You are on page 1of 105

ทบทวนนักธรรมเอก

เวอร์ช่ัน ๒๕๖๔
ทบทวนกระทู้ธรรม นักธรรมชั้นเอก

กระทู้ธรรมทีอ่ อกข้อสอบแต่ละปี
ปี พ.ศ. ภาษิต หมวด
2563 ปรสฺส วา อตฺตโน วาปิ เหตุ วาจา
น ภาสติ อลิกํ ภูริปญฺโญ
โส ปูชิโต โหติ สภาย มชฺเฌ
ปจฺฉาปิ โส สุคติคามิ โหติ.
ผูม้ ีภมู ิปัญญา ย่อมไม่พดู พล่อยๆ เพราะเหตุแห่งคนอื่นหรือตนเอง
ผูน้ นั้ ย่อมมีผบู้ ชู าในท่ามกลางชุมชน แม้ภายหลังเขาย่อมไปสู่สคุ ติ.
(มโหสธโพธิสตฺต) ขุ. ชา. วีสติ. ๒๗/๔๒๗.
2562 มูฬฺโห อตฺถํ น ชานาติ มูฬฺโห ธมฺมํ น ปสฺสติ กิเลส
อนฺธตมํ ตทา โหติ ยํ โมโห สหเต นรํ.
ผูห้ ลงย่อมไม่รูอ้ รรถ ผูห้ ลงย่อมไม่เห็นธรรม ความหลง
ครอบงาคนใดเมื่อใด ความมืดมิดย่อมมีเมื่อนัน้ .
( พุทฺธ ) ขุ. อิติ. ๒๕/๒๙๖. ขุ. มหา. ๒๙/๑๘.
2561 อุฏฺาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ ไม่ประมาท
สุสวํ หิ ติ กมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส.
ผูห้ มั่นในการงาน ไม่ประมาท เป็ นผูร้ อบคอบ จัดการงานเรียบร้อย จึงควรอยูใ่ นราชการ.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.

1|P a g e
2560 ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกขฺ ํ เสติ ปราชิโต บุคคล
อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตวฺ า ชยปราชยํ.
ผูช้ นะย่อมก่อเวร ผูแ้ พ้ย่อมนอนเป็ นทุกข์ คนละความชนะ
และความแพ้ได้แล้ว สงบใจได้ ย่อมนอนเป็ นสุข.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๔๒.
2559 อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท ทาน
ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท.
ผูใ้ ห้ขา้ ว ชื่อว่าให้กาลัง ผูใ้ ห้ผา้ ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผูใ้ ห้ยาน-
พาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข ผูใ้ ห้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จกั ษุ.
( พุทฺธ ) ส. ส. ๑๕/๔๔.
2558 อุฏฺฐานวโต สตีมโต สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน บุคคล
สญฺญตสฺส จ ธมฺมชีวิโน อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ.
เกียรติยศย่อมเจริญแก่ผขู้ ยัน มีสติ มีการงานสะอาด ใคร่ครวญแล้วจึงทา สารวมแล้ว เป็ นอยู่โดย
ธรรม และไม่ประมาท.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๑๘.
2557 ขนฺติ ธีรสฺส ลงฺกาโร ขนฺติ ตโป ตปสฺสิโน อดทน
ขนฺติ พลํ ว ยตีนํ ขนฺติ หิตสุขาวหา.
ขันติเป็ นเครื่องประดับของนักปราชญ์ ขันติเป็ นตบะของผูพ้ ากเพียร ขันติเป็ นกาลังของนักพรต ขันติ
นาประโยชน์สขุ มาให้
ส. ม. ๒๒๒.

2|P a g e
2556 อุปนียติ ชีวติ มปฺปมายุํ เบ็ดเตล็ด
ชรูปนีตสฺส น สนฺติ ตาณา
เอตํ ภยํ มรเณ เปกฺขมาโน
โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข.
ชีวิตคืออายุอนั น้อยนี ้ ถูกชรานาเข้าไป เมื่อสัตว์ถกู ชรานาเข้าไปแล้ว ย่อมไม่มีเครื่องต้านทาน
ผูเ้ ล็งเห็นภัยในมรณะนัน้ มุ่งความสงบ พึงละโลกามิสเสีย.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๗.
2555 นิททฺ าสีลี สภาสีลี อนุฏฺฐาตา จ โย นโร เบ็ดเตล็ด
อลโส โกธปญฺญาโณ ตํ ปราภวโต มุข.ํ
คนใดมักหลับ มักคุย และไม่ขยัน เกียจคร้าน มีความมุทะลุ ข้อนัน้ เป็ นเหตุของผูฉ้ ิบหาย.
(พุทฺธ) ขุ. สุ. ๒๕/๓๔๖.
2554 อนฺนโท พลโท โหติ วตฺถโท โหติ วณฺณโท ทาน
ยานโท สุขโท โหติ ทีปโท โหติ จกฺขุโท.
ผูใ้ ห้ขา้ ว ชื่อว่าให้กาลัง ผูใ้ ห้ผา้ ชื่อว่าให้ผิวพรรณ ผูใ้ ห้ยานพาหนะ
ชื่อว่าให้ความสุข ผูใ้ ห้ประทีปโคมไฟ ชื่อว่าให้จกั ษุ.
(พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๔๔.
2553 วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาทญฺจ เขมโต สามัคคี
สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทธฺ านุสาสนี.
ท่านทัง้ หลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็ นภัย และความไม่วิวาทโดย
ความปลอดภัยแล้ว เป็ นผูพ้ ร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด.
นีเ้ ป็ นพระพุทธานุศาสนี.

3|P a g e
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
2552 น ปเรสํ วิโลมานิ น ปเรสํ กตากตํ เบ็ดเตล็ด
อตฺตโน ว อเวกฺเขยฺย กตานิ อกตานิ จ.
ไม่ควรฟั งคาก้าวร้าวของคนอื่น ไม่ควรมองดูการงานของคนอื่นที่เขาทาแล้วและยังไม่ได้ทา ควร
พิจารณาดูแต่การงานของตน ที่ตนทาแล้วและยังไม่ได้ทาเท่านัน้
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๑.
2551 วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาทญฺจ เขมโต สามัคคี
สมคฺคา สขิลา โหถ เอส พุทธฺ านุสาสนี.
ท่านทัง้ หลายเห็นความวิวาทโดยความเป็ นภัย และความไม่ววิ าทโดยความเป็ นธรรมอันเกษม (จาก
ภัย) แล้ว จงเป็ นผูพ้ ร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นีเ้ ป็ นพระพุทธานุสาสนี.
(พุทฺธ) ขุ.จริยา. ๓๓/๕๙๕
2550 โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย ธรรม
สตํ หิ โส ปิ โย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย.
บุคคลควรเตือนกัน ควรแนะนาสั่งสอนกัน และป้องกันกันจากคนไม่ดี แต่เขาย่อมเป็ นที่รกั ของคนดี
ไม่เป็ นที่รกั ของคนไม่ดี.
(พุทธ) ขุ. ธ. ๒๕/๒๕
2549 เย จ สีเลน สมฺปนฺนา ปญฺญายูปสเม รตา บุคคล
อารกา วิรตา ธีรา น โหนฺติ ปรปตฺติยา.
ผูม้ ีปัญญาเหล่าใด ประกอบด้วยศีล ยินดีในความสงบ ด้วยปั ญญา ผูม้ ีปัญญาเหล่านัน้ เว้นไกลจาก
ความชั่วแล้ว ไม่ตอ้ งเชื่อผูอ้ ื่น.

4|P a g e
(โพธิสตฺต) ขุ. ชา. จตุกกฺ . ๒๗/๑๔๓.
2548 ปมาทํ ภยโต ทิสฺวา อปฺปมาทญฺจ เขมโต เบ็ดเตล็ด
ภาเวถฏฺฐงฺคิกํ มคฺคํ เอสา พุทธฺ านุสาสนี.
เห็นความประมาทเป็ นภัย และเห็นความไม่ประมาทเป็ นความปลอดภัยแล้ว พึงเจริญมรรคมีองค์ ๘
นีเ้ ป็ นพุทธานุสาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
2547 วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาทญฺจ เขมโต สามัคคี
สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทธฺ านุสาสนี.
ท่านทัง้ หลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็ นภัย และความไม่วิวาทโดย
ความปลอดภัยแล้ว เป็ นผูพ้ ร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด.
นีเ้ ป็ นพระพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕.
2546 ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกขฺ ํ เสติ ปราชิโต บุคคล
อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตวฺ า ชยปราชยํ.
ผูช้ นะย่อมก่อเวร ผูแ้ พ้ย่อมนอนเป็ นทุกข์ คนละความชนะและความแพ้ได้แล้ว สงบใจได้ ย่อมนอน
เป็ นสุข.
(พุทฺธ) ขุ.ธ. ๒๕/๔๒.
2545 ยมฺหิ สจฺจญฺจ ธมฺโม จ อหึสา สญฺญโม ทโม บุคคล
ส เว วนฺตมโล ธีโร โส เถโรติ ปวุจฺจติ.
ผูใ้ ดมีความสัตย์ มีธรรม มีความไม่เบียดเบียน มีความสารวม และ

5|P a g e
มีความข่มใจ ผูน้ นั้ แล ชื่อว่า ผูม้ ปี ั ญญา หมดมลทิน เขาเรียกท่านว่า เถระ.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๕๐.
2544 อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกขฺ โว ไม่ประมาท
สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ.
ภิกษุทงั้ หลาย พวกเธอจงเป็ นผูไ้ ม่ประมาท มีสติ
มีศีลดีงาม ตัง้ ความดาริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตของตน.
ที. มหา. ๑๐/๑๔๒.
2543 สงฺเกยฺย สงฺกติ พฺพานิ รกฺเขยฺยานาคตํ ภยํ เบ็ดเตล็ด
อนาคตภยา ธีโร อุโภ โลเก อเวกฺขติ.
พึงระแวงภัยที่ควรระแวง พึงระวังภัยที่ยงั ไม่มาถึง ผูฉ้ ลาดย่อมมองดูโลกทัง้ ๒ เพราะกลัวต่ออนาคต.
ขุ. ชา. จตุกกฺ ๒๗/๑๓๖

6|P a g e
แบบฟอร์มการเขียนวิชาเรี ยงความแก้กระทูธ้ รรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
เลขที…
่ ….
ประโยคนักธรรมชัน้ ………
วิชา……………………………….
สอบในสนามหลวง
วันที…
่ ….เดือน…………………..พ.ศ……………

oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
บัดนี้จกั ได้บรรยายขยายความตามธรรมภาษิตทีไ่ ด้ลขิ ติ ไว้ ณ เบือ้ งต้น เพือ่ เป็ นแนวทาง
แห่งการประพฤติปฏิบตั ขิ องสาธุชนผูใ้ คร่ในธรรมสืบไป
อธิบายความว่า (หรือใช้ “อธิบายว่า,ดาเนินความว่า” ก็ได้)...................................................
............................................................................................................................. ........................
....................................................นี้สมด้วยภาษิตทีม่ าใน....................................ความว่า
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
อธิบายความว่า (หรือใช้ “อธิบายว่า,ดาเนินความว่า” ก็ได้)...................................................
................................................................................................................................ .....................
....................................................นี้สมด้วยภาษิตทีม่ าใน....................................ความว่า
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
อธิบายความว่า (หรือใช้ “อธิบายว่า,ดาเนินความว่า” ก็ได้)....................................................
....................................................นี้สมด้วยภาษิตทีม่ าใน....................................ความว่า
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
อธิบายความว่า (หรือใช้ “อธิบายว่า,ดาเนินความว่า” ก็ได้)...........................................................
……………………………………………………………………………………………………………
สรุปความว่า (หรือใช้ “รวมความว่า,ประมวลความว่า” ก็ได้)...................................................
........................................................................................................................................... ...........
สมด้วยภาษิตทีไ่ ด้ลขิ ติ ไว้ ณ เบือ้ งต้นว่า
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
oooooooooooooooooooooooooooooooooooooooo
มีอรรถาธิบายดังได้พรรณามาด้วยประการฉะนี้.
**(ต้องเขียนให้ได้อย่างน้อย ๔ หน้าขึน้ ไป)
** (ต้องมีกระทูม้ ารับ ๓ กระทู)้

ส่วนต่างๆ ของโครงร่างกระทู้ ๑. การเขียนหัวกระดาษ ๒. กระทูต้ งั ้


๓. คานาและเนื้อเรื่องและ ๔. กรทูร้ บั
๕. สรุปความกระทู้ ๖. กระทูต้ งั ้

แนวการให้คะแนน วิชากระทูธ้ รรม นักธรรมและธรรมศึกษาชัน้ เอก


(๑) แต่งได้ตามกฏ ( เขียนให้ได้ความยาว ๔ หน้ากระดาษขึน้ ไป เว้นบรรทัด)
(๒) อ้างกระทู้ได้ตามกฏ (กระทูร้ บั ๓ ข้อ และบอกชือ่ ทีม่ าของกระทูร้ บั ด้วย)
(๓) เชื่อมกระทู้ได้ดี (อธิบายกระทูต้ งั ้ กับกระทูร้ บั ให้มเี นื้อความสัมพันธ์กนั สมกับทีย่ กกระทูร้ บั มาอ้าง)
(๔) อธิ บายความสมกับกระทู้ที่ตงั ้ ไว้ (อธิบายไม่หลุดประเด็นของกระทูต้ งั ้ )
(๕) ใช้สานวนสุภาพเรียบร้อย
(๖) สะกดคา/การันต์ ถูกเป็ นส่วนมาก
(๗) สะอาดไม่เปรอะเปื้ อน
ทบทวน ธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั้นเอก
อยู่ในคานาของหนังสือ
(ปี 54) สัทธรรมปฏิรูป คืออะไร? เกิดขึน้ จากอะไร?
ตอบ คือ สัทธรรมชนิดที่ปลอมหรือเทียม ไม่ใช่สทั ธรรมแท้ ฯ เกิดขึน้ จากความเห็นผิดหรือเข้าใจผิดของผูเ้ รียบเรียง เมื่อเรียบเรียงไปแม้ผิดก็
หารูไ้ ม่ ด้วยเข้าใจว่าของตนถูก แล้วได้นามาปนไว้ในสัทธรรมที่แท้ ฯ

สังขาร
(ปี 49) สังขารในไตรลักษณ์กบั ในขันธ์ ๕ ต่างกันอย่างไร?
ตอบ สังขารในไตรลักษณ์ หมายเอารูปธรรมและนามธรรมทัง้ หมดที่ปัจจัยปรุงแต่งขึน้
ส่วนสังขารในขันธ์ ๕ หมายเอาเจตสิกธรรมที่ปรุงแต่งจิตให้มีอาการต่างๆ เว้นเวทนาและสัญญา ฯ

อนิจจตา ทุกขตา อนัตตตา


(ปี 45) อนิจจตา ทุกขตา อนัตตตา มีอะไรปิ ดบังไว้จึงไม่ปรากฏ? อนิจจตา กาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยอาการอย่างไรบ้าง?
ตอบ อนิจจตา ความที่สงั ขารทัง้ หลายไม่เที่ยง ถูกสันตติปิดบังไว้จงึ ไม่ปรากฏ
ทุกขตา ความที่สงั ขารทัง้ หลายเป็ นทุกข์ ถูกอิรยิ าบถปิ ดบังไว้ จึงไม่ปรากฏ
อนัตตตา ความที่ธรรมทัง้ หลายเป็ นอนัตตา ถูกฆนสัญญาปิ ดบังไว้ จึงไม่ปรากฏ ฯ
กาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยอาการ ๓ อย่าง คือ
๑. ในทางง่าย ด้วยความเกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น และความสิน้ ไปในเบือ้ งปลาย
๒. ในทางละเอียดกว่านัน้ ย่อมกาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยความแปรในระหว่างเกิดและดับ
๓. ในทางอันเป็ นอย่างสุขมุ ย่อมกาหนดเห็นความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึ่งๆ คือไม่คงที่อยู่นาน เพียงในระยะกาลนิดเดียวก็แปรแล้ว ฯ

ส่วนปรมัตถปฏิปทา
นิพพิทา ความหน่าย
(ปี 62, 59, 43) นิพพิทาคืออะไร ? ปฏิปทาเครื่องดาเนินให้ถึงนิพพิทานัน้ อย่างไร ?
ตอบ นิพพิทา คือความหน่ายในทุกขขันธ์ ฯ อย่างนีค้ ือ พิจารณาเห็นด้วยปั ญญาว่า สังขารทัง้ หลายทัง้ ปวงไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ธรรมทัง้ หลายทัง้
ปวงเป็ นอนัตตา ย่อมเกิดนิพพิทา เบื่อหน่ายในทุกขขันธ์ ไม่เพลิดเพลิน ไม่ยึดมั่น ไม่หมกมุ่นอยู่ในสังขารอันยั่วยวนเสน่หา ฯ
(ปี 51) นิพพิทา คืออะไร? บุคคลผูไ้ ม่ประสบลาภยศสรรเสริญสุข จึงเบื่อหน่ายระอาอย่างนี ้ จัดเป็ นนิพพิทาได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด? ตอบ คือ
ความหน่ายในเบญจขันธ์หรือในทุกขขันธ์ดว้ ยปั ญญา ฯ จัดเป็ นนิพพิทาไม่ได้ ฯ เพราะความเบื่อหน่ายดังที่กล่าวนัน้ เป็ นความท้อแท้ มิใช่เป็ น
ความหน่ายด้วยปั ญญา ฯ

➢ เอทเทสแห่งนิพพิทา
อุทเทสที่ ๑ เอถ ปสฺสถิม โลก จิตฺต ราชรถูปม
ยตฺถ พลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานต.
สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถ ทีพ ่ วกคนเขลาหมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่.

1|P a g e
(ปี 62, 43) บุคคลเช่นไรชื่อว่าติดอยู่ในโลก ? ผู้ติดอยู่ในโลกจะได้รบั ผลอย่างไร ?
ตอบ บุคคลผูไ้ ร้พิจารณา ไม่หยั่งเห็นโดยถ่องแท้ เพลิดเพลินในสิ่งอันให้โทษ ระเริง จนเกินพอดีในสิง่ อันอาจให้โทษ ติดในสิ่งอันเป็ นอุปการะ
ชื่อว่าติดอยู่ในโลก ฯ ย่อมได้เสวยสุขบ้าง ทุกข์บา้ ง อันสิ่งนัน้ ๆ พึงอานวย แม้สขุ ก็เป็ นเพียงสามิส คือ มีเหยื่อเจือด้วยของล่อใจ เป็ นเหตุแห่ง
ความติดดุจเหยื่อคือมังสะอันเบ็ด เกี่ยวไว้ ฯ [*หมายเหตุ ปกติมกั จะใช้สานวน หมกอยู่ในโลก แต่ขอ้ สอบนีใ้ ช้คาว่า ติดอยู่ในโลก แทน]
(ปี 61) พระบรมศาสดาทรงชักชวนให้มาดูโลกนีโ้ ดยมีพระประสงค์ อย่างไร ?
ตอบ มีพระประสงค์เพื่อให้รูจ้ กั สิง่ ที่เป็ นจริงอันมีอยูใ่ นโลก จักได้ละสิ่งที่เป็ นโทษ และ ไม่ขอ้ งติดอยูใ่ นสิ่งที่เป็ นคุณ ฯ
(ปี 59) อุทเทสว่า "สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี"้ โลกในที่นี ้ หมายถงึ อะไร? คนมีลกั ษณะอย่างไรชื่อว่าหมกอยูใ่ นโลก?
ตอบ หมายถึง โลก โดยตรงได้แก่แผ่นดินเป็ นที่อาศัย โดยอ้อมได้แก่หมู่สตั ว์ผอู้ าศัย ฯ
คนผูไ้ ร้วิจารณญาณไม่หยั่งเห็นโดยถ่องแท้ เพลิดเพลินในสิ่งอันให้โทษ ระเริงจนเกินพอดี ในสิง่ อันอาจให้โทษ ติดในสิ่งอันเป็ นอุปการะจนถอน
ตนไม่ออก คนมีลกั ษณะอย่างนี ้ ย่อมได้รบั สุขบ้างทุกข์บา้ ง แม้สขุ ก็เป็ นเพียงสามิสสุข สุขอันมีเหยื่อล่อใจ เป็ นเหตุให้ตดิ ดุจเหยื่ออันเบ็ดเกี่ยวไว้
ฉะนัน้ ฯ
(ปี 57) พระพุทธดารัสที่ตรัสว่า “สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนีอ้ นั ตระการดุจราชรถ” กับที่ตรัสกะ
โมฆราชว่า “โมฆราช ท่านจงมีสติทกุ เมื่อ เล็งเห็นโลกโดยความเป็ นของสูญ” ทรงมีพระประสงค์ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ พระพุทธดารัสแรก ทรงมีพระประสงค์ จะทรงปลุกใจให้หยั่งเห็นซึง้ ลงไปถึงคุณโทษประโยชน์มใิ ช่ประโยชน์แห่งสิ่งนัน้ ๆ อันคุมเข้า
เป็ นโลก
พระพุทธดารัสหลัง ทรงมีพระประสงค์ให้ถอนอัตตานุทิฏฐิ คือความตามเห็นว่าเป็ นอัตตา ฯ
(ปี 55) พระพุทธดารัสตอนหนึ่งว่า "สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนีอ้ นั ตระการดุจราชรถ" ดังนี ้ โดยมีพระพุทธประสงค์อย่างไร?
ตอบ มีพระพุทธประสงค์เพื่อทรงชักชวนแนะนาให้ดถู ึงโทษประโยชน์มิใช่ประโยชน์ของโลก เช่นเดียวกับดูละคร มิให้หลงชมความสวยงาม
ต่างๆ แต่ให้เพ่งดูคติท่ดี แี ละชั่ว มีให้เมามัวไปตามสิ่งนัน้ ดังตรัสต่อไปอีกว่า เป็ นที่คนเขลาหมกอยู่ แต่ผรู้ ูห้ าข้อติดไม่ ฯ
(ปี 54) บทอุทเทสว่า เอถ ปสฺสถิม โลก ซึ่งแปลว่า สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี ้ พระศาสดาตรัสชวนให้มาดูโลกโดยมีพระประสงค์อย่างไร? ตอบ
ทรงมีพระประสงค์จะทรงปลุกใจพวกเราให้หยั่งเห็นซึง้ ลงไปถึงคุณโทษประโยชน์ มิใช่ประโยชน์แห่งสิ่งนัน้ ๆ อันคุมเข้าเป็ นโลก จะได้ไม่ตื่นเต้น
ไม่ติดในสิ่งนัน้ ๆ รูจ้ กั ละสิ่งที่เป็ นโทษ ไม่ขอ้ งติดอยู่ในสิ่งที่เป็ นคุณ
(ปี 53) อุทเทสว่า “สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี ้ อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่พวกผูร้ ูห้ าข้องอยู่ไม่” จงวิจารณ์วา่ ตอนไหนแสดง
ปรมัตถปฏิปทา ตอนไหนแสดงปรมัตถ์ ตอนไหนแสดงสังสารวัฏฏ์? เพราะเหตุไร?
ตอบ ตอนที่ว่า “สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี ้ อันตระการดุจราชรถ” แสดงปรมัตถปฏิปทา เพราะประสงค์ให้ดเู พื่อนิพพิทาเป็ นต้น
ตอนที่ว่า “แต่พวกผูร้ ูห้ าข้องอยู่ไม่” แสดงปรมัตถ์ เพราะแสดงถึงความรูท้ ่เี ป็ นเหตุให้พน้ จากความข้องอยู่ซง่ึ เป็ นปรมัตถธรรม อันจะพึงได้ดว้ ย
การปฏิบตั ิในปรมัตถปฏิปทาโดยลาดับ
ตอนที่ว่า “ที่พวกคนเขลาหมกอยู่” แสดงสังสารวัฏฏ์ เพราะต้องวนเวียนท่องเที่ยวไปด้วยความเขลา ฯ
(ปี 49) อุทเทสแห่งนิพพิทา ดังต่อไปนี ้ มีความหมายว่าอย่างไร? ก. คนเขลา ข. ผูร้ ู ้ ค. หมกอยู่ ง. หาข้องอยู่ไม่ จ. โลกนี ้
ตอบ ก. คนผูไ้ ร้วิจารณญาณ ข. ผูร้ ูโ้ ลกตามความเป็ นจริง ค. เพลิดเพลินหลงติดอยู่ในสิ่งอันมีโทษ ง. ไม่พวั พันในสิ่งล่อใจ
จ. โดยตรง ได้แก่แผ่นดินเป็ นที่อยู่อาศัย โดยอ้อม ได้แก่หมู่สตั ว์ผอู้ าศัย ฯ
(ปี 43) คาว่าโลก ในพระบาลีวา่ “เอถ ปสฺสถิม โลก ฯปฯ” หมายถึงอะไร? พระบรมศาสดาทรงชักชวนให้มาดูโลกนีโ้ ดยมีพระประสงค์อย่างไร?
ตอบ คาว่า โลก โดยตรงหมายถึงแผ่นดินซึง่ เป็ นที่อยู่อาศัย โดยอ้อมหมายถึง หมู่สตั ว์ผอู้ ยู่อาศัย ฯ

2|P a g e
ทรงมีพระประสงค์ให้พิจารณาดูให้รูจ้ กั ของจริง เพราะในโลกที่กล่าวนีย้ ่อมมีพร้อมมูลบริบรู ณ์ดว้ ยสิ่งที่มีคณ
ุ และโทษ พระบรมศาสดาทรง
ชักชวนให้มาดูโลก เพื่อให้รูจ้ กั สิง่ ที่เป็ นจริง จักได้ละสิ่งที่เป็ นโทษไม่ขอ้ งติดอยูใ่ นสิ่งที่เป็ นคุณ ฯ
(ปี 43) บุคคลเช่นไรชื่อว่าหมกอยู่ในโลก? ผูห้ มกอยู่ในโลกได้รบั ผลอย่างไร?
ตอบ บุคคลผูไ้ ร้พิจารณา ไม่หยั่งเห็นโดยถ่องแท้ ย่อมเพลิดเพลินในสิ่งอัน ให้โทษ ย่อมระเริงจนเกินพอดีในสิ่งอันอาจให้โทษ ย่อมติดในสิ่ง อัน
เป็ นอุปการะ ชื่อว่าหมกอยูใ่ นโลก ฯ ย่อมได้เสวยสุขบ้าง ทุกข์บา้ ง อันสิ่งนัน้ ๆ พึงอานวย แม้สขุ ก็เป็ นเพียง สามิส คือ มีเหยื่อเจือด้วยของล่อ
ใจ เป็ นเหตุแห่งความติด ดุจเหยื่อคือมังสะอันเบ็ดเกี่ยวไว้ ฯ

อุทเทสที่ ๒
เย จิตฺต สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนติ มารพนฺธนา. ผู้ใดจักระวังจิต ผู้นั้นจักพ้นจากบ่วงแห่งมาร
(ปี 63, 61) คาว่า มาร และ บ่วงแห่งมาร หมายถึงอะไร ?
ตอบ คาว่า มาร หมายถึงกิเลสกาม อันทาจิตให้เศร้าหมอง ได้แก่ ตัณหา ราคะ และอรติ เป็ นต้น
คาว่า บ่วงแห่งมาร หมายถึงวัตถุกาม ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ฯ
(ปี 57) การสารวมจิตให้พน้ จากบ่วงแห่งมาร ในหนังสือธรรมวิจารณ์ มีวิธีปฏิบตั ิอย่างไร ?
ตอบ แนะนาวิธีปฏิบตั ิไว้ ๓ ประการคือ
๑. สารวมอินทรียม์ ใิ ห้ความยินดีครอบงา ในเมื่อเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐานอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ คือ อสุภะและกายคตาสติหรืออันยังจิตให้สลด คือมรณัสสติ
๓. เจริญวิปัสสนา คือ พิจารณาสังขารแยกออกเป็ นขันธ์ สันนิษฐานเห็นเป็ นสภาพ ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ
(ปี 53) ข้อว่า ผูใ้ ดจักระวังจิต ผูน้ นั้ จักพ้นจากบ่วงแห่งมาร ดังนี ้ คาว่า มาร และ บ่วงแห่งมาร ได้แก่อะไร? เพราะเหตุไรจึงชื่ออย่างนัน้ ? ตอบ
มาร ได้แก่กเิ ลสกาม คือ เจตสิกอันเศร้าหมอง ชักให้ใคร่ให้รกั ให้อยากได้ ชื่ออย่างนัน้ เพราะเป็ นโทษล้างผลาญคุณความดีและทาให้เสียคน ฯ
บ่วงแห่งมาร ได้แก่วตั ถุกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็ นของน่าชอบใจ ชื่ออย่างนัน้ เพราะเป็ นอารมณ์เครื่องผูกใจให้ตดิ ฯ
(ปี 48) การสารวมจิตให้พน้ จากบ่วงแห่งมาร ในธรรมวิจารณ์ทา่ นแนะนาวิธีปฏิบตั ิไว้อย่างไร? และถ้าจะจัดเข้าในไตรสิกขา จัดได้อย่างไร?
ตอบ แนะนาวิธีปฏิบตั ิไว้ ๓ ประการ คือ
๑. สารวมอินทรียม์ ใิ ห้ความยินดีครอบงา ในเมื่อเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐานอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ คือ อสุภะและกายคตาสติหรืออันยังจิตให้สลด คือมรณัสสติ
๓. เจริญวิปัสสนา คือ พิจารณาสังขารแยกออกเป็ นขันธ์ สันนิษฐานเห็นเป็ นสภาพไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ
จัดเข้าในไตรสิกขาได้ดงั นี ้ ประการที่ ๑ จัดเข้าในสีลสิกขา ประการที่ ๒ จัดเข้าในจิตตสิกขา ประการที่ ๓ จัดเข้าในปั ญญาสิกขา ฯ
(ปี 47) กิเลสกามและวัตถุกาม ได้แก่อะไร? อย่างไหนจัดเป็ นมารและเป็ นบ่วงแห่งมาร? เพราะเหตุไร?
ตอบ กิเลสกาม ได้แก่ เจตสิกอันเศร้าหมอง ชักให้ใคร่ ให้รกั ให้อยากได้ กล่าวคือตัณหา ความทะยานอยาก ราคะ ความกาหนัด อรติ ความ
ขึง้ เคียด เป็ นต้น จัดเป็ นมาร เพราะเป็ นโทษล้างผลาญคุณความดีและทาให้เสียคน ฯ
วัตถุกาม ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็ นของน่าชอบใจ จัดเป็ นบ่วงแห่งมาร เพราะเป็ นอารมณ์ผกู ใจให้ติดแห่งมาร ฯ
(ปี 46) บาลีแสดงปฏิปทาแห่งนิพพิทาว่า เย จิตฺต สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา ผูใ้ ดสารวมจิต ผูน้ นั้ จักพ้นจากบ่วงแห่งมาร คาว่า “
บ่วงแห่งมาร ” ได้แก่อะไร? อาการสารวมจิต คืออย่างไร?
ตอบ ได้แก่วตั ถุกาม คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าใคร่ น่าปรารถนา น่าชอบใจ ฯ
อาการสารวมจิตมี ๓ ประการ คือ
3|P a g e
๑. สารวมอินทรียม์ ใิ ห้ความยินดีครอบงา ในเมื่อเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐานอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันท์ คือ อสุภและกายคตาสติ หรืออันยังจิตให้สลด คือมรณสติ
๓. เจริญวิปัสสนา คือพิจารณาสังขารแยกออกเป็ นขันธ์ สันนิษฐานเห็นเป็ นสภาพไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ
(ปี 44) คาว่า มาร และ บ่วงแห่งมาร หมายถึงอะไร? บุคคลจะพ้นจากบ่วงแห่งมารด้วยวิธีอย่างไรบ้าง?
ตอบ คาว่า มาร หมายถึงกิเลสกาม คือเจตสิกอันเศร้าหมอง ได้แก่ ตัณหา ราคะ และอรติ เป็ นต้น
คาว่า บ่วงแห่งมาร หมายถึงวัตถุกาม ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ฯ
ด้วยวิธี ๓ อย่างคือ ๑. สารวมอินทรีย ์ มิให้ความยินดีครอบงาในเมื่อเห็นรูปเป็ นต้นอันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐาน อันเป็ นปฏิปักษ์แก่กามฉันท์ คือ อสุภะและกายคตาสติหรือมรณัสสติ
๓. เจริญวิปัสสนา คือพิจารณาสังขารแยกออกเป็ นขันธ์ สันนิษฐานเห็นเป็ นสภาพไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ฯ
(ปี 49) อุทเทสว่า “เย จิตตฺ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา” นัน้ การสารวมจิตทาอย่างไร?
ตอบ การสารวมจิตมี ๓ วิธี คือ
๑. สารวมอินทรียม์ ิให้ความยินดีครอบงา ในเมื่อเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐานอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันท์ คือ อสุภะ กายคตาสติ และมรณสติ
๓. เจริญวิปัสสนา พิจารณาสังขารให้เห็นเป็ น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฯ
(ปี 49) อุทเทสว่า “เย จิตตฺ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา” นัน้ การสารวมจิตทาอย่างไร?
ตอบ การสารวมจิตมี ๓ วิธี คือ
๑. สารวมอินทรียม์ ิให้ความยินดีครอบงา ในเมื่อเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้องโผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา
๒. มนสิการกัมมัฏฐานอันเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันท์ คือ อสุภะ กายคตาสติ และมรณสติ
๓. เจริญวิปัสสนา พิจารณาสังขารให้เห็นเป็ น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ฯ

➢ ปฏิปทาแห่งนิพพิทา
อุทเทส
สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺ จาติ... ... ...
สพฺเพ สงฺขารา ทุกฺขาติ... ... ...
สพฺเพ ธมฺมา อนตฺ ตาติ ยทา ปญฺญาย ปสฺสติ
อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสทุ ฺธิยา.
เมือ่ ใด เห็นด้วยปั ญญาว่า สังขารทัง้ หลายทัง้ ปวงไม่เทีย่ ง
...เป็ นทุกข์...ธรรมทัง้ หลายทัง้ ปวง เป็ นอนัตตา เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์ นั่นทางแห่งวิสุทธิ.
(ปี 45) นิพพิทาญาณ หมายถึงอะไร? ปฏิปทาแห่งนิพพิทา เป็ นเช่นไร?
ตอบ หมายถึงปั ญญาของผูบ้ าเพ็ญเพียรจนเกิดความหน่ายในสังขาร ฯ
การพิจารณาเห็นด้วยปั ญญาว่า สังขารทัง้ ปวงไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ธรรมทัง้ ปวงเป็ นอนัตตา แล้วเกิดนิพพิทา เบื่อหน่ายในทุกขขันธ์ ไม่
เพลิดเพลินหมกมุ่นอยูใ่ นสังขารอันยั่วยวนเสน่หา นีเ้ ป็ นปฏิปทาแห่งนิพพิทา ฯ

4|P a g e
อนิจจตา ความไม่เที่ยง จะกาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยวิธี
๑. ย่อมกาหนดรูไ้ ด้ ในทางง่าย ด้วยความเกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น และความสิน้ ในเบือ้ งปลาย
๒. ในทางที่ละเอียดกว่านัน้ ย่อมกาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยความแปรในระหว่างเกิดและดับ
๓. ในอีกทางอันเป็ นอย่างสุขมุ ย่อมกาหนดเห็นความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึ่ง ๆ คือ ไม่คงที่อยู่นาน เพียงในระยะกาลนิดเดียวก็
แปรแล้ว
(ปี 63, 58) อนิจฺจตา ความไม่เที่ยงแห่งสังขาร กาหนดรูใ้ นทางง่ายได้ดว้ ยอาการอย่างไร ?
ตอบ ด้วยความเกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น และความสิน้ ในเบือ้ งปลาย ฯ
(ปี 60) ลักษณะเช่นใดบ้าง เป็ นเครื่องกาหนดให้รูว้ ่าสังขารทัง้ หลายไม่เที่ยง ? จงอธิบาย
ตอบ ๑. กาหนดรูใ้ นทางง่าย ด้วยความเกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น และความสิน้ ในเบือ้ งปลาย
๒. กาหนดรูใ้ นทางละเอียดกว่านัน้ ด้วยความแปรในระหว่างเกิดและดับ
๓. กาหนดรูใ้ นทางสุขมุ ด้วยความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึง่ ๆ ไม่คงที่อยู่นาน เช่น ความรูส้ กึ สุขทุกข์ เป็ นต้น ฯ
(ปี 48) อนิจจตาแห่งสังขารทัง้ หลาย จะกาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยวิธีใดบ้าง?
ตอบ ๑. กาหนดรูใ้ นทางง่าย ด้วยความเกิดขึน้ ในเบือ้ งต้น และความสิน้ ในเบือ้ งปลายได้
๒. กาหนดรูใ้ นทางละเอียดกว่านัน้ ด้วยความแปรในระหว่างเกิดและดับได้
๓. กาหนดรูใ้ นทางสุขมุ ด้วยความแปรแห่งสังขารในชั่วขณะหนึง่ ๆ คือ ไม่คงที่อยู่นานเพียงระยะกาลนิดเดียวก็แปรแล้ว
(ปี 47) ไตรลักษณ์ ที่ว่าเห็นได้ยากนัน้ เพราะอะไรปิ ดบังไว้? ผูพ้ ิจารณาเห็นอนิจจตา ความเป็ นของไม่เที่ยง ย่อมได้รบั อานิสงส์อย่างไร?
ตอบ อนิจจตา มีสนั ตติ ความสืบต่อแห่งนามรูป ปิ ดบังไว้ ทุกขตา มีอิรยิ าบถ ความผลัดเปลีย่ นอิรยิ าบถ ปิ ดบังไว้ อนัตตตา มีฆนสัญญา
ความสาคัญเห็นเป็ นก้อน ปิ ดบังไว้ ฯ ย่อมได้รบั อานิสงส์ คือเพิกถอนสันตติได้ ทาให้เห็นความเกิดขึน้ และความดับไป ความไม่เที่ยงแห่ง
สังขารทัง้ หลายด้วยปั ญญาอันชอบ ย่อมเบื่อหน่ายในสังขารอันเป็ นทุกข์ ดาเนินไปในหนทางแห่งความบริสทุ ธิ์ ฯ

ทุกขตา ความเป็ นทุกข์แห่งสังขาร ประกอบด้วยทุกข์ ๑๐ อย่าง ย่อมกาหนดเห็นด้วยทุกข์อย่างนี้


๑. สภาวทุกข์ หรือทุกข์ประจาสังขาร คือ ชาติ ชรา มรณะ.
๒. ปกิณณกทุกข์ หรือทุกข์จร คือ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส.
๓. นิพทั ธทุกข์ คือ ทุกข์เนืองนิตย์ หรือทุกข์เป็ นเจ้าเรือน ได้แก่ หนาว ร้อน หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปั สสาวะ.ทุกข์หมวดนีไ้ ม่คอ่ ยมี
ใครคานึงถึงนัก เพราะเป็ นของระงับง่าย แต่ถา้ เป็ นรุนแรงก็เหลือทนอยู่.
๔. พยาธิทกุ ข์ หรือทุกขเวทนา มีประเภทต่าง ๆ ตามสมุฏฐาน คืออวัยวะอันเป็ นเจ้าการไม่ทาหน้าที่โดยปกติ. สองหมวดนี ้ แสดงไว้ในคิริ
มานันทสูตร ตอนอาทีนวสัญญา โดยความเป็ นโทษแห่งกาย.
๕. สันตาปทุกข์ ทุกข์คือความร้อนรุม หรือทุกข์ร้อน ได้แก่ ความกระวนกระวายใจเพราะถูกไฟคือกิเลส ราคะ โทสะ โมหะ เผา. ทุกข์หมวด
นีม้ าในอาทิตตปริยายสูตร กล่าวเพรื่อมาถึงปกิณณกทุกข์ดว้ ย แต่ไม่เรียกว่าไฟเหมือนกิเลส ใช้กิรยิ าเพียงว่าเผาเหมือนกัน. โสกะ ปริเทวะ
อุปายาส ดูเป็ นผลสืบมาจากราคะ ในเมื่อไม่ได้ปิยารมณ์สมหวัง หรือในเมื่อได้แล้วมาพรากไปเสียโทมนัส ดูเป็ นผลสืบมาจากโทสะ ทุกข์
จะจัดเป็ นผลสืบมาจากโมหะก็ไม่สนิท เช่นนีก้ ารจัดเป็ นปกิณณกทุกข์เป็ นไฟอีกกองหนึ่ง จึงไม่สนิท น่าจัดเป็ นทุกข์คงเดิม เกิดเพราะถูก
กิเลสเผา ดุจความร้อนแสบอันเกิดเพราะถูกไฟลวก.
๖. วิปากทุกข์ หรือผลกรรม ได้แก่วิปฏิสารคือความร้อนใจ การเสวยกรรมกรณ์ คือถูกลงอาชญา ความฉิบหาย ความตกยาก และความตก
อบาย มาในบาลีมากแห่ง.
5|P a g e
๗. สหคตทุกข์ ทุกข์ไปด้วยกัน หรือทุกข์กากับกัน ได้แก่ทกุ ข์มเี นื่องมาจากวิบลุ ผล ดังแสดงในโลกธรรมสูตร อัฏฐกังคุดรว่า ลาภ ยศ
สรรเสริญ สุข เป็ นทุกข์ละอย่าง ๆ . บางอาจารย์อธิบายว่า เป็ นวิปริณามทุกข์ คือได้ทกุ ข์เมื่อแปรเป็ นอื่นไป. น่าเข้าใจว่า มีลาภคือทรัพย์
ต้องเฝ้าต้องระวังจนไม่เป็ นอันหลับนอนได้โดยปกติ เสียชีวิตในการป้องกันทรัพย์ก็มี มียศคือได้รบั ตัง้ เป็ นใหญ่กว่าคนสามัญเป็ นชัน้ ๆ
ต้องเป็ นอยู่เติบกว่าคนสามัญ จาต้องมีทรัพย์มากเป็ นกาลัง มักหาได้ไม่พอใช้ ต้องมีภาระมาก เวลาไม่เป็ นของตน เป็ นที่เกาะของผูอ้ นื่ จน
นุงนัง ต้องพลอยสุขทุกข์ดว้ ยเขาได้รบั สรรเสริญ เหมือนดื่มเหล้าหวาน ชวนจะเพลินไปว่าตนดี ต้องมีสติระวังมิให้เมากล่าวคือเผลอตัว ดื่ม
เหล้าเสียอีก ผูด้ ื่มยังอาจยัง้ ได้ ส่วนสรรเสริญมาจากผูย้ ่วั ยวนอยู่เสมอ มีสขุ เป็ นทางปรารถนายิ่งขึน้ จึงยังไม่อมิ่ เป็ นอันไม่ได้สขุ จริง วิบลุ
ผลอย่างนี ้ มีทกุ ข์กากับอยู่ดว้ ย แสดงในโลกธรรมสูตรว่าเป็ นทุกข์ก็สม.
๘. อาหารปริเยฏฐิทุกข์ คือทุกข์ในการหากิน ได้แก่อาชีวทุกข์ คือ ทุกข์เนื่องด้วยการเลีย้ งชีวิต. สัตว์ทงั้ หลายย่อมแย่งกันหากินดิรจั ฉานมี
เนือ้ เป็ นภักษา ย่อมผลาญชีวติ ชนิดเล็กกว่าตนเป็ นอาหารย่อมสูก้ นั เองบ้าง เพราะเหตุแห่งอาหาร สัตว์มีหญ้าเป็ นภักษา ออกหากิน ย่อม
เสี่ยงต่ออันตราย ย่อมหวาดเสียวเป็ นนิตย์ ต้องคอยหลีกหนีศตั รู หมู่มนุษย์มีการงานขัดทางแห่งกันและกัน ต่างคิดแข่งขันตัดรอนกัน ทา
ร้ายกัน ผลาญชีวิตกัน เพราะเหตุแห่งอาชีวะก็มีได้เสวยทุกข์อนั เป็ นวิบากเนื่องมาจากอาชีวะก็มีเป็ นอันมาก แม้ผมู้ ีทางหาโดยไม่ตอ้ ง
ประกับผูอ้ ื่น แทบทุกคนยังรูส้ กึ ว่า หาได้ไม่พอเพื่อเป็ นอยู่สะดวก. ทุกข์ชนิดนีแ้ สดงในบาลี โดยเป็ นสังเวควัตถุประการหนึ่ง.
๙. วิวาทมูลกทุกข์ คือทุกข์มีววิ าทเป็ นมูล ได้แก่ความไม่โปร่งใจ ความกลัวแพ้ ความหวั่นหวาด มีเนื่องมาจากทะเลาะกันก็ดี สูค้ ดีกนั ก็ดี
รบกันก็ดี แสดงในบาลีโดยความเป็ นกามาทีนพ.ทุกข์โดยประเภทเหล่านี ้ พอเป็ นเครื่องกาหนดเห็นสังขารว่าเป็ นทุกข์ได้อยู่จงึ ยุติไว้เพียงนี.้
๑๐. ทุกขขันธ์ หรือทุกข์รอบยอด หมายเอาสังขารคือประชุมปั ญจขันธ์เอง แสดงในบาลีธมั มจักกัปปวัตตนสูตรว่า "โดยย่ออุปาทานขันธ์ ๕
เป็ นทุกข์" แสดงในบาลีปฏิจจสมุปบาทว่า "ความเกิดขึน้ แห่งกองทุกข์ทงั้ มวลนั่น ย่อมมีดว้ ยอย่างนี.้

(ปี 62, 54) ทุกข์ประจาสังขารกับทุกข์จร ต่างกันอย่างไร ?


ตอบ ทุกข์ประจาสังขาร เป็ นทุกข์ท่ตี อ้ งมีแก่คนทุกคน ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงพ้น ได้แก่ ความเกิด ความแก่ ความตาย
ส่วนทุกข์จร เป็ นทุกข์ท่เี กิดขึน้ เป็ นครัง้ คราวได้แก่ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส ประจวบด้วยคนหรือสิ่งอันไม่เป็ นที่รกั พลัดพรากจาก
คนหรือสิ่งอันเป็ น ที่รกั ปรารถนาสิ่งใดไม่ได้สมหวัง ฯ
(ปี 57) สภาวทุกข์ สันตาปทุกข์ ได้แก่อะไร ?
ตอบ สภาวทุกข์ ได้แก่ทกุ ข์ประจาสังขาร คือชาติ ชรา มรณะ สันตาปทุกข์ ได้แก่ความกระวนกระวายใจเพราะถูกไฟคือกิเลสเผา ฯ
(ปี 56) นิพทั ธทุกข์ กับ สหคตทุกข์ ต่างกันอย่างไร?
ตอบ นิพทั ธทุกข์ คือทุกข์เนืองนิตย์ หรือทุกข์เป็ นเจ้าเรือน ได้แก่ หนาว ร้อน หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปั สสาวะ
ส่วนสหคตทุกข์ คือทุกข์ไปด้วยกัน หรือทุกข์กากับกัน ได้แก่ทกุ ข์มเี นื่องมาจากวิบลุ ผล ฯ
(ปี 53) ทุกขตา ความเป็ นทุกข์แห่งสังขารนัน้ กาหนดเห็นด้วยทุกข์กี่หมวด? วิปากทุกข์ได้แก่ทกุ ข์เช่นไร?
ตอบ ๑๐ หมวด ฯ ได้แก่วิปฏิสาร คือความร้อนใจ การเสวยกรรมกรณ์คือถูกลงอาชญา ความฉิบหาย ความตกยาก และความตกอบาย ฯ
(ปี 52) ทุกขขันธ์ หรือทุกข์รวบยอด หมายเอาอะไร? มีหลักฐานอ้างอิงในบาลีธมั มจักกัปปวัตตนสูตรว่าอย่างไร?
ตอบ หมายเอา สังขารคือประชุมปั ญจขันธ์ ฯ มีหลักฐานว่า สงฺขติ ฺเตน ปญฺจปุ าทานกฺขนฺธา ทุกฺขา โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็ นทุกข์
(ปี 50) สหคตทุกข์ คือทุกข์เช่นไร? มียศชื่อว่าเป็ นทุกข์นนั้ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ คือ ทุกข์ไปด้วยกัน หรือทุกข์กากับกัน ได้แก่ทกุ ข์มีเนื่องมาจากวิบลุ ผล ฯ
มียศคือได้รบั ตัง้ เป็ นใหญ่กว่าคนสามัญเป็ นชัน้ ๆ ต้องเป็ นอยู่เติบกว่าคนสามัญ จาต้องมีทรัพย์มากเป็ นกาลัง มักหาได้ไม่พอใช้ ต้องมีภาระ
มาก เวลาไม่เป็ นของตน เป็ นที่เกาะของผูอ้ ื่นจนนุงนัง ต้องพลอยสุขทุกข์ดว้ ยเขา ฯ
6|P a g e
(ปี 49) ปกิณกทุกข์ คืออะไร? จะบรรเทาได้ดว้ ยวิธีอย่างไร?
ตอบ คือ ทุกข์จร เช่น ความเศร้าโศกเสียใจ ความรา่ ไรบ่นเพ้อราพัน ความไม่สบายกาย ความไม่สบายใจ ความคับแค้นใจ ความประสบสิ่งที่
ไม่พึงปรารถนา ความพลัดพรากจากของรัก ความผิดหวังเป็ นต้น ฯ
จะบรรเทาได้ดว้ ยการมีสติ ใช้ปัญญาพิจารณา รูจ้ กั ปลงรูจ้ กั ปล่อยวางไม่ยดึ มั่นถือมั่น ฯ
(ปี 49) อาหารปริเยฏฐิ ทกุ ข์ คืออะไร? จะบรรเทาได้ดว้ ยวิธีอย่างไร?
ตอบ คือ ทุกข์ในการหาเลีย้ งชีพ เช่น ต้องแก่งแย่งชิงดีชิงเด่นกัน เมื่อผลประโยชน์ขดั กัน ก็ทะเลาะกัน และเมื่อยิง่ แสวงหามากก็เป็ นเหตุให้เกิด
ทุกข์มาก ฯ จะบรรเทาได้ดว้ ยการขยันประหยัดอดทนและ อดออม เป็ นอยู่ดว้ ยปั จจัยเครื่องเลีย้ งชีพเท่าที่จาเป็ น ตัดสิ่งฟุ้งเฟ้อที่ไม่จาเป็ น
ออกไป ยินดีเท่าที่ตนมีอยู่โดยยึดทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นหลักในการดารงชีวิต ฯ
(ปี 48) สภาวทุกข์และปกิณณกทุกข์ คือทุกข์เช่นไร?
ตอบ สภาวทุกข์คือทุกข์ประจาสังขาร ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ ปกิณณกทุกข์คือทุกข์จร ได้แก่ โสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส อุปายาส
(ปี 47) ความเกิด ความแก่ และความตาย จัดเข้าในทุกข์หมวดไหน? โดยรวบยอด ทุกข์ท่แี สดงในธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ได้แก่ทกุ ข์เช่นไร?
ตอบ จัดเข้าในสภาวทุกข์ คือ ทุกข์ประจาสังขาร ฯ ได้แก่ อุปาทานขันธ์ ๕ ฯ
(ปี 46) นิพทั ธทุกข์ หมายถึงทุกข์อย่างไร? ในทุกข์ ๑๐ อย่าง ความร้อนใจ หรือความถูกลงอาชญา จัดเป็ นทุกข์เช่นไร?
ตอบ หมายถึง ทุกข์เนืองนิตย์ หรือทุกข์เป็ นเจ้าเรือน ได้แก่ หนาว ร้อน หิว ระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปั สสาวะ ฯ จัดเป็ นวิปากทุกข์ ฯ
(ปี 44) ทุกขตา ความเป็ นทุกข์แห่งสังขารนัน้ กาหนดเห็นด้วยทุกข์กี่อย่าง? อะไรบ้าง? ความทุกข์ท่เี กิดจากการต้องดิน้ รนต่อสูใ้ นการทามาหา
กิน จัดเป็ นทุกข์ชนิดไหน?
ตอบ ด้วยทุกข์ ๑๐ อย่างคือ ๑. สภาวทุกข์ ๒. ปกิณกทุกข์ ๓. นิพทั ธทุกข์ ๔. พยาธิทกุ ข์ ๕. สันตาปทุกข์ ๖. วิปากทุกข์
๗. สหคตทุกข์ ๘. อาหารปริเยฏฐิ ทกุ ข์ ๙. วิวาทมูลกทุกข์ ๑๐. ทุกขขันธ์ ฯ จัดเป็ นอาหารปริเยฏฐิ ทกุ ข์ ฯ
(ปี 43) วิปากทุกข์ได้แก่ทกุ ข์อย่างไร? อิฏฐารมณ์ จัดเป็ นทุกข์ดว้ ยหรือไม่? ถ้าจัดได้ จัดเข้าในทุกข์หมวดไหน?
ตอบ ได้แก่ วิปฏิสารคือความร้อนใจ การเสวยกรรมกรณ์คือถูกลงอาชญา ความฉิบหาย ความตกยากและความตกอบายฯ
อิฏฐารมณ์ จัดเป็ นทุกข์ดว้ ยเหมือนกัน จัดเข้าในหมวดสหคตทุกข์ ทุกข์ไปด้วยกัน ฯ

อนตฺตตา ความเป็ นอนัตตาแห่งสังขาร พึงกาหนดรู้ดว้ ยอาการเหล่านี้ คือ.


๑. ด้วยไม่เป็ นอยู่ในอานาจ หรือด้วยฝื นความปรารถนา
๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา
๓. ด้วยความเป็ นสภาพหาเจ้าของมิได้
๔. ด้วยความเป็ นสภาพสูญ คือว่างหรือหายไป
๕. ด้วยความเป็ นสภาวธรรมเป็ นไปตามเหตุปัจจัย
*** การกาหนดรู้ความเป็ นอนัตตาของสังขาร รูจ้ กั พิจารณากาหนดเห็นสังขารกระจายเป็ นส่วนย่อยๆ จากฆนคือก้อนจนเห็นเป็ นความว่าง
ถอนฆนสัญญาความสาคัญหมายว่าเป็ นก้อน อันได้แก่ ความถือเอาโดยนิมิต ว่าเรา ว่าเขา ว่าผูน้ นั้ ว่าผูน้ ี ้

*** ความเห็นอนัตตาพึงปรารถนาโยนิโสมนสิการกากับ จะได้กาหนดรูส้ ัจจะทัง้ ๒ คือ


๑. สมมติสัจจะ จริงโดยสมมติ เช่นสังขารผูใ้ ห้เกิด ชายสมมติวา่ บิดา หญิงสมมติวา่ มารดา เป็ นต้น ย่อมเป็ นจริงโดยสมมติ
เช่นเดียวกับรถและเรือน จะพึงคัดค้านมิได้
7|P a g e
๒. ปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถะ คือ อรรถอันลึก เช่น รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็ นต้น กระจายให้ละเอียดออกไปได้อีก
เพียงใด ยิง่ ลึกดีเพียงนัน้ ย่อมเป็ นจริงโดยปรมัตถะ

(ปี 58) ฆนสัญญา คืออะไร ? กาหนดเห็นสังขารอย่างไร จึงถอนสัญญานัน้ ได้ ?


ตอบ คือความจาหมายว่าเป็ นก้อน ได้แก่ความถือโดยนิมิตว่าเรา ว่าเขา ว่าผูน้ นั้ ว่าผูน้ ี ้ ฯ ด้วยการพิจารณากาหนดเห็นสังขารกระจายเป็ น
ส่วนย่อย ๆ จากฆนะ คือ ก้อน จนเห็นสังขารเป็ นสภาพว่าง ฯ
(ปี 57) พระพุทธดารัสที่ตรัสว่า “สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนีอ้ นั ตระการดุจราชรถ” กับที่ตรัสกะ
โมฆราชว่า “โมฆราช ท่านจงมีสติทกุ เมื่อ เล็งเห็นโลกโดยความเป็ นของสูญ” ทรงมีพระประสงค์ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ พระพุทธดารัสแรก ทรงมีพระประสงค์ จะทรงปลุกใจให้หยั่งเห็นซึง้ ลงไปถึงคุณโทษประโยชน์มใิ ช่ประโยชน์แห่งสิ่งนัน้ ๆ อันคุมเข้า
เป็ นโลก
พระพุทธดารัสหลัง ทรงมีพระประสงค์ให้ถอนอัตตานุทิฏฐิ คือความตามเห็นว่าเป็ นอัตตา ฯ
(ปี 56) ความเป็ นอนัตตาของสังขารพึงกาหนดรูด้ ว้ ยอาการอย่างไรบ้าง?
ตอบ ๑. ด้วยไม่อยูใ่ นอานาจ หรือด้วยฝื นความปรารถนา ๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา ๓. ด้วยความเป็ นสภาพหาเจ้าของมิได้
๔. ด้วยความเป็ นสภาพสูญ คือว่างหรือหายไป ฯ
(ปี 55) การกาหนดรูค้ วามเป็ นอนัตตาแห่งสังขารด้วยความเป็ นสภาพสูญนัน้ คือ รูอ้ ย่างไร?
ตอบ รูจ้ กั พิจารณากาหนดเห็นสังขารกระจายเป็ นส่วนย่อยๆ จากฆนคือก้อนจนเห็นเป็ นความว่าง ถอนฆนสัญญาความสาคัญหมายว่าเป็ น
ก้อน อันได้แก่ ความถือเอาโดยนิมิต ว่าเรา ว่าเขา ว่าผูน้ นั้ ว่าผูน้ ี ้ เสียได้ ฯ
(ปี 52) การพิจารณาเห็นสังขารเป็ นอนัตตาโดยมีโยนิโสมนสิการกากับ จะไม่กลายเป็ นนัตถิกทิฏฐิ เพราะกาหนดรูถ้ งึ ธรรม ๒ ประการ ธรรมทัง้
๒ นีไ้ ด้แก่อะไร? ตอบ ได้แก่ สมมติสจั จะ จริงโดยสมมติ และปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถะ ฯ
(ปี 51) ความเป็ นอนัตตาแห่งสังขาร พึงกาหนดรูด้ ว้ ยอาการอย่างไรบ้าง?
ตอบ ด้วยอาการดังนี ้ คือ ๑. ไม่อยู่ในอานาจ หรือฝื นความปรารถนา ๒. แย้งต่ออัตตา ๓. ความเป็ นสภาพหาเจ้าของมิได้
๔. ความเป็ นสภาพสูญฯ
(ปี 43) สังขาร ในอธิบายแห่งปฏิปทาของนิพพิทานัน้ ได้แก่อะไร? จะพึงกาหนดรูส้ งั ขารนัน้ โดยความเป็ นอนัตตาด้วยอาการอย่างไร?
ตอบ ได้แก่ สภาพอันธรรมดาแต่งขึน้ โดยตรงได้แก่เบญจขันธ์ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันธรรมดาคุมกันเข้าเป็ นกายกับใจ ฯ
ด้วยอาการอย่างนี ้ คือ ๑. ด้วยไม่อยู่ในอานาจ หรือด้วยฝื นความปรารถนา ๒. ด้วยแย้งต่ออัตตา ๓. ด้วยความเป็ นสภาพหาเจ้าของมิได้
๔. ด้วยความเป็ นสภาพสูญ คือว่าง หรือหายไป ๕. ด้วยความเป็ นสภาวธรรมเป็ นไปตามเหตุปัจจัย ฯ

วิราคะ ความสิน้ กาหนัด


➢ อุทเทสแห่งวิราคะ
อุทเทสที่ ๑ นิพฺพินฺท วิรชฺ ชติ. เมื่อหน่าย ย่อมสิน้ กาหนัด.
อุทเทสที่ ๒ วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมาน. วิราคะ เป็ นประเสริฐ แห่งธรรมทัง้ หลาย.
อุทเทสที่ ๓ สุขา วิราคตา โลเก กามาน สมติกกฺ โม. วิราคะ คือความก้าวล่วงเสียด้วยดี ซึ่งกามทัง้ หลาย เป็ นสุขในโลก.

