You are on page 1of 14

วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม

วิชาเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรมเป็ นวิชาที่มีหลักการ เป็ นเรื่ องของความงามในการ


ใช้ภาษา จึงเป็ นวิชาที่นกั เรี ยนจะต้องศึกษา และฝึ กฝนให้มีประสบการณ์มากพอสมควร
จึงจะมีความรู ้ ความชานาญในการใช้สานวนภาษาที่ไพเราะและเหมาะสม อันจะทาให้
เรี ยงความดีน่าอ่าน

ความหมายของคาว่า “เรียงความแก้กระทู้ธรรม”
คาว่า “เรียงความแก้กระทู้ธรรม” ตัดบทเป็ นเรี ยงความ/แก้/กระทูธ้ รรม
“เรียงความ” หมายถึง การกล่าวพรรณนาเนื้อความหรื ออธิบายเนื้อความแล้ว
นาเอาเนื้อความมาต่อเชื่อมกัน โดยลาดับหน้าหลังให้ผอู ้ ่านได้อ่านรู ้เรื่ อง
“แก้” หมายถึง การตอบหรื อการเฉลยให้ตรงจุดของคาถามนั้น หรื อการเปิ ดเผย
สิ่ งที่ปกปิ ดออกมาให้เห็น
“กระทู้ธรรม” หมายถึง ปั ญหาหรื อคาถามที่เกี่ยวกับธรรมะ

ทาไมจึงต้ องเรียนวิชากระทู้ธรรม
การเรี ยนวิชานี้จาเป็ นอย่างยิง่ เพราะการเรี ยนวิชานี้เป็ นการแสดงออกซึ่ งทัศนคติ
ของแต่ละบุคคลอย่างมีประสิ ทธิภาพโดยทางการเขียน อันเป็ นการแสดงออกแทนคาพูด
ถือเป็ นการสร้างบุคลากรใหม่ในด้านการเป็ นนักพูด นักเขียน ในวงการพระพุทธศาสนา
ในโอกาสต่อไป
ประโยชน์ ของวิชากระทู้ธรรม
๑.เป็ นการแสดงออกซึ่งทัศนคติของตนเอง
๒.เป็ นการแสดงออกซึ่งความรู ้เกี่ยวกับธรรมะ
๓.เป็ นการแสดงออกซึ่งวาทะและสานวนของผูท้ ี่ได้รับการศึกษา
๔.เป็ นการถ่ายทอดวิชาการไปสู่ อีกคนหนึ่งให้รู้และเข้าใจความ
๕.เป็ นการพัฒนาด้านความรู ้และปัญญาของตนให้กา้ วหน้าอยูเ่ สมอ
๖.เป็ นการสร้างบุคลากรในด้านศาสนาขั้นพื้นฐาน ซึ่งกลายมาเป็ นผูเ้ ผยแผ่ศาสนา
ต่อไป

ประเภทของกระทู้ธรรม
กระทูธ้ รรมของศึกษาชั้นตรี -โท-เอก นั้นแบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท คือ
๑.พุทธภาษิต เป็ นดารัสของพระพุทธเจ้าโดยตรง
๒.สาวกภาษิต เป็ นคาพูดของพระสาวก มี ๒ ประเภท คือ เถรคาถา (พระภิกษุ)
และเถรี คาถา (พระภิกษุณี)
๓.เทวตาภาษิต เป็ นคาพูดของเทวดา
๔.อิสีภาษิต เป็ นคาพูดของพวกฤาษี
ภาษิตทั้ง ๔ ประเภทนี้รวมเป็ นคากลาง ๆ ว่า “ธรรมภาษิต” คือเป็ นคาพูดที่
ประกอบด้วยธรรมะนัน่ เอง

