You are on page 1of 24

ประเทศสิงคโปร์

จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี
บทความนี้ยงั ต้องการเพิม
่ แหล่งอ้างอิงเพือ
่ พิสูจน์ความถู
กต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ ได้โดยเพิม ่ แหล่งอ้าง
อิงตามสมควร เนื้อหาทีข่ าดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก
พิกดั ภูมศิ าสตร์: 1.3°N 103.8°E
สาธารณรัฐสิงคโปร์

Republic of Singapore (อังกฤษ)


新加坡共和国 (จีน)
Republik Singapura (มลายู)
சிங் கப் பூர் குடியரசு (ทมิฬ)

ธงชาติ ตราแผ่นดิน

คาขวัญ: Majulah Singapura (มลายู)


"สิงคโปร์จงรุดหน้า"

เพลงชาติ: Majulah Singapura


"สิงคโปร์จงรุดหน้า"

MENU
0:00

ทีต
่ ง้ ั ของ ประเทศสิงคโปร์ (สีแดง)
เมืองหลวง (ดาวน์ทาวน์คอร์, เซนทรัล) [a]
1°17′N 103°50′E
Location Singapore ASEAN.svg
ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลางภาษามลายู และ
ภาษาราชการ
ภาษาทมิฬ
เดมะนิม ชาวสิงคโปร์
การปกครอง สาธารณรัฐ
- ประธานาธิบดี ฮาลิมาห์ ยาคอบ

- นายกรัฐมนตรี ลี เซียนลุง

- ประธานรัฐสภา

- ประธานศาลสูงสุด

นิตบ
ิ ญ
ั ญัติ รัฐสภา
การก่อตัง้
- การก่อตัง้ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2362[1]

- การปกครองตนเอง 3 มิถุนายน พ.ศ. 2502[2]

- เอกราชจากสหราชอาณ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2506[3]


าจักร
- รวมกับมาเลเซีย 16 กันยายน พ.ศ. 2506[3]

- ถูกขับจากมาเลเซีย 9 สิงหาคม พ.ศ. 2508[3]

พื้นที่
- รวม 718.3 ตร.กม. (176)
277 ตร.ไมล์
- แหล่งน้า (%) 1.4
ประชากร
- 2557 (สามะโน) 5,469,700[4]

- ความหนาแน่ น 7,615[5] คน/ตร.กม. (3)


19,725 คน/ตร.ไมล์
จีดพี ี (อานาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
- รวม $ 514.837 พันล้าน

- ต่อหัว $ 90,724

จีดพี ี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)


- รวม $ 291.860 พันล้าน

- ต่อหัว $ 51,431

HDI (2558) 0.925 (สูงมาก) (5th)


สกุลเงิน ดอลลาร์สงิ คโปร์ ( SGD )
เขตเวลา SST (UTC+8)
รูปแบบวันที่ dd/mm/yyyy
ขับรถด้าน ซ้ายมือ
รหัส ISO 3166 SG
โดเมนบนสุด .sg
รหัสโทรศัพท์ +65
้ ↑ ประเทศสิงคโปร์เป็ นนครรัฐ
1. กระโดดขึน
ประเทศสิงคโปร์ มีชอ
ื่ อย่างเป็ นทางการว่า สาธารณรัฐสิงคโปร์ เป็ นนครรั
ฐสมัยใหม่และประเทศเกาะทีม ่ ีขนาดเล็กทีส
่ ุดในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ตัง้ อยู่
นอกปลายทิศใต้ของคาบสมุทรมลายูและอยูเ่ หนือเส้นศูนย์สูตร 137 กิโลเมตร
ดินแดนของประเทศประกอบด้วยเกาะหลักรูปสีเ่ หลีย่ มขนมเปี ยกปูน
ซึง่ มักเรียกว่าเกาะสิงคโปร์ในภาษาอังกฤษ และเกาะอูจง (Pulau Ujong)
ในภาษามลายู และเกาะทีเ่ ล็กกว่ามากอีกกว่า 60 เกาะ
ประเทศสิงคโปร์แยกจากคาบสมุทรมลายูโดยช่องแคบยะฮอร์ทางทิศเหนือ
และจากหมูเ่ กาะเรียวของประเทศอินโดนีเซียโดยช่องแคบสิงคโปร์ทางทิศใต้
ประเทศมีลกั ษณะแบบเมืองอย่างสูง และคงเหลือพืชพรรณดัง้ เดิมเล็กน้อย
ดินแดนของประเทศขยายอย่างต่อเนื่องโดยการแปรสภาพทีด ่ น

หมูเ่ กาะมีการตัง้ ถิน ่ ฐานในคริสต์ศตวรรษที่ 2
และต่อมาเป็ นของจักรวรรดิทอ ้ งถิน
่ ต่าง ๆ สิงคโปร์สมัยใหม่กอ ่ ตัง้ ใน ค.ศ.
1819 โดยเซอร์สแตมฟอร์ด รัฟเฟิ ลส์ (Stamford Raffles)
เป็ นสถานีการค้าของบริษท ั อินเดียตะวันออกโดยการอนุญาตจากรัฐสุลต่านยะ
ฮอร์ อังกฤษได้อธิปไตยเหนือเกาะใน ค.ศ. 1824
และสิงคโปร์กลายเป็ นหนึ่งในนิคมช่องแคบอังกฤษใน ค.ศ. 1826
หลังถูกญีป ่ ุ่ นยึดครองระหว่างสงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง สิงคโปร์ได้รบ ั เอกราชจาก
สหราชอาณาจักรใน ค.ศ. 1963
และเข้าร่วมกับอดีตดินแดนของอังกฤษอืน ่ เพือ
่ ตัง้ ประเทศมาเลเซีย แต่ถูกขับอี
กสองปี ต่อมาผ่านพระราชบัญญัตโิ ดยเอกฉันท์ นับแต่นน ้ั
ประเทศสิงคโปร์พฒ ั นาอย่างรวดเร็ว
จนได้รบ ั การรับรองว่าเป็ นหนึ่งในสีเ่ สือแห่งเอเชีย
ประเทศสิงคโปร์เป็ นศูนย์กลางพาณิชย์สาคัญของโลกแห่งหนึ่ง
โดยเป็ นศูนย์กลางการเงินใหญ่สุดเป็ นอันดับสีแ ่ ละเป็ นหนึ่งในห้าท่าทีว่ น ุ่ วายที่
สุด เศรษฐกิจซึง่ เป็ นโลกาภิวฒ ั น์ และมีความหลากหลายอาศัยการค้าเป็ นหลัก
โดยเฉพาะอย่างยิง่ การผลิต ซึ่งคิดเป็ นประมาณ 30%
ของจีดพ ี ีของสิงคโปร์ในปี พ.ศ.
2556 ในแง่ความเท่าเทียมกันของอานาจซื้อ ประเทศสิงคโปร์มีรายได้ตอ ่ หัวสู
งสุดเป็ นอันดับสามของโลกแต่มีความเหลือ ่ มลา้ ของรายได้รุนแรงทีส ่ ุดในหมูป ่
ระเทศพัฒนาแล้ว ประเทศสิงคโปร์ได้รบ ั การจัดอันดับสูงในแง่การศึกษา
สาธารณสุขและความสามารถการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
เมือ่ ปลายเดือนมิถุนายน พ.ศ.
2557 มีประชากรอาศัยอยูใ่ นประเทศสิงคโปร์เกือบ 5.5 ล้านคน ซึง่ กว่า 2
ล้านคนมีสญ ั ชาติตา่ งชาติ แม้สงิ คโปร์จะมีความหลากหลาย
แต่เชื้อชาติเอเชียมีมากทีส ่ ุด 75% ของประชากรเป็ นชาวจีน
โดยมีชนกลุม ่ น้อยทีส่ าคัญ เช่น ชาวมลายู ชาวอินเดียและชาวยูเรเชีย
มีภาษาราชการสีภ ่ าษา คือ ภาษาอังกฤษ ภาษามลายู ภาษาจีนกลาง
และภาษาทมิฬ
และประเทศสนับสนุนพหุวฒ ั นธรรมนิยมผ่านนโยบายทางการต่าง ๆอีกด้วย
ประเทศสิงคโปร์เป็ นสาธารณรัฐระบบรัฐสภา รัฐเดีย่ ว
และใช้ระบบหลายพรรคการเมือง
โดยมีการปกครองสภาเดีย่ วระบบเวสต์มน ิ สเตอร์ พรรคกิจประชาชนชนะการเ
ลือกตัง้ ทุกครัง้ นับแต่เริม
่ การปกครองตนเองในปี พ.ศ.
2502 ภาวะครอบงาของพรรคกิจประชาชน
ประกอบกับระดับเสรีภาพสือ ่ ต่าและการปราบปรามเสรีภาพพลเมืองและสิทธิก
ารเมืองนาให้ประเทศสิงคโปร์ถูกจัดเป็ นประชาธิปไตยไม่สมบูรณ์ (flawed
democracy)
ประเทศสิงคโปร์เป็ นหนึ่งในห้าสมาชิกผูก ้ อ
่ ตัง้ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะ
วันออกเฉี ยงใต้ (อาเซียน)
ยังเป็ นทีต
่ ง้ ั ของสานักเลขาธิการความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-
แปซิฟิก (เอเปก)
และสมาชิกการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก ขบวนการไม่ฝก ั ใฝ่ ฝ่ ายใดและเ
ครือจักรภพแห่งประชาชาติ การพัฒนาอย่างรวดเร็วของประเทศสิงคโปร์นาใ
ห้มนั มีอท
ิ ธิพลอย่างสาคัญในกิจการโลก
นาให้นกั วิเคราะห์บางส่วนระบุวา่ เป็ นอานาจปานกลาง (middle power)
เนื้อหา
[ซ่อน]

