You are on page 1of 11

ประเทศอินโดนีเซีย

จากวิกพ
ิ ีเดีย สารานุกรมเสรี
สาธารณรัฐอินโดนีเซีย

Republic of Indonesia (อินโดนีเซีย)

ธงชาติ ตราแผ่นดิน

คาขวัญ: Bhinneka Tunggal Ika


(ชวาเก่า/กาวี: "เอกภาพท่ามกลางความหลากหลาย")

เพลงชาติ: อินโดเนเซียรายา

MENU
0:00

เมืองหลวง จาการ์ตา
(และเมืองใหญ่สุด) 6°08′S 106°45′E
ภาษาราชการ ภาษาอินโดนีเซีย
การปกครอง ประชาธิปไตยระบบประธานาธิบดี
- ประธานาธิบดี โจโก วีโดโด
- รองประธานาธิบดี จูซุป กัลลา
เอกราช จาก เนเธอร์แลนด์
- ประกาศ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2488
- เป็ นทีย่ อมรับ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2492
พื้นที่
- รวม 1,904,569 ตร.กม. (14)
735,355 ตร.ไมล์
- แหล่งน้า (%) 4.85tvvh
ประชากร
- 4 กรกฎาคม 263,991,000 (4)
2560 (ประเมิน)
- ความหนาแน่ น 116 คน/ตร.กม. (84)
302 คน/ตร.ไมล์
จีดพ
ี ี (อานาจซื้อ) 2560 (ประมาณ)
- รวม $ 3.257 ล้านล้าน
- ต่อหัว $ 12,432
จีดพ
ี ี (ราคาตลาด) 2560 (ประมาณ)
- รวม $ 1.020 ล้านล้าน
- ต่อหัว $ 3,895
HDI (2558) 0.689 (ปานกลาง) (113th)
สกุลเงิน รูเปี ยห์ ( IDR )
เขตเวลา มีหลายเขต (UTC+7 to +9)
• ฤดูรอ้ น (DST) not observed (UTC+7 to +9)
ขับรถด้าน ซ้ายมือ
โดเมนบนสุด .id
รหัสโทรศัพท์ 62
อินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Indonesia)
หรือชือ ่ ทางการคือ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย: Republic
Indonesia) เป็ นหมูเ่ กาะทีใ่ หญ่ทสี่ ุดในโลก
ตัง้ อยูร่ ะหว่างคาบสมุทรอินโดจีนกับทวีปออสเตรเลีย และระหว่างมหาสมุทรอิ
นเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก มีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซียบนเกาะบอร์เนี
ยวหรือกาลีมน ั ตัน
(Kalimantan), ประเทศปาปัวนิวกินีบนเกาะนิวกินีหรืออีเรียน (Irian)
และประเทศติมอร์-เลสเตบนเกาะติมอร์(Timor)