กระทู้ธรรม ๒ ประเภท
๑.กระทู้ธรรมที่เป็ นบุคลาธิษฐาน หมายถึง กระทูธ้ รรมที่อา้ งบุคคลเป็ นที่ต้ งั หรื อ
ยกเอาเรื่ องราวที่เกี่ยวกับบุคคลขึ้นมากล่าวเพื่อให้เข้าใจในธรรมะนั้น เช่น กัมมุนา วัตตะ
ตี โลโก สัตว์โลกย่อมเป็ นไปตามกรรม เป็ นต้น
๒.กระทู้ธรรมทีเ่ ป็ นธรรมาธิษฐาน หมายถึง กระทูธ้ รรมที่อา้ งธรรมะโดยตรง
เป็ นที่ต้ งั ไม่อา้ งบุคคลคือยกเอาธรรมล้วน ๆ ขึ้นกล่าว เช่น ปะมาโท มัจจุโน ปะทัง ความ
ประมาทเป็ นหนทางแห่งความตายหรื อ ทุกโข ปาปั สสะ อุจจะโย การสัง่ สมบาป เป็ น
เหตุนาความทุกข์มาให้

โครงสร้ างของกระทู้ธรรม
๑.กระทู้ต้งั คือ กระทูธ้ รรมที่เป็ นปัญหาที่ยกขึ้นมาก่อน สาหรับให้แต่งแก้ เช่น
สัพพะทานัง ธัมมะทานัง ชินาติ การให้ธรรมะย่อมชนะการให้ท้ งั ปวง
๒.คานา คือ คาขึ้นต้นหรื อคาชี้แจงก่อนจะแต่งต่อไป กล่าวคือ เมื่อยกคาถาบทตั้ง
ไว้แล้ว เวลาจะแต่งต้องขึ้นอารัมภบทก่อนว่า “บัดนี้จกั ได้บรรยายขยายความตามธรรม
ภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็ นแนวทางแห่งการศึกษาและประพฤติปฏิบตั ิของ
สาธุชนผูใ้ คร่ ในธรรมสื บไป”
๓.เนือ้ เรื่อง ต้องมีเนื้อหาสาระสาคัญ ลาดับเนื้อหาสาระให้ต่อเนื่องกันเป็ นเหตุ
เป็ นผล เมื่ออธิบายเนื้อเรื่ องมาพอสมควรก็นาเอาข้อธรรม (กระทูธ้ รรม) มาอ้างรับรองไว้
เป็ นหลักฐาน
๔.กระทู้รับ หมายถึง การยกเอาธรรมภาษิตขึ้นมารับรองให้สมเหตุสมผลกับ
กระทูต้ ้ งั เพราะการแต่งเรี ยงความนั้นต้องมีกระทูร้ ับอ้างให้สมจริ งกับเนื้อความที่ได้แต่ง
ไป มิใช่เขียนไปแบบลอย ๆ
๕.บทสรุป หมายถึง รวบรวมใจความสาคัญของเรื่ องที่ได้อธิบายมาแต่ตน้ แล้ว
กล่าวสรุ ปลงสั้น ๆ หรื อย่อ ๆ ให้ได้ความหมายที่ครอบคุลมถึงเนื้อหาที่กล่าวมาทั้งหมด