8|P a g e
➢ ไวพจน์แห่งวิราคะ ๘ คาที่ใช้เรียกแทนกัน คือมีความหมายที่ม่งุ ถึงความสิน้ ราคะเหมือนกัน
๑. มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง
๒. ปิ ปาสวินโย ความนาออกเสียซึ่งความกระหาย ความกระหายเกิดเพราะอานาจกามตัณหา ความอยากในกามคุณ ๕ ,
ภวตัณหา ความอยากเป็ นนั่นเป็ นนี่ วิภวตัณหา ความอยากไม่เป็ นนั่นเป็ นนี่
๓. อาลยสมุคฺฆาโต ความถอนขึน้ ด้วยดีซ่งึ ความอาลัย
๔. วฏฺฏูปจฺเฉโท ความเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ
๕. ตณฺหกฺขโย ความสิน้ ตัณหา ได้แก่ ความอยาก มี ๓ ประการ ๑) กามตัณหา ความอยากในกาม ๒) ภวตัณหา ความอยากใน
ภพ ๓) วิภวตัณหา ความอยากในวิภพ
๖. วิราโค ความสิน้ กาหนัด
๗. นิโรโธ ความดับ
๘. นิพฺพาน ธรรมชาติหาเครื่องเสียบแทงมิได้
(ปี 63, 50) ไวพจน์แห่งวิราคะ ได้แก่อะไรบ้าง?
ตอบ ได้แก่ มทนิมฺมทโน แปลว่า ธรรมยังความเมาให้สร่าง
ปิ ปาสวินโย แปลว่า ความนาเสียซึ่งความระหาย
อาลยสมุคฺฆาโต แปลว่า ความถอนขึน้ ด้วยดีซ่งึ อาลัย
วฏฺฏปจฺ
ู เฉโท แปลว่า ความเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ
ตณฺหกฺขโย แปลว่า ความสิน้ แห่งตัณหา
วิราโค แปลว่า ความสิน้ กาหนัด
นิโรโธ แปลว่า ความดับ
นิพฺพาน แปลว่า ธรรมชาติหาเครื่องเสียบแทงมิได้ ฯ
(ปี 62, 56) คาว่า วัฏฏปัู จเฉโท ธรรมอันเข้าไปตัดซึ่งวัฏฏะ วัฏฏะ นัน้ หมายถึงอะไร ? และตัดขาดได้อย่างไร ?
ตอบ หมายถึง ความเวียนเกิดด้วยอานาจ กิเลส กรรม วิบาก ฯ ตัดขาดได้โดยการละกิเลสอันเป็ นเบือ้ งต้นเสีย ฯ
(ปี 61) คาว่า มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง หมายถึงความเมาในอะไร ?
ตอบ หมายถึงความเมาในอารมณ์อนั ยั่วยวนให้เกิดความเมาทุกประการ เช่น ชาติ สกุล อิสริยะ บริวาร ก็ดี ลาภ ยศ สรรเสริ ญ สุข ก็ดี ความ
เยาว์วยั ความไม่มีโรค และชีวิต ก็ดี นับเข้าในอารมณ์ประเภทนี ้ ฯ
(ปี 60) ตัณหา เมื่อเกิดขึน้ ย่อมเกิดที่ไหนและเมื่อดับย่อมดับที่ไหน ? ตัณหานัน้ ย่อมสิน้ ไปเพราะธรรมอะไร ?
ตอบ เมื่อเกิดขึน้ ย่อมเกิดในสิ่งเป็ นที่รกั ที่ยินดีในโลก เมื่อดับย่อมดับ ในสิ่งเป็ นที่รกั ที่ยินดีในโลก ฯ เพราะวิราคะ คือพระนิพพาน ฯ
(ปี 59) วิราคะ ได้แก่อะไร ? คาว่า "วฏฺฏปจฺ
ู เฉโท ธรรมเข้าไปตัดเสียซึ่งวัฏฏะ" มีอธิบายว่าอย่างไร ?
ตอบ ได้แก่ ความสิน้ กาหนัด ฯ อธิบายว่า วัฏฏะ หมายเอาความเวียนว่ายตายเกิดด้วยอานาจกิเลสกรรมและวิบาก วิราคะเข้าไปตัดความ
เวียนว่ายตายเกิดนัน้ จึงเรียกว่า วฏฺฏปจฺ
ู เฉโท ธรรมเข้าไปตัดเสียซึง่ วัฏฏะ ฯ
(ปี 58) ไวพจน์แห่งวิราคะว่า มทนิมฺมทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง ความเมาในที่นี ้ หมายถึงความเมาในอะไร ?
ตอบ หมายถึงความเมาในอารมณ์อนั ยั่วยวนให้เกิดความเมาทุกประการ เช่นความถึงพร้อมแห่งชาติ สกุล อิสริยะ และบริวาร หรือลาภ ยศ
สรรเสริญ สุข หรือความเยาว์วยั ความหาโรคมิได้ และชีวติ ฯ
(ปี 55) ความอยากที่เข้าลักษณะเป็ นตัณหา และไม่เป็ นตัณหานัน้ ได้แก่ความอยากเช่นไร เพราะเหตุไร?
9|P a g e
ตอบ ความอยากที่เข้าลักษณะทาให้เกิดในภพอีก ประกอบด้วยความกาหนัดด้วยอานาจความยินดี เพลิดเพลินในอารมณ์นนั้ ๆ อย่างนี ้
จัดเป็ นตัณหา เพราะเป็ นทุกขสมุทยั เหตุให้ทกุ ข์เกิด
ส่วนความอยากที่มอี ยู่โดยปกติธรรมดาของคนทุกคน แม้กระทั่งพระอริยเจ้า เช่นความอยากข้าว อยากนา้ เป็ นต้น ไม่จดั ว่าเป็ นตัณหา เพราะ
เป็ นความอยากที่เป็ นไปตามธรรมดาของสังขาร ฯ
(ปี 55) วิราคะในพระบาลีว่า “วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมาน วิราคะประเสริฐกว่าธรรมทัง้ หลาย” และในพระบาลีว่า “วิราคา วิมจุ จฺ ติ เพราะสิน้ กาหนัด
ย่อมหลุดพ้น” ต่างกันอย่างไร?
ตอบ วิราคะในพระบาลีแรกเป็ นไวพจน์คือคาแทนชื่อพระนิพพาน วิราคะในพระบาลีหลังเป็ นชื่อของพระอริยมรรค ฯ
(ปี 45) วิราคะเป็ นยอดแห่งธรรมทัง้ ปวง คาว่า "ธรรมทัง้ ปวง" หมายถึงอะไร? นิโรธที่เป็ นไวพจน์แห่ง วิราคะ หมายถึงอะไร?
ตอบ หมายถึง สังขตธรรม คือธรรมอันธรรมดาปรุงแต่ง และอสังขตธรรม คือธรรมอันธรรมดามิได้ปรุงแต่ง ฯ
หมายถึงความดับทุกข์ เนื่องมาจากดับตัณหา ฯ
(ปี 45) ตัณหาคืออะไร? ตัณหานัน้ เมื่อเกิดขึน้ ย่อมเกิดที่ไหนและเมื่อดับย่อมดับที่ไหน?
คาว่า มทนิมมฺ ทโน ธรรมยังความเมาให้สร่าง หมายถึงความเมาในอะไร?
ตอบ คือความอยาก ฯ เมื่อเกิดขึน้ ย่อมเกิดในสิง่ เป็ นที่รกั ที่ยินดีในโลก เมื่อดับย่อมดับในสิ่งเป็ นที่รกั ที่ยินดีในโลก ฯ
หมายถึงความเมาในอารมณ์อนั ยั่วยวนให้เกิดความเมาทุกประการ เช่น สมบัติแห่งชาติ สกุล อิสริยะ บริวาร ก็ดี ลาภ ยศ สรรเสริญ สุข ก็ดี
เยาว์วยั ความหาโรคมิได้ และชีวติ ก็ดี นับเข้าในอารมณ์ประเภทนี ้ ฯ

วิมุตติ ความหลุดพ้น
➢ เอทเทสแห่งวิมตุ ติ
อุทเทสที่ ๑ วิราคา วิมจุ จฺ ติ. เพราะสิน้ กาหนัด ย่อมหลุดพ้น.
อุทเทสที่ ๒ กามาสวาปิ จิตฺต วิมจุ จฺ ิตฺถ ภวาสวาปิ จิตฺต วิมจุ ฺจิตถฺ อวิชชฺ าสวาปิ จิตฺต วิมจุ จฺ ิตฺถ.
จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนือ่ งด้วยกาม จิตหลุดพ้นแล้ว
แม้จากอาสวะเนื่องด้วยภพ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะ เนื่องด้วยอวิชชา.
อุทเทสที่ ๓ วิมตุ ตฺ สสฺมึ วิมตุ ตฺ มิติ ญาณ โหติ. เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมมี

วิมุตติ ๕
๑. ตทังควิมตุ ติ หลุดพ้นด้วยองค์นนั้ ๆ
๒. วิกขัมภนวิมุตติ หลุดพ้นด้วยข่มไว้
๓. สมุจเฉทวิมุตติ หลุดพ้นด้วยตัดขาด (จัดเข้าใน อริยมรรค)
๔. ปฏิปัสสัทธิวิมตุ ติ ความหลุดพ้นด้วยความสงบราบ (จัดเข้าใน อริยผล)
๕. นิสสรณวิมตุ ติ ความหลุดพ้นด้วยออกไปเสีย (จัดเข้าใน นิพพาน)
สาสวะ แปลว่า เป็ นไปกับด้วยอาสวะ, ประกอบด้วยอาสวะ, ยังมีอาสวะ, เป็ นโลกิยะ
อนาสวะ แปลว่า ไม่มีอาสวะ, อันหาอาสวะมิได้
(ปี 62, 46) วิมตุ ติ ๕ อย่างไหนเป็ นโลกิยะ อย่างไหนเป็ นโลกุตตระ ?
ตอบ ตทังควิมตุ ติ วิกขัมภนวิมตุ ติ เป็ นโลกิยะ สมุจเฉทวิมตุ ติ ปฏิปัสสัทธิวิมตุ ติ นิสสรณวิมตุ ติ เป็ นโลกุตตระ ฯ

10 | P a g e
(ปี 61) บาลีอทุ เทสว่า วิมตุ ฺตสฺมึ วิมตุ ตฺ มิติ ญาณ โหติ แปลว่า เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่า หลุดพ้นแล้ว ย่อมมี อะไรหลุดพ้น ? และหลุดพ้นจาก
อะไร ? ตอบ จิตหลุดพ้น ฯ จากอาสวะ ๓ ฯ
(ปี 60, 54) ในวิมตุ ติ ๕ วิมตุ ติใดจัดเป็ น อริยมรรค อริยผล นิพพาน ?
ตอบ สมุจเฉทวิมตุ ติ จัดเป็ น อริยมรรค ปฏิปัสสัทธิวิมตุ ติ จัดเป็ น อริยผล นิสสรณวิมตุ ติ จัดเป็ น นิพพาน ฯ
(ปี 60, 46) พระบาลีวา่ "ปญฺญาย ปริสชุ ฺฌติ บุคคลย่อมหมดจดด้วยปั ญญา" มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มีอธิบายว่า ผูพ้ ิจารณาเห็นด้วยปั ญญาว่า สังขารไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา เกิดความเบื่อหน่ ายแล้ววางเฉยในสังขารนัน้ ไม่ยินดีไม่
ยินร้าย ได้บรรลุอริยมรรคอริยผล ความหมดจดย่อมเกิดด้วยปั ญญาอย่างนี ้ ฯ
(ปี 59) ความหลุดพ้นอย่างไรเป็ นสมุจเฉทวิมตุ ติ? จัดเป็ นโลกิยะหรือโลกุตตระ?
ตอบ ความหลุดพ้นด้วยการตัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่อริยมรรค ฯ จัดเป็ นโลกุตตระ ฯ
(ปี 58) จงสงเคราะห์มรรคมีองค์ ๘ เข้าในวิสทุ ธิ ๗ มาดู ฯ
ตอบ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลวิสทุ ธิ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตวิสทุ ธิ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในทิฏฐิ วิสทุ ธิ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ญาณทัสสนวิสทุ ธิฯ
(ปี 56) ความเชื่อว่ามีพระเจ้าผูส้ ร้าง ทาการอ้อนวอนและบวงสรวงเป็ นอาทิ จัดเข้าในอาสวะข้อไหน? ตอบ จัดเข้าใน อวิชชาสวะ ฯ
(ปี 55) วิราคะในพระบาลีว่า “วิราโค เสฏฺโฐ ธมฺมาน วิราคะประเสริฐกว่าธรรมทัง้ หลาย”
และในพระบาลีวา่ “วิราคา วิมจุ จฺ ติ เพราะสิน้ กาหนัดย่อมหลุดพ้น” ต่างกันอย่างไร?
ตอบ วิราคะในพระบาลีแรกเป็ นไวพจน์คือคาแทนชื่อพระนิพพาน วิราคะในพระบาลีหลังเป็ นชื่อของพระอริยมรรค ฯ
(ปี 53) วิมตุ ติ ความหลุดพ้นนัน้ ตัวหลุดพ้นคืออะไร? หลุดพ้นจากอะไร? ตัวรูว้ ่าหลุดพ้นคืออะไร? จงอ้างหลักฐานประกอบด้วย
ตอบ ตัวหลุดพ้นคือจิต ฯ หลุดพ้นจากอาสวะทัง้ หลาย ตามพระบาลีว่า กามาสวาปิ จิตฺต วิมจุ จฺ ิตถฺ ภวาสวาปิ จิตฺต วิมจุ จฺ ิตฺถ อวิชฺชาสวาปิ
จิตฺต วิมจุ จฺ ิตฺถ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยกาม จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่องด้วยภพ จิตหลุดพ้นแล้ว แม้จากอาสวะเนื่อง
ด้วยอวิชชา ฯ ญาณเป็ นตัวรู ้ ตามพระบาลีวา่ วิมตุ ฺตสฺมึ วิมตุ ฺตมิติ ญาณ โหติ เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่อมมี ฯ
(ปี 51) บาลีอทุ เทสว่า วิมตุ ฺตสฺมึ วิมตุ ตฺ มิติ ญาณ โหติ แปลว่า เมื่อหลุดพ้นแล้ว ญาณว่าหลุดพ้นแล้ว ย่ อมมี ใครเป็ นผูห้ ลุดพ้น? และหลุดพ้น
จากอะไร? ตอบ จิตเป็ นผูห้ ลุดพ้น ฯ พ้นจากอาสวะ ๓ ฯ
(ปี 50) วิมตุ ติ เป็ นโลกิยธรรมหรือโลกุตตรธรรม? เป็ นสาสวะหรืออนาสวะ?
ตอบ ถ้าเพ่งถึงวิมตุ ติท่สี ืบเนื่องมาจากนิพพิทาและวิราคะแล้ว ก็เป็ นโลกุตตระและอนาสวะอย่างเดียว ถ้าเพ่งถึงวิมตุ ติ ๕ วิมตุ ติเป็ นโลกิยะก็
มี เป็ นสาสวะก็มี คือตทังควิมตุ ติและวิกขัมภนวิมตุ ติเป็ นโลกิยะและเป็ นสาสวะ วิมตุ ติอกี ๓ ที่เหลือ เป็ นโลกุตตระและเป็ นอนาสวะ ฯ

วิสุทธิ ความหมดจด
อุทเทสที่ ๑ ปญฺญาย ปริสชุ ฺฌติ. ย่อมหมดจดด้วยปั ญญา.
อุทเทสที่ ๒ เอส มคฺโค วิสทุ ฺธิยา. นั่น [คือนิพพิทา] เป็ นทางแห่งวิสุทธิ.
ลัทธิพราหมณ์ถือว่า บาปที่ทาแล้วอาจลอยเสียด้วยทาพิธี เมื่ออาบน้ํา เช่นเดียวกับชาระมลทินกายด้วยอาบนา้ โดยปกติ และลัทธิ
คริสตังถือว่า อ้อนวอนพระเจ้าเพื่อโปรดยกประทานได้อยู่ เช่นเดียวกับพระเจ้าแผ่นดินโปรดยกโทษพระราชาทานแก่คนผูท้ าผิด ให้พน้ พระราช
อาญา ฝ่ ายพระพุทธศาสนาถือว่า
11 | P a g e
อตฺตนา ว กต ปาป อตฺตนา สงฺกิลิสฺ สติ
อตฺตนา อกต ปาป อตฺตนา ว วิสชุ ฺฌติ
สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺต นาญฺโญ อญฺญ วิโสธเย.
ทาบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทาบาปเอง
ย่อมหมดจดเอง ความหมดจดและความเศร้าหมอง
เป็ นเฉพาะตัว คนอื่นยังคนอืน่ ให้หมดจดหาได้ไม่
โดยนัยนี ้ ถือว่าความบริสทุ ธิ์ ภายในย่อมมีดว้ ยปั ญญา.
อีกบรรยายหนึง่
อุทเทสที่ ๓
มคฺคานฏฺฐงฺคิโก เสฏฺโฐ .................
เอเสว มคฺโค นตฺถญฺโญ ทสฺสนสฺส วิสทุ ฺธิยา.
ทางมีองค์ ๘ เป็ นประเสริฐสุด แห่งทางทัง้ หลาย....ทางนั้นหมด ไม่มีทางอืน่ เพื่อหมดจดแห่งทัสสนะ.
ทางมีองค์ ๘ นัน้ ในนิเทศแห่งทุกนิโรคามนีปฏิปทาอริยสัจแห่งธัมมจักกัปปวัตตนสูตรเป็ นต้น จาแนกออกไปอย่างนี ้ :-
๑. สัมมาทิฏฐิ ความเห็นชอบ ๕. สัมมาอาชีโว เลีย้ งชีวิตชอบ
๒. สัมมาสังกัปโป ความดาริชอบ ๖. สัมมาวายาโม พยายามชอบ
๓. สัมมมาวาจา เจรจาชอบ ๗. สัมมาสติ ระลึกชอบ
๔. สัมมากัมมันโต การงานชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ตัง้ ใจชอบ.

วิสุทธิ ๗ ทางไปสู่พระนิพพาน
๑. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล ๕. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็ นเครื่องเห็นว่าทางหรือมิใช่ทาง
๒. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแห่งจิต ๖. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็ นเครื่องเห็นทางปฏิบตั ิ
๓. ทิฏฐิวิสุทธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ ๗. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณทัสสนะ
๔. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณ เป็ นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย

➢ จัดมรรค ๘ เข้าในวิสุทธิ ๗
มรรค ๘ วิสุทธิ ๗
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สีลวิสทุ ธิ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จิตตวิสทุ ธิ
ทิฏฐิ วิสทุ ธิ
กังขาวิตรณวิสทุ ธิ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ
ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ
ญาณทัสสนวิสทุ ธิ

12 | P a g e
➢ อัคคัปปสาทสูตร กล่าวยกเป็ นยอดแห่งสังขตธรรม ความเป็ นทางประเสริฐเป็ นทางยอด เพราะองค์ ๘ นัน้ แต่ละอย่าง ๆ ก็เป็ น
ธรรมดี ๆ รวมกันเข้าทัง้ ๘ ย่อมเป็ นธรรมดีย่งิ นัก และเป็ นทางเดียวนาไปถึงความดับทุกข์ หรือ ถึงความหมดจดแห่งทัสสนะ แต่
จัดเป็ นพวกสังขตธรรม ด้วยอธิบายอย่างไร ข้าพเจ้าเข้าใจไม่ชดั พอจะยืนยัน ได้แต่คะเนว่าชะรอยจะเพ่งว่าเป็ นธรรมเนื่องด้วย
อุปทานขันธ์ จึงจัดเป็ นสังขตะด้วยกัน ครัน้ เทียบกับวิราคะอันจัดเป็ นอสังขตะเข้า นอกจากหมาเอาอนุปาทาปรินิพพาน ย่อมชักฉงน.
ทางนี่แลนาไปถึงความหมดจดแห่งทัสสนะอย่างไร พึงรูด้ ว้ ยเทียบกับวิสทุ ธิ ๗ อย่างนี ้

(ปี 62, 59, 50) ธรรมอะไรพระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็ นยอดแห่งสังขตธรรม ? เพราะเหตุไร ?


ตอบ อัฏฐังคิกมรรคเป็ นยอดแห่งสังขตธรรม ฯ เพราะองค์ ๘ แต่ละองค์ ๆ ของอัฏฐังคิกมรรค ล้วนแต่เป็ นธรรมที่ดี ยิง่ รวมกันเข้าทัง้ ๘ องค์
ย่อมเป็ นธรรมดียิ่งนัก และเป็ นทางเดียวนาไปถึงความดับทุกข์หรือถึงความหมดจดแห่งทัสสนะ ฯ
(ปี 60, 54) จงจัดมรรค ๘ เข้าในวิสทุ ธิ ๗ มาดู
ตอบ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลวิสทุ ธิ
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตวิสทุ ธิ
สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในทิฏฐิ วิสทุ ธิ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ญาณทัสสนวิสทุ ธิ ฯ
(ปี 57) วิสทุ ธิ ๗ แต่ละอย่างๆ จัดเข้าในไตรสิกขาได้อย่างไร ?
ตอบ สีลวิสทุ ธิ จัดเข้าในสีลสิกขา
จิตตวิสทุ ธิ จัดเข้าในจิตตสิกขา
ทิฏฐิ วิสทุ ธิ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ญาณทัสสนวิสทุ ธิ จัดเข้าในปั ญญาสิกขา ฯ
(ปี 52) ลัทธิบางอย่างมีหลักการว่า ทาบาปแล้วบริสทุ ธิ์หมดจดได้ดว้ ยการอาบนา้ ด้วยการบวงสรวง ด้วยการสวดอ้อนวอน เป็ นต้น ในฝ่ าย
พระพุทธศาสนากล่าวถึงเรื่องนีว้ า่ อย่างไร? จงอ้างหลักฐาน
ตอบ พระพุทธศาสนามีหลักว่า บุคคลทาบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทาบาปเอง ย่อมบริสทุ ธิ์ หมดจดเอง ความหมดจดและความเศร้า
หมองเป็ นของเฉพาะตัว ผูอ้ ื่นทาผูอ้ ื่นให้หมดจดหรือเศร้าหมองไม่ได้ ความบริสทุ ธิ์ภายในย่อมมีดว้ ยปั ญญา ฯ มีพระบาลีแสดงไว้ว่า ปญฺญาย
ปริสชุ ฺฌติ บุคคลย่อมบริสทุ ธิ์ได้ดว้ ยปั ญญา และว่า
อตฺตนา ว กต ปาป อตฺตนา สงฺกิลิสฺ สติ
อตฺตนา อกต ปาป อตฺตนา ว วิสชุ ฺฌติ
สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺต นาญฺโญ อญฺญ วิโสธเย.
ทาบาปเอง ย่อมเศร้าหมองเอง ไม่ทาบาปเอง
ย่อมหมดจดเอง ความหมดจดและความเศร้าหมอง
เป็ นเฉพาะตัว คนอื่นยังคนอื่นให้หมดจดหาได้ไม่ ฯ
(ปี 44) การพิจารณาแลเห็นสังขารโดยไตรลักษณ์ จัดเป็ นวิสทุ ธิอะไร? จงจัดวิสทุ ธิ ๗ ลงในไตรสิกขา?
ตอบ จัดเป็ นทิฏฐิวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งความเห็น
๑. สีลวิสทุ ธิ จัดเป็ นศีล ๒. จิตตวิสทุ ธิ จัดเป็ นสมาธิ
๓. ทิฏฐิ วิสทุ ธิ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสทุ ธิ ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ญาณทัสสนวิสทุ ธิ จัดเป็ นปั ญญา

13 | P a g e
สันติ ความสงบ
➢ อุทเทสแห่งสันติ
อุทเทสที่ ๑ สนฺติ มคฺคเมว พฺรูหย. สูจงพูนทางแห่งความสงบนั้นแล.
อุทเทสที่ ๒ นตฺถิ สนฺติ ปร สุข. สุขอืน่ จากความสงบย่อมไม่มี .
อุทเทสที่ ๓ โลกามิส ปชเห สนฺติ เปกฺโข. ผู้เพ่งความสงบ พึงละอามิสในโลกเสีย.

สันติ เป็ นได้ทงั้ โลกิยะทัง้ โลกุตตระ ดุจเดียวกับวิสทุ ธิ


* ที่เป็ นโลกิยะได้ในบาลีวา่ น หิ รุณฺเณน โสเกน สนฺตึ ปปฺโหติ เจตโส บุคคลย่อมถึงความสงบแห่งจิต ด้วยร้องไห้ ด้วยเศร้าโศกก็หาไม่
* ที่เป็ นโลกุตตระได้ในบาลีว่า โลกามิส ปชเห สนฺตเิ ปกฺโข ผู้เพ่งสันติพึงละโลกามิสเสีย

(ปี 63) สันติ ความสงบ หมายถึงสงบอะไร ? ผูม้ ่งุ สันติสขุ อย่างแท้จริง ท่านสอนให้ละอะไร ?
ตอบ หมายถึง สงบกาย วาจา ใจ ฯ ท่านสอนให้ละโลกามิส คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ ฯ
(ปี 62) พระพุทธพจน์ว่า ผูเ้ พ่งความสงบพึงละอามิสในโลกเสีย คาว่า อามิสในโลก หมายถึงอะไร ? และละอามิสเหล่านัน้ ได้ดว้ ยวิธีใด ? ตอบ
หมายถึงกามคุณ ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าพอใจ ฯ ละได้ดว้ ยการทาใจมิให้ติดในสิ่งเหล่านัน้ ฯ
(ปี 61) โลกามิสคืออะไร ? ที่ได้ช่ืออย่างนัน้ เพราะเหตุไร ?
ตอบ คือกามคุณ ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าชอบใจ ฯ
เพราะเป็ นเครื่องล่อใจให้ติดอยู่ในโลกดุจเหยื่ออันเบ็ดเกี่ยวไว้ฉะนัน้ ฯ
(ปี 60) สันติแปลว่าอะไร ? เป็ นโลกิยะ หรือโลกุตตระ ? ตอบ สันติ แปลว่า ความสงบ ฯ เป็ นได้ทงั้ โลกิยะ และโลกุตตระ ฯ
(ปี 59) สันติ ความสงบ เกิดขึน้ ที่ใด? มีปฏิปทาที่จะดาเนินอย่างไร?
ตอบ เกิดขึน้ ที่กาย วาจา ใจฯ มีปฏิปทาที่จะดาเนิน คือปฏิบตั ิกาย วาจา ใจ ให้สงบจากโทษเวรภัย ด้วยการละโลกามิสคือกามคุณ ๕ฯ
(ปี 55) บาลีแสดงปฏิปทาแห่งสันติว่า “โลกามิส ปชเห สนฺติเปกฺโข” แปลว่า ผูเ้ พ่งความสงบพึงละอามิสในโลกเสีย ดังนี ้ คาว่า อามิสในโลก
หมายถึงอะไร? ที่เรียกอย่างนัน้ เพราะเหตุไร?
ตอบ หมายถึงเบญจพิธกามคุณ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ฯ
ที่เรียกอย่างนัน้ เพราะเป็ นเครื่องล่อใจให้ติดในโลก ดุจเหยื่ออันเบ็ดเกี่ยวอยู่ฉะนัน้ ฯ
(ปี 53) สันติ ความสงบ เป็ นโลกิยะหรือโลกุตตระ? จงตอบโดยอ้างพระบาลีมาประกอบ
ตอบ เป็ นได้ทงั้ โลกิยะและโลกุตตระ ฯ
ที่เป็ นโลกิยะได้ในบาลีว่า น หิ รุณฺเณน โสเกน สนฺตึ ปปฺโปติ เจตโส บุคคลย่อมถึงความสงบแห่งจิต ด้วยร้องไห้ ด้วยเศร้าโศกก็หาไม่
ที่เป็ นโลกุตตระได้ในบาลีวา่ โลกามิส ปชเห สนฺติเปกฺโข ผูเ้ พ่งสันติพึงละโลกามิสเสีย ฯ
(ปี 50) บาลีแสดงปฏิปทาแห่งสันติว่า ผูเ้ พ่งความสงบพึงละอามิสในโลกเสีย
ความสงบ ได้แก่อะไร? อามิส ได้แก่อะไร? เพราะเหตุไรจึงเรียกว่าอามิส?
ตอบ ได้แก่ ความเรียบร้อยทางกายทางวาจาและทางใจ ฯ
ได้แก่ ปั ญจพิธกามคุณ คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนาน่าใคร่น่าชอบใจ ฯ เพราะเป็ นเครื่องล่อใจให้ตดิ ในโลก ฯ
(ปี 48) พระพุทธพจน์ว่า “นตฺถิ สนฺติปร สุข” สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี จะไม่เป็ นการปฏิเสธสุขอย่างอื่นไปทัง้ หมดหรือ? จงอธิบาย

14 | P a g e
ตอบ ไม่เป็ นการปฏิเสธเสียทีเดียว เช่นทรงแสดงถึงสุขของคฤหัสถ์ ๔ อย่างไว้เป็ นต้น แต่สขุ อย่างอืน่ นัน้ ยังเจือไปด้วยทุกข์อยู่ ยังไม่ใช่สขุ ไม่
อาจจะนับว่าเป็ นสุขที่แท้จริงได้ มีแต่ความสงบเท่านัน้ ที่เป็ นสุขอย่างแท้จริง เพราะไม่เจือไปด้วยความทุกข์ฉะนัน้ สุขที่ยิ่งกว่าความสงบจึงไม่มีฯ
(ปี 45) บาลีแสดงปฏิปทาแห่งสันติว่า โลกามิส ปชเห สนฺติเปกฺโข ความว่า ผูเ้ พ่งความสงบพึงละอามิสในโลกเสีย
คาว่า อามิสในโลก หมายถึงอะไร? ที่เรียกว่า อามิสในโลก เพราะเหตุไร?
ตอบ หมายถึงปั ญจพิธกามคุณ คือรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่น่าชอบใจ ฯ
เพราะเป็ นเครื่องล่อใจให้ติดในโลก ดุจเหยื่ออันเบ็ดเกี่ยวอยู่ ฯ
(ปี 43) สันติแปลว่าอะไร? มีปฏิปทาที่จะดาเนินอย่างไร? สันติเป็ นโลกิยะ หรือโลกุตตระ?
ตอบ สันติ แปลว่า ความสงบ มีปฏิปทาที่จะดาเนินคือ ปฏิบตั ิสงบกาย วาจา ใจ จากโทษเวรภัย ละโลกามิส คือเบญจพิธกามคุณ ๕ มีสนั ติ
เป็ นวิหารธรรม ฯ สันติเป็ นได้ทงั้ โลกิยะ และโลกุตตระ ฯ

นิพพาน ความดับทุกข์
➢ อุทเทสที่ ๑ นิพพฺ าน ปรม วทนฺติ พุทฺธา. พระพุทธเจ้าทัง้ หลาย ย่อมกล่าวนิพพานว่ายวดยิ่ง.
➢ อุทเทสที่ ๒ นิพฺพานคมน มคฺค ขิปปฺ เมว วิโสธเย. พึงรีบรัดชาระทางไปนิพพาน.

สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาว สิตฺตา เต ลหุเมสฺสติ


เฉตฺวา ราคญฺจ โทสญฺจ ตโต นิพฺพานเมหิสิ .
ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี้ เรืออันเธอวิดแล้ว จักพลันถึง เธอตัดราคะและโทสะแล้ว แต่นั้นจักถึงนิพพาน.
อธิบาย เรือหมายเอาอัตภาพ เรืออันวิดแล้วนัน้ หมายเอาบรรเทากิเลส
และบาปธรรมเสียให้บางเบาจนขจัดได้ขาด จักพลันถึงท่าคือนิพพาน

➢ อุทเทสที่ ๓ นิพฺพาน ปรม สุข. นิพพานเป็ นสุขอย่างยวดยิ่ง.

นิกฺขิปิตฺวา ครุ ภาร อญฺญ ภาร อนาทิย


สมูล ตณฺห อพฺพยุ ฺห นิจฺฉาโต ปรินิพฺพุ โต.
ปลงภาระอันหนักเสียแล้ว ไม่ถือเอาภาระอันอื่น ถอนตัณหากับทัง้ มูลเสียแล้ว หายหิว ดับรอบแล้ว.
ภาระในคาถานี ้ หมายเอาปญจขันธ์ การถือเอาภาระ หมายเอาการถือด้วยอุปทาน การปลงภาระ หมายเอาการถอนอุปาทาน แต่มีทางจะ
เข้าใจอีกอย่างหนึ่งก็ได้วา่ ละขันธปั ญจกนี ้ ด้วยดับจริมกจิตแล้ว ไม่ถือเอาขันธปญจกอื่น ด้วยเกิดอีก

เอต สนฺต เอต ปณีต ยทิท สพฺพสงฺขารสมโถ สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ตณฺหกฺขโข วิราโค นิโรธ นิพฺพาน.
ธรรมชาตนั่นสงบแล้ว ธรรมชาตนั่นประณีต ธรรมชาตไรเล่าเป็ นทีส่ งบแห่งสังขารทัง้ ปวง เป็ นทีส่ ละคืนอุปธิทงั้ ปวง เป็ นทีส่ นิ้ แห่ง
ตัณหา เป็ นทีส่ นิ้ กาหนัด เป็ นทีด่ ับ คือนิพพาน.
จากพระบาลีวา่ "สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค ธรรมเป็ นที่สละอุปธิทงั้ ปวง" ในคานี ้ อุปธิ เป็ นชื่อของเป็ นชื่อของกิเลสและปั ญจขันธ์
ที่เป็ นชื่อของกิเลส มีอธิบายว่า เข้าไปทรงคือเข้าครอง ส่วนที่เป็ นชื่อแห่งปั ญจขันธ์ มีอธิบายว่า เข้าไปทรงคือหอบไว้ซง่ึ ทุกข์

15 | P a g e
➢ ประเภทของนิพพาน
๑. สอุปาทิเสสนิพพาน เป็ นความดับกิเลสที่ยงั มีเบญจขันธ์เหลือ
๒. อนุปาทิเสสนิพพาน เป็ นความดับกิเลสที่ไม่มีเบญจขันธ์เหลือ

(ปี 63, 51) สอุปาทิเสสนิพพาน กับ อนุปาทิเสสนิพพาน ต่างกันอย่างไร?


พระบาลีว่า เตส วูปสโม สุโข ความเข้าไปสงบแห่งสังขารเหล่านัน้ เป็ นสุข จัดเป็ นนิพพานชนิดใด?
ตอบ ต่างกัน คือ สอุปาทิเสสนิพพาน เป็ นความดับกิเลสที่ยงั มีเบญจขันธ์เหลือ ส่วนอนุปาทิเสสนิพพาน เป็ นความดับกิเลสที่ไม่มเี บญจขันธ์
เหลือ ฯ เป็ นอนุปาทิเสสนิพพาน ฯ
(ปี 61, 52) ข้อความว่า ปลงภาระอันหนักเสียแล้ว ไม่ถือเอาภาระอันอื่น ดังนี ้ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ อธิบายว่า ภาระ หมายถึงเบญจขันธ์ การปลงภาระ หมายถึงการถอนอุปาทาน การไม่ถือเอาภาระอื่น หมายถึงการไม่ถือเบญจขันธ์อื่น
ด้วยอุปาทาน ฯ
(ปี 59) พระบาลีว่า "สพฺพปู ธิปฏินิสฺสคฺโค ธรรมเป็ นที่สละอุปธิทงั้ ปวง"
ในคานี ้ อุปธิ เป็ นชื่อของอะไรได้บา้ ง? แต่ละอย่างมีอธิบายว่าอย่างไร ?
ตอบ เป็ นชื่อของกิเลสและปั ญจขันธ์ ฯ
ที่เป็ นชื่อของกิเลส มีอธิบายว่า เข้าไปทรงคือเข้าครอง
ที่เป็ นชื่อแห่งปั ญจขันธ์ มีอธิบายว่า เข้าไปทรงคือหอบไว้ซ่งึ ทุกข์ ฯ
(ปี 57) คาว่า อุปาทิ ในคาว่า สอุปาทิเสสนิพพาน หมายถึงอะไร ? ตอบ หมายถึงขันธ์ ๕ (ขันธปั ญจก) ฯ
(ปี 56) พระบาลีว่า “นิกฺขิปิตฺวา ครุ ภาร อญฺญ ภาร อนาทิย ปลงภาระอันหนักเสียแล้ว ไม่ถือเอาภาระอันอื่น”
ถามว่า “ภาระ” “การไม่ถือเอาภาระ” “การปลงภาระ” ได้แก่อะไร?
ตอบ ภาระ ได้แก่เบญจขันธ์ ฯ การไม่ถือเอาภาระ ได้แก่การไม่ถือเอาเบญจขันธ์ดว้ ยอุปาทาน ฯ
การปลงภาระ ได้แก่การถอนอุปาทานในเบญจขันธ์ ฯ
(ปี 54) พระศาสดาทรงสอนภิกษุโดยยกเอาเรือมาเป็ นอุปมาว่า สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาว สิตฺตา เต ลหุเมสฺสติ แปลว่าภิกษุ เธอจงวิดเรือนี ้ เรือ
อันเธอวิดแล้วจักพลันถึง มีอธิบายโดยย่อว่าอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายโดยย่อว่า เรือ หมายถึงอัตภาพ วิดเรือ คือวิดนา้ ที่ร่ วั เข้าในเรือ ซึง่ หมายถึงการบรรเทากิเลสและบาปธรรม ที่ไหลเข้ามาท่วม
ทับจิตใจ ให้บางเบา จนขจัดได้ขาด เมื่ออัตภาพนีเ้ บาก็จกั ปฏิบตั เิ พื่อไปสู่พระนิพพานได้เร็ว ฯ
(ปี 51) พระบาลีว่า สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาว แปลว่า ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี ้ คาว่า เรือ และคาว่า วิด ในที่นี ้ หมายถึงอะไร?
ตอบ เรือ หมายถึง อัตภาพร่างกาย วิด หมายถึง บรรเทากิเลสและบาปธรรมเสียให้บางเบา จนขจัดได้ขาด ฯ
(ปี 49) พระบาลีว่า “ภิกษุ เธอจงวิดเรือนี ้ เรือที่เธอวิดแล้ว จักพลันถึง” จงให้ความหมายคาต่อไปนี ้ ให้ถกู ต้องตามพระบาลีนนั้ ?
ก. เรือนี ้ ข. จงวิด (วิดอะไร) ค. เรือที่วิดแล้ว ง. จักพลันถึง (ถึงอะไร) จ. เรือจักไม่จมใน........
ตอบ ก. อัตภาพร่างกาย ข. วิดนา้ คือมิจฉาวิตก ค. อัตภาพที่บรรเทากิเลสให้เบาบางลง
ง. ถึงท่า คือพระนิพพาน จ. ในสังสารวัฏ ฯ
(ปี 46) เนือ้ ความในภารสูตรว่า “ปลงภาระอันหนักเสียแล้ว ไม่ถือเอาภาระอันอื่น” ถามว่า คาว่า “ ภาระอันหนัก ” ได้แก่อะไร?
การถือและการปลงภาระอันหนักนัน้ หมายถึงอะไร?
ตอบ ได้แก่ ปั ญจขันธ์ ฯ การถือ หมายถึง การถือด้วยอุปาทาน การปลง หมายถึง การถอนอุปาทาน ฯ
16 | P a g e
(ปี 44) วัฏฏะในบาลีวา่ วฏฺฏปจฺ
ู เฉโท หมายถึงอะไร? วัฏฏะนัน้ จะขาดได้อย่างไร? บาลีแสดงปฏิปทาแห่งนิพพานว่า " สิญฺจ ภิกฺขุ อิม นาว "
ความว่า " ภิกษุเธอจงวิดเรือนี ้ " คาว่า เรือ และ วิด ในบาลีนหี ้ มายถึงอะไร?
ตอบ วัฏฏะ หมายถึง ความเวียนเกิดด้วยอานาจกิเลส กรรม และวิบาก ฯ วัฏฏะนัน้ จะขาดได้ดว้ ยการละกิเลสอันเป็ นเบือ้ งต้นเสีย ฯ
คาว่า เรือ หมายถึงอัตภาพร่างกาย คาว่า วิด หมายถึงบรรเทากิเลส และบาปธรรมให้เบาบางจนขจัดได้ขาด ฯ

ส่วนสังสารวัฏ
โดยบุคคลาธิษฐาน
คติ
➢ อุทเทสที่ ๑ จิตเฺ ต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็ นอันต้องหวัง.
➢ อุทเทสที่ ๒ จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็ นอันหวังได้.

คติ คือ ภูมิเป็ นที่ไปหรือเป็ นที่ถงึ เบือ้ งหน้าแต่มรณะ จาแนกไว้ 2 ประเภท ดังนี ้
๑. ทุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างชั่ว แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ นิรยะ ๑ ติรจั ฉานโยนิ ๑
และสามารถแบ่งเป็ น ๔ ประเภท คือ อบาย ทุคติ วินบิ าต นิรยะ …. (หมายเหตุ นิรยะ ก็คือ นรก)
๒. สุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างดี แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ เทวะ ๑ มนุษย์ ๑ หรือ สุคติ ๑ โลกสวรรค์ ๑

(ปี 63, 57) อบาย คืออะไร ? ในอรรถกถาแจกไว้เป็ น ๔ อย่าง อะไรบ้าง ?


ตอบ คือโลกที่ปราศจากความเจริญ ฯ มีนิรยะ ติรจั ฉานโยนิ ปิ ตติวิสยะ อสุรกาย ฯ
(ปี 61) ในพระบาลีวา่ "จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อใจเศร้า หมอง ต้องประสบทุคติ" ทุคติ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ คือ ภูมิเป็ นที่ไปข้างชั่ว ฯ มี อบาย ทุคติ วินิบาต นรก (ตามนัยอรรถกถา มี ๔ คือ นรก สัตว์เดรัจฉาน เปรต อสุรกาย) ฯ
(ปี 60, 44) ในส่วนสังสารวัฏฏ์ สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็ นอย่างไร? มีอทุ เทสบาลีแสดงไว้อย่างไร?
ตอบ สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็ น ๒ คือสุคติ และทุคติ ฯ
มีอทุ เทสบาลีแสดงว่า จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคคฺ ติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็ นอันต้องหวัง
จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็ นอันหวังได้ ฯ
(ปี 59) คติ คืออะไร ? สัตวโลกที่ตายไป มีคติเป็ นอย่างไรบ้าง ?
ตอบ คือ ภูมิหรือภพเป็ นที่ไปหลังจากตายแล้ว ฯ
มีคติเป็ น ๒ คือ ๑. ทุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างชั่ว ซึง่ เกิดจากการประพฤติทจุ ริตทางกายวาจาใจ
๒. สุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างดี ซึง่ เกิดจากการประพฤติสจุ ริตทางกายวาจาใจ ฯ
(ปี 53) คาว่า สุคติ ในพระบาลีวา่ จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ ภูมิเป็ นที่ไปข้างดี ฯ มี เทวะ ๑ มนุษย์ ๑ หรือ สุคติ ๑ โลกสวรรค์ ๑ ฯ
(ปี 52) สัตว์โลกตายแล้วมีคติเป็ นอย่างไร? มีพระบาลีแสดงไว้อย่างไร?
ตอบ มีคติเป็ น ๒ คือ สุคติและทุคติ ฯ มีพระบาลีแสดงไว้วา่
จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็ นอันหวังได้
จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา. เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็ นอันต้องหวัง ฯ

17 | P a g e
(ปี 51) ในส่วนสังสารวัฏ สัตวโลกตายแล้วมีคติเป็ นอย่างไร? จงอ้างบาลีประกอบ
ตอบ มีคติเป็ น ๒ คือ สุคติ มีบาลีว่า จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา
และ ทุคติ มีบาลีว่า จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคฺคติ ปาฏิกงฺขา ฯ
(ปี 48) สัตว์โลกตายแล้วมีคติเป็ นอย่างไร? ปั จจุบนั ภพนัน้ เกี่ยวเนื่องกับสัมปรายภพอย่างไร?
ตอบ สัตว์โลกตายแล้วมีคติเป็ น ๒ คือ ถ้าทาดี คือ ประพฤติสจุ ริตด้วยกาย วาจา ใจ ก็ไปสู่สคุ ติ ถ้าทาไม่ดี คือประพฤติทจุ ริตด้วยกาย วาจา
ใจ ก็ไปสู่ทคุ ติ ฯ
จิตดีช่วั ในปั จจุบนั ย่อมเป็ นปั จจัยแห่งปฏิสนธิในสัมปรายภพ ภูมิและภพในภายภาคหน้าขึน้ อยู่กบั ภูมิและภพชัน้ ของจิตในปั จจุบนั นีแ้ หละ ดัง
มีหลักธรรมในอุเทศบาลีแสดงว่า เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็ นอันต้องหวัง และว่าเมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็ นอันหวังได้ ฯ
(ปี 46) คติ คือภูมิเป็ นที่ไปของสัตว์ผตู้ ายแล้ว เป็ นอย่างไร? มีบาลีแสดงอุทเทสเกี่ยวกับคตินนั้ ว่าอย่างไร?
ตอบ เป็ น ๒ คือ ทุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างชั่ว ๑ สุคติ ภูมิเป็ นที่ไปข้างดี ๑ ฯ
มีบาลีแสดงอุทเทสว่า ดังนี ้ ๑. จิตฺเต สงฺกิลิฏฺเฐ ทุคคฺ ติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตเศร้าหมองแล้ว ทุคติเป็ นอันต้องหวัง
๒. จิตฺเต อสงฺกิลิฏฺเฐ สุคติ ปาฏิกงฺขา เมื่อจิตไม่เศร้าหมองแล้ว สุคติเป็ นอันหวังได้ ฯ

หลักกัมมัฏฐาน
สมถกัมมัฏฐาน
➢ กัมมัฏฐาน ๔๐ ประการ รวมเป็ น ๗ หมวดนั้น คือ
- * กสิณ ๑๐ กสิณ แปลว่า วัตถุอนั จูงใจ คือจูงใจให้เข้าไปผูกอยู่ เป็ นชื่อของกัมมัฏฐานแปลว่า มีวตั ถุท่ชี ่ือว่ากสิณเป็ นอารมณ์
- อสุภ ๑๐
- อนุสสติ ๑๐
- พรหมวิการ ๔
- อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑
- จตุธาตุววัตถาน ๑
- อรูป ๔
➢ สติปัฏฐาน ๔
๑. กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๒. เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๓. จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๔. ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน

➢ *อสุภะ ๑๐ พิจารณาซากศพเป็ นอารมณ์


➢ อนุสสติ ๑๐
๑. พุทธานุสสติ ระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้าเป็ นอารมณ์
๒. ธัมมานุสสติ ระลึกถึงคุณพระธรรมเป็ นอารมณ์
๓. สังฆานุสสติ ระลึกถึงคุณพระสงฆ์เป็ นอารมณ์
๔. สีลานุสสติ ระลึกถึงศีลที่ตนรักษาเป็ นอารมณ์
๕. จาคานุสสติ ระลึกถึงทานที่ตนบริจาคแล้วเป็ นอารมณ์
๖. เทวตานุสสติ ระลึกถึงเทวดาที่มสี ีลาทิคณ
ุ เสมอ เหมือนกับด้วยตน ตัง้ เทพดาเหล่านัน้ ไว้เป็ นพยานแล้ว กลับระลึกถึงสี
ลาทิคณ
ุ ของตนเป็ นอารมณ์
18 | P a g e
๗. อุปสมานุสสติ ระลึกถึงนิพพานว่าเป็ นที่ระงับดับเพลิงกิเลสและกองทุกข์เป็ นบรมสุขอย่างยิง่ เป็ นอารมณ์
๘. มรณัสสติ ระลึกถึงความตายของตนและสัตว์ผอู้ ื่นเป็ นอารมณ์
๙. *กายคตาสติ ระลึกไปในอาการ ๓๒ ในร่างกายเป็ นอารมณ์ (พิจารณาอาการภายในของตนเป็ นอารมณ์)
๑๐. อานาปานสติ ระลึกถึงลมหายใจเข้าออกยาวสัน้ เป็ นต้นเป็ นอารมณ์

➢ การเจริญเมตตาพรหมวิหาร มีความมุง่ หมายอย่างนี ้ ให้ทาตนเป็ นพยานว่า ตนนีอ้ ยากได้แต่ความสุข เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง


ๆ ฉันใด แม้สตั ว์ทงั้ หลาย ก็อยากได้สขุ เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ๆ ฉันนัน้ เมื่อเห็นเช่นนีแ้ ล้ว จิต ก็ปรารถนาจะให้สตั ว์ทงั้ สิน้ มี
ความสุขความเจริญ ด้วยเหตุนี ้ ท่านจึงให้แผ่เมตตาจิตไปในตนก่อน ฯ .

➢ การเจริญมุทติ าพรหมวิหาร วิธีเจริญมุทติ านัน้ ดังนี ้ เมื่อได้เห็นหรือได้ยินมนุษย์หรือสัตว์ เป็ นอยูส่ ขุ สบาย เจริญรุง่ เรืองด้วยสุข
สมบัติ พึงทาจิตใจให้ช่ืนชมยินดี แล้วแผ่มทุ ิตาจิตไปว่า สัตว์ผนู้ หี ้ นอบริบรู ณ์ยิ่งนัก มีสขุ สมบัตมิ าก จงเจริญยั่งยืนด้วยสุขสมบัติยงิ่ ๆ
เถิด เมื่อเจริญอยู่เนืองๆ ย่อมได้รบั อานิสงส์คือ จะละความริษยาในสมบัติของผูอ้ ื่นได้ ฯ

➢ การเจริญจตุธาตุววัตถาน คือ ความกาหนดหมายซึง่ ธาตุ ๔ โดยสภาวะความเป็ นเองของธาตุ วิธีปฏิบตั ิคือ พึงกาหนดพิจารณาทัง้


กายตนเองและกายผูอ้ ื่นให้เห็นเป็ นแต่สกั ว่าธาตุ และพึงกาหนดให้รูจ้ กั ธาตุภายในภายนอกให้เห็นเป็ นแต่สกั ว่าธาตุไปหมดทัง้ โลก
ไม่ใช่สตั ว์ไม่ใช่บคุ คล

➢ หัวใจสมถกัมมัฏฐาน (กายคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ จตุธาตุววัตถานะ)


มีพระบรมพุทโธวาทประทานไว้วา่ "สมาธึ ภิกฺขเว ภาเวถ สมาหิโต ยถาภูต ปชานาติ" ดังนี ้ แปลความว่า ภิกษุทงั้ หลายท่าน
ทัง้ หลายจงยังสมาธิให้เกิดชนผู้มีจิตเป็ นสมาธิแล้ว ย่อมรู้ตามจริง.
เพราะเหตุอะไร พระศาสดาจึงทรงชักนาในอันบาเพ็ญสมาธิ. เพราะในทีไ่ ด้ รับอบรมดีแล้ ว ย่อมเป็ นไปเพื่อประโยชน์อนั
ใหญ่.

นิวรณ์ ๕ ธรรมอันกัน้ จิตไม่ให้บรรลุความดี


กัมมัฏฐานแก้นิวรณ์
นิวรณ์ กาจัดด้วยกัมมัฏฐาน
กามฉันทะ ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ท่ชี อบใจ กายคตาสติ, อสุภกัมมัฏฐาน
พยาบาท การปองร้ายผูอ้ ื่น เมตตาพรหมวิหาร
ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหูแ่ ละเคลิบเคลิม้ อนุสสติกมั มัฏฐาน เช่น สีลานุสสติ พุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ
อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ กสิน, มรณัสสติ
วิจิกิจฉา ความลังเลไม่แน่ใจ จตุธาตุววัตถานะ, วิปัสสนากัมมัฏฐาน

19 | P a g e
กัมมัฏฐานทีค่ วรเจริญกับจริต
จริต กัมมัฏฐานทีค่ วรเจริญ
ราคจริต กายคตาสติ, อสุภะ ๑๐
โทสจริต วัณณกสิณ ๔ (นีลกสิณ ปี ตกสิณ โลหิตกสิณ โอทาตกสิณ), พรหมวิหาร ๔
โมหจริต อานาปานสติ
วิตกจริต อานาปานสติ
สัทธาจริต อนุสสติ ข้อ ๑-๖ (พุทธานุสสติ, ธัมมานุสติ, สังฆานุสสติ, สีลานุสสติ, จาคานุสสติ, เทวตานุสสติ)
พุทธิจริต มรณัสสติ, อุปสมานุสสติ, อาหาเรปฏิกลู สัญญา, จตุธาตุววัตถาน

➢ วสี ๕ (ความชานาญ) …เรื่องวสี ไม่ต้องท่อง…


เมื่อพระโยคาพจรเจ้า อันได้สาเร็จปฐมฌานชานิชานาญเป็ นอันดีด้วย วสีทงั้ ๕ ดังว่ามานีแ้ ล้ว จึงจะสามารถเจริญทุติย
ฌานต่อขึน้ ไปได้ ถ้าไม่ชานาญในปฐมฌานก่อนแล้ว จะเจริญทุติยฌานต่อขึน้ ไป ก็จะเสือ่ มเสียจากปฐมฌานและทุติยฌานทัง้ ๒
ฝ่ าย เพราะอาศัยเหตุฉะนี ้ จึงห้ามไว้วา่ ถ้ายังไม่ชานาญในปฐมฌานแล้ว อย่าพึงเจริญทุติยฌานก่อน ต่อเมื่อชานาญคล่องแคล่วในปฐมฌาน
ด้วยวสี ๕ ประการแล้ว จึงควรเจริญทุติยฌานสืบต่อขึน้ ไปได้ เมื่อชานาญในทุตยิ ฌานแล้ว จึงควรเจริญตติยฌาน จตุตถฌาน ปั ญจมฌานสืบ
ต่อ ๆ ขึน้ ไปได้ โดยลาดับดังกล่าวแล้วนัน้ .

(ปี 63) สติปัฏฐาน ๔ คืออะไรบ้าง ? การกาหนดลมหายใจเข้าออก ชื่อว่าเจริญสติปัฏฐาน ข้อไหน ?


ตอบ คือกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ
ชื่อว่าเจริญกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ
(ปี 63, 61) ผูเ้ จริญมหาสติปัฏฐาน ต้องประกอบด้วยธรรมใดบ้าง จึงจะกาจัดอภิชฌาและโทมนัสได้ ?
ตอบ ต้องประกอบด้วยธรรม ๓ คือ ๑. อาตาปี มีความเพียรเผากิเลสให้เร่าร้อน ๒. สัมปชาโน รูท้ ่วั พร้อม ๓. สติมา มีสติ ฯ
(ปี 62) เจริญมรณัสสติอย่างไรจึงจะบรรเทาความเมาในชีวติ ไม่ตดิ ในโลกธรรม ?
ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ ๑. สติ ระลึกถึงความตาย ๒. ญาณ รูว้ ่าความตายจักมีแก่ตน ๓. เกิดสังเวชสลดใจ ฯ
(ปี 62, 49) จงแสดงวิธีเจริญมุทติ า พร้อมทัง้ อานิสงส์แห่งการเจริญ พอเป็ นตัวอย่าง?
ตอบ วิธีเจริญมุทิตานัน้ ดังนี ้ เมื่อได้เห็นหรือได้ยินมนุษย์หรือสัตว์ เป็ นอยู่สขุ สบาย เจริญรุง่ เรืองด้วยสุขสมบัติ พึงทาจิตใจให้ช่ืนชมยินดี แล้ว
แผ่มทุ ิตาจิตไปว่า สัตว์ผนู้ หี ้ นอบริบรู ณ์ยิ่งนัก มีสขุ สมบัตมิ าก จงเจริญยั่งยืนด้วยสุขสมบัติยงิ่ ๆ เถิด เมื่อเจริญอยู่เนืองๆ ย่อมได้รบั อานิสงส์คือ
จะละความริษยาในสมบัตขิ องผูอ้ ื่นได้ ฯ
(ปี 62, 51) อารมณ์ของสติปัฏฐาน มีอะไรบ้าง ? ผูเ้ จริญสติปัฏฐานพึงมีคณ
ุ สมบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ มี กาย เวทนา จิต ธรรม ฯ พึงมี ๑. อาตาปี มีความเพียรเผากิเลส ๒. สัมปชาโน มีสมั ปชัญญะ ๓. สติมา มีสติ ฯ
(ปี 61) คนวิตกจริตมีนิสยั อย่างไร ? คนประเภทนีค้ วรเจริญกัมมัฏฐาน บทใด ?
ตอบ ชอบคิดมาก ฟุ้งซ่าน ฯ ควรเจริญอานาปานัสสติกมั มัฏฐาน ฯ
(ปี 60) เจริญมรณัสสติอย่างไรจึงจะแยบคาย ?
ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ สติ ระลึกถึงความตาย ๑ ญาณ รูว้ ่าความตายจักมีแก่ตน ๑ เกิดสังเวชสลดใจ ๑
เจริญอย่างนี ้ จึงจะแยบคาย ฯ

