You are on page 1of 84

คู่มือเตรียมสอบธรรม สนามหลวง

นักธรรมชั้นโท
ประมวลปัญหา-เฉลย
(๒๕๕๑-๒๕๖๔)
พิมพ์ครั้งที่ ๕
ข้ อสอบพร้ อมเฉลยครบทุกวิชา (พ.ศ. ๒๕๕๑ - พ.ศ. ๒๕๖๔)
จัดเรียงตามเนื้อหาหลักสู ตรแม่ กองธรรม สนามหลวง
สาหรับพระภิกษุสามเณรเตรียมสอบธรรม สนามหลวง ระดับนักธรรมชั้นโท

คู่มือเตรียมสอบธรรม สนามหลวง นักธรรมชั้นโท


ประมวลปัญหา-เฉลย (๒๕๕๑-๒๕๖๔)
ที่ปรึ กษา : พระมหาสุ ธรรม สุ รตโน ป.ธ.๙, ดร.
พระมหาวิทยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙
ผูเ้ รี ยบเรี ยง : พระอติคุณ ฐิตวโร ดร.
ลิขสิ ทธิ์ : โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม วัดพระธรรมกาย
๒๓/๒ หมู่ ๗ ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ๑๒๑๒๐
http://www.pariyat.com, E-mail : happymo1956@gmail.com
พิมพ์ครั้งที่ ๕ : ๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
จานวน : ๓๐๐ เล่ม
พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิ ต
เลขที่ ๙๙ หมู่ ๑๘ ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง
จังหวัดปทุมธานี ๑๒๑๒๑

สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ


การให้ธรรมะเป็ นทาน ย่อมชนะการให้ ทั้งปวง
หนังสื อเล่ มนีไ้ ด้ รับการสนับสนุนการจัดพิมพ์ และเผยแพร่ เป็ นธรรมทาน โดย มูลนิธิธรรมกาย
สาหรั บสานักศาสนศึกษา สถานศึกษา
ที่มีความประสงค์ จะนาไปใช้ ประกอบการเรี ยนการสอนนักธรรมชั้นโท
ติดต่ อได้ ที่ โรงเรี ยนพระปริ ยัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
โทร. ๐-๒๘๓๑-๑๐๐๐ ต่ อ ๑๓๗๘๐

คานาในการจัดพิมพ์ ครั้งที่ ๕
คู่มือเตรี ยมสอบธรรม สนามหลวง นักธรรมชั้นโท ประมวลปั ญหา-
เฉลย (๒๕๕๑-๒๕๖๔) ฉบับนี้ จัดพิม พ์ข้ ึนเพื่อ ให้ผูเ้ รี ยนได้อ่านปั ญหาเฉลย
ข้อสอบธรรมสนามหลวงที่มีจานวนข้อสอบมากและไม่ได้จดั เรี ยงหมวดหมู่ตาม
เนื้ อ หาในหนัง สื อ เรี ย น สามารถอ่านหนังสื อ ไปพร้ อ มกับศึ กษาแนวข้อ สอบ
สนามหลวงไปพร้อมกันได้ จึ งได้จดั เรี ยงปั ญหาเฉลยใหม่ โดยปรับให้มีความ
สอดคล้องกับเนื้ อหาแต่ละบท ประกอบด้วยวิชาเรี ยงความแก้กระทู้ธรรม วิชา
ธรรมวิภาค วิชาอนุ พุทธประวัติ วิชาศาสนพิธี และวิชาวินัยมุข โดยรวบรวม
ปัญหา-เฉลยไว้ ๑๔ ปี ตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ - พ.ศ.๒๕๖๔
ผูจ้ ดั ทาหวังว่าผูเ้ ข้าสอบธรรม สนามหลวง ระดับนักธรรมชั้นโท จะ
ได้ประโยชน์จากการศึกษาคู่มือฉบับนี้ สามารถช่วยเสริ มความเข้าใจและจดจา
แนวการออกข้อสอบธรรมสนามหลวง และใช้ติวก่อนเข้าสอบธรรมสนามหลวง
เพื่อช่วยทาให้เกิดความมัน่ ใจในการทาข้อสอบได้มากยิ่งขึ้น
ขอให้ ทุ ก ท่ า นจงมี ค วามสุ ข ความเจริ ญรุ่ ง เรื องในร่ ม เงาบวร
พระพุทธศาสนาสื บไป ให้มีดวงปัญญาสว่างไสว รู้แจ้งเห็นแจ้งในธรรมของพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าได้โดยง่าย โดยเร็วพลันเทอญฯ

ขอขอบคุณและอนุโมทนาบุญ
พระอติคุณ ฐิตวโร, ดร.
ฝ้ายวิชาการ โรงเรี ยนพระปริ ยตั ิธรรม
วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

สารบัญ
เรื่ อง หน้ า
๑. การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม ๑
๑.๑ วิธีอ่านภาษาบาลี ๑
๑.๒ ความสาคัญของวิชาเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ๒
๑.๓ ประโยชน์ของวิชาเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ๒
๑.๔ วิธีการแต่งกระทูธ้ รรม ๓
๑.๕ ภาษาในการเขียนเรี ยงความ ๓
๑.๖ สานวนโวหารในการเขียนเรี ยงความ ๓
๑.๗ หลักเกณฑ์การเขียนเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ๓
๑.๘ โครงสร้างการเขียนเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ๕
๑.๙ ตัวอย่างการเขียนอธิบายหัวข้อกระทูธ้ รรม ๖
๑.๑๐ กระทูย้ อดนิยม ๑๐
๑.๑๑ ตัวอย่างการเขียนกระทูธ้ รรม ๑๒
๑.๑๒ ข้อสอบวิชาเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ๑๕
๒.๑ วิชาธรรมวิภาค ๑๙
ทุกะ คือ หมวด ๒ ๑๙
ติกะ คือ หมวด ๓ ๒๒
จตุกกะ คือ หมวด ๔ ๒๗
ปัญจกะ คือ หมวด ๕ ๒๙
ฉักกะ คือ หมวด ๖ ๓๑
สัตตกะ คือ หมวด ๗ ๓๒
อัฏฐกะ คือ หมวด ๘ ๓๓
นวกะ คือ หมวด ๙ ๓๓
ทสกะ คือ หมวด ๑๐ ๓๕
เอกาทสกะ คือ หมวด ๑๑ ๓๖
ทวาทสกะ คือ หมวด ๑๒ ๓๖
เตรสกะ คือ หมวด ๑๓ ๓๗
๒.๒ วิชาอนุพุทธประวัติ ๓๙
๒.๓ วิชาศาสนพิธี ๕๓
หมวด ๑ กุศลพิธี ๕๓

เรื่ อง หน้ า
หมวด ๒ บุญพิธี ๕๔
หมวด ๓ ทานพิธี ๕๖
หมวด ๔ ปกิณณกพิธี ๕๖
๒.๔ วิชาวินัยมุข ๕๗
อารัมภบท ๕๗
กัณฑ์ที่ ๑๑ กายบริ หาร ๕๘
กัณฑ์ที่ ๑๒ บริ ขาร บริ โภค ๕๙
กัณฑ์ที่ ๑๓ นิสัย ๖๑
กัณฑ์ที่ ๑๔ วัตร ๖๓
กัณฑ์ที่ ๑๕ คารวะ ๖๔
กัณฑ์ที่ ๑๖ จาพรรษา ๖๖
กัณฑ์ที่ ๑๗ อุโบสถ ปวารณา ๖๗
กัณฑ์ที่ ๑๘ อุปปถกิริยา ๗๐
กัณฑ์ที่ ๑๙ กาลิก ๔ ๗๒
กัณฑ์ที่ ๒๐ ภัณฑะต่างเจ้าของของสงฆ์ ๗๔
กัณฑ์ที่ ๒๑ วินยั กรรม ๗๕
กัณฑ์ที่ ๒๒ ปกิณณกะ ๗๖

๑. การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม
๑.๑ วิธีอ่านภาษาบาลี
๑) พยัญชนะที่มีสระกากับอยู่ ให้อ่านออกเสี ยงตามสระนั้นๆ เช่น
ปุริมานิ อ่านว่า ปุ-ริ-มา-นิ
ตีณิ อ่านว่า ตี-ณิ
๒) พยัญชนะที่ไม่มีสระใดๆ กากับอยูเ่ ลย ให้อ่านออกเสี ยงสระ อะ ทุกแห่ง เช่น
นววิธ อ่านว่า นะ-วะ-วิ-ธัง
ปน อ่านว่า ปะ-นะ
๓) พยัญชนะที่มี พินทุ ( ฺ ) อยูข่ า้ งล่าง แสดงว่าพยัญชนะตัวนั้นเป็ นตัวสะกด ให้อ่านออกเสี ยง
รวมกับสระของพยัญชนะที่อยูข่ า้ งหน้า เช่น
ภิกขู (ภิ+ก=ภิก) อ่านว่า ภิก-ขู
โหนติ (โห+น=โหน) อ่านว่า โหน-ติ
ถ้าพยัญชนะที่อยูข่ า้ งหน้าไม่มีสระใดๆ กากับอยูเ่ ลย พินทุ ( ฺ ) นั้นจะเท่ากับไม้หันอากาศ
เช่น
ตตถ (ตะ+ต=ตัต) อ่านว่า ตัต-ถะ
อฏฐ (อะ+ฏ=อัฏ) อ่านว่า อัฏ-ฐะ
๔) พยัญชนะที่มี นิคหิต ( ฺ ) อยูข่ า้ งบนและมีสระกากับอยูด่ ว้ ย ให้อ่านออกเสี ยงมี ง เป็ นตัวสะกด
เช่น
กึ (กิ+ง=กิง) อ่านว่า กิง
กาตุ (ตุ+ง=ตุง) อ่านว่า กา-ตุง
ถ้าพยัญชนะที่มี นิคหิต ( ฺ ) อยูข่ า้ งบน แต่ไม่มีสระใดๆ กากับอยูเ่ ลย นิคหิต ( ฺ ) นั้นจะเท่ากับ
อัง เช่น
วตต (ตะ+ง=ตัง) อ่านว่า วัต-ตัง
อย (ยะ+ง=ยัง) อ่านว่า อะ-ยัง
๕) พยัญชนะตัวหน้าที่มี พินทุ ( ฺ ) อยูข่ า้ งล่าง ให้อ่านออกเสี ยงสระ อะ กึ่งเสี ยง เช่น
เทฺว อ่านว่า ท๎-เว
พยตต อ่านว่า พ๎-ยัต-ตัง
๖) ถ้ามี ร อยูห่ ลังพยัญชนะที่มี พินทุ ( ̣ ) อยูข่ า้ งล่าง ให้อ่านออกเสียงควบกล้ากัน เช่น

ตตร อ่านว่า ตัต-ตระ


พรหมจริยา อ่านว่า พรัม-มะ-จะ-ริ -ยา
๗) ส ที่มี พินทุ ( ฺ ) อยูข่ า้ งล่าง ให้อ่านออกเสี ยงเป็ นตัวสะกดของพยัญชนะที่อยูข่ า้ งหน้า และออก
เสี ยง ส นั้นอีกกึ่งเสี ยง เช่น
อิมสมึ อ่านว่า อิ-มัส-ส๎-หมิง
ตสมา อ่านว่า ตัส-ส๎-หมา
๘) คาที่ลงท้ายด้วย ตวา ตวาน ให้อ่านออกเสี ยง ต เป็ นตัวสะกดของพยัญชนะที่อยูข่ า้ งหน้า และ
ออกเสี ยง ต นั้นอีกกึ่งเสี ยง เช่น
กตวา อ่านว่า กัต-ต๎-วา
คเหตวา อ่านว่า คะ-เหต-ต๎-วา
๙) ฑ ให้อ่านออกเสี ยงเป็ นตัว ด ทั้งหมด เช่น
ปิ ณฑปาต อ่านว่า ปิ ณ-ดะ-ปา-ตัง
ปิ ณฑาย อ่านว่า ปิ ณ-ดา-ยะ
๑๐) ห ที่มีสระ อี อยูด่ ว้ ย ให้อ่านออกเสี ยงเป็ น ฮี เช่น
ตุณหี อ่านว่า ตุณ-ณ๎-ฮี
อจฉาเทหีติ อ่านว่า อัจ-ฉา-เท-ฮี-ติ

๑.๒ ความสาคัญของวิชาเรียงความแก้ กระทู้ธรรม


๑) ส่งเสริ มความเจริ ญทางด้านจินตนาการ ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ของผูเ้ รี ยน
๒) ทาให้ผเู ้ รี ยนรู้จกั ลาดับความคิด สามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของตนออกมาให้ผอู ้ ื่น
เข้าใจตามต้องการได้
๓) รู้จกั เลือกถ้อยคาสานวนโวหารได้ถูกต้องตามหลักภาษา
๔) ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเขียนได้ถูกต้องตามแบบที่นิยม
๑.๓ ประโยชน์ ของวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม
๑) ทาให้ผเู ้ รี ยนเกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของธรรม
๒) ทาให้ผู ้ เรี ยนได้เข้าใจถึงผลเสี ย กล่าวคือคุณและโทษของการปฏิบตั ิตามและไม่ปฏิบตั ิ
ตามธรรมะ
๓) ให้เข้าใจในชีวิตและรู้จกั แสวงหาความสุขโดยมีธรรมะเป็ นเครื่ องชี้แนวทาง
๔) ช่วยพัฒนาด้านจิตใจของมนุษย์ให้รู้จกั ผิดชอบชัว่ ดี ละความชัว่ ประกอบความดี โดย

พยายามงดเว้นความชัว่ โดยเด็ดขาด
๑.๔ วิธีการแต่งกระทู้ธรรม
มีการแต่งกระทูธ้ รรมอยู่ ๒ แบบ คือ
๑) แบบตั้งวง คือ อธิบายความหมายของธรรมข้อนั้น ๆ เสี ยก่อนแล้วจึงขยายความออกไป
๒) แบบตีวง คือ บรรยายเนื้อความไปก่อนแล้ว จึงวกเข้าหาความหมายของกระทูธ้ รรมนั้น
ส่วนมากผูแ้ ต่งกระทูธ้ รรม มักจะนิยมแต่งแบบที่ ๑ คือ แบบตั้งวง อธิบายความหมายภาษิต
นั้นก่อนแล้วจึงขยายความให้ชดั เจนต่อไป

๑.๕ ภาษาในการเขียนเรียงความ
๑) ใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้อง มีประธาน มีกริ ยา มีกรรม
๒) ไม่ใช้ภาษาตลาด ภาษาแสลง
๓) ไม่ใช้ภาษาพื้นเมือง หรื อภาษาท้องถิ่น
๔) ไม่ใช้ภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ เป็ นต้น
๑.๖ สานวนโวหารในการเขียนเรียงความ
สานวนโวหารมี ๔ แบบ คือ
๑) พรรณนาโวหาร ได้แก่ การพรรณนาความ คือ เล่าเรื่ องที่ได้เห็นมาแล้วด้วยความมุ่งหวัง
ให้ไพเราะ เพลิดเพลินบันเทิง
๒) บรรยายโวหาร ได้แก่ การอธิบายข้อความที่ยอ่ ซึ่งยังเคลือบแคลงอยูใ่ ห้แจ่มแจ้งหรื อ
พิสดาร
๓) เทศนาโวหาร ได้แก่ การแต่งทานองการสอน คือ ชี้แจงหลักธรรมนั้น
๔) สาธกโวหาร ได้แก่ การบรรยายข้อเปรี ยบเทียบ คือ นาข้ออุปมาอุปไมยมาเทียบเคียง
สานวนที่นิยมใช้ในการเขียนเรี ยงความคือ แบบเทศนาโวหาร มีหลักการเขียน ดังนี้
๑) ข้อความที่เขียนนั้นจะต้องมีเหตุผลใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิงได้
๒) มีอุทาหรณ์และหลักคติธรรม
๓) ผูเ้ ขียนจะต้องแสดงให้เห็นว่า ตนมีลกั ษณะและคุณสมบัติพอเป็ นที่เชื่อถือได้
๑.๗ หลักเกณฑ์ การเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม
๑) กระทู้ต้งั คือ ธรรมภาษิตที่เป็ นปัญหาที่ยกขึ้นมาก่อนสาหรับให้แต่งแก้ เช่น
ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.

บุคคลหว่านพืชเช่ นใด ย่อมได้ผลเช่ นนั้น


ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว
๒) คํานํา คือ คาขึ้นต้นหรื อคาชี้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือ เมื่อยกคาถาบทตั้งไว้แล้ว
เวลาจะแต่งต้องขึ้นอารัมภบทก่อนว่า
บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตทีไ่ ด้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็ น
แนวทางแห่ งการประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ ในธรรมสื บไป
๓) เนื้อเรื่องของกระทู้ต้งั ต้องมีเนื้อหาสาระสาคัญ ลาดับเนื้อหาสาระให้ต่อเนื่องกันเป็ น
เหตุเป็ นผล โดยขึ้นต้นด้วยคาว่า “อธิบายความว่า” ก่อนจบการอธิบายจะลงท้ายด้วยคาว่า “นี้สม
ด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน (ใส่ที่มาของธรรมภาษิตที่นามารับ) ว่า” เพื่อรับรองไว้เป็ นหลักฐาน เช่น
นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า
๔) กระทู้รับ คือ ธรรมภาษิตที่ยกขึ้นมารับรองให้สมเหตุสมผลกับกระทูต้ ้งั เพราะการแต่ง
เรี ยงความนั้นต้องมีกระทูร้ ับอ้างให้สมจริ งกับเนื้ อความที่ได้แต่งไป มิใช่เขียนไปแบบลอย ๆ เช่น
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุ ทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
ตนแล เป็ นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่าจะเป็ นทีพ่ ึ่งได้
ก็บุคคลมีตนฝึ กฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก.
๕) เนื้อเรื่องของกระทู้รับ คือ อธิบายเนื้อหาสาระสาคัญของธรรมภาษิตที่ยกมารับ โดย
ขึ้นต้นด้วยคาว่า “อธิบายความว่า”
๖) บทสรุป คือ การรวบรวมใจความสาคัญของเรื่ องที่ได้อธิบายมาแต่ตน้ โดยกล่าวสรุ ปลง
สั้นๆ หรื อย่อ ๆ ให้ได้ความหมายที่ครอบคลุมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาทั้งกระทูต้ ้งั และกระทูร้ ับ โดย
ขึ้นต้นด้วยคาว่า “สรุปความว่า” ก่อนจบการสรุ ปจะลงท้ายด้วยคาว่า “สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขติ
ไว้ ณ เบื้องต้นว่า” แล้วจึงเขียนกระทูต้ ้งั พร้อมคาแปลอีกครั้งหนึ่ง เช่น สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้
ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า
ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่ นใด ย่อมได้ผลเช่ นนั้น
ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว
๗) คําลงท้าย คือ ประโยคที่เป็ นการจบการเขียนเรี ยงความ จะใช้คาว่า “มีนัยดังได้
พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ” โดยให้เขียนขึ้นบรรทัดใหม่ชิดเส้นกั้นหน้า

๘) จํานวนกระทู้รับ คือ จานวนธรรมภาษิตที่จะต้องหามาเชื่อมกับกระทูต้ ้งั สาหรับระดับ


นักธรรมชั้นเอก ให้ ใช้ ๒ ธรรมภาษิต
๙) จํานวนหน้ าที่ต้องเขียน คือ การเขียนเรี ยงความในกระดาษตอบสนามหลวง ขนาด F14
เว้นบรรทัด สาหรับระดับนักธรรมชั้นโท ต้องเขียนอย่างน้อย ๓ หน้ากระดาษขึ้นไป และห้ามใช้
ดินสอหรื อปากกาน้ าหมึกสี แดงเขียนหรื อขีดเส้นโดยเด็ดขาด ให้ใช้ปากกาน้ าหมึกสี น้ าเงินหรื อสี ดา
เท่านั้น หากเขียนผิดเล็กน้อย สามารถใช้น้ ายาหรื อเทปลบคาผิดได้
๑๐) การเขียนตัวเลขบอกจํานวน หากต้องเขียนตัวเลขบอกจานวนข้อ เช่น ๑)........ ๒)........
๓)........ให้ใช้ตวั เลขไทย ห้ามเขียนตัวเลขอารบิค และไม่ตอ้ งขึ้นย่อหน้าใหม่ ให้เขียนเรี ยงต่อกันอยู่
ในย่อหน้าของการอธิบายความ

๑.๘ โครงสร้ างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม


(กระทู้ตั้ง)------------------.
(คำแปลกระทู้ตั้ง)----------------.
บัดนี้จักได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็น
แนวทางแห่งการประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ในธรรมสืบไป
อธิบายความว่า -------------------------------------
---------------------------------------------------
----------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)---------------
----นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน ------------------------ว่า
(กระทู้รับที่ ๑)------------------.
(คำแปลกระทู้รับที่ ๑)----------------.
อธิบายความว่า -------------------------------------
----------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)---------------
---------------------------------------------------
----นี้สมด้วยธรรมภาษิต ที่มาใน ------------------------ว่า
(กระทู้รับที่ ๒)------------------.
(คำแปลกระทู้รับที่ ๒)----------------.

อธิบายความว่า -------------------------------------
---------------------------------------------------
----------------(เขียนอธิบายประมาณ ๑๐ บรรทัด)---------------
--------------------------
สรุปความว่า --------------------------------------
---------------------------------------------------
----------------(เขียนอธิบายประมาณ ๕-๘ บรรทัด)--------------
---------------------------------------------------
-------------------- สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น ว่า
(กระทู้ตั้ง)------------------.
(คำแปลกระทู้ตั้ง)----------------.
มีนัยดังได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ
๑.๙ ตัวอย่างการเขียนอธิบายหัวข้ อกระทู้ธรรม
ตัวอย่างที่ ๑
โกธสฺ ส วิสมูลสฺ ส มธุรคฺคสฺ ส พฺราหฺมณ
วธํ อริยา ปสํสนฺติ ตญฺหิเฉตฺวา น โสจติ.
พราหมณ์ ! พระอริยเจ้ าย่อมสรรเสริญผู้ฆ่าความโกรธ ซึ่งมีโคนเป็ นพิษปลายหวาน
เพราะคนตัดความโกรธนั้นได้แล้วย่อมไม่เศร้ าโศก.
(พุทฺธ) ส. ส. ๑๕/๒๓๖.
อธิบายความว่ า ความโกรธ หมายถึง ความขุ่นเคือ งใจ ความไม่พอใจอย่างแรง ที่
เกิดขึ้นจากการประสบอารมณ์หรื อสิ่ งที่ไม่ชอบใจ เช่น ถูกคนอื่นตาหนิ ถูกด่า เป็ นต้น ความโกรธนี้
เกิดขึ้นได้ง่าย ดับยาก และมีโทษร้ายแรง เมื่อเกิดขึ้นแล้วจะทาลายสติปัญญา ไม่คานึ งถึงศีลธรรม
ความโกรธมีรากเป็ นพิษมียอดหวาน หมายถึง ความโกรธมีรากมาจากความหลง (โมหะ) ความไม่
พอใจ (อรติ) ความหงุดหงิดราคาญ (ปฏิฆะ) สิ่ งเหล่านี้ลว้ นเป็ นพิษแก่ร่างกายและจิตใจทั้งสิ้น ทาให้
โรคหัวใจกาเริ บ ทาให้ประสาทตึงเครี ยด จิตใจเร่ าร้อน อยากทาลายสิ่ งของ อยากทาร้ายผูอ้ ื่น เมื่อได้
ทาลายหรื อทาร้ายแล้ว ความโกรธจะสงบลง เพราะได้ระบายความร้อนภายในออกแล้ว รู้สึกสบาย
ใจขึ้น เหมือ นน้ าเดื อ ดที่มีทางระบาย อาการแบบนี้ เรี ยกว่า มียอดหวาน (มธุ รัคคะ) แต่ในที่สุดก็

นาไปสู่ทุกข์อีก และเป็ นทุกข์ที่ยิ่งใหญ่เหมือนคนดื่มน้ าหวานที่ผสมยาพิษ ทีแรกหวานแต่พอยาพิษ


ออกฤทธิ์ เท่านั้น ก็ได้เห็นโทษของยาพิษว่ามีอย่างไร ต้องเศร้าโศกเสี ยใจไปตลอดชีวิตก็มี การทา
อะไรลงไปเพราะความโกรธนั้น เป็ นการทาลายตนเอง ทาลายผูอ้ ื่น แม้กระทัง่ ทาร้ายผูม้ ีพระคุณมี
มารดาบิดา ครู อาจารย์ เป็ นต้น เมื่อเขาสงบอารมณ์จากความโกรธลงแล้ว ย่อมจะต้องเศร้าโศกเสี ยใจ
กับสิ่ งที่ตนได้กระทาผิดพลาดไป และเสี ยใจกับผลแห่ งการกระทาของตนในภายหลัง ดังนั้นพระ
อริ ยเจ้าทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันขึ้นไปจนถึงพระอรหันต์ จึงสรรเสริ ญบุคคลฆ่าความโกรธได้
แล้วว่าไม่ตกอยูใ่ นอานาจของความโกรธ ย่อมไม่ตอ้ งเศร้าโศกเสี ยใจในภายหลัง
ตัวอย่างที่ ๒
นิทฺทํ น พหุลกี เรยฺย ชาคริยํ ภเชยฺย อาตาปี
ตนฺทึ มายํ หสฺ สํ ขิฑฺฑํ เมถุนํ วิปปฺ ชเห สวิภสู ํ.
ผู้มีความเพียรไม่พึงนอนมาก พึงเสพธรรมเครื่ องตื่น พึงละความเกียจคร้ าน
มายา ความร่ าเริง การเล่น และเมถุน พร้ อมทั้งเครื่ องประดับเสีย.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๕๑๕., ขุ. มหา. ๒๙/๔๕๗,๔๖๐
อธิบายความว่ า คาว่า ผูม้ ีความเพียรไม่พึงนอนมาก หมายถึง ผูม้ ีความขยัน ความ
พยายาม แบ่งเวลาในการปฏิบัติกิจการงานต่างๆ และเวลาในการพักผ่อน เช่ น แบ่งเวลาในเวลา
กลางวันและกลางคืน เป็ น ๖ ส่ วน ตื่นอยู่ ๕ ส่ วน นอนหลับ ๑ ส่ วน คาว่าพึงเสพเสพธรรมเครื่ อง
ตื่น หมายถึง ความมีสติสัมปชัญญะ เพื่อ ชาระจิตให้บริ สุทธิ์ จากธรรมเป็ นเครื่ องกั้นขวางความดี
ด้วยการเจริ ญสมาธิภาวนาไว้ในใจ ตลอดทั้งวัน ไม่ให้บาปอกุศลเข้ามาบังคับบุญชาให้คิดชัว่ พูดชั่ว
ทาชั่วได้ คาว่า พึงละความเกียจคร้าน หมายถึง พึงละเว้นจากความขี้เกียจ กิ ริยาที่แสดงอาการของ
คนขี้เกียจ มีจิตใจเบื่อหน่ายไม่อยากทาการงาน คาว่า มายา หมายถึง ความประพฤติลวงผูอ้ ื่นด้วย
กิริยาที่ปกปิ ดความจริ ง กิริยาที่อาพรางความชัว่ ที่ประพฤติทุจริ ตด้วยกาย วาจา ใจ คาว่า การเล่น
หมายถึง การเล่นจนหัวเราะจนขาดสติ มี ๒ อย่าง ได้แก่ การเล่นทางกาย เช่น การเล่นแข่งรถ แข่งม้า
ส่วนการเล่นทางวาจา ได้แก่ การเล่นร้องเพลง โห่ร้องคึกคะนอง ส่วนคาว่า เมถุน หมายถึง การเสพ
กามของชายหญิงด้วยราคะ มีความกาหนัดยินดีในกามคุณ คาว่า เครื่ องประดับ หมายถึง การประดับ
มีอยู่ ๒ อย่าง คือ การประดับของคฤหัสถ์ เช่น การแต่งผม การแต่งหน้าทาปาก การประพรมเครื่ อง
หอม การตกแต่งร่ างกายเครื่ องประดับ และการประดับของบรรพชิต เช่น การตบแต่งบาตร การเล่น
สนุกในการประดับ กิริยาที่ประดับซึ่งร่ างกายหรื อบริ ขารทั้งหลายอันเป็ นภายนอก ดังนั้นผูท้ ี่มีความ
เพียรจะบรรลุเป้าหมายที่ต้งั ไว้ได้สาเร็จนั้น ต้องมีความขยันพากเพียร ไม่เห็นแก่การนอน มีสติระลึก
รู้ตวั เมื่อจะคิด พูด ทาสิ่ งต่างๆ ด้วยความรอบคอบ และละเว้นความเกียจคร้าน มายา ความหัวเราะคึก

คะนอง การเล่นสนุก เมถุนธรรมอันเป็ นไปกับด้วยการประดับ เพราะสิ่ งเหล่านี้ ทาให้เสี ยทรัพย์


เสี ยเวลา และเป็ นทางมาแห่งทุกข์ ทาให้ไม่ประสบความสาเร็จได้ดงั ที่ต้วั ใจไว้
ตัวอย่างที่ ๓
ปรวชฺชานุปสฺ สิสฺส นิจฺจํ อุชฺฌานสญฺญิโน
อาสวา ตสฺ ส วฑฺฒนฺติ อารา โส อาสวกฺขยา.
คนที่เห็นแต่โทษผู้อื่น คอยแต่เพ่งโทษนั้น
อาสวะก็เพิ่มพูน เขายังไกลจากความสิ้นอาสวะ.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๙.
อธิบายความว่า คนที่เห็นแต่โทษของคนอื่น เพราะโทษของผูอ้ ื่นเห็นได้ง่าย ส่วนโทษ
ของตนเห็นได้ยากส่ วนมากมักจะเพ่งโทษคนอื่น เพราะจิตมักจะตกอยู่ภายใต้อานาจของกิเลส เกิด
อกุศลจิ ต ที่มาจากอารมณ์หรื อความรู้ สึกยินดี ยินร้ ายเป็ นเหตุ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระแสโลกใน
ปั จจุบนั มีสื่อรับรู้ที่มีรูป เสี ยง กลิ่น รส สัมผัสทางกาย ที่เรี ยกว่าวัตถุแห่ งกามอันเป็ นเครื่ องกระตุน้
ให้เกิ ดอารมณ์ หรื อ ความรู้ สึกยินดี ยินร้ ายที่เป็ นต้นเหตุให้เกิ ดกิเลสกามหรื อ อาสวะกิ เลส ได้แก่
โลภะ โทสะ โมหะ ในทุกที่ทุกเวลาตั้งแต่ตื่นนอนจนกระทัง่ เข้านอน จึงทาให้เกิดอาสวะเพิ่มพู น
มากขึ้น และเป็ นเหตุให้ห่างไกลจากความสิ้ นอาสวะ ไม่สามารถหลุดพ้นจากกองทุกข์หรื อวัฏฏะ
สงสารได้ ดังนั้น เราจึ งควรรู้ เท่าทันกิ เลสที่เกิ ดขึ้นตลอดเวลาในชี วิตประจาวัน ไม่มีทางหนี สิ่ง
เหล่านี้ไปได้เลย เพราะเราต้องอยูก่ บั การเสพคุน้ กับการมองเห็นโทษของผูอ้ ื่นอยู่ตลอดเวลาในชี วิต
นี้ การที่จะหลุดพ้นจากกิเลสนี้ไปได้ดว้ ยการ ประพฤติปฏิบตั ิธรรม เพื่อให้เกิดสติ รู้จกั ปล่อยวางใน
อารมณ์หรื อความรู้สึกยินดียินร้ายที่เป็ นกิเลสกามหรื ออกุศลจิต จึงจะไม่หลงไปกับอาสวะกิเลส ไม่
เกิดการเพ่งโทษผูอ้ ื่น และไม่สะสมอาสวะกิเลส ใจของเราก็จะเบาบางจาก โลภะ โทสะ โมหะ เรา
จึงสามารถหลุดพ้นจากกองทุกข์ได้โดยสิ้นเชิง
ตัวอย่างที่ ๔
อนวฏฺฐิตจิตฺตสฺ ส สทฺธมฺมํ อวิชานโต
ปริปฺลวปสาทสฺส ปญฺญา น ปริปูรติ.
เมื่อมีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้พระสัทธรรม
มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ปัญญาย่อมไม่บริบูรณ์.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๐
อธิบายความว่ า ปั ญญา หมายถึง ความรอบรู้ คือรู้ทางแห่ งความเจริ ญและทางแห่ ง
ความเสื่ อ ม แบ่งเป็ น ๒ ระดับ คือ ๑) โลกิ ยปั ญญา คือ ปั ญญาทางโลก หมายถึง ปั ญญาที่ใช้เพื่อ