แนวทางการบรรยายของเรียงความกระทู้โดยปกติมี ๔ โวหาร
๑.พรรณาโวหาร โวหารบรรยายให้เกิดความเพลิดเพลิน
๒.บรรยายโวหาร อธิบายแจกแจงกระทูธ้ รรมชี้เหตุผลให้เกิดวิริยะอุตสาหะใน
การนาไปปฏิบตั ิ
๓.เทศนาโวหาร ชี้แจงแสดงแนะนาให้เห็นผลดีผลเสี ย และสอนให้ละการทา
ความชัว่ ทาแต่ความดี
๔.สาธกโวหาร การยกเรื่ องราวต่าง ๆ มาเป็ นข้อเปรี ยบเทียบ อุปมาอุปมัยโดยมี
หลักว่า
ก.ไม่ยกเรื่ องของคนอื่นที่มีชีวติ อยูใ่ นปัจจุบนั
ข.ไม่ยกเรื่ องของตนเองมาเป็ นข้อเปรี ยบเทียบ
หลักการแต่ งกระทู้ ๓ ประการ
๑.การตีความหมายกระทู้ต้งั ว่าหมายถึงอะไร กว้างแคบแค่ไหน ในกระทูน้ ้ นั มี
ความหมายที่ตอ้ งอธิบายกี่อย่าง เช่น อัตตา หะเว ชิตงั เสยโย ชนะตนนั้นแล ประเสริ ฐ
ในกระทูน้ ้ ีตอ้ งมีความหมายดังนี้
ก.คาว่า “ตน” คืออะไร ตนในที่น้ ีได้แก่อตั ภาพร่ างกายที่สมมติกนั ว่าเป็ นคน
ได้แก่ กายกับจิต
ข.คาว่า “ชนะตน” ได้แก่อะไร คือชนะใจตนเองไม่ให้ใจตกอยูก่ บั อานาจกิเลส
หรื ออารมณ์ฝ่ายต่าที่มาชักนาหรื อครอบคลุมจิตใจของตนเองให้ได้นนั่ เอง ถ้าใครชนะ
จิตใจของตนเองได้กช็ ื่อว่าชนะตน
ค.คาว่า “ประเสริ ฐ” แปลว่า ดีกว่า เลิศกว่า เมื่อคนเราเอาชนะจิตใจของตนเองได้
ชื่อว่าได้รับความชนะที่ประเสริ ฐกว่าการชนะสงคราม หรื อศัตรู ภายนอก
๒.การขยายความให้ ชัดเจน หมายถึง การขยายความให้ชดั เจนและแจ่มแจ้ง
ออกไป เช่น ความชนะใจตนเองคืออะไรก็ขยายให้แจ่มแจ้งออกไปว่า ไม่ให้จิตใจของ
ตนเองตกอยูภ่ ายใต้อานาจของกิเลส คือความโลภ ความโกรธและความหลง ซึ่งจะเป็ น
สิ่ งสนับสนุนให้จิตใจตนคิดไปในทางชัว่ ทางบาป ทางทุจริ ต และที่วา่ ประเสริ ฐนั้น ก็คือ
การชนะจิตใจตนเองประเสริ ฐกว่าอย่างอื่น เพราะการชนะคนอื่นแม้ ๑๐๐ คน ก็ไม่
ประเสริ ฐเท่ากับการชนะตนเพียงครั้งเดียว
๓.ตั้งเกณฑ์ อธิบาย หมายถึง การอธิบายจะต้องมีหลักเกณฑ์อธิ บายถึงผลดีผลเสี ย
ซึ่งจะเป็ นเครื่ องชี้ชดั ลงไปให้เห็นว่า การชนะภายนอก เช่น ชนะคนตั้ง ๑๐๐ คน นั้นเป็ น
ของไม่แน่นอน ภายหลังอาจจะกลับเป็ นคนแพ้ได้ ส่ วนการชนะตนเองนั้นเป็ นการชนะ
โดยเด็ดขาด ชนะแล้วไม่กลับแพ้อีก