20 | P a g e
(ปี 60) สมถะ กับ วิปัสสนา ให้ผลต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ให้ผลต่างกันดังนี ้ สมถะ ให้ผลคือทาให้ใจสงบระงับจากนิวรณ์ทงั้ ๕
ส่วนวิปัสสนา ให้ผลคือทาให้ได้ปัญญาเห็นสภาวธรรม ตามความเป็ นจริง ฯ
(ปี 58) ในสมถกรรมฐาน ๔๐ ประการ มีนิมติ และภาวนากี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มีนมิ ิต ๓ คือบริกรรมนิมิต อุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิต และมีภาวนา ๓ คือบริกรรมภาวนา อุปจารภาวนา และอัปปนาภาวนา ฯ
(ปี 58) ผูเ้ จริญเมตตาเป็ นประจา ย่อมได้รบั อานิสงส์อะไรบ้าง ?
ตอบ ได้รบั อานิสงส์อย่างนี ้
๑. หลับอยู่ก็เป็ นสุข ๗. ไฟไม่ไหม้ พิษหรือศัสตราวุธทัง้ หลายไม่อาจประทุษร้าย
๒. ตื่นอยู่ก็เป็ นสุข ๘. จิตย่อมตัง้ มั่นได้เร็วพลัน
๓. ไม่ฝันเห็นสิ่งลามก ๙. ผิวพรรณย่อมผ่องใสงดงาม
๔. เป็ นที่รกั ของมนุษย์ทงั้ หลาย ๑๐. ไม่หลงทากาลกิรยิ า คือเมื่อจะตายย่อมได้สติ
๕. เป็ นที่รกั ของอมนุษย์ทงั้ หลาย ๑๑. เมื่อตายแล้วแม้เกิดอีก ก็ย่อมเกิดในที่ดเี ป็ นที่เสวยสุข ถ้าไม่เสื่อมจากฌาน ก็ไปเกิดในพรหมโลก ฯ
๖. เทวดาทัง้ หลายย่อมรักษา
(ปี 58) สติปัฏฐาน ๔ คืออะไรบ้าง ? การพิจารณาผม ขน เล็บ ฟั น หนัง โดยความเป็ นของปฏิกลู จัดเข้าในสติปัฏฐานข้อไหน ?
ตอบ คือกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน และธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ
ในกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ
(ปี 58) บรรดาอาการ ๓๒ ประการนัน้ ส่วนที่เป็ นอาโปธาตุมีอะไรบ้าง ?
ตอบ มีดี เสมหะ นา้ เหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น นา้ ตา มันเหลว นา้ ลาย นา้ มูก ไขข้อ มูตร ฯ (* หมายเหตุ อาโปธาตุ คือ ธาตุนา้ )
(ปี 57) ปฐมฌาณ ประกอบด้วยองค์เท่าไร ? อะไรบ้าง ? ตอบ ด้วยองค์ ๕ ฯ คือวิตก วิจาร ปี ติ สุข เอกัคคตา ฯ
(ปี 57) สมถกัมมัฏฐาน กับ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ต่างกันอย่างไร ? หัวใจสมถกัมมัฏฐานมีอะไรบ้าง ?
ตอบ สมถกัมมัฏฐาน คือกัมมัฏฐานเป็ นอุบายเครื่องสงบใจ วิปัสสนากัมมัฏฐาน คือกัมมัฏฐานเป็ นอุบายเครื่องเรืองปั ญญา ฯ
มีกายาคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ และจตุธาตุววัตถาน ฯ
(ปี 56) ในนวสีวถิกาปั พพะ เมื่อเห็นซากศพชนิดใดชนิดหนึ่งใน ๙ ชนิดนัน้ พึงภาวนาอย่างไร?
ตอบ พึงภาวนาโดยการน้อมเข้ามาสู่กายนีน้ ่แี ลว่า อยมฺปิ โข กาโย ถึงร่างกาย อันนีเ้ ล่า เอวธมฺโม ก็มีอย่างนีเ้ ป็ นธรรมดา เอวภาวี จักเป็ นอย่ าง
นี ้ เอว อนตีโต ไม่ล่วงความเป็ นอย่างนีไ้ ปได้ ฯ
(ปี 55) กัมมัฏฐานที่พระอุปัชฌาย์สอนแก่ผบู้ รรพชาอุปสมบทว่า เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา นัน้ จัดเข้าในสติปัฏ
ฐานข้อใด? ให้พิจารณาอย่างไร?
ตอบ จัดเข้าในกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ ให้พิจารณาน้อมใจให้เห็นเป็ นของน่าเกลียดปฏิกลู ทัง้ ในกายตน ทัง้ ในกายผูอ้ ื่น ฯ
(ปี 55) กายคตาสติกมั มัฏฐานกับอสุภกัมมัฏฐาน มีอารมณ์ตา่ งกันอย่างไร? แก้นิวรณ์ขอ้ ใดได้?
ตอบ กายคตาสติกมั มัฏฐาน มีอาการ ๓๒ ในร่างกายเป็ นอารมณ์ อสุภกัมมัฏฐาน มีซากศพเป็ นอารมณ์ ฯ แก้กามฉันทนิวรณ์ ฯ
(ปี 54) กัมมัฏฐานต่อไปนี ้ คือ กสิณ จตุธาตุววัตถานะ พุทธานุสสติ เป็ นที่สบายแก่คนผูม้ กั ถูกนิวรณ์ขอ้ ใดครอบงา?
ตอบ กสิณ เป็ นที่สบายแก่คนผูม้ กั ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงา
จตุธาตุววัตถานะ เป็ นที่สบายแก่คนผูม้ กั ถูกวิจกิ ิจฉาครอบงา
พุทธานุสสติ เป็ นที่สบายแก่คนผูม้ กั ถูกถีนมิทธะครอบงาฯ
21 | P a g e
(ปี 53) นิวรณ์ คืออะไร? เมื่อจิตถูกนิวรณ์นนั้ ๆ ครอบงา ควรใช้กมั มัฏฐานบทใดเป็ นเครื่องแก้?
ตอบ คือ ธรรมอันกัน้ จิตไม่ให้บรรลุความดี ฯ
กามฉันท์ ใช้ อสุภกัมมัฏฐาน หรือกายคตาสติเป็ นเครื่องแก้
พยาบาท ใช้ เมตตา กรุณา มุทติ า พรหมวิหาร ๓ ข้อต้นเป็ นเครื่องแก้
ถีนมิทธะ ใช้ อนุสสติกมั มัฏฐานเป็ นเครื่องแก้
อุทธัจจกุกกุจจะ ใช้ กสิณหรือมรณัสสติเป็ นเครื่องแก้
วิจิกจิ ฉา ใช้ ธาตุกมั มัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐานเป็ นเครื่องแก้ ฯ
(ปี 53) จตุธาตุววัตถานกัมมัฏฐาน คืออะไร? ผูเ้ จริญกัมมัฏฐานนีจ้ ะพึงกาหนดพิจารณาอย่างไร?
ตอบ คือ ความกาหนดหมายซึง่ ธาตุ ๔ โดยสภาวะความเป็ นเองของธาตุ ฯ
พึงกาหนดพิจารณาทัง้ กายตนเองและกายผูอ้ ื่นให้เห็นเป็ นแต่สกั ว่าธาตุ และพึงกาหนดให้รูจ้ กั ธาตุภายในภายนอกให้เห็นเป็ นแต่สกั ว่าธาตุไป
หมดทัง้ โลก ไม่ใช่สตั ว์ไม่ใช่บคุ คล ฯ
(ปี 52) พระโยคาวจรสาเร็จปฐมฌาณแล้ว ควรกระทาให้ชานาญด้วยวสีทั้ง ๕ ก่อนที่จะเจริญทุติยฌาณต่อไป เพราะเหตุใด?
ตอบ เพราะถ้าไม่ชานาญในปฐมฌาณแล้ว เมื่อเจริญทุตยิ ฌาณต่อขึน้ ไปก็จะเสื่อมจากปฐมฌาณและทุติยฌาณทัง้ ๒ ฝ่ าย ฯ
(ปี 52) สติปัฏฐาน ๔ อันผูป้ ฏิบตั ิธรรมอบรมให้บริบรู ณ์เต็มที่แล้ว ย่อมเป็ นเพื่ออานิสงส์ ๕ ประการ อะไรบ้าง?
ตอบ คือ ๑. เพื่อความบริสทุ ธิ์แห่งสัตว์ทงั้ หลาย ๒. เพื่อความข้ามพ้นโสกะและปริเทวะทัง้ หลาย ๓. เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส
๔. เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู ้ ๕. เพื่อการทาให้แจ้งพระนิพพาน ฯ
(ปี 51) จริต คืออะไร? เพราะเหตุใดจึงต้องเจริญกัมมัฏฐานให้เหมาะกับจริตของตน?
ตอบ คือ ความประพฤติเป็ นปกติของบุคคล ฯ
เพราะกัมมัฏฐานแต่ละอย่างก็เป็ นที่สบายของคนแต่ละจริต ถ้าเจริญไม่เหมาะกับจริต กรรมฐานก็จะสาเร็จได้โดยยาก ฯ
(ปี 50) เพราะเหตุไร พระผูม้ ีพระภาคเจ้าจึงทรงชักนาให้บาเพ็ญสมาธิ ? หัวใจสมถกัมมัฏฐานมีอะไรบ้าง?
ตอบ เพราะใจที่อบรมดีแล้ว ย่อมเป็ นไปเพื่อประโยชน์อนั ใหญ่ เป็ นกาลังสาคัญในอันจะให้คิดเห็นอรรถธรรมและเหตุผลอันสุขมุ ลุ่มลึก พระผูม้ ี
พระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ในพระบาลีว่า สมาหิโต ยถาภูต ปชานาติ ผูม้ ีใจตัง้ มั่นแล้ว ย่อมรูต้ ามเป็ นจริงฯ
มี กายคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ จตุธาตุววัตถานะ ฯ
(ปี 49) คนสัทธาจริตและคนวิตกจริต มีลกั ษณะอย่างไร? ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร?
ตอบ คนสัทธาจริต มีลกั ษณะเชื่อง่ายขาดเหตุผล คนวิตกจริต มีลกั ษณะคิดมาก ฟุ้งซ่าน ฯ
คนสัทธาจริตควรเจริญอนุสสติ ๖ ข้างต้น คนวิตกจริตควรเจริญอานาปานสติ ฯ
(ปี 49) กายคตาสติกมั มัฏฐานกับอสุภกัมมัฏฐาน ต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร? จงอธิบาย
ตอบ ต่างกันที่อารมณ์ คือ กายคตาสติ พิจารณาอาการภายในของตนเป็ นอารมณ์อสุภ พิจารณาซากศพเป็ นอารมณ์ ฯ
เหมือนกันตรงที่พิจารณาให้เห็นเป็ นปฏิกลู ไม่งามเหมือนกันและเป็ นปฏิปักษ์ต่อกามฉันทะ อีกทัง้ เป็ นเครื่องกาจัดวิปลาส ข้อที่เห็นว่าสวยงาม
ในสิ่งที่ไม่สวยงามได้เหมือนกัน ฯ
(ปี 49) การทาวัตรสวดมนต์ เป็ นกิจวัตรของพระภิกษุสามเณรและเป็ นภาวนากุศล จงแสดงวิธีเจริญสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ในบททาวัตรเช้ามาดูพอเป็ นตัวอย่าง?
ตอบ การสวดนมัสการพระรัตนตรัยก็ดี สวดสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยก็ดี เป็ นการน้อมจิตระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ชื่อว่า
เจริญพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จัดเป็ นสมถกัมมัฏฐาน ฯ
22 | P a g e
สวดสังเวคปริกติ ตนปาฐะว่า ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺข... รูป อนิจฺจ เวทนา อนิจจฺ า... รูป อนตฺ ตา เวทนา อนตฺตา... เป็ นอาทิ ตัง้
สติมีความเพียร ใช้ปัญญาพิจารณาเบญจขันธ์ ยกขึน้ สู่ สามัญลักษณะ จัดเป็ นวิปัสสนากัมมัฏฐานฯ
(ปี 48) บุคคลผูถ้ กู นิวรณ์ ๕ ครอบงา พึงแก้ดว้ ยกัมมัฏฐานอะไรบ้าง?
ตอบ ถูกกามฉันทะครอบงา พึงแก้ดว้ ยอสุภกัมมัฏฐานหรือกายคตาสติ
ถูกพยาบาทครอบงา พึงแก้ดว้ ยเมตตาพรหมวิหาร
ถูกถีนมิทธะครอบงา พึงแก้ดว้ ยอนุสสติกมั มัฏฐาน
ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงา พึงแก้ดว้ ยกสิณหรือมรณัสสติ
ถูกวิจิกิจฉาครอบงา พึงแก้ดว้ ยธาตุกมั มัฏฐานหรือวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ
(ปี 48) ผูเ้ จริญเมตตาพรหมวิหาร ท่านสอนให้แผ่ไปในตนก่อนนัน้ มีความมุง่ หมายอย่างไร?
ตอบ มีความมุง่ หมายอย่างนี ้ ให้ทาตนเป็ นพยานว่า ตนนีอ้ ยากได้แต่ความสุข เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ๆ ฉันใด แม้สตั ว์ทงั้ หลาย ก็อยากได้
สุข เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ๆ ฉันนัน้ เมื่อเห็นเช่นนีแ้ ล้ว จิตก็ปรารถนาจะให้สตั ว์ทงั้ สิน้ มีความสุขความเจริญ ด้วยเหตุนี ้ ท่านจึงให้แผ่เมตตา
จิตไปในตนก่อน ฯ
(ปี 47) จริตของคนในโลกนีม้ ีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? คนสูงอายุมีความกังวลนอนไม่หลับ เพราะคิดห่วงลูกหลานเป็ นต้น จัดเป็ นคนมีจริตอะไร?
กัมมัฏฐานข้อใดเป็ นที่สบายแก่คนจริตนัน้ ?
ตอบ มี ๖ ประเภท ฯ คือ ราคะจริต ๑ โทสะจริต ๑ โมหะจริต ๑ วิตกจริต ๑ สัทธาจริต ๑ พุทธิจริต ๑ ฯ มีวิตกจริต ฯ
ข้ออานาปานสติ หรือ กสิณ ฯ
(ปี 47) ในอนุสสติ ๑๐ ข้อว่า มรณัสสติ ไม่ใช้วา่ มรณานุสสติ เพราะเหตุไร?
ตอบ ที่ไม่ใช้อย่างนัน้ ก็เพราะท่านสอนให้ผพู้ ิจารณาเห็นปรากฏชัดเป็ นปั จจุบนั ธรรม จะได้เกิดความไม่ประมาท เป็ นผูแ้ กล้วกล้าไม่ย่อท้อต่อ
ความตาย หากจะไปเหนี่ยวรัง้ เอาความตายที่ลว่ งมาแล้วยกขึน้ พิจารณา ในบางขณะอาจเกิดความกลัวตายขึน้ ก็ได้ ฯ
(ปี 46) พระบรมศาสดาทรงชักนาบุคคลให้บาเพ็ญสมาธิ เพราะทรงเห็นประโยชน์อย่างไร?
พระพุทธจรรยาแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในการทรงแสดงธรรมเร้าใจนัน้ ด้วยอาการอย่างไรบ้าง?
ตอบ เพราะทรงเห็นว่า จิตใจของบุคคลเมื่อได้อบรมดีแล้ว ย่อมเป็ นไปเพื่อประโยชน์ใหญ่ ย่อมรูเ้ ห็นตามเป็ นจริง ดังพระบาลีว่า สมาหิโต ยถา
ภูต ปชานาติ ผูม้ จี ิตเป็ นสมาธิแล้ว ย่อมรูต้ ามเป็ นจริง ฯ
ด้วยอาการ ๔ คือ ๑. สนฺทสฺสนา อธิบายให้เห็นแจ่มแจ้ง ให้เข้าใจชัด ๒. สมาทปนา ชวนให้มีแก่ใจสมาทาน คือทาตาม
๓. สมุตฺเตชนา ชักนาให้เกิดอุตสาหะอาจหาญเพื่อจะทา ๔. สมฺปหสนา พยุงให้รา่ เริงในอันทา ฯ
(ปี 46) บุคคลในโลกนี ้ เมื่อจัดตามจริต มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? นิวรณ์ ๕ อย่างไหนสงเคราะห์เข้าในจริตอะไร ?
ตอบ มี ๖ ประเภท คือ คนราคจริต ๑ คนโทสจริต ๑ คนโมหจริต ๑ คนสัทธาจริต ๑ คนพุทธิจริต ๑ คนวิตกั กจริต ๑ ฯ
กามฉันท์ สงเคราะห์เข้าในราคจริต
พยาบาท สงเคราะห์เข้าในโทสจริต
ถีนมิทธะ สงเคราะห์เข้าในโมหจริต
อุทธัจจกุกกุจจะ สงเคราะห์เข้าในวิตกั กจริต
วิจิกจิ ฉา สงเคราะห์เข้าในโมหจริต ฯ
(ปี 45) ปั จจุบนั นี ้ การเจริญกัมมัฏฐาน เป็ นที่นิยมของสาธุชน ขอทราบว่า กัมมัฏฐานนัน้ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ธรรมที่เป็ นหัวใจของสมถกัมมัฏฐาน มีอะไรบ้าง?
23 | P a g e
ตอบ มี ๒ อย่าง คือ ๑. สมถกัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็ นอุบายสงบใจ ๒. วิปัสสนากัมมัฏฐาน กัมมัฏฐานเป็ นอุบายเรืองปั ญญา ฯ
มีกายคตาสติ เมตตา พุทธานุสสติ กสิณ และจตุธาตุววัตถาน ฯ
(ปี 45) กายคตาสติกมั มัฏฐาน กับ อสุภกัมมัฏฐาน แตกต่างกันอย่างไร? กสิณ แปลว่าอะไร และเป็ นคู่ปรับแก่นิวรณ์ชนิดไหน?
ตอบ กายคตาสติกมั มัฏฐาน พิจารณาร่างกายที่ยงั มีชีวิตอยู่ให้เห็นเป็ นของน่าเกลียด ส่วนอสุภกัมมัฏฐานพิจารณาซากศพ ฯ
แปลว่าวัตถุอนั จูงใจ คือจูงใจให้เข้าไปผูกอยู่ เป็ นชื่อของกัมมัฏฐานแปลว่า มีวตั ถุท่ชี ่ือว่ากสิณเป็ นอารมณ์ เป็ นคู่ปรับแก่อทุ ธัจจกุกกุจจนิวรณ์ฯ
(ปี 45) การเจริญมรณสติอย่างไร จึงจะแยบคาย? ในนวสีวถิกาปัพพะ เมื่อภิกษุเห็นซากศพชนิดใดชนิดหนึ่งใน ๙ ชนิดนัน้ ท่านให้ภาวนา
อย่างไร? ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ ๑. มีสติ ระลึกถึงความตาย ๒. มีญาณ รูว้ ่าความตายจักมีเป็ นแน่ ตัวจะต้องตายเป็ นแท้
๓. เกิดสังเวชสลดใจ เจริญอย่างนีจ้ ึงจะแยบคาย ฯ ท่านให้ภาวนาโดยการน้อมเข้ามาสู่กายนีน้ ่แี ลว่า อยมฺปิ โข กาโย ถึงร่างกายอันนีเ้ ล่า
เอว ธมฺโม ก็มีอย่างนีเ้ ป็ นธรรมดา เอว ภาวี จักเป็ นอย่างนี ้ เอว อนตีโต ไม่ล่วงความเป็ นอย่างนีไ้ ปได้ ฯ
(ปี 45) อานาปานสติ ในคิรมิ านนทสูตร กับในมหาสติปัฏฐานสูตร ต่างกันอย่างไร?
ผูเ้ จริญเมตตาเป็ นประจาย่อมได้รบั อานิสงส์ อย่างไรบ้าง?
ตอบ ในคิรมิ านนทสูตร แสดงการกาหนดลมหายใจที่เป็ นไปพร้อมในกาย เวทนา จิต และธรรม
ส่วนในมหาสติปัฏฐานสูตร แสดงแต่เพียงกายานุปัสสนาเท่านัน้ ฯ
ย่อมได้รบั อานิสงส์ ๑๑ ประการ คือ
๑. หลับอยู่ก็เป็ นสุข ๗. ไฟไม่ไหม้ พิษหรือศัสตราวุธทัง้ หลายไม่อาจประทุษร้าย
๒. ตื่นอยู่ก็เป็ นสุข ๘. จิตย่อมตัง้ มั่นได้เร็วพลัน
๓. ไม่ฝันเห็นสิ่งลามก ๙. ผิวพรรณย่อมผ่องใสงดงาม
๔. เป็ นที่รกั ของมนุษย์ทงั้ หลาย ๑๐. ไม่หลงทากาลกิรยิ า คือเมื่อจะตายย่อมได้สติ
๕. เป็ นที่รกั ของอมนุษย์ทงั้ หลาย ๑๑. เมื่อตายแล้วแม้เกิดอีก ก็ย่อมเกิดในที่ดเี ป็ นที่เสวยสุข ถ้าไม่เสื่อมจากฌาน ก็ไปเกิดในพรหมโลก ฯ
๖. เทวดาทัง้ หลายย่อมรักษา
(ปี 44) คนโทสจริต มีอปุ นิสยั เป็ นอย่างไร? จะแก้ดว้ ยการเจริญกัมมัฏฐานบทใด? การที่ทา่ นสอนให้เจริญเมตตาในตนก่อนแล้ว จึงแผ่ไปในชน
อื่นนัน้ มีเหตุผลอย่างไร?
ตอบ คนที่มจี ิตมักฉุนเฉียวโกรธเคืองง่าย ๆ สันดานหนักไปในโทสะ มักก่อทุกข์โทมนัสให้แก่ผอู้ ื่น จัดเป็ นคนโทสจริต มีโทสะเป็ นเครือ่ ง
ประพฤติเป็ นปกติของตัว ฯ ควรเจริญกัมมัฏฐาน ๘ ประการ คือวัณณกสิณ ๔ กับพรหมวิหาร ๔ ฯ
มีเหตุผลดังนี ้ คือจะได้ทาตนให้เป็ นพยานว่า ตนนีอ้ ยากได้แต่ความสุข เกลียดชังทุกข์ และภัยต่าง ๆ ฉันใด สัตว์ทงั้ หลายอื่น ๆ ก็อยากได้สขุ
เกลียดชังทุกข์และภัยต่าง ๆ ฉันนัน้ เมื่อเห็นดังนีแ้ ล้ว จิตก็ปรารถนาให้สตั ว์ทงั้ สิน้ อื่น ๆ มีความสุขความเจริญ ฯ
(ปี 44) ผูเ้ จริญสติปัฏฐานต้องมีคณ
ุ สมบัติอะไรบ้าง? ผูเ้ จริญสติปัฏฐานสมบูรณ์เต็มที่แล้ว จะได้รบั อานิสงส์เช่นใด?
ตอบ มี ๑. อาตาปี มีความเพียรแผดเผากิเลส ๒. สมฺปชาโน มีสมั ปชัญญะ ๓. สติมา มีสติ ฯ
ได้รบั อานิสงส์ ๕ ประการดังนี ้ ๑. ได้ความบริสทุ ธิ์ ๒. ได้ขา้ มพ้นโสกะและปริเทวะ ๓. ได้ความดับไปแห่งทุกข์และโทมนัส
๔. ได้บรรลุธรรมที่ถกู ๕. ได้ทาให้แจ้งพระนิพพาน ฯ
(ปี 43) สมถภาวนา เป็ นอุบายสงบระงับจิตอย่างไร? คนที่มีจิตมักลืมหลง สติไม่ม่นั คง ควรเจริญกัมมัฏฐานบทใด?
ตอบ สมถภาวนา เป็ นอุบายเครื่องสารวมปิ ดกัน้ นีวรณูปกิเลส มิให้เกิด ครอบงา จิตสันดานได้ ดังบุคคลปิ ดทานบกั้นนา้ ไว้มใิ ห้ไหลไปได้
ฉะนัน้ และเป็ นอุบายข่มขี่สะกดจิตไว้มิให้ดิน้ รนฟุ้งซ่านได้ ดังนายสารถีฝึกม้าให้เรียบร้อย ควรเป็ นราชพาหนะได้ฉะนัน้ ฯ
ควรเจริญอานาปานัสสติ เพราะอานาปานัสสติกัมมัฏฐานนีเ้ ป็ นที่สบายของคนที่เป็ นโมหจริต ฯ
24 | P a g e
(ปี 43) ผูจ้ ะเจริญกายคตาสติกมั มัฏฐานพึงกาหนดอะไร? เพราะเหตุใด ตจปั ญจกกัมมัฏฐาน ท่านจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน?
ตอบ พึงกาหนดพิจารณากายเป็ นที่ประชุมแห่งส่วนน่าเกลียดข้างบนตัง้ แต่พนื ้ เท้าขึน้ มา ข้างล่างตัง้ แต่ปลายผมลงไป มีหนังหุม้ อยู่โดยรอบ ให้
เห็นว่าเต็มไปด้วยของไม่สะอาดมีประการต่าง ๆ ฯ ที่เรียกว่ามูลกัมมัฏฐานนัน้ เพราะเป็ นกัมมัฏฐานเดิมที่กลุ บุตรผูม้ าบรรพชา ย่อมได้รบั สอน
กัมมัฏฐานนีไ้ ว้ก่อนจากพระอุปัชฌาย์ เหมือนดังได้รบั มอบศัสตราวุธไว้สาหรับต่อสูก้ บั ข้าศึก คือกามฉัน ท์ อันจะทาอันตรายแก่พรหมจรรย์ ฯ
(ปี 43) เจริญมรณัสสติอย่างไรจึงจะแยบคาย? อะไรเป็ นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา?
ตอบ เจริญพร้อมด้วยองค์ ๓ คือ สติ ระลึกถึงความตาย ๑ ญาณ รูว้ ่าความตายจักมีแก่ตน ๑ เกิดสังเวชสลดใจ ๑ เจริญอย่างนี ้ จึงจะแยบ
คาย ฯ ความกาหนดรูว้ ่า สังขารเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ และเป็ นอนัตตา เป็ นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา ฯ
(ปี 43) สมถะ กับ วิปัสสนา ให้ผลต่างกันอย่างไร? เมื่อจะเจริญกัมมัฏฐานพึงปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ ให้ผลต่างกันดังนี ้
สมถะ ให้ผลอย่างต่า ทาให้ระงับนิวรณ์บางอย่างได้ อย่างสูง ทาให้เข้าถึงฌานต่าง ๆ ได้
ส่วนวิปัสสนา ให้ผลอย่างต่า ทาให้ได้ปัญญาเห็นสัจจธรรม อย่างสูงทาให้ได้บรรลุอริยผล พ้นจากสังสารทุกข์ ฯ
พึงปฏิบตั ิอย่างนี ้ ในชัน้ ต้นพึงศึกษาให้รูว้ า่ กัมมัฏฐานชนิดไหนชัน้ ใด ในกัมมัฏฐานนัน้ ๆ มีความมุง่ หมายเหมือนกันหรือต่างกันอย่ างไร ในที่นี ้
ควรศึกษาให้รูก้ มั มัฏฐาน ๒ อย่างคือ ๑. สมถกัมมัฏฐาน ๒. วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ

พุทธคุณกถา (นวรหคุณ แปลว่า คุณของพระอรหันต์ ๙ ประการ)


(ปี 63, 59) ในพระพุทธคุณ ๙ ประการนัน้ ส่วนไหนเป็ นเหตุ ส่วนไหนเป็ นผล ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ พระพุทธคุณ ส่วนอัตตสมบัติ เป็ นเหตุ ส่วนปรหิตปฏิบตั ิ เป็ นผล ฯ เพราะทรงบริบรู ณ์ดว้ ยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติก่อนแล้วจึงทรง
บาเพ็ญพุทธกิจให้สาเร็จประโยชน์แก่เวไนย ฯ
(ปี 56) คุณของพระธรรมส่วนปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ โดยย่อว่าอย่างไร? จงอธิบาย
ตอบ คุณของปริยตั ธิ รรม คือให้รูว้ ิธีบาเพ็ญศีล สมาธิ ปั ญญา
คุณของปฏิปัตติธรรม คือทากาย วาจา ใจ ให้บริสทุ ธิ์จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน
คุณของปฏิเวธธรรม คือละกิเลสเป็ นสมุจเฉทปหาน บรรลุถึงความสุขอย่างยิ่ง ฯ
(ปี 55) จงแสดงพระพุทธคุณ ๙ โดยอัตตสมบัติและปรหิตปฏิบตั ิ พอได้ใจความ
ตอบ พระพุทธคุณ คือ อรห สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู เป็ นพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติ
พระพุทธคุณ คือ อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน เป็ นพระพุทธคุณส่วนปรหิตปฏิบตั ิ
พระพุทธคุณ คือ พุทฺโธ ภควา เป็ นพระพุทธคุณทัง้ อัตตสมบัติและปรหิตปฏิบตั ิ ฯ
(ปี 50) จงจัด นวหรคุณ แต่ละอย่างลงในพระปั ญญาคุณและพระกรุณาคุณ?
ตอบ บท อรห สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู เป็ นพระปั ญญาคุณ
บท อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน เป็ นพระกรุณาคุณ
บท พุทฺโธ ภควา เป็ นพระปั ญญาคุณและพระกรุณาคุณทัง้ สอง
(สุคโต ในที่บางแห่ง จัดเป็ นทัง้ พระปั ญญาคุณทัง้ พระกรุณาคุณ) ฯ
(ปี 48) พระพุทธคุณบทว่า “สตฺถา เทวมนุสฺสาน” เมื่อกล่าวถึงพุทธจรรยาในส่วนที่ทรงสั่งสอนมหาชน ประมวลลงเป็ นข้อได้อย่างไรบ้าง?
ตอบ ประมวลลงได้อย่างนี ้ ๑. ทรงพระกรุณาหวังจะให้ผทู้ ่ที รงสั่งสอน ได้ความรูอ้ นั จะให้สาเร็จประโยชน์
๒. ทรงมุ่งความจริงกับประโยชน์เป็ นที่ตงั้ ๓. ทรงทากับตรัสเป็ นอย่างเดียวกัน ๔. ทรงฉลาดในวิธีส่งั สอน ฯ
25 | P a g e
(ปี 47) พระพุทธคุณบทว่า สุคโต นัน้ เป็ นพระคุณส่วนอัตตสมบัติ และส่วนปรหิตปฏิบตั ิอย่างไร? จงอธิบาย
ตอบ พระคุณส่วนอัตตสมบัติ คือ เสด็จออกผนวชไม่ย่อท้อ เสด็จดาเนินไปตามอัฏฐังคิกมรรคเป็ นมัชฌิมาปฏิปทา มิได้ทรงกลับคืนมาสู่
อานาจกิเลสที่พระองค์ทรงละได้แล้ว จนบรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เสด็จไปในที่ใด ก็ทรงไม่มีอนั ตรายใดจักเกิดแก่พระองค์ได้ เสด็จไป
กลับได้โดยสวัสดี ฯ
พระคุณส่วนปรหิตปฏิบตั ิ คือ เสด็จจาริกไปในสถานที่ต่างๆ เทศนาโปรดมหาชนให้ได้ดวงตาเห็นธรรม ให้ได้รบั ประโยชน์ทงั้ ปั จจุบนั อนาคต
และประโยชน์อย่างยิง่ คือพระนิพพาน อนึ่ง ทรงมีพระวาจาดี คือทรงกล่าวแต่คาที่จริงที่แท้ ประกอบด้วยประโยชน์แก่บคุ คลที่ควรกล่าว เสด็จ
ไประงับอันตรายด้วยความอนุเคราะห์เกือ้ กูลแก่ปวงชน แม้เสด็จดับขันธปรินิพพานไปแล้ว ทรงฝากรอยจารึก คือพระคุณความดีในโลก ดุจฝน
ตกลงยังพืชให้เผล็ดผล เป็ นประโยชน์แก่คนและสัตว์ผพู้ ึ่งแผ่นดิน ฯ
(ปี 46) ปริยตั ธิ รรม หมายถึงอะไร? ที่ได้ช่ืออย่างนัน้ เพราะเหตุไร? ธรรมทัง้ ปริยตั ิ ปฏิบตั ิ และปฏิเวธ มีคณ
ุ โดยย่ออย่างไร?
ตอบ หมายถึง พุทธวจนะทัง้ สิน้ ฯ ที่ได้ช่ือว่าปริยตั ิธรรม เพราะเป็ นธรรมต้องเล่าเรียนศึกษาให้รูร้ อบคอบด้วยดี ฯ
มีคณ
ุ โดยย่ออย่างนี ้
ปริยตั ิธรรม มีคณ
ุ คือ ให้รูว้ ิธีบาเพ็ญ ศีล สมาธิ ปั ญญา
ปฏิบตั ิธรรม ุ คือ ทากาย วาจา ใจ ให้บริสทุ ธิ์จนบรรลุมรรค ผล นิพพาน
มีคณ
ปฏิเวธธรรม คือ มรรค ผล นิพพาน มรรคผลนัน้ มีคณ
ุ คือ ละกิเลสเป็ นสมุจเฉทปหาน ส่วนนิพพาน มีคณ
ุ คือ ดับเพลิงกิเลส
และกองทุกข์ได้ทงั้ หมดฯ
(ปี 45) จงแสดงพระพุทธคุณ ๙ โดยอัตตสมบัตแิ ละปรหิตปฏิบตั ิ พอได้ใจความ? ในพระพุทธคุณ ๙ ประการนัน้ ส่วนไหนเป็ นเหตุ ส่วนไหน
เป็ นผล? เพราะเหตุไร?
ตอบ พระพุทธคุณ ตัง้ แต่ อรห จนถึง โลกวิทู เป็ นพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัติ
พระพุทธคุณ คือ อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสาน เป็ นพระพุทธคุณส่วนปรหิตปฏิบตั ิ
พระพุทธคุณ คือ พุทฺโธ ภควา เป็ นพระพุทธคุณทัง้ อัตตสมบัติและปรหิตปฏิบตั ิ ฯ
พระพุทธคุณ ส่วนอัตตสมบัติ เป็ นเหตุ ส่วนปรหิตปฏิบตั ิ เป็ นผล เพราะทรงบริบรู ณ์ดว้ ยพระพุทธคุณส่วนอัตตสมบัตกิ ่อนแล้วจึงทรงบาเพ็ญ
พุทธกิจให้สาเร็จประโยชน์แก่เวไนย ฯ

วิปัสสนากัมมัฏฐาน
หลักการเจริญวิปัสสนา
➢ การเจริญวิปัสสนามีขนั ธ์ ๕ เป็ นอารมณ์
ในพหุลานุสาสนีทสี่ วดในเวลาทาวัตรเช้า ตรัสสั่งสอนแต่โดยอนิจจลักษณะอนัตตลักษณะ หาได้ตรัสทุกขลักษณะไม่
แม้บ่มิ ได้กล่าว ก็สาเร็จด้วย อนิจจลักษณะแล้ว เพราะเหตุลกั ษณะทัง้ ๓ นี ้ เป็ นธรรมธาตุ ธรรมนิยาม ธรรมฐิ ติ ความตัง้ อยู่ แห่ง
ธรรมที่ คงอยู่บมิ ได้ยกั ย้ายประการหนึ่ง ยทนิจฺจ สิ่งใดไม่เที่ยง ต ทุกขฺ สิ่งนัน้ เป็ นทุกข์ ย ทุกฺข ตทนตฺตร สิ่งใดเป็ นทุกข์ สิ่งนัน้ เป็ น
อนัตตา สิ่งใดเป็ นอนัตตาแล้วก็ไม่ควรที่ จะถือมั่นซึง่ สิ่งนัน้ ด้วยตัณหามานะทิฏฐิ อย่างใดอย่างหนึง่ เลย ตสฺมา เหตุนนั้ พหุลานุสา
สโนวาทนี ้ จึงได้ลกั ษณะครบทัง้ ๓ คือ อนิจฺ จตา ความเป็ นของไม่เที่ยง ทุกฺขตา ความเป็ นทุกข์ อนตฺตตา ความเป็ นอนัตตา.

➢ ธรรมเป็ นภูมิเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนานัน้ ได้แก่ ๑.สังขาร เป็ นอารมณ์ ๒.ธรรม เป็ นอารมณ์ ๓.ขันธ์ ๕ เป็ นอารมณ์
๔.ขันธ์ ๕ พร้อมทัง้ เหตุและปั จจัย เป็ นอารมณ์

26 | P a g e
➢ รากเหง้าป็ นเหตุเกิดขึน้ ตัง้ อยูข่ องวิปัสสนา (ขั้นตอนก่อนการปฏิบัติวิปัสสนา)
๑. สีลวิสุทธิ ความบริสทุ ธิ์ของศีล
๒. จิตตวิสุทธิ ความบริสทุ ธิ์ของจิต คืออุปจารสมาธิและอัปปนาสมาธิ
วิสทุ ธิทงั้ ๒ นี ้ เป็ นรากเหง้าป็ นเหตุเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ของวิปัสสนานัน้ . ผูท้ ่จี ะเจริญวิปัสสนานัน้ ต้องปฏิบตั ิให้เป็ นผูม้ ศี ีลบริสุ ทธ์ เป็ นผูม้ ีจิต
บริสทุ ธิ์ ด้วยสมาธิเสียก่อน จึงควรจะเจริญวิปัสสนานัน้ ได้เลย เพราะศีลและสมาธิเป็ นเหตุแรงกล้าให้เกิดวิปัสสนานัน้ .

➢ วิสุทธิทงั้ ๕ นีเ้ ป็ นตัววิปัสสนา (ขัน้ ตอนการปฏิบัตวิ ิปัสสนา)


๑. กาหนดรูเ้ ห็นนามและรูปที่มีจริงเป็ นจริงตามลักษณะเครื่องหมายแจ้งชัด ไม่หลงในสมมติ ว่าสัตว์ ว่าบุคคล ว่าตัวตน ดังนี ้ ชื่อว่าทิฏฐิวิสุทธิ.
๒. กาหนดรูจ้ ริงเห็นซึ่งนามและรูปทัง้ เหตุทงั้ ปั จจัยข้ามล่วงกังขาในกาลทัง้ ๓ เสียได้ ไม่สงสัยว่า เราจุติมาแต่ไหน เราเป็ นอะไร เราจะไปเกิดที่
ไหน เทวดามีหรือไม่มีเป็ นต้น ดังนี ้ ชื่อว่ากังขาวิตรณวิสุทธิ.
๓. ความรูจ้ ริงเห็นจริงว่า นี่เป็ นตัววิปัสสนาเป็ นทางมรรคผล นี่เป็ นอุปกิเลส มิใช่ทางมรรคผล ดังนี ้ ชื่อว่ามัคคามัคคญาณทัสสนาวิสุทธิ.
๔. วิปัสสนาญาณทัง้ ๙ มีอทุ ยัพพญาณเป็ นต้น มีอนุโลมญาณเป็ นที่สดุ ชื่อว่าปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ.
๕. อริยมรรคทัง้ ๔ ชื่อว่าญาณทัสสนวิสุทธิ.

➢ อรกสูตร ในคัมภีรส์ ตั ตกังคุตรว่า ภูตปุพฺพ ภิกฺขเว อรโก นาม สตฺถา อโหสิ ติตฺถกโร กาเมสุ วีตราโค เป็ นต้น มีความเป็ นกระแสพระ
พุทธภาษิตว่า ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย เรื่องนีไ้ ด้เคยมีมาแล้ว มีศาสดาเจ้าลัทธิผหู้ นึ่งชื่ออรกะ เป็ นคนปราศจากกาหนัดในกามคุณ และ
สาวกของอรกศาสดานัน้ มีหลายร้อย อรกศาสดานัน้ แสดงธรรมแก่พวกสาวกว่าดังนี ้ ชีวิตของมนุษย์ทั้งหลายน้อยนิดเดียว พลันจะ
ดับ มีทกุ ข์มาก มีความคับแค้นมาก ควรรูส้ กึ ด้วยปั ญญา ควรบาเพ็ญกุศล ควรประพฤติพรหมจรรย์ เกิดแล้วจะไม่ตายไม่มี. ต่อนีใ้ น
พระสูตรแสดงอุปมาเป็ นหลายข้อ จะถวายวิสชั นาพร้อมทัง้ อรรถาธิบายเป็ นลาดับไป
ข้อ ๑ ว่า ชีวิตของมนุษย์ทงั้ หลายเหมือนหยาดน้าค้าง ธรรมดาว่าหยาดนา้ ค้างที่ปลายใบหญ้า เมื่อพระอาทิตย์อทุ ยั ต้องไอร้อน ก็พลันจะ
หายไป ไม่ตงั้ อยู่นานฉันใด ชีวิตของมนุษย์ทงั้ หลายนีเ้ ล่า เมื่อชาติมีแล้ว ก็มชี รา พยาธิ มรณะ คอยรุมเผาไม่ ให้เป็ นไปนาน พลันสาบสูญ
อันตรธานเสียแต่ไม่ทนั ไร เกิดแล้วก็แก่เฒ่าเจ็บตาย ในชั่วยังไม่ทนั ถึงร้อยปี ข้อนีก้ ็อปุ ไมยฉันนัน้ .
ข้อ ๒ ว่า เหมือนต่อมน้า (เหมือนฟองน้า) ธรรมดาว่าต่อมนา้ อันตัง้ ขึน้ เพราะฝนเม็ดโตตกกระทบพืน้ โดยกาลังแรง ย่อมพลันจะแตกไปไม่
ตัง้ อยู่นานฉันใด ชีวิตตนเกิดขึน้ เพราะความประชุมแห่งเหตุ เมื่อเหตุสลายจากกันแล้ว ก็พลันที่จะดับฉันนัน้ .
ข้อ ๓ ว่า เหมือนรอยไม้ขีดลงในน้า ธรรมดาว่านา้ เป็ นของไม่แยกจากกัน เมื่อบุคคลเอาไม้ขดี ให้แยกจากกัน พอไม่มีไม้ค่นั ก็กลับเลื่อน
ไหลเข้าหากันอีน รอยปรากฏในชั่วเวลาไม้ขีดกาลังลงฉันใด ชีวิตนีย้ งั เป็ นไปได้กเ็ พราะได้ปัจจัยอุดหนุน หมดปั จจัยแล้วก็ห มดกัน สมด้วยพระ
พุทธภาษิตว่า
อายุ อุสฺมา จ วิญฺญาณ ยทา กาย ชหนฺติม
อปวิฏฺโฐ ตทา เสติ เอตฺถา สาโร น วิชฺชติ.
ความว่า เมื่อใด อายุ ไออุ่น และวิญญาณ ละกายนีเ้ สีย เมื่อนัน้ กายนีย้ ่อมนอนทอดหาแก่นสารมิได้ ข้อนีก้ ็มีอปุ ไมยฉันนั้น.
ข้อ ๔ ว่า เหมือนลาธารอันไหลมาจากภูเขา ธรรมดาว่ากระแสนา้ ในลาธารไหลไปไกล กาลังเชี่ยว นาเอาสิ่งที่อาจนาได้ไปไม่มีหยุดสัก
ขณะ มีแต่จะไหลไปอย่างเดียวฉันใด วันคืนล่วงไป ๆ ก็นาเอาชีวิตล่วงตามไปด้วย ไม่มีพกั สักขณะ มีแต่จะรุกไปส่วนเดียวฉันนัน้ .

27 | P a g e
ข้อ ๕ ว่า เหมือนก้อนเขฬะ(เหมือนก้อนเสลด) ธรรมดาว่าบุรุษมีกาลัง จะถ่มก้อนเขฬะที่ปลายสิน้ ได้โดยไม่ยากฉันใด ชีวิตนีก้ ็เป็ นของจะ
ดับได้ง่ายฉันนัน้ .
ข้อ ๖ ว่า เหมือนชิน้ เนือ้ นาบไฟ ธรรมดาว่าชิน้ เนือ้ ที่บคุ คลเอาลงในกะทะเหล็กอันร้อนตลอดวันยังค่า ย่อมจะพลันไหม้ ไม่ตงั้ อยูน่ านฉัน
ใด ชีวิตก็ตอ้ งเพลิงกิเลสและเพลิงทุกข์เผาผลาญให้เหีย้ มเกรียมไม่ทนอยู่นานฉันนัน้ .
ข้อ ๗ ว่า เหมือนโคทีเ่ ขาจะฆ่า ต้องนาไปสู่ท่ฆี ่า ยกเท้าเดินไปเท่าใด ความตายก็ใกล้เข้ามาเท่านั้น ชีวิตนีว้ นั คืนล่วงไปเท่าใด ก็ใกล้ความ
ตายเข้าไปเท่านัน้ เหมือนกัน.

➢ อนัตตลักขณสูตร ทรงยก ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็ นอนัตตา ในตอนท้ายของพระสูตร ทรงแสดง
อานิสงส์แห่งวิปัสสนาว่า เอว ปสฺส ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็ นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุ ทงั้ หลาย อริยสาวกผูไ้ ด้สดับแล้ว เมื่อเห็น
อย่างนี ้ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนัน้ ก็พน้ จากอาสวะทัง้ ปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็
มีญาณหยั่งรูว้ า่ พ้นแล้ว และเธอรูป้ ระจักษ์ชดั ว่า ชาติสนิ ้ แล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทาเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทาเช่นนี ้
ไม่มีอีก

➢ วิปลาส (บางทีกใ็ ช้ วิปัลลาส ก็มี)


วิปลาสด้วยอานาจจิตและเจตสิก ๓ ประการ คือ
๑. สัญญาวิปลาส วิปลาสด้วยอานาจสาคัญผิด
๒. จิตตวิปลาส วิปลาสด้วยอานาจคิดผิด
๓. ทิฏฐิวิปลาส วิปลาสด้วยอานาจเห็นผิด
วิปลาสกล่าวด้วยสามารถวัตถุทตี่ ั้งเป็ น(หรือตามเรื่องทีย่ ดึ ถือ) ๔ ประการ คือ
๑. วิปลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง
๒. วิปลาสในของที่เป็ นทุกข์ว่าเป็ นสุข
๓. วิปลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็ นตน
๔. วิปลาสในของที่ไม่งามว่างาม
➢ ฐานะ ๖
๑. อนิจจะ ของไม่เที่ยง
๒. อนิจจลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ ่าไม่เที่ยง
๓. ทุกขะ ของสัตว์ทนได้ยาก
๔. ทุกขลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ ่าเป็ นทุกข์
๕. อนัตตา สิ่งสภาพไม่ใช่ตวั ตน
๖. อนัตตลักขณะ เครื่องหมายที่จะกาหนดรูว้ า่ เป็ นอนัตตา

(ปี 63, 61) วิปัลลาสคืออะไร ? วัตถุท่วี ิปัลลาส มีอะไรบ้าง ?


ตอบ คือ กิรยิ าที่ถือเอาโดยอาการอันผิดจากความจริง ฯ
มี ๔ อย่าง คือ ๑. วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง ๒. วิปัลลาสในของที่เป็ นทุกข์ว่าเป็ นสุข ๓. วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็ นตน
28 | P a g e
๔. วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม ฯ
(ปี 60) ทุกขลักขณะ และ ทุกขานุปัสสนา เป็ นอย่างเดียวกันหรือต่างกัน ? จงอธิบาย
ตอบ ต่างกันคือ ทุกขลักขณะ ได้แก่ ลักษณะที่เป็ นทุกข์แห่งสังขาร เพราะถูกบีบคัน้ จากปัจจัยต่าง ๆ
ทุกขานุปัสสนา ได้แก่ ปั ญญาพิจารณาเห็นสังขารว่าเป็ นทุกข์ ฯ
(ปี 59) ในวิสทุ ธิ ๗ วิสทุ ธิขอ้ ไหนบ้าง เป็ นเหตุให้เกิดขึน้ และตัง้ อยูแ่ ห่งวิปัสสนา? เพราะเหตุไร? จงอธิบาย
ตอบ ข้อสีลวิสทุ ธิ ความบริสทุ ธิ์แห่งศีล และจิตตวิสทุ ธิ ความบริสทุ ธิ์แห่งจิตเป็ นเหตุให้เกิดขึน้ และตัง้ อยู่แห่งวิปัสสนา ฯ
เพราะผูม้ ีศีลไม่บริสทุ ธิ์ จิตย่อมไม่สงบ เมื่อจิตไม่สงบก็ยากที่จะเจริญวิปัสสนา ฯ
(ปี 58) ท่านว่า ผูท้ ่จี ะเจริญวิปัสสนาปั ญญา พึงรูฐ้ านะ ๖ ก่อน ฐานะ ๖ นัน้ มีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๑. อนิจจะ ของไม่เที่ยง
๒. อนิจจลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ ่าไม่เที่ยง
๓. ทุกขะ ของสัตว์ทนได้ยาก
๔. ทุกขลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ า่ เป็ นทุกข์
๕. อนัตตา สิ่งสภาพไม่ใช่ตวั ตน
๖. อนัตตลักขณะ เครื่องหมายที่จะกาหนดรูว้ า่ เป็ นอนัตตา ฯ
(ปี 57) ปั จจุบนั มีการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานกันมาก อยากทราบว่า อารมณ์ของวิปัสสนากัมมัฏฐาน คืออะไร ?
ตอบ คือสังขารทัง้ หลาย ทัง้ ที่เป็ นอุปาทินนกะและอนุปาทินนกะ (หรือ ธรรมในวิปัสสนาภูมิ คือขันธ์ อายตนะ ธาตุ เป็ นต้น) ฯ
(ปี 56) ในอรกสูตรกล่าวไว้วา่ ชีวติ ของมนุษย์ทงั้ หลายเปรียบเหมือนชิน้ เนือ้ นาบไฟ มีอธิบายอย่างไร? และที่กล่าวไว้เช่นนัน้ เพื่อประโยชน์
อะไร? ตอบ มีอธิบายว่า ธรรมดาว่าชิน้ เนือ้ ที่บคุ คลเอาลงในกะทะเหล็กอันร้อนตลอดวันยังค่า ย่อมจะพลันไหม้ ไม่ตงั้ อยู่นานฉันใด ชีวิตก็ถกู
เพลิงกิเลสและเพลิงทุกข์เผาผลาญให้เหีย้ มเกรียมไม่ทนอยู่นานฉันนัน้ ฯ มีประโยชน์ คือเป็ นเครื่องเตือนใจให้รูส้ กึ ด้วยปั ญญา ทาให้ไม่
ประมาทในชีวติ เร่งสั่งสมความดี ฯ
(ปี 56) วิปลาส คืออะไร? จาแนกโดยวัตถุเป็ นที่ตงั้ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ คือ กิรยิ าที่ถือเอาโดยอาการวิปริตผิดจากความจริง ฯ มี ๔ อย่าง ฯ คือ
ความสาคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง
ความสาคัญคิดเห็นในสิ่งที่เป็ นทุกข์วา่ เป็ นสุข
ความสาคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่ใช่ตนว่าเป็ นตน และ
ความสาคัญคิดเห็นในสิ่งที่ไม่งามว่างาม ฯ
(ปี 55) ปั ญญารูเ้ ห็นอย่างไร ชื่อว่าวิปัสสนาปั ญญา?
ตอบ ปั ญญาอันเห็นตามเป็ นจริง คือกาหนดรูส้ งั ขารโดยความเป็ นของไม่เที่ยง ๑ โดยความเป็ นทุกข์ ๑ โดยความเป็ นอนัตตา ๑ ถอนความถือ
มั่นด้วยอานาจตัณหา มานะ ทิฏฐิ เสียได้ ชื่อว่าวิปัสสนาปั ญญา ฯ
(ปี 54) ในอรกสูตร กล่าวไว้วา่ ชีวิตของมนุษย์ทงั้ หลายเปรียบเหมือนหยาดนา้ ค้าง ดังนี ้ มีอธิบายอย่างไร?
และที่กล่าวไว้เช่นนัน้ มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า ธรรมดาหยาดนา้ ค้างที่จบั อยู่ตามยอดหญ้า เมื่อถูกแสงอาทิตย์ในเวลาเช้า ก็พลันจะเหือดแห้งหายไปฉันใด ชีวิตของมนุษย์
ทัง้ หลายก็ฉนั นัน้ มีความเกิดแล้วก็มีความแก่ ความเจ็บ ความตาย คอยเบียดเบียน ทาให้ดารงอยูไ่ ด้ไม่นาน ไม่ถึงร้อยปี ก็จะหมดไป ฯ เพื่อ
เป็ นเครื่องเตือนใจให้รูส้ กึ ด้วยปัญญา ทาให้ไม่ประมาทในชีวิต เร่งสั่งสมความดี ฯ
29 | P a g e
(ปี 54) ในอนัตตลักขณสูตร พระศาสดาทรงยกธรรมอะไรขึน้ แสดงว่าเป็ นอนัตตา? และในตอนท้ายของพระสูตร ทรงแสดงอานิสงส์แห่ง
วิปัสสนาว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงยก ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ขึน้ แสดง ฯ
ทรงแสดงไว้ว่า เอว ปสฺส ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็ นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย อริยสาวกผูไ้ ด้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี ้ ย่อมเบื่อ
หน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนัน้ ก็พน้ จากอาสวะทัง้ ปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มญ
ี าณหยั่งรูว้ า่ พ้นแล้ว
และเธอรูป้ ระจักษ์ชดั ว่า ชาติสนิ ้ แล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทาเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทาเช่นนี ้ ไม่มีอกี ฯ
(ปี 53) ปั ญหาว่าตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญจะหมดไปได้ เมื่อเจริญวิปัสสนาได้ชนั้ ไหนแล้ว? เพราะได้พิจารณาเห็นอย่างไร?
ตอบ ชัน้ กังขาวิตรณวิสทุ ธิ ฯ เพราะได้พิจารณากาหนดรูจ้ ริงเห็นจริงซึง่ นามรูปทัง้ เหตุทงั้ ปั จจัย ข้ามล่วงกังขาในกาลทัง้ ๓ เสียได้ ไม่สงสัยว่า
เราจุติมาจากไหน เราเป็ นอะไร เราจะไปเกิดที่ไหน เป็ นต้น ฯ
(ปี 52) ในพหุลานุสาสนีท่สี วดในเวลาทาวัตรเช้า ไม่มีทกุ ขลักษณะพระไตรลักษณ์ไม่ขาดไปข้อหนึ่งหรืออย่างไร? จงอธิบาย
ตอบ ไม่ขาด เพราะลักษณะทัง้ ๓ นี ้ เป็ นธรรมธาตุ ธรรมนิยาม ธรรมฐิ ติ ความตัง้ อยู่แห่งธรรมที่คงอยู่มิได้ยกั ย้าย อีกประการหนึ่ง บาลีว่า ยท
นิจฺจ สิ่งใดไม่เที่ยง ต ทุกฺข สิ่งนัน้ เป็ นทุกข์ ย ทุกข สิ่งใดเป็ นทุกข์ ตทนตฺตา สิ่งนัน้ เป็ นอนัตตา มิใช่ตวั มิใช่ตน เพราะเหตุนนั้ พหุลานุสาสนีจึงได้
ครบลักษณะทัง้ ๓
(ปี 52) อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่องอะไร? ในพระสูตรนัน้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงอานิสงส์แห่งวิปัสสนาญาณไว้อย่างไร?
ตอบ ว่าด้วย ขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็ นอนัตตา ฯ
อานิสงส์แห่งวิปัสสนาญาณนัน้ ว่า เอว ปสฺส ภิกฺขเว สุตวฺ า อริยสาวโก เป็ นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย อริยสาวกผูไ้ ด้สดับแล้ว เมื่อเห็น
อย่างนี ้ ย่อมหน่ายในรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เมื่อหน่ายก็ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดให้ จิตนัน้ ก็พน้ จาก
อาสวะทัง้ ปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรูว้ ่าพ้นแล้ว และพระอริยสาวกนัน้ รูป้ ระจักษ์วา่ ชาติสนิ ้ แล้ว พรหมจรรย์คือกิจศาสนาได้ทา
เสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทาเช่นนีไ้ ม่มีอีก ฯ
(ปี 51) ผูจ้ ะเจริญวิปัสสนาภาวนา พึงศึกษาให้รูจ้ กั ธรรม ๓ ประการ อะไรบ้าง?
ตอบ ธรรม ๓ ประการ คือ ๑. ธรรมเป็ นภูมิเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนานัน้ (มีขนั ธ์ ๕ เป็ นต้น)
๒. ธรรมเป็ นรากเหง้า เป็ นเหตุเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ของวิปัสสนานัน้ (คือสีลวิสทุ ธิและจิตตวิสุทธิ)
๓. ตัว คือ วิปัสสนานัน้ (คือ วิสทุ ธิ ๕ ที่เหลือ) ฯ
(ปี 51) วิปัลลาส คืออะไร? แบ่งตามจิตและเจตสิกได้กี่ประเภท? อะไรบ้าง?
ตอบ คือ กิรยิ าที่ถือโดยอาการวิปริตผิดจากความเป็ นจริงฯ แบ่งได้ ๓ ประเภท ฯ คือ๑. สัญญาวิปัลลาส ๒. จิตตวิปัลลาส ๓. ทิฏฐิ วิปัลลาสฯ
(ปี 50) อะไรเป็ นลักษณะ เป็ นกิจ และเป็ นผลของวิปัสสนา?
ตอบ สภาพความเป็ นเองของสังขาร คือเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา จริงอย่างไร ความรูค้ วามเห็นว่าสังขารเป็ นของไม่เที่ยง เป็ น
ทุกข์ เป็ นอนัตตา แจ้งชัดจริงอย่างนัน้ เป็ นลักษณะของวิปัสสนา
การกาจัดโมหะความมืดเสียให้สนิ ้ เชิง ไม่หลงในสังขารว่าเป็ นของเที่ยง เป็ นสุข เป็ นตัวเป็ นตน เป็ นของงาม เป็ นกิจของวิปัสสนา
ความรูแ้ จ้งเห็นจริงในสังขารทัง้ หลายว่าเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา อันสืบเนื่องมาจากการกาจัดโมหะความมืดเสียได้สนิ ้ เชิ ง ไม่มี
ความรูผ้ ิดความเห็นผิด เป็ นผลของวิปัสสนา ฯ
(ปี 50) ในอรกสูตร ทรงแสดงอุปมาชีวิตของมนุษย์ทงั้ หลายไว้อย่างไรบ้าง จงบอกมา ๓ ข้อ? ที่ทรงแสดงไว้เช่นนัน้ เพื่ออะไร?
ตอบ ทรงแสดงไว้ดงั นี ้ คือ (ให้ตอบเพียง ๓ ข้อ) ๑. เหมือนหยาดนา้ ค้าง ๒. เหมือนต่อมนา้ ๓. เหมือนรอยไม้ขีดลงในนา้
๔. เหมือนลาธารอันไหลมาจากภูเขา ๕. เหมือนก้อนเขฬะ ๖. เหมือนชิน้ เนือ้ นาบไฟ ๗. เหมือนโคที่เขาจะฆ่า ฯ
30 | P a g e
ทรงแสดงไว้เพื่อเป็ นเครื่องเตือนใจให้เร่งรีบทาความดีให้ทนั กับเวลาที่ยงั มีชวี ิตอยู่ ฯ
(ปี 49) การทาวัตรสวดมนต์ เป็ นกิจวัตรของพระภิกษุสามเณรและเป็ นภาวนากุศล จงแสดงวิธีเจริญสมถกัมมัฏฐานและวิปัสสนากัมมัฏฐาน
ในบททาวัตรเช้ามาดูพอเป็ นตัวอย่าง?
ตอบ การสวดนมัสการพระรัตนตรัยก็ดี สวดสรรเสริญคุณพระรัตนตรัยก็ดี เป็ นการน้อมจิตระลึกถึงคุณพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ ชื่อว่า
เจริญพุทธานุสสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ จัดเป็ นสมถกัมมัฏฐาน ฯ
สวดสังเวคปริกติ ตนปาฐะว่า ชาติปิ ทุกฺขา ชราปิ ทุกฺขา มรณมฺปิ ทุกฺข... รูป อนิจฺจ เวทนา อนิจจฺ า... รูป อนตฺตา เวทนา อนตฺตา... เป็ นอาทิ ตัง้
สติมีความเพียร ใช้ปัญญาพิจารณาเบญจขันธ์ ยกขึน้ สู่ สามัญลักษณะ จัดเป็ นวิปัสสนากัมมัฏฐานฯ
(ปี 47) พระบรมศาสดาทรงแสดงอานิสงส์แห่งวิปัสสนาไว้ในอนัตตลักขณสูตรอย่างไร?
ตอบ ทรงแสดงไว้ว่า เอว ปสฺส ภิกฺขเว สุตวา อริยสาวโก เป็ นต้น ความว่า ดูก่อนภิกษุทงั้ หลาย อริยสาวกผูไ้ ด้สดับแล้ว เมื่อเห็นอย่างนี ้ ย่อม
เบื่อหน่าย ย่อมฟอกจิตให้หมดจด เพราะการฟอกจิตให้หมดจดได้ จิตนัน้ ก็พน้ จากอาสวะทัง้ ปวง เมื่อจิตพ้นพิเศษแล้ว ก็มีญาณหยั่งรูว้ า่ พ้น
แล้ว และเธอรูป้ ระจักษ์ชดั ว่า ชาติสนิ ้ แล้ว พรหมจรรย์คือกิจพระศาสนาได้ทาเสร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทาเช่นนีไ้ ม่มีอกี ฯ
(ปี 47) กิจ เหตุ และผลของวิปัสสนา ได้แก่อะไร?
ตอบ กิจ ได้แก่ การกาจัดความมืดคือโมหะ อันปิ ดบังปั ญญาไว้ ไม่ให้เห็นตามความเป็ นจริง
เหตุ ได้แก่ การที่จิตตัง้ มั่นเป็ นสมาธิ ไม่ฟ้งุ ซ่าน
ผล ได้แก่ การเห็นสังขารตามความเป็ นจริง ฯ
(ปี 46) ความกาหนดรูอ้ ย่างไร จัดเป็ นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา?
ผูเ้ จริญวิปัสสนาภาวนา พึงรูฐ้ านะทัง้ ๖ ก่อน ฐานะทัง้ ๖ นัน้ คืออะไรบ้าง?
ตอบ ความกาหนดรูว้ า่ สังขารทัง้ ปวงเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ และเป็ นอนัตตา เป็ นลักษณะของวิปัสสนาภาวนา ฯ
ฐานะทัง้ ๖ คือ อนิจจะ ของไม่เที่ยง ๑
อนิจจลักขณะ เครื่องหมายที่จะกาหนดรูว้ า่ ไม่เที่ยง ๑
ทุกขะ ของที่สตั ว์ทนยาก ๑
ทุกขลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ ่าเป็ นทุกข์ ๑
อนัตตา สภาวะมิใช่ตวั มิใช่ตน ๑
อนัตตลักขณะ เครื่องหมายที่จะให้กาหนดรูว้ ่าเป็ นอนัตตา ๑ ฯ
(ปี 44) วิปัลลาสคืออะไร? จาแนกโดยวัตถุเป็ นที่ตงั้ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? จะถอนวิปัลลาสนัน้ ได้เพราะเจริญธรรมอะไร?
ตอบ คือ กิรยิ าที่ถือเอาโดยอาการวิปริตผิดจากความจริง มี ๔ อย่างคือ ๑. วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง
๒. วิปัลลาสในของที่เป็ นทุกข์วา่ เป็ นสุข ๓. วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็ นตน ๔. วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม
วิปัลลาสในของที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง จะถอนได้ดว้ ยอนิจจสัญญา
วิปัลลาสในของที่เป็ นทุกข์ว่าเป็ นสุข จะถอนได้ดว้ ยทุกขสัญญา
วิปัลลาสในของที่ไม่ใช่ตนว่าเป็ นตน จะถอนได้ดว้ ยอนัตตสัญญา
วิปัลลาสในของที่ไม่งามว่างาม จะถอนได้ดว้ ยอสุภสัญญา

31 | P a g e
มหาสติปัฏฐานสูตร
(ปี 50) ตามมหาสติปัฏฐานสูตร ผูเ้ จริญสติปัฏฐาน ๔ ตลอด ๗ วันถึงตลอด ๗ ปี พึงหวังผลอะไรได้บา้ ง?
ตอบ พึงหวังผล ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง คือ พระอรหัตผลในปั จจุบนั ชาตินี ้ ๑ หรือเมื่อวิบากขันธ์ท่กี ิเลสมีตณ
ั หาเป็ นต้นเข้ายึดไว้ยงั
เหลืออยู่เป็ นพระอนาคามี ๑ ฯ
(ปี 48) ในธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน พระพุทธองค์ทรงแสดงวิธีพจิ ารณาสติสมั โพชฌงค์ไว้ดว้ ยอาการอย่างไร?
ตอบ ด้วยอาการอย่างนี ้ คือ เมื่อสติสมั โพชฌงค์มีอยู่ ณ ภายในจิต ก็รูช้ ดั ว่ามีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา
เมื่อไม่มีอยู่ ณ ภายในจิต ก็รูช้ ดั ว่าไม่มีอยู่ ณ ภายในจิตของเรา
เมื่อยังไม่เกิด แต่จะเกิดขึน้ ด้วยประการใด ก็รูช้ ดั ด้วยประการนัน้
เมื่อเกิดขึน้ แล้วเจริญบริบรู ณ์ขนึ ้ ด้วยประการใด ก็รูช้ ดั ด้วยประการนัน้ ฯ
(ปี 47) ในมหาสติปัฏฐานสูตร สติปัฏฐาน ๔ มีช่ือเรียกอีกอย่างว่ากระไร? สติปัฏฐาน ๔ นัน้ มีอานิสงส์อย่างไรบ้าง?
ตอบ เอกายนมรรค ฯ มีอานิสงส์ ๕ ประการ คือ ๑. เพื่อความบริสทุ ธิ์แห่งสัตว์ทงั้ หลาย ๒. เพื่อความข้ามพ้นโสกะและปริเทวะ
๓. เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส ๔. เพื่อบรรลุธรรมที่ควรรู ้ ๕. เพื่อการทาให้แจ้งพระนิพพาน ฯ
(ปี 44) การพิจารณากองลมหายใจเข้าออก เพียงแต่รูว้ า่ สัน้ ยาว ดังนี ้ จัดเป็ นสติปัฏฐานข้อไหน?
ในธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน หัวข้อธรรมที่จะนามาพิจารณานัน้ มีอะไรบ้าง?
ตอบ จัดเป็ นกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ฯ มี นิวรณ์ ๕ อุปาทานขันธ์ ๕ อายตนะ ๖ โพชฌงค์ ๗ และอริยสัจ ๔

คิริมานนทสูตร
➢ สัญญา ๑๐ ความกาหนดหมายรู ้ เป็ นแนวสาหรับยกพิจารณาในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อทาให้เกิดปั ญญารอบรูส้ งั ขาร
ธรรรมทัง้ หลาย
๑. อนิจจสัญญา กาหนดพิจารณาขันธ์ ๕ ให้เห็นของไม่เที่ยง
๒. อนัตตสัญญา กาหนดพิจารณาอายตนะภายในและอายตนะภายนอก ให้เป็ นอนัตตา
๓. อสุภสัญญา กาหนดพิจารณาร่างกาย ให้เห็นเป็ นของสกปรก
๔. อาทีนวสัญญา กาหนดพิจารณาร่างกายโดยความเป็ นโทษ
๕. ปหานสัญญา กาหนดพิจารณาเพื่อละอกุศลวิตก ๓ (กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก) รวมไปถึงอกุศลธรรมทัง้ หลาย
ให้หมดสิน้ ไป
๖. วิราคสัญญา กาหนดพิจารณาวิราคะ
๗. นิโรธสัญญา กาหนดหมายนิโรธว่าเป็ นธรรมอันละเอียดประณีต เป็ นธรรมที่ดบั กิเลสและกองทุกข์
๘. สัพพโลเก อนภิรตสัญญา กาหนดพิจารณาเพื่อละอุบายและอุปาทานในโลก
๙. สัพพสังขาเรสุ อนิฏฐสัญญา กาหนดพิจารณาในสังขารทัง้ หลายที่เป็ นไปตามกฏธรรมดา
๑๐. อานาปานสติ การตัง้ สติกาหนดดูลมหายใจเข้า-ออก
(ปี 58) พระพุทธองค์ทรงแสดงคิรมิ านนทสูตรที่ไหน ? แก่ใคร ? ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ตอบ ที่พระเชตวัน เมืองสาวัตถี ฯ แก่พระอานนท์ ฯ ว่าด้วยสัญญา ๑๐ ฯ
(ปี 57) พระคิรมิ านนท์หายจากอาพาธเพราะฟังธรรมจากใคร? ธรรมนัน้ ว่าด้วยเรื่องอะไร?ตอบจากพระอานนท์ ฯ ว่าด้วยเรื่องสัญญา ๑๐ฯ
(ปี 56) ข้อว่า อนัตตสัญญา ในคิรมิ านนทสูตร ทรงให้พจิ ารณาอะไรว่าเป็ นอนัตตา?
32 | P a g e
ตอบ ทรงให้พิจารณาอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ และอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ว่าเป็ น
อนัตตา ฯ
(ปี 55) ในสัญญา ๑๐ ข้อที่ ๕ ว่าปหานสัญญา ความสาคัญหรือความใส่ใจในการละ ขอทราบว่า ทรงสอนให้ละอะไรบ้าง?
ตอบ ทรงสอนให้ละ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก ธรรมอันเป็ นบาปเป็ นอกุศลทัง้ ๔ นี ้ ที่เกิดขึน้ แล้วไม่ให้เกิดขึน้ อีก ฯ
(ปี 54) ในคิรมิ านนทสูตร ข้อว่า ปหานสัญญา พระศาสดาทรงสอนให้ละอะไร?
ตอบ ทรงสอนให้ละ กามวิตก พยาบาทวิตก วิหิงสาวิตก และอกุศลบาปธรรม ที่เกิดขึน้ แล้ว ฯ
(ปี 53) พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงแสดงสัญญา ๑๐ กะใคร? อนิจจสัญญา พระผูม้ ีพระภาคเจ้าทรงสอนให้พิจารณาธรรมอะไร?
ตอบ พระอานนทเถระ ฯ พิจารณาขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ฯ
(ปี 52) ในสัญญา ๑๐ ทรงแสดงถึงการให้พิจารณาพระนิพพานว่าเป็ นธรรมที่สารอกกิเลส และว่าเป็ นธรรมเป็ นที่ดบั สนิท จัดเป็ นสัญญาข้อ
ไหนบ้าง?
ตอบ พิจารณาพระนิพพานว่า เป็ นธรรมที่สารอกกิเลส จัดเป็ นวิราคสัญญา
พิจารณาพระนิพพานว่า เป็ นธรรมเป็ นที่ดบั สนิท จัดเป็ นนิโรธสัญญา ฯ
(ปี 48) ข้อว่า อนัตตสัญญา ในคิรมิ านนทสูตร ทรงให้ยกธรรมอะไรขึน้ พิจารณาว่าเป็ นอนัตตา?
ตอบ ทรงให้ยกอายตนะภายใน คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ
และอายตนะภายนอก คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์ ขึน้ พิจารณาว่าเป็ นอนัตตา ฯ
(ปี 47) วิปัลลาสข้อว่า “วิปัลลาสในของที่เป็ นทุกข์วา่ เป็ นสุข” จะถอนได้ดว้ ยสัญญาอะไรในสัญญา ๑๐? ใจความว่าอย่างไร?
ตอบ จะถอนได้ดว้ ยอาทีนวสัญญา ฯ
ใจความว่า ภิกษุย่อมพิจารณาอย่างนีว้ ่า กายอันนีแ้ ล มีทกุ ข์มาก มีโทษมาก เหล่าอาพาธต่างๆ ย่อมเกิดขึน้ ในกายนี ้ ฯ
(ปี 46) พระคิรมิ านนท์หายจากอาพาธหนัก เพราะฟังธรรมอะไร? ใครเป็ นผูแ้ สดง?
ข้อว่า “ สพฺพสงฺขาเรสุ อนิจฺจสญฺญญา ความจาหมายความไม่เที่ยงในสังขารทัง้ ปวง ” มีใจความว่าอย่างไร?
ตอบ เพราะฟั งคิรมิ านนทสูตร ฯ พระอานนทเถระ เป็ นผูแ้ สดง ฯ
มีใจความว่า ภิกษุในธรรมวินยั นี ้ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมระอา ย่อมเกลียดชัง แต่สงั ขารทัง้ ปวง ฯ
(ปี 44) อนิจจสัญญาในคิรมิ านนทสูตร มีใจความว่าอย่างไร? การพิจารณาอาทีนวสัญญาโดยย่อ ได้แก่พิจารณาอย่างไร?
ตอบ มีใจความว่า " ภิกษุในธรรมวินยั นี ้ ไปในป่ าก็ดี ไปที่โคนไม้กด็ ี ไปที่เรือนว่างเปล่าก็ดี ย่อมพิจารณาอย่างนีว้ ่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร
วิญญาณ ไม่เที่ยง ย่อมเป็ นผูพ้ ิจารณาเนือง ๆ โดยความไม่เที่ยงในอุปาทานขันธ์ทงั้ ๕ " ฯ
พิจารณาอย่างนีว้ า่ " กายนีม้ ีทกุ ข์มาก มีโทษมาก เหล่าอาพาธย่อมเกิดขึน้ ในกายนี ้ " ฯ

33 | P a g e
ทบทวน พุทธานุพุทธประวัติ นักธรรมชั้นเอก
วิชาพุทธานุพทุ ธประวัติและประโยชน์
(ปี 63, 59) พุทธานุพทุ ธประวัติ ให้ความรูแ้ ก่ผศู้ กึ ษาทางใดบ้าง ? จงอธิบายพอได้ใจความ
ตอบ ๑. ทางประวัติศาสตร์ เช่นความเป็ นไปของบ้านเมืองในครัง้ พุทธกาล และลัทธิธรรมเนียมของประชาชนในสมัยนัน้
๒. ทางจรรยาของพระพุทธเจ้า และจรรยาของเหล่าพระอริยสาวก
๓. ทางธรรมวินยั ที่ปรากฏในตํานานและความเป็ นมาแห่งศาสนธรรมพร้อมทัง้ ตัวอย่างการบํารุงพระพุทธศาสนาให้รุง่ เรือง
(ปี 51) พุทธประวัติ วิภาคที่ ๑ ปุรมิ กาล และวิภาคที่ ๓ อปรกาล ที่ทรงรจนาไว้แสดงถึงเรื่องอะไร?
ตอบ ปุรมิ กาล แสดงถึงเรื่องเป็ นไปในกาลก่อนแต่บาํ เพ็ญพุทธกิจ อปรกาล แสดงถึงเรื่องถวายพระเพลิงและแจกพระธาตุ ฯ

กว่าจะเป็ นพระพุทธเจ้า
(ปี 57) พระมหาบุรุษทรงทอดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย แล้วทรงบรรเทาความเมาในอะไรได้?
ตอบ ทรงบรรเทาความเมาในวัย ความเมาในความไม่มีโรค และความเมาในชีวิต ฯ
(ปี 57) ในการเสด็จออกบรรพชา พระมหาบุรุษทรงได้รบั บาตรและจีวรจากใคร ? ตอบ จากฆฏิการพรหม ฯ
(ปี 56) พระโพธิสตั ว์เมื่อจะจุติลงสู่พระครรภ์พระมารดา เสด็จมาจากไหน? ตอบ เสด็จมาจากดุสิตพิภพ ฯ
(ปี 56) บุคคลผูเ้ ป็ นสหชาติของพระศาสดา ที่บรรลุพระอรหัตก่อนและหลังพุทธปรินิพพานมีใครบ้าง?
ตอบ ผูบ้ รรลุพระอรหัตก่อนพุทธปรินิพพาน มีพระนางพิมพาเถรีและพระกาฬุทายิเถระ ฯ
ผูบ้ รรลุพระอรหัตหลังพุทธปรินิพพาน มีพระอานนทเถระ และพระฉันนเถระ ฯ
(ปี 56) พระมหาบุรุษทรงดําเนินด้วยพระบาท ๗ ก้าว หลังจากประสูติใหม่ ๆ เรื่องนี ้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรง
ถอดความว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงถอดความว่า น่าจะได้แก่ทรงแผ่พระศาสนาได้แพร่หลายใน ๗ ชนบท (ได้แก่ ๑.กาสีกบั โกสละ ๒.มคธะกับอังคะ ๓.สักกะ ๔.วัชชี ๕.
มัลละ ๖.วังสะ ๗.กุรุ) ฯ
(ปี 54) บารมี ๑๐ ของพระมหาบุรุษมีอะไรบ้าง? ท่านเปรียบเทียบบารมีขอ้ ไหนกับอาวุธยุทโธปกรณ์ชนิดใด ในการต่อสูก้ บั หมูม่ าร?
ตอบ คือ ทานบารมี ศีลบารมี เนกขัมมบารมี ปั ญญาบารมี วิรยิ บารมี ขันติบารมี สัจจบารมี อธิษฐานบารมี เมตตาบารมี อุเบกขาบารมี ฯ
ศีลบารมี เปรียบเทียบกับแผ่นดิน ปั ญญาบารมี เปรียบเทียบกับพระขรรค์ วิรยิ บารมี เปรียบเทียบกับพระบาท
บารมีท่เี หลือจากนี ้ เปรียบเทียบกับโล่ป้องกัน ฯ
(ปี 53) มหาปุรสิ ลักษณะมีกี่ประการ? พระอุณณาโลมกับพระอุณหิสต่างกันอย่างไร?
ตอบ มี ๓๒ ประการ ฯ พระอุณณาโลม ได้แก่พระโลมาที่ขาวละเอียดอ่อนคล้ายสําลีอยูใ่ นระหว่างพระโขนง
ส่วนพระอุณหิสนัน้ ได้แก่พระเศียรที่กลมเป็ นปริมณฑล ดุจประดับด้วยกรอบพระพักตร์ ฯ
(ปี 51) ในวันที่พระมหาบุรุษประสูติ มีสหชาติท่เี กิดพร้อมกันกี่อย่าง? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๗ อย่าง คือ ๑. พระนางพิมพา ๒. พระอานนท์ ๓. กาฬุทายีอมาตย์ ๔. ฉันนะอมาตย์ ๕. ม้ากัณฐกะ ๖. ต้นมหาโพธิ์ ๗. ขุมทรัพย์
ทัง้ ๔ ฯ

1|P a g e
โกลาหล๕ แปลว่า ความแตกตืน่ หมายถึงการแตกตื่นของเหล่าเทวดา มี ๕ อย่าง คือ
๑.* พุทธโกลาหล แตกตื่นว่า อีก ๑๐๐,๐๐๐ ปี พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะอุบตั ิขึน้ ในโลก ความเป็ นมาว่า เมื่อสุทธาวาสมหาพรหมทัง้ หลายลง
มาเที่ยวประกาศทั่วหมื่นโลกธาตุว่า เบือ้ งหน้าแต่นลี ้ ว่ งไปอีกแสนปี พระสัพพัญญูจะบังเกิดในโลก ถ้าใคร่จะพบเห็น จงเว้นจากเวรทั้ง ๕
อุตส่าห์บาํ เพ็ญทาน รักษาศีล เจริญภาวนา กระทําการกุศลต่าง ๆ ดังนี ้ จึงทําให้เกิดพุทธโกลาหลขึน้ ฯ ปี 50
๒.กัปปโกลาหล แตกตื่นว่า อีก ๑๐,๐๐๐ ปี กัป(โลกธาตุและจักรวาล)จะพินาศ
๓.จักกวัตติโกลาหล แตกตื่นว่า อีก ๑๐๐ ปี พระเจ้าจักรพรรดิ์จะอุบตั ิ
๔.มงคลโกลาหล แตกตื่นว่า อีก ๑๒ ปี พระพุทธเจ้าจะตรัสบอกมงคล
๕.โมไนยโกลาหล แตกตื่นว่าอีก ๗ ปี พระพุทธเจ้าจะตรัสบอกโมไนยปฏิบตั ิ
(ปี 50) จงเล่าความเป็ นมาของ *พุทธโกลาหล
ตอบ เมื่อสุทธาวาสมหาพรหมทัง้ หลายลงมาเที่ยวประกาศทั่วหมื่นโลกธาตุวา่ เบือ้ งหน้าแต่นลี ้ ่วงไปอีกแสนปี พระสัพพัญญูจะบังเกิดในโลก
ถ้าใคร่จะพบเห็น จงเว้นจากเวรทัง้ ๕ อุตส่าห์บาํ เพ็ญทาน รักษาศีล เจริญภาวนา กระทําการกุศลต่าง ๆ ดังนี ้ จึงทําให้เกิดพุทธโกลาหลขึน้ ฯ
(ปี 49) บุพนิมิต ๕ ประการที่เกิดแก่พระโพธิสตั ว์ ก่อนจะจุติลงปฏิสนธิในครรภ์พระมารดาคืออะไรบ้าง?
ตอบ คือ ๑. ดอกไม้ทิพย์ประดับกายเหี่ยวแห้ง ๒. ผ้าภูษาที่ทรงเศร้าหมอง ๓. เหงื่อไหลออกจากรักแร้
๔. ร่างกายปรากฏชรา ๕. พระทัยกระสันเป็ นทุกข์ เหนื่อยหน่ายจากเทวโลก ฯ

สัมปทาคุณ ๓ ประการ
๑. เหตุสัมปทา คือการบําเพ็ญบารมีมาอย่างครบถ้วน
๒. ผลสัมปทา คือการที่ทรงได้รบั ผลของบารมี ทําให้มีรูปกายประกอบด้วยมหาปุรสิ ลักษณะ อานุภาพ การละกิเลสและ พระญาณหยั่งรู ้ เป็ นต้น
๓. สัตตูปการสัมปทา คือการที่ทรงบําเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลกด้วยพระทัยที่บริสทุ ธิ์
• ใน สัตตูปการสัมปทา ประกอบด้วย…
๑. อาสยะ หมายถึง ความมีพระหฤทัยเยือกเย็นด้วยความกรุณา ปรารถนาคุณประโยชน์อยูเ่ ป็ นนิตย์ แม้ในบุคคลที่ทาํ ผิดต่อพระองค์มี
พระเทวทัตเป็ นต้นก็ยงั ทรงกรุณา
๒. ปโยคะ หมายถึง ความมีพระหฤทัยมิได้ม่งุ หวังต่ออามิส เทศนาสั่งสอนสัตว์ดว้ ยข้อปฏิบตั ิคือ ศีล สมาธิ ปั ญญา

(ปี 63, 59) อาสยะ และ ปโยคะ ในสัตตูปการสัมปทา หมายถึงอะไร ?


