You are on page 1of 133

คาถาและปริภาสา

ที่ควรจ�ำ
ในการศึกษาคัมภีร์ปทรูปสิทธิ
ค�ำน�ำ
ปทรู ป สิ ท ธิ เป็ น คั ม ภี ร ์ ว ่ า ด้ ว ยการประกอบรู ป ศั พ ท์
จั ด ว่ า เป็ น คั ม ภี ร ์ ห นึ่ ง ที่ ผู ้ ป ระสงค์ จ ะศึ ก ษาพระไตรปิ ฎ กฉบั บ
ภาษาบาฬีจ�ำเป็นต้องศึกษาเป็นล�ำดับแรก โดยการศึกษาคัมภีร์
ปทรูปสิทธิ ให้ส�ำเร็จประโยชน์ นักศึกษาควรท่องจ�ำกัจจายนสูตร
ให้แม่นย�ำ รวมทั้งคาถาและปริภาสาต่างๆ ในคัมภีร์ปทรูปสิทธิให้
ได้ทั้งหมด นอกจากนั้น ยังควรท่องจ�ำคาถาและปริภาสาที่อาจารย์
ผูส้ อนน�ำมาเสริมให้จากคัมภีร์ไวยากรณ์เป็นต้นอืน่ ๆ ซึง่ เกีย่ วข้องกับ
เนื้อหาในคัมภีร์ปทรูปสิทธิในตอนนั้นๆ อีกด้วย
เพือ่ ประหยัดเวลาในการทีอ่ าจารย์ผสู้ อนจะต้องจดคาถา
และปริภาสาที่น�ำมาเพิ่มเติมเหล่านั้นบนกระดานและต้องรอจนกว่า
นักศึกษาจะจดเสร็จ ซึง่ ใช้เวลามาก รวมทัง้ เพือ่ ให้นกั ศึกษาสามารถ
พกพาไว้ทอ่ งจ�ำได้สะดวก ผูเ้ รียบเรียงจึงได้จดั ท�ำหนังสือ “คาถาและ
ปริภาสาที่ควรจ�ำ ในการศึกษาคัมภีร์ปทรูปสิทธิ” ขึ้น โดยคาถาและ
ปริภาสาเหล่านี้ ส่วนใหญ่นำ� มาจากคัมภีรป์ ทรูปสิทธิมญ ั ชรี ซึง่ รจนา
โดยพระคันธสาราภิวงศ์ บางส่วน ก็ ได้จากการค้นคว้าเพิม่ เติม อนึง่
คาถาและปริภาสาที่ ไม่ ได้ระบุที่มาไว้ พึงทราบว่า น�ำมาจากคัมภีร์
ปทรูปสิทธิโดยตรง ส่วนคาถาและปริภาสาที่ ไม่ทราบที่มา ผู้เรียบ
เรียงจะระบุที่มาว่า โบราณาจารย์
สุดท้ายนี้ ฝากไว้ว่า หนังสือส�ำหรับท่องจ�ำ คงไม่เหมาะ
ที่จะเก็บไว้ ในตู้เฉยๆ หรอกใช่ ไหมครับ
ด้วยความปราถนาดี
หัฏฐจิต
1
คาถาและปริภาสา
ที่ควรจ�ำ
ในการศึกษาคัมภีร์ปทรูปสิทธิ
นมตฺถุ รตนตฺตยสฺส

คันถารัมภะ
อาจริยา ปาทมาทตฺเต ปาทํ สิสฺโส สชานนา
ปาทํ สพฺรหฺมจารีหิ ปาทํ กาลกฺกเมน จ.
(โบราณาจารย์)
ศิษย์ย่อมเรียนรู้ศิลปะส่วนหนึ่งจากครู
ส่วนหนึ่งด้วยความเข้าใจของตน
ส่วนหนึ่งจากเพื่อนร่วมชั้น
และส่วนหนึ่งตามกาลเวลา.
วิสุทฺธสทฺธมฺมสหสฺสทีธิตึ
สุพุทฺธสมฺโพธิยุคนฺธโรทิตํ
ติพุทฺธเขตฺเตกทิวากรํ ชินํ
สธมฺมสํฆํ สิรสาภิวนฺทิย.
ข้าพเจ้าขออภิวาทพระชินเจ้าผู้เป็นพระอาทิตย์ดวง
เดียวในพุทธเขตทั้ง ๓ ผู้มีพระรัศมีหลายพันคือพระสัทธรรม
2
อันบริสุทธิ์ ผู้เสด็จเหนือยอดเขายุคันธรคือพระสัมโพธิญาณที่
พระองค์ ได้ตรัสรู้ดีแล้ว พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ด้วย
เศียรเกล้า.
กจฺจายนฺจาจริยํ นมิตฺวา
นิสฺสาย กจฺจายนวณฺณนาทึ
พาลปฺปโพธตฺถมุชุ กริสฺสํ
พฺยตฺตํ สุกณฺฑํ ปทรูปสิทฺธึ.
และขอน้อมไหว้พระอาจารย์กัจจายนะ แล้วจักอาศัย
คัมภีร์กัจจายนะและนยาสะอันเป็นคัมภีร์อธิบายกัจจายนะ
เป็นต้น รจนาปทรูปสิทธิปกรณ์ ให้ตรงประเด็น ชัดเจน จัดแบ่ง
อย่างดี เพื่อความรู้ของเยาวชนทั้งหลาย.
อาสีนมกฺกาโร วตฺถุ นิทฺเทโส วาปิ ตมฺมุข.ํ
(กาพฺยาทส.)
การแสดงความปรารถนาก็ดี การนอบน้อมก็ดี
ท้องเรือ่ งก็ดี ทัง้ ๓ ประการนัน้ เป็นการเริม่ ต้นคัมภีร.์
ปณาโม ติวิโธ กาย- วาจาจิตฺตวสา ภเว
เตสุ วจีปณาโมว สาติสโยติ ทีปโิ ต.
สิสฺสานํ หิตกรตฺตา วตฺถุโน วนฺทนารหํ
ทีปกตฺตา จ เตสายํ อุกฺกํสา วณฺณนา สิยา.
(มณิสารมญฺชูสา ๑/๕๘)
การนอบน้อมมี ๓ ประการ โดยจ�ำแนกเป็น กาย วาจา
3
และใจ ในการนอบน้อมเหล่านั้น การนอบน้อมทางวาจาเท่านั้น
เป็นของยิง่ ยวด การนอบน้อมทางวาจานี้ เป็นการยกย่องอย่าง
ยิ่งยวดกว่าการนอบน้อมเหล่านั้น เพราะก่อให้เกิดประโยชน์
เกือ้ กูลแก่ศษิ ย์ และแสดงคุณทีค่ วรนอบน้อมแห่งพระรัตนตรัย.
สญฺา นิมิตฺตํ กตฺตา จ ปริมาณํ ปโยชนํ
สพฺพาคมสฺส ปุพฺเพว วตฺตพฺพํ วตฺตุมิจฺฉตา.
(นยาส.)
คันถรจนาจารย์ผปู้ ระสงค์จะกล่าวถึงชือ่ คัมภีร์ เหตุให้
รจนาคัมภีร์ ผู้แต่งคัมภีร์ ความยาวของคัมภีร์ และจุดมุ่งหมาย
ของการรจนาคัมภีร์ พึงกล่าวไว้ ในเบื้องต้นของคัมภีร์ทั้งปวง.
ปมํ กเร ปทจฺเฉทํ สมาสาทึ ตโต กเร
สมาสาโท กเต ปจฺฉา อตฺถํ นิยฺยาถ ปณฺฑิโต.
(นยาสัปปทีปิกา)
ผู้มีปัญญาพึงกระท�ำการตัดบทก่อน แล้วกระท�ำรูป
วิเคราะห์มีสมาสเป็นต้น ต่อจากนั้น เมื่อกระท�ำรูปวิเคราะห์มี
สมาสเป็นต้นแล้ว พึงรู้เนื้อความในภายหลัง.
ปทํ1 จตุพฺพิธํ วุตฺตํ นามาขฺยาโตปสคฺคิกํ
นิปาตญฺจาติ วิญฺญูหิ อสฺโส ขลฺวาภิธาวติ.
(รูป.ฏี. ๖๐)
บทมี ๔ ประเภทที่บัณฑิตกล่าวไว้ คือ บทนาม บท
1 ปชฺชติ ายเต อตฺโถ เอเตนาติ ปทํ (บท คือ ศัพท์แสดงให้รู้เนื้อความ)
4
อาขยาต บทอุปสัค และบทนิบาต เช่น อสฺโส ขลุ อภิธาวติ
(ได้ยินว่า ม้าวิ่งเร็ว)
เอเกกวณฺโณ อกฺขโร อกฺขรสมูโห ปทํ
ปทสมูโห วากฺยํ วากฺยสมูโห คนฺโถ.
(โบราณาจารย์)
เสียงหนึ่งๆ ชื่อว่า อักษร
หมู่แห่งอักษร ชื่อว่า บท
หมู่แห่งบท ชื่อว่า พากย์(ประโยค)
หมู่แห่งพากย์ ชื่อว่า คัมภีร์.

สนธิกัณฑ์
สัญญาวิธาน
โย นิรุตฺตึ น สิกฺเขยฺย สิกฺขนฺโต ปิฏกตฺตยํ
ปเท ปเท วิกงฺเขยฺย วเน อนฺธคโช ยถา.
(โมค.ปญฺจิกา. ๑๖)
บุคคลใดศึกษาพระไตรปิฎกอยู่ แต่ ไม่เรียนรู้ไวยากรณ์
เขาพึงสงสัยในทุกๆบท เหมือนช้างตาบอดเทีย่ วไปในป่า ฉะนัน้ .
เย สนฺธินามาทิปเภททกฺขา
หุตฺวา วิสิฏฺเ ปิฏกตฺตยสฺมึ
กุพฺพนฺติ โยคํ ปรมานุภาวา
วินฺทนฺติ กามํ วิวิธตฺถสารํ. (นีต.ิ สุตตฺ . ๑)
5
ชนเหล่าใดเชี่ยวชาญในประเภทแห่งสนธิและนาม
เป็นต้นแล้วย่อมกระท�ำความเพียรในพระไตรปิฎกอันประเสริฐ
ด้วยก�ำลังความรู้อันดีเลิศ ชนเหล่านั้น ย่อมได้รับอรรถอันเป็น
แก่นสารต่างๆ.
ปเทสคฺคหเณ หิ อสติ คเหตพฺพสฺส นิปฺปเทสตาว
วิญฺายติ, ยถา ทิกฺขิโต น ททาตีติ. (สารตฺถ. ๑/๒๘๖)
โดยแท้จริงแล้ว เมือ่ ไม่มกี ารหมายเอาเฉพาะบางส่วน
บัณฑิตย่อมรู้ว่าหมายเอาทั้งหมดได้ทีเดียว เช่นค�ำว่า สมณะ
โล้นย่อมไม่ ให้.
ตสฺมา อกฺขรโกสลฺลํ สมฺปาเทยฺย หิตตฺถิโก
อุปฏฺหํ ครุ สมฺมา อุฏฺานาทีหิ ปญฺจหิ.
เพราะเหตุนั้น ผู้ปรารถนาประโยชน์ พึงอุปัฏฐากครู
ด้วยกิจ ๕ ประการ มีการลุกขึ้นรับเป็นต้นโดยชอบ ยังความ
เชี่ยวชาญในอักษรให้ถึงพร้อมเถิด.
อุฏฺานา อุปฏฺานา จ สุสฺสูสา สุปริคฺคหา
สกฺกจฺจํ สิปฺปุคฺคหณา ครุ อาราธเย พุโธ.
(การิกา. ๗๖)
ท่านผู้รู้พึงยังครูให้ยินดีด้วย[กิจ ๕ ประการ คือ]
๑) การลุกขึ้นรับ ๒) การอุปัฏฐาก
๓) การเชื่อฟัง ๔) การปรนนิบัติด้วยดี
๕) การเรียนวิชาโดยเคารพ.
6
อารมฺโภ วจนํ วุตฺติ ลกฺขณํ โยคเมว จ
วากฺยํ สุตฺตยตนาทิ สุตฺตานมภิธายกํ.
(การิกา ๕๕)
ศัพท์ที่แปลว่า “สูตร” คือ อารมฺภ วจน วุตฺติ ลกฺขณ
โยค วากฺย สุตฺต และ ยตน เป็นต้น.
สมฺพนฺโธ จ ปทญฺเจว ปทตฺโถ ปทวิคฺคโห
โจทนา ปริหาโร จ ฉพฺพธิ า สุตตฺ วณฺณนา.
(รูป.ฏี. ๒)
สุตตวรรณนา (การอธิบายสูตร) มี ๖ ประการ
๑) สัมพันธสังวรรณนา การแสดงความสัมพันธ์ของบท
๒) ปทสังวรรณนา การอธิบายบท
๓) ปทัตถสังวรรณนา การอธิบายความหมายของบท
๔) ปทวิคคหสังวรรณนา การแสดงรูปวิเคราะห์ของบท
๕) โจทนาสังวรรณนา การตั้งค�ำถามเพื่อย�้ำความเข้าใจ
๖) ปริหารสังวรรณนา การตอบค�ำถามตามข้อ ๕.
สฺวปฺปกฺขรมสนฺเทหํ สารตฺถํ สพฺพโตมุขํ
อกฺโขภมนวชฺชญฺจ ฉพฺพิธํ สุตฺตลกฺขณํ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๑๒)
ลักษณะของสูตรมี ๖ ประการ คือ
๑) มีพยางค์น้อยมาก ๒) ไม่คลุมเครือ
๓) มีข้อความเป็นแก่นสาร ๔) มีนัยรอบด้าน.
๕) ไม่หวั่นไหว ๖) ไม่มี โทษ.
7
สญฺา จ ปริภาสา จ วิธีปิ นิยโมปิ จ
อติเทโสธิกาโรติ ฉธา วา สุตฺตลกฺขณํ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๑๒)
อีกนัยหนึง่ ลักษณะของสูตรมี ๖ ประการ คือ สัญญา
สูตร ปริภาสาสูตร วิธิสูตร นิยมสูตร อติเทสสูตร และอธิการ
สูตร.
ฉ านานิ กณฺตาลุมุทฺธทนฺตโอฏฺนาสิกวเสน.
ฐานมี ๖ อย่าง คือ คอ เพดาน ปุ่มเหงือก ฟัน
ริมฝีปาก และจมูก
ตตฺถ อวณฺณกวคฺคหการา กณฺชา
อิวณฺณจวคฺคยการา ตาลุชา
ฏวคฺครการฬการา มุทฺธชา
ตวคฺคลการสการา ทนฺตชา
อุวณฺณปวคฺคา โอฏฺชา
เอกาโร กณฺตาลุโช
โอกาโร กณฺโฏฺโช
วกาโร ทนฺโตฏฺโช
นิคฺคหีตํ ( ํ) นาสิกฏฺานชํ
งณนมา สกฏฺานชา นาสิกฏฺานชา จ.
(ช แปลว่า เกิดที่...)
8
หการํ ปญฺจเมเหว อนฺตฏฺาหิ จ สํยุตํ
โอรสนฺติ วทนฺเตตฺถ กณฺชํ ตทสํยุตํ.1
บรรดาอักษรเหล่านี้ [นักไวยากรณ์ทั้งหลาย]กล่าวว่า
ห อักษรทีป่ ระกอบกับอักษรที่ ๕ [ของวรรค] และอันตัฏฐอักษร
[คือ ย ร ล ว] เป็นอักษรเกิดที่อุรฐาน (อก) และกล่าวว่า ห
อักษรที่ ไม่ประกอบกับอักษรเหล่านั้น เป็นอักษรเกิดที่กัณฐฐาน
(คอ)
อนฺตฏฺา ยรลวา. (กาตนฺตร. ๑/๑๔)
ย ร ล และ ว ชื่อว่า อันตัฏฐา.
กรณํ ชิวฺหามชฺฌํ ตาลุชานํ
ชิวฺโหปคฺคํ มุทฺธชานํ
ชิวฺหาคฺคํ ทนฺตชานํ
เสสา สกฏฺานกรณา.
ท่ามกลางลิ้น เป็นกรณ์ของตาลุชอักษร
ที่ ใกล้ปลายลิ้น เป็นกรณ์ของมุทธชอักษร
ปลายลิ้น เป็นกรณ์ของทันตชอักษร
อักษรที่เหลือมีกรณ์เป็นฐานของตนๆ.
ปยตนํ สํวุตาทิกรณวิเสโส.
การกระท�ำเป็นพิเศษมีการปิดฐานและกรณ์เป็นต้น
ชื่อว่า ปยตนะ.
1 ปาณินีย. คาถา ๑๐
9
สํวุตมการสฺส
วิวฏํ เสสสรานํ สการหการานญฺจ
ผุฏฺ วคฺคานํ
อีสํผุฏฺ ยรลวานํ.
การปิดฐานและกรณ์ เป็นปยตนะของ อ อักษร
การเปิดฐานและกรณ์ เป็นปยตนะของสระทีเ่ หลือ สและหอักษร
การกระทบของฐานและกรณ์ เป็นปยตนะของพยัญชนะวรรค
การกระทบเบาของฐานและกรณ์ เป็นปยตนะของ ย ร ล ว.
จูฬนิรุตฺติยํ ปน สพฺเพ รสฺสสรา สํวุตา นาม. สพฺเพ
ทีฆสรา วิวฏา นามาติ วุตฺตํ. ตถา สทฺทสารตฺถชาลินิยํ กตฺถจิ
สกฺกตคนฺเถ จ. อิทํ ยุตฺตตรํ. (นิรุตฺติ. ๕)
ส่วนในคัมภีรจ์ ฬู นิรตุ ติ รัสสสระทัง้ หมด ชือ่ ว่า สังวุฏะ
ทีฆสระทั้งหมด ชื่อว่า วิวฏะ ในคัมภีร์สัททสารัตถชาลินี และ
ในคัมภีร์สันสกฤตบางคัมภีร์ก็เช่นเดียวกัน มตินี้สมควรกว่า.
นิสฺสยาโท สรา วุตฺตา พฺยญฺชนา นิสฺสิตา ตโต
วคฺเคกชา พหุตฺตาโท ตโต านลหุกฺกมา.
ในบรรดานิสสยะและนิสสิตะเหล่านัน้ สระกล่าวไว้ ใน
เบื้องต้น เพราะเป็นที่อาศัย พยัญชนะกล่าวไว้หลังจากสระนั้น
เพราะเป็นผูอ้ าศัย พยัญชนะวรรคและอักษรทีเ่ กิดแต่ฐานเดียว
กล่าวไว้ ในเบื้องแรกเพราะมีจ�ำนวนมาก จากนั้นจึงกล่าวอักษร
ไว้ตามล�ำดับแห่งฐานและลหุ.
10
สามญฺสญฺาวิเสสสญฺาสุ สามญฺสญฺาว ปมํ
วตฺตพฺพา. (นยาส. ๒)
บรรดาชื่อทั่วไปและชื่อเฉพาะ ควรกล่าวชื่อทั่วไปก่อน.
นิสสฺ ยนิสสฺ เิ ตสุ นิสสฺ ยาว ปมํ วตฺตพฺพา. (นยาส. ๒)
บรรดานิสสยะและนิสสิตะ ควรกล่าวนิสสยะไว้ก่อน.
อปฺปกพหุเกสุ พหุกาว ปมํ วตฺตพฺพา. (นยาส. ๒)
บรรดาจ�ำนวนน้อยและจ�ำนวนมาก ควรกล่าวจ�ำนวนมากไว้กอ่ น.
ครุกลหุเกสุ ลหุกาว ปมํ วตฺตพฺพา. (นยาส. ๒)
บรรดาครุและลหุ ควรกล่าวลหุไว้ก่อน.
ปญฺจนฺนํ ปน านานํ ปฏิปาฏิวสาปิ จ
นิสฺสยาทิปเภเทหิ วุตฺโต เตสมนุกฺกโม.1
ล�ำดับแห่งอักษรเหล่านัน้ กล่าวไว้ โดยเนือ่ งด้วยล�ำดับ
แห่งฐาน ๕ และด้วยประเภทแห่งอักษรมีนิสสยะเป็นต้น.
อธิกกฺขรวนฺตานิ เอกตาลีสโต อิโต
น พุทฺธวจนานีติ ทีเปตาจริยาสโภ.
ท่านอาจารย์กัจจายนะผู้ประเสริฐ แสดงว่า ถ้อยค�ำที่มีอักษร
เกินจาก ๔๑ เสียงนี้ มิใช่พระด�ำรัสของพระพุทธเจ้า.
รูฬฺหิขฺยาตํ นิปาตญฺจุ- ปสคฺคาลปนมฺปิ จ
สพฺพนามนฺติ เอเตสุ น กโต วิคฺคโห ฉสุ.
(นิรุตฺติสารมญฺชูสา. ๓๒)
1 นฺยาส. ๑/๒
11
รูฬหิศัพท์ อาขยาต นิบาต อุปสัค อาลปนะ และ
สัพพนาม บท ๖ ประเภทเหล่านี้ ตั้งรูปวิเคราะห์ไม่ ได้
เอกมตฺโต ภเว รสฺโส ทฺวิมตฺโต ทีฆมุจฺจเต
ติมตฺโต ปลุโต เยฺโย พฺยญฺชนํ จฑฺฒมตฺตกํ.
(โบราณาจารย์)
รัสสสระมี ๑ มาตรา
ทีฆสระ มี ๒ มาตรา
ปลุตะ (เสียงตะโกน) มี ๓ มาตรา
พยัญชนะ มีครึ่งมาตรา
กวฺจิ สํ โยคปุพฺพา เอกาโรการา รสฺสา อิว วุจฺจนฺเต.
ยถา เอตฺถ เสยฺโย โอฏฺโ โสตฺถิ.
ในบางแห่ง เอ, โอ อักษร ที่อยู่หน้าพยัญชนะสังโยค
จะออกเสียงเหมือนรัสสสระ เช่น เอตฺถ เสยฺโย โอฏฺโ โสตฺถิ
สิถิลํ ธนิตญฺจ ทีฆรสฺสํ
ครุกํ ลหุกญฺเจว นิคฺคหีตํ
สมฺพนฺธววตฺถิตํ วิมุตฺตํ
ทสธา พฺยญฺชนพุทฺธิยา ปเภโท. (วิ.อฏ. ๓/๕๕๒)
ประเภทของพยัญชนพุทธิ (พยัญชนะเครื่องแสดง
อรรถ) มี ๑๐ ประการ คือ สิถิล ธนิต ทีฆะ รัสสะ ครุ ลหุ
นิคคหิต สัมพันธะ ววัตถิตะ และวิมุต
12
ตโต อญฺเ อวคฺคาติ อวุตฺตสิทฺธิ ายเต
วคฺคสญฺกสุตฺเตน อวคฺคาปิ กถียเร.
(การิกา. ๑๐๑)
อวุตตสิทธินัย (นัยส�ำเร็จได้ โดยไม่ต้องกล่าว) ท�ำให้
ทราบได้ว่า พยัญชนะอื่นจากวรรคนั้น ชื่อว่า อวรรค แม้อวรรค
ก็ถูกกล่าวไว้[โดยอ้อม]ด้วยสูตรที่ตั้งชื่อวรรค
พินฺทุ จูฬามณากาโร นิคฺคหีตนฺติ วุจฺจเต
เกวลสฺสาปโยคตฺตา อกาโร สนฺนิธียเต.
(พาลาวตาร. ๒)
พินทุทมี่ ลี กั ษณะคล้ายแก้วมณีบนยอดมงกุฎ ท่านเรียก
ว่า นิคคหิต อ อักษรย่อมตั้งอยู่ ใกล้นิคคหิต เพราะนิคคหิต
ล้วนๆ ประกอบไว้ ไม่ ได้
กรณํ นิคฺคเหตฺวาน มุเขนาวิวเฏน ยํ
วุจฺจเต นิคฺคหีตนฺติ วุตฺตํ พินฺทุ สรานุคํ.
พินทุที่ผู้พูดกดฐานและกรณ์ ไว้แล้วออกเสียงโดยไม่
เปิดปาก ซึ่งตามหลังสระเรียกกันว่า นิคคหิต
วคฺคานํ ปมทุติยา สกาโร จ อโฆสา.
อักษรที่ ๑ และที่ ๒ ของวรรค และ ส อักษร ชื่อว่า อโฆสะ
(เสียงไม่ก้อง). (๑ ๒ ส = อโฆสะ)
วคฺคานํ ตติยจตุตฺถปญฺจมา ยรลวหฬา จาติ เอกวีสติ
โฆสา นาม.
13
อักษร ๒๑ เสียง คือ อักษรที่ ๓ ที่ ๔ และที่ ๕ ของ
วรรค และ ย ร ล ว ห ฬ ชื่อว่า โฆสะ (เสียงก้อง).
(๓ ๔ ๕ ย ร ล ว ห ฬ = โฆสะ)
เอตฺถ จ วคฺคานํ ทุติยจตุตฺถา ธนิตาติปิ วุจฺจนฺติ.
อนึ่ง ในบรรดาโฆสะและอโฆสะเหล่านี้ อักษรที่ ๒
และที่ ๔ ของวรรค ยังเรียกว่า ธนิต(เสียงแข็ง) อีกด้วย.
(๒ ๔ = ธนิต)
อิตเร สิถิลา.
อักษรเหล่าอืน่ นอกจากนี้ เรียกว่า สิถลิ (เสียงหย่อน).
(๑ ๓ = สิถิล)
สรานนฺตริตานิ พฺยญฺชนานิ สํโยโค.
พยัญชนะทั้งหลายอันไม่มีสระคั่น ชื่อว่า สังโยค.
ธาตุปฺปจฺจยวิภตฺติวชฺชิตมตฺถวํ ลิงฺคํ.
ศัพท์ทมี่ คี วามหมาย ซึง่ ไม่ ใช่ธาตุ ปัจจัย และวิภตั ติ ชือ่ ว่า ลิงค์.
วิภตฺยนฺตํ ปทํ.
ศัพท์ที่มีวิภัตติอยู่ท้าย ชื่อว่า บท.
สรสนธิ
สมฺมา ธียนฺติ ยํ ตตฺถ อทสฺเสตฺวาน มนฺตรํ
วฑฺฒกินาว ธียนฺติ สนฺธิ เตน ปวุจฺจติ.
(กจฺ.เภท. ๖)
บทสองบทย่อมถูกเชื่อมไว้ดี ในอุทาหรณ์นั้นโดยมิ ได้
14
แสดงระหว่างเหมือนแผ่นไม้ทถี่ กู ช่างไม้เชือ่ มไว้ดงั นัน้ อุทาหรณ์
นั้น จึงชื่อว่า สนธิ.
โลปาเทโส จ อาคโม วิกาโร ปกตีปิ จ
ที โฆ รสฺโสติ สตฺเตเต สนฺธิเภทา วิชานิยา.
(กัจ.สุตตัตถะ.)
พึงทราบประเภทของสนธิ ๗ เหล่านี้ คือ โลปะ อาเทศ
อาคม วิการ ปกติ ทีฆะ และรัสสะ.
โลปาเทโส อาคโม จ ที โฆ รสฺโส นิเสธโก
วิภตฺติปจฺจโย จาติ วิธิสุตฺตานิ อฏฺธา.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๑๒)
วิธิสูตรมี ๘ อย่าง คือ การลบ อาเทศ ลงอาคม ท�ำ
ทีฆะ ท�ำรัสสะ ปฏิเสธ ลงวิภัตติ และลงปัจจัย.
อนิฏฺตํ ปทํ การี นิฏฺตํ การิยํ ภเว
ตสฺส เหตุ นิมิตฺตนฺตุ ตพฺเภทกํ วิเสสนํ.
(สุตฺตนิทฺเทส. ๑๒)
บทที่ยังไม่สิ้นสุด(ยังไม่เปลี่ยนแปลง) ชื่อว่า การี
บทที่เปลี่ยนแปลงรูปส�ำเร็จไปแล้ว ชื่อว่า การิยะ
เหตุของการเปลี่ยนแปลงนั้น ชื่อว่า นิมิต
บทที่จ�ำแนก(ขยาย)บทนั้น ชื่อว่า วิเสสนะ.
พหุวจนํ ปเนตฺถ เอเกกสฺมึ สเร ปเร พหูนํ โลปาปนตฺถํ.
อนึ่ง พหูพจน์ ในสูตร สรา สเร โลปํ นี้ มีประโยชน์
15
เพื่อแสดงให้รู้การลบสระจ�ำนวนมาก ในเพราะสระหลังตัว
หนึ่งๆ (คือ ให้ลบสระทีละตัว).
สรา ยนฺติ สเร โลปํ เอโก ทฺเว จตุโร ตโย
นสิ ยนฺติ อุเปยฺยาสิ คสฺเสวาติ นิทสฺสนํ.
(รูป.ภาสาฏี. ๑๓)
สระทั้งหลายที่เป็น ๑, ๒, ๓ และ ๔ ตัวย่อมถึงการ
ลบในเพราะสระหลัง (คือ ให้ลบพร้อมกันทีเดียว) มีอทุ าหรณ์วา่
นสิ (น อสิ), ยนฺติ (ยา อ อนฺติ), อุเปยฺยาสิ (อุป อิ อ เอยฺยาสิ),
คสฺเส (คสฺส เอ=อ อา อิ อี เอ).
นิมิตฺโตปาทานสามตฺถิยโต วณฺณกาลพฺยวธาเน สนฺธิ-
การิยํ น โหติ.
เมื่อมีการคั่นของอักษร และ การคั่นของเวลา วิธีของ
สนธิย่อมไม่มี เพราะความสามารถในการถือเอานิมิต.
เอวํ สพฺพตฺถ สตฺตมีนิทฺเทเส ปุพฺพสฺเสว วิธิ, น ปรสฺส
วิธานนฺติ เวทิตพฺพํ.
พึงทราบว่าวิธีแห่งอักษรหน้ามีอยู่ ในที่แสดงเป็น
สัตตมีวิภัตติทั้งหมด อย่างนี้, มิใช่วิธีแห่งอักษรหลัง.
เอตฺถ ยุตฺตคฺคหณํ นิคฺคหีตนิเสธนตฺถํ. เตน อกฺโกจฺฉิ
มํ อวธิ มนฺติอาทีสุ ปรนยนสนฺเทโห น โหติ.
ในสูตร นเย ปรํ ยุตฺเต นี้ ค�ำว่า ยุตฺต (ฐานะอันควร)
มีประโยชน์เพือ่ ห้ามนิคคหิต เพราะฉะนัน้ ความสงสัยในการน�ำไป
สูอ่ กั ษรตัวหลัง ย่อมไม่มี ในอุทาหรณ์เป็นต้นว่า อกฺโกจฺฉิ มํ อวธิ มํ.
16
ปุพฺพาปรวิธีสุ ปรวิธิ พลวา. (มุคฺธโพธฏี. ๒๕)
ในบรรดาวิธีของสูตรก่อนและสูตรหลัง วิธีของสูตร
หลังมีก�ำลังมากกว่า.
อตฺถวสา วิภตฺติวิปริณาโม.
การเปลี่ยนวิภัตติย่อมมีตามอ�ำนาจของเนื้อความ.
อวณฺณโต สโรทานี ตีเววาทึ วินา ปโร
น ลุปฺปตญฺโต ที โฆ อาเสวาทิวิวชฺชิโต.
[วา ศัพท์ ในสูตร วา ปโร อสรูปา ก�ำหนดวิธี ไว้ว่า]
สระหลังที่เว้นจาก อิทานิ อิติ อิว และเอวเป็นต้นที่อยู่ท้ายสระ
อวัณณะ ย่อมไม่ถูกลบ, ทีฆสระ ยกเว้น อาสิ และ เอว ศัพท์
เป็นต้นที่อยู่ท้ายสระอื่น[จากอวัณณะ]ย่อมไม่ถูกลบเหมือนกัน.
จานุกฑฺฒิตมุตฺตรตฺร นานุวตฺตเต.
ศัพท์ที่ จ ศัพท์ดึงมานั้น ย่อมไม่ติดตามไปในสูตรหลัง.
สตฺตุวิยาเทโส. มิตฺโตวิยาคโมติ เวยฺยากรณา โวหรนฺติ.
(ปทสาธนฏี. ๓๓)
นักไวยากรณ์ทั้งหลายกล่าวว่า อาเทศเหมือนศัตรู
อาคมเหมือนมิตร.
กฺวจินฺนวา จ เอกตฺถา เยภุยฺเยเนกรูปกา
วา วิภาสา สมานตฺถา ปาเยโนภยรูปกา.
(กจฺ.วณฺณนา. ๑๔)
กฺวจิ และ นวา ศัพท์มีอรรถเสมอกัน มีรูปอย่างเดียว
17
โดยมาก ส่วน วา และ วิภาสา ศัพท์ มีอรรถเสมอกัน มีรูป
ทั้งสองอย่างโดยมาก.
อิวณฺโณ ยํ นวาตีธ อสรูปาธิการโต
อิวณฺณสฺส สรูปสฺมึ ยาเทโสว น สมฺภเว.
เพราะการติดตามมาของบทว่า อสรูเป (ในเพราะสระ
มีเสียงไม่เสมอกัน) ในสูตรว่า อิวณฺโณ ยํ นวา นี้ การแปลงสระ
อิวัณณะเป็น ย อักษรจึงไม่มี ในเพราะสระหลังมีเสียงเสมอกัน.
อภีติ ปมนฺตสฺส วุตฺติยํ ฉฏฺโ ยชนํ
อาเทสาเปกฺขโต วุตฺตํ อํ โมติอาทิเก วิย.
การประกอบบทว่า อภิ ซึง่ มีปฐมาวิภตั ติเป็นทีส่ ดุ เป็น
ฉัฏฐีวิภัตติที่กล่าวไว้ ในวุตติ เพราะมุ่งถึงอาเทศ เหมือนในสูตร
ว่า อํ โม เป็นต้น.
ฌลสญฺา ปสญฺาว น ลิงฺคนฺตํว นิสฺสิตา
อาขฺยาเต ลิงฺคมชฺเฌ จ ทฺวิลิงฺคนฺเต จ ทสฺสนา.
ชือ่ ฌ และ ล มิได้อาศัยสระสุดท้ายของนามศัพท์เท่านัน้
เหมือนชี่อ ป เพราะพบในอาขยาต ในกลางนามศัพท์ และท้าย
นามศัพท์ทั้ง ๒ ลิงค์.
ยวมทาทิสุตฺเตน อฏฺ พฺยญฺชนอาคมา
จสทฺเทน ปน เสสา จตุวีสติ พฺยญฺชนา.
(สทฺทสารตฺถชาลินี. ๒๙๐)
ลงพยัญชนะอาคม ๘ ตัว ด้วยสูตร ยวม เป็นต้น ส่วน
พยัญชนะ ๒๔ ตัว(เว้นนิคคหิต)ที่เหลือ ลงด้วย จ ศัพท์.
18
ลฬานมวิเสโส [กฺวจิ].
ความไม่แตกต่างกันแห่ง ล และ ฬ ย่อมมี [ในบางแห่ง].
ปกติสนธิ
โลโป อาเทโส อาคโม จ วิกาโร นาม ปกตึ วินาเสตฺวา
กรียตีติ กตฺวา.(พาลาวตาร.ปุราณฏี. ๓๓)
การลบ อาเทศ และอาคม ชื่อว่า วิการ โดยกระท�ำ
รูปวิเคราะห์วา่ ศัพท์ทถี่ กู กระท�ำให้รปู เดิมวิบตั ิไป ชือ่ ว่า วิการ.
ฉนฺโทเภทาสุขุจฺจาร- ณฏฺาเน สรสนฺธิ น
กวฺจิคฺคหณโต เจตฺถ สนฺธิจฺฉาวิรเห ยถา.
อาลปนนฺตา นิติสฺมึ อสมาเส ปทนฺตคา
สรา ทีฆา น สนฺเธยฺยา ยู จาตีตกฺริยาทิสุ.
(พยาขยาฉบับเก่า. ๓๕)
การสนธิแห่งสระย่อมไม่มี[ในฐานะ ๓ อย่างคือ]
๑) ในต�ำแหน่งที่เสียฉันทลักษณ์
๒) ต�ำแหน่งที่ออกเสียงไม่สะดวก
๓) ที่ปราศจากความประสงค์ในการเข้าสนธิ
ไม่พึงสนธิ สระที่อยู่ท้ายบทอาลปนะ ในที่ ไม่มี อิติ
ศัพท์อยูท่ า้ ย ,ทีฆสระทีอ่ ยูท่ า้ ยบทในทีม่ ิใช่สมาส และ อิ อุ อักษร
ที่อยู่หน้าอดีตกิริยา.
19
พยัญชนสนธิ
โลปญฺจ ตตฺรากาโรติ สุตฺเตน อการาคโม
จสทฺเทน สตฺต สรา เสสา คจฺฉนฺติ อาคมา.
(กจฺ.ทีปนี. ๙๘)
ลง อ อาคมด้วยสูตรว่า โลปญฺจ ตตฺรากาโร สระ
อาคม ๗ ตัวที่เหลือลงด้วย จ ศัพท์.
ตฺตคฺคหณํ อาเทสตฺตาขฺยาปนตฺถํ. (โมคฺ. ๖/๔๐)
ตฺต ศัพท์มีประโยชน์คือแสดงความเป็นอาเทศ.
เอตฺถ จ านํ นาม รสฺสาการโต ปรํ ป ปติ ปฏิ กมุ
กุส กุธ กี คห ชุต า สิ สุ สมฺภู สร สสาทีนมาทิพฺยญฺชนํ,
ติก ตย ตึส วตาทีนมาทิ จ, วตุ วฏุ ทิสาทีนมนฺตญฺจ, อุ ทุ นิ
อุปสคฺค ต จตุ ฉ สนฺตสทฺทาเทสาทิปรญฺจ, อปทนฺตานาการ-
ทีฆโต ยการาทิ จ,
ยวตํ ตลนาทีน- มาเทโส จ สยาทินํ
สหธาตฺวนฺตยาเทโส สีสกาโร ตปาทิโต.
ฉนฺทานุรกฺขเณ จ, ฆร เฌ ธํสุ ภมาทีนมาทิ จ,
รสฺสาการโต วคฺคานํ จตุตฺถทุติยา จ อิจฺเจวมาทิ.
อนึ่ง ในสูตร ปร ทฺเวภาโว ฐาเน นี้ ชื่อว่า ฐานะอัน
ควร คือ พยัญชนะตัวแรกของ ป ปติ ปฏิ กมุ กุส กุธ กี คห
ชุต า สิ สุ สมฺภู สร และสสธาตุเป็นต้นที่อยู่ท้ายรัสสสระ
และสระ อา
20
- พยัญชนะตัวแรกของ ติก ตย ตึส และ วต ศัพท์เป็นต้น
- พยัญชนะท้ายของ วตุ วฏุ ทิส เป็นต้น
- พยัญชนะท้ายของ อุ ทุ นิอุปสัค ต จตุ ฉ และ [ส ซึ่งเป็น]
อาเทศของ สนฺต ศัพท์เป็นต้น
- ย อักษรเป็นต้นทีอ่ ยูท่ า้ ยทีฆสระทีม่ ิใช่ทา้ ยบทและมิใช่สระ อา
- พยัญชนะอาเทศของ ต ล น เป็นต้น ที่มี ย ตามมา
- พยัญชนะอาเทศของสูตรทั้งหลายมีสูตร ส เย จ เป็นต้น
- พยัญชนะอาเทศของ ย วิกรณปัจจัยกับพยัญชนะท้ายธาตุ
- ส อักษรของ สี ปัจจัยท้าย ตป ศัพท์เป็นต้น,
- ในที่รักษาฉันทลักษณ์
- พยัญชนะตัวแรกของ ฆร เฌ ธํสุ และ ภมุธาตุเป็นต้น
- พยัญชนะตัวที่ ๔ และตัวที่ ๒ ของวรรคท้ายรัสสสระและ
สระ อา ย่อมถึงการซ้อนพยัญชนะ ดังนี้เป็นต้น.
การคฺคหณํ ยวตํ สการ ก จ ฏ ปวคฺคานํ สการ
ก จ ฏ ปวคฺคาเทสตฺถํ. ตถา ยวตํ ถ ธ ณการานํ ฉ ฌ
การาเทสตฺถญฺจ.
ศัพท์วา่ การ (อักษร) มีประโยชน์เพือ่ แปลง สฺยฺ เป็น สฺ ,
กวรรค กับ ย เป็น กวรรค, จวรรค กับ ย เป็น จวรรค, ฏวรรค
กับ ย เป็น ฏวรรค, ปวรรค กับ ย เป็น ปวรรค, ถฺยฺ เป็น ฉฺ,
ธฺยฺ เป็น ฌฺ, ณฺยฺ เป็น ญฺ.
21
สทฺทาธิกา อตฺถาธิโก โหติ. (นยาส. ๑๑๙)
อรรถที่เกินมา ย่อมมี ได้ เพราะศัพท์ที่เกินมา.
อธิกวจนมญฺมตฺถํ โพเธติ. (รูป.ฏี. ๑๒๕)
ค�ำที่เกินมา ย่อมแสดงให้รู้อรรถอื่น.
สิทฺเธ สตฺยารมฺโภ นิยมาย วา โหติ อตฺถนฺตร-
วิญฺาปนาย วา. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)1
เมือ่ ความส�ำเร็จมีอยู่ การปรารภขึน้ อีก ย่อมมีเพือ่ การ
ก�ำหนดแน่นอน หรือเพื่อการให้รู้ซึ่งเนื้อความอื่น.
ปกติ เหสาจริยานํ, ยทิทํ เยน เกนจิ อากาเรน
อตฺถนฺตรวิญฺาปนํ. (รูป.นิสสัยใหม่. ๑๒๘)
โดยแท้จริงแล้ว การแสดงอรรถอืน่ ด้วยอาการอย่าง
ใดอย่างหนึ่งนี้ เป็นธรรมเนียมของอาจารย์ทั้งหลาย.
อิทญฺหิ นาสมฺปตฺตํ วิทธาติ, อถ โข ปุพฺพสุตฺเตเนว
สมฺปตฺตํ นิยเมติ. (นยาส. ๒๙)
จริงอยู่ สูตร วคฺเค โฆสาโฆสานํ ตติยปมา นี้ ย่อม
ไม่กระท�ำวิธที ยี่ งั ไม่มาถึง โดยทีแ่ ท้ ย่อมก�ำหนดวิธที ถี่ งึ แล้วด้วย
สูตรก่อน (คือสูตร ปร เทฺวภาโว าเน)นั่นเทียว.
อตฺตโนมติ กิญฺจาปิ กถิตา สพฺพทุพฺพลา
ตถาปิ นยมาทาย กถิตตฺตา อโกปิยา.
(นีติ.ปท. ๔๒)
1 เป็นคัมภีรแ์ สดงกฎทัว่ ไป มีทงั้ หมด ๑๓๑ ข้อ แต่งโดยท่านนาเคศภัฏฏะ
22
อัตตโนมติ แม้ ไม่นา่ เชือ่ ถือกว่ามติทงั้ ปวง แต่กเ็ ป็นมติ
มั่นคงได้ เพราะอาศัยกฎเกณฑ์.
อติปฺปปรสทฺเทหิ เอโวการาคโม สิยา
ปเร โขมฺหิ จ สงฺขฺยาเน กฺวจิคคฺ หณโต อิธ.
(รูป.คัณฐิ. ๔๗)
เพราะ กฺวจิ ศัพท์ ในสูตร กฺวจิ โอ พฺยญฺชเน นี้ ลง
โอ เป็นอาคมท้าย อติปฺป และ ปร ศัพท์เท่านั้น ในเพราะ โข
ศัพท์และสังขยาศัพท์[คือ สต, สหสฺส]เบื้องหลัง.
นิคคหีตสนธิ
สิทฺเธปนิยเม วิชฺฌนฺ- ตเรนุปริ วา สติ
วาสทฺโท ปุน วาสทฺท- กฺริยตฺถนฺตรสิทฺธิยา.
(รูป.คัณฐิ. ๔๙)
เมือ่ ความไม่แน่นอน แม้สำ� เร็จได้เพราะมีวธิ อี นื่ หรือมี
วา ศัพท์ ในสูตรเบือ้ งบน วา ศัพท์ยอ่ มเป็นไปเพือ่ ความส�ำเร็จแห่ง
ข้อความอื่นที่ วา ศัพท์พึงกระท�ำ.
วณฺณมุทฺเทสุนุสฺวาโร สหเยสุ งการิว. (สันสกฤต)
ในการออกเสียงนิคคหิต หากมี ส ห ย อยู่หลัง ให้
ออกเป็นเสียง ง ได้ (เช่น อํส, ตํหิ, สํ โยโค).
โยควิภาคโต อิฏฺปฺปสิทฺธิ.
การส�ำเร็จแห่งข้อความที่ปรารถนา ย่อมมีด้วยการแบ่งสูตร.
23
ยตฺถ สุตฺตวิธานํ น ทิสฺสติ, ตตฺถ มหาวุตฺตินา วา
สุตฺตวิภตฺเตน วา รูปํ วิธียติ. (นิรุตฺติ. ๑๖๒)
วิธีของสูตรย่อมไม่ปรากฏในที่ ใด ในที่นั้น รูปย่อมถูก
กระท�ำด้วยมหาสูตร หรือ การแบ่งสูตร.
เอกเทสวิกตํ อนญฺว. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
บทที่เปลี่ยนไปบางส่วน ย่อมเป็นเหมือนมิ ใช่บทอื่น
(คือยังเป็นบทเดิม).
สญฺาวิธานํ สรสนฺธิ สนฺธิ
นิเสธนํ พฺยญฺชนสนฺธิ สนฺธิ
โย นิคฺคหีตสฺส จ สนฺธิกปฺเป
สุนิจฺฉโย โส หิ มเยตฺถ วุตฺโต.
การตั้งชื่อ การสนธิสระ การสนธิที่เป็นปกติ การสนธิ
พยัญชนะ และการสนธินคิ คหิต สนธิทงั้ หมดนัน้ ทีม่ ขี อ้ วินจิ ฉัยดี
ในสนธิกัณฑ์ ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ ในปกรณ์นี้แล้ว.
24
นามกัณฑ์
ปุงลิงค์
อตฺถาภิมขุ ํ นมนโต, อตฺตนิ จตฺถสฺส นามนโต นามํ,
ทพฺพาภิธานํ.
เพราะน้อมไปสู่ความหมาย และ เพราะยังเนื้อความ
ให้น้อมมาในตน จึงเรียกว่า นาม กล่าวคือ ชื่อของสิ่งๆ หนึ่ง.
สทฺโท ปญฺจวิโธ ตาว ชายเต ปิฏกตฺตเย
นามชาติทพฺพกฺริยา คุณสทฺทาน เภทโต.
เทวทตฺตสทฺโท โค จ ทณฺฑิสทฺโท จ ปาจโก
สุกฺกสทฺโท จิเม ปญฺจ นามสทฺทาทินามกา.
(สทฺทวุตฺติ. ๓-๔)
ล�ำดับแรก ศัพท์ ในพระไตรปิฎกมี ๕ ประเภท โดย
จ�ำแนกเป็นนามศัพท์ ชาติศัพท์ ทัพพศัพท์ กริยาศัพท์ และ
คุณศัพท์ เช่นค�ำว่า เทวทตฺต, โค, ทณฺฑี, ปาจก และสุกฺกศัพท์
ทั้ง ๕ ค�ำเหล่านี้มีชื่อว่า นามศัพท์เป็นต้น.
สา มาคธี มูลภาสา นรา ยายาทิกปฺปิกา
พฺรหฺมาโน จสฺสุตาลาปา สมฺพุทฺธา จาปิ ภาสเร.
ชนผู้เกิดในต้นกัป พรหม ชนผู้ ไม่เคยฟังค�ำพูดของ
มนุษย์ และพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมพูดด้วยภาษาใด ภาษา
นั้น ชื่อว่า ภาษาดั้งเดิม อันเป็นภาษาของชาวมคธ.
25
อธิกาโร ปน ติวิโธ สีหคติกมณฺฑูกคติกยถานุปุพฺพิกวเสน.
อนึ่ง อธิการ มี ๓ อย่าง โดยประเภทแห่งสีหคติกนัย
มัณฑูกคติกนัย และยถานุปุพพิกนัย.
สีหาวโลกิโต เจว มณฺฑูกปฺลุติเรว จ
คงฺคาโสโต อิว ขฺยาตา อธิการา ตโย มตา
อากงฺขายํ ตุ สพฺเพสํ อนุวุตฺติ ปเร ภเว.
(มุคธโพธฏี. ๑)
อธิการนัย มี ๓ ประเภท ปรากฏว่าเหมือนราชสีห์
เหลียวดู เหมือนกบกระโดด และเหมือนกระแสน�้ำ อนึ่ง เมื่อมี
ความปรารถนา การตามมาแห่งศัพท์ทั้งหมด จากสูตรหน้าไป
สูตรหลังย่อมมี ได้.