การแต่ งกระทู้ธรรม มี ๒ แบบ คือ


๑.การแต่ งแบบตีวง คือ การพรรณนาความไปก่อนแล้วจึงหวนเข้าเนื้อหาของ
กระทูธ้ รรมนั้น ๆ กล่าวคือ การแต่งกระทูแ้ บบอธิบาย เริ่ มต้นจากจุดอื่นซึ่ งห่างไกลให้มี
ความสัมพันธ์เนื่องกันเข้าไปเป็ นขั้นเป็ นตอนก่อนหลังตามลาดับจนกลมกลืนกับกระทู ้
ตั้งแล้วจึงอธิบายธรรมหรื อกระทูน้ ้ นั ยกเหตุอุปมาสาธกและเชื่อม กระทูอ้ ื่นมารับให้สม
กับข้อความอธิบายนั้น มากหรื อน้อยตามกาหนดของสนามหลวงที่ได้บงั คับไว้ในชั้น
นั้นๆ (ธรรมศึกษา ตรี ,โท, เอก) แล้วสรุ ปความ
๒.การแต่ งแบบตั้งวง คือ การอธิบายความหมายของธรรมะก่อนแล้วจึงขยาย
ความออกไป กล่าวคือ การอธิบายตรงจุดธรรมะที่เป็ นกระทูต้ ้ งั ไม่ตอ้ งมีลีลาหรื อว่าร่ าย
ราให้ยดื ยาวพอเข้าถึงจุดก็อธิบายต่อไปเหมือนกับแบบตีวงนั้นเอง ผิดกันบ้างก็เพราะ
แบบตีวงต้องเริ่ มจากจุดอื่นเข้ามาเท่านั้น

การใช้ ภาษา
ในการเขียนภาษาเรี ยงความ ผูเ้ ขียนจะต้องพิถีพิถนั การใช้ภาษาให้มาก ภาษาที่จะ
ใช้ตอ้ งเป็ นภาษาเขียนเท่านั้นไม่เขียนด้วยภาษาพูด ซึ่งพอสรุ ปเพื่อจาง่าย ๆ คือ
๑.ต้องใช้ภาษาเขียนที่ถูกต้อง
๒.ไม่ใช้ภาษาตลาด ภาษาแสลง ภาษาคาผวน
๓.ไม่ใช้ภาษาพื้นเมือง หรื อภาษาถิ่น
๔.ไม่ใช้ภาษาต่างประเทศปนภาษาไทย

ตัวอย่ างของคาอารัมภบทในการแต่ งกระทู้


- บัดนี้จกั ได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตที่ได้ลิขิตไว้ ณ เบื้องต้น เพื่อเป็ น
แนวทางแห่งการประพฤติปฏิบตั ิแห่งสาธุชนผูใ้ คร่ ในธรรมสื บต่อไป
- บัดนี้จกั อธิบายขยายเนื้อความแห่งกระทูธ้ รรมที่ได้ต้ งั เป็ นอุทเทสไว้เพื่อเป็ น
แนวทางแห่งการศึกษาและปฏิบตั ิของท่านพุทธมามกะ ผูฝ้ ักใฝ่ ในธุระทั้ง ๒ ประการใน
ศาสนา คือ คันถธุระและวิปัสสนาธุระ อันเป็ นกิจที่จะต้องกระทาในพระพุทธศาสนา
เพื่อมุ่งประกอบตนและผูอ้ ื่นให้ได้ประสบสิ่ งที่ตนปรารถนาเป็ นลาดับต่อไป

ตัวอย่ างของคาพูดก่อนกล่าวอ้างสุ ภาษิตอืน่ มาเชื่อม


๑.สมด้วยภาษิตที่มาใน.............ความว่า
๒.สมด้วยความแห่งคาถาประพันธ์พุทธภาษิตใน.......................ความว่า
ตัวอย่ างของคาขึน้ ต้ นตอนสรุป
สรุ ปความว่า......../ รวมความว่า...................../ ประมวลความว่า....................../

พุทธศาสนสุ ภาษิต
อัตตวรรค คือ หมวดตน
๑.อตฺ ตทตฺ ถ ปรตฺ เถน พหุนาปิ น หาปเย
อตฺ ตทตฺ ถมภิญฺ าย สทตฺ ถปสุ โต สิ ยา.
บุคคลไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผอู ้ ื่นแม้มาก รู ้จกั ประโยชน์ของตน
แล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ของตน.
(ขุททกนิกาย
ธรรมบท)
๒.อตฺ ตานญฺ เจ ตถา กยิรา ยถญฺ มนุสาสติ
สุ ทนฺ โต วต ทเมถ อตฺ ตา หิ กิร ทุทฺทโม.
ถ้าสอนผูอ้ ื่นฉันใด พึงทาตนฉันนั้น ผูฝ้ ึ กตนดีแล้ว ควรฝึ กผูอ้ ื่น ได้ยนิ ว่าตนแลฝึ กยาก.
(ขุททกนิกาย
ธรรมบท)
๓.อตฺ ตานเมว ป ม ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺ มนุสาเสยฺย น กิลิสฺเสยฺย ปณฺ ฑิโต.
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน สอนผูอ้ ื่นภายหลังจึงไม่มวั หมอง.
(ขุททกนิกาย
ธรรมบท)

