You are on page 1of 168

คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 1 …………………………………….

……………

จํานวนและการบวก
การลบ การคูณ การหาร

จํานวนและตัวเลข
จํานวน คือ ปริมาณ สามารถบอกค่ามากน้ อย เปรียบเทียบกันได้ และเขียนแทนด้ วย
สัญลักษณ์ที เรียกว่า ตัวเลข
เลขโดด ได้ แก่ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9

ค่ าประจําหลักของจํานวนในฐานสิบ
ค่าประจําหลักของตัวเลขในระบบฐานสิบ เป็ นดังนี
ค่ าประจําหลัก
หลัก ค่ าประจําหลัก ในรู ปเลขยกกําลัง
หน่ วย
สิบ
ร้ อย
พัน
หมืน
แสน
ล้ าน
สิบล้ าน
ร้ อยล้ าน
พันล้ าน
หมืนล้ าน
  

เพิมเติมเกียวกับเลขยกกําลัง
an = a  a  a  . . .  a (n ครั ง)
เช่น 54 = 5  5  5  5 = 625
25 = 2  2  2  2  2 = 32
35  36 = (3  3  3  3  3)  (3 3  3  3  3  3) = 311
710  74 = (7  7  7  7  7  7  7  7  7  7  7)  (7  7  7 7) = 76

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 2 …………………………………….……………

ค่ าของตัวเลขตามค่ าประจําหลัก


ค่าของตัวเลขตามค่าประจําหลัก เท่ากับ ตัวเลขโดดในหลักนันคูณกับค่าประจําหลัก

ตัวอย่ าง 1 จงหาค่าของเลขโดดในจํานวน 5,890,142,078

8 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………


7 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
0 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
2 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
4 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
1 อยู่ในหลัก ………………. มีคา่ เป็ น ………………………………………………
0 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
9 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
8 อยู่ในหลัก ……………… มีคา่ เป็ น ………………………………………………
5 อยู่ในหลัก ……………... มีคา่ เป็ น ………………………………………………

จากการหาค่าของเลขโดดตามค่าประจําหลัก ข้ างต้นจงตอบคําถามต่อไปนี
1. ในจํานวนดังกล่าว เลข 8 ทังสองตัวในจํานวนดังกล่าวมีคา่ เท่ากันหรื อไม่
ตอบ………………………………….………………………………….………
2. ในจํานวนดังกล่าวเลข 0 ทังสองตัวในจํานวนดังกล่าวมีคา่ เท่ากันหรื อไม่
ตอบ………………………………….………………………………….………
3. ในจํานวนดังกล่าว ค่าของเลข 4 เป็ นกีเท่าของเลข 2
ตอบ………………………………….………………………………….………
4. ในจํานวนดังกล่าว ค่าของเลข 5 ต่างจากค่าของเลข 9 ในจํานวนดังกล่าวอยู่เท่าใด
ตอบ………………………………….………………………………….………
ในจํานวนดังกล่าว ผลบวกของค่าเลข 8 ทังสองตัว ในจํานวนดังกล่าวเป็ นเท่าใด
ตอบ………………………………….………………………………….………
5. ในจํานวนดังกล่าว ค่าประจําหลักของ 5 เป็ นกีเท่าของค่าประหลักของ 2
ตอบ………………………………….………………………………….………

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 3 …………………………………….……………

การเขียนจํานวนในรูปการกระจาย
การเขียนจํานวนอยู่ในรูปการกระจาย เป็ นการเขียนจํานวนนันอยูใ่ นรูปการบวกของค่า
ตัวเลขในหลักต่าง ๆ

ตัวอย่ าง 2 จงเขียนจํานวนต่อไปนีอยูใ่ นรูปการกระจาย


1. 789,402 = ...………………………………………………………..
...…………………………………………………………..
2. 8,074,502 = ……..…………………………………………………..
………………………………………………………….
3. 1,005,008 = ..……………………….………………………………..
………………………………………………………….
4. 897,036,510 = ………………………………………………………….
………………………………………………………….
5. 9,050,406,054 = ……………………………………………………………
………………………………………………………….

 การเรียงลําดับจํานวน
การเปรียบเทียบจํานวนทีมีหลักไม่ เท่ ากัน : ใช้ หลักการว่า “จํานวนทีมีหลักมากกว่าจะ
มีคา่ มากกว่าจํานวนทีหลักน้ อยกว่า”
เช่น 54,042 > 9,999 เพราะ 54,042 มี 5 หลัก แต่ 9,999 มี 4 หลัก
การเปรียบจํานวนทีมีหลักเท่ ากัน : ใช้ หลักการเปรียบเทียบตัวเลขทีละหลัก จากด้ าน
ซ้ ายมือไปขวามือ ถ้ าเจอหลักแรกจากซ้ ายมือของจํานวนใดมีคา่ มากกว่าจํานวนนันจะมีคา่ มากกว่าอีก
จํานวนหนึงทันที
เช่น 54,042 > 54,024 เพราะ ในหลักสิบ 4 > 2

ตัวอย่ าง 3 จงเรียงลําดับจํานวนต่อไปนีจากจํานวนทีมีคา่ น้ อยไปมาก


1. 463,788 463,887 463,878
……………………………………………..………………………………………
2. 3,184,647 3,148,746 3,184,467 3,631,486
……………………………………………………………………………………..
3. 12,312,102 12,312,201 12,199,999 9,999,999
……………………………………………..………………………………………

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 4 …………………………………….……………

 การประมาณค่ า
การประมาณค่าของจํานวนให้ ใกล้ เคียงจํานวนเต็มจํานวนหนึง มีหลักการดังนี
ถ้ าต้ องการประมาณค่าใกล้เคียงจํานวนเต็มหลักใดๆ ให้ พิจารณาตัวเลขทีอยู่ติดด้ านขวาว่าเป็ น
ตัวเลขใด
– ถ้ าเป็ นตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 ไม่ต้องเพิมค่าตัวเลขในหลักทีต้ องการประมาณค่า
และเปลียนตัวเลขด้ านขวาของตัวเลขนันให้ เป็ นศูนย์ทงมดั
– ถ้ าเป็ นตัวเลข 5, 6, 7, 8, 9 ต้ องเพิมค่าตัวเลขในหลักทีต้ องการประมาณค่าอีก
หนึง(บวกหนึง)และเปลียนตัวเลขด้ านขวาของตัวเลขนันให้ เป็ นศูนย์ทงมดั

ข้ อควรจํา เราจะไม่ประมาณค่าตัวเลขทีเขียนสัญลักษณ์ตา่ งๆ เช่นบ้ านเลขที เบอร์โทรศัพท์


รหัสไปรษณีย์ หรือเลขทะเบียนรถยนต์

ตัวอย่ าง 4 จงเติมค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มตามทีกําหนดให้ สมบูรณ์

ค่าประมาณใกล้ จํานวนเต็ม
จํานวน หลักสิบ หลักร้ อย หลักพัน หลักหมืน
23
495
671
2,457
5,197
12,457
1,234,453
25,479,999
จํานวน หลักแสน หลักล้ าน หลักสิบล้ าน หลักร้ อยล้ าน
54,145,123
123,475,914
12,123,478
98,102,478
65,108,028
123,456,789

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 5 …………………………………….……………

ตัวอย่ าง 5 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จํานวน 32,456 ค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มสิบน้ อยกว่าค่าประมาณใกล้เคียง
จํานวนเต็มพันอยู่เท่าใด

2. จํานวน 1,789,457 ค่าประมาณใกล้เคียงจํานวนเต็มแสนน้ อยกว่าค่าประมาณ


ใกล้ เคียงจํานวนเต็มล้ านอยูเ่ ท่าใด

3. จงยกตัวอย่างจํานวนทีมีคา่ ประมาณใกล้ เคียงจํานวนเต็มสิบเป็ น 25,000 มา 3 จํานวน

4. จงยกตัวอย่างจํานวนทีมีคา่ ประมาณใกล้ เคียงจํานวนเต็มร้ อยเป็ น 25,000 มา 3 จํานวน

5. จงยกตัวอย่างจํานวนทีมีคา่ ประมาณใกล้ เคียงจํานวนเต็มพันเป็ น 25,000 มา 3 จํานวน

ตัวอย่ าง 6 จงหาคําตอบต่อไปนี
1. คุณแม่ต้องการซือเนือหมู 2 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 87 บาท และปลา 3 กิโลกรัม กิโลกรัม
ละ 43 บาท คุณแม่ต้องเตรียมเงินเป็ นจํานวนเต็มสิบ เป็ นจํานวนกีบาท

2. ตักนําใส่ตมุ่ ความจุขนาด 1,235 ลิตร ด้ วยถังนําความจุขนาด 15 ลิตร ต้ องตักอย่าง


น้ อยเป็ นจํานวนกีครังเต็มตุม่

3. รถบัสคันหนึงจุคนได้ 32 คน ถ้ าโรงเรียนแห่งหนึงมีนกั เรียน 907 คน ต้ องการไปทัศนะ


ศึกษาด้ วยรถบัสขนาดดังกล่าว จะต้ องเตรียมรถบัสอย่างน้ อยทังหมดกีคัน

4. ครูปิงไปกดเงินทีตู้ ATM ซึงในขณะนันมีเงินเหลืออยู่ในบัญชี 3,879.50 บาท และตู้


ATM เหลือเฉพาะธนบัตรใบละ 500 บาท ถ้ าครูปิงกดเงินออกมาทังหมด จะได้ ธนบัตร
จํานวนกีใบ

5. ต้ องการปูหญ้ าสนามห้ องขนาด 58  87 ตารางเมตร ด้ วยแผ่นหญ้ ารูปสีเหลียมผืนผ้ า


ขนาด 1.5  2 ตารางเมตร คนสวนจะต้ องเตรีมหญ้ าอย่างน้ อยทีสุดกีแผ่น

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 6 …………………………………….……………

การ บวก ลบ คูณ และ หาร


ให้ a, bและ c เป็ นจํานวนใดๆ
1. ความสัมพันธ์ภายในการบวกและการลบ
ถ้ า a + b = c แล้ ว a = c–b และ b = c–a
ถ้ า a – b = c แล้ ว a = c+b และ b = a–c

2. ความสัมพันธ์ระหว่างการคูณและการหาร
ถ้ า a  b = c แล้ ว a = cb และ b = ca
ถ้ า a  b = c แล้ ว a = cb และ b = ac

3. สมบัติของการบวก ลบ คูณ และหาร


(1) การสลับทีของการบวกและการคูณ :
a+b = b+a (สลับทีบวก)
ab = ba (สลับทีคูณ)
(2) การเปลียนกลุม่ ได้ ของการบวกและการคูณ :
(a + b) + c = a + (b + c) (เปลียนกลุม
่ บวก)
(a  b)  c = a  (b  c) (เปลียนกลุม
่ คูณ)
(3) การแจกแจงหรือการกระจายของการคูณ
(a  b) + (a  c) = a  (b + c) = (b + c)  a
(a  b) – (a  c) = a  (b – c) = (b – c)  a
(4) สมบัติเกียวกับ 0 และ 1
(4.1) ศูนย์บวกกับจํานวนใดๆ ได้ ผลลัพธ์เป็ นจํานวนนันเสมอ
(4.2) ศูนย์คณู กับจํานวนใดๆ ได้ ผลลัพธ์เป็ นศูนย์เสมอ
(4.1) หนึงคูณหรื อไปหารจํานวนใดๆ จะได้ ผลลัพธ์เป็ นจํานวนนันเสมอ
(5) สมบัติอืนๆทีควรจํา
(5.1) (a – b) – c = a – (b + c)
(5.2) (a – b) + c = a – (b – c)
(5.3) (a + b) – c = a + (b – c)
(5.4) (a  b)  c = (a  c)  (b  c)
(6) ความสัมพันธ์ระหว่างการหารและเศษเหลือ
ตัวตัง = (ผลลัพธ์  ตัวหาร) + เศษเหลือ

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 7 …………………………………….……………

ตัวอย่ าง 7 จงเติมคําตอบลงใน ให้ ถกู ต้ อง


(1) 12 + = 45 (2) + 48 = 79
(3) 217 – = 163 (4) – 132 = 26
(5) 839 + = 995 (6) + 378 = 1,114
(7) 817 – = 563 (8) – 832 = 1,026
(9) 12  = 408 (10)  21 = 105
(11) 207  = 23 (12)  25 = 1,000
(13) 112  = 784 (14)  19 = 475
(15) 200  = 25 (16)  14 = 210

ตัวอย่ าง 8 จงเติมคําตอบลงใน ให้ ถกู ต้ อง


(1) 3+7=7+ (2) 23  5 =  23
(3) + (8 + 9) = (7 + 8) + 9 (4) 6 (  3) = (612)3
(5) + 14 = 14 + 15 (6)  11 = 11  24
(7) 14 + (8 + ) = (14 + 8) + 7 (8) 9( 54  2) = (9  )2
(9) 7 (8 + 9) = (7 – 8) – 9 (10) 6 – 5 + 6 = 6 – (5 6)
(11) 3 + (2 – 1) = (3 + 2) 1 (12) 11 – 6 3 = 11–(6 + 3)
(13) (5  )+(  12) = 5  (10 + 12)
(14) (15  )–(  7) = (15 – 3)  7
(15) (23  ) + ( 17  9) = (23 + )9
(16) (  8) – (  2) =  (8 – 4)

ตัวอย่ าง 9 จงหาเลขโดดทีแทนด้ วยตัวแปรต่อไปนี เมือตัวแปรแตกต่างกันแทนด้ วยเลขโดดที


แตกต่างกัน
(1) ABC (2) A, 5 B 3 (3) A4B
CAB
+ ACD
– 2C5
+
8 3 7 A, 4 5 4 D 1E

(4) AAB (5) A, B 0 3 (6) ABC


BBC
+ ABC
– A

B, D D D A, 0 1 B 5 AB

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 8 …………………………………….……………

ตัวอย่ าง 10 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) 12 + 23 – 12 = …………………………………..
(2) 65 – 5  8 = …………………………………..
(3) 12  6 + 24  8 = …………………………………..
(4) 13 – 12 + 45 – 5 = …………………………………..
(5) 56  7  9  8 = …………………………………..
(6) 14 + 25 + 16 + 45 + 13 + 27 = …………………………………..
(7) 24,000  400 – 32,000  800 = …………………………………..
(8) 12  5 + 28  5 = …………………………………..
(9) 457  8 – 157  8 = …………………………………..
(10) 10 – 49,000  7,000 = …………………………………..
(11) 47  2 + 99  2 = …………………………………..
(12) 45  5 + 7  3 = …………………………………..
(13) (2,760 – 967)  35 = …………………………………..
(14) (12 + 14 + 9 + 11 + 16 + 8)  7 = …………………………………..
(15) 216  3,000  (47 + 123) = …………………………………..

 อนุกรมของจํานวน
สูตร 1 : ผลบวกจํานวนตังแต่ 1 ถึง n
n(n  1)
1+2+3+...+n =
2
สูตร 2 : ผลบวกของจํานวนคู่ n ตัวแรก (เริม ตังแต่ 2 ถึง m)
2 + 4 + 6 + . . . + m = n2 + n เมือ n = m  2
สูตร 3 : ผลบวกของจํานวนคี n ตัวแรก (เริม ตังแต่ 1 ถึง m)
1 + 3 + 5 + . . . + m = n2 เมือ n = (m+1)  2
สูตร 4 : ผลบวก m จํานวนของการบวกเพิมครังละ a เท่าๆกัน เท่ากับ
n
 (ต้ น + ปลาย) เมือ n = [ (ปลาย – ต้ น)  a ] + 1
2

ตัวอย่ าง 11 จงหาผลบวกต่อไปนี
(1) 1 + 2 + 3 + ... + 100 (2) 1 + 3 + 5 + ... + 113

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 9 …………………………………….……………

(3) 2 + 4 + 6 + ... + 88 (4) 4 + 8 + 12 + 16 + ... + 216

(5) 5 + 8 + 11 + 14 + ... + 83 (6) 100 + 105 +110 + … + 980

(7) 112 + 117 + 122 + ... + 232 (8) 11 + 13 + 15 + … + 179

 โจทย์ ปัญหาการบวก ลบ คูณและหาร


(1) โจทย์ทีมีความสัมพันธ์ของจํานวนมาก จํานวนน้ อย และส่วนต่าง จะได้ สตู รดังนี
มาก – น้ อย = ต่ าง, น้ อย + ต่ าง = มาก, มาก – ต่ าง = น้ อย

(2) โจทย์ทีต้ องการทราบจํานวนทีเหลืออยู่ จะได้ สตู รดังนี


มีอยู่ – ใช้ ไป = เหลือ, มีอยู่ – เหลือ = ไป, ใช้ ไป + เหลือ = มีอยู่
(3) โจทย์เกียวกับกําไร ขาดทุน จะได้ สตู รดังนี
ขาย – ซือ = กําไร, ซือ + กําไร = ขาย, ขาย – กําไร = ซือ
ซือ – ขาย = ขาดทุน, ซือ – ขาดทุน = ขาย, ขาย + ขาดทุน = ซือ

(4) การหาจํานวนเสา(ต้ น) เมือปั กตามแนวทีต้ องการ โดยกําหนดระยะห่างแต่ละต้นเท่าๆกัน


– ถ้ าปั กตามแนวแต่ตําแหน่งเริมต้ นปั กและตําแหน่งสุดท้ ายอยู่คนละทีกัน จะได้
จํานวนเสา (ต้ น) = (ระยะทีต้ องการปั ก  ระยะห่ างแต่ ละต้ น) + 1
– ถ้ าปั กตามแนวทีตําแหน่งเริมต้นปั กและตําแหน่งสุดท้ ายอยู่ทเดี
ี ยวกัน จะได้
จํานวนเสา (ต้ น) = ระยะทีต้ องการปั ก  ระยะห่ างแต่ ละต้ น

(5) การหาค่าเฉลีย
ค่ าเฉลีย = (จํานวนที 1 + จํานวนที 2 + … + จํานวนที n)  n

(6) การหาจํานวนเท่า จากคําถาม “A เป็ นกีเท่ าของ B”


จํานวนเท่ า = A  B (หน้ าตัง หลังหาร)