ตอบ อาสยะ หมายถึง ความมีพระหฤทัยเยือกเย็นด้วยความกรุณา ปรารถนาคุณประโยชน์อยูเ่ ป็ นนิตย์ แม้ในบุคคลที่ทาํ ผิดต่อพระองค์มี พระ
เทวทัตเป็ นต้นก็ยงั ทรงกรุณา
ปโยคะ หมายถึง ความมีพระหฤทัยมิได้ม่งุ หวังต่ออามิส เทศนาสั่งสอนสัตว์ดว้ ยข้อปฏิบตั ิคือ ศีล สมาธิ ปั ญญา ฯ
(หมายเหตุ ข้อนีถ้ ือว่ายาก เนือ้ หาอยู่ในหนังสือ “ปฐมสมโพธิ” ของสมเด็จพระสมณเจ้า ในหลักสูตรนักธรรม จะเล่าเรือ่ งราวทีเ่ กีย่ วกับประวัติ
ของพระพุทธเจ้า ไม่มีใครอ่านไปสอบเพราะมีเนือ้ หาเยอะ)
(ปี 49) สัมปทาคุณ ๓ ประการของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คืออะไรบ้าง? เกิดผลดีอย่างไร?
ตอบ คือ ๑. เหตุสมั ปทา คือการบําเพ็ญบารมีมาอย่างครบถ้วน
๒. ผลสัมปทา คือการที่ทรงได้รบั ผลของบารมี ทําให้มีรูปกายประกอบด้วยมหาปุริสลักษณะ อานุภาพ การละกิเลสและ พระญาณหยั่งรู ้ เป็ นต้น
๓. สัตตูปการสัมปทา คือการที่ทรงบําเพ็ญประโยชน์แก่ชาวโลกด้วยพระทัยที่บริสทุ ธิ์ ฯ
2|P a g e
ทําให้พระองค์ทรงเป็ นที่ตงั้ แห่งศรัทธาและความเลื่อมใสของบัณฑิตชน ทัง้ เทวดาและมนุษย์ทงั้ หลายจะพึงปรารภเป็ นอารมณ์แล้วก่อสร้างสั่ง
สมบุญกุศลให้ไพบูลย์ ฯ
(ปี 48) รูปกายอุบตั ิและธรรมกายอุบตั ิ แห่งพระมหาบุรุษนัน้ มีความหมายว่าอย่างไร?
ตอบ รูปกายอุบตั ิ คือความอุบตั ใิ นสมัยลงสู่พระครรภ์และในสมัยประสูติจากพระครรภ์
ส่วนธรรมกายอุบตั ิ คือการตรัสรูพ้ ระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ฯ
(ปี 47) ปั ญจมหาวิโลกนะ คืออะไร? มีความเป็ นมาอย่างไร?
ตอบ คือ การพิจารณาถึงความเหมาะสมใหญ่ ๕ ประการ ฯ มีความเป็ นมาอย่างนี ้ คือเมื่อพระมหาสัตว์เป็ นสันตุสิตเทวราชอยู่ในดุสิตเทวโลก
หมู่เทวดามาทูลอาราธนาให้จตุ ิลงไปบังเกิดในครรภ์พระมารดา ในลําดับนัน้ พระมหาสัตว์ยังมิได้ทรงให้ปฏิญญาแก่หมู่เทวดาผูม้ าทูล
อาราธนา ต่อเมื่อทรงพิจารณาปัญจมหาวิโลกนะแลัว จึงทรงให้ปฏิญญา ฯ
(ปี 47) พระบารมี ๑๐ ย่อมอบรมพระอัธยาศัยทําพระหฤทัยให้หนักแน่นจนสามารถพิชติ มารได้ พระบารมี ๑๐ นัน้ มีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ๑. ทาน ๒. ศีล ๓. เนกขัมมะ ๔. ปั ญญา ๕. วิรยิ ะ ๖. ขันติ ๗. สัจจะ ๘. อธิษฐาน ๙. เมตตา ๑๐. อุเบกขาฯ
(ปี 45) พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงประกอบด้วยสัมปทาคุณกี่ประการ? อะไรบ้าง?
ในวันที่พระมหาบุรุษประสูตินนั้ สหชาติท่เี กิดพร้อมร่วมวันกับพระองค์มีอะไรบ้าง?
ตอบ ๓ ประการ คือเหตุสมั ปทา ผลสัมปทา สัตตูปการสัมปทา ฯ
มีพระนางพิมพา พระอานนท์ กาฬุทายีอมาตย์ ฉันนะอมาตย์ ม้ากัณฐกะ ต้นมหาโพธิ์ และขุมทองทัง้ ๔ ฯ

พุทธคุณ
(ปี 54) นวหรคุณ คือพระพุทธคุณ ๙ บท บทไหนปรากฏแก่พระพุทธองค์เต็มที่ ที่ไหน? เมื่อไร?
ตอบ พระพุทธคุณบทว่า อรหํ สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู พุทฺโธ ภควา ปรากฏแก่พระพุทธองค์เต็มที่ ณ ควงไม้พระมหา
โพธิ ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ตัง้ แต่ครัง้ แรกตรัสรูพ้ ระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ ฯ
พระพุทธคุณบทว่า อนุตฺตโร ปุรสิ ทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ ปรากฏแก่พระพุทธองค์เต็มที่ท่ปี ่ าอิสิปตนมฤคทายวันในพระนครพาราณสี
ตัง้ แต่ครัง้ แสดงอนุตรธรรมจักรให้เป็ นไปแก่ภิกษุปัญจวัคคีย ์ ฯ

พุทธจริยวัตร
(ปี 62, 46) พระพุทธองค์ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาที่ไหนเป็ นแห่งแรก ? ทรงเห็นประโยชน์อะไรจึงทรงประดิษฐาน ณ ที่นนั้ ? ตอบ ที่
กรุงราชคฤห์ ฯ เพราะทรงเห็นว่าเมืองนีเ้ ป็ นเมืองที่บริบรู ณ์ม่งั คั่ง และมีศาสดาเจ้าลัทธิมาก ถ้าได้โปรดคนเหล่านีใ้ ห้เกิดความเลื่อมใสได้แล้ว
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึน้ เพราะศาสดาเจ้าลัทธิตา่ ง ๆ นัน้ ล้วนมีคนนับถือมาก ด้วยเหตุนจี ้ ึงทรงเลือกเมืองนี ้เป็ นที่
ประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็ นแห่งแรก ฯ
(ปี 52) พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมโปรดพุทธบริษัทด้วยอาการ ๔ อย่าง อะไรบ้าง?
ตอบ ด้วยอาการดังนี ้ ๑. สันทัสสนา อธิบายให้แจ่มแจ้งให้เข้าใจชัด
๒. สมาทปนา ชวนให้มีแก่ใจสมาทานคือทําตาม
๓. สมุตเตชนา ชักนําให้เกิดอุตสาหะอาจหาญเพื่อจะทํา
๔. สัมปหังสนา พยุงให้รา่ เริงในอันทํา ฯ

3|P a g e
(ปี 46) พระพุทธองค์ทรงประดิษฐานพระพุทธศาสนาที่ไหนเป็ นแห่งแรก? ทรงเห็นประโยชน์อะไรจึงทรงประดิษฐาน ณ ที่นนั้ ? การที่พระพุทธ
องค์ทรงสามารถประดิษฐานพระพุทธศาสนาได้ม่นั คง เพราะทรงสั่งสอนโดยอาการอย่างไรบ้าง ?
ตอบ ที่ กรุงราชคฤห์ ฯ เพราะทรงเห็นว่าเมืองนีเ้ ป็ นเมืองที่บริบรู ณ์ม่งั คั่ง และ
มีศาสดาเจ้าลัทธิมาก ถ้าได้โปรดคนเหล่านีใ้ ห้เกิดความเลื่อมใสได้แล้ว การเผยแผ่พระพุทธศาสนาก็สะดวกและรวดเร็วยิง่ ขึน้ เพราะศาสดา
เจ้าลัทธิต่างๆ นัน้ ล้วนมีศษิ ยานุศิษย์มาก ผูค้ นนับถือมาก ด้วยเหตุนี ้ จึงทรงเลือกเมืองนีเ้ ป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็ นแห่งแรก ฯ
โดยอาการ ๓ อย่าง คือ ๑. ทรงสั่งสอนให้ผฟู้ ั งรูย้ ิ่ง เห็นจริงในธรรมที่ควรรูค้ วรเห็น
๒. ทรงสั่งสอนมีเหตุมีผลที่ผฟู้ ั งอาจตรองตามให้เห็นจริงได้
๓. ทรงสั่งสอนเป็ นอัศจรรย์ท่ผี ปู้ ฏิบตั ิตาม ย่อมได้รบั ผลโดยสมควรแก่การปฏิบตั ิ ฯ
(ปี 44) พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนคฤหัสถ์ดว้ ยวิธี ๔ สถานนัน้ ได้แก่อะไรบ้าง?
ในการสอนธรรมของพระพุทธองค์นนั้ ทรงมีจดุ มุ่งหมายอย่างไรบ้าง?
ตอบ ได้แก่ ๑. สันทัสสนา ชีใ้ ห้ชดั ให้เห็นแจ่มแจ้งในสัมมาปฏิบตั ิ
๒. สมาทปนา ชวนให้ปฏิบตั ิ แสดงเหตุผลให้เห็นสมจริง
๓. สมุตเตชนา ให้อาจหาญ มีกาํ ลังใจในสัมมาปฏิบตั ิ
๔. สัมปหังสนา ให้รา่ เริง แช่มชื่น ในการปฏิบตั ิตามธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ
อย่างนีค้ ือ ๑. เพื่อให้ผฟู้ ั งได้รูเ้ ห็นในสิง่ ที่ควรรูค้ วรเห็น
๒. เพื่อให้ผฟู้ ั งใช้เหตุผลตรองตามจนเห็นจริง
๓. เพื่อให้ผฟู้ ั งนําไปปฏิบตั ิและได้รบั ผลของการปฏิบตั ิตามสมควรแก่การปฏิบตั ิของตน ๆ ฯ

กาเนิดศากยวงศ์
(ปี 61, 55) ศากยวงศ์สืบเชือ้ สายมาจากใคร? ที่ได้นามว่า ศากยะ เพราะเหตุไร?
ตอบ สืบเชือ้ สายมาจากพระเจ้าโอกกากราช ฯ
เพราะเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. เพราะได้ช่ือตามชนบทที่ตงั้ เมือง ๒. เพราะมีความกล้าหาญ สามารถตัง้ เมืองได้เอง ฯ

พระมหาบุรุษประสูติ
(ปี 62, 44) พระพุทธองค์ทรงยืนยันพระองค์เองว่า เป็ นสัมมาสัมพุทธะ เพราะทรงอาศัยเหตุอะไร ?
ตอบ เพราะทรงอาศัยเหตุท่ตี รัสรูอ้ ริยสัจ ๔ อันมีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ อย่าง แจ่มแจ้ง ครบถ้วนทุกประการ จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่า เป็ น
สัมมาสัมพุทธะ ฯ
(ปี 60, 44) อาสภิวาจาคือวาจาเช่นไร ? มีใจความว่าอย่างไร ?
ตอบ คือวาจาที่เปล่งอย่างองอาจ เป็ นภาษิตของบุรุษพิเศษอาชาไนยฯ มีใจความว่า เราเป็ นผูเ้ ลิศ เป็ นผูใ้ หญ่ เป็ นผูป้ ระเสริฐแห่งโลกฯ
(ปี 55) พระวาจาที่พระมหาบุรุษทรงเปล่งครัง้ แรก เรียกว่าอะไร? ความว่าอย่างไร?
ตอบ อาสภิวาจา ฯ
ความว่า “เราเป็ นผูเ้ ลิศแห่งโลก (อคฺโคหมสฺมิ โลกสฺส) เราเป็ นผูเ้ จริญแห่งโลก (เชฏฺโฐหมสฺมิ โลกสฺส)
เราเป็ นผูป้ ระเสริฐแห่งโลก (เสฏฺโฐหมสฺมิ โลกสฺส) ชาตินเี ้ ป็ นชาติสดุ ท้าย (อยมนฺติมา ชาติ)
บัดนี ้ ภพใหม่มิได้มี (นตฺถิทานิ ปุนพฺภโว)” ฯ
4|P a g e
(ปี 49) เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติ มีปาฏิหาริยอ์ ะไรเกิดขึน้ บ้าง ?
ตอบ มีปาฏิหาริย ์ ๗ อย่าง คือ ๑. พระมารดาทรงประทับยืน
๒. ประสูติไม่เปรอะเปื ้อนด้วยครรภมลทิน
๓. มีเทวดามาคอยรับก่อน
๔. มีธารนํา้ ร้อนนํา้ เย็นตกลงมาจากอากาศสนานพระกาย
๕. เมื่อประสูติออกมาทรงเดินได้ ๗ ก้าว
๖. ทรงเปล่งวาจาเป็ นบุพพนิมิตแห่งพระสัมมาสัมโพธิญาณ
๗. แผ่นดินไหว ฯ
(ปี 46) พระวาจาที่พระมหาบุรุษทรงเปล่งในวันประสูตินนั้ เรียกว่าอะไร? ใจความโดยย่ออย่างไร?
พระพุทธกิจ ๕ อย่าง มีอะไรบ้าง? ข้อไหนที่ทรงบําเพ็ญเป็ นนิจตราบเท่าปรินิพพาน?
ตอบ เรียกว่า อาสภิวาจา ฯ ใจความย่อว่า “ เราเป็ นผูเ้ ลิศเป็ นยอดแห่งโลก เราเป็ นผูเ้ จริญผูใ้ หญ่แห่งโลก เราเป็ นผูป้ ระเสริฐแห่งโลก ความ
บังเกิดชาตินมี ้ ี ณ ที่สดุ บัดนี ้ ความบังเกิดอีกมิได้มี ” ฯ
มี ๕ อย่าง ฯ คือ ๑. เวลาเช้า เสด็จออกบิณฑบาต
๒. เวลาเย็น ทรงแสดงธรรม
๓. เวลายํ่าคํ่า ทรงโอวาทภิกษุ
๔. เวลาเที่ยงคืน ทรงตอบปั ญหาเทวดา
๕. เวลายํ่ารุง่ ทรงตรวจดูเวไนยสัตว์ ฯ
ยกเว้นข้อเสด็จออกบิณฑบาต นอกนัน้ ทรงบําเพ็ญเป็ นนิจตราบเท่าปรินิพพาน ฯ

บาเพ็ญทุกรกิริยา
(ปี 59, 55) การที่พระพุทธองค์ทรงเลิกการทรมานพระวรกายแล้ว กลับมาเสวยพระกระยาหาร เพราะทรงพิจารณาเห็นอย่างไร? ตอบ เพราะ
ทรงพิจารณาเห็นว่า คนที่ไม่บริโภคอาหารจนร่างกายหมดกําลัง ไม่สามารถบําเพ็ญเพียรทางจิตได้ ฯ
(ปี 53) สตานุสารีวิญญาณ คืออะไร? เกิดขึน้ แก่พระมหาบุรุษ ความว่าอย่างไร?
ตอบ วิญญาณไปตามสติ ฯ ความว่า ทุกรกิรยิ านี ้ จักไม่เป็ นทางเพื่อการตรัสรู ้ แต่อานาปานสติปฐมฌาน จักเป็ นทางเพื่อการตรัสรูแ้ น่ฯ
(ปี 49) ในการบําเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุสมั มาสัมโพธิญาณของพระโพธิสตั ว์ อยากทราบว่าการบําเพ็ญทุกรกิรยิ าและอุปมา ๓ ข้อ อย่างไหนเกิด
ก่อน? ทรงมีเหตุผลอย่างไร?
ตอบ อุปมา ๓ ข้อเกิดก่อน การบําเพ็ญทุกรกิรยิ าเกิดภายหลัง ฯ เพราะเมื่ออุปมา ๓ ข้อ มาปรากฏแก่พระองค์แล้ว ทรงคิดจะบําเพ็ญเพียร
เพื่อป้องกันจิตไม่ให้นอ้ มไปในกามารมณ์ได้ จึงทรงบําเพ็ญทุกรกิริยา ฯ
(ปี 49) อปาณกฌาน ได้แก่อะไร? พระพุทธเจ้าได้ทรงบําเพ็ญครัง้ ไหน? และได้รบั ผลอย่างไร?
ตอบ ได้แก่ความเพ่งไม่มีปราณ คือไม่มีลมอัสสาสะปั สสาสะ โดยเนือ้ ความก็คือกลัน้ ลมหายใจไม่ให้ดาํ เนินทางจมูกและทางปาก ฯ ได้ทรง
บําเพ็ญในคราวทรงทําทุกรกิรยิ า ฯ ไม่ได้รบั ผลที่ทรงมุ่งหวังกลับเป็ นการทรมานร่างกายให้ลาํ บากเปล่าฯ
(ปี 45) อปาณกฌาน ได้แก่อะไร? พระพุทธองค์ทรงบําเพ็ญฌานนีใ้ นคราวใด ? และได้รบั ผลที่ม่งุ หวังหรือไม่ อย่างไร?
ตอบ ได้แก่ ความเพ่งไม่มีลมปราณ คือไม่มีลมอัสสาสะปั สสาสะ โดยเนือ้ ความก็คือกลัน้ ลมหายใจไม่ให้ดาํ เนินทางจมูกและปาก ซึ่งเป็ น
ทางเดินโดยปกติ ฯ ในคราวทรงทําทุกกรกิรยิ าฯ ไม่ได้รบั ผลที่ม่งุ หวัง แต่เป็ นการทรมานร่างกายให้ลาํ บากเปล่า ฯ
5|P a g e
ก่อนตรัสรู้
(ปี 62, 60, 50) พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานจาตุรงคมหาปธาน มีใจความว่าอย่างไร? ที่ไหน? และได้รบั ผลอย่างไร?
ตอบ มีใจความว่า หากยังไม่บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณแล้วจักไม่ลกุ ขึน้ แม้เนือ้ และเลือดจะแห้งเหือดไป เหลือแต่หนัง เอ็น และกระดูก ก็
ตามที ฯ ที่ตาํ บลอุรุเวลาเสนานิคม ภายใต้ตน้ พระศรีมหาโพธิ์ ฯ ได้รบั ผลคือ บรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณสมดังพระหฤทัย ฯ
(ปี 50) พระมหาสุบินนิมิตก่อนจะตรัสรูท้ ่วี ่า เสด็จจงกรมบนภูเขาอุจจาระโดยพระบาทไม่แปดเปื ้อน หมายถึงอะไร?
ตอบ หมายถึง จะทรงได้ปัจจัยทัง้ ๔ แต่มิได้มีพระทัยปลิโพธิเอือ้ เฟื ้ อในปั จจัยทัง้ ปวง ฯ

ขณะตรัสรู้
(ปี 52) ปฏิจจสมุปบาทคืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท ที่ทรงกําหนดรูแ้ ล้วนัน้ อย่างไร? ณ สถานที่ใด?
ตอบ คือ สภาพอาศัยปัจจัยเกิดขึน้ ฯ ทรงพิจารณาตามลําดับและถอยกลับทัง้ ข้างเกิดข้างดับตลอดยาม ๓ แห่งราตรีฯ ณ ภายใต้รม่ ไม้มหา
โพธิ์ ฯ
(ปี 50) ปั ญญาอันรูเ้ ห็นตามเป็ นจริงแล้วอย่างไรในอริยสัจ ๔ ซึง่ มีรอบ ๓ มีอาการ ๑๒ ทําให้พระพุทธองค์ทรงยืนยันได้วา่ เป็ นผูต้ รัสรูเ้ องโดย
ชอบ ที่ว่ารอบ ๓ อาการ ๑๒ คืออย่างไร?
ตอบ คือ ปั ญญาอันรูเ้ ห็นตามเป็ นจริงว่า
นีท้ กุ ข์ ทุกข์นนั้ ควรกําหนดรู ้ ทุกข์นนั้ ได้กาํ หนดรูแ้ ล้ว
นีเ้ หตุให้เกิดทุกข์ เหตุให้เกิดทุกข์นนั้ ควรละ เหตุให้เกิดทุกข์นนั้ ได้ละแล้ว
นีเ้ หตุให้ทกุ ข์ดบั เหตุให้ทกุ ข์ดบั นัน้ ควรทําให้แจ้ง เหตุให้ทกุ ข์ดบั นัน้ ได้ทาํ ให้แจ้งแล้ว
นีข้ อ้ ปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ข้อปฏิบตั ินนั้ ควรทําให้เกิด ข้อปฏิบตั ินนั้ ได้ทาํ ให้เกิดแล้ว ฯ
(ปี 46) ความเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านัน้ สําเร็จด้วยญาณอะไร? เพราะเหตุไร? พระพุทธองค์ ครัน้ ตรัสรูแ้ ล้ว ทรงเปล่งพระอุทานในยาม
สุดท้าย มีความว่าอย่างไร?
ตอบ ด้วยอาสวักขยญาณ ฯ เพราะอาสวักขยญาณ คือความรูเ้ ป็ นเหตุสนิ ้ อาสวะ คือ เครื่องเศร้าหมองอันหมักหมมในจิต
สันดาน ฯ มีความว่า “ เมื่อใดธรรมทัง้ หลายปรากฏชัดแก่พราหมณ์ผมู้ ีเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นนั้ ย่อมกําจัดเสนามาร คื อชรา พยาธิ มรณะ เสีย
ได้ ดุจพระอาทิตย์อทุ ยั กําจัดมืดทําอากาศให้สว่างขึน้ ฉะนัน้ ” ฯ
(ปี 43) ลักษณะทัง้ ๒ ที่พระพุทธองค์ทรงเห็นในมัชฌิมยามแห่งราตรีตรัสรูค้ ือ อะไรบ้าง? พระอุทานที่พระพุทธองค์ทรงเปล่งในปัจฉิมยามมี
ความว่าอย่างไร?
ตอบ คือ ๑. ปั จจัตตลักษณะ ได้แก่การกําหนดโดยความเป็ นกอง
๒. สามัญลักษณะ ได้แก่การกําหนดโดยความเป็ นสภาพเสมอกัน คือ ความเป็ นของไม่เที่ยง ฯ
มีความว่า เมื่อใดธรรมทัง้ หลายปรากฏชัดแก่พราหมณ์ผมู้ ีเพียรเพ่งอยู่ พราหมณ์นนั้ ย่อมกําจัดเสนามาร คือ ชรา พยาธิ มรณะเสียได้ ดุจพระ
อาทิตย์อทุ ยั ขึน้ กําจัดมืด ทําอากาศให้สว่างฉะนัน้ ฯ

หลังตรัสรู้
(ปี 63, 54) พระพุทธเจ้าหลังจากได้ตรัสรูแ้ ล้ว ทรงเปล่งอุทานในยามสุดท้ายว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงเปล่งอุทานว่า เมื่อใดธรรมทัง้ หลายปรากฏแก่พราหมณ์ผมู้ ีเพียรเพ่งอยู่ เมื่อนัน้ พราหมณ์นนั้ ย่อมกําจัดมารและเสนามารเสียได้ ดุจ
พระอาทิตย์อทุ ยั กําจัดมืดให้สว่างฉะนัน้ ฯ
6|P a g e
(ปี 61) ภัพพบุคคล คือบุคคลเช่นใด ? ประเภทที่ ๑ ท่านเปรียบด้วยอะไร ?
ตอบ ภัพพบุคคล คือบุคคลผูส้ ามารถจะตรัสรูธ้ รรมได้ ฯ
อุคฆติตญ
ั ญู เปรียบด้วยดอกบัวพ้นน้า เมื่อต้องแสงพระอาทิตย์ ก็จกั บานในวันนัน้ ฯ
(ปี 58) พระพุทธองค์ทรงปฏิญาณว่า เป็ นสัมมาสัมพุทธะ เพราะทรงอาศัยเหตุอะไร ?
ตอบ ทรงอาศัยเหตุท่ตี รัสรูอ้ ริยสัจ ๔ อย่างแจ่มแจ้งครบถ้วนทุกประการ จึงทรงปฏิญาณว่า เป็ นสัมมาสัมพุทธะ ฯ
(ปี 58) พุทธจักษุ กับธรรมจักษุ ต่างกันอย่างไร ? แต่ละอย่างใครได้เป็ นคนแรก ?
ตอบ พุทธจักษุ คือจักษุของพระพุทธเจ้า หมายถึงพระปั ญญาของพระพุทธองค์ท่ที รงพิจารณาเห็นอุปนิสยั แห่งเวไนยสัตว์ ส่วนธรรมจักษุ คือ
ดวงตาเห็นธรรม ได้แก่โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค ที่เกิดขึน้ แก่ผฟู้ ั งธรรม ฯ
พุทธจักษุ เป็ นคุณสมบัตเิ ฉพาะพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์จึงทรงได้เป็ นพระองค์แรก และพระองค์เดียว ส่วนธรรมจักษุพระอัญญาโกณ
ฑัญญะได้เป็ นองค์แรก ฯ
(ปี 57) ขณะที่พระพุทธองค์ประทับเสวยวิมตุ ติสขุ ณ รัตนฆรเจดีย ์ ทรงพิจารณาธรรมอะไร? ตอบ ทรงพิจารณาพระอภิธรรม ฯ
(ปี 54) อนิมิสเจดียแ์ ละรัตนจงกรมเจดีย ์ เป็ นสถานที่ท่พี ระพุทธเจ้าทรงกระทํากิจอะไร?
ตอบ อนิมิสเจดีย ์ เป็ นสถานที่ท่พี ระพุทธเจ้าประทับยืนจ้องดูตน้ พระมหาโพธิโดยมิได้กระพริบพระเนตรตลอด ๗ วันรัตนจงกรมเจดียเ์ ป็ น
สถานที่ ที่พระพุทธเจ้าทรงนิรมิตที่จงกรมขึน้ แล้ว เสด็จจงกรม ณ ที่นนั้ ถ้วน ๗ วัน
(ปี 54) ภัพพบุคคลและอภัพพบุคคล ที่ท่านเปรียบกับดอกบัว ๔ เหล่า คือบุคคลประเภทใดบ้าง?
ั ญูท่เี ปรียบด้วยดอกบัวพ้นนํา้้ วิปจิตญ
ตอบ ภัพพบุคคลคือบุคคลผูส้ ามารถจะตรัสรูธ้ รรมได้ ได้แก่ อุคฆติตญ ั ญูท่เี ปรียบด้วยดอกบัวเสมอนํา้
และเนยยะที่เปรียบด้วยดอกบัวที่ยงั อยูใ่ นนํา้
ส่วนอภัพพบุคคลคือบุคคลผูไ้ ม่สามารถจะตรัสรูธ้ รรมได้ ได้แก่ ปทปรมะที่เปรียบด้วยดอกบัวที่เป็ นภักษาหารแห่งปลาและเต่า ฯ
(ปี 52) ภายหลังแต่ตรัสรูแ้ ล้ว ในสัปดาห์ท่ี ๗ พระพุทธเจ้าเสด็จประทับอยู่ท่ไี หน? และมีเหตุการณ์สาํ คัญตามที่พระคันถรจนาจารย์กล่าวไว้
อย่างไรบ้าง?
ตอบ ในสัปดาห์ท่ี ๗ เสด็จประทับอยู่ภายใต้ไม้ราชายตนะ มีพ่อค้า ๒ คน ชื่อตปุสสะและภัลลิกะเดินทางผ่านมา ได้ถวายข้าวสัตตุผงสัตตุ
ก้อน และแสดงตนเป็ นอุบาสกถึงรัตนะ ๒ เป็ นคู่แรกในโลก ฯ
(ปี 51) ในขณะเสวยวิมตุ ติสขุ ใต้รม่ ไม้มหาโพธิ์ พระพุทธเจ้าทรงพิจารณา ข้อธรรมอะไร? และธรรมนัน้ มีใจความย่อว่าอย่างไร? ตอบ ทรง
พิจารณาปฏิจจสมุปบาท ฯ มีใจความย่อว่า สภาวะอย่างหนึ่งเป็ นผลเกิดแต่เหตุอย่างหนึง่ แล้ว ซํา้ เป็ นเหตุยงั ผลอย่างอื่นให้เกิดต่อไปอีก
เหมือนลูกโซ่เกี่ยวคล้องกันเป็ นสาย ฯ

พุทธกิจ
(ปี 56) ในพุทธกิจจกถา พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมโปรดเวไนยสัตว์ดว้ ยทรง มุง่ ประโยชน์อะไร?
ตอบ ทรงมุ่งประโยชน์ทงั้ ๓ คือ ๑. ทิฏฐธรรมิกตั ถประโยชน์ คือประโยชน์ท่จี ะพึงได้ในปั จจุบนั
๒. สัมปรายิกตั ถประโยชน์ คือประโยชน์ท่จี ะพึงได้ในภายหน้า
๓. ปรมัตถประโยชน์ คือประโยชน์อย่างยิ่ง ได้แก่ วิมตุ ติ ความหลุดพ้นพิเศษ ฯ
(ปี 46) พระวาจาที่พระมหาบุรุษทรงเปล่งในวันประสูตินนั้ เรียกว่าอะไร? ใจความโดยย่ออย่างไร?
พระพุทธกิจ ๕ อย่าง มีอะไรบ้าง? ข้อไหนที่ทรงบําเพ็ญเป็ นนิจตราบเท่าปรินิพพาน?

7|P a g e
ตอบ เรียกว่า อาสภิวาจา ฯ ใจความย่อว่า “ เราเป็ นผูเ้ ลิศเป็ นยอดแห่งโลก เราเป็ นผูเ้ จริญผูใ้ หญ่แห่งโลก เราเป็ นผูป้ ระเสริฐแห่งโลก ความ
บังเกิดชาตินมี ้ ี ณ ที่สดุ บัดนี ้ ความบังเกิดอีกมิได้มี ” ฯ
มี ๕ อย่าง ฯ คือ ๑. เวลาเช้า เสด็จออกบิณฑบาต
๒. เวลาเย็น ทรงแสดงธรรม
๓. เวลายํ่าคํ่า ทรงโอวาทภิกษุ
๔. เวลาเที่ยงคืน ทรงตอบปั ญหาเทวดา
๕. เวลายํ่ารุง่ ทรงตรวจดูเวไนยสัตว์ ฯ
ยกเว้นข้อเสด็จออกบิณฑบาต นอกนัน้ ทรงบําเพ็ญเป็ นนิจตราบเท่าปรินิพพาน ฯ

พระปั ญจวัคคีย ์
• ปั ญจวัคคีย ์ (คอยอุปัฏฐากพระมหาบุรุษ) ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ
ในวันอาสาฬหบูชา พระพุทธเจ้าแสดงธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี ว่า บรรพชิตไม่ควรเสพ ๑.กาม
สุขลั ลิกานุโยค ๒.อัตตกิลมถานุโยค มัชฌิมาปฏิปทา ข้อปฏิบตั ิอนั เป็ นทางสายกลางอริยมรรคมีองค์ ๘ และอริยสัจ ๔]
บรรลุเป็ นพระอรหันต์พร้อมกันทัง้ หมดในวันแรม ๕ ค่าเดือน ๘ ด้วยธรรมะชื่อว่า อนัตตลักขณสูตร
(*** อนัตตลักขณสูตร ใจความว่า “ขันธ์ทงั้ ๕ เป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่น”)
• พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมว่า “ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดเป็ นธรรมดา สิ่งนั้นทัง้ หมดมีความดับไปเป็ น
ธรรมดา ”
• ปั ญจวัคคีย ์ -> ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร(มัชฌิมาปฏิปทา อริยสัจ ๔) และอัตตลักขณสูตร
(ปี 55) เมื่อพระเบญจวัคคียไ์ ด้ดวงตาเห็นธรรม ได้อปุ สมบทด้วยเอหิภิกขุอปุ สัมปทาแล้วพระบรมศาสดาทรงพิจารณาเห็นอย่างไร
จึงทรงแสดงอนัตตลักขณสูตรโปรดพระเบญจวัคคีย?์
ตอบ ทรงพิจารณาเห็นว่า พระเบญจวัคคียต์ งั้ อยูใ่ นที่แห่งสาวก มีอินทรียค์ ือศรัทธาเป็ นต้น แก่กล้า ควรเจริญวิปัสสนาเพื่อวิมตุ ิได้แล้ว จึงทรง
แสดงอนัตตลักขณสูตรโปรดพระเบญจวัคคีย ์ ฯ
(ปี 52) พระอัญญาโกณฑัญญะเดิมชื่ออะไร? ที่ได้ช่ืออัญญาโกณฑัญญะเพราะเหตุไร?
ตอบ ชื่อโกณฑัญญะ ฯ เพราะได้ดวงตาเห็นธรรมขณะฟังปฐมเทศนาพระพุทธเจ้าทรงทราบจึงทรงเปล่าอุทานว่า
อัญญาสิๆ แปลว่า ได้รูแ้ ล้วๆ อาศัยพระอุทานนี ้ คําว่า อัญญาโกณฑัญญะ จึงได้เป็ นชื่อของท่านตัง้ แต่บดั นัน้ มา ฯ
(ปี 50) ฤษีปัญจวัคคียอ์ อกบวชตามและอยู่ปรนนิบตั ิพระพุทธองค์ขณะทรงบําเพ็ญทุกรกิรยิ า เพราะคิดอย่างไร? หลีกหนีไปเพราะคิดอย่างไร?
และการทัง้ ๒ นัน้ มีผลดีอย่างไร?
ตอบ ออกบวชตามเพราะคิดว่า บรรพชาของพระองค์คงมีประโยชน์ พระองค์บรรลุธรรมใด จักทรงสั่งสอนให้ตนบรรลุธรรมนัน้ บ้าง ฯ หลีกไป
โดยคิดว่า พระองค์ทรงละทุกรกิรยิ าแล้ว คงจะไม่บรรลุธรรมพิเศษอันใดได้ ฯ
การมาปรนนิบตั ินนั้ ทําให้สามารถเป็ นพยานได้วา่ พระพุทธองค์ทรงเคยประพฤติอตั ตกิลมถานุโยคอย่ างอุกฤษฎ์มาแล้ว แม้เช่นนีก้ ็ไม่เป็ นทาง
ที่จะให้รูธ้ รรมพิเศษอันใดได้ ส่วนการหลีกหนีไปนัน้ ก็เป็ นผลดี เพราะเวลานัน้ เป็ นเวลาบําเพ็ญเพียรทางจิต ซึ่งต้องการความสงัด ฯ
(ปี 44) พระปั ญจวัคคีย ์ ได้ออกบวชตามพระมหาบุรุษเพราะมีความเชื่ออย่างไร?
การได้บรรลุอริยผลของพระปั ญจวัคคีย ์ วันเดียวกันหรือต่างวันกัน?
ตอบ มีความเชื่อว่า พระมหาบุรุษจะได้ตรัสรูอ้ ย่างแน่นอน จึงพร้อมใจกันออกบวชติดตามเฝ้าอย่างใกล้ชิด ด้วยหวังว่า
8|P a g e
พระองค์ได้ตรัสรูแ้ ล้ว จักได้เทศนาโปรดตน การบรรลุอริยผลชัน้ ต้นต่างวันกัน ส่วนการบรรลุอริยผลชัน้ สูงสุด วันเดีย วกัน
(ปี 44) บุคคลผูไ้ ด้ช่ือว่า อัปปรชักขชาติ มีลกั ษณะอย่างไร?
พระโกณฑัญญะ ได้นามเพิ่มข้างหน้าว่า พระอัญญาโกณฑัญญะ เพราะเหตุใด?
ตอบ มีกิเลสธุลีในปั ญญาจักษุนอ้ ยเป็ นปกติ สามารถจะรูท้ ่วั ถึงธรรมได้โดยพลัน ฯ
เพราะพระพุทธองค์ทรงทราบว่า ดวงตาเห็นธรรมได้เกิดขึน้ แล้วแก่ท่าน จึงทรงเปล่งอุทานว่า อญฺญาสิ วต โภ โกณฺฑญฺโญ อญฺญาสิ วต โภ
โกณฺฑญฺโญ โกณฑัญญะได้รูแ้ ล้วหนอ ๆ อาศัยคําอุทานว่า อญฺญาสิ อญฺญาสิ ท่านจึงได้นามเพิ่มข้างหน้าว่า อัญญาโกณฑัญญะ

ดวงตาเห็นธรรม
• ได้ดวงตาเห็นธรรม คือ เห็นเกิดและดับ ใจความว่า “สิง่ ใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดเป็ นธรรมดา สิง่ นั้นทัง้ หมดมีความดับไปเป็ น
ธรรมดา”
(ปี 59) ดวงตาเห็นธรรมปราศจากธุลี เกิดขึน้ แก่พระโกณฑัญญะความว่าอย่างไร? ในขณะนัน้ ท่านเป็ นพระอริยบุคคลชัน้ ไหน?
ตอบ ความว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึน้ เป็ นธรรมดา สิ่งนัน้ ทัง้ หมดมีความดับไปเป็ นธรรมดา ฯ เป็ นพระอริยบุคคลชัน้ พระโสดาบันฯ
(ปี 42) ที่วา่ “ดวงตาเห็นธรรม” นัน้ เห็นธรรมอะไร? ใจความว่าอย่างไร? จงบอกชื่อพระสาวกที่ได้ดวงตาเห็นธรรมมา ๓ ท่าน และท่านได้จาก
ใคร? ตอบ คือเห็นเกิดและดับฯ ใจความว่า “สิ่งใดสิ่งหนึง่ มีความเกิดเป็ นธรรมดา สิ่งนัน้ ทัง้ หมดมีความดับไปเป็ นธรรมดา”

ยสะกุลบุตร
(ปี 57) ยสกุลบุตรฟังธรรมอะไรจากพระพุทธองค์ จนบรรลุเป็ นพระอรหันต์? จงบอกมาตามลําดับตัง้ แต่ตน้
ตอบ ฟั งอนุปพุ พีกถาและอริสจั ๔ ๒ ครัง้ คือ ครั้งที่ ๑ บรรลุเป็ นพระโสดาบัน ครั้งที่ ๒ บรรลุเป็ นพระอรหันต์ ฯ
(ปี 48) สหายของพระยสะ ๔ คน ได้ออกบวชตามพระยสะ เพราะคิดอย่างไร?
ตอบ เพราะคิดว่า ธรรมวินยั ที่พระยสะออกบวชนัน้ จักไม่เลวทรามแน่แท้ คงเป็ นธรรมวินยั อันประเสริฐ คิดดังนีจ้ ึงได้ออกบวช ฯ

ชฎิล ๓ พี่น้อง
• * ตัง้ อาศรมอยู่ท่ี ใกล้ฝ่ ังแม่นาํ้ เนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม
• ชฎิล ๓ พี่นอ้ ง คือ อุรุเวลกัสสปะ นทีกสั สปะ คยากัสสปะ และบริวาร ๑,๐๐๐ คน พระพุทธเจ้าแสดงอาทิตตปริยายสูตร *ทีต่ าบลคยา
สีสะ ใกล้แม่นาํ้ คยา ใจความว่า “อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เป็ นของร้อนๆ เพราะไฟกิเลสมีความกําหนัด ความโกรธหรือความ
หลง เผาลนจิตใจ และร้อนเพราะไฟทุกข์ มีความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความโศก รํ่าไร รําพัน ความคับแค้นใจ เป็ นต้น มาเผาลนให้รอ้ น”
(ปี 60, 51) พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรดชฎิล ๓ พี่นอ้ งพร้อมบริวาร โดยบังเอิญหรือโดยตัง้ พระหฤทัยไว้ก่อน?
มีหลักฐานสนับสนุนคําตอบนัน้ อย่างไร?
ตอบ โดยตัง้ พระหฤทัยไว้ก่อน ฯ มีหลักฐานปรากฏว่า ในครัง้ ที่ทรงส่งพระสาวก ๖๐ องค์แรกไปประกาศพระพุทธศาสนาในที่ตา่ ง ๆ ทรงมี
พระดํารัสว่า “แม้เราก็จะไปยังตําบลอุรุเวลาเสนานิคม เพื่อจะแสดงธรรม” ฯ

พระเจ้าพิมพิสาร
• ได้ดวงตาเห็นธรรม (บรรลุโสดาบัน) เพราะฟังอนุปพุ พิกถาและอริยสัจ ๔ ณ สวนตาลหนุ่ม
• พระเจ้าพิมพิสาร ได้ตงั้ ความปรารถนาไว้มี ๕ ข้อดังนี ้
9|P a g e
๑. ขอให้ขา้ พเจ้าได้รบั อภิเษกเป็ นพระเจ้าแผ่นดินมคธนีเ้ ถิด
๒. ขอท่านผูเ้ ป็ นพระอรหันต์ผรู้ ูเ้ องเห็นเองโดยชอบ พึงมายังแว่นแคว้นของข้าพเจ้าผูไ้ ด้รบั อภิเษกแล้ว
๓. ขอข้าพเจ้าพึงได้เข้าไปนั่งใกล้พระอรหันต์นนั้
๔. ขอพระอรหันต์นนั้ พึงแสดงธรรมแก่ขา้ พเจ้า
๕. ขอข้าพเจ้าพึงรูท้ ่วั ถึงธรรมของพระอรหันต์นนั้ (สําเร็จสมบูรณ์เมือใด ดูปี 46)*
(ปี 53) พระเจ้าพิมพิสาร เมื่อครัง้ ยังเป็ นพระราชกุมาร ได้ตงั้ ความปรารถนาไว้อย่างไรบ้าง?
ตอบ ได้ตงั้ ความปรารถนาไว้วา่
๑. ขอให้ขา้ พเจ้าได้รบั อภิเษกเป็ นพระเจ้าแผ่นดินมคธนีเ้ ถิด
๒. ขอท่านผูเ้ ป็ นพระอรหันต์ผรู้ ูเ้ องเห็นเองโดยชอบ พึงมายังแว่นแคว้นของข้าพเจ้าผูไ้ ด้รบั อภิเษกแล้ว
๓. ขอข้าพเจ้าพึงได้เข้าไปนั่งใกล้พระอรหันต์นนั้
๔. ขอพระอรหันต์นนั้ พึงแสดงธรรมแก่ขา้ พเจ้า
๕. ขอข้าพเจ้าพึงรูท้ ่วั ถึงธรรมของพระอรหันต์นนั้ ฯ
(ปี 46) ความปรารถนาของพระเจ้าพิมพิสารข้อที่ ๕ ความว่าอย่างไร? ความปรารถนานัน้ สําเร็จแก่พระองค์เมื่อไร? ที่ไหน?
ตอบ ความว่า “ขอให้ขา้ พเจ้ารูท้ ่วั ถึงธรรมของพระอรหันต์” ฯ
สําเร็จบริบรู ณ์ในวันที่ได้ฟังอนุปพุ พีกถาและอริยสัจ ๔ ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงโปรด จนได้ดวงตาเห็นธรรม ฯ ที่สวนตาลหนุ่ม ฯ

พระอัครสาวก (พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ)
(ปี 63, 60, 43) พระอัสสชิแสดงธรรมแก่อปุ ติสสปริพาชกมีความว่าอย่างไร? และมีผลอย่างไร?
ตอบ มีความว่า ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุของธรรมนัน้ และความดับแห่งธรรมนัน้ พระศาสดาทรงสอนอย่างนี ้ ฯ
มีผล คือ อุปติสสปริพาชกได้ดวงตาเห็นธรรมว่า สิ่งใดสิง่ หนึ่งมีความเกิดขึน้ เป็ นธรรมดา สิ่งนัน้ ทัง้ หมดมีความดับเป็ นธรรมดา ฯ
(ปี 60, 53) พระสารีบตุ รนิพพานที่ไหน ? ท่านเลือกสถานที่นนั้ เพราะเหตุไร ?
ตอบ ที่นาลันทคาม แคว้นมคธ ฯ เพราะตัง้ ใจจะโปรดนางสารีพราหมณีผเู้ ป็ นมารดาของท่าน ให้พน้ จากมิจฉาทิฏฐิก่อนที่ท่านจะนิพพาน ฯ
(ปี 58) พระพุทธองค์ทรงสรรเสริญพระสาวกองค์ใดว่า " ไม่ทาํ ศรัทธาและโภคทรัพย์ของตระกูลให้เสีย " ? และทรงอุปมาเปรียบเทียบว่า
อย่างไร ? ตอบ ทรงสรรเสริญพระโมคคัลลานะ ฯ ว่า “ประหนึ่งแมลงผึง้ อันเทีย่ วไปในสวนดอกไม้ ไม่ทาสีและกลิ่นของดอกไม้ให้ช้า ถือเอาแต่
รสบินไป ฉะนัน้ ” ฯ
(ปี 57) การที่พระสารีบตุ รมีช่ือเสียงว่าเป็ นผูก้ ตัญญูกตเวทีนนั้ มีหลักฐานอะไรเป็ นตัวอย่าง จงแสดงมาสัก ๒ เรื่อง?
ตอบ เรื่องที่ ๑ ท่านได้ฟังคําสอนจากพระอัสสชิโดยย่อจนได้ดวงตาเห็นธรรม เมื่อทราบว่า พระอัสสชิอยู่ทางทิศใด เวลาจะนอนก็หนั ศีรษะไป
ทางทิศนัน้ ด้วยความเคารพ
เรื่องที่ ๒ ท่านระลึกถึงอุปการะที่รบั บิณฑบาตจากราธพราหมณ์เพียง ๑ ทัพพี จึงรับเป็ นภาระในการจัดการอุปสมบทตามความประสงค์ ฯ
(ปี 55) พระอัสสชิเถระแสดงธรรมโดยย่อแก่อปุ ติสสปริพาชก ความว่าอย่างไร? และได้ผลอย่างไร?
ตอบ มีความว่า ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุของธรรมนัน้ และความดับแห่งธรรมนัน้ พระศาสดาทรงสั่งสอนอย่างนี ้ ฯ อุป
ติสสปริพาชกได้ฟังแล้ว ได้ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรม ฯ
(ปี 54) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องพระอัครสาวกทัง้ ๒ ว่าเป็ นผูม้ ีปัญญาอนุเคราะห์สพรหมจารีทงั้ หลาย มีอปุ มาต่างกันอย่างไร?

10 | P a g e
ตอบ มีอปุ มาต่างกันอย่างนี ้ พระสารีบตุ รเถระเปรียบเหมือนมารดาผูใ้ ห้บตุ รเกิด ย่อมแนะนําให้กลุ บุตรตัง้ อยูใ่ นโสดาปั ตติผล พระมหาโมคคัล
ลานเถระเปรียบเหมือนนางนมผูเ้ ลีย้ งทารกผูเ้ กิดแล้วนัน้ ย่อมแนะนําให้กลุ บุตรตัง้ อยูใ่ นคุณเบือ้ งสูงกว่านัน้
(ปี 52) พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญพระเถระรูปใดเปรียบด้วยแมลงผึง้ ตัวเที่ยวไปในสวนดอกไม้ ไม่ทาํ สีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชาํ้ ถือเอาแต่รส
บินไป? และทรงสรรเสริญไว้อย่างไร?
ตอบ ทรงสรรเสริญพระมหาโมคคัลลานะ ฯ ทรงสรรเสริญไว้ว่า ท่านไม่ทาํ ศรัทธาและโภคทรัพย์ของตระกูลที่เข้าไปหาให้เสีย ฯ
(ปี 51) มีภาษิตอยู่บทหนึ่งว่า สัตบุรุษตัง้ มั่นแล้วในสัจจะที่เป็ นอรรถเป็ นธรรม ดังนี ้ ข้อนี ้ มีปฏิปทาของพระสาวกรูปใด ที่ให้สญ
ั ญาต่อกันไว้
แล้วปฏิบตั ิตามสัญญานัน้ เป็ นตัวอย่าง? จงเล่าเรือ่ งประกอบ
ตอบ มีปฏิปทาของพระสารีบตุ ร เป็ นตัวอย่าง ฯ เรื่องมีอยู่วา่ เมื่อครัง้ ที่ท่านและพระโมคคัลลานะยังไม่ได้อปุ สมบท เคยให้สญ
ั ญากันว่า ใคร
ได้โมกขธรรมก่อน จะบอกแก่กนั ต่อมาท่านพระสารีบตุ รได้ฟังอริยสัจจกถาแต่สาํ นักพระอัสสชิแล้ว ได้ดวงตาเห็นธรรม จึงนําข้อความนัน้ ไป
บอกแก่พระโมคคัลลานะ จนได้บรรลุธรรมเช่นเดียวกัน ฯ
(ปี 50) ใครเป็ นผูถ้ ามพระปุณณมันตานีบตุ รว่า ข้าพเจ้าถามท่านว่า ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่ออย่างนัน้ หรือ ๆ ท่านก็ตอบว่า ไม่อย่างนัน้ ๆ
เมื่อเป็ นอย่างนี ้ ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่ออะไรเล่า? และได้รบั คําตอบว่าอย่างไร?
ตอบ พระสารีบตุ รเป็ นผูถ้ าม ฯ ได้รบั คําตอบว่า เราประพฤติพรหมจรรย์เพื่อความดับไม่มีเชือ้ ฯ
(ปี 48) พระพุทธดํารัสว่า “เราสรรเสริญความคลุกคลีดว้ ยประการทัง้ ปวงหามิได้ แต่เรามิใช่ไม่สรรเสริญความคลุกคลีดว้ ยประการทัง้ ปวงเลย”
ตรัสแก่ใคร? ทรงหมายความว่าอย่างไร?
ตอบ ตรัสแก่พระมหาโมคคัลลานเถระ ฯ ทรงหมายความว่า พระองค์ไม่ทรงสรรเสริญความคลุกคลีดว้ ยหมูค่ ณะ แต่ทรงสรรเสริญความคลุก
คลีดว้ ยเสนาสนะอันสงัด ฯ
(ปี 47) ข้อความว่า “ เราจักไม่พดู คําซึ่งเป็ นเหตุเถียงกัน ถือผิดต่อกัน ” พระศาสดาทรงแนะนําใคร? เพราะทรงเห็นโทษอย่างไร?
ตอบ ทรงแนะนําพระมหาโมคคัลลานะ ฯ เพราะว่า เมื่อคําซึง่ เป็ นเหตุเถียงกันถือผิดต่อกันมีขนึ ้ ก็จาํ ต้องหวังความพูดมาก เมื่อความพูดมาก
มีขึน้ ก็จะเกิดความคิดฟุ้งซ่าน ครัน้ คิดฟุ้งซ่านแล้วก็จะเกิดความไม่สาํ รวม ครัน้ ไม่สาํ รวมแล้วจิตก็จะห่างจากสมาธิ ฯ
(ปี 46) อุปติสสปริพาชก เมื่อได้ฟังธรรมโดยย่อจากพระอัสสชิเถระแล้ว มีความเข้าใจในเนือ้ ความแห่งธรรมนัน้ ว่าอย่างไร? ครัง้ พุทธกาล
กุลบุตรผูม้ ีศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนาขออนุญาตบวชจากมารดาบิดา เมื่อไม่ได้รบั อนุญาตก็เสียใจ จึงทําการประท้วง กุลบุตร ผูน้ นั้ คือใคร?
ประท้วงด้วยวิธีใด?
ตอบ ว่าอย่างนีค้ ือ “ ธรรมทัง้ ปวงเกิดแต่เหตุ และจะสงบระงับไป เพราะเหตุดบั ก่อน พระศาสดาทรงสั่งสอนให้ปฏิบตั ิ เพื่อสงบระงับเหตุแห่ง
ธรรมเป็ นเครื่องก่อให้เกิดทุกข์” ฯ
กุลบุตรผูน้ นั้ คือพระรัฐบาล ฯ ประท้วงด้วยวิธีนอนไม่ลกุ ขึน้ และอดอาหาร ฯ
(ปี 44) คําว่า " บัวไม่ให้ชาํ้ นํา้ ไม้ให้ข่นุ " เปรียบด้วยปฏิปทาจริยาวัตรข้อใดของพระโมคคัลลานะ? เจ้าศากยะได้ทลู ขอพระศาสดาให้บวชอุ
บาลีภษู ามาลาก่อน เพราะเห็นประโยชน์อนั ใด?
ตอบ ข้อที่ท่านเป็ นผูฉ้ ลาดในการแนะนําตระกูลที่ยงั ไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส ไม่ทาํ ศรัทธาและโภคทรัพย์ของเขาให้เ สีย เปรียบเหมือนแมลงผึง้
บินเที่ยวไปในสวนดอกไม้ ไม่ทาํ สีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชาํ้ ถือเอาแต่รสบินไปฉะนัน้ ฯ
เพราะเห็นประโยชน์วา่ จักได้ทาํ การกราบไหว้ ลุกรับ ประณมมือ และทํากิจที่สมควรอื่น ๆ แก่พระอุบาลีซ่งึ เดิมเป็ นคนรับใช้ เมื่อเป็ นเช่ นนีจ้ กั
ละมานะความถือตัวได้ ฯ
(ปี 43) พระอัครสาวก ๒ รูปมีช่ือเรียกอะไรบ้าง? เหตุไรจึงเรียกอย่างนัน้ ?

11 | P a g e
ตอบ มีช่ือเรียก อุปติสสะ หรือสารีบตุ ร ๑ เรียก โกลิตะ หรือ โมคคัลลานะ ๑ ที่เรียกว่า อุปติสสะ เพราะเรียกตามโคตร ที่เรียกว่า สารีบตุ ร
เพราะเป็ นบุตรของ นางสารีพราหมณี ส่วนที่เรียกว่า โกลิตะ เพราะเรียกตามโคตร ที่เรียกว่า โมคคัลลานะ เพราะเป็ นบุตรของนางโมคคัลลานี
พราหมณี ฯ
(ปี 43) ปั ญหาว่า “พระขีณาสพตายแล้วเป็ นอะไร” ใครถามใคร? มีคาํ ตอบอย่างไร? พระศาสดาทรงพยากรณ์ปัญหาจบลงแล้ว มีผลอะไรเกิด
แก่มาณพ ๑๖ คน? ตอบ พระสารีบตุ รถามพระยมกะ มีคาํ ตอบว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่ไม่เที่ยง ดับไปแล้ว ฯ
มีผลคือ มาณพ ๑๕ คน เว้นปิ งคิยมาณพ ส่งใจไปตามธรรมเทศนา มีจิตพ้นจากอาสวะไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ส่วนปิ งคิยมาณพเป็ นแต่ได้
ญาณเห็นในธรรม ฯ

พระปุณณมันตานีบตุ ร
(ปี 62, 43) "ท่านประพฤติพรหมจรรย์เพื่ออะไร" ใครเป็ นผูถ้ าม ใครเป็ นผูต้ อบ ? และตอบว่าอย่างไร ?
ตอบ พระสารีบตุ รเป็ นผูถ้ าม พระปุณณมันตานีบตุ รเป็ นผูต้ อบ ฯ และตอบว่า เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อความดับไม่มีเชือ้ ฯ
(ปี 60, 43) พระปุณณมันตานีบตุ รเป็ นชาวเมืองไหน ? ตัง้ อยูใ่ นคุณธรรม อะไรบ้าง ?
ตอบ เป็ นชาวเมืองกบิลพัสดุ์ ฯ ตัง้ อยูใ่ นคุณธรรม ๑๐ ประการ คือ มักน้อย สันโดษ ชอบสงัด ไม่ชอบเกี่ยวข้องด้วยหมู่ ปรารภความเพียร
บริบรู ณ์ดว้ ยศีล สมาธิ ปั ญญา วิมตุ ติ ความรูเ้ ห็นในวิมตุ ติ ฯ

เสด็จโปรดพระญาติ
• ทรงแสดงสุจริตธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทําให้ทงั้ ๒ พระองค์ได้บรรลุโสดาปั ตติผล
(ปี 60, 52) พระพุทธองค์ทรงแสดงสุจริตธรรมโปรดพระเจ้าสุทโธทนะ และพระนางมหาปชาบดีโคตมี ทําให้ทงั้ ๒ พระองค์ได้บรรลุอริยผลชัน้
ไหน? ตอบ ทําให้พระเจ้าสุทโธทนะทรงบรรลุสกทาคามิผล และพระนางมหาปชาบดีโคตมีทรงบรรลุโสดาปั ตติผล ฯ
(ปี 58) ผูท้ ่ไี ด้รบั การอุปสมบทโดยวิธีรบั โอวาท และโดยวิธีรบั ครุธรรม คือใคร ? และได้รบั การยกย่องว่าเป็ นเอตทัคคะในทางใด ?
ตอบ โดยวิธีรบั โอวาท คือพระมหากัสสปะ และโดยวิธีรบั ครุธรรม คือพระมหาปชาบดี โคตมี ฯ
พระมหากัสสปะ ในทางผูท้ รงธุดงคคุณ ส่วนพระมหาปชาบดี โคตมี ในทาง รัตตัญญู ฯ
(ปี 58) พระพุทธองค์เสด็จไปแสดงธรรมโปรดพระพุทธมารดาในสวรรค์ชนั้ ใด? ด้วยธรรมอะไร? และพระพุทธมารดาได้รบั ผลอะไร?
ตอบ ในสวรรค์ชนั้ ดาวดึงส์ ฯ ด้วยพระอภิธรรม ฯ ได้บรรลุพระโสดาปั ตติผล ฯ
(ปี 50) พระพุทธบัญญัติท่วี ่า ผูข้ ออุปสมบทต้องได้รบั อนุญาตจากมารดาบิดาก่อน นัน้ มีประวัติความเป็ นมาโดยย่ออย่างไร?
ตอบ พระเจ้าสุทโธทนะทรงโทมนัสมาก เพราะพระสิทธัตถราชกุมาร พระนันทะ และพระราหุล เสด็จออกผนวชแล้ว สิน้ ผูจ้ ะสืบราชวงศ์ ต่อไป
ทรงปรารภทุกข์นที ้ ่จี ะพึงมีแก่มารดาบิดาในตระกูลอื่น จึงทูลขอพระพุทธองค์ให้มารดาบิดาต้องอนุญาตก่อนจึงจะบวชกุลบุตรได้ จึงเกิดพระ
พุทธบัญญัติขอ้ นีข้ นึ ้ ฯ
(ปี 47) พระเจ้าสุทโธทนะทรงบรรลุพระโสดาปั ตติผลด้วยพระธรรมเทศนามีใจความว่าอย่างไร? ทรงบรรลุอริยผลสูงสุดชัน้ ไหน?
ตอบ มีใจความว่า ไม่พึงประมาทในบิณฑบาต พึงประพฤติธรรมให้เป็ นสุจริต ผูป้ ระพฤติธรรมย่อมอยู่เป็ นสุขทัง้ ในโลกนีท้ งั้ ในโลกอื่นฯ ชัน้ พระ
อรหัตผล ฯ
(ปี 44) คําว่า " บัวไม่ให้ชาํ้ นํา้ ไม้ให้ข่นุ " เปรียบด้วยปฏิปทาจริยาวัตรข้อใดของพระโมคคัลลานะ? เจ้าศากยะได้ทลู ขอพระศาสดาให้บวชอุ
บาลีภษู ามาลาก่อน เพราะเห็นประโยชน์อนั ใด?

