตทางเศรษฐกิจ
2. เพิม
่ คุณภาพของแรงงานชาวมาเลเซีย
และลดการพึง่ พาแรงงานต่างชาติ
3. ส่งเสริมการแข่งขันภายในมาเลเซีย
4. สร้างความข้มแข็งให้ระบบราชการ
5. ให้สทิ ธิพเิ ศษสาหรับผูด
้ อ
้ ยโอกาศอย่างโปร่งใส
และเป็ นมิตรกับระบบตลาด
6. สร้างความรูแ ้ ละพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
7. ส่งเสริมปัจจัยทีก
่ อ
่ ให้เกิดความเจริญเติบโตทางเศ
รษฐกิจ
8. ส่งเสริมการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน

 โครงการ FELDA จัดสรรทีด ่ น ิ แก่ชาวมลายู


เป็ นหนึ่งในโครงการทีร่ ฐั บาลทีค ่ ด ้ เพือ
ิ ขึน ่ แก้ปญ
ั หาความยากจนของชาว
มลายูในชนบท คือโครงการ FELDA (Federal Land Development
Authority) โครงการนี้จะให้ทุนแก่เจ้าของสวนยางรายย่อย
โดยจะช่วยอุดหนุนสาหรับปลูกต้นยางทีม ่ ีผลผลิตสูงและต้านทางโรคได้มาก
ในโครงการนี้ผรู้ บ ั เหมาจะต้องถางทีด ่ น ิ ระหว่าง 1,600 - 2,000
เฮกตาร์ให้โล่งแล้วปลูกยาง จากนัน ้ แบ่งทีด ่ น
ิ ออกเป็ นระหว่าง 3.2 - 4
เฮกตาร์เพือ ่ จัดสรรให้แก่ชาวมลายู
ชาวมลายูเหล่านี้จะได้รบ ั ปุ๋ ยและเงินยังชีพช่วยเหลือขึน ้ อยูก
่ บ ั ผลงานรายวันใน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
สุดท้ายแล้วค่าใช้จา่ ยในกาพัฒนาทีด ่ น ิ ต้องคืนให้แก่รฐั ภายใน 10 - 15 ปี
ซึง่ เป็ นเวลาทีย่ างพาราจะโตเต็มทีพ ่ อดี แม้แผนโครงการ FELDA
แต่สุดท้ายก็มีชาวมลายูเข้าร่วมเพียงเล็กน้อย
และบางคนยังคัดค้านโครงการนี้อีกด้วย

 มาเลเซีย
ก้าวสูค่ วามเป็ นหนึ่งในอุตสาหกรรมฮาลาล
อุตสาหกรรมอีกอย่างหนึ่งทีน ่ ่ าสนใจมากในมาเลเซีย
คืออุตสาหกรรมฮาลาล ซึง่ ไม่ได้หมายถึงอาหารอิสลามเท่านัน ้
แต่ยงั รวมไปถึงสินค้าประเภทอืน ่ เช่น ยา เครือ ่ งสาอาง ของใช้ประเภทสบู่
ยาสีฟน ั เครือ
่ งหนัง ฯลฯ และเกีย่ วข้องกับการบริการ เช่น การจัดเลี้ยง
โรงแรม การฝึ กอบรม ธนาคาร สือ ่ สารมวลชน โลจิสติกส์ และท่องเทีย่ วด้วย
มาเลเซียวางเป้ าหมายให้อุตสาหกรรมฮาลาลของตนเป็ นศูนย์กลางของโลก
โดยมีการจัดตัง้ Halal Industry Development Corporation-HDC
ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 2006
ให้เป็ นหน่ วยงานกลางในการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมฮาลาล HDC
ได้จดั ทา The Halal Industry Master Plan สาหรับปี ค.ศ. 2008 - 2020
โดยจัดแผนการดาเนินงานเป็ น 3 ระยะได้แก่ -
มุง่ เตรียมความพรอมให้มาเลเซียก้าวไปเป็ นผูน ้ าในอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล
โดย HDC จะเป็ นหน่ วยงานหลักทีช ่ ว่ ยส่งเสริม ผลักดัน
และให้การสนับสนุนการค้า การลงทุนในอุตสาหกรรมฮาลาล
และธุรกิจทีเ่ กีย่ วข้อง - มุง่ เน้นความสนใจไปทีธ่ ุรกิจส่วนประกอบอาหาร
อาหารแปรรูป และเครือ ่ งใช้สว่ นตัว ให้การพัฒนาคุณภาพ
นวัตกรรมและการทาการตลาด -
ระยะนี้จะเห็นความเปลีย่ นแปลงของอุตสาหกรรมฮาลาล
จากระดับท้องถิน ่ สูผ
่ น
ู้ าในระดับสากล รวมถึงการก่อตัง้ ศูนย์วจิ ยั
และพัฒนาเกีย่ วกับอุตสาหกรรมฮาลาล
ผดดยระยะทีส ่ ามนี้วางแผนอยูใ่ นช่วงปี ค.ศ. 2015 - 2020

