You are on page 1of 74

ทบทวนนักธรรมตรี

เวอร์ช่ัน ๒๕๖๔
ทบทวนกระทู้ธรรม
ฝึ กเขียนกระทู้จากข้อสอบทีผ่ ่านมา
ปี พ.ศ. ภาษิตทีอ่ อกข้อสอบ อยู่ในหมวด
2563 ปมาโท มจฺจุโน ปทํ. ปั ญญา
ความประมาท เป็ นทางแห่งความตาย.
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. ขุ. ชา. ตึส. ๒๗/๕๒๔.
2562 ททํ มิตฺตานิ คนฺถติ. ทาน
ผูใ้ ห้ ย่อมผูกไมตรีไว้ได้. สํ. ส. ๑๕/๓๑๖.
2561 สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ. ชนะ
การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทงั้ ปวง. ขุ. ธ. ๒๕/๖๓.
2560 สาธุ ปาเปน ทุกฺกรํ. กรรม
ความดี อันคนชั่วทายาก วิ. จุล. ๗/๑๙๕ ขุ. อุ. ๒๕/๑๖๗.
2559 ผาตึ กยิรา อวิเหฐย ปรํ. บุคคล
ควรทาแต่ความเจริญ อย่าเบียดเบียนเขา. ขุ. ชา. สตฺตก. ๒๗/๒๑๒
2558 สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี สามัคคี
ความพร้อมเพรียงของหมู่ ให้เกิดสุข. ขุ. ธ. ๒๕/๔๑. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๓๘. องฺ. ทสก. ๒๔/๘๐
2557 อพฺยาปชฺฌํ สุขํ โลเก สุข

1|P a g e
ความไม่เบียดเบียน เป็ นสุขในโลก. (พุทธ) วิ. มหา. ๔/๖. ขุ. อุ. ๒๕/๘๖.
2556 โกโธ ทุมฺเมธโคจโร. โกรธ
ความโกรธเป็ นอารมณ์ของคนมีปัญญาทราม ขุ.ชา.ทสก. ๒๗/๒๘๐
2555 หิริโอตฺตปฺปิยญฺเญว โลกํ ปาเลติ สาธุกํ เบ็ดเตล็ด
หิรแิ ละโอตตัปปะ ย่อมรักษาโลกไว้เป็ นอันดี (ว.ว)
2554 ททมาโน ปิ โย โหติ ทาน
ผูใ้ ห้ ย่อมเป็ นที่รกั องฺ ปญฺจก. ๒๒/๔๔
2553 โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ วาจา
เปล่งวาจางาม ยังประโยชน์ให้สาเร็จ ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘
2552 กาโล ฆสติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา เบ็ดเตล็ด
กาลเวลา ย่อมกินสรรพสัตว์พร้อมทัง้ ตัวมันเอง ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘
2551 สพฺเพสํ สงฺฆภูตานํ สามคฺคี วุฑฺฒสิ าธิกา สามัคคี
ความพร้อมเพรียงของปวงชนผูเ้ ป็ นหมู่ ยังความเจริญให้สาเร็จ ส. ส.
2550 โกธาภิภโู ต กุสลํ ชหาติ โกรธ
ผูถ้ กู ความโกรธครอบงา ย่อมละกุศลเสีย นัย. ขุ. ชา. ทสก. ๒๗/๒๘๖.
2549 สติมโต สุเว เสยฺโย สติ
คนมีสติ เป็ นผูป้ ระเสริฐทุกวัน. สํ. ส. ๑๕/๓๐๖.

2|P a g e
2548 อนตฺถํ ปริวชฺเชติ อตฺถํ คณฺหาติ ปณฺฑิโต. บุคคล
บัณฑิตย่อมเว้นสิ่งที่ไม่เป็ นประโยชน์ ถือเอาแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์. องฺ. จตุกกฺ . ๒๑/๕๙
2547 ขนฺติ หิตสุขาวหา. อดทน
ความอดทน นามาซึ่งประโยชน์สขุ . ส. ม.
2546 สณฺหํ คิรํ อตฺถวตึ ปมุญฺเจ. วาจา
ควรเปล่งวาจาไพเราะที่มีประโยชน์. ขุ. ชา. เตรส. ๒๗/๓๕๐
2545 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตน
ตนแล เป็ นที่พ่งึ แห่งตน. ขุ. ธ. ๒๕/๓๖,๖๖.
2544 อปฺปมตฺโต อุโภ อตฺเถ อธิคฺคณฺหาติ ปณฺฑิโต. ไม่ประมาท
บัณฑิตผูไ้ ม่ประมาท ย่อมได้รบั ประโยชน์ทงั้ สอง. ขุ. อิติ. ๒๕/๒๔๒.
2543 สีลํ โลเก อนุตตฺ รํ. ศีล
ศีลเป็ นเยี่ยมในโลก. ขฺุ ชา. เอก. ๒๗/๒๘

3|P a g e
ทบทวน ธรรมวิภาค นักธรรมชั้นตรี
หมวด ๒
➢ ธรรมมีอุปการะมาก ๒ อย่าง ๑. สติ ความระลึกได้ ๒. สัมปชัญญะ ความรูต้ วั
สติ และ สัมปชัญญะ ทัง้ สองนี ้ ชื่อว่า มีอปุ การะมาก เพราะเป็ นคุณธรรมอุดหนุนให้สาเร็จกิจในทางดี ไม่หลงลืม ไม่ผิดพลาด, เป็ นเครื่อง
นามาซึ่งประโยชน์เกือ้ กูลในกิจการทัง้ ปวง และเป็ นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึน้
(ปี 63, 60) สติ แปลว่าอะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่อว่าเป็ นธรรมมีอปุ การะมาก ?
ตอบ สติ แปลว่า ความระลึกได้ ฯ เพราะช่วยให้สาเร็จกิจในทางที่ดี ฯ
(ปี 62, 45) คนที่ทาอะไรมักพลัง้ พลาด เพราะขาดธรรมอะไร?
ตอบ เพราะขาดสติ ความระลึกได้ก่อนแต่จะทา และขาดสัมปชัญญะ ความรูต้ วั ในขณะทา ฯ
(ปี 57) ธรรมที่ได้ช่ือว่ามีอปุ การะมาก คือธรรมอะไร? เพราะเหตุไรจึงจัดว่ามีอปุ การะมาก?
ตอบ คือ สติ ความระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรูต้ วั ฯ เพราะเป็ นคุณธรรมอุดหนุนให้สาเร็จประโยชน์เกือ้ กูลในกิจทัง้ ปวง ฯ
(ปี 55) สัมปชัญญะ หมายความว่าอย่างไร ตอบ สัมปชัญญะ หมายถึง ความรูต้ วั
(ปี 53) ธรรมมีอปุ การะมากมีอะไรบ้าง? ที่ว่าอุปการะมากนัน้ เพราะเหตุไร? ตอบ มี สติ ความระลึกได้ สัมปชัญญะ ความรูต้ วั ฯ
ที่ว่าอุปการะมากนัน้ เพราะทาให้เป็ นผูไ้ ม่ประมาทในการทากิจกรรมงานใดๆและเป็ นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึน้ ฯ
(ปี 48) ธรรมมีอปุ การะมาก ได้แก่อะไรบ้าง? บุคคลผูข้ าดธรรมนีจ้ ะเป็ นเช่นไร?
ตอบ ได้แก่ สติ ความระลึกได้ และ สัมปชัญญะ ความรูต้ วั ฯ จะเป็ นคนหลงลืม จะทาจะพูดหรือจะคิดอะไรมักผิดพลาด ฯ

➢ ธรรมเป็ นโลกบาล คือ ธรรมคุ้มครองโลก ๒ อย่าง


๑.หิริ ความละอายแก่ใจ ได้แก่ความละอายใจในการประพฤติช่วั ๒.โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ได้แก่ความเกรงกลัวผลชั่ว ไม่กล้าทาเหตุช่วั
ธรรมเป็ นโลกบาล (เป็ นธรรมคุ้มครองโลก) เพราะเป็ นคุณธรรมทาบุคคลให้รงั เกียจ และเกรงกลัวต่อความชั่ว ไม่กล้าทาชั่วทัง้ ในทีล่ บั และทีแ่ จ้ง
(ปี 63, 51) การที่บคุ คลพบงูพิษแล้วสะดุง้ กลัวว่าจะถูกกัดตาย จัดเป็ นโอตตัปปะ ได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด ?
ตอบ ไม่ได้ ฯ เพราะโอตตัปปะ หมายความว่าความเกรงกลัวต่อบาปฯ
(ปี 62, 60, 46, 43) โลก (สังคม) เดือดร้อนวุ่นวาย (ในปัจจุบนั นี)้ เพราะขาดธรรมอะไร?
ตอบ เพราะขาดธรรมคุม้ ครองโลก ๒ อย่าง คือ ๑.หิริ ความละอายแก่ใจ ๒.โอตตัปปะ ความเกรงกลัว ฯ
(ปี 61) ธรรมคุม้ ครองโลก มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ตอบ มี ๒ อย่าง ฯ คือ ๑. หิริ ความละอายบาป ๒. โอตตัปปะ ความกลัวบาป
(ปี 56) หิริ และ โอตตัปปะ ได้ช่ือว่า ธรรมเป็ นโลกบาล เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะเป็ นคุณธรรมทาบุคคลให้รงั เกียจ และเกรงกลัวต่อบาปทุจริต ไม่กล้าทาความชั่วทัง้ ในที่ลบั และที่แจ้ง ฯ
(ปี 55) พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมอะไรไว้สาหรับคุม้ ครองโลก?
ตอบ ทรงสอนไว้ ๒ คือ ๑. หิริ ความละอายต่อบาป ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลบาป ฯ
(ปี 49) หิรกิ บั โอตตัปปะ ต่างกันอย่างไร?
ตอบ ต่างกันอย่างนี ้ หิริ คือความละอายใจตนเองที่จะประพฤติช่วั ส่วนโอตตัปปะ คือความเกรงกลัวผลของความชั่วที่ตนจะได้รบั ฯ
(ปี 44) ธรรมข้อนีจ้ ะคุม้ ครองโลกได้อย่างไร?
ตอบ ธรรมข้อนีจ้ ะคุม้ ครองโลกได้ เนื่องจากปัจจุบนั โลกที่เกิดวิกฤตการณ์ในด้านต่าง ๆ ส่วนหนึ่งนัน้ เป็ นเพราะชาวโลกละทิง้ ธรรม คือ หิริ
และโอตตัปปะ ไม่ละอายแก่ใจ ไม่เกรงกลัวต่อผลแห่งความชั่ว ขาดเมตตา
1|P a g e
➢ ธรรมอันทาให้งาม ๒ อย่าง ๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม
เป็ นธรรมทาให้งาม เพราะผูท้ ่สี มบูรณ์ดว้ ยขันติและโสรัจจะ ย่อมมีใจหนักแน่น ไม่แสดงอาการสูง ๆ ต่า ๆ แม้จะประสบความดีใจหรือเสียใจ
ก็อดกลัน้ ได้ รักษากาย วาจา ใจ ให้สภุ าพเรียบร้อยเป็ นปกติ
(ปี 59, 50) ในทางโลก ดูคนงามที่รูปร่างหน้าตา ส่วนในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามที่ไหน ?
ตอบ ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่มีคณ
ุ ธรรมอันทาให้งาม ๒ ประการ คือ ๑.ขันติ ความอดทน ๒.โสรัจจะ ความเสงี่ยม ฯ
(ปี 47) ขันติ กับ โสรัจจะ เป็ นธรรมทาให้งามได้อย่างไร?
ตอบ ขันติ ความอดทน โสรัจจะ ความเสงี่ยม ผูท้ ่สี มบูรณ์ดว้ ยธรรมทั้ง ๒ นี ้ ย่อมมีใจหนักแน่นไม่แสดงความวิการออกมาให้ปรากฏ แม้จะ
ประสบความดีใจ เสียใจ ก็อดกลัน้ ได้ รักษากาย วาจา ใจให้สภุ าพ สงบเสงี่ยมเป็ นปกติไว้ได้ จึงทาให้งาม ฯ
(ปี 46) บุคคลมีกาย วาจา ใจ งดงาม เพราะปฏิบตั ิธรรมอะไร?
ตอบ เพราะปฏิบตั ิธรรมอันทาให้งาม ๒ อย่าง คือ ๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ ความเสงี่ยม ฯ

➢ บุคคลหาได้ยาก ๒ อย่าง ๑.บุพพการี บุคคลผูท้ าอุปการะก่อน ๒.กตัญญูกตเวที บุคคลผูร้ ูอ้ ปุ การะที่ท่านทาแล้วและตอบแทน.


(ปี 62, 54, 52, 48) บุพพการีและกตัญญูกตเวทีได้แก่บคุ คลเช่นไร ?
ตอบ บุพพการี ได้แก่ บุคคลผูท้ าอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่ บุคคลผูร้ ูอ้ ปุ การะที่ผอู้ ื่นทาแก่ตน แล้วทาตอบแทน ฯ
(ปี 61, 47) บุพพการี ได้แก่บคุ คลเช่นไร? พระพุทธเจ้าทรงเป็ นบุพพการีของพุทธบริษัทอย่างไร ? จงอธิบาย
ตอบ ได้แก่ บุคคลผูท้ าอุปการะก่อน ฯ พระพุทธเจ้าทรงกระทาอุปการะแก่พทุ ธบริษัทก่อน ด้วยการทรงแนะนาสั่งสอนให้รูด้ ีรูช้ อบตามพระองค์
เพื่อให้ได้บรรลุประโยชน์ ทัง้ ๓ คือ ประโยชน์ในโลกนี ้ ประโยชน์ในโลกหน้า และประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน จึงชื่อว่าเป็ นบุพพการี ฯ
(ปี 59) ในโลกนี ้ มีบคุ คลประเภทใดบ้างที่หาได้ยาก ?
ตอบ มีบคุ คลที่หาได้ยาก ๒ ประเภท คือ
๑. บุพพการี บุคคลผูท้ าอุปการะก่อน ๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผูร้ ูอ้ ปุ การะที่ท่านทาแล้ว และทาตอบแทนท่าน ฯ
(ปี 58) บุพพการี และ กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
ตอบ บุพพการี หมายถึงบุคคลผูท้ าอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลผูร้ ู ้ อุปการะที่ท่านทาแล้ว และ ตอบแทน ฯ
(ปี 55) กตัญญูกตเวที หมายความว่าอย่างไร? ตอบ กตัญญูกตเวที หมายถึง บุคคลผูร้ ูอ้ ปุ การะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทน ฯ
(ปี 54, 52, 48) บุพพการีและกตัญญูกตเวที ได้แก่บคุ คลเช่นไร? จงยกตัวอย่างมาสัก ๒ คู่
ตอบ บุพพการี ได้แก่บคุ คลผูท้ าอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่บคุ คลผูร้ ูอ้ ุปการะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทน ฯ
(ตอบเพียง ๒ คู)่ คู่ท่ี ๑ มารดาบิดากับบุตรธิดา คู่ท่ี ๒ ครูอาจารย์กบั ศิษย์ คู่ท่ี ๓ พระราชากับราษฎร คู่ท่ี ๔ พระพุทธเจ้ากับพุทธบริษัทฯ
(ปี 45) ได้ช่ือว่ากตัญญูกตเวทีบคุ คล เพราะปฏิบตั ิตนอย่างไร? ตอบ เพราะเป็ นผูร้ ูอ้ ปุ การะที่ทา่ นทาแล้ว และตอบแทน ฯ

หมวด ๓
➢ รัตนะ ๓ คือ แก้ว ๓ ดวง
๑. พระพุทธ ท่านผูส้ อนให้ประชาชนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินยั
๒. พระธรรม พระธรรมวินยั ที่เป็ นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า
๓. พระสงฆ์ หมู่ชนที่ฟังคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าแล้วปฏิบตั ชิ อบตามพระธรรมวินยั
2|P a g e
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ได้ช่ือว่ารัตนะ เพราะเป็ นของมีคณ
ุ ค่าและหาได้ยาก เหมือนเพชรนิลจินดามีค่ามาก นาประโยชน์และ
ความสุขมาให้แก่ผเู้ ป็ นเจ้าของ
➢ คุณของรตนะ ๓ อย่าง
๑. พระพุทธเจ้า รูด้ ีรูช้ อบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้รูต้ ามด้วย.
๒. พระธรรม ย่อมรักษาผูป้ ฏิบตั ิไม่ให้ตกไปในที่ช่วั .
๓. พระสงฆ์ ปฏิบตั ิชอบตามคาสั่งสอนของพระพุทธแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้กระทาตามด้วย.
➢ อาการทีพ
่ ระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน ๓ อย่าง
๑. ทรงสั่งสอนเพื่อให้ผฟู้ ั งรูย้ ิ่งเห็นจริงในธรรมทีค่ วรรูค้ วรเห็น
๒. ทรงสั่งสอนมีเหตุท่ผี ฟู้ ังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้.
๓. ทรงสั่งสอนเป็ นอัศจรรย์ คือผูป้ ฏิบตั ิตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบตั ิ.
(ปี 63, 58, 53, 49) พระธรรม คืออะไร ? มีคณ
ุ ต่อผูป้ ฏิบตั ิอย่างไร ?
ตอบ พระธรรม คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ มีคณ
ุ คือย่อมรักษาผูป้ ฏิบตั ิไม่ให้ตกไปในที่ช่วั ฯ
(ปี 62, 46) รัตนะ ๓ มีอะไรบ้าง? รัตนะ ๓ นัน้ มีคณ
ุ อย่างไร?
ตอบ มี พระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ฯ มีคณ
ุ อย่างนี ้ คือ ๑.พระพุทธเจ้ารูด้ ีรูช้ อบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้รูต้ าม
๒. พระธรรมย่อมรักษาผูป้ ฏิบตั ิไม่ให้ตกไปในที่ช่วั ๓. พระสงฆ์ปฏิบตั ิชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผูอ้ ื่นให้กระทาตาม ฯ
(ปี 60, 48) พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ได้ช่ือว่ารัตนะ เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะเป็ นของมีคณ
ุ ค่าและหาได้ยาก เหมือนเพชรนิลจินดามีคา่ มาก นาประโยชน์และความสุขมาให้แก่ผเู้ ป็ นเจ้าของ ฯ
(ปี 59, 44) พระรัตนตรัย กับไตรสรณคมน์ เป็ นอย่างเดียวกัน หรือต่างกันอย่างไร ?
การเปล่งวาจาถึงรัตนะ ๓ เป็ นที่พึ่ง จัดเป็ นอย่างไหน ใน ๒ อย่างนัน้ ?
ตอบ ต่างกัน คือ พระรัตนตรัย หมายถึง สิ่งที่เป็ นที่พึ่ง ๓ ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ส่วนไตรสรณคมน์ หมายถึง การยอมรับนับถือพระรัตนตรัยไว้เป็ นที่พึ่งของตน หรือการถึง(เข้าถึง) พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ฯ
จัดเป็ นไตรสรณคมน์ ฯ
(ปี 57) รัตนะ ๓ อย่าง คืออะไรบ้าง? รัตนะที่ ๒ มีคณ
ุ อย่างไร?
ตอบ คือพุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ฯ ย่อมรักษาผูป้ ฏิบตั ิไม่ให้ตกไปในที่ช่วั ฯ
(ปี 54) พระพุทธเจ้าคือใคร? ทรงสั่งสอนเป็ นอัศจรรย์อย่างไร?
ตอบ พระพุทธเจ้า คือท่านผูส้ อนให้ประชุมชนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินยั ฯ
ทรงสั่งสอนเป็ นอัศจรรย์ คือ ผูป้ ฏิบตั ิตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบตั ิ ฯ
(ปี 52) อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนมีกี่อย่าง? ข้อที่ว่า “ทรงสั่งสอนเป็ นอัศจรรย์” นัน้ คืออย่างไร?
ตอบ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ผูป้ ฏิบตั ิตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบตั ิ ฯ
(ปี 51) พระสงฆ์ในรัตนตรัยมีคณ
ุ อย่างไร?
ตอบ พระสงฆ์ในรัตนตรัยมีคณ
ุ คือ ท่านปฏิบตั ิชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนให้ผอู้ ื่นกระทาตามด้วย ฯ
(ปี 45) รัตนะที่ ๑ หมายถึงใคร? จงอธิบาย
ตอบ หมายถึงพระพุทธเจ้าฯ ได้แก่ท่านผูส้ อนให้ประชุมชนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินยั ที่ท่านเรียกว่าพระพุทธศาสนาฯ

3|P a g e
➢ โอวาท ๓ คือ ๑.เว้นจากทุจริต ๒.ประกอบสุจริต ๓.ทาจิตใจให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง มีโลภ โกรธ หลง เป็ นต้น
• พระพุทธศาสนาสอนเรื่องการทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง เพราะใจเป็ นธรรมชาติสาคัญ ถ้าใจเศร้าหมอง
ก็เป็ นเหตุให้ทาชั่ว การทาชั่วมีผลเป็ นความทุกข์ ถ้าใจผ่องแผ้ว ก็เป็ นเหตุให้ทาดี การทาดีมีผลเป็ นความสุข
• ทุจริต ๓ คือ ประพฤติช่วั ทางกาย วาจา ใจ
กายทุจริต ๓ ประพฤติช่วั ทางกาย คือ ฆ่าสัตว์, ลักทรัพย์, ประพฤติทางกาม
วจีทุจริต ๔ ประพฤติช่วั ทางวาจา คือ พูดเท็จ, พูดส่อเสียด, พูดคาหยาบ, พูดเพ้อเจ้อ
มโนทุจริต ๓ ประพฤติช่วั ทางใจ คือ โลภอยากได้ของเขา, พยาบาทปองร้ายเขา, เห็นผิดจากคลองธรรม(เช่น เห็นว่า บุญบาป
ไม่มี บิดามารดาไม่มีพระคุณ คุณบิดามารดาครูบาอาจารย์ไม่มี)
• สุจริต ๓ คือ ประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ
กายสุจริต ๓ ประพฤติชอบทางกาย คือ เว้นจากฆ่าสัตว์, เว้นจากลักทรัพย์, เว้นจากประพฤติทางกาม
วจีสุจริต ๔ ประพฤติชอบทางวาจา คือ เว้นจากพูดเท็จ, เว้นจากพูดส่อเสียด, เว้นจากพูดคาหยาบ, เว้นจากพูดเพ้อเจ้อ
มโนสุจริต ๓ ประพฤติชอบทางใจ คือ ไม่โลภอยากได้ของเขา, ไม่พยาบาทปองร้ายเขา, เห็นชอบตามคลองธรรม
(ปี 61) ทุจริต คืออะไร ? พูดใส่รา้ ยผูอ้ นื่ จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ? ตอบ ทุจริต คือ ความประพฤติช่วั ฯ จัดเข้าในวจีทจุ ริต ฯ
(ปี 55) กายทุจริต หมายความว่าอย่างไร? ตอบ กายทุจริต หมายถึง ความประพฤติช่วั ทางกาย
(ปี 54) เห็นผิดจากคลองธรรม คือเห็นอย่างไร? จัดเข้าในทุจริตข้อไหน?
ตอบ เห็นผิดจากคลองธรรม คือเห็นผิดจากความจริง เช่น เห็นว่า บุญบาปไม่มี บิดามารดาไม่มีพระคุณเป็ นต้นฯ จัดเข้าในมโนทุจริตฯ
(ปี 53) พระโอวาทของพระพุทธเจ้า หรือที่เรียกกันว่าหัวใจพระศาสนา มีกี่ขอ้ ? อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๓ ข้อ ฯ คือ ๑. เว้นจากทุกจริต คือประพฤติช่วั ด้วยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติดดี ว้ ยกาย วาจา ใจ
๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง มีโลภ โกรธ หลง เป็ นต้น ฯ
(ปี 53) ทุจริตคือะไร? ความเห็นว่าคุณของบิดามารดาครูบาอาจารย์ไม่มี บุญบาปไม่มี จัดเป็ นทุจริตข้อไหน?
ตอบ ทุจริต คือ ประพฤติช่วั ด้วยกาย วาจา ใจ ฯ จัดเป็ นมโนทุจริต ฯ
(ปี 51, 49, 45) โอวาทของพระพุทธเจ้ามีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๓ อย่าง คือ ๑. เว้นจากทุจริต คือ ประพฤติช่วั ด้วยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
๓. กระทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลงเป็ นต้น ฯ
(ปี 50) มโนสุจริตคืออะไร? มีอะไรบ้าง? ตอบ มโนสุจริต คือ การประพฤติชอบด้วยใจ ฯ มี ๑.ไม่โลภอยากได้ของเขา ๒.ไม่พยาบาทปองร้าย
เขา ๓.เห็นชอบตามคลองธรรม ฯ
(ปี 47) เพราะเหตุไร หลักคาสอนในทางพระพุทธศาสนาจึงสอนเรื่องการทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมอง?
ตอบ เพราะใจเป็ นธรรมชาติสาคัญ ถ้าใจเศร้าหมอง ก็เป็ นเหตุให้ทาชั่ว การทาชั่วมีผลเป็ นความทุกข์ ถ้าใจผ่องแผ้ว ก็เป็ นเหตุให้ทาดี การ
ทาดีมีผลเป็ นความสุข ฯ
(ปี 43) คนที่รบั ปากรับคาเขาไว้แล้ว แต่ไม่ทาตามนัน้ จัดเข้าในทุจริตข้อไหน? ตอบ จัดเข้าในวจีทจุ ริต

➢ อกุศลมูล ๓ รากเหง้าของอกุศล ๑. โลภะ อยากได้ของเขา ๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๓.โมหะ หลงไม่รูจ้ ริง


เมื่ออกุศลมูลเหล่านีม้ ีอยู่แล้ว อกุศลอื่นที่ยงั ไม่เกิดก็เกิดขึน้ ที่เกิดขึน้ แล้วก็เจริญมากขึน้ เหตุนนั้ ควรละเสีย.

4|P a g e
(ปี 63, 52, 43) มูลเหตุท่ที าให้บคุ คลทาความชั่ว เรียกว่าอะไร? มีอะไรบ้าง? เมื่อเกิดขึน้ แล้วควรปฏิบตั ิอย่างไร ?
ตอบ เรียกว่า อกุศลมูล ฯ มี ๑. โลภะ อยากได้ ๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๓. โมหะ หลงไม่รูจ้ ริง ฯ
เมื่อเกิดขึน้ แล้วควรละเสีย ด้วย ทาน ศีล ภาวนา ฯ
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาว่า อกุสลมูล ตอบ หมายถึง รากเหง้าของอกุศล
(ปี 54) รากเหง้าของอกุศลเรียกว่าอะไร? มีอะไรบ้าง? เพราะเหตุใดจึงควรละเลีย?
ตอบ เรียกว่า อกุศลมูล ฯ มี โลภะ โทสะ โมหะ ฯ เหตุท่ตี อ้ งละเสียเพราะเมื่ออกุศลมูลเหล่านีม้ ีอยู่ อกุศลอื่นที่ยงั ไม่เกิดก็เกิดขึน้ ที่เกิดแล้วก็
เจริญมากขึน้

➢ กุศลมูล ๓ รากเหง้าของกุศล ๑. อโลภะ ไม่อยากได้ของเขา ๒. อโทสะ ไม่คดิ ประทุษร้ายเขา ๓. อโมหะ ไม่หลงงมงาย


ถ้ากุศลมูลเหล่านีม้ ีอยู่แล้ว กุศลอื่นที่ยงั ไม่เกิดก็เกิดขึน้ ที่เกิดแล้วก็เจริญมากขึน้ เหตุนนั้ ควรให้เกิดมีในสันดาน.
(ปี 49) คนเราจะประพฤติดีหรือประพฤติช่วั มีมลู เหตุมาจากอะไร?
ตอบ คนประพฤติดมี ีมลู เหตุมาจากอโลภะ อโทสะ อโมหะ ส่วนคนประพฤติช่วั มีมลู เหตุมาจากโลภะ โทสะ โมหะ ฯ

➢ สัปปุริสบัญญัติ ๓ ข้อที่สตั บุรุษตัง้ ไว้ หรือเรียกอีกอย่างว่า บัณฑิตบัญญัติ


๑. ทาน สละสิ่งของของตนเพื่อประโยชน์แก่ผอู้ ื่น
๒. ปั พพัชชา ถือบวช เป็ นอุบายเว้นจากเบียดเบียนกันและกัน
๓. มาตาปิ ตุอุปัฏฐาน การบารุงบิดามารดาของตนให้เป็ นสุข
(ปี 55) มาตาปิ ตอุ ปุ ั ฏฐาน หมายความว่าอย่างไร? ตอบ มาตาปิ ตอุ ปุ ั ฏฐาน หมายถึง การบารุงบิดามารดาของตนให้เป็ นสุข

➢ บุญกิริยาวัตถุ ๓ สิ่งเป็ นที่ตงั้ แห่งการบาเพ็ญบุญ


๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ๓.ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา
(ปี 62, 43) สิ่งเป็ นที่ตงั้ แห่งการบาเพ็ญบุญเรียกว่าอะไร? โดยย่อมีเท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ เรียกว่า บุญกิรยิ าวัตถุ โดยย่อมี ๓ คือ ๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล
๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา
(ปี 58) บุญกิรยิ าวัตถุ คืออะไร ? โดยย่อมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ตอบ คือสิ่งเป็ นที่ตงั้ แห่งการบาเพ็ญบุญ ฯ มี ๓ ฯ คือ ๑. ทานมัย บุญสาเร็จ
ด้วยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ฯ
(ปี 56) การทาบุญโดยย่อมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ตอบ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ทาน ศีล ภาวนา ฯ
(ปี 47) บุญกิรยิ าวัตถุ คืออะไร? ในบุญกิรยิ าวัตถุ ๓ นัน้ ข้อไหนกาจัดความโลภ ความโกรธ และ ความหลง?
ตอบ คือ สิง่ เป็ นที่ตงั้ แห่งการบาเพ็ญบุญ ฯ ทานมัยกาจัดความโลภ สีลมัยกาจัดความโกรธ ภาวนามัยกาจัดความหลง ฯ

➢ สามัญลักษณะ ๓ (ไตรลักษณะ ๓) คือ ลักษณะ ๓ ประการของสังขารทัง้ ปวง ได้แก่


๑. อนิจจตา ความเป็ นของไม่เที่ยง ๒. ทุกขตา ความเป็ นทุกข์ ๓. อนัตตตา ความเป็ นของไม่ใช่ตน
(ปี 60, 53) ไตรลักษณ์ ได้แก่อะไรบ้าง? ตอบ ๑.อนิจจตา ความเป็ นของไม่เที่ยง ๒.ทุกขตา ความเป็ นทุกข์ ๓.อนัตตตา ความเป็ นของไม่ใช่ตน
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาว่า อนัตตตา ตอบ อนัตตตา ความเป็ นของไม่ใช่ตน
5|P a g e
หมวด ๔
➢ วุฑฒิ ๔ ธรรมเป็ นเครือ่ งเจริญ ๔ อย่าง
๑. สัปปุริสสังเสวะ คบสัตบุรุษ ๓. โยนิโสมนสิการ ตริตรองให้รูจ้ กั สิ่งที่ดีหรือชั่วโดยอุบายที่ชอบ
๒. สัทธัมมัสสวนะ ฟั งคาสั่งสอนของท่านโดยเคารพ ๔. ธัมมานุธัมมปฏิปัตติ ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งได้ตรองเห็นแล้ว
(ปี 45) บุคคลผูห้ วังความเจริญ ควรตัง้ อยู่ในธรรมอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ ควรตัง้ อยู่ในวุฑฒิธรรม ฯ มี ๑. คบสัตบุรุษ ๒. ฟั งคาสั่งสอนของท่านโดยเคารพ ๓. ตริตรองให้รูจ้ กั สิ่งที่ดีหรือชั่วโดยอุบายที่ชอบ
๔. ประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรมซึ่งได้ตรองเห็นแล้ว ฯ

➢ จักร ๔ ธรรมเป็ นดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ.


๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยูใ่ นประเทศอันสมควร ๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตัง้ ตนไว้ชอบ
๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็ นผูไ้ ด้ทาความดีไว้ในปางก่อน
(ปี 58, 46) ธรรมดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ เรียกว่าอะไร ? จงบอกมาสัก ๒ ข้อ
ตอบ เรียกว่า จักร ฯ ได้แก่ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้อ) ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยูใ่ นประเทศอันสมควร ๒. สัปปุรสิ ปู ั สสยะ คบสัตบุรุษ
๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตัง้ ตนไว้ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็ นผูไ้ ด้ทาความดีไว้ในปางก่อน ฯ
(ปี 55, 46) ปุพเพกตปุญญตา หมายความว่าอย่างไร? ตอบ ปุพเพกตปุญญตา หมายถึง ความเป็ นผูไ้ ด้ทาความดีไว้ในปางก่อน
(ปี 48) ธรรม ๔ อย่าง ดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ ข้อว่า “คบสัตบุรุษ คือคนดี” นัน้ จะนาไปสู่ความเจริญได้อย่างไร?
ตอบ เมื่อคบสัตบุรุษแล้วย่อมเป็ นเหตุให้คิดดีพดู ดีทาดี อันก่อให้เกิดความสุขความเจริญ ทัง้ แก่ตนเองและผูอ้ ื่น พ้นจากความทุกข์ความ
เดือดร้อน ทัง้ ยังให้ถึงความเจริญอย่างที่สดุ คือพระนิพพานได้ ฯ
(ปี 43) หลักธรรมดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๔ อย่างคือ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๒. สัปปุรสิ ปู ั สสยะ คบสัตบุรุษ
๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตัง้ ตนไว้ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็ นผูไ้ ด้ทาความดีไว้ในปางก่อน

➢ อคติ ๔ ความประพฤติท่ผี ิดด้วยความลาเอียง ด้วยความไม่เที่ยงธรรม


๑. ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรักใคร่กนั ๓. โมหาคติ ลาเอียงเพราะโง่เขลา
๒. โทสาคติ ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน ๔. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลัว
(ปี 58) บุคคลผูร้ กั ษาความยุติธรรมไว้ได้ ควรเว้นจากธรรมอะไร ? ธรรมนัน้ มีอะไรบ้าง ?
ตอบ ควรเว้นจากอคติ ๔ ฯ มี ๑. ความลาเอียงเพราะรักใคร่กนั เรียกว่า ฉันทาคติ ๒. ความลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน เรียกว่า โทสาคติ
๓. ความลาเอียงเพราะเขลา เรียกว่า โมหาคติ ๔. ความลาเอียงเพราะกลัว เรียกว่า ภยาคติ ฯ
(ปี 55) ผูจ้ ะดารงความยุติธรรมไว้ได้ ต้องประพฤติอย่างไรบ้าง?
ตอบ ต้องประพฤติดงั นี ้ ๑. ไม่ลาเอียงเพราะรักใคร่กนั อันเรียกว่า ฉันทาคติ ๒. ไม่ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน อันเรียกว่า โทสาคติ
๓.ไม่ลาเอียงเพราะเขลา อันเรียกว่า โมหาคติ ๔.ไม่ลาเอียงเพราะกลัว อันเรียกว่า ภยาคติ ฯ
(ปี 51) ธรรมหมวดหนึง่ เป็ นเหตุให้ผปู้ ระพฤติขาดความเที่ยงธรรมชื่อว่าอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ ชื่อว่า อคติ ความลาเอียง ฯ มี ๑. ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรักใคร่กนั ๒. โทสาคติ ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน
๓. โมหาคติ ลาเอียงเพราะเขลา ๔. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลัว ฯ
6|P a g e
➢ อันตรายของภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ ๔ อย่าง
๑. อดทนต่อคาสั่งสอนไม่ได้ คือเบื่อต่อคาสั่งสอนขีเ้ กียจทาตาม. ๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สขุ ยิง่ ๆ ขึน้ ไป.
๒. เป็ นคนเห็นแก่ปากแก่ทอ้ ง ทนความอดอยากไม่ได้. ๔. รักผูห้ ญิง.
(ปี 59) ภิกษุสามเณรผูบ้ วชใหม่ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง ?
ตอบ ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง คือ ๑. อดทนต่อคาสอนไม่ได้ คือเบื่อหน่ายต่อคาสั่งสอน ขีเ้ กียจทาตาม
๒. เป็ นคนเห็นแก่ปากแก่ทอ้ ง ทนต่อความอยากไม่ได้ ๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สขุ ยิ่งๆ ขึน้ ไป ๔. รักผูห้ ญิง ฯ
(ปี 43) อันตรายของภิกษุสามเณรผูบ้ วชใหม่ ข้อไหนเป็ นอันตรายที่สดุ ? เพราะเหตุไร?
ตอบ ข้อ ๓ คือ เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สขุ ยิ่ง ๆ ขึน้ ไป เป็ นอันตรายที่สดุ เพราะอันตรายข้ออื่น ๆ ย่อมรวมลงในกามคุณทัง้ สิน้

➢ ปธาน คือความเพียร ๔ อย่าง หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สัมมัปปธาน ๔


๑. สังวรปธาน เพียรระวังมิให้ปาปเกิดขึน้ ในสันดาน. ๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ในสันดาน.
๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึน้ แล้ว. ๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึน้ แล้วไม่ให้เสื่อม.
ความเพียร ๔ อย่างนี ้ เป็ นความเพียรชอบ ควรประกอบให้มีในตน.
(ปี 49) ปธานคือความเพียร ๔ มีอะไรบ้าง? งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปธานข้อไหน?
ตอบ มี ๑.สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึน้ ในสันดาน ๒.ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึน้ แล้ว
๓.ภาวนาปธาน เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ในสันดาน ๔.อนุรกั ขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึน้ แล้วมิให้เสื่อม ฯ
งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปหานปธาน ฯ
(ปี 46) เพียรระวังตนให้หา่ งไกลจากสิ่งเสพติด จัดเข้าในปธานข้อไหน? ตอบ จัดเข้าในสังวรปธาน ฯ
(ปี 44) คนเสพยาเสพย์ติด เพียรพยายามจะเลิกให้ได้ ชื่อว่าตัง้ อยูใ่ นปธานข้อไหน? ตอบ ตัง้ อยูใ่ นปหานปธาน

➢ อธิษฐานธรรม ๔ คือ ธรรมที่ควรตัง้ ไว้ในใจ ๔ อย่าง


(ปี 43) อธิษฐานธรรมคือธรรมที่ควรตัง้ ไว้ในใจ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ ๑. ปั ญญา รอบรูส้ ิ่งที่ควรรู.้ ๓. จาคะ สละสิ่งที่เป็ นข้าศึกแก่ความจริงใจ.
๒. สัจจะ ความจริงใจ คือประพฤติสิ่งใดก็ให้ได้จริง. ๔. อุปสมะ สงบใจจากสิ่งที่เป็ นข้าศึกแก่ความสงบ.