วัดปูราตามันอายุน จังหวัดบาหลี เดิมเป็ นทีต


่ ง้ ั ของอาณาจักรบาดุง
อินโดนีเซียประกอบด้วยหมูเ่ กาะทีม ่ ีความเจริญรุง่ เรืองมาช้านาน
แต่ตอ ่ มาต้องตกอยูภ ่ ายใต้การปกครองของเนเธอร์แลนด์อยูป ่ ระมาณ 301 ปี
ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2485 ซึ่งเป็ นช่วงสงครามโลกครัง้ ที่
2 ญีป ่ ุ่ นบุกอินโดนีเซีย
และทาการขับไล่เนเธอร์แลนด์เจ้าอาณานิคมของอินโดนีเซียออกไปได้สาเร็จ
จึงทาให้ผน ู้ าอินโดนีเซียคนสาคัญในสมัยนัน ้ ให้ความร่วมมือกับญีป ่ ุ่ นแต่ไม่ได้
ให้ความไว้วางใจกับญีป ่ ุ่ นมากนัก เพราะมีเหตุเคลือบแคลงคือ
เมือ่ ผูร้ กั ชาติอน ิ โดนีเซียจัดตัง้ ขบวนการต่างๆขึน ้ มา
ญีป่ ุ่ นจะขอเข้าร่วมควบคุมและดาเนินงานด้วย
เมือ
่ ญีป
่ ุ่ นแพ้สงครามและประกาศยอมจานนต่อฝ่ ายพันธมิตร
อินโดนีเซียได้ถือโอกาสประกาศเอกราชใน พ.ศ.
2488 แต่เนเธอร์แลนด์เจ้าของอาณานิคมเดิมไม่ยอมรับการประกาศเอกราช
ของอินโดนีเซีย จึงยกกองทัพเข้าปราบปราม
ผลจากการสูร้ บปรากฏว่าเนเธอร์แลนด์ไม่สามารถปราบปรามกองทัพอินโดนีเ
ซียได้
จากนัน ้ อังกฤษซึ่งเป็ นพันธมิตรกับเนเธอร์แลนด์จงึ เข้ามาช่วยไกล่เกลีย่ เพือ
่ ให้
ยุตค
ิ วามขัดแย้งกัน โดยให้ทง้ ั สองฝ่ ายลงนามในข้อตกลงลิงกัดยาติ
(Linggadjati Agreement) เมือ ่ พ.ศ.
2489 โดยเนเธอร์แลนด์ยอมรับอานาจรัฐของรัฐบาลอินโดนีเซียในเกาะชวาแ
ละสุมาตรา
ต่อมาภายหลังเนเธอร์แลนด์ได้ละเมิดข้อตกลงโดยได้นาทหารเข้าโจมตีอน ิ โด
นีเซียทาให้ประเทศอืน ่ ๆ เช่น ออสเตรเลีย
และอินเดียได้ยืน ่ เรือ
่ งให้คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเข้าจัดการ
สหประชาชาติได้เข้าระงับข้อพิพาทโดยตัง้ คณะกรรมการประกอบด้วย
ออสเตรเลีย เบลเยียม และสหรัฐอเมริกา
เพือ
่ ทาหน้าทีไ่ กล่เกลีย่ ประนีประนอมและได้เรียกร้องให้หยุดยิง
แต่เนเธอร์แลนด์ได้เข้าจับกุมผูน ้ าคนสาคัญของอินโดนีเซีย
คือ ซูการ์โนและฮัตตาไปกักขัง
ต่อมาทหารอินโดนีเซียสามารถช่วยเหลือนาตัวผูน ้ าทัง้ สองออกมาได้
ในระยะนี้ทุกประเทศทั่วโลกต่างตาหนิการกระทาของเนเธอร์แลนด์อย่างยิง่ แล
ะคณะมนตรีความมั่นคงได้กดดันให้เนเธอร์แลนด์มอบเอกราชแก่อน ิ โดนีเซีย
ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ.
2492 อินโดนีเซียได้รบ ั เอกราชแต่ความยุง่ ยากยังคงมีอยูเ่ นื่องจากเนเธอร์แล
นด์ไม่ยน ิ ยอมให้รวมดินแดนอิเรียนตะวันตกเข้ากับอินโดนีเซีย
ทัง้ สองฝ่ ายจึงต่างเตรียมการจะสูร้ บกันอีก
ผลทีส ่ ุดเนเธอร์แลนด์ก็ยอมโอนอานาจให้สหประชาชาติควบคุมดูแลอิเรียนตะ
วันตกและให้ชาวอิเรียนตะวันตกแสดงประชามติวา่ จะรวมกับอินโดนีเซียหรือ
ไม่
