บทสวดมนต์

You might also like

You are on page 1of 181

ทำวัตรเช้ำแปล

คำบู ชำพระร ัตนตร ัย


โย โส ภะคะวำ อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ ,
พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ใด , เป็ นพระอรหันต ์ ,
ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข ์สินเชิ ้ ง,
ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
สะวำกขำโต เยนะ ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,
พระธรรมเป็ นธรรมทีพระผู ่ ม้ พ ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ใด ,
ตรัสไว ้ดีแล ้ว,
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
พระสงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ใด ,
ปฏิบตั ด ิ แี ล ้ว ,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธ ัมมัง สะสังฆัง ,
อิเมหิ สักกำเรหิ ยะถำระหัง อำโรปิ เตหิ
อะภิปูชะยำมะ ,
ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้ ขอบูชาอย่างยิง่ ,

ซึงพระผู ม้ พ
ี ระภาคเจ ้า พระองค ์นัน ้

พร ้อมทังพระธรรมและพระสงฆ ์
ด ้วยเครืองสั ่ กการะทังหลายเหล่
้ านี ้ ,

อันยกขึนตามสมควรแล ้วอย่างไร
สำธุโน ภันเต ภะคะวำ สุจริ ะปะรินิพพุโตปิ ,
ข ้าแต่พระองค ์ผูเ้ จริญ , พระผูม้ พ
ี ระภาคเจ ้า
แม้ปรินิพพานนานแล ้ว
ทรงสร ้างคุณสาเร็จประโยชน์ไว ้แก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้
ปั จฉิ มำ ชะนะตำนุ ก ัมปะมำนะสำ ,

ทรงมีพระหฤทัยอนุ เคราะห ์แก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย
อันเป็ นชนรุน่ หลัง
อิเม สักกำเร ทุคคะตะปั ณณำกำ ระภู เต
ปะฏิค ัณหำตุ ,
ขอพระผูม้ พี ระภาคเจ ้า ,
่ กการะอันเป็ นบรรณาการของคนยากทังหลา
จงรบั เครืองสั ้
ยเหล่านี ้ ,
อ ัมหำกัง ฑีฆะร ัตตัง หิตำยะ สุขำยะ ,

เพือประโยชน์ ้
และความสุขแก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย
ตลอดกาลนานเทอญ .


(บางวัด/บางสานัก ใช ้บทสวดต่อไปนี แทน)
อิมน ิ ำสักกำเรนะ พุทธ ัง อะภิปูชะยำมิ

ข ้าพเจ ้าทังหลาย ขอบูชาโดยยิง่ ซึงพระพุ
่ ทธเจ ้า,
่ กการะนี ้
ด ้วยเครืองสั
อิมน ิ ำสักกำเรนะ ธ ัมมัง อะภิปูชะยำมิ

ข ้าพเจ ้าทังหลาย ขอบูชาโดยยิง่ ซึงพระธรรม

่ กการะนี ้
,ด ้วยเครืองสั
อิมน ิ ำสักกำเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยำมิ

ข ้าพเจ ้าทังหลาย ขอบูชาโดยยิง่ ซึงพระสงฆ
่ ์
่ กการะนี ้
,ด ้วยเครืองสั

คำบู ชำพระร ัตนตร ัย


อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ ภะคะวำ ,
พระผูม้ พี ระภาคเจ ้า , เป็ นพระอรหันต ์ ,
ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข ์สินเชิ้ ง
ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
พุทธ ัง ภะคะวันตัง อภิวำเทมิ ,
ข ้าพเจ ้าอภิวาทพระผูม้ พ ื่
ี ระภาคเจ ้า ,ผูร้ ู ้ ผูต้ น
ผูเ้ บิกบาน , ( กรำบ ๑ ครง) ั้
สะวำกขำโต ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,

พระธรรมเป็ นธรรมทีพระผู ม้ พ
ี ระภาคเจ ้า ตร ัสไว ้ดีแล ้ว ,

ธ ัมมัง นะมัสสำมิ ,
ั้
ข ้าพเจ ้านมัสการพระธรรม , ( กรำบ ๑ ครง)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
พระสงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ
ี ระภาคเจ ้า ปฏิบต
ั ด
ิ แี ล ้ว ,
สังฆัง นะมำมิ .
ั้
ข ้าพเจ ้านอบน้อมพระสงฆ ์ ( กรำบ ๑ ครง)

คำกล่ำวนอบน้อมพระผู ม ้ พ
ี ระภำคเจ้ำ
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะ
นะมะการัง กะโรมะ เส)

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ,


ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
พระองค ์นั้น ,
อะระหะโต , ่ นผู ้ไกลจากกิเลส
ซึงเป็
,
สัมมำสัมพุทธ ัสสะ ,
ตร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง .
( กล่าว ๓ ครง้ั )
พุทธำภิถุต ิ
( หันทะ มะยัง พุทธาภิถต
ุ งิ กะโรมะ เส. )

โย โส ตะถำคะโต พระตถาคตเจ ้านั้น


พระองค ์ใด ,
อะระหัง , เป็ นผูไ้ กลจากกิเลส ,
สัมมำสัมพุทโธ ,
เป็ นผูต้ ร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง
วิชชำจะระณะสัมปั นโน ,
เป็ นผูถ้ งึ พร ้อมด ้วยวิชาและจะระณะ
สุคะโต ,
เป็ นผูไ้ ปแล ้วด ้วยดี ,
โลกะวิทู ,
เป็ นผูร้ ู ้โลกอย่างแจ่มแจ ้ง ,
อะนุ ตตะโร ปุ รส ิ ะทัมมะสำระถิ ,
เป็ นผูส้ ามารถฝึ กบุรษ ่
ุ ทีสมควร
ฝึ กได ้
อย่างไม่มใี ครยิงกว่ ่ า,
สัตถำ เทวะมะนุ สสำนัง ,
เป็ นครูผูส้ อนของเทวดาและมนุ ษย ์

ทังหลาย ,
พุทโธ , ื่
เป็ นผูร้ ู ้ ผูต้ น
ผูเ้ บิกบานด ้วยธรรม ,
ภะคะวำ , เป็ นผูม้ ค ี วามจาเริญ
จาแนกธรรมสังสอนสั ่ ตว ์,
โย อิมงั โลกัง สะเทวะก ัง สะมำระก ัง
สะพร ัหมะกัง ,สัสสะมะณะพรำหมะณิ ง
ปะช ัง สะเทวะมะนุ สสัง สะยัง อะภิญญำ
สัจฉิ ก ัต๎วำ ปะเวเทสิ , พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
พระองค ์ใด , ได ้ทรงทาความดับทุกข ์ให ้แจ ้งด ้วย
พระปัญญาอันยิงเองแล ่ ้ว ,
ทรงสอนโลกนี พร ้ ้อมทังเทวดา
้ , มาร , พรหม ,
และหมู่สต ้
ั ว ์ พร ้อมทังสมณพราหมณ์ ,

พร ้อมทังเทวดาและมนุ ษย ์ให ้รู ้ตาม ,
โย ธ ัมมัง เทเสสิ , พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
พระองค ์ใด ,
ทรงแสดงธรรมแล ้ว ,
อำทิกล ั ะยำนัง , ไพเราะในเบืองต ้ ้น ,
มัชเฌกัล๎ยำณัง , ไพเราะในท่ามกลาง ,
ปะริโยสำนะกัละยำณัง , ไพเราะในทีสุ ่ ด,
สำตถ ัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง
ปะริสุทธ ัง พร ัหมะจะริยงั ปะกำเสสิ
ทรงประกาศพรหมจรรย ์ ,
คือแบบแห่งการปฏิบต ั อิ น ุ ธิ ์
ั ประเสริฐ บริสท
ิ ้ ง , พร ้อมทังอรรถะ
บริบูรณ์สนเชิ ้

พร ้อมทังพยั ญชนะ ,
ตะมะหัง ภะคะว ันตัง อะภิปูชะยำมิ ,
ข ้าพเจ ้าบูชาอย่างยิง่ เฉพาะพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
พระองค ์นั้น ,
ตะมะหัง ภะคะว ันตัง สิระสำ นะมำมิ
.ข ้าพเจ ้านอบน้อมพระผูม้ พ ี ระ ภาคเจ ้า
พระองค ์นั้น , ด ้วยเศียรเกล ้า .
( กรำบระลึกพระพุทธคุณ )

ธ ัมมำภิถุต ิ
( หันทะ มะยัง ธัมมาภิถต
ุ งิ กะโรมะ เส. )

โย โส สะวำกขำโต ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,


พระธรรมนั้นใด เป็ นสิงที ่ พระผู
่ ม้ พี ระภาคเจ ้า
,ได ้ตร ัสไว ้ดีแล ้ว ,
สันทิฏฐิโก , เป็ นสิงที่ ผู ่ ศ้ ก ึ ษาและปฏิบต ั ิ
พึงเห็นได ้ด ้วยตนเอง
อะกำลิโก , เป็ นสิงที่ ปฏิ ่ บต ั ไิ ด ้
และให ้ผลได ้ไม่จากัดกาล ,
เอหิปัสสิโก , ่ ควรกล่
เป็ นสิงที ่ าวกับผูอ้ นว่ื่ า
ท่านจงมาดูเถิด ,
โอปะนะยิโก , เป็ นสิงที ่ ควรน้่ อมเข ้ามาใส่ตวั ,
ปั จจัตตัง เวทิตพ ั โพ วิญญู ห ิ , ่ ผู
เป็ นสิงที ่ ร้ ู ้
ก็รู ้ได ้เฉพาะตน ,
ตะมะหัง ธ ัมมัง อะภิปูชะยำมิ ,
ข ้าพเจ ้าบูชาอย่างยิง่ เฉพาะพระธรรมนั้น ,
ตะมะหัง ธ ัมมัง สิระสำ นะมำมิ .
ข ้าพเจ ้านอบน้อมพระธรรมนั้น , ด ้วยเศียรเกล ้า .
( กรำบระลึกพระธรรมคุณ )
สังฆำภิถุต ิ
( หันทะ มะยัง สังฆาภิถต ุ งิ กะโรมะ เส. )
โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ
,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้านั้น หมู่ใด ,
ปฏิบตั ด ิ แี ล ้ว ,
อุชป
ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า หมู่ใด ,
ปฏิบต ั ต ิ รงแล ้ว ,
ญำยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้าหมู่ใด ,
ปฏิบต ่ ้ธรรม , เป็ นเครืองออกจากทุ
ั เิ พือรู ่ กข ์แล ้ว ,
สำมีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้าหมู่ใด ,
ปฏิบต ั ส ิ มควรแล ้ว ,
ยะทิทงั , ได ้แก่บุคคลเหล่านี ้ คือ
จัตตำริ ปุ รส ิ ะยุคำนิ อ ัฏฐะ ปุ รส ิ ะปุ คคะลำ ,
คูแ่ ห่งบุรษ ุ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรษ ุ ได ้ ๘ บุรษ
ุ ,
เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
นั่นแหละ สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
อำหุเนยโย ,
เป็ นสงฆ ์ควรแก่สก ่
ั การะทีเขาน ามาบูชา ,
ปำหุเนยโย ,
เป็ นสงฆ ์ควรแก่สก ่
ั การะทีเขาจั ดไว ้ต ้อนร ับ ,
ทักขิเณยโย , เป็ นผูค้ วรร ับทักขิณาทาน ,
อ ัญชะลีกะระณี โย ,
ี่ คคลทัวไปควรท
เป็ นผูท้ บุ ่ าอัญชลี ,
อะนุ ตตะร ัง ปุ ญญักเขตตัง โลกส ั สะ,

เป็ นเนื อนาบุ ญของโลก
,ไม่มนี าบุญอืนยิ ่ งกว่
่ า,
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยำมิ ,
ข ้าพเจ ้าบูชาอย่างยิง่
เฉพาะพระสงฆ ์สาวกหมู่น้ัน
ตะมะหัง สังฆัง สิระสำ นะมำมิ .
ข ้าพเจ ้าขอนอบน้อม พระสงฆ ์หมู่น้ัน ,
ด ้วยเศียรเกล ้า .
( กรำบระลึกพระสังฆคุณ )
รตนัตตยัปปะณำมคำถำ
( หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย
เจวะ สังเวคะ
ปะริกต
ิ ตะนะ ปาฐัญจะ ภะณามะ เส . )

พุทโธ สุสุทโธ กรุณำมะหัณณะโว ,


พระพุทธเจ ้าผูบ้ ริสท ุ ธิ ์
มีพระกรุณาดุจห ้วงมหรรณพ ,
โยจจันตะสุทธ ัพพะระญำณะโลจะโน ,
พระองค ์ใดมีตา คือ
ญาณอันประเสริฐหมดจดถึงทีสุ ่ ด,
โลกัสสะ ปำปู ปะกิเลสะฆำตะโก ,
เป็ นผูฆ ่
้ ่าเสียซึงบาป และอุปกิเลสของโลก ,
ว ันทำมิ พุทธ ัง อะหะมำทะเรนะ ตัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระพุทธเจ ้าพระองค ์นั้น
โดยใจเคารพเอือเฟื ้ ้อ ,
ธ ัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน ,
พระธรรมของพระศาสดา
สว่างรุง่ เรืองเปรียบดวงประทีป ,
โย มัคคะปำกำ มะตะเภ ทะภินนะโก ,
จาแนกประเภท คือ มรรค ผล นิ พพาน
ส่วนใด ,
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน ,
่ นตัวโลกุตตระ ,
ซึงเป็
และส่วนใดทีชี ่ แนวแห่
้ งโลกุตตระนั้น ,
ว ันทำมิ ธ ัมมัง อะหะมำทะเรนะ ตัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระธรรมนั้น
โดยใจเคารพเอือเฟื ้ ้อ ,
สังโฆ สุเขตตำภะยะติเขตตะสัญญิโต ,

พระสงฆ ์เป็ นนาบุญอันยิงใหญ่
กว่านาบุญอันดีทงหลาย ้ั ,
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตำนุ โพธะโก ,
เป็ นผูเ้ ห็นนิ พพาน ตร ัสรู ้ตามพระสุคต ,
หมู่ใด ,
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส ,

เป็ นผูล้ ะกิเลสเครืองโลเล เป็ นพระอริยะเจ ้า
มีปัญญาดี ,
ว ันทำมิ สังฆัง อะหะมำ ทะเรนะ ตัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระสงฆ ์หมู่น้ัน ,
โดยใจเคารพเอือเฟื ้ ้อ ,
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะก ัง , วัตถุตตะยัง
ว ันทะยะตำภิสงั ขะตัง, ปุ ญญัง มะยำยัง มะมะ
สัพพุปัททะวำ ,มำ โหนตุ เว ตัสสะ
ปะภำวะสิทธิยำ .
บุญอันใด ทีข ่ ้าพเจ ้าผูไ้ หว ้อยูซ ึ่ ตถุสาม
่ งวั
คือ พระร ัตนตร ัย อันควรบูชายิง่
โดยส่วนเดียว ได ้กระทาแล ้วเป็ นอย่างยิงเช่ ่ นนี ้ ๆ
ขออุปัททวะ ( ความชัว่ ) ทังหลาย้
จงอย่ามีแก่ข ้าพเจ ้าเลย
ด ้วยอานาจความสาเร็จอันเกิดจากบุญนั้น .

สังเวคะปริกต
ิ ตนปำฐะ
อิธะ ตะถำคะโต โลเก อุปปั นโน ,
พระตถาคตเจ ้าเกิดขึนแล ้ ้ว ในโลกนี ้ ,
อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ ,
เป็ นผูไ้ กลจากกิเลส ,
ตร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
ธ ัมโม จะ เทสิโต นิ ยยำนิ โก ,

และพระธรรมทีทรงแสดง ,

เป็ นธรรมเครืองออกจากทุ กข ์ ,
อุปะสะมิโก ปะรินิพพำนิ โก ,

เป็ นเครืองสงบกิ ่
เลส เป็ นไปเพือปริ
นิพพาน ,
สัมโพธะคำมี สุคะตป ั ปะเวทิโต ,

เป็ นไปเพือความรู ้พร ้อม

เป็ นธรรมทีพระสุ คตประกาศ ,

มะยันตัง ธ ัมมัง สุตะวำ เอว ัง ชำนำมะ ,


พวกเราเมือได ่ ้ฟังธรรมนั้นแล ้ว ,
จึงได ้รู ้อย่างนี ว่้ า ,
ชำติปิ ทุกขำ , แมค้ วามเกิดก็เป็ นทุกข ์ ,
ชะรำปิ ทุกขำ , แมค้ วามแก่ก็เป็ นทุกข ์ ,
มะระณัมปิ ทุกขัง , แมค้ วามตายก็เป็ นทุกข ์
,
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปำยำสำปิ
ทุกขำ ,
แม้ความโศก ความราไรร ่ าพัน
ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ
ความคับแค ้นใจ ก็เป็ นทุกข ์ ,
อ ัปปิ เยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ,
ความประสบกับสิงไม่ ่ เป็ นทีร่ ักทีพอใจ

ก็เป็ นทุกข ์ ,
ปิ เยหิ วิปปะโยโค ทุกโข ,
ความพลัดพรากจากสิงเป็ ่ นทีร่ ักทีพอใจ

ก็เป็ นทุกข ์ ,
ยัมปิ จฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง ,
มีความปรารถนาสิงใด ่ ่ ้น
ไม่ได ้สิงนั
นั่นก็เป็ นทุกข ์ ,
สังขิตเตนะ ปั ญจุปำทำนักขันธำ ทุกขำ ,
ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ ์ทัง้ ๕ เป็ นตัวทุกข ์ ,
เสยยะถีทงั , ิ่
ได ้แก่สงเหล่ านี ้ คือ
รู ปูปำทำนักขันโธ ,
่ งแห่
ขันธ ์อันเป็ นทีตั ้ งความยึดมั่น คือ รูป ,
เวทะนู ปำทำนักขันโธ ,
่ งแห่
ขันธ ์อันเป็ นทีตั ้ งความยึดมั่น คือ เวทนา ,
สัญญู ปำทำนักขันโธ ,
ขันธ ์อันเป็ นทีตั่ งแห่
้ งความยึดมั่น คือ สัญญา ,
สังขำรู ปำทำนักขันโธ ,
ขันธ ์อันเป็ นทีตั ่ งแห่
้ งความยึดมั่น คือ สังขาร ,
วิญญำณู ปำทำนักขันโธ ,
่ งแห่
ขันธ ์อันเป็ นทีตั ้ งความยึดมั่น คือ
วิญญาณ ,
เยสัง ปะริญญำยะ ,


เพือให ้สาวกกาหนดรอบรู ้อุปาทานขันธ ์เหล่านี เอง ้
,
ธะระมำโน โส ภะคะวำ ,
จึงพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้านั้น
่ งทรงพระชนม ์อยู่ ,
เมือยั
เอวงั พะหุลงั สำวะเก วิเนติ ,
ย่อมทรงแนะนาสาวกทังหลาย ้
้ นส่วนมาก ,
เช่นนี เป็
เอวงั ภำคำ จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สำวะเกสุ
อะนุ สำสะนี พะหุลำ ปะวัตตะติ
อนึ่ ง คาสังสอนของพระผู
่ ี ระภาคเจ ้านั้น
ม้ พ
, ย่อมเป็ นไปในสาวกทังหลาย ้ , ส่วนมาก ,
มีสว่ นคือ การจาแนก อย่างนี ว่้ า ,
รู ปัง อนิ จจัง , ่ ,
รูปไม่เทียง
เวทะนำ อนิ จจำ , เวทนาไม่เทียง ่ ,
สัญญำ อนิ จจำ , สัญญาไม่เทียง ่ ,
สังขำรำ อนิ จจำ , สังขารไม่เทียง ่ ,
วิญญำณัง อนิ จจัง , วิญญาณไม่เทียง ่ ,
รู ปัง อะนัตตำ , รูปไม่ใช่ตวั ตน ,
เวทะนำ อะนัตตำ , เวทนาไม่ใช่ตวั ตน ,
สัญญำ อะนัตตำ , สัญญาไม่ใช่ตวั ตน ,
สังขำรำ อะนัตตำ , สังขารไม่ใช่ตวั ตน ,
วิญญำณัง อะนัตตำ , วิญญาณไม่ใช่ตวั ตน ,
สัพเพ สังขำรำ อนิ จจำ

สังขารทังหลายทั ้
งปวงไม่ ่
เทียง
สัพเพ ธ ัมมำ อะนัตตำติ ,

ธรรมทังหลายทั ้
งปวงไม่ ใช่ตวั ตน ดังนี ้ ,
เต (หญิงว่ำ ตำ ) มะยัง โอติณณำมะหะ,

พวกเราทังหลาย เป็ นผูถ้ ก
ู ครอบงาแล ้ว,
ชำติยำ , โดยความเกิด ,
ชะรำมะระเณนะ , โดยความแก่ ,
และความตาย
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ
อุปำยำเสหิ ,
โดยความโศก ความราไรร ่ าพัน
ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ

ความคับแค ้นใจ ทังหลาย ,
ทุกโขติณณำ , เป็ นผูถ้ กู ความทุกข ์

หยังเอาแล ้ว ,
ทุกขะปะเรตำ , เป็ นผูม้ คี วามทุกข ์

เป็ นเบืองหน้ าแล ้ว ,
อ ัปเปวะนำมิมส ั สะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธ ัสสะ อ ันตะกิรย ิ ำ ปั ญญำ เยถำติ ,
ทาไฉน การทาทีสุ ่ ดแห่งกองทุกข ์ทังสิ
้ นนี
้ ้
จะพึงปรากฏชัดแก่เราได ้ ,
(สำหร ับภิกษุ สำมเณร)

จิระปะรินิพพุตม
ั ปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ
อะระหันตัง สัมมำสัมพุทธ ัง ,


เราทังหลายอุ ทศ ิ เฉพาะพระผูม้ พ
ี ระภาคเจ ้า ,
ผูไ้ กลจากกิเลส , ตร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
แมป้ รินิพพานนานแล ้ว พระองค ์นั้น
สัทธำ อะคำร ัสะมำ อะนะคำริยงั ปั พพะชิตำ ,
เป็ นผูม้ ศ
ี รทั ธา ออกบวชจากเรือน

ไม่เกียวข ้องด ้วยเรือนแล ้ว ,
ตัสสะมิง ภะคะวะติ พร ัหมะจะริยงั จะรำมะ ,
ประพฤติอยูซ ึ่
่ งพรหมจรรย ์
ี ระภาคเจ ้าพระองค ์นั้น,
ในพระผูม้ พ
(สามเณรหยุดสวด ตรงทีขี ่ ดเส ้นใต ้ไว ้)
ภิกขูนงั สิกขำสำชีวะสะมำปั นนำ ,


ถึงพร ้อมด ้วยสิกขาและธรรมเป็ นเครืองเลี ้ วต
ยงชี ิ ข
้ั
องภิกษุทงหลาย
ตัง โน พร ัหมะจะริยงั อิมส ั สะ เกวะลัสสะ
ทุกขักขันธ ัสสะ อ ันตะกิรย ิ ำยะ สังว ัตตะตุ .

ขอให ้พรหมจรรย ์ของเราทังหลายนั ้น ,

จงเป็ นไปเพือการท ่ ด ,แห่งกองทุกข ์ทังสิ
าทีสุ ้ นนี
้ ้
เทอญ .

(สาหร ับอุบาสกอุบาสิกาสวด)
จิระปะรินิพพุต ัมปิ ต ัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตำ

เราทังหลาย ่
ผูถ้ งึ แล ้วซึงพระผู ม้ พ
ี ระภาคเจ ้า
แม ้ปรินิพพานนานแล ้ว พระองค ์นั้น เป็ นสรณะ ,
ธ ัมมัญจะ สังฆัญจะ , มีพระธรรมด ้วย
ถึงพระสงฆ ์ด ้วย ,
ต ัสสะ ภะคะวะโต สำสะนัง , ยะถำสะติ , ยะถำพะลัง ,
มะนะสิกะโรมะ อะนุ ปะฏิ ปั ชชำมะ ,
จักทาในใจอยู่ ปฏิบต ั ต
ิ ามอยู่
่ าสังสอนของพระผู
ซึงค ่ ี ระภาคเจ ้านั้น , ตามสติกาลัง ,
ม้ พ
สำ สำ โน ปะฏิปัตติ , ขอให ้ความปฏิบต ิ ้ัน ๆ
ั น

ของเราทังหลาย,
อิมส ั สะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธ ัสสะ อ ันตะกิรย ิ ำยะ
สังวัตตะตุ .