➢ อิทธิบาท ๔ คุณธรรมเครื่องให้สาเร็จความประสงค์
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนัน้ ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไม่วางธุระ
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนัน้ ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนัน้
(ปี 62, 60, 43) ผูท้ ่ที างานไม่สาเร็จผลตามที่มงุ่ หมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง?
ตอบ เพราะขาดอิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนัน้
๒. วิรยิ ะ เพียรประกอบสิ่งนัน้ ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไม่วางธุระ ๔. วิมงั สา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนัน้
(ปี 57) คุณธรรมเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ คืออิทธิบาท ๔ ฯ มี ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิง่ นัน้ ๒. วิรยิ ะ เพียรประกอบสิ่งนัน้ ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไม่วางธุระ
๔. วิมงั สา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนัน้ ฯ
7|P a g e
(ปี 53) นักเรียนผูต้ อ้ งการจะเรียนหนังสือให้ได้ผลดี จะนาอิทธิบาทมาใช้อย่างไร?
ตอบ ในเบือ้ งต้น ต้องสร้างฉันทะคือความพอใจในการศึกษาเล่าเรียนก่อน เมื่อมีความพอใจ จะเป็ นเหตุให้ขยันศึกษาหาความรูท้ ่เี รียกว่าวิรยิ ะ
และเกิดความใฝ่ ใจใครรูส้ ิ่งต่างๆ มากขึน้ ที่เรียกว่าจิตตะ เมื่อเรียนรูแ้ ล้วก็ตอ้ งนาความรูน้ ั้นมาใคร่ครวญพิจารณาให้เข้าใจเหตุและผลอย่าง
ถูกต้องที่เรียกว่าวิมงั สา ดังนีก้ ็จะประสบผลสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียนได้
(ปี 45) ผูป้ ระกอบกิจการงานสาเร็จตามความประสงค์เพราะประพฤติธรรมอะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ เพราะประพฤติอิทธิบาท ๔ มี ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนัน้ ๒. วิรยิ ะ เพียรประกอบสิ่งนัน้
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ ในสิ่งนัน้ ไม่วางธุระ ๔. วิมงั สา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนัน้ ฯ

➢ ปาริสุทธิศีล ๔ ข้อปฏิบตั ิท่ที าให้ศีลบริสทุ ธิ์


๑. ปาติโมกขสังวร สารวมในพระปาติโมกข์ เว้นข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ทาตามข้อที่พระองค์ทรงอนุญาต.
๒. อินทรียสังวร สารวมอินทรีย์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ไม่ให้ยินดียินร้าย ในเวลาเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส กายสัมผัส รูธ้ รรมารมณ์.
๓. อาชีวปาริสุทธิ เลีย้ งชีวิตโดยทางที่ชอบ ไม่หลอกลวงเขาเลีย้ งชีวติ .
๔. ปั จจยปั จจเวกขณะ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปั จจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา.
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาว่า อินทรียสังวร ตอบ หมายถึง ความสารวมอินทรีย ์
(ปี 55) การสารวมอินทรีย ์ ได้แก่การกระทาอย่างไร? เมื่อกระทาเช่นนัน้ แล้วจะได้รบั ประโยชน์อะไร?
ตอบ การสารวมอินทรีย ์ ๖ คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ไม่ให้ยินดี ยินร้าย เมื่อเห็นรูป ได้ยินเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส กายสัมผัส รูธ้ รรมารมณ์ ฯ
ได้ประโยชน์ คือ ไม่เกิดความยินดี ไม่เกิดความยินร้าย ในเวลาเห็นรูป ได้ยินเสียง เป็ นต้น ฯ
(ปี 51) อินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย ์ อินทรียไ์ ด้แก่อะไรบ้าง ? ตอบ อินทรีย ์ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ฯ
(ปี 50) ภิกษุสามเณรผูบ้ วชใหม่จะต้องมีอินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย ์ สารวมอินทรียน์ นั้ คืออย่างไร ?
ตอบ สารวมอินทรีย ์ คือระวังตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ไม่ให้ความยินดียินร้ายครอบงาได้ ในเวลาเห็นรูป ฟั งเสียง ดมกลิ่น ลิม้ รส ถูกต้อง
โผฏฐัพพะ รูธ้ รรมารมณ์ ฯ
(ปี 48) ปั จจยปั จจเวกขณะ หมายความว่าอย่างไร ? ตอบ หมายความว่า พิจารณา (ถึงคุณและโทษของปัจจัย ๔) ก่อน จึงบริโภคปั จจัย ๔
คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา ฯ
(ปี 46) จงอธิบายความหมายของคาต่อไปนี ้ ? ก. ปั จจยปั จจเวกขณะ ข. อภิณหปั จจเวกขณะ
ตอบ ก. ปั จจยปั จจเวกขณะคือพิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปั จจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา ฯ
ข. อภิณหปั จจเวกขณะคือพิจารณาทุก ๆ วันว่า เรามีความแก่ มีความเจ็บมีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ เจ็บ ตายไปได้ เรา
ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ เรามีกรรมเป็ นของ ๆ ตน เราทาดี จักได้ดี ทาชั่ว จักได้ช่วั ฯ

➢ พรหมวิหาร ๔ ธรรมเป็ นเครื่องอยู่ของท่านผูใ้ หญ่


๑. เมตตา ความรักใคร่ ปรารถนาจะให้เป็ นสุข. ๓. มุทติ า ความพลอยยินดี เมื่อผูอ้ ื่นได้ดี.
๒. กรุ ณา ความสงสาร คิดจะช่วยให้พน้ ทุกข์. ๔. อุเบกขา ความวางเฉย ไม่ดใี จ ไม่เสียใจ เมื่อผูอ้ ื่นถึงความวิบตั ิ.
(ปี 57)เมื่อเพื่อนร่วมงานได้เลื่อนตาแหน่ง ไม่คิดริษยา พลอยยินดีกบั เขาด้วย ชื่อว่าปฏิบตั ิตามพรหมวิหารธรรมข้อใด? ตอบมุทิตาฯ
(ปี 53) พรหมวิหาร ๔ มีอะไรบ้าง? ตอบ มี เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ฯ

8|P a g e
➢ ธาตุกัมมัฏฐาน ๔ การกาหนดพิจารณาร่างกายที่ประกอบด้วยธาตุ ๔ คือ
๑. ปฐวีธาตุ ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ ธาตุนา้ ๓. เตโชธาตุ ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ ธาตุลม
(ปี 63) ธาตุ ๔ คืออะไรบ้าง ? ฟันจัดเป็ นธาตุอะไร ? ตอบ คือ ธาตุดิน ธาตุนํ า้ ธาตุไฟ ธาตุลมฯ เป็ นธาตุดินฯ
(ปี 51) ธาตุ ๔ มีธาตุอะไรบ้าง? ธาตุมีลกั ษณะแข้นแข็ง คือธาตุอะไร?
ตอบ ธาตุ ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุนา้ ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ ธาตุมีลกั ษณะแข้นแข็ง คือ ธาตุดิน ฯ
(ปี 46) ธาตุกมั มัฏฐาน มีอะไรบ้าง? กาหนดพิจารณาอย่างไร เรียกว่า ธาตุกมั มัฏฐาน? ตอบ มี ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุนา้ ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ
กาหนดพิจารณากายนี ้ ให้เห็นว่าเป็ นแต่เพียงธาตุ ๔ คือ ดิน นา้ ไฟ ลม ประชุมกันอยู่ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่ข องเรา เรียกว่า ธาตุกมั มัฏฐาน ฯ

➢ อริยสัจ ๔ ความจริงอันประเสริฐ
๑. ทุกข์ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๓. นิโรธ ความดับทุกข์
๒. สมุทัย เหตุให้ทกุ ข์เกิด คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก) ๔. มรรค ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ คือ มรรคมีองค์ ๘
• ความไม่สบายกาย ไม่สบายใจ ได้ช่ือว่าทุกข์ เพราะเป็ นของทนได้ยาก.
• ตัณหา คือความทะยานอยาก ได้ช่ือว่าสมุทัย เพราะเป็ นเหตุให้ทกุ ข์เกิด.
• ตัณหานัน้ มี ๓ ประเภท คือ ความอยากในอารมณ์ท่นี า่ รักใคร่ เรียกว่า กามตัณหา
ความอยากเป็ นโน่นเป็ นนี่ เรียกว่า ภวตัณหา
ความอยากไม่เป็ นโน่นเป็ นนี่ เรียกว่า วิภวตัณหา
• ความดับตัณหาได้สนิ ้ เชิง ทุกข์ดบั ไปหมด ได้ช่ือว่านิโรธ เพราะเป็ นความดับทุกข์.
• ปั ญญาอันเห็นชอบว่า สิ่งนีท้ กุ ข์ สิ่งนีเ้ หตุให้ทกุ ข์เกิด สิ่งนีค้ วามดับทุกข์ สิ่งนีท้ างให้ถงึ ความดับทุกข์
ได้ช่ือว่า มรรค เพราะเป็ นข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดับทุกข์.
• มรรคนั้นมีองค์ ๘ ประการ คือ ปั ญญาอันเห็นชอบ ๑ ดาริชอบ ๑ เจรจาชอบ ๑ การงานชอบ ๑ เลีย้ งชีวิตชอบ ๑ เพียร
ชอบ ๑ ตัง้ สติชอบ ๑ ตัง้ ใจชอบ ๑. [หมายเหตุ ปัญญาอันเห็นชอบ เรานิยมพูดสัน้ ๆ ว่า “ความเห็นชอบ” ]
(ปี 61) อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ความไม่สบายกายไม่สบายใจ จัดเป็ นอริยสัจ ข้อไหน ?
ตอบ มี ๑. ทุกข์ ๒. สมุทยั คือเหตุให้เกิดทุกข์ ๓. นิโรธ คือความดับทุกข์ ๔. มรรค คือข้อปฏิบตั ิให้ถงึ ความดับทุกข์ ฯ จัดเป็ นทุกข์ ฯ
(ปี 57, 56) เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร? ตอบ คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ
(ปี 54, 45) ทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร? เหตุให้เกิดทุกข์คืออะไร?
ตอบ ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ เหตุให้เกิดทุกข์คือ ตัณหา (ความทะยานอยาก)
(ปี 52) ปั ญญาอันเห็นชอบอย่างไร จึงชื่อว่ามรรคในอริยสัจ ๔? เพราะเหตุไร?
ตอบ ปั ญญาอันเห็นชอบว่าสิ่งนีท้ กุ ข์ สิ่งนีเ้ หตุให้ทกุ ข์เกิด สิ่งนีค้ วามดับทุกข์ สิ่งนีท้ างให้ถงึ ความดับทุกข์ ได้ช่ือว่ามรรค ฯ เพราะเป็ นข้อปฏิบตั ิ
ให้ถึงความดับทุกข์ ฯ
(ปี 44) อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง? ปรารถนาสิ่งใด ไม่ได้สมหวัง จัดเป็ นอริยสัจข้อไหน ?
ตอบ มี ๑. ทุกข์ ๒. สมุทยั คือ เหตุให้ทกุ ข์เกิด ๓. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ๔. มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ฯ จัดเป็ นทุกข์ ฯ

9|P a g e
หมวด ๕
➢ อนันตริยกรรม ๕ กรรมอันเป็ นบาปหนักที่สดุ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตัง้ อยูใ่ นฐานปาราชิกของผูถ้ ือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้
ทาเป็ นเด็ดขาด.
๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา. ๔. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้หอ้ ขึน้ ไป.
๒. ปิ ตุฆาต ฆ่าบิดา. ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน.
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์.
(ปี 62, 44) กรรมที่เป็ นบาปหนักที่สดุ มีช่อื เรียกว่าอะไร ? คืออะไรบ้าง ?
ตอบ มีช่ือเรียกว่า อนันตริยกรรม ฯ คือ ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิ ตฆุ าต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตปุ บาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้หอ้ ขึน้ ไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ
(ปี 58) กรรมอันเป็ นบาปหนักที่สดุ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน คือกรรมอะไร ? จงยกตัวอย่างสัก ๓ ข้อ
ตอบ คืออนันตริยกรรม ฯ มี (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ) ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิ ตฆุ าต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตปุ บาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้หอ้ ขึน้ ไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ
(ปี 47) ในพระพุทธศาสนา บุคคลผูฆ้ ่ามารดาบิดา ได้ช่ือว่าเป็ นผูท้ าอนันตริยกรรม จะได้รบั โทษอย่างไร ?
ตอบ จะได้รบั โทษคือ ต้องไปสู่ทคุ ติ ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ฯ
(ปี 44) กรรมที่เป็ นบาปหนักที่สดุ มีช่ือเรียกว่าอะไร? คืออะไรบ้าง? เพราะเหตุไรจึงเป็ นกรรมที่เป็ นบาปหนักที่สดุ ?
ตอบ มีช่ือเรียกว่า อนันตริยกรรม ฯ คือ ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิ ตฆุ าต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตปุ บาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้หอ้ ขึน้ ไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ
เพราะห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน ตัง้ อยูใ่ นฐานปาราชิกของผูน้ บั ถือพระพุทธศาสนา ห้ามไม่ให้ทาเป็ นเด็ดขาด ฯ

➢ อภิณหปั จจเวกขณ์ ๕ สิ่งที่ควรพิจารณาทุกวัน ๆ


๑. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีความแก่เป็ นธรรมดา ไม่ลว่ งพ้นความแก่ไปได้.
ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเมาในความเป็ นเด็กหรือในความเป็ นหนุ่มเป็ นสาว เห็นแก่ความสนุกเพลิดเพลิน ให้ตงั้ ใจศึกษา
เล่าเรียน และทากิจที่ควรทาในขณะที่ยงั ไม่แก่.
๒. ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เรามีความเจ็บเป็ นธรรมดา ไม่ลว่ งพ้นความเจ็บไปได้.
ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเมาในความไม่มีโรคภัยไข้เจ็บแล้ว รีบเร่งศึกษาเล่าเรียน และทากิจที่ควรทาในขณะที่ยงั ไม่มีโรค.
๓. ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เรามีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ลว่ งพ้นความตายไปได้.
ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเมาในชีวติ แล้วรีบเร่งทากิจที่ควรทาให้สาเร็จก่อนที่ควรตายจะมาถึง.
๔. ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ .
ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความยึดมั่น ถือมั่นว่า สิ่งนัน้ คนนัน้ เป็ นที่รกั ของเรา จักไม่ตอ้ งเสียใจในเมื่อต้องพลัดพรากจริง ๆ.
๕. ควรพิจารณาทุกวัน ๆ ว่า เรามีกรรมเป็ นของตัว เราทาดีจักได้ดี ทาชั่วจักได้ช่วั .
ประโยชน์คือ เพื่อบรรเทาความเห็นผิดว่า คนจะดีก็ดเี อง จะชั่วก็ช่วั เอง จะได้สขุ ทุกข์ก็ได้เอง แล้วรีบเร่งทาแต่กรรมดี งดเว้นกรรมชั่ว.
(ปี 61) สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเนืองๆ มีอะไรบ้าง ? ทรงให้พิจารณาอย่างไร ?
ตอบ มี ความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพราก และกรรม ฯ

10 | P a g e
ทรงสอนให้พิจารณาว่า ๑. เรามีความแก่เป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒. เรามีความเจ็บไข้เป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
๓. เรามีความตายเป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้
๕. เรามีกรรมเป็ นของตัวเรา ทาดีจกั ได้ดีทาชั่วจักได้ช่วั ฯ
(ปี 56) อภิณหปั จจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อย่าง ทรงสอนให้พิจารณาอะไรบ้าง?
ตอบ ทรงสอนให้พจิ ารณา ๑. ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
๒. ความเจ็บไข้ ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
๓. ความตาย ว่าเรามีความตายเป็ นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้
๔. ความพลัดพราก ว่าเราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้
๕. กรรม ว่าเรามีกรรมเป็ นของตัวเราทาดีจกั ได้ดีทาชั่วจักได้ช่วั ฯ
(ปี 54) อภิณหปั จจเวกขณ์ขอ้ ว่า ควรพิจารณาทุกๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ ดังนี ้ ผูพ้ ิจารณาได้รบั ประโยชน์
อย่างไร? ตอบ ประโยชน์คือ ช่วยบรรเทาความพอใจรักใคร่ในของรักของชอบใจและป้องกันความทุกข์โทมนัส ในเวลาเมื่อตนต้องพลัดพราก
จากของรักของชอบใจ
(ปี 50) ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ ข้อความนีอ้ ยูใ่ นหมวดธรรมอะไร? ท่านให้พิจารณาอย่าง
นีเ้ พื่ออะไร? ตอบ อยู่ในธรรมหมวดอภิณหปั จจเวกขณ์ ๕ ฯ เพื่อบรรเทาความยึดมั่นถือมั่นว่า สิ่งนัน้ คนนัน้ เป็ นที่รกั ของเรา จักไม่ตอ้ ง
เสียใจในเมื่อต้องพลัดพรากจากสิ่งนัน้ คนนัน้ จริง ๆ ฯ
(ปี 46) จงอธิบายความหมายของคาต่อไปนี ้ ? ก. ปั จจยปั จจเวกขณะ ข. อภิณหปั จจเวกขณะ
ตอบ ก.ปั จจยปั จจเวกขณะ คือ พิจารณาเสียก่อนจึงบริโภคปั จจัย ๔ คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ไม่บริโภคด้วยตัณหา ฯ
ข.อภิณหปั จจเวกขณะ คือ พิจารณาทุก ๆ วันว่า เรามีความแก่ มีความเจ็บมีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความแก่ เจ็บ ตายไปได้ เรา
ต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้ เรามีกรรมเป็ นของ ๆ ตน เราทาดี จักได้ดี ทาชั่ว จักได้ช่ วั ฯ

➢ องค์แห่งพระธรรมกถึก ๕ คุณสมบัติของนักเทศน์
(ปี 57) การจะเป็ นนักเทศก์ท่ดี จี ะต้องมีคณ
ุ สมบัติอะไรบ้าง? จงตอบมาสัก ๓ ข้อ
ตอบ ๑. แสดงธรรมโดยลาดับ ไม่ตดั ลัดให้ขาดความ ๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ
๒. อ้างเหตุผลแนะนาให้ผฟู้ ั งเข้าใจ ๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผูอ้ ื่น คือไม่ยกตนเสียดสีผอู้ ื่น ฯ
๓. ตัง้ จิตเมตตาปรารถนาให้เป็ นประโยชน์แก่ผฟู้ ั ง
(เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)

➢ อานิสงส์แห่งการฟั งธรรม ๕ อย่าง


(ปี 58) อานิสงส์แห่งการฟั งธรรม มีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๑. ผูฟ้ ั งธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟัง ๔. ทาความเห็นให้ถกู ต้องได้
๒. สิง่ ใดได้เคยฟั งแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนัน้ ชัด ๕. จิตของผูฟ้ ั งย่อมผ่องใส ฯ
๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้

11 | P a g e
➢ พละ ๕ ธรรมเป็ นกาลัง ๕ อย่าง (หรือ จะเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า อินทรีย ์ ๕ เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน)
๑. สัทธา ความเชื่อ ๔. สมาธิ ความตัง้ ใจมั่น
๒. วิริยะ ความเพียร ๕. ปั ญญา ความรอบรู ้
๓. สติ ความระลึกได้
(ปี 52) ธรรมเป็ นกาลัง ๕ อย่าง คืออะไรบ้าง? ธรรม ๕ อย่างนัน้ เรียกว่าอินทรีย ์ เพราะเหตุไร?
ตอบ ธรรมเป็ นกาลัง ๕ อย่าง คือ ๑. สัทธา ความเชื่อ ๒. วิรยิ ะ ความเพียร ๓. สติ ความระลึกได้ ๔. สมาธิ ความตัง้ ใจมั่น
๕. ปั ญญา ความรอบรู ้ ฯ ธรรม ๕ อย่างนัน้ เรียกว่าอินทรีย ์ เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน ฯ

➢ นิวรณ์ ๕ ธรรมอันกัน้ จิตไม่ให้บรรลุความดี


๑. กามฉันทะ พอใจรักใคร่อารมณ์ท่ชี อบใจ มีรูป เป็ นต้น ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ
๒. พยาบาท ปองร้ายผูอ้ ื่น ๕. วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงได้
๓. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิม้
(ปี 60, 50) ธรรมอันเป็ นเครื่องกัน้ จิตไม่ให้บรรลุความดี คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ คือ นิวรณ์ ๕ ฯ มี ๑. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ท่ีชอบใจมีรูปเป็ นต้น ๒. พยาบาท ปองร้ายผูอ้ ื่น
๓. ถีนมิทธะ ความที่จติ หดหู่และเคลิบเคลิม้ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ ๕. วิจกิ ิจฉา ลังเลไม่ตกลงใจ ฯ
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาว่า กามฉันท์ ตอบ หมายถึง ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ท่ชี อบใจมีรูปเป็ นต้น ฯ
(ปี 55) คิดอย่างไรเรียกว่าพยาบาท? คิดอย่างนัน้ เกิดโทษอะไร? ตอบ คิดปองร้ายผูอ้ ื่นฯ เกิดโทษคือปิ ดกัน้ จิตใจไม่ให้บรรลุความดีฯ
(ปี 49) อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านและราคาญ จัดเข้าในขันธ์ไหนในขันธ์ ๕? เพราะเหตุไร?
ตอบ จัดเข้าในสังขารขันธ์ ฯ เพราะความฟุง้ ซ่านและราคาญ เป็ นเจตสิกธรรมที่เกิดขึน้ กับใจ ฯ
(ปี 47) ธรรมอันกัน้ จิตไม่ให้บรรลุความดี เรียกว่าอะไร? ความดีทถี่ ูกกั้นไว้ไม่ให้บรรลุ หมายถึง ความดีอย่างไหน?
ตอบ เรียกว่า นิวรณ์ ฯ หมายถึงความดีทกุ ๆ อย่าง ความดีท่ถี กู กัน้ ไว้ไม่ให้บรรลุแต่เมื่อกล่าวโดยตรง ได้แก่สมาธิ คือการทาจิตใจให้สงบ ฯ

➢ ขันธ์ ๕ " ขันธ์ " แปลว่า " กอง " คือ กายกับใจ
๑. รูป ธาตุ ๔ คือ ดิน นา้ ไฟ ลม มาประชุมกันเป็ นกายนี ้
๒. เวทนา ความเสวยอารมณ์ สุข ทุกข์ เฉยๆ
๓. สัญญา ความจาได้หมายรู ้
๔. สังขาร สิ่งที่ปัจจัยปรุงแต่ง หรือ ความคิด (คิดปรุง คิดดีบา้ ง คิดชั่วบ้าง คิดไม่ดีไม่ช่วั บ้าง ความคิดปรุงแต่งจิต ให้มีอาการต่าง ๆ)
๕. วิญญาณ ความรูแ้ จ้งอารมณ์ ในเวลาเมื่อรูปมากระทบตาเป็ นต้น
ขันธ์ ๕ นี ้ เรียกโดยย่อว่า นามรูป. เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รวมเข้าเป็ นนาม, รูปคงเป็ นรูป.
(ปี 63) ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? สังขารขันธ์จดั เป็ นรูปหรือนาม ?
ตอบ ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ฯ จัดเป็ นนามฯ
(ปี 59) กายกับใจของเรานีแ้ บ่งออกเป็ นกี่กอง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ แบ่งออกเป็ น ๕ กอง ฯ คือ ๑. กองรูป ๒. กองเวทนา ๓. กองสัญญา ๔.กองสังขาร ๕. กองวิญญาณ ฯ
(ปี 56) ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? ย่อเป็ น ๒ อย่างไร? ตอบ ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯ
12 | P a g e
อย่างนีค้ ือ รูปขันธ์ คงเป็ นรูป เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ๔ ขันธ์นเี ้ ป็ นนาม ฯ
(ปี 51, 48) ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง? โดยย่อเรียกว่าอะไร? ตอบ ขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ฯ โดยย่อเรียกว่า นามรูป ฯ

หมวด ๖
➢ คารวะ ๖ คือ ความเคารพ เอือ้ เฟื ้ อ มี ๖ อย่าง
๑. ความเคารพในพระพุทธเจ้า (พุทธคารวะ) คือเคารพเอือ้ เฟื ้ อนับถือบูชาด้วยอามิสและด้วยการปฏิบตั ิดีปฏิบตั ิชอบ ทางกายวาจา
ใจ อันประกอบด้วยความเชื่อความเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า แม้ดบั ขันธปรินิพพานนานแล้ว ก็ไม่ลบหลู่ดหู มิ่น แม้ทาท่าเล่นพูดเล่นเพื่อ
สรวลเสเฮฮา ก็ไม่ควร ต้องเคารพสารวมกิรยิ ามารยาท
๒. ความเคารพในพระธรรม (ธัมมคารวะ) คือเคารพเอือ้ เฟื ้ อ เลื่อมใสในพระธรรม คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทัง้ หมด แม้วตั ถุท่ี
จารึกพระธรรมก็ตอ้ งให้ความเคารพ ไม่เหยียบย่าข้ามกราย.
๓. ความเคารพในพระสงฆ์ (สังฆคารวะ) คือเคารพเอือ้ เฟื ้ อ เลือ่ มใสในพระสงฆ์ คือภิกษุ (สามเณร) ทัง้ ที่เป็ นอริยสงฆ์ ทัง้ ที่เป็ นสมมติ
สงฆ์ แม้กาสาวพัสตร์ คือผ้าย้อมนา้ ฝาดที่พระสงฆ์นงุ่ ห่ม อันเป็ นดุจธงชัยในพระพุทธศาสนา ก็ตอ้ งให้ความเคารพ. ไม่แสดงกิรยิ าอาการ
ล้อเล่นดูถกู ดูหมิ่นพระสงฆ์ ซึง่ เป็ นผูส้ อนพระธรรมรักษาพระธรรม นาพระศาสนาสืบต่อมาไม่ขาดสาย. ตัง้ ใจกราบไหว้ และปฏิบตั ิตาม
คาสอนของพระสงฆ์ ซึ่งเป็ นผูแ้ ทนพระพุทธเจ้า.
๔. ความเคารพในการศึกษา (สิกขาคารวะ) คือเคารพเอือ้ เฟื ้ อในความศึกษา ตัง้ ใจศึกษาหาความรูค้ วามเข้าใจความชานาญ ในสิ่งที่
ควรรู ้ ทัง้ ทางโลก (ได้แก่ศิลปวิชาสาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็ นทางให้ดารงชีพอยู่โดยผาสุกในโลก) และทางธรรม (ได้แก่ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ
และปั ญญา)
๕. ความเคารพในความไม่ประมาท (อัปปมาทคารวะ) คือเคารพเอือ้ เฟื ้ อในความไม่ประมาท คือ มีสติควบคุมกาย วาจา จิต ในกาล
ทาพูดคิดอย่าให้ผิดสม่าเสมอ ไม่พลัง้ เผลอ ในที่ทกุ สถาน ในกาลทุกเมื่อ.
๖. ความคารพในการต้อนรับ (ปฏิสันถารคารวะ) คือความเคารพเอือ้ เฟื ้ อในปฏิสนั ถาร ๒ อย่าง คือ
ก. อามิสปฏิสนั ถาร ต้อนรับแขกด้วยวัตถุสิ่งของ เช่น ที่น่งั ที่พกั ข้าว นา้ เป็ นต้น.
ข. ธรรมปฏิสันถาร ต้อนรับแขก ด้วยการกล่าวเชือ้ เชิญสนทนาปราศรัยด้วยไมตรีจิต และจัดแจงอามิสให้พอสมควรแก่ฐานะของ
แขก ตามสมควรแก่ฐานะของตน
(ปี 52) คารวะ คืออะไร? มีกี่อย่าง? ข้อว่า คารวะในความศึกษา หมายถึงอะไร ?
ตอบ คารวะ คือ ความเคารพ เอือ้ เฟื ้ อ ฯ มี ๖ อย่าง ฯ คารวะในความศึกษา หมายถึง ความเคารพ เอือ้ เฟื ้ อในไตรสิกขา ฯ

➢ สาราณิยธรรม ๖ ธรรมเป็ นที่ตงั้ แห่งความให้ระลึกถึง


๑. เข้าไปตัง้ กายกรรมประกอบด้วยเมตตา ในเพื่อนภิกษุสามเณร ทัง้ ต่อหน้าและลับหลัง คือช่วยขวนขวายกิจธุระของเพื่อนกัน ด้วยการมี
พยาบาลภิกษุไข้เป็ นต้น ด้วยจิตเมตตา.
๒. เข้าไปตัง้ วจีกรรมประกอบด้วยเมตตา ฯลฯ ด้วยวาจา เช่นกล่าวสั่งสอนเป็ นต้น
๓. เข้าไปตัง้ มโนกรรมประกอบด้วยเมตตา ฯลฯ คือคิดแต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์แก่เพื่อนกัน.
๔. แบ่งปั นลาภที่ตนได้มาแล้วโดยชอบธรรม ให้แก่เพื่อนภิกษุสามเณร ไม่หวงไว้บริโภคจาเพาะผูเ้ ดียว.
๕. รักษาศีลบริสทุ ธิ์เสมอกันกับเพื่อนภิกษุสามเณรอื่น ๆ ไม่ทาตนให้เป็ นที่รงั เกียจของผูอ้ ื่น.
๖. มีความเห็นว่าร่วมกันกับภิกษุสามเณรอื่น ๆ ไม่ววิ าทกับใคร ๆ เพราะมีความเห็นผิดกัน.
13 | P a g e
ธรรม ๖ อย่างนี ้ ทาผูป้ ระพฤติให้เป็ นที่รกั เคารพของผูอ้ ื่น เป็ นไปเพื่อความสงเคราะห์กนั และกัน เป็ นไปเพื่อความไม่ววิ าทกันและกัน เป็ นไป
เพื่อความสามัคคีเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน.
(ปี 47) สาราณิยธรรม แปลว่าอะไร? ธรรมข้อนีย้ ่อมอานวยผลแก่ผปู้ ฏิบตั ิตามอย่างไร?
ตอบ ธรรมเป็ นที่ตงั้ แห่งความให้ระลึกถึง ฯ ทาผูป้ ฏิบตั ิตามให้เป็ นที่รกั เป็ นที่เคารพของผูอ้ ื่น เป็ นไปเพื่อความสงเคราะห์กนั และกัน เป็ นไป
เพื่อความไม่วิวาทกันและกัน เป็ นไปเพื่อความพร้อมเพรียงกัน เป็ นไปเพื่อความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกัน ฯ
(ปี 45) "รู้รักสามัคคี" เกิดขึน้ เพราะปฏิบตั ิธรรมอะไร? ตอบ สาราณิยธรรม ฯ

➢ ๑.ตา ๒.หู ๓.จมูก ๔.ลิน้ ๕.กาย ๖.ใจ เรียกว่า อายตนะภายใน ๖ เพราะทัง้ ๖ นีเ้ ป็ นของเนื่องอยู่ในร่างกาย คือในตัว และ
เพราะเป็ นเครื่องต่อหรือเป็ นบ่อเกิด คือเป็ นเครื่องต่อกับอายตนะภายนอก ๖ เช่นตาสาหรับต่อกับรูป, หูสาหรับต่อกับเสียงเป็ นต้น.
หรือตาเป็ นบ่อเกิดปรากฏแห่งรูป, หูเป็ นบ่อเกิดปรากฏแห่งเสียงเป็ นต้น
➢ ๑.ตา ๒.หู ๓.จมูก ๔.ลิน้ ๕.กาย ๖.ใจ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า อินทรีย ์ ๖ เพราะเป็ นใหญ่ในกิจของตน คือตาเป็ นใหญ่ในกิจคือการ
เห็นรูป หูเป็ นใหญ่ในกิจคือการฟังเสียง จมูกเป็ นใหญ่ในกิจคือการรับสัมผัส ลิน้ เป็ นใหญ่ในกิจคือการลิม้ รส การเป็ นใหญ่ในกิจคือ
การรับสัมผัส ใจเป็ นใหญ่ในกิจคือรับรูเ้ รื่อง. จะสับเปลี่ยนกันไม่ได้เลย เช่นจะใช้ตาฟังเสียง หรือใช้หดู รู ูปไม่ได้.
➢ ๑.ตา ๒.หู ๓.จมูก ๔.ลิน้ ๕.กาย ๖.ใจ เรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า ทวาร ๖ เพราะเป็ นประตูแห่งอารมณ์ ๖, คืออารมณ์มีรูปารมณ์
(อารมณ์คือรูป) เป็ นต้น เข้ามาภายในบุคคล ก็ตอ้ งผ่านเข้ามาทางจักษุทวาร ประตูคือตา เป็ นต้น.
➢ ๑.รูป ๒.รส ๓.กลิ่น ๔.เสียง ๕.โผฏฐัพพะ(คืออารมณ์ท่มี าถูกต้องกาย) ๖.ธรรม(คืออารมณ์เกิดกับใจ) เรียกว่า อายตนะ
ภายนอก ๖ เพราะเป็ นเครื่องต่อกับอายตนะภายใน ๖ เช่นรูปต่อกับตา เป็ นต้น. และเพราะรูปเป็ นต้นนีเ้ ป็ นของอยู่นอกจาก
ร่างกายออกไป
➢ ๑.รูป ๒.รส ๓.กลิ่น ๔.เสียง ๕.โผฏฐัพพะ(คืออารมณ์ท่มี าถูกต้องกาย) ๖.ธรรม(คืออารมณ์เกิดกับใจ)
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อารมณ์ ๖ เพราะเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวของจิต หรือเป็ นที่ยินดีของตาเป็ นต้น จึงมีช่อื เรียก ดังนี ้ :-
๑. รูปารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ รูป เป็ นที่ยินดีของตา เข้ามาทางประตูคือตา.
๒. สัททารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ เสียง เป็ นที่ยินดีของหู เข้ามาทางประตูคือหู.
๓. คันธารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ กลิ่น เป็ นที่ยินดีของจมูก เข้ามาทางประตูคือลิน้ .
๔. รสารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ รส เป็ นที่ยินดีของลิน้ เข้ามาทางประตูคือลิน้ .
๕. โผฐัพพารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ สิ่งถูกกาย เป็ นที่ยนิ ดีของกาย เข้ามาทางประตูคอื กาย.
๖. ธรรมารมณ์ สิ่งเป็ นที่หน่วงเหนี่ยวจิต คือ เรื่อง เป็ นที่ยินดีของใจ เข้ามาทางประตูคือใจ
➢ วิญญาณ ๖ ความรู ้ หรือความรูแ้ จ้งอารมณ์
อาศัยรูปกระทบตา เกิดความรูข้ นึ ้ เรียก จักขุวิญญาณ
อาศัยเสียงกระทบหู เกิดความรูข้ นึ ้ เรียก โสตวิญญาณ
อาศัยกลิ่นกระทบจมูก เกิดความรูข้ นึ ้ เรียก ฆานวิญญาณ
อาศัยรสกระทบลิน้ เกิดความรูข้ นึ ้ เรียก ชิวหาวิญญาณ
อาศัยโผฏฐัพพะกระทบกาย เกิดความรูข้ ึน้ เรียก กายวิญญาณ
อาศัยธรรมเกิดกับใจ เกิดความรูข้ นึ ้ เรียก มโนวิญญาณ.

14 | P a g e
เพราะอาศัย ๒ สิ่ง คือ อายตนะภายใน ๑ อายตนะภายนอก ๑ กระทบกัน, หรือทวาร ๑ อารมณ์ ๑ ประจวบกัน จึงเกิดวิญญาณ คือ
ความรูข้ นึ ้ , ความรูท้ ่เี กิดขึน้ นัน้ มีช่ือเรียกไปตามชื่อของอายตนะภายใน เช่น จักขุวิญญาณ แปลว่า ความรูท้ างตาเป็ นต้น. วิญญาณทัง้ ๖ นี ้
รวมเข้าเป็ นกองหนึ่ง เรียกว่า วิญญาณขันธ์
➢ สัมผัส ๖ การกระทบกันระหว่างอายตนะภายในมีตาเป็ นต้น กับอายตนะภายนอกมีรูปเป็ นต้น วิญญาณ มีจกั ขุวิญญาณเป็ นต้น
เพราะอาศัย ๓ สิ่ง คือ อายตนะภายใน ๑ อาตนะภายนอก ๑ วิญญาณ ๑ ประชุมกันเข้า จึงเรียกว่า สัมผัส
สัมผัสมี ๖ อย่าง เรียกชื่อตามอายตะนะภายใน คือ จักขุสัมผัส กระทบทางตา, โสตสัมผัส กระทบทางหู, ฆานสัมผัส กระทบทาง
จมูก, ชิวหาสัมผัส กระทบทางลิน้ กายสัมผัส กระทบทางกาย, มโนสัมผัส กระทบทางใจ.
(ปี 61) อายตนะภายนอก ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ?
ตอบ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อารมณ์ท่มี าถูกต้องกาย ธรรม คืออารมณ์ท่เี กิดกับใจ ฯ
(ปี 59, 43) อินทรีย ์ ๖ กับอารมณ์ ๖ มีความสัมพันธ์กนั อย่างไร? อะไรเรียกว่า สัมผัส?
ตอบ มีความสัมพันธ์กนั อย่างนี ้ ตา เป็ นใหญ่ในการเห็นอารมณ์ คือรูป
หู เป็ นใหญ่ในการฟั งอารมณ์ คือเสียง
จมูก เป็ นใหญ่ในการสูดดมอารมณ์ คือกลิ่น
ลิน้ เป็ นใหญ่ในการลิม้ อารมณ์ คือรส
กาย เป็ นใหญ่ในการถูกต้องอารมณ์ คือโผฏฐัพพะ
ใจ เป็ นใหญ่ในการรูอ้ ารมณ์ คือธรรม ฯ
การกระทบกันระหว่างอายตนะภายในมี ตา เป็ นต้น กับอายตนะภายนอก มีรูปเป็ นต้น เกิดความรูข้ นึ ้ เรียกว่า จักขุวิญญาณ เป็ นต้น ทัง้ ๓
อย่างนีร้ วมกันในขณะเดียวกัน เรียกว่า สัมผัส ฯ
(ปี 54) อายตนะภายใน ๖ ได้แก่อะไรบ้าง? ตอบ ได้แก่ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ ฯ

หมวด ๗
➢ อปริหานิยธรรม ๗ ธรรมไม่เป็ นที่ตงั้ แห่งความเสื่อม เป็ นไปเพื่อความเจริญฝ่ ายเดียว
(ปี 48) อปริหานิยธรรม คืออะไร? ข้อที่ ๔ ความว่าอย่างไร? ตอบ คือ ธรรมไม่เป็ นที่ตงั้ แห่งความเสือ่ ม เป็ นไปเพื่อความเจริญฝ่ ายเดียว ฯ
ข้อที่ ๔ ความว่า ภิกษุเหล่าใดเป็ นผูใ้ หญ่เป็ นประธานในสงฆ์ เคารพนับถือภิกษุเหล่านัน้ เชื่อฟั งถ้อยคาของท่าน ฯ
(ปี 45) อปริหานิยธรรม คืออะไร? มีกี่ขอ้ ? จงแสดงมา ๑ ข้อ
ตอบ คือธรรมไม่เป็ นที่ตงั้ แห่งความเสื่อม มี ๗ ข้อ ฯ (ตอบข้อใดข้อหนึ่ง) คือ
๑)หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์
๒)เมือ่ ประชุมก็พร้อมเพรียงกันประชุม เมื่อเลิกประชุมก็พร้อมเพรียงกันเลิกและพร้อมเพรียงกันช่วยทากิจทีส่ งฆ์จะต้องทา
๓)ไม่บัญญัติส่งิ ทีพ ่ ระพุทธเจ้าไม่บัญญัติขนึ้ ไม่ถอนสิ่งทีพ ่ ระองค์ทรงบัญญัติไว้แล้ว สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบทตามทีพ
่ ระองค์
ทรงบัญญัติไว้
๔)ภิกษุเหล่าใดเป็ นผู้ใหญ่ เป็ นประธานในสงฆ์ เคารพนับถือภิกษุเหล่านั้น เชือ่ ฟั งถ้อยคาของท่าน
๕)ไม่ลุอานาจแก่ความอยากทีเ่ กิดขึน้
๖)ยินดีในเสนาสนะป่ า
๗)ตั้งใจอยูว่ ่า เพือ่ นภิกษุสามเณรซึ่งเป็ นผู้มีศีล ซึ่งยังไม่มาสูอ่ าวาส ขอให้มาทีม่ าแล้ว ขอให้อยู่เป็ นสุข ฯ

15 | P a g e
➢ อริยทรัพย์ ๗
ทรัพย์ คือคุณความดีท่มี ใี นสันดานอย่างประเสริฐ เรียก อริยทรัพย์ มี ๗ อย่างคือ
๑. สัทธา เชื่อสิ่งที่ควรเชื่อ. ๕. พาหุสัจจะ ความเป็ นคนเคยได้ยินได้ฟังมาก คือทรงธรรมและรูศ้ ิลปวิทยามาก.
๒. สีล รักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย. ๖. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน.
๓. หิริ ความละอายต่อบาปทุจริต. ๗. ปั ญญา รอบรูส้ ิ่งที่เป็ นประโยชน์และไม่เป็ นประโยชน์.
๔. โอตตัปปะ สะดุง้ กลัวต่อบาป.
อริยทรัพย์ ๗ ประการนี้ ดีกว่าทรัพย์ภายนอก เพราะอริยทรัพย์เป็ นคุณธรรม เครื่องบารุงจิตใจให้ปลืม้ ให้อบอุ่น มีแล้วไม่ตอ้ งเป็ นทุกข์
กังวลในการคุม้ ครองป้องกันโจรภัยเป็ นต้น ใครแย่งชิงไปไม่ได้ ใช้เท่าใดก็ไม่ตอ้ งกลัวหมดสิน้ ไม่ตอ้ งเสี่ยงภัยในการแสวงหา เป็ นต้น ทัง้
สามารถติดตามเป็ นที่พึ่งในสัมปรายภพได้ดว้ ย
(ปี 56) จงให้ความหมายของคาว่า พาหุสจั จะ ตอบ หมายถึง ความเป็ นผูศ้ กึ ษามาก
(ปี 49) อริยทรัพย์ คือทรัพย์เช่นไร ? เมื่อเทียบกับทรัพย์สินมีเงินทอง เป็ นต้น ดีกว่ากันอย่างไร?
ตอบ คือ คุณงามความดีอย่างประเสริฐที่เกิดมีขนึ ้ ในสันดาน มี ศรัทธา ศีล เป็ นต้น ฯ
ดีกว่ากัน เพราะเป็ นคุณธรรมเครื่องบารุงจิตให้อบอุ่น ไม่ตอ้ งกังวล เดือดร้อน ใครจะแย่งชิงไปไม่ได้ ใช้เท่าใดก็ไม่ตอ้ งกลัวหมดสิน้ ทัง้ สามารถ
ติดตามไปได้ถึงชาติหน้า เป็ นที่พงึ่ ในสัมปรายภพได้ดว้ ย ฯ
(ปี 46) พาหุสจั จะ หมายความว่าอย่างไร? พาหุสจั จะ เป็ นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งนัน้ อธิบายอย่างไร?
ตอบ หมายความว่า ความเป็ นผูเ้ คยได้ยินได้ฟังมามาก ฯ
อธิบายว่า พาหุสจั จะ คือความเป็ นผูเ้ คยได้ยินได้ฟังมามากนัน้ (ทรงจาธรรมและศิลปวิทยามาก) ได้ช่ือว่าอริยทรัพย์ เพราะเป็ นเหตุให้ได้อิฏฐ
ผล มีลาภ ยศ สรรเสริญ สุข และไมตรีเป็ นต้น ทัง้ ไม่เป็ นภาระแก่เจ้าของและที่ดีพิเศษกว่าทรัพย์สนิ เงินทองทั่วไปคือยิ่งใช้ยิ่งมีฯ
(ปี 44) ทรัพย์ประเภทไหนเรียกว่าอริยทรัพย์? อริยทรัพย์ดกี ว่าทรัพย์ภายนอกเพราะเหตุไร?
ตอบ ทรัพย์ คือคุณความดีท่มี ีในสันดานอย่างประเสริฐ เรียกว่า อริยทรัพย์ มี ศรัทธา ศีล เป็ นต้น ฯ
ดีกว่า เพราะอริยทรัพย์ เป็ นคุณธรรม เครื่องบารุงจิตใจให้ปลืม้ ให้อบอุ่น มีแล้วไม่ตอ้ งเป็ นทุกข์กงั วลในการคุม้ ครองป้องกันโจรภัยเป็ นต้น ใคร
แย่งชิงไปไม่ได้ ใช้เท่าใดก็ไม่ตอ้ งกลัวหมดสิน้ ไม่ตอ้ งเสี่ยงภัยในการแสวงหา เป็ นต้น ทัง้ สามารถติดตามเป็ นที่พึ่งในสัมปรายภพได้ดว้ ย ฯ

➢ สัปปุริสธรรม ๗ ธรรมของสัตบุรุษ
๑. ธัมมัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั เหตุ เช่นรูจ้ กั ว่า สิ่งนีเ้ ป็ นเหตุแห่งความสุข สิ่งนีเ้ ป็ นเหตุแห่งทุกข์.
๒. อัตตถัญญุตา ความเป็ นผูร้ กั จักผล เช่นรูจ้ กั ว่า สุขเป็ นผลแห่งเหตุอันนี ้ ทุกข์เป็ นผลแห่งเหตุอนั นี.้
๓. อัตตัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั ตน ว่าเราก็โดยชาติตระกูลยศศักดิ์ สมบัติ บริวาร ความรู ้ และคุณธรรม เพียงเท่านี ้ ๆ แล้ว
ประพฤติตนให้สมควรแก่ท่เี ป็ นอยู่อย่างไร.
๔. มัตตัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั ประมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลีย้ งชีวติ แต่โดยทางที่ชอบ และรูจ้ กั ประมาณในการบริโภคแต่
พอสมควร.
๕. กาลัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั กาลเวลา อันสมควรในอันประกอบกิจนัน้ ๆ.
๖. ปริสัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั ชุมชน และกิรยิ าที่ตอ้ งประพฤติต่อประชุมชนนัน้ ๆ ว่า หมู่นเี ้ มื่อเข้าไปหา จะต้องทากิรยิ าอย่างนี ้
จะต้องพูดอย่างนี ้ เป็ นต้น.
๗. ปุคคลปโรปรัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั เลือกบุคคลว่า ผูน้ เี ้ ป็ นคนดีควรคบ ผูน้ เี ้ ป็ นคนไม่ดีไม่ควรคบ เป็ นต้น.
16 | P a g e
(ปี 57) จงให้ความหมายของคาต่อไปนี ้ ๑. ธัมมัญญุตา ๒. มัตตัญญุตา ๓. กาลัญญุตา
ตอบ ๑. ธัมมัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั เหตุ เช่นรูจ้ กั ว่า สิ่งนีเ้ ป็ นเหตุแห่งสุข สิ่งนีเ้ ป็ นเหตุแห่งทุกข์
๒. มัตตัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูป้ ระมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลีย้ งชีวิตแต่โดยทางที่ชอบ และรูป้ ระมาณในการบริโภคแต่พอสมควร
๓. กาลัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูจ้ กั กาลเวลาอันสมควรในอันประกอบกิจนัน้ ๆ ฯ
(ปี 45) มัตตัญญุตา ความเป็ นผูร้ ูป้ ระมาณ ในสัปปุรสิ ธรรม มีอธิบายไว้อย่างไร?
ตอบ ความเป็ นผูร้ ูป้ ระมาณในการแสวงหาเครื่องเลีย้ งชีวิตแต่โดยทางที่ชอบและรูจ้ กั ประมาณในการบริโภคแต่พอควร ฯ

หมวด ๘
➢ โลกธรรม ๘ ธรรมที่ครอบงาสัตวโลกอยู่ และสัตวโลกย่อมเป็ นไปตามธรรมนัน้
๑.มีลาภ ๒.ไม่มีลาภ
๓.มียศ ๔.ไม่มียศ
๕.นินทา ๖.สรรเสริญ
๗.สุข ๘.ทุกข์
ในโลกธรรม ๘ ประการนี้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึน้ ควรพิจารณาว่า สิ่งนีเ้ กิดขึน้ แล้วแก่เรา ก็แต่ว่ามันไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวน
เป็ นธรรมดา ควรรูต้ ามที่เป็ นจริง อย่าให้มนั ครอบงาจิตได้คือ อย่ายินดีในส่วนที่นา่ ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่นา่ ปรารถนา.
(ปี 63, 55) โลกธรรม ๘ มีอะไรบ้าง? ตอบ คือ ๑.มีลาภ ๒.ไม่มีลาภ ๓.มียศ ๔.ไม่มียศ ๕.นินทา ๖.สรรเสริญ ๗.สุข ๘.ทุกข์
(ปี 59) เมื่อโลกธรรม ๘ เกิดขึน้ แก่ตน ควรพิจารณาอย่างไร ?
ตอบ ควรพิจารณาว่า สิ่งนีเ้ กิดขึน้ แล้วแก่เรา ก็สกั แต่ว่าเกิดขึน้ มันไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็ นธรรมดา เมื่อพิจารณาเห็นแล้วก็อย่า
ยินดี ในส่วนที่นา่ ปรารถนา และอย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่น่าปรารถนา ฯ
(ปี 47) โลกธรรม คืออะไร? เมื่อเกิดขึน้ แล้วควรพิจารณาอย่างไร? ตอบ คือ ธรรมที่ครอบงาสัตวโลกอยู่ และสัตวโลกย่อมเป็ นไปตามธรรมนัน้ ฯ
ในโลกธรรม ๘ ประการนี ้ อย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึน้ ควรพิจารณาว่า สิง่ นีเ้ กิดขึน้ แล้วแก่เรา ก็แต่วา่ มันไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็ น
ธรรมดา ควรรูต้ ามที่เป็ นจริง อย่าให้มนั ครอบงาจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่ปรารถนา ฯ
(ปี 44) โลกธรรมมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? ท่านสอนให้ปฏิบตั ิต่อโลกธรรมอย่างไร?
ตอบ มี ๘ อย่าง ฯ คือ มีลาภ ๑ ไม่มีลาภ ๑ มียศ ๑ ไม่มียศ ๑ สรรเสริญ ๑ นินทา ๑ สุข ๑ ทุกข์ ๑ ฯ
สอนอย่างนี ้ คือในโลกธรรมทัง้ ๘ อย่างนี ้ อย่างใดอย่างหนึง่ เกิดขึน้ ควรพิจารณาว่า สิ่งนีเ้ กิดขึน้ แล้วแก่เรา มันเป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ มี
ความแปรปรวนเป็ นธรรมดา ควรรูต้ ามที่เป็ นจริง อย่าให้ครอบงาจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่ปรารถนา ฯ

➢ มรรคมีองค์ ๘ ทางปฏิบตั ใิ ห้ถึงความดับทุกข์


๑.สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบ คือเห็นอริยสัจ ๔(ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค)
๒.สัมมาสังกัปปะ ดาริชอบ คือดาริจะออกจากกาม ๑ ดาริในอันไม่พยาบาท ๑ ดาริในอันไม่เบียดเบียน ๑.
๓.สัมมาวาจา เจรจาชอบ คือเว้นจากวจีทุจริต ๔ (เท็จ ส่อเสียด หยาบ เพ้อเจ้อ)
๔.สัมมากัมมันตะ การงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริต ๓(ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม)
๕.สัมมาอาชีวะ เลีย้ งชีวิตชอบ คือเว้นจากความเลีย้ งชีวติ โดยทางที่ผิด

17 | P a g e
๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรในที่ ๔ สถาน (สัมมัปปธาน ๔) คือ เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึน้ เพียรละบาปทีเกิดขึน้ แล้ว
เพียรให้กุศลเกิดขึน้ เพียรรักษากุศลทีเ่ กิดขึน้ แล้ว
๗.สัมมาสติ ระลึกชอบ คือระลึกในสติปัฏฐาน ๔ (กาย เวทนา จิต ธรรม)
๘.สัมมาสมาธิ ตัง้ ใจไว้ชอบ คือเจริญฌาน ๔

ในองค์ทงั้ ๘ นัน้ , เห็นชอบ ดาริชอบ สงเคราะห์เข้าในปั ญญาสิกขา.