ประกอบกิจกรรมในทางโลก ไม่ว่าจะเป็ นการทางาน อาชี พ เล่นกี ฬา เรี ยนหนังสื อ เป็ นต้น ๒)


โลกุตตรปั ญญา คือ ปั ญญาในทางธรรม หมายถึง ปั ญญาที่เกิ ดขึ้นจากการเจริ ญภาวนา จึ งจะเกิ ด
ปัญญาระดับนี้ได้ คาว่า มีจิตไม่มนั่ คง หมายถึง มีจิตคลอนแคลนอยูเ่ สมอ เป็ นคนจับจด ทาอะไรไม่
จริ ง เพราะจิตมัวกลับกลอกอยูน่ นั่ เอง จะทาความดีก็ไม่แน่ใจว่า ความดีจะให้ผลจริ งหรื อเปล่า จึงไม่
กล้าทา คงปล่อยเวลาให้ล่วงไปโดยเปล่าประโยชน์และแก่ตายไปโดยไม่ได้ทาอะไรเป็ นชิ้นเป็ นอัน
จะศึ ก ษาเล่ าเรี ย นก็ลัง เล ไม่ รู้ จ ะจับ อะไรดี จึ ง ไม่ ไ ด้ความรู้ เ ท่า ที่ค วร ค าว่ า ไม่ รู้ พ ระสั ท ธรรม
หมายถึง ไม่รู้จกั ผิดชอบชั่วดี ไม่รู้จกั เว้นสิ่ งที่ควรเว้น ไม่รู้จกั ประพฤติสิ่งที่ควรประพฤติ คาว่า มี
ความเลื่อมใสเลื่อนลอย หมายถึง มีศรัทธาน้อย คือ มีศรัทธาคลอนแคลนไม่มนั่ คง ไม่ต้ งั มัน่ ไม่มี
หลักในการเชื่อถือ เมื่อกระทบเหตุอนั ทาให้ศรัทธาถอย ก็ถอยเอาง่ายๆ ดังนั้นผูท้ ี่มีจิตไม่มนั่ คงแน่ ว
แน่ ไม่ศึกษาพระสัทธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้าให้ถ่องแท้ และมีความศรัทธาเลื่อมใสที่ เลื่อ น
ลอย ย่อมทาให้ปัญญาของผูน้ ้ นั ไม่สามารถเต็มเปี่ ยมได้ ไม่เจริ ญก้าวหน้าทั้งทางโลกและทางธรรม
ยังต้อ งเวียนว่ายอยู่ในวังวนแห่ งวัฏฏสงสารอยู่ร่ าไป ส่ วนผูท้ ี่มีจิตมั่นคง รอบรู้ พระสัทธรรม มี
ศรัทธามัน่ คง ปัญญาของผูน้ ้ นั ย่อมเพิ่มพูนจนกระทัง่ สามารถหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งปวงได้
ตัวอย่างที่ ๕
ผนฺทนํ จปลํ จิตฺตํ ทุรกฺขํ ทุนฺนิวารยํ
อุชุํ กโรติ เมธาวี อุสุกาโรว เตชนํ.
คนมีปัญญาทําจิตที่ดนิ้ รน กวัดแกว่งรักษายาก
ห้ ามยากให้ ตรงได้ เหมือนช่ างศรทําลูกศรให้ ตรงได้ฉะนั้น.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๙
อธิบายความว่ า คาว่า จิ ต แปลว่า ธรรมชาติที่นึกคิด หรื อ ธรรมชาติรู้อ ารมณ์ ตาม
ธรรมดาของจิตย่อมไหลลงสู่ ที่ต่าเสมอ ย่อมดิ้นรน กวัดแกว่งไปในอารมณ์ต่างๆ ควบคุมรักษาได้
ยาก ห้ามได้ยาก เป็ นธรรมชาติสงบระงับได้ยาก ละจากที่น้ ี ก็ไปจับที่โน่น คือ ละจากอารมณ์หนึ่งก็
ไปเกาะอยู่ที่อีกหนึ่ งอารมณ์อย่างรวดเร็ ว เหมือนเด็กที่กาลังซน เหมือนลิงซึ่ งหาความสงบนิ่งไม่ได้
ดังนั้น ผูม้ ีปัญญา เป็ นผูฉ้ ลาดจึงต้องทาจิตของตนให้ซื่อตรง ด้วยการทาจิตให้อยู่ในอานาจ ไม่ให้
ฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ โดยการสารวมระมัดระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ทาจิตให้เป็ นธรรมชาติ
ควรแก่งานโดยขึ้นสู่ วิปัสสนากรรมฐานอันเป็ นอุบายเรื องปั ญญา พิจารณารู ปนาม เป็ นอารมณ์จน
เกิดปัญญาเห็นสภาวะธรรมตามความเป็ นจริ ง เหมือนช่างศร ดัดลูกศรให้ตรงเหมาะแก่การใช้งาน
๑๐

๑.๑๐ กระทู้ยอดนิยม
กระทู้ที่ ๑
ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่ นใด ย่อมได้ผลเช่ นนั้น
ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่อมได้ผลชั่ว.
ที่มา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค.
อธิบายความว่ า คาว่า ทาดี คือ ทาสุ จริ ต ๓ ได้แก่ ๑) กายสุ จริ ต ความประพฤติดีทาง
กาย มีการงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เป็ นต้น ๒) วจีสุจริ ต ความประพฤติดีทางวาจา มีการพูดคาสัตย์
เป็ นต้น ๓) มโนสุ จริ ต ความประพฤติดีทางใจ มีการไม่เพ่งเล็งอยากได้ของของผูอ้ ื่น เป็ นต้น คาว่า
ทาชั่ว คือ ทาทุจริ ตทั้ง ๓ คือ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ธรรมดาบุคคลหว่านพืชเมื่อถึงฤดูทานา
ย่อมไถและหว่านข้าวลงในนา เพราะมีน้ าหรื อฝนตกต้องตามฤดูกาล ข้าวที่หว่านไว้ก็เจริ ญงอกงาม
และออกรวง ผูก้ ระทาความดี ผูน้ ้ นั ย่อมได้รับผลดีคือไม่ตอ้ งกลัวเดือดร้อน เพราะกรรมที่ตนกระทา
ไว้ดี ผลที่ได้รับคือความสุ ข ความสบายและมีสุคติเป็ นเบื้อ งหน้า แต่ผูท้ ี่กระทากรรมชั่วคือ กรรม
ลามก เขาก็ได้รับผลชั่วตามที่ได้ประกอบกรรมทาชั่วไว้เป็ นความทุกข์ความเดือดร้อนในโลกนี้ แม้
ละจากโลกนี้แล้วก็ยอ่ มประสบกับความเร่ าร้อนในอบาย
กระทู้ที่ ๒
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุ ทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
ตนแล เป็ นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่า จะเป็ นทีพ่ ึ่งได้
ก็บุคคลมีตนฝึ กฝนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก.
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท.
อธิบายความว่ า ตน หมายถึง ร่ างกายและจิ ตใจ ที่เรี ยกว่าอัตภาพหรื อตัวตนของเรา
เป็ นที่พ่งึ ของตน หมายถึง ให้พ่งึ ตัวเองให้มาก ในขอบเขตที่สามารถทาได้ ในขณะที่ยงั อยูใ่ นวัยหรื อ
ในภาวะหนึ่ งๆ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนให้คนเราพึ่งตนเอง ซึ่ งทาได้ ๒ อย่าง คือ ๑) ทาง
ร่ างกาย อาศัยแรงกายทางานประกอบสัมมาอาชี พดารงชี วิตเพื่อ ให้ชีวิตดารงอยู่ได้ ๒) ทางจิ ตใจ
อาศัยร่ างกายนี้เป็ นส่วนหนึ่ งที่จะตอบสนองให้ทาสิ่ งต่างๆ เช่น ทาความดี ทาบุญกุศล ที่พ่งึ อย่างอื่น
ที่คนเราจะยึดเป็ นที่พ่งึ ไปตลอดชีวิต ไม่ว่า บิดามารดา ครู อาจารย์ ย่อมจะทาได้โดยยาก การสั่งสม
๑๑

ทรัพย์สินเงินทองไว้เพื่อให้เราพึ่งตนเองได้ในโลกนี้ เพราะเมื่อสิ้นชีวิตลงทรัพย์เหล่านั้นไม่สามารถ
นาติดตัวไปได้ ส่ วนการสั่งสมบุญกุศลเป็ นการทาที่พ่ึงให้แก่ตนเองในโลกหน้า ดังนั้น เราจึงต้อ ง
ทาบุญด้วยตนเอง อย่าไปหวังพึ่งผูอ้ ื่น เพราะเมื่อละจากโลกนี้ ไปแล้ว ย่อมได้ไปเกิดในสุ คติ โลก
สวรรค์
กระทู้ที่ ๓
โย จ วสฺ สสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺ หํ.
ผู้เกียจคร้ าน มีความเพียรเลว พึงเป็ นอยู่ต้งั ร้ อยปี
ส่ วนผู้ปรารภความเพียรมัน่ คง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวประเสริฐกว่า.
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท.
อธิบายความว่ า คาว่า เกียจคร้าน คือ การไม่อยากทางาน ผัดวันประกันพรุ่ งให้ เวลา
ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์ คาว่า มีความเพียรเลว คือ เพียรพยายามทาความไม่ดี มีการลักขโมย
ปล้น จี้ วิ่งราวทรัพย์ เบียดเบียนผูอ้ ื่น ทาความเดือดร้อนให้ผูอ้ ื่น ชอบทางานที่ไร้ประโยชน์ คาว่า ผู ้
ปรารภความเพียรมัน่ คง คือ คนที่มีความพยายามทาสิ่ งที่เป็ นบุญกุศลหมัน่ ทาความเพียรเพื่อชาระ
จิตใจให้สะอาดหมดจด ดังนั้นผูท้ ี่เกียจคร้าน เพียรทาสิ่ งชั่วไม่ทาสิ่ งที่ดีงาม ถึงมีอายุยืนเป็ นร้อยปี ก็
เปล่าประโยชน์ ไม่มีใครๆ ต้องการ เมื่อ ตายไปย่อ มไปอบายภูมิ มีนรก เป็ นต้น ส่ วนผูท้ ี่ มีความ
ขยันหมัน่ เพียรประกอบบุญกุศล มีความเพียรมัน่ คง ปรารภความเพียรมัน่ คง ประพฤติปฏิบตั ิธรรม
เมื่อตายไปย่อมไปสู่สุคติโลกสวรรค์
กระทู้ที่ ๔
ปุญฺญญฺเจ ปุริโส กยิรา กยิราเถนํ ปุนปฺปุนํ
ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ สุ โข ปุญฺญสฺ ส อุจฺจโย.
ถ้าบุคคลจะกระทําบุญ ควรทําบุญนั้นบ่ อย ๆ
ควรทําความพอใจในบุญนั้น การสั่งสมบุญนําความสุ ขมาให้ .
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท.
อธิบายความว่ า บุญ หมายถึง สิ่ งเกิดขึ้นในจิตใจ แล้วทาให้จิตใจใสสะอาดบริ สุท ธิ์
ปราศจากความเศร้าหมองขุ่นมัว บุญเป็ นชื่อของความสุขและความสาเร็ จ เป็ นผลจากการประกอบ
กรรมดี เกิดขึ้นได้ดว้ ยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑) ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการให้ทาน ๒) ศีลมัย บุญสาเร็ จ
ด้วยการรักษาศีล ๓) ภาวนามัย บุญสาเร็ จด้วยการเจริ ญสมาธิ คนทัว่ ไปแม้จะมองไม่เห็นบุญ แต่
สามารถรู้ อาการของบุญหรื อผลของบุญได้ว่าเกิดขึ้นแล้วทาให้จิตใจชุ่ มชื่ นเป็ นสุ ข และสามารถ
๑๒

ติ ด ตามผู ้ที่ ทาบุญ เหมือ นเงาติ ด ตามตัว อี ก ทั้ง บุ ญ ยังเป็ นของเฉพาะตน อยากได้ต้อ งท าเอง ไม่
สามารถให้ใครทาแทนได้ บุญสามารถสั่งสมได้ด้วยการทาความดี การทาบุญจึงควรทาความพึง
พอใจ ควรมีอุตสาหะขวนขวายในบุญ เพราะการสั่งสมบุญ ชื่อว่าทาให้เกิดความสุข
กระทู้ที่ ๕
สพฺพปาปสฺ ส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา
สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํ.
การไม่ทําบาปทั้งปวง ๑ การยังกุศลให้ ถึงพร้ อม ๑
การทําจิตของตนให้ ผ่องแผ้ว ๑ นี้เป็ นคําสอนของพระพุทธเจ้ าทั้งหลาย.
ที่มา ขุททกนิกาย ธรรมบท.
อธิบายความว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางหลักการปฏิบตั ิตนให้พุทธศาสนิกชนไว้
๓ ประการ คือ ๑) การไม่ทาบาปทั้งปวง หมายถึง การไม่ประพฤติชวั่ ทางกาย วาจา ใจ คือ ไม่ทาสิ่ ง
ที่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองและผูอ้ ื่น ๒) การยังกุศลให้ถึงพร้อม หมายถึง การประพฤติ
ชอบทางกาย วาจา ใจ คือ ทาสิ่ งที่ก่อให้เกิดความสุ ข ความเจริ ญ แก่ตนเองและผูอ้ ื่น ๓) การทาจิต
ของตนให้ผ่องแผ้ว หมายถึง การอบรมจิ ตใจของตนเองให้บริ สุทธิ์ สะอาด ปราศจากเครื่ องเศร้า
หมอง คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง พระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ที่ทรงอุบตั ิข้ นึ ในโลกนี้ ก็ลว้ น
ทรงประทานโอวาท ๓ ข้อ นี้ อ ันเป็ นหัวใจของพระพุทธศาสนา ให้แก่มหาชนได้ยึดถือเป็ นหลัก
ปฏิบตั ิในการดาเนิ นชีวิตที่ถูกต้อง เพื่อให้สามารถล่วงพ้นจากทุกข์และมีสุขในปั จจุบนั และในภพ
ชาติต่อไปจนกระทัง่ เข้าสู่พระนิพพาน
๑.๑๑ ตัวอย่างการเขียนกระทู้ธรรม
ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน
อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ.
คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้วย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ แก่ตน
ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น.
บัดนี้จักได้ บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้ น
เพื่อเป็ นแนวทางแห่ งการประพฤติปฏิบัติของสาธุชนผู้ใคร่ ในธรรมสื บไป
อธิบายความว่ า คาว่า คนมีปัญญาทราม หมายถึง คนโง่เขลาเบาปั ญญา
เพราะไม่สนใจศึกษาเล่าเรี ยน คนประเภทนี้เมื่อได้ยศ ตาแหน่งมาด้วยเหตุใดๆ ก็
๑๓

ตาม ก็ยอ่ มจะถูกยศตาแหน่งนั้นครอบงา มัวเมาประมาทในสิ่ งที่ตวั มีน้ นั จนอาจ


ประพฤติในสิ่ งที่ไม่เหมาะไม่ควรได้ เช่น ขาดความอ่อนน้อมถ่อมตนต่อผูห้ ลัก
ผูใ้ หญ่ กลายเป็ นคนหัวดื้อชอบท าตามอาเภอใจตนเอง โดยไม่คานึ งถึง จารี ต
ประเพณีและศีลธรรมที่ดีงามของสังคม ชอบประพฤติตวั เบียดเบียนคนอื่นหรื อ
ทาตัวอยู่เ หนื อกฎหมายบ้านเมือง หรื อทุจริ ตประพฤติ มิช อบเพื่อให้ ตนมียศ
ตาแหน่งสู งขึ้น ในที่สุดตนเองก็ตอ้ งประสบกับความเดื อดร้ อนเพราะความโง่
เขลาเป็ นเหตุท้ งั สิ้ น ผูฉ้ ลาดจึงรู ้เท่าทันยศที่เกิดขึ้นตามเป็ นจริ ง ภาคภูมิใจในยศ
ที่ได้มาเพราะความรู ้ความสามารถของตนเองจริ งๆ ตั้งใจปฏิบตั ิหน้าที่ของตน
อย่า งสุ จ ริ ต ย่อ มจะประสบความเจริ ญ รุ่ ง เรื อ งในชี วิ ต หน้ า ที่ ก ารงานอย่ า ง
แน่นอน นี้สมด้วยธรรมภาษิตที่มาใน ขุททกนิกาย ธรรมบท ว่า
อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา
อตฺตนา หิ สุ ทนฺเตน นาถํ ลภติ ทุลฺลภํ.
ตนแล เป็ นที่พึ่งของตน คนอื่นใครเล่า จะเป็ นที่พึ่งได้
ก็บุคคลมีตนฝึ กดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่หาได้โดยยาก.
อธิบายความว่ า คาว่า ตน นั้น แบ่งออกเป็น ๒ คือ กายกับใจ ประกอบ
กันเข้าใน ๒ ส่วนนี้ ใจนับว่าเป็ นใหญ่ เป็ นประธาน ดังคาพังเพยที่ว่า ใจเป็ นนาย
กายเป็ นบ่าว คือ ใจเป็ นความรู้สึกนึกคิด กายเป็ นผูก้ ระทาตาม เพราะฉะนั้น พระ
พุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกจิต อบรมจิตใจให้ต้ งั อยูใ่ นกุศลธรรม คุณงามความดี
พยายามอบรมบ่มนิสัยของตนด้วยตนเอง เพราะตนเท่านั้นเป็นที่พ่ ึงของตนได้
คือ คนทุกคนย่อมจะสร้างบุญกุศล คุณงามความดีซ่ ึงได้ชื่อว่า ที่พ่งึ เพราะคนอื่น
ไม่สามารถจะทาที่พ่ึงให้กบั บุคคลอีกคนหนึ่ งได้ เช่น พ่อแม่สั่งสอนอบรมบุตร
ธิ ดาให้ประพฤติดีปฏิบตั ิชอบแต่ต รงกันข้าม บุตรธิ ดากลับประพฤติเลวทราม
ผลดีก็ยอ่ มไม่เกิด ดังนั้น ตัวเราจึงต้องขวนขวายในการทาความดีดว้ ยตัวของ
๑๔

ตัวเอง เพราะผลที่ได้คือ ตัวเองจะเป็ นผูไ้ ด้รับทั้งหมด ไม่ว่าจะกรรมดีหรื อกรรม


ชัว่ ถ้าทาบาปก็จะได้กรรมชั่ว ถ้าทากุศลก็จะได้กรรมดีเป็ นผลตอบแทน นี้สม
ด้วยธรรมภาษิตที่มาใน สังยุตตนิกาย สคาถวรรค ว่า
ยาทิสํ วปเต พีชํ ตาทิสํ ลภเต ผลํ
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ.
บุคคลหว่านพืชเช่ นใด ย่อมได้ผลเช่ นนั้น
ผู้ทํากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผู้ทํากรรมชั่ว ย่ อมได้ ผลชั่ว.
อธิบายความว่า บุคคลหว่านพืชเปรี ยบได้กบั ชาวนา เมื่อถึงฤดูทานา ย่อม
ไถและหว่านข้าวลงในนา เพราะมีน้ าหรื อฝนตกต้องตามฤดูกาล ข้าวที่หว่านไว้
ก็เจริ ญงอกงามและออกรวง ฉันใด ผูก้ ระทาความดี ผูน้ ้ นั ย่อมได้รับผลดีคือไม่
ต้องกลัวเดือดร้อน เพราะกรรมที่ตนกระทาไว้ดี ผลที่ได้รับคือความสุ ข ความ
สบายและมีสุคติเป็ นเบื้องหน้า แต่ผทู ้ ี่กระทากรรมชัว่ คือกรรมลามก เขาก็ได้รับ
ผลชัว่ ตามที่ได้ประกอบกรรมทาชัว่ ไว้เป็นความทุกข์ความเดือดร้ อนในโลกนี้
แม้ละจากโลกนี้แล้วก็ยอ่ มประสบกับความเร่ าร้อนในอบาย
สรุปความว่ า บุคคลที่ใช้ยศตาแหน่งของตนไปเพื่อการทุจริ ตประพฤติมิ
ชอบ ในที่สุดตนเองก็ตอ้ งประสบกับความเดือดร้อนเพราะความโง่เขลาเป็ นเหตุ
ทั้งสิ้ น ผูฉ้ ลาดจึงควรใช้ยศตาแหน่งที่ตนได้มาจากความรู ้ความสามารถของตน
มาทาประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับตนเองและสังคม ด้วยการชักชวนกันทาความดี ละ
เว้นความชัว่ ทาจิตใจให้ผอ่ งใส เพราะการทาความดียอ่ มจะได้รับผลแห่งความดี
คื อ ความสุ ข ความเจริญในชี วิ ต หน้ า ที่ ก ารงานยิ่ ง ขึ้ นไป และเป็ นการไม่
เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ื่น สมด้วยธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้นว่า
ยสํ ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺถํ จรติ อตฺตโน
อตฺตโน จ ปเรสญฺจ หึสาย ปฏิปชฺชติ.
๑๕

คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้วย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ แก่ตน


ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียนทั้งตนและผู้อื่น.
มีนัยดังได้พรรณนามาด้วยประการฉะนี้ ฯ
๑.๑๒ ข้อสอบวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม
ปี ๒๕๕๑
ขนฺ ตโก เมตฺ ตวา ลาภียสสฺ สี สุขสี ลวา
ปิ โย เทวมนุสฺสานํ มนาโป โหติ ขนฺ ติโก.
ผูม้ ีขนั ตินบั ว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ
ผูม้ ีขนั ติเป็ นที่รัก ที่ชอบใจของเทวดาและมนุษย์ท้งั หลาย.
ส.ม. ๒๒๒
ปี ๒๕๕๒
อวณฺ ณญฺ จ อกิตฺติญฺจ ทุสฺสีโล ลภเต นโร
วณฺ ณํ กิตฺตึ ปสํสญฺ จ สทา ลภติ สี ลวา.
คนผูท้ ุศีล ย่อมได้รับความติเตียน และความเสี ยชื่อเสี ยง
ส่ วนผูม้ ีศีล ย่อมได้รับชื่อเสี ยงและความยกย่องสรรเสริ ญทุกเมื่อ.
ขุ.เถร. ๒๖/๓๕๗
ปี ๒๕๕๓
กลฺ ยาณิ เมว มุญฺเจยฺย น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิ กํ
โมกฺโข กลฺ ยาณิ ยา สาธุ มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิ กํ.
พึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไม่พึงเปล่งวาจาชัว่ เลย
การเปล่งวาจางาม ยังประโยชน์ให้สาเร็ จ คนเปล่งวาจาชัว่ ย่อมเดือดร้อน.
ขุ.ชา.เอก. ๒๗/๒๘
๑๖

ปี ๒๕๕๔
อคฺ คสฺ มึ ทานํททตํ อคฺ คปํ ุญฺญปํ วฑฺฒติ
อคฺ คอํ ายุ จ วณฺ โณ จ ยโส กิตฺติ สุ ข ํ พลํ.
เมื่อให้ทานในวัตถุอนั เลิศ บุญอันเลิศ
อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ สุข และกาลังอันเลิศ ก็เจริ ญ.
ขุ.อิติ. ๒๕/๒๙๙
ปี ๒๕๕๕
อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ
อาปูรติ พาโล ปาปสฺ ส โถกํ โถกํปิ อาจิน.ํ
แม้หม้อน้ ายังเต็มด้วยหยาดน้ าฉันใด คนเขลาสั่งสมบาป
แม้ทีละน้อย ๆ ก็เต็มด้วยบาปฉันนั้น.
ขุ.ธ. ๒๕/๓๑
ปี ๒๕๕๖
มธุวา มญฺ ญตี พาโล ยาว ปาปํ น จฺจติ
ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ อถ ทุกฺข ํ นิคจฺฉติ.
ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล คนเขลายังเข้าใจว่ามีรสหวาน
แต่บาปให้ผลเมื่อใด คนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น.
ขุ.ธ. ๒๕/๒๔
ปี ๒๕๕๗
โย จ วสฺ สสตํ ชีเว ทุปฺปญฺ โญ อสมาหิโต
เอกาหํ ชีวิต ํ เสยฺโย ปญฺ ญวนฺ ตสฺ ส ฌายิโน.
ผูใ้ ดมีปัญญาทราม มีใจไม่มนั่ คง พึงเป็ นอยู่ต้งั ร้อยปี
ส่ วนผูม้ ีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวิอยูเ่ พียงวันเดียว ดีกว่า
ขุ.ธ. ๒๕/๒๙.
๑๗

ปี ๒๕๕๘
อวณฺ ณญฺ จ อกิตฺติญฺจ ทุสฺสีโล ลภเต นโร
วณฺ ณํ กิตฺต ํ ปสํสญฺ จ สทา ลภติ สีลวา.
คนผูท้ ุศีล ย่อมได้รับความติเตียน และความเสี ยชื่อเสี ยง
ส่ วนผูม้ ีศีล ย่อมได้รับชื่อเสี ยงและความยกย่องสรรเสริ ญทุกเมื่อ.
(สี ลวตฺเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๗.
ปี ๒๕๕๙
อจฺจยนฺ ติ อโหรตฺ ตา ชีวิต ํ อุปรุ ชฺฌติ
อายุ ขียติ มจฺจานํ กุนนฺ ทีนวํ โอทกํ.
วันคืนย่อมล่วงไป ชีวิตย่อมหมดเข้าไป
อายุของสัตว์ยอ่ มสิ้ นไป เหมือนน้ าแห่งแม่น้ าน้อยๆ ฉะนั้น.
ขุ.มหา. ๒๙/๑๔๔
ปี ๒๕๖๐
เอโกปิ สทฺโธ เมธาวี อสฺ สทฺธานํ จ ญาตินํ
ธมฺ มฏฺโฐ สี ลสมฺ ปนฺ โน โหติ อตฺ ถาย พนฺ ธุน.ํ
ผูม้ ีศรัทธา มีปัญญา ตั้งในธรรม ถึงพร้อมด้วยศีล แม้คนเดียว
ย่อมเป็ นประโยชน์แก่ญาติและพวกพ้องผูไ้ ม่มีศรัทธา.
(ปสฺ สิกเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๖.
ปี ๒๕๖๑
อาทิ สี ล ํ ปติฏฺฐา จ กลฺ ยาณานญฺ จ มาตุก ํ
ปมุข ํ สพฺพธมฺ มานํ ตสฺ มา สีล ํ วิโสธเย.
ศีลเป็ นที่พ่ งึ เบื้องต้น เป็ นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็ นประมุขของธรรมทั้งปวง เพราะฉะนั้น ควรชาระศีลให้บริ สุทธิ์.
(สี ลวตฺเถร) ขุ. เถร. ๒๖/๓๕๘.
๑๘

ปี ๒๕๖๒
มธุวา มญฺ ญตี พาโล ยาว ปาปํ น ปจฺจติ
ยทา จ ปจฺจตี ปาปํ อถ ทุกฺข ํ นิคจฺฉติ.
ตราบเท่าที่บาปยังไม่ให้ผล คนเขลายังเข้าใจว่ามีรสหวาน
แต่บาปให้ผลเมื่อใดคนเขลาย่อมประสบทุกข์เมื่อนั้น.
ขุ. ธ. ๒๕/๒๔.
ปี ๒๕๖๓
อคฺ คทายี วรทายี เสฏฺฐทายี จ โย นโร
ทีฆายุ ยสวา โหติ ยตฺ ถ ยตฺ ถูปปชฺ ชติ.
ผูใ้ ห้สิ่งที่เลิศ ให้สิ่งที่ดี ให้สิ่งที่ประเสริ ฐ
ย่อมเป็ นผูม้ ีอายุยืน มียศในภพที่ตนเกิด.
องฺ. ปญฺ จก. ๒๒/๕๖.
ปี ๒๕๖๔
อตฺ ตานญฺ เจ ตถา กยิรา ยถญฺ ญมนุสาสติ
สุ ทนฺ โต วต ทเมถ อตฺ ตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ถ้าสอนผูอ้ ื่นฉันใด พึงทาตนฉันนั้น
ผูฝ้ ึ กตนดีแล้ว ควรฝึ กผูอ้ ื่น ได้ยินว่าตนแลฝึ กยาก..
ขุ. ธ.. ๒๕/๓๖.
๑๙

๒.๑ วิชาธรรมวิภาค
ทุกะ คือ หมวด ๒
๑. พระอริยบุคคล ๘ จาพวก จาพวกไหนชื่ อว่า พระเสขะ และพระอเสขะ ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. พระอริ ยบุคคล ๗ จาพวกเบื้องต้น ชื่อว่า พระเสขะ เพราะเป็ นผูย้ งั ต้องปฏิบตั ิ
เพือ่ บรรลุมรรคผลเบื้องสูง ฯ
๒. พระอริ ยบุคคลผูต้ ้งั อยูใ่ นอรหัตตผล ชื่อว่า พระอเสขะ เพราะเสร็จกิจอันจะต้อง
ทาแล้ว ฯ
๒. ในอริยบุคคล ๒ พระเสขะผู้ยังต้องศึกษา คือศึกษาเรื่ องอะไร ? ผู้ศึกษากาลังสอบธรรมอยู่นี้
เรียกว่าพระเสขะได้หรื อไม่ ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. พระเสขะผูย้ งั ต้องศึกษา คือ ศึกษาในอธิสีล ในอธิจิต และในอธิปัญญา
อีกอย่างหนึ่งหมายถึงต้องศึกษาและต้องปฏิบตั ิเพื่อมรรคผลเบื้องสูงขึ้นไป ฯ
๒. ผูศ้ ึกษากาลังสอบธรรมยังเรี ยกว่าพระเสขะไม่ได้ ถ้าไม่ใช่พระอริ ยบุคคล ๗
จาพวกเบื้องต้น ฯ
๓. สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน มุ่งผลแห่ งการปฏิบัติอย่างไร ?( ๒๕๖๓, ๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. สมถกรรมฐานมุ่งผลคือความสงบใจ
๒. วิปัสสนากรรมฐานมุ่งผลคือความเรื องปัญญา ฯ
๔. กัมมัฏฐานที่พระอุปัชฌาย์สอนแก่ผ้ขู อบรรพชาอุปสมบทว่า เกสา โลมา นขา ทนตา ตโจ ตโจ
ทนตา นขา โลมา เกสา นั้นเรียกชื่ อว่าอะไร ? เป็ นสมถกัมมัฏฐานหรื อวิปัสสนากัมมัฏฐาน ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. ชื่อว่า ตจปัญจกกรรมฐาน หรื อมูลกัมมัฏฐาน ฯ
๒. เป็ นได้ท้งั สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
๕. ตจปัญจกกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้ าง ? เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอย่างไร ? เป็ นอารมณ์ของสมถ
กัมมัฏฐานหรื อของวิปัสสนากัมมัฏฐาน ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๗, ๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. ตจปัญจกกัมมัฏฐาน ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทันตา และตโจ ฯ
๒. เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า มูลกัมมัฏฐาน ฯ
๓. เป็ นได้ท้งั สมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน คือ ถ้ากาหนดยังจิตให้สงบ
ด้วยภาวนา เป็ นสมถะ, ถ้าพิจารณาถึงความเปลี่ยนแปลงไป ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์
จัดเป็ นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
๒๐