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 10…………………………………….……………

ตัวอย่ าง 12 จงเขียนประโยคสัญลักษณ์และหาคําตอบ
(1) เดือนพฤษภาคม แนน จ่ายเงินค่าอาหาร 1,650 บาท ค่าอุปกรณ์การเรียน 425 บาท
จ่ายค่าอืนๆอีก 536 บาท เดือนนีแนนมีคา่ ใช้ จ่ายรวมกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(2) สุพจน์มี 1,236 บาท ซึงมากกว่านิสาอยู่ 384 บาท ทังสองคนมีเงินรวมกันเท่าไร
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(3) ในฟาร์ มแห่งหนึง เลียงไก่ 225 ตัว เลียงเป็ ดมากกว่าไก่ 78 ตัว และเลียงนกน้ อยกว่าไก่
108 ตัว ในฟาร์ มแห่งนีเลียงสัตว์ทงหมดกี
ั ตัว
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(4) ครูพรมีรายได้ เดือนละ 12,500 บาท แบ่งเป็ นค่าใช้ จ่ายส่วนตัว 6,750 บาท ให้ ลกู
2,400 บาท ในแต่ละเดือนครูพรจะเหลือเงินเก็บเท่าไร
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(5) แม่นําเงินไปตลาดเพือซือของ 1,500 บาท โดยซือเนือหมู 3 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ
120 บาท ไข่ไก่ 4 โหล ราคาโหลละ 28 บาท และส้ ม 3 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 25
บาท คุณแม่จะได้ เหลือเงินกลับบ้ านกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(6) คุณพ่อมีเงินเดือนๆละ 29,000 บาท และใช้ จ่ายภายในบ้ าน 10,850 บาท/เดือน ใช่จ่าย
ส่วนตัว 5,460 บาท/เดือน ทีเหลือเป็ นเงินเก็บ ถ้ าคุณพ่อใช้ จ่ายเป็ นเช่นนีตลอดทังปี จะ
มีเงินเหลือเก็บกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(7) แดงและดํามีอายุมากกว่าเขียวอยู่ 4 และ 5 ปี ตามลําดับ ถ้ าทังสามคนมีอายุรวมกัน
ได้ 49 ปี แล้ วอายุของ ดํา แดง และเขียวกีปี
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(8) แม่ค้าซือส้ มมา 54 กิโลกรัม เป็ นเงิน 1,350 บาท เมือขายไปทังหมดได้ กําไร 270 บาท
แม่ค้าขายส้ มไปในราคากิโลกรัมละเท่าไร
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(9) แม่ค้าขายก๋วยเตียวชามละ 25 บาท วันหนึงขายได้ 112 ชาม และได้ กําไร 784 บาท
ลงทุนทําก๋วยเตียวต่อชามกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 11…………………………………….……………

(10) ต้ องการปั กเสาล้ อมรัวหน้ าบ้ านตามแนวถนนเป็ นระยะทาง 168 เมตร ห่างกันต้นละ 7
เมตร จะต้ องใช้ เสาทังหมดกีต้น
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(11) ต้ องการล้ อมรัวทีดินรูปสีเหลียมผืนผ้ า ขนาด 185  240 ตารางเมตร โดยปักเสารัวทัง
สีมุมของพืนทีและห่างกันต้นละ 5 เมตร จะต้ องใช้ เสาทังหมดกีต้ น
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(12) วารินสูงกว่าสาธิต 3 เซนติเมตร แต่เตียกว่านิสา 12 เซนติเมตร ถ้ าวารินสูง 145
เซนติเมตร เฉลียแล้ วเด็กแต่ละคนสูงคนละกีเซนติเมตร
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(13) ถังนําดืมมีนําอยู่เต็มถัง ใช้ ไปครังแรก 12 ลิตร แล้ วใช้ ไปอีกครังทีสอง 7 ลิตร ปรากฏว่า
เหลือนําอยูใ่ นถัง 11 ลิตร ถ้ าซือนํามาลิตรละ 2 บาทจะต้องจ่ายเงินซือนําถังนีกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(14) มีธนบัตรใบละ 500 บาท อยู่ 1,000 ใบ ธนบัตรใบละ 100 บาท อยู่ 120 ใบ และธนบัตร
ใบละ 10 บาท อยู่ 8 ใบ รวมเป็ นเงินกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(15) ชังส้ ม 2 เข่งพร้ อมกับเข่ง เข่งแรกหนัก 124 กิโลกรัม เข่งทีสองหนัก 147 กิโลกรัม ถ้ า
เข่งเปล่าๆหนักใบละ 3 กิโลกรัม จงหาว่าซือส้ มมากีกิโลกรัม
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(16) แยมสับปะรดโหลหนึงหนัก 2,170 กรัม ถ้ ามีแยมสับปะรดอยู่ครึงโหลจะหนัก 950 กรัม
ขวดโหลเปล่าทีใส่แยมนันหนักกีกรัม และแยมอย่างเดียวหนักกีกรัม
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(17) ขายรถจักรยานราคาคันละ 2,850 บาท ไปจํานวนหนึง แล้ วขายไปอีก 10 คัน ราคาคัน
ละ 2,300 บาท ต่อมาขายไปอีก 5 คัน ราคาคันละ 2,500 บาท ขายได้ เงินทังหมดรวม
64,000 บาท ขายจักรยานครังแรกได้ ทงหมดกี ั คัน
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………
(18) ซือลําไยมา 6 เข่ง ในราคาเข่งละ 450 บาท เมือนํามาชังและหักนําหนักเข่งออกไปแล้ ว
ปรากฏว่าลําไย 4 เข่ง หนักเข่งละ 12 กิโลกรัม ส่วนอีก 2 เข่ง หนักเข่งละ 13 กิโลกรัม
ถ้ าต้ องการขายให้ ได้กําไร 1,000 บาท จะต้ องขายไปในราคากิโลกรัมละกีบาท
ประโยคสัญลักษณ์ ……………….………………………… ตอบ ……………

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 12…………………………………….……………

แบบทดสอบ
จํานวนและการบวก ลบ คูณและหาร

คําชีแจ้ ง : จงเลือกคําตอบทีถูกต้ องทีสุด


1. ตัวเลขใดเป็ นตัวเลขในหลักหมืนของผลบวกระหว่าง 468,557 และ 296,086
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 6
2. ตัวเลขใดเป็ นตัวเลขในหลักหมืนของผลต่างระหว่าง 645,298 และ 296,086
ก. 9 ข. 5 ค. 4 ง. 3
3. จากจํานวน 8,132,615 ตัวเลขทีขีดเส้ นใต้ มีคา่ ต่างกันเท่าใด
ก. 132,615 ข. 132,610 ค. 99,990 ง. 99,910
4. จากจํานวน 612,457 มีคา่ ประจําหลักของเลข 1 เป็ นกีเท่าของค่าประจําหลักของเลข 5
ก. 10 ข. 100 ค. 1,000 ง. 10,000
5. จากจํานวน 1,234,567 ค่าประหลักของเลข 2 และ 4 ต่างกันอยู่เท่าใด
ก. 99,000 ข. 99,900 ค. 990,000 ง. 999,000
6. จากข้ อ 5. ผลรวมของค่าประจําหลักของเลขโดด 1, 3, 5 และ 7 มีคา่ เท่ากับข้ อใด
ก. 1,010,111 ข. 1,010,101 ค. 1,010,011 ง. 1,101,101
7. ค่าของเลข 7 ในหลักหมืนของจํานวน 675,731 เป็ นกีเท่าของเลข 7 ในหลักร้ อย
ก. 10 ข. 100 ค. 1,000 ง. 10,000
8. จากจํานวนในข้ อ 7. ค่าของเลข 6 เป็ นกีเท่าของค่าของเลข 3
ก. 40,000 ข. 30,000 ค. 20,000 ง. 10,000
9. ตัวเลข 4 ทีปรากฏในข้ อใดมีคา่ มากทีสุด
ก. 343,600 ข. 334,600 ค. 336,400 ง. 600,334
10. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. 350,628  2,387 > 2,843 ข. 852,731 = 438,560 + 426,231
ค. 436,195 < 348,501 + 278,362 ง. 762,832 – 680,340 > 155,512
11. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. (7 + 3)  5  (7  5) + (3  5) ข. (48  6)  2 = 48  (6  2)
ค. (48  6)  2 = (2  6)  48 ง. (87 – 39) – 13 = 87 – (39 – 13)
12. ข้ อใดต่อไปนีไม่ถก ู ต้ อง
ก. 74–(15+21) = (74–15)–21 ข. (45+20)5 = (455)+(205)
ค. 45(5+3) = (455)+(453) ง. 102–45+23 = 102–(45–23)

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 13…………………………………….……………

13. ตัวเลขในข้ อใดทีอ่านแบบเรียงตัว


ก. โทร. 5105680 และ พ.ศ. 2530 ข. ปณ. 1461 และอัตราดอกเบีย 12.5%
ค. เวลา 12.30 น. และ บ้ านเลขที 778/41 ง. กท. 4ง–1052 และ กรุงเทพ 10320
14. จํานวนใดทีนํามาคูณกับ 87 แล้ วรวมกับ 248 ได้ ผลลัพธ์ 4,163
ก. 44 ข. 45 ค. 48 ง. 51
15. พิจารณาข้ อความต่อไปนี
(1) 16 + (84 + 57) = 16 + 141 = 157
(2) (7  68) + 32 = 476 + 32 = 508
(3) 4  (5  76) = 20  76 = 1,520
ข้ อใดทีเป็ นสมบัติการเปลียนกลุม่
ก. ข้ อ (3) ข. ข้ อ (2) และ (3) ค. ข้ อ (1) และ (3) ง. ทังสามข้ อ
16. ข้ อใดไม่ถกู ต้ องเมือกําหนดให้ a และ b เป็ นจํานวนนับ
ก. ถ้ า a + 0 = b + 0 แล้ ว a = b ข. ถ้ า a  1 = b  1 แล้ ว a = b
ค. ถ้ า 1  0 = a  0 แล้ ว a = 0 ง. ถ้ า a  0 = b  0 แล้ ว a = b
17. กําหนดให้ 2n หมายถึง 2 คูณกัน n ครัง เช่น 23 = 222 และ
A = 21 + 22 + 23 + 24 + 25 + 26
B = 22 + 23 + 24 + 25 + 26 + 27
จงหาค่าของ B – A มีคา่ เท่าใด
ก. 12 ข. 62 ค. 126 ง. 254
18. กําหนดให้ a  b = (a  b) + 5 แล้ ว 4  7 เท่ากับข้ อใด
ก. 16 ข. 27 ค. 33 ง. 39
19. กําหนดให้ a  b = ab จงตรวจสอบข้ อใดเป็ นจริง
ก. 2  3 = 3  2 ข. 5  3 = 15
ค. (1 + 3)  2 = 16 ง. (6  1) – 6 = 6
20. ค่าประมาณใกล้ เคียงจํานวนเต็มล้ านของเงิน 201,453,810 บาท คือจํานวนในข้ อใด
ก. 8,050,008 ข. 858,000 ค. 805,008 ง. 850,008
21. เครือง ATM ของธนาคารจะจ่ายเงินให้ ผ้ เู บิกเงินเป็ นจํานวนเต็มร้ อยเท่านัน ถ้ าแก้ วมีเงินฝาก
เหลืออยู่ในบัญชี 1,498.50 บาท แล้ วแก้ วจะถอนเงินจากเครือง ATM ได้ มากทีสุดกีบาท
ก. 1,498.50 ข. 1,498.00 ค. 1,490.00 ง. 1,400.00
22. ผลต่างระหว่าง 11,900 กับ 6,587 แล้ วคูณด้ วย 8 จะได้ ผลลัพธ์ใกล้เคียงจํานวนใดมากทีสุด
ก. 42,000 ข. 43,000 ค. 44,000 ง. 45,000

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 14…………………………………….……………

23. จํานวนเต็มใกล้ เคียงกับ 643  100  4 มากทีสุดคือจํานวนใด


ก. 15,000 ข. 16,000 ค. 16,100 ง. 17,000
24. ผ้ าไหมราคาเมตรละ 229 บาท ถ้ าแพรวต้ องการซือผ้ าไหม 50 เมตร จะต้ องนําเงินอย่างน้ อย
ทีสุดประมาณกีบาทจึงจะพอดีซือผ้ าไหม
ก. 11,000 ข. 11,500 ค. 11,900 ง. 12,000
25. จํานวนใดข้ อใดทีมีคา่ ประมาณเป็ น 250,000
ก. 244,607 ข. 257,049 ค. 249,995 ง. 258,999
26. ค่าประมาณใกล้ เคียงจํานวนเต็มหมืนของจํานวน 216,147 ต่างจากค่าของจํานวนเดิมนีอยู่
เท่าใด
ก. 6,147 ข. 10,000 ค. 3,853 ง. 13,853
27. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. จํานวน 21,347 ประมาณค่าได้ เป็ น 21,400
ข. จํานวน 123,456 ประมาณค่าได้ เป็ น 123,450
ค. จํานวน 9,909 ประมาณค่าได้ เป็ น 9,000
ง. จํานวน 457,129 ประมาณได้ เป็ น 460,000
28. ผลบวกของ 1 + 2 +3 + . . . + 201 มีคา่ เท่าใด
ก. 19,800 ข. 20,000 ค. 20,100 ง. 20,301
29. ผลบวกของ 100 + 102 + 104 + . . . + 200 มีคา่ เท่าใด
ก. 8,650 ข. 8,560 ค. 7,650 ง. 7,560
30. จากการแสดงการลบจํานวนสองจํานวน
6 5AB
BA 56
ค่าของ A + B มีคา่ เท่าใด
B 0 87 ก. 3 ข. 4
ค. 6 ง. 7

31.
2 3, 5 A 9
จงหาผลลัพธ์จากการบวกและลบต่อไปนี
3 7, B 5 4 เมือ A, B และ C เป็ นตัวเลขทีแตกต่างกัน
C 1, 2 8 3 ก. 27,600 ข. 36,013
3 7, A B C ค. 34,013 ง. 24,007
.

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 15…………………………………….……………

32. จงหาค่าของ A + B + C + D
1 6 5 6
ก. 1,987 ข. 1,897
12 A B C D 4
…….
ค. 25 ง. 30

7 C
……
6 D
……
D 4
……
2

33. กําหนดให้ A และ B แทนจํานวนทีเป็ นจริงตาม


3 A
เงือนไขดังกล่าว ข้ อใดต่อไปนีผิด
9 B เศษ 2 ก. A = 15,072
1,674 เศษ 6 ข. B = 45,218
ค. A + B = 60,290
ง. ไม่มีข้อผิดเลย
34. สมใจมีเงินอยู่ 385 บาท ซือกระเป๋ าสตางค์ราคาใบละ 27 บาท จํานวน 3 ใบ และซือ
หนังสือเล่มละ 38 บาท จํานวน 2 เล่ม สมใจจะเหลือเงินกีบาท
ก. 228 ข. 304 ค. 309 ง. 320
35. ขายมะนาว 7 ลูก ราคา 5 บาท ได้ เงินมาทังหมด 90 บาท ถ้ าขายมะนาวลูกละบาท จะ
ได้ เงินทังหมดกีบาท
ก. 90 ข. 98 ค. 100 ง. 126
36. ฉันซือส้ มมา 5 เข่ง ขายไปวันแรกได้ เงิน 887 บาท วันทีสองขายส้ มทีเหลือได้ ทงหมด ั และ
ได้ เงินอีก 995 บาท ฉันได้ กําไรจากการขายส้ มครังนี 762 บาท และส้ มแต่ละเข่งหนัก 28
กิโลกรัม จงหาว่าฉันซือส้ มมาในราคากิโลกรัมละเท่าใด
ก. 8 บาท ข. ประมาณ 13 บาท ค. ประมาณ 19 บาท ง. 40 บาท
37. กําหนดเงินรางวัลให้ แก่ผ้ แู ข่งขันรางวัลที 1 เป็ นเงิน 10,625 บาท รางวัลที 2 เป็ นเงิน
9,880 บาท รางวัลที 3 เป็ นเงิน 7,550 บาท แต่ปรากฏว้ ามีผ้ ไู ด้ รับรางวัลที 2 ถึง 2 ราย
ส่วนรางวัลที 3 ไม่มีผ้ ไู ด้ รับ จะต้ องหาเงินรางวัลมาเพิมอีกกีบาท
ก. 2,330 ข. 19,760 ค. 27,695 ง. 30,025

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 16…………………………………….……………

38 ซือเงาะราคากิโลกรัมละ 7 บาท 25 กิโลกรัม และชนิดราคากิโลกรัมละ 6 บาท 32 กิโลกรัม


เมือนํามารวมกันแล้ วขายไปได้เงิน 652 บาท อยากทราบว่าได้ กําไรกีบาท
ก. 175 ข. 198 ค. 285 ง. 377
39. ซือผ้ าเทปหุ้มสันหนังสือมา 1 ม้ วน มีความยาว 12 หลา ต้ องการหุ้มสันหนังสือยาว 26
เซนติเมตร จะหุ้มสันหนังสือได้ ทงหมดกี
ั เล่ม ถ้ า 1 หลา ยาวประมาณ 90 เซนติเมตร
ก. 4 ข. 40 ค. 41 ง. 42
40. ถ้ าจํานวนสองจํานวนแรกมากกว่าจํานวนทีสามอยู่ 11 และ 13 ตามลําดับ และทังสามจํานวน
รวมกันได้ 102 แล้ วจํานวนมากเป็ นอันดับสองมีคา่ เท่าไร
ก. 24 ข. 26 ค. 37 ง. 39
41. ถ้ าเอ มีอายุมากว่า บี 4 ปี และ ซี อายุ น้ อยกว่า บี 7 ปี และทังสามคนอายุรวมกันได้ 57 ปี
ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. เอมีอายุ 27 ปี ข. บีมีอายุ 24 ปี ค. ซีมีอายุ 13 ปี ง. ถูกทุกข้ อ
42. จํานวนสองจํานวนบวกกันได้ 164 และต่างกันอยู่ 26 จงหาผลคูณของทังสองจํานวน
ก. 1,794 ข. 2,470 ค. 4,264 ง. 6,555
43 พีน้ องสองคนอายุตา่ งกัน 4 ปี และบวกกันได้ 30 ปี จงหาผลคูณของอายุพีน้ องสองคนนี
ก. 101 ข. 112 ค. 201 ง. 221
44. เดือนมกราคมมีผ้บู ริจาคเงิน 102,000 บาท เดือนกุมภาพันธ์มีผ้ บู ริจาคเงินมากเป็ น 2 เท่าของ
เดือนมกราคม ถ้ านําเงินทีบริจาคทัง 2 เดือน มอบให้ โรงเรียนละ 22,000 บาท 4 โรงเรียน
เท่าๆกัน จะเหลือเงินกีบาท
ก. 116,000 ข. 182,000 ค. 218,000 ง. 284,000
45. ขวดใบหนึงมียา 150 มิลลิลิตร ถ้ ารับประทานครังละ 1 ช้ อนชา วันละ 3 ครัง จะหมดในกีวัน
( 1 ช้ อนชา ประมาณ 5 มิลลิลิตร)
ก. 6 ข. 7 ค. 8 ง. 10
46. พ่อค้ าซือส้ มหนึงเข่งราคา 75 บาท เมือแยกขนาดจะได้ ส้มขนาดเล็ก 5 กิโลกรัม ขนาดกลาง
6 กิโลกรัม และขนาดใหญ่ 4 กิโลกรัม ถ้ าขายส้ มขนาดเล็กราคาเท่าทุน ส้ มขนาดกลาง
กิโลกรัมละ 8 บาท และส้ มขนาดใหญ่กิโลกรัมละ 10 บาท เมือขายส้ มหมดจะได้ กําไรเท่าไร
ก. 36 ข. 38 ค. 40 ง. 50
47. ซือลําไย 40 กิโลกรัม ๆ ละ 12 บาท เน่าไป 4 กิโลกรัม ทีเหลือขายราคากิโลกรัมละ 25
บาท เขาได้ กําไรหรือขาดทุนกีบาท
ก. กําไร 420 บาท ข. กําไร 480 บาท
ค. ขาดทุน 420 บาท ง. ขาดทุน 480 บาท

