You are on page 1of 2

วิธแ

ี สดงอาบัต ิ
ผูแ้ สดงอ่อนกว่า ผูร้ ับ
ผู แ้ สดง สัพพา ตา อาปั ตติโย อาโรเจมิ (๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปั ตติโย อาโรเจมิ (๓ หน)
อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปั ตติโย
อาปั ชชิง ตา ตุมห๎ ะ มูเล ปะฏิเทเสมิ
ผูร้ ับ ปั สสะสิ อาวุโส ตา อาปั ตติโยฯ
ผู แ ้ สดง อุกาสะ อามะ ภันเต ปั สสามิฯ
ผูร้ ับ อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิฯ
ผู แ ้ สดง สาธุ สุฏฐุ ภันเต, สังวะริสสามิฯ (๓ หน)
นะ ปุ เนวัง กะริสสามิ, นะ ปุ เนวัง ภาสิสสามิ, นะ ปุ เนวัง จินตะยิสสามิฯ

ผูแ้ สดงแก่วา่ ผูร้ ับ


ผู แ้ สดง สัพพา ตา อาปั ตติโย อาโรเจมิ (๓ หน)
สัพพา คะรุละหุกา อาปั ตติโย อาโรเจมิ (๓ หน)
อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย อาปั ตติโย
อาปั ชชิง ตา ตุยห๎ ะ มูเล ปะฏิเทเสมิฯ
ผูร้ ับ อุกาสะ ปั สสะถะ ภันเต ตา อาปั ตติโยฯ
ผู แ ้ สดง อามะ อาวุโส ปั สสามิฯิ
ผูร้ ับ อายะติง ภันเต สังวะเรยยาถะฯ (๓ หน)
ผู แ ้ สดง สาธุ สุฏฐุ อาวุโส สังวะริสสามิ (๓ หน)
นะ ปุ เนวัง กะริสสามิ, นะ ปุ เนวัง ภาสิสสามิ, นะ ปุ เนวัง จินตะยิสสามิ ฯ
(เสร็จพิธ)ี

คาจบทาน
อิทงั เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุฯ อิทงั เม ทานัง นิ พพานัสสะ ปั จจะโย โหตุฯ

ขอให ้ทานนี จงเป็ ้
นปัจจัย ให ้ข ้าพเจ ้าได ้สินอาสวะกิ ้
เลสด ้วยเทอญ ขอทานนี จงเป็ นปัจจัย
ให ้ข ้าพเจ ้าได ้ถึงพระนิ พพานด ้วยเทอญ
สุทน ิ นัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง นิ พพานัง โหตุ เม อะนาคะเต กาเลฯ1
ขอให ้ทานทีข ่ ้าพเจ ้าถวายดีแล ้วนี ้
จงเป็ นเหตุให ้ข ้าพเจ ้าไปสูพ
่ ระนิ พพานอันเป็ นทีสิ ่ นกิ
้ เลสในอนาคตกาลเทอญ

คาถวายสังฆทาน (แบบสามัญ)
อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ สะปะริวารานิ , ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน
ภันเต, ภิกขุสงั โฆ, อิมานิ ภัตตานิ , สะปะริวารานิ , ปะฏิคคัณหาตุ, อ ัมหากัง, ทีฆะ-
ร ัตตัง, หิตายะ, สุขายะฯ

ข ้าแต่พระสงฆ ์ผูเ้ จริญ ข ้าพเจ ้าทังหลาย ้ วารเหล่านี ้
ขอน้อมถวาย ภัตตาหารกับทังบริ
แก่พระภิกษุสงฆ ์ ขอพระภิกษุสงฆ ์จงรับ ภัตตาหารกับ
้ วารเหล่านี ้ ของข ้าพเจ ้าทังหลาย
ทังบริ ้ ่
เพือประโยชน์ ่
เพือความสุ ้
ข แก่ข ้าพเจ ้าทังหลาย

สินกาลนานเทอญ

1 ่ สิรวิ ณฺ โณ) หนังสือมนต ์พิธ ี หน้า ๒๘๒]


[พระครูอรุณธรรมรงั ษี (เอียม
วิธแี สดงอาบัต ิ ตามพุทธวจน
[วิ.ม. ๔/๒๕๕/๑๘๖, ปาฬิ (สยามร ัฐ)]
ผู แ้ สดง “อะหัง อาวุโส(ภันเต) (สัพพา (คะรุ) ละหุกา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย
ทุพพาสิตาโย) อาปั ตตึง อาปั นโน ตัง ปฏิเทเสมีตฯ ิ
แปลว่า ท่านผูเ้ จริญ ผมต ้องอาบัตม ิ ช ่
ี อนี ้ ิ ้ัน”
ื ขอแสดงคืนอาบัตน
ผูร้ ับ “ปั สสะสี แปลว่า ท่านเห็นหรือ?”

ผู แ้ สดง “อามะ ปั สสามิ แปลว่า ครับ ผมเห็น”


ผูร้ ับ “อายตึง สังวะเรยยาสิ แปลว่า ท่านพึงสารวมต่อไป”

ผู แ
้ สดง “สาธุ สุฏฐุ สังวะริสสามิ แปลว่า ดีละ ผมจะสารวมให ้ดี”

วิธแ
ี สดงอาบัต ิ อีกแบบ
ผูแ้ สดงอ่อนกว่า ผูร้ ับ
ผู แ้ สดง อะหัง ภันเต, สัพพะหุลา นานาวัตถุกาโย ถุลลัจจะยาโย ปาจิตติยาโย
ทุกกะฏาโย ทุพพาสิตาโย อาปั ตติโย อาปั นโน ตา ปะฏิเทเสมิฯ
ผูร้ ับ ปั สสะสิ อาวุโสฯ

ผู แ้ สดง อามะ ภันเต ปั สสามิฯ


ผูร้ ับ อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิฯ

ผู แ
้ สดง สาธุ สุฏฐุ ภันเต, สังวะริสสามิฯ (ว่า ๓ ครง)้ั
สาหร ับผู ้แสดงมีพรรษามากกว่าเปลียน่ ภันเต เป็ น อาวุโส


ขันตอนและบทสละสิ กขา
ขอลาสิกขา กราบ ๓ ครง้ั ประนมมือ กล่าว นะโม... ๓ จบ แล ้วกล่าวดังนี ้
สิกขัง ปั จจักขามิ คิหตี ิ มัง ธาเรถะฯ

(ข ้าพเจ ้าลาสิกขา ท่านทังหลายจงจ าข ้าพเจ ้าไว ้ว่าเป็ นคฤหัสถ ์)

คาลาสิกขาศีล๘ แม่ช ี - พราหมณ์


ปั ณฑะร ังคะปั พพะชิต ัสสะ อ ัฏฐะสิกขาปะทานิ ปั จจักขามิ อ ัชชะตัคเคทานิ คิหต ี ิ มัง
ธาเรถะฯ
(ข ้าแต่ท่านผูเ้ จริญ ข ้าพเจ ้าขอลาสิกขาบททัง้ ๘ ของนักบวชผูน ้ ุ่ งขาวห่มขาว
้ ้
ขอท่านทังหลาย จงจาข ้าพเจ ้าไว ้ว่า เป็ นคฤหัสถ ์ ตังแต่บด ้
ั นี เป็ นต ้นไปเทอญ)

You might also like