 1ภูมศ
ิ าสตร์
o 1.1ภูมอ ิ ากาศ
 2ประวัตศิ าสตร์
o 2.1ช่วงต้น
o 2.2ยุคแห่งการล่าอาณานิคม
o 2.3อาณานิคมแบบเอกเทศ
o 2.4การรวมชาติเข้ากับมาเลเซีย
 3การเมืองการปกครอง
o 3.1บริหาร
o 3.2นิตบ ิ ญ
ั ญัติ
o 3.3ตุลาการ
o 3.4สิทธิมนุ ษยชน
 4กองทัพ
o 4.1กองกาลังกึง ่ ทหาร
 5เศรษฐกิจ
o 5.1สถานการณ์ เศรษฐกิจ
o 5.2การท่องเทีย ่ ว
 5.2.1สถานทีท ่ อ
่ งเทีย่ ว
 6โครงสร้างพื้นฐาน
o 6.1การคมนาคม และ โทรคมนาคม
 6.1.1เส้นทางคมนาคม
 6.1.2โทรคมนาคม
o 6.2การศึกษา
o 6.3วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี
o 6.4สาธารณสุข
o 6.5สวัสดิการสังคม
 7ประชากร
o 7.1เชื้อชาติ
o 7.2ศาสนา
o 7.3ภาษา
 8วัฒนธรรม
o 8.1อาหาร
o 8.2ดนตรี
o 8.3สือ ่ สารมวลชน
o 8.4วันหยุด
o 8.5กีฬา
 8.5.1ฟุตบอล
 9ดูเพิม

 10อ้างอิง
 11แหล่งข้อมูลอืน่
ภูมศ
ิ าสตร์[แก้]
ภาคกลางและภาคตะวันตกเป็ นเนินเขา
ซึง่ เนินเขาทางภาคกลางเป็ นเนินเขาทีส
่ ูงทีส
่ ุดของประเทศ
เป็ นต้นกาเนิดของแม่น้าสายสาคัญของสิงคโปร์
และภาคตะวันออกเป็ นทีร่ าบต่า ชายฝั่งทะเลมักจะต่ากว่าระดับน้าทะเล
ต้องมีการถมทะเล

แผนทีท
่ างกายภาคของสิงคโปร์
ภูมอ
ิ ากาศ[แก้]
[ซ่อน]ข้อมูลภูมอ
ิ ากาศของประเทศสิงค
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค.
อุณหภมูสิ ูงสุดทีเ่ คยบันทึก 34.3 35.2 36.0 35.8 35.4 35.0 34.0
°C (°F) (93.7) (95.4) (96.8) (96.4) (95.7) (95) (93.2)
อุณหภูมส ิ ูงสุดเฉลีย่ °C 30.1 31.2 31.6 31.7 31.6 31.3 30.9
(°F) (86.2) (88.2) (88.9) (89.1) (88.9) (88.3) (87.6)
อุณหภูมต ิ ่าสุดเฉลีย่ °C 23.3 23.6 23.9 24.4 24.8 24.8 24.6
(°F) (73.9) (74.5) (75) (75.9) (76.6) (76.6) (76.3)
อุณหภมูต
ิ ่าสุดทีเ่ คยบันทึก 19.4 19.7 20.2 20.7 21.2 20.8 19.7
°C (°F) (66.9) (67.5) (68.4) (69.3) (70.2) (69.4) (67.5)
243.2n
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) mm =
287.4
ความชื้นร้อยละ 84.7 82.8 83.8 84.8 84.4 83.0 82.8
วันทีม
่ ีฝนตกโดยเฉลีย่ 15 11 14 15 15 13 13
จานวนชั่วโมงทีม่ ีแดด 173.6 183.6 192.2 174.0 179.8 177.0 189.1
แหล่งทีม
่ า1: National Environment Agency (Temp 1929-1941 and 1948-20
and 1948-2011, Rain days 189
"Weather Statistics". National Environment Agency. สืบค้น
แหล่งทีม
่ า 2: Hong Kong Observatory (sun only
ประวัตศ
ิ าสตร์[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ประวัตศ
ิ าสตร์สงิ คโปร์
ช่วงต้น[แก้]
ประวัตศ ิ าสตร์ของสิงคโปร์กอ
่ นศตวรรษที่
14 มิได้ถูกบันทึกอย่างชัดเจนและแน่ นอนนัก ในช่วงศตวรรษที่ 14
สิงคโปร์อยูภ
่ ายใต้การปกครองของอาณาจักรมัชฌาปาหิตแห่งชวา ต่อมาในต้
นศตวรรษที่
15 ก็อยูภ
่ ายใต้การยึดครองของอาณาจักรสยาม จนถูกประมุขแห่งมะละกาเข้า
มาแย่งชิงไป
และเมือ ้ ของโปรตุเก
่ โปรตุเกสเข้ายึดครองมะละกา สิงคโปร์ก็กลายเป็ นเมืองขึน
สในราวปี ค.ศ.
1498 และต่อมาอยูภ
่ ายใต้อท
ิ ธิพลของฮอลันดาในช่วงศตวรรษที่ 17
สิงคโปร์เป็ นเมืองทีต่ ง้ ั อยูป
่ ลายสุดแหลมมาลายู เป็ นสถานพักสินค้าของพ่
อค้าทั่วโลก เดิมชือ่ ว่า เทมาเส็ก (ทูมาสิค) มีกษัตริย์ปกครอง
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่
17 ได้มีเจ้าผูค้ รองนครปาเล็มบังเดินทางแสวงหาดินแดนใหม่เพือ ่ สร้างเมือง
แต่เรือก็อบ ั ปางลง พระองค์ได้วา่ ยน้าขึน ้ ฝั่ง
แล้วก็เห็นสัตว์ชนิดหนึ่งมีรูปร่างลาตัวสีแดงหัวดาหัวคล้ายสิงโตหน้าอกขาว
พระองค์จงึ ถามคนติดตามว่า
สัตว์ตวั นัน
้ คืออะไรคนติดตามก็ตอบว่ามันคือ สิงโต พระองค์จงึ เปลีย่ นชือ ่ เทมา
เส็กเสียใหม่วา่ สิงหปุระ ต่อมาสิงหปุระก็ได้ตกเป็ นของสุลต่านแห่งมะละก้า
ยุคแห่งการล่าอาณานิคม[แก้]
ดูบทความหลักที:่ อาณานิคมช่องแคบ
ประเทศแรกทีม ่ ายึดสิงคโปร์ไว้ได้คอื โปรตุเกส เมือ ่ ปี ค.ศ.
1511 แล้วก็ถูกชาวดัตช์มาแย่งไป
เมือ ่ อังกฤษขยายอิทธิพลเข้ามาบริเวณแหลมมลายูในกลางศตวรรษที่
18 แต่ประมาณปี ค.ศ.
1817อังกฤษได้แข่งขันกับดัตช์ในเรือ ่ งอาณานิคม อังกฤษได้สง่ เซอร์ โทมัส
สแตมฟอร์ด แรฟเฟิ ลส์ มาสารวจดินแดนแถบสิงคโปร์
ตอนนัน ้ สิงคโปร์ยงั มีสุลต่านแห่งรัฐยะโฮร์ปกครองอยู่
แรฟเฟิ ลส์ได้ตกลงกับสุลต่านฮุสเซียน ชาห์วา่
จะตัง้ สถานีการค้าของอังกฤษทีน ่ ี่
แต่สุดท้ายอังกฤษยึดสิงคโปร์ไว้เป็ นเมืองขึน ้ ได้และก่อตัง้ ประเทศในปี ค.ศ.
1819 โดยอังกฤษได้ขอเช่าเกาะสิงคโปร์จากจักรวรรดิย์ ะโฮร์ซงึ่ อยูภ ่ ายใต้การ
ปกครองของฮอลันดา ในปี ค.ศ.
1824 อังกฤษมีสท ิ ธิครอบครองสิงคโปร์ตามข้อตกลงทีท ่ ากับฮอลันดา
ต่อมาในปี ค.ศ. 1826 สิงคโปร์ถูกปกครองภายใต้ระบบสเตรตส์เซตเทิลเมนต์
(Straits Settlement)
ซึง่ บริษท ั อินเดียตะวันออกของอังกฤษควบคุมดูแลสิงคโปร์
รวมทัง้ ปี นังและมะละกาด้วย ต่อมาในปี ค.ศ.
1857 รัฐบาลอังกฤษได้เข้ามาดูแลระบบนี้เอง ในปี ค.ศ.
1867 สิงคโปร์กลายเป็ นอาณานิคม (Crown Colony)
อย่างสมบูรณ์ จนถึงช่วงสงครามโลกครัง้ ทีส ่ อง ญีป่ ุ่ นจึงได้ขบั ไล่องั กฤษออกจา
กสิงคโปร์และเข้าไปยึดครองแทน
อาณานิคมแบบเอกเทศ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ อาณานิคมแบบเอกเทศ และ อาณานิคมสิงคโปร์
ค.ศ. 1946 จึงได้รบ ั การยกฐานะให้เป็ นอาณานิคมแบบเอกเทศ
(Separate Crown colony) เมือ ่ อังกฤษกลับมาควบคุมสิงคโปร์อีกครัง้ หนึ่ง
ภายหลังจากทีส ่ งิ คโปร์อยูภ่ ายใต้การยึดครองของญีป่ ุ่ นระหว่างสงครามโลกครั้
งทีส
่ อง (ค.ศ. 1942-1946)
การรวมชาติเข้ากับมาเลเซีย[แก้]
เมือ
่ สิงคโปร์เห็นมาเลเซียได้รบ
ั เอกราชจากอังกฤษ สิงคโปร์จงึ รีบขอรวม
ชาติเข้ากับมลายูกลายเป็ นสหภาพมลายาทันที
เพือ ้ ของอังกฤษอีก
่ จะได้ไม่เป็ นเมืองขึน
แต่สงิ คโปร์ก็ไม่พอใจกับมาเลเซียมากนักเพราะมีการเหยียดชนชาติกน ั
ทาให้พรรคกิจประชาชนของสิงคโปร์ประกาศให้สงิ คโปร์เป็ นเอกราชตัง้ แต่วน ั
ที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.
1965 ตัง้ แต่บดั นัน้ มาในชือ่ สาธารณรัฐสิงคโปร์ เมือ
่ แยกตัวออกมาแล้วพรรค
กิจประชาชนก็ครองประเทศมาตลอดจนถึงทุกวันนี้
การเมืองการปกครอง[แก้]
ในฐานะทีเ่ ป็ นอาณานิคมแบบเอกเทศนัน ้
สิงคโปร์มีอานาจปกครองกิจการภายในของตนเองแต่ไม่มีอานาจดูแลกิจการท
หารและการต่างประเทศ และยังมีผวู้ า่ ราชการจากส่วนกลางมาปกครองอยู่
ในสภานิตบ ิ ญ
ั ญัติ (Legislative Council)
นัน
้ อังกฤษเริม่ เปิ ดโอกาสให้ประชาชนเลือกตัง้ สมาชิกบางส่วน (6 คน จาก
22 คน) ได้ ซึง่ ในการเลือกตัง้ สมาชิกสภาบางส่วนนี้ในปี
1948 พรรคก้าวหน้า(Progressive Party) ของสิงคโปร์ได้ทน ี่ ่ งั มากทีส
่ ุด
ต่อมาในปี ค.ศ. 1951 สมาชิกสภาทีม ่ าจากการเลือกตัง้ ถูกเพิม
่ เป็ น 9 คน
ในจานวน 25 คน และในปี ค.ศ.
1955 ภายใต้รฐั ธรรมนูญฉบับแรกสมาชิกทีม ่ าจากการเลือกตัง้ มีจานวน 25
คน ในจานวน 32 คน
ต่อมาอังกฤษให้ชาวสิงคโปร์มีอานาจและมีสว่ นร่วมในการปกครองตนเอ
งมากขึน ้ ในช่วง 10 ปี ก่อนทีส ่ งิ คโปร์จะประกาศเป็ นสาธารณรัฐนัน