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 17…………………………………….……………

48. แม่มีอายุเป็ น 5 เท่าของอายุลกู พ่อมีอายุมากกว่าแม่ 10 ปี ถ้ าสมศรีมีอายุ 7 ปี พ่อ แม่ ลูก


สามคนนีจะมีอายุรวมกันกีปี
ก. 97 ข. 55 ค. 80 ง. 87
49. แม่ค้าวางกล้ วยไว้ เป็ นกอง กองละ 30 หวี เมือนับรวมกันทังหมดมีกล้ วย 120 หวี แต่ละกอง
มีกล้ วยสุกกองละ 10 หวี จงหาจํานวนกล้ วยดิบทังหมดกีหวี
ก. 40 ข. 50 ค. 60 ง. 80
50. ราคาขายบ้ านหลังหนึงถ้ าซือด้ วยเงินสดเป็ นเงิน 1,599,000 บาท แต่ถ้าซือแบบผ่อนชําระ
จะต้ องจ่ายเงินในวันตกลงสัญญาซือขายเป็ นเงิน 500,000 บาท ทีเหลือผ่อนชําระเดือนละ
32,000 บาท เป็ นเวลานาน 50 เดือน ราคาขายแบบผ่อนชําระมากกว่าราคาเงินสดกีบาท
ก. 501,000 ข. 51,100,000 ค. 2,100,000 ง. 3,699,000
51. ค่าโดยสารรถรับจ้ างมี 2 แบบ ดังนี
แบบที 1 : ค่าโดยสาร 2 กิโลเมตรแรกราคา 35 บาท 10 กิโลเมตรถัดไปราคากิโลเมตรละ
5 บาท ระยะทางต่อไปราคากิโลเมตรละ 4 บาท

แบบที 2 : ค่าโดยสารกิโลเมตรแรก 20 บาท กิโลเมตรต่อๆไป ราคากิโลเมตรละ 6 บาท


จงเปรียบเทียบค่าโดยสารทัง 2 แบบ เมือโดยสารเป็ นระยะทาง 27 กิโลเมตร
ก. แบบทีหนึงแพงกว่าแบบทีสอง 4 บาท ข. แบบทีสองแพงกว่าแบบทีหนึง 31บาท
ค. แบบทีหนึงเท่ากับแบบทีสอง ง. โจทย์ให้ ข้อมูลไม่เพียงพอเพือคําตอบ
52. ในการลงทุนซือหนังสือมาขายราคาทุนของหนังสือมีตงแต่ ั เล่มละ 20 บาท ถึง 50 บาท ราคา
ขายมีตงแต่
ั ราคาเล่มละ 25 บาท ถึง 58 บาท เมือขายหนังสือได้ 8 เล่ม อาจจะได้ กําไร
สูงสุดกีบาท
ก. 40 ข. 64 ค. 264 ง. 304
53. เดียวนีลําดวนล้ างจานด้ วยวิธีรองนําใส่กะละมังครังละ 8 ลิตร จํานวนสองครัง เมือก่อน
ลําดวนล้ างจานโดยเปิ ดก๊ อกตลอดเวลานาน 5 นาที จึงล้างเสร็จ ถ้ า 1 นาที นําไหลออก 9
นาที ลําดวนประหยัดนําได้ กีลิตร
ก. 61 ข. 45 ค. 29 ง. 16
54. ถ้ าองค์การโทรศัพท์คิดค่าเช่ารักษาเครืองเดือนละ 100 บาท และค่าโทรศัพท์ทางไกลนาทีละ
12 บาท ตลอดเวลา 6 เดือน สุภาพรใช้ โทรศัพท์ทางไกลเป็ นเวลาทังหมด 50 ชัวโมง สุภาพร
จะต้ องจ่ายเงินให้ องค์การโทรศัพท์ทงหมดกี
ั บาท
ก. 30,600 ข. 32,100 ค. 36,100 ง. 36,600

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 18…………………………………….……………

55. ไวรัสชนิดหนึงขยายพันธ์เป็ น 3 เท่าทุกๆ 20 นาที เมือเวลาผ่านไประยะหนึง มีไวรัสชนิดนีอยู่


70,000 ตัว อีกนานเท่าไรจึงจะมีไวรัส 1,890,000 ตัว
ก. 27 นาที ข. 1 ชัวโมง ค. 1 ชัวโมง 20 นาที ง. 5 ชัวโมง
56. ในการทํางานกลุม่ มีสมาชิกกลุม่ ทังหมด 4 คน ถ้ าทุกคนมีสิทธิได้ รับเลือกเป็ นหัวหน้ าหรือเป็ น
รองหัวหน้ า จะมีการจับคูห่ วั หน้ าและรองหัวหน้ าได้ ทงหมดกี
ั คู่
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 12
57. จากรายงานทางวิชาการพบว่าอายุเฉลียของคนเท่ากับ 70 ปี เมือแบ่งเวลาทีใช้ สําหรับกิจกรรม
ต่างๆ ปรากฏดังนี ทํางาน 19 ปี เทียว 9 ปี กินและดืม เท่ากับ เดินทาง ซึงต่างก็เท่ากับ 6
ปี แต่งกาย 2 ปี ทํากิจกรรมทางศาสนา 1 ปี เจ็บป่ วยเป็ น 2 เท่าของการแต่งกาย ทีเหลือคือ
เวลาทีใช้ กบั การนอน คนทีมีอายุ 70 ปี ใช้ เวลานอนกีปี
ก. 21 ข. 23 ค. 27 ง. 29
58. ผู้โดยสารรถแท็กซีมิเตอร์รายหนึง ถึงจุดหมายปลายทางโดยใช้ เวลา 10 นาที เขาต้ องจ่ายค่า
โดยสาร 88 บาท ถ้ าอัตราค่าโดยสารตําสุด 35 บาทไปไกล 2 กิโลเมตร และ 5 กิโลเมตร
ต่อไปกิโลเมตรละ 5 บาท 10 กิโลเมตรถัดต่อไปกิโลเมตรละ 4.50 บาท และต่อๆไปกิโลเมตร
ละ 4 บาท นอกจากนีต้ องเสียเงินเพิมอีกนาทีละ 1 บาท ผู้โดยสารรายนีเดินทางไกลกี
กิโลเมตร
ก. 21 ข. 14 ค. 11 ง. 4
59. การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้ วยพระราชทาน ควีนส์คพั ครังที 24 มี 15 แมทช์ จัดการแข่งขัน 8
วัน ทีมชนะเลิศได้ รับเงินรางวัล 300,000 บาท ทีมรองชนะเลิศได้ รับเงิน 100,000 บาท นัก
เตะยอดเยียมได้ รับเงิน 50,000 บาท นักเตะทียิงประตูเร็วทีสุดได้ รับเงิน 10,000 บาท นักเตะ
ยอดเยียมประจําแมทช์ได้ รับเงิน 10,000 บาท เพือให้ มีรายได้ เพียงพอกับค่าใช้ จ่ายเป็ นเงิน
รางวัล โดยเฉลียแล้ วควรจัดการให้ มีรายได้ วนั ละกีบาท
ก. 76,250 ข. 58,750 ค. 50,000 ง. 40,667
60. ศิริพรซือผลไม้ เป็ นเงิน 4,274 บาท ขายขาดทุน 94 บาท ต่อมานําเงินทีขายได้ ไปซือส้ มได้
190 กิโลกรัม ถ้ าจะขายให้ ได้ กําไร 1,900 บาท จะต้ องขายส้ มในราคากิโลกรัมละกีบาท
ก. 10 ข. 22 ค. 32 ง. 54
61. รัวด้ านหนึงยาว 528 เมตร ต้ องการปลูกต้ นไม้ให้ แต่ละต้นมีระยะห่างเท่าๆกันให้ ได้ 23 ต้ น
โดยต้ นไม้ ต้นแรกและต้ นสุดท้ ายอยู่สดุ ปลายรัวพอดี จะต้องเว้ นระยะห่างระหว่างต้ นไม้ แต่ละ
ต้ นกีเมตร
ก. 25 ข. 24 ค. 23 ง. 22

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 19…………………………………….……………

62. โสภามีเงิน 1,000 บาท ซือห่านได้ 4 ตัว แต่ห่าน 1 ตัวมีราคาเท่ากับเป็ ด 2 ตัว และเป็ ด 3
ตัวมีราคาเท่ากับไก่ 5 ตัว ไก่ราคาตัวละกีบาท
ก. 65 ข. 70 ค. 75 ง. 80
63. เชียงใหม่ห่างจากรุงเทพฯ 720 กิโลเมตร พ่อขับรถจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหม่ด้วยความเร็ว
60 กิโลเมตรต่อชัวโมง ขากลับขับรถด้ วยความเร็ว 90 กิโลเมตรต่อชัวโมง โดยเฉลียแล้ วพ่อขับ
รถด้ วยความเร็วกีกิโลเมตรต่อชัวโมง
ก. 72 ข. 74 ค. 75 ง. 80
64. ร้ านขายอุปกรณ์ไฟฟ้าแห่งหนึง ติดราคาสินค้ าต่างๆ ไว้ ดงั นี
วิทยุ 2,390 บาท กล้ องถ่ายรูป 1,490 บาท
หม้ ออเนกประสงค์ 1,350 บาท กระติกนําไฟฟ้า 889 บาท
กระทะไฟฟ้า 799 บาท กล้ องส่องทางไกล 750 บาท
ถ้ ามานีมีเงิน 5,000 บาท และต้ องการซือสินค้ าให้ ได้ มากชนิด และเหลือเงินทอนน้ อยทีสุด
มานีจะเลือกซือสินค้ าใดได้ บ้าง
ก. หม้ ออเนกประสงค์ กระติกนําไฟฟ้า กล้ องถ่ายรูป กล้ องส่องทางไกล กระทะไฟฟ้า
ข. วิทยุ หม้ ออเนกประสงค์ กระทะไฟฟ้า กระติกนําไฟฟ้า
ค. กล้ องถ่ายรูป หม้ ออเนกประสงค์ กระทะไฟฟ้า กระติกนําไฟฟ้า
ง. วิทยุ กล้ องส่องทางไกล กระทะไฟฟ้า กระติกนําไฟฟ้า
65. พิทยาใช้ เวลาเดินทางจากบ้ านไปตลาดเพือซือสิงของทีต้ องการ โดยใช้ เวลาเดินทางไปกลับ
ทังหมด 1 ชัวโมง 15 นาที และซือสิงของทังหมดเป็ นเวลาครึงชัวโมง ถ้ าพิทยาเดินทางกลับ
มาถึงบ้ านเวลา 8.00 น. อยากทราบว่าพิทยาเริมเดินทางออกจากบ้ านเสลาเท่าไร
ก. 6.15 น. ข. 7.15 น. ค. 7.45 น. ง. 8.45 น.
66. ชมรมหนึงมีสมาชิก 354 คน กําหนดหมายเลขสมาชิกเป็ นหมายเลข 1 – 354 ชมรมนีแบ่ง
สมาชิกออกเป็ น 4 กลุม่ โดยจัดกลุม่ เรียงตามหมายเลขดังนี
กลุม่ ที 1 กลุม่ ที 2 กลุม่ ที 3 กลุม่ ที 4
หมายเลข 1 2 3 4
หมายเลข 5 6 7 8
หมายเลข …..… …….. …….. ………
ถ้ าสมาชิกเพิมขึนจนถึงทีหมายเลข 354 ควรจะจัดคนนีไว้ ในกลุม่ ใด
ก. กลุม่ ที 1 ข. กลุม่ ที 2 ค. กลุม่ ที 3 ง. กลุม่ ที 4
67. ผลบวกของเลขโดดจากผลคูณ 999,999,999  999,999,999 เป็ นเท่าใด
ก. 81 ข. 72 ค. 70 ง. 56

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 …………………………………… 20…………………………………….……………

68. นําเลข 0, 1, 2, 3, 8, 9 ไปเขียนจํานวนสามหลัก สองจํานวน โดยใช้ ตวั เลขทังหกตัวนีให้


ครบทุกตัวและให้ ผลต่างของจํานวนทีเขียนได้ มีคา่ น้ อยทีสุด จงหาผลต่างของจํานวนทังสองที
น้ อยทีสุดนัน
ก. 1 ข. 3 ค. 4 ง. 5
69. เลขโดดในแต่ละหลักของจํานวนหนึงมีคา่ เป็ น 200 70 5,000 และ 40,000 ผลบวกของ
เลขโดดทุกตัวของจํานวนนันมีคา่ เท่าใด
ก. 45,270 ข. 4,527 ค. 18 ง. 17
70. จํานวน 379 มีผลบวกของเลขโดดเป็ น 3 + 7 + 9 = 19
จํานวนสามหลักทีมีผลบวกของเลขโดดเป็ น 25 มีทงหมดกี ั จํานวน
ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6
แถม. จํานวนชุดหนึงจัดเรียงลําดับไว้ ดงั นี 1, 1, , , , , … ตังแต่จํานวนที
สามเป็ นต้นไป จะได้ จากการบวกของสองจํานวนทีอยู่ข้างหน้ า ผลบวกของจํานวนนี 7 จํานวน
แรกเป็ นเท่าใด
ก. 35 ข. 33 ค. 30 ง. 13

คําเตือน  จงขยันและอย่าย่อท้ อต่อความยากทีจะต้ องเจออีกต่อไป

……..……………………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 1 ...…………………………………………………

สมบัตขิ องจํานวนนับ

 จํานวนนับและการหารลง
จํานวนนับ คือ จํานวนเต็มทีมากกว่าศูนย์ได้ แก่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, …
การหารลงตัว คือ การหารทีมีเศษเหลือเป็ นศูนย์หรือเรียกว่าไม่มีเศษ เช่น
24  8 = 3 ไม่มีเศษ กล่าวได้ วา่ 8 หาร 24 ลงตัวเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 824
30  4 = 7 เศษ 2 กล่าวได้ วา่ 4 หาร 35 ไม่ลงตัวเขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 4 | 30
ตัวอย่ าง 1 จงตอบคําถามต่อไปนี
1) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 3 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
2) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 4 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
3) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 6 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
4) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 2 และ 3 ลงตัวมา 5 จํานวน
………………………………………………………………………………….
5) จงหาจํานวนนับเรียงต่อกันทีหารด้ วย 2 และ 3 ลงตัวแต่หารด้ วย 4 ไม่ลงตัวมา 5จํานวน
………………………………………………………………………………….

 สมบัตกิ ารหารลงตัว ให้ a, b และ c เป็ นจํานวนนับใดๆ


1. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ b หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร c ลงตัว
2. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ a หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร b  c ลงตัว
3. ถ้ า a หาร b ลงตัว และ a หาร c ลงตัว แล้ ว a หาร b  c ลงตัว
4. 2 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 2 หารเลขหลักหน่วยลงตัว (หลักหน่วยเป็ นเลขคู)่
5. 4 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 4 หารจํานวน 2 หลักสุดท้ ายหน่วยลงตัว
6. 8 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 8 หารจํานวน 3 หลักสุดท้ ายหน่วยลงตัว
7. 3 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 3 หารผลบวกของตัวเลขในแต่ละหลักลงตัว
8. 9 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 9 หารผลบวกของตัวเลขในแต่ละหลักลงตัว
9. 11 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ 11 หารผลต่างของตัวเลขในตําแหน่งคูแ่ ละคีลงตัว
10. 5 จะหารจํานวนใดลงตัว ก็ตอ ่ เมือ หลักหน่วยเป็ น 0 หรือ 5

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 2 ...…………………………………………………

ตัวอย่ าง 2 จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนี ถูก() หรือผิด ()


…………. (1) 2 หาร a ลงตัว และ a หาร b ลงตัว จะได้ วา่ 2 หาร b ลงตัวด้ วย
………….. (2) 5 หาร a ลงตัว และ 5 หาร b ลงตัว จะได้ วา่ 5 หาร a + b ลงตัว
………….. (3) a หาร b ลงตัว จะได้ วา่ b ก็หาร a ลงตัวด้ วย
………….. (4) 7 หาร a ลงตัว จะได้ วา่ 7 หาร a  a ลงตัว
………….. (5) 2 หารจํานวนทีลงท้ ายด้ วย 0, 2, 4, 6, 8 เสมอ
………….. (6) 4 หารจํานวน 8,999,123,014,507,012 ลงตัว
………….. (7) 8 หารจํานวน 1,888,111,888,111,188 ลงตัว
………….. (8) 3 หารจํานวน 1,271,901,875
………….. (9) 9 หารจํานวน 1,271,901,875
………….. (10) 11 หารจํานวน 4,184,312
………….. (11) 2 และ 3 หารจํานวน 12,450,678,008
………….. (12) a หาร b ลงตัว และ b หาร 35 แล้ ว a หาร 35 ลงตัวด้ วย

 ตัวประกอบของจํานวนนับ
ตัวประกอบ คือ จํานวนนับทีสามารถหารจํานวนนันได้ ลงตัว เราเรียกว่าเป็ นตัวประกอบของ
จํานวนนัน เช่น 2 เป็ นตัวประกอบของ 4 และจํานวนคูท่ กุ จํานวนมี 2 เป็ นตัวประกอบ , 5 เป็ นตัว
ประกอบของ 65 เป็ นต้น

ตัวอย่ าง 3 จงหาตัวประกอบทังหมดของจํานวนนับต่อไปนี
(1) ตัวประกอบของ 10 ได้ แก่ ………………………………………………..
(2) ตัวประกอบของ 24 ได้ แก่ ……………..…………………………………
(3) ตัวประกอบของ 21 ได้ แก่ …………….…………….……………………
(4) ตัวประกอบของ 13 ได้ แก่ …………….…………….……………………
(5) ตัวประกอบของ 36 ได้ แก่ ………………….………..……………………
(6) ตัวประกอบของ 48 ได้ แก่ ………………….……………………………..
(7) ตัวประกอบของ 64 ได้ แก่ ………………………..…….…………………
(8) ตัวประกอบของ 81 ได้ แก่ …………………..……….…...………………
(9) ตัวประกอบของ 97 ได้ แก่ ………………….……..………………………
(10) ตัวประกอบของ 100 ได้ แก่ …….……………………..……………………

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 3 ...…………………………………………………

ตัวอย่ าง 4 จงหาจํานวนนับจากเงือนไขต่อไปนี
(1) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 2, 4 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(2) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 2, 3 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(3) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 3, 4 เป็ นตัวประกอบ คือ………..………………….
(4) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 2, 3, 5 เป็ นตัวประกอบ คือ……………………………
(5) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมี 1, 3, 4, 6, 8 เป็ นตัวประกอบ คือ ….………………….
(6) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 2 ตัว คือ…...…………………….
(7) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 3 ตัว คือ…...……….……………
(8) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 4 ตัว คือ…...……………………
(9) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 5 ตัว คือ…...……………………
(10) จํานวนนับทีน้ อยทีสุด ซึงมีเป็ นตัวประกอบต่างกัน 6 ตัว คือ…..………..………….