ที โป ยถา ปภาทฺวารา สพฺพเคหปฺปกาสโก
ปริภาสา ตถา พุทฺธยา สพฺพสตฺโถปการิกา.
(อาสุโพธ. ๖๕)
ประทีปส่องเรือนทั้งหมดให้สว่างไสวโดยมีแสงสว่าง
เป็นเหตุ ฉันใด ปริภาสาสูตรย่อมมีอปุ การแก่คมั ภีรท์ งั้ หมดโดย
แสดงให้รู้ ฉันนั้น.
วตฺติจฺฉานุปุพฺพิกา สทฺทปฺปฏิปตฺติ.
การประกอบรูปศัพท์มีล�ำดับตามความต้องการของผู้พูด.
เอกมฺหิ วตฺตพฺเพ เอกวจนํ.
เมื่อควรกล่าวสิ่งเดียว ให้ลงวิภัตติฝ่ายเอกพจน์.
26
พหุมฺหิ วตฺตพฺเพ พหุวจนํ.
เมื่อควรกล่าวจ�ำนวนมาก ให้ลงวิภัตติฝ่ายพหูพจน์.
เอตฺถ จ สีติ วิภตฺติ คยฺหเต วิภตฺติการิยวิธิปฺปกรณโต
ตโต จ วิภตฺติโยติ อิโต วิภตฺติคฺคหณานุวตฺตนโต วา.
อนึ่ง วิภัตติว่า สิ อันบุคคลย่อมถือเอาได้ ในสูตร ว่า
โส นี้ เพราะเป็นตอนว่าด้วยวิธีการแปลงวิภัตติ หรือเพราะการ
ติดตามมาของศัพท์ว่า วิภตฺติ จากสูตรนี้ว่า ตโต จ วิภตฺติโย.
คมฺยมานาธิการโต โลปโต เสสโต จาติ
จตูหิ การเณหิปิ น กตฺถจิ รโว ยุตฺโต.
(สี.นวฏี. ๑/๙๖๓)
ในที่บางแห่ง ศัพท์ย่อมไม่ถูกประกอบไว้ด้วยเหตุ ๔
ประการ คือ เป็นศัพท์ที่ถูกคาดคะเน เป็นศัพท์ที่ติดตามมา
เป็นศัพท์ที่ถูกลบ และ เป็นศัพท์เพิ่ม.
ตฺยาทิวิภตฺติโย เจตฺถ ปจฺจยตฺเตน คยฺหเร
อาทิคฺคหณมาขฺยาต- กิตเกสฺวาคมตฺถิทํ.
ปจฺจยสฺสาหจริยา จาเทโส ปกตีปโร
ปทนฺตสรโลโป น เตนพฺภาหาทิเก ปเร.
อนึ่ง ด้วย ปจฺจย ศัพท์ ในสูตรนี้ หมายเอาวิภัตติ
อาขยาตมี ติ เป็นต้นด้วย, อาทิ ศัพท์นี้มีประโยชน์เพื่อการ
รวบรวมอาคมในอาขยาตและกิตก์ และเพราะกล่าว อาเทส
ศัพท์ติดกับ ปจฺจย ศัพท์ จึงท�ำให้ทราบได้ว่า หมายถึงอาเทศ
27
หลักปกติ (ลิงค์และธาตุ) ดังนั้น จึงไม่มีการลบสระท้ายบท ใน
เพราะ อพฺภ และ อาห ข้างหลัง (เพราะศัพท์หน้าไม่ ใช่ปกติ
และเพราะศัพท์หลังเป็นอาเทศของบทและธาตุ)
สรูปสฺเสว สทฺทตฺถ- สทฺทตฺถานํ สภาวโต
ติพฺพิธตฺตํ ยถา มาสา กุฏิลา ปุริสาติ จ.
(เภทจินตา. ๒๘๔)
สรูเปกเสส มี ๓ ประเภท คือ สัททสรูเปกเสส
อัตถสรูเปกเสส และสัททัตถสรูเปกเสส เช่น มาสา กฏิลา ปุรสิ า
นานาธิกรณานํ ตุ วตฺตุเมกกฺขณมฺหิ ยา
อิจฺฉโต พฺยาปิตุ อิจฺฉา สา วิจฺฉาติ ปกิตฺติตา.
(นีติ.ปท.)
ความปรารถนาเพื่อแผ่ ไป ของผู้ต้องการจะกล่าวถึง
ฐานะต่างๆ ในขณะเดียว ท่านเรียกว่า วิจฉา.
โยควิภาคโต เจตฺถ เอกเสสฺวสฺกึ อิติ
วิรูเปกเสโส โหติ วา ปิตูนนฺติอาทิสุ.
อนึง่ เอกเสสของศัพท์ทมี่ รี ปู ไม่เสมอกัน ย่อมมี ได้บา้ ง
ในอุทาหรณ์เป็นต้นว่า ปิตนู ํ (ของบิดามารดา) โดยการแบ่งสูตร
ว่า เอกเสสฺวสกึ ในสูตร สรูปานเมกเสสฺวสกึ นี้.
นิจฺจเมว จ ปุลฺลิงฺเค อนิจฺจญฺจ นปุสเก
อสนฺตํ เฌ กตตฺเต ตุ วิธึ ทีเปติ วาสุติ.
วา ศัพท์ [ในสูตร สพฺพโยนีนมาเอ] ย่อมแสดงนิจจ
28
วิธีนั่นเทียวในปุงลิงค์ อนิจจวิธี ในนปุงสกลิงค์ และอสันตวิธี ใน
เมื่อ ฌ (อิ วัณณะ) ถูกกระท�ำเป็น อ แล้ว.
เอตฺถ จ สติปิ สิคคฺ หเณ คอิติ วจนเมว าปกมญฺตฺถาปิ
สิคฺคหเณ อาลปนาคฺคหณสฺส.
อนึ่ง ในสูตร เสสโต โลปํ คสิปิ นี้ เมื่อศัพท์ว่า สิ มี
อยู่ การกล่าว ค นั่นเทียว เป็นเครื่องยังให้รู้ว่า สิ วิภัตติ ใน
สูตรอื่นๆ มิได้หมายถึงอาลปนวิภัตติ.
เกจิ อาลปนาภิพฺยตฺติยา ภวนฺตสทฺทํ วา เหสทฺทํ วา ปยุชฺชนฺเต.
ผู้พูดบางท่านย่อมใช้ ภวนฺต ศัพท์หรือ เห ศัพท์ เพื่อ
แสดงความเป็นอาลปนะ.

วิภตฺติสทฺโท วิภชนวาจโก อิตฺถิลิงฺโค.


สฺยาทิวาจโก ปุลฺลิงฺโค เจว อิตฺถิลิงฺโค จ.
วิภตฺติสฺส วิภตฺติยาติอาทิทสฺสนโต. (นีติ.ปท.)
วิภตฺติ ศัพท์ที่แสดงการจ�ำแนก เป็น อิตถีลิงค์
เมื่อแสดงวิภัตติมี สิ เป็นต้น เป็น ปุงลิงค์ และ อิตถีลิงค์
ดังพบตัวอย่างว่า วิภตฺติสฺส วิภตฺติยา เป็นต้น.
ปุนฺนปุสเก ปาเยน สาคโม อปฺปเกน จ
อิตฺถิลิงฺเคปิ โหเตว พุทฺธมาตุสฺส สกฺกรํ.
(โบราณาจารย์)
สฺ อาคม[สูตร สาคโม เส]ลงโดยมากใน ปุงลิงค์และ
29
นปุงสกลิงค์ มีลงในอิตถีลงิ ค์บา้ งเป็นส่วนน้อยเช่น พุทธฺ มาตุสสฺ
สกฺกรํ (ซึ่งสักการะแด่พระพุทธมารดา).
วิภาสา อิอุการานํ สุนํหิสุ ที โฆ ภเว
นํมฺหิ นิจฺจํ อการสฺส สุหิสุ ตสฺส น ภเว.
(โบราณาจารย์)
[สูตร สุนํหิสุ จ]
ในเพราะ สุ นํ หิ ทีฆะ อิ อุ ไม่แน่นอน
ในเพราะ นํ ทีฆะ อ แน่นอน,
ในเพราะ สุ หิ ไม่มีการทีฆะ อ.
พิลํ พลํ ทโม วาโห ถาโม ถามํ ชโร ชรา
ปทํ มุขนฺตยฏฺาทฺยงฺก- ปุณฺณา มโนคณาทิโก.
อาโป จ สรโท วาโย รโช รชนฺติอาทโย
อนฺตงฺกทฺวยสมฺปนฺนา มโนคณาทิโก มตา.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๑๑๔-๕)
ศัพท์ทั้ง ๘ ศัพท์ คือ พิลํ พลํ ทโม วาโห ถาโม ถามํ
ชโร ชรา ปทํ มุขํ ชื่อว่า มโนคณาทิคณะ เพราะถึงพร้อมด้วย
ลักษณะข้อแรก (คือมีรูป สา โส สิ ใน นา ส และ สฺมึ วิภัตติ)
ศัพท์ว่า อาโป สรโท วาโย รโช รชํ เป็นต้น พึงทราบ
ว่าเป็น มโนคณาทิคณะ เพราะถึงพร้อมด้วยลักษณะข้อหลังทั้ง
สองอย่าง (คือแปลง อํ เป็น โอ ในกรรมของกิริยา และ แปลง
อ เป็น โอ ในท่ามกลางสมาสและตัทธิต).
30
เอตฺถ จ วนฺตุปจฺจยนฺตานํ อุการสฺส อปฺปโยคิตาย
อการนฺเตสุ คหณํ เวทิตพฺพํ. (รูป.ฏี. ๑๐๕)
อนึ่ง ในสูตร นํมฺหิ ตํ วา นี้ พึงทราบการถือเอาศัพท์
ที่ลง วนฺตุ ปัจจัยใน อการันต์ เพราะไม่ประกอบ อุ อักษร[ใน
บทส�ำเร็จ].
พฺยปเทโส นิมิตฺตญฺจ ตํรูปํ ตํสภาวตา
สุตฺตญฺเจว ตถา การิ- ยาติเทโสติ ฉพฺพิโธ.
อติเทสะ (การชีแ้ นะ) มี ๖ อย่าง คือ
๑) พยปเทสาติเทสะ การชีแ้ นะด้วยการตัง้ ชือ่
๒) นิมติ ตาติเทสะ การชีแ้ นะสาเหตุ
๓) ตังรูปาติเทสะ การชีแ้ นะให้เปลีย่ นรูปศัพท์
๔) ตังสภาวาติเทสะ การชีแ้ นะให้ ใช้รปู ศัพท์เดิม
๕) สุตตาติเทสะ การชีแ้ นะให้กระท�ำตามสูตรทีแ่ สดงมาแล้ว
๖) การิยาติเทสะ การชีแ้ นะวิธีที่พึงกระท�ำ.
พฺยปเทโส ตุ นามํว นิมิตฺตํ การิตํ วิย
ตํรูปํ ปน สฺมา นาว ตํสภาโว ปุมาว จ
สุตฺตํ อนุปทิฏฺานํ เสเสสุ นฺตุว การิยํ.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๑๒๐)
(อุทาหรณ์ของอติเทสสูตร ๖ อย่าง)
สามญฺเภิมเต สทฺโท นิทฺทิสฺสติ ปุเมน วา
นปุสเกน วาปีติ สทฺทสตฺถวิทู วทุ.
(พาลาวตาร. ๕๘)
31
ผูร้ ู้ ไวยากรณ์กล่าวว่า ในฐานะทีต่ อ้ งการจะกล่าวอรรถ
สามัญอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ ใช้เป็นปุงลิงค์ หรือนปุงสกลิงค์
ก็ ได้.
ปุพฺพสิทฺธํ ตุ ยํ การฺยํ ปุน รารพฺภเต วิโธ
ปุพฺพการิยวฺยุทาสาย วิเสสตฺถํ จ ตํ ภเว.
(กาตนฺตรวฤตฺติฏี. ๓/๖/๘๕)
สูตรใดส�ำเร็จแล้วด้วยสูตรก่อน ย่อมถูกปรารภอีก
สูตรนั้นย่อมมีเพื่อห้ามวิธีของสูตรก่อน และเพื่อความพิเศษใน
วิธีทางไวยากรณ์.

เนกตฺถวุตฺติยา โคติ วุตฺเต วาจา น ายเต


โค วาจาติ ตุ วุตฺตสฺมา ปริยาโย จ เภทโก.
(สมฺพนฺธจินฺตา. ๘)
เมือ่ กล่าวว่า โค ย่อมไม่รวู้ า่ คือถ้อยค�ำ เพราะ โค ศัพท์
เป็นไปในความหมายอันมาก แต่เมื่อกล่าวว่า โค วาจา ย่อมรู้
ว่าเป็นถ้อยค�ำได้ ดังนั้น ค�ำไวพจน์จึงเป็นบทขยายได้อีกด้วย.
วิสทาวิสทาการ- โวหาโรภยมุตฺตกา
ปุมาทิชานเน เหตุ ภาวโต ลิงฺคมีริตา.
บัญญัติอันมีลักษณะสะอาดบัญญัติอันมีลักษณะไม่
สะอาด และบัญญัติอันพ้นจากทั้งสองอย่าง เรียกว่า ลิงค์
(เครื่องหมาย) เพราะเป็นเหตุให้รู้ความเป็นเพศชายเป็นต้น.
32
อธิการํ วินา โยนํ โนติ โยควิภาคโต
กฺวจิ อกตรสฺสาปิ โน สารมติโน ยถา.
การแปลง โย วิภัตติท้าย ฌ ที่มิได้ถูกรัสสะมาเป็น
โน ย่อมมีด้วยการแบ่งสูตรว่า โยนํ โน โดยเว้นบทที่ตามมาใน
สูตรนี้เสีย[คือบทว่า กตรสฺสา] เช่น สารมติโน.
ภิกฺขุปฺปภุติโต นิจฺจํ โว โยนํ เหตุอาทิโต
วิภาสา น จ โว โน จ อมุปฺปภุติโต ภเว.
การแปลง โย วิภัตติท้าย ภิกฺขุ ศัพท์เป็นต้นเป็น โว เป็นนิจจวิธิ
การแปลง โย วิภตั ติทา้ ย เหตุ ศัพท์เป็นต้นเป็น โว เป็นอนิจจวิธิ
แต่ ไม่แปลง โย วิภัตติเป็น โว หรือ โน ท้าย อมุ ศัพท์เป็นต้น
(อสันตวิธิ).
โว โย โน ชนฺตุโต โหนฺติ โว โยว เหตุสทฺทโต
สหภูสทฺทโต โว โน โวว ภิกฺขาภิภฺวาทิโต
อมุปฺปภุติโต โยว โนว สพฺพญฺญุอาทิโต.
(รูป.มัญชรี. ๕๑๓)
โว โย และ โนอาเทศย่อมมีท้าย ชนฺตุ ศัพท์, โว และ
โย ย่อมมีท้าย เหตุ ศัพท์, โว และ โน ย่อมมีท้าย สหภู ศัพท์,
โว เท่านั้น ย่อมมีท้าย ภิกฺขุ และ อภิภู ศัพท์เป็นต้น, โย เท่านั้น
ย่อมมีท้าย อมุ ศัพท์เป็นต้น, โน เท่านั้นย่อมมีท้าย สพฺพญฺญู
ศัพท์เป็นต้น.
33
สตฺถุกตฺตาทโย เยฺยา ตฺวนฺตา กฺริยาสกตฺถกา
สตฺถาทิคณิกา นาม สตฺถุสาสนิเย วเร.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๑๕๗)
ศัพท์มี สตฺถุ และ กตฺตุ เป็นต้นพึงทราบว่ามี ตุ ปัจจัย
อยู่ท้าย และมีกิริยาเป็นอรรถของตน ชื่อว่า กลุ่มศัพท์มี สตฺถุ
เป็นต้นในศาสนาอันประเสริฐของพระศาสดา.
ปิตา มาตา ชามาตา จ ธีตา ทุหิตุยาตโร
ภาตา สาโลหิตา นตฺตา สตฺถาทิมฺหิ ปิตาทโย.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๑๕๗)
ปิตุ ศัพท์เป็นต้นในสัตถาทิคณะ คือ ปิตุ มาตุ ชามาตุ
ธีตุ ทุหิตุ ยาตุ ภาตุ สาโลหิตุ และ นตฺตุ.