๖. การพิจารณาสังขารทั้งหลายโดยความเป็ นไตรลักษณ์ จัดเป็ นกัมมัฏฐานอะไร ? มีประโยชน์


อย่างไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. จัดเป็ นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
๒. มีประโยชน์ คือทาให้รู้จกั สภาพที่เป็ นจริ งแห่งสังขารทั้งหลายว่า ไม่เที่ยง เป็ น
ทุกข์ เป็ นอนัตตา แล้วเกิดความเบื่อหน่ายในสังขารทั้งหลายเหล่านั้น ฯ
๗. ราคะ โลภะ อิสสา กลิ่น รส อย่างไหนเป็ นกิเลสกาม อย่างไหนเป็ นวัตุกาม ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑ ราคะ โลภะ อิสสา เป็ นกิเลสกาม
๒. กลิ่น รส เป็ นวัตถุกาม ฯ
๘. ทิฏฐิ ที่หมายถึงความเห็นผิด ๒ อย่าง มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๖)
ตอบ : มี ๑. สัสสตทิฏฐิ ความเห็นว่าเที่ยง
๒. อุจเฉททิฏฐิ ความเห็นว่าขาดสูญ ฯ
๙. บุคคลาธิฏฐานาเทศนา เทศนามีบุคคลเป็ นที่ต้งั มีอธิบายว่าอย่างไร ? (๒๕๖๒)
ตอบ : มีอธิบายว่า การสอนที่ยกบุคคลมาเป็ นตัวอย่าง เช่น ในมหาชนกชาดก สอนเรื่ อง
ความเพียรโดยกล่าวถึงพระมหาชนกโพธิสัตว์ว่า ทรงมีความเพียรอย่างยิ่ง พยายาม
ว่ายน้ าในท่ามกลางมหาสมุทรที่กว้างใหญ่ มองไม่เห็นฝั่งอย่างไม่ยอ่ ท้อ ด้วยความ
มุ่งมัน่ ที่จะถึงฝั่งให้ได้ และทรงถึงฝั่งได้ดงั ประสงค์ ฯ
๑๐. สังขตธรรม คืออะไร ? มีลักษณะอย่างไร ? (๒๕๖๒, ๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. สังขตธรรม คือ ธรรมอันปัจจัยปรุ งแต่ง ฯ
๒. มีลกั ษณะ คือ มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น มีความดับไปในที่สุด และเมื่อยังตั้งอยู่
มีความแปรปรวนปรากฏ ฯ
๑๑. สังขตธรรม และ อสังขตธรรม ต่างกันอย่างไร ? สัตว์ ต้นไม้ ภูเขา เป็ นสังขตธรรม เพราะมี
ลักษณะอย่างไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑.สังขตธรรม คือ ธรรมอันปัจจัยปรุ งแต่ง มีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น ผันแปรใน
ท่ามกลาง และแตกสลายไปในที่สุด
๒. อสังขตธรรม เป็ นธรรมอันปัจจัยไม่ได้ปรุ งแต่ง คือ ไม่เกิด ไม่เปลี่ยนแปลงและ
ไม่แตกสลาย
๓. สัตว์ ต้นไม้ ภูเขาเป็ นสังขตธรรมเพราะมีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น ผันแปรใน
ท่ามกลาง และแตกสลายไปในที่สุด ฯ
๒๑

๑๒. ความเกิดขึน้ ความตั้งอยู่ ความดับไป เป็ นลักษณะของธรรมอะไร สัตว์บุคคลมีลักษณะเช่ นนั้น


หรื อไม่ ? จงอธิบาย (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. เป็ นลักษณะของสังขตธรรม
๒. มีลกั ษณะเช่นนั้นคือเมื่อสัตว์บุคคลเกิดมาแล้วก็เป็ นความเกิดขึ้น ต่อมาก็
เจริ ญเติบโตผ่านวัยทั้ง ๓ ก็เป็ นความตั้งอยู่ เมื่อตายก็เป็ นความดับไป ฯ
๑๓. บูชา ๒ คืออะไรบ้ าง ? การสมาทานศีล ๕ เป็ นประจาจัดเป็ นบูชาประเภทใด ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. คือ อามิสบูชา บูชาด้วยอามิสสิ่ งของ และปฏิบตั ิบูชา บูชาด้วยการปฏิบตั ิตาม ฯ
๒. การสมาทานศีล ๕ เป็ นปฏิบตั ิบูชา ฯ
๑๔. ปฏิสันถาร มีอะไรบ้ าง ? มีประโยชน์ แก่ผ้ทู าอย่างไรบ้ าง ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ปฏิสันถาร ได้แก่
๑) อามิสปฏิสันถาร ต้อนรับด้วยสิ่ งของ
๒) ธัมมปฏิสันถาร ต้อนรับโดยธรรม ฯ
๒. มีประโยชน์อย่างนี้ คือ
๑) เป็ นอุบายสร้างความสามัคคีและยึดเหนี่ยวน้ าใจกัน
๒) เป็ นการรักษาไมตรี จิตระหว่างกันและกันให้มนั่ คงยิง่ ขึ้น ฯ
๑๕. แสวงหาอะไรเป็ นการแสวงหาอย่างประเสริฐ แสวงหาอะไรเป็ นการแสวงหาไม่ประเสริฐ ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. แสวงหาสภาพอันมิใช่ของมีชรา พยาธิ มรณะ คือ คุณธรรมมีพระนิพพานเป็ น
อย่างสูง เป็ นการแสวงหาอย่างประเสริ ฐ เรี ยกว่า อริ ยปริ เยสนา ฯ
๒. แสวงหาของมีชรา พยาธิ มรณะ เช่น หาของเล่น เป็ นการแสวงหาไม่ประเสริ ฐ
เรี ยกว่า อนริ ยปริ เยสนา ฯ
๑๖. ปาพจน์ ๒ คือธรรมและวินัย นั้นทราบแล้ว อยากทราบว่าความปฏิบัติอย่างไรจัดเป็ นธรรม
ความปฏิบัติอย่างไรจัดเป็ นวินัย ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ความปฏิบตั ิเป็ นทางนาความประพฤติและอัธยาศัยให้ประณีตขึ้น จัดเป็ นธรรม
๒. ความปฏิบตั ิเนื่องด้วยระเบียบอันทรงตั้งไว้ดว้ ยพุทธอาณา เป็ นสิ กขาบทหรื อ
อภิสมาจาร เป็ นทางนาความประพฤติให้สม่าเสมอกัน หรื อเป็ นเครื่ องบริ หาร
คณะ จัดเป็ นวินยั ฯ
๑๗. มหาภูตรูปและอุปาทายรูปคืออะไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. มหาภูตรู ป คือ รู ปใหญ่ ได้แก่ ธาตุ ๔ มี ปฐวี อาโป เตโช วาโย ฯ
๒. อุปาทายรู ป คือ รู ปอาศัยมหาภูตรู ปนั้น ฯ
๒๒

๑๘. มหาภูตรูป คืออะไร ? มีความเกี่ยวเนื่องกับอุปาทายรูปอย่างไร ? (๒๕๕๗)


ตอบ : ๑. มหาภูตรู ป คือ รู ปใหญ่ ได้แก่ สิ่ งที่ธาตุ ๔ มาประชุมกันขึ้นเป็ นกองรู ป ฯ
๒. เกี่ยวเนื่องกัน เพราะเป็ นที่ต้งั อาศัยของอุปาทายรู ป (รู ปย่อยต่าง ๆ) และเป็ นรู ป
ที่ปรากฏชัดเจน เห็นและรับรู้ได้ง่าย
๑๙. รูปในขันธ์ ๕ แบ่ งเป็ น ๒ ได้แก่อะไรบ้ าง ? จงอธิบายมาสั้น ๆ พอเข้าใจ (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑.ได้แก่ มหาภูตรู ป และ อุปาทายรู ป ฯ
๒. อธิบายดังนี้
๑) มหาภูตรู ป คือ รู ปใหญ่ อันได้แก่ ธาตุ ๔ มีดิน น้ า ไฟ ลม
๒) อุปาทายรู ป คือ รู ปอาศัย เป็ นอาการของมหาภูตรู ป เช่น ประสาท ๕ มีจกั ขุ
ประสาท เป็ นต้น โคจร ๕ มีรูปารมณ์ เป็ นต้น ฯ
๒๐. วิมุตติ กับ วิโมกข์ ต่างกันอย่างไร ? สมุจเฉทวิมุตติ มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ต่างกันแต่โดยพยัญชนะ แต่ก็พน้ จาก ราคะ โทสะ โมหะได้เท่ากันโดยอรรถ ฯ
๒. สมุจเฉทวิมุตติ มีอธิบายว่า ความพ้นจากกิเลสด้วยอานาจอริ ยมรรค กิเลส
เหล่านั้นขาดเด็ดไป ไม่กลับเกิดอีก ฯ
๒๑. เจโตวิมุตติ กับ ปัญญาวิมุตติ ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๙, ๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. เจโตวิมุตติ เป็ นวิมุตติของท่านผูไ้ ด้บรรลุฌานมาก่อนแล้ว จึงบาเพ็ญวิปัสสนา
ต่อ
๒. ปัญญาวิมุตติ เป็ นวิมุตติของท่านผูไ้ ด้บรรลุดว้ ยลาพังบาเพ็ญวิปัสสนาล้วน
อีกนัยหนึ่งเรี ยก เจโตวิมุตติ เพราะพ้นจากราคะ เรี ยกปัญญาวิมุตติ เพราะพ้นจาก
อวิชชา ฯ
ติกะ คือหมวด ๓
๑. ความตริ (ความคิด) ในฝ่ ายชั่ว เรียกว่าอะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๓, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. ความตริ (ความคิด) ในฝ่ ายชัว่ เรี ยกว่า อกุศลวิตก ฯ
๒. มี ๓ อย่าง ฯ
๓. คือ ๑) กามวิตก ความตริ ในทางกาม
๒) พยาบาทวิตก ความตริ ในทางพยาบาท
๓) วิหิงสาวิตก ความตริ ในทางเบียดเบียน ฯ
๒๓

๒. กุศลวิตก มีอะไรบ้ าง ? สงเคราะห์ เข้าในมรรคมีองค์ ๘ ข้อไหนได้ ? (๒๕๕๖)


ตอบ : ๑. กุศลวิตก ได้แก่
๑) เนกขัมมวิตก ความตริ ในทางพรากจากกาม
๒) อพยาบาทวิตก ความตริ ในทางไม่พยาบาท
๓) อวิหิงสาวิตก ความตริ ในทางไม่เบียดเบียน ฯ
๒. สงเคราะห์เข้าในมรรคมีองค์ ๘ ข้อ สัมมาสังกัปปะ ฯ
๓. อธิปเตยยะ ๓ มีอะไรบ้ าง ? บุคคลผู้ถือความถูกต้องเป็ นใหญ่ทาด้วยอานาจ เมตตา กรุณา เป็ นต้น
จัดเข้าในข้อไหน ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. อธิปเตยยะ ๓ ได้แก่
๑) อัตตาธิปเตยยะ ความมีตนเป็ นใหญ่
๒) โลกาธิปเตยยะ ความมีโลกเป็ นใหญ่
๓) ธัมมาธิปเตยยะ ความมีธรรมเป็ นใหญ่ ฯ
๒. จัดเข้าในธัมมาธิปเตยยะได้ ฯ
๔. ผู้มีอัตตาธิปเตยยะกับผู้มีธัมมาธิปเตยยะ มีความมุ่งหมายในการทางานต่างกันอย่างไร ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. ผูม้ ีอตั ตาธิปเตยยะ ปรารภภาวะของตนเป็ นใหญ่ ทาด้วยมุ่งให้สมภาวะของตน
ผูท้ ามุ่งผลอันจะได้แก่ตน หรื อมุ่งความสะดวกแห่งตน
๒. ผูม้ ีธมั มาธิปเตยยะ ทาด้วยไม่มุ่งหมายอย่างอื่น เป็ นแต่เห็นสมควรเห็นว่าถูกก็
ทาหรื อทาด้วยอานาจเมตตากรุ ณาเป็ นอาทิ ฯ
๕. การฆ่าสัตว์อย่างไรเกิดทางกายทวาร อย่างไรเกิดทางวจีทวาร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. ฆ่าด้วยตนเอง เกิดทางกายทวาร
๒. ใช้ให้ผอู ้ ื่นฆ่าเกิดทางวจีทวาร ฯ
๖. กตญาณ เป็ นไปในอริยสัจ ๔ อย่างไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : กตญาณ คือ ความรู้ชดั ซึ่งกิจในอริ ยสัจ ๔ ที่ได้กระทาแล้วฯ
๗. ญาณ ๓ ที่เป็ นไปในทุกขสมุทัยมีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๖๑, ๒๕๕๖, ๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า นี้ทุกขสมุทยั จัดเป็ นสัจจญาณ
๒. ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า ทุกขสมุทยั เป็ นสภาพที่ควรละ จัดเป็ นกิจจญาณ
๓. ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า ทุกขสมุทยั เป็ นสภาพที่ละได้แล้ว จัดเป็ นกตญาณ ฯ
๘. ญาณ ๓ ที่เป็ นไปในอริยสัจ ๔ มีอะไรบ้ าง ? ญาณ ๓ ที่เป็ นไปในทุกขนิโรธสัจมีอธิบายอย่างไร ?
(๒๕๕๓)
๒๔

ตอบ : ๑. ญาณ ๓ ที่เป็ นไปในอริ ยสัจ ๔ ได้แก่


๑) สัจจญาณ ปรี ชาหยัง่ รู้อริ ยสัจ
๒) กิจจญาณ ปรี ชาหยัง่ รู้กิจอันควรทา
๓) กตญาณ ปรี ชาหยัง่ รู้กิจอันทาแล้ว ฯ
๒. ญาณ ๓ ที่เป็ นไปในทุกขนิโรธสัจ มีอธิบายว่า
๑) ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า นี้ ทุกขนิโรธสัจ จัดเป็ นสัจจญาณ
๒) ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า ทุกขนิโรธสัจเป็ นสภาพที่ควรทาให้แจ้ง จัดเป็ นกิจจญาณ
๓) ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า ทุกขนิโรธสัจที่ควรทาให้แจ้ง ๆ แล้ว จัดเป็ นกตญาณ ฯ
๙. กิจจญาณ คือ อะไร ? เป็ นไปในอริยสัจ ๔ อย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. กิจจญาณ คือ ปรี ชาหยัง่ รู้กิจอันควรทา ฯ
๒. เป็ นไปในอริ ยสัจ ๔ ปรี ชาหยัง่ รู้ว่า
๑) ทุกข์ เป็ นธรรมชาติที่ควรกาหนดรู้
๒) ทุกขสมุทยั เป็ นธรรมชาติที่ควรละ
๓) ทุกขนิโรธ เป็ นธรรมชาติที่ควรทาให้แจ้ง
๔) ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา เป็ นธรรมชาติที่ควรทาให้เกิด ฯ
๑๐. ปาฏิหาริย์คืออะไร ? พระพุทธเจ้ าทรงยกย่องปาฏิหาริย์อะไรว่าเป็ นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหาริย์
อื่น ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. ปาฏิหาริ ย์ คือ การกระทาที่ให้บงั เกิดผลเป็ นอัศจรรย์ ฯ
๒. พระพุทธเจ้าทรงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริ ยว์ ่า เป็ นอัศจรรย์ยิ่งกว่าปาฏิหาริ ยอ์ ื่น
๑๑. ปาฏิหาริย์ ๓ มีอะไรบ้ าง ? อย่างไหนเป็ นอัศจรรย์ที่สุด ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. ปาฏิหาริ ย์ ๓ ได้แก่
๑) อิทธิปาฏิหาริ ย์ ฤทธิ์เป็ นอัศจรรย์
๒) อาเทสนาปาฏิหาริ ย์ ดักใจเป็ นอัศจรรย์
๓) อนุสาสนีปาฏิหาริ ย์ คาสอนเป็ นอัศจรรย์ ฯ
๒. อนุสาสนีปาฏิหาริ ย์ เป็ นอัศจรรย์ที่สุด ฯ
๑๒. ปาฏิหาริย์มีอะไรบ้ าง ? ทาไมจึงยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริย์ว่าอัศจรรย์ ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ปาฏิหาริ ย์ มี ๓ อย่าง ได้แก่
๑) อิทธิปาฏิหาริ ย์ ฤทธิ์เป็ นอัศจรรย์
๒) อาเทสนาปาฏิหาริ ย์ รู้ใจเป็ นอัศจรรย์
๓) อนุสาสนีปาฏิหาริ ย์ คาสอนเป็ นอัศจรย์ ฯ
๒๕

๒. การยกย่องอนุสาสนีปาฏิหาริ ยว์ ่าอัศจรรย์ เพราะอาจจูงใจผูฟ้ ังให้เห็นคล้อยตาม


ละความชัว่ ทาความดี ตั้งแต่ข้นั ต่า คือ การถึงสรณะและรักษาศีล ตลอดถึงขั้นสูง
คือ มรรคผลนิพพานได้ ฯ
๑๓. ปิ ฎก ๓ ได้แก่ อะไรบ้ าง ? แต่ละปิ ฎกว่าด้วยเรื่ องอะไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. ปิ ฎก ๓ ได้แก่
๑) พระวินยั ปิ ฎก
๒) พระสุตตันตปิ ฎก
๓) พระอภิธรรมปิ ฎก
๒. แต่ละปิ ฎกว่าด้วยเรื่ องดังนี้
๑) พระวินยั ปิ ฎก ว่าด้วยเรื่ องกฎระเบียบข้อบังคับที่นาความประพฤติให้
สม่าเสมอกันหรื อเป็ นเครื่ องบริ หารคณะ
๒) พระสุตตันตปิ ฎก ว่าด้วยคาสอนยกบุคคลเป็ นที่ต้งั
๓) พระอภิธรรมปิ ฎก ว่าด้วยคาสอนยกธรรมล้วนๆ ไม่เจือด้วยสัตว์หรื อบุคคล
เป็ นที่ต้งั ฯ
๑๔. โลกัตถจริยา ที่พระพุทธองค์ทรงประพฤติเป็ นประโยชน์ แก่โลกนั้น มีอธิบายอย่างไร ?
(๒๕๕๘)
ตอบ : โลกัตถจริ ยา มีอธิบายว่า ทรงประพฤติเป็ นประโยชน์แก่มหาชนที่นบั ว่าสัตวโลก
ทัว่ ไป เช่น ทรงแผ่พระญาณตรวจดูสัตวโลกทุกเช้าค่า ผูใ้ ดปรากฏในข่ายพระญาณ
เสด็จไปโปรดผูน้ ้ นั สรุ ปคือ ทรงสงเคราะห์คนทั้งหลายโดยฐานเป็ นเพื่อนมนุษย์
ด้วยกัน ฯ
๑๕. ภพกับภูมิต่างกันอย่างไร ? มีอย่างละเท่าไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ภพ หมายถึง โลกเป็ นที่อยูต่ ่างชั้นแห่งหมู่สัตว์ มี ๓ ฯ
๒. ภูมิ หมายถึง ภาวะอันประณีตขึ้นไปเป็ นชั้น ๆ แห่งจิตและเจตสิ ก มี ๔ ฯ
๑๖. ไตรวัฏฏะ อันได้แก่ กิเลสวัฏฏะ กัมมวัฏฏะ วิปากวัฏฏะ มีสภาพเกี่ยวเนื่องวนกันไปอย่างไร ?
ตัดให้ ขาดได้ด้วยอะไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. มีสภาพเกี่ยวเนื่องอย่างนี้ คือ กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้ทากรรม ครั้นทากรรมแล้ว
ย่อมได้รับวิบากแห่งกรรม เมื่อได้รับวิบากกิเลสก็เกิดขึ้นอีก วนกันไปอย่างนี้ ฯ
๒. ตัดให้ขาดได้ดว้ ยอรหัตตมรรคญาณ ฯ
๑๗. กิเลส กรรม วิบาก ได้ชื่อว่า วัฏฏะ เพราะเหตุไร ? จะตัดให้ ขาดได้ด้วยอะไร ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. ชื่อว่า วัฏฏะ เพราะกิเลสผลักดันให้บุคคลทากรรมทั้งที่เป็ นกุศลและอกุศล เมื่อ
๒๖

ทากรรมก็ตอ้ งได้รับวิบาก ผลของกรรม เมื่อเสวยวิบากอยูก่ ็เกิดกิเลสอีก เมื่อกิเลส


เกิดก็ผลักดันให้ทากรรมอีก หมุนวนกันไปอย่างนี้ ฯ
๒. จะตัดให้ขาดได้ดว้ ยอรหัตตมรรคญาณฯ
๑๘. กิเลส กรรม วิบาก เรียกว่า วัฏฏะ เพราะเหตุไร ? จงอธิบาย (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. เรี ยกว่า วัฏฏะ เพราะวน คือ หมุนเวียนกันไป ฯ
๒. อธิบายว่า กิเลสเกิดขึ้นแล้วให้ทากรรม ครั้นทากรรมแล้ว ย่อมได้รับวิบากแห่ง
กรรม เมื่อได้รับวิบาก กิเลสก็เกิดขึ้นอีก วนกันไปอย่างนี้ ฯ
๑๙. วิเวก ๓ คืออะไรบ้ าง ? จงอธิบายแต่ละอย่างพอเข้าใจ ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. วิเวก ๓ ได้แก่
๑) กายวิเวก สงัดกาย ได้แก่ อยูใ่ นที่สงัด
๒) จิตตวิเวก สงัดจิต ได้แก่ ทาจิตให้สงบด้วยสมถภาวนา
๓) อุปธิวิเวก สงัดกิเลส ได้แก่ ทาใจให้บริ สุทธิ์จากกิเลสด้วยวิปัสสนาภาวนา
๒๐. ในสังขาร ๓ อะไรชื่ อว่ากายสังขารและวจีสังขาร ? เพราะเหตุไรจึงได้ชื่ออย่างนั้น ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ลมอัสสาสะปัสสาสะ ได้ชื่อว่า กายสังขาร เพราะปรนปรื อกายให้เป็ นอยู่
๒. ชื่อว่า วจีสังขาร เพราะตริ แล้ว ตรองแล้วจึงพูด ไม่เช่นนั้นวาจานั้นจักไม่เป็ น
ภาษา ฯ
๒๑. คาว่า พระโสดาบัน และ สัตตักขัตตุปรมะ มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. พระโสดาบัน คือ พระอริ ยบุคคลผูไ้ ด้บรรลุอริ ยผลขั้นแรก ฯ
๒. สัตตักขัตตุปรมะ คือ พระโสดาบันผูจ้ ะเกิดอีก ๗ ชาติเป็ นอย่างยิ่ง ฯ
๒๒. คาว่า “โสดาบัน" แปลว่าอะไร ? ผู้บรรลุโสดาบันนั้น ละสังโยชน์ อะไรได้เด็ดขาด ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. โสดาบัน แปลว่า ผูแ้ รกถึงกระแสพระนิพพาน ฯ
๒. ผูบ้ รรลุโสดาบันละสังโยชน์ได้เด็ดขาด ๓ อย่าง คือ
๑) สักกายทิฏฐิ ๒) วิจิกิจฉา ๓) สี ลพั พตปรามาส ฯ
๒๓. พระโสดาบัน แปลว่าอะไร ? หมายถึง พระอริยบุคคลผู้ละสังโยชน์ อะไรได้ขาดบ้ าง ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. พระโสดาบัน แปลว่า ผูแ้ รกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน ฯ
๒. ละสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา และสี ลพั พตปรามาสได้ขาด ฯ
๒๔. สังโยชน์ คืออะไร ? พระโสดาบันละสังโยชน์ อะไรได้ขาดบ้ าง ? (๒๕๖๑, ๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. สังโยชน์ คือ กิเลสอันผูกใจสัตว์ไว้ ฯ
๒. พระโสดาบันละสังโยชน์ ๓ เบื้องต้นได้ขาด คือ
๑) สักกายทิฏฐิ ๒) วิจิกิจฉา ๓) สี ลพั พตปรามาส ฯ
๒๗

จตุกกะ คือ หมวด ๔


๑. อบาย ได้แก่อะไร ? มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. อบาย ได้แก่ ภูมิ กาเนิดหรื อพวกอันหาความเจริ ญมิได้ ฯ
๒. มี ๑) นิรยะ คือ นรก ๒) ติรัจฉานโยนิ คือ กาเนิดดิรัจฉาน ๓) ปิ ตติวิสัย คือ ภูมิ
แห่งเปรต ๔) อสุรกาย คือ พวกอสุระ ฯ
๒. อปัสเสนธรรมข้อว่า “พิจารณาแล้วบรรเทาของอย่างหนึ่ง” ของอย่างหนึ่งนั้นคืออะไร (๒๕๕๘)
ตอบ : ของอย่างหนึ่ง คือ อกุศลวิตกอันสัมปยุตด้วยกาม พยาบาท วิหิงสา ฯ
๓. อปัสเสนธรรม (ธรรมเป็ นที่พึ่งพิง) ข้อที่ ๒ ว่า พิจารณาแล้วอดกลั้นของอย่างหนึ่ง นั้นมีอธิบาย
อย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : มีอธิบายว่า อดกลั้นอารมณ์อนั ไม่เป็ นที่เจริ ญใจ เช่น หนาว ร้อน หิว กระหาย
ถ้อยคาเสี ยดแทง และทุกขเวทนาอันแรงกล้า ฯ
๔. เมตตา มีความหมายว่าอย่างไร ? เมตตาในพรหมวิหารและในอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร ?
(๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. เมตตา หมายถึง ปรารถนาความสุขความเจริ ญต่อผูอ้ ื่นด้วยความจริ งใจ ฯ
๒. ต่างกันโดยวิธีแผ่ คือ
๑) แผ่โดยเจาะจงก็ดี โดยไม่เจาะจงก็ดี จัดเป็ นพรหมวิหาร
๒) ถ้าแผ่โดยไม่เจาะจงไม่จากัด จัดเป็ นอัปปมัญญา ฯ
๕. เมตตากับปรานี มีความหมายต่างกันหรื อเหมือนกันอย่างไร ? และอย่างไหนกาจัดวิตกอะไร ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. เมตตา หมายถึง ความรักใคร่ หรื อความหวังดี กาจัดพยาบาทวิตก
๒. ปรานี หมายถึง ความปรารถนาให้ผอู ้ ื่นพ้นจากความทุกข์ เข้าลักษณะแห่ง
กรุ ณา กาจัดวิหิงสาวิตก ฯ
๖. การแผ่เมตตาในพรหมวิหารกับในอัปปมัญญา ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. เมตตาในอัปปมัญญา หมายถึง การเจริ ญเมตตามีความสงบแนบแน่นจึงถึง
อัปปนาสมาธิ
๒. เมตตาในพรหมวิหาร หมายถึง ความรักมุ่งปรารถนาดี โดยไม่หวังผลตอบแทน
ใด ๆ
๗. พระอริยบุคคล ๔ ได้แก่ใครบ้ าง ? พระอริยบุคคลประเภทใดละอวิชชาได้เด็ดขาด ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. พระอริ ยบุคคล ๔ ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี
๒๘

และพระอรหันต์ ฯ
๒. พระอรหันต์ละอวิชชาได้เด็ดขาด ฯ
๘. อริยวงศ์ คืออะไร มีกี่อย่าง ข้อที่ ๔ ว่าอย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. อริ ยวงศ์ คือ ปฏิปทาของพระอริ ยบุคคลผูเ้ ป็ นสมณะ มี ๔ อย่าง ฯ
๒. ข้อที่ ๔ ว่า ยินดีในการเจริ ญกุศลและในการละอกุศล ฯ
๙. ปฏิปทาของพระอริยบุคคลผู้เป็ นสมณะ เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. เรี ยกว่า อริ ยวงศ์ ฯ
๒. มี ๔ อย่าง ได้แก่
๑) สันโดษด้วยจีวรตามมีตามเกิด
๒) สันโดษด้วยบิณฑบาตตามมีตามเกิด
๓) สันโดษด้วยเสนาสนะตามมีตามเกิด
๔) ยินดีในการเจริ ญกุศลและในการละอกุศลฯ
๑๐. อุปาทาน คืออะไร ? การถือเราถือเขาด้วยอานาจมานะ จนเป็ นเหตุถือพวก จัดเป็ นอุปาทานอะไร
ในอุปาทาน ๔ ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. อุปาทาน คือ การถือมัน่ ข้างเลว ได้แก่ ถือรั้น ฯ
๒. จัดเป็ น อัตตวาทุปาทาน ฯ
๑๑. กิเลส ชื่ อว่า โอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร ? (๒๕๖๐, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. โอฆะ คือ ห้วงน้ าใหญ่ ย่อมพัดพาสิ่ งต่างๆ ไปด้วยกระแสของตน
เช่นเดียวกับกิเลส
๒. โยคะ คือ กิเลสเครื่ องผูกสัตว์ไว้ในวัฏฏะ
๓. อาสวะ คือ กิเลสที่หมักหมมหรื อดองอยูใ่ นสันดาน ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อ
ประสบอารมณ์ต่าง ๆ ทั้งหมดชื่อว่า กิเลสฯ
๑๒. กาม ภพ ทิฏฐิ และอวิชชา ได้ชื่อว่า โอฆะ โยคะ และอาสวะ เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ได้ชื่อว่า โอฆะ เพราะเป็ นดุจกระแสน้ าอันท่วมใจสัตว์
๒. ได้ชื่อว่า โยคะ เพราะประกอบสัตว์ไว้ในภพ
๓. ได้ชื่อว่า อาสวะ เพราะเป็ นสภาพหมักหมมอยูใ่ นสันดาน ฯ
๑๓. กิจในอริยสัจ ๔ มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. กิจในอริ ยสัจ ๔ ได้แก่
๑) ปริ ญญา กาหนดรู้ทุกขสัจ
๒) ปหานะ ละสมุทยั สัจ
๒๙