กัมมวรรค คือ หมวดกรรม


๔.อติสีต อติอุณฺห อติสายมิท อหุ
อิติ วิสฺสฏฺ กมฺ มนฺ เต อตฺ ถา อจฺเจนฺ ติ มาณเว.
ประโยชน์ท้ งั หลายย่อมล่วงเลยคนผูท้ อดทิ้งการงาน ด้วยอ้างว่าหนาวนัก ร้อนนัก เย็นเสี ย
แล้ว.
(ทีฆนิกาย
ธรรมบท)
๕.อถ ปาปานิ กมฺ มานิ กร พาโล น พุชฺฌติ
เสหิ กมฺ เมหิ ทุมฺเมโธ อคฺ คิทฑฺโฒว ตปฺปติ.
เมื่อคนโง่มีปัญญาทราม ทากรรมชัว่ อยูก่ ไ็ ม่รู้สึก เขาเดือดร้อนเพราะกรรมของตน
เหมือนถูกไฟไหม้.
(ขุททกนิกาย
ธรรมบท)

๖.ยาทิส วปเต พีช ตาทิส ลภเต ผล


กลฺ ยาณการี กลฺ ยาณ ปาปการี จ ปาปก.
บุคคลหว่านพืชเช่นใด ย่อมได้ผลเช่นนั้น ผูท้ ากรรมดี ย่อมได้ผลดี ผูท้ ากรรมชัว่ ย่อม
ได้ผลชัว่ .
(สังยุตตนิกาย
สคาถวรรค)
๗.โย ปุพฺเพ กตกลฺ ยาโณ กตตฺ โถ นาวพุชฺฌติ
อตฺ ถา ตสฺ ส ปลุชฺชนฺ ติ เย โหนฺ ติ อภิปตฺ ถิตา.
ผูใ้ ด อันผูอ้ ื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน แต่ไม่รู้สึก (คุณของเขา), ประโยชน์
ที่ผนู ้ ้ นั ปรารถนาย่อมฉิบหาย.
(ขุททกนิกาย ชาดก สัต
ตกนิบาต)
๘.โย ปุพฺเพ กตกลฺ ยาโณ กตตฺ โถ มนุพุชฺฌติ
อตฺ ถา ตสฺ ส ปวฑฺฒนฺ ติ เย โหนฺ ติ อภิปตฺ ถิตา.
ผูใ้ ด อันผูอ้ ื่นทาความดี ทาประโยชน์ให้ในกาลก่อน ย่อมสานึก (คุณของเขา) ได้
ประโยชน์ที่ผนู ้ ้ นั ปรารถนาย่อมเจริ ญ.
(ขุททกนิกาย ชาดก สัต
ตกนิบาต)
๙.โย ปุพฺเพ กรณี ยานิ ปจฺฉา โส กาตุมิจฺฉติ
วรุ ณกฏฺ ภญฺ โชว ส ปจฺฉา อนุตปฺปติ.
ผูใ้ ด ปรารถนาทากิจที่ควรทาก่อน ในภายหลัง ผูน้ ้ นั ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง ดุจมาณพ
(ผูป้ ระมาทแล้วรี บ) หักไม้ก่มุ ฉะนั้น.
(ขุททกนิกาย ชาดก เอก
นิบาต)
๑๐.สเจ ปุพฺเพกตเหตุ สุ ขทุกฺข นิคจฺฉติ
โปราณก กต ปาป ตเมโส มุญฺจเต อิณ.
ถ้าประสพสุ ขทุกข์ เพราะบุญบาปที่ทาไว้ก่อนเป็ นเหตุ ชื่อว่าเปลื้องบาปเก่าที่ทาไว้ ดุจ
เปลื้องหนี้ฉะนั้น.
(ขุททกนิกาย ชาดก ปั ญญาส
นิบาต)