อารตฺตมิติ นิทฺเทสา นานํสุ วาสมาสเก


สมฺหิ นตฺเถว เสเสสุ อาโร อฏฺสุ นิจฺจโต.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๒๐๐)
เพราะการแสดงว่า อารตฺตํ การแปลงเป็น อาร ย่อม
มี ได้บ้างในเพราะ นา และ นํ วิภัตติในที่มิใช่สมาส, การแปลง
เป็น อาร ย่อมไม่มีนั่นเทียวในเพราะ ส วิภัตติ และมี ได้อย่าง
แน่นอนในเพราะวิภัตติ ๘ ศัพท์อื่น.
34
อิตถีลิงค์
ปกตฺยตฺถโชตกา อิตฺถิปฺ- ปจฺจยา สฺยาทโย วิย
ณาทโย ปจฺจยตฺถสฺส สกตฺถสฺสาปิ วาจกา.
อิตถีปจั จัย [คือ อา อี อิน]ี แสดงแสดงความหมายของ
ศัพท์เดิมเหมือน สิ วิภัตติเป็นต้น, ปัจจัย[ในตัทธิต]มี ณ เป็นต้น
แสดงความหมายของปัจจัยและของบทที่ตนประกอบอยู่.
มาตุโล รุทฺทพฺรหฺมินฺทา ภโว สพฺโพ มุโฬ ตถา
วรุโณ จยฺยุปชฺฌายา ขตฺติยาจริยสูริยา.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๑๘๙)
ศัพท์ที่เป็นมาตุลาทิคณะ คือ ...
อิวณฺณุกาโรกาเรหิ มนฺตสุ ทฺโท ปโร ภเว
อการนฺตา จิการนฺตา อิมนฺตูติ วิภาวเย.
(นีติ.ปท.)

บัณฑิตพึงแสดงว่า มนฺตุ ศัพท์ลงท้ายสระ อิ วัณณะ อุ
อักษร และ โอ อักษร ส่วน อิมนฺตุ ลงท้าย อการันต์ และ อิการันต์.
ธาตุสทฺโท ชินมเต อิตฺถิลิงฺคตฺตเน มโต
สตฺเถ ปุลฺลิงฺคภาวสฺมึ กจฺจายนมเต ทฺวิสุ.
(นีติ.ปท.)
ธาตุ ศัพท์ปรากฏในความเป็น อิตถีลงิ ค์ ในพระด�ำรัสที่
เป็นมติของพระชินเจ้า ส่วนในคัมภีรส์ นั สกฤต ปรากฏในความเป็น
35
ปุงลิงค์ ตามมติของกัจจายนไวยากรณ์ ปรากฏในลิงค์ทงั้ สอง.
มาตุอาทิโต กสฺมา น โหติ. อิตถฺ ปิ จฺจยํ วินาปิ อิตถฺ ตฺตา-
ภิธานโต. (โมค. ๓/๓๐)
ถามว่า เหตุใดจึงไม่ลงอิตถีปัจจัยท้าย มาตุ ศัพท์เป็นต้น
ตอบว่า เพราะการกล่าวความเป็นอย่างนี้ ได้แม้ปราศจาก-
อิตถีปัจจัย.
โค โคเณ จินฺทฺริเย ภูมฺยํ วจเน เจว พุทฺธิยํ
อาทิจฺเจ รสฺมิยญฺเจว ปานีเยปิ จ วตฺตเต
เตสุ อตฺเถสุ โคเณ ถิ ปุมา จ อิตเร ปุมา.
(นีติ.ปท.)
โค ศัพท์ เป็นไปในอรรถว่า วัว อินทรีย์ แผ่นดิน ถ้อยค�ำ
ความรู้ พระอาทิตย์ รัศมี และน�้ำ ในบรรดาอรรถเหล่านี้ โค
ศัพท์เป็น ปุงลิงค์และอิตถีลงิ ค์ ในวัว ส่วนอรรถอืน่ เป็น ปุงลิงค์.

นปุงสกลิงค์
โยนํ นิภาเว จาเอตฺเต สิทฺเธปิ อวิเสสโต
อโต นิจฺจนฺติ อารมฺภา อาเอตฺตํ กฺวจิเทวิธ.
เมือ่ การแปลง โย วิภตั ติเป็น นิ และ อา, เอ ส�ำเร็จแล้ว
โดยทัว่ ไป [จึงรู้ ได้วา่ ] การแปลง[ โย และ นิ ]เป็น อา, เอ ใน อ
การันต์นปุงสกลิงค์นี้ ย่อมมี ในสุทธนามบางรูปเท่านัน้ เพราะการ
ปรารภสูตรว่า อโต นิจฺจํ.
36
สมุจฺจเย กเต ทฺวินฺนํ พหูนํ วา ปตียเต
จยงฺคานุคตา สงฺขฺยา ทฺวนฺเท วากฺยานุสารินา.
สตฺถา จ สาริปุตฺโต จ ธมฺมํ เทเสติ เกวลํ
เถโร จ ทหโร เจว ปิณฺฑาย จรนฺตีติ จ.
(สทฺทสารตฺถชาลินี. ๗๙-๘๐)
เมื่อกระท�ำการรวบรวมสิ่งสองสิ่ง หรือ สิ่งจ�ำนวน
มาก ผู้แต่ง[ประโยคร้อยแก้ว] พึงทราบจ�ำนวนที่คล้อยตามหมู่
หรือส่วน ในประโยคทวันทะ เช่น สตฺถา จ สาริปุตฺโต จ เกวลํ
ธมฺมํ เทเสติ, ทหโร เจว เถโร จ ปิณฑาย จรนฺติ.
สัพพนาม
สพฺพ กตร กตม อุภย อิตร อญฺ อญฺตร อญฺตม
ปุพพฺ ปร อปร ทกฺขณ ิ อุตตฺ ร อธร ย ต เอต อิม อมุ กึ เอก อุภ ทฺวิ ติ
จตุ ตุมหฺ อมฺห อิติ สตฺตวีสติ สพฺพนามานิ. ตานิ สพฺพนามตฺตา
ติลิงฺคานิ.
สัพพนาม มี ๒๗ ศัพท์ คือ สพฺพ ฯลฯ อมฺห. บท
เหล่านั้น เป็นได้ ๓ ลิงค์เพราะเป็นชื่อของนามทั้งปวง.
สพฺพสทฺโท นิรวเสสตฺโถ.
สพฺพ ศัพท์มีอรรถว่า ทั้งหมด.
กตรกตมสทฺทา ปุจฺฉนตฺถา.
กตร และ กตม ศัพท์มีอรรถ ถาม.
อุภยสทฺโท ทฺวิอวยวสมุทายวจโน.
37
อุภย ศัพท์แสดงกลุ่มที่มีส่วนทั้งสอง.
อิตรสทโท วุตฺตปฺปฏิโยควจโน.
อิตร ศัพท์แสดงฝ่ายประกอบร่วมกันของสิง่ ทีก่ ล่าวถึง.
อญฺสทฺโท อธิคตาปรวจโน.
อญฺ ศัพท์แสดงเนื้อความอื่นจากที่แสดงไว้แล้ว.
อญฺตรอญฺตมสทฺทา อนิยมตฺถา.
อญฺตร และ อญฺตม ศัพท์แสดงสิ่งที่ ไม่ชี้เฉพาะ.
ปุพฺพาทโย ทิสาทิววตฺถานวจนา.
ปุพฺพ ศัพท์เป็นต้น แสดงการก�ำหนดทิศเป็นต้น.
อญฺสทฺโท ปุพฺพสทฺโท ทกฺขิโณ จุตฺตโร ปโร
สพฺพนาเมสุ คยฺหนฺติ อสพฺพนามิเกสุปิ.
(นีติ.ปท.)
ศัพท์ว่า อญฺ ปุพฺพ ทกฺขิณ อุตฺตร และ ปร ย่อมถือ
เอาในสัพพนามศัพท์ที่มิใช่สัพพนาม.
ต-เอต-อิม-อมุ-กึอจิ เฺ จเต ปรมฺมขุ -สมีป-อจฺจนฺตสมีป-
ทูร-ปุจฺฉนตฺถวจนา.
สัพพนามเหล่านี้คือ ต เอต อิม อมุ กึ แสดงอรรถ
ลับหลัง ใกล้ ใกล้มาก ไกล และถาม[ตามล�ำดับ].
การินา หญฺเต การี การิยํ การิเยน จ
นิมิตฺตํ ตุ นิมิตฺเตน ตสฺเสสมนุวตฺตเต.
(สุตฺตนิทฺเทส. ๑๐๒)
38
การีย่อมเบียดเบียนการี, การิยะย่อมเบียดเบียน
การิยะ นิมติ ย่อมเบียดเบียนนิมติ บททีเ่ หลือจากนัน้ ย่อมตามมา1
อาปจฺจยนฺตานิทฺเทสา สพฺพตฺถาติ อวุตฺตโต
อนิตฺถิลิงฺคสฺเสเวตฺถ คหณํ หิ อิมสฺสิติ.
การแปลงสัพพนาม อิม ศัพท์ ที่มิใช่อิตถีลิงค์เท่านั้น
ย่อมมี ในสูตร สพฺพสฺสิมสฺเส วา นี้ เพราะมิได้แสดงด้วยบทที่
ลงท้ายด้วย อา ปัจจัย และเพราะมิได้กล่าวว่า สพฺพตฺถ (ใน
ลิงค์ทั้งปวง).
ปกตึ วิชหาเปนฺติ ปจฺจยาเทสาคมา ตถา.
(จันแมว)
ปัจจัย อาเทศ และอาคม ย่อมท�ำให้ละวิธีเดิม.

จินฺโต กาโก จ กึสทฺโท อปฺปกตฺถสฺส วาจโก


ยการยุตฺโต อาทิมฺหิ สกลตฺถสฺส วาจโก
อจินฺโต จ อยาทิ จ ปุจฺฉาวาจกสมฺมโต.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๒๒๖)
โก กา และ กึ ศัพท์ที่มี จิ อยู่ท้าย แสดงอรรถว่า
เล็กน้อย, เมื่อประกอบด้วย ย อักษรในหนต้น แสดงอรรถว่า
ทัง้ หมด,เมือ่ ไม่มี จิ อยูท่ า้ ยและไม่มี ย ในหนต้น ท่านย่อมสมมุติ
1 เบียดเบียน คือ การีเป็นต้นในสูตรหลัง ห้ามการตามมาของการี
เป็นต้นในสูตรก่อน
39
ว่าแสดงค�ำถาม.
วิสุํ ปทาวยโว วา หุตฺวา นฺวาทีหิ วา ปน
ยุตฺโต สทฺเทหิ กึสทฺโท ทิฏฺโ สุคตสาสเน.
(นีติ.ปท. ๙๑๗)
ในพระศาสนาของพระสุคตเจ้า พบ กึ ศัพท์ ใช้ ๓ ฐานะคือ
๑) ใช้เป็นค�ำโดดๆ ๒) ใช้เป็นส่วนหนึ่งของบทสมาส
๓) ใช้ร่วมกับศัพท์อื่นๆ มี นุ ศัพท์เป็นต้น.
สพฺพวิธีหิ โลปวิธิ พลวา. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
วิธีลบ มีก�ำลังมากกว่าวิธีทั้งปวง.
สกเลหิ วิธีหิปิ โลปพฺพิธิ พลี ตถา
โลปสฺสราเทสานนฺตุ สราเทสวิธิพฺพลี.
(มุคฺธโพธฏี. ๑๑๒)
วิธีลบ มีก�ำลังมากกว่าวิธีทั้งปวง แต่ ในวิธีลบสระและ
แปลงสระ วิธีแปลงสระมีก�ำลังมากกว่า.
เอกสทฺโท สงฺขยฺ าตุลยฺ าสหายญฺญวจโน. ยทา สงฺขยฺ า-
วจโน, ตทา สพฺพตฺเถกวจนนฺโตว. อญฺตฺถ พหุวจนนฺโตปิ.
เอก ศัพท์แสดงอรรถ การนับ การไม่มีผู้เสมอเหมือน
ไม่มีเพื่อน และอื่น. เมื่อใด แสดงอรรถการนับ เมื่อนั้น มีวิภัตติ
เอกพจน์เป็นที่สุดเท่านั้น ในลิงค์และวิภัตติทั้งปวง.ในอรรถอื่น
มีวิภัตติพหูหจน์เป็นที่สุดได้ด้วย.
40
เอโก ตีสุ สงฺขฺยาตุลฺยา- ตุลฺยาสหายมิสฺสเน
เสฏฺญฺสจฺจมุขฺเยสุ อปฺปมฺปิ เกวเลปิ จ.
(ศัพทัสสโตมมหานิธิ.)
เอก ศัพท์ย่อมเป็นไปในลิงค์ทั้ง ๓ ในอรรถว่า การ
นับ เสมอ ไม่มีผู้เสมอ ไม่มีเพื่อน ผสม ประเสริฐ อื่น ความ
จริง โดยตรง น้อย และล้วนๆ.
อุภสทฺโท ทฺวิสทฺทปริยาโย. สทา พหุวจนนฺโตว.
อุภ ศัพท์เป็นค�ำไวพจน์ของ ทฺวิ ศัพท์. มีวภิ ตั ติพหูพจน์
เป็นที่สุดเสมอ.
ทฺวิอาทโย สงฺขฺยา สงฺขฺเยยฺยวจนา.พหูนํ วาจิตตฺตา
สทา. พหุวจนนฺตาว.
สังขยาศัพท์มี ทฺวิ เป็นต้น แสดงสิง่ ทีถ่ กู นับ. ศัพท์เหล่า
นี้ มีวภิ ตั ติเป็นพหูพจน์เสมอนัน่ เทียว เพราะแสดงอรรถมาก.
อฏฺารสนฺตา สงฺขฺเยยฺเย สงฺขฺยา เอกาทโย ติสุ
สงฺขฺยาเน ตุ จ สงฺขฺเยยฺเย เอกตฺเต วีสตาทโย
วคฺคเภเท พหุตฺเตปิ ตา อานวุติ นาริยํ.
(อภิธาน. ๔๗๓)
สังขยาศัพท์มี เอก เป็นต้น มี อฏฺฐารส เป็นทีส่ ดุ ย่อม
เป็นไปในสิ่งที่ถูกนับในลิงค์ทั้ง ๓ ส่วน วีสติ ศัพท์เป็นต้น ย่อม
เป็นไปในการนับ และ สิ่งที่ถูกนับ ในเอกพจน์ เมื่อมีความต่าง
กันแห่งพวก วีสติ ศัพท์เป็นต้นเหล่านั้น จนถึง นวุติ (๙๐) ย่อม
เป็นไปแม้ ในพหูพจน์ ได้ ในอิตถีลิงค์.
41
สุตฺเต ลิงฺควจนมตนฺตํ. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
ลิงค์และพจน์ ในสูตร ไม่เป็นหลักส�ำคัญ.
นีลาทิ คุณนามญฺจ พหุพฺพีหิ จ ตทฺธิตํ
สามญฺวุตฺยตีตาทิ- กิตนฺตํ วาจฺจลิงฺคิก.ํ
คุณนามมี นีล เป็นต้น พหุพพีหิสมาส ตัทธิตที่เป็นไป
ในอรรถทั่วไป และบทที่ลงกิตก์ปัจจัยอันมี อตีต ศัพท์เป็นต้น มี
เพศเหมือนเพศของข้อความที่กล่าวถึง.
เอเสโส เอตมิติ จ ปสิทฺธิ อตฺเถสุ เยสุ โลกสฺส
ถีปุนฺนปุสกานีติ วุจฺจนฺเต ตานิ นามานิ.1
ความปรากฏแก่ชาวโลกว่า เอสา เอโส เอตํ มีอยู่ ใน
อรรถเหล่าใด นามเหล่านั้นที่ปรากฏในอรรถเหล่านั้น ชาวโลก
ย่อมกล่าวว่าเป็น อิตถีลิงค์ ปุงลิงค์ และนปุงสกลิงค์.

พหฺวตฺถานมฺปิ เอกตฺเถ สมาโรปนโต พหุ


วจนํ เทสนาโสเต ปติตตฺตา จ มนฺยเต.
สตฺเถตฺตนิ ครูสุ เจ ติ ลกฺขณมุทาหฏํ
มยํ คจฺฉาม ตุมฺเห จ คจฺฉถาติ ยถากฺกมํ.
(เภทจินฺตา. ๑๓๕-๖)
วิภตั ติพหูพจน์ยอ่ มปรากฏเพราะการยกอรรถอันมาก
ไว้ ในอรรถเดียวและเพราะตกไปในกระแสแห่งพระเทศนา
1 ปถฺยาอริยาคาถา
42
ในคัมภีร์[นยาส] แสดงสูตรว่า อตฺตนิ ครูสุ จ [กฺวจิ]
(วิภัตติพหูพจน์ย่อมมี ในบางแห่ง ในตนเองและผู้ควรเคารพ)
มีอุทาหรณ์ตามล�ำดับว่า มยํ คจฺฉาม และ ตุมฺเห คจฺฉถ.
วิกปฺเปนายํ วิชฺฌนฺตรสฺส วิชฺชมานตฺตา.
วิธีนี้ย่อมมีอยู่ด้วยความไม่แน่นอน เพราะวิธีอย่างอื่น
ปรากฏอยู่ด้วย.
นวาธิการโต เจตฺถ โวโนเตเมติ เย อิเม
ปาทาโท จ จวาเอวา- ทิโยเค จ น โหนฺติ เต.
อนึ่ง การแปลงเป็น โว โน เต เม เหล่าใด มีอยู่ การ
แปลงเหล่านั้น ย่อมไม่มี ในเบื้องแรก ของบาทคาถา และในที่
ประกอบด้วย จ วา และ เอว ศัพท์เป็นต้น เพราะการตามมา
ของ นวา ศัพท์ ในสูตร เตเมกวจเนสุ จ นี้.