 จํานวนเฉพาะและจํานวนประกอบ
จํานวนประกอบ คือ จํานวนทีมีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัว
เช่น 25 เป็ นจํานวนประกอบเพราะว่า 25 มีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัวได้ แก่ 1, 5, 25
8 เป็ นจํานวนประกอบเพราะว่า 8 มีตวั ประกอบมากกว่า 2 ตัวได้ แก่ 1, 2, 4, 8
จํานวนเฉพาะ คือ จํานวนทีมีตวั ประกอบเพียงสองตัวคือ1 และตัวมันเอง
เช่น 2 เป็ นจํานวนเฉพาะ เพราะว่า 2 มีตวั ประกอบ 2 ตัวได้ แก่ 1 และ 2
11 เป็ นจํานวนเฉพาะ เพราะว่า 11 มีตวั ประกอบ 2 ตัวได้ แก่ 1 และ 11

ตัวอย่ าง 5 จงพิจารณาว่าจํานวนต่อไปนีเป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่


(1) 2 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(2) 3 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(3) 5 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..
(4) 6 มีตวั ประกอบได้ แก่ …………………………… ดังนัน ………………..

ข้ อสังเกต (1) 1 ไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ


(2) ตัวประกอบของจํานวนนับใดๆมี 2 ชนิด คือ
(2.1) ตัวประกอบเฉพาะ คือ ตัวประกอบทีเป็ นจํานวนเฉพาะ
(2.2) ตัวประกอบทีไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ
เช่น 26 มีตวั ประกอบได้ แก่ 1, 2, 13, 26 ตัวประกอบเฉพาะได้ แก่ 2 และ 13

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 4 ...…………………………………………………

 การหาจํานวนเฉพาะและตัวประกอบเฉพาะ
การหาจํานวนเฉพาะ นัน วิธีหนึงเราสามารถใช้ วิธีของ เอราโตสเตเนส (Eratoshenes) ซึง
วิธีดงั กล่าวเรียกว่า ตระแกรงเอราโตสเตเนส (The Sieve of Eratosthenes) ดังนี
ตัวอย่ าง 6 จงหาจํานวนเฉพาะทุกจํานวนระหว่าง 1 ถึง 100

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
11 12 13 14 15 16 17 18 19 20
21 22 23 24 25 26 27 28 29 30
31 32 33 34 35 36 37 38 39 40
41 42 43 44 45 46 47 48 49 50
51 52 53 54 55 56 57 58 59 60
61 62 63 64 65 66 67 68 69 70
71 72 73 74 75 76 77 78 79 80
81 82 83 84 85 86 87 88 89 90
91 92 93 94 95 96 97 98 99 100

จากวิธีการหาจํานวนเฉพาะในตัวอย่าง 5 จงหาตอบคําถามต่อไปนี
(1) ดังนันจํานวนเฉพาะระหว่าง 1 ถึง 100 ได้ แก่ ……………………………………
………………………………………………………………………………….
(2) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 มีทงหมด
ั ………………………….……….. จํานวน
(3) จํานวนเฉพาะทีน้ อยทีสุดคือ ……………………………...………….……………
(4) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 ทีมีคา่ มากทีสุดคือ …………………………………..
(5) จํานวนเฉาะทีเป็ นเลขคูค่ ือ ………………………………………………….……..
(6) จํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 100 ทีลงท้ ายด้ วย 1 ได้ แก่ ……………………………….
(7) จํานวนเฉพาะสองหลักทีน้ อยทีสุดคือ ………………………………………………
(8) จํานวนเฉพาะทีลงท้ ายด้ วย 5 มี ……….. จํานวน ได้ แก่ …………………………..
(9) อาจจะมีจํานวนคูท่ ีมากกว่า 100 ซึงเป็ นจํานวนเฉพาะได้หรือไม่ ……………………..
(10) จงหาจํานวนเฉพาะสามหลักทีมีคา่ น้ อยทีสุด ……………………………………….
(11) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลบวกเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น ………………………….
(12) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลต่างเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น ………………………….
(13) จํานวนเฉพาะสองจํานวนทีมีผลคูณเป็ นจํานวนเฉพาะ เช่น …………….…………….
(14) จํานวนเฉพาะทีมีคา่ มากทีสุดและทีมีคา่ น้ อยทีสุดต่างกันเท่ากับ ……………………...
(15) ผลบวกของจํานวนเฉพาะตังแต่ 1 ถึง 50 เท่ากับ ……………………………………

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 5 ...…………………………………………………

 วิธีตรวจสอบการเป็ นจํานวนเฉพาะของจํานวนนับ
วิธีการตรวจสอบใช้ หลักการดังนี
ถ้ าเราต้ องการตรวจสอบว่า จํานวนนับ n เป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่ เรามีวิธีการดังนี
1) รวบรวมจํานวนเฉพาะ p ซึง p  p < n
2) นําจํานวนเฉพาะทีรวบรวมได้ ไปหาร n
 ถ้ าไม่มีจํานวนเฉพาะตัวใดหาร n ลงตัว แล้ ว n จะเป็ นจํานวนเฉพาะ
 ถ้ ามีจํานวนเฉพาะตัวใดตัวหนึงหาร n ลงตัว แล้ ว n จะเป็ นจํานวนไม่ใช่เฉพาะ

ตัวอย่ าง 7 จงตรวจสอบจํานวนนับต่อไปนีเป็ นจํานวนเฉพาะหรือไม่เป็ นจํานวนเฉพาะ


(1) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 131 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 131 ลงตัวได้ แก่ ………………….……
ดังนัน 131 …………………………………………………………………
(2) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 167 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 167 ลงตัวได้ แก่ ……………………….
ดังนัน 167 …………………………………………………………………
(3) จํานวนเฉพาะทียกกําลังสองแล้ วน้ อยกว่า 213 ได้ แก่ ……………………………
จากการตรวจสอบจะพบจํานวนนับทีหาร 213 ลงตัวได้ แก่ ……………………….
ดังนัน 213 …………………………………………………………………

ตัวอย่ าง 8 จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง


………. (1) จํานวนเฉพาะทุกจํานวนเป็ นจํานวนคี
………. (2) จํานวนเฉพาะทุกจํานวนทีมากกว่า 2 เป็ นจํานวนคีทังหมด
………. (3) จํานวนคีทุกจํานวนเป็ นจํานวนเฉพาะ
………. (4) ผลบวกของจํานวนเฉพาะสองจํานวนเป็ นจํานวนประกอบเสมอ
………. (5) ผลคูณของจํานวนเฉพาะสองจํานวนเป็ นจํานวนประกอบเสมอ
………. (6) มีจํานวนเฉพาะสองจํานวนทีให้ ผลต่างเป็ นจํานวนเฉพาะ
………. (7) มีจํานวนเฉพาะสองจํานวนทีให้ ผลต่างเป็ นจํานวนประกอบ
………. (8) ผลบวกของจํานวนเฉพาะทีอยู่ระหว่าง 1 และ 30 มีคา่ เท่ากับ 127
………. (9) จํานวนนับทีไม่เท่ากับ 3 แต่หารด้ วย 3 ลงตัว เป็ นจํานวนประกอบ
………. (10) มีจํานวนนับบางจํานวนทีสามารถเป็ นทังจํานวนเฉพาะและจํานวนประกอบ

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 6 ...…………………………………………………

 การแยกตัวประกอบของจํานวนนับ
การแยกตัวประกอบ หมายถึง การเขียนจํานวนนันอยูใ่ นรูปผลคูณของตัวประกอบเฉพาะ

ตัวอย่ าง 9 จงแยกตัวประกอบของจํานวนนับต่อไปนี
12 = …………………………………………………………………..………..…
18 = ……………………………………….………………………………………
24 = ……………………………………….………………………………………
39 = …………………………………………..…………………………………..
30 = ………………………………………..……………………………………..
120 = ……………………………………..………………………………………..
108 = ……………………………….……..……………………………………….
1,000 = …………..………………………...…..…………………………………….
1,800 = ……….……….………………...…………………………………………..

 ตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)


ตัวหารร่ วม ของจํานวนนับตังแต่สองจํานวนขึนไป หมายถึง จํานวนทีเป็ นตัวประกอบของทุก
จํานวนทีกําหนดให้ เช่น ตัวหารร่วมของ 8 และ 16 ได้ แก่ 2, 4, 8 เป็ นต้ น
ตัวหารร่ วมมาก ของจํานวนนับตังแต่สองจํานวนขึนไป หมายถึง ตัวหารร่วมทีค่ามากทีสุดของ
จํานวนนับเหล่านัน เช่น ตัวอย่างข้ างต้นจะมี 8 เป็ นตัวหารร่วมมากของ8 และ16

ตัวอย่ าง 10 จงหาตัวหารร่วมมากของจํานวนต่อไปนี
(1) จงหาตัวหารร่วมมากของ 36 และ 48
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 36 ได้ แก่ ……………………………….……………..
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 48 ได้ แก่ ……………………………….……………..
 ตัวหารร่วมของ 36 และ 48 ได้ แก่ ………………………………………………..
 ตัวหารร่วมมากของ 45 และ 40 ได้ แก่ …………………………..………………..
(2) จงหาตัวหารร่วมมากของ 20 และ 21
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 20 ได้ แก่ ……………………………………………..
ตัวหารหรือตัวประกอบของ 21 ได้ แก่ ……………………………………………..
 ตัวหารร่วมของ 20 และ 21 ได้ แก่ ………………………………………………..
 ตัวหารร่วมมากของ 20 และ 21 ได้ แก่ ……………………………………………

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 7 ...…………………………………………………

 วิธีการหาตัวหารร่ วมมาก (ห.ร.ม.)


(1) การหา ห.ร.ม. โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ าง 11 จงหา ห.ร.ม. ของจํานวนนับต่อไปนี
(1) 36 และ 48 (2) 84 และ 105
36 = ………………………….… 84 = ………..…………….………
48 =………………………….….. 105= ……………….…….…….…
ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) 7 และ 14 (4) 15 และ 77


7 = ……………………………… 15 = ………………………………
14 = ……………………………… 77 = ……………………………….
ห.ร.ม. = ………….….……..…….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(5) 18 , 32 และ 64 (6) 100 , 78 และ 16


18 = ………………………………. 100 = ………………….…………
32 = ………………………………. 78 = ………………………………
64 = ………………………………. 16 = ………………………………
ห.ร.ม. = ………….….…………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(7) 24 , 36 และ 60 (8) 70, 105 และ 140


24 = ………………………………. 70 = ….………….………….……
36 = ………………………………. 105 = ..…………………….………
60 = ………………………………. 140 = ……………………..……….
ห.ร.ม. = ………….….…………….. ห.ร.ม. = …………….…….………..

(9) 40, 64, 84 และ 96 (10) 18, 49, 55 และ 121


40 = ………………………………. 18 = ………………………………
64 = ………………………………. 49 = ………………………………
84 = ………………………………. 55 = ………………………………
96 = ………………………………. 121 = ……………………………...
ห.ร.ม. = ………….……..………….. ห.ร.ม. = …………….……….…….

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 8 ...…………………………………………………

(2) การหา ห.ร.ม.โดยวิธีการตังหารสัน


ตัวอย่ าง 12 จงหา ห.ร.ม.ของจํานวนนับต่อไปนีโดยวิธีการตังหารสัน
(1) 45 และ 85 (2) 18 และ 78

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) 210 , 1,155 และ 1,365 (4) 21 , 91 และ 55

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(5) 48, 56 , 72 และ 32 (6) 36 , 45 , 78และ 72

ห.ร.ม. = ………….….………….. ห.ร.ม. = …………….……………..

(3) การหา ห.ร.ม ด้ วยวิธีขนตอนวิ


ั ธีการหารของยูคลิด ( คอนโด )
นิยมใช้ กบั จํานวนทีมีคา่ มาก(หลายหลัก)
ตัวอย่ าง 13 จงหา ห.ร.ม.ของจํานวนนับต่อไปนีด้ วยวิธียคู ลิด
(1) 170 และ 385 (2) 156 และ 288

ดังนัน ห.ร.ม.ของ 170 และ 385 คือ …...… ดังนัน ห.ร.ม. 156 และ 288 คือ ….…

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 9 ...…………………………………………………

 ตัวคูณร่ วมน้ อย (ค.ร.น.)


ตัวคูณร่ วม คือ จํานวนทีหารด้ วยจํานวนอืนๆลง เช่น 14 เป็ นตัวคูณร่วมของ 2 และ 7 หรือ
หรือ ของ 7 และ 14 อีกตัวอย่างเช่น 8, 16, 32 เป็ นตัวคูณร่วมของ 4, 8 และ 16
ตัวคูณร่ วมน้ อย คือ จํานวนทีน้ อยทีสุดของตัวคูณร่วมของจํานวนแต่ละชุด

ตัวอย่ าง 14 จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของจํานวนต่อไปนี


(1) จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของ 6 และ 8
ตัวคูณของ 6 ได้ แก่ …………………………….………………….……………..
ตัวคูณของ 8 ได้ แก่ …………………………………………….….……………..
 ตัวคูณร่วมของ 6 และ 8 ได้ แก่ …………………………………….……………..
 ตัวคูณร่วมน้ อยของ 6 และ 8 ได้ แก่ …………………………..……….…………..
(2) จงหาตัวคูณร่วมน้ อยของ 12 และ 16
ตัวคูณของ 12 ได้ แก่ …………………………….…..…………….……………..
ตัวคูณของ 16 ได้ แก่ ………………………………..………….….……………..
 ตัวคูณร่วมของ 12 และ 16 ได้ แก่ …………………………………….…………..
 ตัวคูณร่วมน้ อยของ 12 และ 16 ได้ แก่ …………………………..…….…………..

 วิธีการหาตัวคูณร่ วมน้ อย
(1) ด้ วยวิธีการแยกตัวประกอบ
ตัวอย่ าง 15 จงหา ค.ร.น.ของจํานวนต่อไปนี
(1) 6 และ 8 (2) 18 และ 20
6 = …………………………………. 18 = ………………………...…….
8 = …………………………………. 20 = ………………………...…….
ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………

(3) 15, 20 และ 35 (4) 33, 69 และ 72


15 = ……………………………… 33 = ……………………………….
20 = ……………………………… 69 = ……………………………….
35 = ……………………………… 72 = ……………………………….
ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 10 ...…………………………………………………

(5) 18 , 32 และ 64 (6) 100 , 78 และ 16


18 = ………………………………. 100 = ………………….…………
32 = ………………………………. 78 = ………………………………
64 = ………………………………. 16 = ………………………………
ค.ร.น. = ………….….…………….. ค.ร.น. = …………….……………..

(7) 40, 64, 84 และ 96 (8) 18, 49, 55 และ 121


40 = ………………………………. 18 = ………………………………
64 = ………………………………. 49 = ………………………………
84 = ………………………………. 55 = ………………………………
96 = ………………………………. 121 = ……………………………...
ค.ร.น. = ………….……..………….. ค.ร.น. = …………….……….…….

(2) การหา ค.ร.น. ด้ วยวิธีการตังหารสัน


ตัวอย่ าง 16 จงหา ค.ร.น.ของจํานวนนับแต่ละข้ อต่อไปนี
(1) 45 และ 85 (2) 18 และ 78

ค.ร.น. = ………….….………….. ค.ร.น. = …………….……………..


(3) 32 , 20 และ 62 (4) 15 , 52 และ 50

ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………


(5) 15 , 21, 42 และ 75 (6) 9, 34, 51 และ 69

ค.ร.น. = ……………………………. ค.ร.น. = ……………………………

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 11 ...…………………………………………………

 โจทย์ ปัญหาเกียวกับการแยกตัวประกอบ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.

1. โจทย์ปัญหาเกียวกับตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.) จะมีลกั ษณะการถามดังนี


 การถูกแบ่งออกเท่าๆ กันไม่เหลือเศษและมากทีสุด ใหญ่สด ุ ยาวสุด เป็ นต้ น
 ให้ หาจํานวนกอง จํานวนแถว จํานวนกลุม ่ ทีแบ่งได้
 การถามหาขนาดและจํานวนของรูปสีเหลียมจัตรุ ัส เมือให้ แบ่งพืนทีหนึงๆ
ออกเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัสทีใหญ่ทีสุด
 การถามหาจํานวนต้ น(ของเสาหรื อของต้ นไม้ )ทีปั กรอบพืนที โดยให้ แต่ละต้ นอยู่
ห่างเท่ากันและห่างกันมากทีสุด หรือให้ ประหยัดทีสุด
 ให้ หาจํานวนทีมีคา่ มากทีสุด
ซึงในการหาจํานวนทีมีค่ามากทีสุดทีไปหารแล้ วเหลือเศษ มีวิธีดงั นี
1. เอาเศษทีเกิดจากการหารของแต่ละจํานวนไปลบจํานวนนันๆก่อน
2. นําผลทีได้ มาหา ห.ร.ม.
3. ห.ร.ม. ทีได้ นนคื
ั อจํานวนมากทีสุดทีต้ องการ

2. โจทย์ปัญหาเกียวกับตัวคูณร่วมน้ อย (ค.ร.น.) จะมีลกั ษณะการถามดังนี


 การไปแบ่งออกเท่าๆ กันไม่เหลือเศษจากจํานวนทีน้ อยสุด เล็กสุด สันสุด
 โจทย์ทีถามเกียวกับช่วงเวลาทีจะมาพบกันอีกครัง เช่น การวิงรอบสนาม
นาฬิกาปลุก ระฆังทีตี เป็ นต้น
 ให้ หาจํานวนทีมีคา่ น้ อยทีสุด
ซึงในการหาจํานวนทีมีค่าน้ อยทีสุดทีไปหารแล้ วเหลือเศษ มีวิธีดงั นี
1. หา ค.ร.น. ของจํานวนทีกําหนดมาก่อน
2. นํา ค.ร.น. ทีได้ มาบวกเศษทีโจทย์ให้ มา
3. ผลบวกทีได้ คือจํานวนน้ อยทีสุดทีต้ องการ

3. โจทย์ปัญหาเกียวกับความสัมพันธ์ระหว่าง ห.ร.ม.และ ค.ร.น.ของจํานวนนับสองจํานวน


มีความสัมพันธ์ดงั นี
“ผลคูณของเลขสองจํานวน = ผลคูณระหว่ าง ห.ร.ม.กับ ค.ร.น. ของสองจํานวนนัน”

4. โจทย์ในลักษณะอืนๆจะต้ องอาศัยความเข้ าในความหมายของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.


