You are on page 1of 1

ปญหาวิชาเรียงความแกกระทูธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก ระดับมัธยมศึกษา

สอบในสนามหลวง
วันอังคารที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๕

อุาตา กมฺมเธยฺเยสุ อปฺปมตฺโต วิจกฺขโณ


สุสํวิหิตกมฺมนฺโต ส ราชวสตึ วเส.
ผูหมั่นในการงาน ไมประมาท เปนผูรอบคอบ จัดการงานเรียบรอย
จึงควรอยูในราชการ.
(พุทธ) ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๙
---------------------------------------
แตงอธิบายใหสมเหตุสมผล โดยใชสุภาษิตที่สนามหลวงแผนกธรรมกําหนดมาให จํานวน ๖ สุภาษิต
ขางลางนี้ มาประกอบอางอิง ๓ สุภาษิต หามอางสุภาษิตซ้ำขอกัน และสุภาษิตที่อางมานั้น ควรอธิบายเชื่อมความ
ใหสมกับเรื่องในกระทูตั้ง ในชั้นนี้ กําหนดใหเขียนลงในกระดาษใบตอบตั้งแต ๓ หนา (เวนบรรทัด) ขึ้นไป
ใหเวลา ๓ ชั่วโมง

ปาปฺเจ ปุริโส กยิรา น นํ กยิรา ปุนปฺปุนํ โย ปุพฺเพ กตกลฺยาโณ กตตฺโถ นาวพุชฺฌติ


น ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถ ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย. ปจฺฉา กิจฺเจ สมุปฺปนฺเน กตฺตารํ นาธิคจฺฉติ.
ถาคนพึงทำบาป ก็ไมควรทำบาปนั้นบอย ๆ ไมควรทำ ผูอื่นทำความดีให ทำประโยชนใหกอน แตไมสำนึกถึง
ความพอใจในบาปนั้น เพราะการสั่งสมบาปนำทุกขมาให. (บุญคุณ) เมื่อมีกิจเกิดขึ้นภายหลัง จะหาผูชวยทำไมได.
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐ (โพธิสตฺต) ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๙
โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย โกสชฺชํ ภยโต ทิสฺวา วิริยารมฺภฺจ เขมโต
สตํ หิ โส ปโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปโย. อารทฺธวิริยา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และปองกันจากคนไมดี ทานทั้งหลายจงเห็นความเกียจครานเปนภัย และเห็นการ
เพราะเขายอมเปนที่รักของคนดี แตไมเปนที่รักของคนไมดี. ปรารภความเพียร เปนความปลอดภัย แลวปรารภความเพียร
(พุทฺธ) ที. ปาฏิ. ๑๑/๑๙๙ เถิด นี้เปนพุทธานุศาสนี.
(พุทฺธ) ขุ. จริยา. ๓๓/๕๙๕
โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ปฺวา สุสมาหิโต
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ. อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ.
ผูใดเกียจคราน มีความเพียรเลว พึงเปนอยูตั้งรอยป ผูถึงพรอมดวยศีล มีปญญา มีใจมั่นคงดีแลว ปรารภความ
แตผูปรารภความเพียรมั่นคง มีชีวิตอยูเพียงวันเดียว เพียร ตั้งตนไวในกาลทุกเมื่อ ยอมขามโอฆะที่ขามไดยาก.
ประเสริฐกวาผูนั้น. (พุทฺธ) สํ. ส. ๑๕/๗๔
(พุทฺธ) ขุ. ธ. ๒๕/๓๐

You might also like