๑๑.สุ ขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺ เฑน วิหึสติ


อตฺ ตโน สุ ขเมสาโน เปจฺจ โส น ลภเต สุ ข.
สัตว์ท้ งั หลายย่อมต้องการความสุ ข ผูใ้ ดแสวงหาสุ ขเพื่อตน เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา ผู ้
นั้นละไปแล้ว ย่อมไม่ได้สุข.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)
๑๒.สุ ขกามานิ ภูตานิ โย ทณฺ เฑน น หึสติ
อตฺ ตโน สุ ขเมสาโน เปจฺจ โส ลภเต สุ ข.
สัตว์ท้ งั หลายย่อมต้องการความสุ ข ผูใ้ ดแสวงหาสุ ขเพื่อตน ไม่เบียดเบียนเขาด้วยอาชญา
ผูน้ ้ นั ละไปแล้ว ย่อมได้สุข.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)
ขันติวรรค คือ หมวดอดทน
๑๓.อตฺ ตโนปิ ปเรสญฺ จ อตฺ ถาวโห ว ขนฺ ติโก
สคฺ คโมกฺขคม มคฺ ค อารุ ฬฺโห โหติ ขนฺ ติโก.
ผูม้ ีขนั ติ ชื่อว่านาประโยชน์มาให้ท้ งั แก่ตนทั้งแก่ผอู ้ ื่น, ผูม้ ีขนั ติ ชื่อว่าเป็ นผูข้ ้ ึนสู่ ทางไป
สวรรค์และนิพพาน.
(สวดมนต์
ฉบับหลวง)
๑๔.เกวลานปิ ปาปาน ขนฺ ติ มูล นิกนฺ ตติ
ครหกลหาทีน มูล ขนฺ ติ ขนฺ ติโก.
ขันติ ย่อมตัดรากแห่งบาปทั้งสิ้ น, ผูม้ ีขนั ติชื่อว่าย่อมขุดรากแห่งความติเตียนและการ
ทะเลาะกันเป็ นต้นได้.
(สวดมนต์
ฉบับหลวง)
๑๕.ขนฺ ติโก เมตฺ ตวา ลาภี ยสสฺ สี สุ ขสี ลวา
ปิ โย เทวมนุสฺสาน มนาโป โหติ ขนฺ ติโก.
ผูม้ ีขนั ตินบั ว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ ผูม้ ีขนั ติเป็ นที่รักที่ชอบใจของเทวดา
และมนุษย์ท้ งั หลาย.
(สวดมนต์
ฉบับหลวง)
๑๖.สตฺ ถุโน วจโนวาท กโรติเยว ขนฺ ติโก
ปรมาย จ ปูชาย ชิน ปูเชติ ขนฺ ติโก.
ผูม้ ีขนั ติ ชื่อว่าทาตามคาสอนของพระศาสดา และผูม้ ีขนั ติชื่อว่าบูชาด้วยพระชินเจ้าบูชา
อันยิง่ .
(สวดมนต์
ฉบับหลวง)
๑๗.สี ลสมาธิคุณาน ขนฺ ติ ปธานการณ
สพฺเพปิ กุสลา ธมฺ มา ขนฺ ตฺยาเยว วฑฺฒนฺ ติ เต.
ขันติเป็ นประธาน เป็ นเหตุ แห่งคุณคือศีลและสมาธิ กุศลธรรมทั้งปวงย่อมเจริ ญ เพราะ
ขันติเท่านั้น.
(สวดมนต์
ฉบับหลวง)
ปัญญาวรรค คือ หมวดปัญญา
๑๘.อปฺปสฺ สุตาย ปุริโส พลิวทฺโทว ชีรติ
มสานิ ตสฺ ส วฑฺฒนฺ ติ ปญฺ า ตสฺ ส น วฑฺฒติ.
คนผูส้ ดับน้อยนี้ ย่อมแก่ไป เหมือนวัวแก่ อ้วนแต่เนื้อ แต่ปัญญาไม่เจริ ญ.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)
๑๙.ชีวเตวาปิ สปฺปญฺ โญ อปิ วิตฺตปริ กฺขยา
ปญฺ ญาย จ อลาเภน วิตฺตวาปิ น ชีวติ.
ถึงสิ้ นทรัพย์ ผูม้ ีปัญญาก็เป็ นอยูไ่ ด้ แต่อบั ปั ญญาแม้มีทรัพย์กเ็ ป็ นอยูไ่ ม่ได้.
(ขุททกนิกาย เถรคาถา)
๒๐.ปญฺ ญวา พุทฺธิสมฺ ปนฺ โน วิธานวิธิโกวิโท
กาลญฺ ญู สมยญฺ ญู จ ส ราชวสติ วเส.
ผูม้ ีปัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู ้ ฉลาดในวิธีจดั การงาน รู ้กาลและรู ้สมัย เขาพึงอยูใ่ น
ราชการได้.
(ขุททกนิกาย ชาดก มหานิบาต)
๒๑.ปญฺ า หิ เสฏฺ า กุสลา วทนฺ ติ
นกฺขตฺ ตราชาริ ว ตารกาน
สี ล สิ รี จาปิ สตญฺ จ ธมฺ โม
อนฺ วายิกา ปญฺ วโต ภวนฺ ติ.
คนฉลาดกล่าวว่า ปัญญาประเสริ ฐ เหมือนพระจันทร์ประเสริ ฐกว่าดาวทั้งหลาย แม้ศีลสิ ริ
และธรรมของสัตบุรุษย่อมไปตามผูม้ ีปัญญา.
(ขุททกนิกาย ชาดก จัตตาฬีสนิบาต)