 ทรัพยากรทีส ่ าคัญ ยางพารา น้ามันปาล์ม


น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ไม้สกั

 อุตสาหกรรมหลัก อิเล็กทรอนิกส์
อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร

 สินค้าส่งออกทีส
่ าคัญ ไม้
อุปกรณ์ ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ น้ามันดิบ
ก๊าซธรรมชาติเหลว ปิ โตเลียม เฟอร์นิเจอร์ ยาง
น้ามันปาล์ม

 สินค้านาเข้าทีส
่ าคัญ
ชิน
้ ส่วนไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
เครือ
่ งจักรอุตสาหกรรม สินค้าแปรรูป
สินค้าอาหาร

 ตลาดส่งออกทีส่ าคัญ สหรัฐอเมริกา สิงคโปร์ ญีป


่ ุ่ น
จีน ไทย ฮ่องกง

 ตลาดนาเข้าทีส
่ าคัญ ญีป
่ ุ่ น จีน สิงคโปร์
สหรัฐอเมริกา ไต้หวัน ไทย
การท่องเทีย่ ว[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ การท่องเทีย่ วในประเทศมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
โครงสร้างพื้นฐาน[แก้ไขต้นฉบับ]
การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้ไขต้นฉบับ]
เส้นทางคมนาคม[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
โทรคมนาคม[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
การศึกษา[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ การศึกษาในประเทศมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สาธารณสุข[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ สาธารณสุขในประเทศมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ประชากรศาสตร์[แก้ไขต้นฉบับ]
เชื้อชาติ[แก้ไขต้นฉบับ]
ประเทศมาเลเซียมีปญ ั หาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ
ในอดีตเคยเกิดสงครามกลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติ
ประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็ นชาวมลายูรอ้ ยละ 50.4
เป็ นชาวภูมบ ิ ุตร (Bumiputra) คือบุตรแห่งแผ่นดิน
รวมไปถึงชนดัง้ เดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่ง
ได้แก่กลุม ่ ชนเผ่าในรัฐซาราวะก์ และรัฐซาบะฮ์มีอยูร่ อ้ ยละ
11[6] ซึง่ ตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนัน ้
ชาวมลายูนน ้ ั คือมุสลิม และอยูใ่ นกรอบวัฒนธรรมมลายู
แต่ชาวภูมบ ิ ุตรทีไ่ ม่ใช่ชาวมลายูนน ้ั
มีจานวนกว่าครึง่ ของประชากรในรัฐซาราวะก์ (ได้แก่ชาวอิบน ั ร้อยละ 30)
และร้อยละ 60 ของประชากรรัฐซาบะฮ์ (ได้แก่ชาวกาดาซัน-ดูซุน ร้อยละ 18
และชาวบาเจา ร้อยละ
17)[6] นอกจากนี้ยงั มีชนพื้นเมืองดัง้ เดิมของคาบสมุทรมลายูอีกกลุม่ หนึ่ง
คือ โอรัง อัสลี
ประชากรกลุม ่ ใหญ่ทีไ่ ม่ใช่ชาวภูมบ
ิ ุตรหรือชนดัง้ เดิมเป็ นพวกทีเ่ ข้ามาให
ม่ โดยเป็ นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน มีอยูร่ อ้ ยละ 23.7
ซึง่ มีกระจายอยูท ่ ่วั ประเทศ มีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย อีกร้อยละ 7.1
[6]
ของประชากร ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬ แต่ยงั มีชาวอินเดียกลุม ่ อื่