จงเป็ นไปเพือการท ่ ดแห่งกองทุกข ์ทังสิ
าทีสุ ้ นนี
้ ้
เทอญ .

ตังขณิ กปั จจเวกขณปำฐะ


( หันทะ มะยัง ตังขะณิ กะปัจจะเวกขะณะปาฐัง
ภะณามะ เส.)
ปะฏิสงั ขำ โยนิ โส จีวะร ัง ปะฏิเสวำมิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล ้วนุ่ งห่มจีวร,
ยำวะเทวะ สีตส ั สะ ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดความหนาว,
เพียงเพือบ
อุณหัสสะ ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดความร ้อน,
เพือบ

ฑังสะมะกะสะวำตำตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสำนัง
ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม
เพือบ

แดด, และ สัตว ์เลือยคลานทั ้
งหลาย,
ยำวะเทวะ หิรโิ กปิ นะปะฏิจฉำทะนัตถัง,

และเพียงเพือปกปิ ดอวัยวะ,
อันให ้เกิดความละอาย,
ปะฏิสงั ขำ โยนิ โส ปิ ณฑะปำตัง ปฏิเสวำมิ,

เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล ้วฉันบิณฑบาต,
เนวะ ทะวำยะ,

ไม่ให ้เป็ นไปเพือความเพลิ ดเพลินสนุ กสนาน,
นะ มะทำยะ, ่
ไม่ให ้เป็ นไปเพือความเมามั น
เกิดกาลังพลังทางกาย,
นะ มัณฑะนำยะ, ไม่ให ้เป็ นไปเพือประดั ่ บ,
นะ วิภูสะนำยะ, ไม่ให ้เป็ นไปเพือตกแต่ ่ ง,
ยำวะเทวะ อิมส ั สะ กำยัสสะ ฐิตย ิ ำ,

แต่ให ้เป็ นไปเพียงเพือความตั ้ ่ได ้แห่งกายนี ,้
งอยู
ยำปะนำยะ, ่
เพือความเป็ นไปได ้ของอัตภาพ,
วิหงิ สุปะระติยำ,

เพือความสิ ้
นไปแห่ งความลาบากทางกาย,
พร ัหมะจะริยำนุ คคะหำยะ,

เพืออนุ เคราะห ์แก่การประพฤติพรหมจรรย ์,
อิต ิ ปุ รำณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขำมิ,
ด ้วยการทาอย่างนี ,้ เราย่อมระงับเสียได ้
่ กขเวทนาเก่า คือ ความหิว,
ซึงทุ
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปำเทสสำมิ,
และไม่ทาทุกขเวทนาใหม่ให ้เกิดขึน,้

ยำตะรำ จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตำ จะ


ผำสุวห ิ ำโร จำติ,
อนึ่ ง, ความเป็ นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี ด ้ ้วย,
ความเป็ นผูห้ าโทษมิได ้ด ้วย,
และความเป็ นอยู่โดยผาสุกด ้วย, จักมีแก่เรา, ดังนี .้
ปะฏิสงั ขำ โยนิ โส เสนำสะนัง ปะฏิเสวำมิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล ้ว,
ใช ้สอยเสนาสนะ,
ยำวะเทวะ สีตส ั สะ ปะฏิฆำตำยะ,
เพียงเพือบ่ าบัดความหนาว,
อุณหัสสะ ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดความร ้อน,
เพือบ
ฑังสะมะกะสะวำตำตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสำนัง
ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม
เพือบ
แดด,

และสัตว ์เลือยคลานทั ้
งหลาย,
ยำวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง,
ปะฏิสลั ลำนำรำมัตถัง,


เพียงเพือบรรเทาอั นตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้ าอากา
ศ,

และเพือความเป็ นผู ้ยินดีอยู่ได ้
่ กเร ้นสาหร ับภาวนา,
ในทีหลี
ปะฏิสงั ขำ โยนิ โส
คิลำนะปั จจะยะเภสัชชะปะริกขำร ัง ปะฏิเสวำมิ,
เราย่อมพิจารณาโดยแยบคายแล ้ว,
บริโภคเภสัชบริขารอันเกือกู ้ ลแก่คนไข ้,
ยำวะเทวะ อุปปั นนำนัง เวยยำพำธิกำนัง
เวทะนำนัง ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดทุกขเวทนาอันบังเกิดขึนแล
เพียงเพือบ ้ ้ว
มีอาพาธต่าง ๆ เป็ นมูล,
อ ัพะยำปั ชฌะปะระมะตำยำติ,

เพือความเป็ นผูไ้ ม่มโี รคเบียดเบียน
เป็ นอย่างยิง,่ ดังนี .้
ธำตุปฏิกูลปั จจะเวกขณปำฐะ
(หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกล
ู ะปัจจะเวกขะปาฐัง ภะณามะ
เส.)
ยะถำปั จจะยัง ปะวัตตะมำนัง ธำตุมต ั ตะเมเวตัง,

สิงเหล่ านี ้ นี่ เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น,
กาลังเป็ นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื องนิ จ,
ยะทิทงั จีวะร ัง ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุ คคะโล,

สิงเหล่ านี ้ คือ จีวร, และคนผูใ้ ช ้สอยจีวรนั้น,
ธำตุมต ั ตะโก, เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิ สสัตโต, มิได ้เป็ นสัตวะอันยั่งยืน,
นิ ชชีโว, มิใช่ชวี ะอันเป็ นบุรษ ุ บุคคล,
สุญโญ,
ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็ นตัวตน,
สัพพำนิ ปะนะ อิมำนิ จีวะรำนิ
อะชิคุจฉะนี ยำนิ ,

ก็จวี รทังหมดนี ,้
ไม่เป็ นของน่ าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมงั ปู ตก ิ ำยัง ปั ตะวำ,
้ั
ครนมาถู กเข ้ากับกายอันเน่ าอยู่เป็ นนิ จนี แล ้ ้ว,
อะติวย ิ ะ ชิคุจฉะนี ยำนิ ชำยันติ,

ย่อมกลายเป็ นของน่ าเกลียดอย่างยิงไปด ้วยกัน.
ยะถำปั จจะยัง ปะวัตตะมำนัง ธำตุมต ั ตะเมเวตัง,
่ านี ้
สิงเหล่
นี่ เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น,
กาลังเป็ นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื องนิ จ,

ยะทิทงั ปิ ณฑะปำโต ตะทุปะภุญชะโก จะ


ปุ คคะโล,
่ านี ้ คือ อาหารบิณฑบาต,
สิงเหล่
และคนผูบ้ ริโภคอาหารบิณฑบาตนั้น,
ธำตุมต ั ตะโก, เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิ สสัตโต, มิได ้เป็ นสัตวะอันยั่งยืน,
นิ ชชีโว, มิใช่ชวี ะอันเป็ นบุรษุ บุคคล,
สุญโญ,
ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็ นตัวตน,
สัพโพ ปะนำยัง ปิ ณฑะปำโต อะชิคุจฉะนี โย,
ก็อาหารบิณฑบาตทังหมดนี ้ ,้
ไม่เป็ นของน่ าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมงั ปู ตก
ิ ำยัง ปั ตะวำ,
้ั
ครนมาถู ้ ้ว,
กเข ้ากับกายอันเน่ าอยู่เป็ นนิ จนี แล
อะติวย
ิ ะ ชิคุจฉะนี โย ชำยะติ,

ย่อมกลายเป็ นของน่ าเกลียดอย่างยิงไปด ่ ้วยกัน.


ยะถำปั จจะยัง ปะวัตตะมำนัง ธำตุมต ั ตะเมเวตัง,

สิงเหล่านี ้
นี่ เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น,
กาลังเป็ นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื องนิ จ,
ยะทิทงั เสนำสะนัง ตะทุปะภุญชะโก จะ
ปุ คคะโล,

สิงเหล่านี ้ คือ เสนาสนะ,
และคนผูใ้ ช ้สอยเสนาสนะนั้น,
ธำตุมต ั ตะโก, เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิ สสัตโต, มิได ้เป็ นสัตวะอันยั่งยืน,

นิ ชชีโว, มิใช่ชวี ะอันเป็ นบุรษ


ุ บุคคล,
สุญโญ,
ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็ นตัวตน,
สัพพำนิ ปะนะ อิมำนิ เสนำสะนำนิ
อะชิคุจฉะนี ยำนิ ,

ก็เสนาสนะทังหมดนี ,้
ไม่เป็ นของน่ าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมงั ปู ตก ิ ำยัง ปั ตะวำ,
้ั
ครนมาถู ้ ้ว,
กเข ้ากับกายอันเน่ าอยู่เป็ นนิ จนี แล
อะติวย ิ ะ ชิคุจฉะนี ยำนิ ชำยันติ,

ย่อมกลายเป็ นของน่ าเกลียดอย่างยิงไปด ่ ้วยกัน.


ยะถำปั จจะยัง ปะวัตตะมำนัง ธำตุมต ั ตะเมเวตัง,
่ านี ้
สิงเหล่
นี่ เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติเท่านั้น,
กาลังเป็ นไปตามเหตุตามปัจจัยอยู่เนื องนิ จ,
ยะทิทงั คิลำนะปั จจะยะเภสัชชะปะริกขำโร
ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุ คคะโล,
่ านี ้ คือ
สิงเหล่
เภสัชบริขารอันเกือกู ้ ลแก่คนไข ้,
และคนผูบ้ ริโภคเภสัชบริขารนั้น,
ธำตุมต ั ตะโก, เป็ นสักว่าธาตุตามธรรมชาติ,
นิ สสัตโต, มิได ้เป็ นสัตวะอันยั่งยืน,
นิ ชชีโว, มิใช่ชวี ะอันเป็ นบุรษ
ุ บุคคล,
สุญโญ,
ว่างเปล่าจากความหมายแห่งความเป็ นตัวตน,
สัพโพ ปะนำยัง
คิลำนะปั จจะยะเภสัชชะปะริกขำโร
ก็คล ้
ิ านเภสัชบริขารทังหมดนี ,้
อะชิคุจฉะนี โย, ไม่เป็ นของน่ าเกลียดมาแต่เดิม,
อิมงั ปู ตก
ิ ำยัง ปั ตะวำ อะติวย ิ ะ ชิคุจฉะนี โย
ชำยะติ,
้ั
ครนมาถู ้ ้ว,
กเข ้ากับกายอันเน่ าอยู่เป็ นนิ จนี แล
ย่อมกลายเป็ นของน่ าเกลียดอย่างยิงไปด ่ ้วยกัน (จบ)
หมำยเหตุ

ต่อจากนี จะสวดมนต ์ตามแต่ผู ้เป็ นหัวหน้าจะนามาสว
ด แล ้วจึงปิ ดท ้ายด ้วยการสวดปัตติทานคาถา
ดังต่อไปนี ้

ปั ตติทำนคำถำ
( หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
ยำ เทวะตำ สันติ วิหำระวำสินี ,

เทวดาทังหลายเหล่ าใด มีปกติอยู่ในวิหาร
ถู เป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง,
่ อนพระสถูป ทีเรื
สิงสถิตทีเรื ่ อนโพธิ ในทีนั
่ ้น ๆ
ตำ ธ ัมมะทำเนนะ ภะวันตุ ปู ชต ิ ำ,
เทวดาเหล่านั้น , เป็ นผูอ้ น ้
ั เราทังหลาย บูชาแล ้ว
ด ้วยธรรมทาน ,
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหำระมัณฑะเล,

ขอจงทาซึงความสวั สดี
ความเจริญในมณฑลวิหารนี ้
เถรำ จะ มัชฌำ นะวะกำ จะ ภิกขะโว
้ั
พระภิกษุทงหลายที ่ นเถระ, ทีเป็
เป็ ่ นปานกลาง,
่ นผูบ้ วชใหม่ก็ด ี
ทีเป็

สำรำมิกำ ทำนะปะตี อุปำสะกำ,



อุบาสกอุบาสิกาทังหลาย
่ นทานาบดีก็ดพ
ทีเป็ ี ร ้อมด ้วยอารามิกชนก็ด ี
คำมำ จะ เทสำ นิ คะมำ จะ อิสสะรำ,

ชนทังหลายเหล่ ่ นชาวบ ้านก็ด ี ,
าใด ทีเป็
่ นชาวต่างประเทศก็ด ี ,
ทีเป็
่ นชาวนิ คมก็ด ี , ทีเป็
ทีเป็ ่ นอิสระเป็ นใหญ่ก็ด ี ,
สัปปำณะภู ตำ สุขต ิ ำ ภะวันตุ เต

ขอชนทังหลายเหล่ านั้น, จงเป็ นผูม้ ส
ี ข
ุ เถิด,
ชะลำพุชำ เยปิ จะ อ ัณฑะสัมภะวำ,

สัตว ์ทังหลายที ่ นชลาพุชะกาเนิ ดก็ด ี ,
เป็
่ นอัณฑชะกาเนิ ดก็ด ี ,
ทีเป็
สังเสทะชำตำ อะถะโวปะปำติกำ,
่ นสังเสทะชะกาเนิ ดก็ด ี ,
ทีเป็
่ นอุปะปาติกะกาเนิ ดก็ด ี
ทีเป็
นิ ยยำนิ ก ัง ธ ัมมะวะร ัง ปะฏิจจะ เต,

สัตว ์ทังหลายทั ้
งปวงเหล่ านั้น,

ได ้อาศัยซึงธรรมอั นประเสริฐ ,
อันนาผูป้ ฏิบต ั ใิ ห ้ออกไปจากสังสารทุกข ์ ,
สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง,
จงกระทาซึงความสิ ่ ้
นไปพร ้อมแห่งทุกข ์เถิด
ฐำตุจริ ัง สะตัง ธ ัมโม,
ขอธรรมของสัตบุรษ ้
ุ ทังหลาย
้ ่สนกาลนาน
จงตังอยู ิ้ ,
ธ ัมมัทธะรำ จะ ปุ คคะลำ,
และบุคคลทังหลาย ้ ่
ผู ้ทรงไว ้ซึงธรรม
จงดารงอยู่สนกาลนาน, ิ้

สังโฆ โหตุ สะมัคโควะ,


ขอพระสงฆ ์จงมีความสามัคคีพร ้อมเพรียงกัน ,

อ ัตถำยะ จะ หิตำยะ จะ, เพือประโยชน์
่ งอั
และเพือสิ ่ นเกือกู
้ ลเถิด
อ ัมเห ร ักขะตุ สัทธ ัมโม, ขอพระสัทธรรม,

จงร ักษาไว ้ซึงเราทั ้
งหลาย ,
สัพเพปิ ธ ัมมะจำริโน,
ผูป้ ระพฤติซงธรรมแม้ ึ่ ้ั
ทงปวง,
วุฑฒิง สัมปำปุ เณยยำมะ, ขอเราทังหลาย ้

พึงถึงพร ้อมซึงความเจริ ญ,
ธ ัมเม อะริยป ั ปะเวทิเต,
ในธรรมทีพระอริ ่ ยเจ ้าประกาศไว ้แล ้วเถิด,
ปะสันนำ โหนตุ สัพเพปิ ปำณิ โน
พุทธะสำสะเน,
แม้สรรพสัตว ์ทังหลาย ้ ,

จงเป็ นผูเ้ ลือมใสในพระพุ ทธศาสนา
สัมมำ ธำร ัง ปะเวจฉันโต กำเล เทโว ปะวัสสะตุ,
ขอฝนจงเพิมให ่ ้อุทกธาร,
ตกต ้องในกาลโดยชอบ,
วุฑฒิ ภำวำยะ สัตตำนัง สะมิทธ ัง เนตุ เมทะนิ ง,
จงนาไปซึงเมทนี ่ ดล,
ให ้สาเร็จประโยชน์เพืออั ่ นบังเกิดความเจริญ
แก่สต ้
ั ว ์ทังหลาย
มำตำ ปิ ตำ จะ อ ัตระช ัง นิ จจัง ร ักขันติ
ปุ ตตะกัง,
มารดา และบิดา ย่อมถนอมบุตรน้อย
ผูบ้ งั เกิดในตนเป็ นนิ จ ฉันใด
เอวัง ธ ัมเมนะ รำชำโน ปะช ัง ร ักขันตุ
สัพพะทำ.

ขอพระราชาทังหลาย จงทรงรักประชาราษฎร ์,
โดยชอบธรรมในกาลทุกเมือ, ่ ฉันนั้น เทอญ.
(จบการทาวัตรเช ้า)

คำทำวัตรเย็นแปล
คำบู ชำพระร ัตนตร ัย
โย โส ภะคะวำ อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ ,
พระผูม้ พ
ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ใด , เป็ นพระอรหันต ์ ,
ดับเพลิงกิเลส , ้ ง,
เพลิงทุกข ์สินเชิ
ตร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
สะวำกขำโต เยนะ ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,
พระธรรมเป็ นธรรมทีพระผู่ ม้ พี ระภาคเจ ้า
พระองค ์ใด , ตร ัสไว ้ดีแล ้ว,
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
พระสงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ใด
, ปฏิบต ั ด
ิ แี ล ้ว ,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธ ัมมัง สะสังฆัง ,
อิเมหิ สักกำเรหิ ยะถำระหัง อำโรปิ เตหิ
อภิปูชะยำมะ ,
ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้ ขอบูชาอย่างยิง่ ,

ซึงพระผู ี ระภาคเจ ้า พระองค ์ นั้น
ม้ พ

พร ้อมทังพระธรรมและพระสงฆ ์
ด ้วยเครืองสั ่ กการะทังหลาย ้ เหล่านี ้ ,

อันยกขึนตามสมควรแล ้วอย่างไร
สำธุโน ภันเต ภะคะวำ สุจริ ะปะรินิพพุโตปิ ,
ข ้าแต่พระองค ์ผูเ้ จริญ , พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
แม้ปรินิพพานนานแล ้ว
ทรงสร ้างคุณสาเร็จประโยชน์ไว ้แก่ข ้าพเจ ้าทังหลา ้

ปั จฉิ มำ ชะนะตำนุ ก ัมปะมำนะสำ ,
ทรงมีพระหฤทัยอนุ เคราะห ์แก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้
อันเป็ นชนรุน ่ หลัง ,

อิเม สักกำเร ทุคคะตะปั ณณำกำระภู เต


ปะฏิค ัณหำตุ ,
ขอพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า ,
่ กการะอันเป็ นบรรณาการของ
จงร ับเครืองสั

คนยากทังหลายเหล่ านี ้ ,
อ ัมหำกัง ฑีฆะร ัตตัง หิตำยะ สุขำยะ ,

เพือประโยชน์ ้
และความสุขแก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย
ตลอดกาลนานเทอญ .

คำนมัสกำรพระร ัตนตร ัย
อะระหัง สัมมำสัมพุทโธ ภะคะวำ ,
พระผูม้ พี ระภาคเจ ้า , เป็ นพระอรหันต ์ ,
ดับเพลิงกิเลส , เพลิงทุกข ์สินเชิ้ ง
ตร ัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
พุทธ ัง ภะคะวันตัง อะภิวำเทมิ ,
ื่
ข ้าพเจ ้าอภิวาทพระผูมี้ พระภาคเจ ้า ,ผูรู้ ้ ผูต้ น
ผูเ้ บิกบาน ,
( กรำบ ๑ ครง้ั )
สะวำกขำโต พุทธะโคตะเมนะ ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,

พระธรรมเป็ นธรรมทีพระผู ม้ พ
ี ระภาคเจ ้า
ตร ัสไว ้ดีแล ้ว ,
ธ ัมมัง นะมัสสำมิ ,
ข ้าพเจ ้านมัสการพระธรรม ,
( กรำบ ๑ ครง้ั )

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,


พระสงฆ ์สาวกของพระผูมี้ พระภาคเจ ้า
ปฏิบต
ั ดิ แี ล ้ว ,
สังฆัง นะมำมิ .
ข ้าพเจ ้านอบน้อมพระสงฆ ์
( กรำบ ๑ ครง้ั )

คำกล่ำวนอมน้อมพระผู ม
้ พ
ี ระภำคเจ้ำ
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการงั
กะโรมะ เส. )
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ,
ขอนอบน้อมแด่พระผูม้ พ ้ ,
ี ระภาคเจ ้า พระองค ์นัน
อะระหะโต , ่ นผูไ้ กลจากกิเลส ,
ซึงเป็
สัมมำสัมพุทธ ัสสะ ,
ตรัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง . (ว่า ๓ หน)

พุทธำนุ สสติ
( หันทะ มะยัง พุทธานุ สสะตินะยัง กะโรมะ เส )
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยำโณ
กิตติสท ั โท อ ัพภุคคะโต ,
ก็กต ิ ติศพ ั ท ์อันงามของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้านัน ้ ,
ได ้ฟุ้ งไปแล ้ว อย่างนี ว่้ า ,
อิตป ิ ิ โส ภะคะวำ , เพราะเหตุอย่างนี ้ ๆ
พระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้านัน, ้
อะระหัง , เป็ นผูไ้ กลจากกิเลส ,
สัมมำสัมพุทโธ ,
เป็ นผูต้ รัสรู ้ชอบได ้โดยพระองค ์เอง ,
วิชชำจะระณะสัมปั นโน ,
เป็ นผูถ้ งึ พร ้อมด ้วยวิชชาและจะระณะ
สุคะโต , เป็ นผูไ้ ปแล ้วด ้วยดี ,
โลกะวิทู , เป็ นผูร้ ู ้โลกอย่างแจ่มแจ ้ง ,
อะนุ ตตะโร ปุ รส ิ ะทัมมะสำระถิ ,
เป็ นผูส้ ามารถฝึ กบุรษ ่
ุ ทีสมควรฝึ กได ้
อย่างไม่มใี ครยิงกว่ ่ า,
สัตถำ เทวะมะนุ สสำนัง ,
เป็ นครูผูส้ อนของเทวดาและมนุ ษย ์ทังหลาย ้ ,
พุทโธ , เป็ นผูร้ ู ้ ผูต้ น ื ่ ผูเ้ บิกบานด ้วยธรรม
,
ภะคะวำติ . เป็ นผูม้ ค ี วามจาเริญ
จาแนกธรรมสังสอนสั ่ ตว ์ ดังนี .้
พุทธำภิคต ี ิ
( หันทะ มะยัง พุทธาภิคต
ี งิ กะโรมะ เส )
พุทธะวำระหันตะวะระตำทิคุณำภิยุตโต ,
พระพุทธเจ ้า ประกอบด ้วยคุณ
,มีความประเสริฐแห่งอรหันตะคุณ เป็ นต ้น ,
สุทธำภิญำณะกะรุณำหิ สะมำคะตัตโต ,
มีพระองค ์อันประกอบด ้วยพระญาณ
และพระกรุณาอันบริสท ุ ธิ ์ ,
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สู โร ,
พระองค ์ใดทรงกระทาชนทีดี่ ใหเ้ บิกบาน ,
ดุจอาทิตย ์ทาบัวให้บาน
วันทำมะหัง ตะมะระณัง สิระสำ ชิเนนทัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระชินสีห ์ , ผูไ้ ม่มก ้
ี เิ ลส พระองค ์นัน
ด ้วยเศียรเกล ้า ,
พุทโธ โย สัพพะปำณี นงั สะระณัง
เขมะมุตตะมัง,
พระพุทธเจ ้า พระองค ์ใด เป็ นสะระณะอันเกษมสูงสุด

ของสัตว ์ทังหลาย ,
ปะฐะมำนุ สสะติฏฐำนัง วันทำมิ ตัง สิเรนะหัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระพุทธเจ ้าพระองค ์นัน ้
อันเป็ นทีตั่ งแห่
้ งความระลึก ่ ง่
องค ์ทีหนึ
ด ้วยเศียรเกล ้า ,
พุทธ ัสสำหัสสะมิ ทำโส (ทำสี ) วะ , พุทโธ เม
สำมิกส ิ สะโร ,
ข ้าพเจ ้าเป็ นทาสของพระพุทธเจ ้า,พระพุทธเจ ้าเป็ นนา
ย มีอสิ ระเหนื อ ข ้าพเจ ้า,
พุทโธ ทุกขัส สะ ฆำตำ จะ วิธำตำ จะ หิตส ั สะ
เม
พระพุทธเจ ้า เป็ นเครืองก ่ าจัดทุกข ์

และทรงไว ้ซึงประโยชน์ แก่ข ้าพเจ ้า ,
พุทธ ัสสำหัง นิ ยยำเทมิ สะรีร ัญชีวต ิ ญั จิทงั ,
ข ้าพเจ ้ามอบกายถวายชีวต ิ นี ้ แด่พระพุทธเจ ้า,
วันทันโตหัง (ตีหงั ) จะริสสำมิ พุทธ ัสเสวะ
สุโพธิตงั
ข ้าพเจ ้าผูไ้ หว ้อยู่จกั ประพฤติตาม

ซึงความตร สั รู ้ดีของพระพุทธเจ ้า,
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง , พุทโธ เม สะระณัง
วะร ัง

สรณะอืนของข ้าพเจ ้าไม่มี ,
พระพุทธเจ ้าเป็ นสรณะอันประเสริฐของ
ข ้าพเจ ้า ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฒเฒยยัง สัตถุ
สำสะเน ,
ด ้วยการกล่าวคาสัตย ์นี ้
ข ้าพเจ ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา ,
พุทธ ัง เม วันทะมำเนนะ (มำนำยะ) ยัง ปุ ญญัง
ปะสุตงั อิธะ
ึ่
ข ้าพเจ ้าผูไ้ หว ้อยู่ซงพระพุ ทธเจ ้า,ได ้ขวนขวายบุญใด
ในบัดนี ้ ,
สัพเพปิ อ ันตะรำยำ เม มำเหสุง ตัสสะ
เตชะสำ .
อันตรายทังปวง ้ อย่าได ้มีแก่ข ้าพเจ ้า
ด ้วยเดชแห่งบุญนัน ้ .
( กราบหมอบลงว่า )

กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ ,


ด ้วยกายก็ดี ด ้วยวาจาก็ดี ด ้วยใจก็ดี ,
พุทเธ กุก ัมมัง ปะกะตัง มะยำ ยัง ,
กรรมน่ าติเตียนอันใดทีข่ ้าพเจ ้ากระทาแล ้วในพระพุทธเ
จ ้า,
พุทโธ ปะฏิคณ ั หะตุ อ ัจจะยันตัง ,

ขอพระพุทธเจ ้า จงงดซึงโทษล่ ้ ,
วงเกินอันนัน
กำลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ .

เพือการส ารวมระวัง ในพระพุทธเจ ้าในกาลต่อไป .
ธ ัมมำนุ สสติ
( หันทะ มะยัง ธัมมานุ สสะตินะยัง กะโร มะเส )
สะวำกขำโต ภะคะวะตำ ธ ัมโม ,
พระธรรม เป็ นธรรมทีพระผู ่ ม้ พ
ี ระภาคเจ ้า
พระได ้ตรัสไว ้ดีแล ้ว ,
สันทิฏฐิโก , เป็ นสิงที ่ ผู่ ศ้ ก ึ ษาและปฏิบตั ิ
พึงเห็นได ้ด ้วยตนเอง,
อะกำลิโก , เป็ นสิงที ่ ปฏิ
่ บตั ไิ ด ้
และให้ผลได ้ไม่จากัดกาล ,
เอหิปัสสิโก , เป็ นสิงที ่ ควรกล่
่ ื่ า
าวกับผูอ้ นว่
ท่านจงมาดูเถิด ,
โอปะนะยิโก , เป็ นสิงที ่ ควรน้
่ อมเข ้ามาใส่ตวั ,
ปั จจัตตัง เวทิต ัพโพ วิญญู ห ี ติ .
่ ผู่ ร้ ู ้ก็รู ้ได ้เฉพาะตนดังนี ้ ,
เป็ นสิงที

ธ ัมมำภิคต
ี ิ
( หันทะ มะยัง ธัมมาภิคต
ี งิ กะโรมะ เส )
สะวำกขำตะตำ , ทิคุณะโย คะวะ เสนะ เสยโย
,
่ ประเสริ
พระธรรมเป็ นสิงที ่ ฐเพราะประกอบด ้วยคุณ คือ
ความทีพระผู ่ ม้ ี พระภาคเจ ้า ตรสั ไว ้ดีแล ้ว เป็ นต ้น ,
โย มัคคะ ปำกะปะ ริยต ั ติ วิโมกขะเภโท ,
เป็ นธรรมอันจาแนกเป็ น มรรค ผล ปริยตั ิ
และนิ พพาน ,
ธ ัมโม กุโลกะปะตะนำ ตะทะธำริธำรี ,
เป็ นธรรมทรงไว ้ซึงผู ่ ท้ รงธรรม
จากการตกไปสูโ่ ลกทีชั ่ ว่ ,
วันทำมะหัง ตะมะหะร ัง วะระธ ัมมะเมตัง
,ข ้าพเจ ้าไหว ้พระธรรมอัน ประเสริฐนัน้
อันเป็ นเครืองขจั่ ่
ดเสียซึงความมื ด,
ธ ัมโม โย สัพพะปำณี นงั สะระณัง
เขมะมุตตะมัง ,
พระธรรมใด เป็ นสรณะอันเกษมสูงสุด

ของสัตว ์ทังหลาย ,
ทุตย ิ ำ นุ สสะติฏฐำนัง วันทำมิ ตัง สิเรนะหัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระธรรมนัน ้ ,
อันเป็ นทีตั่ งแห่
้ งความระลึกองค ์ทีสอง ่ ด ้วย เศียรเกล ้า ,
ธ ัมมัสสำหัสสะมิ ทำโส (ทำสี) วะ, ธ ัมโม เม
สำมิกส ิ สะโร ,
ข ้าพเจ ้าเป็ นทาสของพระธรรม
พระธรรมเป็ นนายมีอสิ ระเหนื อข ้าพเจ ้า
ธ ัมโม ทุกขัส สะ ฆำตำ จะ วิธำตำ จะ
หิตส ั สะ เม
พระธรรมเป็ นเครืองก ่ าจัดทุกข ์

และทรงไว ้ซึงประโยชน์ แก่ข ้าพเจ ้า ,
ธ ัมมัสสำหัง นิ ยยำเทมิ สะรีร ัญชีวต ิ ญ
ั จิทงั ,
ข ้าพเจ ้ามอบกายถวายชีวต ิ นี ้ แด่พระธรรม
วันทันโตหัง (ตีหงั ) จะริสสำมิ ธ ัมมัสเสวะ
สุธ ัมมะตัง ,
ข ้าพเจ ้าผูไ้ หว ้อยู่จกั ประพฤติตาม

ซึงความเป็ นธรรมดีของพระธรรม ,
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธ ัมโม เม สะระณัง
วะร ัง

สรณะอืนของข ้าพเจ ้าไม่มี
พระธรรมเป็ นสรณะอันประเสริฐของข ้าพเจ ้า ,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฒเฒยยัง สัตถุ
สำสะเน ,
ด ้วยการกล่าวคาสัตย ์นี ้
ข ้าพเจ ้าพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา,
ธ ัมมัง เม วันทะมำเนนะ (มำนำยะ) ยัง ปุ ญญัง
ปะสุตงั อิธะ
ึ่
ข ้าพเจ ้าผูไ้ หว ้อยู่ซงพระธรรม
ได ้ขวนขวายบุญใดในบัดนี ้ ,
สัพเพปิ อ ันตะรำยำ เม มำเหสุง ตัสสะ เตชะสำ
.

อันตรายทังปวง อย่าได ้มีแก่ข ้าพเจ ้า
ด ้วยเดชแห่งบุญนัน ้ .
( กราบหมอบลงว่า )
กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ , ด ้วยกายก็ดี
ด ้วยวาจาก็ดี ด ้วยใจก็ดี ,
ธ ัมเม กุก ัมมัง ปะกะตัง มะยำ ยัง ,
กรรมน่ าติเตียนอันใดทีข่ ้าพเจ ้ากระทาแล ้ว
ในพระธรรม,
ธ ัมโม ปะฏิคณ ั หะตุ อ ัจจะยันตัง , ขอพระธรรม

จงงดซึงโทษล่ วงเกินอันนัน ้
กำลันตะเร สังวะริตุง วะ ธ ัมเม .

เพือการส ารวมระวัง ในพระธรรมในกาล
ต่อไป .

สังฆำนุ สสติ
( หันทะ มะยัง สังฆานุ สสะตินะยัง กะโรมะเส )
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า หมู่ใด ,
ปฏิบต ั ด ิ แี ล ้ว ,
อุชปุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า หมู่ใด ,
ปฏิบต ั ต ิ รงแล ้ว ,
ญำยะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า หมู่ใด ,
ปฏิบต ่ ้ธรรมเป็ น เครืองออกจากทุ
ั เิ พือรู ่ กข ์แล ้ว ,
สำมีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า หมู่ใด
,ปฏิบต ั ส ิ มควรแล ้ว,
ยะทิทงั , ได ้แก่บค ุ คลเหล่านี ้ คือ
จัตตำริ ปุ รส ิ ะยุคำนิ อัฏฐะ ปุ รส ิ ะปุ คคะลำ ,
คูแ่ ห่งบุรษ ุ ๔ คู่ นับเรียงตัวบุรษ ุ ได ้ ๘ บุรษ
ุ ,
เอสะ ภะคะวะโต สำวะกะสังโฆ ,
นั่นแหละ สงฆ ์สาวกของพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า,
อำหุเนยโย ,
เป็ นสงฆ ์ควรแก่สก ่
ั การะทีเขาน ามาบูชา ,
ปำหุเนยโย ,
เป็ นสงฆ ์ควรแก่สก ่
ั การะทีเขาจั ดไว ้ต ้อนร ับ ,
ทักขิเณยโย , เป็ นผูค้ วรร ับทักษิณาทาน ,
อ ัญชะลีกะระณี โย ,
ี่ คคลทัวไปควรท
เป็ นผูท้ บุ ่ าอัญชลี ,
อะนุ ตตะร ัง ปุ ญญักเขตตัง โลกัสสำติ .

เป็ นเนื อนาบุ ญของโลก , ไม่มน ่ งกว่
ี าบุญอืนยิ ่ า
ดังนี ้ .

สังฆำภิคต
ิ ิ
( หันทะ มะยัง สังฆาภิคต
ี งิ กะโรมะเส )
สัทธ ัมมะโช สุปะฏิปัต ติคุณำ ทิยุตโต ,
พระสงฆ ์ทีเกิ ่ ดโดยพระสัทธรรม ประกอบด ้วยคุณ
มีความปฏิบต ั ดิ ี เป็ นต ้น ,
โยฏฐัพพิโธ อะริยะ ปุ คคะละ สังฆะ เสฏโฐ ,
เป็ นหมู่แห่งพระอริยบุคคลอันประเสริฐ ๘ จาพวก
,
สีลำทิธ ัมมะ ปะวะรำ สะยะกำ ยะจิตโต ,
มีกายและจิต อันอาศัยธรรม มีศล ี เป็ นต ้น อันบวร
,
วันทำมะหัง ตะมะริยำนะคะณัง สุสุทธ ัง ,
ข ้าพเจ ้าไหว ้หมู่แห่งพระอริยะเจ ้าเหล่านั้น
อันบริสท ุ ธิด์ ้วยดี ,
สังโฆ โย สัพพะปำณี นงั สะระณัง
เขมะมุตตะมัง,
พระสงฆ ์หมู่ใด , เป็ นสะระณะอันเกษมสูงสุด
ของสัตว ์ทังหลาย้ ,
ตะติยำ นุ สสะติฏฐำนัง วันทำมิ ตัง สิเรนะหัง,
ข ้าพเจ ้าไหว ้พระสงฆ ์หมู่น้ัน ,
อันเป็ นทีตั่ งแห่้ งความระลึก
องค ์ทีสาม่ ด ้วยเศียรเกล ้า ,
สังฆัสสำหัสสะมิ ทำโส (ทำสี ) วะ สังโฆ เม
สำมิกส ิ สะโร ,
ข ้าพเจ ้าเป็ นทาสของพระสงฆ ์ พระสงฆ ์เป็ นนาย
มีอส ิ ระเหนื อข ้าพเจ ้า ,
สังโฆ ทุกขัส สะ ฆำตำ จะ วิธำตำ จะ หิตส ั สะ
เม , พระสงฆ ์เป็ นเครือง ่ กาจัดทุกข ์

และทรงไว ้ซึงประโยชน์ แก่ข ้าพเจ ้า ,
สังฆัสสำหัง นิ ยยำเทมิ สะรีร ัญชีวต ิ ญ
ั จิทงั ,
ข ้าพเจ ้ามอบกายถวายชีวต ิ นี ้ แด่พระสงฆ ์,
วันทันโตหัง (ตีหงั ) จะริสสำมิ สังฆัสโส
ปะฏิปันนะตัง ,
ข ้าพเจ ้าผูไหว ้ ้อยู่จก ั ประพฤติตาม

ซึงความปฎิ บตั ด
ิ ขี องพระสงฆ ์,
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง
วะร ัง ,

สรณะอืนของข ้าพเจ ้าไม่มี
พระสงฆ ์เป็ นสรณะอันประเสริฐของ
ข ้าพเจ ้า ,
เอเตนะ สัจ จะวัชเชนะ วัฒเฒยยัง สัตถุ
สำสะเน ,
ด ้วยการกล่าวคาสัตย ์นี ้
ข ้าพเจ ้าพึงเจริญในพระศาสนาของ
พระศาสดา
สังฆัง เม วันทะมำเนนะ (มำนำยะ) ยัง
ปุ ญญัง ปะสุตงั อิธะ,
ข ้าพเจ ้าผู ้ไหว ้อยู่ซงึ่
พระสงฆ ์ได ้ขวนขวายบุญใดในบัดนี ้ ,
สัพเพปิ อ ันตะรำยำ เม มำเหสุง ตัสสะ เตชะสำ
.
อันตรายทังปวง ้ อย่าได ้มีแก่ข ้าพเจ ้า
ด ้วยเดชแห่งบุญนั้น .
( กราบหมอบลงว่า )
กำเยนะ วำจำยะ วะ เจตะสำ วำ ,
ด ้วยกายก็ด ี ด ้วยวาจาก็ด ี ด ้วยใจก็ด ี ,
สังเฆ กุก ัมมัง ปะกะตัง มะยำ ยัง ,
่ ้าพเจ ้ากระทาแล ้ว
กรรมน่ าติเตียนอันใด ทีข
ในพระสงฆ ์,
สังโฆ ปะฏิคณ ั หะตุ อ ัจจะยันตัง ,

ขอพระสงฆ ์ จงงดซึงโทษล่ วงเกินอันนั้น ,
กำลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ .

เพือการส ารวมระวัง ในพระสงฆ ์ ในกาลต่อไป

อดีตปั จจเวกขณปำฐะแปล
(หันทะ มะยัง อะตีตะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.)
อ ัชชะ มะยำ อะปั จจะเวกขิตะวำ ยัง จีวะร ัง
ปะริภุตตงั ,
ั พิจารณาในวันนี ,้
จีวรใด อันเรานุ่ งห่มแล ้ว, ไม่ทน
ตัง ยำวะเทวะ สีตส ั สะ ปะฏิฆำตำยะ,
จีวรนั้น เรานุ่ งห่มแล ้ว,
่ าบัดความหนาว,
เพียงเพือบ
อุณหัสสะ ปฏิฆำตำยะ, ่ าบัดความร ้อน,
เพือบ
ฑังสะมะกะสะวำตำตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสำนัง
ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดสัมผัสอันเกิดจากเหลือบ ยุง ลม แดด,
เพือบ

และสัตว ์เลือยคลานทั ้
งหลาย,
ยำวะเทวะ หิรโิ กปิ นะปะฏิจฉำทะนัตถัง,

และเพียงเพือปกปิ ดอวัยวะ,
อันให ้เกิดความละอาย.

อ ัชชะ มะยำ อะปั จจะเวกขิตะวำ โย


ปิ ณฑะปำโต ปะริภุตโต,
บิณฑบาตใด อันเราฉันแล ้ว,
ไม่ทน ั พิจารณาในวันนี ,้
โส เนวะ ทะวำยะ, บิณฑบาตนั้น เราฉันแล ้ว,

ไม่ใช่เป็ นไปเพือความเพลิ ดเพลินสนุ กสนาน,
นะมะทำยะ, ไม่ใช่เป็ นไปเพือความเมามั่ น,
เกิดกาลังพลังทางกาย,
นะมัณฑะนำยะ, ่
ไม่ใช่เป็ นไปเพือประดั บ,
นะวิภูสะนำยะ, ไม่ใช่เป็ นไปเพือตกแต่ ่ ง,
ยำวะเทวะอิมส ั สะกำยัสสะฐิตย ิ ำ,

แต่ให ้เป็ นไปเพียงเพือความตั ้ ่ได ้แห่งกายนี ,้
งอยู
ยำปะนำยะ, เพือความเป็่ นไปได ้ของอัตภาพ,
วิหงิ สุปะระติยำ,

เพือความสิ ้
นไปแห่ งความลาบากทางกาย,
พร ัหมะจะริยำนุ คคะหำยะ,

เพืออนุ เคราะห ์แก่การประพฤติพรหมจรรย ์,
อิต ิ ปุ รำณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขำมิ,
ด ้วยการกระทาอย่างนี ,้
เราย่อมระงับเสียได ้ซึงทุ ่ กขเวทนาเก่า,
คือ ความหิว,
นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปำเทสสำมิ,
และไม่ทาทุกขเวทนาใหม่ให ้เกิดขึน, ้
ยำตะรำ จะ เม ภะวิสสะติ, อะนะวัชชะตำ จะ
ผำสุวห ิ ำโร จำติ,
อนึ่ ง ความเป็ นไปโดยสะดวกแห่งอัตภาพนี ด ้ ้วย,
ความเป็ นผูห้ าโทษมิได ้ด ้วย,
และความเป็ นอยู่โดยผาสุกด ้วย,
จักมีแก่เรา, ดังนี .้
อ ัชชะ มะยำ อะปั จจะเวกขิตว ๎ ำ ยัง เสนำสะนัง
ปะริภุตตงั ,
เสนาสนะใด อันเราใช ้สอยแล ้ว,
ไม่ทน ั พิจารณาในวันนี ,้
ตัง ยำวะเทวะ สีตส ั สะ ปะฏิฆำตำยะ,
เสนาสนะนั้น เราใช ้สอยแล ้ว,
เพียงเพือบ ่ าบัดความหนาว,
อุณะหัสสะ ปะฏิฆำตำยะ, เพือบ ่ าบัดความร ้อน,
ฑังสะมะกะสะวำตำตะปะสิรงิ สะปะสัมผัสสำนัง
ปะฏิฆำตำยะ,
่ าบัดสัมผัสอันเกิดจาก เหลือบ ยุง ลม แดด,
เพือบ

และสัตว ์เลือยคลานทั ้
งหลาย,
ยำวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง
ปะฏิสล ั ลำนำรำมัตถัง,

เพียงเพือบรรเทาอั นตรายอันจะพึงมีจากดินฟ้ าอา
กาศ,

และเพือความเป็ นผู ้ยินดีอยู่ได ้,
่ กเร ้นสาหร ับภาวนา,
ในทีหลี
อ ัชชะ มะยำ อะปั จจะเวกขิตะวำ โย
คิลำนะปั จจะยะเภสัชชะปะริกขำโร ปะริภุตโต,
คิลานเภสัชบริขารใด อันเราบริโภคแล ้ว,
ไม่ทน ั พิจารณาในวันนี ,้
โส ยำวะเทวะ อุปปั นนำนัง เวยยำพำธิกำนัง
เวทะนำนัง ปะฏิฆำตำยะ,
คิลานเภสัชบริขารนั้น เราบริโภคแล ้ว,
เพียงเพือบ ่ าบัดทุกขเวทนา
อันบังเกิดขึนแล้ ้ว, มีอาพาธต่าง ๆ เป็ นมูล,
อ ัพะยำปั ชฌะปะระมะตำยำติ,

เพือความเป็ นผูไ้ ม่มโี รคเบียดเบียนเป็ นอย่างยิง่
ดังนี ้

อภิณหปั จจเวกขณปำฐะ
( หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส
)
ชะรำธ ัมโมมหิ ( หญิงว่ำ ธ ัมมัมหิ )
เรามีความแก่เป็ นธรรมดา
ชะร ัง อะนะตีโต ( หญิงว่ำ อะนะตีตำ )
จะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได ้
พะยำธิธ ัมโมมหิ ( หญิงว่ำ ธ ัมมัมหิ )
เรามีความเจ็บไข ้เป็ นธรรมดา
พะยำธิง อะนะตีโต ( หญิงว่ำ อะนะตีตำ )
จะล่วงพ้นความเจ็บไข ้ไปไม่ได ้
มะระณะธ ัมโมมหิ ( หญิงว่ำ ธ ัมมัมหิ )
เรามีความตายเป็ นธรรมดา
มะระณัง อะนะตีโต ( หญิงว่ำ อะนะตีตำ )
จะล่วงพ้นความตายไปไม่ได ้
สัพเพหิ เม ปิ เยหิ มะนำเปหิ นำนำภำโว
วินำภำโว
เรามีความเป็ นต่างๆ , คือ ความพลัดพราก
จากของรักของเจริญใจ ทังหลายทั ้ ้
งปวง
กัมมัสสะโกมหิ, เรามีกรรมเป็ นของ ของตน,
กัมมะทำยำ โท, ( ญ . ทำ )
เป็ นผูร้ ับผลของกรรมนั้น,
กัมมะโยนิ , เป็ นผูม้ ก
ี รรมเป็ นกาเนิ ด,
กัมมะพันธุ, เป็ นผูม้ กี รรมเป็ นเผ่าพันธุ ์,
กัมมะปะฏิสะระ โณ ( ญ . ณำ )
เป็ นผูม้ ก ่ งอาศั
ี รรมเป็ นทีพึ ่ ย,
ยัง กัมมัง กะริสสำมิ , จักทากรรม อันใดไว ้,
กัละยำณัง วำ ปำปะก ัง วำ , ่
ดีหรือชัว,
ตัสสะ ทำยำ โท ( ญ . ทำ ) ภะวิสสำมิ
จักเป็ นผูร้ ับผลของกรรมนั้น
เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปั จจะเวกขิตพ ั พัง

เราทังหลาย พึงพิจารณาเนื่ อง ๆ อย่างนี แล. ้
เขมำเขมสรณทีปิกคำถำแปล
(หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปิกะคาถาโย ภะณามะ
เส)
พะหุง เว สะระณัง ยันติ
ปั พพะตำนิ วะนำนิ จะ,
อำรำมะรุกขะเจตยำนิ
มะนุ สสำ ภะยะตัชชิตำ,

มนุ ษย ์ทังหลายจ านวนมาก,
่ กภัยคุกคามแล ้ว,
เมือถู

ย่อมถึงภูเขาทังหลายบ ้
้าง, ป่ าทังหลายบ ้าง

อารามต ้นไม้และเจดีย ์ทังหลายบ ้าง, ว่าเป็ นสรณะ,
เนตัง โข สะระณัง เขมัง
เนตังสะระณะมุตตะมัง,
นั่นแลมิใช่สรณะอันเกษม นั้นมิใช่สรณะอันสูงสุด,
เนตัง สะระณะมำคัมมะ
สัพพะทุกขำ ปะมุจจะติ,
เขาอาศัยสรณะนั้นแล ้ว

ย่อมไม่พน้ จากทุกข ์ทังปวงได ้,
โย จะ พุทธ ัญจะ ธ ัมมัญจะ
สังหัญจะ สะระณัง คะโต,
ส่วนผูใด
้ ถึงพระพุทธเจ ้าด ้วย ถึงพระธรรมด ้วย
ถึงพระสงฆ ์ด ้วย ว่าเป็ นสรณะ,
จัตตำริ อะริยะสัจจำนิ สัมมัปปั ญญำยะ
ปั สสะติ,
เห็นอริยสัจทัง้ ๔ ด ้วยปัญญาอันชอบ,
ทุกขัง ทุกขะสะมุปปำทัง ทุกขัสสะ
จะ อะติกกะมัง,
คือเห็นความทุกข ์และตัณหาทียั ่ งทุกข ์ให ้เกิด
และความก ้าวล่วงทุกข ์,

อะริยญ ั จัฎฐ ังคิก ัง มัคคัง


ทุกขูปะสะมะคำมินงั ,
และมรรคมีองค ์ ๘ อันประเสริฐ,
อันให ้ถึงพระนิ พพาน เป็ นทีเข ่ ้าไประงับทุกข ์,
เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง
สะระณะมุตตะมัง ,
นี่ แลเป็ นสรณะอันเกษม ทีเป็ ่ นสรณะอันสูงสุด,
เอตัง สะระณะ มำคัมมะ
สัพพะทุกขำ ปะมุจจะตีต.ิ
เขาอาศัยสรณะนั้นแล ้ว,

ย่อมพ้นจากทุกข ์ทังปวงได ้
้ ดังนี แล.