สิงคโปร์จงึ อยูภ่ ายใต้การปกครองของรัฐบาล 3 ชุด คือ (1)
รัฐบาลของนายเดวิด มาร์แชล (David Marshall) จากปี 1955-1956 (2)
รัฐบาลของนายลิม ยิว ฮ๊อค (Lim Yew Hock) จากปี ค.ศ. 1956-1959 และ
(3) รัฐบาลของนาย ลี กวน ยู (Lee Kuan Yew)
ซึง่ ภายใต้รฐั บาลนี้สงิ คโปร์มีอานาจในการปกครองตนเองอย่างสมบูรณ์ แล้ว
และนายลี กวน ยูได้เข้าดารงตาแหน่ งนายกรัฐมนตรีคนแรกของสิงคโปร์
ต่อมาในช่วงปี 1963-1965
รัฐบาลชุดนี้ก็ได้ตดั สินใจเข้าไปรวมอยูใ่ นสหพันธรัฐมาลายา และอยูไ่ ด้เพียง 2
ปี
นับจากปี ค.ศ.
1965 เมืองสิงคโปร์ประกาศตนเป็ นประเทศเอกราช มีอานาจอธิปไตยของตน
เอง
โดยปกครองในรูปของสาธารณรัฐ หลังจากนัน ้ สิงคโปร์อยูภ่ ายใต้การปกครอง
ของนายกรัฐมนตรีเพียงคนเดียวเป็ นเวลาถึง 25 ปี ซึง่ ก็คอ ื นาย ลี กวน
ยู ทัง้ นี้เป็ นเพราะพรรคกิจประชา (PAP: People’ Action Party) ซึง่ นาย ลี
เป็ นผูก ้ อ่ ตัง้ แต่ปี ค.ศ. 1961 นัน
้ มีชยั ชนะในการเลือกตัง้ เกือบทุกครัง้
ไม่วา่ จะเป็ นการเลือกตัง้ ทั่วไป หรือการเลือกตัง้ ซ่อม
ทศวรรษ
1990 เป็ นจุดเริม
่ ต้นของการปรับเปลีย่ นการปกครองสิงคโปร์จากผูน ้ ากลุม
่ เก่า
(Old Guards) เป็ นผูน ้ ารุน
่ ใหม่ (New Guards) นายโก๊ะ จ๊กตง (Goh
Chok Tong) ได้รบ ั การคัดเลือกจากพรรคกิจประชาและคณะรัฐมนตรี
ให้เป็ นนายกรัฐมนตรีคนทีส ่ องของสิงคโปร์ เมือ
่ วันที่ 28 พฤศจิกายน 1990
นาย ลี กวน ยู ยังดารงตาแหน่ งอยูใ่ นรัฐบาลชุดใหม่โดยเป็ นรัฐมนตรีอาวุโส
และในปี ค.ศ. 1993 สิงคโปร์เริม ่ ใช้ระบบประธานาธิบดีแบบใหม่
ซึง่ มาจากการเลือกตัง้ โดยตรงจากประชาชน
ปัจจุบน ั ปี ค.ศ.
2006 ประเทศสิงคโปร์ได้มีการเลือกตัง้ ทั่วไปเพือ ่ เลือกผูน ้ าคนใหม่และทีม
เพือ ่ ร่วมกันพัฒนาประเทศต่อไป แต่อย่างไรก็ดี
พรรคกิจประชาก็ได้รบ ั ชัยชนะอย่างท่วมท้นเหมือนอย่างเดิม โดยพรรค PAP
ได้รบ ั ทีน่ ่ งั ในฝ่ ายรัฐบาล 82 ทีน ่ ่ งั จาก 84 ทีน ่ ่ งั ซึง่ เท่ากับสมัยนายโก๊ะ
จ๊กตงได้รบ ั ในปี พ.ศ. 2544 แต่ได้คะแนนเสียงลดลงจากสมัยแรกทีไ่ ด้ 75.3
เป็ น66.6 เปอร์เซ็นต์ ซึง่ รัฐบาลนี้ทอ ี่ ยูภ
่ ายใต้การบริหารงานของนาย ลี เซียน
ลุง สมัยทีส ่ องซึง่ รัฐบาลจะมีนโยบายผลักดันในเรือ ่ งปัญหาคนยากไร้
ผูส้ ูงอายุและคนว่างงาน โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทีน ่ าย ลี เซียน
ลุงจะได้รบ ั การเลือกตัง้ ในครัง้ นี้นน ้ั
เขาได้เน้นโยบายแบ่งปันรายได้ผนวกกับความอ่อนแอและแตกแยกของพรรค
ฝ่ ายค้าน ทาให้พรรค PAP ได้ครองอานาจสืบทอดมาเป็ นเวลา 4 ทศวรรษ
บริหาร[แก้]
ดูบทความหลักที:่ รัฐบาลสิงคโปร์
ระบอบการปกครองของสิงคโปร์ คือ ระบอบประชาธิปไตย
มีประธานาธิบดีเป็ นประมุข ประธานาธิบดีคนปัจจุบน ั คือ นายโทนี ตัน เค็ง
ยัม เข้ารับตาแหน่ งตัง้ แต่วน
ั ที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554 ส่วนนายกรัฐมนตรีคอ ื
นายลี เซียน ลุง ซึ่งรับตาแหน่ งต่อจากนายโก๊ะ จ๊กตง และนายลี กวน
ยูซงึ่ มีฐานะเป็ นบิดาของนาย ลี เซียน ลุง
สิงคโปร์แยกตัวออกจากมาเลเซียเมือ ่ ปี พ.ศ.
2508 มีการปกครองในระบอบสาธารณรัฐโดยมีประธานาธิบดีเป็ นประมุขทาง
พิธีการ และมีนายกรัฐมนตรีเป็ นประมุขทางด้านบริหาร
สิงคโปร์เป็ นประเทศทีม ่ ุดประเทศหนึ่งของโล
่ ีความมั่นคงทางการเมืองมากทีส
ก เพราะนับแต่ตง้ ั ประเทศเป็ นต้นมา
มีรฐั บาลทีม่ าจากพรรคเดียวและเป็ นรัฐบาลเสียงข้างมาก
และมีการควบคุมสิทธิเสรีภาพของสือ ่ สารมวลชนและประชาชนในการวิพากษ์
วิจารณ์ รฐั บาลอย่างค่อนข้างเข้มงวด
นิตบ
ิ ญ
ั ญัต[ิ แก้]
ดูบทความหลักที:่ รัฐสภาแห่งสิงคโปร์
ตุลาการ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ คอมมอนลอว์
สถาบันตุลาการของสิงคโปร์อยูภ ่ ายใต้ระบบสาธารณรัฐ
อานาจตุลาการนัน
้ เป็ นอิสระมาก
ปราศจากการควบคุมและแทรกแซงจากฝ่ ายบริหาร และฝ่ ายนิตบ ิ ญ
ั ญัติ
โดยมีการแบ่งศาลเป็ น 2 ระดับ คือ ศาลชัน
้ ต้น กับศาลสูงสุด
ระบบกฎหมายของสาธารณรัฐสิงคโปร์
ใช้แบบคอมมอนลอว์เนื่องจากเคยเป็ นอาณานิคมของ
สหราชอาณาจักรมากก่อนจึงได้รบ
ั อิทธิพลด้านกฎหมายมาด้วย
สิทธิมนุษยชน[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
กองทัพ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ กองทัพสิงคโปร์
กองกาลังกึง่ ทหาร[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
เศรษฐกิจ[แก้]
กิจกรรมทีส
่ ร้างรายได้ทางเศรษฐกิจในสิงคโปร์
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
1. การเพาะปลูก ปลูกยางพารา มะพร้าว ผัก ผลไม้
แต่พื้นทีม่ ีจากัด
2. อาศัยวัตถุดบ ิ จากประเทศเพือ
่ นบ้าน
มีอุตสาหกรรมเบา เช่น ผลิตยางพารา ขนมปัง
เครือ
่ งดืม
่ และอุตสาหกรรมหนัก เช่น อูต
่ อ
่ เรือ
ทาเหล็กกล้า ยางรถยนต์
มีกจิ การกลั่นน้ามันซึง่ ใหญ่เป็ นอันดับ 2
ของโลกรองจากสหรัฐอเมริกาและเป็ นผูส ้ ร้างแท่น
ขุดเจาะน้ามันรายใหญ่ดว้ ย
3. การค้าขาย เป็ นท่าเรือปลอดภาษี ประเทศต่าง ๆ
ส่งสินค้าต่าง ๆ มายังสิงคโปร์เพือ ่ ส่งออก
และสิงคโปร์ยงั รับสินค้าจากยุโรป สหรัฐอเมริกา อ
อสเตรเลีย ญีป ่ ุ่ น เพือ
่ ส่งไปขายต่อยังประเทศเพือ่
นบ้าน มีทา่ เรือน้าลึก
เหมาะในการจอดเรือส่งสินค้า
สถานการณ์ เศรษฐกิจ[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สิงคโปร์เป็ นประเทศทีเ่ ล็กทีส ่ ุดประเทศหนึ่งในโลก
ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติมากเหมือนประเทศอืน ่ แต่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี
เพราะสิงคโปร์พฒ ั นาเศรษฐกิจด้านการค้า
โดยเป็ นประเทศพ่อค้าคนกลางในการขายสินค้าเป็ นท่าเรือขนส่งสินค้าปลอดภ
าษี ทาให้สน ิ ค้าทีผ
่ า่ นทางสิงคโปร์มีราคาถูก
ปัจจุบนั สิงคโปร์มีทา่ เรือน้าลึกขนาดใหญ่ และทันสมัยทีส ่ ุดในโลกประเทศหนึ่ง
และยังได้เข้าไปลงทุนในต่างประเทศโดยเฉพาะในประเทศไทย ลาว เวียดนาม
กัมพูชาและพม่า
สิงคโปร์มีประชากรน้อยจึงต้องพึงพาแรงงานจากต่างชาติในทุกระดับ
สิงค์โปร์เป็ นประเทศทีพ ่ ฒ
ั นาแล้วประเทศเดียวในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
และมีฐานะทางเศรษฐกิจและการเงินทีม ่ ่งั คั่งทีส
่ ุดประเทศนึงในโลก
การท่องเทีย่ ว[แก้]
ดูบทความหลักที:่ การท่องเทีย่ วในสิงคโปร์