วาจาชอบ การงานชอบ เลีย้ งชีพชอบ สงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา.
เพียรชอบ ระลึกชอบ ตัง้ ใจไว้ชอบ สงเคราะห์เข้าในจิตตสิกขา.

(ปี 61) สัมมากัมมันตะ ทาการงานชอบ คือทาอย่างไร ?


ตอบ คือ ทาโดยเว้นจากกายทุจริต ๓ ได้แก่ เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ฯ
(ปี 60, 45) คาว่า เจรจาชอบ ในมรรคมีองค์ ๘ นัน้ คือเจรจาอย่างไร?
ตอบ คือเว้นจากพูดเท็จ เว้นจากพูดส่อเสียด เว้นจากพูดคาหยาบ และเว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ฯ
(ปี 55, 48) สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรอย่างไร?
ตอบ เพียรในที่ ๔ สถาน (สัมมัปปธาน ๔) คือ ๑.เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึน้ ๒.เพียรละบาปทีเกิดขึน้ แล้ว ๓.เพียรให้กศุ ลเกิดขึน้ ๔.เพียรรักษา
กุศลที่เกิดขึน้ แล้ว ฯ
(ปี 50) มรรคมีองค์แปดจัดเข้าในสิกขา ๓ ได้หรือไม่ ? ถ้าได้จงจัดมาดู
ตอบ ได้ ฯ จัดดังนี ้ สัมมาทิฏฐิ และสัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในปั ญญาสิกขา
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลสิกขา
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตสิกขา ฯ
(ปี 46) สัมมาสังกัปปะ ดาริชอบ คือ ดาริอย่างไร? มรรคมีองค์ ๘ ข้อใดบ้างสงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา?
ตอบ คือ ดาริจะออกจากกาม ๑ ดาริในอันไม่พยาบาท ๑ ดาริในอันไม่เบียดเบียน ๑ ฯ
วาจาชอบ การงานชอบ เลีย้ งชีวติ ชอบ สงเคราะห์เข้าในสีลสิกขา ฯ

หมวด ๙
➢ มละ ๙ คือ มลทิน
๑.โกธะ (โกรธ) แก้ดว้ ยเจริญเมตตา ....(*ข้อนีเ้ คยออกข้อสอบ)
๒.มักขะ (ลบหลู่บญ
ุ คุณท่าน) แก้ดว้ ยกตัญญูกตเวที ....(*ข้อนีเ้ คยออกข้อสอบ)
๓.อิสสา (ริษยา) แก้ดว้ ยมุทิตา
๔.มัจฉริยะ (ตระหนี่) แก้ดว้ ยทาน
๕.มายา (มายา หรือ มารยา) แก้ดว้ ย อุชุ, อาชวะ ความซื่อตรง
๖.สาเถยยะ (มักอวด) แก้ดว้ ยอัตตัญญุตา, อปจายนะ
๗.มุสาวาท (พูดปด) แก้ดว้ ยสัจจวาจา
๘.ปาปิ จฉา (มีความปรารถนาลามก) แก้ดว้ ยสันโดษ, มักน้อย
18 | P a g e
๙.มิจฉาทิฏฐิ (เห็นผิด) แก้ดว้ ยสัมมาทิฏฐิ ....(*ข้อนีเ้ คยออกข้อสอบ)
(ปี 52, 50) มละ คืออะไร? เป็ นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชาระมละอย่างนัน้ ด้วยธรรมอะไร? ตอบ
มละคือมลทิน ฯ เป็ นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าใน มักขะ ลบหลู่คณ
ุ ท่าน และควรชาระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรูค้ ณ
ุ ท่าน
แล้วตอบแทน ฯ
(ปี 43) มละคือมลทิน หมายถึงอะไร? มลทินข้อที่ ๑ และข้อที่ ๙ คืออะไร? แก้ดว้ ยธรรมอะไร?
ตอบ หมายถึงกิเลสเป็ นเครื่องทาจิตให้เศร้าหมอง ไม่ผ่องใส ฯ
มลทินข้อที่ ๑ คือ โกรธ แก้ดว้ ยเจริญเมตตา และมลทินข้อที่ ๙ คือ เห็นผิด แก้ดว้ ยสัมมาทิฏฐิ

หมวด ๑๐
➢ ธรรมทีบ่ รรพชิตควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง
๑. บัดนี ้ เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว อาการกิรยิ าใดๆ ของสมณะ เราต้องทาอาการกิรยิ านัน้ ๆ
๒. การเลีย้ งชีวิตของเราเนื่องด้วยผูอ้ ื่น เราควรทาตัวให้เขาเลีย้ งง่าย
๓. อาการทางกาย วาจา อย่างอื่นที่เราจะต้องทาให้ดีขึน้ ไปกว่านีย้ งั มีอยู่อีก ไม่ใช่เพียงเท่านี ้
๔. ตัวเราเองติเตียนตัวเราเองโดยศีลได้หรือไม่
๕. ผูร้ ูใ้ คร่ครวญแล้วติเตียนเราโดยศีลได้หรือไม่
๖. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทัง้ สิน้
๗. เรามีกรรมเป็ นของตัว เราทาดีจกั ได้ดี ทาชั่วจักได้ช่วั
๘. วันคืนล่วงไป ๆ บัดนี ้ เราทาอะไรอยู่
๙. เรายินดีในที่สงัดหรือไม่
๑๐. คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะทาให้เราเป็ นผูไ้ ม่เก้อเขินในเวลาเพื่อนบรรพชิตถามในกาลภายหลัง
(ปี 56) บรรพชิตผูพ้ ิจารณาเนือง ๆ ว่า วันคืนล่วงไป ๆ บัดนีเ้ ราทาอะไรอยู่ จะได้รบั ประโยชน์อะไร?
ตอบ จะได้รบั ประโยชน์คือเป็ นผูไ้ ม่ประมาท มีความเพียร งดเว้นสิ่งที่เป็ นโทษ ทาในสิง่ ที่เป็ นประโยชน์ ฯ

➢ นาถกรณธรรม ๑๐
๑. ศีล รักษากายวาจาให้เรียบร้อย. ๖. ธัมมกามตา ความใคร่ในธรรมที่ชอบ.
๒. พาหุสัจจะ ความเป็ นผูไ้ ด้สดับตรับฟั งมาก. ๗. วิริยะ เพียรเพื่อจะละความชั่ว ประพฤติความดี.
๓. กัลยาณมิตตตา ความเป็ นผูม้ ีเพื่อนดีงาม. ๘. สันโดษ ยินดีดว้ ยผ้านุง่ ผ้าห่ม อาหาร ที่นอนที่น่งั และยาตามมีตามได้.
๔. โสวจัสสตา ความเป็ นผูว้ ่าง่ายสอนง่าย. ๙. สติ จาการที่ทา และคาที่พดู แล้วแม้นานได้.
๕. กิงกรณีเยสุ ทักขตา ความขยันช่วยเอาใจใส่ในกิจธุระของเพื่อนภิกษุสามเณร. ๑๐. ปั ญญา รอบรูใ้ นกองสังขารตามเป็ นจริงอย่างไร.
(ปี 45) นาถกรณธรรมคืออะไร? นาถกรณธรรมข้อว่า กัลยาณมิตตตา หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ คือธรรมทาที่พึ่ง ฯ ความเป็ นผูม้ ีเพื่อนดีงาม ไม่คบคนชั่ว ฯ

19 | P a g e
คิหปิ ฎิบัติ หลักปฏิบัตขิ องคฤหัสถ์
(ปี 49) คิหปิ ฏิบตั ิ คืออะไร? หมวดธรรมต่อไปนี ้ คือ
๑. อิทธิบาท ๔
๒. สังคหวัตถุ ๔
๓. อธิษฐานธรรม ๔
๔. ทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์ ๔
๕. ปาริสทุ ธิศีล ๔
หมวดไหนมีในคิหิปฏิบตั ิ ? ตอบ คือ หลักปฏิบตั ิของคฤหัสถ์ ฯ ข้อ ๒. และข้อ ๔. มีในคิหิปฏิบตั ิ ฯ

หมวด ๔
➢ อบายมุข คือ เหตุเครื่องฉิบหาย หรือ ทางแห่งความเสื่อม
อบายมุข ๔ มี ๔ อย่างดังนี ้
๑.ความเป็ นนักเลงหญิง ๓.ความเป็ นนักเลงเล่นการพนัน
๒.ความเป็ นนักเลงสุรา ๔.ความคบคนชั่วเป็ นมิตร
อบายมุข ๖ มี ๖ อย่างดังนี ้
๑.ดืม่ นา้ เมา ๔.เล่นการพนัน
๒.เที่ยวกลางคืน ๕.คบคนชั่วเป็ นมิตร
๓.เที่ยวดูการเล่น ๖.เกียจคร้านทาการงาน

โทษของคบคนชั่วเป็ นมิตร คือ (มาจากอบายมุข ๔ และ อบายมุข ๖)


๑.ทาให้เป็ นนักเลงการพนัน ๔. ทาให้เป็ นคนลวงเขาด้วยของปลอม
๒. ทาให้เป็ นนักเลงเจ้าชู้ ๕. ทาให้เป็ นคนโกงเขาซึง่ หน้า
๓. ทาให้เป็ นนักเลงเหล้า ๖. ทาให้เป็ นนักเลงหัวไม้ ฯ
(ปี 60) อบายมุข ๔ มีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๑. ความเป็ นนักเลงหญิง ๒. ความเป็ นนักเลงสุรา ๓. ความเป็ นนักเลงเล่นการพนัน ๔. ความคบคนชั่วเป็ นมิตร ฯ
(ปี 59) การคบคนชั่วเป็ นมิตร เป็ นเหตุให้เกิด ความเสียหายอย่างไร ?
ตอบ เป็ นเหตุให้เกิดความเสียหายอย่างนี ้ คือการร่วมกินร่วมนอน ร่วมเที่ยว ร่วมพรรคร่วมพวก ร่วมไปมาหาสู่กบั คนชั่ว มักจะถูกคนชั่วชักจูง
ไปในทางชั่ว เช่น คนไม่เคยเป็ นนักเลงหญิง ไม่ติดสุรา ไม่เล่นการพนัน ไม่เป็ นอันธพาล ก็ย่อมถูกชักจูงไปจนกลายเป็ นนักเลงหญิงได้ เป็ นต้น ฯ
(ปี 52) อบายมุข คืออะไร ? คบคนชั่วเป็ นมิตรมีโทษอย่างไร ?
ตอบ อบายมุข คือ ทางแห่งความเสื่อม ฯ คบคนชั่วเป็ นมิตรมีโทษอย่างนี ้ คือ ๑.นาให้เป็ นนักเลงการพนัน ๒.นาให้เป็ นนักเลงเจ้าชู้
๓.นาให้เป็ นนักเลงเหล้า ๔.นาให้เป็ นคนลวงเขาด้วยของปลอม ๕.นาให้เป็ นคนลวงเขาซึ่งหน้า ๖.นาให้เป็ นคนหัวไม้ ฯ

โทษของการดื่มสุรา (มาจากอบายมุข ๖ เรื่องดื่มน้าเมา)


๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ถูกติเตียน ๕. ไม่รูจ้ กั อาย ๖. ทอนกาลังปั ญญา ฯ

20 | P a g e
(ปี 62, 60, 46) อบายมุข คืออะไร? ดื่มนา้ เมามีโทษอย่างไรบ้าง?
ตอบ คือ เหตุเครื่องฉิบหาย ฯ
มีโทษ ๖ อย่าง คือ ๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ถูกติเตียน ๕. ไม่รูจ้ กั อาย ๖. ทอนกาลังปั ญญา ฯ
(ปี 57) อบายมุข คืออะไร? ความเป็ นนักเลงสุราจัดเป็ นอบายมุขเพราะเหตุไร?
ตอบ คือเหตุเครื่องฉิบหาย ฯ เพราะเป็ นเหตุให้เสียทรัพย์ ก่อการทะเลาะวิวาท เกิดโรค ต้องติเตียน ไม่รูจ้ กั อาย ทอนกาลังปั ญญา ฯ
(ปี 53) จงบอกโทษของการดื่มสุรามาสัก ๓ ข้อ

โทษของการเทีย่ วกลางคืน (ใน อบายมุข ๖)


(ปี 44) การเที่ยวกลางคืนมีโทษอย่างไรบ้าง?
ตอบ มีโทษ ๖ อย่างคือ ๑. ชื่อว่าไม่รกั ษาตัว ๒. ชื่อว่าไม่รกั ษาลูกเมีย ๓. ชื่อว่าไม่รกั ษาทรัพย์สมบัติ ๔. เป็ นที่ระแวงของคนทัง้ หลาย
๕. มักถูกใส่ความ ๖. ได้ความลาบากมาก

➢ ธรรมที่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในปั จจุบัน เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์


๑.อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกิจเครื่องเลีย้ งชีวิตก็ดี ในการศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทาธุระหน้าทีข่ องตนก็ดี
๒.อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ดว้ ยความหมั่น ไม่ให้เป็ นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้เสื่อมเสียไปก็ดี
๓.กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔.สมชีวิตา ความเลีย้ งชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ท่หี าได้ไม่ให้ ฝื ดเคืองนัก ไม่ให้ฟมู ฟายนัก
เมื่อปฏิบตั ิตามทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ผลที่ตอ้ งการในปั จจุบนั ทันตาเห็นนี ้ ได้แก่ ทรัพย์ ยศ ไมตรี เป็ นต้น
(ปี 62) ผูห้ วังประโยชน์ปัจจุบนั จะต้องปฏิบตั ิอย่างไรจึงจะได้สมหวัง ?
ตอบ ต้องปฏิบตั ิตามหลักทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์ ๔ ประการ คือ
๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงานในการศึกษาเล่าเรียนในการทาธุระหน้าที่ของตน
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาทัง้ ทรัพย์และการงานไม่ให้เสื่อมไป
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔. สมชีวิตา ความเลีย้ งชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ท่หี าได้ ฯ
(ปี 58) ธรรม ๔ ประการ ที่เป็ นไปเพื่อประโยชน์เกือ้ กูลเพื่อสุขในปั จจุบนั เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์ ฯ มี ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกิจอันควร
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทัง้ ทรัพย์และการงานของตน ไม่ให้เสื่อมไป
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔. สมชีวิตา ความเลีย้ งชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ท่หี าได้ ฯ
(ปี 52) ธรรมที่เป็ นไปเพื่อประโยชน์ในปั จจุบนั เรียกว่าอะไร? มีอะไรบ้าง?
(ปี 48) บุคคลจะได้รบั ประโยชน์ปัจจุบนั จะต้องปฏิบตั ิตามหลักธรรมอะไร?
ตอบ ต้องปฏิบตั ิตามหลักทิฏฐธัมมิกตั ถประโยชน์ ๔ ประการ คือ
๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงาน ในการศึกษาเล่าเรียน ในการทาธุระหน้าที่ของตน
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทัง้ ทรัพย์และการงาน ไม่ให้เสื่อมไป
21 | P a g e
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔. สมชีวิตา ความเลีย้ งชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ท่หี าได้ ฯ
(ปี 43) เหตุให้เกิดประโยชน์ในปัจจุบนั เรียกว่าอะไร? มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง? เมื่อปฏิบตั ิตามเหตุนนั้ แล้วจะได้รบั ผลอะไร?
ตอบ เรียกว่าทิฏฐธัมมิกตั ถะ ฯ มี ๔ อย่าง ฯ คือ ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็ นคนดี ๔. สมชีวติ า ความเลีย้ งชีวติ ตามสมควร ฯ
จะได้รบั ผล คือ ทรัพย์ ยศ ไมตรี เป็ นต้นในปั จจุบนั ฯ

➢ มิตรแท้ ๔ มี ๑. มิตรมีอปุ การะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่


(ปี 63, 60, 58, 56, 45) มิตรแท้ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?

มิตรมีอุปการะ มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท้)


๑.ป้องกันเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว ๓.เมื่อมีภยั เอาเป็ นที่พงึ่ พานักได้
๒.ป้องกันทรัพย์สมบัติของเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว ๔.เมื่อมีธุระ ช่วยออกทรัพย์ให้เกินกว่าที่ออกปาก

มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท้)


๑.ขยายความลับของตนแก่เพื่อน ๓.ไม่ละทิง้ ในยามวิบตั ิ
๒.ปิ ดความลับของเพื่อนไม่ให้แพร่งพราย ๔.แม้ชีวติ ก็อาจสละแทนได้

มิตรแนะประโยชน์ มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท้)


๑.ห้ามไม่ให้ทาความชั่ว ๓.ให้ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟัง
๒.แนะนาให้ตงั้ อยูใ่ นความดี ๔.บอกทางสวรรค์ให้

มิตรมีความรักใคร่ มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรแท้)


๑.ทุกข์ ทุกข์ดว้ ย ๓.โต้เถียงคนที่พดู ติเตียนเพื่อน
๒.สุข สุขด้วย ๔.รับรองคนที่พดู สรรเสริญเพื่อน

➢ มิตรเทียม ๔ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า มิตรปฏิรูป


๑.คนปอกลอก ๓.คนหัวประจบ
๒.คนดีแต่พดู ๔.คนชักชวนในทางฉิบหาย

มิตรปอกลอก มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)


๑.คิดเอาแต่ได้ฝ่ายเดียว ๓.เมื่อมีภยั แก่ตวั จึงรับทากิจของเพื่อน
๒.เสียให้นอ้ ย คิดเอาให้ได้มาก ๔.คบเพื่อนเพราะเห็นแก่ประโยชน์ของตัว

22 | P a g e
มิตรดีแต่พดู มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)
๑.เก็บเอาของที่ล่วงแล้วมาปราศรัย ๓.สงเคราะห์ดว้ ยสิ่งที่หาประโยชน์มิได้
๒.อ้างเอาของที่ยงั ไม่มีมาปราศรัย ๔.ออกปากพึง่ มิได้

มิตรหัวประจบ มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)


๑.จะทาชั่วก็คล้อยตาม ๓.ต่อหน้าว่าสรรเสริญ
๒.จะทาดีก็คล้อยตาม ๔.ลับหลังตัง้ นินทา

มิตรชักชวนในทางฉิบหาย มี ๔ ลักษณะ (ในเรื่องมิตรเทียม)


๑.ชักชวนดื่มนา้ เมา ๓.ชักชวนให้มวั เมาในการเล่น
๒.ชักชวนเที่ยวกลางคืน ๔.ชักชวนเล่นการพนัน
(ปี 54) คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลกั ษณะอย่างไร?
(ปี 53) จงจับคูข่ อ้ ทางซ้ายมือกับข้อทางขวามือให้ถกู ต้อง
ก. จะทาดีทาชั่ว ก็ตอ้ งคล้อยตาม ๑. มิตรดีแต่พดู
ข. ป้องกันเพื่อนผูป้ ระมาทแล้ว ๒. มิตรหัวประจบ
ค. สงเคราะห์ดว้ ยสิ่งหาประโยชน์มิได้ ๓. มิตรมีความรักใคร่
ง. ห้ามไม่ให้ทาความชั่ว ๔. มิตรมีอปุ การะ
จ. ทุกข์ ๆ ด้วย สุข ๆ ด้วย ๕. มิตรแนะประโยชน์
ตอบ ข้อ ก. คู่กบั ข้อ ๒, ข้อ ข. คู่กบั ข้อ ๔, ข้อ ค คู่กบั ข้อ ๑, ข้อ ง คู่กบั ข้อ ๕, ข้อ จ คู่กบั ข้อ ๓.
(ปี 51) ข้อว่า “แม้ชีวติ ก็อาจสละแทนได้” ดังนี ้ เป็ นลักษณะของมิตรแท้ประเภทใด ? ตอบ มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ฯ
(ปี 49) นาย ก เป็ นผูฉ้ ลาดในการเล่นพนันฟุตบอล เขาหวังให้นาย ข ผูเ้ ป็ นเพื่อน มีเงินทองไว้ก่อร่างสร้างตัว จึงชักชวน นาย ข ให้เล่นด้วย
นาย ก จัดเข้าในประเภทมิตรแนะประโยชน์ได้หรือไม่? เพราะเหตุไร?
ตอบ ไม่ได้ ฯ เพราะ นาย ก กาลังชักชวนในทางฉิบหาย ผิดลักษณะมิตรแนะประโยชน์ ฯ
(ปี 49) พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปฏิบตั ิต่อพวกมิตรเทียมอย่างไร?
ตอบ ทรงสอนให้หลีกเลี่ยงไม่ควรคบเป็ นมิตร เหมือนคนเดินทางหลีกเลี่ยงทางที่มีภยั อันตรายเสีย ฉะนัน้
(ปี 44) มิตรปฏิรูปได้แก่คนพวกไหนบ้าง? พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ปฏิบตั ิต่อคนพวกนีอ้ ย่างไร?
ตอบ ได้แก่ ๑. คนปอกลอก ๒. คนดีแต่พดู ๓. คนหัวประจบ ๔. คนชักชวนในทางฉิบหาย ฯ
ทรงสอนให้หลีกเลี่ยงไม่ควรคบเป็ นมิตร เหมือนคนเดินทางหลีกเลี่ยงทางที่มีภยั อันตรายเสีย ฉะนัน้ ฯ

➢ ธรรมเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผูอ้ ื่นไว้ได้ คือ สังคหวัตถุ ๔


๑. ทาน ให้สิ่งของของตนแก่ผอู้ ื่นที่ควรให้ปัน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็ นประโยชน์แก่ผอู้ ื่น
๒. ปิ ยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๔. สมานัตตา ความเป็ นคนมีตนสม่าเสมอไม่ถือตัว
(ปี 61, 56, 54, 51, 46) คุณธรรมเป็ นเครื่องยึดเหนี่ยวนา้ ใจของผูอ้ ื่นไว้ได้ คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ สังคหวัตถุ ๔ ฯ มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผอู้ ื่นที่ควรให้ปัน ๒. ปิ ยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน

23 | P a g e
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็ นประโยชน์แก่ผอู้ ื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็ นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ

➢ สุขของคฤหัสถ์ ๔ อย่าง
๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ ๓. สุขเกิดแต่ความไม่ตอ้ งเป็ นหนี ้
๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ
(ปี 62) ความสุขของผูค้ รองเรือนตามหลักพระพุทธศาสนาเกิดมาจากเหตุอะไรบ้าง ?
ตอบ เกิดจากเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ ๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค
๓. สุขเกิดแต่ความไม่ตอ้ งเป็ นหนี ้ ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ
(ปี 48) มนุษย์ทกุ คนล้วนปรารถนาความสุข พระพุทธศาสนาแสดงความสุขของผูค้ รองเรือนไว้อย่างไร?
ตอบ ความสุขของผูค้ รองเรือน แสดงไว้ ๔ อย่าง คือ ๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ ๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค
๓. สุขเกิดแต่ความไม่ตอ้ งเป็ นหนี ้ ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ
➢ ความปรารถนาทีส่ มหมายได้ยาก ๔ อย่าง
๑. ขอสมบัติ จงเกิดมีแก่เราโดยทางที่ชอบ. ๓. ขอเราจงรักษาอายุให้ยืนนาน.
๒. ขอยศ จงมีแก่เรากับญาติพวกพ้อง. ๔. เมื่อสิน้ ชีพแล้ว ขอเราจงไปบังเกิดในสวรรค์.
➢ ธรรมเป็ นเหตุให้สมหมาย ๔ อย่าง (หรือเรียกอีกหนึ่งว่า สัมปรายิกัตถประโยชน์ คือ ประโยชน์ภายหน้า ๔ อย่าง)
๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน
๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล ๔. ปั ญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปั ญญา
(ปี 47) สมบัติ ยศ อายุยืน สวรรค์ ท่านว่าเป็ นผลที่ได้สมหมายยาก บุคคลพึงบาเพ็ญธรรมอะไร จึงจะได้สมหมาย ?
ตอบ พึงบาเพ็ญธรรมเป็ นเหตุให้ได้สมหมาย ๔ อย่าง คือ ๑. สัทธาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศรัทธา ๒. สีลสัมปทา ถึงพร้อมด้วยศีล
๓. จาคสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการบริจาคทาน ๔. ปั ญญาสัมปทา ถึงพร้อมด้วยปั ญญา ฯ

➢ ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งนานไม่ได้เพราะสถาน ๔
๑.ไม่แสวงหาพัสดุท่หี ายแล้ว ๓.ไม่รูจ้ กั ประมาณในการบริโภคสมบัติ
๒.ไม่บรู ณะพัสดุท่คี ร่าคร่า ๔.ตัง้ สตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็ นแม่เรือนพ่อเรือน
(ปี 55) ตระกูลอันมั่งคั่งจะตัง้ นานไม่ได้ เพราะเหตุอะไร?
ตอบ เพราะเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑.ไม่แสวงหาพัสดุท่หี ายแล้ว ๒.ไม่บรู ณะพัสดุท่คี ร่าคร่า ๓.ไม่รูจ้ กั ประมาณในการบริโภคสมบัติ
๔. ตัง้ สตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็ นแม่เรือนพ่อเรือน
(ปี 43) ตระกูลอันมั่งคั่งจะตัง้ อยู่ได้นานเพราะสถานใดบ้าง?
ตอบ เพราะสถาน ๔ คือ ๑.ไม่แสวงหาพัสดุท่หี ายแล้ว ๒.ไม่บรู ณะพัสดุท่คี ร่าคร่า ๓.ไม่รูจ้ กั ประมาณในการบริโภคสมบัติ
๔. ตัง้ สตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็ นแม่เรือนพ่อเรือน

➢ ฆราวาสธรรม ๔ ธรรมะสาหรับการอยู่ครองเรือนของคฤหัส
๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน ๓. ขันติ ความอดทน
๒. ทมะ รูจ้ กั ข่มจิตของตน ๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน
24 | P a g e
(ปี 61, 59, 43) ฆราวาสผูค้ รองเรือนควรตัง้ อยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ?
ตอบ ควรตัง้ อยู่ในฆราวาสธรรม ๔ ประการ คือ ๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ รูจ้ กั ข่มจิตของตน ๓. ขันติ อดทน
๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ
(ปี 55) การอยู่ครองเรือนนัน้ ควรมีธรรมอะไร? อะไรบ้าง?
(ปี 49) ผูอ้ ยู่ครองเรือนควรมีธรรมของฆราวาสเป็ นหลักปฏิบตั ิจงึ จะอยู่เป็ นสุข ธรรมของฆราวาสนัน้ มีอะไรบ้าง ?

หมวด ๕
➢ ประโยชน์เกิดแต่การถือโภคทรัพย์ ๕ อย่าง
(ปี 50) เมื่อแสวงหาโภคทรัพย์ได้โดยทางที่ชอบแล้ว ควรทาอะไรบ้างเพื่อให้เกิดประโยชน์ในโภคทรัพย์ท่ไี ด้มานัน้ ?
ตอบ ควรทา ประโยชน์เกิดแต่การถือโภคทรัพย์ ๕ อย่าง
๑.เลีย้ งตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา บ่าวไพร่ ให้เป็ นสุข
๒.เลีย้ งเพือ่ นฝูงให้เป็ นสุข
๓.บาบัดอันตรายทีเ่ กิดแต่เหตุต่าง ๆ
๔.ทาพลี ๕ อย่าง คือ
๔.๑ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ
๔.๒ อติถิพลี ต้อนรับแขก
๔.๓ ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทศิ ให้ผู้ตาย
๔.๔ ราชพลี ถวายเป็ นหลวง มีภาษีอากรเป็ นต้น
๔.๕ เทวตาพลี ทาบุญอุทศิ ให้เทวดา
๕.บริจาคทานในสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติชอบ ฯ
(ปี 45) คาต่อไปนีแ้ ปลว่าอย่างไร? ก)อติถิพลี ข)ปุพพเปตพลี

➢ ศีล ๕ แปลว่า ความปกติ ๕ อย่าง คือ ความประพฤติดีทางกายวาจา


๑. ปาณาติปาตา เวรมณี เว้นจากทาชีวติ สัตว์ให้ตกล่วงไป.
๒. อทินนาทานา เวรมณี เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ดว้ ยอาการแห่งขโมย.
๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากประพฤติผิดในกาม.
๔. มุสาวาทา เวรมณี เว้นจากพูดเท็จ.
๕. สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี เว้นจากดื่มนา้ เมา คือสุราและเมรัย อันเป็ นที่ตงั้ แห่งความประมาท.
(ปี 63, 61, 56, 53) ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็ นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ?
ตอบ คือ ศีล ๕ ฯ ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวติ สัตว์ให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ดว้ ยอาการแห่งขโมย
๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ ๕. เว้นจากดืม่ นา้ เมาคือสุราและเมรัยอันเป็ นที่ตงั้ แห่งความประมาท ฯ
(ปี 44) จงเขียนศีล ๕ ข้อที่ ๓ พร้อมทัง้ คาแปล ตอบ กาเมสุ มิจฉาจารา เวรมณี เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
(ปี 43) จงเขียนศีล ๕ ข้อที่ ๕ พร้อมทัง้ คาแปล
ตอบ สุราเมรยมัชชปมาทัฏฐานา เวรมณี แปลความว่า เว้นจากการดื่มนา้ เมา คือสุราและเมรัย อันเป็ นที่ตงั้ แห่งความประมาท

25 | P a g e
➢ มิจฉาวณิชชา ๕ คือ การค้าขายไม่ชอบธรรม ๕ อย่าง เป็ นข้อห้ามอุบาสกอุบาสิกาไม่ให้ประกอบ
๑.ค้าขายเครื่องประหาร ๒.ค้าขายมนุษย์ ๓.ค้าขายสัตว์เป็ นสาหรับฆ่าเพื่อเป็ นอาหาร ๔.ค้าขายนา้ เมา ๕.ค้าขายยาพิษ
➢ อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่ คฤหัสถ์ผถู้ ึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ
(ปี 54, 44) อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่บคุ คลเช่นไร? การค้าขายที่หา้ มอุบาสกอุบาสิกาประกอบ คืออะไรบ้าง?
ตอบ อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่ คฤหัสถ์ผถู้ ึงพระรัตนตรัยเป็ นสรณะ ฯ ห้ามค้าขายคือ ๑.ค้าขายเครื่องประหาร ๒.ค้าขายมนุษย์ ๓.ค้าขายสัตว์
เป็ นสาหรับฆ่าเพื่อเป็ นอาหาร ๔.ค้าขายนา้ เมา ๕.ค้าขายยาพิษ ฯ
(ปี 52) มิจฉาวณิชชา คืออะไร? การค้าขายเด็ก การค้าขายยาเสพติด การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเป็ นมิจฉาวณิชชาข้อใด?
ตอบ มิจฉาวณิชชา คือ การค้าขายไม่ชอบธรรม ฯ
การค้าขายเด็ก จัดเข้าในค้าขายมนุษย์
การค้าขายยาเสพติด จัดเข้าในค้าขายนา้ เมา
การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเข้าในค้าขายเครื่องประหาร ฯ
(ปี 51) การค้าขายสุรา เป็ นอาชีพที่ถกู ต้องตามกฎหมาย ในทางพระพุทธศาสนา มีความเห็นไว้อย่างไร?
ตอบ การค้าขายสุราทางพระพุทธศาสนา จัดเป็ นมิจฉาวณิชชา การค้าขายไม่ชอบธรรม เป็ นข้อห้าม อุบาสกไม่ควรประกอบ ฯ
(ปี 50) การค้าขายสัตว์เพื่อเอาไปฆ่าเป็ นอาหาร เป็ นการผิดศีลข้อปาณาติบาตหรือไม่? เพราะเหตุไร? อุบาสกควรปฏิบตั ิอย่างไรในเรื่องนี?้
ตอบ ไม่ผิด ฯ เพราะไม่ได้เป็ นผูฆ้ ่าหรือสั่งให้ฆา่ ฯ อุบาสกควรเว้นการค้าขายชนิดนีเ้ สีย ฯ
(ปี 45) คาว่า อุบาสก อุบาสิกา แปลว่าอะไร? การค้าขายยาเสพติดมียาบ้าเป็ นต้นจัดเข้าในมิจฉาวณิชชาข้อไหน?
ตอบ อุบาสก แปลว่า ชายผูเ้ ข้าถึงพระรัตนตรัย อุบาสิกา แปลว่า หญิงผูเ้ ข้าถึงพระรัตนตรัย ฯ การค้าขายนา้ เมา ฯ

➢ สมบัติและวิบตั ิ ๕
สมบัติของอุบาสกอุบาสิกา ๕ ประการ
๑. ประกอบด้วยศรัทธา. ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา.
๒. มีศีลบริสทุ ธิ์. ๕. บาเพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา.
๓. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือ เชื่อกรรมไม่เชื่อมงคล.
ตรงข้ามกับสมบัติทงั้ ๕ นี ้ เป็ นวิบัติของอุบาสกอุบาสิกา
(ปี 57) อุบาสกอุบสิกาควรตัง้ อยูใ่ นคุณสมบัติอะไรบ้าง?
(ปี 43) สมบัติและวิบตั ิของอุบาสกอุบาสิกามีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ๑. ประกอบด้วยศรัทธา ๒. มีศีลบริสทุ ธิ์ ๓. ไม่ถือมงคลตืน่ ข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล
๔) ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพระพุทธศาสนา ๕. บาเพ็ญบุญแต่ในพระพุทธศาสนา ตรงข้ามกับสมบัติทงั้ ๕ นี ้ เป็ นวิบตั ขิ องอุบาสกอุบาสิกา

หมวด ๖
➢ ทิศ ๖ บุคคลประเภทต่างๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ทางสังคมดุจทิศที่อยู่รอบตัว
๑.ทิศเบือ้ งหน้า บิดามารดา ๔.ทิศเบือ้ งซ้าย มิตร
๒.ทิศเบือ้ งขวา ครูอาจารย์ ๕.ทิศเบือ้ งล่าง บ่าว
๓.ทิศเบือ้ งหลัง บุตรภรรยา ๖.ทิศเบือ้ งบน สมณพราหมณ์
26 | P a g e
(ปี 57) ในทิศ ๖ ทิศเหล่านีห้ มายถึงใคร? ก. ทิศเบือ้ งหน้า ข. ทิศเบือ้ งขวา ค. ทิศเบือ้ งหลัง ง. ทิศเบือ้ งซ้าย จ. ทิศเบือ้ งบน
ตอบ ก. มารดาบิดา ข. ครูอาจารย์ ค. บุตรภรรยา ง. มิตร จ. สมณพราหมณ์ ฯ
(ปี 50) ทิศ ๖ ในคิหิปฏิบตั ิ มีอะไรบ้าง? แต่ละทิศหมายถึงใคร?

บุตรพึงบารุ งมารดาบิดา ๕ สถาน (ในเรื่องทิศ ๖)


๑.ท่านได้เลีย้ งมาแล้ว เลีย้ งท่านตอบ ๔.ประพฤติตนให้เป็ นคนควรรับทรัพย์มรดก
๒.ช่วยทากิจของท่าน ๕.เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน
๓.ดารงวงศ์สกุล
(ปี 63, 58, 55) บุตรธิดาพึงปฏิบตั ิต่อมารดาบิดาอย่างไร ?

ศิษย์พึงปฏิบัตติ ่อครูอาจารย์ ๕ สถาน (ในเรื่องทิศ ๖)


๑. ลุกขึน้ ยืนรับ ๔. อุปัฏฐาก
๒. เข้าไปยืนคอยรับใช้ ๕.เรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ
๓. เชื่อฟั ง
(ปี 59) ศิษย์ท่ดี ีพงึ ปฏิบตั ิต่อครูอาจารย์ อย่างไรบ้าง?