โอวำทปำติโมกขคำถำแปล
(หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส)
สัพพะปำปั สสะ อะกะระณัง,

การไม่ทาบาปทังปวง
กุสะลัสสู ปะสัมปะทำ,
การทากุศลให ้ถึงพร ้อม,
สะจิตตะปะริ โยทะปะนัง,
การชาระจิตของตนให ้ขาวรอบ,
เอตัง พุทธำนะสำสะนัง,
ธรรม ๓
อย่างนี ้ เป็ นคาสังสอนของพระพุ
่ ้
ทธเจ ้าทังหลาย,
ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีตก ิ ขำ,
ขันติ คือความอดกลัน ้

เป็ นธรรมเครืองเผากิ ่
เลสอย่างยิง,
นิ พพำนัง ปะระมัง วะทันติ พุทธำ,

ผูร้ ู ้ทังหลาย ่
กล่าวพระนิ พพานว่าเป็ นธรรมอันยิง,

นะ หิ ปั พพะชิโต ปะรู ปะฆำตี,



ผูก้ าจัดสัตว ์อืนไม่ ื่ าเป็ นบรรพชิตเลย,
ชอว่
สะมะโณ โหติ ปะร ัง วิเหฐะยันโต,

ผูท้ าลายสัตว ์อืนให ื่ าเป็ นสมณ
้ลาบากอยู่ ไม่ชอว่
ะเลย,
อะนู ปะวำโท อะนู ปะฆำโต, การไม่พูดร ้าย,
การไม่ทาร ้าย,
ปำติโมกเข จะ สังวะโร,
การสารวมในปาติโมกข ์,
มัตตัญญุตำ จะ ภัตตัสมิง,
ความเป็ นผูร้ ู ้ประมาณในการบริโภค,
ปั นตัญจะ สะยะนำสะนัง,
การนอน การนั่ง ในทีอั ่ นสงัด,
อะธิจติ เต จะ อำโยโค,
ความหมั่นประกอบในการทาจิตให ้ยิง, ่
เอตัง พุทธำนะสำสะนัง,
ธรรม ๖ อย่างนี ้

เป็ นคาสังสอนของพระพุ ้
ทธเจ ้าทังหลาย,

อริยธนคำถำแปล
(หันทะ มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส)
ยัสสะ สัทธำ ตะถำคะเต อะจะลำ สุปะติฏฐิตำ,
้ นอย่

ศร ัทธาในพระตถาคตของผูใ้ ดตังมั ่
างดีไม่หวันไ
หว
สีลญ
ั จะ ยัสสะ กัละยำณัง, และ
ศีลของบุคคลใด งาม,
อะริยะกันต ัง, ่ นดีแห่งพระอริยเจ ้า,
เป็ นทียิ
ปะสังสิต ัง,
อันพระอริยเจ ้าสรรเสริญแล ้ว,
สังเฆ ปะสำโท ยัสสัตถิ, ่
ความเลือมใส
ในพระสงฆ ์, มีอยู่แก่บค
ุ คลใด
อุชภ ุ ู ต ัญจะ ทัสสะนัง,
อนึ่ งความเห็นของบุคคลใด เป็ นความเห็นตรง,
อะทะลิทโทติ ต ัง อำหุ, ้
บัณฑิตทังหลาย
กล่าวหาผูน้ ้ันว่า เป็ นผูไ้ ม่จน,
อะโมฆันต ัสสะ ชีวต
ิ ัง, ิ ของบุคคลนั้น,
ชีวต
ไม่เปล่าจากประโยชน์,
ต ัสมำ สัทธ ัญจะ สีลญ
ั จะ ปะสำทัง ธ ัมมะทัสสะนัง,
อะนุ
ยุญเชถะ เมธำวี สะร ัง พุทธำนะ สำสะนันติ.
เพราะเหตุน้ัน
ผูม้ ป ้
ี ัญญามาระลึกถึงคาสอนของพระพุทธเจ ้าทังหลาย

ควรตามประกอบซึงความเชื อ่ ศีล ความเลือมใส,


และความเห็นธรรมไว ้เนื องๆ ดังนี แลฯ

อุททิสสนำธิฏฐำนคำถำ
(หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส)
อิมน
ิ ำ ปุ ญญะกัมเมนะ ด ้วยบุญนี อุ้ ทศ
ิ ให ้
อุปัชฌำยำ คุณุตตะรำ
อุปัชฌาย ์ผู ้เลิศคุณ
อำจะริยูปะกำรำ จะ แลอาจารย ์

ผูเ้ กือหนุ น
มำตำ ปิ ตำ จะ ญำตะกำ
้ อแม่แลปวงญาติ
ทังพ่
สุรโิ ย จันทิมำ รำชำ
สูรย ์จันทร ์และราชา
คุณะวันตำ นะรำปิ จะ
ผูท้ รงคุณหรือสูงชาติ
พ๎ร ัห๎มะมำรำ จะ อินทำ จะ
พรหมมารและอินทราช
โลกะปำลำ จะ เทวะตำ

ทังทวยเทพและโลกบาล
ยะโม มิตตำ มะนุ สสำ จะ
ยมราชมนุ ษย ์มิตร
มัชฌัตตำ เวริกำปิ จะ
ผูเ้ ป็ นกลางผู ้จองผลาญ
สัพเพ สัตตำ สุข ี โหนตุ
ขอให ้เป็ นสุขศานติทุ์ กทัวหน้
่ าอย่าทุกข ์ทน
ปุ ญญำนิ ปะกะตำนิ เม
่ ้าทาจงช่วยอานวยศุภผล
บุญผองทีข
สุขงั จะ ติวธ
ิ ัง เทนตุ
ให ้สุขสามอย่างล ้น
ขิปปั ง ปำเปถะ โว มะตัง
ให ้ลุถงึ นิ พพานพลัน
อิมน
ิ ำ ปุ ญญะกัมเมนะ ้ เราท
ด ้วยบุญนี ที ่ า
อิมน
ิ ำ อุททิเสนะ จะ
แลอุทศ
ิ ให ้ปวงสัตว ์
ขิปปำหัง สุละเภ เจวะ

เราพลันได ้ซึงการตั

ตัณหุปำทำนะเฉทะนัง
ตัวตัณหาอุปาทาน
เย สันตำเน หินำ ธ ัมมำ ่ วในดวงใจ

สิงชั
ยำวะ นิ พพำนะโต มะมัง
กว่าเราจะถึงนิ พพาน
นัสสันตุ สัพพะทำ เยวะ

มลายสินจากสันดาน
ยัตถะ ชำโต ภะเว ภะเว ่
ทุกๆ ภพทีเราเกิ

อุชจ
ุ ต
ิ ตัง สะติปัญญำ
มีจต ้ั ญญาอันประเสริฐ
ิ ตรงและสติทงปั
สัลเลโข วิรย ิ ม
ั หินำ

พร ้อมทังความเพี ่ ดกิเลสหาย
ยรเลิศเป็ นเครืองขู
มำรำ ละภันตุ โนกำสัง
้ งหลาย
โอกาสอย่าพึงมีแก่หมู่มารสินทั ้
กำตุญจะ วิรเิ ยสุ เม
เป็ นช่องประทุษร ้ายทาลายล ้างความเพียรจม
พุทธำธิปะวะโร นำโถ
พระพุทธผูบ้ วรนาถ
ธ ัมโม นำโถ วะรุตตะโม
่ งอุ
พระธรรมทีพึ ่ ดม
นำโถ ปั จเจกะพุทโธ จะ
พระปัจเจกะพุทธสม
สังโฆ นำโถตตะโร มะมัง
่ งผยอง
ทบพระสงฆ ์ทีพึ ่
เตโสตตะมำนุ ภำเวนะ ด ้วยอานุ ภาพนั้น
มำโรกำสัง ละภันตุ มำ ขอหมู่มาร
อย่าได ้ช่อง
ทะสะปุ ญญำนุ ภำเวนะ
้ บป้ อง
ด ้วยเดชบุญทังสิ
มำโรกำสัง ละภันตุ มำ.
อย่าเปิ ดโอกาสแก่มาร เทอญ.

พระสู ตร และปำฐะ

บทขัด ชุมนุ มเทวดำ

สะร ัชช ัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง


ปะริตตำนุ ภำโว สะทำ ร ักขะตู ต ิ
ผะริตว
๎ ำนะ เมตตัง สะเมตตำ
ภะทันตำ
อะวิกขิตตะจิตตำ ปะริตตัง ภะณันตุ
สัคเค กำเม จะ รู เป คิรส
ิ ข
ิ ะระตะเฏ
จันตะลิกเข วิมำเน
ทีเปร ัฏเฐ จะ คำเม ตะรุวะนะคะหะเน
เคหะวัตถุมหิ เขตเต
ภุมมำ จำยันตุ เทวำ ชะละถะละวิสะเม
ยักขะคันธ ัพพะนำคำ
ติฏฐ ันตำ สันติเก ยัง มุนิวะระจะนัง
สำธะโว เม สุณน
ั ตุ ฯ
ธ ัมมัสสะวะนะกำโล อะยัมภะทันตำ,
ธ ัมมัสสะวะนะกะโล
อะยัมภะทันตำ, ธ ัมมัสสะวะนะกำโล
อะยัมภะทันตำ ฯ

ปุ พพะภำคะนะมะกำระปำฐะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสั
มพุทธ ัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสั
มพุทธ ัสสะ
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสั
มพุทธ ัสสะฯ

สะระณะคะมะนะปำฐะ
พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ธ ัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ
ทุตย
ิ ม
ั ปิ พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ทุตย
ิ ม
ั ปิ ธ ัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ
ทุตย
ิ ม
ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ
ตะติยม
ั ปิ พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ตะติยม
ั ปิ ธ ัมมัง สะระณิ ง คัจฉำมิ
ตะติยม
ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ

โยจักขุมำ
โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ สามัง วะ พุทโธ
สุคะโต วิมุตโต
มาร ัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต ปาเปสิ เขมัง
ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ
พุทธัง วะร ันตัง สิระสา นะมามิ โลกัสสะ นาถัญจะ
วินายะกัญจะ
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ
วินาสะเมนตุ ฯ
ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ ทัสเสสิ โลกัสสะ
วิสท
ุ ธิมค
ั คัง
นิ ยยานิ โก ธัมมะธะร ัสสะ ธารี สาตาวะโห
สันติกะโร สุจณ
ิ โณ ฯ
ธัมมัง วะร ันตัง สิระสา นะมานิ โมหัปปะทาลัง
อุปะสันตะทาหัง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ
วินาสะเมนตุ ฯ
สัทธัมมะเสนา สุคะตานุ โค โย โลกัสสะ
ปาปูปะกิเลสะเชตา
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ สวากขาตะธัมมัง
วิทต
ิ งั กะโรติ ฯ
สังฆัง วะร ันตัง สิระสา นะมามิ พุทธานุ พุทธัง
สะมะสีละทิฏฐิง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ สัพพันตะรายา จะ
วินาสะเมนตุ ฯ

นะมะกำระสิทธิคำถำ (สัมพุทเธ)
สัมพุทเธ อัฏฐะวีสญ
ั จะ ทวาทะสัญจะ
สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ
นะมามิหงั
นะมะการานุ ภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ
อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วิ นัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมพุทเธ ปัญจะปัญญาสัญจะ
จะตุวส
ี ะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ
นะมามิหงั
นะมะการานุ ภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ
อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต
อัฏฐะจัตตาฬส ี ะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ
นะมามิหงั
นะมะการานุ ภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ
อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

นะมะกำระอ ัฏฐะคำถำ (นะโม ๘ บท)


นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สวากขาตัสเสวะ
เตนิ ธะ
นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสท
ุ ธะสีละทิฏฐิโน
นะโม โอมาตายารัทธัสสะ ระตะนัตตยัสสะ
สาธุกงั
นะโม โอมะกาตีตสั สะ ตัสสะ วัตถุตตยัสสะปิ
นะโมการ ัปปะภาเวนะ วิคจั ฉันตุ อุปัททะวา
นะโมการานุ ภาเวนะ สุวต
ั ถิ โหตุ สัพพะทา
นะโมการร ัสสะ เตเชนะ วิธม
ิ หิ โหมิ
เตชะวา ฯ

มังคละสู ตร (อะเสวนำ จะ พำลำนัง)


เอวัมเม สุตงั เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยงั
วิหะระติ
เชตะวะเน อะนาถะปิ ณฑิกสั สะ อาราเม อะถะ โข
อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา,
อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง
โอภาเสตวา เยนะ ภะคะวา เตนุ ปะสังกะมิ
อุปะสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา
เอกะมันตัง อัฏฐาสิ
เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา, ภะคะวันตัง
คาถายะ อัชฌะภาสิ
พะหู เทวา มะนุ สสาจะ มังคะลานิ อะจินตะยุง,
อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ
มังคะละมุตตะมัง
อะเสวะนา จะ พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ
เสวะนา
ปูชา จะ ปูชะนี ยานัง
เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ปะฏิรป
ู ะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ
กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณิ ธ ิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง

พาหุสจั จัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ
สุสก
ิ ขิโต
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง

มาตาปิ ตุอป
ุ ัฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ
สังคะโห
อะนากลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง

ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ
สังคะโห
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังตะละมุตตะมัง

อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ
สัญญะโม
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง

คาระโว จะ นิ วาโต จะ สันตุฏฐี จะ
กะตัญญุตา
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง

ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ
ทัสสะนัง
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง

ตะโป จะ พ๎ร ัห๎มะจะริยญ
ั จะ อะริยะสัจจานะ
ทัสสะนัง
นิ พพานะสัจฉิ กริ ยิ า จะ
เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ
กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง

เอตาทิสานิ กัตว๎ านะ
สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง
มังคะละมุตตะมันติ ฯ

ระตะนะสู ตร (ยำนี ธะ)


ยานี ธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถปิ สักกัจะ สุณันตุ ภาสิตงั
ตัสม
๎ า หิ ภูตา นิ สาเมถะ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุ สยิ า ปะชายะ
ทิวา จะ ร ัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ตัสม
๎ า หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุร ัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณี ตงั
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทม
ั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณี ตงั
ยะทัชฌะคา สักย๎ ะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทม
ั ปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวณ
ั ณะยี สุจงิ
สะมาธิมานันตะริกญ
ั ญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทม
ั ปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ
นิ กกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคยั หะ
ลัทธา มุธา นิ พพุตงิ ภุญชะมานา
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิ โย
ตะถูปะมัง สัปปุรสิ งั วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ
คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสป
ั ปะมัตตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยน
ั ติ
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจก
ิ จิ ฉิ ตญ
ั จะ
สีลพ
ั พะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต
ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะตัง
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทม
ั ปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตค
ั เค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัสม
๎ งิ คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
นิ พพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทม
ั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร
อะนุ ตตะโร ธัมมะวะร ัง อะเทสะยิ
อิทม
ั ปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิร ัตตะจิตตายะติเก ภะวัสม
๎ งิ
เต ขีณะพีชา อะวิรฬ
ุ หิฉันทา
นิ พพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทป
ั มิ สังเฆ ระตะนัง ปะณี ตงั
เอเตนะ สัจเจนะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ยานี ธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุ สสะปูชต
ิ งั
พุทธัง นะมัสสามะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ยานี ธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุ สสะปูชต
ิ งั
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ
ยานี ธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุ สสะปูชต
ิ งั
สังฆัง นะมัสสามะ สุวต
ั ถิ โหตุ ฯ

กรณี ยเมตตสู ตร
กะระณี ยะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง
อะภิสะเมจจะ
สักโก อุช ู จะ สุหช
ุ ู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ
อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ
สัลละหุกะวุตติ
สันตินท๎รโิ ย จะ นิ ปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ
อะนะนุ คท
ิ โธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร
อุปะวะเทยยุง
สุขโิ น วา เขมิโน โหตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ
สุขต
ิ ต
ั ตา
เย เกจิ ปาณะภูตต
ั ถิ ตะสา วา ถาวะรา
วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา
อะณุ กะถูลา
ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ
อะวิทเู ร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ
สุขต
ิ ต
ั ตา
นะ ปะโร ปะรัง นิ กพ
ุ เพถะ นาติมญ
ั เญถะ กัตถะจิ
นัง กิญจิ
พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา
นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
มาตา ยะถา นิ ยงั ปุตตัง อายุสา
เอกะปุตตะมะนุ ร ักเข
เอวัมปิ สัพพะภุเตสุ มานะสัมภาวะเย
อะปะริมาณัง

เมตตัญจะ สัพพะโลกัสม
๎ งิ มานะสัมภาวะเย
อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติรยิ ญ
ั จะ อะสัมพาธัง
อะเวร ัง อะสะปัตตัง
ติฏฐัญจะร ัง นิ สน
ิ โน วา สะยาโน วา
ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎ร ัห๎มะเมตัง
วิหาร ัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุ ปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ
สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ
คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีตฯิ

ขันธะปะริตตะคำถำ (วิรูปักเข)
วิรป
ู ักเขหิ เม เมตตัง เมตตัง
เอราปะเถหิ เม
ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง
กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ
เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง
พะหุปปะเทหิ เม
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ
ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ
พะหุปปะโก
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ
ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ มา กิญจิ
ปาปะมาคะมา

อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม


อัปปะมาโณ สังโฆ
ปะมาณะวันตานิ สิรงิ สะปานิ อะหิ วิจฉิ กา
สะตะปะที
อุณณานาภี สะระพู มูสก
ิ า กะตา เม รักขา กะตา
เม ปะริตตา
ปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม
สัตตันนัง
สัมมาสัมพุทธานัง ฯ

วัฏฏกปริตร
อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง
โสเจยยะนุ ททะยา
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิรยิ ะมะนุ ตตะร ัง
อาวัชชิตว๎ า ธัมมะพะลัง สะริตว๎ า ปุพพะเก
ชิเน
สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิรยิ ะมะกาสะหัง
สันติ ปักขา อะปัตตะนา สันติ ปาทา
อะวัญจะนา
มาตา ปิ ตา จะ นิ กขันตา ชาตะเวทะ
ปะฏิกกะมะ
สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปัชชะลิโต
สิข ี
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปัตว๎ า ยะถา
สิข ี
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีต ิ

โมระปริตร
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง
ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร จะระติ
เอสะนา ฯ
อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง
ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมงั โส ปะริตตัง กัตว๎ า โมโร
วาสะมะกัปปะยีต ิ ฯ

โพชฌังคะปริตร

โพชฌังโค สะติสงั ขาโต ธัมมานัง วิจะโย


ตะถา
วิรยิ ม
ั ปี ตป
ิ ัสสัทธิ โพชฌังคา จะ
ตะถาปะเร
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต
สัพพะทัสสินา
มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลก
ี ะตา
สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิ พพานายะ จะ
โพธิยา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ
สัพพะทา ฯ
เอกัสม
๎ งิ สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ
กัสสะปัง
คิลาเน ทุกขิเต ทิสวา โพชฌังเค สัตตะ
เทสะยิ
เต จะ ตัง อะภินันทิตวา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ
สัพพะทา ฯ
เอกะทา ธัมมะราชาปิ เคลัญเญนาภิปีฬโิ ต
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปต๎วานะ
สาทะร ัง
สัมโมทิตว๎ า จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ
ฐานะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ
สัพพะทา ฯ
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมปิ
มะเหสินัง
มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปัตตานุ ปปัตติธมั มะตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ
สัพพะทา ฯ

อภยปริตรตัง (ยันทุน)

ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโธ
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
พุทธานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
ธัมมานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
สังฆานุ ภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
อิตป
ิ ิ โส
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุ ตตะโร
ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุ สสานัง พุทโธ
ภะคะวาติ

สวากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม สันทิฏฐิโก


อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง
เวทิตพ
ั โพ วิญญูหตี ิ (อ่านว่าวิญญูฮต
ี )ิ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ


อุชป
ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั
จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะปุรสิ ะ ปุคคะลา เอสะ
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย
ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณี โย อะนุ ตตะรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

อำฏำนำฏิยะปริตรตัง (วิปัสสิสสะ)
วิปัสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมน
ั ตัสสะ สิรมี ะโต
สิขส
ิ สะปิ นะมัตถุ สัพพะภูตานุ กมั ปิ โน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ นะหาตะกัสสะ
ตะปัสสิโน
นะมัตถุ กะกุสน
ั ธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ
วุสม
ี ะโต
กัสสะปัสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ
สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สักย๎ ะปุตตัสสะ
สิรมี ะโต
โย อิมงั ธัมมะมะเทเสสิ
สัพพะทุกขาปะนู ทะนัง
เย จาปิ นิ พพุตา โลเก ยะถาภูตงั
วิปัสสิสงุ
เต ชะนา อะปิ สุณา มะหันตา
วีตะสาระทา
หิตงั เทวะมะนสสานัง ยัง นะมัสสันติ
โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง มะหันตัง
วีตะสาระทัง
วิชชาจะระณะสัมปันนัง พุทธัง วันทามะ
โคตะมันติ ฯ

สักก ัตวำ
สักกัตวา พุทธะร ัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง
วะรัง
หิตงั เทวะมะนุ สสานัง พุทธะเตเชนะ
โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ทุกขา
วูปะสะเมนตุ เมฯ
สักกัตวา ธัมมะร ัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง
วะรัง
ปิ รฬ
ิ าหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ
โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ
เมฯ
สักกัตวา สังฆะร ัตตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง
วะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ
โสตถินา
นัสสันตุ ปัททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ
เมฯ

นัตถิ เม สะระณัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธเม
สะระณัง วะร ัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ
เต ชะยะมังคะลังฯ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง
วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม
สะระณัง วะร ัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต
ชะยะมังคะลังฯ

ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก


ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั
ปุถุ
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัสสะมา โสตถี
ภะวันตุ เตฯ
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ
วิวธิ งั ปุถุ
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัสสะมา โสตถี
ภะวันตุ เตฯ
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวธิ งั
ปุถุ
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัสสะมา
โสตถี ภะวันตุ เตฯ

คำถำส่งเทวดำ (ทุกขัปปั ตตำ)


ทุกขัปปัตตา จะ นิ ททุกขา ภะยัปปัตตา
จะ นิ พภะยา
โสกัปปัตตา จะ นิ สโสกา โหนตุ สัพเพปิ
ปาณิ โน
เอตตาวะตา จะ อัมเหหิ สัมภะตัง
ปุญญะสัมปะทัง
สัพเพ เทวานุ โมทันตุ
สัพพะสัมปัตติสท
ิ ธิยา
ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลงั รักขันตุ
สัพพะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ
เทวะตาคะตา ฯ
สัพเพ พุทธา พะลัปปัตตา ปัจเจกานัญจะ
ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ
สัพพะโส ฯ

บทถวำยพรพระ (พำหุง)
พาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธน
ั ตัง
ครีเมขะลัง อุทต
ิ ะโฆ ระสะเสนะมาร ัง
ทานาทิธมั มะวิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะร ัตติง
โฆร ัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง
ขันตีสท
ุ น
ั ตะวิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
นาฬาคิรงิ คะชะวะรัง อะติมต
ั ตะภูตงั
ทาวัคคิจก
ั กะมะสะนี วะ สุทารุณันตัง
เมตตัมพุเสกะวิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
อุกขิตตะขัคคะมะติหต
ั ถะสุทารุณันตัง
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลม
ิ าละวันตัง
อิทธีภส
ิ งั ขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะร ัง อิวะ คัพภินียา


จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ
สันเตนะ โสมะวิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
สัจจัง วิหายะ มะติสจั จะกาวาทะเกตุง
วาทาภิโรปิ ตะมะนัง อะติอน
ั ธะภูตงั
ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธงั มะหิทธิง
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต
อิทธูปะเทสะวิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ
ทุคคาหะทิฏฐิภช
ุ ะเคนะ สุทฏ
ั ฐะหัตถัง
พร ัหมัง วิสท
ุ ธิชต
ุ ม
ิ ท
ิ ธิพะกาภิธานัง
ญาณาคะเทนะ วิธน
ิ า ชิตะวา มุนินโท
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย
วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที
หิตวานะเนกะวิวธิ านิ จุปัททะวานิ
โมกขัง สุขงั อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณิ นัง
ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง
นันทิวฑ
ั ฒะโน
เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต
ปะโมทะติฯ
สุนักขัตตัง สุมงั คะลัง สุปะภาตัง สุหฏ
ุ ฐิตงั
สุขะโณ สุมุหต
ุ โต จะ สุยฏ
ิ ฐัง พร ัมหมะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง
ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิ ธเี ต
ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ
ปะทักขิเณฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เตฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เต

พระพุทธเจ้ำ ๒๘ พระองค ์ (นะโมเม)


นะโม เม สัพพะพุทธานัง
ทะวัตติงสาวะระลักขะโณ ตัณหังกะโร
มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปังกะโร
ชุตน
ิ ธะโร
โกญฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล
ปุรสิ าสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต
ระติวฑ
ั ฒะโน
โสภิโต คุณะสัมปันโน อะโนมะทัสสี
ชะนุ ตตะโม
ปะทุโม โลกะปัชโชโต นาระโท
วะระสาระถิ
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ
อัคคะปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปิ ยะทัสสี
นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี
ตะโมนุ โท
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ
วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิ ปัสสี จะ อะนู ปะโม
สิข ี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู
สุขะทายะโก
กะกุสน
ั โธ สัตถาวาโห โกนาคะมะโน
ระณัญชะโห กัสสะโป สิรสิ ม
ั ปันโน
โคตะโม สักะยะปุงคะโว ฯ
อัฏฐะวีสะติ สังขาตา อิเม พุทธา
มะหิทธิกา
กะรุณา คุณะสัมปันนา
สัพพะโลกาภิปูชต
ิ า
เอเต ทะสะ พะลา พุทธา อุตตะมา
อัคคะปุคคะลา
เตปิ สังฆะคุณา อาสุ ปี ตเิ ย อะมะตัง
ปะทัง
เอเต พุทธา อะตีตา จะ มังคะลา โหนติ
สัพพะทา อัฏฐะวีสะติ เม พุทเธ อะหัง
วันทามิ สัพพะทา
เตสัง ญาเณนะ สีเลนะ
ขันตีเมตตาพะเลนะ จะ
เตปิ โน อะนุ ร ักขันตุ อาโรคะเยนะ
สุเขนะ จะ อัฏฐะวีสะติ เม พุทเธ โย
นะโร สะระณัง คะโต
กัปปานิ สะตะสะหัสสานิ ทุคคะติง โส
นะ คัจฉะตีตฯิ

ธ ัมมะจก
ั กป
ั ปะวัตตะนะสู ตร
เอวัมเม สุตงั ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา
พาราณะสิยงั วิหะระติ อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย ฯ ตัตร๎ ะ
โข ภะคะวา ปัญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ ฯ
เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปัพพะชิเตนะ นะ เสวิตพ ั พา
โย จายัง กาเมสุ
กามะสุขลั ลิกานุ โยโค หีโน คัมโม โปถุชชะนิ โก
อะนะริโย อะนัตถะ
สัญหิโต โย จายัง อัตตะกิละมะถานุ โยโค ทุกโข
อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต ฯ
เอเต เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุ ปะคัมมะ
มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสม ั พุทธา
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ
สัมโพธายะ นิ พพานายะ สังวัตตะติ ฯ
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
ตะถาคะเตนะ อะภิสม ั พุทธา จักขุกะระณี
ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ
นิ พพานายะ สังวัตตะติ ฯ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทงั ฯ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา
สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม
สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา
ตะถาคะเตน อะภิสม ั พุทธา จักขุกะระณี
ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ
นิ พพานายะ สังวัตตะติ ฯ
อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง ฯ
ชาติปิ ทุกขาชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะ นัสสุปายาสาปิ ทุกขา
อัปปิ เยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิ เยหิ วิปปะโยโค ทุกโข
ยัมปิ จฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง สังขิตเตนะ
ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา ฯ
อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย
อะริยะสัจจัง ฯ ยายัง
ตัณหา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัตร๎ ะ
ตัตร๎ าภินันทินี ฯ
เสยยะถีทงั ฯ กามะตัณหา ภะวะตัณหา วิภะวะตัณหา

อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิ โรโธ อะริยะสัจจัง
ฯ โย ตัสสาเยวะ
ตัณหายะ อะเสสะวิราคะนิ โรโธ จาโค
ปะฏินิสสัคโคมุตติ อะนาละโย ฯ
อิทงั โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิ โรธะคามินี
ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง ฯ
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค ฯ เสยยะถีทงั ฯ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป สัมมาวาจา
สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว สัมมาวายาโม
สัมมาสะติ สัมมาสะมาธิ ฯ
(หยุด)
อิทงั ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุ สสุเตสุธมั เมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ
เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ
เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
อิทงั ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว
ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง
ปะหาตัพพันติเม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ
ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง
ปะหีนันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
อิทงั ทุกขะนิ โรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว
ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะนิ โรโธ อะริยะสัจจัง
สัจฉิ กาตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ
ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะนิ โรโธ อะริยะสัจจัง
สัจฉิ กะตันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ
จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ

อิทงั ทุกขะนิ โรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ


เม ภิกขะเว ปุพเพ อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง
อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะนิ โรธะคามินี ปะฏิปะทา
อะริยะสัจจังภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ ฯ
ตัง โข ปะนิ ทงั ทุกขะนิ โรธะคามินี ปะฏิปะทา
อะริยะสัจจังภาวิตน ั ติ เม ภิกขะเว ปุพเพ
อะนะนุ สสุเตสุ ธัมเมสุ จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปัญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก
อุทะปาทิ ฯ
ยาวะกีวญ ั จะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ
อะริยะสัจเจสุ เอวันติปะริวฏ
ั ฏัง ท๎วาทะสาการัง
ยะถาภูตงั ญาณะทัสสะนัง นะ สุวส ิ ท
ุ ธัง
อะโหสิ ฯ
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก
สะพ๎ร ัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิ ยา ปะชายะ
สะเทวะมะนุ สสายะ อะนุ ตตะรัง สัมมาสัมโพธิง
อะภิสม ั พุทโธ ปัจจัญญาสิงฯ

ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ


เอวันติปะริวฏ
ั ฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตงั
ญาณะทัสสะนัง สุวส ิ ท
ุ ธัง อะโหสิ ฯ
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก
สะพ๎ร ัห๎มะเก สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิ ยา ปะชายา
สะเทวะมะนุ สสายะ อะนุ ตตะรังสัมมาสัมโพธิง
อะภิสม ั พุทโธ ปัจจัญญาสิง ฯ
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ อะกุปปา
เมวิมุตติ อะยะมันติมา ชาติ นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ ฯ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปัญจะวัคคิยา
ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตงั อะภินันทุง. อิมสั ม ๎ ญ
ิ จะ ปะนะ
เวยยากะระณัสม ๎ งิ ภัญญะมาเน อายัสม ๎ ะโต
โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง
อุทะปาทิ ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง
นิ โรธะธัมมันติ ฯ
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก ภุมมา เทวา
สัททะมะนุ สสาเวสุง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยงั
อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย อะนุ ตตะร ัง ธัมมะจักกัง
ปะวัตติตงั อัปปะฏิวต ั ติยงั สะมะเณนะ วา
พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎ร ัห๎มุนา
วา เกนะจิ วา โลกัสม ๎ น
ิ ติ ฯ (หยุด)
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ยามา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ ยามานัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ตุสติ า เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ ตุสต ิ านัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
นิ มมานะระตี เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
นิ มมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ปะระนิ มมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
ปะระนิ มมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า

(เมือจะสวดย่ อเพียงสวรรค ์ ๖ ชัน้
้ั
ครนสวดมาถึ ้ ้วสวด พ๎ร ัห๎มะกายิกา เทวา
งตรงนี แล
สัททะมะนุ สสาเวสุง
แล ้วลง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยงั อิสป ิ ะตะเน
มิคะทาเย ฯลฯ เหมือนกันไปจนจบ)
พ๎ร ัห๎มะปาริสช
ั ชา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
พ๎ร ัห๎มะปาริสชั ชานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
พ๎ร ัห๎มะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
พ๎ร ัห๎มะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
มะหาพ๎ร ัห๎มา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
มะหาพ๎ร ัห๎มานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
ปะริตตะสุภานังเทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
สุภะกิณ๎หะกา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
สุภะกิณ๎หะกานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
( อะสัญญิสต ั ตา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง
อะสัญญิสต ั ตานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า)
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อะวิหา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ อะวิหานัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ อะตัปปานัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
สุทสั สา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ สุทสั สานัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
สุทสั สี เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ สุทสั สีนัง
เทวานัง สัททัง สุตว๎ า
อะกะนิ ฏฐะกา เทวา สัททะมะนุ สสาเวสุง ฯ
**เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยงั อิสป ิ ะตะเน
มิคะทาเย
อะนุ ตตะร ัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตงั อัปปะฏิวตั ติยงั
สะมะเณนะ วา
พ๎ราห๎มะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎ร ัห๎มุนา
วา เกนะจิ วา โลกัสม ๎ น
ิ ติ ฯ (หยุด)
อิตหิ ะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหต ุ เตนะ ยาวะ
พ๎ร ัห๎มะโลกา
สัทโท อัพภุคคัจฉิ ฯ อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ
สังกัมปิ สมั ปะกัมปิ สัมปะเวธิ ฯ อัปปะมาโณ จะ
โอฬาโร โอภาโส โลเกปาตุระโหสิ อะติกกัมเมวะ
เทวานัง เทวานุ ภาวัง ฯ
อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ อัญญาสิ วะตะ
โภ โกณฑัญโญ อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ ฯ
อิตห ิ ท
ิ งั อายัสม
๎ ะโต โกณฑัญญัสสะ
อัญญาโกณฑัญโญ เต๎ววะ นามัง อะโหสีต ิ ฯ
คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั อำทิตย ์
พระพุทธรู ปปำงถวำยเนตร
ี่ นมงคล แดง สวด ๖ จบ
มีกำลังวัน ๖ สีทเป็
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณ โณ
ปะฐะวิปปะภาโส ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง
ปะฐะวิปปะภาสัง ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ
ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะ ธัมเม, เต เม นะ
โม เต จะมังปาละยันตุ นะมัตถุ พึทธานัง
นะมัตถุ โพธิยา, นะ โม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมงั โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั จันทร ์
พระพุทธรู ปปำงห้ำมญำติ
ี่ นมงคล เหลือง สวด
มีกำลังวัน ๑๕ สีทเป็
๑๕ จบ
ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป
สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโห ทุสสุปิ นัง อะกันตัง พุทธานุ ภาเวนะ
วินาสะเมนตุ
ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป
สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโหทุสสุปิ นัง อะกันตัง ธัมมานุ ภาเวนะ
วินาสะเมนตุ
ยันทุนนิ มต
ิ ตัง อะวะมังคะลัญจะโย จามะนาโป
สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปัคคะโหทุสสุปิ นัง อะกันตัง สังฆานุ ภาเวนะ
วินาสะเมนตุ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั อ ังคำร
พระพุทธรู ปปำงไสยำสน์
ี่ นมงคล ชมพู สวด ๘
มีกำลังวัน ๘ สีทเป็
จบ
ยัสสานุ ภาวะโต ยักขา เนวะ ทัสเสนติ
ภิงสะนัง
ยัมหิ เจวานุ ยุญช ันโต รัตตินทิวะมะตันทิโต
สุขงั สุปะติ สุตโต จะ ปาปัง กิญจิ นะ
ปัสสะติ
เอวะมาทิคณ ุ ู เปตัง ปะริตตันตัมภะณามะ
เส ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั พุธกลำงวัน
พระพุทธรู ปปำงอุม
้ บำตร
ี่ นมงคล เขียว สวด
มีกำลังวัน ๑๗ สีทเป็
๑๗ จบ
สัพพาสีวะชาตีนัง ทิพพะมันตาทะคัง วิยะ
ยันนาเสติ วิสงั โฆรัง เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง
อาณักเขตตัมหิ สัพพัตถะ สัพพะทา
สัพพะปาณิ ณัง สัพพะโสปิ นิ วาเรติ
ปะริตตันตัมภะณามะเส ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั พุธกลำงคืน
พระพุทธรู ปปำงป่ ำเลไลยก ์
ี่ นมงคล ดำหรือม่วง
มีกำลังวัน ๑๒ สีทเป็
สวด ๑๒ จบ
กินนุ สันตะระมาโน วะราหุ สุรยิ งั
ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ
ติฏฐะสีต ิ
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวน
ั โต นะ สุขงั
ละเภ พุ
ทธะคาถาภิคโี ตมหิ โน เจ มุญเจยยะ
สุรยิ น
ั ติ
กินนุ สันตะระมาโน วะราหุ สุรยิ งั
ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ
ติฏฐะสีต ิ
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวน
ั โต นะ สุขงั
ละเภ
พุทธะคาถาภิคโี ตมหิ โน เจ มุญเจยยะ
จันทิมน
ั ติฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั พฤหัสบดี
พระพุทธรู ปปำงสมำธิ
ี่ นมงคล ส้มหรือแสด
มีกำลังวัน ๑๙ สีทเป็
สวด ๑๙ จบ
ปูเรนตัมโพธิสม
ั ภาเร นิ พพัตตัง
โมระโยนิ ยงั
เยนะ สังวิหต
ิ าร ักขัง มะหาสัตตัง
วะเนจะรา
จิร ัสสัง วายะมันตาปิ เนวะ สักขิงสุ
คัณหิตงุ
พร ัมมะมันตันติ
ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั ศุกร ์
พระพุทธรู ปปำงรำพึง
ี่ นมงคล ฟ้ำหรือน้ ำเงิน
มีกำลังวัน ๒๑ สีทเป็
สวด ๒๑ จบ
อัปปะสันเนหิ นาถัสสะ สาสะเน สาธุ
สัมมะเต
อะมะนุ สเนหิ จัณเฑหิ สะทา
กิพพิสะการิภ ิ
ปะริสานัญจะ ตัสสันนัง มะหิงสายะ จะ
คุตติยา
ยันเทเสหิ มะหาวีโร
ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วน
ั เสำร ์
พระพุทธรู ปปำงนำคปรก
ี่ นมงคล ม่วงหรือดำ
มีกำลังวัน ๑๐ สีทเป็
สวด ๑๐ จบ
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต
นาภิชานามิ สัญจิจจะ ปาณัง ชีวต
ิ าโวโรเปตา เตน
สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ คัพภัสสะ ฯ

คำถำสวดประจำวันเกิด วันพระเกตุ
พระพุทธรู ปปำงมำรวิช ัย
ี่ นมงคล ขำว สวด ๙ จบ
มีกำลังวัน ๙ สีทเป็

มหากรุณาณิ โก นาโถ หิตายะ


สัพพะปาณิ นัง
ปูเรตตะวา ปาระมี สัพพา ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง
นันทิวฑ ั ฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส
ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต
ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมงั คะลัง สุปะภาตัง
สุหฏุ ฐิตงั
สุขะโณ สุมุหโุ ต จะ สุยฏ
ิ ฐัง พร ัหมะจาริสุ
ปะทักขินัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง
ปะทักขิณัง
ปะทักขินัง มะโนกัมมัง ปะณิ ธ ี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัตตะวานะ ละภันตัตเถ
ปะทักขิเณฯ

พระคำถำชินบัญชร

เพือให ่ นก่
้เกิดอานุ ภาพยิงขึ ้ อนเจริญภาวนาพระค
าถาชินบัญชร ตังนะโม้ ๓ จบ
แล ้วระลึกถึงและบูชาเจ ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจาร
ย์ (โต พร ัหมรงั สี ) ด ้วยคาว่า
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง
อัตถิกาเยกายะญายะ
เทวานังปิ ยะตังสุตตะวา

ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง


สะวาหะนัง
จะตุสจั จาสะภัง ระสัง เย ปิ วงิ สุ นะราสะภา.
ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต
มุนิสสะรา.
สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม
ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
หะทะเย เม อะนุ รท
ุ โธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิ ฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ
วามะเก.
ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ
ราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
เกสันเต ปิ ฏฐิภาคัสมิง สุรโิ ย วะ ปะภังกะโร
นิ สน
ิ โน สิรสิ มั ปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิ จจัง ปะติฏฐาสิคณ
ุ ากะโร.
ปุณโณ อังคุลม
ิ าโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา
มะมะ.
เสสาสีต ิ มะหาเถรา วิชต
ิ า ชินะสาวะกา
เอเตสีต ิ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ
สัณฐิตา.
ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ
สุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลม
ิ าละกัง
ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ
สุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา
ปาการะสัณฐิตา
ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ
ลังกะตา
วาตะปิ ตตาทะสัญชาตา พาหิร ัช
ฌัตตุปัททะวา.
อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ
เตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา
สัมพุทธะปัญชะเร.
ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต
มะหาปุรสิ าสะภา.
อิจเจวะมันโต สุคต
ุ โต สุร ักโข
ชินานุ ภาเวนะ ชิตป
ุ ัททะโว
ธัมมานุ ภาเวนะ ชิตาริสงั โฆ
สังฆานุ ภาเวนะ ชิตน
ั ตะราโย
สัทธัมมานุ ภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติฯ.
บำรมี ๓๐ ทัศ
( ทำ สี เน ป วิ ข ส อ เม อุ )
(หันทะ มะยัง มหาปาระมิโย ภะณามะ เส)
ทำนะ ปำระมี สัมปั นโน , ทานะ อุปะปารมี
สัมปันโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
สีละ ปำระมี สัมปั นโน , สีละ อุปะปารมี
สัมปันโน , สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
เนกขัมมะ ปำระมี สัมปั นโน , เนกขัมมะ
อุปะปารมี สัมปันโน , เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี
สัมปันโนเมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
ปั ญญำ ปำระมี สัมปั นโน , ปัญญา
อุปะปารมี สัมปันโน , ปัญญา ปะระมัตถะปารมี
สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
วิรย
ิ ะ ปำระมี สัมปั นโน , วิรยิ ะ อุปะปารมี
สัมปันโน , วิรยิ ะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
ขันตี ปำระมี สัมปั นโน , ขันตี อุปะปารมี
สัมปันโน , ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
สัจจะ ปำระมี สัมปั นโน , สัจจะ อุปะปารมี
สัมปันโน , สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
อะธิฏฐำนะ ปำระมี สัมปั นโน , อะธิฏฐานะ
อุปะปารมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี
สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
เมตตำ ปำระมี สัมปั นโน , เมตตา
อุปะปารมี สัมปันโน , เมตตา ปะระมัตถะปารมี
สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
อุเปกขำ ปำระมี สัมปั นโน , อุเปกขา
อุปะปารมี สัมปันโน , อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี
สัมปันโน เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
ทะสะ ปำระมี สัมปั นโน , ทะสะ อุปะปารมี
สัมปันโน , ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทต
ิ า อุเปกขา
ปาระมีสม
ั ปันโน , อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหงั ฯ

้ บทิศ
พระคำถำป้ องก ันภัยทังสิ
บู ระพำร ัสมิง พระพุทธะคุณัง บูระพาร ัสมิง
พระธัมเมตัง บูระพาร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
อำคะเนยร ัสมิง พระพุทธะคุณัง
อาคะเนยรัสมิง พระธัมเมตัง อาคะเนยรัสมิง
พระสังฆานัง ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย
สัพพะทุกข ์ สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย
สัพพะเคราะห ์ เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย
สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ
สุร ักขันตุฯ
ทักษิณร ัสมิง พระพุทธะคุณัง ทักษิณรัสมิง
พระธัมเมตัง ทักษิณรัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
หรดีร ัสมิง พระพุทธะคุณัง หรดีร ัสมิง
พระธัมเมตัง หรดีร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ

ปั จจิมร ัสมิง พระพุทธะคุณัง ปัจจิมร ัสมิง


พระธัมเมตัง ปัจจิมร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
พำยัพร ัสมิง พระพุทธะคุณัง พายัพรัสมิง
พระธัมเมตัง พายัพร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
อุดรร ัสมิง พระพุทธะคุณัง อุดรร ัสมิง
พระธัมเมตัง อุดรร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
อิสำนร ัสมิง พระพุทธะคุณัง อิสานร ัสมิง
พระธัมเมตัง อิสานร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
อำกำศร ัสมิง พระพุทธะคุณัง อากาศรัสมิง
พระธัมเมตัง อากาศร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
ปฐวีร ัสมิง พระพุทธะคุณัง ปฐวีร ัสมิง
พระธัมเมตัง ปฐวีร ัสมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญ
ั ชัยเย สัพพะทุกข ์
สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย สัพพะเคราะห ์
เสนี ยดจัญไร วิวญ
ั ชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง
ภะวันตุ เม รักขันตุ สุร ักขันตุฯ
หมายเหตุ พระคาถานี ้ ให ้สวดทุกเช ้าเย็น ก่อนออกจากบ ้าน

ในเวลาทีพระออกเดิ นธุดงค ์ตามป่ าเขา สวดคาถานี ้
จะเป็ นเหตุให้พ้นจากอันตรายต่าง ๆ
คนโบราณถือว่าสวดคาถานีแล ้ ้วจะป้ องกันอันตรายจากภัยพิบตั ิ

ต่าง ๆ อันจะมาจากทิศทังหลาย จะทาให ้เกิดความสุขกายสุขใจ
สะเดาะเคราะห ์ สะเดาะโศก โรคภัยต่าง ๆ
มีโชคมีลาภตามคติความเชือถื ่ อของคนโบราณนัน้
อีกประการหนึ ง่
่ งสมาธิ
เมือนั ่ ้
เกิดความง่วงเหงาหาวนอนให ้สวดคาถานี ตาจะสว่ าง

นังสมาธิ ได ้ต่อไป ฯ

คำไหว้พระเจ้ำสิบชำติ (แบบล้ำนนำ)
เต๋มโิ ย นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง อา
รัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า ธั
มเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
ชะนะโก๋ นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง
อารัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า
ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
สุวณั ณะสำโม นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏ
ฏะกัง อาร ัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสส
ะละต๋า ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ

เนมิโร นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง อา


รัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า ธั
มเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
มะโหสะโถ นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกั
ง อารัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละ
ต๋า ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
ภู รต
ิ ัทโต๋ นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง
อารัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า
ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
จันต๊ะกุมำโร นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะ
กัง อาร ัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะล
ะต๋า ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ

นำระโต๋ นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง


อารัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า
ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
วิธูโร นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง อาร ั
มมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า ธั
มเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
เวสสันต๊ะโร นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะ
กัง อาร ัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะล
ะต๋า ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ

สิทธ ัตโถ นาโมนามะ ภะก๊ะวาเสฏฐัง วัฏฏะกัง


อารัมมะณัง ธุวงั โสหัง พุทโธ ภะวิสสะติ กุสสะละต๋า
ธัมเม สัมมาสัมพุทโธ อิตป ิ ิ โส ภะกะวา ฯ
พุทธำนัง ปรินิพพำนัง ปะระมัง สุขงั ฯ
บทปลงสังขำร
มนุ ษย ์เราเอ๋ย เกิดมาทาไม
นิ พพานมีสข ุ อยู่ใยมิไป
ตัณหาหน่ วงหนัก หน่ วงชักหน่ วงไว ้
ฉันไปมิได ้ ตัณหาผูกพัน
ห่วงนั้นพันผูก ห่วงลูกห่วงหลาน
ห่วงทร ัพย ์สินศฤงคาร จงสละเสียเถิด
จะได ้ไปนิ พพาน ข ้ามพ้นสามภพ
ยามหนุ่ มสาวน้อย หน้าตาแช่มช ้อย
งามแล ้วทุกประการ แก่เฒ่าหนังยาน