12 | P a g e
ตอบ ข้อที่ท่านเป็ นผูฉ้ ลาดในการแนะนําตระกูลที่ยงั ไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใส ไม่ทาํ ศรัทธาและโภคทรัพย์ของเขาให้เสีย เปรียบเหมือนแมลงผึง้
บินเที่ยวไปในสวนดอกไม้ ไม่ทาํ สีและกลิ่นของดอกไม้ให้ชาํ้ ถือเอาแต่รสบินไปฉะนัน้ ฯ
เพราะเห็นประโยชน์วา่ จักได้ทาํ การกราบไหว้ ลุกรับ ประณมมือ และทํากิจที่สมควรอื่น ๆ แก่พระอุบาลีซ่งึ เดิมเป็ นคนรับใช้ เมื่อเป็ นเช่นนีจ้ กั
ละมานะความถือตัวได้ ฯ
(ปี 44) ข้อความว่า " ขออย่าให้พระภิกษุทงั้ หลายบวชบุตรที่บิดามารดายังไม่อนุญาตต่อไป " เป็ นคําพูดของใคร? มีความเป็ นมาอย่างไร?
พระราหุลได้สาํ เร็จเป็ นพระอรหันต์ เพราะได้สดับธรรมอะไร?
ตอบ เป็ นพระดํารัสของพระเจ้าสุทโธทนะ, มีความเป็ นมาอย่างนี ้ คือเมื่อพระนันทะพระโอรสทรงผนวช พระเจ้าสุทโธทนะทรงโทมนัสเป็ นอัน
มาก ครัน้ ราหุลกุมารบวชแล้ว สิน้ ผูท้ ่จี ะสืบพระวงศ์ ยิง่ ทรงโทมนัสมากขึน้ ทรงปรารภถึงทุกข์อนั นีท้ ่จี ะพึงมีแก่มารดาบิดาในตระกูลอื่ นในเวลา
เมื่อบุตรออกบวช จึงทูลขอพรนี ้ ฯ
เพราะได้สดับพระโอวาทซึง่ สั่งสอนในทางวิปัสสนา คล้ายกับโอวาทที่ตรัสสอนพระปั ญจวัคคีย ์ ต่างกันแต่ทรงยกอายตนะภายในภายนอกเป็ น
ต้นขึน้ แสดงแทนขันธ์ ๕ เท่านัน้
(ปี 43) เพราะเห็นอานิสงส์อะไร พระอานนท์จึงทูลขอพรข้อที่ ๘?
พระอุบาลีออกบวชพร้อมใครบ้าง? ที่ไหน? ท่านได้รบั เอตทัคคะทางไหน?
ตอบ เพราะเห็นอานิสงส์วา่ หากมีผมู้ าถามว่า ธรรมนีพ้ ระพุทธองค์ทรงแสดงในที่ใด ถ้าท่านตอบไม่ได้ เขาจะพูดได้ว่า ท่านตามเสด็จพระ
ศาสดาตลอดกาลนาน ไม่รูแ้ ม้แต่เรื่องเท่านี ้ ฯ
พระอุบาลีออกบวชพร้อมกับ พระภัททิยะ พระอนุรุทธะ พระอานันทะ พระภัคคุ พระกิมพิละ พระเทวทัต ที่อนุปิยนิคม ได้รบั เอตทัคคะทางเป็ น
ผูเ้ ลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายผูท้ รงวินยั ฯ

พระอานนท์
• บวชพร้อมกันกับ พระเจ้าภัททิยราช เจ้าชายอนุรุทธะ เจ้าชายอานนท์ เจ้าชายภคุ เจ้าชายกิมพิละ เจ้าชายเทวทัต และอุบาลี รวมแล้ว
ทัง้ หมด ๗ คน
• พระอานนท์ได้บรรลุโสดาปั ตติผลเพราะได้ฟังโอวาทจากพระปุณณมันตานีบตุ ร
• บรรลุอรหัตผลก่อนวันรุง่ ขึน้ จะทําปฐมสังคายนา
• การบรรลุอรหัตผลของท่านในขณะที่กาํ ลังเอนกายศีรษะยังไม่ถึงหมอนเท้ายกขึน้ ในระหว่างอิรยิ าบถ ๔
• ท่านนิพพานบนอากาศ กลางแม่นาํ้ โรหิณีแล้วอธิษฐานให้สรีระของท่านแยกเป็ น ๒ ภาค ให้ตกลงที่ฝ่ ังแม่นาํ้ ฝั่งละภาค
• วันพระศาสดาปรินิพพาน มีพระสาวกผูใ้ หญ่อยู่ในที่นนั้ ๒ รูป คือ พระอนุรุทธเถระ และพระอานนทเถระ
• เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่เป็ นพหุสตู มีคติ มีสติ มีธิติ และเป็ นอุปัฏฐาก
• พระอานนท์ทูลขอพร ๘ ประการ
ข้อที่ ๑ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ประทานจีวรอันประณีตที่พระองค์ได้แล้วแก่ขา้ พระองค์
ข้อที่ ๒ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ประทานบิณฑบาตอันประณีตที่พระองค์ได้แล้วแก่ขา้ พระองค์
ข้อที่ ๓ ว่า ขอพระองค์อย่าได้โปรดให้ขา้ พระองค์อยู่ในที่ประทับของพระองค์
ข้อที่ ๔ ว่า ขอพระองค์อย่าได้ทรงพาข้าพระองค์ไปในที่นิมนต์
ข้อที่ ๕ ว่า ขอพระองค์จงเสด็จไปสู่ท่นี ิมนต์ท่ขี า้ พระองค์รบั ไว้

13 | P a g e
ข้อที่ ๖ ว่า ขอให้ขา้ พระองค์ได้พาบริษัทซึง่ มาเฝ้าพระองค์แต่ท่ไี กลเข้าเฝ้าได้ในขณะที่มาแล้ว
ข้อที่ ๗ ว่า ถ้าความสงสัยของข้าพระองค์เกิดขึน้ เมื่อใด ขอให้ได้เข้าเฝ้าทูลถามเมื่อนัน้
**ข้อที่ ๘ ว่า ถ้าพระองค์เสด็จไปเทศนาเรื่องใดทีไ่ หน ซึ่งข้าพระองค์ไม่ได้ฟัง ขอพระองค์ตรัสบอกเทศนาเรื่องนั้นแก่ข้าพระองค์ (เคยออกข้อสอบ)
ถ้าพระองค์ประทานพร ๘ ประการนีแ้ ก่ขา้ พระองค์ ข้าพระองค์จกั เป็ นผูอ้ ปุ ั ฏฐากพระองค์
(ปี 63) พระอานนท์พทุ ธอุปัฏฐากได้รบั ยกย่องจากพระศาสดาว่าเลิศกว่าภิกษุทงั้ หลาย ด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ ด้วยคุณสมบัติ ๕ ประการ คือ ๑. เป็ นพหูสตู ๒. มีสติ ๓. มีคติ ๔. มีธิติ ๕. เป็ นพุทธอุปัฏฐาก ฯ
(ปี 56) พระอานนท์ได้รบั เลือกให้เป็ นพุทธอุปัฏฐากในเวลาก่อนหรือหลังบรรลุเป็ นพระโสดาบัน? ได้รบั ยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็ นเอตทัคคะ
ในทางใดบ้าง? ตอบ หลังบรรลุเป็ นพระโสดาบัน ฯ ในทางเลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่เป็ นพหุสตู มีคติ มีสติ มีธิติ และเป็ นอุปัฏฐาก ฯ
(ปี 52) พระสาวกผูไ้ ด้รบั การยกย่องเป็ นเอตทัคคะหลายอย่างกว่าสาวกรูปอืน่ คือใคร? เป็ นเอตทัคคะในทางใดบ้าง?
ตอบ พระอานนทเถระ ฯ ในทาง
๑. เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่เป็ นพหุสตู
๒. เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่มีคติ
๓. เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่มีสติ
๔. เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่มีธิติปัญญาจําทรง
๕. เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายที่เป็ นอุปัฏฐาก ฯ
(ปี 49) ท่านพระอานนท์ทลู ขอพรพระบรมศาสดาก่อนจะรับเป็ นพุทธุปัฏฐากไว้ ๘ ข้อ ท่านมีเหตุผลที่ทลู ขอพร ๔ ข้อหลังว่าอย่างไร?
ตอบ ใน ๔ ข้อหลังนี ้ ๓ ข้อแรก เพื่อจะป้องกันคนพูดว่า พระอานนท์บาํ รุงพระศาสดาทําอะไร เพราะพระองค์ไม่ทรงอนุเคราะห์แม้ดว้ ยกิจเท่านี ้
ส่วนข้อสุดท้าย เมื่อมีคนถามในที่ลบั หลัง พระพุทธองค์วา่ ธรรมนี ้ พระองค์ทรงแสดงในที่ไหน ถ้าท่านบอกไม่ได้ เขาก็จะพูดได้ว่า ท่านไม่รู ้
แม้แต่เรื่องเท่านี ้ ไม่ละพระศาสดาเที่ยวตามเสด็จอยู่ ดุจเงาตามตัวสิน้ กาลนาน เพราะเหตุอะไร ฯ
(ปี 47) พระอานนท์ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังโอวาทจากใคร? ท่านผูใ้ ห้โอวาทนัน้ เลิศทางไหน?
ตอบ เพราะฟั งโอวาทจากพระปุณณมันตานีบตุ รเถระ ฯ เลิศในทางเป็ นพระธรรมกถึก ฯ
(ปี 45) พระอานนท์พทุ ธอุปัฏฐากได้ทลู ขอพร ๘ ประการ ข้อสุดท้าย ความว่าอย่างไร? ท่านได้รบั การยกย่องจากพระศาสดาอย่างไรบ้าง?
ตอบ ความว่า ถ้าพระองค์เสด็จไปเทศนาเรื่องใดที่ไหน ซึ่งข้าพระองค์ไม่ได้ฟัง ขอพระองค์ตรัสบอกเทศนาเรื่องนัน้ แก่ขา้ พระองค์ ฯ
ได้รบั การยกย่องว่า เลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายด้วยคุณสมบัติ ๕ สถาน คือ ๑.เป็ นพหูสตู ๒.มีสติ ๓.มีคติ ๔.มีธิติ ๕.เป็ นพุทธอุปัฏฐาก ฯ
(ปี 43) เพราะเห็นอานิสงส์อะไร พระอานนท์จึงทูลขอพรข้อที่ ๘?
พระอุบาลีออกบวชพร้อมใครบ้าง? ที่ไหน? ท่านได้รบั เอตทัคคะทางไหน?
ตอบ เพราะเห็นอานิสงส์วา่ หากมีผมู้ าถามว่า ธรรมนีพ้ ระพุทธองค์ทรงแสดงในที่ใด ถ้าท่านตอบไม่ได้ เขาจะพูดได้ว่า ท่านตามเสด็จพระ
ศาสดาตลอดกาลนาน ไม่รูแ้ ม้แต่เรื่องเท่านี ้ ฯ พระอุบาลีออกบวชพร้อมกับ พระภัททิยะ พระอนุรุทธะ พระอานันทะ พระภัคคุ พระกิมพิละ
พระเทวทัต ที่อนุปิยนิคม ได้รบั เอตทัคคะทางเป็ นผูเ้ ลิศกว่าภิกษุทงั้ หลายผูท้ รงวินยั ฯ

พระมหากัสสปะ
(ปี 63, 59) พระพุทธโอวาท ๓ ข้อ ที่ทรงประทานแก่พระมหากัสสปะว่าอย่างไร ? จัดเข้าในการอุปสมบทวิธีใด ?
ตอบ พระโอวาท ๓ ข้อว่าดังนี ้
๑. กัสสปะ ท่านพึงศึกษาว่าเราจักเข้าไปตัง้ ความละอายและความยําเกรงไว้ในภิกษุทงั้ ที่เป็ นผูเ้ ฒ่า ทัง้ ที่เป็ นผูใ้ หม่ ทัง้ ที่เป็ นปานกลางอย่างแรงกล้า

14 | P a g e
๒. เราจักฟังธรรมอันใดอันหนึ่งซึง่ ประกอบด้วยกุศล เราจักเงี่ยโสตฟั งธรรมนัน้ พิจารณาเนือ้ ความ
๓. เราจักไม่ละสติเป็ นไปในกาย คือพิจารณากายเป็ นอารมณ์ ฯ
จัดเข้าในเอหิภิกขุอปุ สมบทวิธี ฯ
(ปี 62, 60) พระมหากัสสปเถระประพฤติธุดงควัตรเพราะเห็นอํานาจประโยชน์อย่างไร ?
ตอบ เพราะเห็นอํานาจประโยชน์ ๒ อย่างคือ
๑. การอยู่เป็ นสุขในบัดนีข้ องตน
๒. เพื่ออนุเคราะห์ประชุมชนในภายหลัง จะได้เป็ นทิฏฐานุคติแห่งคนผูม้ าเกิดในภายหลัง เมื่อทราบว่า สาวกของ พระพุทธเจ้าได้ประพฤติ
อย่างนี ้ เขาจะได้ประพฤติตาม ซึง่ เป็ นทางอํานวยสุขแก่เขาเอง ฯ
(ปี 61) หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระมหากัสสปะได้ทาํ กิจใด ที่สาํ คัญแก่พระศาสนา ? จงอธิบาย
ตอบ ท่านได้ทาํ กิจที่สาํ คัญ คือเป็ นผูช้ กั ชวนภิกษุสงฆ์ ทําสังคายนาร้อยกรองพระธรรมวินยั และเป็ นประธานในการทําสังคายนานัน้ อันเป็ น
เหตุให้พระศาสนาตัง้ มั่นถาวรสืบมาจนถึงปั จจุบนั ฯ
(ปี 58) ผูท้ ่ไี ด้รบั การอุปสมบทโดยวิธีรบั โอวาท และโดยวิธีรบั ครุธรรม คือใคร ? และได้รบั การยกย่องว่าเป็ นเอตทัคคะในทางใด ?
ตอบ โดยวิธีรบั โอวาท คือพระมหากัสสปะ และโดยวิธีรบั ครุธรรม คือพระมหาปชาบดี โคตมี ฯ
พระมหากัสสปะ ในทางผูท้ รงธุดงคคุณ ส่วนพระมหาปชาบดี โคตมี ในทาง รัตตัญญู ฯ
(ปี 56) พระมหากัสสปเถระชักชวนภิกษุทงั้ หลายให้ทาํ สังคายนาครัง้ แรก เพราะปรารภเหตุอะไร?
ตอบ เพราะปรารภเหตุ ๒ ประการ คือ ๑. ระลึกถึงคําของสุภทั ทวุฑฒบรรพชิตกล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินยั
๒. ระลึกถึงอุปการคุณของพระผูม้ ีพระภาคที่มีอยู่แก่ตน ฯ
(ปี 53) พระมหากัสสปะกับพระรัฐบาล ออกบวชเพราะมีความคิดเห็นต่างกันอย่างไร?
ตอบ พระมหากัสสปะออกบวชเพราะคิดเห็นว่า ผูอ้ ยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาป เพราะการงานที่ผอู้ ื่นทําไม่ดี มีใจเบื่อหน่าย จึงละสมบัติ
แล้วออกบวช พระรัฐบาลออกบวชเพราะมีความคิดเห็นตามธรรมุเทศ ๔ ข้อที่พระศาสดา
ทรงแสดง ว่า ๑. โลกคือหมู่สตั ว์ อันชราเป็ นผูน้ าํ ๆ เข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน
๒. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีผปู้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาํ เพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตั ว์ไม่มีอะไรเป็ นของ ๆ ตน จําต้องละทิง้ สิง่ ทัง้ ปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตั ว์ พร่องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รูจ้ กั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
(ปี 49) พระศาสดารับสั่งให้ท่านพระมหากัสสปะทรงจีวรที่คฤหบดีถวายเป็ นต้น แต่ท่านมิได้ทาํ ตาม เพราะเห็นอํานาจประโยชน์อะไร? ตอบ
เห็นประโยชน์ ๒ อย่าง คือ
๑. การอยู่เป็ นสุขในบัดนีข้ องตน
๒. การอนุเคราะห์ประชุมชนในภายหลัง ประชุมชนในภายหลัง ทราบว่าสาวกของพระพุทธเจ้าไม่ประพฤติตนอย่างนัน้ จักถึงทิฏฐานุคติ
ปฏิบตั ิตามที่ตนได้เห็นได้ยิน ความปฏิบตั ินนั้ จักเป็ นไปเพื่อประโยชน์และสุขแก่เขาสิน้ กาลนาน ฯ
(ปี 48) พระพุทธเจ้าตรัสสอนภิกษุให้ประพฤติตนในการเข้าไปใกล้ตระกูลโดยยกพระมหากัสสปะเป็ นตัวอย่างไว้อย่างไร?
ตอบ ตรัสสอนไว้มาก โดยสรุปทรงสอนว่า ท่านพระมหากัสสปะมีความสํารวมระวังอย่างยิง่ ทําตนเป็ นผูใ้ หม่อยูเ่ สมอ ไม่ลาํ พอง ไม่ติดข้อง
วางเฉยกับอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ท่ปี ระสบได้ทกุ อย่าง ฯ
(ปี 43) พระมหากัสสปเถระประพฤติธุดงควัตรเพราะเห็นอํานาจประโยชน์อย่างไร? เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว ท่านเป็ นกําลังสําคัญแก่
พระพุทธศาสนาอย่างไร?
15 | P a g e
ตอบ เพราะเห็นอํานาจประโยชน์ ๒ อย่างคือ
๑. การอยู่เป็ นสุขในบัดนีข้ องตน
๒. เพื่ออนุเคราะห์ประชุมชนในภายหลัง จะได้เป็ นทิฏฐานุคติแห่งคนผูม้ าเกิดในภายหลัง เมื่อทราบว่า สาวกของพระพุทธเจ้าได้ป ระพฤติ
อย่างนี ้ เขาจะได้ประพฤติตาม ซึง่ เป็ นทางอํานวยสุขแก่เขาเอง ฯ
ท่านได้เป็ นประธานทําสังคายนาเป็ นครัง้ แรก ฯ

พระอนุรุทธะ
• เป็ นโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ *
• วันพระศาสดาปรินิพพาน มีพระสาวกผูใ้ หญ่อยู่ในที่นนั้ ๒ รูป คือ พระอนุรุทธเถระ และพระอานนทเถระ
(ปี 54) อนุรุทธศากยะออกบวชเพราะมูลเหตุอะไร? ผูท้ ่อี อกบวชพร้อมกับท่านมีใครบ้าง?
ตอบ เพราะมูลเหตุจากการที่อนุรุทธศากยะเป็ นพระญาติของพระพุทธเจ้าซึ่งควรออกบวชตามพระพุทธเจ้าอย่างที่เจ้าศากยะองค์อื่นผูม้ ี
ชื่อเสียง ได้กระทํากัน และครัน้ เมื่อได้ฟังคําพูดของมหานามศากยะผูพ้ ่วี ่า การงานของผูอ้ ยู่ครองเรือนไม่มีสนิ ้ สุด ที่สดุ ของการงานไม่มีปรากฏ
จึงตัดสินใจให้พ่อี ยู่ครองเรือนส่วนตนออกบวช ฯ มี พระเจ้าภัททิยะ อานันทะ ภัคคุ กิมพิละ เทวทัต และ อุบาลี ฯ

พระรัฐบาล
• บวชเพราะศรัทธา
• แสดงธรรมุเทศ ๔ (*คือ หัวข้อธรรมที่ยกขึน้ แสดง) แก่พระเจ้าโกรัพยะ ดังนี ้
๑. โลกคือหมู่สตั ว์ อันชรานําเข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน
๒. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีผปู้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาํ เพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีอะไรเป็ นของ ๆ ตน จําต้องละทิง้ สิง่ ทัง้ ปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตั ว์ พร่องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รูจ้ กั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
• พระเจ้าโกรัพยะตรัสถึงเหตุแห่งความเสื่อมที่จะให้คนออกบวชกะกะพระรัฏฐปาลเถร เหตุแห่งความเสื่อมนัน้ ได้แก่ ๑. ความแก่ชรา
๒. ความเจ็บ ๓. ความสิน้ โภคทรัพย์ ๔. ความสิน้ ญาติ
(ปี 63) ธรรมุเทศ ๔ ข้อ ที่พระรัฐบาลแสดงแก่พระเจ้าโกรัพยะ มีใจความว่าอย่างไรบ้าง ?
ตอบ ว่า ๑. โลกคือหมู่สตั ว์ อันชราเป็ นผูน้ าํ นําเข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน
๒. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีผปู้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาํ เพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีอะไรเป็ นของตน จําต้องละทิง้ สิ่งทัง้ ปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตั ว์ พร่องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รูจ้ กั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
(ปี 57) ธรรมุทเทศ ๔ ข้อ ได้แก่อะไรบ้าง? ใครแสดง? แสดงแก่ใคร?
ตอบ ได้แก่ ๑. โลกคือหมู่สตั ว์ อันชราเป็ นผูน้ าํ นําเข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน
๒. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีผปู้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาํ เพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีอะไรเป็ นของของตน จําต้องละทิง้ สิง่ ทัง้ ปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตั ว์ พร่องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รูจ้ กั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
พระรัฐบาลแสดง ฯ แสดงแก่พระเจ้าโกรัพยะ ฯ
16 | P a g e
(ปี 54) พระสาวกผูก้ ล่าวว่า โลกคือหมู่สตั ว์อนั ชราเป็ นผูน้ าํ ๆ เข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน ดังนี ้ คือใคร? กล่าวแก่ใคร? ได้รบั เอตทัคคะในทางใด?
ตอบ คือ พระรัฐบาล ฯ แก่พระเจ้าโกรัพยะ ฯ ในทางเป็ นยอดของภิกษุผบู้ วชด้วยศรัทธา ฯ
(ปี 53) พระมหากัสสปะกับพระรัฐบาล ออกบวชเพราะมีความคิดเห็นต่างกันอย่างไร?
ตอบ พระมหากัสสปะออกบวชเพราะคิดเห็นว่า ผูอ้ ยู่ครองเรือนต้องคอยนั่งรับบาป เพราะการงานที่ผอู้ ื่นทําไม่ดี มีใจเบื่อหน่า ย จึงละสมบัติ
แล้วออกบวช พระรัฐบาลออกบวชเพราะมีความคิดเห็นตามธรรมุเทศ ๔ ข้อที่พระศาสดา
ทรงแสดง ว่า ๑. โลกคือหมู่สตั ว์ อันชราเป็ นผูน้ าํ ๆ เข้าไปใกล้ ไม่ย่งั ยืน
๒. โลกคือหมู่สตั ว์ ไม่มีผปู้ ้องกัน ไม่เป็ นใหญ่จาํ เพาะตน
๓. โลกคือหมู่สตั ว์ไม่มีอะไรเป็ นของ ๆ ตน จําต้องละทิง้ สิง่ ทัง้ ปวงไป
๔. โลกคือหมู่สตั ว์ พร่องอยูเ่ ป็ นนิตย์ ไม่รูจ้ กั อิ่ม เป็ นทาสแห่งตัณหา ฯ
(ปี 51) พระเจ้าโกรัพยะตรัสถึงเหตุแห่งความเสื่อมที่จะให้คนออกบวชกะพระสาวกรูปใด? เหตุแห่งความเสื่อมนัน้ ได้แก่อะไรบ้าง?
ตอบ กะพระรัฏฐปาลเถระ ฯ เหตุนนั้ ได้แก่ ๑. ความแก่ชรา ๒. ความเจ็บ ๓. ความสิน้ โภคทรัพย์ ๔. ความสิน้ ญาติ ฯ
(ปี 46) อุปติสสปริพาชก เมื่อได้ฟังธรรมโดยย่อจากพระอัสสชิเถระแล้ว มีความเข้าใจในเนือ้ ความแห่งธรรมนัน้ ว่าอย่างไร? ครัง้ พุทธกาล
กุลบุตรผูม้ ีศรัทธาเลื่อมใสในพระศาสนาขออนุญาตบวชจากมารดาบิดา เมื่อไม่ได้รบั อนุญาตก็เสียใจ จึงทําการประท้วง กุลบุตร ผูน้ นั้ คือใคร?
ประท้วงด้วยวิธีใด?
ตอบ ว่าอย่างนีค้ ือ “ ธรรมทัง้ ปวงเกิดแต่เหตุ และจะสงบระงับไป เพราะเหตุดบั ก่อน พระศาสดาทรงสั่งสอนให้ปฏิบตั ิ เพื่อสงบระงับเหตุแห่ง
ธรรมเป็ นเครื่องก่อให้เกิดทุกข์” ฯ กุลบุตรผูน้ นั้ คือพระรัฐบาล ฯ ประท้วงด้วยวิธีนอนไม่ลกุ ขึน้ และอดอาหาร ฯ
(ปี 45) พระเจ้าโกรัพยะทรงปรารภกับพระรัฐบาลถึงเหตุให้บคุ คลออกบวชว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงปรารภเหตุวิบตั ิ ๔ ประการ คือ ๑) ความแก่ ๒) ความเจ็บป่ วย ๓) ความเสื่อมจากโภคทรัพย์ ๔) ความเสื่อมญาติ ฯ

พระราธะ
(ปี 59, 53) พระพุทธเจ้าตรัสสอนพระราธะว่า "สิ่งใดเป็ นมาร ท่านจงละความกําหนัดพอใจในสิ่งนัน้ เสีย" มารในที่นหี ้ มายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ฯ
(ปี 55) การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจา พระสาวกผูเ้ ป็ นอุปัชฌายะ และเป็ นสัทธิวิหาริกรูปแรก คือใคร?
ตอบ พระสารีบตุ ร เป็ นอุปัชฌายะรูปแรก ฯ พระราธะ เป็ นสัทธิวหิ าริกรูปแรก ฯ

พระมหากัจจายนะ
(ปี 62 และ ปี 43) พระพุทธพจน์ว่า "ภทฺเทกรตฺโต" ผูม้ ีราตรีเดียวอันเจริญ หมายถึงการปฏิบตั ยิ ่างไร ? พระสาวกรูปใดสามารถอธิบายพระ
พุทธพจน์นไี ้ ด้ถกู ต้องตามพุทธประสงค์ ?
ตอบ หมายถึง เป็ นผูม้ ีความเพียร ไม่เกียจคร้านทัง้ กลางวันและกลางคืนอยูด่ ว้ ยความไม่ประมาท ฯ พระมหากัจจายนะ ฯ
(ปี 58, 55) คําว่า “วรรณะใด ประพฤติอกุศลกรรมบถ เบือ้ งหน้าแต่มรณะ วรรณะนัน้ ย่อมเข้าสู่อบายเสมอกันหมด ไม่มีพเิ ศษ” ใครกล่าว ?
และกล่าวกะใคร ? ตอบ พระมหากัจจายนะ กล่าว ฯ กล่าวกะพระเจ้ามธุรราชอวันตีบตุ ร ฯ
(ปี 52) พระดํารัสว่า “เธอไปเองเถิด เมื่อเธอไปแล้ว พระเจ้าแผ่นดินจักทรงเสื่อมใส” พระศาสดาตรัสกะพระเถระรูปใด? พระเถระรูปนัน้ ได้ไป
ประกาศพระพุทธศาสนาที่ไหน? และได้ผลอย่างไร?
ตอบ ตรัสกะพระมหากัจจายนะ ฯ ที่กรุงอุชเชนี ฯ ได้ผลคือ พระเจ้าจัณฑปัชโชตและชาวเมืองเลื่อมใส ฯ
17 | P a g e
(ปี 46) ผูไ้ ด้นามว่า “ ภัทเทกรัตตะ ” ผูม้ ีราตรีเดียวเจริญ เพราะประพฤติเช่นไร?
พระเถระรูปใดได้รบั ยกย่องว่าเป็ นผูเ้ ข้าใจอธิบายเรื่อง “ ผูม้ ีราตรีเดียวเจริญ ” นีใ้ ห้พิสดาร?
ตอบ เพราะเป็ นผูม้ คี วามเพียร ไม่เกียจคร้านทัง้ กลางวันกลางคืน อยู่ดว้ ยความไม่ประมาท ฯ พระมหากัจจายนเถระ ฯ

พราหมณ์พาวรีและศิษย์ ๑๖ คน
• พระอชิตะ ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ้า เป็ นคนที่ ๑
• พระปุณณกะ ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ้า เป็ นคนที่ ๓
• พระอุทยะ ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ้า เป็ นคนที่ ๑๓
• พระโมฆราช ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ้า เป็ นคนที่ ๑๕
• ปิ งคิยมาณพ ทูลถามปั ญหาพระพุทธเจ้า เป็ นคนที่ ๑๖
(ปี 61, 55) ปั ญหาว่า “โลกคือหมู่สตั ว์ อันอะไรปิ ดบังไว้ จึงหลงดุจอยู่ในที่มืด” ดังนี ้ ใครเป็ นผูถ้ าม? ได้รบั คําพยากรณ์ว่าอย่างไร? ตอบ อชิต
มาณพเป็ นผูถ้ าม ฯ ได้รบั การพยากรณ์วา่ โลกคือหมู่สตั ว์ อันอวิชชาคือความไม่รูแ้ จ้งปิ ดบังไว้จงึ หลงดุจอยูใ่ นที่มื ด ฯ
(ปี 52) พราหมณ์พาวรีผกู ปั ญหาให้มาณพ ๑๖ คน ผูเ้ ป็ นศิษย์ทลู ถามพระบรมศาสดาเพื่อประสงค์อะไร? ปั ญหาว่า “หมู่มนุษย์โลกนี ้ คือ ฤษี
กษัตริยพ์ ราหมณ์เป็ นอันมากอาศัยอะไร จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา” ผูท้ ลู ถามคือใคร? และทรงพยากรณ์ว่าอย่างไร?
ตอบ พราหมณ์พาวรีประสงค์จะสืบสวนให้ได้ความแน่นอนว่า พระโอรสของศากยราชเสด็จออกบรรพชา ปฏิญญาพระองค์วา่ เป็ นพระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้าตามข่าวเล่าลือนัน้ เป็ นจริงหรือไม่ ฯ ผูท้ ลู ถามคือ ปุณณกมานพ ฯ ทรงพยากรณ์วา่ หมู่มนุษย์เหล่านัน้ อยากได้ของที่ตน
ปรารถนา อาศัยของที่มีชราทรุดโทรมจึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา ฯ
(ปี 49) ก่อนที่ทา่ นพระโมฆราชจะมาเป็ นภิกษุในพระพุทธศาสนา ท่านเคยเป็ นศิษย์ของใคร? ผูน้ นั้ ตัง้ สํานักสอนอยู่ท่ไี หน? ตอบ เป็ นศิษย์ของ
พาวรีพราหมณ์ ฯ อยู่ท่ฝี ่ ังแม่นาํ้ โคธาวรี ที่พรมแดนแห่งเมืองอัสสกะและเมืองอาฬกะ ฯ
(ปี 48) โมฆราชมาณพคิดจะทูลถามปั ญหากะพระพุทธองค์ ๓ ครัง้ แต่มิได้ทลู ถามเพราะเหตุไร?
ตอบ ในครัง้ ที่ ๑ ไม่ได้ทลู ถามเพราะเห็นว่าอชิตมาณพเป็ นผูใ้ หญ่กว่า จึงยอมให้ทลู ถามก่อน ในครัง้ ที่ ๒ และ ๓ ไม่ได้ทลู ถามเพราะพระพุทธ
องค์ตรัสห้ามไว้ ฯ
(ปี 46) ปั ญหาว่า “ หมูม่ นุษย์ในโลกนี ้ คือ ฤษี กษัตริย ์ พราหมณ์ เป็ นอันมาก อาศัยอะไร จึงบูชายัญบวงสรวงเทวดา ” ใครเป็ นผูถ้ าม? พระ
ศาสดาทรงพยากรณ์วา่ อย่างไร?
ตอบ ปุณณกมาณพ ฯ ทรงพยากรณ์ว่า “ หมูม่ นุษย์เหล่านัน้ อยากได้ของที่ตนปรารถนา อาศัยของที่มีชราทรุดโทรม จึงบูชายัญบวงสรวง
เทวดา ” ฯ
(ปี 45) พุทธเจดีย ์ มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง?
อุทยมาณพทูลถามว่า "โลกมีอะไรผูกพันไว้ อะไรเป็ นเครื่องสัญจรของโลกนัน้ ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี ้ เพราะละอะไรได้" พระศาสดา
ทรงพยากรณ์วา่ อย่างไร?
ตอบ มี ๔ ประเภท คือธาตุเจดีย ์ บริโภคเจดีย ์ ธรรมเจดีย ์ และอุทเทสิกเจดีย ์ ฯ ทรงพยากรณ์ว่า โลกมีความเพลิดเพลินผูกพันไว้ ความตรึก
เป็ นเครื่องสัญจรของโลกนัน้ ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี ้ เพราะละตัณหาเสียได้ ฯ
(ปี 43) ปั ญหาว่า “พระขีณาสพตายแล้วเป็ นอะไร” ใครถามใคร? มีคาํ ตอบอย่างไร? พระศาสดาทรงพยากรณ์ปัญหาจบลงแล้ว มีผลอะไรเกิด
แก่มาณพ ๑๖ คน?

18 | P a g e
ตอบ พระสารีบตุ รถามพระยมกะ มีคาํ ตอบว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณที่ไม่เที่ยง ดับไปแล้ว ฯ
มีผลคือ มาณพ ๑๕ คน เว้นปิ งคิยมาณพ ส่งใจไปตามธรรมเทศนา มีจิตพ้นจากอาสวะไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน ส่วนปิ งคิยมาณพเป็ นแต่ได้
ญาณเห็นในธรรม ฯ

พระภัททิยเถระ
(ปี 61, 45) พระภัททิยเถระ มักเปล่งอุทานเนืองๆ ว่า สุขหนอๆ ดังนี ้ เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะเมื่อก่อนท่านเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน ต้องจัดการรักษาป้องกันทัง้ ในวังนอกวัง ทัง้ ในเมือง นอกเมือง จนตลอดทั่วอาณาเขต แม้มีคน
คอยรักษาอย่างนีแ้ ล้ว ยังต้องหวาดระแวง สะดุง้ กลัวอยูเ่ ป็ นนิตย์ ครัน้ ทรงออกบวชได้บรรลุอรหัตผลแล้ว แม้อยู่ในที่ไหนๆ ก็ไม่หวาดระแวง ไม่
สะดุง้ กลัว ไม่ตอ้ งขวนขวายมีใจปลอดโปร่ง เป็ นอิสระแก่ตน จึงเปล่งอุทานเช่นนัน้ ฯ
(ปี 58) พระสาวกที่มกั เปล่งอุทานเนืองๆ ว่า “สุขหนอ สุขหนอ” ดังนี ้ คือใคร ? ท่านเปล่งอุทานเช่นนีเ้ พราะเหตุไร ?
ตอบ คือพระภัททิยะ ฯ เพราะเมื่อก่อนท่านเป็ นพระเจ้าแผ่นดิน ต้องจัดการรักษาป้องกันทัง้ ในวังนอกวัง ทัง้ ในเมืองนอกเมือง จนตลอดทั่ว
อาณาเขต แม้มีคนคอยรักษาอย่างนีแ้ ล้ว ยังต้องหวาดระแวง สะดุง้ กลัวอยู่เป็ นนิตย์ ครัน้ ทรงออกบวชได้บรรลุอรหัตผลแล้ว แม้อยูใ่ นที่ไหนๆ ก็
ไม่หวาดระแวง ไม่สะดุง้ กลัว ไม่ตอ้ งขวนขวาย มีใจปลอดโปร่งเป็ นดุจมฤคอยู่ จึงเปล่งอุทานเช่นนัน้ ฯ

พระโสณโกฬิวิสะ
(ปี 45) พระพุทธองค์ทรงแนะนําพระเถระองค์ใดให้ปรารภความเพียรแต่พอประมาณ? เพราะเหตุใดจึงทรงแนะนําเช่นนัน้ ?
ตอบ พระโสณโกฬวิ ิสะ ฯ เพราะพระโสณโกฬวิ ิสะ ทําความเพียรเดินจงกรมจนเท้าแตก ก็ไม่อาจให้บรรลุมรรคผลได้ สมัยเมื่อท่านเป็ นคฤหัสถ์
เป็ นผูฉ้ ลาดเข้าใจในเสียงแห่งสายพิณ พระผูม้ ีพระภาคจึงทรงแนะนําว่า ในการดีดพิณนัน้ จะต้องขึงสายพิณแต่พอดี เสี ยงพิณจึงจะไพเราะ
หย่อนเกินไปหรือตึงเกินไปก็ไม่นา่ ฟั ง ความเพียรก็เหมือนกัน ถ้าย่อหย่อนนัก ก็เป็ นไปเพื่อเกียจคร้าน ถ้าเกินไปนักก็เป็ นไป เพื่อฟุ้งซ่าน จึงควร
ทําความเพียรแต่พอดี ฯ

อนาถบิณฑิกเศรษฐี
• * ชื่อเดิมว่า สุทตั ตะ
• * ท่านได้บรรลุโสดาปั ตติผล ที่เมืองราชคฤห์
(ปี 58, 46) อนาถบิณฑิกเศรษฐี มีนามเดิมว่าอะไร ? ได้บรรลุคณ
ุ วิเศษอะไรในพระพุทธศาสนา ? ที่ไหน ?
ตอบ สุทตั ตะ ฯ โสดาปัตติผล ฯ ที่เมืองราชคฤห์ ฯ

ธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า
• ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร (*แปลว่า สูตรว่าด้วยการหมุนพระธรรม (การประกาศธรรม) ) ในวันอาสาฬหบูชา ขึน้ ๑๕ คํ่าเดือน ๘
พระพุทธเจ้าแสดง สิ่งทีบ่ รรพชิตไม่ควรเสพ ๑.กามสุขลั ลิกานุโยค ความหมกมุ่นอยูใ่ นกาม ๒.อัตตกิลมถานุโยค ความทําตนให้ลาํ บาก
มัชฌิมาปฏิปทา ข้อปฏิบตั ิอนั เป็ นทางสายกลางอริยมรรคมีองค์ ๘ และอริยสัจ ๔ แก่พระปั ญจวัคคีทงั้ ๕ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
เมืองพาราณสี
• อริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค

19 | P a g e
• อนัตตลักขณสูตร (ขันธ์ทงั้ ๕ เป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่น)*มีผลให้ปัญจวัคคีทงั้ ๕บรรลุเป็ นพระอรหันต์พร้อม
กันทัง้ หมดในวันแรม ๕ คํ่าเดือน ๘ ทรงแสดงแก่พระปั ญจวัคคีทงั้ ๕ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี [หมายเหตุ *ขันธ์ ๕ คือ รูป
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ]
• อาทิตตปริยายสูตร *ที่ตาํ บลคยาสีสะ ใกล้แม่นาํ้ คยา* ใจความว่า “อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ ผัสสะ และเวทนาซึ่ง
เกิดตามลําดับ เป็ นของร้อน ร้อนเพราะไฟคือราคะ โทสะ โมหะ และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศก รํ่าไร รําพัน
ความคับแค้นใจ” มีผลทาให้ชฎิล(อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ คยากัสสปะ และบริวาร ๑,๐๐๐ คน) บรรลุอรหัตตผล
• เวทนาปริคคหสูตร แก่ทีฆนขปริพาชก ณ *ถา้ สุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์* ฯ มีใจความว่า “ให้พจิ ารณาร่างกาย ซึ่ง
มีความแตกทําลายไม่ย่งั ยืน และแสดงผลเสียของการยึดมั่น พร้อมกับตรัสให้ละเลิกทิฏฐิ อย่างนัน้ เสีย”
• อนุปพ
ุ พีกถา ๕ คือ คือ ทาน ศีล สวรรค์ กามาทีนพ(โทษแห่งกาม) และเนกขัมมานิสงส์(อานิสงส์แห่งการออกจากกาม) ทรงแสดงแก่ย
สกุลบุตรเป็ นคนแรก
• โอวาทปาฏิโมกข์ ใจความย่อว่า “ไม่ทาํ บาปทัง้ ปวง ทํากุศลให้ถึงพร้อม ทําใจให้บริสทุ ธิ์” แสดงที่วดั เวฬุวนาราม กรุงราชคฤห์ ส่วนข้อที่
ทรงยกขันติขนึ ้ ตรัสในโอวาทปาฏิโมกข์นนั้ หมายความว่า ศาสนธรรมคําสอนของพระองค์เป็ นไปเพื่อให้อดทนต่อเย็น ร้อน หิวระหาย
ถ้อยคําให้รา้ ย ใส่ความ ด่าว่า และทุกขเวทนาอันแรงกล้าเกิดแต่อาพาธ
(ปี 63, 61) พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ไี หน ? มีใจความย่อว่าอย่างไร ?
ตอบ ที่เวฬุวนาราม กรุงราชคฤห์ ฯ ใจความย่อว่า ไม่ทาํ บาปทัง้ ปวง ทํากุศลให้ถึงพร้อม ทําใจให้บริสทุ ธิ์ ฯ
(ปี 62, 48) ข้ออุปมาว่า "ไม้แห้งที่วางไว้บนบก ไกลนํา้ สามารถสีให้เกิดไฟได้" เกิดขึน้ แก่ใคร ? โดยนําไปเปรียบกับอะไร ?
ตอบ แก่พระมหาบุรุษ คือองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ โดยทรงนําไปเปรียบกับสมณพราหมณ์ทงั้ หลายว่า สมณพราหมณ์ บางพวกมี
กายหลีกออกจากกาม ใจก็ละความรักใคร่ในกาม สงบดีแล้ว หากพากเพียร พยายามอย่างถูกต้องย่อมสามารถตรัสรูธ้ รรมได้ ฯ
(ปี 62, 45) อนัตตลักขณสูตร และ อาทิตตปริยายสูตร มีใจความโดยย่อว่าอย่างไร ?
ตอบ อนัตตลักขณสูตรมีใจความโดยย่อว่า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ซึง่ รวมเรียกว่าขันธ์ ๕ นี ้ เป็ นอนัตตา ไม่ใช่ตน ฯ
อาทิตตปริยายสูตรมีใจความโดยย่อว่า อายตนะภายใน อายตนะภายนอก วิญญาณ สัมผัส และเวทนาที่เกิดแต่สัมผัส เป็ นของร้อน ร้อน
เพราะไฟคือ ราคะ โทสะ โมหะ และร้อนเพราะความเกิด ความแก่ ความตาย ความโศกรํ่าไรรําพัน เจ็บกาย เสียใจ คับใจ ฯ
(ปี 61, 43) ที่สดุ โต่งอันบรรพชิตไม่ควรเสพนัน้ คืออะไรบ้าง? ที่สดุ โต่งนัน้ มีโทษอย่างไร?
ตอบ คือ ๑. กามสุขลั ลิกานุโยค ๒.อัตตกิลมถานุโยค ฯ
มีโทษดังนี ้
กามสุขลั ลิกานุโยค คือการประกอบตนให้พวั พันด้วยสุขในกาม เป็ นธรรมอันเลว เป็ นเหตุตงั้ บ้านเรือน เป็ นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใช่ของคน
อริยะคือ ผูบ้ ริสทุ ธิ์ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
อัตตกิลมถานุโยค คือการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า ให้เกิดทุกข์แก่ผปู้ ระกอบ ไม่ทาํ ผูป้ ระกอบให้เป็ นอริยะ ไม่ประกอบด้วย
ประโยชน์ ฯ
(ปี 60) ทางปฏิบตั ิท่สี ดุ ๒ อย่าง อันบรรพชิตไม่ควรเสพนัน้ คืออะไรบ้าง ? มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ คือ ๑. กามสุขลั ลิกานุโยค ๒. อัตตกิลมถานุโยค ฯ มีอธิบายดังนี ้
กามสุขลั ลิกานุโยค คือการประกอบตนให้พวั พันด้วยสุขในกาม เป็ นธรรมอันเลว เป็ นเหตุตงั้ บ้านเรือน เป็ นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใ ช่ของคน
อริยะคือผูบ้ ริสทุ ธิ์ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์

20 | P a g e
อัตตกิลมถานุโยค คือการประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตนเปล่า ให้เกิดทุกข์แก่ผปู้ ระกอบ ไม่ทาผูป้ ระกอบให้เป็ นอริยะ ไม่ประกอบ ด้วย
ประโยชน์ ฯ
(ปี 59) พระศาสดาทรงแสดงอนุปพุ พีกถา และอริยสัจ ๔ ตามลําดับ แก่บคุ คลผูม้ ีคุณสมบัติเช่นไร ?
ตอบ แก่ผมู้ คี ณ
ุ สมบัตดิ งั ต่อไปนีค้ ือ ๑. เป็ นมนุษย์ ๒. เป็ นคฤหัสถ์ ๓. มีอปุ นิสยั แก่กล้า ควรบรรลุโลกุตรคุณ ฯ
(ปี 59, 57, 49) คําว่า “สิ่งทัง้ ปวงไม่ควรแก่ขา้ พเจ้า ข้าพเจ้าไม่ชอบใจหมด” เป็ นคําพูดของใคร? พระพุทธองค์ตรัสตอบว่าอย่างไร?
ตอบ เป็ นคําพูดของทีฆนขะ อัคคิเวสสนโคตร ฯ
ตรัสตอบว่า ถ้าอย่างนัน้ ความเห็นอย่างนัน้ ก็ตอ้ งไม่ควรแก่ทา่ น ท่านก็ตอ้ งไม่ชอบความเห็นอย่างนัน้ ฯ
(ปี 57, 53) อภิญญาเทสิตธรรม มีอะไรบ้าง? ทรงแสดงแก่ใคร? ที่ไหน?
ตอบ มี สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ มรรคมีองค์ ๘ ฯ
ทรงแสดงแก่ภิกษุสงฆ์ผอู้ าศัยอยูใ่ นเมืองเวสาลี ฯ ที่กฏู าคารศาลา ป่ ามหาวัน ฯ
(ปี 51) อนุปพุ พีกถาและสามุกกังสิกธรรม คืออะไร? พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่บคุ คลผูม้ ีองคสมบัตอิ ะไร?
ตอบ อนุปพุ พีกถา คือ ถ้อยคําที่กล่าวเรียงเรื่องเป็ นลําดับไป คือ ทานกถา สีลกถา สัคคกถา กามาทีนวกถา เนกขัมมานิสงั สกถา
สามุกกังสิกธรรม คือ ธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงยกขึน้ แสดงเอง ได้แก่อริยสัจ ๔ ฯ
ผูม้ ีองคสมบัติ คือ ๑. เป็ นมนุษย์ ๒. เป็ นคฤหัสถ์ ๓. มีอปุ นิสยั แก่กล้า ควรบรรลุโลกุตรคุณ ฯ
(ปี 50) ก่อนจะทรงแสดงอริยสัจ ๔ พระพุทธองค์ทรงแสดงส่วนสุด ๒ อย่างแก่ปัญจวัคคีย ์ แต่ทรงแสดงอนุปพุ พีกถาแก่ยสกุลบุตร เพราะเหตุ
ไร? ตอบ เพราะปั ญจวัคคียไ์ ด้ละกามออกบวชเป็ นฤษีแล้ว ซึง่ บรรพชิตในครัง้ นัน้ หมกมุ่นอยูใ่ นส่วนสุด ๒ อย่าง คืออัต ตกิลมถานุโยคและกาม
สุขลั ลิกานุโยค ฤษีปัญจวัคคียต์ ิดอยู่ในอัตตกิลมถานุโยค จึงไม่จาํ ต้องแสดงอนุปพุ พีกถาเพื่อฟอกจิตให้สะอาดจากกาม แต่ยสกุลบุตรเป็ น ผู้
เสพกามอยู่ครองเรือน กําลังได้รบั ความขัดข้องวุ่นวายจากกามอยู่ จึงทรงแสดงอนุปพุ พีกถาฟอกจิตให้หา่ งไกลจากความยินดีในกาม ควรรับ
ธรรมเทศนาคืออริยสัจ ๔ เหมือนผ้าที่ปราศจากมลทิน ควรรับนํา้ ย้อมได้ฉะนัน้ ฯ
(ปี 48) อนุปพุ พีกถา คืออะไร? ทรงแสดงแก่บคุ คลผูถ้ ึงพร้อมด้วยองค์เท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบคือถ้อยคําที่กล่าวเรียงเรื่องเป็ นลําดับไปฯ ด้วยองค์ ๓ฯ คือ เป็ นมนุษย์ ๑ เป็ นคฤหัสถ์ ๑ มีอปุ นิสยั แก่กล้าควรบรรลุโลกุตรคุณในที่นนั้ ๑ฯ
(ปี 48) ธรรม ๓๗ ประการมีสติปัฏฐาน ๔ เป็ นต้น มีมรรคมีองค์ ๘ เป็ นที่สดุ เรียกชื่อว่าธรรมอะไรได้บา้ ง? เรียกอย่างนัน้ เพราะเหตุไร? ตอบ
เรียกชื่อว่า อภิญญาเทสิตธรรม เพราะเป็ นธรรมที่พระองค์ทรงแสดงด้วยพระปั ญญาอันยิ่ง และเรียกชื่อว่า โพธิปักขิยธรรม เพราะธรรมเหล่านี ้
เป็ นฝักฝ่ ายแห่งความตรัสรู ้ ฯ
(ปี 47) พระพุทธพจน์ว่า “ ทักษิณาอันบริจาคในสงฆ์ย่อมสําเร็จแก่ผตู้ ายโดยฐานะ ” นัน้ ท่านอธิบายไว้อย่างไร? การที่ทกั ษิณาจะสําเร็จ
ประโยชน์แก่ผตู้ ายโดยฐานะนัน้ ต้องพร้อมด้วยสมบัติ อะไรบ้าง?
ตอบ ท่านอธิบายไว้ว่า เปตชนผูไ้ ปเกิดในกําเนิดอื่น ทัง้ ที่เป็ นทุคติ ทัง้ ที่เป็ นสุคติ ย่อมเป็ นอยูด่ ว้ ยอาหารในคติท่เี ขาเกิด หาได้รบั ผลแห่งทานที่
ทายกอุทิศถึงไม่ ต่อไปเกิดในปิ ตติวิสยั จึงได้รบั ผลแห่งทานที่อทุ ิศถึงนัน้ ฯ
ต้องพร้อมด้วยสมบัติ ๓ ประการคือ การบริจาคไทยธรรมแล้วอุทศิ ถึงของทายก ๑ ปฏิคาหกผูร้ บั ไทยธรรมนัน้ เป็ นทักขิเณยยะ คือผูค้ วรรับ
ทักษิณา ๑ เปตชนนัน้ ได้อนุโมทนา ๑ ฯ
(ปี 46) โอวาทปาฏิโมกข์ทรงแสดงที่ไหน? เมื่อไร? ข้อที่ทรงยกขันติขนึ ้ ตรัสในโอวาทปาฏิโมกข์นนั้ หมายความว่าอย่างไร ?
ตอบ ที่เวฬุวนาราม กรุงราชคฤห์ ฯ เมื่อวันเพ็ญเดือน ๓ ฯ หมายความว่า ศาสนธรรมคําสอนของพระองค์เป็ นไปเพื่อให้อดทนต่อเย็น ร้อน หิว
ระหาย ถ้อยคําให้รา้ ย ใส่ความ ด่าว่า และทุกขเวทนาอันแรงกล้าเกิดแต่อาพาธ ฯ
(ปี 45) ที่สดุ ทัง้ ๒ อย่างอันบรรพชิตไม่ควรเสพ มีโทษอย่างไรบ้าง? มัชฌิมาปฏิปทา มีคณ
ุ อย่างไรบ้าง?
21 | P a g e
ตอบ มีโทษดังนี ้ คือ
กามสุขลั ลิกานุโยค เป็ นธรรมอันเลว เป็ นเหตุตงั้ บ้านเรือน เป็ นของคนมีกิเลสหนา ไม่ใช่ของคนอริยะคือผูบ้ ริสทุ ธิ์ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์
อัตตกิลมถานุโยค ให้เกิดทุกข์แก่ผปู้ ระกอบ ไม่ทาํ ผูป้ ระกอบให้เป็ นอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ฯ
มีคณ
ุ ดังนี ้ คือทําดวงตาคือทําญาณเครื่องรอบรู ้ เป็ นไปเพื่อความเข้าไปสงบระงับ เพื่อความรูย้ งิ่ เพื่อความรูด้ ี เพื่อความไม่มกี ิเลสเครื่องร้อย
รัด ฯ
(ปี 45) บุคคลที่ทา่ นเปรียบด้วยดอกบัว ๔ เหล่า ได้แก่จาํ พวกไหนบ้าง? พระพุทธองค์ทรงแสดงอนุปพุ พีกถาก่อนที่จะแสดงอริยสัจ ๔ เพื่อ
ประโยชน์อะไร?
ตอบ ได้แก่
๑. อุคฆฏิตญ
ั ญู คือ ผูม้ ีอปุ นิสยั สามารถจะตรัสรูธ้ รรมวิเศษโดยพลันพร้อมกันกับเวลาที่ท่านผูศ้ าสดาแสดงธรรมสั่งสอน เปรียบด้วยดอกบัวพ้น
นํา้
๒. วิปจิตญ
ั ญู คือ ผูท้ ่ที ่านอธิบายขยายความแห่งคําที่ย่อให้พิสดารออกไป จึงจะตรัสรูธ้ รรมวิเศษได้ เปรียบด้วยดอกบัวเสมอนํา้
๓. เนยยะ คือ ผูท้ ่พี อจะแนะนําได้ คือพอที่จะฝึ กอบรมสั่งสอนให้รูแ้ ละเข้าใจได้อยู่ เปรียบด้วยดอกบัวที่ยงั อยู่ในนํา้
๔. ปทปรมะ คือ ผูแ้ ม้จะฟั งและกล่าวและทรงไว้และบอกแก่ผอู้ ื่นซึง่ ธรรมเป็ นอันมาก ก็ไม่สามารถจะตรัสรูธ้ รรมวิเศษในอัตภาพชาตินนั้ ได้
เปรียบด้วยดอกบัวที่เป็ นภักษาแห่งเต่าและปลา ฯ
เพื่อฟอกจิตสาวกหรือผูฟ้ ั ง ให้หา่ งไกลจากความยินดีในกาม ควรรับพระธรรมเทศนาให้เกิดดวงตาเห็นธรรม เหมือนผ้าที่ปราศจากมลทินควร
รับนํา้ ย้อมได้ ฉะนัน้ ฯ
(ปี 45) พระพุทธดํารัสว่า "ดูก่อนอานนท์ กํามืออาจารย์ในธรรมทัง้ หลายไม่มแี ก่พระตถาคตเจ้า ” หมายความว่าอย่างไร? พระพุทธองค์ทรง
บําเพ็ญญาตัตถจริยา ด้วยมีพระประสงค์อย่างไร?
ตอบ หมายความว่า พระตถาคตเจ้าไม่ทรงมีขอ้ ลีล้ ับในธรรมทัง้ หลายที่จะต้องปกปิ ดซ่อนบังไว้ แสดงได้แก่สาวกบางเหล่า มิได้ท่วั ไปเป็ น
สรรพสาธารณ์ หรือจะพึงแสดงให้สาวกทราบต่ออวสานกาลที่สดุ ฯ
ด้วยพระประสงค์จะให้พระญาติบริบรู ณ์ดว้ ยสุข ๓ ประการ คือมนุษยสุข ๑ ทิพยสุข ๑ นิพพานสุข ๑ ทัง้ ที่ครองฆราวาส ทัง้ ที่ออกบรรพชาใน
พระพุทธศาสนา ฯ
(ปี 44) พระศาสดาทรงแสดงอนุปพุ พีกถา และอริยสัจ ๔ ตามลําดับ แก่บคุ คลผูม้ ีคณ
ุ สมบัติเช่นไร? พระศาสดาประทานเอหิภิกขุอปุ สัมปทา
แก่พระยสกุลบุตรว่าอย่างไร?
ตอบ แก่ผมู้ คี ณ
ุ สมบัตดิ งั ต่อไปนีค้ ือ ๑. เป็ นมนุษย์ ๒. เป็ นคฤหัสถ์ ๓. มีอปุ นิสยั แก่กล้า ควรบรรลุโลกุตรคุณ ฯ
ท่านจงเป็ นภิกษุมาเถิด ธรรมเรากล่าวดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ฯ

เหตุในการบวชของสาวก
(ปี 51) จงระบุช่ือพระสาวกผูท้ ่บี วชด้วยเหตุต่อไปนี ้
ก. บวชด้วยศรัทธา ข. บวชเพราะจําใจ ค. บวชตามเพื่อน ง. บวชเพราะเห็นโทษของการครองเรือน
ตอบ ก. บวชด้วยศรัทธา คือ พระรัฐปาลเถระ ค. บวชตามเพื่อน คือ พระวิมล พระสุพาหุ พระปุณณชิ พระควัมปติ
ข. บวชเพราะจําใจ คือ พระนันทเถระ ง. บวชเพราะเห็นโทษของการครองเรือน คือ พระมหากัสสปเถระ ฯ

22 | P a g e
การอุปสมบท
(ปี 56) การอุปสมบทสําหรับพระภิกษุในครัง้ พุทธกาล มีทงั้ หมดกี่วิธี? อะไรบ้าง? ในปั จจุบนั ใช้วิธีใด?
ตอบ มี ๓ วิธีฯ คือ ๑.เอหิภิกขุอปุ สัมปทา ๒.ติสรณคมนูปสัมปทา ๓.ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทาฯ ใช้ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทาฯ

คนแรก/คนสุดท้าย/ท่องจา
(ปี 56) ปฐมสาวกกับปั จฉิมสาวกคือใคร? ได้ฟังพระธรรมเทศนาครัง้ แรกว่าด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ ปฐมสาวก คือพระอัญญาโกณฑัญญะ ฟั งพระธรรมเทศนาว่าด้วยที่สดุ ๒ อย่าง และมัชฌิมาปฏิปทา ฯ
ปั จฉิมสาวก คือสุภทั ทปริพาชก ฟั งพระธรรมเทศนาว่าด้วยพระอริยบุคคลทัง้ ๔ ประเภท มีอยูเ่ ฉพาะในธรรมวินยั ที่มีมรรคมีองค์ ๘ ฯ
(ปี 50) บิณฑบาตของนางสุชาดาที่ถวายก่อนแต่ตรัสรู ้ และของนายจุนทะที่ถวายก่อนแต่เสด็จปรินิพพาน มีผลเสมอกัน มีวิบากเสมอกัน
เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะ ก. ปรินิพพานเสมอกัน คือสอุปาทิเสสปรินิพพานและอนุปาทิเสสปรินิพพาน
ข. สมาบัติเสมอกัน คือทรงเข้าสูส่ มาบัติ ๒๔ แสนโกฏิเสมอกันก่อนจะตรัสรูแ้ ละก่อนจะปรินิพพาน
ค. เมื่อบุคคลทัง้ ๒ ระลึกถึงการถวายบิณฑบาตของตน ก็บงั เกิดปี ติโสมนัสอย่างแรงกล้าเหมือนกัน ฯ
(ปี 48) ในพุทธประวัตกิ ล่าวถึงบุคคลต่อไปนีค้ ือ โสตถิยพราหมณ์ หุหกุ ชาติพราหมณ์ โทณพราหมณ์ ว่าอย่างไรบ้าง?
ตอบ โสตถิยพราหมณ์ เป็ นพราหมณ์ท่ถี วายหญ้าแด่พระมหาบุรุษในเวลาเย็นแห่งวันตรัสรู ้
หุหกุ ชาติพราหมณ์ เป็ นพราหมณ์ท่เี ข้าเฝ้าทูลถามปั ญหากะพระพุทธองค์ขณะประทับ ณ ภายใต้รม่ ไม้อชปาลนิโครธ
โทณพราหมณ์ เป็ นพราหมณ์ท่ที าํ หน้าที่แบ่งพระบรมสารีรกิ ธาตุแก่กษัตริยแ์ ละพราหมณ์ทงั้ ๘ พระนคร ฯ
(ปี 47) พระอรหันตสาวกรุน่ แรกที่พระศาสดาทรงส่งไปประกาศพระศาสนา มีจาํ นวนเท่าไร? พระองค์ทรงประทานโอวาทแก่ท่านเหล่านัน้ โดย
ย่อว่าอย่างไร?
ตอบ มีจาํ นวนทัง้ สิน้ ๖๐ รูป ฯ ทรงประทานโอวาทว่า ท่านทัง้ หลายจงเที่ยวจาริกไปในชนบท เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ชนเป็ นอันมาก
ุ ในเบือ้ งต้น ท่ามกลาง และที่สดุ จงประกาศพรหมจรรย์อนั บริสทุ ธิ์บริบรู ณ์สนิ ้ เชิง พร้อมทัง้
แต่อย่าไปทางเดียวกัน ๒ รูป จงแสดงธรรมมีคณ
อรรถและพยัญชนะ ฯ
(ปี 47) พระกาฬุทายี และ กาฬเทวิลดาบส เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร ?
ตอบ พระกาฬุทายี เป็ นสหชาติของพระพุทธเจ้า ก่อนบวชท่านเป็ นอํามาตย์อยูใ่ นกรุงกบิลพัสดุ์ พระเจ้าสุทโธทนะทรงส่งไปทูลนิมนต์
พระพุทธเจ้าให้เสด็จกลับกรุงกบิลพัสดุ์ เมื่อได้อปุ สมบทแล้วจึงทูลนิมนต์พระพุทธเจ้าให้เสด็จกลับได้สาํ เร็จตามพระราชประสงค์ ฯ
กาฬเทวิลดาบสคืออสิตดาบสนั่นเอง เมื่อพระมหาบุรุษประสูติใหม่ๆ ท่านทราบข่าวจึงเข้าไปเยี่ยม ได้เห็น ลักษณะของพระราชโอรสต้อง
ด้วยตํารับมหาบุรุษลักษณะมีความเคารพในพระโอรสอย่างมาก จึงลุกขึน้ กราบลงที่พระบาททัง้ สองด้วยศีรษะของตนแล้วกล่าวทํานายพระ
ลักษณะตามมหาบุรุษลักษณะพยากรณศาสตร์ ฯ
(ปี 44) จงแสดงใจความแห่งพระพุทธพจน์ท่ชี ีใ้ ห้เห็นว่า พระอรหันต์ยงั มีได้ตลอดเวลาที่บคุ คลยังปฏิบตั ิชอบอยู่?
ในสมัยพุทธกาล พระสาวกองค์ใดได้รบั การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรมวาจาเป็ นองค์แรก และองค์ใดเป็ นองค์สดุ ท้าย?
ตอบ ใจความแห่งพระพุทธพจน์ท่ตี รัสก่อนปรินิพพานกับสุภทั ทปริพาชกว่า " ดูก่อนสุภทั ทะ ถ้าภิกษุทงั้ หลาย ยังเป็ นผูป้ ฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบอยู่
โลกก็จะไม่วา่ งจากพระอรหันต์ " ฯ พระราธะเป็ นองค์แรก พระสุภทั ทะเป็ นองค์สดุ ท้าย ฯ

23 | P a g e
พระสาวกนิพพาน
(ปี 50) พระสาวกผูใ้ หญ่ ๘๐ องค์ เท่าที่ปรากฏในหนังสือพุทธานุพทุ ธประวัติ มีองค์ใดนิพพานก่อนและหลังพระพุทธองค์บา้ ง? จงบอกมา
อย่างละ ๒ องค์ ฯ
ตอบ (ตอบเพียงอย่างละ ๒ องค์)
ผูน้ ิพพานก่อนพระพุทธองค์ คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระสารีบตุ ร พระโมคคัลลานะ และพระราหุล ฯ
ผูน้ ิพพานหลังพระพุทธองค์ คือ พระมหากัสสปะ พระอุบาลี พระอนุรุทธะ พระอานนท์ ฯ

เอตทัคคะ
➢ ประมาณ หรือ ปมาณิก ๔ บุคคลที่ถือประมาณต่างๆ กัน, คนในโลกผูถ้ ือเอาคุณสมบัติต่างๆ กัน เป็ นเครื่องวัดในการที่จะเกิดความเชื่อ
ความเลื่อมใส
๑. รูปัปปมาณิกา ผูถ้ ือประมาณในรูป, บุคคลที่มองเห็นรูปร่างสวยงาม ทรวดทรงดี อวัยวะสมส่วน ท่าทางสง่า สมบูรณ์พร้อม จึงชอบใจ
เลื่อมใสน้อมใจที่จะเชื่อถือ
๒. โฆสัปปมาณิกา ผูถ้ ือประมาณในเสียง, บุคคลที่ได้ยินได้ฟังเสียงสรรเสริญ เกียรติคณ
ุ หรือเสียงพูดจาที่ไพเราะ จึงชอบใจเลื่อมใสน้อม
ใจที่จะเชื่อถือ
๓. ลูขัปปมาณิกา ผูถ้ ือประมาณในความครํ่าหรือเศร้าหมอง, บุคคลที่มองเห็นสิ่งของเครื่องใช้ความเป็ นอยู่ท่เี ศร้าหมองเช่น จีวรครํ่าๆ
เป็ นต้น หรือมองเห็นการกระทําครํ่าเครียดเป็ นทุกรกิรยิ า ประพฤติเคร่งครัดเข้มงวดขูดเกลาตน จึงชอบใจ เลื่อมใสน้อมใจที่จะเชื่อถือ
๔. ธัมมัปปมาณิกา ผูถ้ ือประมาณในธรรม, บุคคลที่พิจารณาด้วยปัญญาเห็นสารธรรมหรือการปฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบ คือ ศีล สมาธิ
ปั ญญา จึงชอบใจเลื่อมใส น้อมใจที่จะเชื่อถือ

➢ เอตทัคคะ แปลว่า ผูเ้ ลิศ (ให้ทอ่ งไปสอบ สรุปนีเ้ อามาเฉพาะทีเ่ คยออกข้อสอบ นักธรรมโทและเอก เท่านัน้ )
• พระอัญญาโกณฑัญญะ ผูร้ ตั ตัญญู (แปลว่า ผูร้ ูร้ าตรีนาน ...หมายถึง ผูม้ ีอายุมาก ผูม้ ีประสบการณ์มาก)
• พระอุรุเวลกัสสปะ ผูม้ ีบริวารมาก
• พระมหากัสสปะ ผูเ้ ลิศในทางถือธุดงค์
• พระปุณณมันตานีบตุ ร ผูเ้ ลิศในทางธรรมกถึก
• พระสารีบตุ ร ผูเ้ ลิศในทางมีปัญญามาก
• พระโมคคัลลานะ ผูม้ ีฤทธิ์มาก
• พระโสณกุฏิกณ
ั ณะ ผูแ้ สดงธรรมด้วยถ้อยคําอันไพเราะ (ผูม้ ีวาจาไพเราะ)
• พระราหุล ผูใ้ คร่ในการศึกษา
• พระราธะ ผูม้ ีปฏิภาณ คือ มีญาณแจ่มแจ้งในธรรมเทศนา
• พระโมฆราช ผูท้ รงจีวรเศร้าหมอง
• พระอุบาลี ผูท้ รงพระวินยั
• พระอานนท์ ผูเ้ ลิศในทางพหูสตู มี ๕ ด้าน คือ เป็ นพหูสตู มีสติ มีคติ มีความเพียร และเป็ นพุทธอุปัฏฐาก
• พระอนุรุทธะ ผูเ้ ลิศในทางทิพยจักขุญาณ (ตาทิพย์)
24 | P a g e
• พระมหากัจจายนะ ผูเ้ ลิศในทางผูอ้ ธิบายเนือ้ ความย่อให้พิสดาร
• พระรัฐบาล ผูเ้ ลิศในทางผูบ้ วชด้วยศรัทธา
• พระวักกลิ ผูเ้ ลิศในทางสัทธาธิมตุ คือ ผูพ้ น้ กิเลสด้วยศรัทธา
• พระโสณโกฬิวิสะ ผูเ้ ลิศในทางมีความเพียรปรารภแล้ว
• พระกาฬุทายี ผูเ้ ลิศทางยังตระกูลให้เลื่อมใส
• พระพาหิยทารุจีรยิ ะ ผูเ้ ลิศทางมีขิปปาภิญญาตรัสรูเ้ ร็ว
• กิสาโคตมีเถรี ในทางทรงไว้ซง่ึ จีวรอันเศร้าหมอง (ภิกษุณี)
• กุณฑลเกสีเถรี ในทางขิปปาภิญญา หรือ ตรัสรูเ้ ร็ว (ภิกษุณี)
• ภัททกาปิ ลานีเถรี ในทางระลึกได้ซ่งึ ปุพเพนิวาส (ภิกษุณี)
• ภัททากัจจานาเถรี ในทางถึงซึง่ อภิญญาอันใหญ่แล้ว (ภิกษุณี)
• โสณาเถรี ในทางมีความเพียรปรารภแล้ว (ภิกษุณี)
• มหาปชาบดีโคตมีเถรี ผูร้ ตั ตัญญู (ภิกษุณี)
• ธรรมทินนาเถรี ผูเ้ ลิศในทางธรรมกถึก (ภิกษุณี)
• อุบลวรรณาเถรี ผูเ้ ลิศในทางมีฤทธิ์ (ภิกษุณี)
• ปฏาจาราเถรี ผูเ้ ลิศในทางทรงวินยั (ภิกษุณี)
• เขมาเถรี ผูเ้ ลิศในทางมีปัญญา (ภิกษุณี)
• จิตตคฤหบดี ผูเ้ ลิศในทางธรรมกถึก (ฝ่ ายอุบาสก)
• นางขุชชุตตรา ผูเ้ ลิศในทางธรรมกถึก (ฝ่ ายอุบาสิกา)

(ปี 63, 61) ภิกษุณีผมู้ ีช่อื ต่อไปนีไ้ ด้รบั เอตทัคคะในทางไหน ?