ภาพเมืองสิงคโปร์
แบบจาลองเมืองสิงคโปร์ บริเวณ Marina Bay ปากแม่น้าสิงคโปร์
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สถานทีท
่ อ
่ งเทีย่ ว[แก้]
หากแบ่งตามภูมศ
ิ าสตร์ สถานทีท
่ อ
่ งเทีย่ วภายในประเทศสิงคโปร์ มีดงั นี้

 ภาคตะวันออก - Katong, Pasir Ris,


Changi/Pulau Ubin
 ภาคตะวันตก - Kent Ridge, Mount Faber,
Bukit Timah
 ภาคเหนือ - Thomson, Lim Chu
Kang/Tengah
 ภาคกลาง - Balestier, Chinatown,
แม่น้าสิงคโปร์
สถานทีท ่ อ ่ งเทีย่ วทีเ่ ป็ นทีน
่ ิยมมักอยูใ่ นตอนกลาง ได้แก่ พื้นทีบ่ ริเวณ
Marina Bay, ปากแม่น้าสิงคโปร์ ซึง่ เป็ นทีต ่ ง้ ั ของเมอร์ไลออน (Merlion) ,
อาคารโรงละคร Esplanade ซึง่ เป็ นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่,
สถานทีท
่ อ
่ งเทีย่ วยามค่า บริเวณพื้นทีร่ ม ิ น้า ได้แก่ Clarke Quay, Boat
Quay, ย่านไชน่ าทาวน์ (China Town) , ย่าน Little India, ย่านชอปปิ้ ง
บนถนน Orchard
ส่วนบริเวณเมืองรอบนอกนัน ้ มีแหล่งท่องเทีย่ วกระจายอยูโ่ ดยรอบ
สามารถเข้าถึงได้โดยรถไฟ MRT และ รถประจาทาง ได้แก่ เกาะเซนโตซา
(Sentosa Island) บริเวณ Harbour Front, สวนสัตว์กลางคืน (Night
Safari) , สวนนกจูรง่ (Jurong Birdpark) เป็ นต้น