แต่ล ้วนเครืองเหม็ น เอ็นใหญ่เก ้าร ้อย
เอ็นน้อยเก ้าพัน มันมาทาเข็ญใจ
ให ้ร ้อนให ้เย็น ่
เมือยขบทั ้ ว
งตั
ขนคิวก็ ้ ขาว นัยน์ตาก็มวั
เส ้นผมบนหัว ดาแล ้วกลับหงอก
หน้าตาเว ้าวอก ดูน่าบัดสี
จะลุกก็โอย จะนั่งก็โอย
เหมือนดอกไม้โรย ไม่มเี กสร

จะเข ้าทีนอน พึงสอนภาวนา
พระอนิ จจัง พระอนัตตา
เราท่านเกิดมา รังแต่จะตาย
ผูด้ เี ข็ญใจ ก็ตายเหมือนกัน
เงินทองทังนั ้ ้น มิตด ิ ตัวเรา
ตายไปเป็ นผี ลูกเมียผัวร ัก
เขาชักหน้าหนี เขาเหม็นซากผี
เปื่ อยเน่ าพุพอง ี ่ อง
หมู่ญาติพน้
เขาหามเอาไป เขาวางลงไว ้
เขานั่งร ้องไห ้ แล ้วกลับคืนมา
อยู่แต่ผู ้เดียว ป่ าไม้ชายเขียว
เหลียวไม่เห็นใคร เห็นแต่ฝูงแร ้ง
เห็นแต่ฝูงกา เห็นแต่ฝูงหมา
้ งกันกิน
ยือแย่ ดูน่าสมเพช
กระดูกกูเอ๋ย ่
เรียรายแผ่ นดิน
แร ้งกาหมากิน เอาเป็ นอาหาร
่ นสงัด
เทียงคื ่ นมิ
ตืนขึ ้ นาน
ไม่เห็นลูกหลาน พีน้่ องเผ่าพันธุ ์
เห็นแต่นกเค ้า จับเจ่าเรียงกัน
เห็นแต่นกแสก ร ้องแรกแหกขวัญ
เห็นแต่ฝูงผี ร ้องไห ้หากัน
มนุ ษย ์เราเอ๋ย อย่าหลงกันเลย
ไม่มแี ก่นสาร อุตส่าห ์ทาบุญ

้ นเอาไว ้
คาจุ จะได ้ไปสวรรค ์
จะได ้ทันพระเจ ้า จะได ้เข ้าพระนิ พพาน

อะหังวันทามิ สัพพะโส
อะหังวันทามิ นิ พพานะปัจจะโย โหตุฯ

กำรเจริญภำวนำ
การเจริญภาวนาเป็ นวิธก
ี ารฝึ กจิตตามหลักของพ
ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า
มี จุ ด ประสงค เ์ พื่ ออบรมจิ ต ให เ้ กิ ด ความบริสุ ท ธิ ์
( ป ริ สุ ทฺ โ ธ ) ใ ห ้ ต ้ั ง มั่ น ( ส มิ หิ โ ต )
ั ตัว เข า้ กับ การงานในขณะนั้ นได ้
ให เ้ กิ ด การปร บ
( กั ม ม ะ นิ โ ย ) ถ ้ า ห า ก จิ ต มี ลั ก ษ ณ ะ ทั้ ง ๓
ป ร ะ ก า ร นี ้ ย่ อ ม ท า ใ ห ้ ชี วิ ต มี ค ว า ม สุ ข ไ ด ้
เพราะมนุ ษย ท ์ ุ ก คน จะดี จะร า้ ย จะสุ ข จะทุ ก ข ์
จ ะ เ จ ริ ญ จ ะ เ สื่ อ ม อ ยู่ ที่ จิ ต ทั้ ง นั้ น ดั ง ค า พู ด ว่ า
“ ใ จ ร า้ ย เ ป็ น ผี ใ จ ดี เ ป็ น ค น ใ จ กั ง ว ล เ ป็ น บ ้ า
ใ จ ก ล ้ า เ ป็ น นั ก ร บ ใ จ ส ง บ เ ป็ น นั ก ป ร า ช ญ ์
ใจฉลาดเป็ นบัณ ฑิต ใจไม่ ยึด ติด เป็ นพระนิ พ พาน”
หั ว ใ จ ข อ ง ก า ร พั ฒ น า อ ยู่ ที่ จิ ต
ถ า้ จิ ต ไม่ พ ัฒ นาทุ ก อย่ า งจะตกอยู่ ใ นความเสื่ อม
จ ะ พั ฒ น า อ ย่ า ง ไ ร ก็ ติ ด ขั ด
การพัฒนาจิตได ้นั้นต ้องอาศัยการภาวนาตามหลักพ
่ งเป็ น ๒ วิธ ี
ระพุทธศาสนาซึงแบ่

๑ . ฝึ ก จิ ต เ พื่ อ ใ ห ้ เ กิ ด ค ว า ม ส ง บ เ รี ย ก ว่ า
สมถภาวนา

๒. ฝึ กจิ ต ให เ้ กิด ความรู ้ คื อ ปั ญ ญา เรีย กว่ า


วิปัสสนา

ทั้ ง ๒ วิ ธี นี ้ ก็ จ ะ เ กิ ด อ า ร ม ณ์ คื อ
่ จิ
สิงที ่ ตจะไปกาหนดรู ้ต่างกัน สมถภาวนา มีอารมณ
๔๐ มี ก สิ น ๑๐ อสุ ภ ะ ๑๐ อนุ สสติ ๑๐ เป็ นต น

วิปัสสะนา มีอารมณ์มากมาย เช่น ขันธ ์ ๕ อายตนะ
๑๒ ธาตุ ๑๘ เป็ นต ้น
ซึ่ ง อ า ร ม ณ์ เ ห ล่ า นี ้
ผูป้ ฏิบต ่
ั จิ ะต ้องนาไปใช ้เพือให ้เหมาะกับจริตหรืออุปนิ
สัยสันดานของตน จึงจะทาใหไ้ ด ผ ้ ลแน่ นอน แต่ทง้ั ๒
วิ ธี นี ้ มี จุ ด มุ่ ง ห ม า ย สู ง สุ ด เ ห มื อ น กั น คื อ
ก า ร ห ลุ ด พ้ น แ ห่ ง จิ ต
เ ห มื อ น กั บ ก า ร เ ดิ น ท า ง ไ ป ก รุ ง เ ท พ ฯ

บางคนขึนเครื ่
องบิ น บางคนนั่ งรถ แต่ถึง กรุง เทพฯ
เ ห มื อ น น กั
ึ้
เพียงแต่ใครจะถึงช ้าหรือเร็วก็ขนอยู
่ กบ
ั วิธก ่
ี ารและเงือ
นไข

ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ก็ เ ห มื อ น กั น
ห ลั ก ท ฤ ษ ฎี น้ั น พ ร ะ พุ ท ธ เ จ ้า แ ส ด ง ไ ว ้ม า ก ม า ย
แ ต่ ะ จ ะ ป ฏิ บั ติ ไ ด ้ ผ ล ม า ก น้ อ ย อ ยู่ ที่ ต น เ อ ง
รู ้ จั ก ต น เ อ ง แ ล ะ ต น เ อ ง รู ้ วิ ธี ก า ร
จ ะ ข อ น า เ อ า วิ ธี ก า ร เ จ ริ ญ ภ า ว น า แ บ บ ง่ า ย ๆ
่ บาอาจารย ์เคยปฏิบต
ทีครู ั สิ บ
ื ทอดกันมาเป็ นระยะเวลา
นาน มาแสดงพอเป็ นแนวทางของการปฏิบต
ั ส
ิ บ
ื ไป

เบืองต้
นของกำรเจริญภำวนำ

๑. จุดธูป เทียน บูชาพระร ัตนตร ัย


๒. จุดธูป เทียน บูชาพระแก ้ว ๕ โกฐาก
๓. ถ ้าเป็ นอุบาสิกา ให ้สมาทาน ศีล ๕ ศีล ๘
ถ ้ า เ ป็ น ส า ม เ ณ ร ใ ห ้ ส ม า ท า น ศี ล ๑ ๐
ถ ้าเป็ นพระให ้แสดงอาบัต ิ
๔ . เ ริ่ ม ส ว ด ส ม า ๕ โ ก ฐ า ก
สวดกัมมัฏฐานแบบโบราณ
โดยลาดับดังนี ้

บทสวดสู มำห้ำโกฐำก
นะมามิ พุทธัง คุณะสาคะร ันตัง
นะมามิ ธัมมัง มุนิราชะเทสิตงั
นะมามิ สังฆัง มุนิราชะสาวะกัง
นะมามิ กัมมัฏฐานัง นิ พพานะคะมุปายัง
นะมามิ กัมมัฏฐานะทายะกาจะริยงั นิ พพานะ
มั ค คุ เ ท ส ะ กั ง ฯ
อั จ จะโย โน ภัน เต อั ช ฌะคะมา ยะถาพาเล
ยะถามุ ฬ ะเห ยะถาอะกุ ส ะเล เย มะยัง พุ ท ธะ ธัม มะ
สังฆะ กัมมัฏฐานัง กัมมัฏฐานะทายะจะริยะ สังขาเตสุ
ปัญจะระตะเนสุ อะตีเต วา ปัจจุปันเน วา อะวิ วา ยะทิ
วา ระโห วา กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา
ปะมาทั ง วา อะคาระวัง วา อะกาสิ ม หา ทิ ส ะวา
ย ะ ถ า ธั ม มั ง ป ะ ฏิ ก ก ะ โ ร ม ะ เ ต สั ง โ น ภั น เ ต
พุ ท ธาทิ ร ะตะนะปั ญ จะกัง อะนุ กัม ปั ง อุ ป าทายะ
อัจ จะยัง อัจ จะยะโต ปะฏิค คัณ หัน ตุ สัพ พัง โทสัง
ขะมันตุ โน ฯ
สาธุ สาธุ โอกาสะ ภันเต
ข ้าแด่พระร ัตนตร ัยเจ ้าแก ้วตังสามประก๋าร
หมายมีพระพุทธเจ ้าเป็ นเก๊าเป็ นประธาน
้ เป็ นวันดี ติถอี น
ในก๋าละวันนี ก็ ั วิเศษ

บัดนี นาผู ข
้ ้าตังหลาย หมายมี…… เป็ นเก๊า
พร ้อมด ้วย……… บ่ได ้ละเสียยังฮีตอดีตประเวณี
ก็ปากันสะน๋ งขงขวายตกแต่งน้อมนามา ยังธูป
บุปผาลาชาดวงดอกข ้าวตอกดอกไม้ลาเตียน
มาจ๋าเนี ยรไว ้เหนื อขัน ปั๋นเป็ นห ้าโก๋ฐากส ์
้ วตี
ปะฐะมะวิภาคเบืองหั
ผูข
้ ้าขอสมมาถวายปู๋ จาองค ์พระมุนีสะหลีสมั มาสัมพุท
ธเจ ้า ต๋นเป็ นปิ่ นเกล ้าติโลก๋าจ๋ารย ์
นาสัตว ์สงสารมวลหมู่ ได ้อว่ายหน้าเข ้าสูเ่ นรปาน

ดับภัยมารเสียงขาด ฯ
ส่วนทุตยิ โก๋ฐากส ์ขันถ ้วนสองนั้นเล่า
ขอสมมาถวายปู๋ จา
ยังคุณพระนวโลกุตตรธรรมเจ ้าเก ้าประก๋าร
สิบกับตังพระปริยต
ั ธิ รรมดวงเลิศแล ้ว
เป็ นประทีปแก ้วส่องมัคคาตางไปรอด
เวียงแก ้วยอดเนรปาน ฯ
ส่วนตะติยะโก๋ฐากส ์ขันถ ้วนสามงามบ่เส ้า
ขอสมมาถวายปู๋ จายัง พระอริยสังฆเจ ้าตังหลาย
หมายมีพระอัญญาโกญฑัญญะเป็ นเก๊า
้ ดห
ถราบต่อเต๊าพระสมมติสงฆ ์ จุต๋นจุองค ์ว่าสันนี แต๊ ี ลี
ฯ ส่วนจะตุตถะโก๋ฐากส ์ขันถ ้วนสี่ บานงามกลีใสบ่
่ เส ้า
ผูข
้ ้าตังหลายขอสมมาถวายปู๋ จาคุณอุปัชญายะเจ ้า
ตังครูบาอาจารย ์จุต๋นจุองค ์
๋ ฏฐาน
ผูท้ ะรงธิตาคุณอันผาเสริฐ เมตตาเกิดสอนกัมมั
วิปัสสนาญาณดวงงามวิเศษ

อันชาระกิเลสเครืองเศร ้าหมองใจ
่ ้
สอนอักขระธรรมดวงใสได ้พรารู
นาต๋นเข ้าสูห
่ ้องเกษมศรี ฯ
ส่วนปัญจะมะโก๋ฐากส ์ขันถ ้วนห ้า
ผูข
้ ้าตังหลายขอสมมาถวายปู๋ จา
คุณพระกัมมั๋ ฏฐานวิปัสสนาญาณตีบเตส

อันเป็ นเก๊าเหตุนาไปรอด อมตะเวียงแก ้วยอดเนรปาน
ผูข
้ ้าตังหลายสักก๋าระปู๋ จาแล ้วขอสมมา
หลอนผูข
้ ้าตังหลายได ้ประมาท
ปะลาดหลงลืมได ้กระตาด ้วยก๋ายะก๋รรม วจีก๋๋ รรม
้ าก๋รรมตังสาม มีอน
มะโนก๋รรม ลากว่ ิ ทรีย ์ตังหก
และอิรยิ าบทตังสี่ หลอนว่าได ้ข ้ามตีต
่ ่าย่าตีสู
่ งก็ด ี
ได ้ออกปากเป็ นกาประมาท
แรกแต่จติ ตุปบาทวิถน ้ นผะม๋าน
ี ี เป็
นับแต่ปัจจุบน ้ นหลัง
ั นะจาตินีคื
ถราบต่อเต๊าเถิงอเนกะจาติ
สังสาระบ่มม ่
ี ูละเงือนเก๊ ้ ้นผากฏจดเจือ๋
าเบืองต
ั นะจาตินี ้
มาถราบเถิงก๋าละปัจจุบน
ด ้วยเหตุอวิชชาญาณะ วิปะยาตะ
หลอนได ้กระตาก๋รรมอันเป็ นโทษ อะนาจะ ยะถาพาเล
แรกแต่ปายหลังได ้กระตาวิภาค
อะนาละเตยยะปะฏิสน
ั นานัญจะ แม่นได ้กระตาเสียก็ด ี
อะปะฏิสน
ั นานัญจะ แม่นบ่ได ้กระตาเสียก็ด ี ภะวันตา
้ งไว ้ บ่สอ
หากกังบั ่ งแจ ้งได ้รู ้ห่อนหัน
่ กหนา ยะถาพาเล
อันจักเป็ นโทษอนันต ์ยิงนั
เหมือนคนหลงอยู่ป่ากล๋างดง ยะถามุฬะเห
เหมือนคนหลงหนจิตตุปบาท ยะถาอะกุสะเล
เหมือนคนบ่ฉลาดรู ้กองธรรม เย มะยัง ผูข้ ้าตังหลาย
่ กสังวระศีลหือบั
สังวะเรยยามะ เพือจั ้ วริสท
ุ ธิ ์

ปราศจากโทษมลทินหือหมดใส
ผูข ้ ้าตังหลายก็กลัวเป็ นโทษะก๋รรมมาติดแปด

จิงปากั นแขวดตกแต่งดามา
ยังธูปบุปผาลาชาดวงดอกไม้
มานบน้อมไหว ้สักก๋าระปู๋ จา สมมาคารวะ
ขอพระปัญจะแก ้วห ้าประก๋าร
มีธรรมะเมตตาปะฏิคคะหะ
ร ับเอายังสัพพะวัตถุปจาทานั
ู๋ ้ ้ว
ง ตังหลายมวลฝูงนี แล
ขอจุง่ ขุณณาผายโผด ลาลดโทษป๋ าปก๋รรมตังหลาย
้ นนิ วรณธรรม
กล๋ายเป็ นอโหสิกร๋ รม อย่าหือเป็
ก๋รรมอันกล ้าหยาบ อันจักการาบห ้ามเสียยัง
หนตางไปสูช ้ั าและเนรปาน แก่ผูข
่ นฟ้ ้ ้าตังหลาย
อันได ้ปู๋ จาแล ้วขอสมมา
อันว่าปมาทะธรรมและก๋รรมตังหลาย
แม่นว่าเกิดมีแสนสิง่ ขอจุง่ ม้วยมิงกลั
่ บหายไปพรา่
่ ากลิ
เป็ นดังน ้ ้
งตกจากใบบั วใบบอน ปะริสทุ โธ
้ ข
ขอหือผู ้ ้าตังหลาย ได ้บัวริสท ์
ุ ธิหมดใสพร า่
่ าซ่
เป็ นดังน ้ วยแก ้ว หือได
้ ้ ่แล ้วมีสข
้ตังอยู ุ ป๊ นจากตุกข ์

หือได ั จิ ๋าศีลภาวนา สืบต่อศาสนาไปไจ ้ ๆ
้ปฏิบต

ดังปราชญ ๋ า ได ้กระตามาแต่กอ
์แต่ไท ้ในอะตีต๋ ่ น
นั้นจุง่ จักมีเตียงแต๊
่ ่
ดีหลี ดังบทบาทบาลี วา่ “อัจจะโย
โน ภันเต อัชฌะคะมา ยะถาพาเล ยะถามุฬะเห
ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง พุทธะ ธัมมะ สังฆะ
กัมมัฏฐานัง กัมมัฏฐานะทายะกาจะริยะ สังขาเต สุ
ปัญจะระตะเนสุ อะตีเต วา ปัจจุปันเน วา อะวิ วา ยะทิ
วา ระโห วา กาเยนะ วา วาจายะ วา มะนะสา วา
ปะมาทัง วา อะคาระวัง วา อะกาสิมหา ทิสะวา
ยะถาธัมมัง ปะฏิกกะโรมะ เตสัง โน ภันเต
พุทธาทิระตะนะปัญจะกัง อะนุ กมั ปัง อุปะทายะ
อัจจะยัง อัจจะยะโต ปะฏิคคัณหันตุ สัพพัง โทสัง
ขะมันตุ โน ฯ

สวดกัมมัฏฐำน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
(๓ หน)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุตยิ ม
ั ปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุตยิ ม
ั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ทุตยิ ม
ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยม
ั ปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยม
ั ปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ตะติยม
ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
พุทธัง ชีวต
ิ งั ยาวะ นิ พพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง ชีวต
ิ งั ยาวะ นิ พพานัง สะระณัง คัจฉามิ,
สังฆัง ชีวต
ิ งั ยาวะ นิ พพานัง สะระณัง คัจฉามิ
นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ
อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ
สังโฆ พุทโธ เม นาโถ ธัมโม เม นาโถ สังโฆ เม
นาโถ
กัมมัฏฐานัง เม นาถัง กัมมัฏฐานะ ทายะกา
จะริโย เม นาโถ
กัมมัฏฐานัง เม นาถัง กัมมัฏฐานะทายะก๋าจะริโย เม
นาโถ
อะหัง ภันเต พุทธานุ สสะติ กัมมัฏฐานัง ยาจามิ
พุทธานุ สสะติ
กัมมัฏฐานัง เทถะ เม ภันเต อะนุ กมั มัง อุปาทายะ
อะหัง ภันเต ปิ ติ อุปะจาระสะมาธิง ยาจามิ
บทอิตป
ิ ิ โต
อิตป
ิ ิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุ ตตะโร
ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมนุ สสานัง พุทโธ
ภะคะวาติ
สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก
อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง
เวทิตพั โพ วิญญูหต ี ิ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชป
ุ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจป ิ ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั
จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย
ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณี โย อะนุ ตตะรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ

พิจำรณำร่ำงกำยธำตุ ๔ ขันธ ์ ๕
อัตถิ อิมสั สะมิง กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา
ตะโจมังสัง นะหารู อัฏฐี อัฏฐิมญ ิ ชัง วักกัง หะทะยัง
ยะกะนัง กิโลมะกัง ปิ หากัง ปัปผาสัง อัตตัง
อันตะคุณัง อุทะริยงั กะรีสงั ปิ ตตัง เสมหัง ปุพโพ
โลหิตตัง เสโท เมโท อัสสุ วะสา เขโฬ สิงฆานิ กา๋
ละสิกา มุตตัง มัตถะเก มัตถะลุงคันติ ทวัตติง สาการ ัง
อะยัง อัตตะภาโว อะนิ จจัง ทุกขัง อะนัตตา อะสุจ ิ
อะสุภงั อิมงั กัมมัฏฐานัง ปุนัพภะโวติฯ
อะจิร ัง วะตะยังกาโย ปะฐะวิง อธิเสสสะติ ฉุ ฑโฑ
อะเปตะวิญญาโณ นิ ร ัตถัง วะ กะลิง คะรัง
ปะฐะวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ
รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ
สังขาร ักขันโธ วิญญาณักขันโธ
ปัญจักขันธาอัชฌัตตา พะหิธา สังขารา อะนิ จจา
ทุกขา อะนัตตา วิปะริณามะธัมมา
อะนิ จจา วะตะ สังขารา อุปปาทะวะยะธัมมิโน
อุปัชฌิตะวา นิ รช ุ ฌันติ เตสัง วูปะสะโม สุโขฯ
นามะรูปัง อะนิ จจัง พะยัตเถนะ นิ จจัง วะตะ
นิ พพานัง
นามะรูปัง ทุกขัง พะยัตเถนะ สุขงั วะตะ นิ พพานัง
นามะรูปัง อะนัตตา อะสาระกัตเถนะ สาร ัง วะตะ
นิ พพานัง
นามะรูปัง อะนิ จจัง นามะรูปัง ทุกขัง นามะรูปัง
อะนัตตานิ จจัง วะตะ นิ พพานัง สุขงั วะตะ นิ พพานัง
สาร ัง วะตะ นิ พพานัง นิ พพานัง ปะระมัง สุขงั ฯ
เทวทู ตทัง้ ๕
อะหัมปิ โขมหิ ชาติ ธัมโม ชาติง อะนะตีโต
หันทาหัง กัลละยาณัง กะโรมิ กาเยนะ วาจายะ
มะนะสาฯ
อะหัมปิ โขมหิ ชะรา ธัมโม ชะร ัง อะนะตีโต
หันทาหัง กัลละยาณัง กะโรมิ กาเยนะ วาจายะ
มะนะสาฯ
อะหัมปิ โขมหิ พยาธิ ธัมโม พยาธิง อะนะตีโต
หันทาหัง กัลละยาณัง กะโรมิ กาเยนะ วาจายะ
มะนะสาฯ
เย กิระ โภ ปาปานิ กัมมานิ กะโรนติ เต ทิฏเฐวะ
ธัมเม เอวะรูปา วิวธิ า กัมมะการะณา กะริยน
ั ติ
กิมงั คัง ปรัตะถ หันทาหัง กัลละยาณัง กะโรมิ กาเยนะ
วาจายะ มะนะสาฯ
อะหัมปิ โขมหิ มะระณะ ธัมโม มะระณัง อะนะตีโต
หันทาหัง กัลละยาณัง กะโรมิ กาเยนะ วาจายะ
มะนะสาฯ
นัตถิ เม
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง
วะร ัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ
สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง
วะร ัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ
สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง
วะร ัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ
สัพพะทา.