ก. พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี ข. พระเขมาเถรี ค. พระอุบลวัณณาเถรี ง. พระปฏาจาราเถรี จ. พระธัมมทินนาเถรี
ตอบ ก. ได้รบั เอตทัคคะในทางรัตตัญญู ข. ได้รบั เอตทัคคะในทางมีปัญญา ค. ได้รบั เอตทัคคะในทางมีฤทธิ์
ง. ได้รบั เอตทัคคะในทางทรงวินยั จ. ได้รบั เอตทัคคะในทางธรรมกถึก ฯ
(ปี 62, 55) พระสาวกสาวิกาต่อไปนี ้ ได้รบั การยกย่องว่าเป็ นผูเ้ ลิศในทางใด?
๑. พระมหาโมคคัลลานะ ๒. พระมหากัสสปะ ๓. พระอุบาลี ๔. พระนางมหาปชาบดีโคตมี ๕. พระนางเขมา
ตอบ ๑. พระมหาโมคคัลลานะ เป็ นผูเ้ ลิศในทางมีฤทธิ์ ๒. พระมหากัสสปะ เป็ นผูเ้ ลิศในทางถือธุดงค์
๓. พระอุบาลี เป็ นผูเ้ ลิศในทางทรงพระวินยั ๔. พระนางมหาปชาบดีโคตมี เป็ นผูเ้ ลิศในทางผูร้ ตั ตัญญู
๕. พระนางเขมา เป็ นผูเ้ ลิศในทางมีปัญญา ฯ
(ปี 56) พระเถระรูปใดได้รบั ยกย่องจากพระศาสดาว่าเป็ นเอตทัคคะ ดังต่อไปนี?้
ก. ทรงทิพจักษุญาณ ข. ยังตระกูลให้เลื่อมใส ค. เป็ นธรรมกถึก ฆ. ผูท้ รงจีวรเศร้าหมอง ง. ผูเ้ ป็ นขิปปาภิญญาตรัสรูเ้ ร็ว
ตอบ ก. พระอนุรุทธเถระ ข. พระกาฬุทายีเถระ ค. พระปุณณมันตานีบตุ ร ฆ. พระโมฆราชเถระ
ง. พระพาหิยทารุจีรยิ ะ ฯ

25 | P a g e
(ปี 53) พระสาวกรูปใดเป็ นเอตทัคคะทางมีปัญญามาก ทางขยายความย่อให้พิสดาร ทางมีวาจาไพเราะ ทางทรงจีวรเศร้าหมอง? และในท่าน
เหล่านัน้ องค์ไหนเป็ นที่เลื่อมใสของผูเ้ ป็ นรูปัปปมาณิกา โฆสัปปมาณิกา ลูขปั ปมาณิกา และธัมมัปปมาณิกา?
ตอบ พระสารีบตุ ร เป็ นเอตทัคคะทางมีปัญญามาก และเป็ นที่เลือ่ มใสของผูเ้ ป็ นธัมมัปปมาณิกา
พระมหากัจจายนะ เป็ นเอตทัคคะทางขยายความย่อให้พิสดาร และเป็ นที่เลื่อมใสของผูเ้ ป็ นรูปัปปมาณิกา
พระโมฆราช เป็ นเอตทัคคะทางทรงจีวรเศร้าหมอง และเป็ นที่เลื่อมใสของผูเ้ ป็ นลูขปั ปมาณิ กา
พระโสณกุฏิกณ
ั ณะ เป็ นเอตทัคคะทางมีวาจาไพเราะ และเป็ นที่เลื่อมใสของผูเ้ ป็ นโฆสัปปมาณิกา ฯ
(ปี 53) พระอรหันตสาวก ๑๐ องค์แรกในพระพุทธศาสนา คือใครบ้าง? มีท่านใดได้รบั เอตทัคคะบ้าง? และเป็ นเอตทัคคะในทางไหน? ตอบ
คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ พระอัสสชิ พระยสะ พระวิมละ พระสุพาหุ
พระปุณณชิ และพระควัมปติ ฯ มีพระอัญญาโกณฑัญญะรูปเดียว ฯ ในทางรัตตัญญู ผูร้ ูร้ าตรีนาน ฯ
(ปี 49) บุคคลต่อไปนีไ้ ด้รบั เอตทัคคะในทางใด?
ก. พระอนุรุทธเถระ ข. พระโสณโกฬิวิสเถระ ค. พระรัฐปาลเถระ ง. นางปฏาจาราเถรี จ. นางกีสาโคตมีเถรี
ตอบ ก. พระอนุรุทธเถระ ได้ทิพยจักษุญาณ ข. พระโสณโกฬิวิสเถระ มีความเพียรปรารภแล้ว
ค. พระรัฐปาลเถระ บวชด้วยศรัทธา ง. นางปฏาจาราเถรี ทรงไว้ซ่งึ วินยั
จ. นางกีสาโคตมีเถรี ทรงไว้ซ่งึ จีวรอันเศร้าหมอง ฯ
(ปี 48) พุทธบริษัท ๔ คือ ใครบ้าง? ผูต้ งั้ อยู่ในเอตทัคคะทางพระธรรมกถึกของแต่ละฝ่ ายคือใคร?
ตอบ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ฯ
ฝ่ ายภิกษุ คือ พระปุณณมันตานีบตุ รเถระ ฝ่ ายอุบาสก คือ จิตตคฤหบดี
ฝ่ ายภิกษุณี คือ พระธัมมทินนาเถรี ฝ่ ายอุบาสิกา คือ นางขุชชุตตรา ฯ
(ปี 44) ภิกษุณีผมู้ ีช่ือต่อไปนีไ้ ด้รบั เอตทัคคะในทางไหน?
ก. พระนางมหาปชาบดีโคตมี ข. นางเขมาเถรี ค. นางอุบลวัณณาเถรี ง. นางปฏาจาราเถรี จ. นางธัมมทินนาเถรี
พระสงฆ์เถรวาทในเมืองไทยไม่สามารถบวชภิกษุณีได้เพราะเหตุไร?
ตอบ ก. ได้รบั เอตทัคคะในทางรัตตัญญู ข. ได้รบั เอตทัคคะในทางมีปัญญา
ค. ได้รบั เอตทัคคะในทางมีฤทธิ์ ง. ได้รบั เอตทัคคะในทางทรงวินยั
จ. ได้รบั เอตทัคคะในทางธรรมกถึก ฯ
เพราะมีพระพุทธานุญาตว่า " ภิกษุณีตอ้ งบวชจากภิกษุณีสงฆ์ก่อน แล้วจึงบวชจากภิกษุสงฆ์อกี ครัง้ หนึ่ง " เวลานีภ้ ิกษุณีสงฆ์ไม่มีแล้ว การที่
จะบวชภิกษุณีจึงไม่สามารถทําได้ ฯ

มหาปรินิพพาน
(ปี 59, 54) อายุสงั ขาราธิษฐานกับการปลงอายุสงั ขาร หมายถึงอะไร? พระพุทธเจ้าทรงกระทําที่ไหน?
ตอบ อายุสงั ขาราธิษฐาน หมายถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงตัง้ พระหฤทัยว่า จักดํารงพระชนม์อยูแ่ สดงธรรมสั่งสอนมหาชน จนกว่าพุทธบริษัท
จะตัง้ มั่น และได้ประกาศพระศาสนาให้แพร่หลายมั่นคงสําเร็จประโยชน์แก่มหาชน ที่อชปาลนิโครธ ใกล้สถานที่ตรัสรู ้ ฯ
การปลงอายุสงั ขาร หมายถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงกําหนดวันปรินพิ พาน นับแต่วนั เพ็ญเดือน ๓ ไปอีก ๓ เดือน ที่ปาวาลเจดีย ์ เมืองไพศาลี ฯ
(ปี 58) ในการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ พระพุทธสรีระส่วนใดยังคงเหลืออยู่ ?
ตอบ พระอัฐิ พระเกสา พระโลมา พระนขา พระทันตา เหลืออยู่ นอกนัน้ ถูกเพลิงไหม้หมดสิน้ ฯ
26 | P a g e
(ปี 57) ปาวาลเจดีย ์ และ มกุฏพันธนเจดีย ์ อยู่ท่เี มืองอะไร? มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร?
ตอบ ปาวาลเจดียอ์ ยู่ท่เี มืองไพศาลี เป็ นที่ทรงปลงพระชนมายุสงั ขาร ฯ
มกุฏพันธนเจดียอ์ ยู่ท่เี มืองกุสินารา เป็ นที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ฯ
(ปี 56) พระพุทธองค์ทรงเลือกเมืองกุสินาราเป็ นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพานด้วยเหตุผลอันใด?
ตอบ ด้วยเหตุผลคือ ๑. จะเป็ นเหตุเกิดแห่งมหาสุทสั สนสูตร
๒. จะได้โปรดสุภทั ทปริพาชก ผูเ้ ป็ นพุทธเวไนย
๓. จะได้ป้องกันการรบกันครัง้ ใหญ่เพื่อแย่งชิงพระบรมสารีรกิ ธาตุ ฯ
(ปี 54) นิมิตโอภาสที่พระศาสดาทรงแสดงแก่พระอานนท์ก่อนทรงปลงอายุสงั ขาร มีใจความว่าอย่างไร? ทรงแสดงเพื่ออะไร?
ตอบ มีใจความว่า อิทธิบาททัง้ ๔ ประการ ท่านผูใ้ ดผูห้ นึง่ ได้เจริญให้มากแล้ว สามารถจะดํารงอยู่ได้กปั ๑ หรือเกินกว่านัน้ อิทธิบาททัง้ ๔
นัน้ พระตถาคตได้เจริญแล้ว ถ้าทรงปรารถนา ก็จะดํารงอยู่ได้กปั ๑ หรือเกินกว่านั้น ฯ
เพื่อให้พระอานนท์กราบทูลอาราธนาให้ทรงดํารงอยู่ช่วั อายุกปั ๑ หรือเกินกว่านัน้ ฯ
(ปี 46) พระพุทธดํารัสว่า “ ดูก่อนสุภทั ทะ ถ้าภิกษุทงั้ หลายเหล่านี ้ จะพึงอยู่ดีอยู่ชอบแล้วไซร้ โลกก็จกั ไม่พงึ ว่างเปล่าจากพระอรหันต์ทงั้ หลาย
” ดังนี ้ คําว่า “ พระอรหันต์ ” ในที่นี ้ หมายถึงใคร? โทณพราหมณ์ ได้กล่าวสุนทรพจน์ในวันแจกพระบรมสารีรกิ ธาตุ มีใจความย่ออย่างไร?
ตอบ หมายถึง พระขีณาสวอรหันต์ ฯ
มีใจความย่อดังนี ้ ๑. พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญขันติธรรมและตําหนิในการที่จะทําสงครามกัน
๒. ชวนให้สามัคคีรว่ มใจกัน โดยแบ่งส่วนพระบรมสารีรกิ ธาตุเท่า ๆ กัน ฯ
(ปี 44) พระยาวัสวดีมาร ได้ทลู ขอพระพุทธเจ้าให้เสด็จปรินิพพานกี่ครัง้ ? ที่ไหนบ้าง?
เมื่อคราวที่มารทูลขอให้ปรินิพพานครัง้ แรก พระองค์ทรงตอบมารว่าอย่างไร?
ตอบ ได้ทลู ขอพระพุทธเจ้าให้เสด็จปรินิพพาน ๒ ครัง้ คือ ครั้งแรกที่ใต้ตน้ อชปาลนิโครธ ครั้งทีส่ องที่ปาวาลเจดีย ์ ฯ
ทรงตอบมารว่า " ดูก่อนมารผูใ้ จบาป เมื่อใดพุทธบริษัท ๔ เป็ นผูฉ้ ลาด เป็ นพหูสตู ร สามารถดํารงพระธรรมวินยั สืบต่อศาสนาได้ สามารถแสดง
ธรรมโปรดเวไนยสัตว์ ให้สาํ เร็จมรรค ผล นิพพาน และเผยแผ่ศาสนาไปได้อย่างกว้างขวางมั่นคง เมื่อนัน้ ตถาคตจึง จะปรินิพพาน "
(ปี 43) จงอธิบายข้อความต่อไปนี ้ ก. ทรงทําอายุสงั ขาราธิฏฐาน ข. ทรงปลงอายุสงั ขาร
ตอบ ก. ทรงทําอายุสงั ขาราธิฏฐาน หมายถึง ทรงตัง้ พระหฤทัยจักอยู่แสดงธรรมสั่งสอนแก่มหาชน และตัง้ พุทธปณิธานใคร่จะดํารงพระ
ชนม์อยูจ่ นกว่าพุทธบริษัทจะตัง้ มั่นและได้ประกาศพระศาสนาให้แพร่หลาย ประดิษฐานให้ม่นั คงถาวรสําเร็จประโยชน์แก่นกิ รทุกหมู่เหล่า
ข. ทรงปลงอายุสงั ขาร หมายถึง ทรงกําหนดวันปรินิพพานนับแต่วนั เพ็ญเดือน ๓ ไปอีก ๓ เดือน คือปลงพระทัยว่าจะบําเพ็ญพุทธกิจ
ต่อไปอีกไม่ได้แล้ว

เจดีย ์
(ปี 62, 51) ถูปารหบุคคล ได้แก่บคุ คลเช่นไร ? มีใครบ้าง ?
ตอบ ได้แก่ บุคคลผูค้ วรแก่การบรรจุอฐั ิ ธาตุไว้ในสถูปเพื่อสักการบูชา ฯ
มี ๑. พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒. พระปั จเจกพุทธเจ้า ๓. พระอรหันตสาวก ๔. พระเจ้าจักรพรรดิราช ฯ
(ปี 55) พุทธเจดียม์ ีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? พระพุทธรูป สงเคราะห์เข้าในเจดียป์ ระเภทใด?
ตอบ มี ๔ ประเภท ฯ คือ ธาตุเจดีย ์ บริโภคเจดีย ์ ธรรมเจดีย ์ และอุทเทสิกเจดีย ์ ฯ สงเคราะห์เข้าในอุทเทสิกเจดีย ์ ฯ
(ปี 53) ถูปารหบุคคล คือใคร? มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง?
27 | P a g e
ตอบ คือ บุคคลผูค้ วรแก่การสร้างสถูปไว้ประดิษฐาน ฯ
มี ๔ ประเภท ฯ คือ ๑. พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒. พระปั จเจกพุทธเจ้า ๓. พระอรหันตสาวก ๔. พระเจ้าจักรพรรดิราช ฯ
(ปี 47) อจลเจดียค์ ืออะไร? ตัง้ อยู่ท่เี มืองอะไร? เกิดขึน้ เมื่อใด?
ตอบ คือสถานที่เป็ นที่ประดิษฐานแห่งบันไดแก้ว บันไดทอง บันไดเงิน ซึง่ ทอดลงมาจากดาวดึงสเทวโลก ฯ
ตัง้ อยู่ท่เี มืองสังกัสสนคร ฯ เกิดขึน้ ในวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงสู่มนุษยโลกหลังจากเสด็จประทับจําพรรษาในดาวดึงสเทวโลกแล้ว ฯ
(ปี 47) พระพุทธองค์ทรงรับสั่งกะพระอานนท์ถึงประโยชน์ของการสร้างสถูปแล้วอัญเชิญพระอัฐิธาตุ บรรจุไว้ ณ ท่ามกลางหนทาง ๔ แพร่ง
แห่งถนนใหญ่ไว้อย่างไร?
ตอบ ทรงรับสั่งไว้อย่างนีค้ ือ เพื่อเป็ นปูชนียสถานให้มนุษย์ผสู้ ญ
ั จรไปมา เกิดความเลื่อมใส ศรัทธา ได้สกั การะบูชาด้วยระเบียบดอกไม้ของ
หอม อภิวาทกราบไหว้ทาํ จิตให้เลื่อมใสในพระพุทธคุณ อันจักเป็ นเหตุให้เกิดประโยชน์และความสุขตลอดกาลนาน ฯ
(ปี 45) พุทธเจดีย ์ มีกี่ประเภท? อะไรบ้าง?
อุทยมาณพทูลถามว่า "โลกมีอะไรผูกพันไว้ อะไรเป็ นเครื่องสัญจรของโลกนัน้ ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี ้ เพราะละอะไรได้" พระศาสดา
ทรงพยากรณ์วา่ อย่างไร?
ตอบ มี ๔ ประเภท คือธาตุเจดีย ์ บริโภคเจดีย ์ ธรรมเจดีย ์ และอุทเทสิกเจดีย ์ ฯ ทรงพยากรณ์ว่า โลกมีความเพลิดเพลินผูกพันไว้ ความตรึก
เป็ นเครื่องสัญจรของโลกนัน้ ท่านกล่าวกันว่า นิพพานๆ ดังนี ้ เพราะละตัณหาเสียได้ ฯ
(ปี 43) เมื่อรวมเจดียซ์ ง่ึ แสดงไว้ในบาลี อรรถกถา และฎีกา มีเท่าไร? อะไรบ้าง?
อันตรธาน ๕ อย่าง อย่างไหนสําคัญกว่า? เพราะเหตุไร?
ตอบ มี ๔ คือ ธาตุเจดีย ์ ๑ บริโภคเจดีย ์ ๑ ธรรมเจดีย ์ ๑ อุทเทสิกเจดีย ์ ๑ ฯ
ปริยตั ิอนั ตรธานสําคัญกว่า เพราะปริยตั ิเสื่อมลงในกาลใด พระศาสนาย่อมเสื่อมถอยในกาลนัน้ เมื่อปริยตั ิยงั ดํารงอยู่ตราบใด พระศาสนาก็ยงั
ดํารงอยู่ตราบนัน้ เพราะว่าปริยตั เิ ป็ นรากแก้วของพระศาสนา ปฏิบตั ิเป็ นแก่น ปฏิเวธ เป็ นผล เมื่อรากแก้วขาดแล้ว แก่นและผลก็พลอยหมดไป
ตามกัน ฯ

การสังคายนา
(ปี 63) การทําสังคายนาครัง้ แรก ใครทําหน้าที่ปจุ ฉาและวิสชั นา ? และทําที่ไหน ?
ตอบ พระมหากัสสปะทําหน้าที่ปจุ ฉา พระอุบาลีทาํ หน้าที่วิสชั นาพระวินยั พระอานนท์ทาํ หน้าที่วิสชั นาพระสูตรและพระอภิธรรม ฯ
ณ ถ้ําสัตตบรรณคูหา ฯ
(ปี 61) ในครัง้ ปฐมสังคายนา พระสาวกองค์ใดรับหน้าที่วิสชั นาพระวินยั ? ท่านอุปสมบทพร้อมกับใครบ้าง?
ตอบ พระอุบาลีเถระฯ อุปสมบทพร้อมกับเจ้าศากยะ ๕ พระองค์คือ ภัททิยะ อนุรุทธะ อานนท์ ภัคคุ กิมพิละ กับเจ้าโกลิยะ ๑ องค์ คือเทวทัตฯ
(ปี 61, 57) สุภทั ทวุฑฒบรรพชิต กล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินยั ว่าอย่างไร ? และทําให้เกิดเหตุการณ์อะไรในกาลต่อมา ?
ตอบ ว่า "เราทัง้ หลายพ้นดีแล้วจากพระสมณะนัน้ บัดนี ้ เราพอใจ จะทําสิ่งใดก็ทาํ หรือ มิพอใจทํา สิง่ ใดก็ไม่ตอ้ งทํา" ฯ
เป็ นเหตุให้เกิดสังคายนาพระธรรมวินยั ครัง้ ที่ ๑ ฯ
(ปี 60) หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพาน พระสาวกองค์ใดเป็ นประธาน ในการทําปฐมสังคายนา ? เพราะปรารภเหตุใด ?
ตอบ พระมหากัสสปะ ฯ
เพราะปรารภคากล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินยั ของพระสุภทั ทะ ผูบ้ วชตอนแก่ ในระหว่างเดินทางมาสักการะพระพุทธสรีระ ฯ
(ปี 59) การทําสังคายนาครัง้ แรก เกิดขึน้ หลังจากปรินิพพานล่วงแล้วกี่เดือน ? ใช้เวลาเท่าไร ? ใครทําหน้าที่ปจุ ฉาและวิสชั นา ?
28 | P a g e
ตอบ ล่วงแล้ว ๓ เดือน ฯ ใช้เวลา ๗ เดือน ฯ
พระมหากัสสปะทําหน้าที่ปจุ ฉา พระอุบาลีทาํ หน้าที่วิสชั นาพระวินยั พระอานนท์ทาํ หน้าที่วิสชั นาพระสูตรและพระอภิธรรม ฯ
(ปี 58) พระมหากัสสปะ พระอุบาลี และพระอานนท์ องค์ใดนิพพานก่อนหรือหลังพระพุทธองค์ ? จงอ้างหลักฐานมาแสดง
ตอบ หลังพระพุทธองค์ทงั้ หมด ฯ หลักฐาน คือพระสาวกทัง้ ๓ องค์นนั้ ได้รว่ มประชุมสงฆ์ทาสังคายนาครัง้ ที่ ๑ หลังพุทธปรินิพพานได้ ๓
เดือน ฯ
(ปี 52) สังคายนา คืออะไร? พระสุภทั ทวุฑฒบรรพชิตผูเ้ ป็ นเหตุให้พระมหากัสสปะทําปฐมสังคายนา ได้กล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินยั มีใจความ
ว่าอย่างไร?
ตอบ คือ การประชุมกันเรียบเรียงศาสนธรรมคําสอนของพระศาสนาวางไว้เป็ นแบบแผน ฯ มีใจความว่า ท่านทัง้ ปวงอย่าโศกเศร้าอย่าร้องไห้
รํ่าไรไปเลย เมื่อพระสมณโคดมยังอยู่นนั้ เบียดเบียนว่ากล่าว ว่าสิง่ นีค้ วรสิ่งนีไ้ ม่ควร จําเดิมแต่นเี ้ ราปรารถนาจะกระทําสิง่ ใด เราก็กระทําสิ่งนัน้
ได้ พระสมณโคดมนิพพานเสียก็พน้ ทุกข์พน้ ร้อนเราทัง้ ปวงแล้ว ฯ
(ปี 51) การทําสังคายนาครัง้ ที่ ๓ มีมลู เหตุจากอะไร? ใครเป็ นผูอ้ ปุ ถัมภ์? พระสงฆ์ผเู้ ข้าร่วมทําสังคายนามีจาํ นวนเท่าไร?
ใครเป็ นประธาน? ใช้เวลานานเท่าไร ?
ตอบ มีมลู เหตุจากพวกเดียรถียเ์ ป็ นจํานวนมากปลอมบวชในพระพุทธศาสนา ฯ พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงเป็ นผูอ้ ปุ ถัมภ์ ฯ
มีจาํ นวน ๑,๐๐๐ รูป ฯ พระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระ เป็ นประธาน ฯ ใช้เวลา ๙ เดือน ฯ

29 | P a g e
ทบทวน วินัยมุข นักธรรมชั้นเอก
วิชาวินัยมุข
(ปี 52) สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงประมวล เรื่องอันเนื่องด้วยวินยั ที่ภิกษุผเู้ ป็ นเถระพึงเรียนรูเ้ ป็ นหลักไว้ในวินยั
มุขเล่ม ๓ คืออะไรบ้าง ? เมื่อเรียนรูแ้ ล้วจะอานวยประโยชน์อะไรบ้าง ?
ตอบ คือ ธรรมเนียม วิธี และกรณียะต่าง ๆ อันเนื่องด้วยวินยั ฯ ย่อมอาจจะอานวยในหน้าที่ให้เป็ นไปโดยเรียบร้อย และอาจเป็ นที่พึ่งของ
ผูน้ อ้ ยในกิจการ ฯ

สังฆกรรม
• มูลเหตุทที่ าํ ให้เกิดสังฆกรรม มี ๒ อย่าง
๑. มีภิกษุบริษัทเพิม่ จานวนมากขึน้ ๒. มีพระพุทธประสงค์เพื่อให้สงฆ์เป็ นใหญ่ในการบริหารหมู่คณะ
• สังฆกรรม คือ งานของสงฆ์ หรือกรรมที่สงฆ์พึงทา มี ๔ ประเภท คือ
๑. อปโลกนกรรม กรรมที่ทาเพียงด้วยบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ตอ้ งตัง้ ญัตติและไม่ตอ้ งสวดอนุสาวนา เช่น แจ้งการลง
พรหมทัณฑ์แก่ภิกษุ
๒. ญัตติกรรม กรรมที่ทาเพียงตัง้ ญัตติไม่ตอ้ งสวดอนุสาวนา เช่น อุโบสถและปวารณาออกพรรษา
๓. ญัตติทุติยกรรม กรรมที่ทาด้วยตัง้ ญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนหนึ่ง เช่น สมมติสีมา ให้ผา้ กฐิ น
๔. ญัตติจตุตถกรรม กรรมที่ทาด้วยตัง้ ญัตติแล้วสวดอนุสาวนา ๓ หน เช่น อุปสมบท ให้ปริวาส ให้มานัต

• ญัตติ คือการเผดียงสงฆ์ (คําประกาศให้สงฆ์ทราบเพือ่ ทํากิจของสงฆ์ร่วมกัน …ในวงเล็บแค่บอกความหมายไม่ตอ้ งท่อง)


• อนุสาวนา คือการประกาศความปรึกษาและตกลงของสงฆ์
• อปโลกนกรรม มี ๕ อย่าง คือ
๑. นิสสารณา นาสนะสามเณรผูก้ ล่าวตู่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า
๒. โอสารณา รับสามเณรผูถ้ กู นาสนะแล้วกลับประพฤติเรียบร้อย ให้เข้าหมู่
๓. ภัณฑูกรรม บอกขออนุญาตปลงผมคนผูจ้ ะบวชอันภิกษุจะทาเอง
๔. พรหมทัณฑ์ ประกาศไม่วา่ กล่าวภิกษุหวั ดือ้ ว่ายาก
๕. กัมมลักขณะ อปโลกน์แจกอาหารในโรงฉันเป็ นต้น

• สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทําในที.่ ..
๑. อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมา หรือนอกเขตสีมาก็ได้
๒. ส่วนญัตติกรรม ญัตติทุติยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมา จะเป็ น
พัทธสีมา หรืออพัทธสีมาก็ได้

• สงฆ์ผู้ทาํ สังฆกรรม ท่านจัดเป็ นวรรค มีจานวนสงฆ์ผกู้ ระทานัน้ ๆ ดังนี ้


๑. จตุวรรค มีจานวน ๔ รูป ทาสังฆกรรมทุกอย่าง เว้นปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบท และอัพภาน

1|P a g e
๒. ปั ญจวรรค จานวน ๕ รูป ทาปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบทในปั จจันตชนบท
๓. ทสวรรค จานวน ๑๐ รูป ให้อปุ สมบทในมัธยมชนบท
๔. วีสติวรรค จานวน ๒๐ รูป ทาอัพภาน

• ภิกษุผู้ควรเข้ากรรม ต้องประกอบด้วยองค์ ๓ คือ


๑. เป็ นภิกษุปกติ ไม่ถกู สงฆ์ยกเสียจากหมูด่ ว้ ยอุกเขปนียกรรม
๒. มีสงั วาสเสมอด้วยสงฆ์
๓. เป็ นสมานสังวาสของกันและกัน

• สังฆกรรมย่อมวิบตั ิ โดยเหตุ ๔ ประการ คือ ๑.โดยวัตถุ ๒.โดยสีมา ๓.โดยปริสะ ๔.โดยกรรมวาจา

• วิบัติโดยวัตถุนนั้ พึงเห็นดังนี.้ ..
๑. ให้อปุ สมบทแก่คนมีอายุหย่อน ๒๐ ขวบ
๒. .ให้อปุ สมบทแก่อภัพบุคคล
๓. สมมติสีมาคาบเกี่ยวหรือทับสีมาอื่น
๔. ทาผิดระเบียบ เช่นกรรมอันจะพึงทาในที่พร้อมหน้า ทาในที่ลบั หลัง กรรมอันจะพึงทาด้วยการสอบถาม ทาด้วยไม่สอบถาม
กรรมอันจะพึงทาด้วยปฏิญญา ทาด้วยไม่ปฏิญญาเป็ นต้น.
• วิบัติโดยสีมานัน้ พึงเห็นดังนี.้ ..
๑. สมมติสีมาใหญ่เกินกาหนด (เกิน ๓ โยชน์)
๒. สมมติสีมาเล็กเกินกาหนด (จุไม่พอภิกษุ ๒๑ รูปนั่งเข้าหัตถบาสกัน)
๓. สมมติสีมามีนิมิตขาด
๔. สมมติสีมามีฉายาเป็ นนิมิต
๕. สมมติสีมาไม่มีนิมิต
• วิบัติโดยปริสะนัน้ พึงเห็นดังนี.้ ..
๑. ภิกษุเข้าประชุมไม่ครบองค์กาหนด
๒. สงฆ์ครบกาหนดแล้ว แต่ไม่นาฉันทะของภิกษุผคู้ วรนาฉันทะมา
๓. มีผคู้ ดั ค้านกรรมที่สงฆ์ทา
• วิบัติโดยกรรมวาจานัน้ พึงเห็นดังนี.้ ..
๑. ไม่ระบุวตั ถุ ๕. ตัง้ ญัตติภายหลัง
๒. ไม่ระบุสงฆ์ ๖. ทิง้ อนุสาวนาในกรรมวาจาที่มอี นุสาวนา
๓. ไม่ระบุบคุ คล ๗. สวดในกาลไม่ควร
๔. ไม่ตงั้ ญัตติ

2|P a g e
(ปี 63, 59) มูลเหตุท่ที าให้เกิดสังฆกรรมมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๒ อย่าง ฯ คือ ๑. มีภิกษุบริษัทเพิ่มจานวนมากขึน้ ๒. มีพระพุทธประสงค์เพื่อให้สงฆ์เป็ นใหญ่ในการบริหารหมูค่ ณะ ฯ
(ปี 63, 56) สงฆ์ผจู้ ะให้การอุปสมบทแก่กลุ บุตร ในพระวินยั มีกาหนดจานวนภิกษุไว้อย่างไร? ถ้าไม่ครบตามจานวนนัน้ จัดเป็ นวิบตั อิ ะไร?
ตอบ มีกาหนดอย่างนี ้ คือในมัธยมชนบท ๑๐ รูปเป็ นอย่างต่า ในปั จจันตชนบท ๕ รูปเป็ นอย่างต่า ฯ จัดเป็ น ปริสวิบตั ิ ฯ
(ปี 62, 50) สังฆกรรมมีอะไรบ้าง ? สังฆกรรมอะไรที่สงฆ์จตุวรรคทาไม่ได้ ?
ตอบ มี ๑. อปโลกนกรรม ๒. ญัตติกรรม ๓. ญัตติทตุ ิยกรรม ๔. ญัตติจตุตถกรรม ฯ
ปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบท และอัพภาน สงฆ์จตุวรรคทาไม่ได้ ฯ
(ปี 62, 49) สังฆกรรมย่อมวิบตั ิเพราะเหตุไรบ้าง ? ภิกษุ ๓ รูป ประชุมกันในสีมาสวดปาฏิโมกข์ช่ือว่าวิบตั ิเพราะเหตุไหน ?
ตอบ สังฆกรรมย่อมวิบตั ิ (คือใช้ไม่ได้ แม้ทาแล้วก็ไม่เป็ นอันทา) เพราะเหตุ ๔ อย่าง คือ เพราะวัตถุบา้ ง เพราะสีมาบ้าง เพราะปริสะบ้าง
เพราะกรรมวาจาบ้าง ฯ ชื่อว่าวิบตั ิเพราะปริสะ ฯ
(ปี 62) การอปโลกน์ และ การสวดกรรมวาจาให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นสังฆกรรมประเภทใด? อย่างไหนต้องทาในสีมา อย่างไหนทานอกสีมาก็ได้?
ตอบ การอปโลกน์เพื่อให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นอปโลกนกรรม การสวดเพื่อให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นญัตติทตุ ิยกรรม ฯ
การอปโลกน์เพื่อให้ผา้ กฐิ น ทาในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้ การสวดกรรมวาจาให้ผา้ กฐิ นต้องทาในสีมาเท่านัน้ ฯ
(ปี 61) ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร ? ญัตติมใี ช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง ?
ตอบ ญัตติ หมายถึง คาเผดียงสงฆ์ อนุสาวนา หมายถึง การสวดประกาศคาปรึกษาและข้อตกลงของสงฆ์ ฯ
มีใช้ใน ๓ สังฆกรรม คือ ๑. ญัตติกรรม ๒. ญัตติทตุ ิยกรรม ๓. ญัตติจตุตถกรรม ฯ
(ปี 60) สังฆกรรม ๔ นัน้ อย่างไหนต้องทาในสีมา อย่างไหนทานอกสีมาก็ได้ ?
ตอบ ญัตติกรรม ญัตติทตุ ิยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องทาในสีมาเท่านัน้ ส่วนอปโลกนกรรม ทานอกสีมาได้ ฯ
(ปี 59) ญัตติและอนุสาวนา หมายถึงอะไร ? อนุสาวนามีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง ?
ตอบ ญัตติ หมายถึง คาเผดียงสงฆ์ อนุสาวนา หมายถึง คาประกาศคาปรึกษาและข้อตกลงของสงฆ์ ฯ
มีใช้ใน ๒ สังฆกรรม คือ ๑. ญัตติทตุ ิยกรรม ๒. ญัตติจตุตถกรรม ฯ
(ปี 58) สังฆกรรมย่อมวิบตั ิ โดยอะไรบ้าง ? สงฆ์ให้อปุ สมบทแก่อภัพพบุคคล เป็ นสังฆกรรมวิบตั ิโดยอะไร ?
ตอบ โดยวัตถุ สีมา ปริสะ และกรรมวาจา ฯ วิบตั ิโดยวัตถุ ฯ
(ปี 57 แนะนําให้ทอ่ งจําไปเลย) อุโบสถกรรม อุปสมบทกรรม อปโลกนกรรม อัพภานกรรม อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์จานวนเท่าไรเป็ นอย่าง
น้อยจึงจะถูกต้องตามพระวินยั บัญญัติ?
ตอบ อุโบสถกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป
อุปสมบทกรรม ในปั จจันตชนบท ใช้สงฆ์ ๕ รูป ในมัชฌิมชนบทใช้สงฆ์ ๑๐ รูป
อปโลกนกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป
อัพภานกรรม ใช้สงฆ์ ๒๐ รูป
อุกเขปนียกรรม ใช้สงฆ์ ๔ รูป ฯ
(ปี 56) ญัตติ กับ อนุสาวนา ต่างกันอย่างไร? มีใช้ในสังฆกรรมอะไรบ้าง?
ตอบ ญัตติ คือการเผดียงสงฆ์ ส่วนอนุสาวนา คือการประกาศความปรึกษาและตกลงของสงฆ์ ฯ
ญัตติ มีใช้ในญัตติกรรม ญัตติทตุ ิยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ส่วนอนุสาวนา มีใช้เฉพาะในญัตติทตุ ิยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ฯ
(ปี 55) สังฆกรรมมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในที่เช่นไร?
3|P a g e
ตอบ สังฆกรรมมี ๔ ประเภท ฯ คือ อปโลกนกรรม ๑ ญัตติกรรม ๑ ญัตติทตุ ิยกรรม ๑ ญัตติจตุตถกรรม ๑ ฯ
อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมา หรือนอกเขตสีมาก็ได้
ส่วนญัตติกรรม ญัตติทตุ ยิ กรรม และญัตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมา จะเป็ นพัทธสีมา หรืออพัทธสีมาก็ได้ฯ
(ปี 55) ความพรั่งพร้อมของสงฆ์ครบองค์ท่กี าหนดเป็ นส่วนสาคัญในการประกอบสังฆกรรมนัน้ ๆ เมื่อครบองค์สงฆ์ตามที่กาหนด สังฆกรรม
นัน้ ๆ เป็ นอันใช้ได้แล้ว หรือยังมีชอ่ งทางเสียหายอื่นอีก? จงชีแ้ จง
ตอบ นับว่าเป็ นใช้ได้เฉพาะแต่อปโลกนกรรมเท่านัน้ ส่วนสังฆกรรมอื่นๆ อีก ๓ อย่าง คือ ญัตติกรรม๑ ญัตติทตุ ยิ กรรม ๑ ญัตติจตุตถกรรม ๑
ยังมีช่องทางเสียหายอื่นอีก คือ วัตถุวิบตั ิบา้ ง สีมาวิบตั ิบา้ ง กรรมวาจาวิบตั ิบา้ ง ฯ
(ปี 54) สงฆ์ผทู้ าสังฆกรรม ท่านจัดเป็ นวรรคไว้อย่างไรบ้าง? แต่ละวรรคทากรรมอะไรได้บา้ ง?
ตอบ จัดอย่างนี ้ คือ สงฆ์มี จานวน ๔ รูปเรียกว่า จตุรวรรค จานวน ๕ รูปเรียกว่า ปั ญจวรรค
จานวน ๑๐ รูปเรียกว่า ทสวรรค จานวน ๒๐ รูปเรียกว่า วีสติวรรค ฯ
สังฆกรรมทุกอย่าง เว้นปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบท และอัพภาน สงฆ์จตุรวรรคทาได้,
ปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบทในปั จจันตชนบท สงฆ์ปัญจวรรคทาได้,
อุปสมบทในมัธยมชนบท สงฆ์ทสวรรคทาได้,
อัพภาน สงฆ์วีสติวรรคทาได้
สงฆ์มีจานวนมากกว่าที่กาหนดไว้ สามารถทากรรมประเภทนัน้ ๆ ได้ ฯ
(ปี 53) สังฆกรรม กับวินยั กรรม มีกาหนดบุคคลและสถานที่ต่างกันหรือเหมือนกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันดังนี ้ สังฆกรรม ต้องประชุมสงฆ์ครบองค์ตามกาหนดแห่งกรรมนัน้ ๆ ต้องทาในสีมา เว้นไว้แต่อปโลกนกรรม ทานอกสีมาก็ได้
ส่วนวินยั กรรมไม่ตอ้ งประชุมสงฆ์ และทานอกสีมาก็ได้ ฯ
(ปี 52) สังฆกรรม เมื่อกล่าวโดยประเภท มีเท่าไร? อะไรบ้าง? จงยกตัวอย่างของสังฆกรรมนัน้ ๆ มาอย่างละ ๑ ตัวอย่าง
ตอบ กล่าวโดยประเภท มี ๔ ฯ คือ
๑. อปโลกนกรรม ตัวอย่างเช่น การรับสามเณรผูถ้ กู ลงโทษเพราะกล่าวตู่พระผูม้ ีพระภาคเจ้าและได้รบั การยกเลิกโทษเพราะกลับ
ประพฤติดี
๒. ญัตติกรรม ตัวอย่างเช่น การเรียกอุปสัมปทาเปกขะผูไ้ ด้รบั การไล่เลียงอันตรายิกธรรมแล้วกลับเข้ามาในหมู่สงฆ์
๓. ญัตติทตุ ิยกรรม ตัวอย่างเช่น สวดหงายบาตรแก่ผถู้ กู คว่าบาตรเพราะกลับประพฤติดีในภายหลัง
๔. ญัตติจตุตถกรรม ตัวอย่างเช่น การสวดกรรมที่สงฆ์ผทู้ ากรรม 7 สถาน มีตชั ชนียกรรมเป็ นต้นลงโทษภิกษุผปู้ ระพฤติมิชอบ
(ปี 52) โดยทั่วไป มีความเข้าใจเรื่องสังฆกรรมว่า ในสีมาเดียวกัน ภิกษุจะประชุมทาสังฆกรรมวันหนึ่ง ๒ ครัง้ ไม่ได้ขอ้ นีม้ คี วามจริงเป็ น
อย่างไร? จงอธิบาย ตอบ มีความเป็ นจริงเป็ นอย่างนี ้ คือ สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุโบสถ ปวารณา ภิกษุอยูใ่ นสีมาเดียวกันจะต้องพร้อม
เพรียงกันทาจะแยกกันทา ๒ พวก ๒ ครัง้ ไม่ได้ แต่สงั ฆกรรมบางอย่าง เช่น อุปสมบทกรรมอัพภานกรรม จะทาวันเดียวหลายครัง้ ก็ได้
(ปี 50) สังฆกรรมจาแนกออกเป็ นประเภท เรียกโดยชื่อมีอะไรบ้าง? กรรมอะไรบ้างที่สงฆ์จตุวรรคทาได้?
ตอบ มี อปโลกนกรรม ๑ ญัตติกรรม ๑ ญัตติทตุ ิยกรรม ๑ ญัตติจตุตถกรรม ๑ ฯ
เว้นปวารณา ให้ผา้ กฐิ น อุปสมบท และอัพภาน นอกนัน้ ทาได้ ทุกอย่าง ฯ
(ปี 49) อย่างไรเรียกว่า สงฆ์ผพู้ ร้อมเพรียง และสงฆ์ผพู้ ร้อมเพรียงนัน้ สามารถทาสังฆกรรมใดได้บา้ ง ?

4|P a g e
ตอบ ภิกษุผอู้ ยู่ในสมานสังวาสสีมา แปลว่าแดนมีสงั วาสเสมอกัน เป็ นแดนที่กาหนดความพร้อมเพรียง มีสิทธิในอันจะเข้าอุโบสถ ปวารณา
และสังฆกรรมร่วมกัน ทัง้ หมดเข้าประชุมกันเป็ นสงฆ์ หรือนาฉันทะของภิกษุผไู้ ม่มาเข้าประชุม เรียกว่า สงฆ์ผพู้ ร้อมเพรียง ฯ สามารถทาสั งฆ
กรรมทัง้ ๔ ประเภท มีอปโลกนกรรมเป็ นต้นได้ ฯ
(ปี 49) ภิกษุท่เี รียกในบาลีว่า ผูเ้ ข้ากรรม คือใคร? และต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอย่างไร?
ตอบ คือภิกษุผเู้ ข้าในจานวนสงฆ์ผทู้ ากรรมนัน้ ๆ ฯ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดงั นี ้ คือเป็ นภิกษุปกติ ไม่ถกู สงฆ์ยกเสียจากหมูด่ ว้ ย
อุกเขปนียกรรม มีสงั วาสเสมอด้วยสงฆ์ และเป็ นสมานสังวาสของกันและกัน ฯ
(ปี 48) ในสังฆกรรมทัง้ ๔ นัน้ การสวดอนุสาวนามีอยูใ่ นกรรมไหนบ้าง? ในแต่ละกรรมนัน้ ให้สวดกี่ครัง้ ?
ตอบ มีอยู่ใน ญัตติทตุ ิยกรรม และ ญัตติจตุตถกรรม ฯ ในญัตติทตุ ิยกรรมให้สวด ๑ ครัง้ ในญัตติจตุตถกรรมให้สวด ๓ ครัง้ ฯ
(ปี 47) สังฆกรรมแต่ละประเภท ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในที่เช่นไร?
ตอบ อปโลกนกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมาหรือนอกเขตสีมาก็ได้ ฯ
ญัตติกรรม ญัตติทตุ ิยกรรมและญัตติจตุตถกรรม ทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาในเขตสีมาเท่านัน้ จะเป็ นพัทธสีมาหรืออพัทธสีมาก็ได้ฯ
(ปี 47 แนะนําให้ทอ่ งจําไปเลย) ภัณฑุกรรม และ อุกเขปนียกรรม คืออะไร? จัดเป็ นสังฆกรรมประเภทไหน?
ตอบ ภัณฑุกรรม คือ กรรมที่ภิกษุแจ้งให้สงฆ์ทราบเพื่อปลงผมคนผูม้ าขอบวชซึง่ ยังไม่ได้ปลงผมมาก่อน และภิกษุจะปลงให้เอง ฯ
อุกเขปนียกรรม คือ กรรมที่สงฆ์ทาแก่ภิกษุผตู้ อ้ งอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าต้องอาบัติ เรียกว่าไม่เห็นอาบัติ หรือไม่ทาคืนอาบัติ หรือ
มีทิฏฐิ บาปไม่ยอมสละ อันเป็ นการเสียสีลสามัญญตา และทิฏฐิ สามัญญตา ฯ
ภัณฑุกรรมจัดเป็ นอปโลกนกรรม ฯ
อุกเขปนียกรรม จัดเป็ นญัตติจตุตถกรรม ฯ
(ปี 46) สังฆกรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ในสีมาเดียวกัน ภิกษุจะประชุมกันทาสังฆกรรมวันหนึ่ง ๒ ครัง้ ไม่ได้ ข้อนีม้ ีความจริงเป็ นอย่างไร ? จงอธิบาย
ตอบ มี ๔ อย่าง คือ ๑. อปโลกนกรรม ๒. ญัตติกรรม ๓. ญัตติทตุ ิยกรรม ๔. ญัตติจตุตถกรรม ฯ
มีความจริงเป็ นอย่างนี ้ คือ สังฆกรรมบางอย่าง เช่น อุโบสถ ปวารณา ภิกษุอยูใ่ นสีมาเดียวกัน จะต้องพร้อมเพรียงกันทา จะแยกกันทา ๒ พวก
๒ ครัง้ ไม่ได้ แต่สงั ฆกรรมบางอย่าง เช่น อุปสมบทกรรม อัพภานกรรม จะทาวันเดียวหลายครัง้ ก็ได้ ฯ
(ปี 45) คาว่า ญัตติ อนุสาวนา อปโลกนะ อุปสัมปทาเปกขะ ได้แก่อะไร? จงชีแ้ จง
ภิกษุผสู้ ามารถสวดกรรมวาจาได้แม่นยาและสละสลวย ต้องพร้อมด้วยคุณสมบัติอย่างไรบ้าง?
ตอบ ญัตติ ได้แก่คาเผดียงสงฆ์
อนุสาวนา ได้แก่คาประกาศปรึกษาและตกลงของสงฆ์
อปโลกนะ ได้แก่การบอกกันในที่ประชุมสงฆ์ ไม่ตอ้ งตัง้ ญัตติ ไม่ตอ้ งสวดอนุสาวนา
อุปสัมปทาเปกขะ ได้แก่กลุ บุตรผูม้ ่งุ อุปสมบท ฯ
อย่างนี ้ คือ ๑. รูจ้ กั ประเภทของอักขระ ๒. รูจ้ กั ฐานกรณ์ของอักขระ ๓. ว่าเป็ น ฯ
(ปี 45) ภิกษุผนู้ บั เข้าในจานวนสงฆ์ผทู้ ากรรมนัน้ ๆ ต้องเป็ นภิกษุเช่นไร?
เวลาทาสังฆกรรม ภิกษุท่อี ยูใ่ นสีมาเดียวกัน นับเข้าในจานวนสงฆ์ผทู้ ากรรมทัง้ หมดใช่หรือไม่? จงอธิบาย
ตอบ ต้องเป็ นภิกษุปกติ ไม่ถกู สงฆ์ยกเสียจากหมู่ดว้ ยอุกเขปนียกรรม มีสงั วาสเสมอด้วยสงฆ์ และเป็ นสมานสังวาสของกันและกัน ฯ
ไม่ใช่ เพราะภิกษุท่เี หลือจากจานวนผูไ้ ม่มาเข้ากรรม เป็ นผูค้ วรให้ฉนั ทะ สงฆ์ทากรรมเพื่อภิกษุใด ภิกษุนนั้ ก็ไม่นบั เข้าในจานวนสงฆ์ และไม่ใช่
ผูค้ วรให้ฉนั ทะ แต่เป็ นผูค้ วรเข้ากรรมนัน้ ฯ
5|P a g e
(ปี 44) อปโลกนกรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? สงฆ์ผทู้ าสังฆกรรม มีกาหนดจานวนไว้อย่างไร?
ตอบ มี ๕ อย่างคือ ๑. นิสสารณา นาสนะสามเณรผูก้ ล่าวตู่พระผูม้ ีพระภาคเจ้า
๒. โอสารณา รับสามเณรผูถ้ กู นาสนะแล้วกลับประพฤติเรียบร้อย ให้เข้าหมู่
๓. ภัณฑูกรรม บอกขออนุญาตปลงผมคนผูจ้ ะบวชอันภิกษุจะทาเอง
๔. พรหมทัณฑ์ ประกาศไม่ว่ากล่าวภิกษุหวั ดือ้ ว่ายาก
๕. กัมมลักขณะ อปโลกน์แจกอาหารในโรงฉันเป็ นต้น
มีกาหนดจานวนไว้ดงั นี ้
จตุวรรค สงฆ์มีจานวน ๔ รูป ปั ญจวรรค สงฆ์มีจานวน ๕ รูป
ทสวรรค สงฆ์มีจานวน ๑๐ รูป วีสติวรรค สงฆ์มีจานวน ๒๐ รูป
(ปี 43) การตัง้ ญัตติและสวดอนุสาวนามีอยูใ่ นกรรมอะไรบ้าง ในสังฆกรรมทัง้ ๔?
สังฆกรรม ๔ นัน้ อย่างไหนต้องทาในสีมา อย่างไหนทานอกสีมาก็ได้?
ตอบ การตัง้ ญัตติ มีในญัตติกรรม ญัตติทตุ ยิ กรรม และญัตติจตุตถกรรม ส่วนการสวดอนุสาวนา มีในญัตติทตุ ิยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ฯ
ญัตติกรรม ญัตติทตุ ิยกรรม และญัตติจตุตถกรรม ต้องทาในสีมาเท่านัน้ ทานอกสีมาไม่ได้ เพราะต้องตัง้ ญัตติ ส่วนอปโลกนกรรม ทานอกสีมา
ก็ได้ เพราะไม่ตอ้ งตัง้ ญัตติ ฯ

สีมา
➢ คําทักนิมติ ( *** แนะนําให้ท่อง และฝึ กเขียนให้ได้ทกุ ทิศ เพราะออกข้อสอบบ่อย )
ในทิศตะวันออก ว่าดังนี ้ " ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศตะวันออก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ว่าดังนี ้ " ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตตฺ " แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันออก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศใต้ ว่าดังนี ้ " ทกฺขิณาย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า" ในทิศใต้ อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงใต้ ว่าดังนี ้ " ทกฺขิณาย อนุทิ สาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศใต้ อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันตก ว่าดังนี ้ " ปจฺฉิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศตะวันตก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ว่าดังนี ้ " ปจฺฉิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตตฺ " แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันตก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศเหนือ ว่าดังนี ้ " อุตฺตราย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศเหนือ อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าดังนี ้ " อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศเหนือ อะไรเป็ นนิมิต . "

(ปี 63) สีมามีกี่ประเภท ? วิสงุ คามสีมา จัดเข้าในประเภทไหน ?