รูปปั้นหน้าวัด แสดงถึงวัฒนธรรมอินเดีย

สถาปัตยกรรมแบบจีนทีม ่ ีการอนุรกั ษ์ ไว้


บริเวณย่านไชน่ าทาวน์

มหาวิหารเซนต์แอนดรู.
โครงสร้างพื้นฐาน[แก้]
การคมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]
เส้นทางคมนาคม[แก้]
ทีต
่ ง้ ั ของสิงคโปร์เป็ นเส้นทางระหว่างทวีปยุโรป และเอเซียตะวันตก กับภ
าคพื้นตะวันออกไกล รวมทัง้ ภาคพื้นแปซิฟิค
ทาให้สงิ คโปร์เป็ นชุมทางของเส้นทางเดินเรือ และสายการบินระหว่างประเทศ
และเป็ นแหล่งชุมนุมการค้าขาย ปัจจุบน ั สิงคโปร์
มีทา่ เรือทีใ่ หญ่เป็ นอันดับสองของเอเซีย รองจากโยโกฮามาของญีป ่ ุ่ น
และเป็ นท่าเรือทีม ่ ีการขนส่งสินค้ามาก เป็ นอันดับสามของโลก

รถไฟฟ้ าในสิงคโปร์
การขนส่งทางบก สิงคโปร์มีพื้นทีไ่ ม่มาก ประมาณ 900 ตารางกิโลเมตร
แต่ถนนทีจ่ ดั ว่าอยูใ่ นเกณฑ์ดม
ี าก ประมาณ 1,300 กิโลเมตร
นอกจากถนนแล้ว ยังมีทางรถไฟอยูส ่ องสาย มีความยาวประมาณ 45
กิโลเมตร ได้มีการสร้างทางรถไฟสายสิงคโปร์ - กรันจิ เมือ ่ ปี พ.ศ.
2446 สมัยรัฐบาลสเตรตส์เซตเทิลเมนต์โดยมีการเดินรถจากสถานีแทงค์โรค
ไปยังวูด ๊ แลนด์ และมีบริการแพขนานยนต์
ข้ามฟากไปเชือ ่ มต่อกับทางรถไฟจากแผ่นดินใหญ่ดว้ ย ต่อมาในปี พ.ศ.
2456 การรถไฟแห่งสหพันธ์มลายู ได้รบ ั ซื้อกิจการนี้แล้วปรับปรุง
ให้เริม่ จากสถานีบูกต ิ บันยัง ถึงสถานีตน ั หยงปาการ์ ต่อมาในปี พ.ศ.
2462 ได้มีการเริม ่ สร้างถนนข้ามช่องยะโฮร์ เพือ ่ ให้ทางรถไฟติดต่อถึงกัน
ทางรถไฟสายหลัก ข้ามถนนข้ามช่องยะโฮร์มาเลเซีย ตัดกลางประเทศ
ลงสูใ่ ต้ถงึ สถานีปลายทาง ทีใ่ กล้ทา่ เรือเคปเปล
โดยมีทางแยกเลยเข้าไปในท่าเรือเคปเปลด้วย ทางรถไฟอีกสายหนึ่ง
แยกจากสายแรกไปทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้
รถไฟสายนี้เป็ นกรรมสิทธิข ์ องรัฐบาลมาเลเซีย การเดินทางไปในสถานี รถไฟ
เพือ
่ โดยสารถือว่าเป็ นการเดินทางผ่านประเทศ
ต้องมีการตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือเอกสารอย่างอืน ่ ทานองเดียวกัน

ท่าเรือสิงคโปร์
การขนส่งทางน้า มีการขนส่งทางน้าภายในประเทศ
ทางน้าชายฝั่งและทางน้าระหว่างประเทศ ทางน้าภายในประเทศ
มีใช้อยูใ่ นวงจากัด และไม่คอ ่ ยสะดวก เพราะสิงคโปร์เป็ นเกาะเล็ก ๆ
และมีแนวชายฝั่งสัน ้ ภายในเกาะเองก็มีแม่น้าสายสัน ้ ๆ และไม่ตด ิ ต่อถึงกัน
รวมทัง้ ยังตื้นเขินมาก จึงต้องจากัดเวลา ในการใช้คอ ื ในช่วงเวลาน้าขึน ้ เท่านัน

ทางน้าชายฝั่ง เป็ นส่วนหนึ่งของระบบขนส่งทางน้าระหว่างประเทศ
แต่มีลกั ษณะเฉพาะของตนเองคือ ใช้เรือเล็ก ท่าเรือเล็ก ๆ ทีม ่ ีจานวนมากมาย
เส้นทางเดินเรือสัน ้ การให้บริการไม่เป็ นประจา เรือทีเ่ ดินตามบริเวณชายฝั่ง
มีหลายบริษท ั และมีบริษท ั ทีใ่ ห้บริการเป็ นประจาไปยังท่าเรืออินโดนีเซีย
มาเลเซียตะวันออก และตะวันตก และไทย ทางน้าระหว่างประเทศ
รัฐบาลได้จดั ตัง้ สานักงานจดทะเบียนเรือของสิงคโปร์ขน ึ้ เมือ
่ ปี พ.ศ.
2509 และได้มีการตราพระราชบัญญัตอ ิ นุญาตให้มีการจดทะเบียนเรือ
ซึง่ เจ้าของอยูใ่ นต่างประเทศ เมือ ่ ปี พ.ศ.
2511 โดยมีความมุง่ หมายจะชักจูงเรือสินค้าต่างชาติ
ทีไ่ ปจดทะเบียนเป็ นเรือสัญชาติไซบีเรีย และปานามา
ให้สนใจโอนสัญชาติเป็ นเรือสิงคโปร์ได้ ท่าเรือแห่งชาติ จัดตัง้ ขึน ้ เมือ่ ปี พ.ศ.
2507 ได้มีการปรัปปรุงท่าเรือสิงคโปร์ ให้สามารถรับเรือคอนเทนเนอร์
ทีม
่ ีการเปลีย่ นแปลงใหม่ และสามารถอานวยความสะดวก
ให้กบ ั เรือบรรทุกน้ามันขนาดสองแสนตัน หรือมากกว่า ท่าเรือ
แต่เดิมใช้ทา่ เรือเคปเปล ซึง่ อยูท ่ างตอนใต้ของสิงคโปร์ และมีเกาะเซนโตซา
กับเกาะบรานี เป็ นทีก ่ าบังลม ต่อมาบริเวณของการท่าเรือ
ได้ขยายออกไปจนเกินอาณาบริเวณ ทัง้ พื้นทีบ ่ นฝั่ง และในทะเลรวม 538
ตารางกิโลเมตร ท่าเรือสิงคโปร์ มีทง้ ั ท่าเรือน้าลึกตรงทีท ่ า่ เรือเคปเปล
มาจนถึงตันจงปาการ์ ท่าเรือสิงคโปร์เริม ่ ตัง้ แต่ฝ่ งั ตะวันตกของเกาะ
เลียมริมฝั่งตะวันตก เรือ ่ ยไปจนถึงฝั่งตะวันออกของเกาะทีซน ั ไจ มาตา อิกาน
บีคอน เขตการค้าเสรี ทางการสิงคโปร์ ได้ประกาศเขตการค้าเสรี เมือ ่ ปี พ.ศ.
2512ตามบริเวณท่าเรือ ตัง้ แต่เตล๊อก อาเยอร์เบซิน จนถึงจาร์ดน ิ สเตปส์
กับจูรง่ ในบริเวณนี้ทางการได้จดั หาสิง่ อานวยความสะดวกให้
สายการเดินเรือแห่งชาติ ได้จดั ตัง้ ขึน ้ เมือ
่ ปี พ.ศ.
2511 บริษท ั นี้เป็ นสมาชิกของชมรมเดินเรือแห่งตะวันออกไกล เมือ ่ ปี พ.ศ.
2512