ผลการออกเสียงประชามติปรากฏว่าชาวอิเรียนตะวันตกส่วนใหญ่ตอ ้ งการรวม
กับอินโดนีเซีย
สหประชาชาติจงึ โอนอิเรียนตะวันตกให้อยูใ่ นความปกครองของอินโดนีเซียเมื่
อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2506
การเมืองการปกครอง[แก้]
ประเทศอินโดนีเซียมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ
มีประธานาธิบดีเป็ นประมุขและทาหน้าทีป
่ กครองประเทศ
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
ปัจจุบน
ั ประเทศอินโดนีเซียแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 31 จังหวัด
(propinsi-propinsi), 2 เขตปกครองพิเศษ* (daerah-daerah istimewa)
และ 1 เขตนครหลวงพิเศษ** (daerah khusus ibukota)
โดยมีเมืองหลวงหรือเมืองหลักของแต่ละจังหวัด ได้แก่
อาเจะฮ์ สุมาตราเหนือ สุมาตราตะวันตก เรียว หมูเ่ กาะเรียว หมูเ่ กาะบังกา
เบอลีตงุ จัมบี สุมาตราใต้
เบิงกูลู ลัมปุง บันเติน จาการ์ตา ชวา ตะวันตก ชวากลาง ยกยาการ์ตา
ชวาตะวันออก บาหลี
นูซาเติงการา ตะวันตก นูซาเติงการาตะวันออก กาลีมน ั ตันเหนือ
กาลีมน ั ตันตะวันตก กาลีมน
ั ตันกลาง
กาลีมนั ตันตะวันออก กาลีมน ั ตันใต้ ซูลาเวซีเหนือ มาลูกูเหนือ ซูลาเวซีกลาง
โก-รนตาโล ซูลาเวซีตะวันตก
ซูลาเวซีใต้ ซูลาเวซีตะวันออกเฉี ยงใต้ มาลูกู ปาปัวตะวันตก ปาปัว
 เกาะสุมาตรา
 จังหวัดอาเจะฮ์* - บันดาอาเจะฮ์
 เกาะบอร์เนี ยว
 จังหวัดสุมาตราเหนื อ - เมดัน
 จังหวัดกาลีมนั ตันเหนือ - ตันจ
 จังหวัดสุมาตราใต้ - ปาเล็มบัง
 จังหวัดกาลีมน ั ตันกลาง - ปาลัง
 จังหวัดสุมาตราตะวันตก - ปาดัง
 จังหวัดกาลีมน ั ตันใต้ - บันจาร
 จังหวัดเรียว - เปอกันบารู
 จังหวัดกาลีมน ั ตันตะวันออก -
 หมูเ่ กาะเรียว - ตันจุงปี นัง
 จังหวัดกาลีมน ั ตันตะวันตก - ป
 จังหวัดจัมบี - จัมบี
 เกาะซูลาเวซี
 หมูเ่ กาะบังกา-เบอลีตง ุ - ปังกัลปี นัง
 จังหวัดโก-รนตาโล - โก-รนตา
 จังหวัดเบิงกูลู - เบิงกูลู
 จังหวัดซูลาเวซีเหนื อ - มานาโ
 จังหวัดลัมปุง - บันดาร์ลม ั ปุง
 จังหวัดซูลาเวซีกลาง - ปาลู
 เกาะชวา
 จังหวัดซูลาเวซีใต้ - มากัสซาร
 เขตนครหลวงพิเศษจาการ์ตา**
 จังหวัดซูลาเวซีตะวันออกเฉี ยง
 จังหวัดชวากลาง - เซอมารัง
 จังหวัดซูลาเวซีตะวันตก - มาม
 จังหวัดชวาตะวันออก - ซูราบายา
 หมูเ่ กาะโมลุกกะ
 จังหวัดชวาตะวันตก - บันดุง
 จังหวัดมาลูกู - อัมบน
 จังหวัดบันเติน - เซอรัง
 จังหวัดมาลูกูเหนื อ - โซฟี ฟี
 เขตพิเศษยกยาการ์ตา*
 เกาะนิวกินี
 หมูเ่ กาะซุนดาน้อย
 จังหวัดปาปัว - จายาปูรา
 จังหวัดบาหลี - เดินปาซาร์
 จังหวัดปาปัวตะวันตก - มาโน
 จังหวัดนู ซาเติงการาตะวันออก - กูปง ั
 จังหวัดนู ซาเติงการาตะวันตก - มาตารัม