ตอบ มี ๒ ประเภท คือ พัทธสีมา อพัทธสีมา ฯ วิสงุ คามสีมา เมื่อสงฆ์ยงั ไม่ผกู จัดเป็ นอพัทธสีมา ครัน้ สงฆ์ผกู แล้ว จัดเป็ นพัทธสีมา ฯ
(ปี 62, 54) สีมาคืออะไร ? มีความสาคัญอย่างไร ?
ตอบ คือ เขตประชุมของสงฆ์ผทู้ าสังฆกรรม ฯ มีความสาคัญ เพื่อจะกาหนดรูเ้ ขตประชุมแห่งสงฆ์ท่ปี ระชุมกัน ทาสังฆกรรมมีการให้อปุ สมบท
แก่กลุ บุตร เป็ นต้น ที่พระศาสดาทรงอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทา ฯ
(ปี 61, 50) สีมาสังกระ คืออะไร? สงฆ์จะทาสังฆกรรมในสีมาเช่นนัน้ ได้หรือไม่อย่างไร?
ตอบ คือ สีมาที่สมมติคาบเกี่ยวกันระหว่างสีมาที่สมมติไว้เดิมและสีมาที่สมมติขนึ ้ ใหม่ ฯ
สงฆ์ทาสังฆกรรมในสีมาที่สมมติไว้เดิมได้ แต่ทาในสีมาที่สมมติขนึ ้ ใหม่ไม่ได้ ฯ
6|P a g e
(ปี 60) สีมา มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ คือ พัทธสีมา และ อพัทธสีมา ฯ
(ปี 59, 46) การทักนิมิตในทิศทัง้ ๘ นัน้ ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร? จงเขียนคาทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มาดู?
ตอบ ไม่ถกู ต้องฯ ที่ถกู ต้องนัน้ เมื่อเริ่มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล้ว ทักมาโดยลาดับจนถึงนิมิตสุด ต้องวนไปทักนิมติ ในทิศบูรพาซา้ อีก ฯ
คาทักนิมติ ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี ้ “ อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺต ” ฯ
(ปี 58) สีมา มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ประเภทไหนสมมติเป็ นติจวี ราวิปปวาสไม่ได้ ?
ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ พัทธสีมา คือแดนที่ผกู หมายถึงเขตอันสงฆ์กาหนดเอาเอง และอพัทธสีมา คือแดนที่ไม่ได้ผกู หมายถึงเขตอันเขากาหนด
ไว้โดยปกติของบ้านเมือง หรือเขตที่มีสญ
ั ญัติอย่างอื่นเป็ นเครื่องกาหนด ฯ ประเภทอพัทธสีมา ฯ
(ปี 57) จงอธิบายความหมายคาต่อไปนี ้ ก. สัตตัพภันตรสีมา ข. อุทกุกเขปสีมา
ตอบ ก. สัตตัพภันตรสีมา ได้แก่สีมาในป่ าหาคนตัง้ บ้านเรือนมิได้ กาหนดเขตแห่งสามัคคีในชั่ว ๗ อัพภันดรโดยรอบ นับแต่ท่สี ดุ แนวแห่งสงฆ์
ออกไป (๗ อัพภันดร คือ ๔๙ วา)
ข. อุทกุกเขปสีมา ได้แก่สีมามีกาหนดเขตสามัคคีดว้ ยชั่ววักนา้ สาดแห่งคนมีอายุและกาลังเป็ นปานกลาง ฯ
(ปี 56) นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความสาคัญอย่างไร? คาทักนิมติ ในทิศตะวันออกว่าอย่างไร?
ตอบ มีความสาคัญ คือใช้เป็ นเครื่องหมายเพื่อกาหนดเขตสีมาสาหรับทาสังฆกรรม ฯ
คาทักนิมติ ในทิศตะวันออกว่า “ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมติ ฺต” ฯ
(ปี 56) สีมาเป็ นหลักสาคัญแห่งสังฆกรรมอย่างไร? พัทธสีมามีกาหนดขนาดพืน้ ที่ไว้อย่างไร?
ตอบ สีมาเป็ น เขตประชุม ของสงฆ์ผทู้ ากรรม พระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาภายในสีมาเพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ ฯ
อย่างนี ้ คือ กาหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูปนั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า ๓ โยชน์ ฯ
(ปี 55) พัทธสีมา มีกี่ชนิด? อะไรบ้าง? สีมาผูกเฉพาะบริเวณอุโบสถเรียกว่าอะไร?
ตอบมี ๓ ชนิดคือ สีมาผูกเฉพาะบริเวณโรงอุโบสถ เรียกขัณฑสีมา ๑ สีมาผูกทั่ววัด เรียกมหาสีมา ๑ สีมาผูก ๒ ชัน้ ๑ฯ เรียกว่าขัณฑสีมาฯ
(ปี 53) นิมิตที่อยู่รอบโรงอุโบสถ มีไว้เพื่อประโยชน์อะไร? จงเขียนคาทักนิมติ ในทิศตะวันตกเฉียงใต้มาดู?
ตอบ มีไว้เพื่อเป็ นเครื่องหมายกาหนดเขตการทาสังฆกรรม ฯ ทกฺขิณาย อนุทิสาย กึ นิมติ ฺตฯ
(ปี 53) จงอธิบายความหมายของวิสงุ คามสีมา และสัตตัพภันตรสีมา
ตอบ วิสงุ คามสีมา หมายถึงเขตแห่งสามัคคีท่สี งฆ์ได้รบั พระราชทานพระบรมราชานุญาตยกให้เป็ นแผนกหนึ่งจากบ้าน ฯ
สัตตัพภันตรสีมา หมายถึงเขตแห่งสามัคคีในป่ าหาคนตัง้ บ้านเรือนไม่ได้ช่วั ๗ อัพภันดร(๔๙ วา) โดยรอบ นับแต่ท่สี ดุ แห่งสงฆ์ออกไปฯ
(ปี 52) การผูกพัทธสีมาในบัดนี ้ มีขนั้ ตอนในการปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ มีขนั้ ตอนดังนี ้
๑. พืน้ ที่อนั จะสมมติเป็ นสีมาต้องได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาก่อน
๒. ประชุมภิกษุผอู้ ยูใ่ นเขตวิสงุ คามสีมาหรือนาฉันทะของเธอมาแล้วสวดถอนเป็ นแห่ง ๆ ไปกว่าจะเห็นว่าพอดี พึงสวดถอนติจวี รา
วิปปวาสก่อนแล้วจึงสวดถอนสมานสังวาสสีมา
๓. เตรียมนิมิตไว้ตามทิศ
๔. เมื่อสมมติสีมา ต้องประชุมภิกษุผอู้ ยู่ภายในนิมติ หรือนาฉันทะของเธอมา แล้วออกไปทักนิมิต
๕. กลับมาสวดสมมติสมานสังวาสสีมาก่อนแล้ว สวดสมมติตจิ ีวราวราวิปปวาสสีมา ฯ
(ปี 51) ติจีวราวิปปวาสสีมา และ อุทกุกเขปสีมา ได้แก่สีมาเช่นไร ?
ตอบ ติจีวราวิปปวาสสีมา ได้แก่ สีมาที่สงฆ์สมมติให้เป็ นแดนไม่อยู่ปราศจากไตรจีวรได้ในเขตสีมานัน้
7|P a g e
อุทกุกเขปสีมา ได้แก่ สีมาที่กาหนดเขตแห่งสามัคคีดว้ ยชั่ววักนา้ สาดแห่งคนมีอายุและกาลังปานกลาง ฯ
(ปี 48) สีมาเป็ นหลักสาคัญแห่งสังฆกรรมอย่างไร ? พัทธสีมามีกาหนดขนาดพืน้ ที่ไว้อย่างไร ?
ตอบ สีมาเป็ นเขตประชุมของสงฆ์ผทู้ ากรรม พระศาสดาทรงพระอนุญาตให้สงฆ์พร้อมเพรียงกันทาภายในสีมา เพื่อจะรักษาสามัคคีในสงฆ์ ฯ
อย่างนี ้ คือ กาหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูป นั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่ เกินไปกว่า ๓ โยชน์ ฯ
(ปี 47) วัดที่ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมาและสร้างโรงอุโบสถแล้ว ภายหลังรือ้ สร้างใหม่ จะต้องขอพระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่หรือไม่ ? จง
ชีแ้ จง ตอบ ถ้าสร้างอยู่ในเขตวิสงุ คามสีมาเดิมที่ได้รบั พระราชทานไว้ ไม่ตอ้ งขอพระราชทานใหม่ แต่ถา้ สร้างพ้นเขตวิสงุ คามสีมาที่กาหนดเดิม
นัน้ ต้องขอพระราชทานวิสงุ คามสีมาใหม่ ฯ
(ปี 46) สีมามีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? แดนที่มีสงั วาสเสมอกันเรียกว่าอะไร? มีประโยชน์อย่างไร?
ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ คือ ๑. พัทธสีมา ๒. อพัทธสีมา ฯ เรียกว่า สมานสังวาสสีมา ฯ
มีประโยชน์อย่างนี ้ คือ ภิกษุผอู้ ยูใ่ นเขตนี ้ มีสิทธิในอันจะเข้าอุโบสถ ปวารณา และสังฆกรรมร่วมกัน เป็ นแดนที่กาหนดความพร้อมเพรียง ภิกษุ
ผูอ้ ยู่ในสีมานีท้ งั้ หมดเข้าประชุมกันเป็ นสงฆ์ หรือนาฉันทะของภิกษุ ผไู้ ม่มาเข้าประชุม เรียกว่าสงฆ์ผพู้ ร้อมเพรียงกัน ฯ
(ปี 45) วิสงุ คามสีมา พัทธสีมา ได้แก่สีมาเช่นไร?
กฐิ น เป็ นสังฆกรรมอะไร? การรับกฐิ น ตลอดจนถึงกราน ต้องทาในสีมาอย่างเดียว หรือทานอกสีมาก็ได้?
ตอบ วิสงุ คามสีมา ได้แก่เขตที่สงฆ์ได้รบั พระราชทานพระบรมราชานุญาตยกให้เป็ นแผนกหนึ่งจากบ้าน ฯ
พัทธสีมา ได้แก่วิสงุ คามสีมานัน้ เองอันสงฆ์ผกู แล้ว คือสมมติเป็ นสมานสังวาสสีมาแล้ว ฯ
เป็ นญัตติทตุ ยิ กรรม ฯ การรับกฐิน การอปโลกน์เพื่อให้ผา้ กฐิ น และการกรานกฐิ น
ทาในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้ การสวดญัตติทตุ ิยกรรมวาจาให้ผา้ กฐิ น ต้องทาในสีมาอย่างเดียว ฯ
(ปี 44) วัตถุท่ใี ช้เป็ นนิมิตกาหนดเขตสีมามีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ปั จจุบนั นิยมใช้วตั ถุอะไรเป็ นนิมติ ? และวัตถุท่จี ะใช้เป็ นนิมิตนัน้ ได้มีกาหนดไว้อย่างไร ?
ตอบ มี ๘ อย่างคือ ๑. ภูเขา ๒. ศิลา ๓. ป่ าไม้ ๔. ต้นไม้ ๕. จอมปลวก ๖. หนทาง ๗. แม่นา้ ๘. นา้
ใช้ศิลาเป็ นนิมติ มีกาหนดไว้ดงั นี ้
๑. เป็ นศิลาหินแท้ หินปนแร่ ใช้ได้ทงั้ หมด
๒. เป็ นศิลามีกอ้ นโตไม่ถึงตัวช้าง ขนาดเท่าศีรษะโคหรือกระบือเขื่อง ๆ
๓. เป็ นศิลาแท่งเดียว
๔. อย่างเล็กขนาดเท่าก้อนนา้ อ้อยหนัก ๓๒ ปะละ ราว ๕ ชั่งก็ใช้ได้
(ปี 44) สมานสังวาสสีมา และติจีวราวิปปวาสสีมา ได้แก่สมี าเช่นไร? ในการถอน และสมมติ สีมาทัง้ ๒ นี ้ มีวิธีปฏิบตั ิก่อนหลังอย่างไร?
ตอบ สีมาที่ทรงพระอนุญาตให้สงฆ์สมมติเป็ นแดนมีสงั วาสเสมอกัน ภิกษุผอู้ ยู่ในเขตนีม้ ีสิทธิในอันจะเข้าอุโบสถ ปวารณา และสังฆกรรม
ร่วมกันเรียกว่าสมานสังวาสสีมา สมานสังวาสสีมานี ้ ทรงพระอนุญาตให้สมมติติจวี ราวิปปวาส ซา้ ลงได้อีก เว้นบ้าน และอุปจารบ้านอันตัง้ อยู่
ในสีมานัน้ เมื่อได้สมมติอย่างนีแ้ ล้ว แม้ภิกษุอยู่หา่ งจากไตรจีวรในสีมานัน้ ก็ไม่เป็ นอันอยู่ปราศ เรียกว่าติจวี ราวิปปวาสสีมา ฯ ในการถอน ให้
ถอนติจวี ราวิปปวาสสีมาก่อน ถอนสมานสังวาสสีมาภายหลังในการสมมติ ให้สมมติสมานสังวาสสีมาก่อน สมมติ ตจิ ีวราวิปปวาสสีมา
ภายหลัง
(ปี 43) พัทธสีมามีกาหนดขนาดพืน้ ที่ไว้หรือไม่? ถ้ามี กาหนดไว้อย่างไร? สถานที่ท่เี ป็ นสีมาตามพระวินยั ไม่ได้ มีหรือไม่? เพราะเหตุใด?

8|P a g e
ตอบ มีกาหนดไว้ คือกาหนดไม่ให้สมมติสีมาเล็กเกินไปจนจุภิกษุ ๒๑ รูป นั่งไม่ได้และไม่ให้สมมติสีมาใหญ่เกินไปกว่า ๓ โยชน์ สีมาเล็ก
เกินไปใหญ่เกินไป เป็ นสีมาวิบตั ิ ใช้ไม่ได้ ฯ ไม่มี เพราะในป่ าที่ไม่มีบา้ น ก็จดั เป็ นสัตตัพภันตรสีมา ในน่านนา้ ที่ได้ขนาด ก็จดั เป็ นอุทกุกเขป
สีมา ผืนแผ่นดินที่มีหมู่บา้ นก็จดั เป็ นคามสีมา แม้สีมนั ตริกซึง่ คั่นระหว่างมหาสีมากับขัณฑสีมาก็จัดเป็ นคามสีมา ฯ

กฐิน
(ปี 63, 59, 56) กรานกฐิ น ได้แก่การทาอย่างไร ? จงเขียนคาอนุโมทนากฐิ นมาดู
ตอบ ได้แก่ เมื่อมีผา้ เกิดขึน้ แก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทาเป็ นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผูเ้ หมาะสม
ภิกษุ ผูไ้ ด้รบั ผ้านัน้ นาไปทาเป็ นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จในวันนัน้ แล้วมา บอกแก่ภิกษุผยู้ กผ้านัน้ ให้ เพื่ออนุโมทนา ภิ กษุเหล่านัน้
อนุโมทนา ทัง้ หมดนีค้ ือกรานกฐิน ฯ
(ปี 61, 49) การกรานกฐิ น คืออะไร ? อธิบายพอเข้าใจ
ตอบ คือ เมื่อมีผา้ เกิดขึน้ แก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทาเป็ นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุผไู้ ด้รบั
ผ้านัน้ นาไปทาเป็ นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จ ในวันนัน้ แล้วมาบอกแก่ภิกษุผยู้ กผ้านัน้ ให้เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านัน้ อนุโมทนา
ทัง้ หมดนีค้ ือการกรานกฐิ น ฯ
(ปี 60) กฐิ น มีช่ือมาจากอะไร ? ผ้าที่เป็ นกฐิ นได้มีอะไรบ้าง ?
ตอบ มาจากชื่อไม้สะดึงที่ลาดหรือกางออกสาหรับขึงจีวรเพื่อเย็บ ฯ
มี ๑. ผ้าใหม่ ๒. ผ้าเทียมใหม่คอื ผ้าฟอกสะอาดแล้ว ๓. ผ้าเก่า ๔. ผ้าบังสุกลุ ๕. ผ้าที่ตกตามร้านตลาดซึง่ เขานามาถวายสงฆ์ ฯ
คาอนุโมทนากฐิ นว่า อตฺถต ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐิ น ธมฺมิโก กฐิ นตฺถาโร อนุโมทามิ ฯ
(ปี 58) อานิสงส์กฐิ นจะสิน้ สุดลง เพราะเหตุอะไรบ้าง ?
ตอบ เพราะปลิโพธ ๒ ประการ คืออาวาสปลิโพธ ความกังวลในอาวาส และจีวรปลิโพธ ความกังวลในจีวร ขาดลง และสิน้ สุดเขตจีวรกาล ฯ
(ปี 57) ผ้าที่ไม่ทรงอนุญาตให้ใช้เป็ นผ้ากฐิ น ได้แก่ผา้ เช่นไรบ้าง?
ตอบ เช่นนี ้ คือ ๑. ผ้าที่ไม่ได้เป็ นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา
๒. ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือทานิมิตได้มา พูดเลียบเคียงได้มาและผ้าเป็ นนิสสัคคีย ์
๓. ผ้าที่ได้มาโดยบริสทุ ธิ์ แต่เก็บค้างคืนไว้ ฯ
(ปี 57) ภิกษุผกู้ รานกฐิ นแล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไรบ้าง?
ตอบ ๑. เที่ยวไปไม่ตอ้ งบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์
๒. เที่ยวจาริกไปไม่ตอ้ งถือเอาไตรจีวรไปครบสารับ
๓. ฉันคณะโภชน์ได้
๔. เก็บอติเรกจีวรไว้ได้ตามปรารถนา
๕. จีวรอันเกิดขึน้ ในที่นนั้ เป็ นของได้แก่พวกเธอ
ทัง้ ได้โอกาสขยายเขตจีวรกาลให้ยาวออกไปตลอด ๔ เดือนฤดูเหมันต์ดว้ ย ฯ
(ปี 54) สงฆ์ผมู้ ีสิทธิรบั ผ้ากฐิ น ต้องมีคณ
ุ สมบัติอย่างไร? ภิกษุผคู้ วรครองผ้ากฐิ น พึงมีคณ
ุ สมบัติอะไรบ้าง? จงบอกมาสัก ๕ ข้อ
ตอบ ต้องเป็ นผูจ้ าพรรษามาแล้วถ้วนไตรมาสไม่ขาดในอาวาสเดียวกัน มีจานวนตั้งแต่ ๕ รูปขึน้ ไป ฯ
พึงมีคณ
ุ สมบัติอย่างนี ้ คือ (ให้ตอบเพียง ๕ ข้อ ใน ๘ ข้อต่อไปนี)้
๑. รูจ้ กั บุพพกรณ์ ๕. รูจ้ กั มาติกา คือหัวข้อแห่งการเดาะกฐิ น
9|P a g e
๒. รูจ้ กั ถอนไตรจีวร ๖. รูจ้ กั ปลิโพธกังวลเป็ นเหตุยงั ไม่เดาะกฐิ น
๓. รูจ้ กั อธิษฐานไตรจีวร ๗. รูจ้ กั การเดาะกฐิ น
๔. รูจ้ กั การกราน ๘. รูจ้ กั อานิสงส์กฐิ น ฯ
(ปี 54) ภิกษุถือว่าได้รบั อานิสงส์กฐิ นแล้ว เข้าบ้านในเวลาวิกาลโดยไม่บอกลา ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ? เพราะเหตุไร?
ตอบ ในกรณีท่รี บั นิมนต์แล้ว ไปในที่นิมนต์ ภายหลังภัตรเข้าบ้านโดยไม่บอกลา ไม่ตอ้ งอาบัติ ซึ่งได้รบั ยกเว้นด้วยอานิสงส์ท่วี ่าเที่ยวไปไม่ตอ้ ง
บอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ฯ แต่ในกรณีท่ไี ม่ได้รบั นิมนต์ เข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ตาม
สิกขาบทที่ ๓ แห่งรัตนวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ยกเว้นในกรณีรีบด่วน เช่นภิกษุถกู งูกดั รีบเข้าไปเพื่อหายาหรือตามหมอ ฯ
(ปี 53) กฐิ น เป็ นสังฆกรรมอะไร? การรับกฐิ น ตลอดจนถึงการกราน ต้องทาในสีมาเท่านัน้ หรือทานอกสีมาก็ได้?
ตอบ เป็ นญัตติทตุ ยิ กรรม ฯ การรับกฐิ น การอปโลกน์เพื่อให้ผา้ กฐิ น และการกรานกฐิ นทาในสีมาหรือนอกสีมาก็ได้ การสวดญัตติทตุ ิย
กรรมวาจาให้ผา้ กฐิ น ต้องทาในสีมาเท่านัน้ ฯ
(ปี 51) ผ้าที่ไม่ทรงอนุญาตให้ใช้เป็ นผ้ากฐิ น ได้แก่ผา้ เช่นไรบ้าง?
ตอบ เช่นนี ้ คือ ๑. ผ้าที่ไม่ได้เป็ นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา
๒. ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือ ทานิมิตได้มา พูดเลียบเคียงได้มา และผ้าเป็ นนิสสัคคีย ์
๓. ผ้าที่ได้มาโดยบริสทุ ธิ์ แต่เก็บค้างคืนไว้ ฯ
(ปี 50) การอปโลกน์ และ การสวดเพื่อให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นสังฆกรรมประเภทใด? การกรานกฐิ นด้วยผ้าสังฆาฏิ พึงกล่าวว่าอย่างไร?
ตอบ การอปโลกน์เพื่อให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นอปโลกนกรรม การสวดเพื่อให้ผา้ กฐิ น จัดเป็ นญัตติทตุ ยิ กรรมฯ ว่า อิมาย สงฺฆาฏิยา กฐิ น อตฺถรามิฯ
(ปี 48) ภิกษุได้รบั อานิสงส์กฐิ น เข้าบ้านในเวลาวิกาลโดยไม่บอกลา ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ? เพราะเหตุไร?
ตอบ ในกรณีท่รี บั นิมนต์แล้ว ไปในที่นิมนต์ ภายหลังภัตรเข้าบ้านโดยไม่บอกลา ไม่ตอ้ งอาบัติ ซึ่งได้รบั ยกเว้นด้วยอานิสงส์ท่วี ่าเที่ยวไปไม่ตอ้ ง
บอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ในปาจิตติยกัณฑ์ ฯ แต่ในกรณีท่ไี ม่ได้รบั นิมนต์เข้าบ้านในเวลาวิกาล ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ตาม
สิกขาบทที่ ๓ แห่งรัตนวรรคในปาจิตติยกัณฑ์ ยกเว้นในกรณีรีบด่วน เช่นภิกษุถกู งูกดั รีบเข้าไปเพื่อหายาหรือตามหมอ ฯ
(ปี 47) สงฆ์ผทู้ ากรรมในการให้ผา้ กฐิ น มีกาหนดจานวนอย่างน้อยไว้เท่าไร? ที่กาหนดไว้อย่างนัน้ มีพระพุทธประสงค์อย่างไร?
ตอบ มี ๕ รูปเป็ นอย่างน้อย ฯ มีพระพุทธประสงค์วา่ ภิกษุรูปหนึ่งเป็ นบุคคลผูร้ บั ผ้ากฐิ น เหลืออีก ๔ รูปเป็ นสงฆ์ กรานและอนุโมทนา จึง
กาหนดอย่างนัน้ ฯ
(ปี 46) คาว่า “ กฐิ น ” เป็ นชื่อของอะไร? มีช่อื เรียกอย่างนัน้ เพราะเหตุไร? การกรานกฐิ นนัน้ มีวธิ ีปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ เป็ นชื่อของสังฆกรรมอย่างหนึ่ง ฯ เพราะมีช่ือออกจากไม้สะดึงที่ลาดหรือกางออก เพื่อขึงจีวรเย็บ ฯ
มีวิธีปฏิบตั ิอย่างนี ้ คือ เมื่อมีผา้ เกิดขึน้ แก่สงฆ์ในกาลเช่นนั้นพอจะทาเป็ นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่ง เพื่อ
ประโยชน์นี ้ ภิกษุผไู้ ด้รบั ผ้านัน้ เอาไปทาจีวรให้เสร็จในวันนัน้ แล้วมาบอกภิกษุผยู้ กผ้านัน้ ให้เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านัน้ อนุโมทนาฯ
(ปี 46) ไตรจีวร กาหนดให้เรียกผ้านุ่งว่า อันตรวาสก เรียกผ้าห่มว่า อุตตราสงค์ เรียกผ้าทาบว่า สังฆาฏิ ในเวลาไหนบ้าง? ผ้า ๓ ผืนนัน้
กาหนดให้เรียกว่า จีวร ในเวลาไหนบ้าง?
ตอบ ในเวลาดังต่อไปนี ้ คือ ในเวลาบอกบาตรจีวรแก่อปุ สัมปทาเปกขะ ในเวลาอธิษฐานเป็ นผ้าครอง ในเวลาปั จจุทธรณ์ และในเวลากราน
กฐิ น ฯ ในเวลาผ้า ๓ ผืนนัน้ เป็ นนิสสัคคียเ์ พราะอยู่ปราศ คาเสียสละเรียกว่าจีวรทุกผืน และในเวลาผ้าเหล่านัน้ เป็ นอติเรกจีวร คาวิกปั คาถอน
วิกปั รวมเรียกว่าจีวรทัง้ สิน้ ฯ
(ปี 45) กฐิ นจะเดาะหรือไม่เดาะ กาหนดรูไ้ ด้อย่างไร? ผ้าที่ทรงห้ามใช้เป็ นผ้ากฐิ นได้แก่ผา้ เช่นไรบ้าง?

10 | P a g e
ตอบ กฐิ นเดาะ กาหนดรูไ้ ด้ดว้ ยอาวาสปลิโพธและจีวรปลิโพธขาด หรือสิน้ เขตจีวรกาลที่ขยายออกไปอีก ๔ เดือน กฐิ นไม่เดาะ กาหนดรูไ้ ด้
ด้วยอาวาสปลิโพธหรือ จีวรปลิโพธอย่างใดอย่างหนึ่งยังไม่ขาด และยังอยูใ่ นเขตจีวรกาลที่ขยายออกไปอีก ๔ เดือน ฯ
เช่นนี ้ คือ ๑. ผ้าที่ไม่ได้เป็ นสิทธิ เช่น ผ้าที่ขอยืมเขามา ๒. ผ้าที่ได้มาโดยอาการอันมิชอบ คือทานิมิตได้มา
๓. ผ้าที่ได้มาโดยการพูดเลียบเคียง ๔. ผ้าเป็ นนิสสัคคีย ์ ๕. ผ้าที่ได้มาโดยทางบริสทุ ธิ์ แต่เก็บไว้คา้ งคืน ฯ
(ปี 43) วัดมีพระจาพรรษาวัดละ ๒ รูปบ้าง ๓ รูปบ้าง ทายกประสงค์จะถวายกฐิ น นิมนต์พระมารวมในวัดเดียวกันเพื่อรับกฐิ น เป็ นกฐิ น
หรือไม่? เพราะเหตุใด? ในคัมภีรบ์ ริวาร ภิกษุผคู้ วรกรานกฐิ นประกอบด้วยองค์เท่าไร? บอกมา ๓ ข้อ
ตอบ ไม่เป็ นกฐิ น เพราะองค์กาหนดสิทธิของภิกษุผจู้ ะกรานกฐิ นมี ๓ คือ ๑. เป็ นผูจ้ าพรรษาถ้วนไตรมาสไม่ขาด ๒. อยู่ในอาวาสเดียวกัน
๓. ภิกษุมีจานวนตัง้ แต่ ๕ รูปขึน้ ไป
ประกอบด้วยองค์ ๘ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๑. รูจ้ กั บุพพกรณ์ ๕. รูจ้ กั มาติกา คือหัวข้อแห่งการเดาะกฐิ น
๒. รูจ้ กั ถอนไตรจีวร ๖. รูจ้ กั ปลิโพธกังวลเป็ นเหตุยงั ไม่เดาะกฐิ น
๓. รูจ้ กั อธิษฐานไตรจีวร ๗. รูจ้ กั การเดาะกฐิ น
๔. รูจ้ กั การกราน ๘. รูจ้ กั อานิสงส์กฐิ น

สมมติเจ้าหน้าทีท่ าํ การสงฆ์
• เจ้าอธิการ หมายถึงภิกษุท่สี งฆ์สมมติให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทากิจการของสงฆ์ มี ๕ แผนก คือ
๑. เจ้าอธิการแห่งจีวร
๒. เจ้าอธิการแห่งอาหาร
๓. เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ
๔. เจ้าอธิการแห่งอาราม
๕. เจ้าอธิการแห่งคลัง
• เจ้าหน้าทีท่ าํ การสงฆ์(เจ้าอธิการ) พึงประกอบด้วยคุณสมบัติดังนี้
๑. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะความชอบพอ
๒. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะเกลียดชัง
๓. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะงมงาย
๔. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะกลัว
๕. เข้าใจการทาหน้าที่อย่างนัน้
• สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการเพื่อให้ปฏิบตั ิหน้าที่นนั้ จะต้องสวดด้วยกรรมวาจา …ญัตติทตุ ิยกรรม…

(ปี 63, 61, 44) ภิกษุผคู้ วรได้รบั สมมติให้เป็ นภัตตุทเทสกะ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัตเิ ช่นไร ?
ภัตรที่ควรแจกเฉพาะมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดงั นี ้ คือ ๑. เว้นอคติ ๔ คือ ฉันทาคติ โทสาคติ โมหาคติ ภยาคติ ๒. รูจ้ กั ภัตรที่ควรแจกหรือมิควรแจก
๓. รูจ้ กั ลาดับที่พึงแจก ฯ
มี ๕ อย่างคือ ๑. อาคันตุกภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุอาคันตุกะ
11 | P a g e
๒. คมิยภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุผจู้ ะไปอยู่ท่อี ื่น
๓. คิลานภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุอาพาธ
๔. คิลานุปัฏฐากภัตร อาหารที่เขาถวายเฉพาะภิกษุผพู้ ยาบาลไข้
๕. กุฏิภตั ร อาหารที่เขาถวายแก่ภิกษุผอู้ ยู่ในกุฏิท่เี ขาสร้าง
(ปี 62, 56) เจ้าอธิการตามพระวินยั หมายถึงใคร ? สงฆ์พึงสวดสมมติเจ้าอธิการด้วยกรรมวาจาประเภทใด ?
ตอบ หมายถึง ภิกษุผไู้ ด้รบั สมมติจากสงฆ์ให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทาการสงฆ์นนั้ ๆ ฯ พึงสวดสมมติดว้ ยญัตติทตุ ิยกรรม ฯ
(ปี 59) คาว่า "เจ้าอธิการ" ในพระวินยั หมายถึงใคร ? มีกี่แผนก ? อะไรบ้าง ?
ตอบ หมายถึงภิกษุท่สี งฆ์สมมติให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทากิจการของสงฆ์ ฯ
มี ๕ แผนก ฯ คือ ๑. เจ้าอธิการแห่งจีวร ๒. เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๓. เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๔. เจ้าอธิการแห่งอาราม
๕. เจ้าอธิการแห่งคลัง ฯ
(ปี 58) ภิกษุผคู้ วรได้รบั เลือกให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทาการสงฆ์ พึงประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง ? และจะปฏิบตั ิหน้าที่นนั้ ได้ตงั้ แต่เมื่อไร ?
ตอบ ด้วยคุณสมบัติเหล่านี ้ คือ ๑. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะความชอบพอ ๒. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะเกลียดชัง
๓. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะงมงาย ๔. ไม่ถึงความลาเอียงเพราะกลัว ๕. เข้าใจการทาหน้าที่อย่างนัน้ ฯ
ตัง้ แต่สงฆ์สวดสมมติดว้ ยญัตติทตุ ิยกรรมวาจาให้เป็ นเจ้าหน้าที่นนั้ ฯ
(ปี 51) ภิกษุผไู้ ด้รบั สมมติจากสงฆ์ให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทาการสงฆ์นนั้ ๆ เรียกว่าอะไร? พึงสวดสมมติดว้ ยกรรมวาจาประเภทใด?
ตอบ เรียกว่า เจ้าอธิการ ฯ พึงสวดสมมติดว้ ยญัตติทตุ ิยกรรม ฯ
(ปี 43) คาว่า “เจ้าอธิการ” ในพระวินยั หมายถึงใคร? มีกี่แผนก? อะไรบ้าง?
การให้ภิกษุถือเสนาสนะเป็ นหน้าที่ของใคร? ผูน้ นั้ พึงปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ หมายถึงภิกษุท่สี งฆ์สมมติให้เป็ นเจ้าหน้าที่ทากิจการของสงฆ์
มี ๕ แผนก คือ ๑. เจ้าอธิการแห่งจีวร ๒. เจ้าอธิการแห่งอาหาร ๓. เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ ๔. เจ้าอธิการแห่งอาราม
๕. เจ้าอธิการแห่งคลัง ฯ
เป็ นหน้าที่ของเจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ พึงปฏิบตั ิอย่างนี ้ คือ เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะพึงกาหนดฐานะของภิกษุผถู้ ือเสนาสนะว่า เป็ นผูใ้ หญ่
หรือผูน้ อ้ ย เป็ นผูม้ ีอปุ การะแก่สงฆ์หรือหามิได้ เป็ นผูเ้ ล่าเรียนหรือประกอบกิจในทางใดบ้าง เป็ นต้น แล้วพึงให้ถือเสนาสนะ ฯ

พระทัพพมัลลบุตร
• เจ้าอธิการแห่งเสนาสนะ มีหน้าที่เป็ นผูแ้ จกเสนาสนะให้ภิกษุถือ เรียกเสนาสนคาหาปกะ
• การแจกมี ๒ อย่าง แจกอาหารอันเขานามามอบถวาย ๑ รับนิมนต์ไว้แล้ว ส่งพระไปรับที่บา้ นเรือนของเขา ๑. ชื่อว่า ภัตตุทะทสกะ
หมายเอาการแจกอย่างหลัง แปลว่า ผูช้ ีภ้ ตั รหรือผู้ ระบุภตั ร.
(ปี 60, 55) พระทัพพมัลลบุตร มีความดาริอย่างไร? พระศาสดาทรงทราบแล้วทรงสาธุการ ตรัสให้สงส์สมมติให้ทา่ นรับหน้าที่อะไรบ้าง? ตอบ
ท่านดาริว่า ท่านอยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ควรจะรับธุระของสงฆ์จงึ กราบทูลพระศาสดา ฯ
ทรงสาธุการแล้ว ตรัสให้สงส์สมมติท่านให้เป็ นภัตตุทเทสกะและเสนาสนคาหาปกะ ฯ

12 | P a g e
บรรพชาและอุปสมบท
(ปี 63, 50) การบรรพชาและการอุปสมบท สาเร็จด้วยวิธีอะไร?
นอกจากอภัพบุคคลและผูม้ ีบรรพชาโทษแล้ว บุคคลประเภทใดบ้างที่ถกู ห้ามไม่ให้อปุ สมบท?
ตอบ การบรรพชาสาเร็จด้วยวิธีไตรสรณคมน์ และการอุปสมบทสาเร็จด้วยวิธีญตั ติจตุตถกรรมวาจา ฯ
คือ ๑. คนไม่มีอปุ ั ชฌาย์ ๒. คนไม่มีบาตร คนไม่มีจวี ร หรือไม่มีทงั้ บาตรทัง้ จีวร ๓. คนยืมบาตร จีวร หรือยืมทัง้ บาตรทัง้ จีวรเขามา ฯ
(ปี 62, 51) ในอุปสมบทกรรม อภัพพบุคคล หมายถึงใคร ? จาแนกโดยประเภทมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ หมายถึงบุคคลที่ทรงห้ามไม่ให้อุปสมบท ฯ
มี ๓ ประเภท ฯ คือ ๑. เพศบกพร่อง ๒. คนทาผิดต่อพระศาสนา ๓. ประพฤติผิดต่อกาเนิดของเขาเอง ฯ
(ปี 61) ผูจ้ ะเข้ามาอุปสมบทเป็ นภิกษุในพระพุทธศาสนา ต้องประกอบด้วย คุณสมบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๕ ประการ คือ ๑. เป็ นชาย ๒. มีอายุครบ ๒๐ ปี ๓. ไม่เป็ นมนุษย์วิบตั ิ เช่น ถูกตอน หรือเป็ นกะเทย เป็ นต้น
๔. ไม่เคยทาอนันตริยกรรม ๕. ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไม่เคยเข้ารีตเดียรถียท์ งั้ ที่เป็ นภิกษุ ฯ
(ปี 60) อภัพพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บคุ คลเช่นไร ? โดยวัตถุมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ได้แก่บคุ คลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึน้ ถูกห้าม อุปสมบทตลอดชีวติ ฯ
โดยวัตถุมี ๓ คือ ๑. พวกที่มีเพศบกพร่อง ไม่รูว้ า่ เป็ นชายหรือเป็ นหญิง
๒. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินยั เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็ นต้น
๓. พวกประพฤติผิดต่อผูใ้ ห้กาเนิดของตน คือ ฆ่ามารดาบิดา ฯ
(ปี 59) การบอกนิสสัย ๔ และอกรณียะ ๔ บอกในเวลาใด ? และใครเป็ นผูบ้ อก ?
ตอบ ท่านให้บอกในลาดับแห่งอุปสมบทแล้ว ห้ามไม่ให้บอกก่อนหน้าอุปสมบท ฯ
อุปัชฌายะบอกก็ได้ กรรมวาจาจารย์หรืออนุสาวนาจารย์บอกก็ได้ ฯ
(ปี 58) อภัพพบุคคลผูก้ ระทาผิดต่อพระศาสนา ถูกห้ามอุปสมบท มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๗ ประเภท คือ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทาร้ายภิกษุณี ได้แก่ผขู้ ่มขืนภิกษุณีในอัชฌาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็ นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย ์ ๕. ภิกษุตอ้ งปาราชิกละเพศไปแล้ว
๖. ภิกษุทาสังฆเภท ๗. คนทาร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
(ปี 57) ท่านศึกษาพระวินยั ในเรือ่ งการอุปสมบทดีแล้ว จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้
ก. อภัพบุคคล ข. อุปสัมปทาเปกขะ ค. กรรมวาจา ง. อนุสาวนา จ. อนุศาสน์
ตอบ ก. อภัพบุคคล คือบุคคลผูไ้ ม่ควรแก่การให้อปุ สมบท ทรงห้ามไว้เป็ นเด็ดขาด อุปสมบทไม่ขึน้
ข. อุปสัมปทาเปกขะ คือผูป้ ระสงค์จะอุปสมบทเป็ นพระภิกษุ
ค. กรรมวาจา คือวาจาที่สวดประกาศในการให้อปุ สมบท
ง. อนุสาวนา คือวาจาที่สวดประกาศความปรึกษาและตกลงสงฆ์
จ. อนุศาสน์ คือกิจที่พงึ ทาภายหลังจากอุปสมบทเสร็จแล้ว มีการบอกนิสสัย ๔ บอกอกรณียกิจ ๔ เป็ นต้น ฯ
(ปี 55) อะไรเป็ น บุพพกิจ และ ปัจฉิมกิจ แห่งอุปสมบทกรรม?
ตอบ การให้บรรพชาจนถึงสมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ เป็ นบุพพกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ
การวัดเงาแดด การบอกประมาณแห่งฤดู การบอกส่วนแห่งวัน การบอกสังคีติ การบอกนิสยั ๔ การบอกอกรณียกิจ ๔ ในลาดับเวลาสวด
กรรมวาจาจบ เป็ นปั จฉิมกิจแห่งอุปสมบทกรรม ฯ
13 | P a g e
(ปี 54) องคสมบัติของภิกษุผจู้ ะเป็ นอุปัชฌาย์ให้อปุ สมบท เป็ นอาจารย์ให้นิสยั ที่กาหนดไว้ในบาลีมหี ลายอย่าง แม้บกพร่องบางอย่างก็ได้ แต่
ที่ขาดไม่ได้คือองคสมบัติอะไร? ตอบ ที่ขาดไม่ได้ คือ มีพรรษา ๑๐ หรือยิ่งกว่า ฯ
(ปี 54) ในการอุปสมบท คนที่ได้ช่ือว่าลักเพศ ได้แก่คนเช่นไร?
ตอบ ได้แก่คนถือเพศภิกษุเอาเอง ด้วยตัง้ ใจจะปลอมเข้าอยูใ่ นหมูภ่ ิกษุ ดังคากล่าวว่า เดียรถียป์ ลอมเข้าอยู่ในหมู่ภิกษุครัง้ อโศกรัชกาล ถ้าคน
นัน้ เป็ นแต่สกั ว่า ทรงเพศเพราะเหตุอย่างอื่น เป็ นต้นว่าเพื่อหนีภยั ไม่จดั เป็ นคนลักเพศ ฯ
(ปี 53) บุรพกิจที่พงึ ทาเป็ นเบือ้ งต้นก่อนแต่อปุ สมบท คืออะไรบ้าง? ในกิจเหล่านัน้ กิจที่ตอ้ งทาเป็ นการสงฆ์ มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ ให้บรรพชา ขอนิสสัย ถืออุปัชฌายะ ขนานชื่อมคธแห่งอุปสัมปทาเปกขะและบอกนามอุปัชฌายะ บอกบาตรจีวร สั่งให้อุปสัมปทา
เปกขะออกไปยืนข้างนอก สมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็ นผูซ้ กั ซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม เรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์ ให้ขอ
อุปสมบท สมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ ฯ
มี สมมติภิกษุรูปหนึง่ เป็ นผูซ้ กั ซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม เรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์ สมมติภิกษุรูปหนึง่ สอบถาม
อุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์
(ปี 53) อุปสัมปทาเปกขะจะสาเร็จเป็ นพระภิกษุได้ เมื่อพระกรรมวาจาจารย์สวดถึงบาลีบทใด?
ตอบ ถึงบทว่า โส ภาเสยฺย ท้ายอนุสาวนาที่ ๓ ฯ
(ปี 52) อันตรายิกธรรมที่ยกขึน้ ถามอุปสมปทาเปกขะในการอุปสมบทนัน้ ข้อที่เป็ นอันตรายร้ายแรงถึงกับทาให้เป็ นภิกษุไม่ได้ คือข้อใดบ้าง?
ตอบ คือ ข้อว่า ไม่ใช่มนุษย์ ไม่ใช่บรุ ุษ อายุไม่ครบ 20 ปี ฯ
(ปี 51) กรรมวาจาวิบตั ิเพราะสวดผิดฐานกรณ์นนั้ อย่างไร ?
ตอบ คือ การสวดธนิตเป็ นสิถิล ๑ สวดสิถิลเป็ นธนิต ๑ สวดวิมตุ เป็ นนิคคหิต ๑ สวดนิคคหิตเป็ นวิมตุ ๑ ฯ
(ปี 48) วัตถุสมบัตใิ นการอุปสมบทคืออะไร? ต้องประกอบด้วยคุณสมบัติอะไรบ้าง?
ตอบ คือผูจ้ ะเข้ารับการอุปสมบท ฯ ประกอบด้วยคุณสมบัติ ๕ ประการ คือ ๑.เป็ นชาย ๒.มีอายุครบ ๒๐ ปี
๓.ไม่เป็ นมนุษย์วิบตั ิ เช่นถูกตอน หรือเป็ นกะเทย ๔.ไม่เคยทาอนันตริยกรรม ๕.ไม่เคยต้องปาราชิก หรือไม่เคยเข้ารีตเดียรถียท์ งั้ ที่เป็ นภิกษุ ฯ
(ปี 48) อภัพพบุคคลที่ถกู ห้ามอุปสมบทเพราะกระทาผิดต่อพระศาสนา มีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ มี ๗ ประเภท คือ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทาร้ายภิกษุณี ได้แก่ผขู้ ่มขืนภิกษุณีในอัธยาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็ นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย ์ ๕. ภิกษุตอ้ งปาราชิก ๖. ภิกษุทาสังฆเภท
๗. คนทาร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
(ปี 47) บุรพกิจก่อนแต่อปุ สมบท มีอะไรบ้าง? กิจทัง้ หมดนัน้ ที่จดั เป็ นญัตติกรรม ทาเป็ นการสงฆ์ คือกิจอะไรบ้าง?
ตอบ มีการให้บรรพชา ขอนิสสัย ถืออุปัชฌายะ ขนานชื่อมคธแห่งอุปสัมปทาเปกขะ บอกนามอุปัชฌายะ บอกบาตรจีวร สั่งอุปสัมปทา
เปกขะให้ออกไปยืนข้างนอก สมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็ นผูซ้ กั ซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม เรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์ ให้ขอ
อุปสมบท สมมติภิกษุรูปหนึ่งสอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ ฯ
กิจเหล่านีค้ ือ การสมมติภิกษุรูปหนึ่งเป็ นผูซ้ กั ซ้อมอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรม การเรียกอุปสัมปทาเปกขะเข้าในสงฆ์ การ
สมมติภิกษุรูปหนึง่ สอบถามอุปสัมปทาเปกขะถึงอันตรายิกธรรมในสงฆ์ จัดเป็ นญัตติกรรม ทาเป็ นการสงฆ์ ฯ
(ปี 46) ศัพท์ว่า “ บรรพชา ” มีอธิบายว่าอย่างไร?
นอกจากคนมีอายุไม่ครบ ๒๐ ปี บริบรู ณ์ และอภัพพบุคคลแล้ว ยังมีบคุ คลจาพวกไหนอีกบ้างที่หา้ มไม่ให้อปุ สมบท?
ตอบ มีอธิบายว่า ศัพท์นี ้ หมายเอาการบวชทั่วไป รวมทัง้ อุปสมบทด้วยก็ มี หมายเอาเฉพาะการบวชเป็ นบุรพประโยคแห่งอุปสมบทก็มี
หมายถึงการบวชลาพังเป็ นสามเณรก็มี ฯ
14 | P a g e
มีบคุ คลที่ถกู ห้ามไม่ให้อปุ สมบทอีก ๓ จาพวก คือ
๑. คนไม่มีอปุ ั ชฌาย์ หรือมีคนอืน่ นอกจากภิกษุเป็ นอุปัชฌาย์ หรือถือสงฆ์ ถือคณะเป็ นอุปัชฌาย์
๒. คนไม่มีบาตร ไม่มจี ีวร หรือไม่มีทงั้ บาตรทัง้ จีวร
๓. คนยืมบาตร ยืมจีวรเขามาหรือยืมทัง้ บาตรทัง้ จีวรเขามา ฯ
(ปี 45) ผูท้ ่ถี กู ห้ามอุปสมบท เพราะทาผิดต่อพระศาสนา ได้แก่คนเช่นไร?
ในเวลาสวดกรรมวาจานัน้ กาหนดด้วยสงฆ์น่งิ อยู่จนถึงบาลีคาใด อุปสมบทกรรมจึงจะนับว่าเป็ นการสาเร็จ ?
ตอบ ได้แก่ ๑. คนฆ่าพระอรหันต์ ๒. คนทาร้ายภิกษุณี ได้แก่ผขู้ ่มขืนภิกษุณีในอัธยาจาร
๓. คนลักเพศ คือคนถือเพศเป็ นภิกษุเอง ๔. ภิกษุไปเข้ารีตเดียรถีย ์ ๕. ภิกษุตอ้ งปาราชิก ๖. ภิกษุทาสังฆเภท
๗. คนทาร้ายพระศาสดาจนถึงห้อพระโลหิต ฯ
กาหนดด้วยสงฆ์น่งิ อยู่จนถึงคาว่า โส ภาเสยฺย ที่แปลว่า ท่านผูน้ นั้ พึงพูดท้ายอนุสาวนาที่ ๓ จึงนับว่าเป็ นการสาเร็จ ฯ
(ปี 44) อภัพบุคคลในอุปสมบทกรรมได้แก่บคุ คลเช่นไร? โดยวัตถุมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ปั จฉิมกิจแห่งการอุปสมบทมีอะไรบ้าง? ตอบเพียง ๒ ข้อ
ตอบ ได้แก่บคุ คลที่ไม่สมควรแก่การอุปสมบท อุปสมบทไม่ขึน้ ถูกห้ามอุปสมบทตลอดชีวิต โดยวัตถุมี ๓ คือ
๑. พวกที่มีเพศบกพร่อง ไม่รูว้ า่ เป็ นชายหรือเป็ นหญิง ๒. พวกประพฤติผิดพระธรรมวินยั เช่น ฆ่าพระอรหันต์ เป็ นต้น
๓. พวกประพฤติผิดต่อกาเนิดของตน คือฆ่ามารดาบิดา
มี ๖ ข้อ (ตอบเพียง ๒ ข้อ) คือ ๑. วัดเงาแดดในทันที ๒. บอกประมาณแห่งฤดู ๓. บอกส่วนแห่งวัน ๔. บอกสังคีติ
๕. บอกนิสสัย ๔ ๖. บอกอกรณียกิจ ๔

วิวาทาธิกรณ์ คืออธิกรณ์ท่เี กิดจากการทะเลาะกัน โต้เถียงกัน โดยปรารภพระธรรมวินยั


(ปี 62, 56) ภิกษุผกู้ ่อวิวาทาธิกรณ์ อย่างไรชื่อว่าปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่าปรารถนาเลว ?
ตอบ ผูก้ ่อวิวาทาธิกรณ์เพราะเห็นแก่พระธรรมวินยั ปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ ชื่อว่าทาด้วยปรารถนาดี
ผูก้ ่อวิวาทาธิกรณ์ดว้ ยทิฏฐิ มานะ แม้รูว้ ่าผิดก็ขืนทา ประกอบด้วยโลภะ โทสะ โมหะ ชื่อว่าทาด้วยปรารถนาเลว ฯ
(ปี 57) ภิกษุทะเลาะกันเรื่องสรรพคุณของยา จัดเป็ นวิวาทาธิกรณ์ได้หรือไม่? เพราะเหตุไร?
ตอบ ไม่ได้ ฯ เพราะวิวาทาธิกรณ์ มุ่งเฉพาะวิวาทปรารถพระธรรมวินัย ฯ
(ปี 51) วิวาทาธิกรณ์ คืออะไร? ระงับได้ดว้ ยอธิกรณสมถะข้อใดบ้าง?
ตอบ คือ การเถียงกันปรารภพระธรรมวินยั ฯ ด้วยสัมมุขาวินยั และเยภุยยสิกา ฯ
(ปี 49) ภิกษุ ๒ ฝ่ ายก่อวิวาทเพราะปรารถนาดีก็มี เพราะปรารถนาเลวก็มี อยากทราบว่าอย่างไรชื่อว่าก่อวิวาทเพราะปรารถนาดี อย่างไรชื่อว่า
ก่อวิวาท เพราะปรารถนาเลว?
ตอบ ผูใ้ ดตัง้ วิวาทเพราะเห็นแก่พระธรรมวินยั ผูน้ นั้ ชื่อว่าทาด้วยปรารถนาดี
ผูใ้ ดตัง้ วิวาทด้วยทิฐิมานะ แม้รูว้ า่ ผิดก็ขืนทา ผูน้ นั้ ชื่อว่าทาด้วยปรารถนาเลว ฯ
(ปี 49) ทิฏฐิ สามัญญตา ความเป็ นผูม้ ีความเห็นร่วมกันกับส่วนใหญ่ ไม่ถือแต่มติของตน เป็ นธรรมสร้างความสามัคคีในหมู่คณะ ภิกษุปฏิบตั ิ
อย่างไร จึงจะรักษาธรรมนัน้ ได้ ? ตอบ ปฏิบตั ิอย่างนีค้ ือ เคารพในพระศาสดา ในพระธรรมวินยั และเคารพในสงฆ์ผเู้ ป็ นเจ้าหน้าที่รกั ษาพระ
ธรรมวินยั สาคัญมติของสงฆ์นนั้ ว่า เป็ นเนตติอนั ตนควรเชื่อถือและทาตาม ผูป้ ฏิบตั ิเช่นนี ้ ย่อมรักษาทิฏฐิ สามัญญตานัน้ ไว้ได้ ฯ
(ปี 46) สัมมุขาวินยั สาหรับระงับวิวาทาธิกรณ์นนั้ มีวิธีอย่างไร?
15 | P a g e
อธิกรณ์ท่ภี ิกษุจะพึงยกขึน้ ว่านัน้ ต้องเป็ นเรื่องที่มมี ลู ก็เรื่องที่มลู นัน้ มีลกั ษณะเช่นไร?
ตอบ มีวิธีอย่างนี ้ คือ ๑. ด้วยการตกลงกันเอง ๒. ด้วยการตัง้ ผูว้ ินิจฉัย ๓. ด้วยอานาจแห่งสงฆ์ ฯ
มีลกั ษณะ ๓ ประการ คือ ๑. เรื่องที่ได้เห็นเอง ๒. เรื่องที่ได้ยินเอง หรือมีผบู้ อกและเชื่อว่าเป็ นจริง
๓. เรื่องที่เว้นจาก ๒ สถานนัน้ แต่รงั เกียจโดยอาการ ฯ
(ปี 44) วิวาทาธิกรณ์คืออะไร? วิวาทาธิกรณ์นนั้ ระงับด้วยอธิกรณสมถะกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ คืออธิกรณ์ท่เี กิดจากการทะเลาะกัน โต้เถียงกัน โดยปรารภพระธรรมวินยั
ด้วยอธิกรณสมถะ ๒ อย่างคือ ๑. สัมมุขาวินยั ๒. เยภุยยสิกา

อนุวาทาธิกรณ์ คือการโจทกันด้วยอาบัตินนั้ ๆ
(ปี 60, 50) อนุวาทาธิกรณ์เช่นไร อันภิกษุจะพึงยกขึน้ พิจารณาตัดสินได้ ?
ตอบ ต้องเป็ นเรื่องมีมลู คือ
เรื่องที่ได้เห็นเอง ๑
เรื่องที่ได้ยินเอง หรือมีผบู้ อกและเชื่อว่าเป็ นจริง ๑
เรื่องที่เว้นจาก ๒ สถานนัน้ แต่รงั เกียจโดยอาการ ๑ เช่นได้ยินว่า พัสดุช่ือนีข้ องผูม้ ชี ่ือนีห้ ายไป ได้พบพัสดุชนิดนัน้ ในที่อยูข่ องภิกษุช่ือนัน้ ฯ
(ปี 59) อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร ? เมื่อเกิดขึน้ ใครต้องขวนขวายเพื่อระงับ ? หากปล่อยไว้จะเกิดผลเสียอย่างไร ?
ตอบ คือการโจทกันด้วยอาบัตินนั้ ๆ ฯ ภิกษุผเู้ ป็ นประธานสงฆ์ พึงขวนขวายรีบระงับ ฯ
หากไม่รีบระงับจะทาให้เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็ นทางแตกเป็ นนานาสังวาส ฯ
(ปี 58) การโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติ ทาด้วยกายก็ได้ ด้วยวาจาก็ได้ อยากทราบว่า การโจทด้วยกายนัน้ ทาอย่างไร ?
ตอบ ทาโดยแสดงอาการไม่นบั ถือว่าเป็ นภิกษุ มีการไม่อภิวาทเป็ นต้น การเขียนหนังสือโจท ก็จดั ว่าเป็ นการโจทด้วยกาย ฯ
(ปี 58, 48) อธิกรณ์อนั สงฆ์วินิจฉัยแล้ว ฝ่ ายไม่ชอบใจ จักอุทธรณ์ต่อสงฆ์อื่นให้วินิจฉัยใหม่ได้หรือไม่ ? จงอธิบายพอเข้าใจ ตอบ ได้ก็มี ไม่ได้
ก็มี ฯ ตามสิกขาบทที่ ๓ แห่งสัปปาณวรรค ปาจิตติยกัณฑ์ โจทก์ก็ดี จาเลยก็ดี สงฆ์ก็ดี รูอ้ ยูว่ ่าอธิกรณ์นนั้ สงฆ์หมู่นนั้ วินิจฉัยเป็ นธรรมแล้ว ฟื ้ น
ขึน้ เพื่อวินิจฉัยใหม่ ต้องอาบัติปาจิตติยะ เป็ นอันอุทธรณ์ไม่ได้ แต่ถา้ เห็นว่าไม่เป็ นธรรม ฟื ้ นขึน้ ไม่เป็ นอาบัติ เป็ นอันอุทธรณ์ไ ด้ ฯ
(ปี 55) อนุวาทาธิกรณ์ คืออะไร? ระงับด้วยอธิกรณสมถะเท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ คือการโจทกันด้วยอาบัตินนั้ ๆฯ ระงับด้วยอธิกรณสมถะ ๔ อย่างคือ ๑.สัมมุขาวินยั ๒.สติวินยั ๓,อมูฬหวินยั ๔,ตัสสปาปิ ยสิกาฯ
(ปี 52) ภิกษุเสียสีลสามัญญตาเพราะประพฤติอย่างไร? พระบรมศาสดาทรงวางโทษไว้ให้สงฆ์ทากรรมอะไรแก่เธอ?
ตอบ เพราะต้องอาบัติแล้วไม่ยอมรับว่าเป็ นอาบัติ หรือไม่ยอมทาคืน ฯ ทรงวางโทษไว้ให้สงฆ์ทาอุกเขปนียกรรมแก่เธอ ฯ
(ปี 45) อนุวาทาธิกรณ์ท่เี กิดขึน้ แล้วไม่รีบระงับ มีผลเสียอย่างไร? ภิกษุผตู้ อ้ งอนุวาทาธิกรณ์ พึงปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ มีผลเสีย คือทาให้เสียสีลสามัญญตาและเสียสามัคคี เป็ นทางแตก เป็ นนานาสังวาส จนถึงเป็ นนานานิกาย ฯ
พึงปฏิบตั ิอย่างนี ้ คือ ๑. เคารพในผูพ้ ิจารณา ๒. ให้การตามความเป็ นจริง ๓. พึงเชื่อฟังและปฏิบตั ิตามคาวินิจฉัยของสงฆ์ ๔. ไม่ข่นุ เคืองฯ

อาปั ตตาธิกรณ์ คือการต้องอาบัติ การปรับอาบัติ และการแก้ไขตัวให้พน้ จากอาบัติ


(ปี 63, 60, 43) สัมมุขาวินยั มีองค์เท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ มีองค์ ๔ ฯ คือ ๑. ในที่พร้อมหน้าสงฆ์ ๒. ในที่พร้อมหน้าธรรม ๓. ในที่พร้อมหน้าวินยั ๔. ในที่พร้อมหน้าบุคคล ฯ
(ปี 62, 44) วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร ? ประกอบด้วยอะไรบ้าง ?
16 | P a g e
ตอบ แปลว่าระเบียบเป็ นเครื่องออกจากอาบัติ ฯ ประกอบด้วยปริวาส มานัต ปฏิกสั สนา และอัพภาน ฯ
(ปี 61, 45) ลักษณะการปกปิ ดอาบัตินนั้ พระอรรถกถาจารย์แสดงไว้กี่ประการ? อะไรบ้าง?
ตอบ แสดงไว้ ๑๐ ประการ ฯ
จัดเป็ น ๕ คู่ คือ ๑. เป็ นอาบัติ และรูว้ ่าเป็ นอาบัติ ๔. อาจอยู่ และรูว้ า่ อาจอยู่
๒. เป็ นปกตัตตะ และรูว้ ่าเป็ นปกตัตตะ ๕. ใคร่จะปิ ด และปิ ดไว้ ฯ
๓. ไม่มีอนั ตราย และรูว้ า่ ไม่มีอนั ตราย
(ปี 60, 54) วุฏฐานวิธีหมายถึงอะไร? ในการทาวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนัน้ ต้องการสงฆ์จานวนเท่าไรเป็ นอย่างน้อย?
ตอบ หมายถึง ระเบียบวิธีเป็ นเครื่องออกจากอาบัติสงั ฆาทิเสส ฯ
อัพภาน ต้องการสงฆ์ ๒๐ รูปเป็ นอย่างน้อย นอกนัน้ ต้องการตัง้ แต่ ๔ รูปขึน้ ไป ฯ
(ปี 58) รัตติเฉท คืออะไร ? รัตติเฉทของภิกษุผปู้ ระพฤติมานัต มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือการขาดราตรี ฯ มี ๔ อย่าง ฯ คือ ๑. สหวาโส อยู่รว่ ม ๒. วิปปฺ วาโส อยู่ปราศ ๓. อนาโรจนา ไม่บอก
๔. อูเน คเณ จรณ ประพฤติในคณะอันพร่อง ฯ
(ปี 57) ภิกษุผปู้ รารถนาความตัง้ อยู่ย่งั ยืนของพระธรรมวินยั ควรปฏิบตั ิตนอย่างไร?
ตอบ ควรตัง้ อยู่ในสีลสามัญญตา ทิฏฐิ สามัญญตา และลัชชีธรรม สารวมในพระปาติโมกข์ ประกอบด้วยอาจาระและโคจระ เห็นภัยในโทษแม้
เพียงเล็กน้อย สาเหนียกศึกษาในสิกขาบททัง้ หลาย ฯ
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้ ก. ปริวาส ข. อัพภาน
ตอบ ก. ได้แก่ การประพฤติวตั รพิเศษอย่างหนึง่ เท่าจานวนวันที่ภิกษุผตู้ อ้ งอาบัติสงั ฆาทิเสสแล้วปกปิ ดไว้ ฯ
ข. ได้แก่ การที่สงฆ์สวดระงับอาบัติสงั ฆาทิเสส ฯ
(ปี 53) ติณวัตถารกวินยั มีอธิบายอย่างไร? ใช้ระงับอธิกรณ์อะไร?
ตอบ อธิบายว่า กิรยิ าที่ให้ประนีประนอมกันทัง้ ๒ ฝ่ าย ไม่ตอ้ งชาระสะสางหาความเดิม เป็ นดังกลบไว้ดว้ ยหญ้า ฯ ใช้ระงับอาปัตตาธิกรณ์
ที่ย่งุ ยากยืดเยือ้ ไม่รูจ้ บและเป็ นเรื่องสาคัญอันจะเป็ นเครื่องกระเทือนทั่วไป เว้นครุกาบัติและอาบัตทิ ่เี นื่องด้วยคฤหัสถ์ ฯ
(ปี 52) อาปัตตาธิกรณ์ระงับในสานักบุคคลด้วยอธิกรณสมถะอะไร? และระงับในสานักสงฆ์ดว้ ยอธิกรณสมถะอะไร?
ตอบ ระงับในสานักบุคคลด้วยปฏิญญาตกรณะ ฯ ระงับในสานักสงฆ์ ถ้าเป็ นครุกาบัติ ด้วยสัมมุขาวินยั และปฏิญญาตกรณะ ถ้าเป็ น
ลหุกาบัติ ด้วยสัมมุขาวินยั และติณวัตถารกะ ฯ
(ปี 52) อันตราบัติ คืออาบัติอะไร? ภิกษุจะต้องอาบัตินไี ้ ด้ในเวลาไหนบ้าง?
ตอบ คือ อาบัติสงั ฆาทิเสสที่ตอ้ งในระหว่างประพฤติวฏุ ฐานวิธี ฯ ภิกษุจะต้องอาบัตินไี ้ ด้ในระหว่างที่กาลังอยู่ปริวาส หรืออยู่ปริวาสแล้วเป็ น
มานัตตารหะ กาลังประพฤติมานัตอยุ่ หรือประพฤติมานัตแล้ว เป็ นอัพภานารหะ ฯ
(ปี 51) พระอรรถกถาจารย์แสดงลักษณะปกปิ ดอาบัติสงั ฆาทิเสสไว้เป็ น ๕ คู่อย่างไรบ้าง ?
ตอบ แสดงไว้ ๕ คู่ ดังนี ้ ๑. เป็ นอาบัติ และรูว้ ่าเป็ นอาบัติ ๔. อาจอยู่ และรูว้ า่ อาจอยู่
๒. เป็ นปกตัตตะ และรูว้ ่าเป็ นปกตัตตะ ๕. ใคร่จะปิ ด และปิ ดไว้ ฯ
๓. ไม่มีอนั ตราย และรูว้ า่ ไม่มีอนั ตราย
(ปี 51) รัตติเฉท หมายถึงอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ หมายถึง การขาดราตรีแห่ง (การประพฤติ) มานัต ฯ มี ๑. อยู่รว่ ม ๒. อยู่ปราศ ๓. ไม่บอก ๔. ประพฤติในคณะอันพร่อง ฯ
(ปี 48) ปริวาส คืออะไร? มานัต คืออะไร?
17 | P a g e
ตอบ ปริวาส คือ การประพฤติวตั รพิเศษอย่างหนึ่งเท่าจานวนวันที่ปกปิ ดอาบัติไว้ ก่อนจะประพฤติมานัตต่อไป ฯ
มานัต คือ การประพฤติวตั รพิเศษอย่างหนึ่ง เป็ นเวลา ๖ ราตรี เพื่อออกจากอาบัติสงั ฆาทิเสส ฯ
(ปี 47) เมื่อมุ่งถึงพระพุทธบัญญัติ ภิกษุผไู้ ด้ช่ือว่าปฏิบตั ิเพื่อความตัง้ อยู่ย่งั ยืนแห่งพระธรรมวินยั ควรปฏิบตั ิเช่นไร?
ตอบ ควรปฏิบตั ิอย่างนี ้ คือ ตัง้ อยู่ในลัชชีธรรม ใคร่ความบริสทุ ธิ์ อาบัติท่ไี ม่ควรต้องอย่าต้อง อาบัติท่ตี อ้ งแล้ว พึงทาคืนเสีย เช่นนีจ้ กั เป็ นผูม้ ี
ศีลเสมอด้วยสพรหมจารีทงั้ หลาย ชื่อว่าปฏิบตั ิเพื่อความตัง้ อยู่ย่งั ยืนแห่งพระธรรมวินยั ฯ
(ปี 44) วุฏฐานวิธี แปลว่าอะไร? ประกอบด้วยอะไรบ้าง? ในการทาวุฏฐานวิธีแต่ละอย่างนัน้ ต้องการสงฆ์จานวนเท่าไร?
ตอบ แปลว่าระเบียบเป็ นเครื่องออกจากอาบัติ ฯ ประกอบด้วย ปริวาส มานัต ปฏิกสั สนา และอัพภาน ฯ
การให้ปริวาส ให้มานัต และทาปฏิกสั สนาต้องการสงฆ์จตุวรรค การให้อพั ภาน ต้องการสงฆ์วีสติวรรค ฯ
(ปี 43) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้ ๑. ปฏิจฉันนาบัติ ๒. อันตราบัติ
ตอบ ๑. ปฏิจฉันนาบัติ หมายถึง อาบัติท่ีภิกษุตอ้ งแล้วปกปิ ดไว้
๒. อันตราบัติ หมายถึง อาบัติสงั ฆาทิเสสที่ภิกษุตอ้ งเข้าอีกระหว่างประพฤติวฏุ ฐานวิธี

กิจจาธิกรณ์ว่าด้วยนิคหกรรม [กิจจาธิกรณ์ คือกิจธุระต่างๆ ทีส่ งฆ์จะต้องทํา เช่น ให้อุปสมบท ให้ผ้ากฐิน]