อย่างดี ซึงอาจจะต้ องอาศัยการแยกตัวประกอบมาช่วย

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 12 ...…………………………………………………

ตัวอย่ าง 17 จงหาคําตอบแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) มีเหล็กอยู่สามท่อน ท่อนแรกยาว 49 เมตร ท่อนทีสองยาว 35 เมตร และท่อนทีสาม
ยาว 42 เมตร นํามาตัดเป็ นท่อนสันๆ เท่ากันให้ ยาวทีสุด จะได้ ยาวท่อนละกีเมตร
และได้ ทงหมดกี
ั ท่อน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(2) นักเรียน ป.6/1 , ป. 6/2 และ ป.6/3 มี 35 คน 49 คน และ 42 คน ตามลําดับ ถ้ า
ต้ องการแบ่งเป็ นนักเรียนเป็ นกลุม่ ๆให้ แต่ละกลุม่ เท่าๆกันและอยู่ในห้ องเดียวกัน จะแบ่ง
ได้ มากทีสุดกลุ่มละกีคน และได้ กีกลุ่ม

ตอบ …………………………………………………………………………….
(3) มีดินสอ 56 แท่ง ยางลบ 28 ก้ อน และปากกา 84 แท่ง แบ่งใส่ถงุ ๆละเท่าๆกันไม่ให้
เหลือและไม่ปนกันเลย จะแบ่งได้ มากทีสุดถุงละเท่าไรและได้ อย่างละกีถุง

ตอบ …………………………………………………………………………….
(4) กระดาษขนาด 30  36 ตารางเซนติเมตร ตัดเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัสเล็กๆให้ ได้ ขนาด
ใหญ่ ทสุี ดและไม่เหลือกระดาษทิงเลย จะได้ กีกระดาษรูปสีเหลียมจัตรุ ัสเล็กๆกีรูปและ
มีพืนทีเท่าไร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(5) ต้ องการล้ อมรัวบริเวณบ้ านเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้ าขนาดกว้าง 90 เมตร และยาว 98 เมตร
ต้ องปั กเสาให้ ห่างกันต้นละเท่าไรจึงจะประหยัด และใช้ เสาทังหมดกีต้ น

ตอบ …………………………………………………………………………….
(6) ถ้ าต้ องการแบ่งแท่งไม้ ทรงสีเหลียมมุมฉากขนาด 24  12  30 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ให้ เป็ นแท่งไม่ทรงลูกบาศก์ให้ ได้ ขนาดใหญ่ ทสุี ดโดยไม่มีเศษไม้ เหลืออยูเ่ ลย
จะแบ่งได้ กีลูก และมีขนาดกีลูกบาศก์เซนติเมตร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(7) จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 44, 50 และ 62 แล้ วเหลือเศษ 2 เท่ากัน
ตอบ …………………………………………………………………………….

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 13 ...…………………………………………………

(8) จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 330 จะเหลือเศษ 6 และเมือนําไปหาร 442 แล้ วจะ


เหลือเศษ 1

ตอบ …………………………………………………………………………….
(9)* จงหาจํานวนทีมากทีสุดทีหาร 74, 98 และ 114 แล้ วจะเหลือเศษเท่ากันและจงหา
เศษทีเหลือเท่ากันนัน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(10) ชายคนหนึงเลียงไก่ 38 ตัว เลียงเป็ ด 86 ตัว และเลียงห่าน 122 ตัว เขาต้ องการแบ่ง
ไก่ เป็ ด และห่าน เป็ นกลุม่ เล็กๆ แต่ละกลุม่ มีจํานวนตัวเท่าๆกัน และมีจํานวนตัวมาก
ทีสุดเท่าทีจะทําได้ โดยทีเมือแบ่งแล้ วให้ มีสตั ว์สํารองชนิดละ 2 ตัว เขาจะแบ่งสัตว์ได้
ทังหมดกีกลุม่ กลุม่ ละกีตัว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(11)* ถ้ า 35 เป็ น ห.ร.ม. ของ 175 และ 385 แล้ ว จงหาตัวประกอบร่วมทังหมดของ 175
และ 385 [หลักการ : ตัวประกอบร่วมของจํานวนนับ คือ ตัวประกอบของ ห.ร.ม. ของ
จํานวนนับเหล่านัน]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(12)* ถ้ า 24 เป็ น ห.ร.ม. ของ A , B และ C แล้ ว จงหาผลบวกของตัวประกอบร่วมทังหมด
ของ A, B และ C

ตอบ …………………………………………………………………………….
(13)* ถ้ า A = 2  2  3  a
B=b335
C=2c57
และ ห.ร.ม. ของ A, B และ C เท่ากับ 30 จงหาจํานวน A, B และ C

ตอบ …………………………………………………………………………….

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 14 ...…………………………………………………

(14)* ถ้ า ห.ร.ม. ของ A และ B เท่ากับ 72 และ ห.ร.ม. ของ B และ C เท่ากับ 60 จงหา ห.ร.
ม. ของ A, B และ C [หลักการ : ห.ร.ม. A, B, C = ห.ร.ม. ของ ห.ร.ม. A, B และ
ห.ร.ม. B, C ]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(15) จงหา ห.ร.ม. ของแต่ละข้ อต่อไปนี
(15.1) ห.ร.ม. ของ 1 ถึง 100 = ……………………………………………….
(15.2) ห.ร.ม. ของจํานวน 2, 4, 6, 8, … , 2548 = …………………………...
(15.3) ห.ร.ม. ของจํานวน 3, 5, 7, 9, . . . , 2005 = …………………………

(16) นักกีฬาปันจักรยาน 3 คน ปั นรอบสนามวงรีในแต่ละรอบใช้ เวลาดังนี คนที 1 ใช้ เวลา


5 นาที คนที 2 ใช้ เวลา 4 นาที คนที 3 ใช้ เวลา 6 นาที ดังนันทัง 3 คน จะปั นมา
พบกันทีจุดเริมต้ นครังแรกเมือเวลาผ่านไปกีนาทีหลังจากออกตัว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(17) ฉันตังนาฬิกาปลุก 4 เรือน เรือนทีหนึงปลุกทุกๆ 3 นาที เรือนทีสองปลุกทุกๆ 4 นาที
เรือนทีสามปลุกทุกๆ 5 นาที และ เรือนทีสีปลุกทุกๆ 6 นาที ถ้ าให้ นาฬิกาทุกเรือนปลุก
ครังแรกพร้ อมกัน เมือเวลา 12.25 น. จงหาว่านาฬิกาทังสีเรือนจะปลุกพร้ อมกันเป็ น
ครังทีสามเมือเวลาใด

ตอบ …………………………………………………………………………….
(18) จากการทดสอบความสินเปลืองนํามันของรถยนต์สามคัน พบว่า คันทีหนึงนํามัน 1 ลิตร
วิงได้ ระยะทาง 6 กิโลเมตร คันทีสองนํามัน 1 ลิตร วิงได้ ระยะทาง 8 กิโลเมตร คันที
สามนํามัน 1 ลิตร วิงได้ ระยะทาง 9 กิโลเมตร จงหาระยะทางทีน้ อยทีสุดซึงรถยนต์ทกุ
คัน ต้ องใช้ นํามันเชือเพลิงเป็ นจํานวนเต็มลิตรพอดีและรถยนต์ แต่ละคันใช้ นํามันกีลิตร

ตอบ …………………………………………………………………………….
(19) แจกดินสอ ยางลบ และไม้ บรรทัดให้ เพือนๆ ในห้ อง ได้ คนละ 5 แท่ง 12 ก้ อน และ 10
อัน ตามลําดับโดยไม่มีของเหลือเลย นักเรียนในห้ องจะมีอย่ างน้ อยกีคน

ตอบ …………………………………………………………………………….

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 15 ...…………………………………………………

(20) จงหาจํานวนทีน้ อยทีสุดที 6, 8 และ 15 หารจํานวนนันแล้ วเหลือเศษ 4 เท่ากัน

ตอบ …………………………………………………………………………….
(21)* จงหาจํานวนทีน้ อยทีสุดที 6, 8 และ 15 หารจํานวนนันแล้ วเหลือเศษ 4, 6 และ 13
ตามลําดับ [ หลักการ : หา ค.ร.น. ของ 6, 8, 15 แล้ วลบกับจํานวนทีต้ องเพิมให้ เศษ
4, 6, 13 เท่ากับ 6, 8, 15 ตามลําดับ]

ตอบ …………………………………………………………………………….
(22) ถ้ าเริมตีระฆัง 3 ใบพร้ อมกัน โดยทีใบทีหนึง ใบทีสอง และใบทีสาม ตีทกุ ๆ 10 นาที 8
นาที และ 16 นาที ตามลําดับ จงหาว่าเมือทัง 3 ใบตีพร้ อมกันเป็ นครังแรกแล้ วใบที
หนึง ใบทีสอง และใบทีสามตีไปใบละกีครังแล้ ว

ตอบ …………………………………………………………………………….
(23) ถ้ าจํานวนสองจํานวนมี ห.ร.ม. เป็ น 15 มี ค.ร.น.เป็ น 105 ถ้ าจํานวนหนึงเป็ น 15
อีกจํานวนหนึงเป็ นเท่าใด

ตอบ …………………………………………………………………………….
(24) ถ้ าจํานวนสองจํานวนมีผลคูณเป็ น 2,112 และมี ค.ร.น. เป็ น 264 จงหา ห.ร.ม.

ตอบ …………………………………………………………………………….
(25)* ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของจํานวนสองจํานวนเป็ น 14 และ 490 จงหาจํานวนทังสอง

ตอบ …………………………………………………………………………….

เนือหาจบแล้วทีเหลือทําแบบฝึ กหัดทบทวนนะครับเด็กๆ ขยันๆนะเด็กๆ ครูเอาใจช่วย

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 16 ...…………………………………………………

แบบทดสอบ
สมบัติของจํานวนนับ

คําชีแจง : จงทําเครืองหมาย  ทับตัวอักษรหน้ าคําตอบทีถูกต้ อง


1. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นจริง
ก. 15 เป็ นตัวประกอบของ 3 ข. 15 เป็ นตัวประกอบของ 5
ค. 3 เป็ นตัวประกอบของ 15 ง. 3 และ 15 เป็ นตัวประกอบซึงกันและกัน
2. จํานวนในข้ อใดทีมี 5 เป็ นตัวประกอบ
ก. 284 ข. 365 ค. 419 ง. 531
3. ข้ อใดทีมี 7 เป็ นตัวประกอบทุกจํานวน
ก. 15, 17, 27 ข. 14, 35, 49 ค. 21, 28, 37 ง. 27, 35, 49
4. ข้ อใดทีมี 3 เป็ นตัวหารทุกจํานวน
ก. 3, 17, 42 ข. 15, 21, 90 ค. 22, 36, 54 ง. 36, 45, 61
5. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. 3 เป็ นตัวประกอบของ 1,243,578,133
ข. 4 เป็ นตัวประกอบของ 1,243,579,494
ค. 9 ไม่เป็ นตัวประกอบของ 4,124,654,784
ง. 11 ไม่เป็ นตัวประกอบของ 1,001,001,001,001
6. ข้ อใดต่อไปนีไม่ถกู ต้ อง
ก. 0 มีตวั ประกอบมากมายนับไม่ถ้วน
ข. 1 เป็ นตัวประกอบจํานวนนับทุกจํานวน
ค. 2 เป็ นตัวประกอบของจํานวนคูเ่ ท่านัน
ง. 3 เป็ นตัวประกอบของจํานวนคีเท่านัน
7. จํานวนใดข้ อใดทีจํานวนของตัวประกอบมากทีสุด
ก. 24 ข. 27 ค. 49 ง. 55
8. จํานวนในข้ อใดเป็ นจํานวนเฉพาะ
ก. 15 ข. 17 ค. 57 ง. 77
9. ข้ อใดเป็ นจํานวนเฉพาะทุกจํานวน
ก. 5, 7, 9 ข. 17, 19, 27 ค. 23, 29, 39 ง. 31, 37, 43
10. จํานวนเฉพาะทีอยู่ระหว่าง 1 – 100 มีทงหมดกีั จํานวน
ก. 24 ข. 25 ค. 26 ง. 28

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 17 ...…………………………………………………

11. ข้ อความต่อไปนี ข้ อใดเป็ นจริง


ก. จํานวนคีทุกจํานวนเป็ นจํานวนเฉพาะ ข. จํานวนเฉพาะทุกจํานวนเป็ นจํานวนคี
ค. 2 เท่านันทีเป็ นตัวประกอบของจํานวนคู่ ง. 1 เป็ นตัวประกอบของจํานวนทุกจํานวน
12. จากข้ อความต่อไปนี
(1) 1 เป็ นจํานวนเฉพาะทีมีคา่ น้ อยสุด
(2) มี 2 เพียงจํานวนเดียวทีเป็ นจํานวนเฉพาะซึงเป็ นจํานวนคู่
ข้ อใดเป็ นถูกต้ อง
ก. ถูกทังข้ อ (1) และ (2) ข. ข้ อ (1) ถูก แต่ ข้ อ(2) ผิด
ค. ข้ อ (1) ผิด แต่ ข้ อ(2) ถูก ง. ผิดทังข้ อ (1) และ (2)
13. ตัวประกอบเฉพาะของ 48 คือข้ อใด
ก. 2, 4 ข. 4, 12 ค. 6, 48 ง. 2, 3
14. ตัวประกอบเฉพาะของ 42 คือข้ อใด
ก. 3, 7 ข. 1, 3, 7 ค. 2, 3, 7 ง. 2, 3, 7, 21
15. ข้ อใดเป็ นการแยกตัวประกอบ
ก. 36 = 2  2  9 ข. 72 = 2  2  3  3  3
ค. 105 = 3  5  7 ง. 200 = 2  10  10
16. ตัวประกอบร่วมทังหมดของ 18 และ 30 คือข้ อใด
ก. 1, 2, 3, 9 ข. 1, 2, 3, 5 ค. 1, 2, 3, 6 ง. 1, 2, 3, 6, 9
17. 22  33  44 มีคา่ เท่ากับข้ อใด
ก. 2  2  3  3  3  4  4  4  4 ข. 2  2  3  3  4  4  4  4
ค. 2  2  3  3  3  4  4  4 ง. 2  2  3  3  4  4
18. 6 เป็ น ห.ร.ม. ของ 12 และ 18 หมายความว่าอย่างไร
ก. 6 เป็ นตัวหารร่วมของ 12 และ 18
ข. 6 เป็ นตัวประกอบร่วมทีมีคา่ มากทีสุดของ 12 และ 18
ค. 6 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดทีหารด้ วย 12 และ 18 แล้ วลงตัว
ง. 6 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดทีมี 12 และ 18 เป็ นตัวประกอบ
19. ห.ร.ม. ของ 27 33 และ 45 คือจํานวนใด
ก. 3 ข. 9 ค. 18 ง. 27
20. ห.ร.ม. ของ 23  32  5 และ 22  33  72 คือจํานวนใด
ก. 23  32 ข. 22  32 ค. 22  32  5  7 ง. 23  33  5  7

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 18 ...…………………………………………………

21. ห.ร.ม. ของ 20, 80, 125 เป็ นกีเท่าของ ห.ร.ม. ของ 27, 64, 121
ก. 5 เท่า ข. 10 เท่า ค. 12 เท่า ง. 15 เท่า
22. 12 เป็ น ค.ร.น. ของ 4 กับ 6 หมายความว่าอย่างไร
ก. 12 เป็ นจํานวนทีมากทีสุดที 4 และ 6 หารลงตัว
ข. 12 เป็ นจํานวนทีน้ อยทีสุดที 4 และ 6 หารลงตัว
ค. 12 เป็ นจํานวนที 4 และ 6 หารลงตัว
ง. 12 เป็ นผลคูณของ 4 และ 6
23. ค.ร.น. ของ 14, 20, 25 คือจํานวนใด
ก. 100 ข. 125 ค. 280 ง. 700
24. ค.ร.น. ของ 23  32  5 และ 22  33  72 คือจํานวนใด
ก. 23  32 ข. 22  32 ค. 22  32  5  7 ง. 23  33  5  7
25. จํานวน 48 และ 60 มี ค.ร.น. เป็ นกีเท่าของ ห.ร.ม.
ก. 4 เท่า ข. 5 เท่า ค. 18 เท่า ง. 20 เท่า
26. ผลบวกของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. ของ 15, 25, 40 คือข้ อใด
ก. 45 ข. 605 ค. 90 ง. 615
27. ผลต่างของ ค.ร.น. กับ ห.ร.ม. ของ 36, 81 และ 99 คือข้ อใด
ก. 3,555 ข. 3,556 ค. 3,564 ง. ไม่มีคําตอบทีถูกต้ อง
28. จงหา ห.ร.ม. ของ 4,515 และ 2,838 คือจํานวนใด
ก. 1 ข. 4 ค. 129 ง. 516

จงใช้ วิธีตงหารต่
ั อไปนีตอบคําถามข้ อ 29 และ 30
29. ห.ร.ม.ของ 12, 18, 24 คือข้ อใด

2 12, 18, 24 ก. 6 ข. 12
3 6, 9, 12 ค. 4 ง. 9
2 2, 3, 4 30. ค.ร.น.ของ 12, 18, 24 คือข้ อใด
1, 3, 2 ก. 12 ข. 36
ค. 72 ง. 24


a M, N, Oข้ อใดถูกต้ อง 31.

b  P,
Q, R
ก. ห.ร.ม. เท่ากับ a  b  c
ข. ค.ร.น. เท่ากับ a  b  c
c  S,
T, U
ค. ห.ร.ม. เท่ากับ a  b
X, T, Y
ง. ค.ร.น. เท่ากับ a  b  c  X  Y
………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 19 ...…………………………………………………