นโยบายต่างประเทศ[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
กองทัพ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ กองทัพอินโดนีเซีย
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
คมนาคม และ โทรคมนาคม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี[แก้]
แม่แบบ:ไม่บอกเขิน
ภูมอ
ิ ากาศ[แก้]
ลักษณะอากาศแบบศูนย์สูตร ประกอบด้วย 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง
(พฤษภาคม-ตุลาคม) และฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน)
อินโดนีเซียมีฝนตกชุกตลอดปี แต่อุณหภูมไิ ม่สูงมากนัก
เพราะพื้นทีเ่ ป็ นเกาะจึงได้รบ
ั อิทธิพลจากทะเลอย่างเต็มที่
ภูมศ
ิ าสตร์[แก้]
อินโดนีเซียเป็ นประเทศหมูเ่ กาะขนาดใหญ่ทส ี่ ุดในโลกมีพื้นทีร่ วมทัง้ หมด
ประมาณ 1,826,440 ตารางกิโลเมตร มีประมาณ 17,000 เกาะ พื้นทีก ่ ว่า
70% ไม่มีผค ู้ นอาศัย มีภูเขาสูงตามเทือกเขาทีม
่ ีความสูงมากอยูต ่ ามเกาะต่าง
ๆ ตามบริเวณเขามักมีภูเขาไฟและมีทรี่ าบรอบเทือกเขา
ชายเกาะมีความสูงใกล้เคียงกับระดับน้าทะเล
ทาให้มีทรี่ าบบางแห่งเต็มไปด้วยหนองบึงใช้ประโยชน์ไม่ได้
ประเทศอินโดนีเซียมีหมูเ่ กาะหลัก 5 เกาะคือ อีเรียน (Irian), ชวา
(Java), กาลีมน ั ตัน (Kalimantan), ซูลาเวซี (Sulawesi) และสุมาตรา
(Sumatra) เกาะทีใ่ หญ่ทส ี่ ุดคือเกาะสุมาตรา
ส่วนเกาะชวาเป็ นเกาะทีเ่ ล็กทีส ่ ุดในบรรดาเกาะหลักทัง้ 5 เกาะ
แต่ประมาณร้อยละ 60 ของประชากรกว่า 200
ล้านคนอาศัยอยูบ ่ นเกาะนี้และเป็ นทีต่ ง้ ั กรุงจาการ์ตาซึ่งเป็ นเมืองหลวง
หมูเ่ กาะเหล่านี้อยูใ่ นภูมภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก
ชายฝั่งของประเทศอินโดนีเซียยาวประมาณ 2,600 กิโลเมตร
และมีพรมแดนติดกับประเทศมาเลเซีย ปาปัวนิวกีนี และติมอร์ตะวันออก
ประชากร[แก้]
จานวนประชากรทัง้ หมด 251,170,193 คน
โดยการประมาณการของสหประชาชาติ[ต้องการอ้างอิง]
เชื้อชาติ[แก้]
ดูบทความหลักที:่ กลุม
่ ชาติพน
ั ธุ์ในอินโดนีเซีย และ ภาษาในประเทศอินโดนีเ
ซีย
ณ ทีน่ น
้ ั ความแตกต่างของกลุม ่ ชาติพน
ั ธุ์ประมาณ 300
กว่ากลุม
่ ชาติพน ั ธุ์ และภาษาพื้นเมือง และสาเนียงท้องถิน
่ ทีแ
่ ตกต่างกันถึง
742 ภาษา
ชาวอินโดนีเซียส่วนมากสืบเชื้อสายมาจากชนเผ่าทีพูดตระกูลภาษาออสโตรนีเ
ซียน ภาษาของกลุม ่ ชนดังกล่าวสามารถทีจ่ ะสืบค้นย้อนไปถึง ภาษาโปรโต-
ออสโตรเนเชียน ซึง่ เป็ นไปได้วา่ มีตน ้ กาเนิดในไต้หวัน นอกจากนี้
ยังมีกลุม ่ ชนเผ่าทีส ่ หนึ่ง คือ เผ่าเมลาเนเซียน
่ าคัญอีกกลุม
้ งึ่ อาศัยอยูบ
ผูซ ่ นเกาะปาปัว ภาคตะวันออก
ของประเทศอินโดนีเซีย ชาวชวา คือ กลุม ่ ชนเผ่าทีม
่ ีจานวนมากทีส ่ ุด
ซึง่ มีอยูร่ าว 42% ของจานวนประชากร เป็ นกลุม ่ ชนชัน ้ นาทางการเมือง
และวัฒนธรรม นอกจากนี้ยงั มีกลุม ่ ชนชาติหลักๆ ทีม ่ ีจานวนพอๆ
กับชาวชวา เช่น ชาวซุนดา ชาวมาเล และชาวมาดูรา จิตสานึกของความเป็ น
ชาวอินโดนิเซีย
จะขนานควบคูไ่ ปกับอัตลักษณ์ ของท้องถิน ่ ตนเองอย่างเหนียวแน่ น
ความตึงเครียดทางสังคม ศาสนา และเชื้อชาติ
เป็ นสิง่ ทีเ่ คยกระตุน
้ ให้เกิดความขัดแย้งรุนแรง อันน่ าสะพรึงกลัวมาแล้ว
ชาวอินโดนิเซียเชื้อสายจีน เป็ นชนกลุม ่ น้อยในประเทศ แต่ทรงอิทธิพลอย่างยิง่
มีจานวนราวๆ 3-4 % ของจานวนประชากรอินโดนีเซีย
ศาสนา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
ศาสนาในประเทศอินโดนีเซีย
ศาสนา ร้อยละ
อิสลาม   87.2%
คริสต์   9.9%
ฮินดู   1.7%
พุทธ   0.7%
ขงจื๊อและอืน