๒๒.มตฺ ตาสุ ขปริ จฺจาคา ปสฺ เส เจ วิปุล สุ ข


จเช มตฺ ตาสุ ข ธีโร สมฺ ปสฺ ส วิปุล สุ ข.
ถ้าพึงเห็นสุ ขอันไพบูลย์ เพราะยอมเสี ยสละสุ ขส่ วนน้อย ผูม้ ีปัญญาเล็งเห็นสุ ขอันไพบูลย์
ก็ควรสละสุ ขส่ วนน้อยเสี ย.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)
๒๓.ยส ลทฺธาน ทุมฺเมโธ อนตฺ ถ จรติ อตฺ ตโน
อตฺ ตโน จ ปเรสญฺ จ หึสาย ปฏิปชฺ ชติ.
คนมีปัญญาทราม ได้ยศแล้วย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบตั ิเพื่อ
เบียดเบียนทั้งตนและผูอ้ ื่น.
(ขุททกนิกาย ชาดก เอก
นิบาต)
๒๔.ยาวเทว อนตฺ ถาย ตฺ ต พาลสฺ ส ชายติ
หนฺ ติ พาลสฺ ส สุ กฺกส มุทฺธ อสฺ ส วิปาตย.
ความรู ้เกิดแก่คนพาล ก็เพียงเพื่อความฉิบหาย มันทาสมองของเขาให้เขว ย่อมฆ่าส่ วนที่
ขาวของคนพาลเสี ย.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)
๒๕.โย จ วสฺ สสต ชีเว ทุปฺปญฺ โ อสมาหิโต
เอกาห ชีวติ เสยฺโย ปญฺ วนฺ ตสฺ ส ฌายิโน.
ผูใ้ ดมีปัญญาทราม มีใจไม่มนั่ คง พึงเป็ นอยูต่ ้ งั ร้อยปี ส่ วนผูม้ ีปัญญาเพ่งพินิจ มีชีวติ อยู่
เพียงวันเดียว ดีกว่า.
(ขุททกนิกาย ธรรมบท)