พุทโธมังคะละสัมภู โต
พุทโธ มังคะละสัมภูโต สัมพุทโธ ทีปะทุตตะโม
พุทธะ มังคะละมาคัมมะ สัพพะทุกขา
ปะมุญจะเร
ธัมโม มังคะละสัมภูโต คัมภีโร ทุทสั โส อะณุ ง
ธัมมะ มังคะละมาคัมมะ สัพพะภะยา
ปะมุญจะเร
สังโฆ มังคะละสัมภูโต ทักขิเณยโย
อะนุ ตตะโร
สังฆะมังคะละมาคัมมะ สัพพะโรคา ปะมุญจะเร

ปั ญจะมำเร
ปัญจะมาเร ชิโน นาโถ ปัตโต
สัมโพธิมุตตะมัง จะตุสจั จัง ปะกาเสติ ธัมมะจักกัง
ปะวัตตะยิ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม
ชะยะมังคะลังฯ
*************************
ภัตเตข ้าแด่พระเจ ้า ๕ จาพวก
้ ้าพเจ ้าขอภาวนา
บัดนี ข
พุทธานุ สสิตกัมมัฏฐาน
ขอให ้ปี ติและสมาธิจงมาบังเกิดแก่
ข ้าพเจ ้า ณ กาลบัดนี ้ แด่เทอญ.
- นั่งตัวตรงดารงสติให ้มั่น
- เท ้าขวาทับเท ้าซ ้าย มือขวาทับมือซ ้าย
- ทอดสายตาในระยะ ๒ ศอก หลับตา
- นาสติมากาหนดลักษณะการนั่งของตนเอง
- หายใจเข ้าลึก ๆ หายใจออกยาว ๆ
นาสติไปกาหนดลม
หายใจเข ้าออก หายใจเข ้า รู ้ หายใจออก รู ้
- หายใจเข ้าภาวนาว่า “พุทธ”
- หายใจออกภาวนาว่า “โธ”
โดยเอาสติกาหนดแน่ นิ่งกับพุทโธ
พอสมควรแก่เวลาเสร็จแล ้วยกมือพนมไว ้ทีอ ่
ก เปล่งวาจาแผ่เมตตาต่อไป

วิธส
ี มำทำนกรรมฐำน
คามอบตนและถวายชีวต
ิ ต่อพระรัตนตรัย
อิมำหัง ภะคะวำ อ ัตตะภำวงั ตุมหำก ัง
ปะริจจะชำมิฯ
ข ้าแต่สมเด็จพระผูม้ พ
ี ระภาคเจ ้า
ข ้าพระองค ์ขอมอบกายถวายชีวต ิ
ต่อพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ ์

คำมอบกำยถวำยตวั ต่อ พระอำจำรย ์


อิมำหัง อำจะริยะ อ ัตตะภำวงั ตุมหำก ัง
ปะริจจะชำมิฯ
ข ้าแต่พระอาจารย ์ผูเ้ จริญ
ข ้าพเจ ้าขอมอบกายถวายตัว

ต่อครูบาอาจารย ์เพือจะขอเจริญวิปัสสนากรรม
ฐานต่อไป

คำขอกรรมฐำน
นิ พพำนัสสะ เม ภันเต
สัจฉิ กะระณัตถำยะ กัมมัฏฐำนังเทหิฯ
ข ้าแต่ผูเ้ จริญ
ขอท่านจงให ้กรรมฐานแก่ข ้าพเจ ้า

เพือจะทาให ้แจ ้งซึง่ มรรค ผล นิ พพาน
ต่อไปเถิด
เดินจงกรม
การเดินจงกรมนั้น
ตามหลักของพระวิปัสสนาจารย ์
ท่านมิได ้กาหนดให ้เดินจงกรมทุกระยะ ตังแต่ ้ ระยะที่ ๑
ถึงระยะที่ ๖
ในคราวเดียวกันเพราะอินทรีย ์ยังมีกาลังอ่อนอยู่
ต ้องปฏิบตั ใิ ห ้เป็ นไปตามลาดับของวิปัสสนาญาณ
ฉะนั้นท่านจึงกาหนดให ้เดินจงกรม ๑ ระยะก่อน
(จงกรม ๑ ระยะ ขวาย่างหนอ ซ ้ายย่างหนอ)
ในวิสทุ ธิมรรค (วิสท ุ ธิ. ๓/๒๕๑)
กล่าวถึงการแบ่งส่วนก ้าวเท ้า ก ้าวหนึ่ ง ๆ ออกเป็ น ๖
ส่วน หรือ ๖ ระยะ ว่าได ้ดังนี ้
“ตโต เอกปทวาร อุทธฺ รณ อติหรณ วีตห ิ รณ
โวสฺสชฺชน สนฺ นิ เขปน สนฺ นิรม ุ ฺภน วเสน ฉ โกฏฐฺ าเส
กโรติ” แปลว่า “ขณะทีก ่ ้าวเท ้าไป
ทาการแบ่งเก ้าท ้าวหนึ่ งออกเป็ น ๖ ส่วน หรือ ๖
ระยะคือ
(๑) อุทธ ฺ รณ นาม ปาทสฺส ภูมโิ ต อุกข ฺ ป
ิ น

ยกเท ้าขึนจากพื น้ เรียกว่า อุทธรณะ (ยก)
เท่ากับ ยกส ้นหนอ
(๒) อติหรณ นาม ปุรโต หรณ
ยกหรือยืนเท ่ ้าไปข ้างหน้า เรียกว่า อติหรณะ
(ย่าง) เท่ากับ ยกหนอ
(๓) วีตหิ รณ นาม ขาณุ กณฺ ฏก ทีฆชาติอาทีสฺ
กิญจฺ เทว ทิสวฺ า อิโต จิโต จ ปาทสญฺจรณ
่ นตอเห็นหนามหรือเห็นทีฆชาติ
เมือเห็
อย่างใดอย่างหนึ่ ง หรือย ้ายเท ้าไปข ้างโน้น
(และ) ข ้างนี ้ เรียกว่า วีตห ิ รณะ ย ้ายหรือ ย่าง
เท่ากับ ย่างหนอ
(๔) โวสฺสชฺชน นาม ปาทสฺส โอโรปน เมือลด ่
(หย่อน) เท ้าต่าลงเบืองล่ ้ าง เรียกว่า
โวสสัชชนะ (ลง) เท่ากับ ลงหนอ
(๕) สนฺ นิกเฺ ขปน นาม ปฐวีตเล ฐปน
วางเท ้าลงทีพื ่ นดิ
้ น เรียกว่า สันนิ เขปนะ
(เหยียบ) เท่ากับ ถูกหนอ
(๖) สนฺ นิรมุ ภ
ฺ น นาม ปุน ปาทุทธ ฺ รณกาเล
ปาทสฺส ปฐวิยา สทฺธ ึ อภินิปป ฺ ัฬน
ขณะยกเท ้าก ้าวไปข ้างหน้าอีกก ้าวหนึ่ ง
กดเท ้าอีกข ้างหนึ่ งไว ้กับพืนเรี ้ ยกว่า
สันนิ รม
ุ ภนะ (กด) เท่ากับ กดหนอ
วัตถุประสงค ์ในการปฏิบต ั ต
ิ ามหลักสติปัฏฐาน
ท่านพระวิปัสสนาจารย ์จึงนาเอาระยะหรือจังหวะมาแบ่

งแยกเป็ นขันตอน
สอนโยคีผูป้ ฏิบต ั ใิ ห ้รู ้จักใช ้ในการเดินจงกรมเป็ นระยะ
ดังนี ้
จงกรม ๑ ระยะ : ขวาย่างหนอ ซ ้ายย่างหนอ
จงกรม ๒ ระยะ : ยกหนอ เหยียบหนอ
จงกรม ๓ ระยะ : ยกหนอ ย่างหนอ เหยียบหนอ
จงกรม ๔ ระยะ : ยกส ้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอ
เหยียบหนอ
จงกรม ๕ ระยะ : ยกส ้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอง
ลงหนอ ถูกหนอ
จงกรม ๖ ระยะ : ยกส ้นหนอ ยกหนอ ย่างหนอง
ลงหนอ ถูกหนอ
กดหนอ
นั่งสมำธิ
ี ่ ังสมาธินี ้ ในสติปัฏฐานสูตร
วิธน
พระพุทธองค ์ตร ัสไว ้ว่า “นิ สท ี ติ ปลฺลงฺ ก อาภุชต ิ วฺ า,
อุช ุ กาย ปณิ ธาย ปริมุข สตี อุปฏฐฺ เปตฺวา”
แปลความว่า นั่งคู ้บัลลังก ์ ตังกายตรง

ดารงสติไว ้เฉพาะหน้า
ตามหลักในการปฏิบต ั วิ ป ิ ัสสนากัมมัฏฐาน
ท่านแนะนาให ้นั่งขัดสมาธิราบแบบพระพุทธรูป
้ วตรง ตังล
ตังตั ้ าคอและศรีษะตรง
วางเท ้าขวาทับลงบนเท ้าซ ้าย
วางมือขวาทับลงบนมือซ ้ายหรือจะวางทีหั ่ วเข่าทังสอง

ก็ได ้ หลับตา ตังสติ้ กาหนด อารมณ์
กัมมัฏฐานโดยการกาหนดระยะ เริมด ่ ้วยการกาหนด
๒ ระยะก่อน ตามลาดับ

นั่งกำหนด
๒ ระยะ พองหนอ ยุบหนอ
๓ ระยะ พองหนอ ยุบหนอ นั่งหนอ
(ถ ้านอนอยู่กาหนด พองหนอ ยุบหนอ นอนหนอ)
๔ ระยะ พองหนอ ยุบหนอ นั่งหนอ ถูกหนอ
(ถ ้านอนอยู่กาหนด พองหนอ ยุบหออ นอนหนอ
ถูกหนอ )

อำนิ สงส ์ของกำรนั่งสมำธิ


พระพุทธองค ์ทรง แสดงไว ้ ๕ ประการ คือ

๑. เป็ นไปเพือความบริ สท ์
ุ ธิหมดจดของสั ้
ตว ์ทังห
ลาย
๒. ไม่มค ี ความโศกเศร ้าปริเวทนาการ
ไม่มค ี วามพิไรราพันบ่นเพ้อ
๓. ดับทุกข ์ทางกาย ดับทุกข ์ทางใจได ้

๔. เป็ นไปเพือบรรลุ มรรค ผล นิ พพาน

๕.เพือกระท าพระนิ พพานให ้แจ ้ง

อำนิ สงส ์ของกำรเดินจงกรม


พระพุทธองค ์ทรง แสดงไว ้ ๕ ประการ คือ
๑. อดทนต่อการเดินทางไกล
๒. อดทนต่อการทาความเพียร
๓. ช่วยย่อยอาหาร
๔. ช่วยขับโรคลมออกจากตน
ิ่ น้
๕.ทาสมาธิให ้ดียงขึ
ี่ ้ จากการเดินจงกรมจะตังอยู
(สมาธิทได ้ ่ได ้นาน)

อำนิ สสงส ์กำรเจริญเมตตำ


การเจริญเมตตาย่อมได ้รับอานิ สงส ์ ๑๑ ประการ
(๑) สุขงั สุปะติ, คือ (ผูเ้ จริญเมตตาจิตนั้น)
หลับอยู่ก็เป็ นสุขสบาย
(๒) สุขงั พุชฌะติ, ตืนขึ ่ นก็ ้ เป็ นสุขสบาย,
(๓) นะปำปะก ัง สุปินัง ปั สสะติ, ไม่ฝันร ้าย
(๔) มะนุ สสำนัง ปิ โยโหติ,
เป็ นทีร่ ักของเหล่ามนุ ษย ์ทังหลาย,

(๕) อะมะนุ สสำนัง ปิ โยโหติ,
เป็ นทีร่ ักของเหล่าอมนุ ษย ์ทัวไป,

(๖) เทวะตำร ักขันติ, เทวดาย่อมคุมครองร ้ ักษา
(๗) นำสสะอ ัคคิ วำ วิสงั วำ สัตถัง วำ กะมะติ,
ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัตราก็ดี ย่อมทาอันตรายไม่ได,้
(๘) ตุวะฎัง จิตต ังสะมำธิยะติ,
จิตย่อมเป็ นสมาธิได ้โดยเร็ว,
(๙) มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ, ผิวหน้าย่อมผ่องใส,
(๑๐) อะสัมมุฬโห กำลัง กะโรติ, เป็ นผูไ้ ม่ลมุ่ หลง
ทากาลกิรยิ าตาย,
(๑๑) อุตตะร ัง อ ัปปะฎิวำชฌันโต, พร ัหมะโลกู ปะโค
่ งไม่บรรลุคณ
โหติ, เมือยั ่ นไป,
ุ วิเศษอันยิงๆขึ ้
ย่อมเป็ นผูเ้ ข ้าถึงพรหมโลกแล,

แผ่เมตตำท้ำยภำวนำ
“สาธุ ข ้าพเจ ้าภาวนาพระกัมมัฏฐาน
นานประมาณเท่านี แล ้ ้ว
ขอยกไว ้เหนื อหัวแห่งข ้าพเจ ้าก่อนแล”

สัพเพ สัตตำ

สัตว ์ทังหลายที ่ นเพือนทุ
เป็ ่ กข ์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย

ด ้วยกันทังหมดทั ้ น้
งสิ
อะเวรำ โหนตุ
จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด อย่าได ้มีเวรแก่กน
ั และกันเลย

อ ัพพะยำปั ชฌำ โหนตุ


จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด
่ นและกันเลย
อย่าได ้เบียดเบียนซึงกั

อะนี ฆำ โหนตุ
จงเป็ นสุขเป็ นสุขเถิด
อย่าได ้มีความทุกข ์กายทุกข ์ใจเลย

สุข ี อัตตำนัง ปะริหะร ันตุ


จงมีความสุขกาย สุขใจ
้ นเถิ
ร ักษาตนให ้พ้นจากทุกข ์ภัยทังสิ ้ ด
่ ญกุศลในวันนี ้
“ข ้าพเจ ้าได ้บาเพ็ญแล ้ว ซึงบุ
ขอจงเป็ นพลวะปัจจัย แก่มารดาบิดา ปู่ ย่าตายาย
ญาติสนิ ทมิตรสหาย ครูบาอาจารย ์ เจ ้ากรรมนายเวร

สรรพสัตว ์ทังหลาย ้
เทวาอาร ักษ ์ทังหลาย
และขอจงเป็ นพลวะปัจจัย
เป็ นนิ สยั ตามส่งให ้เกิดปัญญาญาณ

ทังชาติ ้
นีและชาติ หน้า
ตลอดชาติอย่างยิงจนถึ ่ งความพ้นทุกข ์
คือพระนิ พานเทอญ”

บทแผ่เมตตำพืนเมื
อง
อิทงั ทานะ กัมมัง นิ พพานัง ปัจจะโย โหนตุโน
นิ จจัง
อิทงั ศีละ กัมมัง นิ พพานัง ปัจจะโย โหนตุโน
นิ จจัง
อิทงั ภาวนา กัมมัง นิ พพานัง ปัจจะโย โหนตุโน
นิ จจัง
ยังกิญจิ กุสสะลัง กัตตัพพัง กัมมัง สัพเพหิ กะเตหิ
กะตัง
บุญญัง โน อะนุ โมทันตุ สุนันตุ โภณโต เยเทวา
อัสสะมิง
ฐาเน อะทิคะตา ทีฆายุกา สะทาโหนตุ สัพพะ
สัตตานัง
สุขอี ต
ั ตานัง ปะริหะรันตุ
มาตา ปิ ตา สุขต
ิ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ ญาติกา สุขต ิ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ อญาติกา สุขต ิ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ ปิ สา สัพเพ ยักขา สัพเพ เปตา
สุขต
ิ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ นักขัตตา สุขต ิ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ เทวา สุขติ า โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพเพ อาจาริยุปัชฌายา สุขต ิ า
โหนตุ ทุกขา
ปะมุญจันตุ สัพพะ สัมปัตตินัง สะมิช ันตุโวฯ

วันทำหลวง(ไหว้ลำพระเจ้ำ)
วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภัณเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภัณเต
วันทามิ สังฆัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภัณเต
วันทามิ ครุอปุ ัชฌาญา จริยงั สัพพัง เม โทสัง
ขะมะถะ เม ภัณเต
วันทามิ กัมมัฏฐานัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม
ภัณเต
วันทามิ อาราเม พัทธสีมาณัง สัพพะ ฐาเนสุ
ปฏิตฐิตา
สะรีระ ธาตุ มหาโพธิง พุทธะรูปัง สะการ ัง สะทา
นาคะโลเก เทวะโลเก พรหมะโลเก ชมพูทเี ป
ลังกาทีเป
สะรีระ ธาตุโย เกสา ธาตุโย อะระหันตา ธาตุโย
เจติยงั
คันธะกุฏงิ จะตุราสี สหัสเส ธัมมักขันเธ สัพเพ ตัง
ปาทะ เจติยงั อะหัง วันทามิ สัพพะโส

วันทำน้อย ( สู มำครู บำอำจำรย ์)


วันทามิ ภัณเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม
ภัณเต
มะยา กะตัง สามินา อนุ โมทิตพั พัง สามินา กะตัง
บุญญัง
มัยหัง ทะตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุ โมทามิ

คำไหว้พระเจ้ำตนหลวง
นะโม เม อะตีตกะกุสน
ั โธ โกนาคะมะโน
กัสสะโป สิรสิ ม
ั ปันโน
โคตะโม สากยะปุงคะโว นะโม เม อะหังิ
วันทามิ สัพพะทา ฯ
โย โส ภะคะวา อะนะปะกัปโป ปะนิ หติ ะติวธิ ะ สุจะ
ริตตะสะมันนาคะโต ทะวาทะวัตติสะ มะหาปุรสิ ะลักขะ
ณะปัตติมน
ั ติโต การุณกาโล
โสหันตา สะปาตะยุคคะลัง สิระสา นะมามิ ฯ

คำไหว้พระธำตุจอมทอง
อิมสั มิง เกสาธาตุโย วามะเก อัฏฐิธาตุ ปิ ฐาตุ
โลหะปัพพะ ตังทักขิณัง มหาจุนทัง อะหัง วันทามิ
สิระสาฯ

คำอธิษฐำนจิต
๑.

ขอให ้ข ้าพเจ ้าชนะศัตรูหมู่มารทังหลายทั ้
งปวง
๒. ขอให ้ข ้าพเจ ้าปราศจากทุกข ์โศกโรคภัยนาน
าประการ
๓. ขอให ้ข ้าพเจ ้าเจริญด ้วยอายุ วรรณะ สุขะ
พละ
๔. ขอให ้ข ้าพเจ ้าเจริญด ้วยลาภ ยศ
สรรเสริญ สุข
๕. ขอให ้ข ้าพเจ ้าเจริญในธุรกิจหน้าที่

การงานทังหลายทั ้
งปวง
๖. ขอให ้ข ้าพเจ ้าเจริญในพระสัจธรรมคาสอน
ของพระสัมมาสัมพุทธเจ ้า
ตลอดกาลเป็ นนิ ตย ์ด ้วยเทอญ

คำอำรำธนำศีล ๘
อะหัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ

ทุตยิ มั ปิ มะยัง ภันเต
ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ ฯ
ตะติยม ั ปิ มะยัง ภันเต
ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะ สีลานิ ยาจามิ ฯ
(ถ ้าหลายคนเปลียน ่ อะหัง เป็ น มะยัง , ยาจามิ เป็ น
ยาจามะ)

หัวข้อศีล ๘
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะ
มาทิยามิ
๒. อทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิย
ามิ
๓.
อพร ัหมะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๔.
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐฺ านา เวระมะณี สิก
ขา
ปะทัง สะมาทิยามิ
๖.
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๗. นัจจะคีตะวาทิตะ วิสก ู ะทัสสะนามาลาคันธะวิเ
ลปะนะ
ธาระณะ มัณฑะนะ
วิภส
ู ะนัฏฐฺ านา เวระมะณี สิกขา
ปะทัง สะมาทิยามิ
๘.
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมณี สิกขาปะทัง
สะมาทิยามิ
อิมานะ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิฯ (ว่า ๓ หน)

คำสมำทำนศีล ๕
มะยังภันเต วิสุงวิสุง ร ักขะนะธำยะ ติสะระเน
นะสะหะ ปั ญจะ ศีลำนิ ยำจำมะ

(ท่านผูเ้ จริญ ข ้าพเจ ้าทังหลาย ขอศีล 5 พร ้อมกับสรณะ
3)
ทุตย ิ ม
ั ปิ มะยังภันเต วิสุงวิสุง ร ักขะนะธำยะ
ติสะระเน นะสะหะ ปั ญจะ ศีลำนิ ยำจำมะ
(ท่านผูเ้ จริญ แม้นในวาระที่ 2 ข ้าพเจ ้าทังหลาย้ ขอศีล 5
พร ้อมกับสรณะ 3)
ตะติยม ั ปิ มะยังภันเต วิสุงวิสุง ร ักขะนะธำยะ
ติสะระเน นะสะหะ ปั ญจะ ศีลำนิ ยำจำมะ
(ท่านผูเ้ จริญ แม้นในวาระที่ 3 ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้ ขอศีล 5
พร ้อมกับสรณะ 3)

(ถ ้าคนเดียวเปลียนจากค าว่า "มะยัง" เป็ น "อะหัง" และ
"ยาจามะ" เป็ น "ยาจามิ")

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต


สัมมำสัมพุทธ ัสสะ ฯ
(ว่ำ ๓ จบ)
(ขอนอบน้อมต่อพระผู ้มีพระภาคเจ ้าพระองค ์นั้น
ผูไ้ กลจากกิเลสควรแก่การกราบไหว ้บูชา
เป็ นผูต้ ร ัสรู ้ชอบได ้ด ้วยพระองค ์เอง ฯ)
พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ธ ัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ
(ข ้าพเจ ้าขอยึดเอาพระพุทธเจ ้าเป็ นทีพึ ่ งที ่ ระลึ ่ ก
ข ้าพเจ ้าขอยึดเอาพระธรรมเป็ นทีพึ ่ งที่ ระลึ ่ ก
ข ้าพเจ ้าขอยึดเอาพระสงฆ ์เป็ นทีพึ ่ งที่ ระลึ ่ ก)
ทุตยิ ม ั ปิ พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ทุตยิ ม ั ปิ ธ ัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ
ทุตย ิ ม ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ
(แม้วาระที่ ๒
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระพุทธเจ ้าเป็ นทีพึ ่ งที ่ ระลึ ่ ก
แม้วาระที่ ๒
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระธรรมเป็ นทีพึ ่ งที ่ ระลึ ่ ก
แม้วาระที่ ๒
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระสงฆ ์เป็ นทีพึ ่ งที่ ระลึ ่ ก)
ตะติยม ั ปิ พุทธ ัง สะระณัง คัจฉำมิ
ตะติยม ั ปิ ธ ัมมัง สะระณัง คัจฉำมิ
ตะติยม ั ปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉำมิ
(แม้วาระที่ ๓
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระพุทธเจ ้าเป็ นทีพึ ่ งที ่ ระลึ ่ ก
แม้วาระที่ ๓
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระธรรมเป็ นทีพึ ่ งที ่ ระลึ ่ ก
แม้วาระที่ ๓
ข ้าพเจ ้าก็ขอยึดเอาพระสงฆ ์เป็ นทีพึ ่ งที
่ ระลึ
่ ก)
ปำณำ ติปำตำ เวระมณี สิกขำ
ปะทังสะมำธิยำมิ
(ข ้าพเจ ้าสมาทานซึงสิ่ กขาบท คือ
เว ้นจากการฆ่าสัตว ์ด ้วยตนเองและไม่ใช่ให ้ผูอ้ นฆ่ ื ่ า)
อทินนำ ทำณำ เวระมณี สิกขำ
ปะทังสะมำธิยำมิ
(ข ้าพเจ ้าสมาทานซึงสิ ่ กขาบท คือ เว ้นจากการลัก
,ฉ้อ ของผู ้อืนด่ ้วยตนเอง และไม่ใช่ให ้ผูอ้ นลั
ื่ ก ฉ้อ)
กำเม สุมฉ ิ ำ จำรำ เวระมณี สิกขำ
ปะทังสะมำธิยำมิ
(ข ้าพเจ ้าสมาทานซึงสิ ่ กขาบท คือ
เว ้นจากการประพฤติผด ิ ในกาม)
มุสำ วำทำ เวระมณี สิกขำ ปะทังสะมำธิยำมิ
(ข ้าพเจ ้าสมาทานซึงสิ ่ กขาบท คือ
เว ้นจากการพูดเท็จ คาไม่เป็ นจริง และคาล่อลวง
อาพรางผูอ้ น) ื่
สุรำเมระยะ มัชชะปะมำ ทัฏฐำนำ เวระมะณี
สิกขำปะทัง สมำธิยำมิ
(ข ้าพเจ ้าสมาทานซึงสิ ่ กขาบท คือ
เว ้นจากการดืมสุ ่ รา เมร ัย

เครืองดองของท ่
าใจให ้คลังไคล ้ต่างๆ)
อิมำนิ ปั ญจสิกขำ ปทำนิ สมำธิยำมิ(3 ครง) ้ั
(ข ้าพเจ ้าขอทรงไว ้ซึงศี ่ ลทังห้ ้าประการด ้วยจิตตังมั ้ ่น)(
3 ครง) ้ั
(พระสวดร ับรองว่า)
ศีเลนะสุขคติงยันติ
(ศีล นั้นจักเป็ นเหตุให ้ถึงความสุข) (ผูข ้ อพึงร ับ สาธุ )
ศีเลนะโภคะสัมปะทำ
(ศีล นั้นจักเป็ นเหตุให ้ได ้มาซึง่ โภคทร ัพย ์)
(ผูข
้ อพึงรับ สาธุ )
ศีเลนะนิ พพุตงิ ยันติ
(และศีลนั้นยัง จะเป็ นเหตุให ้ได ้ไปถึง นิ พพาน
คือความดับเย็นจากกิเลศ เครืองเศร ่ ้าหมอง ทังปวง) ้
ตัสสมำ ศีลงั วิโสทะเย
(ศีล
่ วิ่ เศษนักทีเธอทั
จึงเป็ นสิงที ่ ้
งหลายพึ งยึดถือเป็ นหลัก
ประจาชีวต ิ ประจาจิตใจ ปฏิบต ั ิ ให ้ได ้ ดังนี ้ แล)
(ผูข้ อพึงรับ สาธุ )
คำขอบวชเป็ นศีลจำริณี (พ่อขำว,แม่ขำว)
เอสำหัง ภันเต , สุจริ ะปะรินิพพุตม
ั ปิ
, ตัง ภะคะวันตัง
สะระณัง คัจฉำมิ , ธ ัมมัญจะ ภิกขุสงั ฆัญจะ
, ปั พพัชช ัง มัง ภันเต ,
สังโฆ ธำเรตุ อ ัชชะตัคเค ปำณุ เปตัง
, สะระณัง คะตงั .
ข ้าแต่ท่านผูเ้ จริญ
ข ้าพเจ ้าขอถึงสมเด็จพระผูม้ พ ี ระภาคเจ ้า
แม้เสด็จดับขันธปรินิพพานนานแล ้ว กับทังพระธรร ้
มและพระสงฆ ์
ว่าเป็ นสรณะทีพึ ่ งที
่ ระลึ
่ ก ขอพระสงฆ ์
จงจาข ้าพเจ ้าไว ้ว่าเป็ นผูบ้ วชในพระธรรมวินัย
ผูถ้ งึ พระรัตนตรัยเป็ นสรณะตลอดชีวต ิ
้ บดั นี เป็
ตังแต่ ้ นต ้นไปเทอญฯ

คำลำสิกขำจำกศีลจำริณี
ปั ณฑะร ังคะปั พพะชิต ัสสะ
อ ัฏฐะสิกขำปะทำนิ ปั จจักขำมิ
อ ัชชะตัคเคทำนิ คิหต ี ิ มัง ธำเรถะ ฯ
ข ้าแต่ท่านผูเ้ จริญ ข ้าพเจ ้าขอลาสิกขาบททัง้ ๘
ของนักบวชผูน้ ุ่ งขาวห่มขาว ขอท่านทังหลาย้
จงจาข ้าพเจ ้าไว ้ว่า เป็ นคฤหัสถ ์
้ บดั นี เป็
ตังแต่ ้ นต ้นไปเทอญ .