  0.2%

ในปี ค.ศ. 2010[1] ประเทศอินโดนีเซียมีผน
ู้ บ
ั ถือศาสนา
แบ่งได้ดงั นี้ ศาสนาอิสลาม 87.2% ศาสนาคริสต์ 9.9% ศาสนาฮินดู 1.7% ศ
าสนาพุทธ 0.7% ลัทธิขงจื๊อและศาสนาอืน่ ๆ 0.2%
การศึกษา[แก้]
ระบบการศึกษาในโรงเรียนของอินโดนีเซีย
ประกอบด้วยการศึกษาขัน ้ พื้นฐาน การศึกษาชัน้ มัธยมและการศึกษาระดับสูง
และยังมีการศึกษาก่อนวัยเรียนเพือ ่ เตรียมควมพร้อมของเด็ก
การศึกษาขัน ้ พื้นฐานของอินโดนีเซียกินเวลา 9 ปี ตัง้ แต่ชน ้ ั ประถมศึกษาปี ที่ 1
ถึงชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 เป็ นการสร้างเสริมทักษะพื้นฐานให้แก่
ผูเ้ รียนเตรียมความพร้อมในฐานะปัจเจกชน ประชาชน และมนุษยชาติ
ในระดับการศึกษาขัน ้ พื้นฐานนี้จดั แบ่งโรงเรียนเป็ น 2 ลักษณะ คือ
โรงเรียนประถมศึกษาทั่วไป (General primary school)
และโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษสาหรับเด็กพิการ (Special primary
school for handicapped children)
ระบบการศึกษาของอินโดนีเซียตัง้ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษาไว้ว่