➢ คฤหัสถ์ควรบารุ งบรรพชิตด้วยการทา การพูด การคิดประกอบด้วยเมตตา ด้วยความเป็ นผูไ้ ม่ปิดประตู คือมิได้หา้ มเข้าบ้านเรือน


ด้วยให้อามิสทาน
➢ บรรพชิตควรอนุเคราะห์ตอ่ คฤหัสถ์ดว้ ยห้ามไม่ให้กระทาความชั่ว ให้ตงั้ อยู่ในความดี อนุเคราะห์ดว้ ยนา้ ใจอันงาม ให้ได้ฟังสิ่งที่
ยังไม่เคยฟั ง ทาสิ่งที่เคยฟั งมาแล้วให้แจ่ม บอกทางสวรรค์ให้
(ปี 47) คฤหัสถ์และบรรพชิต มีหน้าทีจ่ ะพึงปฏิบตั ิแก่กนั และกันอย่างไรบ้าง?
ตอบ คฤหัสถ์ควรบารุงบรรพชิตด้วยการทา การพูด การคิดประกอบด้วยเมตตา ด้วยความเป็ นผูไ้ ม่ปิดประตู คือมิได้หา้ มเข้าบ้านเรือน ด้วยให้
อามิสทาน
ส่วนบรรพชิตควรอนุเคราะห์ต่อคฤหัสถ์ดว้ ยห้ามไม่ให้กระทาความชั่ว ให้ตงั้ อยู่ในความดี อนุเคราะห์ดว้ ยนา้ ใจอันงาม ให้ได้ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคย
ฟั ง ทาสิ่งที่เคยฟั งมาแล้วให้แจ่ม บอกทางสวรรค์ให้ ฯ
(ปี 45) การถือมงคลตืน่ ข่าวคือถืออย่างไร? พระพุทธศาสนาสอนให้ถืออย่างนัน้ หรืออย่างไร?
สมณพราหมณ์ เมื่อได้รบั การบารุงแล้ว ย่อมอนุเคราะห์กลุ บุตรอย่างไรบ้าง ?
ตอบ ถือว่านีฤ้ กษ์ดี ยามดี เป็ นมงคลดี นีฤ้ กษ์ไม่ดี ยามไม่ดี ไม่เป็ นสวัสดิมงคล ฯ
พระพุทธศาสนาสอนไม่ให้ถือเช่นนัน้ สอนให้เชื่อว่า เรามีกรรมเป็ นของของตน เราทาดีจกั ได้ดี ทาชั่วจักได้ช่วั ฯ
อย่างนี ้ คือ ๑. ห้ามไม่ให้กระทาความชั่ว ๒. ให้ตงั้ อยูใ่ นความดี ๓. อนุเคราะห์ดว้ ยนา้ ใจอันงาม ๔. ให้ได้ฟังสิ่งที่ยงั ไม่เคยฟั ง
๕. ทาสิ่งที่เคยฟังแล้วให้แจ่ม ๖. บอกทางสวรรค์ให้ ฯ

27 | P a g e
ทบทวน พุทธประวัติ นักธรรมชั้นตรี
ความหมาย/ประโยชน์วิชาพุทธประวัติ
(ปี 61) พุทธประวัติ คืออะไร? การเรียนรูพ้ ทุ ธประวัตินนั้ ได้ประโยชน์อย่างไร?
ตอบ คือ เรื่องที่พรรณนาความเป็ นไปของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ
ได้ประโยชน์ คือทาให้ทราบความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า และแนวทางในการดาเนินชีวิตตามพระพุทธจริยา ฯ
(ปี 59, 52) การเรียนรูพ้ ทุ ธประวัติได้ประโยชน์อย่างไร ?
ตอบ ได้ประโยชน์ ๒ ประการ คือ
๑. ในด้านการศึกษา ทาให้ทราบความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า เช่นเดียวกับการศึกษาตานานความเป็ นมาของชาติตน ทาให้บคุ คลได้ทราบว่า
ชาติของตนเป็ นมาอย่างไร มีความสาคัญอย่างไร เป็ นต้น
๒. ในด้านปฏิบตั ิ ทาให้บคุ คลได้แนวในการดาเนินชีวิตตามพระพุทธจริยา อันเป็ นปฏิปทานาความสุขความเจริญมาให้แก่บคุ คลตามสมควร
แก่การประพฤติปฏิบตั ิ ฯ
(ปี 58, 43) พุทธประวัติ คืออะไร ? มีความสาคัญอย่างไรจึงต้องเรียนรู ้ ?
ตอบ คือเรือ่ งที่พรรณนาความเป็ นไปของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ มีความสาคัญ ในการศึกษาและปฏิบตั ิพระพุทธศาสนา เพราะแสดง
พระพุทธจริยาให้ปรากฏ ฯ
(ปี 49) พุทธประวัติว่าด้วยเรื่องอะไร? มีความสาคัญอย่างไรที่ตอ้ งเรียนรู?้
ตอบ ว่าด้วยเรื่องความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า เป็ นการแสดงพระพุทธจริยาในด้านต่างๆ ของพระองค์ให้ปรากฏ ฯ
มีความสาคัญในการศึกษาและปฏิบตั ิพระพุทธศาสนา เพราะแสดงพระพุทธจริยาให้ปรากฏ เช่นเดียวกับตานานย่อมมีความสาคัญต่อชาติ
ของตนที่ให้รูไ้ ด้ว่าชาติได้เป็ นมาแล้วอย่างไร ฯ
(ปี 45) พุทธประวัติวา่ ด้วยเรื่องอะไร? การเรียนรูพ้ ทุ ธประวัติได้ประโยชน์อย่างไร?
ตอบ ว่าด้วยเรื่องความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า เป็ นการแสดงพระพุทธจริยาในด้านต่างๆ ของพระองค์ให้ปรากฏ ฯ
ได้ประโยชน์ ๒ ประการ คือ
๑. ในด้านการศึกษา ทาให้ทราบความเป็ นมาของพระพุทธเจ้า เช่นเดียวกับการศึกษาตานานความเป็ นมาของชาติตน ทาให้บคุ คลได้ทราบว่า
ชาติของตนเป็ นมาอย่างไร มีความสาคัญอย่างไรเป็ นต้น
๒. ในด้านปฏิบตั ิ ทาให้บคุ คลได้แนวในการดาเนินชีวิตตามพระพุทธจริยา อันเป็ นปฏิปทานาความสุขความเจริญมาให้แก่บคุ คล ตามสมควร
แก่การประพฤติปฏิบตั ิ ฯ

ชมพูทวีป
วรรณะ๔ มี กษัตริย(์ ปกครองบ้านเมือง) ,พราหมณ์ (สั่งสอน ทาพิธีกรรม), แพศย์ (เป็ นทานาค้าขาย), ศูทร (รับจ้างทางาน เป็ นกรรมกร)
(ปี 63, 56) คนในชมพูทวีปแบ่งออกเป็ นกี่วรรณะ? อะไรบ้าง?
ตอบ แบ่งเป็ น ๔ วรรณะ ฯ คือ วรรณะกษัตริย ์ วรรณะพราหมณ์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร ฯ
(ปี 63, 61) เจ้าชายสิทธัตถะอุบตั ิขึน้ ในวรรณะใด ? ชนชาติไหน ? ตอบ วรรณะกษัตริย ์ ฯ ชนชาติอริยกะ ฯ
(ปี 62) พระพุทธเจ้าสืบเชือ้ สายมาจากชนชาติใด ? ชนชาตินนั้ มาตัง้ ถิ่นฐานในชมพูทวีปได้อย่างไร ?
ตอบ สืบเชือ้ สายมาจากชนชาติอริยกะ ฯ ชาวอริยกะนัน้ เป็ นผูเ้ จริญด้วยความรูแ้ ละขนบธรรมเนียม มีสติปัญญามากกว่าพวกมิลกั ขะ เจ้าของ
ถิ่นเดิม เมื่อข้ามภูเขาหิมาลัยมา ก็รุกไล่พวกมิลกั ขะ เจ้าของถิ่นเดิมให้ถอยเลื่อนลงมาทางใต้แล้วเข้าตัง้ ถิ่นฐานในชมพูทวีปแทน ฯ
1|P a g e
(ปี 60, 54, 46) ประชาชนในชมพูทวีป มีกี่จาพวก ? พระพุทธเจ้าสืบเชือ้ สายมาจากชนชาติใด ?
ตอบ มี ๒ จาพวก คือ ๑)มิลกั ขะ เจ้าของถิ่นเดิม ๒) อริยกะ พวกอพยพมาใหม่ ฯ สืบเชือ้ สายมาจากชนชาติอริยกะ ฯ
(ปี 59) วรรณะทัง้ ๔ มีหน้าที่ตา่ งกันอย่างไร ?
ตอบ มีหน้าที่ต่างกันอย่างนี ้ ๑. วรรณะกษัตริย ์ มีหน้าที่ปกครอง ๒. วรรณะพรามหณ์ มีหน้าที่ทางฝึ กสอนและทาพิธีกรรม
๓. วรรณะแพศย์ มีหน้าที่ทางทานาค้าขาย ๔. วรรณะศูทร มีหน้าที่รบั จ้าง ฯ
(ปี 57) ชมพูทวีปแบ่งเป็ น ๒ ส่วนใหญ่ ๆ คืออะไรบ้าง? ตอบ คือมัชฌิมชนบท และ ปั จจันตชนบท ฯ
(ปี 51) คนในชมพูทวีปแบ่งเป็ นกี่วรรณะ? อะไรบ้าง? พระพุทธบิดาอยู่ในวรรณะอะไร?
ตอบ แบ่งเป็ น ๔ วรรณะ ฯ คือ วรรณะกษัตริย ์ วรรณะพราหมณ์ วรรณะแพศย์ วรรณะศูทร ฯ อยู่ในวรรณะกษัตริย ์ ฯ
(ปี 48) ประชาชนในชมพูทวีปแบ่งออกเป็ นกี่วรรณะ? อะไรบ้าง? มีหน้าที่ต่างกันอย่างไร?
ตอบ แบ่งออกเป็ น ๔ วรรณะ คือ ๑. กษัตริย ์ มีหน้าที่ปกครอง ๒. พราหมณ์ มีหน้าที่ทางฝึ กสอนและทาพิธี
๓. แพศย์ มีหน้าที่ทางทานาค้าขาย ๔. ศูทร มีหน้าที่รบั จ้าง ฯ
(ปี 44) ในครัง้ พุทธกาล ชาวชมพูทวีปส่วนมากนับถือศาสนาอะไร? ชนเหล่านัน้ มีความคิดเห็น เรือ่ งความตาย และความเกิด โดยสรุป
อย่างไร? ตอบ ศาสนาพราหมณ์ ฯ เห็นอย่างนี ้ คือเห็นว่าตายแล้วเกิดอย่างหนึ่ง เห็นว่าตายแล้วสูญอย่างหนึง่ ฯ

ศากยวงศ์
• ศากยวงศ์ สืบเชือ้ สายมาจาก ชนชาติอริยกะ เป็ นชนชาติท่มี คี วามเจริญด้วยความรูแ้ ละขนบธรรมเนียม มีอานาจมากกว่าพวก
มิลักขะเป็ นเจ้าของถิ่นเดิม เมื่อชาวอริยกะข้ามภูเขาหิมาลัยก็มารุกไล่ชาวมิลกั ขะเจ้าของถิ่นเดิมให้ถอยร่นลงมาทางใต้ แล้วชาว
อริยกะก็ตงั้ ถิ่นฐานที่ชมพูทวีปแทน
• พระเจ้าโอกกากราช เป็ นต้นวงศ์ของศากยสกุล
• สักชนบท แบ่งออกเป็ น ๓ นคร คือ ๑.นครเดิมของพระเจ้าโอกกากราช ๒.นครกบิลพัสดุ์ ๓.นครเทวทหะ
• (ปี 55) พระเจ้าสีหหนุ ปู่ ของพระพุทธเจ้า
• (ปี 60, 47) พระเจ้าสุทโธทนะ พ่อของพระพุทธเจ้า
• (ปี 60, 47) พระนางสิริมหามายา แม่ของพระพุทธเจ้า (ท่านสวรรคตแล้ว ไปเกิดที่สวรรค์ชนั้ ดุสิต)
• (ปี 59, 55) พระนางมหาปชาบดีโครตมี พระน้านางของพระพุทธเจ้า
• (ปี 60, 47) พระนันทะ น้องชายต่างมารดาของพระพุทธเจ้า (พระเจ้าสุทโธทนะ+พระนางมหาปชาบดีโครตมี)
• รูปนันทา น้องสาวต่างมารดาของพระพุทธเจ้า (พระเจ้าสุทโธทนะ+พระนางมหาปชาบดีโครตมี)
• (ปี 55) พระนางพิมพา หรือ ยโสธรา พระชายาของพระพุทธเจ้า
(ปี 60) พระเจ้าสุทโธทนะ มีพระราชโอรสพระราชธิดากี่พระองค์ ? มีพระนาม ว่าอะไรบ้าง ?
ตอบ มีพระราชโอรส ๒ พระองค์ คือ ๑. พระสิทธัตถกุมาร ๒. พระนันทกุมาร มีพระราชธิดา ๑ พระองค์ คือ พระนางรูปนันทา ฯ
(ปี 59, 49) อสิตดาบส (กาฬเทวิลดาบส) และ มหาปชาบดีโคตมี เกี่ยวข้องกับเจ้าชายสิทธัตถะอย่างไร?
ตอบ อสิตดาบส (กาฬเทวิลดาบส) คือ ดาบสผูเ้ ป็ นที่คนุ้ เคยของราชสกุล ได้เข้าเฝ้าพระเจ้าสุทโธทนะ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะ ประสูตใิ หม่ๆ และ
พยากรณ์ว่า พระราชกุมารจะได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิราช หรือศาสดาเอกในโลก ฯ
ส่วน มหาปชาบดีโคตมี เป็ นพระมาตุจฉา คือพระน้านางของเจ้าชายสิทธัตถะ ฯ

2|P a g e
(ปี 56) พระพุทธบิดาทรงมีพระนามว่าอะไร ? ทรงปกครองแคว้นอะไร ? เมืองหลวงชื่ออะไร ?
ตอบ พระนามว่าพระเจ้าสุทโธทนะ ฯ แคว้นสักกะ ฯ ชื่อกบิลพัสดุ์ ฯ
(ปี 53, 47) ศากยวงศ์สืบเชือ้ สายมาจากชนชาติใด? ชนชาตินนั้ มาตัง้ ถิ่นฐานในชมพูทวีปได้อย่างไร?
ตอบ สืบเชือ้ สายมาจากชนชาติอริยกะ ฯ ชาวอริยกะนัน้ เป็ นผูเ้ จริญด้วยความรูแ้ ละขนบธรรมเนียม มีอานาจมากกว่าพวกมิลกั ขะเจ้าของถิ่น
เดิม เมื่อข้ามภูเขาหิมาลัยมาก็รุกไล่พวกมิลกั ขะ เจ้าของถิ่นเดิมให้ถอยร่นลงมาทางใต้แล้วเข้าตัง้ ถิ่นฐานในชมพูทวีปแทน ฯ
(ปี 50) เจ้าชายนันทกุมารกับเจ้าหญิงรูปนันทา เป็ นพระโอรสและพระธิดาของใคร? มีความเกี่ยวข้องกับเจ้าชายสิทธัตถกุมารอย่างไร? ตอบ
เป็ นพระโอรสและพระธิดาของพระเจ้าสุทโธทนะกับพระนางปชาบดีโคตมี ฯ มีความเกี่ยวข้องกับเจ้าชายสิทธัตถกุมารโดยเป็ นพระกนิฏฐ
ภาดาและ กนิฏฐภคินตี ่างพระมารดา ฯ
(ปี 46) กษัตริยพ์ ระองค์ใดที่เป็ นต้นศากยวงศ์? พระโอรสและพระธิดาของเจ้าศากยะไปสร้างพระนครขึน้ ใหม่ช่ือว่าเมืองอะไร? ที่ช่ืออย่างนัน้
เพราะเหตุไร? ตอบ พระเจ้าโอกกากราช ฯ เมืองกบิลพัสดุ์ ฯ เพราะเป็ นที่อยู่ของกบิลดาบสมาก่อน ฯ
(ปี 44) กาฬเทวิลดาบส กราบที่พระบาทพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะเห็นพระราชโอรสนัน้ มีลกั ษณะต้องด้วยตารับมหาบุรุษลักษณะครัน้ เห็นอัศจรรย์เช่นนัน้ แล้วก็มีความเคารพนับถือจึงกราบที่พระ
บาทของพระราชโอรสนัน้

กลุ่มคนและบุคคลในพุทธกาล
• สหชาติ ๗ มี คน ๔ สัตว์ ๑ ต้นไม้ ๑ สิ่งของ ๑
๑.พิมพา (ยโสธรา) ๕.ม้ากัณฐกะ (ตายแล้ว ไปเกิดทีด่ าวดึงส์)
๒.อานนท์ ๖.ต้นพระศรีมหาโพธิ์
๓. (ปี 60, 55, 47) ฉันนะ เป็ นผูต้ ามเสด็จคราวเสด็จออกบวช ๗.ขุมทรัพย์ทงั้ ๔
๔.กาฬุทายี
• อสิตดาบส (เรียกอีกชื่อว่า กาฬเทวิลดาบส) เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติใหม่ๆ อสิตดาบสได้เข้าเฝ้าและทายพระลักษณะว่า ถ้า
อยู่ครองสมบัตจิ ะได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้เป็ นศาสดาเอกของโลก
• (ปี 60, 47) วิศวามิตร ป็ นครูผสู้ อนศิลปวิทยาของเจ้าชายสิตธัตถะ เมื่อยังทรงพระเยาว์
(ปี 63, 57) อสิตดาบสกล่าวทานายพระมหาบุรุษไว้ว่าอย่างไร?
ตอบ ว่ามีคติเป็ น ๒ คือ ถ้าอยูค่ รองฆราวาสจักได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ ถ้าออกบวชจักได้ตรัสรูเ้ ป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ฯ
(ปี 61, 51) อสิตดาบสได้ทานายสิทธัตถกุมารว่าอย่างไร ?
ตอบ ทานายว่า ถ้าอยูค่ รองสมบัติ จักได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ์ ถ้าออกบวช จักได้เป็ นพระศาสดาเอกในโลก ฯ
(ปี 56) อสิตดาบส อาฬารดาบส และอุทกดาบส มีความเกี่ยวข้องกับพระมหาบุรุษอย่างไร?
ตอบ อสิตดาบส เป็ นผูค้ นุ้ เคยเป็ นที่เคารพนับถือของศากยสกุล ในเวลาที่พระมหาบุรุษประสูตใิ หม่ๆ ท่านได้ไปเยี่ยม และได้พยากรณ์ทานาย
พระลักษณะของพระมหาบุรุษ ว่ามีคติเป็ น ๒ ก่อนคนอื่นทัง้ หมด อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็ นผูท้ ่พี ระองค์ได้เคยอยู่อาศัยศึกษาลัทธิของ
ท่านทัง้ ๒ ฯ

3|P a g e
เหตุการณ์ในระหว่างพระชนม์ของพระพุทธเจ้า
เมือ่ ประสูตใิ หม่ๆ อสิตดาบส(กาฬเทวิลดาลส) เข้าเฝ้าและทายพระลักษณะ
๕ วัน ขนานพระนาม (ตัง้ ชื่อ) ว่า “สิทธัตถกุมาร”
๗ วัน พระมารดาสวรรคต
๗ ปี พระราชบิดาตรัสสั่งให้ขดุ สระโบกขรณี ๓ สระในพระราชวัง ให้เป็ นที่เล่นสาราญแก่พระองค์ และ ทรงศึกษาศิลปวิทยา (เรียน)
๑๖ ปี พระราชบิดาตรัสสั่งให้สร้างปราสาท ๓ หลัง เพื่อเป็ นที่เสด็จอยู่ใน ๓ ฤดู และตรัสขอพระนางยโสธรามาอภิเษกเป็ นพระชายา
๒๙ ปี ได้พระโอรสนามว่าพระราหุล และเสด็จออกบรรพชา
๓๕ ปี ตรัสรู ้
๘๐ ปี ปรินิพพาน

(ปี 63) พระพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู ้ แสดงปฐมเทศนา ปรินิพพาน และถวายพระเพลิงในวันใด ?


ตอบ ประสูติในวันเพ็ญเดือน ๖
ตรัสรูใ้ นวันเพ็ญเดือน ๖
แสดงปฐมเทศนาในวันเพ็ญเดือน ๘
ปรินิพพานในวันเพ็ญเดือน ๖
ถวายพระเพลิงในวันอัฏฐมีแรม ๘ ค่ําเดือน ๖ฯ
(ปี 62, 59, 53) พระพุทธเจ้าเสด็จออกผนวช ตรัสรู ้ และปรินิพพาน เมื่อมีพระชนมายุเท่าไรบ้าง ?
ตอบ เสด็จออกผนวช เมื่อมีพระชนมายุ ๒๙ ปี
ตรัสรู ้ เมื่อมีพระชนมายุ ๓๕ ปี
ปรินิพพาน เมื่อมีพระชนมายุ ๘๐ ปี ฯ
(ปี 61, 60, 58, 49, 43) เจ้าชายสิทธัตถะทรงปรารภอะไรจึงเสด็จออกบวช ? ทรงบวชได้กี่ปี จึงตรัสรู ้ ?
ตอบ ทรงปรารภความแก่ ความเจ็บ ความตาย และสมณะ ฯ ๖ ปี จึงตรัสรู ้ ฯ
(ปี 57) พระมหาบุรุษประสูติท่ไี หน? เมื่อไร? ตอบ ลุมพินีวนั ระหว่างกรุงกบิลพัสดุก์ ับกรุงเทวทหะ ฯ วันเพ็ญ เดือน ๖ ก่อนพุทธศก ๘๐ ปี ฯ
(ปี 56) เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้ ๕ วัน พระราชบิดาโปรดให้ทาอะไรเพื่อพระราชกุมารบ้าง?
ตอบ โปรดให้ชมุ นุมพระญาติวงศ์ และเสนามาตย์พร้อมกับเชิญพราหมณ์รอ้ ยแปดคนมาฉันโภชนาหาร แล้วทามงคลรับพระลักษณะ และ
ขนานพระนามว่าสิทธัตถกุมาร ฯ
(ปี 54) เมื่อพระมหาบุรษมีพระชนมายุได้ ๕ วัน ๗ วัน ๗ ปี ๑๖ ปี ๒๙ ปี มีเหตุการณ์สาคัญเกิดแก่พระองค์อะไรบ้าง?
(ปี 53) ภายใน ๗ วัน หลังจากสิทธัตถะราชกุมารประสูติแล้ว มีเหตุการณ์สาคัญเกิดขึน้ แก่พระองค์อย่างไรบ้าง?
ตอบ ๑. เมื่อประสูติแล้วใหม่ ๆ อสิตดาบส (หรือกาฬเทวิลดาบส) เข้าไปเฝ้าเยี่ยมและทานายพระลักษณะ
๒. วันที่ ๕ พระเจ้าสุทโธทนะเชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คนมาฉันโภชนาหารและขนานพระนามพระราชกุมารว่าสิทธัตถกุมาร
๓. วันที่ ๗ พระราชมารดาทิวงคต ฯ
(ปี 58, 49) พระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู ้ ปรินิพพานที่ใต้ตน้ ไม้อะไร?ตอบ ประสูติและปรินิพพาน ใต้ตน้ สาละฯ ตรัสรู ้ ใต้ตน้ โพธิ์(อัสสัตถพฤกษ์ฯ
(ปี 50) พระพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู ้ และปรินิพพาน ในวันใด? ที่ไหน?
ตอบ ประสูติในวันเพ็ญเดือน ๖ ก่อนพุทธศก ๘๐ ปี

4|P a g e
ตรัสรูใ้ นวันเพ็ญเดือน ๖ ก่อนพุทธศก ๔๕ ปี
และปรินิพพานในวันเพ็ญเดือน ๖ ปี ตงั้ ต้นพุทธศก ฯ
ส่วนสถานที่นนั้ คือ ประสูติท่ใี ต้รม่ ไม้สาละในลุมพินวี นั ระหว่างกรุงกบิลพัสดุแ์ ละกรุงเทวทหะ
ตรัสรูท้ ่ใี ต้ตน้ โพธิ์ (อัสสัตถพฤกษ์) ริมฝั่งแม่นา้ เนรัญชรา
ปรินิพพานที่ป่าไม้สาละ (สาลวโนทยาน) เมืองกุสินารา ฯ
(ปี 50, 44) เมื่อพระพุทธเจ้าประสูติได้ ๕ วัน และ ๗ วัน มีเหตุการณ์สาคัญอะไรเกิดขึน้ ?
ตอบ เมื่อประสูติได้ ๕ วัน พระราชบิดาเชิญพราหมณ์ ๑๐๘ คนมาฉันโภชนาหาร ทานายพระลักษณะและขนานพระนาม
และเมื่อประสูติได้ ๗ วัน พระราชมารดาเสด็จสวรรคต ฯ

พิธีแรกนาขวัญ (เรียกอีกอย่างว่า พิธวี ัปปมงคล)


(ปี 50) เหตุการณ์ท่เี งาต้นหว้าในเวลาบ่ายแล้วไม่คล้อยไปตามตะวัน กลับตัง้ อยูด่ จุ เวลาเที่ยง ปรากฏเมื่อคราวพระมหาบุรุษทรงทาอะไรอยู่?
ตอบ ทรงนั่งขัดบัลลังก์สมาธิ เจริญอานาปานสติกมั มัฏฐาน ทาปฐมฌาน ให้เกิดขึน้ ฯ
(ปี 48) ในวันเสด็จแรกนาขวัญ พระเจ้าสุทโธทนะบังคมสิทธัตถราชกุมารผูป้ ระทับนั่งใต้ตน้ หว้า เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะทรงเห็นอัศจรรย์ในขณะที่สิทธัตถราชกุมารประทับนั่งใต้ตน้ หว้า เงาของต้นหว้าไม่คล้อยไปตามตะวัน แม้จะเป็ นเวลาบ่ายแล้ว ยัง
ดารงอยู่เสมือนเที่ยงวัน ฯ

เสด็จออกบวช
• บรรพชา ริมฝั่งแม่นา้ อโนมา ณ อนุปิยอัมพวัน แคว้นมัลละ
• อาฬารดาบส มหาบรุษได้ไปศึกษาด้วยจนสาเร็จ สมาบัติ ๗ (รูปฌาณ ๔ อรูปฌาณ ๓)
• อุททกดาบส มหาบรุษได้ไปศึกษาด้วยจนสาเร็จ สมาบัติ ๘ (อรูปฌาณ ๔)
(ปี 62) อาฬารดาบสและอุทกดาบส มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร ?
ตอบ อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็ นผูท้ ่พี ระองค์ได้เคยอยู่อาศัยศึกษาลัทธิของท่านทัง้ ๒ ฯ
(ปี 56) อสิตดาบส อาฬารดาบส และอุทกดาบส มีความเกี่ยวข้องกับพระมหาบุรุษอย่างไร?
ตอบ อสิตดาบส เป็ นผูค้ นุ้ เคยเป็ นที่เคารพนับถือของศากยสกุล ในเวลาที่พระมหาบุรุษประสูติใหม่ๆ ท่านได้ไปเยี่ยม และได้พยากรณ์ทานาย
พระลักษณะของพระมหาบุรุษ ว่ามีคติเป็ น ๒ ก่อนคนอื่นทัง้ หมด ฯ
อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็ นผูท้ ่พี ระองค์ได้เคยอยู่อาศัยศึกษาลัทธิของท่านทั้ง ๒ ฯ

(ปี 63, 60, 58, 49, 43) เจ้าชายสิทธัตถะทรงปรารภอะไรจึงเสด็จออกบวช ? ทรงบวชได้กี่ปี จึงตรัสรู ้ ?


ตอบ ทรงปรารภความแก่ ความเจ็บ ความตาย และสมณะ ฯ ๖ ปี จึงตรัสรู ้ ฯ
(ปี 62) อะไรเป็ นมูลเหตุให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช ?
ตอบ พระอรรถกถาจารย์แสดงตามนัยมหาปทานสูตรว่า ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทัง้ ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ทรงสังเวช
เพราะได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๓ ข้างต้น ยังความพอพระหฤทัยในการออกผนวชให้เกิดขึน้ เพราะได้ทอดพระเนตรเห็นสมณะ ฯ
(ปี 56) พระมหาบุรุษทรงทอดพระเนตรเห็นคนแก่คนเจ็บคนตาย และบรรพชิตแล้วทรงดาริอย่างไร?

5|P a g e
ตอบ เมื่อทรงเห็นคนแก่คนเจ็บคนตายแล้ว ทรงน้อมเข้ามาเปรียบกับพระองค์เอง เกิดความสังเวชว่า เราจะต้องแก่ตอ้ งเจ็บต้องตายเช่นกัน
เมื่อทรงเห็นบรรพชิต ทรงดาริวา่ สาธุโขปพฺพชฺชา บวชดีนกั แล ฯ
(ปี 55) พระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา เพราะทรงปรารภเหตุอะไร?
ตอบ พระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา เพราะทรงปรารภความแก่ ความเจ็บ ความตาย อันครอบงามหาชนทุกคน อีกนัยหนึ่ง เพราะทรง
ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทัง้ ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ทรงสลดพระทัยเพราะไม่เคยพบเห็นมาแต่ก่อน ครัน้ ได้ทอดพระเนตร
เห็นสมณะเข้าเกิดพระทัยในการบรรพชา ฯ
(ปี 52) เทวทูต ๔ ที่เจ้าชายสิทธัตถะทรงเห็นคืออะไรบ้าง? ทรงเห็นแล้ว มีพระดาริอย่างไร?
ตอบ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ฯ ทรงมีพระดาริวา่ บุคคลทั่วไปถูกความเจ็บ ความแก่ ความตายครอบงา ไม่ล่วงพ้นไปได้ ถึง
พระองค์เองก็มอี ย่างนัน้ เป็ นธรรมดา ควรแสวงหา อุบายเครื่องพ้น แต่ฆราวาสเป็ นที่คบั แคบ ดุจเป็ นทางที่มาแห่งธุลี บรรพชาเป็ นช่องว่าง
พอที่จะแสวงหาอุบายนัน้ ได้ จึงน้อมพระหฤทัยไปในบรรพชา ฯ
(ปี 48) พระมหาบุรุษเสด็จออกบรรพชา เพราะทอดพระเนตรเห็นอะไร? และเมื่อเห็นแล้วทรงพระดาริอย่างไร?
ตอบ เพราะทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ฯ ทรงพระดาริว่า บุคคลทั่วไปเมาอยูใ่ นวัย ในความไม่มีโรค
และในชีวติ ถูกความเจ็บ ความแก่ ความตายครอบงา ไม่ล่วงพ้นไปได้ ถึงพระองค์เองก็มีอย่างนัน้ เป็ นธรรมดา ควรแสวงหาอุบายเครื่องพ้น
ธรรมดาสภาวะทัง้ ปวงย่อมมีของที่เป็ นฝ่ ายตรงกันข้ามแก้กนั เช่นมีรอ้ นก็ตอ้ งมีเย็นแก้ มีมดื ก็ตอ้ งมีสว่างแก้ แต่ฆราวาสเป็ นที่คบั แคบ ดุจเป็ น
ทางที่มาแห่งธุลี บรรพชาเป็ นช่องว่าง พอที่จะแสวงหาอุบายนัน้ ได้ จึงน้อมพระทัยไปในบรรพชา ฯ
(ปี 47) การที่พระราชบิดาและพระญาติวงศ์ คิดผูกพันเจ้าชายสิทธัตถะไว้ให้เพลิดเพลินอยู่ในกามสุขเพราะเหตุไร?
และด้วยวิธีใด? ตอบ เพราะพระราชบิดาและพระญาติวงศ์ได้ทรงฟั งคาทานายของอสิตดาบสว่า พระราชกุมารนีจ้ กั มีคติเป็ นสอง คือ ถ้าอยู่
ครองราชสมบัติจกั ได้เป็ นจักรพรรดิราช หรือถ้าออกบรรพชาจักได้เป็ นศาสดาเอกในโลก จึงปรารถนาให้อยู่ครองราชสมบัติมากกว่าที่จะยอม
ให้เสด็จออกบรรพชา ฯ
ด้วยการตรัสให้ขดุ สระโบกขรณีในพระราชนิเวศน์ ๓ สระ เพื่อให้เป็ นที่เล่นสาราญพระราชหฤทัย ให้จดั เครื่องทรง คือจันทน์สาหรับทา ผ้าโพก
พระเศียร ฉลองพระองค์ ผ้าทรงสะพัก พระภูษา ล้วนเป็ นของประณีต ให้สร้างปราสาท ๓ หลังสาหรับเป็ นที่ประทับทัง้ ๓ ฤดู ตรัสขอพระนาง
ยโสธรามาอภิเษกเป็ นพระชายา ฯ
(ปี 45) พระมหาบุรุษทรงอธิษฐานเพศเป็ นบรรพชิตที่ไหน ? ตอบ ที่รมิ ฝั่งแม่นา้ อโนมา ณ อนุปิยอัมพวัน แคว้นมัลละ ฯ
(ปี 44) อะไรเป็ นมูลเหตุให้เจ้าชายสิทธัตถะเสด็จออกผนวช? พระสิทธัตถะทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ า ด้วยวิธีอย่างไรบ้าง?
ตอบ พระอรรถกถาจารย์แสดงตามนัยมหาปทานสูตรว่า ได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูตทัง้ ๔ คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ทรงสังเวช
เพราะได้ทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ๓ ข้างต้น ยังความพอพระหฤทัยในการออกผนวชให้เกิดขึน้ เพราะได้ทอดพระเนตรเห็นสมณะ ฯ
วิธีแรก ทรงกดพระทนต์ดว้ ยพระทนต์ กดพระตาลุดว้ ยพระชิวหา
วิธีท่สี อง ทรงผ่อนกลัน้ ลมอัสสาสะปั สสาสะ
วิธีท่สี าม ทรงอดพระกระยาหาร ฯ

(ปี 54) พระมหาบุรุษได้ทรงศึกษาในสานักอาฬารดาบสและอุทกดาบสจนจบวิชาความรูข้ องอาจารย์ การที่จะกล่าวว่า พระองค์ตรัสรูช้ อบด้วย


พระองค์เองโดยไม่มีใครเป็ นครูอาจารย์ นัน้ เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะความรูท้ ่เี รียนในสานักดาบสทัง้ ๒ นัน้ เป็ นโลกิยธรรม ส่วนความรูท้ ่ตี รัสรูเ้ อง เป็ นโลกุตรธรรมที่ไม่มีใครรู ม้ าก่อน

6|P a g e
บาเพ็ญทุกรกิริยา
(ปี 56) พระมหาบุรุษเสด็จประทับบาเพ็ญเพียรจนถึงตรัสรู ้ ณ ตาบลใด? ตอบ ณ ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ฯ
(ปี 55) ทุกรกิรยิ า คืออะไร? พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ าด้วยอย่างไรบ้าง? จงบอกมา ๑ ข้อ
ตอบ ทุกรกิริยา คือ การทรมานกายให้ลาบาก ฯ
พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ า ๓ วาระ
๑.ทรงกดพระทนต์ดว้ ยพระทนต์ (กัดฟั น) กดพระตาลุดว้ ยพระชิวหา (เอาลิน้ ดุนเพดาน) ไว้จนแน่จนพระเสโท (เหงื่อ) ไหลออกจากพระกัจฉะ(รักแร้)
๒.ทรงผ่อนกลัน้ ลมหายใจเข้าออก
๓.ทรงอดพระกระยาหาร ฯ
(ปี 54) พระมหาบุรุษทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ า ณ ที่ไหน? ผูท้ ่รี ูเ้ ห็นเป็ นพยานในเรื่องนีค้ ือใคร?
ตอบ ณ ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม แคว้นมคธ ที่รูเ้ ห็นเป็ นพยานคือ พระปั ญจวัคคี
(ปี 52) การที่พระมหาบุรุษทรงเลิกบาเพ็ญทุกกรกิรยิ านัน้ เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะทรงดาริว่า ทุกกรกิรยิ าที่ทรงบาเพ็ญนัน้ จะยิ่งไปกว่านีไ้ ม่มี แต่ก็ไม่เป็ นทางให้ตรัสรูไ้ ด้ การบาเพ็ญเพียรทางจิตจักเป็ นทางตรัสรู ไ้ ด้
กระมัง แต่คนซูบผอมเช่นนีไ้ ม่สามารถทาได้ จึงทรงเลิกบาเพ็ญทุกกรกิรยิ า กลับมาเสวย พระอาหารตามปกติ ฯ

ก่อนตรัสรู้
• (ปี 55) นางสุชาดา เป็ นผูถ้ วายข้าวมธุปายาสก่อนตรัสรู ้
(ปี 44) ในวันตรัสรูท้ รงอธิษฐานพระหฤทัยที่ใต้ตน้ มหาโพธิ์ว่าอย่างไร?
ตอบ ทรงอธิษฐานพระหฤทัยว่า "ยังไม่บรรลุโพธิญาณเพียงใด จักไม่ลุกขึน้ เพียงนั้น เนือ้ เลือดแห้งไป เหลือหนังหุ้มกระดูกก็ตาม"
(ปี 44) พระสิทธัตถะทรงผจญมารได้ชยั ชนะด้วยบารมีธรรมอะไรบ้าง?
ตอบ ด้วยบารมีธรรม ๑๐ อย่าง คือ ทาน ศีล เนกขัมมะ ปั ญญา วิรยิ ะ ขันติ สัจจะ อธิษฐาน เมตตา อุเบกขา

(ปี 48) พระญาณที่เกิดขึน้ แก่พระมหาบุรุษในวันที่ตรัสรูน้ นั้ คืออะไรบ้าง?


ตอบ คือ ๑.ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ญาณเป็ นเครื่องระลึกถึงชาติหนหลังของพระองค์ได้
๒.จุตปู ปาตญาณหรือทิพพจักขุญาณ ญาณหยั่งรูก้ ารจุติและการเกิดของสัตว์ทงั้ หลายที่เป็ นไปตามกรรม
๓.อาสวักขยญาณ ญาณเป็ นเหตุสนิ ้ อาสวะอันหมักหมมอยูใ่ นจิตตสันดาน ฯ
(เรื่องญาณ ๓ ปี 45, 43) ในราตรีแห่งการตรัสรู ้ พระมหาบุรุษทรงบรรลุญาณอะไรในแต่ละยาม?
ตอบ ทรงบรรลุปพุ เพนิวาสานุสสติญาณ ในปฐมยาม
ทรงบรรลุจตุ ปู ปาตญาณหรือทิพพจักษุญาณ ในมัชฌิมยาม
ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ในปั จฉิมยาม ฯ
(ปี 43) ญาณข้อไหน ที่ทาให้พระองค์ทรงสาเร็จความเป็ นพุทธะโดยสมบูรณ์ ? ตอบ ญาณ ข้อที่ ๓

หลังตรัสรู้
(ปี 53) เมื่อพระพุทธเจ้าตรัสรูใ้ หม่ ๆ พระองค์ทรงพิจารณาบุคคลผูส้ ามารถจะตรัสรูธ้ รรมได้โดยเปรียบเทียบกับบัว ๓ เหล่า อย่างไรบ้าง?
ตอบ บัว ๓ เหล่า

7|P a g e
๑.ดอกบัวทีโ่ ผล่พน้ น้าแล้ว เมือ่ ถูกแสงพระอาทิตย์ก็พร้อมทีจ่ ะเบ่งบานทันที คือผูเ้ ข้าใจเร็วพลัน เพียงท่านยกหัวข้อธรรมขึน้ แสดง
(กิเลสน้อย อินทรียก์ ล้า)
๒.ดอกบัวทีอ่ ยู่เสมอน้า พร้อมจะบานในวันพรุ่ง คือผูร้ ูแ้ ละเข้าใจได้ต่อเมื่อท่านอธิบายขยายเนือ้ ความจึงรูแ้ จ้ง (กิเลสปานกลาง อินทรีย ์
ปานกลาง)
๓.ดอกบัวทีอ่ ยู่ใต้น้า พร้อมทีจ่ ะบานในวันต่อๆ ไป คือผูพ้ อแนะนาพร่าสอนบ่อยๆ ค่อยเข้าใจได้ (กิเลสหนา อินทรียอ์ ่อน)
(ปี 58) ผูป้ ระกาศตนเป็ นอุบาสกด้วยการถึงรัตนะ ๒ เป็ นครัง้ แรก คือใคร ? ได้พบพระพุทธเจ้าที่ไหน ?
ตอบ คือตปุสสะ และภัลลิกะ ฯ ที่ใต้ตน้ ราชายตนะ ฯ
(ปี 51) พระกระยาหารมือ้ แรกของพระพุทธเจ้าหลังตรัสรูค้ ืออะไร? ใครเป็ นผูถ้ วาย?
ตอบ คือ ข้าวสัตตุผง ข้าวสัตตุกอ้ น ฯ พ่อค้า ๒ คน ชื่อตปุสสะและภัลลิกะ ฯ
(ปี 45) พระพุทธองค์ทรงตัดสินพระทัยแสดงธรรมโปรดเวไนยสัตว์เพราะทรงพิจารณาอย่างไร?
ตอบ เพราะทรงพิจารณาว่า บุคคลผูม้ ีกิเลสน้อยเบาบางก็มี หนาก็มี ผูม้ ีอินทรียก์ ล้าก็มี อ่อนก็มี เป็ นผูจ้ ะพึงสอนให้รูไ้ ด้โดยง่ายก็มี โดยยากก็มี
เป็ นผูส้ ามารถจะรูไ้ ด้กม็ ี ไม่สามารถจะรูไ้ ด้ก็มี เปรียบเหมือนดอกบัว ๔ เหล่า เมื่อเป็ นเช่นนัน้ พระธรรมเทศนาคงไม่ไร้ผล จักยังประโยชน์ให้
สาเร็จแก่คนทุกเหล่า เว้นแต่จาพวกที่มใิ ช่เวไนยสัตว์ท่เี ปรียบด้วยดอกบัวอันเป็ นภักษาแห่งปลาและเต่า ฯ
(ปี 44) พระสิทธัตถะทรงบาเพ็ญเพียรอยู่เป็ นเวลากี่ปีจงึ ได้ตรัสรู ้ ? ตอบ เป็ นเวลา ๖ ปี

(ปี 56) เมื่อพระศาสดาเสด็จไปเมืองพาราณสีเพื่อโปรดปั ญจวัคคีย ์ ทรงพบใครในระหว่างทาง? และหลังสนทนากันแล้วผูน้ นั้ ได้บรรลุผลอะไร?


ตอบ ทรงพบอุปกาชีวก ฯ ไม่ได้บรรลุผลอะไร ฯ
(ปี 47) หลังจากตรัสรูแ้ ล้ว ในระหว่างทางที่เสด็จไปป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน พระพุทธองค์ทรงสนทนากับใคร? และผูน้ นั้ ได้บรรลุธรรมชัน้ ไหน?
ตอบ ทรงพบอุปกาชีวก ฯ อุปกาชีวกไม่ได้บรรลุธรรมชัน้ ไหนเลย ฯ

(ปี 45) พระพุทธองค์ตรัสรูธ้ รรมพิเศษแล้ว ในพรรษาแรกเสด็จประทับอยู่ท่ไี หน? และทรงบาเพ็ญพุทธกิจไว้อย่างไร?