32. จํานวนทีมากทีสุดทีหาร 94 จะเหลือเศษ 4 แต่ถ้าหาร 605 จะเหลือเศษ 5


เลขจํานวนนันคือจํานวนใด
ก. 15 ข. 20 ค. 23 ง. 30
33. จงหาจํานวนทีมากทีสุดซึงเมือหาร 534 และ 1,154 แล้ วเหลือเศษ 7 เท่ากัน
ก. 31 ข. 19 ค. 43 ง. 47
34. จํานวนน้ อยทีสดุ ที 12, 16, 32 หารลงตัว คือจํานวนใด
ก. 32 ข. 48 ค. 64 ง. 96
35. จํานวนน้ อยทีสุดทีหารด้ วย 15, 28 และ 36 แล้ วเหลือเศษ 3 เท่ากัน คือจํานวนใด
ก. 1,260 ข. 1,257 ค. 1,263 ง. 423
36. ค.ร.น. และ ห.ร.ม. ของสองจํานวนเป็ น 18 และ 108 ตามลับ ถ้ าจํานวนหนึงคือ 36 อีก
จํานวนหนึงเป็ นเท่าใด
ก. 46 ข. 54 ค. 72 ง. 90
37. 15 เป็ น ห.ร.ม. ของสองจํานวน ถ้ านํา ห.ร.ม. ไปหารจํานวนแรกได้ ผลลัพธ์ 3 และหาร
จํานวนทีสองได้ ผลลัพธ์ 5 สองจํานวนนันมีคา่ เท่าใด
ก. 3, 5 ข. 6, 10 ค. 15, 45 ง. 45, 75
38. กระดาษแผ่นหนึงกว้ าง 1 เมตร ยาว 165 เซนติเมตร ถ้ าต้ องการนํามาตัดเป็ นรูปสีเหลียม
จัตรุ ัสรูปเล็กๆ ทีมีขนาดเท่าๆกันและมีพืนทีมากทีสุด จะได้ ทงหมดกี
ั รูป
ก. 660 รูป ข. 5 รูป ค. 20 รูป ง. 33 รูป
39. ระฆัง 3 ใบ ใบทีหนึง ตีทกุ ๆ 45 นาที ใบทีสอง ตีทกุ ๆ 24 นาที ใบทีสาม ตีทกุ ๆ 36 นาที
ถ้ าเริมตีพร้ อมกันครังแรกเวลา 7.00 น. จงหาว่าจะตีพร้ อมกันอีกครังในเวลาใด
ก. 12.00 น ข. 12.30 น. ค. 13.00 น. ง. 13.30 น.
40. รถแข่ง 3 คัน วิงรอบสนามในเวลา 12, 15 และ 18 นาที ตามลําดับ
จงหาว่ารถทังสามคันนีจะถึงจุดเริมต้ นพร้ อมกันอีกครังเมือคันที 2 วิงรอบสนามได้ กีรอบ
เมือปล่อยครังแรกพร้ อมกัน
ก. 12 รอบ ข. 15 รอบ ค. 18 รอบ ง. 16 รอบ
41. จํานวนทีมากทีสุดทีนําไปหาร 131, 101 และ 161 แล้ วเหลือเศษเท่ากัน แล้ วเศษนัน
จะต้ องเป็ นเท่าใด
ก. 7 ข. 9 ค. 11 ง. 13
42. ทีสวนกว้ าง 108 เมตร ยาว 200 เมตร ต้ องการล้ อมทรัวโดยปั กเสารัวให้ ห่างเท่ากันทุกๆด้ าน
เสาห่างกันกีเมตร จึงจะประหยัดมากเสาทีสุด
ก. 3 เมตร ข. 4 เมตร ค. 5 เมตร ง. 6 เมตร

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ……………………………...... 20 ...…………………………………………………

43. มีสมุดวาดเขียน 231 เล่ม สมุดปกแข็ง 308 เล่ม และสมุดปกอ่อน 396 เล่ม จัดเป็ นกอง
กองละเท่าๆกัน โดยไม่ให้ ปนกัน จะได้ กีกอง กองละกีเล่ม
ก. 85 กอง กองละ 11 เล่ม ข. 85 กอง กองละ 13 เล่ม
ค. 86 กอง กองละ 11 เล่ม ง. 86 กอง กองละ 13 เล่ม
44. มีเหรียญ 10 บาท 25 เหรียญ เหรียญ 5 บาท 10 เหรียญ เหรียญ 1 บาท 20 เหรียญ
ต้ องการหยอดกระปุกออมสินอย่างละเท่าๆกันและไม่ปนกัน ในกระปุกออมสินชนิดเหรียญ
5 บาท จะคิดเป็ นเงินกีบาท
ก. 10 บาท ข. 15 บาท ค. 20 บาท ง. 25 บาท
45. ก้ อยมีเงิน 28 บาท สมศรีมีเงิน 35 บาท และอํานาจมีเงิน 105 บาท ทัง 3 คนต้ องการใช้
เงินวันละเท่ากัน ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. ทังสามคนใช้ เงินหมดพร้ อมกันพอดี
ข. วันทีทังสามคนใช้ เงินรวมกันมากทีสุดใช้ วนั ละ 24 บาท
ค. ทังสามคนใช้ เงินวันละ 4 บาท 5 บาท และ 15 บาท ตามลําดับ
ง. จํานวนวันทีใช้ เงินจนหมดของแต่ละคนรวมกันเป็ น 24 วัน
46. A เป็ นจํานวนมากทีสุดทีหาร 49, 73 และ 85 แล้ วเหลือเศษ 1 ทุกจํานวน แล้ วข้ อใด
ต่อไปนีถูกต้ อง
ก. A + 5 = 17 ข. A  A = 36 ค. A + A = 12 ง. A  5 = 35
47. จํานวนนับทีน้ อยสุดทีหารด้ วย 12, 18 และ 48 แล้ วเหลือเศษ 11 เท่ากัน จํานวนนันคือข้ อใด
ก. 144 ข. 155 ค. 166 ง. 177
48. กาวนําขวดละ 30 บาท เทปกาวม้ วนละ 45 บาท ต้ องซืออย่างน้ อยอย่างละกีชินจึงจะ
จ่ายเงินซืออย่างละเท่าๆกัน
ก. กาวนํา 2 ขวด เทปกาว 2 ม้ วน ข. กาวนํา 2 ขวด เทปกาว 3 ม้ วน
ค. กาวนํา 3 ขวด เทปกาว 2 ม้ วน ง. กาวนํา 3 ขวด เทปกาว 3 ม้ วน
49. วันหนึงชาวสวนผลไม้ เก็บเงาะได้จํานวนหนึง เมือจัดใส่เข่งๆละ 144 กิโลกรัม ได้ หมดพอดี
และถ้ าจัดใส่เข่งๆละ 252 กิโลกรัมได้ หมดพอดีเช่นเดียวกัน จงหาว่าชาวสวนเก็บเงาะในวันนัน
ได้ อย่างน้ อยกีกิโลกรัม
ก. 1,000 ข. 1,008 ค. 1,116 ง. 1,258
50. นักกีฬา 3 คน ออกตัวเริมวิงรอบสนามแห่งหนึงพร้ อมกัน แต่ละคนวิงรอบสนามใช้ เวลา 16
นาที 24 นาที และ 40 นาที ตามลําดับ นักกีฬา 3 คน จะวิงมาทันกันเป็ นครังแรกทีจุดออก
ตัวอีกครัง ต้ องใช้ เวลาเท่าใด
ก. 3 ชัวโมง ข. 4 ชัวโมง ค. 6 ชัวโมง ง. 8 ชัวโมง

………………………..…………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 1 .........................................................................

สมการ

 สมการ คือ ประโยคทีประกอบด้ วยข้ อความสองข้อความทีเชือมกันด้ วยเครืองหมายเท่ากับ


สมการมี 3 ชนิดคือ
1. สมการทีเป็ นจริง คือ สมการทีทังสองข้ างของเครื องหมายเท่ากับมีคา่ เท่ากัน
เช่น 2+5 = 7 , 9 – 6 = 1 + 2
2. สมการทีเป็ นเท็จ คือ สมการทีทังสองข้ างของเครื องหมายเท่ากับมีคา่ ไม่เท่ากัน
เช่น 6 = 2 – 1 , 3 + 7 = 10 + 9
3. สมการทีไม่ สามารถทราบค่ า คือ สมการทียังไม่สามารถบอกว่าเป็ นจริ งหรื อเท็จ
เช่น x – 5 = 2 , x = 18

ตัวอย่ าง 1 จงตรวจสอบว่าประโยคต่อไปนีเป็ นสมการหรือไม่


(1) x–4=6 ………… (2) 6y + 7 < 10 ………..
(3) 2–6>5 ………… (4) 9a – 5 = 15b ………..
(5) 9 + 6 = 10 ………… (6) 2y + 7  10 ………..
(7) x + x  2 ………… (8) 65 – 2x + 6 = 0 ………..
(9) 10 – 10 = 2 ………… (10) 2 + 6 = y ………..

ตัวอย่ าง 2 จงตรวจสอบว่าสมการต่อไปนีเป็ นสมการทีเป็ นจริงหรือเท็จหรือไม่ทราบค่า


(1) ………….. 2 + 58 = 9 + 50
(2) ………….. (6 + 12) + 10 = 6 + (12 + 10)
(3) ………….. 0  ( 9 + 114 ) = 0
(4) ………….. 2+y=5
(5) ………….. 74 – 3 = 71
(6) ………….. 800 + 50 + 6 = 856
(7) ………….. 9 (6  3) = (9  6)  3
(8) ………….. x – 5 = 6 + 3x
(9) ………….. 5 + ( 9 + 5) = 19 –1 + 1
(10) ………….. 56 – 6 + 32 = 25

 ตัวแปร คือ ตัวทีไม่ทราบค่า ส่วนใหญ่จะแทนด้ วยพยัญชนะภาษาอังกฤษ หรือภาษาไทย


เช่น 2b + 6 = 9 ตัวแปรคือ b

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 2 .........................................................................

 การบวก ลบ คูณ และ หาร ตัวแปร


ให้ x เป็ นตัวแปร เราจะให้ ความหมายของ
nx หมายถึง x + x + x + . . . + x (n ครัง) เช่น 5x = x + x + x + x + x

ตัวอย่ าง 3 จงหาผลบวก ลบ ต่อไปนี


(1) 2x + x = ………………… (2) 3y + 7y = ………………
(3) 10t + 2t = ………………... (4) 0.5k + 1.3k = ………….…
(5) m + 2m + 7m = …………. (6) 4n + n + 6n = ……….……
(7) 9x – 5x = ………………….. (8) 10t – t = ……………….…..
(9) 15a – 2a = ………………… (10) 6a – a = ………………..…
(11) 5f + 2f – 3f + 10f – f = …………………………………………………….
(12) 7x – 2x – x + 3x = …….…………………………………………………..
(13) 4a + 5b – 2a + 2b – b = …………………………….…………………….
(14) 16y – 10y – 5y + y + 2y = ………………………………………………...
(15) 8k + 2w – 6k – w + 6k = ………………………………………………….

ตัวอย่ าง 4 จงหาผลคูณและผลหาร ต่อไปนี


(1) 2(6a) = ……………………. (2) 10(3y) = ……………..……
(3) 5(10t) = ……………………. (4) 10(0.5k) = …………..…….
(5) 12(6m) = …………………… (6) 4(6n) = ………..…..……….
18z 25k
(7) = ………………………. (8) = ……………………..
6 5
64k 2k
(9) = ………………………. (10) 6( ) = ……………………
16 3
(11) 5(x + 2) = …………...…… (12) 4(a – 3) = …………..…...
(13) 3(4a + 5b) = …………..…..…………………………………………….….
(14) 2(y – 5) + 5(2y + 3) = ……………..………………………………….…...
(15) 8(3k + 2) + 2(k + 3) = ……………………………………………………
(16) 3x + 5(x + 6) – 2x = ………………………………………………………
x x
(17)  = …………………………………………………………………….
2 3
y 2y
(18)  = ……………………………………………………………………
5 7
5x 2x
(19)   2x = …………………….………………………………………
2 3
y 2y
(20) y   2y  = …………………………………………………………..
3 5

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 3 .........................................................................

 สมบัตขิ องการเท่ ากัน


เป็ นสมบัติทีใช้ ในการแก้ สมการได้ แก่
1. สมบัตก ิ ารเท่ ากันของการบวก : บวกจํานวนทีเท่ากันทังสองข้ างของเครืองหมายเท่ากับ
สมการใหม่ยงั คงเป็ นจริง เช่น 10 + 5 = 15 แล้ ว (10 + 5 ) +9 = 15 + 9 ,
x–4=6 แล้ ว ( x – 4 ) + 4 = 6 + 4
2. สมบัตก ิ ารเท่ ากันของการลบ : ลบจํานวนทีเท่ากันทังสองข้ างของเครืองหมายเท่ากับ
สมการใหม่ยงั คงเป็ นจริง เช่น 89 = 15 + 74 แล้ ว 89 – 15 = (15 + 74) –15 ,
45 = y + 25 แล้ ว 45 – 25 = ( y + 25 ) – 25
3. สมบัตก ิ ารเท่ ากันของการคูณ : คูณจํานวนทีเท่ากันและเป็ นจํานวนทีไม่เท่ากับศูนย์ทงั
สองข้ างของเครืองหมายเท่ากับ สมการใหม่ยงั คงเป็ นจริง
เช่น 2 + 5 = 7 แล้ ว (2 + 5) 25 = 7  25 ,
55 = y  25 แล้ ว 55  25 = (y  25)  25
4. สมบัตก ิ ารเท่ ากันของการหาร : หารจํานวนทีเท่ากันและเป็ นจํานวนทีไม่เท่ากับศูนย์ทงั
สองข้ างของเครืองหมายเท่ากับสมการใหม่ยงั คงเป็ นจริง
เช่น 12 - 5 = 7 แล้ ว (12 – 5)  5 = 7  5 ,
13 = 6y แล้ ว 13  6 = 6y  6

ตัวอย่ าง 5 จงเติมจํานวนในช่องวางให้ ถกู ต้ อง โดยใช้ สมบัติการบวก การลบ การคูณและการหาร


(1) ถ้ า x = 5 แล้ ว x + 12 = ………………
(2) ถ้ า x = b แล้ ว x – 5 = ………………
(3) ถ้ า x = 25 แล้ ว x  3 = ………………
(4) ถ้ า x = 15 แล้ ว x  3 = ………………
(5) ถ้ า x + 6 = 17 แล้ ว x = …………….………
(6) ถ้ า x – 26 = 14 แล้ ว x = …………………….
x
(7) ถ้ า =9 แล้ ว x = ………………….….
6
(8) ถ้ า 4x = 28 แล้ ว x = …………………….
(9) ถ้ า 3x + 2 = 14 แล้ ว 3x = …….………………
แล้ ว x = ……….……………
x x
(10) ถ้ า – 20 = 30 แล้ ว = ……….……………
5 5
แล้ ว x = ……….……………

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 4 .........................................................................

 คําตอบของสมการ
คําตอบของสมการ คือ จํานวนทีแทนค่าตัวแปรในสมการแล้ วทําให้ สมการเป็ นสมการทีเป็ นจริง
เช่น 2y + 5 = 15 จะได้ วา่ y = 5 เป็ นคําตอบของสมการ เพราะ (2  5) + 5 = 15
x – 8 = 25 จะได้ วา่ x = 10 ไม่ เป็ นคําตอบของสมการ เพราะ 10 – 8 = 2

ตัวอย่ าง 6 จงตรวจว่าจํานวนทีอยูใ่ นวงเล็บเป็ นคําตอบของสมการทีกําหนดให้ หรือไม่


(1) 5x = 30 [ 6 ] ………………. เพราะ ………………………………
(2) x – 6 = 5 [ 11 ] ……………... เพราะ ………………………………
(3) 6 + x = 12 [ 2 ] ………………. เพราะ ………………………………
(4) 9x – 4 = 32 [ 1 ] ………………. เพราะ ………………………………
3x
(5)  2 = 20 [ 30 ] ……………… เพราะ ………………………………
5

 การแก้ สมการ
การแก้ สมการ คือ กระบวนการหรือขันตอนในการหาคําตอบของสมการ ซึงในการแก้ สมการ
หนึงสมการอาจจะหาคําตอบได้เพียงคําตอบเดียว หรือหาคําตอบได้ มากมายหลายคําตอบ หรือหา
คําตอบไม่ได้ เช่น
2x + 6 = 24 เป็ นสมการทีมีคําตอบของสมการเพียงคําตอบเดียวคือ x = 9
(x – 1)(x – 2) = 0 เป็ นสมการทีมีคําตอบของสมการ 2 คําตอบ คือ x = 1 และ x = 2
2x + 5 = 2x + 5 เป็ นสมการทีมีคําตอบของสมการมากมาย เช่น x = 1 หรื อ 6 เป็ นต้ น
x = 18 + x เป็ นสมการทีหาคําตอบของสมการไม่ได้

ตัวอย่ าง 7 จงหาคําตอบของสมการต่อไปนี
(1) x + 5 = 30 (2) x – 5 = 12

x
(3) 4x = 56 (4) =2
7

(5) 8x + 6 = 30 (6) 3x – 9 = 12

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 5 .........................................................................

x x
(7) + 12 = 15 (8) – 25 = 3
3 7

3x 5x
(9) = 3 (10) –8 = 2
4 6

x 6
(11) 9(x + 5) = 81 (12) = 12
2

x 7
(13) 7(6 + x) – 5 = 21 (14) + 11 = 42
3

(15) 2x + ( x + 6 ) = 10 (16) 5(y – 4) + 1 = 3y + 7

(17) x + (x + 1) + (x + 2) = 36 (18) y + (2y – 10) + 4y = 120

2x x
(19)  x  24 (20) 3x   2  2x  10
3 5

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 6 .........................................................................

ตัวอย่ าง 8 จงหาค่าของ x, y และ z จากสมการต่อไปนี


(1) x+5 = 8 (2) y–8 = 3
x +y = 11 y + 2x = 34
x + y + z = 20 x – y + z = 11

(3) 2x – y = 15 (4) z+x = 11


y–5 = 13 y + 4x = 30
x – y + z = 19 y + 3y = 24

 สมการกับการนําไปใช้ ในการแก้ โจทย์ ปัญหา


ขันตอนในการแก้ ปัญหาโดยใช้ สมการกดําเนินการดังนี
1. กําหนดตัวแปรค่าแทนสิงทีโจทย์ต้องการ
2. เขียนสมการจากข้ อความทีโจทย์กําหนดให้
3. แก้ สมการหาค่าของตัวแปร พร้ อมทังตรวจสอบคําตอบจากเงือนไขในโจทย์ ก็จะได้
คําตอบทีต้ องการ

ตัวอย่ าง 9 จงเขียนสมการแทนข้ อความในแต่ละต่อไปนี พร้ อมทังหาคําตอบของสมการทีได้


(1) สองเท่าของจํานวนหนึงเท่ากับ 42
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(2) จํานวนหนึงบวกกับ 9 แล้ วเท่ากับ 75
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 7 .........................................................................

(3) จํานวนหนึงลบด้ วย 12 เท่ากับ 10


สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(4) 6 บวกกับจํานวนๆหนึงเท่ากับ 98
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(5) 56 ลบด้ วยจํานวนๆหนึงเท่ากับ 1
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(6) สามในเจ็ดของจํานวนๆหนึงเท่ากับ 122
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(7) ห้ าเท่าของจํานวนๆหนึงเท่ากับสามเท่าของจํานวนนันลบด้ วยหก
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(8) จํานวนๆหนึงมากกว่า 9 อยู่ 3
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(9) จํานวนๆหนึงน้ อยกว่า 83 อยู่ 10
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(10) สองเท่าของจํานวนๆหนึงมากกว่า 9 อยู่ 3
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(11) สองในห้ าของจํานวนๆหนึงมากกว่า 20 อยู่ 60
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(12) สิบแปดเท่าของจํานวนๆหนึง น้ อยกว่า 250 อยู่ 40
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 8 .........................................................................