1.พัฒนาความรูข ้ องนักเรียนสาหรับการศึกษาต่อเนื่องในระดับทีส ้ และเพื่
่ ูงขึน
อพัฒนาตนเองให้สอดคล้องกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีและศาสตร์แขนงต่างๆ
2.พัฒนาความสามารถของนักเรียนในฐานะเป็ นสมาชิกของสังคมให้มีปฏิสม ั พั
นธ์ตอ
่ สังคม วัฒนธรรม และสิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติ
โรงเรียนมัธยมศึกษาของอินโดนีเซีย แบ่งการเรียนการสอนออกเป็ น 6
แบบ เพือ่ ผลิตนักเรียนตามความต้องการของผูเ้ รียนในอนาคต ดังนี้
1.การศึกษาระดับมัธยมศึกษาทั่วไป เป็ นการเตรียมความรู ้
และพัฒนาทักษะสาหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาต่อไป
2.การศึกษาระดับมัธยมศึกษาทางวิชาชีพ สามารถแยกการศึกษานี้ออกเป็ น 6
กลุม่ ในสาขาวิชาชีพต่างๆ ได้แก่ เกษตรกรรมและการป่ าไม้
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ธุรกิจและการจัดการ ความเป็ นอยูข ่ องชุมชน
การท่องเทีย่ ว และศิลปะหัตถกรรม 3.การศึกษาระดับมัธยมศึกษาด้านศาสนา
4.การศึกษาระดับมัธยมศึกษาด้านการบริการ
เป็ นการจัดการศึกษาเพือ่ เตรียมความรูค ้ วามสามารถสาหรับผูท ้ จี่ ะเข้าเป็ นพนั
กงานหรือข้าราชการ 5.การศึกษาระดับมัธยมศึกษาพิเศษ
เป็ นการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนทีพ ่ กิ ารทางร่างกายหรือจิตใจ
6.การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระดับปริญญาตรีใช้เวลา 3-4 ปี ปริญญาโท 2 ปี
ปริญญาเอก 3 ปี
สถาบันทีใ่ ห้การศึกษาระดับสูงนี้มีลกั ษณะเป็ นสถาบันวิชาการ โพลีเทคนิค
สถาบันการศึกษา และมหาวิทยาลัย
อย่างไรก็ตาม
ยังมีสงิ่ ทีส
่ ะท้อนปัญหาความไม่สมดุลในการจัดการศึกษาของอินโดนีเซีย
เนื่องจากอินโดนีเซียมีประชากรจานวนมากทีส ่ ุดในอาเซียนคือ 243 ล้านคน
แต่มีผเู้ ข้าสูงการศึกษาขัน
้ สูงหรือระดับปริญญาตรีขน ึ้ ไปประมาณ 4.8
ล้านคนเท่านัน ้
ทัง้ กลุม
่ คนเหล่านี้ก็สนใจทีจ่ ะศึกษาต่อในต่างประเทศเพือ ่ สร้างโอกาสในการทา
งาน เคยมีผลสารวจระบุวา่
นายจ้างในอินโดนีเซียยินดีรบ ั ผูจ้ บการศึกษาจากต่างประเทศมากกว่าผูท ้ จี่ บใน
ประเทศค่านิยมแบบนี้จงึ ผลักดันให้เยาวชนอินโดนีเซียต้องออกไปศึกษาต่อขั้
นสูงในต่างประเทศแทน
วัฒนธรรม[แก้]
สถาปัตยกรรม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
วรรณกรรม[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
วรรณกรรม ในสมัยทีศ ่ าสนาฮินดู
และพุทธศาสนาได้เข้าไปเผยแพร่ในอินโดนีเซีย
วรรณกรรมของอินโดนีเซียมีความเจริญอย่างรวดเร็ว
หนังสือทีม ่ ีชือ
่ เสียงในระยะนัน ้ ได้แก่เรือ
่ งเนการาเกอร์ตากามา
ซึง่ เป็ นเรือ่ งเกีย่ วกับประวัตศ ิ าสตร์ความยิง่ ใหญ่
และอานาจของอาณาจักรมัชปาหิต นอกจากนี้ยงั มีหนังสือทีไ่ ด้รบ ั ความนิยมกั
นมากอีกเรือ ่ งหนึ่งคือ เรือ่ งปาราราตัน
เป็ นเรือ ่ งเกีย่ วกับประวัตศ ิ าสตร์ของกษัตริย์อน ิ โดนีเซียในสมัยนัน