อย่างเกรละ, ปัญจาบ, คุชราต และปาร์ซี นอกจากนี้ยงั มีกลุม ่ ชาวมาเลเซียเชื้อส
ายไทย โดยอาศัยอยูใ่ นรัฐทางตอนเหนือของประเทศ
มีคนเชื้อสายชวาและมีนงั กาเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่าง รัฐยะโฮ
ร์
ชุมชนลูกครึง่ คริสตัง (โปรตุเกส-มลายู)
ทีน ั ถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และชุมชนลูกครึง่ อืน
่ บ ่ ๆ อย่าง
ฮอลันดาและอังกฤษ
ส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกา ส่วนลูกครึง่ เปอรานากัน หรือชาวจีนช่องแคบ
(จีน-มลายู) ส่วนมากอาศัยอยูใ่ นรัฐมะละกา และมีชุมชนอยูใ่ นรัฐปี นัง
ศาสนา[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ ศาสนาในประเทศมาเลเซีย
ศาสนาในประเทศมาเลเซีย
ศาสนา ร้อยละ
อิสลาม   59%
พุทธ   19.3%
คริสต์   8.1%
ฮินดู   6.3%
ไม่มีศาสนา   6.1%
อืน
่ ๆ   2%
ขงจื๊อและเต๋า   1.3%
ในปี ค.ศ. 2010[7] ประเทศมาเลเซียมีผนู้ บ
ั ถือศาสนา
แบ่งได้ดงั นี้ ศาสนาอิสลาม 60% ศาสนาพุทธ 19% ศาสนาคริสต์ 12% ศาส
นาฮินดู6.3% ลัทธิขงจื๊อและลัทธิเต๋า 1.3% ศาสนาอืน ่ ๆ
2% ไม่มีศาสนา 6.1%
แต่การหันไปนับถือศาสนาอืน ่ ทีไ่ ม่ใช่อส
ิ ลามเป็ นปัญหาอย่างมากเนื่องจา
กทางภาครัฐจะไม่เปลีย่ นข้อมูลทางราชการให้
มาเลเซียบัญญัตใิ นรัฐธรรมนูญให้อส ิ ลามเป็ นศาสนาประจาชาติ
และผูท้ น
ี่ บ
ั ถือศาสนาอิสลามจะมีสทิ ธิพเิ ศษ คือ
ได้รบ
ั เงินอุดหนุนเรือ
่ งค่าครองชีพตามนโยบายภูมบ ิ ุตรของรัฐบาล
และยังมีการสนับสนุนให้การไม่มีศาสนาเป็ นเรือ ่ งผิดกฏหมายอีกด้วย[ต้องการอ้างอิ
ง]