สิงคโปร์แอร์ไลน์
การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ
เริม่ มีสายการบินทาการค้าสายแรก เมือ ่ ปี พ.ศ.
2473 เป็ นของบริษท ั ดัทช์อสิ ท์อน
ิ เดีย และในปี พ.ศ.
2478 สายการบินแควนตัส ได้เปิ ดการบินระหว่างสิงคโปร์ กับออสเตรเลีย
ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบน ั ท่าอากาศยานสากล เดิมอยูท ่ ป
ี่ ายาเลบาร์
อยูห ่ า่ งจากตัวเมืองไปประมาณ 12 กิโลเมตร มีทางวิง่ ยาวประมาณ 4,000
เมตร สามารถรับเครือ ่ งบินพาณิชย์ได้ทุกขนาดและทุกแบบ
ปัจจุบน ั สิงคโปร์มีทา่ อากาศยานนานานชาติ ทีจ่ ดั ส่งทันสมัยมากคือ
ท่าอากาศยานนานาชาติชางงี
มีขด ี ความสามารถในการรับเครือ ่ งบินโดยสารขนาดใหญ่
และการให้บริการพร้อม ๆ กันถึง 45 เครือ ่ ง มีการสร้างทางวิง่ ทีส
่ องบนพื้นที่
ทีไ่ ด้จากการถมทะเล สายการบินแห่งชาติ เดิมสิงคโปร์
มีสายการบินร่วมกับมาเลเซียใช้ชือ ่ ว่า มาเลเซีย - สิงคโปร์ แอร์ไลนส์
(Malasia - Singapore Airlines) ต่อมาเมือ ่ ได้แยกประเทศกันแล้ว
ก็ได้แยกสายการบินออกจากกันด้วย เมือ ่ ปี พ.ศ.
2515 สายการบินของสิงคโปร์ใช้ชือ
่ ว่า สิงคโปร์แอร์ไลน์ (Singapore
Airlines SIA)
โทรคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
การศึกษา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ การศึกษาในประเทศสิงคโปร์
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ตง้ ั อยูบ่ นพื้นฐานทีว่ า่ นักเรียนแต่ละคนนัน
้ มี
ความถนัดและความสนใจแตกต่างกันไปในแบบฉบับของตนเอง
ดังนัน
้ เราจึงจัดระบบการศึกษาทีย่ ืดหยุน
่ เพือ
่ ให้นกั เรียนแต่ละคนสามารถพัฒ
นาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่
การศึกษาก่อนวัยเรียน การศึกษาก่อนวัยเรียน ได้แก่
การศึกษาในชัน ้ อนุบาลและการดูแลเด็กโดยศูนย์ดแ
ู ลเด็กเล็ก
โดยจะรับนักเรียนอายุ 3-6 ปี
โรงเรียนอนุบาลในสิงคโปร์จะมีกระทรวงศึกษาธิการควบคุม
และมีมูลนิธข
ิ องชุมชน หน่ วยงานทางศาสนา
และองค์กรทางธุรกิจและสังคมทาหน้าทีบ ่ ริหาร
โรงเรียนอนุบาลส่วนใหญ่จะทาการเรียนการสอน 5 วันต่อสัปดาห์
และแบ่งการเรียนเป็ นสองช่วงในแต่ละวัน ช่วงหนึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2
ชั่วโมงครึง่ ถึง 4 ชั่วโมง
โดยทั่วไปจะสอนโดยใช้ทง้ ั ภาษาอังกฤษและภาษาทีส ่ อง
ยกเว้นในโรงเรียนนานาชาติและโรงเรียนของชาวต่างชาติทเี่ ข้ามาเปิ ดสอนใน
สิงคโปร์
การรับสมัครเรียนโรงเรียนอนุบาลและศูนย์ดแ ู ลเด็กเล็กในสิงคโปร์แต่ละแห่งจ
ะมีระยะเวลาต่างกันไปไม่แน่ นอน
แต่โดยส่วนใหญ่แล้วเปิ ดรับสมัครนักเรียนตลอดทัง้ ปี
ผูป
้ กครองจึงควรติดต่อทางโรงเรียนโดยตรงเพือ ่ ขอข้อมูลเกีย่ วกับ
การรับสมัคร หลักสูตรการเรียนการสอน และเรือ ่ งอืน
่ ๆ
ประถมศึกษา เด็กทุกคนในสิงคโปร์จะต้องใช้เวลาเรียน 6
ปี ในระดับประถมศึกษา ประกอบด้วยการเรียนชัน ้ ประถมต้น (foundation
stage) 4 ปี ตัง้ แต่ชน
้ ั ประถมศึกษาปี ที่ 1-4 และชัน
้ ประถมปลาย
(orientation stage) อีก 2 ปี ในชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่ 5-6
ในหลักสูตรขัน
้ พื้นฐาน วิชาหลักทีไ่ ด้เรียนคือ วิชาภาษาอังกฤษ
ภาษาท้องถิน
่ (Mother Tongue อันได้แก่ ภาษาจีน มลายู หรือทมิฬ
ตามเชื้อชาติของตนเอง) คณิตศาสตร์ และวิชาเสริม อันได้แก่ ดนตรี
ศิลปะหัตถกรรม สุขศึกษา และสังคมศึกษา
ส่วนวิชาวิทยาศาสตร์จะเริม ่ เรียนกันตัง้ แต่ประถมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นต้นไป
และเพือ ่ เพิม่ พูนประสิทธิภาพในตัวนักเรียนและทดสอบความถนัดของนักเรีย
นให้ตรงกับแผนการเรียนในระดับมัธยม ทุกคนทีเ่ รียนจบชัน ้ ประถมศึกษาปี ที่
6 จะต้องทาข้อสอบ Primary School Leaving Examination (PSLE)
ให้ผา่ นเพือ่ จบการศึกษาระดับประถม
หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับประถมศึกษาของสิงคโปร์ได้รบ ั การยอมรั
บและนาไปเป็ นตัวอย่างการเรียนการสอนจากนานาชาติ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในวิชาคณิตศาสตร์
การรับนักเรียนต่างชาตินน ้ อยูก
้ ั ขึน ่ บ
ั จานวนทีน่ ่ งั ว่างในแต่ละโรงเรียน
มัธยมศึกษา โรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงคโปร์มีหลายรูปแบบ
ทัง้ ทีใ่ ห้ทุนทัง้ หมดโดยรัฐบาล หรือเพียงส่วนเดียว
หรือนักเรียนเป็ นคนออกค่าใช้จา่ ยทัง้ หมด นักเรียนในแผนการเรียนพิเศษ
(Special และ Express) จะใช้เวลาเรียนเพียง 4 ปี
ขณะทีน ่ กั เรียนในแผนการเรียนปกติ (Normal) จะใช้เวลาเรียน 5 ปี
โดยนักเรียนในแผนการเรียนพิเศษจะสอบ Singapore-Cambridge
General Certificate of Education ‘Ordinary’ (GCE ‘O’ Level)
เมือ ่ เรียนครบ 4 ปี ส่วนนักเรียนหลักสูตรปกติทใี่ ช้เวลาเรียน 5 ปี นัน
้ จะสอบ
Singapore-Cambridge General Certificate of Education ‘Normal’
(GCE ‘N’ Level) เมือ ่ ถึงปี ที่ 4 ก่อน แล้วจึงจะสามารถสอบ GCE ‘O’
Level เมือ ่ เรียนจบปี ที่ 5
หลักสูตรวิชาในระดับชัน ้ มัธยมศึกษาจะประกอบด้วย วิชาภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ ภาษาแม่ (จีน มลายู หรือทมิฬ) วิทยาศาสตร์ และมนุ ษยศาสตร์
ในชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 นักเรียนสามารถเลือกได้วา่ จะเรียนทางสายศิลป์
วิทยาศาสตร์ ธุรกิจการค้าหรือสายวิชาชีพ
หลักสูตรการเรียนการสอนในระดับชัน ้ มัธยมศึกษาในสิงคโปร์ได้รบ ั การยอมรั
บในระดับโลกว่า
ทาให้นกั เรียนมีความสามารถในการวิเคราะห์และมีความคิดสร้างสรรค์
การรับนักเรียนต่างชาตินน ้ อยูก
้ ั ขึน ่ บ
ั จานวนทีน่ ่ งั ว่างในแต่ละโรงเรียน
จูเนียร์ คอลเลจ/ เตรียมอุดมศึกษา เมือ ่ นักเรียนสอบ GCE ‘O’ Level
ได้สาเร็จแล้ว นักเรียนสามารถสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับจูเนียร์
คอลเลจเป็ นเวลา 2 ปี หรือศึกษาทีส ่ ถาบันกลางการศึกษา (centralised
institute) เป็ นเวลา 3 ปี เพือ
่ เตรียมศึกษาต่อระดับมหาวิทยาลัย จูเนียร์
คอลเลจ และ
สถาบันกลางการศึกษาจะสอนทุกอย่างเพือ ่ เตรียมตัวให้นกั เรียนเข้าศึกษาในระ
ดับมหาวิทยาลัยได้ หลักสูตรหลักแบ่งเป็ น 2 หลักสูตร คือ วิชาความรูท ้ ่วั ไป
(General Paper) และภาษาแม่ เมือ ่ เรียนจบจูเนียร์ คอลเลจ
นักเรียนจะต้องสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of
Education ‘Advanced’ (GCE ‘A’ Level) โดยเลือกวิชาสอบสูงสุดได้ 4
วิชา จากวิชาในหมวดศิลปะ วิทยาศาสตร์และธุรกิจการค้า
ึ้ อยูก
การรับนักเรียนต่างชาติก็ขน ่ บ
ั ทีน
่ ่ งั ว่างในโรงเรียนเช่นกัน
โพลีเทคนิค
โพลีเทคนิคสร้างขึน้ เพือ
่ อบรมหลักสูตรทีห
่ ลากหลายให้แก่นกั ศึกษาทีต
่ อ
้ งการ
ฝึ กปรือฝี มือในระดับประกาศนียบัตร และอนุปริญญา ในขณะนี้มีโพลีเทคนิค
5 แห่งในสิงคโปร์ ได้แก่ Nanyang Polytechnic, Ngee Ann
Polytechnic, Republic Polytechnic, Singapore Polytechnic,
Temasek Polytechnic
สถาบันเหล่านี้มีหลักสูตรการสอนมากมายทีม ่ ุง่ เน้นให้สามารถไปประกอ
บอาชีพในอนาคต เช่น วิศวกรรม บริหารธุรกิจ การสือ ่ สารมวลชน
การออกแบบดีไซน์ เทคโนโลยีสารสนเทศ และหลักสูตรเฉพาะทางอย่างเช่น
การวัดสายตา วิศวกรรมทางทะเล การศึกษาเกีย่ วกับการเดินเรือ พยาบาล
การเลี้ยงดูเด็กอ่อน และการทาภาพยนตร์
นักเรียนทีจ่ บการศึกษาในจากโพลีเทคนิคเป็ นทีน ่ ิยมของบริษท ั ต่าง ๆ
เพราะได้รบ ั การยอมรับว่ามีความสามารถ
ทักษะและประสบการณ์ ทพ ี่ ร้อมจะเข้าสูโ่ ลกแห่งเศรษฐกิจใหม่
สถาบันเทคนิคศึกษา สถาบันเทคนิคการศึกษา (Institute of
Technical Education – ITE)
เป็ นอีกหนึ่งทางเลือกของนักเรียนทีจ่ บจากชัน
้ มัธยมศึกษาและต้องการพัฒนาทั
กษะด้านเทคโนโลยีและความรูท ้ างอุตสาหกรรมแขนงต่าง ๆ
นอกจากโปรแกรมฝึ กอบรมเต็มเวลาสาหรับนักเรียนทีจ่ บจากชัน ้ มัธยมศึกษาแ
ล้ว
และยังมีโปรแกรมสาหรับผูใ้ หญ่ทต ี่ อ
้ งการเพิม
่ พูนความรูข
้ องตนด้านเทคโนโล
ยีและอุตสาหกรรมอีกด้วย
มหาวิทยาลัย (Universities) ในสิงคโปร์มี 4 แห่ง ได้แก่
National University of Singapore (NUS) Nanyang
Technological University (NTU) Singapore Management