วิภัตติปัจจัย
สพฺพาทิโต โต ตฺร ถ ธิ ว หึ หํ ห ธ หิญฺจนํ
ทา ทาจนํ ทานิ รหิ ธุนาติ ทส ปญฺจ จ.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๒๘๑)
ปัจจัยที่ ใช้เป็นวิภัตติ ซึ่งลงท้าย สพฺพ ศัพท์เป็นต้น มี
๑๕ ศัพท์ คือ โต ฯลฯ ธุนา.
ลิงฺคตฺเถ กตฺตุกมฺเมสุ เหตฺวาวธีสุ สามินิ
วิเสสาการภุมฺเมสุ นิทฺธารเณ จ โต ภเว.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๒๖๕)
43
โต ปัจจัยย่อมลงใน ลิงคัตถะ กัตตา กรรม เหตุ
อปาทาน สามี วิเสสนะ อาการะ อาธาระ และ นิทธารณะ.
ลิงฺคตฺเถ กตฺตุกมฺเมสุ อปาทาเน จ สามินิ
อาธาเร เจว เต โหนฺติ อุภโย ตฺรถปจฺจยา.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๒๖๗)
ตฺร และ ถ ปัจจัยทั้งสองเหล่านั้นย่อมลงใน ลิงคัตถะ
กัตตา กรรม อปาทาน สามี และอาธาระ.
อัพยยะ
สทิสํ ตีสุ ลิงฺเคสุ สพฺพาสุ จ วิภตฺติสุ
วจเนสุ จ สพฺเพสุ ยํ น พฺเยติ ตทพฺยยํ.
(นีติ.ธาตุ.)
บทใดเหมือนกันย่อมไม่เปลี่ยนแปลงในลิงค์ทั้ง ๓ ใน
วิภัตติทั้งปวง และในพจน์ทั้งปวง บทนั้น ชื่อว่า อัพยยะ.
อุปสคฺโค นิปาโต จา- พฺยยาสมาสตทฺธิตา
ตฺวาทิ วิภตฺติปจฺจยา อพฺยยา ฉพฺพิธา สิยุ.
(โบราณาจารย์)
อั พ ยยบทมี ๖ ประเภทคื อ อุ ป สั ค นิ บ าต
อัพยยีภาวสมาส อัพยยตัทธิต บทที่มี ตฺวาทิปัจจัยเป็นที่สุด
และวิภัตติปัจจัย.
ป ปรา นิ นี อุ ทุ สํ วิ อว อนุ ปริ อธิ อภิ ปติ สุ อา
อติ อปิ อป อุป อิติ วีสติ อุปสคฺคา.
ศัพท์ทั้งหลาย คือ ป ฯลฯ อุป ชื่อว่า อุปสัค.
44
สนฺตเมว หิ นีลาทิ- วณฺณํ ทีปาทโย วิย
ธาตุสฺมึ หิ สนฺตเมวตฺถํ อุปสคฺคา ปกาสกา.
(พาลาวตาร. ๘๔)
อุปสัคทัง้ หลายย่อมแสดงอรรถทีม่ อี ยู่ ในธาตุนนั่ แหละ
เหมือนประทีปเป็นต้น ที่แสดงสีเขียวเป็นต้นที่มีอยู่ ให้ปรากฏ.
อุปสคฺคา นิปาตา จ ปจฺจยา จ อิเม ตโย
เนเกเนกตฺถวิสยา อิติ เนรุตฺติกาพฺรวุ.
นักไวยากรณ์ทงั้ หลายกล่าวแล้วว่า อุปสัค นิบาต และ
ปัจจัย ทั้ง ๓ เหล่านี้ มีมาก และมีวิสัยแห่งอรรถมาก.
อุปสคฺคา นิปาตา จ ธาตโว ปจฺจยา จิเม
เนเกเนกตฺถวิสยา อิติ เนรุตฺติกาพฺรวุ.
(กัจ.สุตตัตถะ)
นักไวยากรณ์ทงั้ หลายกล่าวแล้วว่า อุปสัค นิบาต ธาตุ
และ ปัจจัย ทั้ง ๔ เหล่านี้ มีมาก และมีวิสัยแห่งอรรถมาก.
กฺริยาวาจิตฺตมาขฺยาตุํ ปสิทฺโธตฺโถ ปทสฺสิโต
ปโยคโตญฺเ วิญฺเยฺยา อเนกตฺถา หิ ธาตโว.
(มุคฺธโพธฏี. ๑๐)
อรรถที่ประจักษ์[ของธาตุ]ท่านแสดงไว้เพื่อกล่าวว่า
ธาตุเป็นศัพท์แสดงกิริยา อรรถอื่น พึงทราบตามอุทาหรณ์
เพราะธาตุทั้งหลายมีอรรถมาก.
45
เยเนกตฺถธรา จรนฺติ วิวิธา นาถสฺส ปาเ วเร
เตเนกตฺถธราว โหนฺติ สหิตา นานูปสคฺเคหิ เว
ธาตูนํ ปน เตสมตฺถปรมํ ขีณาสเว ปณฺฑิเต
วชฺเชตฺวา ปฏิสมฺภิทามติยุตฺเต โก สพฺพโส ภาสติ.
(นีติ.ธาตุ.)
ธาตุเหล่าใดทรงอรรถไว้มาก ย่อมเป็นไปโดยประการ
ต่างๆ ในพระด�ำรัสอันประเสริฐของพระนาถะ ธาตุเหล่า
นั้นเมื่อประกอบด้วยอุปสัคต่างๆ ย่อมทรงอรรถไว้มากโดย
แท้ อนึ่ง ยกเว้นบัณฑิตผู้สิ้นอาสวะแล้ว ผู้เพียบพร้อมด้วย
ปฏิสมั ภิทาญาณ ใครเล่าจะกล่าวอรรถอันยิง่ ของธาตุเหล่านัน้ ได้.
อุเปจฺจตฺถํ สชฺเชนฺตีติ อุปสคฺคา หิ ปาทโย
จาที ปทาทิมชฺฌนฺเต นิปาตา นิปตนฺตีติ.
อนึ่ง ศัพท์มี ป เป็นต้นอยู่ ใกล้[นามและกิริยา]แล้ว
ย่อมขยายเนื้อความ ดังนั้น จึงชื่อว่าอุปสัค,
ศัพท์มี จ เป็นต้นย่อมลงในเบื้องต้น ท่ามกลาง หรือ
ที่สุดของบท ดังนั้น จึงชื่อว่า นิบาต.
ปติปริมนฺวภีติ จตุโร โอปสคฺคิกา
อาทิมฺหิปิ ปทานํ เว อนฺเตปิ จ ปวตฺตเร.
เสสา โสฬส สพฺเพปิ อาทิมฺหิเยว วตฺตเร
เนว กทาจิ เต อนฺเต อิติ นีตึ มเน กเร.
(นีติ.สุตฺต.)
46
บัณฑิตพึงใส่ ใจระเบียบนี้ว่า อุปสัค ๔ ศัพท์ คือ ปติ
ปริ อนุ และ อภิ ย่อมเป็นไปในเบื้องต้น และที่สุดของบทโดย
แท้ ส่วนอุปสัค ๑๖ ศัพท์ที่เหลือทั้งหมด ย่อมเป็นไปในเบื้องต้น
เท่านั้น.ย่อมไม่เป็นไปในที่สุดในกาลใดๆ.
ธาตฺวตฺถํ พาธเต โกจิ โกจิ ตมนุวตฺตเต
ตเมวญฺโ วิเสเสติ อุปสคฺคคตี ติธา.
ประเภทของอุปสัคมี ๓ คือ อุปสัคบางอย่างย่อม
เบียดเบียนอรรถของธาตุ อุปสัคบางอย่างย่อมคล้อยตามอรรถ
ของธาตุนนั้ และอุปสัคอย่างอืน่ บางอย่างย่อมท�ำอรรถของธาตุ
ให้พิเศษขึ้น.
มุตฺตํ ปทตฺตยา ยสฺมา ตสฺมา นิปตตฺยนฺตรา
เนปาติกนฺติ ตํ วุตฺตํ ยํ อพฺยยสลกฺขณํ.
บทใดพ้นแล้วจากบททั้ง ๓ นั้น ย่อมลงในระหว่างๆ
บททีม่ ลี กั ษณะของตนเองไม่เปลีย่ นแปลงรูปนัน้ เรียกว่า นิบาต.
ปุลฺลิงฺคํ อิตฺถิงฺคญฺจ นปุสกมถาปรํ
ติลิงฺคญฺจ อลิงฺคญฺจ นามิกํ ปญฺจธา ิตํ.
นามศัพท์ มี ๕ ประเภท คือ ปุงลิงค์ อิตถีลิงค์
นปุงสกลิงค์ ติลิงค์อันนอกจากทั้งสามนั้นและอลิงค์.
47
อาขยาตกัณฑ์
ปกตี ลิงฺคธาตฺเวว วิภตฺติปฺปจฺจยา ปน ปจฺจโย.
(เภทจินฺตา.)
ลิงค์และธาตุ ชื่อว่า ปกติ, ส่วน วิภัตติและปัจจัย ชื่อว่า ปัจจัย.
ยํ ติกาลํ ติปุริสํ กฺริยาวาจิ ติการกํ
อติลิงฺคํ ทฺวิวจนํ ตทาขฺยาตนฺติ วุจฺจติ.
บทใด มี ๓ กาล ๓ บุรุษ กล่าวกิริยา มี ๓ การก ไม่มี
ลิงค์ทั้ง ๓ และ มี ๒ พจน์ บทนั้น เรียกว่า อาขยาต.
ปกตี วิกตี1 นามํ ติธา ธาตู ปเภทโต
ภฺวาที ปกตี ขาทฺยนฺตา วิกตฺยายาทิ นามิกา.
(โบราณาจารย์)
ธาตุแบ่งออกเป็น ๓ ประเภทคือ
๑) ปกติธาตุ มี ภู เป็นต้น
๒) วิกติธาตุ มีธาตุที่ลง ข ปัจจัยเป็นต้น (เช่น ติติกฺข)
๓) นามธาตุ มีนามศัพท์ทลี่ ง อาย ปัจจัยเป็นต้น (เช่น ปพฺพตาย)
ภูกรา สพฺพธาตฺวตฺถพฺยาปกา. (ปริภาสา)
ภู และ กร ธาตุ แผ่ ไปสู่ความหมายของธาตุทั้งปวง.
สตฺตากรณรูปา หิ ธาตฺวตฺถา สกลา ตโต
ภาโว กฺริยา จ สามญฺํ สกเลเสฺวว คมฺยเต.
(เภทจินฺตา. ๓๐๐)
1 ปกตี วิกตี มีการทีฆะเพื่อรักษาฉันท์
48
ภู ธาตุที่มีอรรถ มี, เป็น และ กร ธาตุที่มีอรรถ กระท�ำ
ครอบคลุมอรรถของธาตุทงั้ หมด จึงขยายอรรถของธาตุทงั้ หมด
โดยใช้ธาตุเหล่านั้นเป็นเครื่องขยาย.
ปุพฺพาปรภาคฏฺานา ภินฺนา ธาตุวิภตฺติโย
นิสฺสาย ปจฺจยา โหนฺติ เย เต วิกรณา สิยุ.
(พาลาวตาร. ๖๙)
ปัจจัยเหล่าใด อาศัยธาตุกับวิภัตติ ซึ่งต่างกันโดยตั้งอยู่
ในส่วนหน้าและส่วนหลัง ปัจจัยเหล่านั้น ชื่อว่า วิกรณปัจจัย.
ภูวาทีสุ วกาโรยํ เยฺโย อาคมสนฺธิโช
ภูวาปฺปการา วา ธาตู สกมฺมากมฺมกตฺถโต.
ในภูวาทิ นักศึกษาพึงทราบ ว อักษรนี้ ว่าเกิดในอาคม
สนธิ อีกอย่างหนึ่ง ภูและ วา เป็นต้นชื่อว่า ธาตุ โดยอรรถสกัม
มกกิริยาและอกัมมกกิริยา
เกเล คิเล มิเล โอมา จิเน หเร จ สํกเส
กฺวจิปฺผลา อลุตฺตนฺตา ยปรา จ มหาทโย.
(กัจ.สุตตัตถะ)
ธาตุเหล่านี้คือ เกเล (เล่น) คิเล (ป่วย) มิเล (เหี่ยวเฉา)
โอมา (สามารถ) จิเน (ส�ำคัญ) หเร (ละอาย) สํกเส (อยู่) และ
มห เป็นต้น ที่มี ย ปัจจัยอยู่ท้ายเป็นผลของ กฺวจิ ศัพท์ ซึ่งไม่
ลบสระที่สุดธาตุ.
กฺริยาย คมฺยมานาย วิภตฺตีนํ วิธานโต
ธาตูเหว ภวนฺตีติ สิทฺธํ ตฺยาทิวิภตฺติโย.
49
[ส�ำเร็จความว่า] เมื่อกิริยาถูกรู้อยู่ ลง ติ วิภัตติเป็นต้น
หลังธาตุทั้งหลายเท่านั้น เพราะเป็นวิธีของวิภัตติทั้งหลาย.
ปจฺจุปฺปนฺนสมีเปปิ ตพฺโพหารูปจารโต
วตฺตมานา อตีเตปิ ตํกาลวจนิจฺฉยา.
ลงวัตตมานาวิภตั ติได้แม้ ในกิรยิ าอันเป็นอดีตและอนาคต
อันใกล้ปจั จุบนั โดยสมีปยูปจาระ1 อันยกขึน้ ซึง่ โวหารว่าปัจจุบนั
นั้น และลงวัตตมานาวิภัตติได้แม้ ในกิริยาอันเป็นอดีต เพราะ
ต้องการกล่าวซึ่งปัจจุบันกาลในอดีตนั้น.
เย คตฺยตฺถา เต พุทฺธฺยตฺถา ปวตฺติปาปุณตฺถกา.
(ธาตฺวตฺถสงฺคห. ๑๙)
ธาตุเหล่าใดมีอรรถว่าไป ธาตุเหล่านั้นมีอรรถว่า รู้ เป็นไป ถึง.
อิวณฺณุวณฺณนฺตานญฺจ ลหูปนฺตาน ธาตุนํ
อิวณฺณุวณฺณานเมว วุทฺธิ โหติ ปรสฺส น.
ยุวณฺณานมฺปิ ยณุณา- นานิฏฺาทีสุ วุทฺธิ น
ตุทาทิสฺสาวิกรเณ น เฉตฺวาทีสุ วา สิยา.
[วา ศัพท์ที่ตามมาในสูตร อญฺเสุ จ แสดงว่า]
- พฤทธิ์ อิ วัณณะและอุ วัณณะของธาตุ[มีสระตัวเดียว]อันมี
อิ วัณณะและ อุ วัณณะเป็นที่สุด (เช่น ชิ นี สุ ภู) เป็น เอ, โอ
ได้ (เช่น เชติ เนติ สวติ ภวติ)
- พฤทธิธ์ าตุ[อันมีสระหลายตัว]อันมีลหุอยู่ ใกล้กบั ทีส่ ดุ ธาตุ (เช่น
1 สมีปยูปจาระ = ส�ำนวนทีก่ ล่าวถึงสมีปิ (สิง่ ทีม่ ที ใี่ กล้) แต่หมายถึงสมีปะ
(ทีใ่ กล้) เช่น คงฺคายํ สสฺสํ ติฏฺ ติ (ข้าวกล้าตัง้ อยูท่ แี่ ม่นำ�้ คงคา)
50
อิสุ กุส) เป็น เอ และ โอ ได้ (เช่น เอสติ อกฺโกสติ)
- พฤทธิ์ อ เป็น อา ไม่ ได้ (เช่น ปจติ)
- พฤทธิ์ อิ วัณณะและ อุ วัณณะในเพราะ ย ณุ ณา นา และ
นิฏฐปัจจัยเป็นต้นไม่ ได้ (เช่น ชียติ, สุโณติ, สุณาติ, วิกฺกิณาติ,
ชิโต, ชิตวา, ชิตาวี)
- พฤทธิ์ อิ วัณณะและ อุ วัณณะของตุทาทิธาตุ ในเพราะ อ
วิกรณปัจจัยไม่ ได้ (เช่น ตุทติ)
- [ในเพราะ ตฺวา ปัจจัยเป็นต้น] มีการพฤทธิ์เป็น เอ, โอ ได้
บ้าง เช่น เฉตฺวา [ฉินฺทิตฺวา]
กตฺตุโนภิหิตตฺตาว อาขฺยาเตน น กตฺตริ
ตติยา ปมา โหติ ลิงฺคตฺถํ ปนเปกฺขิย.
ไม่ลงตติยาวิภตั ติในอรรถกัตตา เพราะกัตตาถูกอาขยาต
กล่าวไว้แล้ว แต่ลงปฐมาวิภตั ติ เพราะเพ่งถึงอรรถของลิงค์ (คือ
เพื่อรักษาความเป็นบท).
อตฺตโน อตฺถานิ ปทานิ อตฺตโนปทานีติ ปรสฺสตฺถานํ
พหุกตฺเตปิ โปราณโวหารวเสน วุตฺโต. (รูป.ฏี. ๔๓๑)
บทที่มีเนื้อความของตน ชื่อว่า อัตตโนบท โดยประการ
ดังนี้ แม้อัตตโนบทมีเนื้อความของผู้อื่นมากกว่า ก็กล่าวไว้ โดย
ความเป็นชื่อที่มีมาแต่ก่อน.
ปจฺฉา วุตฺโต ปโร นาม สญฺาย ปฏิปาฏิยา
เอวํ ปน คเหตพฺโพ ปโรปุริสนามโก.
51
ปมมฺหา ปโร นาม มชฺฌิโม อุตฺตโมปิ จ
มชฺฌิมมฺหา ปโร นาม อุตฺตโม ปุริโส รุโต.
(นีติ.ปท.)
บุรุษที่กล่าวไว้ ในภายหลังตามล�ำดับ ชื่อว่า ปโรบุรุษ
(บุรุษข้างหลัง) อนึ่ง บุรุษที่มีชื่อว่า ปโรบุรุษ พึงถือเอาอย่าง
นี้ มัชฌิมบุรุษและอุตตมบุรุษ ชื่อว่าบุรุษข้างหลังจากปฐมบุรุษ,
อุตตมบุรุษ ชื่อว่า บุรุษข้างหลังจากมัชฌิมบุรุษ.
ติสิถญฺจ ติมิมญฺจ สิมิมญฺจ ติสิมิมํ
ตฺยนฺติสิถมิมญฺเจว ปญฺจวารา ปกาสิตา.
(สุตฺตนิทฺเทส. ๒๑๑)
ปโรบุรุษ ถูกกล่าวแล้วว่ามี ๕ วาระ คือ
๑) ติ สิ = ถ ๒) ติ มิ = ม
๓) สิ มิ = ม ๔) ติ สิ มิ = ม
๕) ติ อนฺติ สิ ถ มิ = ม1
วิธึ นิจฺจญฺจ วาสทฺโท มานนฺเตสุ ตุ กตฺตริ
ทีเปตานิจฺจมญฺตฺถ ปโรกฺขายมสนฺตกํ.
วา ศัพท์ [ในสูตร คมิสฺสนฺโต จฺโฉ วา สพฺพาสุ] แสดง
[๓ วิธี คือ]
๑) นิจจวิธี ในเพราะมาน และ อนฺต ปัจจัยที่ลงในอรรถกัตตา
๒) อนิจจวิธี ในเพราะวิภัตติและ ย ปัจจัย
๓) อสันตวิธี ในเพราะ ปโรกขาวิภัตติ
1 ปทรูปสิทธิ ไม่มวี าระที่ ๕
52
ปรสฺส กตฺตริเยว อตฺตโน ปน ตีสุปิ
วิกรณา ตุ สพฺเพปิ กตฺวตฺเถ สพฺพธาตุเก.
(กจฺ.สาร. ๒๐)
วิภัตติปรัสสบทย่อมลงในกัตตุวาจกเท่านั้น ส่วนวิภัตติ
อัตตโนบทย่อมลงในวาจกทั้ง ๓ ,วิกรณปัจจัยทั้งหมด ย่อมลง
ในกัตตุวาจก ในเพราะสัพพธาตุกวิภัตติ.
อสพฺพธาตุเกปฺเยสุ กิญฺจิ อิจฺฉนฺติ ปจฺจยํ.
(กจฺ.สาร. ๒๑)
ลงวิกรณปัจจัยบางตัว (คือ อ,ย,ณา,ณฺหา) ในเพราะอสัพพ-
ธาตุกวิภตั ติได้บา้ ง (เช่น รุนธฺ สิ สฺ ติ พุชฌ
ฺ สิ สฺ ติ สุณสิ สฺ ติ คณฺหสิ สฺ ติ)
อาขฺยาตปจฺจยา สพฺเพ ภเวยฺยุํ สาธนตฺตเย
กตฺตา กมฺมํ จ ภาโว จ สาธนานีธ วุจฺจเร.
(พาลาวตาร.)
อาขยาตวิ ภั ต ติ ทั้ ง ปวงพึ ง มี ใ น ๓ วาจกเท่ า นั้ น คื อ
กัตตุวาจก กัมมวาจก และภาววาจก ย่อมกล่าวไว้ ในอาขยาต
กัณฑ์นี้.
กรียมานํ ยํ กมฺมํ สยเมวปฺปสิชฺฌติ
สุกรํ เสหิ คุเณหิ กมฺมกตฺตาติ ตํ วิทุ.
(พาลาวตาร. ๑๐๒)
กรรมใดอันบุคคลกระท�ำอยู่ เป็นของท�ำง่ายตามสภาพ
ของตน ย่อมเหมือนส� ำเร็จได้เองทีเดียว กรรมนั้นเรียกว่า
กัมมกัตตา
53
อกมฺมกาปิ ธาตโว โสปสคฺคา สกมฺมกาปิ ภวนฺติ.
แม้อกัมมกธาตุ ทีม่ อี ปุ สัค ก็กลายเป็นสกัมมกธาตุได้บา้ ง.
อุปสคฺควสา โกจิ อกมฺมโกปิ สกมฺมโก
ยถาภิภูยเต ราโค ตาปเสน มหิทฺธินา.
(พาลาวตาร. ๗๑)
แม้อกัมมกธาตุบางศัพท์ก็อาจเปลี่ยนเป็นสกัมมกธาตุได้
ด้วยอ�ำนาจของอุปสัค เช่น อภิภูยเต ราโค มหิทฺธินา ตาปเสน
(ราคะอันดาบสผู้มีฤทธิ์มากครอบง�ำได้)
อาขฺยาเตน อวุตฺตตฺตา ตติยา โหติ กตฺตริ
กมฺมสฺสาภิหิตตฺตา น ทุติยา ปมาวิธ.
ลงตติยาวิภัตติในอรรถกัตตา เพราะอรรถกัตตา ไม่ ได้
ถูกอาขยาตวิภัตติกล่าว (อนภิหิตกัตตา)
ไม่ลงทุติยาวิภัตติ เพราะอรรถกรรม ถูกอาขยาตวิภัตติ
กล่าวแล้ว (วุตตกรรม) จึงลงปฐมาวิภัตติเท่านั้นในวุตตกรรมนี้
จวคฺโค จตวคฺคานํ ธาตฺวนฺตานํ ยวตฺตนํ
รวานญฺจ สยปฺปจฺจ- ยานํ โหติ ยถากฺกมํ.
[วา ศัพท์ทตี่ ามมาก�ำหนดว่า] แปลงจวรรคและตวรรคอัน
เป็นที่สุดธาตุกับ ย ปัจจัยเป็น จวรรค, แปลง รฺย เป็น ย และ
วฺย เป็น ว ตามล�ำดับ
ปญฺจมีสตฺตมีสญฺา รูฬฺหิสญฺาติ มนฺยเต.
(สทฺทสารตฺถชาลินี. ๔๗๘)
ชื่อว่า ปัญจมีและสัตตมี บัณฑิตรู้กันว่าเป็น รูฬหินาม.
54
ปญฺจมีติ ตฺวาทีนํ สกฺกตโวหาโร. (รูป.ฏี. ๔๕๐)
ค�ำว่า ปัญจมี เป็นชื่อสันสกฤตของวิภัตติทั้งหลายมี ตุ เป็นต้น.
มเต สตฺถุสฺส ฆณฬา ปทาทิมฺหิ น ทิสฺสเร.
(นีติ.ธาตุ.)
ในพระบาลีอันเป็นมติของพระศาสดา ธาตุที่เป็น ฆ ณ
และ ฬ ย่อมไม่ปรากฏในเบื้องต้นของบท.
ปญฺจมี อาณตฺยาสิฏฺ- สปถกฺโกสยาจเน
สมฺปุจฺฉาปตฺถนาชฺฌิฏฺ- วิธฺยามนฺตนิมนฺตเน.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๒๗๙)
ปัญจมีวิภัตติมีอรรถ ๑๑ อย่างคือการสั่ง, ปรารถนา,
สบถ, ด่า, ขอ, ถาม, ขอร้อง, เชื้อเชิญ, จัดแจง, ร้องเรียก และ
นิมนต์.
สตฺตมี อนุมตฺยตฺเถ ปริกปฺเป จ วตฺตติ
สมฺปุจฺฉาปตฺถนาชฺฌิฏฺ- วิธฺยามนฺตนิมนฺตเน
สตฺติยํ อรเห เปเส ปตฺตกาเล สมฺภาวเน.
(กัจ.สุตตัตถะ.)
สัตตมีวิภัตติมีอรรถ ๑๓ อย่างคือ อนุญาต, คาดคะเน,
ถาม, ปรารถนา, เชื้อเชิญ, บอกวิธี (แนะน�ำ), ร้องเรียก, นิมนต์,
สามารถ, สมควร, การใช้, บอกเวลา และยกย่อง.
สติสฺสเรปิ ธาตฺวนฺเต ปุนาการาคมสฺสิธ
นิรตฺถตฺตา ปโยคานุ- โรธา ธาตฺวาทิโต อยํ.
55
เมื่อมีสระที่สุดธาตุอยู่ การลง อ อาคมนี้ย่อมลงข้างหน้า
ธาตุโดยคล้อยตามตัวอย่าง เพราะการลง อ อักษรเป็นอาคม
อีกในที่สุดแห่งธาตุนี้ ไม่มีประโยชน์.
กตสฺสากรเณ กตฺตุ อจฺจนฺตจฺฉาทเนปิ จ
ทิฏฺาทีนมภาเว จ ตีสุ เยฺยา ปโรกฺขตา.
(กจฺ.สาร. ๒๓)
ปโรกขาวิภัตติ พึงทราบในฐานะ ๓ ประการ คือ
๑) ในการที่ผู้ท�ำจ�ำสิ่งที่ตนท�ำไว้ ไม่ ได้
เช่น สุปิเน กิร มาห (ได้ยินว่า เขาพูดในฝัน)
๒) ในการจงใจปกปิด
เช่น นาหํ กลิงฺคํ ชคาม (เราไม่ ได้ ไปแคว้นกลิงคะ)
๓) ในการไม่ ได้การเห็นเป็นต้น (ไม่ประจักษ์)
เช่น โส กิร ราชา พภูว (ได้ยินว่า เขาเป็นพระราชา)
ขฉเสสุ ปโรกฺขายํ เทฺวภาโว สพฺพธาตุนํ
อปจฺจเย ชุโหตฺยาทิสฺ- สปิ กิจฺจาทิเก กฺวจิ.
ในเพราะ ข ฉ ส ปัจจัยและปโรกขาวิภตั ติ มีการซ้อนธาตุ
ทั้งปวงแน่นอน
ในเพราะ อ ปัจจัย ซ้อนชุโหตยาทิธาตุแน่นอน
ในกิจจปัจจัยเป็นต้น ซ้อนได้บ้าง
ข1ฉเสสุ อวณฺณสฺส อิกาโร สคุปุสฺส อี
วาสฺส ภูสฺส ปโรกฺขายํ อกาโร นาปรสฺสิเม.
1 ไม่มีใช้ ที่ท่านกล่าวไว้เพราะอยู่ในกลุ่มเดียวกันและเพื่อรักษาฉันท์
56
- เพราะ ฉ ส ปัจจัยแปลง อ วัณณะกับ อุ ของคุป เป็น อิ
และ แปลง อา ของ วา อัพภาสเป็น อี
- เพราะปโรกขาวิภัตติ แปลง อู ของ ภู อัพภาสเป็น อ
- การแปลงเหล่านี้ย่อมไม่มีแก่สระอัพภาสเหล่าอื่น
อสพฺพธาตุเก พฺยญฺช- นาทิมฺเหวายมาคโม
กฺวจาทิการโต พฺยญฺช- นาโทปิ กฺวจิ โน สิยา.
เพราะอสั พ พธาตุ ก วิ ภั ต ติ ที่ มี พ ยั ญ ชนะเป็ น เบื้ อ งแรก
เท่านั้น จึงจะลง อิ อาคมได้ และถึงแม้ ในเพราะอสัพพธาตุก
วิภตั ติทมี่ พี ยัญชนะเป็นเบือ้ งแรก ก็ ไม่ลง อิ อาคมได้บา้ ง เพราะ
การตามมาของ กฺวจิ ศัพท์
ภูตสามญฺวจนิจฺฉายมนชฺชเตปิ “สุโว อโหสิ อานนฺโท”
(โมค. ๖/๔)
ลงอัชชตนีวภิ ตั ติแม้ ในอดีตกาลทีม่ ิใช่วนั นี้ เมือ่ ประสงค์จะ
กล่าวอดีตกาลสามัญทั่วไป เช่น สุโว อโหสิ อานนฺโท (นกแก้ว
เป็นพระอานนท์ ได้เป็นแล้ว)
อสกกาลตฺโถยมารมฺโภ.(โมค.)
สูตร[มาโยเค สพฺพกาเล จ]นีม้ ปี ระโยชน์คอื กาลอันไม่ ใช่ของตน.
อตีเตปิ ภวิสฺสนฺตี ตํกาลวจนิจฺฉยา1
“อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสนฺ”ติอาทิสุ.
ลงภวิสสันตีวิภัตติแม้ ในกิริยาที่เป็นอดีต เพราะต้องการ
1 กัจ.สุตตัตถะ. เป็น โหติ โยควิภาคโต
57
กล่าวกิรยิ าทีเ่ ป็นอดีตด้วยอนาคตวิภตั ตินนั้ ในอุทาหรณ์เป็นต้น
ว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ (เราท่องเที่ยวไปแล้วสู่สงสาร
อันมีชาติเป็นอันมาก)
สา [กาลาติปตฺต]ิ ปน วิรุทฺธปจฺจยูปนิปาตโต การณ-
เวกลฺลโต วา กฺริยาย อนภินิพฺพตฺติ.
กาลาติปัตตินั้น คือ การไม่เกิดขึ้นของกิริยา เพราะมี
ปัจจัยเข้าขัดขวาง หรือเพราะความบกพร่องแห่งเหตุ.
วิรุทฺธเหตุโยคา วา เหตุเวกลฺลโตปิ วา
กฺริยานมภาโวว กฺริยาติปนฺนมีริตํ.
(กจฺ.สาร. ๒๕)
การไม่เกิดกิริยาขึ้นเพราะมีเหตุมาขัดขวางก็ดี เพราะ
เหตุบกพร่องไปก็ดี ท่านเรียกว่า กริยาติปนั นะ (การล่วงไปแห่ง
กิริยา)
ตญฺจ ทฺวิธา ภูตํ ภาวิ ภูตํ สมฺปุณฺณการณา
ภาวิภาวาติปนฺนนฺตุ กุโตจิ ลิงฺคทสฺสนา.
(กจฺ.สาร. ๒๖)
อนึ่ง กริยาติปันนะนั้นมี ๒ อย่างคือ อดีตและอนาคต
กริยาติปันนะที่เป็นอดีต มีเพราะความบกพร่องแห่งเหตุ ส่วน
กริยาติปันนะที่เป็นอนาคต มีเพราะเห็นเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ปญฺจมี สตฺตมี วตฺต- มานา สมฺปตินาคเต
ภวิสฺสนฺตี ปโรกฺขาที จตสฺโสตีตกาลิกา.
58
ปัญจมี สัตตมี และวัตตมานา ลงในปัจจุบันนกาล
ภวิสสันตี ลงในอนาคตกาล
วิภัตติ ๔ หมวดมีปโรกขาเป็นต้น ลงในอดีตกาล.
อกมฺมกาปิ อตฺถวิเสสวเสน สกมมฺมกา โหนฺติ.
(มัชฌิมปัณณาสฏี.)
แม้อกัมมกธาตุ ก็กลายเป็นสกัมมกธาตุได้ ด้วยสามารถ
แห่งอรรถพิเศษ.
สุตานุมิเตสุ สุตสมฺพนฺโธ พลวา. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
ในบรรดาข้อความที่ ได้สดับมา และข้อความที่อนุมานรู้
ความเกี่ยวเนื่องกับข้อความที่ ได้สดับมา มีก�ำลังมากกว่า.
เกจิ สกมฺมิกา ธาตโว ทิวาทิคณํ ปตฺวา อกมฺมิกา โหนฺติ,
ยถา “สุตฺตํ ฉิิชฺชติ,ตฬากํ ภิชฺชตี”ติ. (นีติ.สุตฺต. ๙๕๑)
สกัมมกธาตุบางชนิด เมือ่ อยู่ในกลุม่ ทิวาทิคณะ ย่อมกลาย
เป็นอกัมมกธาตุ เช่น สุตฺตํ ฉิิชฺชติ เส้นด้าย ย่อมขาด,
ตฬากํ ภิชฺชติ บึง ย่อมพังทะลาย.
ภูวาทิโต ชุโหตฺยาทิ- โต จ อปจฺจโย ปโร
โลปมาปชฺชเต นาญฺโ ววตฺถิตวิภาสโต.
หลังหูวาทิธาตุและชุโหตยาทิธาตุ ลบ อ ปัจจัย
หลังอวุทธิกภูวาทิธาตุและตุทาทิธาตุ ไม่ลบ อ ปัจจัย
เพราะ วา ศัพท์เป็นววัตถิตวิภาสา
นามฺหิ รสฺโส กิยาทีนํ สํ โยเค จญฺธาตุนํ
อายูนํ วา วิภตฺตีนํ มฺหาสฺสานฺตสฺส จ รสฺสตา.
59
เพราะ นา ปัจจัย รัสสะกิยาทิธาตุ,
เพราะสังโยค รัสสะธาตุอื่น (ทา า ธาเป็นต้น),
รัสสะ อา อี อู วิภัตติ และสระอา ที่สุดของ มฺหา และ
สฺสา วิภัตติ ได้บ้าง
คมิโต จฺฉสฺส ญฺโฉ วาสฺส คมิสฺสชฺชตนิมฺหิ คา,
อุ จาคโม วา ตฺถมฺเหสุ, ธาตูนํ ยมฺหิ ทีฆตา.
เพราะอัชชตนีวิภัตติ หลัง คมุ ธาตุ แปลง จฺฉฺ เป็น ญฺฉฺ
และแปลง คมุ ธาตุนั้นเป็น คา ได้บ้าง
เพราะ ตฺถ และ มฺห วิภัตติ ลง อุ อาคม ได้บ้าง
เพราะ ย ปัจจัย ทีฆะธาตุ (สุ, ชิ เป็นต้น)
เอยฺเยยฺยาเสยฺยาเมตฺตญฺจ วา สฺเสสฺเสตฺตญฺจ ปาปุเณ
โอการา อตฺตมิตฺตญฺจ อาตฺถา ปปฺโปนฺติ วา ตฺถเถ.
แปลง เอยฺย เอยฺยาสิ และ เอยฺยามิ เป็น เอ บ้าง, แปลง
เอ ของ สฺเส เป็น อ, แปลง โอ หิยยัตตนีเป็น อ และ โอ
อัชชตนีเป็น อิ,อา เป็น ตฺถ และ ตฺถ เป็น ถ บ้าง.
ตถา พฺรูโต ติอนฺตีนํ ออุ วาห จ ธาตุยา
ปโรกฺขายวิภตฺติมฺหิ อนพฺภาสสฺส ทีฆตา.
นอกจากนั้น หลังจาก พฺรู ธาตุ แปลง ติ เป็น อ, อนฺติ
เป็น อุ และแปลง พฺรู เป็น อาห บ้าง,ในปโรกขาวิภัตติ ทีฆะ
สระที่ ไม่ ใช่อัพภาส.
สํ โยคนฺโต อกาเรตฺถ วิภตฺติปฺปจฺจยาทิ ตุ
โลปมาปชฺชเต นิจฺจ- เมกาโรการโต ปโร.
60
ส่วนในสถานทีแ่ ห่งธาตุนี้ หลังจาก เอ,โอ ลบ อ ทีม่ สี งั โยค
เป็นที่สุด อันเป็นเบื้องแรกของวิภัตติและปัจจัย แน่นอน.
ทุห ยาจ รุธิ ปุจฺฉ ภิกฺข สาส วจาทโย
นี วห หรมาที จ อุภเยเต ทฺวิกมฺมกา.
(เภทจินฺตา.)
ธาตุ ๒ พวกเหล่านีค้ อื ทุห ยาจ รุธิ ปุจฉฺ ภิกขฺ สาส วจธาตุ
เป็นต้นพวกหนึ่งและ นี วห หรธาตุเป็นต้นพวกหนึ่ง เป็นธาตุมี
สองกรรม.
อโลปาภาเว หกาโร กฺวจิ ธาตฺวาทินาคโม
สํ-ปติปุพฺโพ รสฺสตฺตํ วาสทฺเทนิธาสโร.
(รูป.คัณฐิ. ๔๙๒)
เมื่อไม่มีการลบ อ ปัจจัย ลง หฺ อักษรอาคมและรัสสะ
สระของ า ธาตุที่มี สํ และ ปติ อยู่หน้าเพราะ วา ศัพท์ ใน
สูตรนี้ ด้วยสูตรว่า กฺวจิ ธาตุ เป็นต้น.
นฺต-มานนฺติ-ยิยุํสฺวาทิโลโป (โมคฺ. ๕/๑๓๐)
ให้ลบเบื้องต้นของ อส ธาตุ ในเพราะ นฺต (อนฺต), มาน,
อนฺติ (รวม อนฺตุ ด้วย), อิยา (มาจาก เอยฺย), อิยุํ (มาจาก
เอยฺยุํ) [เช่น สนฺตา, สมานา, สนฺติ, สนฺตุ, สิยา, สิยุํ]
มานนฺตอนฺติอาทีสุ นิจฺจํ ทีเปติ วาสุติ
อสนฺตญฺตฺถ วิภตฺติปฺ- ปจฺจเยสูติ ลกฺขเย.
(โบราณาจารย์)
61
พึงก�ำหนดว่า วา ศัพท์แสดงนิจจวิธี ในเพราะ มาน, อนฺต
และ อนฺติ เป็นต้น, แสดงอสันตวิธี ในเพราะวิภตั ติและปัจจัยอืน่ .
วิปุพฺโพ ธา กโรตฺยตฺเถ อภิปุพฺโพ ตุ ภาสเน
นฺยาสํปุพฺโพ ยถาโยคํ นฺยาสาโรปนสนฺธิสุ.
(นฺยาส.)
ธา ธาตุที่ วิ อยูห่ น้าเป็นไปในอรรถ กระท�ำ,เมือ่ มี อภิ อยู่
หน้าเป็นไปในอรรถ กล่าว, เมื่อมี นิ อา และ สํ อยู่หน้าเป็นไป
ในอรรถฝัง, ยกขึ้น และ เชื่อม ตามล�ำดับ.
ธา ธารทานโปสมฺหิ นิ ตุ นฺยาเส วิ กรเณ
อา อาโรเปภิ ภาเส จ สํ สทฺทหนสนฺธิสุ.
อปิ อจฺฉาทเน จาปิ ปริปุพฺโพ นิวาสเน
อวปุพฺโพ สวเณ จาปิ อนฺตโรทิ อทสฺสเน
ปปุพฺโพ ปธาเน อนุ- วิปุพฺโพ นิวิกรเณ
สุปุพฺโพ ติตฺตตฺโถ จาติ อเนกตฺเถสุ ทิสฺสติ.
(โบราณาจารย์)
ธาธาตุ ย่อมปรากฏในอรรถจ�ำนวนมาก คือ ธาธาตุ
ล้วนๆ เป็นไปในอรรถการทรงไว้ การให้ และการเลี้ยงดู ,
ส่วน มี นิ เป็นบทหน้า เป็นไปในการฝัง,
มี วิ เป็นบทหน้า เป็นไปในการกระท�ำ,
มี อา เป็นบทหน้า เป็นไปในการยกขึ้น,
มี อภิ เป็นบทหน้า เป็นไปในการกล่าว,
62
มี สํ เป็นบทหน้า เป็นไปในความเชื่อและการเชื่อมต่อ,
มี อปิ เป็นบทหน้า เป็นไปในการปกปิด,
มี ปริ เป็นบทหน้า เป็นไปในการนุ่งห่ม,
มี อว เป็นบทหน้า เป็นไปในการฟัง,
มี อนฺตร เป็นบทหน้า เป็นไปในการไม่เห็น,
มี ป เป็นบทหน้า เป็นไปในความเพียร,
มี อนุ และ วิ เป็นบทหน้า เป็นไปในการท�ำลอกเลียนแบบ
มี สุ เป็นบทหน้า เป็นไปในความอิ่ม(เต็ม).
อวุทฺธิกา ตุทาที จ หูวาที จ ตถาปโร
ชุโหตฺยาที จตุทฺเธวํ เยฺยา ภูวาทโย อิธ.
ภูวาทิคณะในอาขยาตกัณฑ์นี้ พึงทราบว่ามี ๔ ประเภท
อย่างนี้ คือ อวุทธิกะ ตุทาทิ หูวาทิอื่นจากนั้น และชุโหตยาทิ.
ชาเทโส นามฺหิ ชํ ามฺหิ นาภาโว ติมฺหิ เอวิธ
ววตฺถิตวิภาสตฺถ- วาสทฺทสฺสานุวตฺตนา.
ในเพราะ นา ปัจจัย แปลง า เป็น ชา, ในเพราะ า
(มาจาก เอยฺย) แปลง า เป็น ชํ, ในเพราะ ติ วิภัตติเท่านั้น
แปลง า เป็น นา เพราะการตามมาของ วา ศัพท์ที่มีอรรถว
วัตถิตวิภาสา ในสูตรนี้.
ามฺหิ นิจฺจญฺจ นาโลโป วิภาสาชฺชตนาทิสุ
อญฺตฺถ น จ โหตายํ นาโต ติมฺหิ ยการตา.
ในเพราะ า (แปลงมาจาก เอยฺย) ลบ นา ปัจจัย
63
แน่นอน, ในเพราะอัชชตนี ภวิสสันตี และกาลาติปัตติวิภัตติ
ลบ นา ปัจจัย บ้าง, ในเพราะวิภัตติเหล่าอื่น ไม่มีการลบ นา
ปัจจัยเลย,ในเพราะ ติ วิภัตติ หลังจาก นา อาเทศ ให้แปลง
นา ปัจจัยเป็น ย.
ยิรโต อาตฺตเมยฺยสฺส เอถาทิสฺเสยฺยุมาทิสุ
เอยฺยสทฺทสฺส โลโป จ “กฺวจิ ธาตู”ติอาทินา.
หลังจาก ยิร ปัจจัย แปลง เอยฺย เป็น อา, แปลง เอ ของ เอถ
เป็น อา และลบ เอยฺย ของ เอยฺยุ เอยฺยาสิ เป็นต้นด้วยสูตรว่า กฺวจิ
ธาตุ เป็นต้น. (มีอุทาหรณ์ดังนี้คือ กยิรา กยิรุํ กยิราสิ กยิราถ
กยิรามิ กยิราม กยิราถ.
ภูวาที จ รุธาที จ ทิวาที สฺวาทโย คณา
กิยาที จ ตนาที จ จุราที จิธ สตฺตธา.
คณะในอาขยาตมี ๗ คือ ภูวาทิ, รุธาทิ, ทิวาทิ, สฺวาทิ,
กิยาทิ, ตนาทิ และจุราทิ.
ข ฉ ส อาย อีย เณ ณย ณาเป จ ณาปย
อล อาร อาล จาติ ทฺวาทส1 ธาตุปปฺ จฺจยา.
ธาตุปัจจัยมี ๑๒ ตัวคือ.....
ติชโต ขนฺติยํ โขว นินฺทายํ คุปโต ตุ โฉ
กิตา โฉ โสว มานมฺหา ววตฺถิตวิภาสโต.
ลง ข ปัจจัยเท่านั้นหลัง ติช ธาตุในอรรถอดทน,
ลง ฉ ปัจจัยเท่านั้นหลัง คุป ธาตุในอรรถติเตียน,
1 รูปสิทธิ.มี ๙ เว้น อล อาร อาล, กัจ. มี ๑๑ เว้น อล ส่วนพา.มีครบ
64
ลง ฉ ปัจจัยเท่านัน้ หลัง กิต ธาตุ[ในอรรถสงสัย/น�ำออกซึง่ โรค],
ลง ส ปัจจัยเท่านั้นหลัง มาน ธาตุ[ในอรรถพิจารณา]
เพราะ วา ศัพท์มีอรรถววัตถิตวิภาสา.
ติชโต ขนฺติยํ โขว นินฺทายํ โฉ พธา คุปา
กิตา โฉ สํสเย เจว โรคาปนยเนปิ จ
อุปธาเร มานมฺหา โส ววตฺถิตวิภาสโต.
(รูป.ภาสาฏี.)
ลง ข ปัจจัยเท่านั้นหลัง ติช ธาตุในอรรถอดทน,
ลง ฉ ปัจจัยเท่านั้นหลังพธ และ คุป ธาตุในอรรถติเตียน,
ลง ฉ ปัจจัยเท่านั้นหลัง กิต ธาตุในอรรถสงสัย/น�ำออกซึ่งโรค,
ลง ส ปัจจัยเท่านั้นหลัง มาน ธาตุในอรรถพิจารณา
เพราะ วา ศัพท์มีอรรถววัตถิตวิภาสา.
ลิงฺควิภตฺติวจน- กาลปุริสกฺขรสฺส
วเสน หิ วิปลฺลาโส ฉพฺพิโธติ ปวุจฺจติ.
(กจฺ.ทีปนี. ๒)
วิปลาส (ความคลาดเคลื่อนจากสิ่งที่ควรจะเป็น) มี ๖
อย่าง คือ ลิงค์ วิภัตติ พจน์ กาล บุรุษ และอักษร.
“วุตฺตตฺถานมปฺปโยโค”ติ วากฺยสฺส อปฺปโยโค.
ไม่ประกอบพากย์ ด้วยปริภาสาว่า วุตฺตตฺถานมปฺปโยโค.
เณณยาว อุวณฺณนฺตา อาโต เทฺว ปจฺฉิมา สิยุ
เสสโต จตุโร เทฺว วา วาสทฺทสฺสานุวตฺติโต.
65
หลัง อุ, อู การันตธาตุ ลง เณ ณย ปัจจัยเท่านั้น
หลัง อา การันตธาตุ ลง ณาเป ณาปย ปัจจัย
หลังธาตุทถี่ กู ลบทีส่ ดุ ธาตุไป ลงปัจจัยได้ ๔ ตัวหรือ ๒ ตัว
เพราะการตามมาของ วา ศัพท์
อกมฺมา ธาตโว โหนฺติ การิเต ตุ สกมฺมกา
สกมฺมกา ทฺวิกมฺมาสฺสุ ทฺวิกมฺมา ตุ ติกมฺมกา.
ในที่มีการิตปัจจัย ธาตุที่ ไม่มีกรรม กลายเป็นธาตุมี ๑
กรรม, ธาตุที่มี ๑ กรรม กลายเป็นธาตุมี ๒ กรรม, ส่วนธาตุที่
มี ๒ กรรม กลายเป็นธาตุมี ๓ กรรม.
ตสฺมา กตฺตริ กมฺเม จ การิตาขฺยาตสมฺภโว
น ภาเว, สุทฺธกตฺตา จ การิเต กมฺมสญฺโ ต.
ดั ง นั้ น อาขยาตวิ ภั ต ติ ที่ มี ก าริ ต ปั จ จั ย จึ ง ลงในอรรถ
กัตตาและกรรม ไม่มี ในอรรถภาวะ, ในที่มีการิตปัจจัย สุทธกัต
ตาถูกจดจ�ำว่าเป็นกรรม (คือเปลี่ยนเป็นการิตกรรม)
นิยาทีนํ ปธานญฺจ อปฺปธานํ ทุหาทินํ,
การิเต สุทฺธกตฺตา จ กมฺมมาขฺยาตโคจรํ.
ปธานกรรมแห่งนิยาทิธาตุ, อปธานกรรมแห่งทุหาทิธาตุ
และสุทธกัตตาในที่มีการิตปัจจัยเป็นสิ่งที่อาขยาตวิภัตติกล่าว
(คือเป็นวุตตกรรม)
ธาตุปฺปจฺจยโต จาปิ การิตปฺปจฺจยา สิยุ
สการิเตหิ ยุณฺวูนํ ทสฺสนญฺเจตฺถ าปกํ.
66
ลงการิตปัจจัย หลังแม้จากธาตุปัจจัย ส�ำหรับในเรื่องกา
ริตปัจจัยนี้ สูตร นุทาทีหิ ยุณฺวูน ฯ เป็นเครื่องแสดงวิธีของ ยุ
ปัจจัยและ ณฺวุ ปัจจัยที่เป็นเบื้องหลังจากธาตุ ที่เป็นไปกับด้วย
การิตปัจจัย เป็นหลักฐานให้รู้.
สาสนตฺถํ สมุทฺทิฏฺ อาขฺยาตํ สกพุทฺธิยา
พาหุสจฺจพเลนีทํ จินฺตยนฺตุ วิจกฺขณา.
ข้าพเจ้าแสดงอาขยาตด้วยดี ด้วยปัญญาของตน เพื่อ
ประโยชน์แก่พระศาสนา บุคคลผู้มีปัญญาจงคิดพิจารณา
อาขยาตนี้ ด้วยก�ำลังแห่งความเป็นพหูสูต.
ภวติ ติฏฺติ เสติ อโหสิ เอวมาทโย
อกมฺมกาติ วิญฺเยฺยา กมฺมลกฺขณวิญฺญุนา.
กิริยาอันมีอย่างนี้เป็นต้นคือ ภวติ ติฏฺติ เสติ อโหสิ
บุคคลผู้รู้ลักษณะของกรรมพึงทราบว่าเป็นกิริยาที่ ไม่มีกรรม.
อกมฺมกาปิ เหตฺวตฺถปฺ- ปจฺจยนฺตา สกมฺมกา
ตํ ยถา ภิกฺขุ ภาเวติ มคฺคํ ราคาทิทูสกํ.
แม้กิริยาที่ ไม่มีกรรม มีการิตปัจจัยเป็นที่สุด กลายเป็น
ธาตุที่มีกรรม อุทาหรณ์นั้นเป็นไฉน อุทาหรณ์คือ ภิกฺขุ ภาเวติ
ราคาทิทสู กํ (อ.ภิกษุ ยังมรรคอันท�ำลายซึง่ กิเลสมีราคะเป็นต้น
ย่อมให้เกิด).
67
กิพพิธานกัณฑ์
เตกาลิกกิจฺจปฺปจฺจยนฺตนย
กิรตีติ กิโต สิสฺส- กงฺขํ วิกฺขิปตาปเน-
ตีตฺยตฺโถ ปายวุตฺติตฺตา กิตโกติ ปวุจฺจติ.
(เภทจินฺตา. ๓๔๖)
ปัจจัยใด ย่อมขจัดคือน�ำออกซึ่งความสงสัยของศิษย์
ดังนั้น ปัจจัยนั้นชื่อว่า กิต ท่านเรียกว่ากิตกปัจจัย เพราะ
กิตกปัจจัยเป็นไปโดยมาก[กว่ากิจจปัจจัย].
ปจฺจโย ติพฺพิ โธ กิจฺจ- กิตกิจฺจกิตพฺพสา
ภาวกมฺเมสุ กตฺวตฺเถ ตีสุ จาตฺยปเร วิทู.
(เภทจินฺตา. ๓๔๘)
ผู้รู้บางท่านกล่าวว่า ปัจจัยในกิตก์ ย่อมมี โดยจ�ำแนก
เป็น กิจจปัจจัย กิตปัจจัย และกิจจกิตปัจจัย โดยลงในภาว-
วาจกเเละกัมมวาจก, กัตตุวาจก และวาจกทั้ง ๓.
อกมฺมเกหิ ธาตูหิ ภาเว กิจฺจา ภวนฺติ เต
สกมฺมเกหิ กมฺมตฺเถ อรหสกฺกตฺถทีปกา.
กิจจปัจจัยทัง้ หลายลงในอรรถภาวะ หลังจากอกัมมกธาตุ
ลงในอรรถกรรมหลังจากสกัมมกธาตุ กิจจปัจจัยเหล่านัน้ แสดง
อรรถอรหะ(สมควร) และอรรถสักกะ(สามารถ).
กิจฺจา ธาตูหฺยกมฺเมหิ ภาเวเยว นปุสเก
ตทนฺตา ปายโต กมฺเม สกมฺเมหิ ติลิงฺคิกา.
(เภทจินฺตา. ๓๔๙)
68
ลงกิจจปัจจัยท้ายอกัมมกธาตุในอรรถภาวสาธนะ รูป
ส�ำเร็จเหล่านัน้ เป็นนปุงสกลิงค์, ถ้าลงท้ายสกัมมกธาตุ โดยมาก
ใช้ ในอรรถกัมมสาธนะ รูปส�ำเร็จเหล่านั้นเป็นได้ทั้ง ๓ ลิงค์.
เยภุยฺยวุตฺติยา ลิงฺคํ ทสฺสิตํ ตตฺถ สพฺพโส
วิเสโส ปน วิญฺญูหิ เยฺโย ปาานุสารโต.
(ปทสาธน. ๕๒๑)
นักไวยากรณ์ ได้แสดงลิงค์ โดยความเป็นไปเป็นส่วนมาก
ส่วนวิญญูชนพึงทราบความพิเศษในลิงค์นนั้ โดยประการทัง้ ปวง
โดยคล้อยตามอุทาหรณ์[ในพระบาลีและอรรถกถา].
ตพฺพาทีเหว กมฺมสฺส วุตฺตตฺตาว ปุนตฺตนา
วตฺตพฺพสฺส อภาวา น ทุติยา ปมา ตโต.
ไม่ลงทุติยาวิภัตติ หลังจาก อภิภวิตพฺพ เป็นต้น เพราะ
ความที่อรรถกรรมถูก ตพฺพ ปัจจัยเป็นต้นกล่าวแทนแล้ว
เพราะความไม่มีอรรถกรรมที่ตน[คือ ทุติยาวิภัตติ]พึงกล่าวอีก
ลงปฐมาวิภัตติเท่านั้นหลังจาก อภิภวิตพฺพ เป็นต้นนั้น.
รหาทิโต ปรสฺเสตฺถ นการสฺส อสมฺภวา
อนานียาทินสฺเสว สามตฺถยายํ ณการตา.
ในสูตร รหาทิโต ณ นี้ ย่อมเป็นการแปลง น ของ อน
และ อนีย เท่านั้นเป็น ณ โดยอัญญถานุปปัตตินัย (นัยที่ ไม่ควร
เป็นโดยประการอื่น) เพราะว่าหลังจาก ร และ ห เป็นต้น ไม่มี
น อักษรอื่นอีก
69
รมุ อิกฺข รกฺข ลกฺข- ปิส ตาธาตุอาทโย
ปราที ปนิทุปรี อาทิสทฺเทน คยฺหเร.
(กัจ.สุตตัตถะ)
ด้วย อาทิ ศัพท์ หมายเอา รมุ อิกฺข รกฺข ลกฺข ปิส และ
ตาธาตุเป็นต้น รวมทั้งธาตุที่มี ปรา ป นิ ทุ และปริ อยู่หน้า