๓) สัจฉิกรณะ ทาให้แจ้งนิโรธสัจ
๔) ภาวนา ทามัคคสัจให้เกิด ฯ
๑๔. ทักขิณา คืออะไร ? ทักขิณานั้น จะบริสุทธิ์หรื อไม่บริสุทธิ์ ในฝ่ ายทายกและในฝ่ ายปฏิคาหกนั้น
มีอะไรเป็ นเครื่ องหมาย ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ทักขิณา คือ ของทาบุญ ฯ
๒. ทักขิณาจะบริ สุทธิ์ มีศีล มีกลั ยาณธรรมเป็ นเครื่ องหมาย
๓. ทักขิณาจะไม่บริ สุทธิ์ มีทุศีล มีบาปธรรมเป็ นเครื่ องหมาย ฯ
๑๕. ทักขิณาวิสุทธิ มีอะไรบ้ าง ? อย่างไหนให้ อานิสงส์ มากที่สุด ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. ทักขิณาวิสุทธิ มี ๔ อย่าง ได้แก่
๑) ทักขิณาบางอย่าง บริ สุทธิ์ฝ่ายทายก ไม่บริ สุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก
๒) ทักขิณาบางอย่าง บริ สุทธิ์ฝ่ายปฏิคาหก ไม่บริ สุทธิ์ฝ่ายทายก
๓) ทักขิณาบางอย่าง ไม่บริ สุทธิ์ท้งั ฝ่ ายทายก ทั้งฝ่ ายปฏิคาหก
๔) ทักขิณาบางอย่าง บริ สุทธิ์ ท้งั ฝ่ ายทายก ทั้งฝ่ ายปฏิคาหก ฯ
๒. อย่างที่ ๔ คือ ทักขิณาที่บริ สุทธิ์ ท้งั ฝ่ ายทายก ทั้งฝ่ ายปฏิคาหก ให้อานิสงส์มาก
ที่สุด ฯ
ปัญจกะ คือ หมวด ๕
๑. ธรรมมัจฉริยะ ความตระหนี่ธรรม มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ความตระหนี่ธรรม มีอธิบายว่า ความหวงธรรม หวงศิลปวิทยา ไม่ปรารถนาจะ
แสดงจะบอกแก่คนอื่น เกรงว่าเขาจะรู้เทียมตน ฯ
๒. มัจจุมารได้แก่อะไร ? ได้ชื่อว่าเป็ นมารเพราะเหตุไร ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. มัจจุมาร ได้แก่ ความตาย ฯ
๒. ชื่อว่าเป็ นมาร เพราะเมื่อความตายเกิดขึ้น บุคคลย่อมหมดโอกาสที่จะทา
ประโยชน์ใด ๆ อีกต่อไป ฯ
๓. มารมีอะไรบ้ าง อกุศลกรรมจัดเป็ นมารประเภทใด ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. มาร มีดงั นี้
๑) ขันธมาร มารคือปัญจขันธ์
๒) กิเลสมาร มารคือกิเลส
๓) อภิสังขารมาร มารคืออภิสังขาร
๔) เทวปุตตมาร มารคือเทวดา
๓๐

๕) มัจจุมาร มารคือความตาย
๒. อกุศลกรรมเป็ นมารประเภท อภิสังขารมาร ฯ
๔. ปัญจขันธ์ ได้ชื่อว่าเป็ นมาร เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๕, ๒๕๖๐)
ตอบ : เพราะปัญจขันธ์น้ นั บางทีทาความลาบากให้ อันเป็ นเหตุเบื่อหน่ายจนถึงฆ่าตัวตาย
เสี ยเองก็มี ฯ
๕. มาร ๕ คืออะไรบ้ าง ? ปัญจขันธ์ ได้ชื่อว่าเป็ นมารเพราะเหตุไร ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. มาร ๕ คือ ขันธมาร กิเลสมาร อภิสังขารมาร มัจจุมาร และ เทวปุตตมาร ฯ
๒. เพราะปัญจขันธ์น้ นั บางทีทาความลาบากให้ อันเป็ นเหตุเบื่อหน่ายจนถึงฆ่าตัว
ตายเสี ยเองก็มี ฯ
๖. ในพระพุทธศาสนาพูดเรื่ องมารไว้มาก อยากทราบว่า คาว่า มาร หมายถึง อะไร ? กิเลสได้ชื่อว่า
มารเพราะเหตุไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. มาร หมายถึง สิ่ งที่ลา้ งผลาญทาลายความดี ชักนาให้ทาบาปกรรม ปิ ดกั้นไม่ให้
ทาความดี จนถึงปิ ดกั้นไม่ให้เข้าใจสรรพสิ่ งตามความเป็ นจริ ง ฯ
๒. กิเลสได้ชื่อว่ามาร เพราะผูท้ ี่ตกอยูใ่ นอานาจของกิเลสแล้ว ย่อมจะถูกผูกมัดไว้
บ้าง ถูกทาให้เสี ยคนบ้าง ฯ
๗. มาร ๕ คืออะไรบ้ าง ? กิเลสได้ชื่อว่ามารเพราะเหตุไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. มาร ๕ คือ ปัญจขันธ์ กิเลส อภิสังขาร มรณะ และ เทวบุตร ฯ
๒. กิเลสได้ชื่อว่ามาร เพราะผูท้ ี่ตกอยูใ่ นอานาจแห่งกิเลสแล้ว ย่อมจะถูกผูกรัดไว้
บ้าง ถูกทาให้เสี ยคนบ้าง ฯ
๘. ชิวหาวิญญาณ และกายวิญญาณ เกิดขึน้ ได้เพราะอาศัยอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ชิวหาวิญญาณ เกิดขึ้นเพราะอาศัยลิน้ กับรส (กระทบกัน)
๒. กายวิญญาณ เกิดขึ้นเพราะอาศัยกายกับโผฏฐัพพะ (กระทบกัน) ฯ
๙. ในวิมุตติ ๕ วิมุตติอย่างไหนเป็ นโลกิยะ อย่างไหนเป็ นโลกุตตระ ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ตทังควิมุตติ และวิกขัมภนวิมุตติ จัดเป็ นโลกิยะ
๒. สมุจเฉทวิมุตติ ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ และนิสสรณวิมุตติ จัดเป็ นโลกุตตระ ฯ
๑๐. ความรู้สึกเฉยๆ ทางกาย กับความรู้สึกเฉยๆ ทางใจ จัดเข้าในเวทนา ๕ อย่างไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : จัดอยูใ่ นอุเบกขาฯ
๑๑. สังวรคืออะไร ? สติสังวร สารวมด้วยสติน้ัน มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. สังวร คือ การสารวมระวังปิ ดกั้นอกุศล ฯ
๒. สติสังวร อธิบายว่า สารวมอินทรี ยม์ ีจกั ษุเป็ นต้น ระวังรักษามิให้อกุศลกรรม
๓๑

เข้าครอบงา เมื่อเห็นรู ปเป็ นต้น ทั้งมีสติไม่ฟั่นเฟื อนหลงลืม ระลึกได้ก่อนแต่ทา


พูด คิด ไม่ให้ผิดทางกาย วาจา ใจ ไม่ประมาทหลงทากรรมชัว่ ฯ
๑๒. บุคคลผู้ได้รับการยกย่องว่าเป็ นพหุสูต เพราะประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๓)
ตอบ : เพราะมีคุณสมบัติของพหูสูต คือ
๑. พหุสฺสุตา ฟังมาก
๒. ธตา จาได้
๓. วจสา ปริ จิตา คล่องปาก
๔. มนสานุเปกขิตา เพ่งขึ้นใจ
๕. ทิฏฐิยา สุปฏิวิทธา ขบได้ดว้ ยทฤษฎี ฯ
ฉักกะ คือ หมวด ๖
๑. จริต คือ อะไร ? คนมีปกติเชื่ อง่ายเป็ นจริตอะไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. จริ ต คือ พื้นเพอัธยาศัยของบุคคลที่แสดงออกมาตามปกติเป็ นประจา ฯ
๒. คนมีปกติเชื่อง่ายเป็ น สัทธาจริ ต ฯ
๒. จริต ๖ ได้แก่อะไรบ้ าง ? คนมีจริตมักนึกพล่านจะพึงแก้ด้วยกัมมัฏฐานอะไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. จริ ต ๖ได้แก่ ๑) ราคจริ ต ๒) โทสจริ ต ๓) โมหจริ ต ๔) วิตกั กจริ ต ๕) สัทธาจริ ต
๖) พุทธิจริ ต ฯ
๒. คนมีจริ ตมักนึกพล่าน พึงแก้ดว้ ยวิธีเพ่งกสิ ณ หรื อเจริ ญอานาปานัสสติ
กัมมัฏฐาน ฯ
๓. คนมีปกติรักสวยรักงาม จัดเป็ นจริตอะไร ? จะพึงแก้ได้ด้วยการพิจารณากรรมฐานข้อใด
ได้บ้าง ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. คนมีปกติรักสวยรักงาม จัดเป็ นราคจริ ต ฯ
๒. จะพึงแก้ได้ดว้ ยการพิจารณากายคตาสติ หรื อ อสุภกรรมฐาน ฯ
๔. คาว่า พระธรรม ในธรรมคุณบทว่า “พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสดีแล้ว”หมายถึง
อะไร ? (๒๕๖๑, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. พระธรรม ในธรรมคุณ บทนี้ หมายถึง ปริ ยตั ิธรรม กับ ปฏิเวธธรรม (หรื อโดย
พิสดารได้แก่ สัทธรรม ๑๐ คือ โลกุตตรธรรม ๙ กับปริ ยตั ิธรรม ๑) ฯ
๕. บทนมัสการพระธรรมว่า สวากขาโต ภควตา ธมโม ธมม นมสสามิ ข้าพเจ้ านมัสการพระธรรม
อันพระผู้มีพระภาคเจ้ าตรัสดีแล้ว ที่ว่าตรัสดีแล้วนั้นมีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : มีอธิบายอย่างนี้ คือ ดีท้งั ในส่วนปริ ยตั ิและดีท้งั ในส่วนปฏิเวธ
๓๒

๑. ส่วนปริ ยตั ิได้ชื่อว่าดี เพราะตรัสไม่วิปริ ต เพราะแสดงข้อปฏิบตั ิโดยลาดับ


กัน มีความไพเราะในเบื้องต้น ท่ามกลาง ที่สุด พร้อมทั้งอรรถ ทั้งพยัญชนะ
บริ สุทธิ์บริ บูรณ์สิ้นเชิง
๒. ส่วนปฏิเวธนั้น ได้ชื่อว่าดี เพราะปฏิปทากับพระนิพพานย่อมสมควรแก่กนั และ
กัน
๖. สวรรค์มีกี่ช้ ัน อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. สวรรค์ มี ๖ ชั้น
๒. ได้แก่
๑) ชั้นจาตุมหาราชิกา ๒) ชั้นดาวดึงส์
๓) ชั้นยามา ๔) ชั้นดุสิต
๕) ชั้นนิมมานรดี ๖) ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี ฯ
สั ตตกะ คือ หมวด ๗
๑. อนุสัย หมายถึง กิเลสประเภทไหน ? ได้ชื่อเช่ นนั้นเพราะเหตุไร ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. อนุสัย หมายถึง กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยูใ่ นสันดาน ฯ
๒. ชื่อว่าอนุสัย เพราะกิเลสชนิดนี้ บางทีไม่ปรากฏ แต่เมื่อมีอารมณ์มายัว่ ย่อม
เกิดขึ้นในทันใด ฯ
๒. กิเลสที่ได้ชื่อว่าอนุสัย และได้ชื่อว่าสังโยชน์ มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. กิเลสที่ได้ชื่อว่าอนุสัย เพราะเป็ นกิเลสอย่างละเอียด นอนเนื่องอยูใ่ นสันดานของ
สัตว์มกั ไม่ปรากฏ ต่อเมื่อมีอารมณ์มายัว่ จึงปรากฏขึ้น
๒. กิเลสที่ได้ชื่อว่า สังโยชน์ เพราะเป็ นกิเลสที่ผูกใจสัตว์ไว้กบั ภพไม่ให้หลุดพ้น
ไปได้
๓. วิญญาณฐิติต่างจากสัตตาวาสอย่างไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๑. ภูมิเป็ นที่ต้งั แห่งวิญญาณ เรี ยกว่า วิญญาณฐิติ
๒. ภพเป็ นที่อยูแ่ ห่งสัตว์ เรี ยกว่า สัตตาวาส ฯ
๔. สมาธิระดับไหนจึงจัดเป็ นจิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่ งจิต ? (๒๕๕๕)
ตอบ : สมาธิท้งั ที่เป็ นอุปจาระทั้งที่เป็ นอัปปนา โดยที่สุดขณิกสมาธิ คือ สมาธิชวั่ ขณะพอ
เป็ นรากฐานแห่งวิปัสสนา จัดเป็ นจิตตวิสุทธิ ฯ
๓๓

อัฏฐกะ คือ หมวด ๘


๑. ในอวิชชา ๘ ข้อที่ว่า ไม่รู้จักอนาคต มีอธิบายว่าอย่างไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ข้อที่ว่า ไม่รู้จกั อนาคต มีอธิบายว่า ไม่รู้จกั คิดล่วงหน้า ไม่อาจปรารภการที่ทา หรื อ
เหตุอนั เกิดขึ้นในปัจจุบนั ว่าจักมีผลเป็ นอย่างนั้นๆ ฯ
นวกะ คือ หมวด ๙
๑. พระพุทธคุณ บทว่า อรห แปลว่า อย่างไรได้บ้าง ? (๒๕๖๒)
ตอบ : อรห แปลว่า
๑. เป็ นผูเ้ ว้นไกลจากกิเลสและบาปกรรม
๒. เป็ นผูห้ ักกาแห่งสังสารจักร
๓. เป็ นผูค้ วรแนะนาสั่งสอนเขา
๔. เป็ นผูค้ วรรับความเคารพนับถือของเขา
๕. เป็ นผูไ้ ม่มีขอ้ ลับ ไม่ได้ทาความเสี ยหายอันจะพึงซ่อนเพื่อมิให้คนอื่นรู้ ฯ
๒. พระพุทธคุณบทว่า อรห เป็ นพระอรหันต์ มีความหมายอย่างไรบ้ าง ? เลือกตอบมา ๒ อย่าง
(๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : มีความหมายได้ ๔ อย่าง ฯ คือ
๑. ชื่อว่าเป็ นพระอรหันต์ เพราะเป็ นผูไ้ กลจากกิเลสและบาปธรรม กล่าวคือเป็ นผู ้
บริ สุทธิ์
๒. ชื่อว่าเป็ นพระอรหันต์ เพราะเป็ นผูห้ ักกาสังสารจักร คือ อวิชชา ตัณหา
อุปาทาน กรรม ได้
๓. ชื่อว่าเป็ นพระอรหันต์ เพราะเป็ นผูค้ วรแนะนาสั่งสอนเขา หรื อเป็ นผูค้ วรรับ
ความเคารพนับถือ
๔. ชื่อว่าเป็ นพระอรหันต์ เพราะเป็ นผูไ้ ม่มีความลับ คือมิได้ทาความเสี ยหายอันใด
ที่จะพึงซ่อนเร้น ฯ
๓. พระพุทธคุณ บทว่า อรห ที่แปลว่า เป็ นผู้หักกาแห่ งสังสารจักรนั้น กาแห่ งสังสารจักร ได้แก่
อะไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : กาแห่งสังสารจักร ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน และกรรม ฯ
๔. พุทธคุณ ๒ ก็มี พุทธคุณ ๓ ก็มี พุทธคุณ ๙ ก็มี จงแจกแจงแต่ละอย่างว่ามีอะไรบ้ าง (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. พุทธคุณ ๒ คือ อัตตหิตสมบัติ ความถึงแห่งประโยชน์ตน และปรหิตปฏิบตั ิ
การปฏิบตั ิเพื่อประโยชน์ผอู ้ ื่น
๓๔

๒. พุทธคุณ ๓ คือ พระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ และพระกรุ ณาคุณ


๓. พุทธคุณ ๙ คือ อรห , สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต, โลกวิทู,
อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสาน , พุทฺโธ, ภควา ฯ
๕. พระพุทธคุณว่า อรห ใช้ เป็ นคุณบทของพระสาวกได้ด้วยหรื อไม่ ? ถ้าได้ จะมีคาอะไรมา
ประกอบร่ วมด้วย เป็ นเครื่ องหมายให้ รู้ว่าเป็ นคุณบทของพระศาสดาหรื อของพระสาวก ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ได้ ฯ
๒. สาหรับพระศาสดา ใช้ว่า อรห สมฺมาสมฺพุทฺโธ แปลว่า พระอรหันต์ ผูต้ รัสรู้
ชอบเอง
๓. สาหรับพระสาวกใช้ว่า อรห ขีณาสโว แปลว่า พระอรหันต์ผมู ้ ีอาสวะสิ้นแล้ว ฯ
๖. พระพุทธคุณ ๙ บท คืออะไรบ้ าง ? บทไหนจัดเป็ นอัตตหิตสมบัติและปรหิตปฏิบัติ ?(๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. พระพุทธคุณ ๙ บท คือ อรห , สมฺมาสมฺพุทฺโธ, วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน, สุคโต,
โลกวิทู, อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ, สตฺถา เทวมนุสฺสาน , พุทฺโธ, ภควา ฯ
๒. ๕ บทเบื้องต้นเป็ นอัตตหิตสมบัติ ๔ บทเบื้องปลายเป็ นปรหิตปฏิบตั ิ ฯ
๗. พระพุทธคุณบทหนึ่งว่า เป็ นผู้หักกาแห่ งสังสารจักร ถามว่า กาได้แก่อะไร สังสารจักร ได้แก่
อะไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. กา ได้แก่ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน กรรม
๒. สังสารจักร ได้แก่ กิเลส กรรม วิบาก ฯ
๘. มานะ คืออะไร ? ว่าโดยย่อ ๓ อย่าง ได้แก่อะไรบ้ าง ?
ตอบ : ๑. มานะ คือ ความสาคัญตัวว่าเป็ นนัน่ เป็ นนี่ ฯ
๒. ว่าโดยย่อ ๓ อย่าง ได้แก่
๑) สาคัญตัวว่าเลิศกว่าเขา
๒) สาคัญตัวว่าเสมอเขา
๓) สาคัญตัวว่าเลวกว่าเขา ฯ
๙. คาว่า “อุชุปฏิปนโน เป็ นผู้ปฏิบัติตรง” คือปฏิบัติเช่ นไร ? (๒๕๖๓, ๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. อุชุปฏิปนฺโน คือ ไม่ปฏิบตั ิลวงโลก ไม่มีมายาสาไถย ประพฤติตรงต่อ
พระศาสดา และเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อาพรางความในใจ ไม่มีแง่มีงอน ฯ
๑๐. สังฆคุณ ๙ มีอะไรบ้ าง จะย่นให้ เหลือเพียง ๒ ได้อย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ :๑. สังฆคุณ ๙ ได้แก่
๑) สุปฏิปนฺโน เป็ นผูป้ ฏิบตั ิดีแล้ว
๓๕

๒) อุชุปฏิปนฺโน เป็ นผูป้ ฏิบตั ิตรงแล้ว


๓) ญายปฏิปนฺโน เป็ นผูป้ ฏิบตั ิเป็ นธรรม
๔) สามีจิปฏิปนฺโน เป็ นผูป้ ฏิบตั ิสมควร
๕) อาหุเนยฺโย เป็ นผูค้ วรของคานับ
๖) ปาหุเนยฺโย เป็ นผูค้ วรของต้อนรับ
๗) ทกฺขิเณยฺโย เป็ นผูค้ วรของทาบุญ
๘) อญฺ ชลีกรณีโย เป็ นผูค้ วรทาอัญชลี (ประณมมือไหว้)
๙) อนุตฺตร ปุญฺญกฺเขตฺต โลกสฺ ส เป็ นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ฯ
๒. ย่นให้เหลือเพียง ๒ คือ
๑) ข้อ ๑ ถึงข้อ ๔ เป็ นอัตตหิตคุณ คือคุณเกื้อกูลแก่ตนเอง
๒) ข้อ ๕ ถึงข้อ ๙ เป็ นปรหิตคุณ คือคุณเกื้อกูลแก่ผอู ้ ื่น ฯ
๑๑. พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณ ๙ ท่านหมายถึงพระสงฆ์เช่ นไร ? คาว่า “อุชุปฏิปนโน เป็ นผู้ปฏิบัติ
ตรง” คือปฏิบัติเช่ นไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณ หมายถึง พระสาวกผูไ้ ด้บรรลุธรรมวิเศษตั้งแต่พระ
โสดาปัตติมรรค เป็ นต้น ฯ
๒. คาว่า อุชุปฏิปนฺโน คือไม่ปฏิบตั ิลวงโลก ไม่มีมายาสาไถย ประพฤติตรง ตรง
ต่อพระศาสดาและเพื่อนสาวกด้วยกัน ไม่อาพรางความในใจ ไม่มีแง่งอน ฯ
๑๒. คาว่า พระสงฆ์ ในบทสังฆคุณนั้น ท่านประสงค์บุคคลเช่ นไร ? จงจาแนกมาดู (๒๕๖๒,
๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ท่านประสงค์พระอริ ยบุคคล ๔ คู่ ๘ บุคคล ซึ่งล้วนแต่ท่านผูท้ ี่ต้งั อยูใ่ นมรรคผล
ทั้งสิ้น
๒. จาแนกได้ดงั นี้
๑) พระโสดาปัตติมรรค พระโสดาปัตติผล ๑ คู่
๒) พระสกทาคามิมรรค พระสกทาคามิผล ๑ คู่
๓) พระอนาคามิมรรค พระอนาคามิผล ๑ คู่
๔) พระอรหัตมรรค พระอรหัตตผล ๑ คู่ฯ
ทสกะ คือ หมวด ๑๐
๑. บารมี คืออะไร ? ทาอย่างไร เรียกว่าอธิษฐานบารมี ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๒, ๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. บารมี คือ ปฏิปทาอันยิ่งยวด หรื อคุณธรรมที่ประพฤติอย่างยิ่งยวด ได้แก่ ความดี
ที่บาเพ็ญอย่างพิเศษ เพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุด ฯ
๓๖

๒. ความตั้งใจมัน่ ตัดสิ นใจเด็ดเดี่ยว วางจุดหมายแห่งการกระทาของตนไว้แน่นอน


และดาเนินตามนั้นอย่างแน่วแน่ เรี ยกว่า อธิษฐานบารมี ฯ
๒. ผู้บริจาคทานระดับใดจัดเป็ นทานบารมี ทานอุปบารมี และทานปรมัตถบารมี ?(๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. ทานบารมี คือ บารมีระดับสามัญ ได้แก่ ทรัพย์สินเงินทอง สมบัตินอกกาย
๒. อุปบารมี คือ บารมีระดับรอง ได้แก่ การเสี ยสละอวัยวะเป็ นทาน
๓. ปรมัตถบารมี คือ บารมีระดับสูงสุด ได้แก่ การสละชีวิตเพื่อประโยชน์แก่ผอู ้ ื่น
๓. มิจฉัตตะคืออะไร ? มีอะไรบ้ าง ? มิจฉาวายามะได้แก่พยายามผิดอย่างไร ?(๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. มิจฉัตตะ คือ ความเป็ นสิ่ งที่ผิด ฯ
๒. มี ๑) มิจฉาทิฏฐิ ๒) มิจฉาสังกัปปะ ๓) มิจฉาวาจา ๔) มิจฉากัมมันตะ
๕) มิจฉาอาชีวะ ๖) มิจฉาวายามะ ๗) มิจฉาสติ ๘) มิจฉาสมาธิ ๙) มิจฉาญาณะ
๑๐) มิจฉาวิมุตติ
๓. มิจฉาวายามะ ได้แก่ พยายามในทางยังบาปธรรมให้เกิดขึ้นและให้เจริ ญ และ
ในทางยังกุศลธรรมไม่ให้เกิดขึ้นและให้เสื่ อมสิ้น ฯ
เอกาทสกะ คือ หมวด ๑๑
๑. พระบาลีว่า “อวิชชาปจจยา สงขารา” เพราะอวิชชาเป็ นปัจจัย จึงมีสังขารดังนี้ คาว่า สังขาร
หมายถึงอะไร ? ได้แก่อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. คาว่าสังขาร หมายถึง สภาพผูป้ รุ งแต่ง ฯ
๒. ได้แก่
๑) ปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบุญ
๒) อปุญญาภิสังขาร อภิสังขารคือบาป
๓) อเนญชาภิสังขาร อภิสังขารคืออเนญชา ฯ
๒. สมุทัยวาร กับ นิโรธวาร ในปฏิจจสมุปบาท ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. สมุทยั วาร คือ การแสดงความเกิดแห่งผล เพราะเกิดแห่งเหตุ
๒.นิโรธวาร คือ การแสดงความดับแห่งผล เพราะดับแห่งเหตุ ฯ
ทวาทสกะ คือ หมวด ๑๒
๑. จงให้ ความหมายของคาต่อไปนี้ ? ๑. อโหสิกรรม ๒. กตัตตากรรม (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. อโหสิ กรรม คือ กรรมให้ผลสาเร็จแล้ว เป็ นกรรมล่วงคราวแล้ว เลิกให้ผลเปรี ยบ
เหมือนพืชสิ้นยางแล้ว เพาะไม่ข้ ึน
๒. กตัตตากรรม คือ กรรมสักว่าทา ได้แก่กรรมอันทาด้วยไม่จงใจ ฯ
๓๗

๒. กรรมที่บุคคลทาไว้ ทาหน้ าที่อย่างไรบ้ าง ? (๒๕๕๕)


ตอบ : ทาหน้าที่ คือ
๑. แต่ง (วิบาก) ให้เกิด เรี ยกว่า ชนกกรรม
๒. สนับสนุน (วิบากของกรรมอื่น) เรี ยกว่า อุปัตถัมภกกรรม
๓. บีบคั้น (วิบากของกรรมอื่น) เรี ยกว่า อุปปี ฬกกรรม
๔. ตัดรอน (วิบากของกรรมอื่น) เรี ยกว่า อุปฆาตกกรรม ฯ
๓. ครุกรรม คืออะไร ? อนันตริยกรรมกับสมาบัติ ๘ เป็ นครุกรรมฝ่ ายกุศลหรื ออกุศล ?( ๒๕๖๑,
๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ครุ กรรม คือ กรรมหนัก ฯ
๒. อนันตริ ยกรรม เป็ นครุ กรรมฝ่ ายอกุศล ส่วนสมาบัติ ๘ เป็ นครุ กรรมฝ่ ายกุศล ฯ
๔. ในกรรม ๑๒ อุปัตถัมภกกรรม กับอุปปี ฬกกรรม ทาหน้ าที่ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. อุปัตถัมภกกรรม ทาหน้าที่สนับสนุนผลแห่งชนกกรรม
๒. อุปปี ฬกกรรม ทาหน้าที่บีบคั้นผลแห่งชนกกรรม ฯ
๕. อุปฆาตกกรรม คือ กรรมตัดรอน ทาหน้ าที่อะไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : อุปฆาตกกรรม ทาหน้าที่ตดั รอนผลแห่งชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมให้ขาด
แล้ว เข้าให้ผลแทนที่ (ชนกกรรมและอุปัตถัมภกกรรมนั้น) ฯ
เตรสกะ คือ หมวด ๑๓
๑. ธุดงค์ คืออะไร ? มีกี่หมวด ? หมวดไหนว่าด้วยเรื่ องอะไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. ธุดงค์ คือ วัตตจริ ยาพิเศษอย่างหนึ่ง เป็ นอุบายขัดเกลากิเลส และเป็ นไปเพื่อ
ความมักน้อยสันโดษ ฯ มี ๔ หมวด ฯ ดังนี้
๑) หมวดที่ ๑ ว่าด้วยเรื่ องจีวร
๒) หมวดที่ ๒ ว่าด้วยเรื่ องบิณฑบาต
๓) หมวดที่ ๓ ว่าด้วยเรื่ องเสนาสนะ
๔) หมวดที่ ๔ ว่าด้วยเรื่ องความเพียร ฯ
๒. ธุดงค์ท่านบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์ อะไร ? ธุดงค์ที่ภิกษุถือได้มีกาหนดเฉพาะกาล คือข้อใด ?
เพราะเหตุใด ฯ (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. เพื่อประโยชน์คือ เป็ นอุบายขัดเกลากิเลสและเป็ นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษฯ
๒. ข้อรุ กขมูลิกงั คะ และ อัพโภกาสิ กงั คะ ฯ
ธุดงค์ ๒ ข้อนี้ภิกษุถือได้เฉพาะกาลนอกพรรษา
๓๘

๓. เพราะในพรรษาภิกษุตอ้ งถือเสนาสนะ เป็ นที่อยูอ่ าศัยประจา ตามพระวินยั นิยม


๓. ธุดงค์ ท่านบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์ อะไร ? ภิกษุผ้ถู ือบิณฑบาต เป็ นวัตรอย่างเคร่ ง ท่านให้ ถือ
ปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. เพื่อประโยชน์คือเป็ นอุบายขัดเกลากิเลสและเป็ นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ
๒. ภิกษุผถู ้ ือบิณฑบาต เป็ นวัตรอย่างเคร่ ง คือ เมื่อเลิกบิณฑบาต นัง่ ลงแล้ว แม้มีผู ้
มาใส่บาตรอีก ก็ไม่รับ ฯ
๔. ธุดงค์ได้แก่อะไร ? การสมาทานธุดงค์ด้วยการฉันมื้อเดียวเป็ นวัตรที่เรียกกันทั่วไปว่า “ฉันเอกา”
จัดเข้าในธุดงค์ข้อไหน ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. ธุดงค์ ได้แก่ วัตตจริ ยาพิเศษอย่างหนึ่ง เป็ นอุบายขัดเกลากิเลสและเป็ นไปเพื่อ
ความมักน้อย สันโดษ ฯ
๒. ฉันเอกา จัดเข้าในข้อเอกาสนิกงั คะ คือ ถือนัง่ ฉัน ณ อาสนะเดียวเป็ นวัตร ฯ
๕. ธุดงค์ คืออะไร ? ข้อใดของปัจจัย ๔ ไม่มีในธุดงค์ ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. ธุดงค์ คือ วัตตจริ ยาพิเศษอย่างหนึ่ง บัญญัติข้ นึ ด้วยหมายจะให้เป็ นอุบายขัดเกลา
กิเลส และเป็ นไปเพื่อความมักน้อยสันโดษ ฯ
๒. ข้อยารักษาโรค ไม่มีในธุดงค์ ฯ