ตอบ ประทับอยู่ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ฯ
ได้ทรงบาเพ็ญพุทธกิจที่สาคัญไว้ดงั นี ้
๑.ทรงแสดงธรรมโปรดพระภิกษุปัญจวัคคียใ์ ห้ได้สาเร็จมรรคผลสูงสุด
๒.ทรงแสดงธรรมโปรดพระยสะพร้อมด้วยสหายอีก ๕๔ คน จนสาเร็จพระอรหัตผลทัง้ หมด
๓.ทรงแสดงธรรมโปรดบิดามารดาและภรรยาเก่าของพระยสะให้ได้ดวงตาเห็นธรรม แล้วแสดงตนเป็ นอุบาสกอุบาสิกา ผูถ้ ึงพระรัตนตรัยก่อน
กว่าชนทัง้ ปวงในโลก
๔. ทรงส่งพระอรหันตสาวก ๖๐ องค์ ไปประกาศพระศาสนายังถิ่นต่างๆ เพื่อประโยชน์สขุ แก่ชาวโลก ฯ

ปั ญจวัคคีย ์
• ปั ญจวัคคีย ์ (คอยอุปัฏฐาก) ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหานามะ อัสสชิ
วันอาสาฬหบูชา พระพุทธเจ้าแสดงธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร บรรพชิตไม่ควรเสพ ๑.กามสุขลั ลิกานุโยค ๒.อัตตกิลมถานุโยค
มัชฌิมาปฏิปทา ข้อปฏิบตั ิอนั เป็ นทางสายกลางอริยมรรคมีองค์ ๘ และอริยสัจ ๔]

8|P a g e
บรรลุเป็ นพระอรหันต์พร้อมกันทัง้ หมดในวันแรม ๕ ค่าเดือน ๘ ด้วยธรรมะชื่อว่า อนัตตลักขณสูตร (ขันธ์ทงั้ ๕ เป็ นของไม่เที่ยง เป็ น
ทุกข์ เป็ นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่น)
• พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิดเป็ นธรรมดา สิ่งนั้นทัง้ หมดมีความดับไปเป็ น
ธรรมดา”
• ปั ญจวัคคีย ์ -> ได้ฟัง ธรรมจักรกัปปวัตตนสูตร มัชฌิมาปฏิปทา อริยสัจ ๔ และอัตตลักขณสูตร
(ปี 63, 61, 55) พระพุทธเจ้าทรงตัดสินพระทัย จะแสดงธรรมแก่ปัญจวัคคียก์ ่อนเพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะทรงระลึกถึงอุปการคุณของปั ญจวัคคียท์ ่ไี ด้คอยอุปัฏฐากพระองค์เมื่อครัง้ ทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ า ฯ
(ปี 62, 54) พระอัญญาโกณฑัญญะได้ช่ือว่าเป็ นปฐมสาวก เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะได้ฟังธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเป็ นองค์แรก ฯ
(ปี 59) พระอรหันตสาวก ๕ รูปแรก คือใครบ้าง ?
ตอบ ๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ ๒. พระวัปปะ ๓. พระภัททิยะ ๔. พระมหานามะ ๕. พระอัสสชิ เรียกว่า พระปั ญจวัคคีย ์ ฯ
(ปี 59) หลังจากตรัสรูแ้ ล้ว พระพุทธเจ้าทรงพระประสงค์จกั แสดงธรรมแก่ใครก่อน? และสมพระประสงค์หรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?
ตอบ ทรงพระประสงค์จกั แสดงแก่อาฬารดาบส กาลามโคตร และอุทกดาบส รามบุตร ฯ
ไม่สมพระประสงค์ ฯ เพราะท่านทัง้ ๒ นัน้ สิน้ ชีพเสียแล้ว ฯ
(ปี 58) ปั ญจวัคคีย ์ ได้แก่ใครบ้าง ? ท่านเหล่านัน้ อุปสมบทด้วยวิธีอะไร ?
ตอบ ได้แก่พระอัญญาโกณฑัญญะ พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และ พระอัสสชิ ฯ ด้วยวิธีเอหิภิกขุอปุ สัมปทาฯ
(ปี 57) พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่ใคร และบังเกิดผลเลิศอย่างไร?
ตอบ แก่พระปั ญจวัคคีย ์ ฯ บังเกิดผลเลิศ คือพระอัญญาโกณฑัญญะได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วทูลขอบรรพชา ฯ
(ปี 53) ปั ญจวัคคีย ์ คือใคร? มีความเกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าขณะที่ยงั ทรงบาเพ็ญทุกรกิรยิ าอย่างไร?
ตอบ คือ นักบวชกลุ่มหนึ่ง มีทงั้ หมด ๕ คน มีท่านโกณทัญญะเป็ นหัวหน้า ฯ ได้ตามเสด็จ คอยอุปัฏฐากรับใช้อยู่ตลอดเวลา ฯ
(ปี 46) ปั ญจวัคคีย ์ ได้แก่ใครบ้าง? ท่านเหล่านัน้ อุปสมบทด้วยวิธีอะไร? และบรรลุอรหัตผลที่ไหน?
ตอบ ได้แก่ พระอัญญาโกณฑัญญะ ๑ พระวัปปะ ๑ พระภัททิยะ ๑ พระมหานามะ ๑ พระอัสสชิ ๑ ฯ
อุปสมบทด้วยวิธีเอหิภิกขุอปุ สัมปทา ฯ บรรลุอรหัตผลที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี ฯ
(ปี 44) จงให้ความหมายของคาว่า ปฐมเทศนา และมัชฌิมาปฏิปทา
ดอบ ปฐมเทศนา คือการแสดงธรรมครัง้ แรก มัชฌิมาปฏิปทา คือข้อปฏิบตั ิอนั เป็ นทางสายกลาง
(ปี 43) พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนาเมื่อไร? ใจความแห่งปฐมเทศนานัน้ ว่าด้วยเรื่องอะไร?
ตอบ เมื่อวันเพ็ญ เดือนอาสาฬหะ สองเดือนหลังจากตรัสรู ้
ว่าด้วยที่สดุ สองอย่างอันบรรพชิตไม่ควรเสพ, มัชฌิมาปฏิปทา, และอริยสัจ ๔

ยสะกุลบุตร
• ยสกุลบุตร -> ได้ฟัง อนุปพุ พีกถา และ อริยสัจ ๔
(ปี 62, 59, 55, 44 ออกแทบทุกปี ) คาว่า "ที่น่วี ่นุ วายหนอ ที่น่ขี ดั ข้องหนอ" เป็ นคาอุทานของใคร ? เพราะเหตุใดจึงอุทานเช่นนัน้ ? ตอบ
ของยสกุลบุตร ฯ เพราะเห็นอาการพิกลต่าง ๆ ของหมูช่ นบริวารที่นอนหลับ ไม่เป็ นที่ตัง้ แห่งความยินดีเหมือนเมื่อก่อน หมูช่ นบริวารเหล่านัน้
ปรากฏแก่ยสกุลบุตร ดุจซากศพที่ทงิ ้ อยู่ในป่ าช้า ครัน้ เห็นแล้วเกิดความสังเวชสลดใจ คิดเบื่อหน่าย จึงได้ออกอุทานเช่นนัน้ ฯ
9|P a g e
(ปี 58) อนุปพุ พีกถา ๕ ว่าด้วยเรือ่ งอะไร ? ทรงแสดงครัง้ แรกแก่ใคร ?
ตอบ ว่าด้วยทาน ศีล สวรรค์ โทษแห่งกาม และอานิสงส์แห่งการออกจากกาม ฯ แก่ยสกุลบุตร ฯ
(ปี 57) คาว่า “ที่น่ไี ม่ว่นุ วาย ที่น่ไี ม่ขดั ข้อง” เป็ นวาจาของใคร? กล่าวกะใคร? ตอบ ของพระพุทธเจ้า ฯ กะยสกุลบุตร ฯ
(ปี 54) ทีน่ ีว่ ุ่นวายหนอ ทีน่ ี่ขดั ข้องหนอ” เป็ นคาอุทานของใคร? ความวุ่นวายขัดข้องนัน้ สงบลงได้อย่างไร
ตอบ คาอุทานของ ยสะกุลบุตร ความวุ่นวายขัดข้องนัน้ สงบลงได้โดยการฟังพระธรรมเทศนา อนุปพุ พีกถาและอริยสัจ ๔ ที่พระพุทธเจ้าแสดง
โปรด

ชฎิล ๓ พี่น้อง
• ชฎิล ๓ พี่น้อง -> ได้ฟัง อาทิตตปริยายสูตร
• ชฎิล ๓ พี่น้อง คือ อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ คยากัสสปะ และบริวาร ๑,๐๐๐ คน พระพุทธเจ้าแสดงอาทิตตปริยายสูตร ที่
ตาบลคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา ใจความว่า “อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เป็ นของร้อนๆ เพราะไฟกิเลสมีความกาหนัด ความ
โกรธหรือความหลง เผาลนจิตใจ และร้อนเพราะไฟทุกข์ มีความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความโศก ร่าไร ราพัน ความคับแค้นใจ เป็ นต้น มา
เผาลนให้รอ้ น”
(ปี 51) พระพุทธเจ้าทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตรแก่ใคร? ที่ไหน?
ตอบ แก่ชฎิล ๓ พี่นอ้ ง และบริวาร ๑,๐๐๐ คน ฯ ที่ตาบลคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา ฯ

โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
• ลัฏฐิวนั (สวนตาลหนุ่ม) เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ เป็ นสถานที่แสดงธรรมเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสารและข้าราชบริพารจนสาเร็จ
เป็ นพระโสดาบัน (๑๑ นหุต บรรลุโสดาบัน ส่วนอีก ๑ นหุตขอถึงพระรัตนตรัย) นหุต คือหนึง่ หมื่น
(ปี 52) พระพุทธเจ้าทรงเลือกแคว้นมคธเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็ นแห่งแรก เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะแคว้นมคธ เป็ นแคว้นใหญ่มีอานาจและบริบรู ณ์ดว้ ยสมบัติ มีประชาชนมาก มีเจ้าลัทธิมาก จึงทรงเลือก ฯ
(ปี 49) เพราะเหตุใดพระพุทธเจ้าทรงเลือกแคว้นมคธเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็ นครัง้ แรก ?
ตอบ เพราะแคว้นมคธเป็ นเมืองใหญ่มีอานาจและบริบรู ณ์ดว้ ยสมบัติ คับคั่ง ด้วยประชาชน พระเจ้าพิมพิสารทรงปกครองโดยสิทธิ์ขาด ทัง้ เป็ น
ที่อยู่แห่งครูเจ้าลัทธิมากกว่ามาก ฯ
(ปี 45) พระราชาของแคว้นไหนที่นบั ถือพระพุทธศาสนาเป็ นองค์แรก? และทรงพระนามว่าอะไร?
ความปรารถนาว่า "ขอให้ขา้ พเจ้ารูท้ ่วั ถึงธรรมของพระอรหันต์" เป็ นความปรารถนาของใคร? และความปรารถนานัน้ สาเร็จบริบรู ณ์เมื่อไร?
ตอบ พระราชาของแคว้นมคธ ทรงพระนามว่า พิมพิสาร ฯ ของพระเจ้าพิมพิสารครัง้ ยังทรงเป็ นพระราชกุมาร ฯ สาเร็จบริบรู ณ์ในวันที่ได้ฟังอนุ
ปุพพีกถาและอริยสัจ ๔ ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโปรด ณ สวนตาลหนุ่ม จนได้ดวงตาเห็นธรรม ฯ
(ปี 43) พระพุทธองค์เสด็จกรุงราชคฤห์ครัง้ แรกภายหลังตรัสรูป้ ระทับที่ไหน? ทรงรับถวายพระอารามแห่งแรกชื่ออะไร?
ตอบ ประทับ ณ ลัฏฐิ วนั สวนตาลหนุ่มฯ ชื่อว่าเวฬุวนารามฯ

พระอัสสชิ พระสารีบุตร พระพระโมคคัลลานะ


• พระอัสสชิ แสดงธรรมให้อปุ ติสสะว่า “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระพุทธเจ้าทรงแสดงเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และความ
ดับของธรรมเหล่านัน้ พระองค์มีปกติตรัสอย่างนี”้
10 | P a g e
• พระสารีบุตร(อุปติสสะ) สาเร็จเป็ นพระโสดาบันเพราะฟังธรรมจากพระอัสสชิ ได้ดวงตาเห็นธรรมว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่ง มีความเกิด
เป็ นธรรมดา สิง่ นั้นทัง้ หมดมีความดับไปเป็ นธรรมดา” และหลังบวชได้๑๕ วันบรรลุพระอรหันต์
• พระโมคคัลลานะ(โกลิตะ) สาเร็จเป็ นพระโสดาบันเพราะฟั งธรรมจากพระสารีบตุ ร ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังธรรมจากพระสารี
บุตร และหลังบวชได้ ๗ วันบรรลุพระอรหันต์
(ปี 61) พระสารีบตุ รสาเร็จเป็ นพระโสดาบัน เพราะได้ฟังธรรมจากใคร ? ธรรมนัน้ มีใจความว่าอย่างไร ?
ตอบ จากพระอัสสชิเถระ ฯ ใจความว่า "ธรรมใดเกิดแต่เหตุ พระศาสดาทรงแสดงเหตุแห่งธรรมนัน้ และความดับแห่งธรรมนัน้ " ฯ
(ปี 60, 52) พระอัครสาวกทัง้ ๒ องค์สาเร็จเป็ นพระโสดาบัน เพราะฟั งธรรมจากใคร ?
ตอบ พระสารีบตุ ร ฟั งธรรมจากพระอัสสชิเถระ ฯ พระโมคคัลลานะ ฟั งธรรมจากพระสารีบตุ ร ฯ
(ปี 57) พระสารีบตุ ร พระโมคคัลลานะ ได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟั งธรรมจากใคร?
ตอบ พระสารีบตุ รฟังธรรมจากพระอัสสชิ พระโมคคัลลานะฟั งธรรมจากพระสารีบตุ ร ฯ
(ปี 53) คาว่า ดวงตาเห็นธรรม นัน้ คือเห็นอย่างไร? พระโมคคัลลานะและพระสารีบตุ รได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟังธรรมจากใคร?
ตอบ คือเห็นว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึน้ เป็ นธรรมดา สิ่งนัน้ ทัง้ มวลมีความดับเป็ นธรรมดา ฯ พระโมคคัลลานะได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟัง
ธรรมจากพระสารีบตุ ร และพระสารีบตุ รได้ดวงตาเห็นธรรมเพราะฟั งธรรมจากพระอัสสชิเถระ ฯ

จาตุรงคสันนิบาต (วันมาฆบูขา)
• จาตุรงคสันนิบาต เกิดขึน้ ที่วดั เวฬุวนั
(ปี 51) จาตุรงคสันนิบาต คือ การประชุมที่ประกอบด้วยองค์อะไรบ้าง?
ตอบ ด้วยองค์ คือ ๑. พระสาวกผูเ้ ข้าประชุมนัน้ ล้วนเป็ นพระอรหันต์
๒. ทุกท่านล้วนได้รบั เอหิภิกขุอปุ สัมปทา
๓. ไม่ได้มีการนัดหมาย ต่างมาประชุมพร้อมกันเอง
๔. วันนัน้ เป็ นวันเพ็ญเดือนมาฆะ และพระศาสดาประทาน
พระบรมพุทโธวาท ซึง่ เรียกว่า โอวาทปาฏิโมกข์ ฯ
(ปี 48) ในวันจาตุรงคสันนิบาต พระศาสดาทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์แก่ใคร? ที่ไหน? ทรงยกธรรมข้อใดขึน้ แสดงเป็ นข้อต้น?
ตอบ ทรงแสดงแก่พระอรหันตขีณาสพ จานวน ๑,๒๕๐ องค์ ฯ ณ เวฬุวนาราม ยกธรรมข้อขันติขนึ ้ แสดงเป็ นข้อต้น

พระธรรมเทศนาพระสูตร
• อริยสัจ ๔
(ปี 49) ในปฐมเทศนา พระพุทธเจ้าทรงแสดงอริยสัจไว้เท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ ทรงแสดงอริยสัจไว้ ๔ ประการ ฯ คือ ๑.ทุกข์ ๒.สมุทยั ๓.นิโรธ ๔.มรรค ฯ

• อนัตตลักขณสูตร (ขันธ์ทงั้ ๕ เป็ นของไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ไม่ควรยึดมั่น) มีผลให้พระปัญจวัคคีทงั้ ๕ บรรลุอรหัตตผล
(ปี 52) อนัตตลักขณสูตร ว่าด้วยเรื่องอะไร? ทรงแสดงเมื่อไร? ผลเป็ นอย่างไร?
ตอบ ว่าด้วย ขันธ์ ๕ เป็ นอนัตตา ฯ เมื่อวันแรม ๕ ค่า เดือน ๘ ฯ ผลคือจิตของพระปั ญจวัคคียท์ งั้ ๕ พ้นแล้วจากอาสวะ ไม่ถือมั่นด้วย
อุปาทาน ฯ
11 | P a g e
(ปี 43) พระธรรมเทศนาต่อไปนี ้ พระพุทธองค์ทรงแสดงที่ไหน และมีผลอย่างไร ? ก.อนัตตลักขณสูตร ข.อาทิตตปริยายสูตร
ตอบ ก.ทรงแสดงที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน มีผลให้พระปั ญจวัคคียท์ งั้ ๕ ได้บรรลุอรหัตตผล
ข.ทรงแสดงที่ตาบลคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา มีผลให้พระภิกษุปรุ าณชฎิลบรรลุอรหัตตผล

• อนุปพ
ุ พีกถา
(ปี 58) อนุปพุ พีกถา ๕ ว่าด้วยเรือ่ งอะไร ? ทรงแสดงครัง้ แรกแก่ใคร ?
ตอบ ว่าด้วยทาน ศีล สวรรค์ โทษแห่งกาม และอานิสงส์แห่งการออกจากกาม ฯ แก่ยสกุลบุตร ฯ
(ปี 48) อนุปพุ พีกถา คืออะไรบ้าง? ทรงแสดงแก่ใครเป็ นครัง้ แรก? ตอบ คือ ทาน ศีล สวรรค์ กามาทีนพ และเนกขัมมานิสงส์ฯ แก่ยสกุลบุตรฯ

• อาทิตตปริยายสูตร ที่ตาบลคยาสีสะ ใกล้แม่นา้ คยา ใจความว่า “อายตนะภายใน อายตนะภายนอก เป็ นของร้อนๆ เพราะไฟกิเลส
มีความกาหนัด ความโกรธหรือความหลง เผาลนจิตใจ และร้อนเพราะไฟทุกข์ มีความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ความโศก ร่าไร ราพัน ความ
คับแค้นใจ เป็ นต้น มาเผาลนให้รอ้ น” มีผลทาให้ชฎิล บรรลุอรหัตตผล

• เวทนาปริคคหสูตร แก่ทีฆนขปริพาชก ณ ถา้ สุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์ ฯ มีใจความว่า “ให้พจิ ารณาร่างกาย ซึง่ มี
ความแตกทาลายไม่ย่งั ยืน และแสดงผลเสียของการยึดมั่น พร้อมกับตรัสให้ละเลิกทิฏฐิ อย่างนัน้ เสีย”
(ปี 45) พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมต่อไปนีแ้ ก่ใคร? ที่ไหน? ก. โอวาทปาฏิโมกข์ ข. เวทนาปริคคหสูตร
ตอบ ก. แก่พระอรหันตขีณาสพ ๑,๒๕๐ องค์ ณ เวฬุวนาราม แคว้นมคธ
ข. แก่ทีฆนขปริพาชก ณ ถา้ สุกรขาตา เขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห์ ฯ

สิ่งแรก/สิ่งสุดท้าย ทีน่ ่าจา


(ปี 63, 58) ใครถวายบิณฑบาตแด่พระพุทธองค์ก่อนตรัสรู ้ และก่อนปรินิพพาน ?
ตอบ ก่อนตรัสรู ้ คือนางสุชาดา ก่อนปรินิพพาน คือนายจุนทะ ฯ
(ปี 62, 54) พระอัญญาโกณฑัญญะได้ช่ือว่าเป็ นปฐมสาวก เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะได้ฟังธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ได้ดวงตาเห็นธรรมแล้วอุปสมบทในพระพุทธศาสนาเป็ นองค์แรก ฯ
(ปี 61) ปฐมสาวกและปั จฉิมสาวก คือใคร ? ตอบ ปฐมสาวก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ปั จฉิมสาวก คือ พระสุภทั ทะ ฯ
(ปี 60, 55, 46) เทศนากัณฑ์แรก ชื่ออะไร ? ปั จฉิมสักขิสาวก คือสาวกองค์สดุ ท้าย ที่ได้เห็นพระศาสดา ได้แก่ใคร ?
ตอบ เทศนากัณฑ์แรก ชื่อ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร ฯ ปั จฉิมสักขิสาวก ได้แก่ พระสุภทั ทะ ฯ
(ปี 60, 50) ธรรมจักษุ ดวงตาเห็นธรรมนัน้ คือเห็นว่าอย่างไร? ได้เกิดขึน้ แก่ ผูใ้ ดเป็ นคนแรก?
ตอบ เห็นว่า “สิ่งใดสิง่ หนึ่งมีความเกิดขึน้ เป็ นธรรมดา สิ่งนัน้ ทัง้ หมดล้วนมีความดับเป็ นธรรมดา” ฯ เกิดแก่โกณฑัญญพราหมณ์เป็ นคนแรก ฯ
(ปี 58) ผูป้ ระกาศตนเป็ นอุบาสกด้วยการถึงรัตนะ ๒ เป็ นครัง้ แรก คือใคร ? ได้พบพระพุทธเจ้าที่ไหน ?
ตอบ คือตปุสสะ และภัลลิกะ ฯ ที่ใต้ตน้ ราชายตนะ ฯ
(ปี 56) บุคคลผูแ้ สดงตนเป็ นอุบาสกด้วยการถึงรัตนะ ๒ และรัตนะ ๓ เป็ นคนแรกคือใคร ?
ตอบ ผูถ้ ึงรัตนะ ๒ คือตปุสสะและภัลลิกะ ฯ ผูถ้ ึงรัตนะ ๓ คือ บิดาพระยสะ ฯ
(ปี 55) พระโสดาบัน องค์แรก เรียกว่าเป็ น ปฐมสาวก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ
12 | P a g e
(ปี 55) พระอรหันต์ มีครัง้ แรก คือ พระปั ญจวัคคีย ์
(ปี 60, 52) คฤหัสถ์ท่บี รรลุพระอรหัตผลคนแรกคือใคร ? เพราะฟังธรรมอะไร ? ตอบ คือ ยสกุลบุตร ฯ เพราะฟั งอนุปพุ พีกถา และอริยสัจ ๔ ฯ
(ปี 52) พระพุทธเจ้าทรงเลือกแคว้นมคธเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็ นแห่งแรก เพราะเหตุไร ?
ตอบ เพราะแคว้นมคธ เป็ นแคว้นใหญ่มีอานาจและบริบรู ณ์ดว้ ยสมบัติ มีประชาชนมาก มีเจ้าลัทธิมาก จึงทรงเลือก ฯ
(ปี 51) พระอรหันตสาวก ๕ รูปแรก คือใครบ้าง? ตอบ คือ ๑. พระโกณฑัญญะ ๒. วัปปะ ๓. ภัททิยะ ๔. มหานามะ ๕. อัสสชิ
(ปี 49) ผูใ้ ดได้ถวายภัตตาหารมือ้ แรกหลังจากตรัสรู ้ และภัตตาหารมือ้ สุดท้ายก่อนปรินิพพานแก่พระพุทธเจ้า?
ตอบ ตปุสสะและภัลลิกะ ๒ พาณิช ได้ถวายภัตตาหารมือ้ แรกหลังจากตรัสรูแ้ ล้ว
นายจุนทกัมมารบุตร ได้ถวายภัตตาหารมือ้ สุดท้ายก่อนปรินิพพาน ฯ
(ปี 48) อนุปพุ พีกถา คืออะไรบ้าง? ทรงแสดงแก่ใครเป็ นครัง้ แรก? ตอบ คือ ทาน ศีล สวรรค์ กามาทีนพ และเนกขัมมานิสงส์ฯ แก่ยสกุลบุตรฯ
(ปี 45) พระพุทธองค์ประทับจาพรรษาสุดท้าย ณ ที่ใด? พระองค์ทรงปลงอายุสงั ขารเมื่อใด?
ตอบ ณ บ้านเวฬุวคาม กรุงเวสาลี แคว้นวัชชี ฯ เมื่อวันเพ็ญเดือน ๓ คือ ๓ เดือนก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ฯ
(ปี 43) พระพุทธองค์เสด็จกรุงราชคฤห์ครัง้ แรกภายหลังตรัสรูป้ ระทับที่ไหน? ทรงรับถวายพระอารามแห่งแรกชื่ออะไร?
ตอบ ประทับ ณ ลัฏฐิ วนั สวนตาลหนุ่มฯ ชื่อว่าเวฬุวนารามฯ

ก่อนปรินิพพาน
(ปี 62, 47) การปลงอายุสงั ขารของพระพุทธองค์ ถือโดยใจความว่าอย่างไร ? และทรงปลงอายุสงั ขารเมื่อใด ?
ตอบ ถือโดยใจความว่า พระองค์ทรงปรารภถึงสังขารว่า ทรงพระชราล่วงกาลผ่านไปไม่สามารถ บาเพ็ญพุทธกิจต่อไปได้อีกแล้ว ฯ
เมื่อวันเพ็ญ เดือน ๓ ก่อนวันปรินพิ พาน ๓ เดือน ฯ
(ปี 50) พระพุทธองค์ทรงปลงอายุสงั ขาร คือทรงทาอย่างไร? ที่ไหน? เมื่อไร?
ตอบ คือทรงกาหนดพระหฤทัยว่า “จักปรินพิ พานในอีก ๓ เดือนข้างหน้า” ฯ ทรงทาที่ปาวาลเจดีย ์ เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี ฯ
เมื่อวันเพ็ญเดือน ๓ ก่อนปรินิพพาน ๓ เดือน (วันมาฆบูชา) ฯ
(ปี 45) พระพุทธองค์ประทับจาพรรษาสุดท้าย ณ ที่ใด? พระองค์ทรงปลงอายุสงั ขารเมื่อใด?
ตอบ ณ บ้านเวฬุวคาม กรุงเวสาลี แคว้นวัชชี ฯ เมื่อวันเพ็ญเดือน ๓ คือ ๓ เดือนก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ฯ
(ปี 43) พระพุทธองค์ทรงจาพรรษาสุดท้ายที่เมืองอะไร? ทรงรับภัตตาหารมือ้ สุดท้ายที่เมืองอะไร?
ตอบ ที่เวฬุวคาม เขตเมืองเวสาลีฯ ที่ปาวานคร ฯ
(ปี 44) พระพุทธองค์ได้ตรัสถึงสาเหตุของแผ่นดินไหวไว้อย่างไรบ้าง ? จงบอกมา ๕ สาเหตุ
ตอบ ตรัสถึงสาเหตุดงั ต่อไปนี ้ (เลือกตอบเพียง ๕ ข้อ)
๑. ลมกาเริบ ๕. พระพุทธเจ้าตรัสรูพ้ ระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ
๒. ท่านผูม้ ีฤทธิ์บนั ดาล ๖. พระพุทธเจ้ายังธรรมจักรให้เป็ นไป
๓. พระโพธิสตั ว์จตุ ิจากดุสติ ลงสูพ่ ระครรภ์ ๗. พระพุทธเจ้าทรงปลงอายุสงั ขาร
๔. พระโพธิสตั ว์ประสูติ ๘. พระพุทธเจ้าปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ

(ปี 50) พระพุทธเจ้าเสวยพระกระยาหารอะไร ก่อนแต่เสด็จปรินิพพาน? ใครถวาย?


ตอบ เสวยมังสะสุกรอ่อน (สูกรมัททวะ) ฯ นายจุนทกัมมารบุตรถวาย ฯ
13 | P a g e
(ปี 45) เมื่อจะเสด็จดับขันธปรินพิ พาน พระพุทธองค์ได้ประทานพระโอวาทเรื่องศาสดาแทนพระองค์ไว้อย่างไร?
พระผูม้ ีพระภาคได้ตรัสถึงวิธีปฏิบตั ิต่อภิกษุผถู้ กู ลงพรหมทัณฑ์ไว้อย่างไร?
ตอบ ได้ประทานพระโอวาทว่า "ดูกอ่ นอานนท์ ธรรมก็ดี วินัยก็ดี อันใด อันเราได้แสดงแล้ว ได้บัญญัติแล้วแก่ท่านทัง้ หลาย ธรรม
และวินัยนั้น จักเป็ นศาสดาแห่งท่านทัง้ หลาย โดยกาลทีล่ ่วงไปแล้วแห่งเรา" ฯ
ตรัสไว้ว่า "ภิกษุนนั้ จะพึงปรารถนาเจรจาคาใด ก็พงึ เจรจาคานัน้ ภิกษุทงั้ หลายไม่พึงว่า ไม่พงึ โอวาท ไม่พึงสั่งสอนเลย" ฯ
(ปี 44) พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอานนท์เกี่ยวกับการที่ภิกษุจะพึงปฏิบตั ิต่อสตรีไว้อย่างไร?
ตอบ ทรงแสดงว่า " ไม่เห็นเสียเลยดีกว่า ถ้าจาเป็ นจะต้องเห็นก็อย่าพูดด้วย ถ้าจาเป็ นจะต้องพูดก็ให้มีสติสารวมระวังอย่าให้
แปรปรวนไปด้วยราคะ "

(ปี 48) พระปั จฉิมโอวาท มีใจความว่าอย่างไร? ทรงประทานที่ไหน?


ตอบ พระปั จฉิมโอวาท มีใจความ “ดูกรภิกษุทงั้ หลาย บัดนีเ้ ราขอเตือนท่านทัง้ หลายว่า สังขารทัง้ ปวงมีความเสื่อมไปเป็ นธรรมดา ท่าน
ทัง้ หลายจงยังกิจของตนและของคนอื่นให้ถงึ พร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด” ทรงประทานที่ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ

(ปี 61, 53) พระพุทธเจ้าทรงสรรเสริญปฏิบัติบูชายิง่ กว่าอามิสบูชาเพราะเหตุไร ?


ตอบ การปฏิบัติบชู า ถ้าปฏิบตั สิ มควรแก่ธรรม ก็จะเป็ นเหตุปัจจัยให้ตรัสรูธ้ รรมได้ เป็ นไปตามจุดมุ่งหมายสูงสุดในพระศาสนา เป็ นพุทธ
ประสงค์หลักในการเผยแผ่ศาสนา และทาให้ศาสนาตัง้ อยู่ได้นาน

ถูปารหบุคคล คือ บุคคลที่ควรแก่การบรรจุอฐั ิ ธาตุไว้ในสถูปเพื่อบูชา มี ๔ ประเภท ได้แก่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า, พระปั จเจกพุทธเจ้า, พระ
อรหันตสาวก และพระเจ้าจักรพรรดิ์
(ปี 59) ถูปารหบุคคล มีกี่ประเภท ? คือใครบ้าง ?
ตอบ มี ๔ ประเภท ฯ คือ ๑. พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒. พระปั จเจกพุทธเจ้า ๓. พระอรหันตสาวก ๔. พระเจ้าจักรพรรดิ์ ฯ
(ปี 54, 46) ถูปารหบุคคล คือบุคคลเช่นไร? ได้แก่ใครบ้าง?

หลังปรินิพพาน
(ปี 58) สถานที่ถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ชื่อว่าอะไร ? ตัง้ อยูใ่ นเมืองอะไร ? ตอบ ชื่อว่า มกุฏพันธนเจดีย ์ ฯ เมืองกุสินารา ฯ
(ปี 57) ผูท้ ่กี ล่าวสุนทรพจน์ระงับไม่ให้เกิดสงครามแย่งชิงพระบรมสารีรกิ ธาตุ คือใคร? ตอบ โทณพราหมณ์ ฯ
(ปี 46) เมื่อวันพระศาสดาปรินิพพาน มีพระสาวกผูใ้ หญ่อยูใ่ นที่นนั้ กี่รูป? ใครบ้าง?
หลังพุทธปรินิพพานแล้ว ได้มีการถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระที่ไหน? เมื่อไร?
ตอบ มี ๒ รูป คือ พระอนุรุทธเถระ และพระอานนทเถระ ฯ ที่ มกุฏพันธนเจดีย ์ ฯ หลังพุทธปรินิพพานได้ ๗ วัน ฯ

สังคายนา
(ปี 47) พระพุทธศาสนาสืบเนื่องมาถึงปั จจุบนั นีไ้ ด้อย่างไร?
ตอบ ได้ดว้ ยการที่บริษัททัง้ ๔ ปฏิบตั ิตามพระธรรมวินยั และด้วยวิธีท่พี ระสงฆ์สาวกผูใ้ หญ่ มีพระมหากัสสปะเป็ นต้น เป็ นประธานจัดทา
สังคายนาพระธรรมวินยั วางแบบแผนที่ถกู ต้องลงไว้ในพระพุทธศาสนาเป็ นครัง้ แรก เพื่อให้บริษั ท ๔ ได้เล่าเรียนปฏิบตั ิตาม เมื่อมีสิ่งไรไม่เป็ น
14 | P a g e
ธรรมเกิดขึน้ ในพระพุทธศาสนา พระอริยสงฆ์ในยุคนัน้ ๆ ได้ชว่ ยกันทาสังคายนาเป็ นครัง้ ที่ ๒ และครัง้ ที่ ๓ เป็ นลาดับมา เพื่อชาระสัทธรรม
ปฏิรูปนัน้ เสีย จนได้จารึกไว้ในพระคัมภีรใ์ ห้แพร่หลาย รวมทัง้ จัดการส่งพระสงฆ์ไปประกาศพระพุทธศาสนาในดินแดนต่างๆ ให้ชมุ ชนใน
ดินแดนนัน้ ๆ เลื่อมใสปฏิบตั ิตาม จึงทาให้พระพุทธศาสนาสืบเนื่องมาจนปัจจุบนั นี ้ ฯ

สถานทีเ่ กี่ยวกับพระพุทธเจ้า
สังเวชนีสถาน ๔
• ประสูติ ใต้ตน้ สาละ สวนลุมพินวี นั
• ตรัสรู้ ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ริมฝั่งแม่นา้ เนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม
• ปฐมเทศนา ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ
• ปรินิพพาน ใต้ตน้ สาละคู่ ณ สาลวัน (สาลวโนทยาน) เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ
(ปี 63, 57) สังเวชนียสถาน ๔ ตาบล เป็ นสถานที่ให้ระลึกถึงเหตุการณ์สาคัญอะไรบ้าง?
ตอบ เหตุการณ์ท่พี ระพุทธองค์ ๑. ประสูติ ๒. ตรัสรู ้ ๓. ทรงแสดงธรรมจักกัปปวัตตนสูตรเป็ นครัง้ แรก ๔. เสด็จปรินิพพาน ฯ
(ปี 53, 44) สังเวชนียสถาน ๔ ได้แก่ท่ใี ดบ้าง? ตอบ ได้แก่ ๑.สถานที่ประสูติ ๒.สถานที่ตรัสรู ้ ๓.สถานที่แสดงปฐมเทศนา ๔.สถานที่ปรินิพพานฯ
(ปี 51) สถานที่ต่อไปนีเ้ กี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร ก. ลุมพินีวนั ข. อิสิปตนมฤคทายวัน ค. สาลวโนทยาน
ตอบ ก. ลุมพินีวนั เป็ นสถานที่ประสูติ ข. อิสิปตนมฤคทายวัน เป็ นสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนา ค. สาลวโนทยาน เป็ นสถานที่ปรินิพพาน

สถานทีอ่ ื่นๆ
➢ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี แคว้นมคธ ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดปั ญจวัคคีย ์
➢ ลัฏฐิวนั (สวนตาลหนุ่ม) เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ เป็ นสถานที่แสดงอนุปพุ พีกถาและอริยสัจ ๔ เพื่อโปรดพระเจ้าพิมพิสารและข้าราช
บริพารจนสาเร็จเป็ นพระโสดาบัน (๑๑ นหุต บรรลุโสดาบัน ส่วนอีก ๑ นหุตขอถึงพระรัตนตรัย) นหุต คือหนึ่งหมื่น
➢ วัดเวฬุวนั (สวนไม้ไผ่ หรือ เวฬุวนาราม) เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ วัดแรกในพระพุทธศาสนา พระเจ้าพิมพิสาร เป็ นผูส้ ร้างถวาย เป็ น
่ ระพุทธเจ้าแสดงโอวาทปาฏิโมกข์แก่พระอรหันตขีณาสพ ๑,๒๕๐ องค์
สถานทีพ
➢ วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี แคว้นโกศล อนาถบิณฑิกเศรษฐี เป็ นผูส้ ร้างถวาย และพระพุทธองค์ประทับจาพรรษานานถึง ๑๙ พรรษา
➢ สาลวัน (สาลวโนทยาน) เมืองกุสินารา แคว้นมัลละ ทรงแสดงมรรคมีองค์แปดแก่สภุ สั ททปริพาชก เป็ นสถานที่ปรินิพพาน
(ปี 62, 55) ครัง้ พุทธกาล วัดเชตวัน ตัง้ อยู่ท่เี มืองอะไร ? ใครเป็ นผูส้ ร้างถวาย ?
ตอบ เมืองสาวัตถี ฯ อนาถบิณฑิกเศรษฐีเป็ นผูส้ ร้างถวาย ฯ
(ปี 54, 46) สถานที่ต่อไปนีเ้ กี่ยวข้องกับพระบรมศาสดาอย่างไร?
๑. ลุมพินีวนั ๒. อิสิปตนมฤคทายวัน ๓. ลัฏฐิ วนั ๔. เวฬุวนั ๕. สาลวัน
ตอบ ๑. ลุมพินีวนั เป็ นสถานที่ประสูติ
๒. อิสิปตนมฤคทายวัน เป็ นสถานที่ทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปั ญจวัคคีย ์
๓. ลัฏฐิ วนั เป็ นสถานที่ทรงแสดงธรรมเทศนาโปรดพระเจ้าพิมพิสารและบริวารจนสาเร็จเป็ นพระโสดาบัน
๔. เวฬุวนั เป็ นสถานที่ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์
๕. สาลวัน เป็ นสถานที่ทรงแสดงมรรคมีองค์แปดแก่สภุ ทั ทปริพาชก และเป็ นสถานที่เสด็จดับขันธปรินิพพาน ฯ
(ปี 46) สถานที่ต่อไปนีเ้ กี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าอย่างไร ? ก. ลัฏฐิ วนั ข. เชตวัน
15 | P a g e
ตอบ ก.ลัฏฐิ วนั เป็ นสถานที่ท่พี ระศาสดาทรงแสดงอนุปพุ พีกถาและอริยสัจ ๔ แด่พระเจ้าพิมพิสารพร้อมด้วยข้าราชบริพารผูเ้ สด็จไปเข้าเฝ้า ณ ที่น่นั ฯ
ข. เชตวัน เป็ นพระอารามซึง่ อนาถบิณฑิกเศรษฐี สร้างถวาย และพระพุทธองค์ประทับจาพรรษานานถึง ๑๙ พรรษา ฯ
(ปี 45) สถานที่ต่อไปนีม้ ีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธองค์อย่างไร ? ก. เวฬุวนั ข. สาลวัน
ตอบ ก. เป็ นพระราชอุทยานของพระเจ้าพิมพิสารซึ่งทรงถวายเป็ นที่ประทับของพระพุทธองค์พร้อมกับพระสงฆ์ เป็ นสังฆารามแห่งแรกฯ
ข. เป็ นสถานที่แสดงธรรมโปรดสุภทั ทปริพาชกผูเ้ ป็ นปั จฉิมสักขิสาวก และเป็ นสถานที่ปรินิพพาน ฯ

ประเภทของเจดีย ์
๑.ธาตุเจดีย ์ บรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ
๒.บริโภคเจดีย ์ สิ่งของหรือสถานที่ท่พี ระพุทธเจ้าเคยทรงใช้สอย มี สังเวชนียสถาน, บาตร, จีวร, กุฏิ, วิหาร,ตุมพสถูป (สถูปบรรจุทะนานทอง
ที่ใช้ตวงพระธาตุ เมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว) ,อังคารสถูป
๓.ธรรมเจดีย ์ สิ่งที่จารึกคาสอนพระพุทธเจ้า เช่น คาภีร ์ พระไตรปิ ฎก ใบลาน แผ่นศิลา หนังสือ
๔.อุทเทสิกเจดีย ์ พระพุทธรูป
(ปี 52) พระพุทธรูป สังเวชนียสถาน ตุมพสถูป และ อังคารสถูป อย่างไหนเป็ นบริโภคเจดียแ์ ละอุทเทสิกเจดีย ์ ?
ตอบ สังเวชนียสถาน ตุมพสถูป และ อังคารสถูป เป็ นบริโภคเจดีย ์ พระพุทธรูป เป็ นอุทเทสิกเจดีย ์ ฯ

อื่น ๆ
(ปี 47) ในพิธีศิวาราตรี ถือว่าการอาบนา้ ชาระร่างกายในแม่นา้ เป็ นการลอยบาป ส่วนในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธเจ้าทรงแสดงวิธีลอย
บาปไว้อย่างไร? ตอบ ทรงแสดงไว้ว่า การยังบาปให้สงบระงับจากสันดาน ละกิเลสที่ทาให้เป็ นผูด้ รุ า้ ยเย่อหยิ่งและกิเลสที่ ยอ้ มจิตให้ติดแน่น
ในกามารมณ์ เป็ นการลอยบาป ฯ