อรหตฺเถ จ สกฺกตฺเถ ปตฺตกาเล จ เปสเน


ตพฺพาทโย อติสคฺเค อวสฺสาธมิเณสุ จ.
(นิรุตฺติ.)
กิจจปัจจัยมี ตพฺพ เป็นต้น ย่อมลงในอรรถว่าสมควร
สามารถ บอกเวลาที่มาถึง บอกให้ท�ำ อนุญาต แน่นอน และ
หนี้สินค้างช�ำระ.
กตฺตพฺพํ กรณียญฺจ การิยํ กิจฺจมิจฺจปิ
กาเรตพฺพํ ตถา การา- เปตพฺพํ กิจฺจสงฺคโห.
บทเหล่านี้คือ กตฺตพฺพํ กรณียํ การิยํ กิจฺจํ กาเรตพฺพํ
และการาเปตพฺพํ จัดเป็นบทที่มีกิจจปัจจัยเป็นที่สุด.
เตกาลิกกิตกปฺปจฺจยนฺตนย
สการิเตหิ ยุณฺวูนํ การิยสฺส วิธานโต
กิจฺจกิตฺสมฺภโว ธาตุปฺ- ปจฺจเยหิปิ เวทิโย.
พึงทราบว่า กิจจปัจจัยและกิตกปัจจัยสามารถลงหลัง
จากธาตุปจั จัยได้เพราะมีกฎ[แสดงการแปลง]ยุ และ ณฺวุ ปัจจัย
ท้ายธาตุที่ประกอบกับการิตปัจจัย.
70
ปุพฺพสุตฺเตน ภินฺนโยคกรณํ วิกปฺปนตฺถํ. (สุตฺตนิเทส.)
การกระท�ำสูตรแยกไว้กบั สูตรหน้า มีประโยชน์เพือ่ ความ
ไม่แน่นอน.
าเณ วิกสฺสเน เจว คมเน จาปิ ชาคเร
จตูเสฺวเตสุ อตฺเถสุ พุธธาตุ ปวตฺตติ.
(มณิสารมญฺชูสา. ๑/๗๙)
พุธ ธาตุเป็นไปในอรรถ ๔ อย่างคือ รู้ เบิกบาน ไป และตื่น.
กิตกาภิเธยฺยลิงฺคา อิยุวณฺณวราทิโช
อปจฺจโย โณ ทุติโย อิปจฺจโย ปุเม สิยุํ.
(กจฺ.สาร. ๔๕)
กิตกปัจจัย[ที่เป็นคุณศัพท์]คล้อยตามลิงค์ของเนื้อความ
ที่กล่าวถึง (คือเป็นได้ ๓ ลิงค์)
[ส่วน] อ ปัจจัยทีล่ งท้าย อิวณ ั ณันตธาตุ, อุวณั ณันตธาตุ และ
วร ธาตุเป็นต้น (ดูคาถาต่อไป), ณ ปัจจัยที่ ๒ (คือ ณ ปัจจัยทีล่ งด้วย
วิสุรุชปทาทิโต ณ) และ อิ ปัจจัย (มุนาทีหิ จิ) พึงมี ในปุงลิงค์
วรสรา ทรจรา คมุยมู สนหนา
นทมทา รณคหา ชปาทโย วราทโย.
(พาลาวตาร. ๘๔)
วราทิ (วร ธาตุเป็นต้น) หมายถึง วร สร ทร จร คมุ ยมุ
สน หน นท มท รณ คห และ ชป ธาตุเป็นต้น
ณมฺหิ รนฺชสฺส กรเณ ชาเทสสฺส วิธานโต
อกตฺตริปิ วิญฺเยฺโย การเก ณสฺส สมฺภโว.
71
พึงทราบว่า ณ ปัจจัยลงในสาธนะอื่นจากกัตตุสาธนะได้
เพราะมีกฎแสดงการแปลง นฺชฺ เป็น ชฺ ในเพราะ ณ ปัจจัยใน
กรณการก[และภาวการก].
กมฺมคฺคหณโต ภาว- กมฺเมสูเตตฺถ เวทิโย
อกตฺตริปิ โหตีติ การเก รมฺมปจฺจโย.
พึงทราบว่า ในสูตร ธราทีหิ รมฺโม นี้ ลง รมฺม ปัจจัยใน
สาธนะอื่นจากกัตตุสาธนะได้ เพราะ กมฺม ศัพท์ ในข้อความว่า
ภาวกมฺเมสุ นี้.
ตสฺสีลํ อตฺตโน สีลํ ตทฺธมฺโม กุลธมฺมตา
ตสฺสาธุการี ธาตฺวตฺเถ สกฺกจฺจํ อนุโมทนา.
(กัจ.สุตตัตถะ.)
ปกติของตน ชื่อว่า ตัสสีละ ,ประเพณีของตระกูล ชื่อว่า
ตัทธัมมะ, การกระท�ำโดยชอบในความหมายของธาตุ ชื่อว่า
ตัสสาธุการี.
สีลํ สภาโว. ธมฺโม อาจาโร. สาธุ กุสโล.(พาลาวตาร.)
สภาพปกติ ชื่อว่า สีละ, ประเพณี ชื่อว่า ธัมมะ, ความดี
ชื่อว่า สาธุ.
อิการนฺตมฺหิ ธาตุสฺมึ นิจฺจํ นิคฺคหีตาคโม.
(ธาตวัตถสังคหนิสสัย)
ส�ำหรับธาตุที่มี อิ อักษรอยู่ท้าย ลงนิคคหิตเป็นอาคมเเน่นอน.
อิการนฺเต นิคฺคหีตํ นิจฺจํ ภฺวาทิจุราทิเก.
(ธาตวัตถสังคหนิสสัย)
72
ส�ำหรับธาตุที่มี อิ อักษรอยู่ท้ายอันเป็นภูวาทิคณะและ
จุราทิคณะ ลงนิคคหิตเป็นอาคมเเน่นอน
หนสฺเสวายํ โฆ โหติ อภิธานานุรูปโต
อสํปุพฺพา จ โร เตน ปฏิโฆติปิ สิชฺฌติ.
แปลง หน ธาตุนเี้ ท่านัน้ เป็น ฆ และลง ร ปัจจัยท้ายธาตุที่
ไม่มี สํ อยูห่ น้า ตามสมควรแก่อทุ าหรณ์ เพราะฉะนัน้ แม้คำ� ว่า
ปฏิโฆ ย่อมส�ำเร็จได้.
ธาตฺวตฺโถว สิยา เหตุ ปจฺจยตฺโถ สิยา ผลํ
เตสํ ทฺวินฺนํ ชานนตฺถํ อิติสทฺโท ปยุชฺชเต.
(สทฺทวุตฺติ.)
อรรถของธาตุเป็นเหตุ อรรถของปัจจัยเป็นผล อิติ ศัพท์ยอ่ ม
ประกอบเพือ่ แสดงอรรถทัง้ สองอย่างนัน้ (ส่วนรูปวิเคราะห์ภาว-
สาธนะ อรรถของธาตุและปัจจัยหมายถึงกิรยิ าเหมือนกัน จึงไม่
จ�ำเป็นต้องประกอบ อิติ ศัพท์)
อตีตปฺปจฺจยนฺตนย
นิปาตนํ นาม อสมฺปตฺตํ สมฺปาเทติ. สมฺปตฺตํ นิวาเรติ.
เตน อิมินา ลกฺขเณน ยสฺมึ ยสฺมึ กเต ยํ ยํ รูปํ สิชฺฌติ, ตํ ตํ
ตตฺถ ตตฺถ กาตพฺพํ. (นยาส.)
ชื่อว่า นิปาตนะ ย่อมยังวิธีที่ยังไม่มาถึงให้ส�ำเร็จ ย่อม
ห้ามวิธีที่มาถึงเเล้ว ดังนั้น เมื่อควรกระท�ำรูป ใดๆ วิธี ใดๆ ย่อม
ส�ำเร็จด้วยสูตรนี้ จึงควรกระท�ำวิธีนั้นๆ ในรูปนั้นๆ.
73
อตฺถา ปกรณา ลิงฺคา โอจิตฺยา กาลเทสโต
สทฺทตฺถา วิภชียนฺติ น สทฺทาเยว เกวลํ.
(สทฺทสารตฺถชาลินี. ๙๓)
ศัพท์และความหมายย่อมถูกจ�ำแนกตามเนือ้ ความ, ฐานะ,
ลิงค์,ความเหมาะสม, กาล และสถานที่ ไม่ควรจ�ำแนกเพียงศัพท์
อย่างเดียว.
คมนตฺถา ตถาธาเร อาหารตฺเถ จ ธาตุโต
ภาวมตฺเต ตุ ธาตุมฺหา อวิวจฺฉิตกมฺมกา.
(กจฺ.สาร. ๓๖)
หลังอกัมมกธาตุและธาตุทมี่ อี รรถ “ไป, กิน” ลง ต ปัจจัย
ในอรรถอธิกรณะได้เหมือนกัน, ส่วนหลังธาตุที่ ไม่ประสงค์จะ
กล่าวกรรม ก็สามารถลง ต ปัจจัยในอรรถภาวะได้.
กกาโร เอโอนมภาวตฺโถ. (โมค.ปญฺจิกา.)
กฺ อักษรอนุพันธ์[ใน กฺต] มีประโยชน์เพื่อห้ามการพฤทธิ์
เป็น เอ และ โอ.
หุโต หุตาวี หุตวา วุตฺโถ วุสิตชิณฺณโก
ปกฺกํ ปกฺกนฺตโก ชาโต ิโต รูฬฺโห พุภุกฺขิโต.
คีตํ นจฺจํ ชิโต ทิฏฺโ ตุฏฺโ ยิฏฺโ จ ภคฺควา
วุตฺตญฺจ คุตฺโต อจฺฉินฺโน ปหี โน คมิโต คโต.
กโตภิสงฺขโต ภุตฺตํ านํ ครุมุปาสิโต
ภีตญฺจ สมฺมโต พุทฺโธ ปูชิโตตีตกาลิกา.
74
ศัพท์เหล่านีค้ อื หุโต ฯลฯ ปูชิโต เป็นศัพท์ทปี่ ระกอบในอดีตกาล.
ตเวตุนาทิปฺปจฺจยนฺตนย
ภูสเน วารเณ จาลํ วุจฺจเต ปริยตฺติยํ.
(อภิธาน.)
อลํ ศัพท์ถูกกล่าวในอรรถประดับ ห้าม และสมควร.
ปุพฺพาปรสมาเน จ กาเล เหตุมฺหิ ตฺวาทโย
ธกฺกจฺจํ ทณฺโฑ ปติโต ทฺวารํ ปิทหิตฺวา นิกฺขมิ
สีหํ ทิสฺวา ภยํ โหติ อิทํ เตสํ นิทสฺสนํ.
(โบราณาจารย์)
ตฺวา ปัจจัยเป็นต้นย่อมลงในปุพพกาละ อปรกาละ สมาน
กาละ และเหตุ อุทาหรณ์ของกิรยิ าเหล่านัน้ คือ ธกฺกจฺจํ ทณฺโฑ
ปติโต (ท่อนไม้ตกเสียงดังตั้ก)
ทฺวารํ ปิทหิตฺวา นิกฺขมิ (ออกไปแล้วจึงปิดประตู)
สีหํ ทิสวฺ า ภยํ โหติ (ความกลัวเกิดขึน้ เพราะเห็นราชสีห)์
ยตฺถ หิ กฺริยาปทํ น สูยติ, ตตฺถ อตฺถิ ภวตีติ สมฺพนฺโธ.
(รูป.ฏี. ๓๒๐)
โดยแท้จริงแล้ว บทกิริยา ย่อมไม่ ได้ยินในพากย์ ใด พึง
สัมพันธ์บทว่า อตฺถิ หรือ ภวติ ในพากย์นั้น.
น หิ กฺริยารหิตํ วากฺยมตฺถิ. (มุคฺธโพธฏี. ๒๘๐)
โดยแท้จริงแล้ว ประโยคที่ปราศจากกิริยา ย่อมไม่มี.
75
วตฺตมานกาลิกมานนฺตปฺปจฺจยนฺตนย
อนฺโต กตฺตริ มาโน ตุ ภาเว กมฺมนิ กตฺตริ
ปจฺจุปฺปนฺเน ลกฺขเณ จ เหตฺวตฺเถ จ ภวนฺติ เต.
(สทฺทสารตฺถชาลินี.)
อนฺต ปัจจัยย่อมลงในกัตตุสาธนะ ส่วน มาน ปัจจัยย่อม
ลงในกัตตุสาธนะ ภาวสาธนะ และกัมมสาธนะ ปัจจัยเหล่านั้น
ย่อมมี ในปัจจุบันกาล อรรถลักขณะ และอรรถเหตุ.
ปูชุตฺตมปจุเรสุ สมฺปตฺติสฺสริเยสุ จ
วุฑฺเฒ เจวาติ อตฺเถสุ มหนฺโต ฉสุ วตฺตติ.
(นิรตุ ตฺ สิ ารมญฺชสู า. ๔๕)
มหนฺต ศัพท์มี ในอรรถ ๖ อย่างคือ การบูชา, ประเสริฐ,
จ�ำนวนมาก, ความถึงพร้อม, ความเป็นใหญ่ และผู้ ใหญ่.
อุณาทิปฺปจฺจยนฺตนย
อทธาตุปรสฺเสว มการสฺส ตการตา
ตทญฺโต น โหตายํ ววตฺถิตวิภาสโต.
แปลง ม ที่อยู่หลัง อท ธาตุเท่านั้นเป็น ต ถ้าอยู่หลังธาตุ
อื่น ไม่แปลง เพราะ[วาศัพท์ ในสูตร ขฺยาทีหิ มนฺ ม จ โต วา]
เป็นววัตถิตวิภาสา (อุ. อตฺตา=ผู้กิน)
นิปฺผนฺโน จ อนิปฺผนฺโน โส ปาฏิปทิโก ยถา
นิปฺผนฺโน การโกตฺยาทิ- ตโร ฆฏปฏาทิโก
ตทฺธิตาทิตฺตยาสิทฺโธ นิปฺผนฺโน อิตโร มโต.
(นิรุตฺติสารมญฺชูสา.)
76
ปาฏิปทิกะนั้น[มี ๒] คือ นิปผันนปาฏิปทิกะและอนิปผัน
นปาฏิปทิกะ, นิปผันนปาฏิปทิกะ เช่น การก เป็นต้น, อนิปผันน
ปาฏิปทิกะอื่นมิได้ส�ำเร็จด้วยตัทธิตปัจจัยเป็นต้น เช่น ฆฏ และ
ปฏ เป็นต้น, ปาฏิปทิกะอื่นพึงทราบว่าเป็นนิปผันนปาฏิปทิกะ.
อาทฺยนฺตเมว ทีเปตฺวา มชฺเฌ ปน อทสฺสนํ
มิคปทวลญฺโชติ เวทิตพฺโพ สุธี มตา.
(สทฺทสารตฺถชาลิน.ี ๒๕)
บัณฑิตพึงทราบว่า นัยที่แสดงเบื้องต้นและที่สุดเท่านั้น
แต่ว่าไม่แสดงในท่ามกลาง ชื่อว่า มิคปทวลัญชนัย.
ยตฺร ทพฺพนิเวโส, ตตฺร ตนฺนิวิฏฺกฺริยาวิเสโส ลกฺขฺยเต.
(กวิกลฺปทฺรุม)
การแสดงความหมายด้วยทัพพะ มีอยู่ ในธาตุใด พึงทราบ
เฉพาะกิริยาที่ตั้งอยู่ ในธาตุนั้น.
อจินเฺ ตยฺโย หิ นิรตุ ตฺ นิ โย เกวลํ อตฺถยุตตฺ ปิ ฏิพทฺธมตฺโตว.
อตฺถยุตฺติยํ สติ นิปฺผาเทตุมสกฺกุเณยฺยานิปิ รูปานิ อเนเนว
สิชฺฌนฺติ. (นีติ.ธาตุ.)
โดยแท้จริงแล้ว นิรุตตินัยเป็นนัยที่ ไม่พึงคิด เนื่องด้วย
ความเหมาะสมแห่งเนื้อความล้วนๆ เมื่อมีความเหมาะสมแห่ง
เนื้อความ แม้รูปที่ ไม่อาจส�ำเร็จได้[ตามกฏไวยากรณ์] ย่อม
ส�ำเร็จด้วยนิรุตตินัยนี้ โดยแท้.
77
“วณฺณาคโม วณฺณวิปริยโย จ
เทฺว จาปเร วณฺณวิการนาสา
ธาตุสฺส จตฺถาติสเยน โยโค
ตทุจฺจเต ปญฺจวิธํ นิรุตฺตนฺ”ติ
วุตตฺ นิรตุ ตฺ ลิ กฺขณานุสาเรน “เตสุ วุทธฺ ”ี ติอาทินา “กฺวจิ ธาตู”
ติอาทินา จ รูปสิทฺธิ เวทิตพฺพา.
พึงทราบการส�ำเร็จรูปด้วยสูตรว่า เตสุ วุทธฺ ิ เป็นต้นและ
กฺวจิ ธาตุเป็นต้น โดยคล้อยตามลักษณะของนิรุตตินัยที่กล่าว
ไว้แล้ว ว่าการลงอักษรอาคม การสลับอักษร การแปลงอักษร
เเละการลบอักษรทัง้ สองอย่างอืน่ พร้อมด้วยการประกอบความ
หมายที่ยิ่ง ทั้ง ๕ ประการนั้น เรียกว่า นิรุตตินัย
อิกาโร ธาตุนิทฺเทเส วิกรณานฺวิโต ติ จ
ภวนฺเตตฺถ คมิสฺสาทิ หนตฺยาทีหิ าปกา.
ในการแสดงธาตุ ให้ลง อิ และ ติ ปัจจัยท้ายวิกรณปัจจัย
ได้ มีหลักฐานในตัวอย่างว่า คมิสฺส เป็นต้น[ในสูตร คมิสฺสนฺโต
จฺโฉ วา สพฺพาสุ] และ หนติ เป็นต้น[ในสูตร หนตฺยาทีนํ ณุโก]
จตุธา ธาตุนิทฺเทสา อิณ-ณฺย-ตฺยนฺตเภทโต
คิณ-สุณ-คมิสฺสนฺโต โหติสฺสเรติ าปกํ.
(รูป.นิสสัยเก่า ๒๓๕)
ธาตุนิเทศปัจจัยมี ๔ ตัว คือ อิณ ณ อิ และ ติ ปัจจัยอัน
เป็นที่สุด มีหลักฐานให้รู้ด้วยค�ำว่า คิณ (คิธาตุ), สุณ (สุธาตุ),
78
คมิสฺสนฺโต (ที่สุดของ คมุธาตุ), โหติสฺสเร (ในเพราะสระของ
หูธาตุ).
ตพฺพาที ณาทโย นิฏฺา ตเวตุนาทโย ตถา
มานนฺตาที อุณาทีติ ฉทฺธา กิตกสงฺคโห.
กัณฑ์เป็นที่รวมกิตกปัจจัย มี ๖ ประการคือ
๑) กิจจปัจจัย มี ตพฺพ เป็นต้น
๒) เตกาลิกปัจจัย มี ณ เป็นต้น
๓) นิฏฐปัจจัย คือ ต ตวนฺตุ ตาวี
๔) นิบาตปัจจัย มี ตเว ตุน เป็นต้น
๕) มานันตาทิปัจจัย มี มาน อนฺต เป็นต้น
๖) อุณาทิปัจจัย มี ณุ ยุ เป็นต้น.
นิคมน
สนฺธิ นามํ การกญฺจ สมาโส ตทฺธิตํ ตถา
อาขฺยาตํ กิตกํ กณฺฑา สตฺติเม รูปสิทฺธิยํ.
ในคัมภีร์รูปสิทธิ มี ๗ กัณฑ์คือ สนธิ นาม การกะ สมาส
ตัทธิต อาขยาต และกิตก์.
เตธา สนฺธึ จตุทฺธา ปทมปิ จตุธา ปญฺจธา นามิกญฺจ
พฺยาสา ฉกฺการกํ ฉสฺสมสนมปิ ฉพฺเภทโต ตทฺธิตญฺจ อาขฺยาตํ
อฏฺธา ฉพฺพธิ มปิ กิตกํ ปจฺจยานํ ปเภทา ทีเปนฺติ รูปสิทธฺ ี จิรมิธ
ชนตาพุทฺธิวุทฺธึ กโรตุ.
รูปสิทธิ อันแสดงสนธิ ๓, บท ๔, นาม ๕, การกะ ๖
79
โดยพิสดาร ๒๙, สมาส ๖, ตัทธิต ๖, อาขยาต ๘ และกิตก์
๖ โดยประเภทแห่งปัจจัย จงกระท�ำความเจริญแห่งปัญญาแก่
มวลชนในโลกนี้ สิ้นกาลนานเทอญ.
วิขฺยาตานนฺทเถรวฺหยวยคุรุนํ ตมฺพปณฺนิธชานํ
สิสฺโส ทีปงฺกราขฺยทฺทมิฬวสุมตีทีปลทฺธปกาโส
พาลาทิจฺจาทิวาสทฺวิตยมธิวสํ สาสนํ โชตยี โย
โสยํ พุทฺธปฺปิยวฺโห ยติ อิมมุชุกํ รูปสิทฺธึ อกาสิ.
ภิกษุใดนามว่า พุทธัปปิยะ เป็นศิษย์ของครูผู้ประเสริฐ
นามว่าอานันทเถระ ผู้มีชื่อเสียง ผู้เป็นธงของเกาะลังกา ภิกษุ
นั้นเป็นผู้มีชื่อเสียงที่ ได้รับแล้วดุจประทีป ในแผ่นดินทมิฬด้วย
นามว่า ทีปังกร ครองอาวาส ๒ แห่งมีพาลาทิจจวิหาร(วัด
ตะวันหนุ่ม) เป็นต้น ผู้ยังพระศาสนาให้รุ่งเรือง ได้รจนาคัมภีร์
รูปสิทธิ อันตรงประเด็นนี้ ส�ำเร็จแล้ว.
สาติเรกสตฺตรส- ภาณวาเรหิ คนฺถโต
นิฏฺิตา รูปสิทฺธีติ ปทสํสิทฺธิสาธินี.
ปกรณ์ชอื่ ว่า รูปสิทธิ ทีแ่ สดงความส�ำเร็จแห่งบท จบแล้ว
ด้วยภาณวาร ๑๗ กว่าโดยคัมภีร์.
สทา สทฺธาสีลี สติธิติมตี จาคปฏุมา
กตญฺญู โลกญฺญู ปรหิตรโต ฌานนิรโต
อกมฺปี สมฺภาเร ทุรภิภวสํสารคหเน
ภเวยฺยาหํ สมฺโพธิสมธิคมํ ยาว ภวติ.
80
ขอข้าพเจ้า จงเป็นผู้มีศรัทธา ทรงศีล เพียบพร้อมด้วย
สติ สมาธิ และปัญญา เป็นผู้ฉลาดในทาน รู้คุณ (กตัญญู)
รู้ โลก ยินดี ในการเกื้อกูลผู้อื่น รื่นรมย์ ในฌาน และพึงเป็นผู้
ไม่หวั่นไหวในโพธิสมภาร ตราบจนกระทั่งบรรลุสัมโพธิญาณ
ในชัฏคือสงสารที่ข้ามพ้นได้ยาก.