เสวนาวรรค คือ หมวดคบหา


๒๖.อสนฺ เตนูปเสเวยฺย สนฺ เต เสเวยฺย ปณฺ ฑิโต
อสนฺ โต นิรย เนนฺ ติ สนฺ โต ปาเปนฺ ติ สุ คตึ.
บัณฑิตไม่พึงคบอสัตบุรุษ พึงคบสัตบุรุษ เพราะอสัตบุรุษย่อมนาไปสู่ นรก
สัตบุรุษย่อมให้ถึงสุ คติ
(ขุททกนิกาย ชาดก วิสตินิบาต)
๒๗.ตคร ว ปลาเสน โย นโร อุปนยฺหติ
ปตฺ ตาปิ สุ รภี วายนฺ ติ เอว ธีรูปเสวนา.
คนห่อกฤษณาด้วยใบไม้ แม้ใบไม้กห็ อมไปด้วยฉันใด การคบกับนักปราชญ์กฉ็ นั นั้น
(ขุททกนิกาย ชาดก วีสตินิบาต)
๒๘. น ปาปชนสเสวี อจฺจนฺ ตสุ ขเมธติ
โคธากุล กกณฺ ฏาว กลึ ปาเปติ อตฺ ตน.
ผูค้ บคนชัว่ ย่อมถึงความสุ ขโดยส่ วนเดียวไม่ได้ เขาย่อมยังตนให้ประสบโทษ
เหมือนกิ้งก่าเข้าฝูงเหี้ยฉะนั้น
(ขุททกนิกาย ชาดก เอกนิบาต)
๒๙.ปาปมิตฺเต วิวชฺ เชตฺ วา ภเชยฺยตุ ฺ ตมปุคฺคเล
โอวาเท จสฺ ส ติฏเ ยฺย ปตฺ เถนฺ โต อจล สุ ข.
ผูป้ รารถนาความสุ ขที่มนั่ คง พึงเว้นมิตรชัว่ เสี ย คบแต่บุคคลสู งสุ ด
และพึงตั้งอยูใ่ นโอวาทของท่าน
(ขุททกนิกาย เถรคาถา)
๓๐.ปูติมจฺฉ กุสคฺ เคน โย นโร อุปนยฺหติ
กุสาปิ ปูติ วายนฺ ติ เอว พาลูปเสวนา.
คนห่อปลาเน่าด้วยใบหญ้าคา แม้หญ้าคาก็พลอยเหม็นเน่าไปด้วยฉันใด
การคบกับคนพาลก็ฉนั นั้น
(ขุททกนิกาย ชาดก มหานิบาต)
๓๑.ยาทิส กุรุเต มิตฺต ยาทิสญฺ จูปเสวติ
โสปิ ตาทิสโก โหติ สหวาโส หิ ตาทิโส.
คบคนเช่นใดเป็ นมิตร และสมคบคนเช่นใด เขาก็เป็ นคนเช่นนั้น
เพราะการอยูร่ ่ วมกันย่อมเป็ นเช่นนั้น.
(ขุททกนิกาย ชาดก วิสตินิบาต)
๓๒.สทฺเธน จ เปสเลน จ
ปญฺ วตา พหุสฺสุเตน จ
สขิต หิ กเรยฺย ปณฺ ฑิโต
ภทฺโท สปฺปุริเสหิ สงฺ คโม.
บัณฑิต พึงทาความเป็ นเพื่อนกับคนมีศรัทธา มีศีลเป็ นที่รัก มีปัญญาและเป็ นพหูสูต
เพราะการสมาคมกับคนดี เป็ นความเจริ ญ.
(ขุททกนิกาย เถรคาถา)

You might also like