ภาษา[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ ภาษาราชการของมาเลเซีย
กีฬา[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ มาเลเซียใน, มาเลเซียในโอลิมปิ ก และ มาเลเซียในเอเชียนเ
กมส์
ฟุตบอล[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ สมาคมฟุตบอลมาเลเซีย, ฟุตบอลทีมชาติมาเลเซีย และ ฟุตซ
อลทีมชาติมาเลเซีย
วัฒนธรรม[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ วัฒนธรรมมาเลเซีย
มาเลเซียประกอบด้วยชนจากหลายเผ่าพันธุ์ (พหุสงั คม) รวมกันอยู่
บนแหลมมลายูมากว่า 1,000 ปี ประกอบด้วยเชื้อชาติใหญ่ๆ 3 กลุม
่ คือ
ชาวมลายู ชาวจีน และชาวอินเดีย อาศัยอยูบ ่ นแหลมมลายู
ส่วนชนพื้นเมืองอืน ่ ๆ เช่น อิบน ั (Ibans) ส่วนใหญ่อาศัยอยูใ่ นรัฐซาราวัค
และคาดาซัน (Kadazans) อาศัยอยูใ่ นรัฐซาบะฮ์
ด้วยประชากรหลากหลายเชื้อชาติภายในประเทศ
ทาให้เกิดการหล่อหลอมของวัฒนธรรมและส่งผลต่อ
การดารงชีวต ิ ของชาวมาเลเซีย จึงเกิดประเพณีทส ี่ าคัญมากมาย อาทิเช่น
1.การราซาบิน (Zapin) :เป็ นการแสดงการฟ้ อนราหมู่
ซึง่ เป็ นศิลปะพื้นเมืองของชาวมาเลเซีย
โดยเป็ นการฟ้ อนราทีไ่ ด้รบ ั อิทธพลมาจาก ดินแดนอาระเบีย
โดยมีผแ ู้ สดงเป็ นหญิง ชาย จานวน 6 คู่
เต้นตามจังหวะของกีตาร์แบบอาระเบีน และ กลอง
เล็กสองน้าทีบ ่ รรเลงจากช้าไปเร็ว 2.เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau
Kaamatan) :เป็ นเทศกาลประจาปี ในรัฐซาบะฮ์
จัดในช่วงสิน ้ เดือนพฤษภาคม
ซึง่ เป็ นช่วงสิน ้ สุดของฤดูการเก็บเกีย่ วข้าวและเริม่ ต้นฤดูกาลใหม่
โดยจะมีพธิ ีกรรมตามความเชือ ่ ในการทาเกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง
และขับร้องบทเพลงท้องถิน ่ เพือ่ เฉลิมฉลองอีกด้วย
วัฒนธรรมร่วมสมัย[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ได้
การแต่งกาย[แก้ไขต้นฉบับ]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สถาปัตยกรรม[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ สถาปัตยกรรมของมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
อาหาร[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ อาหารมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สือ
่ สารมวลชน[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ สือ่ สารมวลชนของมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
วันหยุด[แก้ไขต้นฉบับ]
ดูบทความหลักที:่ รายชือ่ วันสาคัญของมาเลเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ดูเพิม
่ [แก้ไขต้นฉบับ]

 พุทธศาสนาในประเทศมาเลเซีย
อ้างอิง[แก้ไขต้นฉบับ]

้ ↑ "Malaysian Flag and Coat of


1. กระโดดขึน
Arms". Malaysian Government. สืบค้นเมือ ่
9 September 2013.
2. กระโดดขึน้ ↑ Baten, Jörg (2016). A History
of the Global Economy. From 1500 to
the Present. Cambridge University
Press. p. 290. ISBN 9781107507180.
3. กระโดดขึน ้ ↑ "Malaysia". United States
State Department. 14 July 2010.
สืบค้นเมือ ่ 14 September 2010.
4. กระโดดขึน ้ ↑ "Understanding the
Federation of Malaysia". The Star. 2
November 2015. สืบค้นเมือ ่ 3 November
2015.
5. กระโดดขึน ้ ↑ "Malaysia Districts". Statoids.
สืบค้นเมือ ่ 3 November 2010.
กระโดดขึ
น ้ ไป:6.0 6.1 6.2
6. ↑ CIA World Factbook -
Based on 2004 estimate [1]
7. กระโดดขึน ้ ↑ [2] Religion in Malaysia

You might also like