สมาสกัณฑ์
สมาโส กมฺมธารโย ทิคุ ตปฺปุริโสปิ จ
พหุพฺพีหาพฺยยีภาโว ทฺวนฺโท โหติ ฉพฺพิโธ.
(กัจ.สุตตัตถะ.)
สมาส มี ๖ ประเภท คือ กัมมธารยะ ทิคุ ตัปปุรสิ ะ พหุพพีหิ
อัพยยีภาวะ และทวันทะ.
วิเสสนวิเสสฺยานํ อภินฺนตฺถตฺตมีริตํ
สมาโส นาม ตาทิมฺหิ ตทฺธิโตปิ วิธียเต.
(กจฺ.สาร. ๖๑)
ท่านกล่าวว่า ความมีเนื้อความเป็นอย่างเดียวกันของบท
วิเสสนะและวิเสสยะ ชื่อว่า สมาส แม้ตัทธิต ท่านย่อมกระท�ำ
ในอรรถเช่นนี้.
นามนามํ สพฺพนามํ สมาสตทฺธิตํ ตถา
กิตนามญฺจ นามญฺญู นามํ ปญฺจปิ นิทฺทิเส.
(กจฺ.วณฺณนา. ๒๔๑)
81
ผูร้ เู้ รือ่ งนาม แสดงนามไว้ ๕ อย่าง คือ นามนาม(สุทธนาม),
สัพพนาม,สมาสนาม,ตัทธิตนาม และกิตนาม.
กมฺมธารโย ทฺวนฺโท จ ตปฺปุริโส จ ลาภิโน
ตโย ปรปเท ลิงฺคํ พหุพฺพีหิ ปทนฺตเร.
(พาลาวตาร. ๔๖)
สมาสทัง้ ๓ คือ กัมมธารยะ ทวันทะ ตัปปุรสิ ะ ได้ลงิ ค์ตาม
บทหลัง, พหุพพีหิ ได้ลิงค์ตามบทอื่น.
ทิคุ อัพยยีภาโว จ นปุํสเกว นิยโต
วาจโก ปน วิญฺเยฺโย วิภตฺติปทรูปโต.
(กจฺฺ.เภท. ๔๖)
ทิคุ และ อัพยยีภาวะ มีความแน่นอนในนปุงสกลิงค์ ส่วน
การแสดงเนือ้ ความของสมาส พึงทราบตามรูปศัพท์ของวิภตั ติ.
อัพยยีภาวสมาส
อพฺยยีภาวสมาโส หิ สทา นิจฺจสมาสโก
ตสฺมา อญฺปเทเนว กาตพฺโพ วิคฺคโห สทา.
(ปทวิจารคัณฐิ. ๑๓๕)
อั พ ยยี ภ าวสมาสเป็ น นิ จ จสมาสเสมอโดยแท้ ดั ง นั้ น
จึงควรท�ำการวิเคราะห์ด้วยบทอื่นเท่านั้นทุกเมื่อ.
เยน ยสฺส หิ สมฺพนฺโธ ทูรฏฺมฺปิ จ ตสฺส ตํ
อตฺถโต หฺยสมานานํ อาสนฺนตฺตมการณํ.
(นยาส. ๓๑๖)
82
การสัมพันธ์ของบทใดกับบทใดมีิอยู่ แม้บทนั้นจะตั้งอยู่
ไกลกับบทที่สัมพันธ์กันนั้นก็ควร ที่จริงแล้ว ความใกล้กันของ
บทที่ ไม่เสมอกันโดยเนื้อความไม่ ใช่เหตุอันสมควร.
สมาโส ปทสงฺเขโป ปทปฺปจฺจยสํหิตํ
ตทฺธิตํ นาม โหเตวํ วิญฺเยฺยํ เตสมนฺตรํ.
การย่อบททั้งหลายเข้าด้วยกัน ชื่อว่า สมาส , การย่อ
บทและปัจจัยชือ่ ว่า ตัทธิต พึงทราบความต่างกันของสมาสและ
ตัทธิตอย่างนี้.
เทฺว หิ สมาสสฺส ปโยชนานิ เอกปทตฺตเมกวิภตฺตติ ตฺ ญฺจ.
โดยแท้จริงแล้ว ประโยชน์ของสมาส มี ๒ อย่างคือ ความ
เป็นบทเดียวกันและความมีวิภัตติเดียวกัน.
เอกปทตาสํยุตฺตํ เอโกจฺจารณตายุตํ
เอกวิภตฺติตายุตฺตํ สมาเส ลกฺขณตฺตยํ.
(พา.ปุรา.ฏี. ๑๔๑)
ลักษณะ ๓ ประการในสมาส คือ การประกอบด้วย
บทเดียวกันการประกอบด้วยการออกเสียงร่วมกัน และการ
ประกอบด้วยวิภัตติเดียวกัน.
มหีรุโห ตรุ วุตฺโต ตสฺมึ อสติ โน ภเว
ฉายา โลกมฺหิ ปกติ วิภตฺติมฺหาสติ ตถา.
(สทฺทสารตฺถชาลิน.ี ๔๔)
ต้นไม้เรียกว่า มหีรุหะ (สิ่งที่งอกขึ้นบนพื้นดิน) เมื่อไม่มี
83
ต้นไม้นั้น เงาไม้ก็ ไม่มี ในโลก ฉันใด เมื่อไม่มีวิภัตติ[คือวิภัตติถูก
ลบไป] ความเป็นปกติก็มี ได้ ฉันนั้น.
น ปญฺจมฺยายมํภาโว กฺวจีติ อธิการโต
ตติยาสตฺตมีฉฏฺี- นนฺตุ โหติ วิกปฺปโต.
ไม่มีการแปลงปัญจมีวิภัตติเป็น อํ,
มีการแปลงตติยา สัตตมี และฉัฏฐีวภิ ตั ติเป็น อํ ไม่แน่นอน
เพราะการตามมาของ กฺวจิ ศัพท์
กัมมธารยสมาส
วิเสสนปุพฺพปโท ตตุตฺตรปโท ตถา
ตทุภยํปโท เจว อุปมานปโรถ วา.
สมฺภาวนาวธารณ- ปุพฺพงฺคมา ทุเว ตถา
นนิปาตกุนิปาต- ปาทิปุพฺพปทา นว.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๕๐๐)
กัมมธารยสมาส ๙ อย่าง คือ
๑) วิเสสนบุพบท สมาสที่มีวิเสสนะอยู่หน้า
๒) วิิเสสนุตตรบท สมาสที่มีวิเสสนะนั้นอยู่หลัง
๓) วิเสสโนภยบท สมาสที่มีบททั้งสองนั้นเป็นวิเสสนะ
๔) อุปมานุตตรบท สมาสที่มีบทหลังเป็นอุปมานะ
๕) สัมภาวนบุพพบท สมาสที่มีบทหน้าเป็นบทยกขึ้นแสดง
๖) อวธารณบุพพบท สมาสที่มีบทหน้าเป็นบทห้าม
๗) นนิปาตบุพพบท สมาสที่มี น นิบาตเป็นบทหน้า
84
๘) กุบุพพบท สมาสที่มี กุ นิบาตเป็นบทหน้า
๙) ปาทิบุพพบท สมาสที่มี ป อุปสัคเป็นต้น.
ตุลฺยาธิกรณภาวปฺปสิทฺธตฺถํ จสทฺท-ตสทฺทปฺปโยโค.
การประกอบ จ ศัพท์และ ต ศัพท์ก็เพื่อให้ปรากฏเป็น
ความหมายเดียวกัน
กฺวจิปฺปวตฺยปฺปตฺติ กฺวจญฺํ กฺวจิ วา กฺวจิ
สิยา พหุล สทฺเทน
1
วิธิ สพฺโพ ยถาคมํ.
(สารตฺถวิลาสิน.ี ๑/๕๘)
ความเป็นไป[แห่งวิธี]ย่อมมี ในบางที่ ความไม่เป็นไปย่อม
มี ในบางที่ วิธีอื่นย่อมมี ในบางที่ วิธีที่ ไม่แน่นอนย่อมมี ในบางที่
วิธีทั้งหมดพึงมีตามอุทาหรณ์ด้วย พหุล ศัพท์.
สมานาธิกรณฺยญฺจ วิเสสนวิเสสฺสตํ
อตฺเถสุ เกจิ อิจฺฉนฺติ สทฺเทสุ อิติ เกจน.
(โมค.ปญฺจิกา.)
บางท่านปรารถนาความมีที่ตั้งเสมอกันและความเป็น
วิเสสนะวิเสสยะในเนือ้ ความ บางท่านปรารถนาเรือ่ งนัน้ ในศัพท์.
ปุพฺพปรูภยมญฺปทตฺถปฺ-
ปธานาพฺยยีภาวสมาโส
กมฺมธารยกตปฺปุริสา เทฺว
ทฺวนฺโท จ พหุพฺพีหิ จ เยฺยา. (พาลาวตาร. ๕๕)
1 พหุลํ (โดยมาก) เป็นอธิการสูตรในคัมภีร์โมคคัลลานะ
85
อัพยยีภาวสมาส มีเนื้อความของบทหน้าเป็นประธาน,
กัมมธารยสมาส (รวมถึงทิคุสมาส) และตัปปุริสสมาส มีเนื้อ
ความของบทหลังเป็นประธาน,
ทวันทสมาส มีเนื้อความของบททั้งสองเป็นประธาน,
พหุพพีหิสมาส มีเนื้อความของบทอื่นเป็นประธาน.
นฺยาเส ปรสฺส ปุมฺภาโว ปุพฺพภาโว รูปสิทฺธิยํ
อุภยภาโว พฺยาขฺยาเน มชฺเฌวาโทว สุนฺทโร.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๕๐๓)
ความเป็นปุงลิงค์ของบทหลัง กล่าวไว้ ในนยาสปกรณ์,
ความเป็นปุงลิงค์ของบทหน้า กล่าวไว้ ในปทรูปสิทธิปกรณ์,
ความเป็ น ปุ ง ลิ ง ค์ ข องทั้ ง สองบท กล่ า วไว้ ในคั ม ภี ร ์ อั ต ถ-
พยาขยาน ความเห็นในท่ามกลางดีกว่าความเห็นอื่น.
อวตฺถาวโตวตฺถายา- ภูตสญฺญาย วตฺถุโน
ตายาวตฺถาย ภวนํ อภูตตพฺภาวํ วิทุํ.
(พาลาวตาร. ๖๖)
ผู้มีปัญญารู้ว่า ความมีอยู่ด้วยระยะกาลนั้นของสิ่งอัน
มีระยะกาลที่ ไม่เคยมีมาก่อนด้วยระยะกาลอื่น ชื่อว่า อภูต-
ตัพภาวะ.
สีหกุญฺชรสทฺทูลา- ที ตุ สมาสคา ปุเม.
(อภิธาน. ๖๙๖)
ศัพท์มี สีห กุญฺชร และสทฺทูล เป็นต้น ซึ่งอยู่ ในบทสมาส
[แสดงความหมายว่า ประเสริฐ] ย่อมเป็นไปในปุงลิงค์.
86
อุตฺตรสฺมึ ปเท พฺยคฺฆ- ปุงฺคโวสภกุญฺชรา
สีหสทฺทูลนาคาที ปุเม เสฏฺตฺถโคจรา.
(อมรโกษ. ๓/๒๑/๕๙)
พฺยคฺฆ, ปุงคฺ ว, อุสภ, กุญชฺ ร, สีห, สทฺทลู และ นาค เป็นต้น
ที่มีความหมายว่าประเสริฐ ในบทหลัง ย่อมเป็นไปในปุงลิงค์.
ยถากถญฺจิ พฺยุปฺปตฺติ รูฬฺหิยา อตฺถนิจฺฉโย
อิติ รูฬฺหิ ปสิทฺเธน พฺยุปฺปตฺติ เยน เกนจิ.
(เภทจินฺตา. ๑๗๑)
การตั้งชื่อ ย่อมมีตามความปรากฏชัด ส่วนรูปวิเคราะห์
ย่อมมี ได้ด้วยเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง ตามข้อความว่า “รูป
วิเคราะห์ยอ่ มมี ได้ดว้ ยเหตุอย่างใดอย่างหนึง่ แต่การตัดสินเนือ้
ความย่อมมีตามความปรากฏชัด”.
น นิเสโธ สโต ยุตฺโต เทสาทินิยมํ วินา
อสโต จาผโล ตสฺมา กถมพฺราหฺมโณติ เจ.
ถาม : การปฏิเสธสิ่งที่มีอยู่จริง โดยมิได้ก�ำหนดราย
ละเอียดมีสถานที่เป็นต้น ย่อมไม่สมควร และการปฏิเสธสิ่งที่
ไม่มีอยู่จริง ก็ ไม่มีประโยชน์ เพราะฉะนั้น บทว่า อพฺราหฺมโณ
เป็นสมาสได้อย่างไร ?.
นิเสธตฺถานุวาเทน ปฏิเสธวิธิ กฺวจิ
ปรสฺส มิจฺฉาาณตฺตา- ขฺยาปนาโยปปชฺชเต.
ตอบว่า มีวิธีปฏิเสธโดยการกล่าวตามเนื้อความของสิ่ง
ที่ถูกปฏิเสธในบางที่ เพื่อแสดงความเข้าใจผิดของบุคคลอื่นให้
87
ปรากฏ ย่อมสมควร.
ปสชฺชปฺปฏิเสธสฺส ลกฺขณํ วตฺถุนตฺถิตา
วตฺถุโต อญฺตฺร วุตฺติ ปริยุทาสลกฺขณํ.
ความไม่มแี ห่งวัตถุเป็นลักษณะของปสัชชปฏิเสธ ส่วนการ
กล่าวถึงวัตถุอื่นนอกเหนือจากวัตถุ[ที่ปรากฏ]เป็นลักษณะของ
ปริยุทาสะ.
อปฺปธานํ วิธิโน ยตฺร ปฏิเสเธ ปธานตา
ปสชฺชปฏิเสโธยํ กฺริยยา สห ยตฺร น.
(สาหิตฺยทรฺปณฏีกา. ๕๕๐)
ในการปฏิเสธใดมีความไม่เป็นประธานแห่งทัพพะ และมี
ความเป็นประธานในการปฏิเสธ การปฏิเสธนีช้ อื่ ว่า ปสัชชปฏิเสธ
อันมี น ศัพท์ประกอบร่วมกับกิริยา.
ปธานตฺตํ วิธิโน ยตฺร ปฏิเสเธปฺปธานตฺตา
ปริยุทาโส ส วิญฺเยฺโย ยตฺโรตฺตรปเทน น.
(สาหิตฺยทรฺปณฏีกา. ๕๕๑)
ในการปฏิเสธใดมีความเป็นประธานแห่งทัพพะ และมี
ความไม่เป็นประธานในการปฏิเสธ การปฏิเสธนั้นชื่อว่า ปริ-
ยุทาสปฏิเสธ อันมี น ศัพท์ประกอบร่วมกับบทหลัง.
วุทฺธิตพฺภาวสทิส- นิเสธญฺปฺปเก รเช1
นินฺทาวิรุทฺธวิรห- สุญฺเ อ ปทปูรเณ.
(เอกกฺขรโกส.)
1 รฺ อาคม (อช = พระวิษณุ)
88
อ (น) เป็นไปใน [๑๒] อรรถคือ เจริญ, อรรถของบทที่
ประกอบร่วมนั้น, เหมือน, ปฏิเสธ, อื่น, น้อย, พระวิษณุ, ต�ำหนิ,
ตรงกันข้าม, ปราศจาก, ว่างเปล่า และยังบทให้เต็ม.
ทิคุสมาส
ตทฺธิตตฺเถ สมาหาเร อุตฺตรสฺมึ ปเท ปเร
สมสฺยนฺเต ทิคุ ยตฺร สงฺขฺยาสงฺเขฺยยฺยวาจิภิ.
(กจฺ.สาร. ๖๔)
ในสมาสใด สังขยาศัพท์ย่อมถูกย่อเข้ากับศัพท์ที่แสดง
สังเขยยะ ในอรรถของตัทธิต ในสมาหารทิคุ และในเพราะบท
หลังที่เป็นประธาน สมาสนั้น ชื่อว่า ทิคุสมาส.
ตัปปุริสสมาส
ทุติยาทิปุพฺพา ฉธา เอโกว จ อมาทิโก
อลุตฺโต จ สมาโสติ เยฺโย ตปฺปุริโสฏฺธา.
(รูป.ฏี. ๓๖๐)
พึงทราบตัปปุริสสมาส ๘ อย่างคือ ทุติยาตัปปุริส
สมาสเป็นต้น ๖ อย่าง อมาทิปรตัปปุริสสมาส ๑ อย่าง และ
อลุตตสมาส.
อยญฺจ ตปฺปุริโส อภิเธยฺยวจนลิงฺโค.
อนึง่ ตัปปุรสิ สมาสนี้ มีพจน์และลิงค์เหมือนกับเนือ้ ความ
ที่ศัพท์สื่อถึง
89
คตาทิสทฺทา กิตนฺตตฺตา ติลิงฺคา.
ศัพท์ว่า คต เป็นต้นเป็นได้ ๓ ลิงค์ เพราะมีกิตกปัจจัย
เป็นที่สุด
ทุตยิ าตปฺปรุ ิโส คตนิสสฺ ติ าตีตาติกกฺ นฺตปฺปตฺตาปนฺนาทีหิ
ภวติ.
ทุติยาตัปปุริสสมาสย่อมเป็นไปกับศัพท์มี คต (ไป) นิสฺ
สิต (อาศัย) อตีต (ล่วง) อติกฺกนฺต (ข้ามพ้น) ปตฺต (ถึง) และ
อาปนฺน (ถึง) เป็นต้น
อุปปทสมาเส ปน วุตฺติเยว ตสฺส นิจฺจตฺตา.
แต่ ในสมาสที่มีอุปบท ย่อมเป็นสมาสอย่างเดียว เพราะ
สมาสนั้นเป็นนิจจสมาส
นตฺถิ นิจฺจสมาสมฺหิ วิคฺคโห วิคฺคโหติ เจ
อญฺปเทน กาตพฺโพ การสทฺโท น กตฺตริ.
(ปทวิจารคัณฐิ. ๑๓๑)
รูปวิเคราะห์ย่อมไม่มี ในนิจจสมาส[โดยเป็นรูปว่า กุมฺภํ
กาโร กุมฺภกาโร] ถ้าจะท�ำรูปวิเคราะห์ก็พึงท�ำด้วยบทอื่น การ
ศัพท์ย่อมไม่มี ในกัตตุสาธนะ.
ปุพฺพาปรานํ อตฺถุปลทฺธิยํ ปทํ.
เมื่อมีการได้รับอรรถของปกติและวิภัตติที่อยู่เบื้องหน้า
เเละเบื้องหลัง ศัพท์ชื่อว่า บท.
นาปทํ สตฺเถ ปยุชฺเชยฺย. (มุคฺธโพธฏี. ๒๘๐)
ไม่พึงประกอบศัพท์ที่ยังไม่เป็นบทไว้ ในคัมภีร์.
90
ลทฺเธ นาเม อวตฺถายา- นวตฺเถปฺยปุจาริโต
กมฺเม อสติ ณาภาวา นาปิ กาโรติ สิชฺฌนํ
กิตนฺโตเยว เตเนว กมฺมกาโรติ อาทิสุ.
(รูป.คัณฐิ. ๗๓๗)
เมือ่ ชือ่ ปรากฏด้วยระยะกาลแล้ว ศัพท์ยอ่ มกล่าวไว้แม้ ใน
เวลาอื่นที่ปราศจากระยะกาล อีกทั้งรูปส�ำเร็จว่า กาโร ก็มี ไม่
ได้ เพราะลง ณ ปัจจัยไม่ ได้เมื่อไม่มีบทกรรม[อยู่หน้า] ดังนั้น
จึงกระท�ำกิตันตสมาสในอุทาหรณ์ว่า กมฺมกาโร เป็นต้น.
อวตฺถํ ภูมิคตขฺยาตํ ปฏิจฺจาวตฺถวา นโร
วากฺเยน วา สมาเสน วุตฺโต เนวานวตฺถวา
กิตนฺโต น กโต เตน ภูมิคโตติ อาทิสุ.
(รูป.คัณฐิ. ๗๓๖)
ชนผู้มีระยะกาลอาศัยระยะกาลคือการไปสู่แผ่นดินเเล้ว
ย่อมกล่าวไว้ด้วยประโยคหรือสมาส ชนผู้ ไม่มีระยะกาลไม่ควร
กล่าวไว้[อย่างนั้น] ดังนั้น จึงไม่ท�ำกิตันตสมาสในอุทาหรณ์ว่า
ภูมิคโต เป็นต้น.
ตวนฺตุมานนฺตาทิกิตนฺเตหิ วากฺยเมว ววตฺถิตวิภาสา-
ธิการโต อนภิธานโต วา.
[บทที่ประกอบ]กับบทที่มีกิตกปัจจัยมี ตวนฺตุ, มาน และ
อนฺต ปัจจัยเป็นต้นเป็นที่สุด เป็นได้เพียงวากยะเท่านั้น (เป็น
สมาสไม่ ได้) เพราะการตามมาของ วิภาสา ศัพท์ที่เป็นววัตถิต
91
วิภาสา หรือเพราะไม่ ใช่ชื่อ (นามศัพท์)
1

อภิธานลกฺขณา หิ ตทฺธิตสมาสกิตกา.
ความจริง บทตัทธิต บทสมาส และบทกิตก์ มีลักษณะ
เป็นชื่อ (นามศัพท์)
ตติ ย า กิ ต ก-ปุ พฺ พ -สทิ ส -สมู น ตฺ ถ -กลห-นิ ปุ ณ -มิ สฺ ส -
สขิลาทีหิ.
ตติยาตัปปุริสสมาสย่อมเป็นไปกับศัพท์มีบทกิตก์ ปุพฺพ
(ก่อน) สทิส (เหมือน) ศัพท์ที่มีอรรถ สม (เสมอ) อูน (หย่อน)
กลห (วิวาท) นิปุณ (ละเอียดอ่อน) มิสฺส (ระคน) และ สขิล
(อ่อนหวาน) เป็นต้น
จตุตฺถี ตทตฺถ-อตฺถ-หิต-เทยฺยาทีหิ.
จตุตถีตัปปุริสสมาสย่อมเป็นไปกับศัพท์ที่เป็น ตทตฺถ
(ประโยชน์เพื่อสิ่งนั้น) อตฺถ (ประโยชน์) หิต (เกื้อกูล) และ
เทยฺย (พึงให้) เป็นต้น
ปญฺจมี อปคมน-ภย-วิรติ-โมจนตฺถาทีหิ.
ปัญจมีตปั ปุรสิ สมาสย่อมเป็นไปกับศัพท์มี อปคมน (หลีก
ไป) ภย (กลัว) วิรติ (งดเว้น) และ โมจน (พ้น) เป็นต้น
ทฺรวาจาเรสุ วีริเย มธุราทีสุ ปารเท
สิงฺคาราโท ธาตุเภเท กิจฺเจ สมฺปตฺติยํ รโส.
(อภิธาน. ๘๐๔)
1 อีกนัยหนึ่ง แปลว่า “หรือเพราะไม่มีอุทาหรณ์[ในพระบาฬี]”
92
รส ศัพท์ ใช้ ในความหมายว่า ของเหลว (น�้ำ), ความ
ประพฤติ, ความเพียร, รสมีรสหวานเป็นต้น, ปรอท, รสมีรส
รักเป็นต้น, ธาตุชนิดหนึ่ง, หน้าที่ และความบริบูรณ์.
สาเปกฺขตฺตา สมาสสฺสา- ภาเวปิ คมเก สติ
วากฺเย วิย สมาเสปิ ภวตฺเยว สมาสตา.
(เภทจินตฺ า. ๒๔๓)
[ในอุทาหรณ์ว่า เทวทตฺตสฺส คุรุกุลํ (ตระกูลครูของ
เทวทัต)] เเม้ ไม่มีความเป็นสมาสเพราะมีการมองหา[บทอื่น]
แต่มีความเป็นสมาส เมื่อมีการแสดงให้รู้[เนื้อความ]ได้แม้ ใน
สมาสเหมือนในวากยะ
กฺวจิ ตปฺปุริเส ปภงฺกราทีสุ วิภตฺติโลโป น ภวติ.
ในตัปปุริสสมาส มีการไม่ลบวิภัตติในบางที่ ในอุทาหรณ์
ว่า ปภงฺกร เป็นต้น

พหุพพีหิสมาส
โส (พหุพฺพีหิสมาโส) จ นววิโธ ทฺวิปโท ตุลฺยาธิกรโณ,
ทฺวิปโท ภินฺนาธิกรโณ, ติปโท, นนิปาตปุพฺพปโท, สหปุพฺพปโท,
อุ ป มานปุ พฺ พ ปโท, สงฺ ขฺ โ ยภยปุ พฺ พ ปโท, ทิ ส นฺ ต ราฬตฺ โ ถ,
พฺยติหารลกฺขโณ จ.
พหุพพีหิสมาส มี ๙ อย่าง คือ
๑) ทวิปทตุลยาธิกรณะ มี ๒ บทและมีเนื้อความเสมอกัน
93
๒) ทวิปทภินนาธิกรณะ มี ๒ บทและมีเนื้อความต่างกัน
๓) ติปทะ มี ๓ บท
๔) นนิปาตบุพพบท มี น นิบาตเป็นบทหน้า
๕) สหบุพพบท มี สห ศัพท์เป็นบทหน้า
๖) อุปมานบุพพบท มีอุปมานะเป็นบทหน้า
๗) สังขโยภยบท มีบททั้งสองเป็นสังขยา
๘) ทิสันตราฬัตถะ มีอรรถของทิศเฉียง
๙) พยติหารลักขณะ มีลักษณะกระท�ำซึ่งกันและกัน.
คุโณ วิเสสนํ เภโท วิเสโส อนุวาทโก
อปฺปธานมุปาโย จ สกตฺโถติ จิเม สมา.
คุณี วิเสสิตพฺพญฺจ เภทฺยํ สามญฺวิธโย
ปธานญฺจ อุเปยฺโย จ ทพฺพํ เยฺยา สมานตา.
(กจฺ.สาร.นวฏี. ๘)
พึงทราบศัพท์ที่เสมอกัน(ใช้คู่กัน) ดังนี้
คุณ คุณี
วิเสสน วิเสสิตพฺพ (วิเสสย)
เภท เภทฺย
วิเสส สามญฺ
อนุวาท วิธิ
อปฺปธาน ปธาน
อุปาย อุเปยฺย
สกตฺถ ทพฺพ
94
านาาเนสุ โกสลฺลํ กมฺมปาโก ปตีปทา
ธาตุ จาธิมุตฺตินฺทฺริย- ปริยตฺติปโร ตถา.
ปุพฺเพนิวาโส จ สมา- ปตฺติ เจวาสวกฺขโย
จุตูปปาตาณฺจ นเม ทสพลํ ชินํ.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๓๕๒)
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าผู้ทรงก�ำลัง ๑๐ คือ
๑) ความฉลาดในฐานะที่ควรและไม่ควร
๒) วิบากของกรรม
๓) ข้อปฏิบัติ
๔) ธาตุ
๕) ความน้อมใจ
๖) ความยิ่งและหย่อนแห่งอินทรีย์
๗) ความเป็นอยู่ ในภพก่อน
๘) สมาบัติ
๙) การสิ้นอาสวะ
๑๐) ปัญญารู้เห็นจุติและปฏิสนธิ
กึสทฺทสฺส สมาสมฺหิ สทฺธึ นามรเวน เว
กินฺนาโม อิติ โกนาโม อิติ เจวํ คติ ทฺวิธา.
(นีติ.ปท. ๔๖๔)
ในการเชื่อม กึ ศัพท์กับบทนาม มีคติ ๒ ประการอย่างนี้
คือ กินฺนาโม และโกนาโม.
95
ยถาวิวจฺฉเมวายํ สพฺพา สทฺทตฺถสณฺิติ
สิทฺธลกฺขฺยานุสาเรน วิวจฺฉาปฺยนุคมฺยเต.
(กจฺ.สาร. ๓๒)
การด�ำรงอยู่แห่งศัพท์และความหมายทั้งหมดนี้ ย่อม
มี โดยคล้อยตามความประสงค์ของผู้กล่าวทีเดียว แม้ความ
ประสงค์ของผู้กล่าว ก็พึงทราบได้ตามอุทาหรณ์ที่ปรากฏ
เอโกเยว หิ โย สทฺโท ตีสุ ลิงฺเคสุ วตฺตเต
เอกเมวตฺถมาขฺยาติ โส ภาสิตปุมา ภเว.
(พา.นวฏี. ๑๗๓)
โดยแท้จริงแล้ว ศัพท์ ใดเพียงศัพท์เดียว ย่อมเป็นไปใน
ไตรลิงค์ ย่อมกล่าวเนื้อความอย่างเดียว ศัพท์นั้นชื่อว่า ศัพท์ที่
เคยกล่าวปุงลิงค์มาก่อน.
ทีฆตฺตํ ปากฏานูป- ฆาตาโท มธุวาทิสุ
รสฺสตฺตํ อชฺชเว อิตฺถิ- รูปาโท จ กตาทิสุ.
ความเป็ น ที ฆ ะย่ อ มมี ใ นอุ ท าหรณ์ เ ป็ น ต้ น ว่ า ปากฏ
(ปรากฏ), อนูปฆาต (การไม่เบียดเบียน) และ มธุวา (เหมือน
น�้ำผึ้ง)
ความเป็นรัสสะย่อมมี ในอุทาหรณ์วา่ อชฺชว (ความซือ่ ตรง),
อิตฺถิรูป (รูปหญิง) เป็นต้น และในอุทาหรณ์ที่รัสสะในเพราะ
ก ปัจจัยและ ตา ปัจจัยเป็นต้น.
96
พหุพฺพีหิสมาเส สติ ปุลฺลิงฺเค อุตฺตรปทนฺตสฺส รสฺสตฺตํ.
เมื่อมีความเป็นปุงลิงค์ ในพหุพพีหิสมาส ท�ำรัสสะสระ
ท้ายของบทหลัง
นทีติ เจตฺถ อิตฺถิวาจกานํ อีการูการานํ ปรสมญฺา.
อนึ่ง บทว่า นที นี้เป็นชื่อที่มาจากคัมภีร์สันสกฤตของ อี,
อู อักษรซึ่งแสดงความเป็นอิตถีลิงค์
ยู ถิยาขฺยา นที <ปาณินี. ๑/๔/๓>
อี, อู ที่กล่าวอิตถีลิงค์ ชื่อว่า นที
อุปมาโนปเมยฺยภาวปฺปสิทฺธตฺถํ อิวสทฺทปฺปโยโค.
มีการประกอบ อิว ศัพท์เพือ่ ให้ปรากฏความเป็นอุปมานะ
และอุปไมย
วิสฺสฏฺ มญฺชุ วิญฺเยฺยา สวณียาวิสาริโน
พินฺทุ คมฺภีร นินฺนาที ตฺเยวมฏฺงฺคิโก สโร.
(อภิธาน. ๑๒๙)
เสียง[ของพระพุทธเจ้าและพรหม]มีองค์ ๘ คือ สละสลวย,
ไพเราะ, ชัดเจน, เสนาะโสต, ไม่เครือพร่า, กลมกล่อม, ลึก และ
มีกังวาล.
พฺยติหาเร สมาสนฺเต จิปจฺจโย ปวตฺตติ
ปุพฺโพ ที โฆ อา วา โหติ โน เจ โหติ ปโร สโร.
(รูป.นิสสัยใหม่. ๓๕๖)
จิ ปัจจัยย่อมเป็นไปท้ายสมาสในพยติหารลักขณสมาส
97
ถ้าอักษรหลังมิ ได้เป็นสระ สระหน้าย่อมเป็นทีฆะหรือแปลง
เป็น อา ได้บ้าง.
ทวันทสมาส
สมุจฺจยโชตนตฺถํ จสทฺทปฺปโยโค.
การประกอบ จ ศัพท์ก็เพื่อแสดงการรวบรวม
สทฺโท าปกเหตุ, อตฺโถ าเปตพฺพผลํ.
(กจฺ.คูฬหตฺถทีปปนี. ๑๗)
ศัพท์เป็นเหตุแสดงให้ร,ู้ เนือ้ ความเป็นผลทีบ่ คุ คลพึงแสดงให้ร.ู้
เกวโล อนฺวาจโย จ สมาหาเรตเรตโร
โยโคติ จตุโร ทฺวนฺทา น สมาโส ปุเร ทุโก.
(กจฺ.ทีปนี. ๓๒๙)
การเชื่อมเข้าด้วยกันมี ๔ อย่าง คือ เกวลสมุจจยะ,
อันวาจยะ, อิตรีตรโยคะ และสมาหาระ การเชื่อม ๒ อย่าง
แรกไม่เข้าสมาส.
อิธ ทฺวนฺเท อจฺจิตตรํ ปุพฺพํ นิปตติ, ปรสฺเสว ลิงฺคญฺจ.
ในทวัทสมาสนี้ บทที่ควรเคารพนับถือมากกว่าย่อมวาง
ไว้ข้างหน้า และมีลิงค์ตามบทหลังเท่านั้น
อิตรีตรโยคสฺส อวยวปฺปธานตฺตา สพฺพตฺถ พหุวจนเมว.
เป็นพหูพจน์ ในทุกที่เพราะอิตรีตรโยคะมีแต่ละส่วนเป็น
ประธาน
98
อุทฺทิฏฺวิสโย โกจิ วิเสโส ตาทิโส ยทิ
อนุทฺทิฏฺเสุ เนวตฺถิ โทโส กมวิลงฺฆเน.
(อลงฺการ. ๑๐๑)
ถ้ากรณีพิเศษอย่างใดอย่างหนึ่งอันมีหัวข้อเป็นวิสัยเช่น
นั้น พึงมี ในค�ำขยายภายหลัง ก็ ไม่มี โทษในการข้ามล�ำดับ.
ยตฺร พหุวจนนฺโตว โส ทฺวนฺโท อิตเรตโร
สมาหาโร ส วิฺเยฺโย ยตฺเรกตฺตนปุํสกํ.
(กจฺ.สาร.นวฏี. ๖๘)
ทวันทสมาสที่มีพหูพจน์อยู่ท้ายชื่อว่า อิตรีตรโยคะ ส่วน
ทวันทสมาสทีเ่ ป็นเอกพจน์และนปุงสกลิงค์ พึงทราบว่าเป็นสมา
หาระ
ทฺวนฺทโต ปรํ ยํ สุยฺยมานํ ตํ ปจฺเจกมภิสมฺพชฺฌเต.
(รูป.ฏี. ๓๕๙)
ศั พ ท์ ที่ ได้ ยิ น หลั ง ทวั น ทสมาสบท ย่ อ มถู ก ประกอบ
ทุกๆ บท
หตฺถี ทฺวาทส โปโส ติ- ปุริโส ตุรโค รโถ
จตุโปโสติ เอเตน ลกฺขเณนาธมนฺตโต.
หตฺถานีกํ หยานีกํ รถานีกํ ตโย ตโย
คชาทโย สสตฺถา ตุ ปตฺตานีกํ จตุชฺชนา.
(อภิธาน. ๓๘๒-๓)
กองช้างเป็นต้นอย่างละสามคือ กองช้าง กองม้า กองรถ
99
ตามลักษณะอย่างต�่ำดังนีว้ า่ ช้างเชือกหนึง่ มีทหาร ๑๒ นาย ม้า
ตัวหนึ่งมีทหาร ๓ นาย รถคันหนึ่งมีทหาร ๔ นาย ส่วนทหาร
๔ นายมีอาวุธ ชื่อว่า กองทหารราบ.
ขุทฺทชนฺตุ สิยา นฏฺิ อถ วา ขุทฺทโกว โย
สตํ วา ปสเต เยสํ เกจิ อานกุลา อิติ.
(โมค.ปญฺจกิ า.ฏี. ๓/๑๙)
[ขุททชันตุ (สัตว์ตัวเล็กๆ) มีความหมาย ๔ นัย คือ]
๑) สัตว์ที่ ไม่มีกระดูก
๒) สัตว์ที่ตัวเล็กมาก[จนเกือบมองไม่เห็น]
๓) สัตว์ร้อยตัวที่อยู่ ในอุ้งมือได้
๔) สัตว์ตัวเล็กๆ จนถึงพังพอน
สมลิงฺครูปานํ ภิินฺนลิงฺคตฺถานํ ทฺวนฺเทปิ เอกตฺตํ, โน
นปุํสกตฺตํ. (พา.นวฏี. ๑๘๑)
แม้ ในทวันทสมาสของศัพท์ที่มีลิงค์เหมือนกันแต่มีเนื้อ
ความของลิงค์ต่างกัน มีแต่ความเป็นเอกพจน์ ไม่มีความเป็นน
ปุงสกลิงค์ (เช่น ปุตตฺ ทาโร แม้จะเป็นปุงลิงค์เหมือนกัน แต่ตา่ ง
กันที่เพศ)
สมาหารทฺวนฺเทปิ หิ ปุลฺลิงฺคํ กตฺถจิ สทฺทวิทู อิจฺฉนฺติ.
(วิภาวินี. ๑๙๙)
โดยแท้จริงแล้ว ผู้รู้ ไวยากรณ์ทั้งหลายย่อมปรารถนา
ปุงลิงค์ ในบางแห่งแม้ ในสมาหารทวันทสมาส.
100
สงฺขฺยาทฺวนฺเท อปฺปสงฺขฺยา ปุพฺพํ นิปตติ.
ในสังขยาทวันทสมาส จ�ำนวนน้อยย่อมวางไว้เป็นบทหน้า
จมฺปกมฺพาทิกุสุม- ผลนามํ นปุํสเก
มลฺลิกาที ตุ กุสุเม สลิงฺคา วีหโย ผเล.
(อภิธาน. ๕๔๖)
ชือ่ ของดอกไม้และผลไม้มี จมฺปก (จ�ำปา), อมฺพ (มะม่วง)
เป็นต้นเป็นไปในนปุงสกลิงค์ [ถ้าหมายถึงต้นไม้ เป็นปุงลิงค์] ส่วน
มลฺลิกา (มะลิ) เป็นต้น ซึ่งเป็นไปในดอกไม้ และศัพท์แสดง
ธัญญพืชที่เป็นไปในผล เป็นศัพท์มีลิงค์เป็นของตน [คือใช้ ได้
ทั้ง ๓ ลิงค์]
ปุมฺพหุตฺเต กุรู สกฺกา โกสลา มคธา สิวี
กลิงฺคาวนฺติ ปญฺจาลา วชฺชี คนฺธารเจตโย.
วงฺคา วิเทหา กมฺโพชา มทฺทา ภคฺคงฺคสีหฬา
กสฺมีรา กาสิ ปณฺฑวาที สิยุํ ชนปทนฺตรา.
(อภิธาน. ๑๘๔-๕)
แคว้นที่มีชื่อเฉพาะชึ่งเป็นไปในปุงลิงค์ พหูพจน์ คือ กุรุ
สักกะ โกศล มคธ สิวี กลิงคะ อวันตี ปัญจาละ วัชชี คันธาระ
เจตี วังคะ วิเทหะ กัมโพชะ มัททะ ภัคคะ อังคะ สีหฬะ
กัสมีระ กาสี และปัณฑวะ เป็นต้น.
อจฺจิตปฺปสรํ ปุพฺพํ อิวณฺณุวณฺณกํ กฺวจิ
ทฺวนฺเท สราทฺยการนฺตํ พหูสฺวนิยโม ภเว.
101
ในทวันทสมาส บททีค่ วรเคารพนับถือและบททีม่ ีพยางค์
น้อยย่อมเป็นบทหน้า,บททีม่ ี อิวณ ั ณะและอุวณ ั ณะ[ลงท้าย] ย่อม
เป็นบทหน้า,บททีม่ สี ระอยูต่ น้ และมี อ อักษรอยูท่ า้ ยย่อมเป็นบท
หน้าในบางที่ แต่ความไม่แน่นอน ย่อมมี ในสมาสทีม่ ศี พั ท์หลาย
ศัพท์.
อจฺจิตปฺปสรํ ปุพฺพํ อิวณฺณุวณฺณนฺตํ กฺวจิ
ทฺวนฺเท สฺราทฺยการนฺต- มปฺปสงฺขฺยา ปุเร คตา
เอโส ปททฺวเย วุตฺโต พฺหูสฺวนิยโม ภเว.
(กจฺ.สารนวฏี. ๖๘)
ในทวันทสมาส บทที่ควรวางไว้ข้างหน้า มีดังนี้คือ :-
๑) บทที่ควรเคารพนับถือ
๒) บทที่มีพยางค์น้อย
๓) บทที่มี อิวัณณะและอุวัณณะลงท้าย
๔) บทที่มีสระอยู่ต้นและมี อ อักษรอยู่ท้าย
๕) สังขยาที่มีจ�ำนวนน้อย
กฏนี้กล่าวไว้ ในบทสองบท แต่ ในสมาสที่มีศัพท์หลาย
ศัพท์นั้น ไม่แน่นอน
ปุพฺพุตฺตรุภยญฺตฺถปฺ- ปธานตฺตา จตุพฺพิโธ
สมาโสยํ ทิคุกมฺม- ธารเยหิ จ ฉพฺพิโธ.
สมาสนี้มี ๔ อย่าง คือ
๑. ปุพพปทัตถปธาน มีเนือ้ ความของบทหน้าเป็นประธาน
(อัพยยีภาวะ)
102
๒. อุตตรปทัตถปธาน มีเนือ้ ความของบทหลังเป็นประธาน
(ตัปปุริสะ)
๓. อุภยปทัตถปธาน มีเนื้อความของบททั้งสองเป็นประธาน
(ทวันทะ)
๔. อัญญปทัตถปธาน มีเนื้อความของบทอื่นเป็นประธาน
(พหุพพีหิ)
หรือมี ๖ อย่าง โดยเพิ่มทิคุสมาสและกัมมธารยสมาส
ทุวิโธ อพฺยยีภาโว นวธา กมฺมธารโย
ทิคุ ทุธา ตปฺปุริโส อฏฺธา นวธา ภเว
พหุพฺพีหิ ทฺวิธา ทฺวนฺโท สมาโส จตุรฏฺธา.1
อัพยยีภาวสมาส มี ๒ อย่าง, กัมมธารยสมาส มี ๙
อย่าง, ทิคุสมาส มี ๒ อย่าง, ตัปปุริสสมาส มี ๘ อย่าง,
พหุพพีหิสมาส มี ๙ อย่าง, ทวันทสมาส มี ๒ อย่าง สมาสมี
๓๒ อย่าง โดยประการฉะนี้.