วิธล
ี ำสิกขำพระ
๑. ไหว ้พระ
๒. ปลงอาบัต ิ
๓. ขอขมาพระสงฆ ์
๔. นะโม ๓ จบ เปล่งคาลาสิกขา
“สิกขัง ปัจจักขามิ คิหต
ี ม
ิ งั สังโฆทาเรตุ”
(๓ จบ)
๕. ฟังโอวาท กลับไปนุ่ งห่มผ้าอย่างคฤหัสถ ์
๖. ร ับศีล ๕ ปฏิญาณตนเป็ นพุทธมามกะ
๗. ถวายจตุปัจจัย รับพรจากพระสงฆ ์ เสร็จพิธ ี

คำปฏิญำณตนเป็ นพุทธมำมกะ
เอเต มะยัง ภันเต, สุจริ ะปะรินิพพุตม
ั ปิ ,
ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉำมะ, ธ ัมมั
ญจะ สังฆัญจะ, พุทธะมำมะกำติ โน,สังโฆ
ธำเรตุ อ ัชชะตัคเค ปำณุ เปตัง
สะระณังคะตัง.

ข ้าแต่พระสงฆ ์ผูเ้ จริญ ข ้าพเจ ้าทังหลาย ขอ
ี ระภาคเจ ้าพระองค ์นัน้ แม้เสด็จปรินิพพา
ถึงผูม้ พ

นแล ้ว ทังพระธรรม ่
และพระสงฆ ์เป็ นสรณะทีระลึ

กนับถือ ขอพระสงฆ ์จงจาข ้าพเจ ้าทังหลายไว ้ว่าเ
ป็ นพุทธมามกะ เป็ นผูร้ บั เอาพระพุทธเจ ้าเป็ นของ
ตน คือผูน้ ับถือพระพุทธเจ ้า

คำถวำยสังฆทำน (ถวำยภัตตำหำร)
“อิมำนิ มะยัง ภันเต ภัตตำนิ สะปะริวำรำนิ
ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยำมะ สำธุโน ภันเต
ภิกขุ สังโฆ
อิมำนิ ภัตตำนิ สะปะริวำรนิ ปะฏิคคัณหำตุ
อ ัมหำกัง ทีฆะร ัตตัง หิตำยะ สุขำยะ “
ข ้าแต่พระสงฆ ์ผูเ้ จริญ

ข ้าพเจ ้าทังหลายขอน้ อมถวาย
ซึงภั่ ตตาหารกับของทีเป็่ นบริวาร

ทังหลายเหล่ ้ พระสงฆ ์
านี แด่
ขอพระสงฆ ์จงร ับซึงภั่ ตตาหารกับของ
่ นบริวารทังหลาย
ทีเป็ ้ เหล่านี ้ เพือประโยชน์


เพือความสุ ้
ขแก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้
สินกาลนานเทอญ

คำบู ชำข้ำวพระพุทธ
อิมงั , สูปพยัญชะนะสัมปันนัง, สาลีนัง,
โภชะนัง,
อุทะกังวะร ัง, พุทธัสสะ, ปูเชมิ.

คำลำข้ำวพระ
เสสัง มังคะลัง ยาจามิ.

อนุ โมทนำคำถำ

(ผูเ้ ป็ นประธานสวดรูปเดียว + เจ ้าภาพกรวดนา)
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะร ัง
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ
อิจฉิ ตงั ปัตถิตงั ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท
ปัณณะระโส ยะถา
มะณิ โชติระโส ยะถา ฯ
( เจ ้าภาพเทนาให ้ ้หมด
แล ้วประนมมือตังใจร้ ับพร)
(รูปที่ ๒ ร ับ สัพพีตโิ ย นอกนั้นร ับพร ้อมกันว่า
วิวช
ั ชันตุ....)
สัพพีตโิ ย วิวช
ั ชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัตวันตะราโย สุข ี ทีฆายุโก ภะวะ
, (๓ จบ)
อะภิวาทะนะสีลส ิ สะ นิ จจัง
วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขงั
พะลัง ฯ
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ
สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ
สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมนุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ
สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุ ภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ
เต
คำพิจำรณำอำหำร
ยะถาปัจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมต ั ตะเมเวตัง
ยะทิทงั คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร ฯ
ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมต ั ตะโก
นิ สสัตโต นิ ชชีโว สุญโญ ฯ สัพโพ ปะนายัง
คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคจ ุ ฉะนี โย
อิมงั ปูตก
ิ ายัง ปัตวา อะติวยิ ะ ชิคจ
ุ ฉะนี โย ชายะติ

คำแสดงอำบัต ิ
(พรรษาอ่อนว่า)
สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ (ว่า ๓ หน)

สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ (ว่า ๓ หน)


อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโย

อาปัชชิง ตา ตุมห๎ ะ มูเล ปะฏิเทเสมิ


(พรรษาแก่ร ับ ว่า) ปัสสะสิ อาวุโส ตา อาปัตติโย
(พรรษาอ่อนว่า) อุกาสะ อามะ ภันเต ปัสสามิ
(พรรษาแก่ร ับ ว่า) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ
(พรรษาอ่อนว่า) สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ

ทุตยิ ม
ั ปิ สาธุ สุฏฐุ ภันเต สังวะริสสามิ

ตะติยมั ปิ สาธุ สุฎฐุ ภันเต สังวะริสสามิ


นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ ฯ
(พรรษาแก่วา่ ) สัพพา ตา อาปัตติโย อาโรเจมิ
(ว่า ๓ หน)

สัพพา คะรุละหุกา อาปัตติโย อาโรเจมิ (ว่า ๓ หน)

อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปัตติโ



อาปัชชิง ตา ตุยห ๎ ะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
(พรรษาอ่อนร ับว่า)
อุกาสะ ปัสสะถะ ภันเต ตา อาปัตติโย
(พรรษาแก่วา่ ) อามะ อาวุโส ปัสสามิ
(พรรษาอ่อนร ับว่า) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะ
(พรรษาแก่วา่ ) สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ

ทุตยิ ม
ั ปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ

ตะติยม ั ปิ สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ


นะ ปุเนวัง กะริสสามิ
นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ
นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ.ฯ
่ ป้ ลงอาบัตวิ า่ มาถึงคาว่า “นะ ปุเนวัง
เมือผู
กะริสสามิ” ผูร้ ับ ให ้ว่า “สาธุ”
่ ามาถึงคาว่า “นะ ปุเนวัง ภาสิสสามิ” ผูร้ ับ
เมือว่
ให ้ว่า “สาธุ”
่ ามาถึงคาว่า “นะ ปุเนวัง จินตะยิสสามิ”
เมือว่
ผูร้ ับ ให ้ว่า “สาธุ”
คำถวำยพระรำชกุศล
ระตะนัตตะยำนุ ภำเวนะ
ระตะนัตตะยำเตชะสำ
นะวะมินทะมะหำรำช ัสสะ สะรำชินิยำ
สัพพะชะยะมังคะลัง โหตุ ทีฑำยุโก โหตุ
อะโรโค โหตุ สุขโิ ต โหตุ
นะวะมินทะมะหำรำชำ สะรำชินี
ด ้วยเดชานุ ภาพแห่งพระรัตนตัย
ขอพระพรชัยมงคล จงบังเกิดมี
แด่พระบาทสมเด็จพระเจ ้าอยู่หวั
สมเด็จพระนางเจ ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
และพระบรมวงศานุ วงศ ์ จงทรงพระเจริญ
มีพระชนมพรรษายิงยื่ นนาน
ปราศจากโรคาพยาธิแผ้วพาน
ทรงพระเกษมสาราญ ตลอดกาลเป็ นนิ ตย ์เทอญ.
อานิ สงส ์ของการไหว ้พระสวดมนต ์
๑. ทำให้มส ี ุขภำพดี การสวดมนต ์ด ้วยการออกเสียง
ช่วยให ้ปอดได ้ทางาน เลือดลมเดินสะดวก

ร่างกายก็สดชืนกระปรี ้
กระเปร่

๒. คลำยควำมเครียด
ในขณะสวดมนต ์จิตจะจดจ่อกับบทสวด สมองจะปลอดโปร่ง
ไม่คด ่ ท
ิ ในเรืองที ่ าให ้เครียด จึงทาให ้อารมณ์ผ่อนคลาย

๓. เกิดศร ัทธำเลือมใสในพระไตรร ัตน์
บทสวดมนต ์แต่ละบทเป็ นการระลึกถึงคุณพระร ัตนตร ัย

เมือสวดมนต ่ นศร ัทธาความเชือเลื
์ไปก็เท่ากับว่าได ้เพิมพู ่ อมใสใ

นพระร ัตนตร ัยใหม้ ่นคงยิ
ั ่ น้
งขึ
๔. ขันติบำรมีย่อมเพิมพู ่ น

ขณะทีสวดมนต ่
์ต ้องใช ้ความอดทนอย่างสูงเพือเอาชนะความป

วดเมือยที ่ ดขึนกั
เกิ ้ บร่างกาย

รวมทังอารมณ์ ฝ่ายต่าทีจะเข่ ้ามากระทบจิตใจทาให ้เกิดความเกี
ยจคร ้าน ดังนั้น ยิงสวดบ่
่ ่
อยๆ ความอดทนก็จะเพิมมากยิ ่ น้
งขึ
๕. จิตสงบตังมั้ นเป็
่ นสมำธิ

ขณะทีสวดมนต ์จิตจะจดจ่ออยู่กบั บทสวดไม่วอกแวกวุน
่ วายไป
ในทีอื่ น
่ จึงมีความสงบเกิดสมาธิม่นคง ั ุ ธิผ่์ องใส
สะอาดบริสท
งดงาม แม้เพียงระยะเวลาน้อยนิ ด
ก็เป็ นบุญกุศลประมาณค่าไม่ได ้
่ นบุญบำรมี ขณะทีสวดมนต
๖. เพิมพู ่ ์จิตใจจะสะอาด
ปราศจากกิเลสคือความโลภ ความโกรธ ความหลง เป็ นต ้น
จึงเป็ นบ่อเกิดแห่งบุญบารมี
่ งสมมากเข
เมือสั ่ ้าก็จะเป็ นทุนสนับสนุ นให ้บรรลุผลตามทีต่ ้องกา
รได ้
๗. จิตใจอ่อนโยนมีเมตตำ
การแผ่เมตตาเป็ นการมอบความร ักความปรารถนาดีให ้แก่สรร

พสัตว ์ทังหลาย ่
เพือลดละความเห็ นแก่ตวั
เป็ นอุบายกาจัดความโกรธใหเ้ บาบางลงไป พบแต่ความสุขสงบ
๘. เป็ นสิรม
ิ งคลแก่ชวี ต

้ั
การสวดมนต ์เป็ นการทาความดีทงทางกายคื อการสละเวลามา
ทา ทางวาจาคือการกล่าวคาสวดทีถู ่ กต ้อง

และทางใจคือการตังใจท าด ้วยความมั่นคง
ย่อมเกิดสิรมิ งคลแก่ผสวดภาวนาทุ
ู้ กประการ
๙. เทวดำคุม ้ ครองร ักษำ

ผู ้ทีสวดมนต ์เป็ นประจาย่อมเป็ นทีร่ ักของเทวดา
จะทาอะไรก็ตามหรือแมแ้ ต่จะเดินทางไปทีไหนๆ ่
ก็ปลอดภัยจากอันตราย
ประสบความสาเร็จเหมือนมีเทวดาให ้พร
๑๐. สติมำปั ญญำเกิด

การสวดมนต ์เป็ นการสังสมคุ ณความดี
ทาให ้มีสติและมีจต ่ ในการดาเนิ นชีวต
ิ สานึ กทีดี ิ
โดยเฉพาะถ ้าสวดพร ้อมกับคาแปลก็จะเกิดสติปัญญานามาประ
ยุกต ์ใช ้ในชีวต
ิ ได ้
๑๑. มีผวิ พรรณผ่องใสจิตใจชืนบำน ่
การสวดมนต ์ด ้วยการเปล่งเสียงเป็ นการกระตุ ้นเซลล ์ผิวหนัง
จะทาให ้มีผวิ พรรณผ่องใสใจเป็ นสุข

เพราะขณะทีสวดมนต ้ ่นในบุญกุศล
์จิตจะตังมั
ไม่คด ่ นที
ิ ไปในเรืองอื ่ ท ่ าให ้ใจเศร ้าหมอง

๑๒. พิชต
ิ ใจผู ค ้ นให้ร ักใคร่
การสวดมนต ์เป็ นประจาจะทาให ้ศัตรูกลายเป็ นมิตร
่ นมิตรอยู่แล ้วก็ร ักใคร่กลมเกลียวกันมากยิงขึ
ผู ้ทีเป็ ่ น้

แมค้ นทีเคยเป็ นศัตรูคอ ่ ด
ู่ าฆาตกันก็จะหันกลับมาคืนดีในทีสุ
๑๓. ทำให้แคล้วคลำดปลอดภัยจำกอน ั ตรำย
การสวดมนต ์เป็ นประจา จะทาให ้รอดพ้นจากภัยอันตราย
ในยามโชคร ้ายประสบเคราะห ์กรรมอันจะมีมาถึงตัว
เพราะจะทาให ้มีสติอยู่ตลอดเวลา
๑๔. สะเดำะกรรมทำให้ดวงดี
การสวดมนต ์เป็ นการแก ้เคราะห ์สะเดาะกรรม
ขจัดปัดเป่ าเสนี ยดจัญไร
ท่านกล่าวไว ้ว่าชีวต
ิ ของคนเราจะดีหรือชวนั ่ ั ้นก็อยู่ทการกระท
ี่ า
ทาดีก็มค
ี วามสุข ทาชวก็่ ั กลัวทุ
้ กข ์ร ้อนรนใจ
การสวดมนต ์จะช่วยให ้สิงที่ ร่ ้ายกลายเป็ นดี

๑๕. ครอบคร ัวเป็ นสุขสดใส


การสวดมนต ์เป็ นการสร ้างความสุข
และเกิดความสามัคคีในครอบคร ัว
หากครอบคร ัวใดทีพ่ ่ อบ ้านแม่เรือนสวดมนต ์และสอนลูกหลานใ
ห ้สวดมนต ์เป็ นประจา จะมีความสงบสุข
ไม่มกี ารทะเลาะเบาะแว ้ง ส่งผลให ้สังคมมีความสงบสุข

ทวัตติงสำกำรปำฐะ
(หันทะ มะยัง ทวัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส)
อะยัง โข เม กำโย กายของเรานี แล ้
อุทธ ัง ปำทะตะลำ ้
เบืองบนแต่ ื ้ ้าขึนมา
พนเท ้
อะโธ เกสะมัตถะกำ ้ ่าแต่ปลายผมลงไป
เบืองต
ตะจะปะริยน ั โต มีหนังหุ ้มอยู่เป็ นทีสุ่ ดรอบ
ปุ โรนำนัปปะกำร ัสสะ อะสุจโิ น
เต็มไปด ้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆ
อ ัตถิ อิมสั มิง กำเย มีอยู่ในกายนี ้
เกสำ -คือผมทังหลาย ้
โลมำ -คือขนทังหลาย ้
นะขำ -คือเล็บทังหลาย ้
ทันตำ -คือฟันทังหลาย ้
ตะโจ -หนัง
มังสัง -เนื อ้

นะหำรู -เอ็นทังหลาย

อ ัฏฐี -กระดูกทังหลาย
อ ัฏฐิมญ ่
ิ ช ัง -เยือในกระดู ก
วักกัง -ม้าม

หะทะยัง -หัวใจ
ยะกะนัง -ตับ
กิโลมะกัง -พังผืด
ปิ หะก ัง -ไต
ปั ปผำสัง -ปอด
อ ันตัง -ไส ้ใหญ่
อ ันตะคุณัง -ไส ้น้อย
อุทะริยงั -อาหารใหม่
กะรีสงั -อาหารเก่า

ปิ ตตัง -นาดี
เสมหงั -นาเสลด ้

ปุ พโพ -นาเหลื อง
โลหิตงั -นาเลื ้ อด
เสโท -นาเหงื้ ่

เมโท -นามั ้ นข ้น
อ ัสสุ -น้าตา
วะสำ -นามั ้ นเหลว
เขโฬ -นาลาย ้
สิงฆำณิ กำ -นามู ้ ก
ละสิกำ -นามั ้ นไขข ้อ
มุตตัง -นามู ้ ตร

(มัตถะเก มัตถะลุงคัง -เยือในสมอง)

เอวะ มะยัง เม กำโย กายของเรานี อย่ ้ างนี ้


อุทธ ัง ปำทะตะลำ ้
เบืองบนแต่ ื ้ ้าขึนมา
พนเท ้
อะโธ เกสะมัตถะกำ ้ ่าแต่ปลายผมลงไป
เบืองต
ตะจะปะริยน ั โต มีหนังหุ ้มอยู่เป็ นทีสุ่ ดรอบ
ปุ โรนำนัปปะกำร ัสสะ อะสุจโิ น


เต็มไปด ้วยของไม่สะอาดมีประการต่างๆอย่างนี แลฯ

บทสวด มงคลจักรวำลน้อย

สัพพะพุทธำนุ ภำเวนะ

ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระพุทธเจ ้าทังปวง
สัพพะธ ัมมำนุ ภำเวนะ

ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระธรรมทังปวง
สัพพะสังฆำนุ ภำเวนะ

ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระสงฆ ์ทังปวง
พุทธะระตะนัง ธ ัมมะระตะนัง
ด ้วยอานุ ภาพแห่งร ัตนะสาม คือ
สังฆะระตะนัง ติณณัง ระตะนำนัง พุทธร ัตนะ
ธรรมร ัตนะ สังฆรตนะ
อำนุ ภำเวนะ
จะตุรำสีตส ิ ะหัสสะธ ัมมักขันธำ-
ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระธรรมขันธ ์
นุ ภำเวนะ ่ พั
แปดหมืนสี ่ น
ปิ ฏะกัตตะยำนุ ภำเวนะ
ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระไตรปิ ฏก
ชินะสำวะกำนุ ภำเวนะ
ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระสาวกของพระชินเจ ้า
สัพเพ เต โรคำ สัพเพเต ภะยำ

สรรพโรคทังหลายของท่ ้
าน สรรพภัยทังหลาย
ของท่าน

สัพเพ เต อ ันตะรำยำ

สรรพอันตรายทังหลายของท่ าน
สัพเพ เต อุปัททะวำ ้
สรรพอุปัทวะทังหลายของท่ าน
สัพเพ เตทุนนิ มต ิ ตำ
สรรพนิ มต ้
ิ ร ้ายทังหลายของท่ าน
สัพเพ เต อะวะมังคะลำ

สรรพอวมงคลทังหลายของท่ าน
วินส ั สันตุ จงพินาศไป
อำยุวฑ ั ฒะโก ธะนะวัฑฒะโก ความเจริญอายุ
ความเจริญทรพ ั ย์
สิรวิ ฑ ั ฒะโก ยะสะวัฑฒะโก ความเจริญศิร ิ
ความเจริญยศ
พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก ความเจริญกาลัง
ความเจริญวรรณะ
สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทำ ฯ ความเจริญสุข จงมี
(แก่ท่าน) ในกาลทังปวง ้
ทุกขะโรคะภะยำ เวรำ โสกำ ทุกข ์โรคภัย
แลเวรทังหลาย ้ ความโศก
สัตตุ จุปัททะวำ ้
ศัตรูแลอุปัทวะทังหลาย
อะเนกำ อน ั ตะรำยำปิ
้ นตรายทังหลายเป็
ทังอั ้ นอเนก
วินส ั สันตุ จะ เตชะสำ จงพินาศไปด ้วยเดช
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลำภัง ความชนะ
ความสาเร็จทรพ ั ย ์ลาภ
โสตถิ ภำคยัง สุขงั พะลัง ความสวัสดี
ความมีโชค ความสุข ความมีกาลัง
สิร ิ อำยุ จะ วัณโณ จะ โภคัง ศิรอิ ายุแลวรรณะ
โภคะความเจริญ
วุฑฒี จะ ยะสะวำ แลความเป็ นผูม้ ย ี ศ
สะตะวัสสำ จะ อำยู จะ แลอายุยน ื ร ้อยปี
ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต ฯ
ความสาเร็จกิจในความเป็ นอยู่ จงมีแก่ท่าน
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน
ร ักขันตุ สัพพะเทวะตำ ขอเหล่าเทวดา
จงร ักษาท่าน
สัพพะพุทธำนุ ภำเวนะ
ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระพุทธเจ ้า
สัพพะธ ัมมำนุ ภำเวนะ
ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระธรรม
สัพพะสังฆำนุ ภำเวนะ ด ้วยอานุ ภาพแห่งพระสงฆ ์
สะทำ โสตถี ตะวันตุ เต. ้ั
ขอความสวัสดีทงหลาย
จงมีแก่ท่านทุกเมือ ่ เทอญ.

You might also like