(13) สามในแปดเท่าของจํานวนๆหนึง ลบด้ วย 7 เท่ากับ 49


สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(14) 50 ลบด้ วยหกเท่าของจํานวนๆหนึง เท่ากับ 10
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(15) สองเท่าของจํานวนๆหนึงมากกว่า 25 อยู่ 30
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(16) หกส่วนห้ าของจํานวนๆหนึงน้ อยกว่า 21 อยู่ 10
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(17) แปดเท่าของจํานวนๆหนึง บวกกับ 7 มากกว่า 26 อยู่ 2
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(18) สามในห้ าของจํานวนๆหนึง ลบด้ วย 12 น้ อยกว่า 47 อยู่ 16
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(19) หกเท่าของจํานวนๆหนึงลบด้ วยจํานวนๆนันเท่ากับ 8
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(20) ห้ าเท่าของผลบวกระหว่างจํานวนๆหนึงกับ 8 เท่ากับ 20
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(21) แปดเท่าของผลบวกระหว่างจํานวนๆหนึงและ 30 เท่ากับ 81
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(22) หกเท่าของผลต่างระหว่าง 7 กับจํานวนๆหนึง น้ อยกว่า 32 อยู่ 8
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 9 .........................................................................

(23) สีในเก้ าของผลต่างระหว่าง 39 และจํานวนๆหนึง เท่ากับ 109


สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(24) สิบสองเท่าของจํานวนๆหนึงมากกว่า สีเท่าของจํานวนนันอยู่ 20
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..
(25) แปดเท่าของผลต่างระหว่างจํานวนๆหนึงกับห้ า น้ อยกว่า สิบเท่าของจํานวนนัน อยู่ 24
สมการคือ………..…………………………………………..…………………
จํานวนนันคือ …………………………………………………………………..

ตัวอย่ าง 10 จงเขียนสมการและแสดงวิธีหาหาคําตอบของสมการโดยละเอียด
(1) แปดเท่าของจํานวนจํานวนหนึง ลบด้ วย 13 จะได้ ผลลัพธ์เท่ากับ 11 จงหาเลขจํานวนนัน
ให้ x แทน ………………...…………………………………………………….
สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………

จํานวนนันคือ ……………………………………………………………………
(2) ผลบวกของสองจํานวนเรียงกัน มีผลลัพธ์เท่ากับ 89 จงหาเลขจํานวนน้ อยและเลข
จํานวนมาก
ให้ x แทน ………………...…………………………………………………….
สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………

จํานวนน้ อยคือ ………………………… จํานวนมากคือ …………………………


(3) สามในห้ าของเงินเดือนของนาย ก น้ อยกว่าเงินเดือนของนาย ข อยู่ 1,500 บาท ถ้ า
นาย ข มีเงินเดือน 15,000 บาท จงหาเงินเดือนของนาย ก
ให้ x แทน ………………...…………………………………………………….
สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………

จํานวนเงินของนาย ก คือ …………………………………………………………

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 10 .........................................................................

(4) พ่อนําเงินจํานวนหนึงมารวมกับเงิน 200 บาทของแม่ แล้ วนําเงินดังกล่าวมาแบ่งให้ ลกู


5 คน ทําให้ ลกู ได้ รับเงินคนละ 120 บาท จงหาว่าพ่อนําเงินมารวมกับเงินของแม่กีบาท
ให้ x แทน ………………...…………………………………………………….
สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………

พ่อนําเงินมารวมกับแม่เท่ากับ ……………………………………………… บาท


(5) จงหาค่า x ต่อไปนี

3x + 20
2x 30o

สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………
(6) จงหาค่า x ต่อไปนี

3x +10

20o 2x

สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………
(7) จงหาค่า x ต่อไปนี

5x 3x+2

60o 2x + 15

สมการคือ…………..…..……………………………………..…………………

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 11 .........................................................................

แบบทดสอบเรื องสมการ

ชุดที 1 ให้ นกั เรียนทําเครืองหมาย  ทับตัวเลือกทีถูกต้องทีสุด


1. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นสมการ
2 1 3
ก. 10 – 5  4 ข. 35  5 < 8 ค.  1 ง.  15 > 6
3 3 5
2. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นสมการ
7 4 3 3 7
ก.   ข. 0.82 < 3 ค. 0.1100 > 9 ง.  2
5 5 5 7 3
3. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นสมการทีเป็ นจริง
ก. 3  2.2 = 6.2 ข. 36 + 0 = 0  36
ค. 480  15 = 8  4 ง. 315–127 = 127–315
4. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นสมการทีเป็ นจริ ง
ก. 2 (3  4) = (2  3) + (2  4) ข. (5 – 3) – 1 = 5 – (3 – 1)
ค. 12  (6  2) = (12  6)  2 ง. 7+8+9+10 = (7+8)+(9+10)
5. สมการในข้ อใดทีมีตวั ไม่ทราบค่า
ก. 200  5 = 800 ข. 36 + x > 12
ค. 6x + x = 155 ง. 0 + 0 = 0
6. สมการในข้ อใดทีมี 7 เป็ นคําตอบของสมการ
ก. A – 8 = 1 ข. 3  B = 20
ค. C + 6 = 15 ง. 49  D = 7
7. จํานวนในข้ อใดเป็ นคําตอบของสมการ 2x + 7 = 49
ก. 20 ข. 21 ค. 22 ง. 23
8. จํานวนในข้ อใดทีเป็ นคําตอบของสมการ x + (x + 2) + (x + 4) = 42
ก. 12 ข. 14 ค. 16 ง. 18
9. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. 6 เป็ นคําตอบของสมการ x + 7 = 23
ข. 2 เป็ นคําตอบของสมการ 6x – 1 = 12
ค. 0 ไม่ใช่คําตอบของสมการ y + y = y
ง. 1 ไม่ใช่คําตอบของสมการ y  y = 2y
10. ถ้ า x + 9 = 12 และ 16 – y = 7 ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
x
ก. x + y = 39 ข. y–x=3 ค. xy = 27 ง. =3
y

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 12 .........................................................................

11. ถ้ า y + 4 = 7 และ 3x – y = 0 ข้ อใดต่อไปนีไม่ถกู


ก. x  y ข. xy = y ค. y  y ง. x+y=y
x
12. ถ้ า 3A + 2B = C ค่า A ตรงกับข้ อใด
C C  2B C  2B
ก. C + 2B ข. – 2B ค. ง.
3 3 3
13. สมการ 6x + 8 = 110 ข้ อใดต่อไปนีถูก
ก x – 2 < 17 ข. x + 2 > 23 ค. 2x = 36 ง. x + x  34
14. ข้ อใดต่อไปนีเป็ นคําตอบของสมการ 2(x + 5) + 3x = 75
ก. 12 ข. 13 ค. 14 ง. 20
15. ข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
ก. สมการหนึงสมการมีเพียงคําตอบเดียว ข. สมการคือข้ อความทีมีตวั แปร
ค. สมการมี 3 ชนิด ง. คําตอบของสมการคือจํานวนเต็มเท่านัน
16. แม่มีเงิน x บาท แม่มีเงินมากกว่าพ่อ 3,756 บาท พ่อมีเงิน 4,863 บาท เขียนเป็ นสมการ
เพือหาเงินของแม่ได้ อย่างไร
ก. x + 3,756 = 4,863 ข. 3,756 – x = 4,863
ค. 4,863 – x = 3,756 ง. x – 3,756 = 4,863
2
17. นําหนักของบอลเป็ น เท่าของนําหนักของปุ่ ม ถ้ าปุ่ มหนัก y กก. บอลหนัก 36 กก. เขียน
3
เป็ นสมการเพือหานําหนักปุ่ มได้ อย่างไร
ก. y = 23  36 ข. 2
3
y = 36
2 2
ค. y
3
= 36 ง. y+
3
= 36

18. ระวี มีเงิน 540 บาท แหวนมีเงินอยูจ่ ํานวนหนึง เมือนับเงินทังสองรวมกันได้ 1,024 บาท
สมการเพือหาเงินของแหวนคือข้ อใด
ก. 540 + y = 1,024 ข. 540  y = 1,024
ค. 1,024 = y – 540 ง. 540 – y = 1,024
19. ถ้ าต้ องการแก้ สมการ x – 25 = 12 จะต้ องใช้ สมบัติใดต่อไปนี
ก. สมบัติการบวก ข. สมบัติการลบ ค. สมบัติการคูณ ง. สมบัติการหาร
20. ถ้ าต้ องการแก้ สมการ 7x – 6 = 12 จะต้ องใช้ สมบัติใดเป็ นอันดับแรก
ก. สมบัติการบวก ข. สมบัติการลบ ค. สมบัติการคูณ ง. สมบัติการหาร
1 A
21. ถ้ า  แล้ ว A มีคา่ เท่าไร
6 24
ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 13 .........................................................................

22. ข้ อความต่อไปนีข้ อใดถูกต้ องทีสุด


ก. 21  31 = 672 ไม่เป็ นสมการเพราะไม่มีตวั แปร
ข. (100 – 40) – 20 = 100 – (40 – 20) เป็ นสมการทีเป็ นจริง
ค. ประโยคสัญลักษณ์ทีมีเครืองหมายเท่ากับ เรียกว่า “สมการ”
ง. 36  x = 4 เป็ นสมการทีเป็ นจริง
23. สามเท่าของจํานวนหนึงมากกว่า 15 อยู่ 27 เขียนเป็ นสมการได้ อย่างไร
ก. 3x – 15 = 27 ข. 3x + 15 = 27
ค. 3x – 27 = 15 ง. 15 – 3x = 27
24. โจทย์ในข้ อใดเขียนเป็ นสมการได้ เป็ น k + 120 = 275
ก. มีเงิน k บาท ซือเสือไป 120 บาท เหลือเงิน 275 บาท
ข. เดินทางในวันแรก k กม. วันทีสอง 120 กม. ซึงเดินทางได้ มากกว่าวันแรก 275 กม.
ค. มีเงิน k บาท แม่ให้ เพิม 120 บาท รวมมีเงิน 275 บาท
ง. มีคําตอบมากกว่า 1 ข้ อ
25. สีเท่าของ X น้ อยกว่าห้ าเท่าของ Y อยู่ 12 เขียนเป็ นสมการได้ อย่างไร
ก. 4X – 5Y = 12 ข. 5Y – 4X = 12
ค. 4X + 5Y = 12 ง. 5Y + 12 = 4X
26. ในการแก้ สมการ 2y – 12 = 20 ขันตอนแรกจะต้ องนํา 12 มาบวกทังสองข้ างของสมการ
ดังนัน ขันต่อไปควรทําอย่างไร
ก. 2y – 2 = 32 – 2 ข. 2y  2 = 32  2
ค. 2y – 2y = 32 – 2y ง. 2y  2 = 32  2
27. มีส้มอยู่ 360 ผล แบ่งออกเป็ น 2 กอง ให้ กองทีหนึงเป็ น 3 เท่าของอีกกองหนึง เมือเขียน
สมการจะได้ ตามข้ อใด
x 3x
ก. = 360 ข. 3x = 360 ค. 3x + x = 360 ง. = 360
2 2
28. ข้ อใดต่อไปนีถูก
ก. 13 เป็ นคําตอบของสมการ A – 13 = 13
ข. 4 เป็ นคําตอบของสมการ B  16 = 4
ค. 5 เป็ นคําตอบของสมการ 5  x = 25
ง. 11 เป็ นคําตอบของสมการ 4  y = y  4
29. สมการในข้ อใดทีมีคําตอบเดียวกับสมการ 2y – 3 = 13
ก. 3y = 21 ข. y – 2 = 3 ค. y + 2 = 7 ง. 24=y

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 14 .........................................................................

3x  3
30. ถ้ า 3 แล้ ว x+1 เท่ากับข้ อใด
3
ก. 3 ข. 4 ค. 5 ง. 6
31. คําตอบของสมการ 45 – 2p = 21 คือข้ อใด
ก. 12 ข. 6 ค. 24 ง. 16
45
32. ถ้ า 3 แล้ วข้ อใดต่อไปนีถูกต้ อง
3x
ก. x > 15 ข.
ค. 6x = 30
x+x=6 ง. x–5>0
33. คําตอบของสมการ 4x – 5 = 2x +11 คือข้ อใด
ก. 6 ข. 8 ค. 5 ง. 7
34. ถ้ า X + X = 24
Y – X = 10
และ Z – Y = X
แล้ ว X + Y + Z ตรงกับข้ อใด
ก. 56 ข. 58 ค. 66 ง. 68
35. เมือผมอายุ 4 ปี คุณพ่ออายุ 40 ปี เมือคุณพ่อมีอายุเป็ น 4 เท่าของอายุผม ผมจะมรอายุกีปี
ก. 8 ปี ข. 10 ปี ค. 12 ปี ง. 14 ปี
36. ปั จจุบน
ั แม่มีอายุมากกว่าลูก 25 ปี แต่อีก 5 ปี ข้ างหน้ าแม่จะมีอายุ 45 ปี ปั จจุบนั ลูกมีอายุกีปี
ก. 10 ปี ข. 15 ปี ค. 20 ปี ง. 25 ปี
37. ครึงหนึงของผลต่างของจํานวนหนึงกับ 50 เป็ น 65 จงหาค่าของจํานวนนัน
ก. 160 ข. 170 ค. 180 ง. 190
38. ฉันมีเงิน 61 บาท แบ่งให้ ดาว แดง และแดน โดยให้ ดาวมากกว่าแดง 12 บาท แดงได้
มากกว่าแดน 8 บาท แดนได้ รับเงินกีบาท
ก. 41 บาท ข. 27 บาท ค. 21 บาท ง. 11 บาท
39. ราคาค่าทํารัวบ้ านเมตรละ 500 บาทและประตูรวเมตรละ
ั 1,000 บาท ความยาวของรัวกับประตู
รวมกันเท่ากับ 32 เมตร ถ้ าจ่ายค่าทํารัวและประตูรวทั ั งหมด 18,000 บาท ประตูรวยาวกี ั เมตร
ก. 4 เมตร ข. 6 เมตร ค. 8 เมตร ง. 10 เมตร
40. ครูปิง มีเงินเหรี ยญ 1 บาท เหรียญ 5 บาท และเหรี ยญ 10 บาท รวมเป็ นเงิน 100 บาทพอดี
เมือครูปิงนับจํานวนเหรียญพบว่า จํานวนเหรียญ 1 บาท เท่ากับจํานวนเหรียญ 10 บาท และ
จํานวนเหรียญ 5 บาท น้ อยกว่าจํานวนเหรียญ 1 บาท รวมกับจํานวนเหรียญ 10 บาทอยู่ 1
เหรียญ มีจํานวนเหรียญทังหมดกีเหรียญ
ก. 27 เหรียญ ข. 23 เหรียญ ค. 19 เหรียญ ง. 15 เหรียญ

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 15 .........................................................................

41. จากรูปจงแสดงวิธีหาขนาดมุมภายในรูปสามเหลียมทังสามมุม

3x + 5

x + 25 6x

42. ถ้ า A = 20 + 
B = 149
AB = 2,980 + 298
ดังนัน  มีคา่ เท่ากับ .............................................................................

43 กําหนดให้ a และ b แทนจํานวนใดๆ


ถ้ า a * b = (a  b) + 5
แล้ ว คําตอบของสมการ 5 * x + 12 = 37 เท่ากับ .............................

44. จากภาพต่อไปนี A B B

A D C

D E A

ข้ อสรุป (1) A เบาทีสุด (2) B หนักทีสุด (3) D หนักทีสุด


ข้ อสรุปทีถูกต้ องคือ ............................................................................................

45. กําหนดให้ A , B , C เป็ นจํานวนใดๆ


ถ้ า A + B =  – C แล้ ว  เท่ากับ .......................................................

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 16 .........................................................................

แบบทดสอบเรื องสมการ

ชุดที 2 ให้ นกั เรียนทําเครืองหมาย  ทับตัวเลือกทีถูกต้องทีสุด


1. 2x – 5 = 5 ; x = ?
ก. 10 ข. 0 ค. 5 ง. 20
2. 5A – 8 = A ; A = ?
8 6 1
ก. 2 ข. ค. ง.
6 8 2

3. 75 ;  = ?
3
ก. 6 ข. 12 ค. 36 ง. 4
4.   5 = 10  2 ;  = ?
1
ก. 20 ข. 4 ค. 100 ง.
4
2
5. 35 ;  = ?
9
16 4
ก. 9 ข. 36 ค. ง.
9 9
6. 6  B = 12 ; B = ?
ก. 1 ข. 2 ค. 6 ง. 18
2
7. 5M – 13 = 20 – 2M ; m = ?

ก. 1 ข. 33 ค. 11 ง. 7
7 3
8. 12W – 5 + W – 2W = 0 ; W = ?
ก. 5 ข. 11 ค. 1 ง. 5
11 5 2 13
x x 1
9.  3 x;?
5 6 2
ก. 3 1 ข. 33 1 ค. 100 ง. 300
3 3
10. ให้ k = 4 ดังนัน 2k – 1 =  จงหาค่า 
ก. 10 ข. 9 ค. 8 ง. 7

11. ถ้ า x  1  31 แล้ ว x มีคา่ เท่าไร


4 2
ก. 120 ข. 60 ค. 30 ง. 14
2
12. ถ้ า 5 + 9 = 24 จงหาค่าของ + 5 มีคา่ เท่าไร
3
2
ก. 7 ข. 11 ค. 9 ง. 15
5

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 17 .........................................................................

13. สมการในข้ อใดผิดไปจากข้ ออืน


3x
ก. 21x – 50 = 13 ข. 6
2
2x  3
ค. 3 ง. 3x – 9 = 0
3
CD
14. ถ้ า AB + 3 = 8 และ CD – 5 = 8 จงหาค่าของ
AB
3 11 5 13
ก. ข. ค. ง.
11 3 13 5
15. ห้ าเท่าของจํานวนหนึง บวกกับ 4 ได้ 44 เลขจํานวนนันคือ
1 5 48
ก. ข. ค. ง. 8
8 48 5
16. จากสมการ 13ab – 5 = 9ab แล้ ว ab มีคา่ เท่าไร
4 5 5 22
ก. ข. ค. ง.
5 4 22 5
17. 3 เท่าของเลขจํานวนหนึงมากกว่า 17 อยู่ 13 จงหาเลขจํานวนนัน
4
ก. 10 ข. 30 ค. ง. 4
3
18. 2 เท่าของเลขจํานวนหนึงน้ อยกว่า 95 อยู่ 23 จงหาเลขจํานวนนัน
ก. 36 ข. 72 ค. 59 ง. 118
19. สามเท่าของเลขจํานวนหนึง รวมกับหนึงในห้ าของเลขจํานวนนันเป็ น 230 จงหาเลขจํานวนนัน
ก. 45 ข. 120 ค. 300 ง. 100
20. สามเหลียมด้ านเท่ารูปหนึง มีเส้นรอบรูปยาว 48 เซนติเมตร จงหาความยาวด้ านของ
สามเหลียมด้ านเท่ารูปนียาวกีเซนติเมตร
ก. 16 ข. 19 ค. 12 ง. 24
21. ถ้ าพืนทีของสีเหลียมด้ านขนาน = ฐาน  สูง และสีเหลียมด้ านขนานมีความยาวฐานและพืนที
เท่ากับ 9 เซนติเมตร และ 45 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหาส่วนสูงของสีเหลียมด้ านขนานนี
45 9
ก. 9  45 ข. ค. ง. (49)+45
9 45
2
22.  10 จงหาค่า x
x
1
ก. 20 ข. 10 ค. 5 ง.
5
23. เศษหนึงส่วนสีของจํานวนหนึง น้ อยกว่า สามเท่าของจํานวนนันอยู่ 11 จงหาเลขจํานวนนัน
ก. 4 ข. 11 ค. 44 ง. ไม่มีข้อถูก
24. จํานวนทีมากกว่า A อยู่ B คือจํานวนใด
ก. A + B ข. A – B ค. B – A ง. AB

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 18 .........................................................................