1 เป็นคุณิตสังขยา(สังขยาคูณ)
103
ตัทธิตกัณฑ์
อปัจจตัทธิต
สิกฺกาย ธาริโต ภาโร ยถา กาเชน ธาริโต
ทฺวินฺเนวํ วจนตฺถาย วากฺยมชฺเฌ ภวนฺติ เต.
(กจฺ.เภท. ๑๔๐)
ภาระทีถ่ กู สาเเหรกทรงไว้ ย่อมเป็นอันถูกหาบทรงไว้ ฉันใด
ตัทธิตปัจจัยเหล่านัน้ ย่อมลงในท่ามกลางประโยค เพือ่ ประโยชน์
แก่การกล่าวอรรถทั้ง ๒ อย่าง ฉันนั้น.
วสิฏฺสฺส อปจฺจนฺติ ฉฏฺยนฺตา ณาทโยภยํ
ชาตา ปมโตปจฺจ- เตกํ คณฺหนฺติ โนภยํ.
(เภทจินฺตา. ๒๖๗)
ตัทธิตปัจจัยมี ณ เป็นต้น ย่อมลงในอรรถว่า “บุตรของ
วสิฏฐะ” ท้ายบทแรกที่ลงฉัฏฐีวิภัตติเป็นที่สุด ย่อมถือเอาอรรถ
๒ อย่าง(คืออรรถฉัฏฐีวภิ ตั ติของ วสิฏฺ สฺส และอรรถว่า อปจฺจ)
ถ้าลงหลังจาก อปจฺจ ศัพท์ยอ่ มถือเอาอรรถเดียว ไม่อาจถือเอา
อรรถทั้ง ๒ ได้.
สงฺเกโตนวยโวนุพนฺโธ. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
ศัพท์ที่เป็นเครื่องหมายให้รู้ซึ่งมิใช่ส่วนหนึ่ง ชื่อว่า อนุพันธ์.
เนน นิทฺทิฏฺมนิจฺจํ. (ปริภาเษนฺทุเสขร.)
วิธีที่แสดงไว้ด้วย น ปฏิเสธไม่เเน่นอน.
104
วาสิฏฺาทีสุ นิจฺจายํ อนิจฺโจฬุมฺปิกาทิสุ
น วุทฺธิ นีลปีตาโท ววตฺถิตวิภาสโต.
การพฤทธิ์มีแน่นอนใน วาสิฏฺ เป็นต้น, ไม่แน่นอนใน
โอฬุมฺปิก เป็นต้น, ไม่มีการพฤทธิ์ ใน นีล และ ปีต เป็นต้น
เพราะ[วาศัพท์ ในสูตร วุทฺธาทิสรสฺส วาสํ โยคนฺตสฺส สเณ จ]
เป็นววัตถิตวิภาสา.
ยถา หิ กตวุทฺธีนํ ปุน วุทฺธิ น โหติห
ตถา สภาววุทฺธีนํ อาโยนํ ปุน วุทฺธิ น.
จริงอยู่ ในการพฤทธิ์นี้ ไม่มีการพฤทธิ์แห่งสระที่พฤทธิ์
แล้ว ฉันใด การพฤทธิ์แห่ง อา เอ และ โอที่เป็นพฤทธิ์ โดย
สภาพ ก็ ไม่มีอีก ฉันนั้น.
สพฺพตฺถ ณการานุพนฺโธ วุทฺธตฺโถ.
ณ อักษรอนุพนั ธ์ ในอุทาหรณ์ทงั้ ปวง มีประโยชน์คอื การพฤทธิ.์
สังสัฏฐาทิอเนกัตถตัทธิต
“าเน” ติ วจนา เจตฺถ ยูนมาเทสภูตโต
ยเวหิ ปุพฺเพว เอโอ- วุทฺธิโย โหนฺติ อาคมา.
ส�ำหรับในสูตร มายูนมาคโม าเน นี้ มีการลง เอ โอ พฤทธิ์
อาคมในที่ข้างหน้าเท่านั้น หลังจาก ย และ ว อักษรที่เป็นตัว
อาเทศแห่ง อิ และ อุ เพราะการกล่าวว่า าเน.
ตทาเทสา ตทิว ภวนฺติ. (ปริภาสา)
อาเทศของศัพท์เดิมนั้น ย่อมเป็นเหมือนศัพท์เดิมนั้น.
105
หโต พทฺโธสฺส อาพาโธ อาวุธํ ปริมาณกํ
กี โต ราสิ อรหติ สทฺโธ สนฺตา ทิพฺพติ
อิติ อตฺถา จ เอตฺเถว อาทิสทฺเทน คยฺหเร.
(กจฺ.สงฺเขป.)
ด้วย อาทิ ศัพท์ย่อมถือเอาอรรถเหล่านี้ ในสูตร [เตน
กตาทิ เป็นต้น]นี้อีกด้วย คือ อรรถหต, พทฺธ, อสฺส อาพาธ
ฯลฯ ทิพฺพติ.
านาธิการโต อาตฺตํ อิสูสภอุชาทินํ
อิสิสฺส ตุ ริการาค- โม จาตฺตานนฺตเร ภเว.
เพราะการตามมาของ าน ศัพท์ แปลง อิ ของ อิสิ และ
อุ ของ อุสภ, อุชุ เป็นต้นเป็น อา, ลง ริ อาคมในที่ถัดจากความ
เป็น อา ของ อิสิศัพท์.
ชนปทนาเมสุ ปน สพฺพตฺถ พหุวจนเมว ภวติ.
ส่วนในศัพท์ที่เป็นชื่อของชนบททั้งหลาย เป็นพหุพจน์
เท่านั้น ในวิภัตติทั้งปวง. (ดู อภิธาน. คาถา ๑๘๔-๕)
จิตฺโต เวสาโข เชฏฺโ จา- สาฬฺโห ทฺวีสุ จ สาวโณ
โปฏฺปาทสฺสยุชา จ มาสา ทฺวาทส กตฺติโก
มาคสิโร ตถา ผุสฺโส กเมน มาฆผคฺคุณา
กตฺติกสฺสยุชา มาสา ปจฺฉิมปุพฺพกตฺติกา.
(อภิธาน. ๗๕-๖)
106
เดือน ๑๒
จิตตะ เดือน ๕ เมษายน เมส แพะ
เวสาขะ เดือน ๖ พฤษภาคม อุสภ โค
เชฏฐะ เดือน ๗ มิถุนายน มิถุน คูห่ ญิงชาย
อาสาฬหะ เดือน ๘ กรกฎาคม กกฺกฏ ปู
สาวณะ เดือน ๙ สิงหาคม สีห ราชสีห์
โปฏฐปาทะ เดือน ๑๐ กันยายน กญฺา หญิงสาว
อัสสยุชะ เดือน ๑๑ ตุลาคม ตุลา ตราชั่ง
กัตติกะ เดือน ๑๒ พฤศจิกายน วิจฺฉิก แมงป่อง
มาคสิระ เดือน ๑ ธันวาคม ธนุ ธนู
ผุสสะ เดือน ๒ มกราคม มกร มังกร
มาฆะ เดือน ๓ กุมภาพันธ์ กุมฺภ หม้อ
ผัคคุนะ เดือน ๔ มีนาคม มีน ปลา
จคฺคหเณน ตตฺถ ชาโต, ตตฺถ วสติ, ตสฺส หิตํ, ตํ อรหตีติ
อาทีสุ เณยฺยปฺปจฺจโย.
ด้วย จ ศัพท์[ในสูตร ณ ราคา เตน ฯ] ลง เณยฺย ปัจจัย
ในอรรถเกิดในที่นั้น, อยู่ ในที่นั้น, เกื้อกูลแก่สิ่งนั้น และย่อมควร
ซึ่งสิ่งนั้น เป็นต้น.
อาทิคฺคหเณน ตตฺถ นิยุตฺโต, ตทสฺส อตฺถิ, ตตฺถ ภโวติ
อาทีสฺวปิ อิม-อิยปฺปจฺจยา โหนฺติ.
107
ด้วย อาทิ ศัพท์[ในสูตร ชาตาทีนมิมิยา จ] ลง อิม และ
อิย ปัจจัยในอรรถ ประกอบแล้วในทีน่ นั้ , สิง่ นัน้ มีอยู่ ในทีน่ นั้ และ
มี ในสิ่งนั้นเป็นต้น.
จคฺคหเณน อิกปฺปจฺจโย จ.
ด้วย จ ศัพท์ [ในสูตร ชาตาทีนมิมิยา จ] ลง อิก ปัจจัย บ้าง.
จสทฺทคฺคหเณน กิย-ย-ณฺยปฺปจฺจยา จ.
ด้วย จ ศัพท์ [ในสูตร ชาตาทีนมิมิยา จ] ลง กิย,ย,ณฺย
ปัจจัย บ้าง.
สกตฺถิกา ลิงฺควจนานิ อติวตฺตนฺติ. (ปริภาสา)
ศัพท์ที่ลงสกัตถปัจจัย ย่อมล่วงพ้นลิงค์และพจน์ของตน.
“ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฌ ฺ นฺต”ี ติ อิมนิ า ปฏิภาค-กุจฉฺ ติ -
สญฺานุกมฺปาทิอตฺเถสุ กปฺปจฺจโย.
ลง ก ปัจจัย ในอรรถเหมือน, น่าเกลียด, ชื่อ และความ
เอ็นดู เป็นต้น ด้วยสูตรว่า ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฺฌนฺติ.
อจฺจาสุ ปูชารหาสุ จิตฺตกมฺมธเชสุ จ
อิเว ปฏิภาเค โลโป กสฺส เทฺวปถาทิสุ.
(กาศิกา.)
การลบ ก ย่อมมี ในอรรถรูปเหมือน อันสมควรต่อการ
บูชา อรรถรูปปั้นและธง อรรถของ อิว ศัพท์อันมีอรรถเหมือน
และใน เทฺวปถ เป็นต้น.
ตถา กึยเตโต ปริมาณตฺเถ ตฺตก-วนฺตปุ ฺปจฺจยา.
108
ลง ตฺตก และ วนฺตุปัจจัย หลังจาก กึ ย ต และ เอตศัพท์
ในอรรถปริมาณ ด้วยสูตรว่า ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฺฌนฺติ.
วาจาสิลิฏฺตฺถํ อนฺตคตาทีนิ ปตนฺติ ปทนฺเต.
(นีติ.สุตฺต. ๑๘๕)
ศัพท์มี อนฺต และ คต เป็นต้นย่อมตกไปในที่สุดของบท
เพื่อความสละสลวยแห่งถ้อยค�ำ.
สจฺฉนฺทโต วจนปวตฺติ. (ปริภาสา.)
ความเป็นไปของศัพท์ ย่อมมี ได้ตามความปรารถนาของตน.
ภาวตัทธิต
ยคฺคุณสฺส สพฺภาเวน ทพฺเพ สทฺโท ปวตฺตติ
สติ ตพฺพจเน ภาว- ปจฺจโย สมุทีริโต.
(ปทวิจารคัณฐิ.)
ศั พ ท์ ย ่ อ มเป็ น ไป(คื อ เกิ ด ขึ้ น )ในทั พ พะ เพราะความ
ปรากฏแห่งสภาพใด เมื่อมีการกล่าวถึงสภาพนั้น ภาวปัจจัย
ย่อมถูกกล่าวไว้ (=ถูกลง).
เยน เยน นิมิตฺเตน พุทฺธิ สทฺโท จ วตฺตเต
ตํ ตํ นิมิตฺตกํ ภาว- ปจฺจเยน มุทีริตํ.
(สทฺทวุตฺติ.)
ความเข้าใจและศัพท์ย่อมเป็นไปด้วยเหตุใดๆ เหตุนั้นๆ
ท่านกล่าวไว้ด้วยภาวปัจจัย.
109
โหนฺตฺยสฺมา สทฺทาณานิ ภาโว โส สทฺทวุติยา
นิมิตฺตภูตํ นามญฺจ ชาติ ทพฺพํ กฺริยา คุโณ.
(พาลาวตาร. ๖๔)
ศัพท์และความเข้าใจ ย่อมเกิดขึ้นจากธรรมนี้ เหตุนั้น
ธรรมนัน้ ชือ่ ว่า ภาวะ, ภาวะนัน้ หมายถึง ชือ่ ชาติ ทัพพะ กิรยิ า
และคุณลักษณะ ซึ่งเป็นเหตุเกิดแห่งความเป็นไปของศัพท์.
ณฺย-ตฺต-ตฺตนนฺตานํ นิจฺจํ นปุํสกตฺตํ, ตาปจฺจยนฺตสฺส
สภาวโต นิจฺจมิตฺถิลิงฺคตา.
บทที่ลงท้ายด้วย ณฺย, ตฺต และ ตฺตนปัจจัย เป็นนปุงสก-
ลิงค์ แน่นอน, บททีล่ งท้ายด้วย ตา ปัจจัย เป็นอิตถีลงิ ค์ แน่นอน
โดยสภาพ.
วิเสสตัทธิต
เยภุยฺเยน ตรตมาทโย ปจฺจยา คุณสทฺทโต ปรา โหติ.
(นีติ.สุตฺต. ๒๙๐)
ตร, ตม ปัจจัยเป็นต้น ย่อมลงหลังจากคุณศัพท์ โดยมาก.
กนิฏฺโ กนิ โย ตีสุ อตฺยปฺเปติยุเวปฺยถ.
(อภิธาน. ๙๒๙)
กนิฏฺ และ กนิย ศัพท์ ในลิงค์ทั้ง ๓ มีอรรถ ๒ อย่างคือ
ความมีน้อยเกินไป และ ผู้หนุ่มกว่า.
110
อัสสัตถิตัทธิต
จคฺคหเณน โส-อิล-ว-อาลาทิปฺปจฺจยา จ.
ด้วย จ ศัพท์[ในสูตร ตทสฺสตฺถีติ วี จ] ลง โส อิล ว และ
อาล ปัจจัยเป็นต้น บ้าง.
ปหูเต จ ปสํสายํ นินฺทายํ จาติสายเน
นิจฺจโยเค จ สํสคฺเค โหนฺติเม มนฺตุอาทโย.
(โมค.ปญฺจิกา)
มนฺตุ ปัจจัยเป็นต้นเหล่านี้ ย่อมเป็นไปในอรรถว่า มาก,
ชมเชย, ต�ำหนิ, ยิ่ง, ประกอบเป็นนิตย์ และ การระคนกัน.
อิวณฺณุวณฺโณกาเรหิ มนฺตสุ ทฺโท ปโร ภเว
อการนฺตา จิการนฺตา อิมนฺตตู ิ วิภาวเย.
(นีติ.ปท. ๒๓๘)
ลง มนฺตุ ปัจจัยท้ายศัพท์ทเี่ ป็น อิวณั ณะ อุวณ ั ณะ และ โอ
อักษร ส่วน อิมนฺตุ ปัจจัยย่อมลงท้ายศัพท์ อการันต์และอิการันต์.
(อิมนฺตุ นี้ ตามมติกัจ. ให้ลง อิอาคมหน้า มนฺตุปัจจัย)
สังขยาตัทธิต
อฑฺฒูปปทปาทาน- สามตฺถา อฑฺฒปุพฺพกา
เตสํ สทฺเทน คยฺหนฺเต จตุตฺถทุุติยาทโย.
ศัพท์ทั้งหลายมี จตุตฺถ และ ทุติย เป็นต้นอันมี อฑฺฒ อยู่
ข้างหน้า ย่อมถูกถือเอาด้วย เตสํ ศัพท์[ในสูตร เตสมฑฺฒูปป
เทนฯ] เพราะความสามารถแห่งการถือเอาซึง่ บทใกล้คอื อฑฺฒ.
111
เทฺวกฏฺานํ ทเส นิจฺจํ ทฺวิสฺสานวุติยา นวา
อิตเรสมสนฺตญฺจ อาตฺตํ ทีเปติ วาสุติ.
วา ศัพท์[ในสูตร เทฺวกฏฺานมากาโร วา] ย่อมแสดงการ
แปลงสระท้ายของ ทฺว,ิ เอก และอฏฺเป็น อา แน่นอน ในเพราะ
ทส, แปลงสระท้ายของ ทฺวิ เป็น อา ไม่แน่นอน ในเพราะ วี
สติ และ นวุติ, และไม่แปลงสระท้ายของ เอก, อฏฺ เป็น อา
ในเพราะ วีสติและนวุติ.
ราเทโส วณฺณมตฺตตฺตา วณฺณมตฺตปฺปสงฺคิปิ
สิยา ทสสฺส ทสฺเสว นิมิตฺตาสนฺนภาวโต.
การอาเทศเป็น ร มีข้อที่น่าสงสัยว่า ต้องอาเทศเพียง
ท หรือเพียง ส ทั้งนี้เพราะ ร เป็นเพียงวัณณะเดียว แต่ว่า มี
การอาเทศ ท ของ ทส เท่านั้นเป็น ร เพราะความใกล้กับนิมิต.
ทสสฺส ปจฺจยาโยคา ลทฺธมนฺเตติ อตฺถโต
ตทนฺตสฺส สภาเวน อิตฺถิยํเยว สมฺภโว.
อรรถว่า อนฺเต ถูกได้แล้วโดยความสามารถ[ของฉัฏฐี
วิภตั ติ] เพราะความที่ ทส ศัพท์ไม่ประกอบ(ไม่สมั พันธ์)กับปัจจัย
คือ อี, มีความเป็นไปในอิตถีลิงค์เท่านั้น ตามสภาพของตน อัน
สามารถส่องอิตถีลิงค์ ของอีปัจจยันตศัพท์นั้น.
โฬ นิจฺจํ โสฬเส ทสฺส จตฺตาลีเส จ เตรเส
อญฺตฺร น จ โหตายํ ววตฺถิตวิภาสโต.
แปลง ท เป็น ฬ เเน่นอน ในรูป โสฬส,
112
แปลง ร เป็น ฬ ไม่แน่นอน ในรูป จตฺตาลีส เเละ เตรส
ไม่มีการแปลง ท และ ร เป็น ฬ ในรูปอื่น[มี จุทฺทส และ สตฺต
รส เป็นต้น] เพราะ วา ศัพท์เป็นววัตถิตวิภาสา( วา ตามมาจาก
ส ฉสฺส วา).
วิภาสา วีสตึสาน- มนฺเต โหติ ติอาคโม
อญฺตฺถ น จ โหเตว ววตฺถิตวิภาสโต.
ลง ติ อาคมท้าย วีส และ ตึส บ้าง, ไม่มีการลง ติ อาคม
ในอุทาหรณ์เหล่าอื่นเลย เพราะ วา ศัพท์เป็นววัตถิตวิภาสา.
นิปฺผนฺนาปิ วิภตฺตีหิ สทฺทา วีสนฺติอาทโย
อนิปฺผนฺนตฺตํ เปกฺขนฺติ นิจฺจเมกิตฺถิภาวโต.
(โบราณาจารย์)
ศัพท์ทั้งหลายมี วีสํ เป็นต้น ถึงแม้จะส�ำเร็จรูปด้วย โย
วิภตั ติมาแล้ว ก็ยงั มุง่ ถึงความเป็นบททีย่ งั ไม่สำ� เร็จ เพราะความ
เป็นเอกพจน์ อิตถีลิงค์ แน่นอน.
โลปาเทสาคมา วุทฺธิ สงฺขฺยาเน ปกตีปิ จ
เยฺยํ สุตฺตานุสาเรน ตทฺธิตํ อิติ ธี มตา.
(สุตฺตนิเทส.)
วิธีคือ การลบ การอาเทศ การลงอาคม และ การปกติ
ในสังขยา บัณฑิตพึงทราบว่า เป็นตัทธิต โดยคล้อยตามสูตร.
สตํ นปุํสกเมกวจนนฺตญฺจ. ตถา สหสฺสํ. วคฺคเภเท
สพฺพตฺถ พหุวจนมฺปิ ภวติ.
113
สต (ร้อย) เป็นบทที่มีนปุงสกลิงค์ เอกพจน์เป็นที่สุด,
สหสฺส (พัน) ก็เช่นกัน, เมื่อมีการจ�ำแนกหมู่ พหูพจน์ ย่อมมี ใน
สังขยาทั้งปวง.
มิสฺส-คุณิต-สมฺพนฺธ- สงฺเกตาเนกเภทโต
สงฺขฺยา ปญฺจวิธา เยฺยา ปาฬิยา คตินยโต.
(สุตฺตนิเทส. ๓๙๑)
สังขยา พึงทราบว่ามี ๕ อย่างโดยประเภทแห่ง มิสสกะ
(ผสม), คุณิต (คูณ), สัมพันธะ (สัมพันธ์กัน), สังเกตะ (หมายรู้
ด้วยสัญญาของชาวโลก) และ อเนกะ (นับโดยปริยายว่ามาก)
โดยนัยที่เป็นไปในพระบาฬี.
อิจฺเจวํ านโต านํ สตลกฺขคุณํ มตํ
โกฏิปฺปภุตินํ วีส- สงฺขฺยานญฺจ ยถากฺกมํ.
ฐานหนึง่ จากฐานหนึง่ แห่งสังขยา ๒๐ ตัวมี โกฏิ เป็นต้น
ถูกรู้แล้วว่าคูณด้วย ร้อย, แสน ตามล�ำดับ อย่างนี้แล.
อัพยยตัทธิต
จสทฺเทน เอกทฺวิโต ชฺฌํ จ, สุตฺตาทิโต โส จ.
ด้วย จ ศัพท์[ในสูตร วิภาเค ธา จ] ลง ชฺฌํ ปัจจัย หลัง
จาก เอก และ ทฺวิ, และลง โส ปัจจัย หลังจาก สุตฺต ศัพท์
เป็นต้น.
ธา วิภาเค ปกาเร จา- กาเร อสฺสตฺถิยํปิ จ.
(โบราณาจารย์)
114
ธา ปัจจัย ลงในอรรถวิภาค, ปการ, อาการ และ อัสสัตถิ.
อิมสฺมา ชฺช สิยา กาเล สมานาปรโต ชฺชุ จ
อิมสทฺทสฺสกาโร จ สมานสฺส จ โส สิยา.
ลง ชฺช ปัจจัยหลังจาก อิม ศัพท์, ลง ชฺชุ ปัจจัยหลัง
สมาน และ อปร ศัพท์ ในอรรถกาล, แปลง อิม เป็น อ และ
แปลง สมาน เป็น ส ด้วย (สูตร ยทนุปปนฺนา นิปาตนา
สิชฺฌนฺติ).
สามญฺวุตฺติภาวตฺถา- พฺยโย ตทฺธิตํ ติธา
ตตฺราทิ จตุธาปจฺจา- เนกตฺถสฺสตฺถิสงฺขฺยโต.
ตัทธิตมี ๓ ประเภทคือ สามัญญวุตติตัทธิต, ภาวตัทธิต
และอัพยยตัทธิต ในสามประเภทนั้น สามัญญวุตติตัทธิต มี
๔ อย่างคือ อปัจจตัทธิต, อเนกัตถตัทธิต, อัสสัตถิตัทธิต และ
สังขยาตัทธิต.
วิจิตฺรา หิ ตทฺธิตวุตฺติ. (วิ.อฏฺ. ๑/๑๒๙)
จริงอย่างนั้น รูปส�ำเร็จของตัทธิต เป็นศัพท์วิจิตร.
ปฏิสมฺภิทปฺปตฺตานํ อรหนฺตานเมว โส
วิสโย โหติ ตํ ตสฺมา สกฺกจฺจํ สมฺปฏิจฺฉถ.
(นีติ.สุตฺต. ๘๖๔)
นัยตัทธิตนั้น เป็นวิสัยของพระอรหันต์ ผู้บรรลุ[นิรุตติ]-
ปฏิสัมภิทาเท่านั้น ด้วยเหตุดังกล่าว พวกท่านขอจงรับนัยนั้น
โดยเคารพเถิด.
115
การกกัณฑ์
ปฐมาวิภัตติ
การกตฺตา กฺริยาเยว สตฺติ มุขฺเยน การกํ
ทพฺพํ านฺยูปจาเรน ตสฺสา อาธารภาวโต.
สทฺโทตฺถํ วทตีตฺเยตฺถ สทฺโท ทพฺเพว คยฺหเต
อตฺถสฺส วาจโก สทฺโท- ปฺยตฺถทฺวาเรน การโก.
(เภทจินฺตา. ๖๑-๒)
ความสามารถชื่อว่า การก โดยตรง เพราะท�ำกิริยานั่น
เทียว ทัพพะชื่อว่า การก โดยานยูปจาระ เพราะเป็นที่ตั้งของ
ความสามารถนั้น.
ศัพท์ย่อมถือเอาได้ ในทัพพะนั่นแหละในเรื่องนี้ว่า ศัพท์
ย่อมแสดงอรรถ ดังนั้น แม้ศัพท์ที่แสดงอรรถ ก็ ได้ชื่อว่า การก
โดยมีอรรถเป็นเหตุ(การณูปจาร).
ลีนํ องฺคนฺติ ลิงฺคนฺติ นิปฺผนฺนํ ปุริสาทินํ
เปตพฺพํ ปมญฺจ รูปํ ลิงฺคนฺติ วุจฺจติ.
(พา.นวฏี. ๕๓)
รูปส�ำเร็จของปุรสิ ศัพท์เป็นต้นและรูปเดิมทีค่ วรตัง้ ไว้กอ่ น
เรียกว่า ลิงค์ โดยมีรูปวิเคราะห์ว่า ลีนํ องฺคนฺติ ลิงฺคํ (ส่วนที่
ไม่ปรากฏชื่อว่า ลิงค์).
116
รุกฺโขติ วจนํ ลิงฺค1ํ ลิงฺคตฺโถ เตน ทีปโิ ต
เอวํ ลิงฺคญฺจ ลิงฺคตฺถํ ตฺวา โยเชยฺย ปณฺฑิโต.
(นฺยาส. ๕๓)
ศัพท์ว่า รุกฺโข(ต้นไม้) ชื่อว่า ลิงค์(นามศัพท์) ส่วนอรรถ
ของนามศัพท์ย่อมถูกแสดงไว้ด้วยนามศัพท์นั้น บัณฑิตรู้นาม
ศัพท์และอรรถของนามศัพท์อย่างนี้แล้ว พึงประกอบไว้[ตาม
สมควร].
นาปทํ สตฺเถ ปยุชฺชติ. (โมค.นิสสัย. ๑/๑๔๑)
ศัพท์ที่มิใช่บทย่อมประกอบไว้ ในคัมภีร์ไม่ ได้.
น เตหุตฺเต2 วิภตฺตีหิ เจ วินา วิภตฺติยา
นาตฺถํ นิทสฺสิตุํ สกฺกา ตตฺถาปฺยญฺกฺรยิ าทิเก.
ภวตฺยาเปกฺขิเตเยว ตติยาทิ ยถารหํ.
(เภทจินฺตา. ๑๙๒-๓)
หากพึงมี ใครๆ ถามว่า “เมื่ออรรถกัตตาเป็นต้นถูกวาจก
๔ เหล่านั้นกล่าวแล้ว ไม่จ�ำเป็นต้องลงวิภัตติ[ท้ายรูปส�ำเร็จอัน
มีบทสมาสเป็นต้น]อีก มิใช่หรือ” ตอบว่า ก็ศัพท์ที่ ไม่ลงวิภัตติ
ไม่สามารถแสดงอรรถแห่งลิงค์ได้ ดังนัน้ จึงต้องลงปฐมาวิภตั ติ
นั่นเทียวอีก เพื่อส่องอรรถแห่งลิงค์ล้วนๆ แต่เมื่อศัพท์เหล่านั้น