ศาสนพิธ๊
ศาสนพิธี คือ แบบอย่างหรือแบบแผนต่างๆ ที่พึงปฏิบตั ใิ นทางพระพุทธศาสนา แยกออกเป็ น ๔ หมวด ดังนี ้
๑.กุศลพิธี (หมายถึง พิธีการบาเพ็ญกุศล) เป็ นพิธีกรรมทาความดีแก่ตนเอง ได้แก่ พิธีแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ พิธเี วียนเทียนในวันสาคัญ
ทางพุทธศาสนา พิธีรกั ษาอุโบสถ
๒.บุญพิธี (หมายถึง พิธีการทาบุญ) เป็ นพิธีบญ
ุ เนื่องด้วยประเพณีในครอบครัวของชาวพุทธ เกี่ยวกับชีวิตของคนไทยทั่วไป เกี่ยวกับเรื่อง
ฉลองบ้าน เรื่องต้องการให้เกิดสิรมิ งคลบ้าง เรื่องตายบ้าง จึงเกิดมีพิธีกรรมที่จะต้องปฏิบัติขึน้ และถือปฏิบตั ิสืบๆ กันมาตัง้ แต่โบราณกาล
ได้แก่ ทาบุญงานมงคล ทาบุญงานอวมงคล
๓.ทานพิธี พิธีถวายทานต่างๆ มีการ ถวายสังฆทาน เป็ นต้น
๔.ปกิณกพิธี ข้อปฏิบตั ิในพิธีกรรมทั่วๆ ไปที่ชาวพุทธนิยมทากัน แต่ยงั ไม่เป็ นหมวดมารวบรวมเป็ นหมวดหมู่ ได้แก่ การแสดงความเคารพพระ
การประเคนของพระ การทาหนังสืออาราธนาและใบปวารณาถวายจตุปัจจัย การอาราธนาศีล อาราธนาธรรม อาราธนาพระปริตร และ การ
กรวดนา้
(ปี 62, 59) ศาสนพิธี คืออะไร ? ผูท้ ่ไี ด้เรียนรูแ้ ล้วได้รบั ประโยชน์อย่างไรบ้าง ?
ตอบ คือ แบบอย่าง หรือแบบแผนต่าง ๆ ที่พึงปฏิบตั ใิ นทางพระศาสนา ฯ

16 | P a g e
ย่อมได้รบั ประโยชน์ คือ เป็ นผูฉ้ ลาดในพิธีกรรมที่เกี่ยวด้วยการบาเพ็ญกุศล การทาบุญและการถวายทาน สามารถในการจัดพิธีตา่ ง ๆ ได้
ถูกต้องตามระเบียบแบบแผน ชื่อว่า เป็ นผูร้ กั ษาขนบประเพณีอนั งดงามของพระพุทธศาสนาไว้ได้ดว้ ย ฯ
ปี 57) ศาสนพิธี คืออะไร? มีหมวดอะไรบ้าง?
ตอบ คือแบบอย่างหรือแบบแผนต่างๆ ที่พงึ ปฏิบตั ิในทางพระพุทธศาสนา ฯ มี ๑. หมวดกุศลพิธี ๒. หมวดบุญพิธี ๓. หมวดทานพิธี
๔. หมวดปณิณกะ ฯ
(ปี 56) บุญพิธีมกี ี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ตอบ มี ๒ อย่าง ฯ คือ ๑. การทาบุญงานมงคล ๒. การทาบุญงานอวมงคล ฯ
(ปี 50, 44) ศาสนพิธี คืออะไร? เมื่อแยกเป็ นหมวดจะได้หมวดอะไรบ้าง การทาบุญขึน้ บ้านใหม่จดั อยู่ในหมวดไหน?
ตอบ คือ แบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่พึงปฏิบตั ใิ นทางพระพุทธศาสนา ฯ
จะได้ ๑. หมวดกุศลพิธี ๒. หมวดบุญพิธี ๓. หมวดทานพิธี ๔. หมวดปกิณกะ ฯ จัดอยูใ่ นหมวดบุญพิธี ฯ
(ปี 49) กุศลพิธี หมายถึง? บุญพิธี หมายถึง? ตอบ กุศลพิธี หมายถึง พิธีการบาเพ็ญกุศลฯ บุญพิธี หมายถึง พิธีการทาบุญฯ
(ปี 48) ศาสนพิธี คืออะไร? ผูท้ ่ไี ด้เรียนรูแ้ ล้วได้รบั ประโยชน์อย่างไรบ้าง?
ตอบ คือ แบบอย่าง หรือแบบแผนต่าง ๆ ที่พึงปฏิบตั ใิ นทางพระศาสนา ฯ ย่อมได้รบั
ประโยชน์ คือ เป็ นผูฉ้ ลาดในพิธีกรรมที่เกี่ยวด้วยการบาเพ็ญกุศล การทาบุญ และการถวายทาน สามารถในการจัดพิธีตา่ งๆ ได้ถกู ต้องตาม
ระเบียบแบบแผน ชื่อว่าเป็ นผูร้ กั ษาขนบประเพณีอนั งดงามของพระพุทธศาสนาไว้ได้ดว้ ย ฯ
(ปี 47) ในพิธีทาบุญต่างๆ มีผเู้ กี่ยวข้องในการปฏิบตั ิกี่ฝ่าย? คือใครบ้าง?
ตอบ มีผเู้ กี่ยวข้องในการปฏิบตั ิ ๒ ฝ่ าย คือ ๑. ฝ่ ายเจ้าภาพ คือทายกทายิกา ผูป้ ระกอบการทาบุญ
๒. ฝ่ ายปฏิคาหก คือผูร้ บั ทานและประกอบพิธีกรรมตามประสงค์ ของเจ้าภาพ ซึง่ เป็ นบรรพชิต เรียกอีกอย่างว่า ฝ่ ายพระสงฆ์ ฯ
(ปี 46, 43) ท่านได้ศกึ ษาศาสนพิธีแล้ว เข้าใจเรื่องต่อไปนีอ้ ย่างไร? ก.บุญพิธี ข.ทานพิธี
ตอบ ก.บุญพิธี ว่าด้วยพิธีทาบุญ มี ๒ อย่าง คือ ๑. ทาบุญงานมงคล เช่น ทาบุญขึน้ บ้านใหม่ ทาบุญอายุเป็ นต้น
๒. ทาบุญงานอวมงคล เช่น งานศพ เป็ นต้น ฯ
ข.ทานพิธี ว่าด้วยพิธีถวายทานต่าง ๆ เช่น ถวายสังฆทานเป็ นต้น ฯ

พุทธมามกะ (กุศลพิธ)ี หมายถึง ผูท้ ่ีประกาศตนว่าเป็ นผูร้ บั นับถือพระพุทธเจ้า เป็ นการแสดงตนให้ปรากฏว่ายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา


ประจาชีวิตของตน
(ปี 61, 58) การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หมายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง การประกาศตนของผูแ้ สดงว่า ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาประจาชีวิตของตน ฯ
(ปี 53) พุทธมามกะหรือพุทธมามิกาหมายถึงบุคคลเช่นไร?
ตอบ หมายถึงบุคคลผูเ้ ป็ นชายหรือหญิงผูร้ บั นับถือพระพุทธเจ้าเป็ นของตน เป็ นการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาประจาชีวิตของตนนั่นเอง ฯ
(ปี 49) พุทธมามกะ หมายถึง?
(ปี 44) พิธีแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หมายถึงอะไร?
ตอบ หมายถึง การประกาศตนของผูแ้ สดงว่าเป็ นผูร้ บั นับถือพระพุทธเจ้าเป็ นของตน เป็ นการแสดงตนให้ปรากฏว่า ยอมรับนับถือ
พระพุทธศาสนาประจาชีวิตของตน

17 | P a g e
การแสดงความเคารพในศาสนพิธี มี ๓ อย่าง (ปกิณกพิธ)ี
ประนมมือ (อัญชลี) คือการไหว้กระพุ่มมือทัง้ สองประกบกันไว้ระหว่างอกโดยให้ทกุ นิว้ ของมือ ทัง้ สองแนบชิดติดตรงกัน
ไหว้ (วันทา หรือ นมัสการ) คือการยกมือที่ประนมขึน้ พร้อมก้มศีรษะเล็กน้อย ให้มือประนมจรดหน้าผาก นิว้ มือทัง้ ๒ อยู่ระหว่างคิว้
กราบ (อภิวาท) คือการแสดงอาการกราบราลงพืน้ ด้วยเบญจางคประดิษฐ์

(ปี 63, 56, 49) การแสดงความเคารพพระมีกี่วิธี? อะไรบ้าง?


ตอบ มี ๓ วิธี ฯ คือ ๑. ประนมมือ เรียกว่า อัญชลี ๒. ไหว้ เรียกว่า นมัสการ ๓. กราบ เรียกว่า อภิวาท ฯ
(ปี 52) การแสดงความเคารพในศาสนพิธีมีอะไรบ้าง? ในแต่ละอย่างมีวิธีปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ มี ประนมมือ ๑ ไหว้ ๑ กราบ ๑ ฯ
ประนมมือ คือการกระพุ่มมือทัง้ สองประกบกันไว้ระหว่างอก โดยให้ทกุ นิว้ ของมือทัง้ สองแนบชิดติดตรงกัน
ไหว้ คือการยกมือที่ประนมขึน้ พร้อมก้มศีรษะเล็กน้อยให้มือประนมจรดหน้าผาก นิว้ มือทัง้ ๒ อยูร่ ะหว่างคิว้
กราบ คือการแสดงอาการกราบราบลงพืน้ ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ฯ
(ปี 46) การแสดงความเคารพมีกี่วิธี? อะไรบ้าง? ในแต่ละวิธีนนั้ มีวิธีปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ มี ๓ วิธีคือ ประนมมือ ๑ ไหว้ ๑ กราบ ๑ ฯ
ประนมมือ คือการกระพุ่มมือทัง้ สองประกบกันไว้ระหว่างอก โดยให้ทกุ นิว้ ของมือทัง้ สองแนบชิดติดตรงกัน
ไหว้ คือการยกมือที่ประนมขึน้ พร้อมก้มศีรษะเล็กน้อยให้มือประนมจรดหน้าผาก นิว้ มือทัง้ ๒ อยู่ระหว่างคิว้
กราบ คือการแสดงอาการกราบราบลงพืน้ ด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ได้แก่กราบด้วยองค์ ๕ คือ หน้าผาก ๑ ฝ่ ามือ ๒ เข่า ๒ จรดพืน้ ฯ
(ปี 45, 43) การกราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ หมายถึงอย่างไร?
ตอบ หมายถึงการกราบพร้อมด้วยองค์ ๕ คือให้หน้าผาก กับฝ่ ามือสองข้าง เข่าสองข้างจดพืน้ ฯ

การประเคนของ (ปกิณกพีธ)ี
(ปี 53) ในการประเคนของถวายพระ มีวิธีปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ จับของที่ประเคนด้วยมือทัง้ สอง ยกขึน้ สูงเล็กน้อยแล้วน้อยไปประเคนพระ ซึ่งพระท่านจะยื่นมือมารับ ถ้าผูป้ ระเคนเป็ นผูห้ ญิง พระผูร้ บั
ท่านจะปูผา้ รับประเคนแล้วผูป้ ระเคนก็เอาของวางบนผ้ารับประเคน เสร็จพึงไหว้หรือกราบก็เป็ นอันเสร็จ
(ปี 44) จงอธิบายวิธีปฏิบตั ใิ นการประเคนของถวายพระ

การเผดียงสงฆ์/การอาราธนา
การเผดียงสงฆ์ (ปกิณกพิธ)ี หมายถึง การแจ้งความประสงค์ให้สงฆ์ทราบ
การอาราธนา (ปกิณกพิธี) หมายถึง การนิมนต์พระสงฆ์ในพิธีให้ศีล สวดพระปริตร หรือแสดงธรรม
(ปี 61) การเผดียงสงฆ์และการอาราธนา ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ต่างกันคือ การเผดียงสงฆ์ ได้แก่ การแจ้งความประสงค์ให้สงฆ์ทราบ
การอาราธนา ได้แก่ การนิมนต์พระสงฆ์ในพิธีให้ศีล สวดพระปริตร หรือแสดงธรรม ฯ
(ปี 47) การเผดียงสงฆ์ และ การอาราธนา หมายถึงอะไร?
(ปี 45) คาว่า "เผดียงสงฆ์" หมายถึงอะไร ?
18 | P a g e
ปาฏิบุคลิกทาน/สังฆทาน
(ปี 63, 54) ปาฏิบคุ ลิกทานและสังฆทาน ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ปาฏิบุคลิกทาน คือ ทานที่ถวายเจาะจงเฉพาะพระรูปนัน้ รูปนี ้
สังฆทาน คือ ทานที่ถวายไม่เจาะจงพระรูปใด มอบเป็ นของกลางให้สงฆ์เฉลี่ยกันใช้สอย
(ปี 60, 49, 44) ปาฏิบคุ ลิกทาน และ สังฆทาน หมายถึงอะไร ?

งานมงคล/อวมงคล (บุญพิธี)
(ปี 55, 45) เจริญพระพุทธมนต์ กับ สวดพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีต่างกันอย่างไร?
ตอบ เจริญพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีมงคล สวดพระพุทธมนต์ ใช้ในพิธีอวมงคล
(ปี 51) คาอาราธนาพระสงฆ์มาสวดมนต์ในพิธีทาบุญงานมงคลกับในพิธีทาบุญงานอวมงคล ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ในงานมงคล ใช้คาว่า ขออาราธนาเจริญพระพุทธมนต์ ส่วนในงานอวมงคล ใช้คาว่า ขออาราธนาสวดพระพุทธมนต์
(ปี 51)ในพิธีทาบุญงานมงคล เจ้าภาพพึงจุดเทียนนา้ มนต์ เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์สตู รใด? ตอบ มงคลสูตร ฯ
(ปี 44) ในงานมงคลควรจุดเทียนนา้ มนต์เมื่อไร? ตอบ เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ถึงมงคลสูตร ขึน้ ต้นบทว่า อเสวนา จ พาลาน

พิธีเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา (กุศลพิธ)ี
วันสาคัญทางศาสนา มี ๔ วัน (พิธีเวียนเทียนในวันสาคัญทางพุทธศาสนา)
๑.วันมาฆบูชา ขึน้ ๑๕ ค่าเดือน ๓ เป็ นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ในท่ามกลางพระอริยสงฆ์จานวน ๑,๒๕๐ องค์
๒.วันวิสาขบูชา ขึน้ ๑๕ ค่าเดือน ๖ เป็ นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู ้ ปรินิพพาน
๓.วันอัฏฐมีบูชา แรม ๘ ค่าเดือน ๖ เป็ นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธเจ้า
๔.วันอาสาฬหบูชา ขึน้ ๑๕ ค่าเดือน ๘ เป็ นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา

(ปี 62, 58) วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา กาหนดไว้กี่วนั ? มีวนั อะไรบ้าง?


ตอบ ๔ วัน ฯ มีวนั วิสาขบูชา วันอัฏฐมีบชู า วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา ฯ
(ปี 60) วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่นิยมประกอบพิธีการบูชาเป็ นพิเศษ ในปี หนึ่ง ๆ มีวนั อะไรบ้าง ?
ตอบ วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบชู า วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา ฯ
(ปี 59) วันแรม ๘ ค่า เดือน ๖ เป็ นวันอะไร ? มีเหตุการณ์สาคัญอะไรเกิดขึน้ ในวันนัน้ ?
ตอบ เป็ นวันอัฏฐมีบชู า ฯ เป็ นวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ฯ
(ปี 50) วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาที่นิยมประกอบพิธีกรรมมีการบูชาเป็ นต้น ปี หนึ่ง ๆ มีวนั อะไรบ้าง?
ตอบ วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบชู า วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา ฯ
(ปี 50) การเดินเวียนเทียนรอบปูชนียสถานในวันสาคัญทางพระศาสนา เดินเวียนซ้ายหรือเดินเวียนขวา? เดินเวียนกี่รอบ?
แต่ละรอบพึงปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ การเดินเวียนเทียนรอบสถานที่(ปูชนียสถาน) เดินเวียนขวา คือ เดินเวียนไปทางที่มือขวาของตน หันเข้าหาสถานที่ท่เี วียนนัน้
เวียน ๓ รอบ พึงปฏิบตั ิอย่างนี ้
รอบที่ ๑ พึงตัง้ ใจระลึกถึงพระพุทธคุณโดยนัยบท อิติปิ โส ภควา อรห ฯลฯ
19 | P a g e
รอบที่ ๒ พึงตัง้ ใจระลึกถึงพระธรรมคุณโดยนัยบท สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม ฯลฯ
รอบที่ ๓ พึงตัง้ ใจระลึกถึงพระสังฆคุณโดยนัยบท สุปฏิปนฺโ ภควโต สาวกสงฺโฆ ฯลฯ
(ปี 48) วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันอะไรทางจันทรคติ? มีความสาคัญอย่างไร?
ตอบ ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๘ ก่อนวันเข้าปุรมิ พรรษา ๑ วัน ฯ มีความสาคัญ เพราะเป็ นวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาโปรดพระปั ญจ
วัคคียท์ ่ปี ่ าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ในปี ท่ตี รัสรูใ้ หม่ และผลของการแสดงพระธรรมเทศนากัณฑ์นี ้ เป็ นเหตุให้พระโกณฑัญญะ
ได้ดวงตาเห็นธรรม และทูลขอบรรพชาอุปสมบท เป็ นพระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา จึงเป็ นวันที่มีรตั นะครบ ๓ บริบรู ณ์ เรียกว่าพระ
รัตนตรัย ฯ
(ปี 45) วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา กาหนดไว้กี่วนั ? มีวนั อะไรบ้าง ? วันแรม ๘ ค่า เดือน ๖ เป็ นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาอย่างไร ?
ตอบ ๔ วัน มีวนั วิสาขบูชา วันอัฏฐมีบชู า วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา ฯ
เป็ นวันอัฏฐมีบชู า คือวันคล้ายกับวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ ฯ

อุโบสถ กับ ปกติอุโบสถ


(ปี 48) อุโบสถ กับ ปกติอโุ บสถ หมายถึงอะไร?
ตอบ อุโบสถ หมายถึง การเข้าจา คือการจาศีล เป็ นอุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง เป็ นทางแห่ งความสงบระงับอันเป็ น
ความสุขอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา
ปกติอุโบสถ หมายถึง อุโบสถที่รกั ษากันในวันพระตามปกติเฉพาะวันหนึง่ คืนหนึ่งอย่างที่อบุ าสกอุบาสิการักษาอยู่ปัจจุบนั

บทสวดต้องท่องไปสอบ ให้ฝึกเขียนให้ถกู ต้องทุกบท ()


คาอาราธนาศีล ๕ (ออกปี 55, 51)
มย ภนฺเต วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม
ทุติยมฺปิ, มย ภนฺเต วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม
ตติยมฺปิ, มยฺ ภนฺเต วิสุ วิสุ รกฺขณตฺถาย ติสรเณน สห, ปญฺจ สีลานิ ยาจาม

คาอาราธนาพระปริตร (ออกปี 57, 54 , 45)


วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา
สพฺพทุกฺขวินาสาย ปริตฺต พฺรูถ มงฺคล
วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทฺธิยา
สพฺพภยวินาสาย ปริตฺต พฺรูถ มงฺคล
วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธฺ ิยา
สพฺพโรควินาสาย ปริตฺต พฺรูถ มงฺคล

คาสมาทานอุโบสถศีล (ออกปี 52) => อยู่ในหมวดกุศลพิธี


๑.ปาณาติปาตา เวรมณีสิกฺขาปท สมาทิยามิ
๒.อทินฺนาทานา เวรมณีสิกขฺ าปท สมาทิยามิ

20 | P a g e
๓.อพฺรหฺมจริยา เวรมณีสิกขฺ าปท สมาทิยามิ
๔.มุสาวาทา เวรมณีสิกฺขาปท สมาทิยามิ
๕.สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณีสิกฺขาปท สมาทิยามิ
๖.วิกาลโภชนา เวรมณีสิกฺขาปท สมาทิยามิ
๗.นจฺจคีตวาทิตวิสกู ทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภสู นฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ
๘.อุจฺจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ
(ปี 52) อุโบสถศีล มีกี่ขอ้ ? ข้อที่ ๓ ว่าอย่างไร? การเข้าจาอุโบสถศีลนีอ้ ยู่ในหมวดไหนของศาสนพิธี?
ตอบ มี ๘ ข้อ ฯ ข้อที่ ๓ ว่า อพฺรหฺมจริยา เวรมณี สิกฺขาปท สมาทิยามิ ฯ อยูใ่ นหมวดกุศลพิธี

การกรวดน้า(ปกิณกพิธี ปี 49 ปี 47 ปี 43)
(ปี 49, 43) การกรวดนา้ มีวิธีทาอย่างไรบ้าง ? คากรวดนา้ แบบย่อที่สดุ ว่าอย่างไร ?
ตอบ วิธีกรวดนา้ คือ เตรียมนา้ สะอาดใส่ไว้ในภาชนะที่ใส่นา้ กรวด พอพระสงฆ์เริ่มอนุโมทนาด้วยบทว่า ยถา… ก็เริม่ กรวดนา้ เวลารินไม่ให้นา้
ขาดสาย โดยตัง้ ใจนึกอุทิศส่วนบุญฯ
คากรวดนา้ แบบย่อว่า อิท เม ญาตีน โหตุ แปลว่า ขอบุญกุศลนี ้ จงสาเร็จแก่ญาติทงั้ หลายของข้าพเจ้าเถิด (หรือ สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย
แปลว่า ขอญาติทงั้ หลายจงเป็ นสุขๆ เถิดๆ)
(ปี 47) เพื่อปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตามหลักศาสนพิธี เจ้าภาพพึงกรวดนา้ และประนมมือรับพรตอนไหน?
ตอบ เมื่อพระสงฆ์เริ่มอนุโมทนาด้วยบทว่า ยถา วาริวหา ฯเปฯ เจ้าภาพพึงกรวดนา้ ไม่ใช้นวิ ้ มือรอง เวลารินไม่ให้นา้ ขาดสาย พอว่าบท สพฺพี
ติโย ฯเปฯ รินนา้ ให้หมดแล้วประนมมือรับพรต่อไปจนจบ ฯ

(คาลากลับบ้าน ปี 46) คาว่า หนฺททานิ มย ภนฺเต อาปุจฺฉาม พหุกิจฺจา มย พหุกรณียา ใครเป็ นผูก้ ล่าว และกล่าวในโอกาสอะไร? ใครเป็ นผู้
กล่าวตอบคานัน้ และกล่าวว่าอย่างไร?
ตอบ อุบาสกอุบาสิกาผูไ้ ปฟั งธรรมในวันธัมมัสสวนะเป็ นผูก้ ล่าวในโอกาสลากลับบ้าน ฯ
พระสงฆ์กล่าว และกล่าวว่า ยสฺสทานิ ตุมฺเห กาล มญฺญถ ฯ

คาถวายสังฆทานพร้อมคาแปล (ปี 43)


อิมานิ มย ภนฺเต, ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขสุ งฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุโน ภนฺเต, ภิกฺขสุ งฺโฆ, อิมานิ, ภตฺตานิ สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺ
หาก, ทีฆรตฺต, หิตาย, สุขาย
แปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผเู้ จริญ ข้าพเจ้าทัง้ หลายขอน้อมถวายซึ่งภัตตาหารกับของที่เป็ นบริวาร ทัง้ หลายเหล่านีแ้ ด่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับซึ่ง
ภัตตาหารกับของที่เป็ นบริวารทัง้ หลาย เหล่านีเ้ พื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ขา้ พเจ้าทัง้ หลายสิน้ กาลนานเทอญ

21 | P a g e
ทบทวน วินัยมุข
เรื่องการบวช
วิธีอุปสมบทมี ๓ อย่าง
๑.เอหิภกิ ขุอปุ สัมปทา พระพุทธเจ้าบวชให้ ด้วยวาจาว่า “เธอจงเป็ นภิกษุมาเถิด”
๒.ติสรณคมนูปสัมปทา พระสาวกบวชให้ อุปสมบทด้วยการให้ถงึ สรณะ ๓ ในปั จจุบนั เป็ นการบวชเณร
๓.ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา มอบให้สงฆ์เป็ นใหญ่ในการอุปสมบท อุปสมบทด้วยกรรมมีญัตติเป็ นที่ ๔
(ปี 47) อุปสัมปทา (การอุปสมบท) มี ๓ วิธี ในปัจจุบนั ใช้วิธีไหน? กาหนดสงฆ์อย่างต่าไว้เท่าไร?
ตอบ ใช้ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยกรรมมีญตั ติเป็ นที่ ๔ ฯ
กาหนดสงฆ์อย่างต่าไว้คือ ในมัธยมประเทศ ๑๐ รูป ในปั จจันตชนบท ๕ รูป ฯ

ความหมายพระวินัย
พระวินัย ได้แก่ พระพุทธบัญญัติ และอภิสมาจาร [ทัง้ ๒ นีเ้ รียกว่า พระวินยั ]
พุทธบัญญัติ คือ ข้อห้ามที่พระพุทธเจ้าทรงตัง้ ขึน้ เพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ภิกษุผลู้ ่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติหนัก
บ้าง เบาบ้าง
อภิสมาจาร คือ ขนบธรรมเนียมที่ทรงแต่งตัง้ ขึน้ เพื่อชักนาความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดงี าม

(ปี 62 ,58) พระวินยั คืออะไร ? ภิกษุรกั ษาพระวินยั แล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไร ?


ตอบ คือพระพุทธบัญญัติและอภิสมาจาร ฯ ได้อานิสงส์ คือไม่ตอ้ งเดือดร้อนใจ ได้รบั ความแช่มชื่นว่า ได้ประพฤติดีงาม จะเข้าหมูภ่ ิกษุผมู้ ีศีล
ก็องอาจไม่สะทกสะท้าน ฯ
(ปี 55) ภิกษุผปู้ ฏิบตั ิอย่างไร จึงชื่อว่ามีศีล? ตอบ ภิกษุสารวมกายวาจาให้เรียบร้อย เว้นข้อที่ทรงห้าม ทาตามข้อที่ทรงอนุญาต จึงชื่อว่ามีศีล
(ปี 53) พระวินยั ได้แก่อะไร? สิกขาบทที่เป็ นอเตกิจฉา คือที่ภิกษุล่วงละเมิด แล้วไม่สามารถจะแก้ไขได้ ได้แก่อะไร?
ตอบ ได้แก่ พระพุทธบัญญัติ และอภิสมาจาร ฯ ได้แก่ ปาราชิก ๔
(ปี 52) พุทธบัญญัตแิ ละอภิสมาจาร คืออะไร? ทัง้ ๒ รวมเรียกว่าอะไร?
ตอบ พุทธบัญญัติ คือข้อห้ามที่พระพุทธเจ้าทรงตัง้ ขึน้ เพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ภิกษุผลู้ ่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติ
หนักบ้าง เบาบ้าง ส่วนอภิสมาจาร คือขนบธรรมเนียมที่ทรงแต่งตัง้ ขึน้ เพื่อชักนาความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงาม ฯ ทัง้ ๒ นีร้ วมเรียกว่า
พระวินัย ฯ
(ปี 50) พระศาสดาทรงบัญญัติพระวินยั ไว้เพื่ออะไร?
ตอบ เพื่อป้องกันความประพฤติเสียหายของภิกษุสงฆ์ และเพื่อชักนาความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดีงาม
(ปี 49) ทาไมต้องมีพระวินยั สาหรับปกครองหมู่ภิกษุ และหมู่ภิกษุทาไมต้องประพฤติตามพระวินยั ?
ตอบ หากจะไม่มีพระวินยั สาหรับปกครอง หรือหมู่ภิกษุจะไม่ประพฤติตามพระวินยั ก็จะเป็ นหมู่ภกิ ษุท่เี ลวทราม ไม่เป็ นที่ตงั้ แห่งศรัทธาและ
เลื่อมใส แต่ถา้ ต่างรูปประพฤติตามพระวินยั ก็จะเป็ นหมู่ภิกษุท่ดี ี ทาให้เกิดศรัทธาเลื่อมใส พระวินยั จึงรักษาหมู่ภิกษุให้ตงั้ อยูเ่ ป็ นอันดี และทา
ให้เป็ นหมู่ท่งี ดงาม ฯ
(ปี 49) พระศาสดาผูเ้ ป็ นสังฆบิดรดูแลภิกษุสงฆ์ ทรงทาหน้าที่ทางพระวินยั อย่างไร ?
ตอบ ทรงทาหน้าที่ ๒ ประการ คือ

1|P a g e
๑.ทรงตัง้ พุทธบัญญัตเิ พื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ภิกษุผลู้ ่วงละเมิดด้วยปรับอาบัติหนักบ้างเบาบ้าง
๒.ทรงตัง้ ขนบธรรมเนียม ซึ่งเรียกว่าอภิสมาจารเพื่อชักนาความประพฤติของภิกษุสงฆ์ให้ดงี าม
(ปี 48) ในพระวินยั กาหนด ๑ ปี มีกี่ฤดู? อะไรบ้าง? ตัง้ แต่วนั แรม ๑ ค่าเดือน ๘ ถึงวันขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ เป็ นฤดูอะไร?
ตอบ ๓ ฤดู คือ ฤดูหนาว ๑ ฤดูรอ้ น ๑ ฤดูฝน ๑ ฯ ฤดูฝน ฯ
(ปี 46) ข้อความว่า “ พระศาสดาทรงตัง้ อยูใ่ นที่เป็ นพระธรรมราชาผูป้ กครอง ” หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ หมายความว่า ทรงตัง้ พระพุทธบัญญัติเพื่อป้องกันความประพฤติเสียหาย และวางโทษแก่ผลู้ ่วงละเมิด ด้วยปรับอาบัติหนักบ้าง เบาบ้าง
อย่างเดียวกับพระเจ้าแผ่นดินทรงตราพระราชบัญญัติ ฯ
(ปี 46) พระบัญญัติท่ที รงตัง้ ไว้เดิมเรียกว่าอะไร ? ตอบ เรียกว่า มูลบัญญัติ ฯ
(ปี 45) พระวินยั คืออะไร? ตอบ คือพระพุทธบัญญัติและอภิสมาจาร ฯ
(ปี 45) "อาทิกมั มิกะ" ความหมายอย่างไร? ตอบ ภิกษุผกู้ ่อเหตุให้ทรงบัญญัติสิกขาบทขึน้
(ปี 44) พุทธบัญญัติ มูลบัญญัติ อนุบญ
ั ญัติ คืออะไร?
ตอบ พุทธบัญญัติ คือข้อที่พระพุทธเจ้าทรงตัง้ ไว้เป็ นบทบังคับให้ภิกษุประพฤติ
มูลบัญญัติ คือข้อที่ทรงบัญญัตไิ ว้เดิม
อนุบัญญัติ คือข้อที่ทรงบัญญัตเิ พิ่มเติมภายหลัง
(ปี 44) ท่านเปรียบพระวินยั เหมือนด้ายร้อยดอกไม้ หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ หมายความว่า ด้ายร้อยดอกไม้ควบคุมดอกไม้ไว้ไม่ให้กระจัดกระจายฉันใด พระวินยั ย่อมรักษาสงฆ์ให้ตงั้ อยูเ่ ป็ นอันดีฉนั นัน้

อานิสงส์ของผู้รักษาวินัยดี
๑.ไม่เดือดร้อนใจภายหลัง (เกิดวิปฏิสาร)
๒.ได้รบั ความแช่มชื่นใจ เพราะรูส้ กึ ว่าตนประพฤติดงี ามแล้ว
๓.มีความองอาจในหมู่ภิกษุผมู้ ีศลี
(ปี 59) ภิกษุปฏิบตั ศิ ีล สมาธิ ปัญญาดีแล้ว จะได้รบั ประโยชน์อย่างไร ?
ตอบ ย่อมได้รบั ประโยชน์ คือ ปฏิบตั ิศีล ทาให้เป็ นผูม้ กี าย วาจาเรียบร้อย
ปฏิบตั ิสมาธิ ทาให้ใจสงบมั่นคง ไม่ฟ้งุู ซ่าน
ปฏิบตั ิปัญญา ทาให้รอบรูใ้ นกองสังขาร ฯ
(ปี 58) พระวินยั คืออะไร ? ภิกษุรกั ษาพระวินยั แล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไร ?
ตอบ คือพระพุทธบัญญัติและอภิสมาจาร ฯ ได้อานิสงส์ คือไม่ตอ้ งเดือดร้อนใจ ได้รบั ความแช่มชื่นว่า ได้ประพฤติดีงาม จะเข้าหมูภ่ ิกษุผมู้ ีศีล
ก็องอาจไม่สะทกสะท้าน ฯ
(ปี 54 ,44) พระภิกษุผรู้ กั ษาพระวินยั ดีโดยถูกทางแล้ว ย่อมได้อานิสงส์อะไร?

ความหมายสิกขา สิกขาบท อาบัติ


สิกขา ได้แก่ ข้อที่ภิกษุควรศึกษา มี ๓ อย่าง คือ สีลสิกขา จิตตสิกขา และ ปั ญญาสิกขา
สิกขาบท ได้แก่ พระบัญญัติมาตราหนึ่งๆ (มาในพระปาติโมกข์ และมานอกปาติโมกข์)
อาบัติ ได้แก่ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม
2|P a g e
(ปี 63 ,61) สิกขา คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ตอบ คือ ข้อที่ภิกษุตอ้ งศึกษาฯ มี ๑. ศีล ความรักษากาย วาจา ให้เรียบร้อย
๒. สมาธิ ความรักษาใจมั่น ๓. ปั ญญา ความรอบรูใ้ นกองสังขาร ฯ
(ปี 60) สิกขา กับ สิกขาบท ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี ้ สิกขา ได้แก่ขอ้ ที่ควรศึกษา คือศีล สมาธิ และปั ญญา ฯ สิกขาบท ได้แก่พระบัญญัตมิ าตราหนึ่ง ๆ ฯ
(ปี 58) สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์มีเท่าไร ? สิกขาบทว่าด้วยปาราชิกมีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท ฯ มี ๑. เสพเมถุน
๒. ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา ๕ มาสก
๓. ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย
๔. ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม (คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์) ที่ไม่มีในตน ฯ
(ปี 57) สิกขา และ สิกขาบท ได้แก่อะไร? ตอบ สิกขา ได้แก่ขอ้ ที่ควรศึกษา สิกขาบท ได้แก่พระบัญญัตมิ าตราหนึ่ง ๆ ฯ
(ปี 56) อาบัติ คืออะไร? อาการที่ภิกษุตอ้ งอาบัตมิ ี ๖ อย่าง จงบอกมาสัก ๓ อย่าง ฯ
ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ฯ
(เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๑. ต้องด้วยไม่ละอาย ๔. ต้องด้วยสาคัญว่าควรในของที่ไม่ควร
๒. ต้องด้วยไม่รูว้ า่ สิ่งนีจ้ ะเป็ นอาบัติ ๕. ต้องด้วยสาคัญว่าไม่ควรในของที่ควร
๓. ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทาลง ๖. ต้องด้วยลืมสติฯ
(ปี 54) สิกขา สิกขาบท และอาบัติ ได้แก่อะไร?
(ปี 52 ,47 ,45) สิกขากับสิกขาบท ต่างกันอย่างไร? อย่างไหนมีเท่าไร? อะไรบ้าง?
ตอบ สิกขา คือ ข้อที่ภิกษุควรศึกษา มี ๓ ได้แก่ สีลสิกขา จิตตสิกขา ปั ญญาสิกขา
ส่วนสิกขาบท คือ พระบัญญัตมิ าตราหนึ่ง ๆ เป็ นสิกขาบทหนึ่ง ๆ มี ๒๒๗ สิกขาบท ได้แก่ ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคิย
ปาจิตตีย ์ ๓๐ ปาจิตตีย ์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยะ ๗๕ และ อธิกรณสมถะ ๗ ฯ
(ปี 51) อะไรเรียกว่า สิกขาบท? มาจากไหน?
ตอบ พระบัญญัตมิ าตราหนึ่ง ๆ เรียกว่า สิกขาบท ฯ มาในพระปาติโมกข์ ๑ มานอกพระปาติโมกข์ ๑ ฯ
(ปี 50 ,45) สิกขาบทที่มมี าในพระปาติโมกข์ มีเท่าไร? ว่าโดยหมวดมีอะไรบ้าง?
ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท ฯ มี ปาราชิก ๔ สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ๓๐ ปาจิตตีย ์ ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยะ ๗๕
อธิกรณสมถะ ๗ ฯ
(ปี 45) สิกขา ๓ เมื่อศึกษาแล้วจะได้ประโยชน์อย่างไร?
ตอบ ย่อมได้ประโยชน์ดงั นี ้ ศึกษาเรื่องศีล ทาให้เป็ นผูม้ ีกาย วาจาเรียบร้อย ศึกษาเรื่องสมาธิทาให้ใจสงบมั่นคง ไม่ฟงุ้ ซ่าน ศึกษาเรือ่ งปั ญญา
ทาให้รอบรูใ้ นกองสังขาร ฯ

อาบัตทิ เี่ ป็ นโลกวัชชะ/อาบัติทเี่ ป็ นปั ณณัตติวชั ชะ


(ปี 52 ,44) อาบัติ คืออะไร? อาบัติท่เี ป็ นโลกวัชชะและที่เป็ นปั ณณัตติวชั ชะหมายความว่าอย่างไร?จงยกตัวอย่างประกอบด้วย
ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ฯ
3|P a g e
อาบัตทิ เี่ ป็ นโลกวัชชะหมายความว่า อาบัติท่มี ีโทษซึง่ ภิกษุทาเป็ นความผิดความเสีย คนสามัญทาก็เป็ นความผิดความเสียเหมือนกัน เช่น
ทาโจรกรรม เป็ นต้น ส่วนที่เป็ นปั ณณัตติวัชชะหมายความว่า อาบัติท่มี ีโทษเฉพาะภิกษุทา แต่คนสามัญทาไม่เป็ นความผิดความเสีย เช่น ขุด
ดิน เป็ นต้น ฯ

อนุศาสน์ ๘
นิสสัย ๔ คือ ปั จจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต
๑.เที่ยวบิณฑบาต ๒.นุ่งห่มผ้าบังสกุล ๓.อยู่โคนไม้ ๔.ฉันยาดองด้วยนา้ มูตรเน่า
อกรณียกิจ ๔ คือ กิจที่ไม่ควรทา
๑.เสพเมถุน ๒.ลักของเขา ๓.ฆ่าสัตว์ ๔.พูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มใี นตน
(ปี 63 ,56) อกรณียกิจ คือกิจที่บรรพชิตไม่ควรทา มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?
ตอบ มี ๔ อย่าง ฯ คือ ๑. เสพเมถุน ๒. ลักของเขา ๓. ฆ่าสัตว์ ๔. พูดอวดคุณพิเศษที่ไม่มใี นตน ฯ
(ปี 62 ,53) นิสสัยคืออะไร ? มีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือปัจจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต ฯ มี ๔ อย่าง ฯ
ได้แก่ ๑. เที่ยวบิณฑบาต ๒. นุ่งห่มผ้าบังสุกลุ ๓. อยู่โคนต้นไม้ ๔. ฉันยาดองด้วยนา้ มูตรเน่า ฯ
(ปี 61 ,59) กิจที่บรรพชิตไม่ควรทา เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่า อกรณียกิจ ฯ มี ๔ คือ ๑. เสพเมถุน ๒. ลักทรัพย์ ๓. ฆ่าสัตว์ ๔. พูดอวดคุณวิเศษที่ไม่มีในตน ฯ
(ปี 60, 47 ,44) นิสสัย และ อกรณียกิจ คืออะไร ? ทัง้ ๒ อย่างรวมเรียกว่าอะไร ?
ตอบ นิสสัยคือ ปั จจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิต อกรณียกิจคือ กิจที่บรรพชิตไม่ควรทา ฯ ทัง้ ๒ อย่าง รวมเรียกว่า อนุศาสน์ ฯ
(ปี 58) ปั จจัยเครื่องอาศัยของบรรพชิตเรียกว่าอะไร ? มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ เรียกว่านิสสัยฯ มี ๔ อย่างฯ คือ๑.เที่ยวบิณฑบาต ๒.นุ่งห่มผ้าบังสุกลุ ๓.อยู่โคนต้นไม้ ๔.ฉันยาดองด้วยนา้ มูตรเน่าฯ
(ปี 55) นิสสัย ๔ ในอนุศาสน์ ๘ อย่าง หมายถึงอะไร? มีอะไรบ้าง?
(ปี 51) อรณียกิจ ๔ คืออะไร? ข้อที่ ๓ ว่าอย่างไร ตอบ คือ กิจที่ไม่ควรทา ๔ ฯ ว่า ฆ่าสัตว์ ฯ
(ปี 49 ,48) กิจที่บรรพชิตไม่ควรทาซึ่งเรียกว่า อกรณียกิจ มีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

อาบัติมีโทษ ๓ สถาน
• อย่างหนัก ยังผูต้ อ้ งให้ขาดจากความเป็ นภิกษุ
• อย่างกลาง ยังผูต้ อ้ งให้อยูก่ รรม คือประพฤติวตั รอย่างหนึง่ เพื่อทรมานตน
• อย่างเบา ยังผูต้ อ้ งให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุดว้ ยกัน ฯ
อาบัติมีโทษ ๒ สถาน
• อเตกิจฉา อาบัติท่แี ก้ไขไม่ได้
• สเตกิจฉา อาบัติท่แี ก้ไขได้
(ปี 61) อาบัติ คืออะไร ? มีโทษกี่สถาน ? อะไรบ้าง ?
ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ฯ
มี ๓ สถาน ฯ คือ อย่างหนัก ยังผูต้ อ้ งให้ขาดจากความเป็ นภิกษุ
4|P a g e
อย่างกลาง ยังผูต้ อ้ งให้อยู่กรรม คือประพฤติวตั รอย่างหนึง่ เพื่อทรมานตน
อย่างเบา ยังผูต้ อ้ งให้ประจานตนต่อหน้าภิกษุดว้ ยกัน ฯ
(หรือจะตอบว่า มี ๒ สถาน คือ แก้ไขได้ และแก้ไขไม่ได้ ก็ได้)
(ปี 57) จงอธิบายความหมายของอาบัตติ ่อไปนี ้ ก. สเตกิจฉา ข. สจิตตกะ
ตอบ ก. ได้แก่อาบัติท่แี ก้ไขได้ ข. ได้แก่อาบัตทิ ต่ี อ้ งเพราะมีเจตนา ฯ
(ปี 55 ,45 ,44) อเตกิจฉา และสเตกิจฉา ได้แก่อาบัติอะไร? ทัง้ ๒ อย่างนัน้ ภิกษุตอ้ งเข้าแล้ว จะเกิดโทษอย่างไร? ตอบ อเตกิจฉา อาบัติท่ี
แก้ไขไม่ได้ คือ ปาราชิก ทาให้ขาดจากความเป็ นภิกษุ ฯ
สเตกิจฉา อาบัติท่แี ก้ไขได้ คือ สังฆาทิเสส และอาบัตอิ ีก ๕ ทีเ่ หลือ ฯ สังฆาทิเสสต้องอยู่กรรมจึงพ้นได้ อาบัติอกี ๕ ที่เหลือพึงแสดงต่อ
หน้าสงฆ์หรือคณะหรือรูปใดรูปหนึ่งจึงพ้นได้ ฯ
(ปี 54) ครุกาบัติ ที่แก้ไขได้ก็มี ที่แก้ไขไม่ได้ก็มี ที่แก้ไขได้ได้แก่อาบัติอะไร?
ตอบ ที่แก้ไขได้ ได้แก่ อาบัติสงั ฆาทิเสส ที่แก้ไม่ได้ ได้แก่อาบัติปาราชิก
(ปี 50) เมื่อภิกษุตอ้ งอาบัติแล้ว จะพึงปฏิบตั ิอย่างไร? ตอบ พึงบอกภิกษุดว้ ยกันในวันนัน้ และพึงแก้ไขตามวิธีนนั้ ๆ ฯ
(ปี 49 ,44) คาว่า ต้องอาบัติ หมายความว่าอย่างไร? อาบัติมีโทษกี่สถาน? อะไรบ้าง?
ตอบ หมายความว่า ต้องโทษ คือมีความผิดฐานละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ฯ
มี ๓ สถาน คือ อย่างหนัก อย่างกลาง และ อย่างเบา
(หรือจะตอบว่า มี ๒ สถาน คือ แก้ไขได้ และแก้ไขไม่ได้ ก็ได้)

สจิตตกะ/อจิตตกะ
สจิตตกะ อาบัติท่ตี อ้ งเพราะมีเจตนาล่วงละเมิด อจิตตกะ อาบัติท่ตี อ้ งแม้ไม่มเี จตนาล่วงละเมิด
(ปี 59) ปาราชิกทัง้ ๔ สิกขาบท เป็ นสจิตตกะหรืออจิตตกะ ? เพราะเหตุใด ? ตอบ เป็ นสจิตตกะ ฯ เพราะมีเจตนาล่วงละเมิด ฯ
(ปี 57) จงอธิบายความหมายของ สจิตตกะ
(ปี 48) สจิตตกะ และ อจิตตกะ มีความหมายอย่างไร
ตอบ สจิตตกะ อาบัติท่ตี อ้ งเพราะมีเจตนาล่วงละเมิด อจิตตกะ อาบัติท่ตี อ้ งแม้ไม่มีเจตนาล่วงละเมิด ฯ

อาการทีภ่ กิ ษุต้องอาบัติ ๖ อย่าง


๑.ต้องด้วยไม่ละอาย ๔.ต้องด้วยสาคัญว่าควรในของที่ไม่ควร
๒.ต้องด้วยไม่รูว้ า่ สิ่งนีจ้ ะเป็ นอาบัติ ๕.ต้องด้วยสาคัญว่าไม่ควรในของที่ควร
๓.ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทา ๖.ต้องด้วยลืมสติ
(ปี 60, 59 ,43) อาบัติคืออะไร ? อาการที่ภิกษุตอ้ งอาบัติ ๖ อย่างนัน้ อย่างไหนเสียหายมากที่สดุ ?
ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ฯ ต้องด้วยไม่ละอาย จัดว่าเสียหายมากที่สดุ ฯ
(ปี 56) อาบัติ คืออะไร? อาการที่ภิกษุตอ้ งอาบัตมิ ี ๖ อย่าง จงบอกมาสัก ๓ อย่าง ฯ
ตอบ คือ โทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม ฯ
(เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ) ๑.ต้องด้วยไม่ละอาย ๒.ต้องด้วยไม่รูว้ า่ สิ่งนีจ้ ะเป็ นอาบัติ ๓.ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทา
๔.ต้องด้วยสาคัญว่าควรในของที่ไม่ควร ๕.ต้องด้วยสาคัญว่าไม่ควรในของที่ควร ๖.ต้องด้วยลืมสติ ฯ

5|P a g e
(ปี 54) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติ มีอะไรบ้าง?
(ปี 50) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติ มีเท่าไร? ต้องด้วยไม่ละอาย มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มี ๖ อย่าง ฯ ภิกษุรูอ้ ยู่แล้ว และละเมิดพระบัญญัตดิ ว้ ยใจด้านไม่รูจ้ กั ละอาย ชื่อว่าต้องด้วยไม่ละอาย ฯ
(ปี 47) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติขอ้ ที่วา่ ต้องด้วยสงสัยแล้วขืนทาลง มีอธิบายอย่างไร ?
ตอบ มีอธิบายว่า ภิกษุสงสัยอยูว่ ่า ทาอย่างนัน้ ๆ ผิดพระบัญญัตหิ รือไม่ แต่ขืนทาด้วยความสะเพร่าเช่นนี ้ ถ้าการที่ทานัน้ ผิดพระบัญญัติก็ ตอ้ ง
อาบัติตามวัตถุ ถ้าไม่ผิด ก็ตอ้ งอาบัติทกุ กฏเพราะสงสัยแล้วขืนทา ฯ
(ปี 45) อาการที่ภิกษุจะต้องอาบัติมีเท่าไร? อะไรบ้าง?