______________________________________________________________________________
๓๙

๒.๒ วิชาอนุพุทธประวัติ
๑. สัมมาสัมพุทธะ ปัจเจกพุทธะ และอนุพุทธะ ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๖๐)
พุทธบุคคล มีกี่ประเภท ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. สัมมาสัมพุทธะ ตรัสรู้เองโดยชอบ และสอนผูอ้ ื่นให้รู้ตาม
๒. ปัจเจกพุทธะ ตรัสรู้เฉพาะตน ไม่สอนผูอ้ ื่นให้รู้ตาม
๓. อนุพุทธะ ตรัสรู้ตามที่พระพุทธเจ้าทรงสัง่ สอน และสามารถสอนผูอ้ ื่นให้รู้ตาม
๒. อนุพุทธองค์แรก คือใคร ? สาเร็จเป็ นพระอรหันต์เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ ออะไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. อนุพุทธองค์แรก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ
๒. สาเร็จเป็ นพระอรหันต์เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่อ อนัตตลักขณสูตร ฯ
๓. อนุพุทธองค์แรก คือใคร ? ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ ออะไร ?
(๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. อนุพุทธองค์แรก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ฯ
๒. ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่อ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ฯ
๔. ประวัติอนุพุทธบุคคล มีความสาคัญต่อผู้ศึกษาอย่างไร ? (๒๕๕๙)
ตอบ : มีความสาคัญ คือ ทาให้ผศู ้ ึกษาได้รับความรู้ในจริ ยาวัตร และคุณความดีที่ท่านได้
บาเพ็ญมาตลอด จนถึงผลงานในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนาอันทาให้เจริ ญสื บ
มาถึงทุกวันนี้ นาให้เกิดความเลื่อมใสและความนับถือเป็ นทิฏฐานุคติอนั ดี
สามารถน้อมนามาปฏิบตั ิตามได้ ฯ
๕. อนุพุทธบุคคล คือใคร ? มีความสาคัญอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๑, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. อนุพุทธบุคคล คือ สาวกผูต้ รัสรู้ตามพระพุทธเจ้า ฯ
๒. มีความสาคัญอนุพุทธบุคคลเป็ นสังฆรัตนะในรัตนะ ๓ เป็ นพยานยืนยันความ
ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า และเป็ นกาลังใหญ่ของพระพุทธเจ้าในอันช่วยประกาศพระ
ธรรม ประดิษฐานพระพุทธศาสนาขึ้น เพื่อประโยชน์สุขแก่ชนเป็ นอันมาก ฯ
๖. อนุพุทธบุคคล คือใคร ? เป็ นได้เฉพาะบรรพชิตหรื อเฉพาะคฤหัสถ์ ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. อนุพุทธบุคคล คือ สาวกของพระพุทธเจ้า ที่ท่านได้ตรัสรู้มรรคผลตาม
พระพุทธเจ้า ฯ
๒. เป็ นได้ท้งั บรรพชิตและคฤหัสถ์ ฯ
๔๐

๗. พระสาวกผู้บวชเพราะเบื่อหน่ าย บวชเพราะเพื่อน คือใคร ? (๒๕๕๖)


ตอบ : ๑. พระสาวกผูบ้ วชเพราะเบื่อหน่าย คือ พระยสะ พระมหากัสสปะ ฯ
๒. พระสาวกผูบ้ วชเพราะเพื่อน คือ พระภัททิยศากยะ พระวิมละ พระสุพาหุ
พระปุณณชิ พระควัมปติ และเพื่อนชาวชนบทอีก ๕๐ คน ฯ
๘. พระอัญญาโกณฑัญญะ กับพระอุรุเวลกัสสปะ ทูลขอบวชในพระศาสนาโดยมีมูลเหตุความ
เป็ นมาต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะได้ธรรมจักษุ คือ ดวงตาเห็นธรรม ที่ท่านกล่าวว่าเป็ น
พระโสดาบัน มีศรัทธาในพระศาสนามัน่ คงแล้ว จึงขอบวช ฯ
๒. พระอุรุเวลกัสสปะได้ปรี ชาหยัง่ เห็นว่าลัทธิของตนหาแก่นสารไม่ได้หลงถือตน
ว่า เป็ นผูว้ ิเศษ แต่หาเป็ นเช่นนั้นไม่ ได้ความสลดใจจึงลอยบริ ขารชฎิลของตนเสี ย
แล้วจึงขอบวช ฯ
๙. พระอัญญาโกณฑัญญะสาเร็จเป็ นพระอรหันต์หลังจากบวชเป็ นพระภิกษุแล้วกี่วัน ? สาเร็จเพราะ
ฟังพระธรรมเทศนาชื่ ออะไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะสาเร็จเป็ นพระอรหันต์หลังจากบวชแล้ว ๕ วัน ฯ
๒. สาเร็จเพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่อ อนัตตลักขณสูตร ฯ
๑๐. ภิกษุผ้รู ัตตัญญู ย่ อมมีคุณสมบัติเช่ นไร จึงพ้นจากคาตาหนิว่า โตเพราะกินข้าว เฒ่ าเพราะบวช
นาน ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ย่อมเป็ นผูเ้ ก่าแก่ ได้พบเห็นและสันทัดในกิจการของคณะ ย่อมอาจจัด อาจทาให้
สาเร็จด้วยตนเองหรื อบอกเล่าแนะนาผูอ้ ื่น เป็ นเจ้าแบบเจ้าแผนดุจผูร้ ักษาคลังพัสดุ
๑๑. ความเห็นว่า พระขีณาสพตายแล้วดับสู ญ เป็ นความเห็นผิด ความเห็นที่ถูกต้องเป็ นอย่างไร ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ความเห็นที่ถูกต้อง คือ พระขีณาสพตายแล้ว รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ที่ไม่เที่ยงดับไป ฯ
๑๒. พระปัญจวัคคีย์ได้สาเร็จเป็ นพระอรหันต์ เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ ออะไร ? พระธรรมเทศนา
นั้นโดยย่อว่าด้วยเรื่ องอะไร ? (๒๕๖๒, ๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. พระปัญจวัคคียเ์ ป็ นพระอรหันต์ เพราะฟังธรรมเทศนาชื่อ อนัตตลักขณสูตร ฯ
๒. พระธรรมเทศนาโดยย่อว่าด้วยเรื่ องรู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ไม่เที่ยง
เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ
๔๑

๑๓. พระอัญญาโกณฑัญญะมีมูลเหตุจูงใจอะไร จึงได้ออกบวชตามอุปัฏฐากพระมหาบุรุษขณะ


บาเพ็ญทุกรกิริยา ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๓)
ตอบ : มูลเหตุจูงใจในการออกบวชตามพระมหาบุรุษ เพราะเคยเข้าร่ วมทานาย
พระลักษณะของพระมหาบุรุษโดยเชื่อมัน่ ว่าจะตรัสรู้เป็ นพระพุทธเจ้า จึงตาม
อุปัฏฐากด้วยหวังว่า พระมหาบุรุษตรัสรู้จกั ทรงเทศนาโปรด ฯ
๑๔. พระปัญจวัคคีย์ได้บรรลุเป็ นพระอรหันต์พร้ อมกัน แต่พระอัญญาโกณฑัญญะได้รับยกย่องเป็ น
ปฐมสาวก เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : เพราะพระอัญญาโกณฑัญญะเป็ นผูไ้ ด้ดวงตาเห็นธรรมก่อนและได้รับอุปสมบท
ก่อนองค์อื่น
๑๕. ปัญจวัคคีย์ท้งั ๕ ท่าน ได้ดวงตาเห็นธรรมก่อนหลังกันอย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ท่านโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเป็ นองค์แรก ต่อมาท่านวัปปะและท่าน
ภัททิยะจึงได้ดวงตาเห็นธรรม และต่อมาท่านมหานามะและท่านอัสสชิจึงได้
ตามลาดับ ฯ
๑๖. พระปัญจวัคคีย์องค์ไหนบ้ าง ได้ศิษย์ดีมีความสาคัญต่อพระศาสนา ศิษย์น้ันชื่ ออะไรและเป็ นผู้
เลิศในทางด้านใด ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้พระปุณณมันตานีบุตรเป็ นศิษย์เป็ นผูเ้ ลิศในทาง
ธรรมกถึก
๒. พระอัสสชิ ได้พระสารี บุตรเป็ นศิษย์ เป็ นผูเ้ ลิศในทางมีปัญญามาก ฯ
๑๗. มารยาทดี มีความสารวม ย่อมเป็ นศรีของสมณะ สามารถจะปลูกศรัทธาเลื่อมใสให้ เกิดแก่ผ้พู บ
เห็น นี่เป็ นปฏิปทาจริยาวัตรของพระสาวกรูปใด ? จงเล่าประวัติของท่านโดยย่อ (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ปฏิปทาจริ ยาวัตรของพระอัสสชิเถระ ฯ
๒. ท่านเป็ นหนึ่งในพระปัญจวัคคีย์ ได้ฟังพระธรรมเทศนาจนได้บรรลุพระอรหัต
แล้ว ได้เป็ นกาลังในการประกาศพระศาสนา อุปติสสปริ พาชกพบเห็นแล้วเกิด
ความเลื่อมใส ขอฟังธรรมจากท่าน แล้วได้เข้ามาบวชในพระพุทธศาสนา ฯ
๑๘. “ที่นี่ว่นุ วายหนอ ที่นี่ขัดข้องหนอ” เป็ นคาอุทานของใคร ? เพราะเหตุใดจึงอุทานอย่างนั้น ?
(๒๕๖๔, ๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ของยสกุลบุตร ฯ
๒. เพราะเห็นหมู่ชนบริ วารนอนหลับมีอาการพิกลต่าง ๆ ดุจซากศพที่ทิ้งอยูใ่ น
ป่ าช้า จึงเกิดความสลดใจ คิดเบื่อหน่าย ฯ
๔๒

๑๙. พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปุพพิกถา แก่ใครเป็ นคนแรก ? อนุปุพพิกถา นั้นกล่าวถึงเรื่ องอะไร ?


(๒๕๖๓, ๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. แสดงแก่ยสกุลบุตรเป็ นคนแรก ฯ
๒. อนุปุพพิกถา กล่าวพรรณนา ทานคือการให้ แล้วพรรณนาศีล คือ ความรักษา
กาย วาจา เรี ยบร้อย พรรณนาสวรรค์คือกามคุณที่บุคคลใคร่ ซึ่งจะพึงได้ พึงถึง
ด้วยกรรมอันดี คือ ทานและศีล พรรณนาโทษแห่งกาม และพรรณนาอานิสงส์แห่ง
ความออกไปจากกาม ฯ
๒๐. อนุปุพพิกถา คืออะไร ? ทรงยกขึน้ แสดงด้วยพระพุทธประสงค์อย่างไร ?
ตอบ : ๑. อนุปุพพิกถา คือ ถ้อยคาที่กล่าวโดยลาดับ ฯ
๒. ทรงยกขึ้นแสดงพระพุทธประสงค์ ฟอกจิตกุลบุตรให้ห่างไกลจากความยินดี
ในกาม ควรรับพระธรรมเทศนาให้เกิดธรรมจักษุ เหมือนผ้าที่ปราศจากมลทิน ควร
รับน้ าย้อมได้ ฉะนั้น ฯ
๒๑. พระสาวกผู้สาเร็จเป็ นพระอริยบุคคลเพราะฟังธรรมเทศนาเรื่ องเดียวซ้า ๒ ครั้ง คือใคร ?
ธรรมเทศนาเรื่ องอะไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. คือ พระยสะ ฯ
๒. ธรรมเทศนาเรื่ อง อนุปุพพิกถา และอริ ยสัจ ๔ ฯ
๒๒. ยสกุลบุตรได้ฟังธรรมอะไรจากพระศาสดาเป็ นครั้งแรก ? ณ ที่ไหน ? (๒๕๖๒, ๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ยสกุลบุตรได้ฟัง อนุปุพพิกถา และอริ ยสัจ ๔ ฯ
๒. ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ฯ
๒๓. พุทธบริษัท ๔ ผู้เป็ นอริยสาวก มีลาดับการเกิดขึน้ ก่อนหลังกันอย่างไร ? บุคคลแรกของแต่ละ
บริษัทนั้น คือใคร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. มีลาดับอย่างนี้ คือ ภิกษุ อุบาสก อุบาสิ กา และภิกษุณี ฯ
๒. บุคคลแรกของแต่ละบริ ษทั มีดงั นี้
๑) พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็ นคนแรกของภิกษุบริ ษทั
๒) บิดาของพระยสะ เป็ นคนแรกของอุบาสกบริ ษทั
๓) มารดาและภรรยาของพระยสะ เป็ นคนแรกของอุบาสิ กาบริ ษทั
๒๔. อุบาสกผู้ประกาศตนถึงรัตนะ ๒ และรัตนะ ๓ ว่าเป็ นสรณะคนแรก คือใคร ?(๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. อุบาสกผูป้ ระกาศตนถึงรัตนะ ๒ คือ ตปุสสะและภัลลิกะ
๒. อุบาสกผูป้ ระกาศตนถึงรัตนะ ๓ เป็ นสรณะคนแรก คือ บิดาพระยสะ ฯ
๔๓

๒๕. พระวาจาที่ตรัสให้ อุปสมบทแก่พระอัญญาโกณฑัญญะ และพระยสะเหมือนกันหรื อต่างกัน ?


เพราะเหตุไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๙, ๒๕๕๕, ๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. เหมือนกันตรงที่ทรงรับเข้าสู่พรหมจรรย์ว่า “จงเป็ นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเรา
กล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด”
๒. ต่างกันที่พระอัญญาโกณฑัญญะ มีพระพุทธดารัสต่อท้ายว่า “เพื่อทาที่สุดทุกข์
โดย ชอบ” เพราะท่านยังไม่บรรลุพระอรหัต ส่วนพระยสะ ไม่มีคาว่า “เพื่อทาที่สุด
ทุกข์ โดยชอบ” เพราะท่านบรรลุพระอรหัตแล้ว ฯ
๒๖. พระสาวกที่พระพุทธองค์ทรงส่ งไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก มีจานวนเท่าไร ?
ประกอบด้วยใครบ้ าง ? (๒๕๖๒, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. พระสาวกที่ไปประกาศพระศาสนาครั้งแรก มีจานวน ๖๐ องค์ ฯ
๒. ประกอบด้วยปัญจวัคคีย,์ พระยสะ, พระวิมละ, พระสุพาหุ, พระปุณณชิ,
พระควัมปติ, เพื่อนพระยสะอีก ๕๐ องค์ ฯ
๒๗. พระเจ้ าพิมพิสารทรงถวายพระราชอุทยานเวฬุ วันแด่พระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้ าเป็ น
ประธาน เพราะทรงพิจารณาเห็นอย่างไร และทรงถวายด้วยวิธีการอย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. เพราะทรงเห็นว่า พระราชอุทยานเวฬุวนั เป็ นที่ไม่ไกลไม่ใกล้นกั แต่บริ บูรณ์
ด้วยทางเป็ นที่ไปและเป็ นที่มา ควรที่ผมู ้ ีธุระจะพึงไปถึง กลางวันไม่เกลื่อนกล่น
ด้วย หมู่คน กลางคืนเงียบเสี ยงที่จะอื้ออึงกึกก้อง ปราศจากลมแต่ชนที่เดินเข้าออก
สมควรเป็ นที่ประกอบกิจของผูต้ อ้ งการที่สงัด และควรเป็ นที่หลีกออกเร้นอยูต่ าม
วิสัยสมณะ ควรเป็ นที่เสด็จอยูข่ องพระศาสดาดังนี้
๒. ทรงถวายด้วยวิธีการทรงจับพระเต้าทองเต็ม ด้วยน้ าหลัง่ ลงถวายพระราช
อุทยานเวฬุวนั นั้นแก่พระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็ นประธาน ฯ
๒๘. การที่พระเจ้ าพิมพิสารเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้ า เป็ นเหตุให้ พระองค์ได้รับอนุตตริยะอะไรบ้ าง ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ได้อนุตตริ ยะ ๓ อย่าง คือ
๑. พระองค์ได้เฝ้า เป็ นทัสสนานุตตริ ยะ
๒. ได้ทรงสดับธรรม เป็ นสวนานุตตริ ยะ
๓. ได้ธรรมจักษุเห็นธรรมนั้น เป็ นลาภานุตตริ ยะ ฯ
๔๔

๒๙. พระพุทธเจ้ าทรงยกย่องใครว่าเป็ นผู้มีบริวารมาก ? เพราะเหตุไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๙, ๒๕๖๐)


ตอบ : ๑. พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ
๒. เพราะเหตุที่ท่านเป็ นผูร้ ู้จกั เอาใจบริ วาร รู้จกั สงเคราะห์ดว้ ยธรรมบ้าง ด้วย
อามิสบ้าง ผูป้ ระกอบด้วยคุณสมบัติน้ ียอ่ มเป็ นผูส้ ามารถควบคุมบริ วารใหญ่ไว้ได้ฯ
๓๐. พระธรรมเทศนาที่ได้ชื่อว่า อาทิตตปริยายสู ตร เพราะเหตุไร ? พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่
ใคร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. เพราะแสดงสภาวธรรมเป็ นของร้อน อันเหมาะแก่บุรพจรรยาของผูฟ้ ัง ฯ
๒. พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่พวกปุราณชฎิล ฯ
๓๑. พระศาสดาทรงแสดงอาทิตตปริยายสู ตร โปรดพวกปุราณชฎิล เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : เพราะเป็ นพระสูตรที่เหมาะแก่ปุรพจรรยาของพวกปุราณชฎิล ผูอ้ บรมมาในการ
บูชาไฟ ฯ
๓๒. ชฎิล ๓ พี่น้อง ตั้งอาศรมบูชาไฟอยู่ ณ สถานที่ใด ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. อุรุเวลกัสสปะ ตั้งอาศรมอยูท่ ี่ ตาบลอุรุเวลา
๒. นทีกสั สปะ ตั้งอาศรมอยูท่ ี่ ลาน้ าอ้อมหรื อคุง้ แห่งแม่คงคา
๓. คยากัสสปะ ตั้งอาศรมอยูท่ ี่ ตาบลคยาสี สะ ฯ
๓๓. ชฎิล ๓ พี่น้อง มีชื่ออะไรบ้ าง ? ได้บรรลุพระอรหันต์เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่ ออะไร ?
(๒๕๖๓, ๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. พระอุรุเวลกัสสปะ พระนทีกสั สปะ และพระคยากัสสปะฯ
๒. ได้บรรลุพระอรหันต์ เพราะฟังพระธรรมเทศนาชื่อ อาทิตตปริ ยายสูตร ฯ
๓๔. ชฎิล ๓ พี่น้องต่างละลัทธิของตน บวชเป็ นภิกษุในพระพุทธศาสนาเพราะเหตุใด ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. อุรุเวลกัสสปะ ถือตัวว่าเป็ นผูว้ ิเศษ แต่พระพุทธเจ้าทรงใช้อิทธิปาฏิหาริ ยแ์ ละ
อาเทสนาปาฏิหาริ ยท์ รมานจนถอนทิฏฐิมานะ ได้ปรี ชาหยัง่ เห็นว่าลัทธิของตนหา
แก่นสารมิได้ ตนมิได้เป็ นผูว้ ิเศษแต่ประการใด ได้ความสลดใจ จึงทูลขอ
อุปสมบท
๒. นทีกสั สปะและคยากัสสปะ เห็นพี่ชายถือเพศเป็ นภิกษุ ถามทราบความว่า
พรหมจรรย์น้ ีประเสริ ฐ จึงเข้าไปเฝ้าพระพุทธเจ้าทูลขออุปสมบท ฯ
๓๕. พระสาวกผู้ได้รับยกย่องว่าเป็ นผู้มีบริวารมากคือใคร ? ท่านมีบริวารมากเพราะเหตุไร ?
(๒๕๖๒, ๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ
๒. เพราะท่านรู้จกั เอาใจบริ ษทั รู้จกั สงเคราะห์ดว้ ยอามิสบ้าง ด้วยธรรมบ้าง ฯ
๔๕

๓๖. อนัตตลักขณสู ตร และอาทิตตปริยายสู ตรว่าด้วยเรื่ องอะไร ? ทรงแสดงแก่ใคร ? (๒๕๕๑)


ตอบ : ๑. อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่ อง ขันธ์ ๕ คือ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
เป็ น อนัตตา ฯ ทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ ฯ
๒. อาทิตตปริ ยายสูตร ว่าด้วยเรื่ อง สิ่ งทั้งปวงเป็ นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะ
โทสะ โมหะ ฯ ทรงแสดงแก่ชฎิล ๓ พี่นอ้ ง พร้อมด้วยบริ วาร ๑,๐๐๐ คน ฯ
๓๗. โกลิตะถามอุปติสสะว่า “ดูท่านไม่สนุกเหมือนในวันอื่น วันนี้ดูใจเศร้ า ท่านเป็ นอย่างไรหรื อ ?”
อุปติสสะตอบว่าอย่างไร ? (๒๕๖๐, ๒๕๕๘)
ตอบ : อุปติสสะตอบว่า “โกลิตะ อะไรที่ควรดูในการเล่นนี้มีหรื อ ? คนเหล่านี้ท้งั หมดยัง
ไม่ทนั ถึง ๑๐๐ ปี ก็จกั ไม่มีเหลือ จักล่วงไปหมด ดูการเล่นไม่มีประโยชน์อะไร
ควร ขวนขวายหาธรรมเครื่ องพ้นดีกว่า” ฯ
๓๘. “คนเหล่านี้ท้งั หมดยังไม่ทันถึง ๑๐๐ ปี ก็จักไม่มีเหลือ จักล่วงไปหมด ดูการเล่นไม่มีประโยชน์
อะไร ควรขวนขวายหาธรรมเครื่ องพ้นดีกว่า” นี่เป็ นคาพูดของใครพูดกับใคร? (๒๕๕๒)
ตอบ : เป็ นคาพูดของ อุปติสสมาณพพูดกับโกลิตมาณพ ฯ
๓๙. อุปติสสปริพาชกเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเพราะได้ฟังธรรมจากใคร ? มีใจความว่าอย่างไร ?
(๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. ฟังธรรมจากพระอัสสชิ ฯ
๒. มีใจความว่า พระศาสดาทรงแสดงความเกิดแห่งธรรมทั้งหลาย เพราะเป็ นไป
แห่งเหตุ และความดับแห่งธรรมเหล่านั้น เพราะดับแห่งเหตุ พระศาสดาตรัส
อย่างนี้ ฯ
๔๐. พระอัสสชิได้แสดงธรรมแก่อุปติสสปริพาชก มีใจความย่อว่าอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๗)
ตอบ : มีใจความย่อว่า "ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนั้น
และความดับแห่งธรรมนั้น พระศาสดาทรงสั่งสอนอย่างนี้" ฯ
๔๑. พระพุทธองค์ทรงยกย่องพระสารีบุตรคู่กับพระโมคคัลลานะ โดยอุปมาไว้อย่างไร ? (๒๕๖๓,
๒๕๕๙)
ตอบ : พระพุทธองค์ตรัสอุปมาว่า
๑. พระสารี บุตรเปรี ยบเหมือนมารดาผูใ้ ห้ทารกเกิด
๒. พระโมคคัลลานะเปรี ยบเหมือนนางนมผูเ้ ลี้ยงทารกนั้นที่เกิดแล้ว ฯ
๔๒. ธรรมเสนาบดี และนวกัมมาธิฏฐายี เป็ นนามของพระสาวกองค์ใด ? เพราะเหตุไรจึงมีนาม
เช่ นนั้น ? (๒๕๖๒, ๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ธรรมเสนาบดี เป็ นนามของพระสารี บุตรเถระ เพราะท่านเป็ นกาลังสาคัญยิ่งใน
๔๖

การประกาศพระพุทธศาสนา ฯ
๒. นวกัมมาธิฏฐายี เป็ นนามของพระโมคคัลลานเถระ เพราะท่านเป็ นผูส้ ามารถ
กากับดูแลการก่อสร้าง ฯ
๔๓. พระสาวกองค์ใด เมื่อทราบว่าพระอาจารย์ของตนอยู่ในทิศใดก็นอนหันศี รษะไปทางทิศนั้น ?
การปฏิบัติเช่ นนั้นจัดเป็ นคุณธรรมอะไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. พระสารี บุตร ฯ
๒. จัดเป็ นกตัญญูกตเวที ฯ
๔๔. พระสาวกรูปใดได้รับยกย่องจากพระศาสดาว่า เป็ นผู้กตัญญูกตเวที ? (๒๕๕๖,๒๕๕๔)
จงแสดงตัวอย่างมาสัก ๒ เรื่ อง
ตอบ : ๑. พระสารี บุตรเถระ ฯ
๒. เรื่ องที่ ๑ พระสารี บุตรนับถือพระอัสสชิเป็ นอาจารย์ เมื่ออาจารย์อยูใ่ นทิศใด
ก่อนจะนอน ท่านจะนมัสการและนอนหันศีรษะไปทางทิศนั้น
๓. เรื่ องที่ ๒ พระสารี บุตรระลึกถึงอุปการะของราธพราหมณ์ที่เคยถวายภิกษาแก่
ท่านทัพพีหนึ่ง ฯ
๔๕. พระโอวาทว่า “เราจักไม่ชูงวง เข้าไปสู่ สกุล” พระพุทธองค์ตรัสแก่พระสาวกองค์ใด? ที่ไหน ?
(๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ตรัสแก่พระมหาโมคคัลลานะ ฯ
๒. ที่บา้ นกัลลวาลมุตตคาม แคว้นมคธ ฯ
๔๖. พระมหากัสสปะ โดยปกติถือธุดงค์กี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. ถือธุดงค์ ๓ อย่าง ฯ
๒. ได้แก่
๑) ใช้ผา้ บังสุกุลจีวรเป็ นวัตร
๒) ถือเที่ยวบิณฑบาตเป็ นวัตร
๓) ถือการอยูป่ ่ าเป็ นวัตร ฯ
๔๗. พระสาวกองค์ใด เป็ นผู้มักน้ อยสันโดษอย่างยิ่ง ? ท่านทาใจอย่างไร ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. พระมหากัสสปะ ฯ
๒. ทาใจอย่างนี้ คือ เมื่อแสวงหาไม่ได้ ก็ไม่สะดุง้ ตกใจ เมื่อแสวงหาได้แล้วก็ไม่
กาหนัดยินดีในปัจจัย ๔ นั้น ฯ
๔๗

๔๘. พระโอวาทที่พระศาสดาทรงประทานในการให้ อุปสมบทแก่พระมหากัสสปะมีกี่ข้อ ?


อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. มี ๓ ข้อ ฯ
๒. คือ
๑) เราจักเข้าไปตั้งความละอาย และความยาเกรงอย่างแรงกล้าไว้ในภิกษุท้งั ที่
เป็ นเถระปานกลาง และผูใ้ หม่
๒) เราจักเงี่ยหูลงฟังธรรม อันประกอบด้วยกุศล และพิจารณาเนื้อความแห่ง
ธรรมนั้น
๓) เราจักไม่ละสติที่ไปในกาย ฯ
๔๙. อุปสมบทวิธีพิเศษด้วยการรับพระโอวาท ๓ ข้อ และด้วยการรับครุธรรม ๘ ข้อ ทรงประทาน
ให้ แก่ใคร ? และท่านนั้น ๆ ได้รับการยกย่องเป็ นเอตทัคคะในทางไหน ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. การรับพระโอวาท ๓ ข้อ ทรงประทานแก่พระมหากัสสปะ
๒. การรับครุ ธรรม ๘ ข้อ ทรงประทานแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี ฯ
๓. พระมหากัสสปะได้รับยกย่องเป็ นเอตทัคคะในทางทรงธุดงค์คุณ
๔. พระนางมหาปชาบดีโคตมี ได้รับยกย่องเป็ นเอตทัคคะในทางรัตตัญญู ฯ
๕๐. อนุพุทธะที่เป็ นสาวกสาวิกาของพระศาสดา ซึ่งได้รับการอุปสมบทด้วยวิธีพิเศษมีบ้างหรื อไม่ ?
ถ้ามีคือใคร? อุปสมบทด้วยวิธีใด ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. มี ฯ
๒. พระสาวก คือ พระมหากัสสปะ อุปสมบทด้วยวิธีรับพระโอวาท ๓ ข้อ
๓. พระสาวิกา คือ พระนางมหาปชาบดีโคตมี อุปสมบทด้วยวิธีรับครุ ธรรม ๘
ประการ ฯ
๕๑. พระมหากัสสปะได้รับอุปสมบทแล้วนานเท่าไรจึงบรรลุพระอรหัต ? พระโอวาทข้อว่า “เราจะ
ไม่ละสติที่ไปในกาย คือพิจารณาร่ างกายเป็ นอารมณ์” สงเคราะห์ เข้าในธรรมข้อใดบ้ าง ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. อุปสมบท ๘ วัน ฯ
๒. สงเคราะห์เข้าใน กายคตาสติ และวิปัสสนาญาณ เป็ นต้น ฯ
๕๒. พระพุทธโอวาทว่า เราจะไม่ละสติที่ไปในกาย คือพิจารณาร่ างกายเป็ นอารมณ์ ดังนี้ พระองค์
ตรัสกับสาวกรูปใด ? พระสาวกรูปนั้นเป็ นเอตทัคคะในทางใด ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ตรัสกับพระมหากัสสปะ ฯ
๒. เป็ นเอตทัคคะในทางถือธุดงค์ ฯ
๔๘

๕๓. พระมหากัสสปเถระ ชักชวนภิกษุสงฆ์ทาสังคายนารวบรวมพระธรรมวินัย ตั้งไว้เป็ นแบบ


ฉบับ เพื่อสมกับพระพุทธพจน์ ที่ได้ประทานไว้เมื่อครั้งปรินิพพาน พระพุทธพจน์ น้ันใจความ
ว่าอย่างไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : มีใจความว่า ธรรมก็ดี วินยั ก็ดี อย่างใด อันเราได้แสดงไว้แล้ว ได้บญั ญัติไว้แล้ว
ธรรมวินยั นั้นจักเป็ นศาสดาของท่านทั้งหลาย ในเมื่อเราล่วงไปแล้ว ฯ
๕๔. พระมหากัสสปเถระ เป็ นประธานในการทาสังคายนาครั้งแรกที่ไหน ? ใช้ เวลานานเท่าไร ?
(๒๕๕๑, ๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ที่ถ้ าสัตตบรรณคูหา กรุ งราชคฤห์ ฯ
๒. ใช้เวลา ๗ เดือน ฯ
๕๕. พระสาวก ผู้อธิบายภัทเทกรัตตสู ตรที่ทรงแสดงโดยย่อให้ พิสดารคือใคร ? ท่านได้รับการ
สรรเสริญจากพระศาสดาว่าอย่างไร ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. คือ พระมหากัจจายนะ ฯ
๒. ท่านได้รับสรรเสริ ญจากพระศาสดาว่า เป็ นผูฉ้ ลาดในการอธิบายคาที่ยอ่ ให้
พิสดาร
๕๖. พระมหากัจจายนะ ได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้ าให้ ไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาแทน
พระองค์ ณ เมืองใด และได้ผลเป็ นอย่างไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. พระมหากัจจายนะ ไปเผยแผ่ ณ เมืองอุชเชนี ฯ
๒. ได้รับผลคือ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวนครเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ฯ
๕๗. พระสาวกผู้แสดงความไม่ต่างกันแห่ งวรรณะ ๔ เหล่าคือใคร ? แสดงแก่ใคร ?ที่ไหน ?
พระสู ตรนั้นชื่ ออะไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. พระมหากัจจายนะเป็ นผูแ้ สดง ฯ
๒. แสดงแก่พระเจ้ามธุรราช อวันตีบุตร ฯ
๓. ที่คุนธาวัน แขวงมธุรราชธานี ฯ
๔. สูตรนั้นชื่อว่า มธุรสูตร ฯ
๕๘. พระมหากัจจายนะเคยได้รับมอบหมายจากพระพุทธเจ้ าให้ ไปเผยแผ่พระศาสนาแทนพระองค์
เมื่อครั้งไหน ? ได้ผลอย่างไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. เมื่อครั้งที่ท่านบรรลุพระอรหัต และอุปสมบทเป็ นภิกษุแล้ว ได้ทูลเชิญ
พระพุทธเจ้า ให้เสด็จไปกรุ งอุชเชนี เพื่อประกาศพระศาสนาตามพระราชประสงค์
ของพระเจ้าจัณฑปัชโชต แต่พระพุทธเจ้ารับสั่งให้ท่านไปแทน ฯ
๒. ผลคือทาให้พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวพระนครเลื่อมใสพระพุทธศาสนา ฯ
๔๙

๕๙. การบวชของพระมหากัจจายนะ มีความเป็ นมาอย่างไร ? (๒๕๕๑)


ตอบ : มีความเป็ นมาอย่างนี้ ท่านได้รับมอบหมายจากพระเจ้าจัณฑปัชโชตให้ไปทูลเชิญ
พระพุทธเจ้าเสด็จกรุ งอุชเชนี จึงทูลลาบวชด้วย ครั้นได้เข้าเฝ้าฟังธรรมแล้ว บรรลุ
พระอรหัต จึงทูลขอบวช ฯ
๖๐. สามเณรรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือใคร ? ได้บรรลุพระอรหันต์เพราะฟังธรรมจากใคร ?
(๒๕๖๓, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. สามเณรรู ปแรกในพระพุทธศาสนา คือ พระราหุลเถระ
๒. ได้บรรลุพระอรหันต์เพราะฟังธรรมจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ
๖๑. พระสาวกองค์ใด กอบทรายเต็มมือแล้วปรารถนาว่า “ขอให้ เราได้รับโอวาทคาสั่งสอนแต่สานัก
พระทศพล และพระอุปัชฌาย์อาจารย์ เท่าเม็ดทรายในกามือนี้เถิด” ? และท่านเป็ นเลิศในด้าน
ใด ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. พระราหุล ฯ
๒. เป็ นเลิศในด้านเป็ นผูใ้ คร่ ในการศึกษา ฯ
๖๒. การที่เจ้ าศากยะทูลขอให้ พระอุบาลีผ้เู ป็ นช่ างกัลบกบวชก่อน เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : เพราะจะได้ทาการเคารพกราบไหว้เป็ นต้นแก่อุบาลีก่อน เพื่อเป็ นการลดทิฏฐิมานะ
ตัวเอง
๖๓. สตรีคนแรกที่ได้อุปสมบทในพุทธศาสนาคือใคร ? อุปสมบทด้วยวิธีใด ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. สตรี คนแรกที่ได้อุปสมบทในพุทธศาสนาคือ พระมหาปชาบดีโคตมี ฯ
๒. อุปสมบทด้วยวิธีรับครุ ธรรม ๘ ประการ ฯ
๖๔. พระเถระและพระเถรีผ้มู ีชื่อต่อไปนี้ ได้รับเอตทัคคะในทางไหน ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๘)
ก. พระมหากัจจายนะ ข. พระโมฆราช ค. พระราหุล ง. ปฏาจาราเถรี จ. อุบลวรรณาเถรี
ตอบ : ก. พระมหากัจจายนะ เป็ นเอตทัคคะในทางอธิบายคาย่อให้พิสดาร
ข. พระโมฆราช เป็ นเอตทัคคะในทางทรงจีวรเศร้าหมอง
ค. พระราหุล เป็ นเอตทัคคะในทางผูใ้ ฝ่ ใจศึกษาพระธรรมวินยั
ง. ปฏาจาราเถรี เป็ นเอตทัคคะในทางทรงวินยั
จ. อุบลวรรณาเถรี เป็ นเอตทัคคะในทางมีฤทธิ์ ฯ
๖๕. ภิกษุ ภิกษุณี ผู้เอตทัคคะในทางเป็ นพระธรรมกถึก คือใคร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. ภิกษุ ผูเ้ ป็ นเอตทัคคะในทางเป็ นพระธรรมกถึก คือ พระปุณณมันตานีบุตร
๒. ภิกษุณี ผูเ้ ป็ นเอตทัคคะในทางเป็ นพระธรรมกถึก คือ พระธรรมทินนาเถรี
๕๐

๖๖. พระพุทธเจ้ าทรงแสดงธรรมอุปมาด้วยพิณ ๓ สาย แก่ใคร ? ด้วยทรงพระประสงค์ใด ?


(๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระโสณโกฬิวิสะ ฯ
๒. ด้วยทรงพระประสงค์จะให้ท่านทาความเพียรพอประมาณ เพราะท่านทาความ
เพียรอย่างยิ่ง เดินจงกรมจนเท้าแตก ฯ
๖๗. พระพุทธองค์ทรงแสดงโทษแห่ งความเพียรที่ตึงเกินไปและหย่อนเกินไปแก่พระโสณโกฬิ วิสะ
ว่าอย่างไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : พระพุทธองค์ทรงยกพิณ ๓ สายเข้ามาเปรี ยบเทียบ
๖๘. มาณพทั้ง ๑๖ คนผู้ทูลถามโสฬสปัญหากับพระพุทธองค์ เป็ นศิษย์ของใคร ? ท่านตั้งสานักอยู่ที่
ไหน ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. เป็ นศิษย์ของพราหมณ์พาวรี ฯ
๒. ตั้งสานักอยูร่ ิ มฝั่งแม่น้ าโคธาวารี ซึ่งอยูร่ ะหว่างเมืองอัสสกะกับเมืองอาฬกะ ฯ
๖๙. ปัญหาว่า โลกคือหมู่สัตว์อันอะไรปิ ดบังไว้จึงหลงอยู่ในที่มืด ดังนี้ ใครเป็ นผู้ถาม ? และพระ
ศาสดาทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. อชิตมาณพเป็ นผูถ้ าม ฯ
๒. ทรงพยากรณ์ว่า โลกคือหมู่สัตว์ อันอวิชชา คือ ความไม่รู้แจ้งปิ ดบังไว้ จึงหลง
ดุจอยูใ่ นที่มืด ฯ
๗๐. “หมู่มนุษย์ในโลกนี้ อาศัยอะไรจึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา” นี่เป็ นปัญหาของใคร ? และได้รับ
พุทธพยากรณ์ว่าอย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. เป็ นปัญหาของปุณณกมาณพ ฯ
๒. ได้รับพุทธพยากรณ์ว่า หมู่มนุษย์เหล่านั้น อยากได้ของที่ตนปรารถนา อาศัย
ของที่มีชราทรุ ดโทรม จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา ฯ
๗๑. “โลกมีอะไรผูกพันไว้ อะไรเป็ นเครื่ องสัญจรของโลกนั้น ท่านกล่าวกันว่า นิพพาน ๆ ดังนี้
เพราะละอะไรได้ ?” ปัญหานี้ใครทูลถาม ? (๒๕๕๑)
ตอบ : อุทยมาณพเป็ นผูท้ ูลถาม ฯ
๗๒. พระโมฆราช และพระอุบาลี ได้รับการยกย่องว่าเลิศในทางไหน ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. พระโมฆราช ได้รับยกย่องว่า เป็ นผูท้ รงจีวรเศร้าหมอง
๒. พระอุบาลี ได้รับยกย่องว่า เป็ นผูท้ รงพระวินยั ฯ
๕๑

๗๓. พระพุทธเจ้ าทรงแสดงธรรมโปรดพระโมฆราชด้วยเรื่ องอะไร ? มีความหมายอย่างไร


(๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ทรงแสดงธรรมโปรดว่าด้วยเรื่ องสุญญตานุปัสสนา ฯ
๒. มีความหมายว่า ให้พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็ นของว่างเปล่า ถอนความเห็น
ว่าเป็ นตัวตนของเราเสี ย ฯ
๗๔. คาถามว่า “ข้าพเจ้ าจักพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจักไม่แลเห็น” ใครเป็ นผู้ถาม ?
พระศาสดาทรงพยากรณ์ไว้อย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. พระโมฆราชเป็ นผูท้ ูลถาม
๒. พระศาสดาทรงพยากรณ์ว่า ท่านจงเป็ นคนมีสติ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็ น
ของว่างเปล่า ถอนความตามเห็นว่าตัวของเราเสี ยทุกเมื่อเถิด ท่านจักข้ามล่วง
มัจจุราชเสี ยได้ดว้ ยอุบายอย่างนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้แล มัจจุราชจึงไม่แล
เห็น ฯ
๗๕. ปิ งคิยมาณพฟังพยากรณ์ปัญหาจากพระบรมศาสดาแล้ว ได้บรรลุธรรมชั้นไหน ? เพราะ
เหตุไร ?
ตอบ : ๑. ได้ดวงตาเห็นธรรม ฯ
๒. เพราะความฟุ้งซ่านด้วยความคิดถึงอาจารย์ในขณะฟังพระธรรมเทศนา
จึงไม่อาจทาจิตให้สิ้นอาสวะ ฯ
๗๖. บรรดาศิษย์ ๑๖ คน ศิษย์คนใดนาพระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ไปบอกแก่พราหมณ์พาวรี
ผู้เป็ นอาจารย์ ? พราหมณ์พาวรี ฟังพระธรรมเทศนานั้นแล้ว ได้บรรลุธรรมชั้นไหน ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ปิ งคิยมาณพ ฯ
๒. ได้บรรลุธรรมชั้นเสขภูมิ ฯ
๗๗. อาจารย์ผ้ผู ูกปัญหาให้ ศิษย์ ๑๖ คนไปทูลถามพระพุทธเจ้ า ชื่ ออะไร ? ทั้งอาจารย์และศิษย์ฟัง
พุทธพยากรณ์ แล้วได้บรรลุผลอะไร ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ชื่อพราหมณ์พาวรี ฯ
๒. บรรลุผล ดังนี้
๑) ปิ งคิยมาณพได้ดวงตาเห็นธรรม
๒) ศิษย์อีก ๑๕ คน ได้บรรลุเป็ นพระอรหันต์
๓) อาจารย์ได้บรรลุเสขภูมิ ฯ
๕๒

๗๘. พระสาวกผู้ได้รับการอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาเป็ นองค์แรกคือใคร ? ท่านได้รับยก


ย่องจากพระศาสดาว่าเลิศกว่าภิกษุท้งั หลายอย่างไร ? (๒๕๖๓)
ตอบ : ๑. พระราธะ ฯ
๒. ท่านได้รับยกย่องว่าเลิศกว่าภิกษุท้งั หลายทางด้าน ผูม้ ีปฏิภาณ คือญาณแจ่มแจ้ง
ในธรรมเทศนา ฯ
๗๙. ข้อธรรมว่า “โลกคือหมู่สัตว์อันชรานาเข้าไปใกล้ ไม่ยั่งยืน” เรียกว่าธรรมอะไร ? ใครแสดงแก่
ใคร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. เรี ยกธรรมนี้ว่า ธรรมุทเทศ ฯ
๒. พระรัฐบาล เป็ นผูแ้ สดงถวายแก่ พระเจ้าโกรัพยะ ฯ
๘๐. ธรรมุทเทศ มีอะไรบ้ าง ? .ใครแสดงแก่ใคร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ธรรมุทเทศ ได้แก่
๑) โลกคือหมู่สัตว์ อันชรานาเข้าไปใกล้ ไม่ยงั่ ยืน
๒) โลกคือหมู่สัตว์ ไม่มีผปู ้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาเพาะตน
๓) โลกคือหมู่สัตว์ ไม่มีอะไรเป็ นของๆ ตน จาต้องละทิ้งสิ่ งทั้งปวงไป
๔) โลกคือหมู่สัตว์ พร่ องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รู้จกั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
๒. พระรัฐบาล แสดงธรรมนี้ถวายแก่ พระเจ้าโกรัพยะ ฯ
๘๑. จงระบุชื่อพระสาวกผู้ที่บวชเพราะเหตุต่อไปนี้ ๑. บวชเพราะศรัทธา ๒. บวชเพราะจาใจ
๓. บวชเพราะหลงไหลในรูป ฯ (๒๕๖๑, ๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. บวชเพราะศรัทธา คือ พระรัฐบาล
๒. บวชเพราะจาใจ คือ พระนันทะ
๓. บวชเพราะหลงใหลในรู ป คือ พระวักกลิ ฯ

______________________________________________________________________________
๕๓

๒.๓ วิชาศาสนพิธี
หมวดที่ ๑ กุศลพิธี
๑. การศึกษาให้ เข้าใจในศาสนพิธี มีประโยชน์ อย่างไร ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. ทาให้เข้าใจเรื่ องของศาสนพิธีได้โดยถูกต้อง
๒. ทาให้เห็นเป็ นเรื่ องสาคัญ ไม่ไร้สาระ
๓. ทาให้ปฏิบตั ิได้ถูกต้องไม่ผิดเพี้ยนจากขนบธรรมเนียมประเพณี ฯ
๒. วันธรรมสวนะ คือวันอะไร ? ทรงอนุญาตให้ มีในวันใดบ้ าง ? (๒๕๖๓, ๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. วันธรรมสวนะ คือ วันกาหนดประชุมฟังธรรมทัว่ ไป เรี ยกว่า วันพระ
๒. เดือนหนึ่งมี ๔ วัน คือ วันขึ้น ๘ ค่า, วันขึ้น ๑๕ ค่า, วันแรม ๘ ค่า,
วันแรม ๑๕ ค่า ฯ
๓. การทาวัตรสวดมนต์ มีประโยชน์ อย่างไร ? จงอธิบาย (๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. เป็ นอุบายสงบใจ ไม่ให้คิดวุ่นวายตามอารมณ์ได้ชวั่ ขณะที่ทาเมื่อทาประจาวัน
ละ ๒ เวลา ทั้งเช้าเย็น ครั้งละครึ่ งชัว่ โมง หรื อ ๑ ชัว่ โมงเป็ นอย่างน้อย ก็เท่ากับได้
ใช้เวลาสงบจิตได้ วันละไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๒๔ ชัว่ โมง ฯ
๔. ศาสนพิธีเล่ม ๒ แสดงอุโบสถกรรมไว้กี่ประเภท ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. แสดงไว้ ๓ ประเภท ฯ
๒. ได้แก่ ๑) สังฆอุโบสถ ๒) ปาริ สุทธิอุโบสถ ๓) อธิษฐานอุโบสถ ฯ
๕. จงให้ ความหมายของคาต่อไปนี้ การเข้าพรรษา การออกพรรษา ฯ (๒๕๖๓, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. การเข้าพรรษา หมายถึง การที่ภิกษุผูกใจว่าจะอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดเวลา ๓
เดือน ในฤดูฝน ไม่ไปค้างแรมให้ล่วงราตรี ในที่แห่งอื่นระหว่างผูกใจนั้น เว้นแต่
ไปด้วยสัตตาหกรณียะ ฯ
๒. การออกพรรษา หมายถึง กาลที่สิ้นสุดกาหนดอยูจ่ าพรรษาของภิกษุตามพระ
วินยั บัญญัติ มีพิธีเป็ นสังฆกรรมพิเศษโดยเฉพาะ เรี ยกโดยภาษาพระวินยั ว่า
ปวารณากรรม คือ การทาปวารณาของสงฆ์ผอู ้ ยูร่ ่ วมกันตลอดเวลา ๓ เดือน ฯ
๖. ธรรมเนียมของสงฆ์ที่พึงปฏิบัติชอบต่อกันเพื่อความสามัคคี เรียกว่าอะไร ? หมายถึงอะไร ?
(๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. เรี ยกว่า สามีจิกรรม ฯ
๒. หมายถึง การขอขมาโทษ และการให้อภัยกัน ฯ
๕๔

๗. จงเขียนอุโบสถศีลข้อที่ ๓ มาดู ฯ (๒๕๖๔, ๒๕๕๘)


ตอบ : อพฺรหฺ มจริ ยา เวรมณี สิ กฺขาปท สมาทิยามิ ฯ
๘. จงเขียนอุโบสถศีล เฉพาะข้อที่ ๗ มาดู (๒๕๕๕)
ตอบ : นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺ สนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺ ฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี
สิ กฺขาปท สมาทิยามิ ฯ
๙. สามีจิกรรม หมายถึงอะไร ? มีกี่แบบ ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. สามีจิกรรม หมายถึง การขอขมาโทษกันให้อภัยกันทุกโอกาส ไม่ว่าจะมีโทษ
ขัดข้องหมองใจกันหรื อไม่ก็ตาม ถึงโอกาสที่ควรทาสามีจิกรรมกันแล้ว ทุกรู ปไม่
พึงละโอกาสเสี ย ฯ
๒. มี ๒ แบบ ฯ
๓. ได้แก่ ๑) แบบขอขมาโทษ ๒) แบบถวายสักการะ ฯ
๑๐. กุศลพิธี คืออะไร ? พิธีทาสามีจิกรรม หมายถึงอะไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. กุศลพิธี คือ พิธีบาเพ็ญกุศล ฯ
๒. พิธีทาสามีจิกรรม หมายถึง การขอขมาโทษกัน ให้อภัยกันทุกโอกาส ไม่ว่าจะมี
โทษขัดข้องหมองใจกันหรื อไม่ก็ตาม ถึงโอกาสที่ควรทาสามีจิกรรมกันแล้วทุกรู ป
ไม่พึงละโอกาสเสี ย ฯ
หมวดที่ ๒ บุญพิธี
๑. จงให้ ความหมายของคาต่อไปนี้ (๒๕๕๘)
ก. ปาฏิปุคคลิกทาน ข. เภสัชทาน ค. สลากภัต ง. ผ้าวัสสิกสาฎก จ. ผ้าอัจเจกจีวร ฯ
ตอบ : ก. ปาฏิปุคคลิกทาน คือ ทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะรู ปนั้นรู ปนี้
ข. เภสัชทาน คือ การถวายเภสัช ๕ ได้แก่ เนยใส เนยข้น น้ ามัน น้ าผึ้ง น้ าอ้อย
ค. สลากภัต คือ ภัตตาหารที่ทายกทายิกาถวายตามสลาก
ง. ผ้าวัสสิ กสาฎก คือ ผ้าที่อธิษฐานสาหรับใช้นุ่งในเวลาอาบน้ าฝน หรื ออาบน้ า
ทัว่ ไป
จ. ผ้าอัจเจกจีวร คือ ผ้าจานาพรรษาที่ทายกรี บด่วนถวายก่อนวันออกพรรษา
๒. การถวายผ้าวัสสิกสาฎกนั้น มีมูลเหตุมาจากอะไร? ใครเป็ นผู้ถวายคนแรก ? (๒๕๕๕, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. มีมูลเหตุมาจากเดิมยังไม่มีพุทธานุญาตให้ภิกษุมีผา้ วัสสิ กสาฎก ภิกษุท้งั หลายจึง
เปลือยกายอาบน้ า นางวิสาขามหาอุบาสิ กาทราบเรื่ องนั้นแล้วเห็นว่าไม่สมควรแก่
เพศสมณะ จึงทูลขอพระพุทธานุญาต เพื่อถวายผ้าอาบน้ าฝนแก่ภิกษุท้งั หลาย ฯ
๕๕

๒. ผูถ้ วายเป็ นคนแรก คือ นางวิสาขามหาอุบาสิ กา


๓. วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร ? เนื่องด้วยวันนั้น มีบุญพิธีอะไรที่ทากันมาจนถึงบัดนี้ ?(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. วันเทโวโรหณะ คือ วันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก หลังจากที่เสด็จขึ้น
ไปจาพรรษาในสวรรค์ช้ นั ดาวดึงส์ ครบ ๓ เดือน โบราณเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า วัน
พระเจ้าเปิ ดโลก ฯ
๒. มีการทาบุญตักบาตรแด่พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระสงฆ์ จนเป็ นประเพณีทาบุญ
ตักบาตร ที่เรี ยกว่า ตักบาตรเทโวโรหณะ มาจนถึงปัจจุบนั นี้ ฯ
๔. วันที่พระพุทธเจ้ าเสด็จลงจากสวรรค์ช้ ันดาวดึงส์ เรียกว่าวันอะไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : เรี ยกว่า วันเทโวโรหณะ ตรงกับวันมหาปวารณา วันเพ็ญเดือน ๑๑ ฯ
๕. วิหารทานคาถา ซึ่งเป็ นบทอนุโมทนาพิเศษ เริ่มต้นด้วย สีต อุณห ปฏิหนติ ฯลฯ นิยมใช้ สวด
เมื่อใด ? (๒๕๕๔)
ตอบ : เมื่อทายกถวายเสนาสนะมี โบสถ์ วิหาร กุฎี เป็ นต้น ฯ
๖. คาว่า เจริญพระพุทธมนต์กับสวดพระพุทธมนต์ใช้ ต่างกันอย่างไร ? การทาบุญฉลองอัฐิจัดเข้าใน
อย่างไหนใน ๒ อย่างข้างต้น ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. เจริ ญพระพุทธมนต์ใช้ในงานมงคล สวดพระพุทธมนต์ใช้ในงานอวมงคล ฯ
๒. จัดเข้าในการเจริ ญพระพุทธมนต์ แต่ไม่ตอ้ งตั้งขันน้ ามนต์และสายสิ ญจน์ ฯ
๗. สามัญอนุโมทนากับวิเสสอนุโมทนา ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๑. สามัญอนุโมทนา คือ การอนุโมทนาที่นิยมใช้ปฏิบตั ิกนั ทัว่ ไปเป็ นปกติ ไม่ว่า
งาน ใดก็ใช้อนุโมทนาอย่างนั้น
๒. วิเสสอนุโมทนา คือ การอนุโมทนาด้วยบทสวดสาหรับอนุโมทนาเป็ นพิเศษ
เฉพาะทาน เฉพาะกาล และเฉพาะเรื่ อง
๘. ในงานมงคลที่ทากันอย่างสามัญทั่วไป นิยมเจริญพระพุทธมนต์ด้วยบทสวดมนต์ที่รวมเรียก
สั้นๆ ว่าอะไร ? และต้องมีบทอื่นมาประกอบอีก เรียกว่าอะไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. เรี ยกสั้นๆ ว่า เจ็ดตานาน ฯ
๒. เรี ยกว่า ต้นสวดมนต์ หรื อต้นตานาน และท้ายสวดมนต์ ฯ
๙. เทศน์ มหาชาติ คือการเทศน์ เรื่ องอะไร ? มีกี่กัณฑ์ ? จบเทศน์ มหาชาติแล้ว นิยมเทศน์ ต่อด้วยเรื่ อง
อะไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. เทศน์มหาชาติ คือการเทศน์เรื่ องเวสสันดรชาดก ฯ
๒. มี ๑๓ กัณฑ์ ฯ
๕๖

๓. เรื่ อง จตุราริ ยสัจจกถา ฯ


หมวดที่ ๓ ทานพิธี
๑. บท อทาสิ เม อกาสิ เม… และบท อยญจ โข ทกขิณา ทินนา… ใช้ ต่างกันอย่างไร?(๒๕๕๒)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๑. อทาสิ เม อกาสิ เม… ใช้ในกรณีที่ศพยังอยู่
๒. อยญฺ จ โข ทกฺขิณา ทินฺนา… ใช้ในกรณีทาบุญอัฐิ ฯ
หมวดที่ ๔ ปกิณณกพิธี
๑. จงเขียนคาถาที่ใช้ ในการบังสุ กุลเป็ น และบังสุ กุลตาย มาดู ? (๒๕๕๗)
ตอบ : คาถาที่ใช้ในการบังสุกุลเป็ นว่า อจิร วตย กาโย, ปถวึ อธิเสสฺ สติ, ฉุฑฺโฑ
อเปตวิญฺญาโณ, นิรตฺถ ว กลิงฺคร,
คาถาที่ใช้ในการบังสุกุลตายว่า อนิจฺจา วต สงฺขารา อุปฺปาทวยธมฺมิโน
อุปฺปชฺ ชิตฺวา นิรุชฺฌนฺติ เตส วูปสโม สุโข.ฯ
๒. งานทาบุญต่อนามหรื อต่ออายุ คืองานทาบุญเช่ นไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : คือ งานทาบุญที่คณะญาติของผูก้ าลังป่ วยหนักจัดขึ้น เพื่อให้ผปู ้ ่ วยหายป่ วย และ
เพื่อให้ผปู ้ ่ วยได้มีโอกาสบาเพ็ญกุศลในบั้นปลายแห่งชีวิตของตน หรื อเป็ นความ
ประสงค์ของผูจ้ ะทาบุญต่ออายุเองเพื่อความเป็ นสิ ริมงคลแก่ชีวิต ฯ

______________________________________________________________________________
๕๗

๒.๔ วิชาวินัยมุข
อารัมภบท
๑. พระวินัยแบ่ งออกเป็ นกี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. พระวินยั แบ่งเป็ น ๒ ประการ
๒. ได้แก่ ๑) อาทิพรหมจริ ยกาสิ กขา ๒) อภิสมาจาริ กาสิ กขา ฯ
๒. ภิกษุผ้ลู ะเมิดสิกขาบทนอกพระปาติโมกข์ ต้องอาบัติอะไรได้บ้าง ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ต้องอาบัติถุลลัจจัย และอาบัติทุกกฏ ฯ
๓. สิกขาบทนอกพระปาติโมกข์ที่เรียกว่า อภิสมาจาร แบ่ งเป็ น ๒ คือ เป็ นข้อห้ าม. เป็ นข้ออนุญาต
นั้น คืออย่างไร ? ปรับโทษแก่ผ้ลู ่วงละเมิดไว้อย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. อภิสมาจาร แบ่งเป็ น ๒ ได้แก่
๑) ที่เป็ นข้อห้าม คือ กิริยาบางอย่างหรื อบริ ขารบางประเภทไม่เหมาะแก่สมณ
สารู ป จึงทรงห้ามไม่ให้กระทาหรื อใช้บริ ขารเช่นนั้น เช่น ห้ามไม่ให้ไว้ผมยาว
ไม่ให้ไว้หนวดเครายาว ไม่ให้ใช้บาตรไม้ เป็ นต้น
๒) ที่เป็ นข้ออนุญาต คือ เป็ นการประทานประโยชน์พิเศษแก่พระภิกษุ เช่น
ทรงอนุญาต ผ้าวัสสิ กสาฎกในฤดูฝน เป็ นต้น ฯ
๒. ปรับโทษโดยตรงมีเพียง ๒ คือ อาบัติถุลลัจจัย, อาบัตทิ ุกกฏ แม้ในข้อที่ทรง
อนุญาต เมื่อไม่ทาตามก็เป็ นอาบัติทุกกฏ เพราะไม่เอื้อเฟื้ อ ฯ
๔. สิกขาบทนอกพระปาฏิโมกข์ เรียกว่าอะไร ? ทรงบัญญัติไว้เพื่อประโยชน์ อะไร ? (๒๕๖๒,
๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. สิ กขาบทนอกพระปาฏิโมกข์ เรี ยกว่า อภิสมาจาร ฯ
๒. ทรงบัญญัติไว้เพื่อความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยของภิกษุ และเพื่อความงามของ
พระศาสนา เช่นเดียวกับตระกูลใหญ่ จาต้องมีขนบธรรมเนียมและระเบียบไว้รักษา
เกียรติ และความเป็ นผูด้ ีของตระกูล ฯ
๕. อภิสมาจารคืออะไร ? ภิกษุผ้ไู ม่เอื้อเฟื้ อในอภิสมาจารมีโทษอย่างไรบ้ าง ? (๒๕๖๓, ๒๕๖๑,
๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. อภิสมาจาร คือ ธรรมเนียมหรื อมารยาทที่ดีงามของภิกษุ ฯ
๒. มีโทษปรับอาบัติถุลลัจจัยเป็ นอย่างสูง แต่มีนอ้ ย ส่วนมากปรับอาบัติทุกกฎเป็ น
พื้น
๕๘

๖. อภิสมาจาร คืออะไร ? ปรับอาบัติได้กี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๖, ๒๕๕๑)


ตอบ : ๑. อภิสมาจาร คือ ธรรมเนียมของภิกษุ ฯ
๒. ปรับอาบัติได้ ๒ อย่าง ฯ
๓. ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัยและอาบัติทุกกฏ ฯ
๗. อาทิพรหมจริยกาสิกขา กับ อภิสมาจาริกาสิกขา ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ต่างกันดังนี้
๑. อาทิพรหมจริ ยกาสิ กขา ได้แก่ ข้อศึกษาอันเป็ นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ อัน
ได้แก่ พระพุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้ให้เป็ นพุทธอาณา เป็ นสิ กขาบทอันมาในพระ
ปาติโมกข์ เป็ นข้อบังคับโดยตรง ที่ภิกษุจะต้องประพฤติปฏิบตั ิโดยเคร่ งครัด
๒. อภิสมาจาริ กาสิ กขา ได้แก่ ข้อศึกษาอันเนื่องด้วยอภิสมาจาร คือ มารยาทอันดี
ที่ทรงบัญญัติหรื ออนุญาตไว้ อันมานอกพระปาติโมกข์ เป็ นขนบธรรมเนียมอันดี
งามของหมู่คณะที่ควรประพฤติ ฯ
๘. ภิกษุผ้ปู ฏิบัติพระวินัยส่ วนอภิสมาจารให้ ดีงาม จะต้องปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๔)
ตอบ : ต้องปฏิบตั ิโดยสายกลาง คือไม่ถือเคร่ งครัดอย่างงมงาย จนเป็ นเหตุทาตนให้ลาบาก
เพราะเหตุธรรมเนียมเล็กๆ น้อยๆ อันขัดต่อกาลเทศะ และไม่สะเพร่ ามักง่าย ละเลย
ต่อธรรมเนียมของภิกษุ จนถึงทาตนให้เป็ นคนเลวทราม ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๑ กายบริหาร
๑. ในกายบริหาร มีข้อปฏิบัติเกี่ยวกับหนวดและคิว้ ไว้อย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. เกี่ยวกับหนวด มีขอ้ ปฏิบตั ิไว้ว่า อย่าพึงไว้หนวดไว้เครา คือ ต้องโกนเสมอ ห้าม
ไม่ให้แต่งหนวดและห้ามไม่ให้ตดั หนวดด้วยกรรไกร
๒. เกี่ยวกับคิ้ว ไม่ได้วางหลักปฏิบตั ิไว้ แต่พระสงฆ์ไทยนิยมโกนพร้อมกับผม ฯ
๒. มีข้อกาหนดในการไว้ผมยาวของพระภิกษุอย่างไร ? ในการโกนผม ภิกษุใช้ กรรไกรแทนมีดโกน
ได้หรื อไม่ ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. การไว้ผมยาวของพระภิกษุไว้ได้เพียง ๒ เดือน หรื อ ๒ นิ้ว เป็ นอย่างยิ่ง ฯ
๒. การโกนผม ภิกษุใช้กรรไกรแทนมีดโกนไม่ได้ เว้นไว้แต่อาพาธ ฯ
๓. การผัดหน้ า ไล้หน้ า ทาหน้ า ทรงห้ ามและทรงอนุญาตไว้ในกรณีใด ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. การผัดหน้า ไล้หน้า ทาหน้า ทรงห้ามเฉพาะเพื่อทาให้สวย
๒. ทรงอนุญาตในกรณีอาพาธ
๕๙

๔. เปลือยกายอย่างไรต้องอาบัติถุลลัจจัย ? อย่างไรต้องอาบัติทุกกฎ ? (๒๕๖๒, ๒๕๕๔)