(ปี 63) ภิกษุประพฤติผิดธรรมวินยั อย่างไร จึงทรงอนุญาตให้สงฆ์ลงอุกเขปนียกรรมได้ ?
ตอบ ประพฤติผิดอย่างนี ้ คือ ไม่เห็นอาบัติ ไม่ทาคืนอาบัติ หรือไม่สละทิฏฐิ บาป ฯ
(ปี 61) กิจจาธิกรณ์และนิคคหะ คืออะไร ?
ตอบ กิจจาธิกรณ์ คือ กิจอันจะพึงทาด้วยประชุมสงฆ์ ต่างโดย เป็ นอปโลกนกรรม ญัตติกรรม ญัตติทตุ ิยกรรม ญัตติจตุตถกรรม
นิคคหะ คือ การข่ม เป็ นกิจอย่างหนึ่งแห่งผูป้ กครองหมู่ ฯ
(ปี 59, 50) ในทางพระวินยั การคว่าบาตรหมายถึงอะไร? และจะหงายบาตรได้ เมื่อไร ?
ตอบ หมายถึง การไม่ให้คบค้าสมาคมด้วยลักษณะ ๓ ประการ คือ
๑. ไม่รบั บิณฑบาตของเขา ๒. ไม่รบั นิมนต์ของเขา ๓. ไม่รบั ไทยธรรมของเขา ฯ
เมื่อผูถ้ กู คว่าบาตรนัน้ เลิกกล่าวติเตียนพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็ นต้นนัน้ แล้ว กลับประพฤติดี พึงหงายบาตรแก่เขาได้ ฯ
(ปี 57) อุกเขปนียกรรม และ นิยสกรรม สงฆ์พึงลงแก่ภิกษุเช่นไร?
ตอบ อุกเขปนียกรรม พึงลงแก่ภิกษุไม่เห็นอาบัติ ผูไ้ ม่ทาคืนอาบัติ หรือผูไ้ ม่สละทิฏฐิ บาป
นิยสกรรม พึงลงแก่ภิกษุผมู้ ีอาบัติมาก หรือคลุกคลีกบั คฤหัสถ์ดว้ ยการคลุกคลีอนั ไม่ควร ฯ
(ปี 54) ตัชชนียกรรมและตัสสปาปิ ยสิกากรรม กรรมไหนสาหรับลงโทษแก่ภิกษุผเู้ ป็ นโจทก์? กรรมไหนสาหรับลงโทษแก่ภิกษุผเู้ ป็ นจาเลย?
เพราะประพฤติบกพร่องอย่างไร?
ตอบ ตัชชนียกรรมสาหรับลงโทษแก่ภิกษุผเู้ ป็ นโจทก์ เพราะจงใจหาความเท็จใส่ภิกษุอื่น ก่ออธิกรณ์ขนึ ้ ในสงฆ์
ตัสสปาปิ ยสิกากรรมสาหรับลงโทษแก่ภิกษุผเู้ ป็ นจาเลย เพราะเป็ นผูจ้ งใจปกปิ ดความประพฤติเสียหายของตนด้วยการให้การเท็จ ฯ
(ปี 49) การทากรรมมีตชั ชนียกรรมเป็ นต้นแก่ภิกษุหรือคฤหัสถ์ ควรปฏิบตั ิอย่างไรจึงจะไม่เป็ นทางนามาซึ่งความแตกสามัคคี ?
ตอบ พึงตัง้ อยู่ในมัตตัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั ประมาณ กาลัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั กาล ปุค คลัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั บุคคล ดาริโดย
รอบคอบแล้วจึงทา ไม่พึงใช้อานาจที่ประทานไว้ เป็ นทางนามาซึง่ ความแตกสามัคคี เช่น พวกภิกษุชาวโกสัมพีได้ทามาแล้ว ฯ
(ปี 45) ภิกษุผเู้ ป็ นโจทก์ จงใจหาความเท็จใส่ภิกษุอื่น และภิกษุผเู้ ป็ นจาเลย จงใจปกปิ ดความประพฤติเสียของตนด้วยให้การเท็จ สงฆ์พึง
นิคคหะด้วยกรรมอะไร? ตอบ สงฆ์พึงทา ตัชชนียกรรม แก่ภิกษุผเู้ ป็ นโจทก์ และตัสสปาปิ ยสิกากรรม แก่ภิกษุผเู้ ป็ นจาเลย ฯ
18 | P a g e
(ปี 43) การคว่าบาตรในทางพระวินยั มีความหมายว่าอย่างไร? การคว่าบาตรนี ้ สงฆ์ทาแก่ผปู้ ระพฤติเช่นไร? บอกมา ๓ ข้อ
ตอบ มีความหมายว่าไม่ให้คบค้าสมาคมด้วยลักษณะ ๓ ประการคือ ๑) ไม่รบั บิณฑบาตของเขา ๒) ไม่รบั นิมนต์ของเขา ๓) ไม่รบั ไทยธรรม
ของเขา
ทาแก่คฤหัสถ์ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๑. ขวนขวายเพื่อไม่ใช่ลาภแห่งภิกษุทงั้ หลาย ๕. ยุยงภิกษุทงั้ หลายให้แตกกัน
๒. ขวนขวายเพื่อไม่ใช่ประโยชน์แห่งภิกษุทงั้ หลาย ๖. กล่าวติเตียนพระพุทธ
๓. ขวนขวายเพื่ออยู่ไม่ได้แห่งภิกษุทงั้ หลาย ๗. กล่าวติเตียนพระธรรม
๔. ด่าว่าเปรียบเปรยภิกษุทงั้ หลาย ๘. กล่าวติเตียนพระสงฆ์

สังฆเภทและสังฆสามัคคี
(ปี 50) สังฆราชี คืออะไร?
ตอบ คือ การที่ภิกษุแตกกันเป็ น ๒ ฝ่ าย เพราะมีความเห็นปรารภ พระธรรมวินยั ผิดแผกกันจนเกิดเป็ นวิวาทาธิกรณ์ขนึ ้ หรือมีความปฏิบตั ิไม่
สม่าเสมอกัน ยิ่งหย่อนกว่ากัน เกิดรังเกียจกันขึน้ แต่ยงั ไม่แยกทาอุโบสถปวารณาหรือสังฆกรรมอืน่ ฯ
(ปี 43) ใครเป็ นผูท้ าลายสงฆ์ให้แตกกัน หรือเป็ นผูข้ วนขวายเพื่อทาลายสงฆ์ได้?
เหตุท่สี งฆ์จะแตกกันมีอะไรบ้าง? จะป้องกันได้ดว้ ยวิธีอย่างไร?
ตอบ ภิกษุผปู้ กตัตตะเป็ นสมานสังวาส อยูใ่ นสีมาเดียวกันเท่านัน้ ย่อมอาจทาลายสงฆ์ให้แตกกันเป็ นก๊กเป็ นพวกได้ นางภิกษุณี สิกขมานา
สามเณร สามเณรี อุบาสก อุบาสิกา หาอาจทาลายสงฆ์ให้แตกกันได้ไม่ เป็ นได้เพียงขวนขวายเพื่อทาลายสงฆ์เท่านัน้ ฯ
มี ๒ อย่างคือ
๑. มีความเห็นปรารภพระธรรมวินยั แตกต่างกันจนเกิดเป็ นอธิกรณ์
๒. ความประพฤติปฏิบตั ิไม่เสมอกัน ยิ่งหย่อนกว่ากันแล้วเกิดความรังเกียจกันขึน้
จะป้องกันได้ดว้ ย ๒ วิธีคือ
๑. ต้องส่งเสริมและกวดขันการศึกษาพระธรรมวินยั ให้มีความเห็นชอบเหมือนกัน
๒. ต้องส่งเสริมและกวดขันความประพฤติของภิกษุทงั้ หลายให้เสมอกัน ไม่ให้เป็ นทางรังเกียจกัน

ลาสิกขา
(ปี 50) ภิกษุเมื่อลาสิกขา ต้องทาเป็ นกิจลักษณะด้วยการกล่าวคาปฏิญญาตนเป็ นผูอ้ ื่นจากภิกษุตอ่ หน้าใครได้บา้ ง? และทาอย่างไรจึงเป็ น
กิจลักษณะ?
ตอบ ต่อหน้าภิกษุดว้ ยกันหรือคนอื่นจากภิกษุก็ได้ ฯ
ปฏิญญาอย่างนี ้ คือ
พร้อมด้วยจิต คือทาด้วยตัง้ ใจเพื่อลาสิกขาจริง ๆ
พร้อมด้วยกาล คือด้วยคาเด็ดขาด ไม่ใช่ราพึง ไม่ใช่ปริกปั
พร้อมด้วยประโยค คือปฏิญญาด้วยตนเอง
พร้อมด้วยบุคคล คือผูป้ ฏิญญาและผูร้ บั ปฏิญญาเป็ นคนปกติ
พร้อมด้วยความเข้าใจ คือผูร้ บั ปฏิญญาเข้าใจคานัน้ ในทันที ฯ
19 | P a g e
นาสนา
(ปี 61, 55) นาสนา คืออะไร? บุคคลเช่นไรที่ทรงอนุญาตให้นาสนา?
ตอบ คือ การยังบุคคลผูไ้ ม่สมควรถือเพศภิกษุและสามเณร ให้สละเพศเสีย ฯ
บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามี ๓ ประเภท คือ ๑. ภิกษุตอ้ งอันเติมวัตถุแล้วยังปฏิญญาตนเป็ นภิกษุ
๒.บุคคลผูอ้ ปุ สมบทไม่ขึน้ ได้รบั อุปสมบทแต่สงฆ์ ๓.สามเณรผูป้ ระกอบด้วยองค์ ๑๐ ข้อใดข้อหนึ่ง เช่นเป็ นผูม้ กั ผลาญชีวิตสัตว์ เป็ นต้น ฯ
(ปี 53) ลิงคนาสนา คืออะไร? บุคคลที่ทรงพระอนุญาตให้ทาลิงคนาสนามีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ คือ การให้ฉิบหายเสียจากเพศ ฯ มี ๓ ประเภท ฯ
คือ ภิกษุตอ้ งอันติมวัตถุแล้ว ยังปฏิญญาตนเป็ นภิกษุ ๑ บุคคลผูอ้ ปุ สมบทไม่ขึน้ ได้รบั อุปสมบทแต่สงฆ์ ๑
สามเณรผูป้ ระกอบด้วยองค์ ๑๐ มีเป็ นผูม้ กั ผลาญชีวติ เป็ นต้น ๑ ฯ
(ปี 47) การทานาสนา คือการทาเช่นไร? บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามีกี่ประเภท? ใครบ้าง?
ตอบ คือการยังบุคคลผูไ้ ม่ควรถือเพศ ให้ละเพศเสีย ฯ
บุคคลที่ทรงอนุญาตให้นาสนามี ๓ ประเภท คือ ๑. ภิกษุผตู้ อ้ งอันติมวัตถุแล้ว ยังปฏิญญาตนเป็ นภิกษุ
๒. บุคคลผูอ้ ปุ สมบทไม่ขึน้ ได้รบั อุปสมบทแต่สงฆ์ ๓. สามเณรผูป้ ระกอบด้วยองค์ ๑๐ ข้อใดข้อหนึ่ง เช่นเป็ นผูม้ กั ผลาญชีวิตสัตว์เป็ นต้นฯ

ให้ทอ่ งบทสวดไปสอบ
➢ คําทักนิมติ ( *** แนะนําให้ท่อง และฝึ กเขียนให้ได้ทกุ ทิศ เพราะออกข้อสอบบ่อย )
ในทิศตะวันออก ว่าดังนี้ " ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมิตตฺ "ํ แปลว่า " ในทิศตะวันออก อะไรเป็ นนิมติ . "
ในทิศตะวันออกเฉียงใต้ ว่าดังนี ้ " ปุรตฺถิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตตฺ " แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันออก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศใต้ ว่าดังนี ้ " ทกฺขิณาย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า" ในทิศใต้ อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงใต้ ว่าดังนี้ " ทุกขฺ ิณาย อนุทิ สาย กึ นิมิตฺต"ํ แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศใต้ อะไรเป็ นนิมติ . "
ในทิศตะวันตก ว่าดังนี ้ " ปจฺฉิมาย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศตะวันตก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ว่าดังนี ้ " ปจฺฉิมาย อนุทิสาย กึ นิมิตตฺ " แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศตะวันตก อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศเหนือ ว่าดังนี ้ " อุตฺตราย ทิสาย กึ นิมิตฺต" แปลว่า " ในทิศเหนือ อะไรเป็ นนิมิต . "
ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ว่าดังนี้ " อุตฺตราย อนุทสิ าย กึ นิมิตตฺ "ํ แปลว่า " ในทิศน้อยแห่งทิศเหนือ อะไรเป็ นนิมติ . "
(ปี 59, 46) การทักนิมิตในทิศทัง้ ๘ นัน้ ทักทิศละหนถูกต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร? จงเขียนคาทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มาดู?
ตอบ ไม่ถกู ต้องฯ ที่ถกู ต้องนัน้ เมื่อเริ่มต้นทักนิมิตในทิศบูรพาแล้ว ทักมาโดยลาดับจนถึงนิมิตสุด ต้องวนไปทักนิมติ ในทิศบูรพาซา้ อีก ฯ คา
ทักนิมิตในทิศตะวันออกเฉียงเหนือว่าดังนี ้ “ อุตฺตราย อนุทิสาย กึ นิมิตฺต ” ฯ
(ปี 56) นิมิตรอบโรงอุโบสถ มีความสาคัญอย่างไร? คาทักนิมติ ในทิศตะวันออกว่าอย่างไร?
ตอบ มีความสาคัญ คือใช้เป็ นเครื่องหมายเพื่อกาหนดเขตสีมาสาหรับทาสังฆกรรม ฯ
คาทักนิมติ ในทิศตะวันออกว่า “ปุรตฺถิมาย ทิสาย กึ นิมติ ฺต” ฯ
(ปี 53) นิมิตที่อยู่รอบโรงอุโบสถ มีไว้เพื่อประโยชน์อะไร? จงเขียนคาทักนิมติ ในทิศตะวันตกเฉียงใต้มาดู?
ตอบ มีไว้เพื่อเป็ นเครื่องหมายกาหนดเขตการทาสังฆกรรม ฯ ทกฺขิณาย อนุทิสาย กึ นิมติ ฺตฯ

20 | P a g e
➢ คําอนุโมทนากฐิน
(ปี 59, 56) กรานกฐิ น ได้แก่การทาอย่างไร ? จงเขียนคาอนุโมทนากฐิ นมาดู
ตอบ ได้แก่ เมื่อมีผา้ เกิดขึน้ แก่สงฆ์ในเดือนท้ายฤดูฝน พอจะทาเป็ นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่งได้ สงฆ์พร้อมใจกันยกให้แก่ภิกษุรูปหนึ่งผูเ้ หมาะสม
ภิกษุ ผูไ้ ด้รบั ผ้านัน้ นาไปทาเป็ นจีวรผืนใดผืนหนึ่งให้แล้วเสร็จในวันนัน้ แล้วมา บอกแก่ภิ กษุผยู้ กผ้านัน้ ให้ เพื่ออนุโมทนา ภิกษุเหล่านัน้
อนุโมทนา ทัง้ หมดนีค้ ือกรานกฐิน ฯ คาอนุโมทนากฐิ นว่า อตฺถต ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐิ น ธมฺมิโก กฐิ นตฺถาโร อนุโมทามิ ฯ
➢ คําขออุปสมบท
(ปี 55) จงเขียนคาขออุปสมบทมา
ตอบ สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปท ยาจามิ อุลฺลมุ ฺปตุ ม ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺป อุปาทาย
ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆ อุปสมฺปท ยาจามิ อุลฺลมุ ฺปตุ ม ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺป อุปาทาย
ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆ อุปสมฺปท ยาจามิ อุลฺลมุ ฺปตุ ม ภนฺเต, สงฺโฆ อนุกมฺป อุปาทาย ฯ

พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (**ควรท่องจําทุกมาตราให้ได้ เพราะผู้สอบมักทําเรื่องนีไ้ ม่ได้กัน**)


พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ใหม่สดๆ ร้อนๆ …. มาตราที่มเี ครื่องหมายดอกจัน (*) อยู่ขา้ งหน้า

มาตรา ๕ ทวิ ในพระราชบัญญัตินี ้


คณะสงฆ์ หมายความว่า บรรดาพระภิกษุท่ไี ด้รบั บรรพชาอุปสมบทจากพระอุปชฌาย์ตามพระราชบัญญัตินี ้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บงั คับก่อน
พระราชบัญญัตินี ้ ไม่ว่าจะปฏิบตั ศิ าสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร
คณะสงฆ์อื่น หมายความว่า บรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย
พระราชาคณะ หมายความว่า พระภิกษุท่ไี ด้รบั แต่งตัง้ และสถาปนาให้มีสมณศักดิ์ตงั้ แต่ชนั้ สามัญจนถึงขัน้ สมเด็จพระราชาคณะ
สมเด็จพระราชาคณะผูม้ ีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ หมายความว่า สมเด็จพระราชาคณะที่ได้รบั สถาปนาก่อนสมเด็จพระราชาคณะรูปอื่น ถ้า
ได้รบั สถาปนาในวันเดียวกันให้ถือรูปที่ได้รบั สถาปนาในลาดับก่อน

* มาตรา ๕ ตรี เพื่อให้การอุปถัมภ์และคุม้ ครองพระพุทธศาสนา ตลอดจนการดูแลการปกครองคณะสงฆ์เป็ นไปเพื่อส่งเสริมการเผยแผ่


หลักธรรมของพระพุทธศาสนาให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปั ญญา และมีการรักษาพระธรรมวินยั ของคณะสงฆ์ให้เป็ นไปอย่างถูกต้องดีงามโดย
เคร่งครัด เป็ นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่พทุ ธศาสนิกชนทั่วไป พระมหากษัตริยจ์ ึงทรงไว้ซง่ึ พระราชอานาจในการแต่งตัง้ สถาปนา และถอดถอนสมณ
ศักดิ์ของพระภิกษุในคณะสงฆ์ และแต่งตัง้ กรรมการมหาเถรสมาคมตามพระราชบัญญัตินี ้

มาตรา ๖ ให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินแี ้ ละให้มี อานาจออก กฎกระทรวงเพื่อปฏิบตั ิการให้เป็ นไป


ตามพระราชบัญญัตินี ้ กฎกระทรวงนัน้ เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บงั คับได้

21 | P a g e
หมวด ๑ สมเด็จพระสังฆราช
มาตรา ๗ พระมหากษัตริยท์ รงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์หนึ่ง และให้นายกรัฐมนตรีลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา ๙ ในกรณีท่สี มเด็จพระสังฆราชทรงลาออกจากตาแหน่ง หรือพระมหากษัตริยท์ รงพระกรุณาโปรดให้ออกจากตาแหน่ง


พระมหากษัตริยจ์ ะทรงแต่งตัง้ ให้เป็ นที่ปรึกษาของสมเด็จพระสังฆราช หรือตาแหน่งอื่นใดตามพระราชอัธยาศัยก็ได้
* มาตรา ๑๐ ในเมื่อไม่มีสมเด็จพระสังฆราช ให้สมเด็จพระราชาคณะผูม้ ีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์เป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช
ถ้าสมเด็จพระราชาคณะผูม้ ีอาวุโสสูงสุดโดยสมณศักดิ์ไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ ให้กรรมการมหาเถรสมาคมที่เหลืออยู่เลือกสมเด็จ
พระราชาคณะรูปหนึ่งผูม้ ีอาวุโสโดยสมณศักดิ์รองลงมาตามลาดับและสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ เป็ นผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราช
ในเมื่อสมเด็จพระสังฆราชไม่ประทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือไม่อาจทรงปฏิบตั ิหน้าที่ได้ สมเด็จพระสังฆราชจะได้ทรงแต่งตัง้ ให้
สมเด็จพระราชาคณะรูปใดรูปหนึง่ ปฏิบตั ิหน้าที่แทน

ในกรณีท่สี มเด็จพระสังฆราชมิได้ทรงแต่งตัง้ ผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่แทนตามวรรคสาม หรือสมเด็จพระราชาคณะซึ่งได้รบั แต่งตัง้ ให้ปฏิบตั ิหน้าที่แทน


สมเด็จพระสังฆราชไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชได้ ให้นาความในวรรคหนึง่ และวรรคสองมาใช้บงั คับโดยอนุโลม
ในการแต่งตัง้ ผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชตามมาตรานี ้ ถ้าสมเด็จพระสังฆราชทรงเห็นเป็ นการสมควรสาหรับกรณีท่มี เี หตุตาม
วรรคสาม หรือกรรมการมหาเถรสมาคมที่เหลืออยู่เห็นเป็ นการสมควรสาหรับกรณีท่มี เี หตุตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสี่ อาจพิจารณา
เลือกสมเด็จพระราชาคณะหลายรูปที่สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ได้ เพื่อให้เป็ นคณะผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชแทนผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่ตามวรรค
หนึ่ง หรือแทนการดาเนินการตามวรรคสอง วรรคสาม หรือวรรคสีแ่ ล้วแต่กรณี ได้ และจะให้มีผชู้ ว่ ยหรือที่ปรึกษาในการปฏิบตั ิหน้าที่ดงั กล่ าว
ด้วยก็ได้ วิธีดาเนินการของคณะผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชให้เป็ นไปตามที่คณะผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชกาหนด
เมื่อมีการแต่งตัง้ หรือเลือกผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่หรือคณะผูป้ ฏิบตั ิหน้าที่สมเด็จพระสังฆราชตามมาตรานีแ้ ล้ว ให้นายกรัฐมนตรีนาความ
กราบบังคมทูลทราบฝ่ าละอองธุลีพระบาท
ความในมาตรานีไ้ ม่กระทบกระเทือนพระราชอานาจที่จะทรงพระกรุณาโปรด หรือมีพระราชวินิจฉัยให้ปฏิบตั ิเป็ นประการอื่น

มาตรา ๑๑ สมเด็จพระสังฆราชพ้นจากตาแหน่ง เมื่อ


(๑) มรณภาพ
(๒) พ้นจากความเป็ นพระภิกษุ
(๓) ลาออก
(๔) ทรงพระกรุณาโปรดให้ออก

หมวด ๒ มหาเถรสมาคม
*มาตรา ๑๒ มหาเถรสมาคมประกอบด้วย สมเด็จพระสังฆราชซึง่ ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง และกรรมการอื่นอีกไม่เกิน
ยี่สิบรูปซึ่งพระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้ จากสมเด็จพระราชาคณะพระราชาคณะ หรือพระภิกษุซง่ึ มีพรรษาอันสมควร และมีจริยวัตรในพระธรรม
วินยั ที่เหมาะสมแก่การปกครองคณะสงฆ์
การแต่งตัง้ ตามวรรคหนึง่ และการดาเนินการตามมาตรา ๑๕ (๔) และวรรคสอง ให้เป็ นไปตามพระราชอัธยาศัย โดยจะทรง
ปรึกษาหารือกับสมเด็จพระสังฆราชก่อนก็ได้
22 | P a g e
มาตรา ๑๓ ให้อธิบดีกรมการศาสนาเป็ นเลขาธิการมหาเถรสมาคม โดยตาแหน่ง และให้กรมการศาสนาทาหน้าที่สานักเลขาธิการมหาเถร
สมาคม

* มาตรา ๑๔ กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งพระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้ อยูใ่ นตาแหน่งคราวละสองปี และอาจได้รบั การแต่งตัง้ อีกได้

* มาตรา ๑๕ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๔ กรรมการมหาเถรสมาคมซึง่ พระมหากษัตริยท์ รงแต่งตัง้ พ้นจากตาแหน่ง


เมื่อ
(๑) มรณภาพ
(๒) พ้นจากความเป็ นพระภิกษุ
(๓) ลาออก
(๔) พระมหากษัตริยม์ ีพระบรมราชโองการให้ออก
ในกรณีท่กี รรมการมหาเถรสมาคมพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ พระมหากษัตริยอ์ าจทรงแต่งตัง้ พระภิกษุตามมาตรา ๑๒ รูปใดรูปหนึ่ง
เป็ นกรรมการแทน กรรมการซึ่งได้รบั แต่งตัง้ ตามความในวรรคสองให้อยูใ่ นตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผูซ้ ่งึ ตนแทน

* มาตรา ๑๕ ทวิ พระบรมราชโองการตามมาตรา ๑๐ วรรคเจ็ด การแต่งตัง้ กรรมการมหาเถรสมาคมตามมาตรา ๑๒ และการให้กรรมการ


มหาเถรสมาคมพ้นจากตาแหน่งตามมาตรา ๑๕ ให้นายกรัฐมนตรีเป็ นผูล้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

มาตรา ๑๕ ตรี มหาเถรสมาคมมีอานาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี ้


(๑) ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็ นไปโดยเรียบร้อยดีงาม
(๒) ปกครองและกาหนดการบรรพชาสามเณร
(๓) ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษา สงเคราะห์ การเผยแผ่ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์
(๔) รักษาหลักพระธรรมวินยั ของพระพุทธศาสนา
(๕) ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นๆ ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี ้ หรือกฎหมายอื่น
เพื่อการนีใ้ ห้มหาเถรสมาคมมีอานาจตรากฎมหาเถรสมาคม ออกข้อบังคับ วางระเบียบ ออกคาสั่ง มีมติหรือออกประกาศ โดยไม่ขดั หรือแย้ง
กับกฎหมายและพระธรรมวินยั ใช้บงั คับได้ และจะมอบให้พระภิกษุรูปใดหรือคณะกรรมการหรือคณะอนุกรรมการตามมาตรา ๑๙ เป็ นผูใ้ ช้
อานาจหน้าที่ตามวรรคหนึ่งก็ได้

มาตรา ๑๕ จัตวา เพื่อรักษาหลักพระธรรมวินยั และเพื่อความเรียบร้อยดีงามของคณะสงฆ์ มหาเถรสมาคมจะตรากฎมหาเถรสมาคม เพื่อ


กาหนดโทษหรือวิธีลงโทษทางการปกครองสาหรับพระภิกษุและสามเณรที่ประพฤติให้เกิดความเสียหายแก่พระศาสนา และการปกครองของ
คณะสงฆ์ก็ได้
พระภิกษุและสามเณรที่ได้รบั โทษตามวรรคหนึง่ ถึงขัน้ ให้สละสมณเพศต้องสึกภายในสามวันนับแต่วนั ทราบคาสั่งลงโทษ

หมวด ๓ การปกครองคณะสงฆ์
มาตรา ๒๐ คณะสงฆ์ตอ้ งอยู่ภายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคม
23 | P a g e
* มาตรา ๒๐/๑ เพื่อประโยชน์แก่การปกครองคณะสงฆ์ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้มีเจ้าคณะใหญ่ปฏิบตั ิหน้าที่ในเขตปกครองคณะสงฆ์
ภายใต้บงั คับมาตรา ๒๐/๒ การแต่งตัง้ และการกาหนดอานาจหน้าที่เจ้าคณะใหญ่ ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดใน
กฎมหาเถรสมาคม

* มาตรา ๒๐/๒ การแต่งตัง้ และถอดถอนเจ้าคณะใหญ่และเจ้าคณะภาค หากมีพระราชดาริเป็ นประการใด ให้ดาเนินการไปตามพระราชดาริ


นัน้
สาหรับการแต่งตัง้ และถอดถอนพระภิกษุผดู้ ารงตาแหน่งปกครองคณะสงฆ์ตาแหน่งอื่น ให้ดาเนินการไปตามพระราชบัญญัตินี ้ เว้น
แต่จะมีพระราชดาริเป็ นประการอื่น

มาตรา ๒๑ การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ให้จดั แบ่งเขตปกครองดังนี ้


(๑) ภาค
(๒) จังหวัด
(๓) อาเภอ
(๔) ตาบล
จานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม

มาตรา ๒๒ การปกครองคณะสงฆ์ส่วนภูมิภาค ให้มีพระภิกษุเป็ นผูป้ กครองตามชัน้ ตามลาดับ ดังต่อไปนี ้


(๑) เจ้าคณะภาค
(๒) เจ้าคณะจังหวัด
(๓) เจ้าคณะอาเภอ
(๔) เจ้าคณะตาบล
เมื่อมหาเถรสมาคมเห็นสมควรจะจัดให้มีรองเจ้าคณะภาค รองเจ้าคณะจังหวัด รองเจ้าคณะอาเภอ และ รองเจ้าคณะตาบล เป็ นผูช้ ่วยเจ้า
คณะนัน้ ๆ ก็ได้

มาตรา ๒๓ การแต่งตัง้ ถอดถอนพระอุปัชฌาย์ เจ้าอาวาส รองเจ้าอาวาส ผูช้ ่วยเจ้าอาวาส พระภิกษุอนั เกี่ยวกับตาแหน่งปกครอง คณะสงฆ์
ตาแหน่งอื่น ๆ และไวยาวัจกร ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม

หมวด ๔ นิคหกรรมและการสละสมณเพศ
มาตรา ๒๔ พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมก็ต่อเมื่อกระทาการล่วงละเมิดพระธรรมวินยั และ นิคหกรรม ที่จะลงแก่พระภิกษุกต็ อ้ งเป็ น
นิคหกรรมตามพระธรรมวินยั

มาตรา ๒๕ ภาย ใต้บงั คับมาตรา ๒๔ มหาเถรสมาคมมีอานาจตรากฎมหาเถรสมาคม กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการปฏิบตั ิ เพื่อให้การลง


นิคหกรรมเป็ นไปโดยถูกต้อง สะดวก รวดเร็วและเป็ นธรรม และให้ถือว่า เป็ นการชอบด้วยกฎหมายที่มหาเถรสมาคมจะกาหนดในกฎมหาเถร
24 | P a g e
สมาคมให้มหาเถรสมาคม หรือ พระภิกษุผปู้ กครองสงฆ์ตาแหน่งใดเป็ นผูม้ ีอานาจลงนิคหกรรมแก่พระภิกษุผลู้ ่วง ละเมิดพระธรรมวินยั กับทัง้
การกาหนดให้การวินิจฉัยการลงนิคหกรรมให้เป็ นอันยุตใิ นชัน้ ใด ๆ นัน้ ด้วย

มาตรา ๒๖ พระภิกษุรูปใดล่วงละเมิดพระธรรมวินยั และได้มคี าวินิจฉัยถึงที่สดุ ให้ได้รบั นิคหกรรม ถ้าให้สกึ ต้องสึกภายในยี่สิบสี่ช่วั โมงนับ


แต่เวลาที่ได้ทราบคาวินจิ ฉัยนัน้

มาตรา ๒๗ เมื่อพระภิกษุรูปใดต้องด้วยกรณีขอ้ ใดข้อหนึง่ ดังต่อไปนี ้


(๑) ต้องคาวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ ให้รบั นิคหกรรมไม่ถงึ ให้สกึ แต่ไม่ยอมรับนิคหกรรมนัน้
(๒) ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินยั เป็ นอาจิณ
(๓) ไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึง่
(๔) ไม่มวี ดั เป็ นที่อยู่เป็ นหลักแหล่ง
ให้พระภิกษุรูปนัน้ สละสมณเพศตามหลักเกณฑ์ และวิธีการกาหนดในกฎมหาเถรสมาคม
พระภิกษุผตู้ อ้ งคาวินิจฉัยให้สละสมณเพศตามวรรคสอง ต้องสึกภายในสามวันนับแต่วนั ที่ได้รบั ทราบคาวินิจฉัยนัน้

มาตรา ๒๘ พระภิกษุรูปใดต้องคาพิพากษาถึงที่สดุ ให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ต้องสึกภายในสามวันนับแต่ วันที่คดีถึงที่สดุ

มาตรา ๒๙ พระภิกษุรูปใดถูกจับโดยต้องหาว่ากระทาความผิดอาญา เมื่อพนักงานสอบสวนหรือพนักงาน- อัยการไม่เห็นสมควรให้ปล่อย


ชั่วคราว และเจ้าอาวาสแห่งวัดที่พระภิกษุรูปนัน้ สังกัดไม่รบั มอบตัวไว้ควบคุม หรือพนักงานสอบสวนไม่เห็นสมควรให้เจ้าอาวาสรับตัวไป
ควบคุม หรือพระภิกษุรูปนัน้ มิได้สงั กัดในวัดใด วัดหนึ่ง ให้พนักงานสอบสวนมีอานาจจัดดาเนินการให้พระภิกษุรูปนัน้ สละสมณเพศเสียได้

มาตรา ๓๐ เมื่อจะต้องจาคุก กักขัง หรือขังพระภิกษุรูปใดตามคาพิพากษา หรือคาสั่งของศาลให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ผมู้ ีอานาจหน้าที่


ปฏิบตั ิการให้เป็ นไปตามคาพิพากษา หรือคาสั่งของศาลมีอานาจดาเนินการให้ พระภิกษุรูปนัน้ สละสมณเพศเสียได้ และให้รายงานให้ศาล
ทราบถึงการสละสมณเพศนัน้

หมวด ๕ วัด
มาตรา ๓๑ วัดมีสองอย่าง
(๑) วัดที่ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา
(๒) สานักสงฆ์
ให้วดั มีฐานะเป็ นนิติบคุ คล
เจ้าอาวาสเป็ นผูแ้ ทนของวัดในกิจการทั่วไป

มาตรา ๓๒ การสร้าง การตัง้ การรวม การย้าย การยุบเลิกวัด และการขอรับพระราชทาน


วิสงุ คามสีมา ให้ เป็ นไปตามวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง ในกรณียบุ เลิกวัด ทรัพย์สินของวัดที่ถกู ยุบเลิกให้ตกเป็ น ศาสนสมบัตกิ ลาง

25 | P a g e
มาตรา ๓๒ ทวิ วัดใดเป็ นวัดร้างที่ไม่มีพระภิกษุอยู่อาศัย ในระหว่างที่ยงั ไม่มีการยุบเลิกวัด ให้กรมการศาสนามีหน้าที่ปกครองดูแลรักษาวัด
นัน้ รวมทัง้ วัด ที่ธรณีสงฆ์ และทรัพย์สินของวัดนัน้ ด้วย
การยกวัดร้างขึน้ เป็ นวัดมีพระภิกษุอยู่จาพรรษา ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๓๓ ที่วดั และที่ซ่งึ ขึน้ ต่อวัด มีดงั นี ้


(๑) ที่วดั คือ ที่ซ่งึ ตัง้ วัด ตลอดจนเขตของวัดนัน้
(๒) ที่ธรณีสงฆ์ คือ ที่ซ่งึ เป็ นสมบัติของวัด
(๓) ที่กลั ปนา คือ ที่ซ่งึ มีผอู้ ทุ ิศแต่ผลประโยชน์ให้วดั หรือพระศาสนา

มาตรา ๓๔ การโอนกรรมสิทธิ์ท่วี ดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ให้กระทาได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ เว้นแต่เป็ นกรณีตามวรรคสอง


การโอนกรรมสิทธิ์ท่วี ดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ให้แก่ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจหรือหน่วยงานอื่น ของรัฐ เมื่อมหาเถร
สมาคมไม่ขดั ข้องและได้รบั ค่าผาติกรรมจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานนัน้ แล้ว ให้กระทาโดยพระราชกฤษฎีกา
ห้ามมิให้บคุ คลใดยกอายุความขึน้ ต่อสูก้ บั วัดหรือกรมการศาสนาแล้วแต่กรณีในเรื่องทรัพย์สินอันเป็ นที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสน
สมบัติกลาง

มาตรา ๓๕ ที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง เป็ นทรัพย์สินซึ่งไม่อยูใ่ นความรับผิดแห่งการบังคับคดี

มาตรา ๓๖ วัดหนึ่งให้มีเจ้าอาวาสรูปหนึ่ง และถ้าเป็ นการสมควรจะให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผูช้ ่ วยเจ้าอาวาสด้วยก็ได้

มาตรา ๓๗ เจ้าอาวาสมีหน้าที่ดงั นี ้
(๑) บารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็ นไปด้วยดี
(๒) ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท่มี ีท่อี ยู่หรือพานักอาศัยอยู่ในวัด นัน้ ปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ
ระเบียบหรือคาสั่งของมหาเถรสมาคม
(๓) เป็ นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินยั แก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
(๔) ให้ความสะดวกตามสมควรในการบาเพ็ญกุศล

มาตรา ๓๘ เจ้าอาวาสมีอานาจดังนี ้
(๑) ห้ามบรรพชิตและคฤหัสถ์ซง่ึ มิได้รบั อนุญาตของเจ้าอาวาสเข้าไปอยู่อาศัยในวัด
(๒) สั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ซง่ึ ไม่อยู่ในโอวาทของเจ้าอาวาสออกไปเสียจากวัด
(๓) สั่งให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท่มี ีท่อี ยู่หรือพานักอาศัยในวัด ทางานภายในวัดหรือให้ทาทัณฑ์บน หรือให้ ขอขมาโทษ ในเมื่อบรรพชิตหรือ
คฤหัสถ์ในวัดนัน้ ประพฤติผิดคาสั่งเจ้าอาวาส ซึง่ ได้ส่งั โดยชอบด้วย พระธรรมวินัย กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งของมหา
เถรสมาคม

26 | P a g e
มาตรา ๓๙ ในกรณีท่ีไม่มีเจ้าอาวาสหรือเจ้าอาวาสไม่อาจปฏิบตั หิ น้าที่ได้ ให้แต่งตัง้ ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส ให้ผรู้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส
มีอานาจและหน้าที่เช่นเดียวกับเจ้าอาวาส
การแต่งตัง้ ผูร้ กั ษาการแทนเจ้าอาวาส ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม

หมวด ๖ ศาสนสมบัติ
มาตรา ๔๐ ศาสนสมบัติแบ่งออกเป็ นสองประเภท
(๑) ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาซึง่ มิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง
(๒) ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึง่
การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติกลาง ให้เป็ นอานาจหน้าที่ของกรมการศาสนา เพื่อการนี ้ ให้ถือว่า สานักงานพระพุทธศาสนา
แห่งชาติเป็ นเจ้าของศาสนสมบัตกิ ลางนัน้ ด้วย
การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เป็ นไปตามวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๔๑ ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทางบประมาณประจาปี ของศาสนสมบัตกิ ลางด้วยความเห็นชอบ ของ มหาเถรสมาคม และเมื่อได้


ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้งบประมาณนัน้ ได้

มาตรา ๔๒ ผูใ้ ดมิได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นพระอุปัชฌาย์หรือถูกถอดถอนจากความเป็ นพระอุปัชฌาย์ตามมาตรา ๒๓ แล้ว กระทาการบรรพชา


อุปสมบทแก่บคุ คลอื่นต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี

มาตรา ๔๓ ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา ๑๕ จัตวา วรรคสองมาตรา ๒๖ มาตรา ๒๗ วรรคสาม หรือมาตรา ๒๘ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี

มาตรา ๔๔ ผูใ้ ดพ้นจากความเป็ นพระภิกษุเพราะต้องปาราชิกมาแล้ว ไม่ว่าจะมีคาวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ หรือไม่ก็ตาม แต่มารับบรรพชา


อุปสมบทใหม่โดยกล่าวความเท็จหรือปิ ดบังความจริงต่อพระอุปัชฌาย์ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี

มาตรา ๔๔ ทวิ ผูใ้ ดหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาต มาดร้ายสมเด็จพระสังฆราช ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่


เกินสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ

มาตรา ๔๔ ตรี ผูใ้ ดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียหรือความแตกแยกต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี


หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ"

มาตรา ๔๕ ให้ถือว่าพระภิกษุซง่ึ ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และ ไวยาวัจกร เป็ น เจ้าพนักงานตามความใน


ประมวลกฎหมายอาญา

มาตรา ๔๖ การปกครองคณะสงฆ์อื่นให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง


-----------------------
27 | P a g e
ข้อสอบข้างล่าง จะเฉลยตามยุคสมัยที่บงั คับใช้พระราชบัญญัตนิ นั้ ๆ
*** ระวังให้ดี ข้อสอบอาจจะออกพระราชบัญญัตใิ หม่ ท่องจาให้ดคี รับ ***

(ปี 63, 61, 50) พระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ คืออะไร? ตอบ คือ กฏหมายฉบับหนึ่งว่าด้วยคณะสงฆ์ ฯ
(ปี 54) คาว่า คณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อื่น แห่งมาตรา ๕ ทวิ ในพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์หมายถึงใคร?
ตอบ คณะสงฆ์ หมายถึงบรรดาพระภิกษุท่ไี ด้รบั บรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌาย์ตามพระราชบัญญัตินีห้ รือตามกฎหมายที่ใช้บงั คับก่อน
พระราชบัญญัตินี ้ ไม่ว่าจะปฏิบตั ศิ าสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร ฯ คณะสงฆ์อื่น หมายถึงบรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย ฯ
(ปี 45) ตามพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ใครเป็ นผูส้ ถาปนาสมเด็จพระสังฆราช? ตอบโดยอ้างมาตรา
คาว่า คณะสงฆ์ และคณะสงฆ์อนื่ แห่งมาตรา ๕ ทวิ ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์หมายถึงใคร?
ตอบ มาตรา ๗ พระมหากษัตริยท์ รงสถาปนาสมเด็จพระสังฆราชองค์หนึง่ ฯ
คณะสงฆ์ หมายถึงบรรดาพระภิกษุท่ไี ด้รบั บรรพชาอุปสมบทจากพระอุปัชฌาย์ ตามพระราชบัญญัตินี ้ หรือตามกฎหมายที่ใช้บงั คับก่อน
พระราชบัญญัตินี ้ ไม่ว่าจะปฏิบตั ศิ าสนกิจในหรือนอกราชอาณาจักร ฯ
คณะสงฆ์อื่น หมายถึงบรรดาบรรพชิตจีนนิกายหรืออนัมนิกาย ฯ
➢ มหาเถรสมาคม
(ปี 60 57, 52) กรรมการมหาเถรสมาคมซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ พ้นจากตาแหน่งเมื่อใด?
ตอบ พ้นเมื่อ ๑. มรณภาพ ๒. พ้นจากความเป็ นพระภิกษุ ๓. ลาออก ๔. สมเด็จพระสังฆราชมีพระบัญชาให้ออก ๕. อยู่ครบวาระ ๒ ปี
(ปี 51) กรรมการมหาเถรสมาคมดารงอยู่ในตาแหน่งคราวละกี่ปี?
ตอบ กรรมการที่เป็ นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกาหนดเวลา กรรมการที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ ดารงอยูใ่ นตาแหน่งคราวละ ๒ ปี ฯ
(ปี 49) ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ กาหนดองค์ประกอบมหาเถรสมาคมไว้อย่างไร?
ตอบ กาหนดไว้ดงั นี ้
สมเด็จพระสังฆราช ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง และพระราชา
คณะซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ มีจานวนไม่เกิน ๑๒ รูป เป็ นกรรมการ ฯ
(ปี 48) มหาเถรสมาคมมีอานาจหน้าที่อะไรบ้าง?
ตอบ มีอานาจหน้าที่ดงั นี ้
๑. ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็ นไปโดยเรียบร้อยดีงาม
๒. ปกครองและกาหนดการบรรพชาสามเณร
๓.ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การเผยแผ่ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์
๔. รักษาหลักพระธรรมวินยั ของพระพุทธศาสนา
๕.ปฏิบตั ิหน้าที่อื่น ๆ ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี ้ หรือกฎหมายอื่น ฯ
(ปี 47) กรรมการมหาเถรสมาคมดารงอยู่ในตาแหน่งคราวละกี่ปี?
ตอบ กรรมการมหาเถรสมาคมที่เป็ นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกาหนดเวลา
กรรมการมหาเถรสมาคมที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ ดารงอยู่ในตาแหน่งคราวละ ๒ ปี ฯ
(ปี 46) องค์กรการปกครองคณะสงฆ์สงู สุด คืออะไร?
ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กาหนดองค์ประกอบขององค์กรนัน้ ไว้อย่างไร?
28 | P a g e
ตอบ คือ มหาเถรสมาคม ฯ
กาหนดไว้ดงั นี ้
สมเด็จพระสังฆราช ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง และพระราชา
คณะซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ มีจานวนไม่เกิน ๑๒ รูปเป็ นกรรมการ ฯ
(ปี 45) ผูม้ ิได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็ นพระอุปัชฌาย์ กระทาการบรรพชาอุปสมบทแก่บคุ คลอื่น ต้อง
ระวางโทษอย่างไร? ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ผูด้ ารงตาแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมคือใคร?
ตอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ฯ
คืออธิบดีกรมการศาสนาโดยตาแหน่ง ตามพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้อธิบดีกรมการศาสนาเป็ นเลขาธิการมหาเถร
สมาคมโดยตาแหน่ง ฯ
(ปี 44) ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ กาหนดองค์ประกอบของมหาเถรสมาคมไว้อย่างไร?
มหาเถรสมาคมมีอานาจหน้าที่อย่างไร? ตอบเพียง ๒ ข้อ
ตอบ กาหนดไว้ดงั นี ้
สมเด็จพระสังฆราช ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรูป เป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง และ
พระราชาคณะซึง่ สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ มีจานวนไม่เกิน ๑๒ รูป เป็ นกรรมการ ฯ
มีอานาจหน้าที่อย่างนี ้ (ตอบเพียง ๒ ข้อ)
๑. ปกครองคณะสงฆ์ให้เป็ นไปโดยเรียบร้อยดีงาม
๒. ปกครองและกาหนดการบรรพชาสามเณร
๓. ควบคุมและส่งเสริมการศาสนศึกษา การศึกษาสงเคราะห์ การสาธารณูปการ และการสาธารณสงเคราะห์ของคณะสงฆ์
๔. รักษาหลักพระธรรมวินยั ของพระพุทธศาสนา
๕. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นๆ ตามที่บญ
ั ญัติไว้ในพระราชบัญญัตินหี ้ รือกฎหมายอื่น
(ปี 43) กรรมการมหาเถรสมาคมดารงอยู่ในตาแหน่งคราวละกี่ปี? ผูจ้ ะดารงตาแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมมีกาหนดไว้อย่างไร?
ตอบ กรรมการมหาเถรสมาคมที่เป็ นสมเด็จพระราชาคณะ ไม่มีกาหนดเวลา ส่วนกรรมการมหาเถรสมาคมที่สมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้
ดารงอยู่ในตาแหน่งคราวละ ๒ ปี ฯ
มีกาหนดไว้วา่ ต้องเป็ นอธิบดีกรมการศาสนา (โดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้
อธิบดีกรมการศาสนาเป็ นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตาแหน่ง) ฯ
➢ การปกครองคณะสงฆ์
(ปี 59, 54) องค์กรปกครองคณะสงฆ์สงู สุด คืออะไร? มีการกาหนดองค์ประกอบไว้อย่างไร?
ตอบ คือ มหาเถรสมาคม ฯ
มีการกาหนดองค์ประกอบไว้อย่างนี ้ คือ
สมเด็จพระสังฆราช ทรงดารงตาแหน่งประธานกรรมการโดยตาแหน่ง
สมเด็จพระราชาคณะทุกรูปเป็ นกรรมการโดยตาแหน่ง และพระราชาคณะ
ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงแต่งตัง้ มีจานวนไม่เกิน ๑๒ รูปเป็ นกรรมการ ฯ
(ปี 57) การปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาค จัดแบ่งเขตการปกครองไว้อย่างไร? จงอ้างมาตราประกอบ
29 | P a g e
ตอบ ๑. ภาค ๒. จังหวัด ๓. อาเภอ ๔. ตาบล ฯ ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ฯ
(ปี 51) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ให้จดั แบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาคไว้อย่างไร?
ตอบ แบ่งดังนี ้ คือ ๑. ภาค ๒. จังหวัด ๓. อาเภอ ๔. ตาบล
ส่วนจานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม ฯ
(ปี 45) คณะสงฆ์จะตัง้ เป็ นอิสระ ไม่อยู่ภายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคมได้หรือไม่? จงอ้างมาตรา
ตอบ ไม่ได้ ต้องปฏิบตั ิตามมาตรา ๒๐ ความว่า คณะสงฆ์ตอ้ งอยูภ่ ายใต้การปกครองของมหาเถรสมาคม ฯ
(ปี 44) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ให้จดั แบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาคไว้อย่างไร?
พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทาผิดเช่นไร? และได้รบั นิคหกรรมให้สกึ ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?
ตอบ แบ่งดังนีค้ ือ ๑) ภาค ๒) จังหวัด ๓) อาเภอ ๔) ตาบล
ส่วนจานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม ฯ
เมื่อกระทาการล่วงละเมิดพระธรรมวินยั และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุจะต้องเป็ นนิคหกรรมตามพระธรรมวินยั ต้องสึกภายใน ๒๔ ชั่วโมง
นับแต่เวลาที่ได้ทราบคาวินจิ ฉัยนัน้ ฯ
➢ นิคหกรรมและการสละสมณเพศ
(ปี 56) พระภิกษุจะไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ จงอ้างมาตราประกอบด้วย?
ตอบ ไม่ได้ ฯ ตามมาตรา ๒๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (แก้ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๓๕ ฯ
(ปี 55) ภิกษุผลู้ ่วงละเมิดพระธรรมวินยั และได้มคี าวินิจฉัยถึงที่สดุ ให้ได้รบั นิคหกรรมให้สกึ ต้องปฏิบตั ิอย่างไร? ถ้าไม่ปฏิบตั ิตามต้องได้รบั
โทษอะไร? ตอบ ต้องสึกภายในยี่สิบสี่ช่วั โมงนับแต่เวลาที่ได้ทราบคาวินจิ ฉัย ฯ ถ้าไม่ปฏิบตั ติ าม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ฯ
(ปี 49) พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทาผิดเช่นไร? และผูไ้ ด้รบั นิคหกรรมให้สกึ ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?
ตอบ เมื่อกระทาการล่วงละเมิดพระธรรมวินยั และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุนนั้ จะต้องเป็ นนิคหกรรมตามพระธรรมวินยั ฯ ต้องสึก
ภายใน ๒๔ ชั่วโมง นับแต่เวลาที่ได้ทราบคาวินิจฉัยนัน้ ฯ
(ปี 49) พระภิกษุจะไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่? อ้างมาตราประกอบด้วย
ตอบ ไม่ได้ ฯ ตามมาตรา ๒๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๓๕ ฯ
(ปี 48) ตามมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ กาหนดให้พระภิกษุสละสมณเพศในกรณีใดบ้าง?
ตอบ ในกรณีใดกรณีหนึ่ง ดังต่อไปนี ้
๑. ต้องคาวินิจฉัยตามมาตรา ๒๕ ให้รบั นิคหกรรมไม่ถงึ ให้สกึ แต่ไม่ยอมรับนิคหกรรมนัน้
๒. ประพฤติล่วงละเมิดพระธรรมวินยั เป็ นอาจิณ
๓. ไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึ่ง
๔. ไม่มีวดั เป็ นที่อยู่เป็ นหลักแหล่ง ฯ
(ปี 46) ภิกษุรูปหนึง่ ต้องคาพิพากษาคดีถงึ ที่สดุ ให้เป็ นบุคคลล้มละลาย ภิกษุนนั้ จะต้องปฏิบตั ิอย่างไร? ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์มาตรา
ไหน? ถ้าภิกษุนนั้ ฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตามคาพิพากษาจะถูกลงโทษอย่างไร?
ตอบ ภิกษุนนั้ ต้องสึกภายในสามวัน นับแต่วนั ที่คดีถงึ ที่สดุ ฯ ตามมาตรา ๒๘ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ฯ
ถ้าฝ่ าฝื นไม่ปฏิบตั ิตาม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ตามมาตรา ๔๓ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ฯ
(ปี 44) ตามมาตรา ๒๑ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ ให้จดั แบ่งเขตปกครองคณะสงฆ์สว่ นภูมิภาคไว้อย่างไร?
30 | P a g e
พระภิกษุจะต้องรับนิคหกรรมเมื่อทาผิดเช่นไร? และได้รบั นิคหกรรมให้สกึ ต้องสึกภายในเวลาเท่าไร?
ตอบ แบ่งดังนีค้ ือ ๑. ภาค ๒. จังหวัด ๓. อาเภอ ๔. ตาบล
ส่วนจานวนและเขตปกครองดังกล่าวให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎมหาเถรสมาคม ฯ
เมื่อกระทาการล่วงละเมิดพระธรรมวินยั และนิคหกรรมที่จะลงโทษแก่ภิกษุจะต้องเป็ นนิคหกรรมตามพระธรรมวินยั ต้องสึกภายใน ๒๔ ชั่วโมง
นับแต่เวลาที่ได้ทราบคาวินจิ ฉัยนัน้ ฯ
(ปี 44) พระภิกษุจะไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ อ้างมาตราประกอบด้วย?
เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ได้แก่ใคร?
ตอบ ไม่ได้, ตามมาตรา ๒๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ฯ
ได้แก่พระภิกษุซง่ึ ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ และไวยาวัจกร เป็ นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมาย
อาญา (มาตรา ๔๕) ฯ
➢ วัด
(ปี 63, 58) พระราชบัญญัติคณะสงฆ์มาตรา ๓๗ ระบุหน้าที่เจ้าอาวาสไว้กี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ ระบุไว้ ๔ อย่าง ฯ คือ
๑. บารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็ นไปด้วยดี
๒. ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท่มี ีท่อี ยู่หรือพานักอาศัยอยู่ในวัดนัน้ ปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั กฎมหาเถรสมาคม ข้อบังคับ
ระเบียบหรือคาสั่งของมหาเถรสมาคม
๓. เป็ นธุระในการศึกษาอบรมและสั่งสอนพระธรรมวินยั แก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
๔. ให้ความสะดวกตามสมควรในการบาเพ็ญกุศล ฯ
(ปี 62, 46) ที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่สถานที่เช่นไร ?
ตอบ ที่วดั ได้แก่ท่ซี ง่ึ ตัง้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน้
ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ท่ีซง่ึ เป็ นสมบัตขิ องวัด
ที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ท่ซี ่งึ เป็ นทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง ฯ
(ปี 62, 52) เจ้าอาวาส หมายถึงใคร ? ภิกษุผจู้ ะดารงตาแหน่งเจ้าอาวาสวัดที่ไม่ใช่พระอารามหลวง ต้องมีคณ
ุ สมบัติโดยเฉพาะอะไรบ้าง ?
ตอบ หมายถึง พระภิกษุผไู้ ด้รบั แต่งตัง้ ตามกฎมหาเถรสมาคมให้เป็ นพระสังฆาธิการปกครองวัดใดวัดหนึ่ง ฯ
คือ ๑. มีพรรษาพ้น ๕ ๒. เป็ นผูท้ รงเกียรติคณ
ุ เป็ นที่เคารพนับถือของคฤหัสถ์และบรรพชิตในถิ่นนัน้ ฯ
(ปี 60, 45) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้ ก. ที่วดั ข. ที่ธรณีสงฆ์ ค. ที่กลั ปนา
ตอบ ก. ที่วดั คือที่ซง่ึ ตัง้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน้ ข. ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซ่งึ เป็ นสมบัตขิ องวัด
ค. ที่กลั ปนา คือที่ซ่งึ มีผอู้ ทุ ิศแต่ผลประโยชน์ให้วดั หรือพระศาสนา ฯ
(ปี 58) ที่วดั และที่ซ่งึ ขึน้ ต่อวัด ตามมาตรา ๓๓ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ๑. ที่วดั คือที่ซ่งึ ตัง้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน้ ๒. ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซ่งึ เป็ นสมบัตขิ องวัด
๓. ที่กลั ปนา คือที่ซ่งึ มีผอู้ ทุ ศิ แต่ผลประโยชน์ให้วดั หรือพระศาสนา ฯ
(ปี 55) ตามความในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ วัดมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? และใครเป็ นผูแ้ ทนของวัดในกิจการทั่วไป?
ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ คือ ๑. วัดที่ได้รบั พระราชทานวิสงุ คามสีมา ๒. สานักสงฆ์ ฯ เจ้าอาวาสเป็ นผูแ้ ทนของวัดในกิจการทั่วไป ฯ
(ปี 53) ที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง จะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้หรือไม่? มีหลักปฏิบตั ิอย่างไร?
31 | P a g e
ตอบ สามารถโอนได้ ฯ
มีหลักปฏิบตั ิตามความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์
พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๓๕ (มาตรา ๓๔ การโอนกรรมสิทธิ์ท่วี ดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือ ที่ศาสนสมบัติกลาง ให้กระทาได้ก็แต่โดยพระราชบัญญัติ เว้นแต่เป็ นกรณี
ตามวรรคสอง
(ปี 48) ที่วดั และที่ธรณีสงฆ์ได้แก่ท่เี ช่นไร?
นาย ก ได้รบั อนุญาตจากเจ้าอาวาสให้เข้าปลูกบ้านอยู่อาศัยในที่เช่นนัน้ นานเกินสิบปี ภายหลังจะยึดที่ดินผืนนัน้ เป็ นสมบัติสว่ นตัว จึ งยกอายุ
ความขึน้ ต่อสูก้ บั วัด โดยอ้างสิทธิครอบครองได้หรือไม่? เพราะเหตุไร?
ตอบ ที่วดั คือที่ท่ตี งั้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน้ ที่ธรณีสงฆ์ คือที่ซ่งึ เป็ นสมบัติของวัด ฯ
ไม่ได้ เพราะมาตรา ๓๔ วรรคสาม แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ บัญญัตวิ ่า ห้ามมิให้บคุ คลใดยกอายุความขึน้ ต่อสู้
กับวัดหรือสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติแล้วแต่กรณี ในเรื่องทรัพย์สินอันเป็ นที่วดั ที่ธรณีสงฆ์หรือที่ศาสนสมบัติกลาง ฯ
(ปี 47) ที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ หรือที่ศาสนสมบัติกลาง จะสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้หรือไม่ มีหลักปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ สามารถโอนได้ มีหลักปฏิบตั ิตามความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
คณะสงฆ์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ฯ
(ปี 43) ในกรณียบุ เลิกวัด ทรัพย์สินของวัดนัน้ จะพึงตกแก่ใคร? การดูแลและจัดการศาสนสมบัติ กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของใคร?
ตอบ ให้ตกเป็ นของศาสนสมบัตกิ ลาง จะแบ่งให้ใครไม่ได้ (มาตรา ๓๒ วรรค ๒ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๓๕) ฯ
การดูแลและจัดการศาสนสมบัตกิ ลาง กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของกรมการศาสนา
การดูแลและจัดการศาสนสมบัตขิ องวัด กาหนดให้เป็ นหน้าที่ของเจ้าอาวาส
(การดูแลและจัดการศาสนสมบัตกิ ลาง บัญญัติไว้ในมาตรา ๔๐ ว่า ให้เป็ นอานาจหน้าที่ของกรมการศาสนา เพื่อการนีใ้ ห้ถือว่ากรมการศาสนา
เป็ นเจ้าของศาสนสมบัตกิ ลางนัน้ ด้วย และมาตรา ๔๑ ว่า ให้กระทรวงศึกษาธิการจัดทางบประมาณประจาปี ของศาสนสมบัติกลาง ด้วยความ
เห็นชอบของมหาเถรสมาคม และเมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้งบประมาณนัน้ ได้ ส่วนการดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติ
ของวัดมีในมาตรา ๓๗ (๑) ว่า เจ้าอาวาสมีหน้าที่บารุงรักษาวัด จัด กิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็ นไปด้วยดีและใน มาตรา ๔๐ ว่า
การดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติของวัด ให้เป็ นไปตามวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง)ฯ
(ปี 43) เจ้าอาวาส ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ ใครเป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ? เจ้าอาวาสผูไ้ ด้รบั แต่งตัง้ มีหน้าที่อย่างไร?
ตอบ สมเด็จพระสังฆราช ทรงแต่งตัง้ เจ้าอาวาสพระอารามหลวง เจ้าคณะจังหวัด แต่งตัง้ เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ฯ
เจ้าอาวาสมีหน้าที่ตามมาตรา ๓๗ แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ดังนี ้
๑. บารุงรักษาวัด จัดกิจการและศาสนสมบัติของวัดให้เป็ นไปด้วยดี
๒. ปกครองและสอดส่องให้บรรพชิตและคฤหัสถ์ท่มี ีท่อี ยู่หรือพานักอาศัยอยู่ในวัดนัน้ ปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั กฎมหาเถรสมาคม
ข้อบังคับ ระเบียบ หรือคาสั่งของมหาเถรสมาคม
๓. เป็ นธุระในการศึกษาอบรม และสั่งสอนพระธรรมวินยั แก่บรรพชิตและคฤหัสถ์
๔. ให้ความสะดวกตามสมควรในการบาเพ็ญกุศล ฯ

32 | P a g e
➢ ศาสนสมบัติ
(ปี 62, 46) ที่วดั ที่ธรณีสงฆ์ และที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่สถานที่เช่นไร ?
ตอบ ที่วดั ได้แก่ท่ซี ง่ึ ตัง้ วัดตลอดจนเขตของวัดนัน้ ที่ธรณีสงฆ์ ได้แก่ท่ซี ง่ึ เป็ นสมบัตขิ องวัด
ที่ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ท่ซี ่งึ เป็ นทรัพย์สินของพระศาสนาซึ่งมิใช่ของวัดใดวัดหนึ่ง ฯ
(ปี 53) ศาสนสมบัติมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? การจะนาผลประโยชน์จากศาสนสมบัติไปใช้จา่ ย มีหลักเกณฑ์อย่างไร?
ตอบ มี ๒ ประเภท ฯ คือ ศาสนสมบัติกลาง และ ศาสนสมบัตวิ ดั ฯ มีหลักเกณฑ์อย่างนีค้ ือ ศาสนสมบัติกลาง ใช้จ่ายในกิจการของสงฆ์ท่วั ไป
ตามพระวินยั โดยอนุมตั ิของสงฆ์ ศาสนสมบัติวดั ใช้จา่ ยในกิจการของวัดนัน้ ๆ แต่จะนาศาสนสมบัติของวัดหนึ่งไปใช้อีกวัดหนึ่งไม่ได้ ฯ
(ปี 47) ศาสนสมบัติมีกี่ประเภท? อะไรบ้าง? ใครเป็ นผูม้ ีอานาจดูแลรักษาและจัดการศาสนสมบัติ?
ตอบ มี ๒ ประเภท (ตามมาตรา ๔๐) คือ
๑. ศาสนสมบัติกลาง ได้แก่ ทรัพย์สินของพระศาสนาซึง่ มิใช่ของวัดใดวัดหนึง่ ฯ
สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ มีอานาจดูแลรักษาและจัดการ ฯ
๒. ศาสนสมบัติของวัด ได้แก่ ทรัพย์สินของวัดใดวัดหนึง่ ฯ
เจ้าอาวาสวัดแต่ละวัด มีอานาจดูแลรักษาและจัดการ ฯ
(ปี 46) เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัตคิ ณะสงฆ์ได้แก่ใคร?
ตอบ ได้แก่พระภิกษุซง่ึ ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์และไวยาวัจกร ฯ
(ปี 44) พระภิกษุจะไม่สงั กัดอยูใ่ นวัดใดวัดหนึ่งเลยได้หรือไม่ อ้างมาตราประกอบด้วย?
เจ้าพนักงาน ตามความในประมวลกฎหมายอาญา ในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ได้แก่ใคร?
ตอบ ไม่ได้, ตามมาตรา ๒๗ (๓) แห่งพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ๒๕๐๕, (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๓๕ ฯ
ได้แก่พระภิกษุซง่ึ ได้รบั แต่งตัง้ ให้ดารงตาแหน่งในการปกครองคณะสงฆ์ และไวยาวัจกร เป็ นเจ้าพนักงานตามความในประมวลกฎหมาย
อาญา (มาตรา ๔๕) ฯ

➢ บทกําหนดโทษ
(ปี 59, 56, 50) ผูใ้ ดใส่ความคณะสงฆ์หรือคณะสงฆ์อื่นอันอาจก่อให้เกิดความเสื่อมเสียหรือความแตกแยก มีโทษอย่างไร? ตอบ ต้องระวาง
โทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทัง้ จาทัง้ ปรับ ฯ
(ปี 45) ผูม้ ิได้รบั แต่งตัง้ ให้เป็ นพระอุปัชฌาย์ หรือถูกถอดถอนจากความเป็ นพระอุปัชฌาย์ กระทาการบรรพชาอุปสมบทแก่บคุ คลอื่น ต้อง
ระวางโทษอย่างไร? ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ผูด้ ารงตาแหน่งเลขาธิการมหาเถรสมาคมคือใคร?
ตอบ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี ฯ คืออธิบดีกรมการศาสนาโดยตาแหน่ง ตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ มาตรา ๑๓ ความว่า ให้
อธิบดีกรมการศาสนาเป็ นเลขาธิการมหาเถรสมาคมโดยตาแหน่ง ฯ

กฎมหาเถรสมาคม มีประมาณ๑๐กว่าฉบับมีรายละเอียดมาก ถ้าอ่านทัง้ หมด คงอ่านไม่ทนั สอบแน่ ฉะนัน้ ให้ทาํ ตามคําแนะนําข้างล่างครับ


(ปี 61 แนะนําให้จาํ ไปเลย) เจ้าอาวาส ตามกฎมหาเถรสมาคม ฉบับที่ ๒๔ ใครเป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ?
ตอบ สมเด็จพระสังฆราช ทรงมีพระบัญชาแต่งตัง้ เจ้าอาวาสพระอารามหลวง ตามมติมหาเถรสมาคม
เจ้าคณะจังหวัด แต่งตัง้ เจ้าอาวาสวัดราษฎร์ ฯ

33 | P a g e

You might also like