อาบัตวิ ่าโดยชื่อมี ๗ อย่าง คือ…


๑.ปาราชิก ๒.สังฆาทิเสส ๓.ถุลลัจจัย ๔.ปาจิตตีย ์ ๕.ปาฏิเทสนียะ ๖.ทุกกฏ ๗.ทุพภาสิต
(ปี 63 ,57) อาบัติ คืออะไร? ว่าโดยชื่อมีอะไรบ้าง?
ตอบ อาบัติ คือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าห้าม ฯ
มี ๑. ปาราชิก ๒. สังฆาทิเสส ๓. ถุลลัจจัย ๔. ปาจิตตีย ์ ๕. ปาฏิเทสนียะ ๖. ทุกกฏ ๗. ทุพภาสิต ฯ
(ปี 53) อาบัติวา่ โดยชื่อมีกี่อย่าง? อะไรบ้าง?

อนุปสัมบัน หมายถึง บุคคลที่มใิ ช่ภิกษุ


(ปี 54) อนุปสัมบัน หมายถึง?

เภสัช ๕ ได้แก่ เนยใส เนยข้น นา้ มัน นา้ ผึง้ นา้ อ้อย พระภิกษุรับประเคนแล้วเก็บไว้ฉันได้ ๗ วัน
(ปี 63 ,57) เภสัช ๕ ได้แก่อะไรบ้าง? ตอบ ได้แก่ เนยใส เนยข้น นา้ มัน นา้ ผึง้ นา้ อ้อย ฯ
(ปี 61 ,43) เภสัช ๕ มีอะไรบ้าง? นา้ ตาลทรายจัดเข้าในเภสัชประเภทใด?
ตอบ เภสัช ๕ มี เนยใส เนยข้น นา้ มัน นา้ ผึง้ นา้ อ้อย นา้ ตาลทรายจัดเข้าในนา้ อ้อย
(ปี 54 ,48) เภสัช ๕ ได้แก่อะไรบ้าง? ภิกษุรบั ประเคนแล้วเก็บไว้ฉนั ได้กี่วนั เป็ นอย่างยิ่ง?
(ปี 51) เภสัช ๕ ในปัตตวรรคที่ ๓ ได้แก่อะไรบ้าง? รับประเคนแล้วเก็บไว้ฉนั ได้กี่วนั ?

ไตรครอง/อติเรกจีวร/จีวรกาล
จีวรกาล หมายถึง คราวที่เป็ นฤดูถวายจีวร (คืออยู่จาพรรษาแล้ว ถ้าไม่ได้กรานกฐิ น นับแต่วนั ปวารณาไป ๑ เดือน ถ้าได้กรานกฐิ น เพิ่ม
ออกไปอีก ๔ เดือนในฤดูหนาว)
ไตรจีวร ประกอบด้วย ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร หรือ ผ้าห่ม) และอันตรวาสก (สบง หรือ ผ้านุ่ง)
ผ้าไตรครอง เป็ นผ้าที่ภิกษุอธิษฐาน มีจานวนจากัด คือ ๓ ผืน
อติเรกจีวร หมายถึง จีวรที่ไม่ใช่จีวรอธิษฐาน [หรือ ผ้าที่นอกเหนือจากผ้าไตรครองมีได้ไม่จากัดจานวน]
ผ้าจานาพรรษา ได้แก่ผา้ ที่ทายกถวายแก่ภิกษุผปู้ วารณาออกพรรษาแล้ว

(ปี 61) ผ้าไตรจีวร ที่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอธิษฐานไว้ใช้มกี ี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?


6|P a g e
ตอบ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ๑. สังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ๒. อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) ๓. อันตรวาสก (ผ้านุง่ ) ฯ
(ปี 57) อติเรกจีวร และผ้าจานาพรรษา ได้แก่ผา้ เช่นไร?
ตอบ อติเรกจีวร ได้แก่ผา้ ยาว ๘ นิว้ กว้าง ๔ นิว้ ขึน้ ไป พอใช้ประกอบเข้าเป็ นเครื่องนุ่งห่มได้ นอกจากผ้าที่อธิษฐาน
ผ้าจานาพรรษา ได้แก่ผา้ ที่ทายกถวายแก่ภิกษุผปู้ วารณาออกพรรษาแล้ว ฯ
(ปี 56) ไตรจีวร อติเรกจีวร ได้แก่จีวรเช่นไร?
ตอบ ไตรจีวร ได้แก่จวี ร ๓ ผืน ประกอบด้วย อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) อันตรวาสก (ผ้านุ่ง) และสังฆาฏิ (ผ้าคลุมหรือผ้าทาบ) ฯ
อติเรกจีวร ได้แก่ผา้ มีขนาดกว้าง ๔ นิว้ ยาว ๘ นิว้ ซึง่ อาจนาไปทาเป็ นเครื่องนุง่ ห่มได้ นอกจากผ้าที่อธิษฐาน ฯ
(ปี 54) อติเรกจีวร หมายถึง? จีวรกาล หมายถึง?
ตอบ อติเรกจีวร หมายถึงจีวรที่ไม่ใช่จีวรอธิษฐาน ฯ
จีวรกาล หมายถึงคราวที่เป็ นฤดูถวายจีวร (คืออยู่จาพรรษาแล้ว ถ้าไม่ได้กรานกฐิ น นับแต่วนั ปวารณาไป ๑ เดือน ถ้าได้กรานกฐิ น เพิ่มออกไป
อีก ๔ เดือนในฤดูหนาว)
(ปี 52) ผ้าไตรครอง มีอะไรบ้าง? ต่างจากอติเรกจีวรอย่างไร?
ตอบ มี สังฆาฏิ อุตตราสงค์ อันตรวาสก ฯ ต่างกันอย่างนี ้ ผ้าไตรครองเป็ นผ้าที่ภิกษุอธิษฐาน มีจานวนจากัด คือ ๓ ผืน ส่วนอติเรกจีวร คือผ้า
ที่นอกเหนือจากผ้าไตรครอง มีได้ไม่จากัดจานวน ฯ
(ปี 48) ผ้าไตรจีวรคือผ้าอะไร? ได้แก่อะไรบ้าง?
(ปี 48) อติเรกบาตร คืออะไร? ภิกษุเก็บไว้เกินกี่วนั ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย?์ ตอบ คือ บาตรนอกจากบาตรอธิษฐาน ฯ เกิน ๑๐ วัน ฯ
(ปี 46) อติเรกจีวร ได้แก่จวี รเช่นไร? การที่ทรงห้ามไม่ให้ภิกษุเก็บอติเรกจีวร ด้วยมีพระพุทธประสงค์อย่างไร?
ตอบ ได้แก่ จีวรนอกจากจีวรอธิษฐาน ฯ ด้วยมีพระพุทธประสงค์เพื่อป้องกันความสุรุย่ สุรา่ ย และความมักมากของภิกษุ ฯ

ปาจิตตีย ์
(ปี 60) ภิกษุตอ้ งอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ หรืออาบัติปาจิตตีย ์ มีวธิ ีแสดงอาบัติ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ต้องเสียสละวัตถุอนั เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตินนั้ เสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนอาบัติปาจิตตียน์ นั้ ภิกษุพงึ แสดงอาบัติ
ได้เลย ไม่มีวตั ถุใด ๆ ที่ตอ้ งสละ ฯ
(ปี 49 , 46 ,44) นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ หมายความว่าอย่างไร? ภิกษุตอ้ งอาบัตินแี ้ ล้ว ทาอย่างไรจึงจะพ้น?
ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ หมายความว่า อาบัติปาจิตตียท์ ่จี าต้องสละสิ่งของ ฯ
ภิกษุตอ้ งอาบัตินแี ้ ล้วต้องสละสิ่งของอันเป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตินนั้ ก่อนแล้วแสดงอาบัติจงึ พ้นจากอาบัตินนั้ ได้ ฯ
(ปี 47) จีวรที่เป็ นนิสสัคคียแ์ ล้ว ควรสละให้แก่ใคร? ถ้าจีวรนัน้ สูญหาย พึงปฏิบตั ิเช่นไร?
ตอบ ควรสละให้แก่สงฆ์ก็ได้ แก่คณะก็ได้ แก่บคุ คลก็ได้ ฯ ถ้าจีวรนัน้ สูญหาย พึงแสดงอาบัตเิ ท่านัน้ ฯ
(ปี 44) ปาจิตตียแ์ บ่งเป็ น นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ และสุทธิกปาจิตตีย ์ เพราะเหตุไร?
ตอบ เพราะว่านิสสัคคิยปาจิตตียน์ นั้ จาต้องเสียสละวัตถุอนั เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตินนั้ เสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนสุทธิกปาจิตตียน์ ั้น ภิกษุ
พึงแสดงอาบัติได้เลย ไม่มีวตั ถุใด ๆ ที่จาต้องสละ
(ปี 43) ในปาจิตตีย ์ ๙ วรรคนั้น วรรคทีเ่ ท่าไร มี ๑๒ สิกขาบท? ตอบ วรรคที่ ๘ (สหธรรมิกวรรค)

7|P a g e
บริขาร ๘
(ปี 43) บริขาร ๘ มีอะไรบ้าง?
ตอบ บริขาร ๘ มี ๑.สังฆาฏิ ๒.อุตตราสงค์ ๓.อันตรวาสก ๔.บาตร ๕.มีดโกน ๖.กล่องเข็ม ๗.ประคดเอว ๘.ผ้ากรองน้า

อาบัตทิ ไี่ ม่มีมูล กาหนดโดยอาการอย่างไร?


๑.ไม่ได้เห็นเอง ๒.ไม่ได้ยินเอง ๓.ไม่ได้เกิดรังเกียจสงสัย
(ปี 60, 52 ,45) อาบัติไม่มมี ลู กาหนดโดยอาการอย่างไร ? โจทด้วยอาบัติไม่มีมลู เป็ น อาบัติอะไร ?
ตอบ กาหนดโดยอาการ ๓ คือ ไม่ได้เห็นเอง ๑ ไม่ได้ยิน ๑ ไม่ได้รงั เกียจ ๑ ว่าภิกษุนนั้ ต้องอาบัติช่อื นัน้ ฯ
โจทด้วยอาบัติปาราชิกต้องสังฆาทิเสส
โจทด้วยอาบัติสงั ฆาทิเสสต้องปาจิตตีย ์
โจทด้วยอาบัติอื่นจากนีต้ อ้ งปาจิตตีย ์ ในสัมปชานมุสาวาทสิกขาบท ฯ
(ปี 58) ภิกษุโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกอย่างไร ภิกษุผโู้ จทจึงต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส ?
ตอบ ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมลู และภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลสโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก

อาบัตทิ ตี่ อ้ งให้ท่องจาเป็ นชุดๆ


(ปี 46) ภิกษุตอ้ งอาบัติเพราะความซุกซน มีอย่างไรบ้าง?
ภิกษุซอ่ นบาตร ซ่อนปากกาของภิกษุอนื่ เพือ่ ล้อเล่น ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ มีอย่างนี ้ คือ เล่นจี ้ เล่นนา้ หลอนภิกษุ ซ่อนของเพื่อล้อเล่น พูดเย้าให้เกิดราคาญ ฯ
ซ่อนบาตร ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ซ่อนปากกา ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ

ซ่อนบริขาร
• ภิกษุซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูน่ัง กล่องเข็ม ประคดเอว สิ่งใดสิ่งหนึง่ ของภิกษุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้องปาจิตตีย ์
• ภิกษุซ่อนบริขารอื่น(ไม่ใช่บาตร จีวร ผ้าปูน่งั กล่องเข็ม ประคดเอว) หรือซ่อนของอนุปสัมบัน(ผูไ้ ม่ใช่ภิกษุ) เป็ นทุกกฏ
• เก็บบริขารไม่ได้หมายจะล้อเล่น เห็นวางไม่ดี ช่วยเก็บให้ ไม่เป็ นอาบัติ
(ปี 61) ภิกษุซ่อนบาตร จีวร ร่ม และรองเท้าของเพื่อนภิกษุเพื่อล้อเล่น ต้องอาบัติอะไรบ้าง ?
ตอบ ซ่อนบาตร จีวร ต้องอาบัตปิ าจิตตีย ์ ซ่อนร่ม รองเท้า ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 51) ภิกษุซ่อนผ้าอาบนา้ ฝน บาตร จีวร กล่องเข็ม ด้าย ของเพื่อนภิกษุหรือสามเณรเพื่อล้อเล่น เป็ นอาบัติอะไร?
ตอบ ซ่อนผ้าอาบนา้ ฝน ด้าย ของเพื่อนภิกษุ เป็ นอาบัติทกุ กฏ
ซ่อน บาตร จีวร กล่อมเข็ม ของเพื่อนภิกษุ เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์
ซ่อนของสามเณรทุกอย่างเป็ นอาบัติทกุ กฏ

ลักทรัพย์ทเี่ จ้าของไม่ได้ให้ ต้อง…


ทรัพย์ มีราคาตัง้ แต่ ๕ มาสกขึน้ เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติปาราชิก
ทรัพย์ มีราคาไม่ถืง ๕ มาสก แต่มากกว่า ๑ มาสก เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตถิ ลุ ลัจจัย

8|P a g e
ทรัพย์ มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสกลงมา เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ
(ปี 58) ในอทินนาทานสิกขาบท กาหนดราคาทรัพย์ เป็ นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง ?
ตอบ ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๕ มาสก ขึน้ ไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก
ทรัพย์มีราคาต่ากว่า ๕ มาสก แต่สงู กว่า ๑ มาสก เป็ นวัตถุแห่งอาบัติถลุ ลัจจัย
ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสก ลงไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 52) ในสิกขาบทที่ ๒ แห่งอาบัติปาราชิก ทรัพย์เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติปาราชิก อาบัติถุลลัจจัย และอาบัตทิ ุกกฏ มีกาหนดราคา
ไว้เท่าไร?
ตอบ ทรัพย์ มีราคาตัง้ แต่ ๕ มาสกขึน้ เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติปาราชิก
ทรัพย์ มีราคาไม่ถืง ๕ มาสก แต่มากกว่า ๑ มาสก เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตถิ ลุ ลัจจัย
ทรัพย์ มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสกลงมา เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติทกุ กฏ

ภิกษุมีความกาหนัดจับต้อง...
ภิกษุมีความกาหนัดจับต้องกายหญิง ต้องสังฆาทิเสส
ภิกษุมีความกาหนัดจับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องถุลลัจจัย
ภิกษุมีความกาหนัดจับต้องกายบุรุษ จับต้องสัตว์ดิรจั ฉานทัง้ เพศผูเ้ พศเมีย ต้องทุกกฏ
(ปี 63, 59 ,57) ภิกษุมีความกาหนัด จับต้องกายอนุปสัมบัน ต้องอาบัติอะไร ?
ตอบ ต้องอาบัติดงั นี ้ ๑. จับต้องกายหญิง ต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส ๒. จับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องอาบัตถิ ลุ ลัจจัย
๓. จับต้องกายบุรุษ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 49 ,45) ภิกษุมคี วามกาหนัดจับต้องกายหญิง กะเทย บุรุษ สัตว์ดิรจั ฉานเพศผู้ สัตว์ดิรจั ฉานเพศเมีย ต้องอาบัติอะไร?
พระภิกษุจับต้องวัตถุอนามาสโดยไม่มีความกาหนัด เป็ นอาบัติทกุ กฏ
หมายเหตุ อธิบายเพิ่มเติม วัตถุอนามาส คือ สิง่ ทีพ่ ระไม่ควรแตะต้อง มี ๖ ประเภท ดังนี ้
๑.คนหญิง คนกะเทย เครือ่ งแต่งกายของคนเหล่านัน้ แต่ทเี่ ขาสละแล้วไม่นบั ตุ๊กตาหญิง สัตว์ดริ จั ฉานตัวเมีย
๒.ทอง เงิน มุกดา มณี ไพฑูรย์ ประพาฬ ทับทิม บุษราคัม สังข์ทขี่ ดั แล้ว ศิลาชนิดดี เช่น หยก โมรา
๓.ศัสตราวุธต่างชนิด ทีใ่ ช้ทาร้ายชีวติ ร่างกาย
๔.เครือ่ งดักสัตว์บก-นา้
๕.เครือ่ งประโคม
๖.ข้าวเปลือกและผลไม้อนั เกิดอยู่ในที่

ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ให้ตาย ต้องอาบัต…

ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก
ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย และ การปลงชีวิตมนุษย์แต่ไม่สาเร็จ คือไม่ตาย เป็ นแค่บาดเจ็บ ต้องอาบัติถลุ ลัจจัย
ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย ์
พยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 63 ,59) ภิกษุทาคนอื่นให้ถึงแก่ความตาย ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ?

9|P a g e
ตอบ ถ้าไม่จงใจ ไม่เป็ นอาบัติ แต่ถา้ จงใจประสงค์จะให้เขาตาย เป็ นอาบัติ ฯ
(ปี 57) ภิกษุฆ่ามนุษย์ ฆ่าสัตว์เดียรัจฉาน ต้องอาบัติอะไร? ตอบ ฆ่ามนุษย์ ต้องอาบัติปาราชิก ฆ่าสัตว์เดียรัจฉาน ต้องอาบัตปิ าจิตตียฯ์
(ปี 56) ภิกษุพยายามฆ่าตนเอง แต่ทาไม่สาเร็จ จะต้องอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 54) ภิกษุแกล้งฆ่าสัตว์ให้ตาย ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก
ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย และ การปลงชีวิตมนุษย์แต่ไม่สาเร็จ คือไม่ตาย เป็ นแค่บาดเจ็บ ต้องอาบัติถลุ ลัจจัย
ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย ์
พยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 48 ,44) ภิกษุฆา่ สัตว์ให้ตายและพยายามฆ่าตนเอง ต้องอาบัติอะไร?
(ปี 46) การปลงชีวิตอย่างไร ต้องอาบัตถิ ลุ ลัจจัย?
ตอบ การปลงชีวิตมนุษย์แต่ไม่สาเร็จ คือไม่ตาย เป็ นแค่บาดเจ็บ ๑ ปลงชีวิตอมนุษย์ มียกั ษ์ เปรต เป็ นต้น ๑ ฯ

ภิกษุโจทภิกษุอนื่ ด้วยอาบัติไม่มีมูล ต้องอาบัต…



โจทด้วยอาบัติปาราชิก เป็ นอาบัติสงั ฆาทิเสส
โจทด้วยอาบัตินอกจากนี ้ เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์
(ปี 53) ภิกษุโจทภิกษุอนื่ ด้วยอาบัติไม่มีมูล เป็ นอาบัติอะไรบ้าง
ตอบ โจทด้วยอาบัติปาราชิก เป็ นอาบัติสงั ฆาทิเสส โจทด้วยอาบัตินอกจากนี ้ เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์
ภิกษุรู้อยู่ น้อมลาภเพือ่ … ต้องอาบัต…

น้อมมาเพื่อตน เป็ นอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์
น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็ นอาบัตปิ าจิตตีย ์
น้อมมาเพื่อเจดียแ์ ละเพื่อสงฆ์หมูอ่ ื่น เป็ นอาบัติทกุ กฏ
(ปี 59 ,46) ภิกษุรูอ้ ยู่ น้อมลาภที่เขา จะถวายสงฆ์มาเพื่อตนต้องอาบัติอะไร ? ลาภนัน้ ได้แก่อะไรบ้าง ?
ตอบ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ฯ ได้แก่ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และเภสัช ซึ่งเรียกว่าปั จจัย ๔ และของที่เป็ นกัปปิ ยะอย่างอื่นอีก ฯ
(ปี 56) มีผนู้ าอาหารบิณฑบาตมาถวายแก่สงฆ์ ภิกษุแนะนาให้ถวายแก่ตนเองและได้มา เช่นนีจ้ ะต้องอาบัติหรือไม่ ? ถ้าต้อง จะต้องอาบัติ
อะไร ? ตอบ ต้องอาบัติ ฯ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ฯ
(ปี 53 ,47) ภิกษุรูอ้ ยู่ น้อมลาภที่เขาน้อมไปจะถวายสงฆ์ มาเพื่อตน เพื่อบุคคลอื่น เพื่อเจดีย ์ เพื่อสงฆ์หมู่อื่น จะต้องอาบัติอะไร?
ตอบ น้อมมาเพื่อตน เป็ นอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจิตตีย ์
น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็ นอาบัตปิ าจิตตีย ์
น้อมมาเพื่อเจดียแ์ ละเพื่อสงฆ์หมูอ่ ื่น เป็ นอาบัติทกุ กฏ

(ปี 51) ภิกษุนอนในทีม่ ุงทีบ่ ังอันเดียวกับอนุปสัมบัน(ผู้ไม่ใช่ภกิ ษุ) เป็ นอาบัตหิ รือไม่อย่างไร?


ตอบ ถ้าเป็ นผูช้ าย เกินกว่า ๓ คืน เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ ถ้าเป็ นผูห้ ญิง แม้ในคืนแรก เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์

10 | P a g e
เสขิยวัตร ๗๕ คือ ธรรมเนียมหรือวัตรที่ภิกษุพงึ ศึกษา มี ๗๕ ข้อ ภิกษุไม่ปฏิบตั ิตาม ต้องอาบัติทกุ กฏ
แบ่งออกเป็ น ๔ หมวด ดังนี ้
๑.สารูป ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน
๒.โภชนปฏิสงั ยุต ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาตและฉันอาหาร (การขบฉัน) หมวด๒ ออกข้อสอบบ่อย**
๓.ธัมมเทสนาปฏิสังยุต ว่าด้วยธรรมเนียมไม่ให้แสดงธรรมแก่บคุ คลผูแ้ สดงอาการไม่เคารพ
๔.ปกิณกะ ว่าด้วยธรรมเนียมถ่ายอุจจาระ ปั สสาวะ หมวด๔ ออกข้อสอบบ่อย**
(ปี 63 ,49) เสขิยวัตร คืออะไร? มีกี่ขอ้ ? ภิกษุละเมิดต้องอาบัติอะไร? ตอบ คือวัตรที่ภิกษุจะต้องศึกษา ฯ มี ๗๕ ข้อ ฯ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 62 ,56) เสขิยวัตร คืออะไร ? โภชนปฏิสงั ยุต ว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ภกิ ษุจาต้องศึกษา ฯ ว่าด้วยเรื่องการรับและการฉันอาหาร ฯ
(ปี 61, 48 ,44) เสขิยวัตร คืออะไร ? ภิกษุไม่เอือ้ เฟื ้ อในเสขิยวัตรนัน้ ต้องอาบัติอะไร ?
ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ภกิ ษุตอ้ งศึกษา ฯ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 59) เสขิยวัตร คืออะไร ? ภิกษุไม่ปฏิบตั ิตาม ต้องอาบัติอะไร ? ตอบ คือธรรมเนียมที่ภิกษุตอ้ งศึกษา ฯ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 57) วัตรที่ภิกษุสามเณรจะต้องศึกษา เรียกว่าอะไร? มีทงั้ หมดกี่ขอ้ ? ตอบ เรียกว่าเสขิยวัตร ฯ มี ๗๕ ข้อ ฯ
(ปี 56) ภิกษุไม่เอือ้ เฟื ้ อในเสขิยวัตร ปฏิบตั ิผิดธรรมเนียมไป ต้องอาบัติอะไร? ตอบ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 53) เสขิยวัตร คืออะไร? แบ่งเป็ นกี่หมวด? หมวดที่ ๒ ว่าด้วยเรือ่ งอะไร?
ตอบ คือ ธรรมเนียมหรือวัตรที่ภกิ ษุพึงศึกษา ฯ แบ่งเป็ น ๔ หมวด ฯ ว่าด้วยเรื่อง โภชนปฏิสงั ยุต คือธรรมเนียมว่าด้วยเรื่องการขบฉัน ฯ
(ปี 51) เสขิยวัตร คืออะไร? มีทงั้ หมดกี่ขอ้ ? ตอบ คือ ธรรมเนียมหรือวัตรที่ภิกษุตอ้ งศึกษา ฯ มี ๗๕ ข้อ ฯ
(ปี 46) เสขิยวัตร คืออะไร? หมวดที่ ๒ ว่าด้วยเรื่องอะไร? ภิกษุไม่เอือ้ เฟื ้ อในเสขิยวัตร ปฏิบตั ิผิดธรรมเนียม ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ คือ วัตรหรือธรรมเนียมที่ควรศึกษา ฯ หมวดที่ ๒ ว่าด้วยธรรมเนียมรับบิณฑบาตและฉันอาหาร ฯ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ

อธิกรณ์ ๔
อธิกรณ์ ๔ คือ เรื่องที่เกิดขึน้ แล้วจะต้องจัดต้องทา เมือ่ เกิดขึน้ แล้วต้องระงับด้วยอธิกรณสมถะอย่างใดอย่างหนึ่งตามสมควรแก่
อธิกรณ์นั้นๆ มี ๔ ประเภท ดังนี ้
๑.วิวาทาธิกรณ์ คือ วิวาท การเถียง ได้แก่ การเถียงว่า สิง่ นั้นเป็ นธรรมเป็ นวินัย สิ่งนีไ้ ม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินัย นีจ้ ะต้องได้รบั ชีข้ าดว่าถูกว่าผิด
๒.อนุวาทาธิกรณ์ คือ การโจทกันด้วยอาบัติ นีจ้ ะต้องได้รบั วินจิ ฉัยว่าจริงหรือไม่จริง
๓.อาปั ตตาธิกรณ์ คือ กิรยิ าที่ตอ้ งอาบัติหรือถูกปรับอาบัติ นีจ้ ะต้องทาคืน คือทาให้พน้ โทษ
๔.กิจจาธิกรณ์ คือ กิจธุระที่สงฆ์จะพึงทา เช่น ให้อปุ สมบท นีจ้ ะต้องทาให้สาเร็จ

อธิกรณสมถะ คือ ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ มี ๗ อย่าง เช่น เยภุยยสิกา เป็ นต้น


การตัดสินอธิกรณ์ตามเสียงข้างมาก เรียกว่า เยภุยยสิกา (อันนีอ้ อกข้อสอบบ่อย)

(ปี 63 ,58) การเถียงกันด้วยเรื่องอะไรจึงจัดเป็ นวิวาทาธิกรณ์ ? ตอบ การเถียงกันว่า สิ่งนัน้ เป็ นธรรมเป็ นวินยั สิ่งนีไ้ ม่ใช่ธรรมไม่ใช่วนิ ยั ฯ
(ปี 61 ,56) ภิกษุเถียงกันด้วยเรื่องอะไร จึงเรียกว่า วิวาทาธิกรณ์? ตอบ เถียงกันด้วยเรื่อง สิ่งนัน้ เป็ นธรรมเป็ นวินยั สิ่งนีไ้ ม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินยั ฯ
(ปี 57) อธิกรณ์ อธิกรณสมถะ คืออะไร? ตอบ อธิกรณ์ คือเรื่องที่เกิดขึน้ แล้วจะต้องจัดต้องทาฯ อธิกรณสมถะ คือธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ ฯ
11 | P a g e
(ปี 54) อธิกรณ์คืออะไร? การตัดสินอธิกรณ์ตามเสียงข้างมาก เรียกว่าอะไร?
ตอบ อธิกรณ์ คือ เรื่องที่เกิดขึน้ แล้วจะต้องจัดต้องทา ฯ เรียกว่า เยภุยยสิกา ฯ
(ปี 52) อธิกรณ์ คืออะไร? เมื่อเกิดขึน้ แล้วต้องทาอย่างไร?
ตอบ คือ เรื่องที่เกิดขึน้ แล้วจะต้องจัดต้องทา ฯ ต้องระงับด้วยอธิกรณสมถะอย่างใดอย่างหนึง่ ตามสมควรแก่อธิกรณ์นนั้ ๆ ฯ
(ปี 51) อธิกรณสมถะ คืออะไร? มีกี่อย่าง? การตัดสินตามเสียงข้างมาก เรียกว่าอะไร?
ตอบ คือ ธรรมเครื่องระงับอธิกรณ์ ฯ มี ๗ อย่าง ฯ เรียกว่า เยภุยยสิกา ฯ
(ปี 51) วิวาทาธิกรณ์กบั อนุวาทาธิกรณ์ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ วิวาทาธิกรณ์ คือการเถียงว่า สิ่งนัน้ เป็ นธรรมเป็ นวินยั สิ่งนีไ้ ม่ใช่ธรรมไม่ใช่วินยั ส่วนอนุวาทาธิกรณ์ คือการโจทกันด้วยอาบัติ ฯ
(ปี 46) อธิกรณ์ คืออะไร? อธิกรณ์ย่อมระงับได้ดว้ ยอะไร? การแสดงอาบัติจดั เข้าในอธิกรณสมถะข้อไหน? สาหรับระงับอธิกรณ์อะไร?
ตอบ คือ เรื่องที่เกิดขึน้ แล้วจะต้องจัดต้องทา ฯ ระงับได้ดว้ ยอธิกรณสมถะ คือธรรมสาหรับระงับอธิกรณ์ ฯ
จัดเข้าในปฏิญญาตกรณะ ฯ สาหรับระงับอาปั ตตาธิกรณ์ ฯ
(ปี 43) การอุปสมบทจัดเป็ นอธิกรณ์อะไร? ใครเป็ นผูร้ ะงับอธิกรณ์นนั้ ? ตอบ จัดเป็ นกิจจาธิกรณ์ สงฆ์เป็ นผูร้ ะงับอธิกรณ์นนั้
(ปี 43)ภิกษุเถียงกันเรื่องการแก้ปัญหาจราจรเป็ นอธิกรณ์อะไรหรือไม่ ตอบ ไม่จดั เป็ นอธิกรณ์ เพราะไม่ใช่การเถียงกันปรารถพระธรรมวินยั

เรื่องอื่นๆน่าจะไม่ออกข้อสอบ
(ปี 45 ยาก ไม่ได้ออกนานแล้ว) ผ้าจีวรที่ทรงอนุญาตให้ใช้ได้ทาด้วยวัตถุกี่ชนิด? อะไรบ้าง?
ตอบ ๖ ชนิด คือ ๑.ทาด้วยเปลือกไม้ เช่น ผ้าลินิน ๔.ทาด้วยขนสัตว์ เช่น ผ้าสักหลาด
๒.ทาด้วยฝ้าย คือ ผ้าสามัญ ๕.ทาด้วยเปลือกไม้ เช่น ผ้าป่ าน (สาณะ)
๓.ทาด้วยไหม คือ ผ้าแพร ๖.ทาด้วยสัมภาระเจือกัน ฯ

รายละเอียดอาบัตเิ ป็ นข้อๆ
ปาราชิก ๔
• สิกขาบทที่ ๑ ภิกษุเสพเมถุน (ร่วมประเวณี, ร่วมสังวาส) ต้องปาราชิก
• สิกขาบทที่ ๒ ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของไม่ได้ให้ ได้ราคา ๕ มาสก ต้องปาราชิก
• สิกขาบทที่ ๓ ภิกษุแกล้ง (จงใจ) ฆ่ามนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติปาราชิก
• สิกขาบทที่ ๔ ภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม(คือธรรมอันยิง่ ยวดของมนุษย์)ที่ไม่มใี นตน ต้องปาราชิก

(ปี 62 ,45) ปาราชิก ๔ สิกขาบทไหนที่ภิกษุใช้ให้คนอื่นทาก็ตอ้ งอาบัติถงึ ที่สดุ ? ตอบ สิกขาบทที่ ๒ และสิกขาบทที่ ๓ ฯ


(ปี 58) สิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์มีเท่าไร ? สิกขาบทว่าด้วยปาราชิกมีอะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๒๒๗ สิกขาบท ฯ มี ๑. เสพเมถุน
๒. ภิกษุถือเอาของที่เจ้าของเขาไม่ได้ให้ ได้ราคา ๕ มาสก
๓. ภิกษุแกล้งฆ่ามนุษย์ให้ตาย
๔. ภิกษุอวดอุตตริมนุสสธรรม (คือธรรมอันยิ่งของมนุษย์) ที่ไม่มีในตน ฯ
12 | P a g e
(ปี 58) ในอทินนาทานสิกขาบท กาหนดราคาทรัพย์ เป็ นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง ?
ตอบ ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๕ มาสก ขึน้ ไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก
ทรัพย์มีราคาต่าากว่า ๕ มาสก แต่สงู กว่า ๑ มาสก เป็ นวัตถุแห่งอาบัติถลุ ลัจจัย
ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสก ลงไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 57) สังหาริมทรัพย์ และ อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นไร?
ตอบ สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้ เช่น สัตว์ เงินทอง เป็ นต้น ฯ
อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ไม่ได้ เช่น ที่ดิน ต้นไม้ เรือน เป็ นต้น ฯ
(ปี 50) สังหาริมทรัพย์ และ อสังหาริมทรัพย์คือทรัพย์เช่นไร? ภิกษุจะต้องอาบัติถงึ ที่สดุ ในเพราะลักทรัพย์ทงั้ ๒ อย่างนัน้ เมื่อใด?
ตอบ สังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ท่เี คลื่อนที่ได้ อสังหาริมทรัพย์ คือทรัพย์ท่เี คลื่อนที่ไม่ได้ ฯ
สาหรับสังหาริมทรัพย์ ภิกษุจะต้องอาบัตถิ ึงที่สดุ ในเมื่อทาให้ทรัพย์นนั้ เคลื่อนจากที่เดิม ส่วนอสังหาริมทรัพย์ จะต้องอาบัตถิ ึงที่สดุ ในเมื่อ
เจ้าของทอดกรรมสิทธิ์ ฯ
(ปี 45) สังหาริมทรัพย์ และอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์เช่นไร ? การถือเอาทรัพย์ทงั้ ๒ อย่างนัน้ กาหนดว่าถึงที่สดุ ไว้อย่างไร?
ตอบ สังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ได้ ทัง้ ที่มีวญ
ิ ญาณและไม่มวี ิญญาณ เช่นสัตว์และเงินทองเป็ นต้น ฯ ส่วน
อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ทรัพย์หรือสิ่งของที่เคลื่อนที่ไม่ได้ โดยตรงได้แก่ท่ดี ิน โดยอ้อมนับของที่ตดิ เนื่องอยู่กบั ที่นนั้ ด้วย เช่น ต้นไม้และเรือนเป็ น
ต้น ฯ สังหาริมทรัพย์ กาหนดว่าถึงที่สดุ ด้วยทาให้เคลื่อนจากฐาน ฯ อสังหาริมทรัพย์ กาหนดว่าถึงที่สดุ ด้วยขาดกรรมสิทธิ์แห่งเจ้าของ ฯ
(ปี 49 ,45) คาว่า "ไถยจิต" หมายถึงอะไร? ในอทินนาทานสิกขาบท กาหนดราคาทรัพย์เป็ นวัตถุแห่งอาบัติไว้อย่างไรบ้าง?
ตอบ หมายถึงจิตคิดจะลัก คือจิตคิดถือเอาของที่เจ้าของไม่ให้ดว้ ยอาการแห่งขโมย ฯ
กาหนดไว้อย่างนี ้ ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๕ มาสก ขึน้ ไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติปาราชิก
ทรัพย์มีราคาต่ากว่า ๕ มาสก แต่สงู กว่า ๑ มาสก เป็ นวัตถุแห่งอาบัติถลุ ลัจจัย
ทรัพย์มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสก ลงไป เป็ นวัตถุแห่งอาบัติทกุ กฏ ฯ

(ปี 62) พูดอย่างไรเรียกว่า อวดอุตตริมนุสสธรรม ?