University (SMU) Singapore University of Technology and
Design (SUTD)
มหาวิทยาลัยทัง้ สามแห่งได้ผลิตนักศึกษาปริญญาทีม ่ ีคณ
ุ ภาพและเป็ นทีย่ อมรับ
มากมาย นอกจากนี้
มหาวิทยาลัยทัง้ หมดยังให้โอกาสแก่นกั ศึกษาทีม
่ ีความรูแ ้ ต่ขาดทุนทรัพย์
โดยการให้ทุนเพือ ่ ศึกษาและการวิจยั ในระดับปริญญาโท
มหาวิทยาลัยแห่งชาติสงิ คโปร์ (NUS) ก่อตัง้ ในปี ค.ศ. 1905
เปิ ดสอนหลักสูตรต่าง ๆ ทีม ่ ีชือ
่ เสียงมานาน เช่น วิทยาศาสตร์
วิศวกรรมศาสตร์ เทคโนโลยี กฎหมาย ศิลปศาสตร์ สังคมศาสตร์
และแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนน ้ ในปี ค.ศ. 1981
ั ยาง (NTU) ก่อตัง้ ขึน
เป็ นมหาวิทยาลัยทีเ่ น้นการสอนและการวิจยั ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี
ต่อมาได้รว่ มกับวิทยาลัยครู (National Institute Education – NIE)
เพิม่ หลักสูตรการเรียนการสอนในสาขาการบัญชี
บริหารธุรกิจและสือ ่ สารมวลชน
มหาวิทยาลัยการจัดการแห่งสิงคโปร์ (SMU) ก่อตัง้ ขึน ้ ในปี 2000
โดยเป็ นมหาวิทยาลัยของรัฐแต่บริหารจัดการแบบเอกชน
เน้นการเรียนการสอนด้านธุรกิจการจัดการ
Singapore University of Technology and Design (SUTD)
้ ในปี 2011
ก่อตัง้ ขึน
มหาวิทยาลัยนานาชาติในสิงคโปร์
นอกจากมหาวิทยาลัยของสิงคโปร์เองแล้ว
สิงคโปร์ยงั มีมหาวิทยาลัยนานาชาติระดับโลกมาเปิ ดสาขาหลายสถาบัน อาทิ
มหาวิทยาลัย INSEAD ซึง่ ติด 1 ใน 10 มหาวิทยาลัยดีเด่นของยุโรป
และได้ลงทุนเป็ นจานวนเงินถึง 60
ล้านเหรียญสหรัฐในการสร้างสิง่ อานวยความสะดวกในบริเวณศูนย์วท ิ ยาศาสต
ร์
นับเป็ นครัง้ แรกทีม
่ หาวิทยาลัยทางด้านธุรกิจนานาชาติมาตัง้ วิทยาเขตเต็มรูปแ
บบในเอเชีย และในปี ค.ศ. 2000 University of Chicago Graduate
School of
Businessได้มาเปิ ดคณะธุรกิจและเลือกสิงคโปร์เป็ นวิทยาเขตถาวรแห่งแรกใ
นเอเชียเช่นกัน
สถาบันการศึกษาเอกชน
ในสิงคโปร์คุณสามารถเลือกได้วา่ อยากเรียนสถาบันการศึกษาเอกชนแบบไห
น เนื่องจากมีสถาบันการศึกษาเอกชนมากมายทีเ่ ปิ ดสอนหลักสูตรต่าง ๆ
กันไปมากกว่า 300 สถาบัน ตัง้ แต่ ธุรกิจ เทคโนโลยี ศิลปะ
จนถึงโรงเรียนสอนภาษา
เพือ
่ ตอบสนองความต้องการของคนสิงคโปร์เองและนักเรียนจากต่างชาติ
นักเรียนสามารถเลือกได้วา่ จะเรียนหลักสูตรระดับใดได้ในสถาบันการศึกษาเอ
กชน ตัง้ แต่ระดับประกาศนียบัตร อนุปริญญา จนถึงปริญญาระดับต่าง ๆ
โดยทีส ่ ถาบันการศึกษาเอกชนในสิงคโปร์มีมหาวิทยาลัยพันธมิตรมากมายจาก
สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และออสเตรเลีย
จึงทาให้นกั เรียนได้สมั ผัสกับบรรยากาศและสิง่ อานวยความสะดวกทีพ่ รั่งพร้อ
ม อย่างไรก็ดี เนื่องจากแต่ละสถาบันจัดรับสมัครและการสอบขึน้ เอง
นักเรียนจึงต้องติดต่อกับแต่ละโรงเรียนโดยตรงหากสนใจและต้องการข้อมูลเ
พิม
่ เติมและเมือ่ สนใจในสถาบันการศึกษาเอกชนใด
คุณต้องมั่นใจก่อนเลือกเรียนว่าหลักสูตรนัน ้ ๆ
ครอบคลุมทุกอย่างทีค ่ ณุ ต้องการไม่วา่ จะเป็ น
หลักสูตรวิชา :
ประกาศนียบัตรทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับโดยทั่วไป
สิง่ อานวยความสะดวกในโรงเรียน เช่น ห้องเรียน ห้องคอมพิวเตอร์ เป็ นต้น
บริการสาหรับนักเรียนต่างชาติ เช่น การอานวยความสะดวกในการทาวีซา่
การปฐมนิเทศและอาจารย์–ทีป ่ รึกษาสาหรับนักเรียนต่างชาติ เป็ นต้น
โรงเรียนนานาชาติ
โรงเรียนทีส ่ อนหลักสูตรต่างประเทศหรือโรงเรียนนานาชาติได้เปิ ดโอกาสให้น้
อง ๆ ได้ศก ึ ษาหาความรูใ้ นแบบเดียวกับประเทศต้นกาเนิดของโรงเรียน
โรงเรียนเหล่านี้จดทะเบียนถูกต้องกับกระทรวงศึกษาธิการของประเทศสิงคโป
ร์ และมีการวางแนวทางหลักสูตรการศึกษาเหมือนกับโรงเรียนในประเทศนัน ้
โดยปกติโรงเรียนนานาชาติทเี่ ข้ามาเปิ ดในสิงคโปร์จะมีทง้ ั นักเรียนจากต่างปร
ะเทศและชาวต่างชาติจากชาตินน ้ั ๆ
ทีเ่ ข้ามาอาศัยอยูใ่ นสิงคโปร์เป็ นการชั่วคราว
บางโรงเรียนจะกาหนดคุณสมบัตข ิ น
้ ั ต้นของนักเรียนทีม
่ าสมัครเช่น สัญชาติ
หรือความสามารถทางด้านภาษา
ค่าเล่าเรียนในแต่ละปี จะแตกต่างกันไปตามแต่ละโรงเรียน
โดยเฉลีย่ อยูท ่ ป
ี่ ระมาณ 4,600-14,000 เหรียญสิงคโปร์ตอ ่ ปี
สาหรับชัน ้ เรียนเด็กเล็ก และ 6,000-18,000 เหรียญสิงคโปร์ตอ ่ ปี
สาหรับชัน ้ เรียนเด็กโต ทัง้ นี้
การจัดสอบและการปิ ดเทอมก็แตกต่างกันไปในแต่ละโรงเรียนด้วยเช่นกัน
โรงเรียนชัน ้ นาสองแห่งของสิงคโปร์ นั่นคือ Anglo-Chinese School
(ACS) และ Hwa Chong Institution
ได้กอ่ ตัง้ เป็ นโรงเรียนเอกชนขึน ้ โดยเริม ่ รับนักเรียนเข้าศึกษาครัง้ แรกในเดือน
ธันวาคม พ.ศ. 2548
้ นัน
โรงเรียนทัง้ สองแห่งทีจ่ ดั ตัง้ ขึน ้
ได้เปิ ดการเรียนการสอนทัง้ ในระดับมัธยมศึกษาและระดับหลังจบระดับมัธยม
ศึกษาACS Internationalจะมีหลักสูตร GCSE
นานาชาติและหลักสูตรอนุปริญญาสาหรับผูส ้ าเร็จการศึกษาระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายนานาชาติ (International Baccalaureate
Diploma Programme) ขณะที่ Hwa Chong
Internationalจะมีหลักสูตรระดับมัธยมศึกษา
และก่อนมหาวิทยาลัยซึง่ จะได้รบ
ั ประกาศนียบัตร GCE A Level
ในขัน
้ สูงสุด
วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สาธารณสุข[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
สวัสดิการสังคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ประชากร[แก้]
เชื้อชาติ[แก้]
สิงค์โปร์เป็ นประเทศทีม่ ีประชากรหนาแน่ นทีส
่ ุดในภูมภ
ิ าค
และเป็ นประเทศเล็กทีส ่ ุดในภูมภิ าค
เป็ นประเทศทีม ่ ีประชากรหนาแน่ นเป็ นอันดับ 2 ของโลก
มีจานวนประชากรประมาณ 5,543,494 (ข้อมูล ณ วันที่ 1 มีนาคม ค.ศ.
2013) ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมลายู (13.8%) ชาวอินเดีย
(8.1%) และอืน ่ ๆ (1.6%)
ศาสนา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ศาสนาในประเทศสิงคโปร์
ศาสนาในประเทศสิงคโปร์
ศาสนา ร้อยละ
พุทธ   33%
คริสต์   18.3%
ไม่มีศาสนา   17%
อิสลาม   14.7%
เต๋า   10.9%
ฮินดู   5.1%
อืน
่ ๆ   0.7%
ในปี ค.ศ. 2010[7] ประเทศสิงคโปร์มีผน
ู้ บั ถือศาสนา
แบ่งได้ดงั นี้ ศาสนาพุทธ 33% ศาสนาคริสต์ 18.3% ศาสนาอิสลาม 14.7%
ลัทธิเต๋า10.9% ศาสนาฮินดู 5.1% ศาสนาอืน ่ ๆ 0.7%
และไม่มีศาสนา 17%
ภาษา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ภาษาในสิงคโปร์
สิงคโปร์มีภาษาราชการถึง 4 ภาษา คือ อังกฤษ จีนกลาง มลายู และทมิฬ
ศิลปวัฒนธรรมก็เป็ นลักษณะผสมระหว่างจีน มาเลเซีย และอินเดีย
ภาษาประจาชาติ: คือภาษามลายู
วัฒนธรรม[แก้]
ดูบทความหลักที:่ วัฒนธรรมสิงคโปร์
อาหาร[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
อิทธิพลทางวัฒนธรรมทีส ่ งิ คโปร์ได้รบ ้
ั หลังจากการก่อตัง้ ประเทศขึน
ื วัฒนธรรมของจีน อาหารก็เป็ นส่วนหนึ่งในวัฒนธรรมนี้ดว้ ยเช่น
ก็คอ
หมูสะเต๊ะ ข้าวมันไก่ ขนมจีบ เป็ นต้น
ลักซา (Laksa) อาหารขึน ้ ชือ
่ ของประเทศสิงคโปร์
ลักซามีลกั ษณะคล้ายก๋วยเตีย๋ วต้มยาใส่กะทิ ทาให้รสชาติเข้มข้น
คล้ายคลึงกับข้าวซอยของไทย โดยลักซาจะมีสว่ นผสมของ กุง้ แห้ง พริก กุง้ ต้ม
และหอยแครง เหมาะสาหรับคนทีช ่ อบรับประทานอาหารทะเลเป็ นอย่างยิง่
อย่างไรก็ตาม ลักซามีทง้ ั แบบทีใ่ ส่กะทิ และไม่ใส่กะทิ ทว่า
แบบทีใ่ ส่กะทิจะเป็ นทีน
่ ิยมมากกว่า
ดนตรี[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ได้
สือ
่ สารมวลชน[แก้]
ดูบทความหลักที:่ สือ่ สารมวลชนในสิงคโปร์
วันหยุด[แก้]
ดูบทความหลักที:่ รายชือ่ วันสาคัญของสิงคโปร์
กีฬา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ สิงคโปร์ในกีฬาเครือจักรภพ, สิงคโปร์ในโอลิมปิ ก และ สิงค
โปร์ในเอเชียนเกมส์
ฟุตบอล[แก้]
ดูบทความหลักที:่ สมาคมฟุตบอลสิงคโปร์, ฟุตบอลทีมชาติสงิ คโปร์ และ ฟุตซ
อลทีมชาติสงิ คโปร์
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ฟุตบอลสิงคโปร์สามารถเข้าถึงรอบ20 ทีม สุดท้ายได้
แต่ตอ
้ งตกรอบเหมือนกับทีมในอาเซียนเหมือนกันคือ ไทย อินโดนีเซีย
ในสมัยนี้ประเทศสิงคโปร์ได้พฒ
ั นาไวมาก
อ้างอิง[แก้]