เขียนเป็ นภาษาชวาโบราณ
ต่อมาเมือ ่ ศาสนาอิสลามได้แพร่เข้าไปในอินโดนีเซีย
ก็ได้มีผเู้ ขียนหนังสือเกีย่ วกับคาสอนของศาสนาอิสลาม
และตาราหมอดูไว้หลายเล่ม โดยเขียนเป็ นภาษาชวา
ดนตรีและนาฏศิลป์[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
ระบาบารอง (Barong Dance)
เป็ นศิลปะการแสดงทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ ของชาวเกาะบาหลี อินโดนีเซีย
บารองเป็ นสัตว์ในตานาน ซึง่ มีหลังอานยาวและหางงอนโง้ง
และเป็ นสัญลักษณ์ แทนวิญญาณดีงาม
ซึง่ เป็ นผูป
้ กปักษ์ รกั ษามนุษย์ตอ ่ สูก
้ บ
ั รังดา
ตัวละครทีเ่ ป็ นสัญลักษณ์ แทนวิญญาณชั่วร้าย บารอง
แดนซ์เป็ นนาฏกรรมศักดิส์ ท ิ ธิ ์ การร่ายรามีทา่ ทีออ
่ นช้อยงดงาม
เสียงเพลงไพเราะ [2]

อาหาร[แก้]
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
กาโด-กาโด (Gado Gado)
เป็ นหนึ่งในอาหารยอดนิยมของอินโดนีเซียคล้ายกับสลัดแขก
ซึง่ จะประกอบด้วยถั่วเขียว มันฝรั่ง ถั่วงอก เต้าหู้ ไข่ตม
้ สุก กะหล่าปลี
ข้าวเกรียบกุง้
รับประทานกับซอสถั่วทีม ่ ีลกั ษณะเหมือนซอสสะเต๊ะ อย่างไรก็ตาม
ด้วยเครือ่ งสมุนไพรในซอส อาทิ รากผักชี หอมแดง กระเทียม ตะไคร้
ทาให้เมือ
่ รับประทานแล้วจะไม่รส
ู้ ก
ึ เลีย่ นกะทิมากจนเกินไป
และยังเป็ นเหมือนอาหารสาหรับคนรักสุขภาพได้อีกด้วย
กีฬา[แก้]
ดูบทความหลักที:่ ฟุตบอลทีมชาติอน
ิ โดนีเซีย, อินโดนีเซียในโอลิมปิ ก และ อิน
โดนีเซียในเอเชียนเกมส์
ส่วนนี้รอเพิม
่ เติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิม
่ เติมข้อมูลในส่วนนี้ ได้
อ้างอิง[แก้]

้ ↑ [1] Religion in Indonesia


1. กระโดดขึน
2. กระโดดขึน้ ↑ http://department.utcc.ac.th/t
haiculture/index.php/360/51-barong-
dance
แหล่งข้อมูลอืน
่ [แก้]
คอมมอนส์ มีภาพและสือ
่ เกีย่ วกับ:
ประเทศอินโดนีเซีย
ค้นหาเกีย่ วกับ ประเทศอินโดนีเซีย เพิม ่ ทีโ่ ครงการพีน
่ ้องของวิกพ
ิ ีเดีย
บทนิยาม จากวิกพ ิ จนานุกรม
สือ
่ จากคอมมอนส์
ทรัพยากรการเรียน จากวิกวิ ท ิ ยาลัย
อัญพจน์ จากวิกค ิ าคม
ข้อความต้นฉบับ จากวิกซ ิ อร์ซ
ตารา จากวิกต ิ ารา
รัฐบาล

 รัฐบาลสาธารณรัฐอินโดนีเซีย
 Minister of The State
Secretary (อินโดนีเซีย)
 Statistics Center
 Chief of State and Cabinet Members
ข้อมูลทั่วไป

 Indonesia entry at The World Factbook


 Indonesia from UCB Libraries GovPubs
 ประเทศอินโดนีเซีย ทีด
่ ม
ี อซ
 Indonesia profile from the BBC News
 Indonesia at Encyclopædia Britannica
 Key Development Forecasts for
Indonesia from International Futures
 Wikimedia Atlas of Indonesia
การท่องเทีย่ ว

You might also like