ตอบ พูดอวดคุณพิเศษอันยิง่ ของมนุษย์ เช่น ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน เรียกว่า อวดอุตตริมนุสสธรรมฯ
(ปี 49) อุตตริมนุสสธรรม คืออะไร? มีอะไรบ้าง?
ตอบ คือ ธรรมอันยิ่งของมนุษย์ หรือคุณอย่างยวดยิง่ ของมนุษย์ ฯ มี ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน ฯ
(ปี 44) ภิกษุพดู อวดอุตตริมนุสสธรรมซึ่งไม่มีจริงในตน เมื่อคนอืน่ ฟั งแล้วเข้าใจแต่ไม่เชื่อ ภิกษุนจี ้ ะต้องอาบัติอะไร?
ตอบ ต้องอาบัติปาราชิก
(ปี 43) ปาราชิก ๔ ข้อไหนเป็ นสจิตตกะ ข้อไหนเป็ นอจิตตกะ? ทาไมเป็ นเช่นนัน้ ?
ตอบ ปาราชิก ๔ ข้อ เป็ นสจิตตกะ ที่เป็ นเช่นนัน้ เพราะต้องด้วยจงใจ เกิดขึน้ โดยมีเจตนาเป็ นสมุฏฐาน

สังฆาทิเสส ๑๓
• ๑. ภิกษุแกล้งทานา้ อสุจิเคลื่อน
• ๒. ภิกษุมีความกาหนัดอยู่ จับต้องกายหญิง
13 | P a g e
• ๓. ภิกษุมีความกาหนัดอยู่ พูดเกีย้ วหญิง
• ๔. ภิกษุมีความกาหนัดอยู่ พูดล่อให้หญิงบาเรอตนด้วยกาม
• ๕. ภิกษุชกั สื่อให้ชายหญิงเป็ นผัวเมียกัน
• ๖. ภิกษุสร้างกุฎิท่ตี อ้ งก่อและ โบกด้วยปูนหรือดิน เป็ นเจ้าของจาเพาะเป็ นที่อยู่ของตน ต้องทาให้ได้ประมาณ โดยยาวเพียง ๑๒ คืบ
พระสุคต กว้างเพียง ๗ คืบพระสุคต (๑ คืบพระสุคต = ๒๕ ซม) และต้องให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้พระสงฆ์แสดงที่ให้กด็ ี ทาให้
เกินประมาณก็ดี ต้องสังฆาทิเสส
• ๗. ถ้าที่อยู่ซง่ึ จะสร้างขึน้ นัน้ มีทายกเป็ นเจ้าของ ทาให้เกินประมาณนัน้ ได้ แต่ตอ้ งให้สงฆ์ แสดงที่ให้ก่อน ถ้าไม่ให้สง)แสดงที่ให้ก่อน
ต้อง สังฆาทิเสส
• ๘. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิกไม่มีมลู ต้องสังฆาทิเสส
• ๙. ภิกษุโกรธเคือง แกล้งหาเลศโจทภิกษุอื่นด้วยอาบัติปาราชิก ต้องสังฆาทิเสส
• ๑๐. ภิกษุพากเพียรเพื่อจะทาลายพระสงฆ์ให้แตกกัน ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟังสงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละ ต้อง
สังฆาทิเสส
• ๑๑. ภิกษุประพฤติตามภิกษุผทู้ าลายสงฆ์นนั้ ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละ ต้อง
สังฆาทิเสส
• ๑๒. ภิกษุว่ายากสอนยาก ภิกษุอนื่ ห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส
• ๑๓. ภิกษุประทุษร้ายตระกูล คือประจบคฤหัสถ์ สงฆ์ไล่เสียจากวัด กลับติเตียนสงฆ์ ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละ
ข้อที่ประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละ ต้องสังฆาทิเสส

สังฆาทิเสส ๙ สิกขาบทข้างต้นให้ตอ้ งอาบัติแต่แรกที่เราเรียกว่า “ปฐมาปั ตติกะ”


ส่วน ๔ สิกขาบทข้างปลาย ให้ตอ้ งอาบัตติ ่อเมื่อสงฆ์สวดประกาศห้ามครบ ๓ ครัง้ เรียกว่า “ยาวตติยกะ”
อาบัติหนักในฝ่ ายอาบัติท่จี ะแก้ไขได้ เรียกว่า ครุ กาบัติ มีเรื่องหยาบคายอยู่มาก จึงเรียกว่า ทุฏฐุลลาบัติ ภิกษุผตู้ อ้ งแล้วจะทาได้ดว้ ยอยู่
กรรม จึงเรียกว่า วุฏฐานคามินี

(ปี 63, 59 ,57) ภิกษุมีความกาหนัด จับต้องกายอนุปสัมบัน ต้องอาบัติอะไร ?


ตอบ ต้องอาบัติดงั นี ้ ๑. จับต้องกายหญิง ต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส ๒. จับต้องกายกะเทย(บัณเฑาะก์) ต้องอาบัตถิ ลุ ลัจจัย
๓. จับต้องกายบุรุษ ต้องอาบัติทกุ กฏ ฯ
(ปี 62 ,46) คาว่า "ภิกษุประทุษร้ายตระกูล" ในสิกขาบทที่ ๑๓ แห่งสังฆาทิเสสหมายถึงการทาอย่างไร ?
ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุประจบคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย เช่น เดินส่งข่าวให้เขาเป็ นต้น หรือด้วยการเอาเปรียบโดยเชิงให้สงิ่ เล็กน้อยด้วย
หวังได้มาก ฯ
(ปี 60) คาว่า มาตุคาม ในสังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๒ และ ๓ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ ในสิกขาบทที่ ๒ หมายรวมทัง้ หญิงที่รูเ้ ดียงสาและไม่รูเ้ ดียงสา โดยที่สดุ แม้เกิดในวันนัน้
ส่วนในสิกขาบทที่ ๓ หมายเฉพาะหญิงที่รูเ้ ดียงสาแล้วเท่านัน้ ฯ
(ปี 58) ภิกษุประพฤติอย่างไร ชื่อว่าประทุษร้ายตระกูล ? ตอบ ประจบคฤหัสถ์ ฯ
14 | P a g e
(ปี 56) ข้อความว่า ภิกษุชกั สื่อให้ชายหญิงเป็ นผัวเมียกัน ตามสิกขาบทที่ ๕ แห่งสังฆาทิเสสนัน้ หมายถึงการทาอย่างไร? ตอบ หมายถึงการที่
ภิกษุบอกความประสงค์ของชายแก่หญิง หรือบอกความประสงค์ของหญิงแก่ชายในความเป็ นผัวเมีย ฯ
(ปี 51) สังฆาทิเสส มีกี่สิกขาบท? ภิกษุตอ้ งอาบัตินจี ้ ะพ้นได้ดว้ ยวิธีอย่างไร?
ตอบ มี ๑๓ สิกขาบท ฯ ด้วยวิธีอยู่กรรม ที่เรียกว่า วุฏฐานคามินี ฯ
(ปี 50) ภิกษุรูต้ วั ว่าต้องอาบัติสงั ฆาทิเสส จึงแสดงอาบัตินนั้ ต่อภิกษุอีกรูปหนึ่ง อย่างนีจ้ ะพ้นจากอาบัตินนั้ ได้หรือไม่ เพราะเหตุไร? ตอบ พ้น
ไม่ได้ เพราะอาบัติสงั ฆาทิเสสนัน้ ภิกษุผตู้ อ้ งจะพ้นได้ดว้ ยอยู่กรรม ฯ
(ปี 47 ,44) คาว่า มาตุคาม ในสังฆาทิเสส สิกขาบทที่ ๒, ๓, ๔ และ ๕ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ มาตุคามในสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒ หมายหญิงมนุษย์โดยที่สดุ แม้เกิดในวันนัน้ รวมทัง้ หญิงที่รูเ้ ดียงสาและไม่รูเ้ ดียงสา ส่วนมาตุคามใน
สังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๓, ๔ และ ๕ หมายเฉพาะหญิงผูร้ ูเ้ ดียงสาแล้วเท่านัน้ ฯ
(ปี 46) คาว่า “ภิกษุประทุษร้ายตระกูล” ในสิกขาบทที่ ๑๓ แห่งสังฆาทิเสส หมายถึงการทาอย่างไร ?
สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบท ที่ช่ือว่า ยาวตติยกะ หมายความว่าอย่างไร ?
ตอบ หมายถึงการที่ภิกษุประจบคฤหัสถ์ ยอมตนให้เขาใช้สอย เช่นเดินส่งข่าวให้เขาเป็ นต้น หรือ ด้วยการเอาเปรียบโดยเชิงให้สงิ่ เล็กน้อย
ด้วยหวังได้มาก ฯ ที่ช่ือว่า ยาวตติยกะ เพราะให้ตอ้ งอาบัตติ ่อเมื่อสงฆ์ประกาศห้ามครบ ๓ ครัง้ ฯ
(ปี 46) “ภิกษุวา่ ยากสอนยาก ภิกษุอื่นห้ามไม่ฟัง สงฆ์สวดกรรมเพื่อจะให้ละข้อที่ประพฤตินนั้ ถ้าไม่ละต้องสังฆาทิเสส” คือสิกขาบทที่เท่าไร
ทรงบัญญัติเพื่อประสงค์ใด? ตอบ สิกขาบทที่ ๑๒ แห่งสังฆาทิเสส เพื่อป้องกันไม่ไห้ภิกษุดือ้ ด้าน ฯ
(ปี 45) สังฆาทิเสส ๑๓ สิกขาบทไหนบ้างต้องอาบัตติ งั้ แต่แรกทา? มีช่อื เรียกอย่างไร? ตอบสิกขาบทที่ ๑ ถึงที่ ๙ ฯ เรียกว่า ปฐมาปั ตติกะฯ
(ปี 43) เพราะเหตุไร สังฆาทิเสส จึงเรียกว่า ครุกาบัติ ทุฏฐุลลาบัติ วุฏฐานคามินี?
ตอบ เพราะเป็ นอาบัติหนัก จึงเรียกว่า ครุกาบัติ
เพราะมีเรื่องหยาบคายมาก จึงเรียกว่า ทุฏฐุลลาบัติ
เพราะภิกษุผตู้ อ้ งแล้วจะทาได้ดว้ ยอยู่กรรม จึงเรียกว่า วุฏฐานคามินี

อนิยต ๒ แปลว่า วางอาบัติไว้ไม่แน่


• ภิกษุน่งั ในทีล่ บั ตากับหญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อได้มาพูดขึน้ ด้วยธรรม ๓ อย่าง คือ ปาราชิก หรือสังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย ์
อย่างใดอย่างหนึ่ง ภิกษุรบั อย่างใดให้ปรับอย่างนัน้ หรือเขาว่าจาเพาะธรรมอย่างใดให้ปรับอย่างนัน้
• ภิกษุน่งั ในทีล่ บั หูกบั หญิงสองต่อสอง ถ้ามีคนที่ควรเชื่อได้มาพูดขึน้ ด้วยธรรม ๒ อย่าง คือ สังฆาทิเสส หรือปาจิตตีย ์ อย่างใดอย่าง
หนึ่ง ภิกษุรบั อย่างใดให้ปรับอย่างนัน้ หรือเขาว่าจาเพาะธรรมอย่างใดให้ปรับอย่างนัน้
(ปี 50) ที่ลบั ตา กับที่ลบั หู ต่างกันอย่างไร? ที่ลบั ทัง้ ๒ นัน้ เป็ นทางให้ปรับอาบัติได้มากน้อยกว่ากันอย่างไร ?
ตอบ ต่างกันอย่างนี ้ ที่ท่มี ีสิ่งกาบัง เห็นกันไม่ได้ เรียกว่า ที่ลบั ตา ที่ท่ไี ม่มีสิ่งกาบัง เห็นกันได้ แต่ฟังเสียงพูดกันไม่ได้ยิน เรียกว่า ที่ลบั หู ฯ
ที่ลบั ตา เป็ นทางให้ปรับอาบัติได้มากกว่า คือตัง้ แต่ปาราชิก สังฆาทิเสส ถึง ปาจิตตีย ์
ส่วนที่ลบั หู เป็ นทางให้ปรับอาบัตติ งั้ แต่สงั ฆาทิเสสลงมา ฯ
(ปี 47) ในอนิยต ที่ลบั ตา และที่ลบั หู ได้แก่ท่เี ช่นไร? ภิกษุอยู่กบั มาตุคามสองต่อสองในที่เช่นนัน้ เป็ นทางปรับอาบัติอะไรได้บา้ ง?
ตอบ ที่ลบั ตา ได้แก่ ที่มีวตั ถุกาบัง แลเห็นไม่ได้ ที่ลบั หู ได้แก่ ที่แจ้ง แลเห็นได้ แต่ห่าง ไม่ได้ยินเสียงพูด ฯ
ในที่ลบั ตา เป็ นทางปรับอาบัติปาราชิก สังฆาทิเสส และ ปาจิตตีย ์
ในที่ลบั หู เป็ นทางปรับอาบัติสงั ฆาทิเสส และ ปาจิตตีย ์ ฯ
15 | P a g e
ถุลลัจจัย
• ฆ่าอมนุษย์ให้ตาย ต้องอาบัติถลุ ลัจจัย
• ภิกษุลกั ทรัพย์ มีราคาไม่ถืง ๕ มาสก แต่มากกว่า ๑ มาสก เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัติถลุ ลัจจัย
• ภิกษุมีความกาหนัดจับต้องกายกะเทย ต้องถุลลัจจัย

นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ๓๐
(ปี 60) ภิกษุตอ้ งอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ หรืออาบัติปาจิตตีย ์ มีวธิ ีแสดงอาบัติ ต่างกันอย่างไร ?
ตอบ นิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ต้องเสียสละวัตถุอนั เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตินนั้ เสียก่อน จึงแสดงอาบัติได้ ส่วนอาบัติปาจิตตียน์ นั้ ภิกษุพงึ แสดงอาบัติ
ได้เลย ไม่มีวตั ถุใด ๆ ที่ตอ้ งสละ ฯ
• จีวรและบาตรนอกจากจีวรและบาตรที่อธิษฐาน เก็บเกิน ๑๐ วัน ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ (ในนิสสัคคิยปาจิตตีย ์ จีวรวรรค
และปั ตตวรรค)
(ปี 55) อติเรกจีวร อติเรกบาตร ได้แก่จวี รและบาตรเช่นไร? จีวรและบาตรชนิดนี ้ ภิกษุเก็บไว้ได้กี่วนั ?
• ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้เพียงคืนหนึ่ง ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่ได้สมมติ (สงฆ์ตกลงกันให้อยู่ปราศจากไตรจีวรได้)
(ในนิสสัคคิยปาจิตตีย ์ จีวรวรรค) ต้องสละไตรจีวรผืนทีอ่ ยู่ปราศจากนั้น แล้วแสดงอาบัตนิ ิสสัคคิยปาจิตตีย ์ เมื่อได้รับผ้า
กลับคืนมาแล้ว ต้องอธิษฐานใหม่
(ปี 62 ,53) ไตรจีวร มีอะไรบ้าง ? ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวรแม้คืนหนึ่ง ต้องอาบัติอะไร ?
ตอบ มี สังฆาฏิ คือผ้าคลุม อุตตราสงค์ คือผ้าห่ม และอันตรวาสก คือผ้านุ่ง ฯ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ฯ
(ปี 59) ผ้าไตรจีวร ที่ทรงอนุญาตให้ภิกษุอธิษฐานไว้ใช้มกี ี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
ตอบ มี ๓ อย่าง ฯ คือ ๑. สังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ๒. อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม) ๓. อันตรวาสก (ผ้านุ่ง) ฯ
(ปี 54) ไตรจีวรประกอบด้วยผ้าอะไรบ้าง? ภิกษุอยู่ปราศจากไตรจีวร ต้องปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ ไตรจีวร ประกอบด้วย ผ้าสังฆาฏิ (ผ้าคลุม) ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร หรือ ผ้าห่ม) และอันตรวาสก (สบง หรือ ผ้านุ่ง) ต้องสละไตร
จีวรผืนที่อยู่ปราศจากนัน้ แล้วแสดงอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ เมื่อได้รบั ผ้ากลับคืนมาแล้ว ต้องอธิษฐานใหม่
• ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผไู้ ม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ปวารณา (คือไม่ได้บอกให้ขอ) ได้มา ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่มีสมัยที่จะขอจีวรได้
คือเวลาภิกษุมีจีวรอันโจรลักไป หรือมีจีวรอันฉิบหายเสีย
(ปี 58) พระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้ภิกษุขอจีวรต่อคฤหัสถ์ผไู้ ม่ใช่ญาติ ไม่ใช่ปวารณา ได้ในสมัยใดบ้าง ?
ตอบ ในสมัยที่ภิกษุมีจวี รอันโจรลักไป หรือมีจีวรอันฉิบหายเสีย ฯ
(ปี 56) ภิกษุขอจีวรต่อสามีของน้องสาวแล้วได้มา เธอจะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?
ตอบ ถ้าสามีของน้องสาวเป็ นญาติกด็ ีมิใช่ญาติแต่ปวารณาก็ดี ไม่ตอ้ งอาบัติ
ถ้ามิใช่ญาติและมิได้ปวารณา เป็ นเพียงน้องเขย ต้องนิสสัคคิยปาจิตตีย ์
เว้นไว้แต่สมัย (คือในเวลาจีวรถูกขโมยหรือเสียหาย) ฯ
• น้อมมาเพื่อตน เป็ นอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ (ในนิสสัคคิยปาจิตตีย ์ โกสิยวรรค)
(ปี 56) มีผนู้ าอาหารบิณฑบาตมาถวายแก่สงฆ์ ภิกษุแนะนาให้ถวายแก่ตนเองและได้มา เช่นนีจ้ ะต้องอาบัติหรือไม่ ? ถ้าต้อง จะต้อง
อาบัติอะไร ? ตอบ ต้องอาบัติ ฯ ต้องอาบัตินิสสัคคิยปาจิตตีย ์ ฯ

16 | P a g e
ปาจิตตีย ์ ๙๒ หรือเรียกอีกอย่างว่า สุทธิกปาจิตตีย ์
• ภิกษุนอนในที่มงุ ที่บงั อันเดียวกันกับอนุปสัมบัน(ผูไ้ ม่ใช่ภิกษุ เช่น คฤหัสถ์ผชู้ าย สามเณร) เกิน ๓ คืนขึน้ ไป ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ (ใน
ปาจิตตีย ์ มุสาวาทวรรค)
(ปี 61 ,53) ภิกษุนอนในที่มงุ ที่บงั เดียวกันกับสามเณร จะเป็ นอาบัติหรือไม่?
ตอบ นอนได้ ๓ คืนไม่อาบัติ เกินกว่านัน้ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์
• ภิกษุนอนในที่มงุ ที่บงั อันเดียวกันกับผู้หญิง แม้ในคืนแรกต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ มุสาวาทวรรค)
• ภิกษุบอกอุตตริมนุสธรรม (ธรรมอันยวดยิ่งของมนุษย์ คือ คุณวิเศษ ได้แก่ ฌาณ วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรคผล)ทีม่ ีจริงแก่
อนุปสัมบัน(ผูไ้ ม่ใช่ภิกษุ) ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ มุสาวาทวรรค)
(ปี 60) ในปาจิตตีย ์ ภิกษุตอ้ งอาบัติเพราะพูดเรื่องจริง มีหรือไม่ ? เพราะเหตุใด ?
ตอบ มี ฯ เพราะบอกอุตตริมนุสสธรรมที่มีจริงแก่อนุปสัมบัน ตามสิกขาบทที่ ๘ แห่งมุสาวาทวรรค และเพราะบอกอาบัตชิ ่วั หยาบ
ของภิกษุแก่อนุปสัมบัน เว้นไว้แต่ได้รบั สมมติ ตามสิกขาบท ที่ ๙ แห่งมุสาวาทวรรค ฯ
(ปี 45) ภิกษุพดู ปดต้องอาบัตินนั้ ทราบแล้ว แต่ถา้ พูดเรื่องจริง จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?
ตอบ ต้องอาบัติเหมือนกันคือ บอกอุตตริมนุสสธรรมที่มจี ริงแก่อนุปสัมบัน ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ตามสิกขาบทที่ ๘ แห่งมุสาวาทวรรค
บอกอาบัตชิ ่วั หยาบของภิกษุแก่อนุปสัมบัน เว้นไว้แต่ได้รบั สมมติ ต้องอาบัติปาจิตตียต์ ามสิกขาบทที่ ๙ แห่งมุสาวาทวรรค ฯ
(ปี 60 ,44) พูดอย่างไรเรียกว่า อวดอุตตริมนุสสธรรม?
ตอบ พูดอวดคุณพิเศษอันยิง่ ของมนุษย์ คือพูดว่าข้าพเจ้าได้ ฌาน วิโมกข์ สมาธิ สมาบัติ มรรค ผล นิพพาน เรียกว่า อวดอุตตริม
นุสสธรรม
• พูดปด ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ มุสาวาทวรรค) และ ภิกษุดมื่ นา้ เมา ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
(ปี 52) พระ ก. นาเบียร์มาให้พระ ข. ดื่ม โดยหลอกว่าเป็ นนา้ อัดลม พระ ข. หลงเชื่อจึงดื่มเข้าไป ถามว่าพระ ก. และพระ ข. ต้อง
อาบัติอะไรหรือไม่? ตอบ พระ ก. เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ เพราะพูดปด ส่วนพระ ข. เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ เพราะดืม่ นา้ เมา แม้ไม่รูก้ ็ตอ้ ง
อาบัติ เพราะสิกขาบทนีเ้ ป็ นอจิตตกะ(คือไม่เจตนา สาคัญว่ามิใช่นา้ เมาดื่มเข้าไปก็คงเป็ นอาบัติ)
• ด่าภิกษุ ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ มุสาวาทวรรค)
[ประดับความรู้ ไม่ต้องจา] อักโกสวัตถุ เรือ่ งสาหรับด่า มี ๑๐ อย่าง คือ
๑. ชาติ ได้แก่ชนั้ หรือกาเนิดของคน ๖. โรค
๒. ชือ่ ๗. รูปพรรณสัณฐาน
๓. โคตร คือตระกูลหรือแซ่ ๘. กิเลส
๔. การงาน ๙. อาบัติ
๕. ศิลปะ ๑๐. คาสบประมาทอย่างอืน่ ๆ
โอมสวาท คือ คาพูดเสียดแทงให้เจ็บใจ
(ปี 59) พูดอย่างไร ชื่อว่าส่อเสียดภิกษุ ? ภิกษุพดู อย่างนัน้ ต้องอาบัติอะไร ?
ตอบ เก็บความข้างนีไ้ ปบอกข้างโน้น เก็บความข้างโน้นมาบอกข้างนี ้ ด้วยประสงค์จะให้เขารักตน หรือให้เขาแตกกัน ชื่อว่าส่อเสียด
ภิกษุ ฯ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ฯ
(ปี 46) โอมสวาท หมายถึง? อักโกสวัตถุ หมายถึง?

17 | P a g e
ตอบ โอมสวาท คือ คาพูดเสียดแทงให้เจ็บใจ ฯ อักโกสวัตถุ คือ เรื่องสาหรับด่า ๑๐ อย่าง ฯ
• ภิกษุเอาเตียง ตั่ง ฟูก เก้าอี ้ ของสงฆ์ไปตัง้ ในที่แจ้งแล้วเมื่อหลีกไปจากที่นนั้ ไม่เก็บเองก็ดี ไม่ใช้ให้ผอู้ ื่นเก็บก็ดี ไม่มอบหมายแก่ผอู้ ื่น
ก็ดี ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ ภูตคามวรรค)
(ปี 63, 58 ,55) ภิกษุนาเก้าอีข้ องสงฆ์ไปใช้ในที่แจ้ง เมื่อหลีกไปจากที่นนั้ พึงปฏิบตั ิอย่างไร? ถ้าไม่ปฏิบตั ิ อย่างนัน้ ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ พึงเก็บเอง หรือใช้ให้ผอู้ ื่นเก็บ หรือมอบหมายแก่ผอู้ ื่น ฯ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ฯ
(ปี 52) ภิกษุนาตั่งของสงฆ์ไปตัง้ ใช้ในที่แจ้ง จะหลีกไปสู่วดั อื่นต้องทาอย่างไรจึงจะไม่เป็ นอาบัติ?
ตอบ ต้องเก็บด้วยตนเอง หรือใช้ให้ผอู้ ื่นเก็บ หรือมอบหมายให้ผอู้ ื่นจึงจะไม่เป็ นอาบัติ ฯ
(ปี 44) ภิกษุนา เตียง ตั่ง ฟูก เก้าอี ้ ของสงฆ์ ไปใช้ในที่แจ้งแล้ว ครัน้ หลีกไปจากที่นนั้ ไม่เก็บหรือไม่มอบหมายให้ผอู้ ื่ นเก็บให้
เรียบร้อย ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื่นในวัด ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? ตอบ ต้องอาบัติ
ปาจิตตีย ์ ฯ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่มีกิจรีบด่วน ฯ
• ภิกษุพรากของเขียวซึ่งเกิดอยู่กบั ที่ ให้หลุดจากที่ ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ ภูตคามวรรค)
(ปี 43) ภิกษุยกผักตบชวาที่ลอยอยู่ในแม่นา้ มาไว้ในสระจะต้องอาบัติอะไร?
ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ถือการยกออกจากที่เดิมเป็ นประมาณ ผักตบชวาจะตายหรือไม่ ไม่สาคัญ
• ภิกษุฉนั ของเคีย้ วของฉันที่เป็ นอาหารในเวลาวิกาล คือ ตัง้ แต่เที่ยงแล้วไปจนถึงวันใหม่ ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ โภชนวรรค)
(ปี 53) ภิกษุ ก อาพาธ ได้รบั คาแนะนาให้ฉนั อาหารในเวลาวิกาลเพื่อช่วยให้หายป่ วยเร็ว แล้วฉันตามคาแนะนานัน้ มีวินจิ ฉัยตาม
พระวินยั อย่างไร? ตอบ มีวินิจฉัยว่า ภิกษุ ก ต้องอาบัติปาจิตตีย ์
• ภิกษุกลืนกินอาหารที่ยงั ไม่มีผูใ้ ห้ คือ ยังไม่ได้รบั ประเคนให้ล่วงช่องปากเข้าไป ต้องปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่นา้ และไม้สีฟัน (ในปาจิตตีย ์
โภชนวรรค)
(ปี 52) ลักษณะการประเคนประกอบด้วยองค์อะไรบ้าง? การช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึน้ ประเคนก็ดี การจับผ้าปูโต๊ะประเคนก็ดี ทัง้ ๒
วิธีนถี ้ กู ต้องหรือไม่? เพราะเหตุไร?
ตอบ ลักษณะการประเคน ประกอบด้วยองค์ต่อไปนี ้
๑.ของที่จะพึงประเคนนัน้ ไม่ใหญ่โต หรือหนักเกินไป พอคนปานกลางยกได้คนเดียว
๒.ผูป้ ระเคนเข้ามาอยู่ในหัตถบาส (บ่วงมือ หรือที่ใกล้ตวั นั่งห่างกันไม่เกิน ๑ ศอก)
๓.เขาน้อมเข้ามา
๔.กิรยิ าที่นอ้ มเข้ามาในนัน้ ด้วยกายก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกายก็ได้ ด้วยโยนให้ก็ได้
๕.ภิกษุรบั ด้วยกายก็ได้ ด้วยของเนื่องด้วยกายก็ได้
การช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึน้ มาประเคนก็ดี การจับผ้าปูโต๊ะประเคนก็ดี ทัง้ ๒ วิธีไม่ถกู ต้อง เพราะไม่ตอ้ งลักษณะองค์ประเคน การ
ช่วยกันยกโต๊ะอาหารขึน้ มาประเคนผิดลักษณะองค์ท่ี ๑ และการจับผ้าปูโต๊ะประเคนผิดลักษณะองค์ท่ี ๓
• ภิกษุขอปั จจัย ๔ ต่อผู้ทปี่ วารณาไว้ ถ้าเขาปวารณาโดยมีกาหนดเวลา พึงขอได้เพียงกาหนดเวลานัน้ แต่ถา้ เขาปวารณาโดยไม่ได้
กาหนดเวลา พึงขอได้เพียง ๔ เดือนเท่านัน้ เว้นไว้แต่เขาปวารณาอีก หรือปวารณาเป็ นนิตย์ (ในปาจิตตีย ์ อเจลกวรรค)
(ปี 55) ภิกษุขอปั จจัย ๔ ต่อผูท้ ่ปี วารณาไว้ มีพระพุทธานุญาตให้ปฏิบตั ิอย่างไร?
ตอบ ให้ปฏิบตั ดิ งั นี ้ ถ้าเขาปวารณาโดยมีกาหนดเวลา พึงขอได้เพียงกาหนดเวลานัน้ แต่ถา้ เขาปวารณาโดยไม่ได้กาหนดเวลา พึงขอ
ได้เพียง ๔ เดือนเท่านัน้ เว้นไว้แต่เขาปวารณาอีก หรือปวารณาเป็ นนิตย์ ฯ

18 | P a g e
คนปวารณา(คนบอกให้ขอปัจจัยเมื่อต้องการ) จาแนกอธิบาย ๔ อย่างดังนี ้
๑.ปวารณากาหนดปั จจัย หมายความว่า ปวาณาที่กาหนดชนิดสิ่งของ เช่น จีวร หรือ บิณฑบาตเป็ น หรือกาหนดจานวนสิ่งของ
เช่น ผ้ากี่ผืน บิณฑบาตมีราคาเท่าไร เป็ นต้น (ข้อนีเ้ คยออกข้อสอบถามความหมาย)
๒.ปวารณากาหนดกาล
๓.ปวารณากาหนดทัง้ ๒ อย่าง
๔.ปวาณาไม่กาหนดทัง้ ๒ อย่าง
(ปี 51) คาว่า ปวารณากาหนดปัจจัย หมายความว่าอย่างไร?
ตอบ หมายความว่า ปวารณาที่กาหนดชนิดสิ่งของ เช่นจีวร หรือบิณฑบาตเป็ นต้น หรือกาหนดจานวนสิ่งของ เช่น ผ้ากี่ผืน
บิณฑบาตมีราคาเท่าไร เป็ นต้น ฯ
• ภิกษุให้ของเคีย้ วของฉันแก่นกั บวชนอกศาสนา ด้วยมือของตนต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ อเจลกวรรค)
(ปี 48) บุคคลที่เรียกว่า ปริพาชก และ ปริพาชิกา คือใคร? ภิกษุให้ของเคีย้ วก็ดี ของกินก็ดี แก่บคุ คลเหล่านัน้ อย่างไรเป็ นอาบัตแิ ละ
อย่างไรไม่เป็ นอาบัติ? ตอบ ปริพาชก คือนักบวชผูช้ ายนอกพระพุทธศาสนา ปริพาชิกา คือนักบวชผูห้ ญิงนอกพระพุทธศาสนา ฯ ให้
ด้วยมือของตนต้องอาบัติปาจิตตีย ์ สั่งให้ให้ก็ดี วางให้ก็ดี ไม่เป็ นอาบัติ ฯ
• ภิกษุซ่อนบริขาร คือ บาตร จีวร ผ้าปูน่ัง กล่องเข็ม ประคดเอว สิ่งใดสิ่งหนึง่ ของภิกษุอื่น ด้วยคิดว่าจะล้อเล่น ต้องปาจิตตีย ์
(ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
• ภิกษุได้จวี รใหม่ ต้องพินทุ (ทาวงกลมๆ เหมือนหยาดนา้ ) ด้วยสี ๓ อย่าง คือ เขียวคราม โคลน ดาคลา้ อย่างใดอย่างหนึ่งก่อน จึงนุ่ง
ห่มได้ ถ้าไม่ทาพินทุก่อนแล้วนุ่งห่ม ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
(ปี 62 ,45) จีวร ผ้านิสีทนะ อังสะ ผ้าเช็ดหน้า ย่ามผ้า เมื่อจะใช้สอย อย่างไหนควรพินทุ อย่างไหนไม่ควร? เพราะเหตุใด?
ตอบ จีวร และอังสะ ควรพินทุ เพราะใช้ห่ม
ผ้านิสีทนะ ผ้าเช็ดหน้า และย่ามผ้า ไม่ตอ้ งพินทุ เพราะไม่ได้ใช้นงุ่ ห่ม ฯ
(ปี 48) เมื่อภิกษุได้จีวรใหม่มา ก่อนที่จะนุ่งห่ม ต้องทาพินทุดว้ ยสี ๓ สี อย่างใดอย่างหนึ่ง คือสีอะไรบ้าง?
(ปี 43) คาว่า “พินทุกปั ปะ” คืออะไร?
ตอบ คือการทาให้เสียสี (วัตถุสาหรับทาให้เสียสี คือเขียวคราม โคลน ดาคลา้ ทาให้เป็ นจุดวงกลมใหญ่เท่าแววตานกยูง เล็กเท่าหลัง
ตัวเรือด)
• ภิกษุ(เอานิว้ ) จีภ้ ิกษุ ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
• ภิกษุวา่ ยนา้ เล่น ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
• ภิกษุหลอนภิกษุให้กลัวผี ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สุราปานวรรค)
• ฆ่าสัตว์เดรัจฉานให้ตาย ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สัปปาณวรรค)
• น้อมมาเพื่อบุคคลอื่น เป็ นอาบัตปิ าจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สหธรรมิกวรรค)
• โจทด้วยอาบัติท่ไี ม่ใช่ปาราชิก เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สหธรรมิกวรรค)
• ภิกษุอื่นท่องปาติโมกข์อยู่ ภิกษุแกล้งพูดให้เธอคลายอุตสาหะ ต้องปาจิตตีย ์ (ในปาจิตตีย ์ สหธรรมิกวรรค)

19 | P a g e
(ปี 49) ภิกษุกาลังฟั งพระปาฏิโมกข์อยู่ กล่าวขึน้ ว่า “จะสวดไปทาไม ฟั งก็ไม่รูเ้ รื่อง น่าเบื่อน่าราคาญ” เช่นนีต้ อ้ งอาบัติอะไร? เพราะ
เหตุไร? ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ฯ เพราะก่นสิกขาบท
• ภิกษุเข้าบ้านไม่บอกลาภิกษุอื่นผูม้ ีอยู่ในอาวาสในเวลาวิกาล (ตัง้ แต่หลังเที่ยงวันไป) เป็ นอาบัติปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่มีกิจด่วน (ใน
ปาจิตตีย ์ รตนวรรค)
(ปี 62 ,44) ภิกษุเข้าบ้านในเวลาวิกาล โดยไม่บอกลาภิกษุอื่นที่มอี ยู่ในวัด ต้องอาบัติอะไรหรือไม่ ?
ตอบ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่มีกจิ รีบด่วน ฯ
(ปี 55) ภิกษุเข้าบ้านโดยไม่ได้บอกลาภิกษุอื่นผูม้ ีอยู่ในอาวาส ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? จงอธิบาย
ตอบ ถ้าเข้าบ้านในเวลาที่เป็ นกาล ตัง้ แต่เช้าถืงเวลาก่อนเที่ยงวัน ไม่ตอ้ งอาบัติ ถ้าเข้าบ้านในเวลาวิกาล คือตัง้ แต่หลังเที่ยงวันไป
ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่มกี จิ ด่วน (หรือผูอ้ ยู่ในนิสสัย)
• ภิกษุทาผ้าอาบนา้ ฝน พึงทาให้ได้ประมาณ ๆ นัน้ ยาว ๖ คืบพระสุคต กว้าง ๒ คืบครึง่ ถ้าทาให้เกินกาหนดนี ้ ต้องปาจิตตีย ์ ต้องตัด
ให้ได้ประมาณเสียก่อน จึงแสดงอาบัติตก (ในปาจิตตีย ์ รตนวรรค)
(ปี 50) ผ้าอาบนา้ ฝนมีกาหนดขนาดไว้เท่าใด? ถ้าทาเกินกว่าขนาดนัน้ ต้องอาบัติ ก่อนจะแสดงอาบัตินนั้ ต้องทาอย่างไร?
ตอบ ยาว ๖ คืบ กว้าง ๒ คืบครึง่ โดยคืบพระสุคต ฯ ต้องตัดให้ได้ขนาดเสียก่อน
• ภิกษุรบั นิมนต์ไปฉันโภชนะทัง้ ๕ แล้ว จะไปในที่อื่นจากที่นิมนต์นนั้ ในเวลาก่อนฉันก็ดี ฉันกลับมาแล้วก็ดี ต้องลาภิกษุท่มี ีอยูใ่ นวัด
ก่อนจึงจะไปได้ ถ้าไม่ลาก่อนเที่ยวไป ต้องปาจิตตีย ์ เว้นไว้แต่สมัย คือ จีวรกาล(คราวถวายจีวร) และเวลาทาจีวร(เวลาตัดจีวร) (ใน
ปาจิตตีย ์ อเจลกวรรค)
(ปี 50) ภิกษุรบั นิมนต์แล้ว จะไปที่อื่นก่อนหรือหลังฉัน ต้องปฏิบตั อิ ย่างไร? ถ้าไม่ทาเช่นนัน้ ต้องอาบัติอะไร?
ตอบ ต้องปฏิบตั ิอย่างนี ้ คือ ต้องบอกลาภิกษุอื่นก่อน ฯ ต้องอาบัติปาจิตตีย ์ ฯ

ปาฏิเทสนียะ ไม่ออกข้อสอบ

ทุกกฏ
• พระภิกษุจบั ต้องวัตถุอนามาสโดยไม่มีความกาหนัด เป็ นอาบัติทกุ กฏ
(ปี 55) ภิกษุจบั ต้องกายมารดาในเวลาพยาบาลไข้ดว้ ยจิตกตัญญู ปรับเป็ นอาบัติทกุ ฏผิดหรือถูก เพราะเหตุไร?
ตอบ เป็ นอาบัติทกุ กฏ เพราะมารดาเป็ นวัตถุอนามาส
• น้อมมาเพื่อเจดียแ์ ละเพื่อสงฆ์หมูอ่ ื่น เป็ นอาบัติทกุ กฏ
• ภิกษุลกั ทรัพย์ มีราคาตัง้ แต่ ๑ มาสกลงมา เป็ นเหตุให้ตอ้ งอาบัตทิ กุ กฏ
• ภิกษุซ่อนบริขารอื่น(ไม่ใช่บาตร จีวร ผ้าปูน่งั กล่องเข็ม ประคดเอว) หรือซ่อนของอนุปสัมบัน(ผูไ้ ม่ใช่ภิกษุ) เป็ นทุกกฏ
• ภิกษุมีความกาหนัดจับต้องกายบุรุษ จับต้องสัตว์ดิรจั ฉานทัง้ เพศผูเ้ พศเมีย ต้องทุกกฏ
• ฝื นคาที่รบั ปากเขาไว้ เรียกว่า ปฏิสสวะทุกกฏ อาบัติทกุ กฏ
(ปี 45) ปฏิสสวะทุกกฏ คืออะไร?ตอบคืออาบัติทกุ กฏที่เกิดจากการรับคาด้วยจิตบริสทุ ธิ์ แต่ภายหลังไม่ได้ทาตามคาที่รบั ปากไว้ฯ

20 | P a g e
เสขิยวัตร ๗๕
• ภิกษุน่งั พูดเสียงดังในบ้านจะต้องอาบัติทกุ กฏ (ในเสขิยวัตร สารูป)
(ปี 55) ภิกษุน่งั ในบ้านพูดเสียงดังจะต้องอาบัติอะไร?
• ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราจักนุ่งห่มให้เรียบร้อย (ในเสขิยวัตร สารูป)
(ปี 60 ,45) การนุง่ เป็ นปริมณฑล คือการนุ่งอย่างไร?
ตอบ คือ นุ่งเบือ้ งบนปิ ดสะดือ แต่ไม่ถึงกระโจมอก เบือ้ งล่างปิ ดหัวเข่าทัง้ ๒ ลงมาเพียงครึง่ แข้ง ไม่คลุมข้อเท้า ฯ
• เราจักไม่เอามือคา้ กายนั่งในบ้าน จะต้องอาบัติทกุ กฏ (ในเสขิยวัตร สารูป)
(ปี 50) หมวดสารูปในเสขิยวัตร ว่าด้วยเรื่องอะไร ? ข้อว่า “ไม่เอามือคา้ กายนั่งในบ้าน” คือไม่ทาอย่างไร ?
ตอบ ว่าด้วยธรรมเนียมควรประพฤติในเวลาเข้าบ้าน ฯ คือ ไม่น่งั เท้าแขนข้างเดียวก็ตาม สองข้างก็ตามในบ้าน ฯ
• เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสงั ยุต)
(ปี 63, 61 ,58) ในการรับบิณฑบาต ภิกษุพงึ ปฏิบตั ิอย่างไรจึงถูกต้องตามเสขิยวัตร ? จงตอบมาเพียง ๒ ข้อ
ตอบ รับโดยเคารพ แลดูแต่ในบาตร รับแกงพอสมควรแก่ขา้ วสุก รับแต่พอเสมอขอบปากบาตร ฯ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้ อ)
(ปี 53) ข้อว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ นัน้ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบ มีอธิบายว่า รับโดยแสดงความเอือ้ เฟื ้ อ ในบุคคลผูใ้ ห้ ไม่ดหู มิ่น และให้แสดงความเอือ้ เฟื ้ อในของที่เขาให้ ไม่ทาดังรับเอามา
เล่นหรือเอามาทิง้ เสีย ฯ
(ปี 45) เสขิยวัตรว่าด้วยการรับบิณฑบาตมีหลายข้อ จงระบุมาเพียง ๒ ข้อ
ตอบ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้อ) ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตโดยเคารพ
ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เมื่อรับบิณฑบาต เราจักแลดูแต่ในบาตร
ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราจักรับแกงพอสมควรแก่ขา้ วสุก
ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราจักรับบิณฑบาตแต่พอเสมอขอบปากบาตร ฯ
• ภิกษุพึงทาความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสงั ยุต)
(ปี 47) ข้อว่า ภิกษุพงึ ทาความศึกษาว่า เราจักฉันบิณฑบาตโดยเคารพ นัน้ มีอธิบายอย่างไร?
ตอบมีอธิบายว่าภิกษุฉนั บิณฑบาต แม้เป็ นของเลว ก็ไม่แสดงอาการวิการ คือฉันโดยปกติ และเมื่อฉัน ก็ไม่ฉนั พลางทากิจอื่นพลางฯ
• ภิกษุฉนั พลางทากิจอื่นพลาง ต้องอาบัติทกุ กฏ (ในเสขิยวัตร โภชนปฏิสงั ยุต)
(ปี 62 ,60) ภิกษุฉนั พลางพูดพลาง จะต้องอาบัติอะไรหรือไม่?
ตอบ พูดทัง้ ที่ยงั มีอาหารอยูใ่ นปาก ต้องอาบัติทกุ กฏ พูดไม่มีอาหารอยู่ในปาก ไม่ตอ้ งอาบัติ ฯ
(ปี 54) ภิกษุฉนั พลางทากิจอื่นพลาง ต้องอาบัติอะไรหรือไม่? ตอบ ต้องอาบัติทกุ กฏ
• ภิกษุผไู้ ม่ไข้ ถ่ายอุจจาระ ถ่ายปั สสาวะ และบ้วนนา้ ลายลงในของเขียว และในนา้ จะต้องอาบัติทกุ กฏ (ในเสขิยวัตร ปกิณกะ)
(ปี 55) ในเสขิยวัตรมีสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัตใิ ห้ภิกษุช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมโดยอนุโลมไว้อย่างไร?

ทุพภาสิต พูดไม่ได้เพ่งความเจ็บใจ หรือความอัปยศ พูดล้อเล่น แต่กระทบวัตถุ มีชาติเป็ นต้น กับอุปสัมบันก็ตาม กับอนุปสัมบันก็ตาม


พูดเจาะตัวก็ตาม พูดเปรยก็ตาม เป็ นทุพภาษิต ไม่ออกข้อสอบ

21 | P a g e

You might also like