1. กระโดดขึน ้ ↑ Chew, Ernest (1991). Lee,


Edwin, ed. A History of Singapore.
Oxford University Press. ISBN 0-19-
588917-7.
2. กระโดดขึน ้ ↑ Hoe Yeen Nie (2 June
2009). "State of Singapore came into
being 50 years ago on 3 June". Channel
News Asia (Singapore).
3. ↑ กระโดดขึน้ ไป:3.0 3.1 3.2 อ้างอิงผิดพลาด:
ป้ ายระบุ <ref> ไม่ถก ู ต้อง
ไม่มีการกาหนดข้อความสาหรับอ้างอิงชือ ่ LOC
2
4. กระโดดขึน ้ ↑ "Statistics Singapore - Latest
Data - Population (Mid-Year Estimates)".
Statistics Singapore. June 2012.
สืบค้นเมือ ่ 10 November 2012.
5. กระโดดขึน ้ ↑ "2008 Estimate". Singapore
Statistics. 2009. สืบค้นเมือ ่ 2 July 2011.
6. กระโดดขึน ้ ↑ "Climatological Normals of
Singapore". Hong Kong Observatory.
สืบค้นเมือ ่ 12 May 2010.
7. กระโดดขึน ้ ↑ [1] Religion in Singapore

You might also like