1 ค�ำว่า ลิงฺค ใน ลิงฺคตฺเถ ปมา หมายถึง นามศัพท์ที่ยังมิได้ลงวิภัตติ


เท่านั้น (อนิปผันนลิงค์)
2 เตหุตฺเต = เตหิ อุตฺเต
117
เกี่ยวข้องกับกิริยาอื่นเป็นต้น[ใช้ ในอรรถกัตตาเป็นต้น] ก็ลง
วิภัตติอื่น เช่น ตติยาวิภัตติเป็นต้น ในอรรถกัตตาเป็นต้นนั้น
ตามสมควร (เช่น ชิตมาโร ชิโน เมื่อมองหากิริยาอื่น ก็ลงตติย
าวิภัตติเป็นต้นได้ว่า ชิตมาเรน ชิเนน ธมฺโม เทสิโต).
ลิงฺคตฺโถ ทุพฺพิ โธ สุทฺธ- สํสฏฺานํ ปเภทโต
กฺริยานเปกฺขเก สุทฺโธ สํสฏฺโ ตทเปกฺขเก.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๕๙๑)
ความหมายของนามศัพท์มี ๒ ประเภทโดยจ�ำแนกเป็น
สุทธลิงคัตถะ และ สังสัฏฐลิงคัตถะ สุทธลิงคัตถะย่อมมี ในที่
ไม่มองหากิริยา ส่วน สังสัฏฐลิงคัตถะย่อมมี ในที่มองหากิริยา.
สมาสตทฺธิตาขฺยาต- กิตกา ยตฺถ ชายเร
โส อตฺโถ กถิโต เตหิ อวุตฺโต ตทปโร ภเว.
วุตฺเต กมฺมาทิสามิสฺมึ ลิงฺคตฺเถ ปมา สิยา
อวุตฺเต ตุ ภวตฺตญฺา ทุติยาที ยถารหํ.
(พาลาวตาร. ๙๕)
สมาส ตัทธิต อาขยาต และกิตก์ ย่อมมี ในอรรถใด อรรถ
นัน้ ย่อมถูกสมาสเป็นต้นเหล่านัน้ กล่าวไว้แล้ว ส่วนอรรถทีม่ ิได้ถกู
กล่าวไว้ โดยสมาสเป็นต้น เป็นอรรถอื่นจากนั้น ,
เมื่ออรรถกรรมเป็นต้นและสามีถูกกล่าวไว้ ปฐมาวิภัตติ
ย่อมลงในอรรถของนามศัพท์ แต่เมื่อมิได้ถูกกล่าวไว้ วิภัตติอื่น
มีทุติยาวิภัตติเป็นต้นย่อมลงได้ตามสมควร.
118
ปมาวุปสคฺคตฺเถ เกสญฺจตฺเถ นิปาตสทฺทานํ
ลิงฺคาทิเก จ สุทฺเธ- ภิหิเต กมฺมาทิอตฺเถปิ.
ลงปฐมาวิภตั ตินนั่ เทียวในความหมายของอุปสัค ในความ
หมายของนิบาตบางศัพท์ ในความหมายอันประกอบด้วยเพศ
เป็นต้นล้วนๆ และในความหมายที่ระคนด้วยกรรมเป็นต้น[อัน
อาขยาตเป็นต้น]กล่าวแล้ว.
สิทฺธสฺสาภิมุขีภาว- มตฺตมามนฺตนํ สิยา
อตฺโถ กตาภิมุโข หิ กฺริยายํ วินิยุชฺชเต.
(หริการิกา.)
ความเป็นเฉพาะหน้าต่อผู้มีรูปร่างปรากฏแล้วเท่านั้น
ชื่อว่า อาลปนะ อนึ่ง ผู้ที่ ได้รับการร้องเรียกย่อมถูกประกอบ
ไว้ ในกิริยา
สทฺเทนาภิมุขีกาโร วิชฺชมานสฺส วตฺถุโน
อามนฺตนํ วิธาตพฺเพ นตฺถิ “ราชา ภเว” ติทํ.
การร้องเรียกเฉพาะหน้าด้วยเสียงต่อวัตถุที่ปรากฏอยู่
ชื่อว่า อามันตนะ(การร้องเรียก) อามันตนะนี้ ย่อมไม่มี ในฐานะ
ที่ท่านกล่าวว่า ราชา ภว (ขอพระองค์จงเป็นพระราชาเถิด).
ทุติยาวิภัตติ
กตฺตุกมฺมญฺจ กรณํ สมฺปทานมถาปรํ
อปาทานญฺจ โอกาสํ การกํ ฉพฺพิธํ มตํ.
(กจฺ.วณฺณนา. ๒๗๑)
119
การกรู้กันว่ามี ๖ อย่างคือ กัตตุการก กัมมการก กรณ-
การก สัมปทานการก อปาทานการก และ โอกาสการก.
นิพฺพตฺติวิกติปฺปตฺติ- เภเทน ติวิธํ มตํ
กตฺตุกฺริยาภิคมฺมํ ตํ สุขงฺคารํ นิเวสนํ.
การกใดอันกิริยาของประธานมุ่งไปถึง การกนั้นมี ๓
อย่าง ด้วยการจ�ำแนกเป็นนิพพัตติกรรม วิกติกรรม และปัตติ
กรรม เช่น สุข(ํ ยังความสุขให้เกิดขึน้ ) องฺคารํ(ท�ำฟืนให้เป็นถ่าน)
นิเวสนํ(เข้าไปสู่เรือน).
อวุตฺเต กตฺตริ กมฺเม ทุติยา ตติยาถ วา
ฉฏฺมี จาติ สมฺโภติ การิตญฺญูหิ ภาสิตา.
(คุฬหตฺถทีปนี.)
ผู้รู้การิตปัจจัยกล่าวว่า ทุติยา ตติยา เเละฉัฏฐีวิภัตติ
ย่อมลงในอนภิหิตกัตตาหรือการิตกรรม.
การิ โต ธาตุโตญฺเน สุทฺธกตฺตุปโยชเน
ตถา ปโยชกสฺสาปิ การิตนฺตาปิ การิโต.
โส หิ โลกปฺปมาเณน ติกฺขตฺตุํ ปฏิปชฺชเต
อตฺร หิ ปุริโม ลุตฺโต การิโตว นิปาตนา.
(เภทจินฺตา. ๒๑๕-๖)
ลงการิ ต ปั จ จั ย ท้ า ยธาตุ เมื่ อ มี ผู ้ อื่ น ใช้ สุ ท ธกั ต ตาให้
ประกอบกิรยิ า เช่นเดียวกันนี้ การิตปัจจัย ย่อมลงท้ายศัพท์ทมี่ ี
การิตปัจจัยเป็นทีส่ ดุ แม้ ในการใช้ผู้ ใช้อกี ทอดหนึง่ , การิตปัจจัย
120
นั้นย่อมเป็นไปได้ ๓ ครั้งโดยบัญญัติของชาวโลก และลบการิต
ปัจจัยตัวหน้าด้วยนิปาตนสูตร(ยทนุปปนฺนา นิปาตนา สิชฌ ฺ นฺต)ิ .
กฺริยาย โชตโก นายํ สมฺพนฺธสฺส น วาจโก
นาปิ กฺริยาปทกฺเขปี สมฺพนฺธสฺส ตุ เภทโก.
(วากฺยปทีย.)
อภิ ศัพท์เป็นต้นมิได้แสดงกิรยิ า มิได้กล่าวถึงสัมพันธ์ มิได้
เพิ่มบทกิริยาอื่น แต่แสดงความสัมพันธ์[โดยความเป็นลักขณะ
(เครื่องสังเกต) และลักขิยะ (สิ่งที่ถูกสังเกต) เป็นต้น].
อนฺตรา ปติ อภิโต ปริโต ปฏิภาทิหิ
โยเค ฉฏฺฺยตฺเถ ทุติยา พหฺวาธิเกน จาวธึ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๖๓๑)
ทุตยิ าวิภตั ติยอ่ มลงในอรรถฉัฏฐี ในทีป่ ระกอบด้วย อนฺตรา,
ปติ, อภิโต, ปริโต และปติบทหน้า ภาธาตุ เป็นต้น และลง
ทุติยาวิภัตติ ในอรรถอปาทาน ด้วยศัพท์พหูพจน์ที่เกินมาว่า
ฉฏฺีนํ.
ลป-ภาสนฺตเรน-วินา ตฺยาทิโยเค สหาทิเก
กาเล ตปฺปานจาเรสุ อุปานฺวชฺฌาวสสฺส จ
อธิ-สี-าธาตูนญฺจ โยเค ภุมฺเม ทุตียกา.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๖๑๔)
ทุติยาวิภัตติย่อมลงในอรรถสหาทิ โยคะ ในที่ประกอบ
ด้วย ลปธาตุ, ภาสธาตุ ,อนฺตเรนศัพท์ และ วินาศัพท์ เป็นต้น
121
ย่อมลงในอรรถอาธาระ ในกาลเวลา ในกาลดื่ม และกาลเที่ยว
ไปในสถานที่นั้น ในการประกอบแห่ง วสธาตุที่มี อุป อนุ อธิ
และอาเป็นบทหน้า และในการประกอบแห่ง สีธาตุและาธาตุ
ที่มี อธิ เป็นบทหน้า.
ตติยาวิภัตติ
ยํ กฺริยาสาธเน กตฺตุ- ปการํติสเยน ตํ
กรณํ กตฺตุโตญฺเส- มธิกนฺติ มุทีริตํ.
(เภทจินฺตา. ๗๐)
กรณการก คือ การกที่เป็นเครื่องมือช่วยให้กัตตุการก
ท�ำกิริยาโดยสะดวก และเป็นใหญ่กว่าการกอื่นนอกจากกัตตุ
การก.
ยสฺส สพฺพวิเสเสน กฺริยาสํสิทฺธิเหตุตฺตา
สมฺภาวียติ ตํ วุตฺตํ กรณํ นาม การกํ.
การกใด ย่ อ มถู ก ชมเชยว่ า เป็ น เหตุ ใ ห้ กิ ริ ย าส� ำ เร็ จ ดี
กว่าการกทั้งปวง การกนั้น เรียกว่า กรณะ.
วิชฺชมาโนปิ สุกฺกาทิ ยถา ทีปาทิเก สติ
พฺยตฺตีมายาติ กมฺมาทิ- อตฺโถ เอวํ วิภตฺติยํ.
(เภทจินฺตา. ๑๒๘)
วัตถุที่สีขาวเป็นต้นย่อมถึงความปรากฏเมื่อมีประทีป
เป็นต้น ฉันใด อรรถกรรมเป็นต้นก็ถึงความปรากฏเมื่อมีวิภัตติ
ฉันนั้น.
122
อตฺตปฺปธาโน กิริยํ โย นิพฺพตฺเตติ การโก
อปฺปยุตฺโต ปยุตฺโต วา ส กตฺตาติ ปวุจฺจติ.
เหตุกตฺตาติ กถิโต กตฺตุโน โย ปโยชโก
กมฺมกตฺตาติ สุกโร กมฺมภูโต กถียเต.
การกใดมีตนเองเป็นประธาน ถูกใช้ก็ดี ไม่ถูกใช้ก็ดี ท�ำ
กิริยาให้เกิดขึ้น การกนั้นเรียกว่า กัตตา,
การกใดเป็นผู้ ใช้กัตตา การกนั้นเรียกว่า เหตุกัตตา,
การกใดถู ก กระท� ำ ได้ ง ่ า ย เป็ น กรรม การกนั้ น เรี ย กว่ า
กัมมกัตตา.
วญฺฌาปุตฺโต ปิลนฺธนฺโต วาตปุปฺผํ สสํ ธนุํ
คยฺห นฺหายิตุํ ติตฺถํ มรีจิชลมาคโต.
(พา.คัณฐิปทัตถวินิจฉยสาระ ๒/๒๙)
บุตรหญิงหมันทัดดอกไม้ลมอยู่ ถือธนูเขากระต่ายแล้ว
มาสู่ท่าที่มีน�้ำคือพยับแดดเพื่อสนานกาย.
โวหารวิสโย สทฺโท เนกนฺตปรมตฺถิโก
พุทฺธิสงฺกปฺปโิ ต อตฺโถ ตสฺสตฺโถติ ปวุจฺจติ.
พุทฺธิยา คติตตฺตา หิ สํ โยโค ชายเต อิติ
สํ โยโค วิชฺชมาโนว กตฺตา ภวติ ชาติยา.
ค�ำศัพท์ซึ่งมีความหมายตามโวหาร[ของชาวโลก] มิได้มี
ความหมายเป็นปรมัตถ์เพียงฝ่ายเดียว ความหมายทีก่ �ำหนดขึน้
ด้วยความรู[้ ของชาวโลก] ท่านเรียกว่า ความหมายของศัพท์นนั้
123
,โดยแท้จริงแล้ว ในประโยคว่า สํ โยโค ชายเต (การพบกัน ย่อม
เกิดขึ้น) ค�ำว่า สํ โยโค เป็นเหมือนกัตตาที่ปรากฏอยู่แท้จริง[ใน
ขณะนั้น]ของกิริยาว่า “เกิด” เพราะถือเอาได้ด้วยความรู้[คือรู้
ความหมายได้ด้วยการนึกคิด].
จตุตถีวิภัตติ
สมฺมา ปทียเต ยสฺส สมฺปทานํ ตทุจฺจเต
วตฺถุสฺส วา ปฏิคฺคาห- ลกฺขณํ ตํ กฺริยาย วา.
ปูชานุคฺคหกาเมน ทินฺนํ สมฺมาติ มนฺยเต
ทินฺนสฺส สามิกตฺเตปิ สมฺปทานํ ตทุจฺจเต.
“รชกสฺส ทเท วตฺถํ รญฺโ ทณฺฑนฺ”ติ อาทิสุ
น ภเว สมฺปทานตฺตํ ปูชาทีนมภาวโต.
(เภทจินฺตา. ๗๔-๖)
สัมปทานกานก คือ การกซึ่งเป็นที่รับวัตถุหรือกิริยา มี
๒ ประเภทคือ สัมปทานทีี่รับวัตถุ และ สัมปทานที่รับกิริยา.
การให้ด้วยดี คือ การให้ด้วยการบูชาหรืออนุเคราะห์
ส่วนผู้รับที่เป็นเจ้าของสิ่งที่ ให้ ไว้ ท่านเรียกว่า สัมปทาน.เมื่อ
ไม่มีการบูชาหรืออนุเคราะห์ก็ ไม่เป็นสัมปทาน ดังอุทาหรณ์ว่า
รชกสฺส วตฺถํ ทเท (ให้ผ้า[ในมือ]ของช่างย้อม), รญฺโ ทณฺฑํ
ทเท (ให้ค่าปรับ[ในพระหัตถ์]ของพระราชา).
อนิรากรณาราธ- นาพฺภนุญฺวเสน หิ
สมฺปทานํ ติธา วุตฺตํ รุกฺข ยาจก ภิกฺขโว.
124
โดยแท้จริงแล้ว สัมปทานกล่าวว่ามี ๓ อย่างโดยประเภท
แห่งการไม่หา้ ม การเชือ้ เชิญ และการอนุญาต เช่น รุกขฺ สฺส([ให้
น�ำ้ ]แก่ตน้ ไม้), ยาจกสฺส([ให้ทาน]แก่ยาจก), ภิกขฺ โุ น([ถวายทาน]
แด่ภิกษุ).
จสทฺทคฺคหเณน ปหิณติ กปฺปติ ปโหติ อุปมาญฺชลิกรณ-
ผาสุ อตฺถ เสยฺยปฺปภุติโยเค จ.
การให้ชื่อว่าสัมปทานในที่ประกอบด้วยศัพท์ว่า ปหิณติ
(ย่อมส่งไป), กปฺปติ(ย่อมสมควร), ปโหติ(ย่อมเพียงพอ),
อุปมา(เปรียบเทียบ), อญฺชลิกรณ(การกระท�ำอัญชลี), ผาสุ
(ความผาสุก), อตฺถ(ประโยชน์) และ เสยฺย(ประเสริฐ) เป็นต้น
ด้วยการถือเอา จ ศัพท์[ในสูตร สิลาฆหนุฯ].
จสทฺเทน ปหิเณยฺย กปฺปติ อุปมาญฺชลิ
ปโหติ ผาสฺวตฺถเสยฺยา- ทิโยเคปิ สมุจฺจิตํ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๕๘๔)
ด้วย จ ศัพท์ [ในสูตร สิลาฆหนุ ฯ]รวบรวมสัมปทานการก
แม้ ในที่ประกอบด้วยศัพท์ว่า ปหิเณยฺย, กปฺปติ, อุปมา, อญฺชลิ,
ปโหติ, ผาสุ, อตฺถ และ เสยฺย เป็นต้น.
โย วเธติ ส กตฺตา วุตฺตํ กมฺมนฺติ วุจฺจติ
โย ปฏิคฺคาหโก ตสฺส สมฺปทานํ วิชานิยา.
การกใดย่อมกล่าว การกนั้นเรียกว่า กัตตา,
กัตตาการกที่ถูกกล่าว เรียกว่า กรรม,
การกใดเป็็นผู้รับ พึงทราบการกนั้นว่าเป็น สัมปทาน.
125
ตทตฺเถ จ ตุมตฺเถ จ นีคตฺยตฺถาน กมฺมนิ
วิภตฺติวิปลฺลาเส จา- ยาเทโส จตุธา ภเว.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๑๐๙)
การแปลงเป็น อาย ย่อมมีได้ ๔ อย่าง คือ ในตทัตถสัมปทาน
ตุมัตถสัมปทาน ในกรรมของ นีธาตุและธาตุที่มีอรรถว่า ไป
และในวิภัตติวิปัลลาส.
อายุ ภทฺทญฺจ กุสลํ อนามยํ สุขํ ตถา
สฺวาคตตฺถํ หิตํ โสตฺถิ อาสีสตฺถมฺหิ โยชเย.
(รูป.มัญชรี. ๑๐๓๑)
อายุ, ภทฺท, กุสล, อนามย, สุข, อตฺถ, หิต, สฺวาคต และ
โสตฺถิ ศัพท์ พึงประกอบในอรรถปรารถนา.
ปัญจมีวิภัตติ
นิทฺทิฏฺวิสยํ กิญฺจิ อุปาตฺตวิสยํ ตถา
อนุเมยฺยวิสยญฺจาติ อปาทานํ ติธา มตํ.
อปาทาน มี ๓ อย่างคือ อปาทานบางอย่างมีกิริยาที่
แสดงไว้เป็นที่ตั้ง บางอย่างมีกิริยาที่เพิ่มเข้ามาเป็นที่ตั้ง บาง
อย่างมีกิริยาที่อนุมานได้เป็นที่ตั้ง.
สเมปฺยปคเม ทฺวินฺนํ ปุพฺพรูปา ยทจฺจุตํ
วุจฺจเต ตทปาทาน- เมตญฺจาวธิลกฺขณํ.
(เภทจินฺตา. ๗๙)
เมือ่ การเคลือ่ นไปแห่งวัตถุสองสิง่ เสมอกัน สิง่ ใดไม่เคลือ่ น
126
ไปจากสภาพเดิม สิ่งนั้นชื่อว่า อปาทาน อนึ่ง อปาทานนั้นมี
ลักษณะเป็นขอบเขต.
สญฺายมาขฺยาตํ นามํ ปทนฺตรยุตฺตํปิ วา
มาขลิ โก เม วนฺทติ นตฺถญฺโ โกจิ วิชฺชติ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๓๐๓)
เมื่อปรากฏชื่อ บทอาขยาตย่อมเปลี่ยนเป็นบทนามได้
หรือบทอาขยาตทีป่ ระกอบกับบทอืน่ ก็เปลีย่ นเป็นบทนามได้ เช่น
มาขลิ (มักขลิโคสาล), โก เม วนฺทติ (ผู้ ไหว้เราอยู่เป็นใคร),
นตฺถญฺโ โกจิ วิชฺชติ (ที่พึ่งอื่นอะไรที่มีอยู่[ในโลก]ย่อมไม่มี).
อปิ คฺ ค หเณน กมฺ ม าปาทานการกมชฺ เ ฌปิ ปญฺ จ มี
กาลทฺธาเนหิ.
ลงปัญจมีวิภัตติแม้ ในท่ามกลางกัมมการกและอปาทาน
การก ท้ายศัพท์ที่มีอรรถว่า กาลเวลา และหนทาง ด้วย อปิ
ศัพท์[ในสูตร ธาตุนามานมุปสคฺคโยคาทีสฺวปิ จ].
จสทฺทคฺคหเณน ปภุตฺยาทิอตฺเถ ตทตฺถปฺปโยเค จ.
[อปาทาน]ในอรรถของศัพท์วา่ ปภุติ (ตัง้ แต่) เป็นต้น และ
ในทีป่ ระกอบกับศัพท์ทมี่ อี รรถดังกล่าว ด้วยการถือเอา จ ศัพท์
[ในสูตร ธาตุนามานมุปสคฺคโยคาทีสฺวปิ จ].
จสทฺเทน ยถาโยคํ ทุติยา ตติยา ฉฏฺี จ.
ลงทุตยิ า ตติยา และ ฉัฏฐีวภิ ตั ติ ตามสมควรแก่อทุ าหรณ์
ด้วย จ ศัพท์[ในสูตร ทูรนฺติกทฺธกาลนิมฺมาน ฯ].
127
ยตฺถ อาสงฺกา, ตตฺถ ปฏิเสโธ กาตพฺโพ. (รูป.ภาสาฏี. ๓๑๓)
ความสงสัยมีอยู่ ในที่ ใด พึงกระท�ำการปฏิเสธไว้ ในทีน่ นั้ .
ฉัฏฐีวิภัตติ
วาคฺคหเณน สามิตพฺพรุชาทิโยเคปิ.
ให้ชอื่ ว่าสามี ในทีป่ ระกอบกับศัพท์ทมี่ คี วามหมายว่า สามิ
(เจ้าของ), ในทีป่ ระกอบกับ ตพฺพ ปัจจัยและ รุช ธาตุ (เจ็บป่วย)
เป็นต้น ด้วย วา ศัพท์[ในสูตร ยสฺส วา ปริคฺคโห ตํ สามี].
เอตฺถ จ กฺริยาภิสมฺพนฺธภาวา น การกตฺตา สมฺภวติ.
อนึง่ ความเป็นการก ย่อมไม่มี ในสูตรนี้ เพราะฉัฏฐีวภิ ตั ติ
ไม่มีความเกี่ยวเนื่องกับกิริยา.
สามิภาโว หิ กฺริยาการกภาวสฺส ผลภาเวน คหิโต.
โดยแท้จริงแล้ว ความเป็นเจ้าของอันบุคคลย่อมถือเอาได้
โดยความเป็นผลของกิริยาและการก.
เอวํ โย ยสฺส อายตฺโต เสวกาทิภาเวน วา ภณฺฑภาเวน วา
สมีป-สมูหาวยว-วิการ-การิย-อวตฺถา-ชาติ-คุณ-กฺริยาทิวเสน
วา,
อรรถใดเกี่ ย วข้ อ งแก่ ก ารกใดโดยความเป็ น ผู ้ รั บ ใช้
เป็นต้น ก็ดี โดยความเป็นสิ่งของที่ตนครอบครอง ก็ดี โดย
ความเป็นที่ ใกล้, หมู่, ส่วน, สิ่งที่เปลี่ยนเเปลง, ผล, ระยะกาล,
ประเภท, คุณสมบัติ และกิริยาอาการ เป็นต้น อย่างนี้.
128
ตสฺส สพฺพสฺสาปิ โส สมฺพนฺธาธารภูโต วิเสสนฏฺ-านี-
อาคมีวเสน ติวิโธปิ อตฺโถ สามี นามาติ คเหตพฺโพ.
อรรถนั้นเป็นที่รองรับความสัมพันธ์ของการกทั้งหมดนั้น
ซึ่งมี ๓ อย่างด้วยการจ�ำเเนกเป็นวิเสสนะ (ค�ำขยาย) ฐานี
(ศัพท์เดิมที่ถูกเเปลง) และอาคมี (ศัพท์ที่รองรับการลงอาคม)
พึงทราบว่า ชื่อว่า สามี.
กฺริยาการกสญฺชาโต อสฺเสทมฺภาวเหตุโก
สมฺพนฺโธ นาม โส อตฺโถ ตตฺถ ฉฏฺี วิธียเต.
ปารตนฺตฺยํ หิ สมฺพนฺโธ ตตฺถ ฉฏฺี ภเว ติโต
อุปาธิฏฺานาคมิโต น วิเสสฺยาทิโต ติโต.
อรรถใดเกิดจากกิริยาและการก เป็นเหตุให้รู้สิ่งนี้ของผู้
นี้ อรรถนั้นชื่อว่า สัมพันธ์ เมื่อควรกล่าวสัมพันธ์นั้น ให้ลงฉัฏฐี
วิภัตติ.
โดยแท้จริงแล้ว ความเกี่ยวเนื่องกับผู้อื่น ชื่อว่า สัมพันธ์
เมือ่ ควรกล่าวสัมพันธ์นนั้ ให้ลงฉัฏฐีวภิ ตั ติทา้ ยศัพท์ทงั้ ๓ จ�ำพวก
คือ อุปาทิ (ค�ำขยาย) ฐานี (ศัพท์เดิมที่ถูกเเปลง) และอาคมี
(ศัพท์ที่รองรับการลงอาคม) ย่อมไม่ลงท้ายศัพท์ ๓ จ�ำพวกอัน
มีวิเสสยะ เป็นต้น. (เป็นต้น = อาเทศ, อาคม)
ยชาทิ กรเณ ปุณฺณ- ตุลฺย-กึลํ-กิเตหิ จ
โยเค ฉฏฺี ตตียตฺเถ ภุมฺมตฺเถ กุสลาทินา.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๖๑๕)
129
ลงฉัฏฐีวิภัตติ ในอรรถกรณะ ในที่มี ยชธาตุเป็นต้น,
ลงฉัฏฐีวิภัตติ ในอรรถตติยา ในมี่ประกอบกับธาตุที่มีอรรถว่า
เต็ม, ตุลฺย ศัพท์, อลํ ศัพท์ และกิตก์ปัจจัย,
ลงฉัฏฐีวภิ ตั ติ ในอรรถสัตตมี ในทีป่ ระกอบกับ กุสล ศัพท์เป็นต้น.
[บทที่ประกอบกับค�ำที่ลงปัจจัยเหล่านี้ ให้ลงฉัฏฐีวิภัตติ
ในอรรถกรรม กล่าวคือ
๑) ค�ำที่ลง ตุ ปัจจัย เช่น วตฺตาโร, ทาตา
๒) ค�ำที่ลง ณฺวุ ปัจจัย เช่น การโก, เวทโก
๓) ค�ำที่ลงภาวัตถปัจจัยคือ ยุ, ณ ปัจจัย เช่น อกรณํ, ราโค].
สัตตมีวิภัตติ
กฺริยา กตฺตุกมฺมานํ ยตฺถ โหติ ปติฏฺิตา
โอกาโสติ ปวุตฺโต โส จตุธา พฺยาปิกาทิโต.
พฺยาปิโก ติลขีราทิ กโฏ โอปสิเลสิโก
สามีปโิ ก ตุ คงฺคาทิ อากาโส วิสโย มโต.
กิรยิ าของกัตตาและกรรม ตัง้ อยูแ่ ล้วในการกใด การกนัน้
เรียกว่า โอกาสการก, โอกาสการกนั้นมี ๔ อย่างโดยความเป็น
พยาปิกาธารเป็นต้น.วัตถุมงี าและน�ำ้ นมเป็นต้น ชือ่ ว่า พยาปิกา-
ธาระ, เสื่อ ชื่อว่า โอปสิเลสิกาธาระ, ส่วนแม่น�้ำคงคาเป็นต้น
ชื่อว่า สามีปิกาธาระ, อากาศ ชื่อว่า เวสยิกาธาระ.
ฉฏฺิยาเยว ปตฺติยา ปกฺเข สตฺตมีวิธานตฺถํ วจนํ.
(กาศิกา. ๒/๓/๓๙)
130
เมือ่ ฉัฏฐีวภิ ตั ติอย่างเดียวมาถึงแล้ว สูตร[สามิสสฺ ราธิปติ ฯ]
นี้ มีประโยชน์เพื่อลงสัตตมีวิภัตติในฝ่ายอื่น.
ยํ หิ ชาติ คุณกฺริยา- นาเมหิ สมุทายโต
ปุถกฺกรณเมตสฺส ตํ นิทฺธารณมพฺรวุํ.
(พาลาวตาร. ๑๒๒)
โดยแท้จริงแล้ว การกระท�ำโดยแยกสิ่งนั้นออกจากหมู่
ด้วยชาติ คุณสมบัติ กิริยา และชื่อ ท่านเรียกว่า นิทธารณะ.
ชาติยา คุณกฺริยาหิ ทพฺพนาเมหิ สงฺขฺยยา
สมูหโตวยวสฺส นิทฺธารณํ ฉธา ภเว.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๖๑๑)
การแยกส่วนหนึ่งจากหมู่ออกแสดง มี ๖ ประเภทโดย
ชาติ คุณสมบัติ กิริยา ทัพพะ ชื่อ และจ�ำนวน.
ปธานมฺหิ คหิตมฺหิ อปฺปธานํปิ คยฺหติ.
(กัจ.สุตตัตถะ. ๖๒๐)
เมื่อถือเอาข้อความที่เป็นประธาน แม้ข้อความที่คล้อย
ตามก็ย่อมถูกถือเอาได้.
ปธานมปฺปธาเนสุ ปธาเน คหิเต สติ
คหิตํ อปฺปธานํปิ นงฺคลานุทกํ ยถา.
(รูป.ภาสาฏี. ๓๒๓)
ในบรรดาข้อความที่เป็นประธานและข้อความที่คล้อย
ตาม เมือ่ ถือเอาข้อความทีเ่ ป็นประธาน แม้ขอ้ ความทีค่ ล้อยตาม
ก็ย่อมถูกถือเอาด้วย เหมือนน�้ำที่ ไหลไปตาม[รอย]ไถ.
131
รกฺขณตฺถโยเค จายํ. (รูป.ฏี. ๓๒๖)
สูตร[ปญฺจมฺยตฺเถ จ]นี้ ย่อมปรากฏในการประกอบกับ
อรรถว่า รักษา.
การกํ ฉพฺพิธํ สญฺา- วสา ฉพฺพีสตีวิธํ
ปเภทา สตฺตธา กมฺมํ กตฺตา ปญฺจวิโธ ภเว.
กรณํ ทุวิธํ โหติ สมฺปทานํ ติธา มตํ
อปาทานํ ปญฺจวิธํ อาธาโร ตุ จตุพฺพิโธ.
การก มี ๖ อย่างโดยจ�ำแนกตามชื่อ มี ๒๖ อย่างตาม
ประเภท กรรม มี ๗ อย่าง, กัตตา มี ๕ อย่าง, กรณะ มี ๒
อย่าง, สัมปทาน มี ๓ อย่าง, อปาทาน มี ๕ อย่าง, อาธาระ
มี ๔ อย่าง.
ปจฺจตฺตมุปโยคญฺจ กรณํ สมฺปทานิยํ
นิสฺสกฺกํ สามิวจนํ ภุมฺมาลปนมฏฺมํ.
[วิภัตติ มี ๘ หมวด คือ] ปัจจัตตะ, อุปโยคะ, กรณะ,
สัมปทาน, นิสสักกะ, สามิวจนะ, ภุมมะ และอาลปนะเป็นที่ ๘

­______________

You might also like