ตอบ : ๑. เปลือยกายเป็ นวัตรเอาอย่างเดียรถีย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ
๒. เปลือยกายทากิจแก่กนั เช่น ไหว้ รับไหว้ ทาบริ กรรม ให้ของ รับของ และ
เปลือยกายในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ ฯ
๕. มีพระบัญญัติข้อหนึ่งว่า อย่าพึงนุ่งผ้าอย่างคฤหัสถ์ อย่าพึงห่ มผ้าอย่างคฤหัสถ์ ในกรณีที่ภิกษุถูก
โจรชิงผ้านุ่งห่ มไปหมด พึงปฏิบัติอย่างไรจึงจะถูกต้องตามพระวินัย ? (๒๕๕๒)
ตอบ : พึงปิ ดกายด้วยวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่งเป็ นการชัว่ คราว โดยที่สุดแม้ใบไม้ก็ใช้ได้
ห้ามมิให้เปลือยกาย ฯ
๖. ข้อว่า อย่าพึงนุ่งห่ มผ้าอย่างคฤหัสถ์ นั้นมีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : มีอธิบายว่า ห้ามนุ่งห่มเครื่ องนุ่งห่มของคฤหัสถ์ เช่น กางเกง เสื้ อ ผ้าโพก หมวก
ผ้านุ่ง ผ้าห่มสี ต่าง ๆ ชนิดต่าง ๆ และห้ามอาการนุ่งห่มต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ของภิกษุ ฯ
๗. ภิกษุเปลือยกายในกรณีต่อไปนี้ ต้องอาบัติอะไรหรื อไม่ ? (๒๕๕๗)
ก. เปลือยเป็ นวัตรอย่ างเดียรถีย์ ข. เปลือยทากิจแก่กัน เช่ น ไหว้ รับไหว้
ค. เปลือยเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ง. เปลือยในเรื อนไฟ จ. เปลือยในน้า
ตอบ : ก. เปลือยกายเป็ นวัตรอย่างเดียรถีย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย
ข. เปลือยทากิจแก่กนั เช่น ไหว้ รับไหว้ ต้องอาบัติทุกกฏ
ค. เปลือยในเวลาฉัน ในเวลาดื่ม ต้องอาบัติทุกกฏ
ง. เปลือยในเรื อนไฟ ไม่ตอ้ งอาบัติ
จ. เปลือยในน้ า ไม่ตอ้ งอาบัติ
๘. ภิกษุแม้ล่วงละเมิดพระวินัยแล้วไม่ต้องอาบัติ ได้รับยกเว้นทุกสิกขาบท ได้แก่ ภิกษุประเภทไหน
บ้ าง ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ภิกษุที่ได้รับยกเว้นทุกสิ กขาบท ได้แก่ ภิกษุบา้ คลัง่ จนไม่มีสติสัมปชัญญะ, ภิกษุ
เพ้อจนไม่รู้สึกตัว, ภิกษุกระสับกระส่าย เพราะมีเวทนากล้าจนถึงไม่มีสติ ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๒ บริขาร บริโภค
๑. ผ้าสาหรับทาจีวรนุ่งห่ มนั้น ทรงอนุญาตไว้กี่ชนิด ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๕๒, ๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. ๖ ชนิด ฯ
๒. คือ
๑) โขมะ ผ้าทาด้วยเปลือกไม้ ๒) กัปปาสิ กะ ผ้าทาด้วยฝ้าย
๓) โกเสยยะ ผ้าทาด้วยใยไหม
๖๐

๔) กัมพละ ผ้าทาด้วยขนสัตว์ ยกเว้นผมและขนมนุษย์


๕) สาณะ ผ้าทาด้วยเปลือกป่ าน
๖) ภังคะ ผ้าทาด้วยของ ๕ อย่างนั้นแต่อย่างใดอย่างหนึ่งปนกัน ฯ
๒. จีวรผืนหนึ่ง มีกาหนดจานวนขัณฑ์ ไว้อย่างไร ? ใน ๑ ขัณฑ์ ประกอบด้วยอะไรบ้ าง ?(๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. กาหนดจานวนไว้ไม่นอ้ ยกว่า ๕ ขัณฑ์ แต่ให้เป็ นขัณฑ์คี่ คือ ๗, ๙, ๑๑ เป็ นต้น ฯ
๒. ใน ๑ ขัณฑ์ประกอบด้วย มณฑล อัฑฒมณฑล กุสิ อัฑฒกุสิ ฯ
๓. สังฆาฏิ บาตร ประคดเอว เข็ม มีดโกน อย่างไหนจัดเป็ นบริขารบริโภค อย่างไหนจัดเป็ นบริขาร
อุปโภค ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. สังฆาฏิ บาตร ประคดเอว จัดเป็ นบริ ขารบริ โภค
๒. เข็ม มีดโกน จัดเป็ นบริ ขารอุปโภค ฯ
๔. บาตรที่ทรงอนุญาตให้ ใช้ มีกี่ชนิด ? และกี่ขนาด ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. บาตรที่ทรงอนุญาตให้ใช้ มี ๒ ชนิด คือ
๑) บาตรดินเผา สุมดาสนิท
๒) บาตรเหล็กฯ
๒. ขนาดบาตรที่ทรงอนุญาตให้ใช้ มี ๓ ชนิด คือ
๑) บาตรขนาดเล็ก จุขา้ วสุกแห่งข้าวสารกึ่งอาฬหกะ คือ ๒ คนกินเหลือ ๓ คน
กินไม่พอ
๒) บาตรขนาดกลาง จุขา้ วสุกแห่งข้าวสารนาฬีหนึ่ง (ทะนาน) คือกินได้ ๕ คน
๓) บาตรขนาดใหญ่ จุขา้ วสุกแห่งข้าวสารปัตถะหนึ่ง คือกินได้ ๑๐ คน
๕. บาตรที่ทรงอนุญาต มีกี่ชนิด ? อะไรบ้ าง ? บาตรสแตนเลสจัดเข้าในชนิดไหน ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. มี ๒ ชนิด ฯ
๒. คือ
๑) บาตรดินเผา
๒) บาตรเหล็ก ฯ
๓. บาตรสแตนเลสจัดเข้าในบาตรเหล็ก ฯ
๖. บริขาร ๘ มีอะไรบ้ าง ? ที่จัดเป็ นบริขารบริโภคและบริขารอุปโภคมีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๒, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. บริ ขาร ๘ ได้แก่ ไตรจีวร คือ ผ้านุ่งผ้าห่มและผ้าทาบ บาตร ประคดเอว เข็ม มีด
โกน และผ้ากรองน้ าฯ
๒. ไตรจีวร บาตร ประคดเอว รวม ๕ อย่าง จัดเป็ นบริ ขารบริ โภค
๓. เข็ม มีดโกน และผ้ากรองน้ า จัดเป็ นบริ ขารอุปโภค ฯ
๖๑

กัณฑ์ ที่ ๑๓ นิสัย


๑. จงให้ ความหมายของคาต่อไปนี้ ก. อุปสัมปทาจารย์ ข. อุทเทสาจารย์ ค. สัทธิวิหาริก
ง. อันเตวาสิก จ. นิสสัยมุตตกะ (๒๕๕๗)
ตอบ : ก. อุปสัมปทาจารย์ ทาหน้าที่สวดกรรมวาจาเมื่ออุปสมบท
ข. อุทเทสาจารย์ ทาหน้าที่สอนธรรม
ค. สัทธิวิหาริ ก เป็ นคาเรี ยกผูท้ ี่ได้รับอุปสมบท คือ ถ้าอุปสมบทต่อพระอุปัชฌาย์
รู ปใด ก็เป็ นสัทธิวิหาริ กของพระอุปัชฌาย์รูปนั้น
ง. อันเตวาสิ ก ใช้เรี ยกภิกษุผอู ้ าศัยอยูก่ บั อาจารย์ หรื อภิกษุผมู ้ ิใช่พระอุปัชฌาย์ของ
ตน
จ. นิสสัยมุตตกะ ภิกษุผพู ้ น้ การถือนิสัย หมายถึง ภิกษุมีพรรษาพ้น ๕ แล้ว มีความรู้
ธรรมวินยั พอรักษาตัวได้แล้ว ไม่ตอ้ งถือนิสัยในอุปัชฌาย์ หรื ออาจารย์ต่อไป
๒. จงให้ ความหมายของคาต่อไปนี้ อุปัชฌายะ สัทธิวิหาริก นิสสัย ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. อุปัชฌายะ เป็ นชื่อเรี ยกภิกษุผรู ้ ับให้พ่งึ พิง แปลว่า ผูฝ้ ึ กสอนหรื อผูด้ ูแล
๒. สัทธิวิหาริ ก เป็ นชื่อเรี ยกภิกษุผพู ้ ่งึ พิง แปลว่า ผูอ้ ยูด่ ว้ ย
๓. นิสสัย เป็ นชื่อเรี ยกกิริยาที่พ่งึ พิง ฯ
๓. ในบาลีแสดงเหตุนิสสัยระงับจากอุปัชฌายะไว้ ๕ ประการ มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๔, ๒๕๕๘)
ตอบ : เหตุนิสสัยระงับจากอุปัชฌายะไว้ ๕ ประการ คือ
๑. มีอุปัชฌายะหลีกไปเสี ย
๒. สึ กเสี ย
๓. ตายเสี ย
๔. ไปเข้ารี ตเดียรถียเ์ สี ย
๕. สั่งบังคับ
๔. คาว่า ถือนิสัย หมายความว่าอย่างไร ? ภิกษุผ้เู ป็ นนวกะจะต้องถือนิสัยเสมอไปหรื อไม่
ประการไร ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. คาว่า ถือนิสัย หมายความว่า ยอมตนอยูใ่ นความปกครองของพระเถระผูม้ ี
คุณสมบัติควรปกครองตนได้ยอมตนให้ท่านปกครอง พึ่งพิงพานักอาศัยท่าน ฯ
๒. ภิกษุผเู ้ ป็ นนวกะต้องถือนิสัยเสมอไป แต่มีขอ้ ยกเว้น ภิกษุผยู ้ งั ไม่ต้งั ลงเป็ นหลัก
แหล่ง คือภิกษุเดินทางภิกษุผเู ้ ป็ นไข้ ภิกษุผพู ้ ยาบาลผูไ้ ด้รับของจากคนไข้เพื่อให้
อยู่ ภิกษุผเู ้ ข้าป่ าเพื่อเจริ ญสมณธรรมชัว่ คราว และกรณีที่ในที่ใด หาท่านผูใ้ ห้นิสัย
มิได้ และมีเหตุขดั ข้องที่จะไปอยูใ่ นที่อื่นไม่ได้ จะอยูใ่ นที่น้ นั ด้วยผูกใจ
๖๒

๕. การประณาม ในพระวินัยหมายความว่าอย่างไร ? มีพระพุทธานุญาตให้ อุปัชฌาย์ทาการ


ประณามสัทธิวิหาริกผู้ประพฤติอย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. การประณาม ในพระวินยั หมายความว่า การไล่สัทธิวิหาริ ก หรื ออันเตวาสิ กผู ้
ประพฤติมิชอบ
๒. ให้อุปัชฌาย์ทาการประณามสัทธิวิหาริ กผูป้ ระพฤติ ดังนี้
๑) หาความรักใคร่ ในอุปัชฌาย์มิได้
๒) หาความเลื่อมใสมิได้
๓) หาความละอายมิได้
๔) หาความเคารพมิได้
๕) หาความหวังดีต่อมิได้ ฯ
๖. ตามนัยแห่ งอรรถกถา อาจารย์มีกี่ประเภท ? อะไรบ้ าง ? คาขอนิสสัยอาจารย์ว่าอย่างไร ?
(๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. อาจารย์ มี ๔ ประเภท ฯ
๒. ได้แก่
๑) ปัพพัชชาจารย์ อาจารย์ในบรรพชา
๒) อุปสัมปทาจารย์ อาจารย์ในอุปสมบท
๓) นิสสยาจารย์ อาจารย์ผใู ้ ห้นิสสัย
๔) อุทเทสาจารย์ อาจารย์ผบู ้ อกธรรม ฯ
๓. คาขอนิสสัยอาจารย์ว่า อาจริ โย เม ภนฺเต โหหิ อายสฺ มโต นิสฺสาย วจฺฉามิ ฯ
๗. ภิกษุเช่ นไร ชื่ อว่า นวกะ มัชฌิมะ เถระ ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. นวกะ คือ ภิกษุมีพรรษาไม่ถึง ๕
๒. มัชฌิมะ คือ ภิกษุมีพรรษาตั้งแต่ ๕ ขึ้นไป แต่ยงั ไม่ถึง ๑๐ ต้องประกอบด้วย
คุณธรรมตามพระวินยั
๓. เถระ คือ ภิกษุมีพรรษาตั้งแต่ ๑๐ ขึ้นไป ต้องประกอบด้วยคุณธรรมตามพระ
ธรรมวินยั ฯ
๘. นิสัยระงับ กับ นิสัยมุตตกะ มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. นิสัยระงับ หมายถึง การที่ภิกษุผถู ้ ือนิสัยขาดจากปกครอง
๒. นิสัยมุตตกะ หมายถึง ภิกษุผไู ้ ด้พรรษา ๕ แล้ว และมีคุณสมบัติพอรักษาตน
ผูอ้ ยูต่ ามลาพังได้ ทรงพระอนุญาตให้พน้ จากนิสัย ฯ
๖๓

๙. ภิกษุเช่ นไรควรได้นิสัยมุตตกะ ? (๒๕๖๒, ๒๕๖๐)


ตอบ : ภิกษุผคู ้ วรได้นิสัยมุตตกะ คือ
๑. เป็ นผูม้ ีศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ สติ
๒. เป็ นผูถ้ ึงพร้อมด้วยศีล อาจาระ ความเห็นชอบ เคยได้ยินได้ฟังมามาก มีปัญญา
๓. รู้จกั อาบัติ มิใช่อาบัติ อาบัติเบา อาบัติหนัก จาพระปาฏิโมกข์ได้แม่นยา ทั้งมี
พรรษาพ้น ๕ ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๔ วัตร
๑. วัตรคืออะไร ? อุปัชฌายวัตรและสัทธิวิหาริกวัตร ใครพึงทาแก่ใคร ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. วัตร คือ แบบอย่างอันดีงามที่ภิกษุควรประพฤติในกาลนั้น ฯ
๒. อุปัชฌายวัตร สัทธิวิหาริ กพึงทาแก่อุปัชฌาย์
๓. สัทธิวิหาริ กวัตร อุปัชฌาย์พึงทาแก่สัทธิวิหาริ ก ฯ
๒. ในคาว่า ภิกษุผ้ถู ึงพร้ อมด้วยวัตร วัตร ได้แก่อะไร ? มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. วัตร ได้แก่ ขนบ คือ แบบอย่างอันภิกษุควรประพฤติในกาลนั้นๆ ในที่น้ นั ๆ ใน
กิจนั้นๆ แก่บุคคลนั้นๆ ฯ
๒. มี ๓ ประการ คือ
๑) กิจวัตร ว่าด้วยกิจอันควรทา
๒) จริ ยาวัตร ว่าด้วยมารยาทอันควรประพฤติ
๓) วิธีวตั ร ว่าด้วยแบบอย่าง ฯ
๓. ภิกษุผ้ไู ด้ชื่อว่า วตตสมปนโน ผู้ถึงพร้ อมด้วยวัตร วัตรคืออะไร ? มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๓, ๒๕๖๑,
๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. วัตร คือ แบบอย่างอันภิกษุควรประพฤติในกาลนั้น ๆ ในที่น้ นั ๆ ในกิจนั้น ๆ แก่
บุคคลนั้น ๆ ฯ
๒. มี ๓ ประการ คือ
๑) กิจวัตร ว่าด้วยกิจอันควรทา
๒) จริ ยาวัตร ว่าด้วยมารยาทอันควรประพฤติ
๓) วิธีวตั ร ว่าด้วยแบบอย่าง ฯ
๔. ภิกษุผ้อู าพาธควรปฏิบัติตนอย่างไร จึงไม่เป็ นภาระแก่ผ้พู ยาบาล ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๘)
ตอบ : ควรปฏิบตั ิตนให้เป็ นผูพ้ ยาบาลง่าย คือ ทาความสบายให้แก่ตน (ไม่ฉันของแสลง)
รู้จกั ประมาณในการบริ โภค ฉันยาง่าย บอกอาการไข้ตามเป็ นจริ งแก่ผูพ้ ยาบาล
๖๔

เป็ นผูอ้ ดทนต่อทุกขเวทนา ฯ


๕. ภิกษุผ้ไู ด้รับเสนาสนะของสงฆ์ให้ เป็ นที่อยู่อาศัย ควรเอาใจใส่ รักษาเสนาสนะนั้นอย่างไร ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ควรเอาใจใส่รักษา ดังนี้
๑. ไม่ทาให้เปรอะเปื้ อน
๒. ชาระให้สะอาด
๓. ระวังไม่ให้ชารุ ด
๔. รักษาเครื่ องเสนาสนะ
๕. ตั้งน้ าฉันน้ าใช้ไว้ให้มีพร้อม
๖. ของใช้สาหรับเสนาสนะหนึ่งอย่านาไปใช้ที่อื่นให้กระจัดกระจาย ฯ
๖. ภิกษุเมื่อจะนั่งลงบนอาสนะ ทรงให้ ปฏิบัติอย่างไรก่อน ? ที่ทรงให้ ปฏิบัติอย่างนั้นเพื่อประโยชน์
อะไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. ทรงให้พิจารณาก่อน อย่าผลุนผลันนัง่ ลงไป ฯ
๒. ประโยชน์ คือ เพื่อว่าถ้ามีของอะไรวางอยูบ่ นนั้น จะทับหรื อกระทบของนั้น ถ้า
เป็ นขันน้ าก็จะหก เสี ยมารยาท พึงตรวจดูดว้ ยนัยน์ตา หรื อด้วยมือลูบก่อน ตามแต่
จะรู้ได้ดว้ ยอย่างไร แล้วจึงค่อยนัง่ ลง ฯ
๗. คาว่า ภิกษุจับต้องวัตถุเป็ นอนามาส วัตถุอนามาส คืออะไร ? เป็ นอาบัติอะไร ? (๒๕๖๓,
๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. วัตถุอนามาส คือ สิ่ งที่ภิกษุไม่ควรจับต้อง ฯ
๒. ภิกษุจบั ต้องมาตุคาม เป็ นอาบัติสังฆาทิเสส ถุลลัจจัย และทุกกฏตามประโยค
๓. จับต้องบัณเฑาะก์ดว้ ยความกาหนัดเป็ นอาบัติถุลลัจจัย นอกนั้นเป็ นวัตถุแห่ง
อาบัติทุกกฎทั้งหมด ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๕ คารวะ
๑. คารวะ คืออะไร ? การลุกขึน้ ยืนรับเป็ นกิจที่ผ้นู ้ อยพึงทาแก่ผ้ใู หญ่แต่ควรเว้นในเวลาเช่ นใดบ้ าง ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. คารวะ คือ กิริยาที่แสดงอาการอ่อนน้อมโดยสมควร แก่กาล สถานที่ กิจ และ
บุคคล ฯ
๒. ควรเว้นในเวลานัง่ อยูใ่ นสานักของผูใ้ หญ่ ไม่ลุกรับผูน้ อ้ ยกว่าท่าน ในเวลานัง่
เข้าแถวในบ้าน ในเวลาเข้าประชุมสงฆ์ในอาราม ฯ
๖๕

๒. การลุกยืนขึน้ รับ เป็ นกิจที่ผ้นู ้ อยพึงทาแก่ผ้ใู หญ่ จะปฏิบัติอย่างไรจึงไม่ขัดต่อพระวินัย ?


(๒๕๖๓, ๒๕๕๘)
ตอบ : การปฏิบตั ิที่ไม่ขดั ต่อพระวินยั ได้แก่ นัง่ อยูใ่ นสานักผูใ้ หญ่ ไม่ลุกรับผูน้ อ้ ยกว่า
ท่าน นัง่ เข้าแถวในบ้าน เข้าประชุมสงฆ์ในอาราม ไม่ลุกรับท่านผูใ้ ดผูห้ นึ่ง ฯ
๓. กิริยาที่แสดงความอ่อนน้ อมต่อกันและกันเป็ นความดีของหมู่ แต่ต้องทาให้ ถูกต้องตามกาลเทศะ
ในข้อนี้ควรงดเว้นในกรณีใดบ้ าง ? จงบอกมาสัก ๕ ข้อ (๒๕๕๓)
ตอบ : ควรงดเว้นในกรณีดงั ต่อไปนี้ (ตอบเพียง ๕ ข้อ)
๑. ในเวลาประพฤติวุฏฐานวิธี คือ อยูก่ รรม เพื่อออกจากอาบัติสังฆาทิเสส
๒. ในเวลาถูกสงฆ์ทาอุกเขปนียกรรม ที่ถูกห้ามสมโภคและสังวาส
๓. ในเวลาเปลือยกาย
๔. ในเวลาเข้าบ้านหรื อเดินอยูต่ ามทาง
๕. ในเวลาอยูใ่ นที่มืดที่แลไม่เห็นกัน
๖. ในเวลาที่ท่านไม่รู้ คือ นอนหลับหรื อขลุกขลุ่ยอยูด่ ว้ ยธุระอย่างหนึ่ง หรื อส่ง
ใจไปอื่น แม้ไหว้ ท่านก็คงไม่ใส่ใจ
๗. ในเวลาขบฉันอาหาร
๘. ในเวลาถ่ายอุจจาระ ถ่ายปัสสาวะ ฯ
๔. ภิกษุผ้เู ป็ นอาคันตุกะ ไปสู่ อาวาสอื่น พึงประพฤติอย่างไรจึงจะถูกธรรมเนียมตามพระวินัย ?
(๒๕๖๔, ๒๕๖๒, ๒๕๖๐)
ตอบ : พึงประพฤติ ดังนี้
๑. ทาความเคารพในท่าน
๒. แสดงความเกรงใจเจ้าของถิ่น
๓. แสดงอาการสุภาพ
๔. แสดงอาการสนิทสนมกับเจ้าของถิ่น
๕. ถ้าจะอยูท่ ี่นนั่ ควรประพฤติให้ถูกธรรมเนียมของเจ้าของถิ่น
๖. ถือเสนาสนะแล้วอย่าดูดาย เอาใจใส่ชาระปัดกวาดให้หมดจด จัดตั้งเครื่ อง
เสนาสนะให้เป็ นระเบียบ ฯ
๕. ก่อนหน้ าปรินิพพาน ตรัสสั่งภิกษุท้งั หลายให้ แสดงความเคารพด้วยการเรียกกันว่าอย่างไร ?
(๒๕๕๖)
ตอบ : ตรัสให้ภิกษุผอู ้ ่อนพรรษากว่า เรี ยกผูแ้ ก่พรรษากว่าว่า “ภันเต”
และให้ภิกษุผแู ้ ก่พรรษากว่า เรี ยกผูอ้ ่อนพรรษากว่าว่า “อาวุโส” ฯ
๖๖

๖. ภิกษุอยู่ในกุฎิเดียวกันกับภิกษุผ้มู ีพรรษามากกว่า ควรปฏิบัติตนอย่างไร จึงชื่ อว่าแสดงความ


เคารพท่านตามพระวินัย ? (๒๕๕๑, ๒๕๖๐, ๒๕๖๒)
ตอบ : ควรปฏิบตั ิตนอย่างนี้ คือ จะทาสิ่ งใด ๆ ควรขออนุญาตท่านก่อน เช่น จะสอนธรรม
จะอธิบายความ จะสาธยาย จะแสดงธรรม จะจุดจะดับไฟ จะเปิ ดจะปิ ดหน้าต่าง
ห้ามมิให้ทาตามอาเภอใจ ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๖ จาพรรษา
๑. ดิถีที่กาหนดให้ เข้าจาพรรษาในบาลีกล่าวไว้เท่าไร ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๒)
ตอบ : กล่าวไว้ ๒ ฯ คือ
๑. ปุริมิกาวัสสูปนายิกา วันเข้าพรรษาต้น คือวันแรม ๑ ค่า เดือน ๘
๒. ปัจฉิมิกาวัสสูปนายิกา วันเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม ๑ ค่า เดือน ๙ ฯ
๒. วันเข้าพรรษาในบาลีกล่าวไว้ ๒ วัน คือ วันเข้าพรรษาต้น และวันเข้าพรรษาหลัง ในแต่ละอย่าง
กาหนดวันไว้อย่างไร ? (๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. วันเข้าพรรษาต้น กาหนดเมื่อพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์อาสาฬหะล่วงไปแล้ววัน
หนึ่ง คือ วันแรม ๑ ค่า เดือน ๘
๒. วันเข้าพรรษาหลัง กาหนดเมื่อพระจันทร์เพ็ญเสวยฤกษ์อาสาฬหะนั้นล่วงแล้ว
เดือน ๑ คือ วันแรม ๑ ค่า เดือน ๙ ฯ
๓. สัตตาหกรณียะและสัตตาหกาลิก มีอธิบายอย่างไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. สัตตาหกรณียะ คือ กิจจาเป็ นบางอย่างที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ภิกษุผอู ้ ยูจ่ า
พรรษาไปพักแรมคืนที่อื่น แต่ตอ้ งกลับมาภายใน ๗ วัน
๒. สัตตาหกาลิก คือ เภสัช ๕ ที่รับประเคนแล้วเก็บไว้บริ โภคได้ ๗ วัน ฯ
๔. สัตตาหกรณียะ คืออะไร ? มีวิธีปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๖๓, ๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. สัตตาหกรณียะ คือ การหลีกไปในระหว่างอยูจ่ าพรรษาด้วยกรณียธุระและ
กลับมาภายใน ๗ วัน ฯ
๒. มีวิธีปฏิบตั ิ คือ ให้ผูกใจว่าจะกลับมาภายใน ๗ วัน ฯ
๕. ธุระเป็ นเหตุไปด้วยสัตตาหกรณียะที่ท่านกล่าวไว้ในบาลี มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๐, ๒๕๕๘)
ตอบ : มี
๑. สหธรรมิกหรื อมารดาบิดาเจ็บไข้ รู้เข้า ไปเพื่อรักษาพยาบาล
๒. สหธรรมิกกระสันจะสึ ก รู้เข้า ไปเพื่อระงับ
๓. มีกิจสงฆ์เกิดขึ้น เป็ นต้นว่า วิหารชารุ ดลงในเวลานั้น ไปเพื่อหาเครื่ อง
๖๗

ทัพพสัมภาระมาปฏิสังขรณ์
๔. ทายกต้องการจะบาเพ็ญกุศล ส่งมานิมนต์ ไปเพื่อบารุ งศรัทธาของเขา
หรื อแม้ธุระอื่นนอกจากนี้ที่เป็ นกิจลักษณะ อนุโลมตามนี้ ฯ
๖. ภิกษุอยู่จาพรรษาแล้ว มีเหตุไปที่อื่น ผูกใจจะกลับมาให้ ทันในวันนั้น แต่กลับมาไม่ทัน เช่ นนี้
พรรษาขาดหรื อไม่ ? เพราะเหตุใด ? (๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. ถ้าไปด้วยธุระที่ทรงอนุญาตให้ไปด้วยสัตตาหกรณียะ พรรษาไม่ขาด
๒. เพราะยังอยูใ่ นพระพุทธานุญาตนั้นเอง ทั้งจิตคิดจะกลับก็มีอยู่ ถ้าไปด้วยมิใช่
ธุระที่เป็ นสัตตาหกรณียะพรรษาขาด ฯ
๗. ภิกษุอยู่จาพรรษาครบ ๓ เดือน จนได้ปวารณา ย่อมได้อานิสงส์ แห่ งการจาพรรษาอะไรบ้ าง ?
(๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. ได้รับอานิสงส์ ๕ อย่าง คือ
๑. เที่ยวไปไม่ตอ้ งบอกลาตามสิ กขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรคในปาจิตติยกัณฑ์
๒. เที่ยวจาริ กไปไม่ตอ้ งถือเอาไตรจีวรไปครบสารับ
๓. ฉันคณโภชน์ (การฉันอาหารเป็ นหมู่) และปรัมปรโภชน์ (โภชนะทีหลัง) ได้
๔. เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา
๕. จีวรอันเกิดขึ้นในที่น้ นั เป็ นของได้แก่พวกเธอ
ทั้งได้โอกาสเพื่อกรานกฐิน และรับอานิสงส์ ๕ นั้นเพิ่มออกไปอีก ๔ เดือนตลอด
เหมันตฤดู ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๗ อุโบสถ ปวารณา
๑. ในวัดหนึ่งมีภิกษุอยู่กัน ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป ๑ รูป เมื่อถึงวันอุโบสถพึงปฏิบัติอย่างไร ?(๒๕๕๓,
๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. มีภิกษุ ๔ รู ป พึงประชุมกันในอุโบสถ สวดปาติโมกข์
๒. มีภิกษุ ๓ รู ป พึงประชุมกันทาปาริ สุทธิอุโบสถ รู ปหนึ่งสวดประกาศญัตติจบ
แล้ว แต่ละรู ปพึงบอกความบริ สุทธิ์ของตน
๓. มีภิกษุ ๒ รู ป ไม่ตอ้ งตั้งญัตติ พึงบอกความบริ สุทธิ์แก่กนั และกัน
๔. มีภิกษุ ๑ รู ป พึงอธิษฐาน หรื อมีภิกษุต่ากว่า ๔ รู ป จะไปทาสังฆอุโบสถกับสงฆ์
ในอาวาสอื่น ก็ควร ฯ
๒. บุพพกรณ์และบุพพกิจ ในการทาอุโบสถสวดปาติโมกข์ ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๖๘

๑. บุพพกรณ์เป็ นกิจที่ภิกษุพึงทา ก่อนแต่ประชุมสงฆ์ มีกวาดบริ เวณที่ประชุม


เป็ นต้น
๒. บุพพกิจเป็ นกิจที่ภิกษุพึงทาก่อนแต่สวดปาติโมกข์ มีนาปาริ สุทธิของภิกษุผู ้
อาพาธมา เป็ นต้น ฯ
๓. บุพพกรณ์และบุพพกิจ ในการทาอุโบสถต่างกันอย่างไร ? ในวัดที่มีภิกษุ ๓ รูป เมื่อถึงวันอุโบสถ
จะต้องทาบุพพกรณ์และบุพพกิจหรื อไม่ เพราะเหตุไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. บุพพกรณ์ คือ กรณียะอันจะพึงกระทาให้เสร็จก่อนประชุมสงฆ์
ส่วนบุพพกิจ เป็ นธุระอันจะพึงทาก่อนแต่สวดปาติโมกข์ ฯ
๒. บุพพกรณ์น้ นั เป็ นกรณียะ จะต้องทาเพราะต้องไปประชุมกันตามกิจ
ส่วนบุพพกิจนั้นไม่ตอ้ งทา เพราะภิกษุ ๓ รู ปไม่ตอ้ งสวดปาติโมกข์ ฯ
๔. สังฆกรรม ๓ อย่างนี้ คือ การสวดปาฏิโมกข์ อุปสมบทกรรม และอัพภานกรรม มีจากัดจานวน
สงฆ์อย่างน้ อยเท่าไร จึงจะถูกต้องตามพระวินัย ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. การสวดปาฏิโมกข์ ต้องการสงฆ์จตุวรรค คือ ๔ รู ป เป็ นอย่างน้อย
๒. อุปสมบทกรรมในปัจจันตประเทศ ต้องการสงฆ์ปัญจวรรค คือ ๕ รู ป เป็ นอย่าง
น้อย
๓. อุปสมบทกรรมในมัธยมประเทศ ต้องการสงฆ์ทสวรรค คือ ๑๐ รู ป เป็ นอย่าง
น้อย
๔. อัพภานกรรมต้องการสงฆ์วีสติวรรค คือ ๒๐ รู ปเป็ นอย่างน้อย ฯ
๕. วินัยกรรม กับ สังฆกรรม มีความหมายต่างกันอย่างไร ? การทาวินัยกรรมนั้น มีจากัดบุคคลและ
สถานที่บ้างหรื อไม่อย่างไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๑. กรรมที่ภิกษุแต่ละรู ปหรื อหลายรู ปจะพึงทาตามพระวินยั เช่น พินทุอธิษฐาน
วิกปั จีวร เป็ นต้น เรี ยกว่า วินยั กรรม
๒. กรรมที่ภิกษุครบองค์เป็ นสงฆ์ มีจานวนอย่างต่าตั้งแต่ ๔ รู ปขึ้นไปจะพึงทา เช่น
อปโลกนกรรม เป็ นต้น เรี ยกว่า สังฆกรรม ฯ
๓. จากัดบุคคลและสถานที่ไว้ ดังนี้
๑) แสดงอาบัติ ต้องแสดงแก่ผเู ้ ป็ นภิกษุดว้ ยกัน
๒) อธิษฐาน ต้องทาเอง
๓) วิกปั ต้องวิกปั แก่สหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี นางสิ กขมานา สามเณร
สามเณรี รูปใดรู ปหนึ่ง
๖๙

๔) ห้ามไม่ให้ทาในที่มืด แต่ทาในสี มาหรื อนอกสี มาใช้ได้ท้งั นั้น ฯ


๖. สงฆ์สวดปาฏิโมกข์อยู่ ภิกษุอื่นมาถึง หรื อมาถึงเมื่อสวดจบแล้ว พึงปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๖๓,
๒๕๖๐)
ตอบ : พึงปฏิบตั ิอย่างนี้ คือ
๑. ถ้าภิกษุมาใหม่มากกว่า ภิกษุที่ประชุมกันอยู่ ต้องสวดตั้งต้นใหม่
๒. ถ้าเท่ากันหรื อน้อยกว่า ส่วนที่สวดไปแล้วก็แล้วไป ให้ภิกษุที่มาใหม่ฟังส่วน
ทีย่ งั เหลืออยู่
๓.ถ้าสวดจบแล้ว จะมามากกว่าหรื อน้อยกว่า ก็ไม่ตอ้ งสวดซ้ าอีก ให้ภิกษุทมี่ าใหม่
บอกปาริ สุทธิในสานักภิกษุผฟู ้ ังปาฏิโมกข์แล้ว ฯ
๗. การทาอุโบสถสวดปาติโมกข์ นอกจากวันพระจันทร์ เพ็ญและพระจันทร์ ดับแล้วยังทรงอนุญาต
ให้ ทาได้ในวันใดอีก ? อุโบสถเช่ นนั้นเรียกว่าอะไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. ในวันที่ภิกษุผแู ้ ตกกันปรองดองกันได้ ฯ
๒. อุโบสถเช่นนี้ เรี ยกว่า สามัคคีอุโบสถ ฯ
๘. ในวัดที่ไม่มีภิกษุผ้ทู รงจาปาติโมกข์ได้จนจบ ถึงวันอุโบสถ สวดเท่าที่จาได้แล้วชักสุ ตบท
(สวดย่อ) โดยอ้างว่า เกิดเหตุฉุกเฉิน ถูกต้องหรื อไม่ ? เพราะเหตุใด ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. สวดปาติโมกข์ยอ่ นั้น ถูกต้องแล้ว แต่จะอ้างว่าสวดย่อเพราะเกิดเหตุฉุกเฉินนั้น
ไม่ถูกต้อง ฯ
๒. เพราะการสวดย่อเนื่องจากจาได้ไม่หมด ทรงอนุญาตไว้แผนกหนึ่งต่างหาก
ไม่จดั เข้าในเหตุฉุกเฉิน ๑๐ ประการ ฯ
๙. ทรงอนุญาตให้ สวดปาติโมกข์ย่อเ พราะเหตุฉุกเฉิน ๑๐ อย่าง จงบอกมาสัก ๕ อย่าง (๒๕๕๗)
ตอบ : เหตุฉุกเฉิน ๑๐ อย่าง ที่ทรงอนุญาตให้สวดปาติโมกข์ยอ่ ได้ คือ
๑. พระราชาเสด็จมา เลิกสวดพระปาติโมกข์เพื่อรับเสด็จ
๒. โจรปล้น เลิกสวดเพื่อหนีภยั
๓. ไฟไหม้ เลิกสวดเพื่อดับไฟ
๔. น้ าหลากมาเลิกสวดเพื่อหนี น้ า ถ้าสวดกลางแจ้ง ฝนตกลงมาเลิกสวดเพื่อ หนี
ฝน
๕. คนมามาก เลิกสวดเพื่อจะรู้เหตุ หรื อเพื่อทาการต้อนรับได้อยู่
๖. ผีเข้าภิกษุ เลิกสวดเพื่อขับผี
๗. สัตว์ร้าย มีเสื อ เป็ นต้น เข้ามาในอาราม เลิกสวดเพื่อขับไล่
๘. งูร้ายเลื้อยเข้ามาในที่ประชุม เลิกสวดเพื่อขับไล่เช่นเดียวกัน
๗๐

๙. ภิกษุเกิดอาพาธโรคร้ายขึ้นในที่ประชุม อันเป็ นอันตรายแก่ชีวิต เลิกสวดเพื่อ


เยียวยาแก้ไข แม้มีอนั ตรายถึงกับสิ้นชีวิตในที่น้ นั ก็เหมือนกัน
๑๐. มีอนั ตรายแก่พรหมจรรย์ เช่น มีใครมาเพื่อจับภิกษุรูปใดรู ปหนึ่ง เลิกสวด
เพราะความอลหม่าน (เลือกตอบเพียง ๕ ข้อ)
๑๐. ปวารณา คืออะไร ? มีพระพุทธานุญาตให้ ทาในวันไหน ? (๒๕๖๔, ๒๕๖๒)
ตอบ : ๑. ปวารณา คือ การบอกให้โอกาสแก่ภิกษุท้งั หลายเพื่อปรารถนาตักเตือนว่ากล่าว
ตนได้ ฯ
๒. มีพระพุทธานุญาตให้ทาในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ ซึ่งเป็ นวันเต็ม ๓ เดือนแต่
วันจาพรรษา ฯ
๑๑. ปวารณามีกี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? ในอาวาสหนึ่งมีภิกษุจาพรรษา ๓ รูป เมื่อถึงวันปวารณา พึง
ปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. ปวารณามี ๓ อย่าง
๒. คือ สังฆปวารณา คณปวารณา และบุคคลปวารณา ฯ
๓. พึงทาคณปวารณา ฯ
๑๒. ภิกษุจาพรรษาอยู่ด้วยกัน ๕ รูป ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูปหรื ออยู่รูปเดียว ถึงวันปวารณาพึงปฏิบัติ
อย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. อยูด่ ว้ ยกัน ๕ รู ป พึงทาปวารณาเป็ นการสงฆ์
๒. อยูด่ ว้ ยกัน ๔ รู ป ๓ รู ป ๒ รู ป พึงทาปวารณาเป็ นการคณะ
๓. อยูร่ ู ปเดียว พึงอธิษฐานเป็ นการบุคคล ฯ
๑๓. ในวัดหนึ่งมีภิกษุจาพรรษา ๔ รูป เมื่อถึงวันปวารณาออกพรรษาพึงทาอย่างไร ? ถ้ามีภิกษุ
อาคันตุกะสัตตาหะมาสมทบอีก ๕ รูป จะพึงปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. ในวันมหาปวารณาพึงทาคณะปวารณา โดยรู ปหนึ่งตั้งญัตติแล้วกล่าวปวารณา
ตามลาดับพรรษา ฯ
๒. ถ้ามีภิกษุอาคันตุกะสัตตาหะมาเพิ่มอีก ๕ รู ป พึงทาปวารณาเป็ นสังฆปวารณา
แล้วกล่าวปวารณาตามลาดับพรรษา ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๘ อุปปถกิริยา
๑. อุปปถกิริยา คืออะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๔, ๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. อุปปถกิริยา คือ การทานอกรี ตนอกรอยของสมณะ ฯ
๒. มี ๓ อย่าง ฯ
๗๑

๓. ได้แก่
๑) อนาจาร ได้แก่ ความประพฤติไม่ดีไม่งาม
๒) ปาปสมาจาร ได้แก่ ความประพฤติเลวทราม
๓) อเนสนา ได้แก่ ความหาเลี้ยงชีพไม่สมควร ฯ
๒. อุปปถกิริยา คืออะไร ? ความประพฤติเช่ นไรจัดเข้าในอนาจาร ปาปสมาจาร อเนสนา ?
(๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. อุปปถกิริยา คือ การทานอกรี ตนอกรอยของสมณะ
๒. ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และเล่นมีประการต่าง ๆ จัดเข้าในอนาจาร
๓. ความประพฤติเลวทราม จัดเข้าในปาปสมาจาร
๔. ความเลี้ยงชีพไม่สมควร จัดเข้าในอเนสนา ฯ
๓. การทานอกรีตนอกรอยของสมณะที่เรียกว่า อนาจาร ปาปสมาจาร และอเนสนา ได้แก่ ความ
ประพฤติเช่ นไร ? รวมเรียกว่าอะไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. อนาจาร ได้แก่ ความประพฤติไม่ดี ไม่งาม และเล่นมีประการต่างๆ
๒ ปาปสมาจาร ได้แก่ ความประพฤติเลวทราม
๓. อเนสนา ได้แก่ ความเลี้ยงชีพไม่สมควร ฯ
๔. รวมเรี ยกว่า อุปปถกิริยา ฯ
๔. อนาจาร หมายถึงอะไร ? เล่นอย่างไรบ้ าง จัดเป็ นอนาจาร ?
ตอบ : ๑. อนาจาร หมายถึง ความประพฤติไม่ดีไม่งาม และการเล่นมีประการต่าง ๆ ฯ
๒. เล่นอย่างเด็ก เล่นคะนอง เล่นพนัน เล่นปู้ยี่ปู้ยา เล่นอึงคะนึง จัดเป็ นอนาจาร ฯ
๕. ดิรัจฉานวิชาไม่ดีอย่างไร พระศาสดาจึงตรัสห้ ามไว้ ไม่ให้ บอกไม่ให้ เรียน ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ดิรัจฉานวิชา เป็ นความรู้ที่เขาสงสัยว่าลวงหรื อหลง ไม่ใช่ความรู้จริ งจัง ผูบ้ อก
เป็ นผูล้ วง ผูเ้ รี ยนก็เป็ นผูห้ ัด เพื่อจะลวงหรื อเป็ นผูห้ ลงงมงาย ฉะนั้นพระศาสดาจึง
ตรัสห้ามไว้ ไม่ให้บอกไม่ให้เรี ยน ฯ
๖. ปาปสมาจาร คืออะไร ? ภิกษุชื่อว่า กุลปสาทโก เพราะประพฤติอย่างไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. ปาปสมาจาร คือ ความประพฤติเลวทราม เนื่องด้วยการคบคฤหัสถ์ดว้ ยการ
สมาคมอันมิชอบ ฯ
๒. ภิกษุชื่อว่า กุลปสาทโก เพราะประพฤติพอดีพองาม ยังความเลื่อมใสนับถือ
ของเขาให้เกิดในตน เป็ นศรี ของพระศาสนา ฯ
๗. ภิกษุได้ชื่อว่า “กุลทูสโก ผู้ประทุษร้ ายสกุล” เพราะประพฤติอย่างไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ภิกษุได้ชื่อว่า “กุลทูสโก ผูป้ ระทุษร้ายสกุล” เพราะประพฤติให้เขาเสี ยศรัทธา
๗๒

เลื่อมใส คือ เป็ นผูป้ ระจบเขาด้วยกิริยาทาตนอย่างคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย


หรื อด้วยอาการเอาเปรี ยบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อย ด้วยหวังได้มาก ฯ
๘. ภิกษุได้ชื่อว่า “กุลปสาทโก ผู้ยังตระกูลให้ เลื่อมใส” เพราะมีปฏิปทาอย่างไร ? (๒๕๖๔)
ตอบ : ภิกษุได้ชื่อว่า “กุลปสาทโก ผูย้ งั ตระกูลให้เลื่อมใส” เพราะมีปฏิปทาอย่างนี้ คือ
เป็ นผูถ้ ึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็ นคนสนิทของสกุลโดยฐานเป็ นคนเลว
และอีกอย่างหนึ่ง ไม่รุกรานตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิตต่อเขาประพฤติพอดีพองาม
ยังความเลื่อมใสนับถือของเขาให้เกิดในตน ฯ
๙. ภิกษุได้ชื่อว่าผู้ประทุษร้ ายสกุล กับภิกษุได้ชื่อว่าผู้ยังสกุลให้ เลื่อมใส เพราะมีความประพฤติ
ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๕๔, ๒๕๕๖)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้
๑. ภิกษุผปู ้ ระทุษร้ายสกุล เป็ นผูป้ ระพฤติให้เขาเสี ยศรัทธาเลื่อมใส ประจบเขาด้วย
กิริยาทาตนอย่างคฤหัสถ์ ให้ของกานัลแก่สกุลอย่างคฤหัสถ์เขาทา ยอมตนให้เขา
ใช้สอย หรื อด้วยอาการเอาเปรี ยบโดยเชิงให้สิ่งของเล็กน้อยด้วยหวังได้มาก
๒. ภิกษุผยู ้ งั สกุลให้เลื่อมใส เป็ นผูถ้ ึงพร้อมด้วยอาจาระ ไม่ทอดตนเป็ นคนสนิท
ของสกุล โดยฐานเป็ นคนเลว ไม่รุกราน ตัดรอนเขา แสดงเมตตาจิต ประพฤติพอดี
พองาม ทาให้เขาเลื่อมใสนับถือตน ฯ
๑๐. อเนสนา ได้แก่อะไร ? มีอะไรบ้ าง ? (๒๕๖๓, ๒๕๖๐)
ตอบ : อเนสนา ได้แก่ กิริยาแสวงหาเลี้ยงชีพในทางไม่สมควร ฯ
มี ๒ อย่าง คือ
๑. การแสวงหาเป็ นโลกวัชชะ มีโทษทางโลก
๒. การแสวงหาเป็ นปัณณัตติวชั ชะ มีโทษทางพระบัญญัติ ฯ
กัณฑ์ ที่ ๑๙ กาลิก ๔
๑. กาลิก มีเท่าไร ? อะไรบ้ าง ? กล้วยดองน้าผึง้ เป็ นกาลิกอะไร ? (๒๕๕๑)
ตอบ : ๑. กาลิก มี ๔ ฯ
๒. ได้แก่ ยาวกาลิก ยามกาลิก สัตตาหกาลิก ยาวชีวิก ฯ
๓. กล้วยดองน้ าผึ้งเป็ นยาวกาลิก ฯ
๒. กาลิก ๔ ได้แก่อะไรบ้ าง ? โภชนะ ๕ เภสัช ๕ จัดเป็ นกาลิกอะไร ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ๑. กาลิก ๔ ได้แก่ ๑) ยาวกาลิก ๒) ยามกาลิก ๓) สัตตาหกาลิก ๔) ยาวชีวิก ฯ
๒. โภชนะ ๕ จัดเป็ นยาวกาลิก ฯ
๗๓

๓. เภสัช ๕ จัดเป็ นสัตตาหกาลิก ฯ


๓. กาลิกคืออะไร ? มีอะไรบ้ าง ? กาลิกระคนกันมีกาหนดอายุไว้อย่างไร ? จงยกตัวอย่าง(๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. กาลิก คือ ของที่จะพึงกลืนให้ล่วงลาคอลงไป ฯ
๒. มีดงั นี้ ๑) ยาวกาลิก ๒) ยามกาลิก ๓) สัตตาหกาลิก และ ๔) ยาวชีวิก ฯ
๓. กาลิกระคนกันกาหนดอายุตามกาลิกที่มีอายุส้ นั ที่สุดเป็ นเกณฑ์ เช่น เอายาผงที่
เป็ นยาวชีวิกซึ่ งไม่จากัดอายุคลุกกับน้ าผึ้งที่เป็ นสัตตาหกาลิกซึ่ งมีกาหนดอายุไ ว้
๗ วัน ดังนี้ตอ้ งถืออายุ ๗ วันเป็ นเกณฑ์ ฯ
๔. ยาวกาลิก กับ ยาวชีวิก ต่างกันอย่างไร ? (๒๕๖๒)
ตอบ : ต่างกันอย่างนี้ คือ
๑. ยาวกาลิก คือ ของที่ใช้บริ โภคเป็ นอาหาร บริ โภคได้ชวั่ คราวคือตั้งแต่เช้าถึงเที่ยง
วัน ได้แก่ โภชนะ ๕ มี นมสด นมส้ม ของขบเคี้ยว เป็ นต้น ฯ
๒. ยาวชีวิก เป็ นของที่ให้ประกอบเป็ นยา บริ โภคได้เสมอไปไม่มีจากัดเวลา แต่
เมื่อมีเหตุจึงบริ โภคได้ ได้แก่ รากไม้ น้ าฝาดใบไม้ ผลไม้ ยางไม้ เกลือ เป็ นต้น ฯ
๕. ยาวกาลิกกับยาวชีวิก ได้แก่ กาลิกเช่ นไร ? กาลิกระคนกัน มีกฎเกณฑ์ กาหนดอายุไว้อย่างไร ?
จงยกตัวอย่าง (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ยาวกาลิก ได้แก่ ของที่ให้บริ โภคได้ชวั่ คราว ตั้งแต่เช้าถึงเที่ยงวัน
๒. ยาวชีวิก ได้แก่ ของที่ให้บริ โภคได้เสมอไป ไม่มีจากัดกาล ฯ
๓. กาลิกระคนกันกฎเกณฑ์กาหนดอายุตามกาลิกที่มีอายุนอ้ ยที่สุด เช่น ยาผง เป็ น
ยาวชีวิกคลุกกับน้ าผึ้งที่เป็ นสัตตาหกาลิก ต้องถืออายุ ๗ วัน เป็ นเกณฑ์ ฯ
๖. ภิกษุฉันเนื้องู เนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติอะไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. ฉันเนื้องู ต้องอาบัติทุกกฎ ฯ
๒. ฉันเนื้อมนุษย์ ต้องอาบัติถุลลัจจัย ฯ
๗. เภสัช ๕ มีอะไรบ้ าง จัดเป็ นกาลิกอะไร ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. เภสัช ๕ มี เนยใส เนยข้น น้ ามัน น้ าผึ้ง น้ าอ้อย ฯ
๒. จัดเป็ นสัตตาหกาลิก ฯ
๘. คาว่า อันโตวุฏฐะ อันโตปักกะ สามปักกะ หมายถึงอะไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. อันโตวุฏฐะ หมายถึง ยาวกาลิกที่ภิกษุเก็บไว้ในที่อยูข่ องตน ฯ
๒. อันโตปักกะ หมายถึง ยาวกาลิกที่ภิกษุหุงต้มภายใน (ที่อยูข่ องตน) ฯ
๓. สามปักกะ หมายถึง ยาวกาลิกที่ภิกษุทาให้สุกเอง ฯ
๗๔

กัณฑ์ ที่ ๒๐ ภัณฑะต่ างเจ้ าของของสงฆ์


๑. ลหุภัณฑ์ และครุภัณฑ์ ที่เป็ นของสงฆ์ คือของเช่ นไร ? อย่างไหนแจกกันได้และไม่ได้ ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. ลหุภณ ั ฑ์ คือ ของเบา มีบิณฑบาต เภสัช กับบริ ขารที่จะใช้สาหรับตัว คือบาตร
จีวร ประคดเอว เข็ม มีดพับ มีดโกน เป็ นของที่แจกกันได้
๒. ครุ ภณ ั ฑ์ คือ ของหนัก ไม่ใช่ของสาหรับใช้ให้สิ้นไป เป็ นของควรรักษาไว้ได้
นาน เป็ นเครื่ องใช้ในเสนาสนะ หรื อเป็ นตัวเสนาสนะเอง ตลอดถึงกุฎีและที่ดิน
๓. ลหุภณ ั ฑ์ เป็ นของที่แจกกันได้ ส่วนครุ ภณ ั ฑ์เป็ นของที่แจกกันไม่ได้ ฯ
๒. ภัตตุทเทสกะ จีวรภาชกะ และอัปปมัตตกวิสัชชกะ หมายถึง ภิกษุผ้มู ีหน้ าที่อะไร ? (๒๕๖๐)
ตอบ : ๑. ภัตตุทเทสกะ หมายถึง ภิกษุผมู ้ ีหน้าที่แจกภัตตาหาร ตลอดถึงรับนิมนต์ของ
ทายกแล้วจัดส่งพระไปให้
๒. จีวรภาชกะ หมายถึง ภิกษุผมู ้ ีหน้าที่แจกจีวร
๓. อัปปมัตตกวิสัชชกะ หมายถึง ภิกษุผมู ้ ีหน้าที่แจกเภสัชและบริ ขารเล็กน้อย ฯ
๓. ภัณฑะของภิกษุผ้มู รณภาพ จะตกเป็ นของใคร ? ภิกษุผ้อู ุปัฏฐากจะถือเอาด้วยวิสาสะได้หรื อ
ไม่ ? จงอธิบาย (๒๕๖๔, ๒๕๖๓, ๒๕๕๙)
ตอบ : ๑. ภัณฑะของภิกษุผมู ้ รณภาพแล้ว ตกเป็ นของสงฆ์ ฯ
๒. ภิกษุผอู ้ ุปัฏฐากจะถือเอาด้วยวิสาสะไม่ได้ เพราะการจะถือเอาด้วยวิสาสะ ต้อง
ถือเอาในเวลาที่เจ้าของภัณฑะยังมีชีวิตอยู่ ฯ
๔. ลักษณะถือวิสาสะที่มาในพระบาลีมีอะไรบ้ าง ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ลักษณะการถือวิสาสะในบาลี มีองค์ ๕ คือ
๑. เป็ นผูเ้ คยได้เห็นกันมา
๒. เป็ นผูเ้ คยคบกันมา
๓. ได้พูดกันไว้
๔. ยังมีชีวิตอยู่
๕. รู้ว่าของของผูน้ ้ นั เราถือเอาแล้วเขาจักพอใจ
๕. องค์ที่เป็ นลักษณะแห่ งการถือวิสาสะ คืออะไรบ้ าง ? เห็นว่าข้อไหนสาคัญ ? (๒๕๕๕)
ตอบ : ๑. องค์ที่เป็ นลักษณะแห่งการถือวิสาสะ คือ
๑) เป็ นผูเ้ คยได้เห็นกันมา ๒) เป็ นผูเ้ คยคบกันมา
๓) ได้พูดกันไว้ ๔) ยังมีชีวิตอยู่
๕) รู้ว่าของนั้นเราถือเอาแล้วเขาจักพอใจ ฯ
๗๕

๒. เห็นว่าข้อสุดท้ายสาคัญ ฯ
กัณฑ์ ที่ ๒๑ วินัยกรรม
๑. สภาคาบัติ คืออาบัติเช่ นไร ? ภิกษุต้องสภาคาบัติ จะพึงปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๖๑, ๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. สภาคาบัติ คือ อาบัติที่ภิกษุตอ้ งวัตถุเดียวกัน เพราะล่วงละเมิดสิ กขาบทเดียวกัน
๒. ภิกษุตอ้ งสภาคาบัติแล้ว ห้ามไม่ให้แสดงอาบัติน้ นั ต่อกัน ห้ามไม่ให้รับอาบัติ
ของกัน ให้แสดงในสานักภิกษุอื่น
๓. ถ้าสงฆ์ตอ้ งสภาคาบัติท้งั หมดต้องส่งภิกษุรูปหนึ่งไปแสดงในที่อื่น ภิกษุที่เหลือ
จึงแสดงในสานักของภิกษุน้ นั ฯ
๒. ผ้าบริขารโจล ได้แก่ ผ้าเช่ นไร ? การอธิษฐานด้วยกายกับการอธิษฐานด้วยวาจาต่างกันอย่างไร ?
(๒๕๕๔)
ตอบ : ๑. ผ้าบริ ขารโจล ได้แก่ ผ้าที่ไม่ใช่ของใหญ่ถึงกับนุ่งห่มได้ เช่น ผ้ากรองน้ า
ถุงบาตร ย่าม ฯ
๒. การอธิษฐานด้วยกาย คือ การใช้มือจับหรื อลูบบริ ขารที่จะอธิษฐานแล้ว ทา
ความผูกใจ ตามคาอธิษฐานนั้น ๆ
๓. การอธิษฐานด้วยวาจา คือ การเปล่งคาอธิษฐานนั้น ๆ ไม่ถูกของด้วยกายก็ได้ ฯ
๓. ภิกษุจะเปลี่ยนไตรครอง พึงปฏิบัติตามลาดับอย่างไรบ้ าง ? (๒๕๕๗)
ตอบ : ภิกษุจะเปลี่ยนไตรครอง พึงปฏิบตั ิตามลาดับ ดังนี้
๑. กรณีปกติเมื่อถึงเวลาเปลี่ยนจีวรเก่า จีวรกฐิน ต้องกล่าวคาสละผ้าเสี ยก่อน
แล้วทาพินทุ แล้วก็อธิษฐานผ้าตามชื่อ จีวร สังฆาฏิ สบง ตามภาษาบาลี
๒. กรณีจีวรถูกขโมยไปหรื อสูญหายต้องกล่าวคาถอนเสี ยก่อน ทาความอาลัยแล้ว
นาผ้าผืนใหม่มาทาพินทุ อธิษฐานตามลาดับ ฯ
๔. ผ้าต่อไปนี้ คือ สังฆาฏิ อันตรวาสก นิสีทนะ ผ้าอาบน้าฝน ผ้าเช็ดปาก ผ้าถุงบาตรผืนใดที่ทรง
อนุญาตให้ อธิษฐานได้เพียงผืนเดียว ? (๒๕๕๔)
ตอบ : ผ้าที่ทรงอนุญาตให้อธิษฐานได้เพียงผืนเดียว ได้แก่ สังฆาฏิ นิสีทนะ อันตรวาสก
และผ้าอาบน้ าฝน ฯ
๕. จีวรที่วิกัปไว้ เมื่อจะนามาใช้ ต้องทาอย่างไร ? ถ้าไม่ทาเช่ นนั้นต้องอาบัติอะไร ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. จีวรที่วิกปั ไว้ เมื่อจะนามาใช้ตอ้ งขอให้ผรู ้ ับถอนก่อน ฯ
๒. ถ้าไม่ทาเช่นนั้นต้องอาบัติปาจิตตีย์ ฯ
๗๖

๖. การแสดงอาบัติ การอธิษฐาน การทาวิกัปในทางพระวินัย เรียกว่าอะไร ? การทากิจเหล่านี้จากัด


บุคคลไว้อย่างไร ? (๒๕๕๒)
ตอบ : ๑. การแสดงอาบัติ การอธิษฐาน การทาวิกปั ในทางพระวินยั เรี ยกว่า วินยั กรรม ฯ
๒. การแสดงอาบัติ จากัดภิกษุผรู ้ ับ ต้องเป็ นภิกษุผมู ้ ีสังวาสเดียวกัน
๓. การอธิษฐานให้ทาเอง
๔. การทาวิกปั จากัดผูร้ ับ ต้องทากับสหธรรมิกทั้ง ๕ คือ ภิกษุ ภิกษุณี สามเณร
สามเณรี สิ กขมานา รู ปใดรู ปหนึ่ง ฯ
กัณฑ์ ที่ ๒๒ ปกิณณกะ
๑. มหาปเทส แปลว่าอะไร ? ทรงประทานไว้เพื่อประโยชน์ อะไร ? (๒๕๕๘)
ตอบ : ๑. มหาปเทส แปลว่า ข้อสาหรับอ้างใหญ่ ฯ
๒. ทรงประทานไว้เพื่อประโยชน์ คือ เพื่อเป็ นหลักแห่งการวินิจฉัยทั้งในทางธรรม
ทั้งในทางวินยั ฯ
๒. ภิกษุจะฉันสิ่งใด ๆ ต้องรับประเคนก่อน มีกรณียกเว้นเป็ นพิเศษอะไรบ้ างที่ไม่ต้องรับประเคน
ก่อนก็ฉันได้ ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ๑. ยกเว้นเป็ นพิเศษเฉพาะภิกษุอาพาธถูกงูกดั ให้ฉันยามหาวิกฏั ๔ คือ มูตร คูถ เถ้า
และดินได้ ฯ
๓. อนามัฏฐบิณฑบาต ได้แก่ โภชนะเช่ นไร ? มีข้อห้ ามตามพระวินัยไว้อย่างไร ?(๒๕๕๖)
ตอบ : ๑. อนามัฏฐบิณฑบาต ได้แก่ โภชนะที่ภิกษุได้มายังไม่ได้หยิบไว้ฉัน ฯ
๒. มีขอ้ ห้ามตามพระวินยั ไว้ว่า ห้ามไม่ให้ภิกษุให้แก่คฤหัสถ์อื่นนอกจากมารดา
และบิดา ฯ
๔. สมบัติของภิกษุในทางพระวินัยมีเท่าไร ? อะไรบ้ าง ? (๒๕๖๑)
ตอบ : ๑. มี ๔ อย่าง ฯ
๒. ได้แก่ ๑) สี ลสมบัติ ๒) อาจารสมบัติ ๓) ทิฏฐิสมบัติ ๔) อาชีวสมบัติ ฯ
๕. ภิกษุผ้ไู ด้ชื่อว่า โคจรสัมปันโน ผู้ถึงพร้ อมด้วยโคจรเพราะปฏิบัติอย่างไร ? (๒๕๕๓)
ตอบ : ภิกษุผไู ้ ด้ชื่อว่า โคจรสัมปันโน ผูถ้ ึงพร้อมด้วยโคจร เพราะเว้นอโคจร ๖ จะไปหา
ใครหรื อจะไปที่ไหน เลือกบุคคล เลือกสถานอันสมควร ไปเป็ นกิจจะลักษณะใน
เวลาอันควร ไม่ไปพร่ าเพรื่ อ กลับในเวลาประพฤติตนไม่ให้เป็ นที่รังเกียจของ
เพื่อนสหธรรมิกเพราะการไปเที่ยว ฯ
๗๗

๖. ภิกษุได้ชื่อว่า อาจารโคจรสัมปันโน ผู้ถึงพร้ อมด้วยมารยาทและโคจร เพราะประพฤติปฏิบัติ


เช่ นไร ? (๒๕๕๕, ๒๕๖๐)
ตอบ : ภิกษุได้ชื่อว่า อาจารโคจรสัมปันโน เพราะมีความประพฤติปฏิบตั ิสุภาพ
เรี ยบร้อยสมบูรณ์ดว้ ยอภิสมาจาริ กวัตร เว้นจากอโคจร คือ บุคคลและสถานที่ที่ไม่
ควรไป ฯ
๗. ภิกษุผ้ไู ด้ชื่อว่า ประดับพระศาสนาให้ รุ่งเรื อง เพราะประพฤติปฏิบัติเช่ นไร ? จงชี้แจง (๒๕๕๒)
ตอบ : ภิกษุผไู ้ ด้ชื่อว่าประดับพระศาสนาให้รุ่งเรื อง เพราะมีความประพฤติปฏิบตั ิ
สุภาพเรี ยบร้อย สมบูรณ์ดว้ ยอภิสมาจาริ กวัตร เว้นจากบุคคล และสถานที่ไม่ควร
ไป คือ อโคจร เป็ นผูไ้ ด้ชื่อว่า อาจารโคจรสัมปันโน ผูถ้ ึงพร้อมด้วยมรรยาท และ
โคจรอันเป็ นคู่กบั คุณบทว่า สี ลสัมปันโน ผูถ้ ึงพร้อมด้วยศีล ฯ

______________________________________________________________________________

You might also like