25. ปั จจุบนั ดําอายุ x ปี บิดามีอายุเป็ น y เท่าของดํา จงหาว่าเมือ z ปี ทีแล้ ว บิดาอายุกีปี


ก. z – xy ข. xy – z ค. xy + z ง. Xyz
3 6 y
26. ถ้ า   จงหาค่าของ x, y
4 x 24
ก. x = 8, y = 16 ข. x = 8, y = 18
ค. x = 12, y = 16 ง. x = 12, y = 20
27. ลูกอมเม็ดละ A สตางค์ มีเงินอยู่ B บาท จะซือได้ กีเม็ด
B B B 100B
ก. ข. ค. ง.
A A 100A A
28. เด๋ออายุมากกว่าดู๋ 2 ปี ดูอ๋ ายุมากกว่าดี 3 ปี ถ้ าอายุทงสามคนรวมกั
อายุของดู๋ั นได้ 41 ปี
กับดีรวมกันได้กีปี
ก. 25 ข. 27 ค. 30 ง. 26
29. จากข้ อ 28. อายุของเด๋อรวมกับดีได้ กีปี
ก. 25 ข. 27 ค. 30 ง. 26
30. จากข้ อ 28. ดู๋ อายุกีปี
ก. 11 ข. 12 ค. 14 ง. 15
31. ถังใบหนึงบรรจุนํา 100 ลิตร เมือเปิ ดก๊ อกใช้ นํา นําจะไหลออกนาทีละ 500 ลบ.ซม. ถ้ าเริม
เปิ ดนําขณะนําเต็มถัง จะใช้ เวลานานเท่าไรจึงไหลหมดถัง(ให้ 1,000 ลบ.ซม. = 1 ลิตร)
ก. 3 ชม. 20 นาที ข. 2 ชม. ค. 5 ชม. ง. 2 ชม. 30 นาที
32. เศษสามส่วนห้ าของเลขจํานวนหนึงมีคา่ เท่ากับผลต่างของจํานวนนันกับ 8 จงหาเลขจํานวนนัน
ก. 20 ข. 40 ค. 5 ง. ถูกมากกว่า 1 ข้ อ

33. D
2x x – 10 C
จากรูป ABCD จงหาค่า x
ก. 64 ข. 80
A x x+5 B ค. 60 ง. 75

34. B
3x
จากรูป ABC จงหาค่า x
ก. 80 ข. 60
A
60o x
C ค. 40 ง. 30

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ............................................... 19 .........................................................................

35. B จากรูปถ้ าพืนที ABC = 200 ตารางนิว


จงหาความยาวด้ านของ AD
10 80
ก. 20 ข.
3
A D C 40 20
ค. ง.
2x x 3 3

36. จํานวนทีมาคูณกับ 15 แล้ วรวมกับ 25 จะได้ 250 คือ


ก. 30 ข. 25 ค. 20 ง. 15
37. เอ มีส้ม A ผล แบ่งให้ น้อย 10 ผล ยังเหลือส้ ม 23 ผล เอมีส้มอยู่ทงหมดกี
ั ผล
ก. A ข. A – 10 + 23 ค. A + 10 + 23 ง. 10 + 23
38. แม่ค้ามีเงาะ 10 กิโลกรัม ขายไป A กิโลกรัม แล้ วซือเพิม 20 กิโลกรัม ปรากฏว่ามีเงาะอยู่
24 กิโลกรัม แม่ค้าขายเงาะไปกีกิโลกรัม จะตังสมการอย่างไร
ก. 10 – A = 24 + 20 ข. 10 – A – 20 = 24
ค. 10 – A + 20 = 24 ง. 10 + A + 20 = 24
39. อีก 5 ปี ข้ างหน้ า อายุของชายคนหนึงจะเป็ น 2 เท่าของอายุของเขาในปัจจุบนั ถ้ าขณะนีเขา
อายุ A ปี จะเขียนสมการได้ เช่นไร
ก. A + 5 = 2A ข. A – 5 = 2A
ค. 3A = 5 ง. A = 2A + 5
40. ลวดเส้ นหนึงยาว 50 เมตร ตัดออกเป็ น 2 ส่วน ส่วนแรกยาว 12 เมตร อีกส่วนหนึงยาวกี
เมตร จะเขียนเป็ นสมการเพือหาคําตอบได้ อย่างไร
ก. (50  2) – 12 =  ข. (50  2) + 12 = 
ค. 50 – 12 =  ง. (50 – 12)  2 = 

................................................................................................................................. อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


.
คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 1 …………………………………………….

มุมและส่ วนของเส้ นตรง

 ความคิดรวบยอดเกียวกับมุม
(1) มีสว่ นประกอบ 2 ส่วนคือ
– แขนของมุม มี 2 แขน อาจจะเป็ นรังสีหรื อส่วนของเส้ นตรง

– จุดยอดมุม มี 1 จุด

(2) มุมเกิดจากเส้ นตรง รังสี หรือ ส่วนของเส้ นตรงสองเส้ นมาตัดกัน มาบรรจบกัน หรือมีจดุ ร่วมกัน
(3) สัญลักษณ์แทนการเขียนมุม
B จากรูป คือมุม BAC
เขียนแทนด้ วย BAC
 หรื อ A
 หรื อ BAC หรื อ A
 
แขนของมุม ของ BAC  คือ AB, AC
A C
จุดยอดมุม ของ BAC คือ จุด A

(4) การวัดมุมจะได้ เป็ นจํานวนเรียกว่า ขนาดของมุม มีหน่วยเป็ นองศา ลิปดา และ ฟิ ลิปดา โดยที
60 ฟิ ลิปดา = 1 ลิปดา

60 ลิปดา = 1 องศา

3600 ฟิ ลิปดา = 1 องศา

องศา เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 


เช่น 48 องศา เขียนแทนด้ วย 48 

 ชนิดของมุม
(1) มุมแหลม คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 0 องศา แต่น้อยกว่า 90 องศา
(2) มุมฉาก คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 90 องศา
(3) มุมป้าน คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 90 องศา แต่น้อยกว่า 180 องศา
(4) มุมตรง คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 180 องศา
(5) มุมกลับ คือ มุมทีมีขนาดมากกว่า 180 องศา แต่น้อยกว่า 360 องศา
(6) มุมกลมหรือมุมรอบจุดศูนย์กลาง คือ มุมทีมีขนาดเท่ากับ 360 องศา

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 2 …………………………………………….

 ความสัมพันธ์ ระหว่ างมุม


(1) มุมตรงข้ าม คือ มุมทีเกิดจากการตัดกันของเส้ นตรง หรือส่วนของเส้ นตรง หรือรังสี 2 เส้ น โดย
มุมตรงข้ ามจะมีขนาดเท่ากัน
จากรูปจะได้
1 2 1 ตรงข้ ามกับ
 
4 และ 
1
4
3 4
3 ตรงข้ ามกับ
 
2 และ 
3
2

(2) มุมประชิด คือ มุม 2 มุมทีมีจดุ ยอดมุมเป็ นจุดเดียวกันและมีแขนของมุมร่วมกันหนึงข้ าง


จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประชิดกับ
 
2

1
2

(3) มุมประกอบ 1 มุมฉาก คือ มุมประชิดทีรวมกันแล้ วได้ 90 องศา หรือ 1 มุมฉาก

จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประกอบ
 1 มุมฉากกับ 
2
2
1

(4) มุมประกอบ 2 มุมฉาก คือ มุมประชิดทีรวมกันแล้ วได้ 180 องศา หรือ 2 มุมฉาก
จากรูปจะได้
1 เป็ นมุมประกอบ 2 มุมฉากกับ 
 2

2 1

Note :
(5) มุมภายในรูปสามเหลียมรวมกันได้ 180 องศา
ผลบวกของมุมภายในรูป n เหลียม
1
เท่ากับ (n – 2)  180
2 เช่น ผลบวกของมุมภายในรูป 10 เหลียม
3
เท่ากับ (10 – 2)  180
(6) มุมภายในรูปสีเหลียมรวมกันได้ 360 องศา ขนาดของมุมภายในรู ป n เหลียมด้ านเท่า
1 2 มีขนาดมุมละ (n  2)n 180
3
เช่น ขนาดของมุมภายในรูป 10 เหลียมด้ านเท่า
(10  2)180
4 มีขนาดมุมละ 10
 162o

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 3 …………………………………………….

ตัวอย่ าง 1 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. ให้ นกั เรียนเติมคําตอบลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง
(1)
K จุดยอดมุมคือ ...........................................................
แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
F C มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

(2)
P จุดยอดมุมคือ ...........................................................
Q แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
R
(3)
ก จุดยอดมุมคือ ...........................................................
ข แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
ค มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
(4) T
จุดยอดมุมคือ ...........................................................
O แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
F มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

(5)
A C จุดยอดมุมคือ ...........................................................
แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
M มุมนีเป็ นมุม ..............................................................
(6)
จุดยอดมุมคือ ...........................................................
A แขนของมุมได้ แก่ ...................... และ ........................
B O มุมนีเรียกชือว่า .....................เขียนแทนด้ วย................
มุมนีเป็ นมุม ..............................................................

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 4 …………………………………………….

2. จงพิจารณาว่าข้ อใดต่อไปนีถูกหรือผิด
………… (1) มุมมีแขนของมุมเป็ นรังสี 2 เส้ น มีจด ุ ยอดมุม 1 จุด
………… (2) มุมทีเกิดจากการตัดกันของ รังสี ส่วนของเส้ นตรง หรื อเส้ นตรง

………… (3) ถ้ าแขนของมุมทีมีความยาวมากขึน จะทําให้ มม ุ นันมีขนาดใหญ่ขนึ


………… (4) มุมทีมีขนาดใหญ่สด ุ คือ มุมกลับ เพราะมีขนาดเท่ากับ 360 องศา
………… (5) ชนิดของมุมมี 6 ชนิด

………… (6) มุมทีมีขนาด 89.99 องศา เป็ นมุมแหลม

………… (7) มุมทีมีขนาด 90.0001 องศา เป็ นมุมฉาก

………… (8) มุมทีมีขนาด 96 องศา เป็ นมุมป้าน

………… (9) มุมทีมีขนาด 181 องศา เป็ นมุมป้าน

………… (10) มุมทีมีขนาด 270 องศา เป็ นมุมกลับ

………… (11) ถ้ านํามุมแหลมมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ แหลมเสมอ


………… (12) ถ้ านํามุมฉากมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ แหลมมีขนาดเท่ากับ 45 องศาเสมอ
………… (13) ถ้ านํามุมป้านมาแบ่งครึงจะได้ มม ุ ฉากเสมอ
………… (14) ถ้ านํามุมฉาก 2 มุมบวกบวกกันแล้ วลบด้ วยมุมแหลมจะได้ มม ุ แหลมเสมอ
………… (15) ถ้ านํามุมป้าน 1 มุมลบด้ วยมุมแหลม 1 มุม จะได้ มม ุ แหลมเสมอ
………… (16) มุมทีจะลบกับมุมป้านแล้ วได้ มม ุ แหลมต้ องเป็ นมุมฉาก หรือไม่ก็มมุ ป้าน
………… (17) มุมป้าน 1 มุมบวกกับมุมแหลม 1 มุมจะได้ มม ุ กลับเสมอ
…….…... (18) มุมกลับถูกแบ่งครึงจะได้ มม ุ ป้าน
………… (19) มุมป้าน 1 มุมบวกมุมป้านอีก 1 มุม จะได้ มม ุ กลับเสมอ
………… (20) มุมกลมเมือถูกแบ่งเป็ น 6 ส่วนเท่าๆกันจะได้ มม ุ แหลม
………… (21) มีมม ุ กลับ 1 มุมทีลบด้ วยมุมป้าน 1 มุมแล้ วยังได้ มมุ กลับ
………… (22) มีมม ุ ป้าน 1 มุมทีลบด้ วยมุมแหลม 1 มุมยังคงเป็ นมุมป้าน
………… (23) มุมแหลมสองมุมบวกกันจะได้ มม ุ ป้านเสมอ
………… (24) 32 องศา 20 ลิปดา เท่ากับ 32.20 องศา

………… (25) 122.24 องศา เท่ากับ 122 องศา 14 ลิปดา 24 ฟิ ลิปดา

………… (26) ผลบวกของมุมภายในรูป 6 เหลียม เท่ากับ 900 องศา

………… (27) มุมภายในของรูป 8 เหลียมด้ านเท่า มีขนาดมุมละ 80 องศา

………… (28) ถ้ ารูปสามเหลียมมีมม ุ สองมุมเป็ น 60 องศา แล้ วสามเหลียมนันจะมีด้านทุกด้ านเท่ากัน


………… (29) มุมประกอบ 1 มุมฉากของมุม 38 องศาคือมุมประชิดทีขนาด 52 องศา

………… (30) มุมตรงข้ ามมีขนาดเท่ากันเสมอ

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 5 …………………………………………….

3. จงเติมให้ ทีถูกต้ อง
(1) 
AOM เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
M
N O

BOM เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
B

AOM เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................

BOM เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
P
(2) A 
AMQ เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
S
Q M

BNT เป็ นมุมประชิดกับ .................... และ .....................
N 
SNB เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
B

QMN เป็ นมุมตรงข้ ามกับ .....................
T

4. จงหาคําตอบต่อไปนี
(1)

มีมมุ แหลม ................................. มุม


มีมมุ ป้าน ................................... มุม

(2)   ................
AOM
A
ถ้ า   35
AON แล้ ว   ................
MOB
M   ................
N MON
O

W
(3) ถ้ า   78
XAU และ   118
UBZ จงหา
X Y   .....................
WAY
A
  .....................
XAW

Z   ......................
BAY
B
V   ......................
VBU

U   ......................
VBA
  .......................
ABZ
(4) A
B
จงหา
  .................
AOC
  .................
BOC
O
50
O C
…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 6 …………………………………………….

(5) (6) 28o


1

34o
84 o
1

 1 = ……………………..  1 = ……………………..

(7) (8)
A

1
24o
36o
1 C
O

 1 = ……………………..  1 = ……………………..

(9) (10)

210o
54o 2
1 1
2

 1 = ……………………..  1 = ……………………..
 2 = ……………………..  2 = ……………………..

(11) (12)

43o 126o
x x
y z y
z

x = …………….………….. x = …………….…………..
y = …………….………….. y = …………….…………..
z = …………….………….. z = …………….…………..

(13) x (14) x 55o

34o 62o 55o

x = …………….………….. x = …………….…………..

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 7 …………………………………………….

(15) (16)
D B M P
C

25o N
O
65o
E
Q
A

 BEC = …………………  NOM = ……………………….


 AEC = ………………...  MOP = ……………………….
 AEB = …………………  POQ = ……………………….
 AED = …………………  NOQ = ……………………….

(17) A (18)
B C

E 55o
73o A D
F 25o
F B
107o E
D
C
 BFC = …………………  BFC = ……………………….
 AFC = ………………...  CFD = ……………………….
 AFD = …………………  AFE = ……………………….
 BFC = …………………(มุมกลับ)  CFE = ………………………. (มุมกลับ)

(19) (20)
46o 30o
43o
x
y

36o 112o 106o


x

x = …………….………….. x = …………….… y = …………………….

(21) (22)
90o
80o 87o
2x
x

y
2x 100 134o
y

x = …………………….. x = ……………………..
y = …………………….. y = ……………………..

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 8 …………………………………………….

 การสร้ างทางเรขาคณิต

(1) การสร้ างส่ วนของเส้ นตรงให้ เท่ ากับส่ วนของเส้ นตรงทีกําหนดให้


ตัวอย่ าง 2 จงแสดงวิธีการสร้ างต่อไปนี
(1) กําหนด a แทนความยาวของส่วนของเส้ นตรงดังรูป จงสร้ างส่วนของเส้ นตรงให้ ยาวเท่ากับ a

(2) กําหนดเส้ นตรงทีมีความยาว a หน่วยและ b หน่วยดังรูป


a b

จงสร้ างส่วนของเส้ นตรงทีมีความยาวเท่ากับ a+b

(3) จงสร้ างรูปสามเหลียมจากทีกําหนดเส้ นตรงทีมีความยาว a หน่วย b หน่วยและ c หน่วยดังรูป


a b

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 9 …………………………………………….

(2) การสร้ างมุมให้ เท่ ากับมุมทีกําหนดให้

ตัวอย่ าง 3 จงสร้ างมุมให้ เท่ากับมุมทีกําหนดให้


(1)

(2)

(3) การแบ่ งส่ วนของเส้ นตรงออกเป็ นส่ วนละๆเท่ ากัน


วิธีที 1 การแบ่งส่วนของเส้ นตรงโดยการแบ่งครึงเรือยๆ
ตัวอย่ าง 4 จงแบ่งส่วนของเส้ นตรงตามทีกําหนด
(1) จงแบ่งออกเป็ นสองส่วนเท่าๆกัน

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 10 …………………………………………….

(2) จงแบ่งออกเป็ นสีส่วนเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งครึงด้ านทังสีของสีเหลียมด้ านล่าง แล้ วลากเส้นแบ่งครึงนัน พร้ อมทังตอบคําถาม

เส้ นแบ่งครึงทังสีเส้ นมีลกั ษณะอย่างไรบ้ าง ………………………………………………………….


เมือเชือมจุดกึงกลางทังสีด้ านจะได้ รูปอะไร ………………………………………………………….

วิธีที 2 การแบ่งส่วนของเส้ นตรงโดยใช้ มมุ แย้ ง


ตัวอย่ าง 5
(1) จงแบ่งเส้ นตรงนีออกเป็ นสองส่วนเท่าๆกัน

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 11 …………………………………………….

(2) จงแบ่งเส้ นตรงนีออกเป็ นสามส่วนเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งเส้ นตรงต่อไปนีออกเป็ นห้ าส่วนเท่าๆกัน

(4) การแบ่ งมุมให้ เท่าๆกัน


ตัวอย่ าง 6 จงแบ่งมุมเท่าๆกันในแต่ละข้ อ
(1) จงแบ่งครึงมุมข้ างล่าง

…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 …………………………………… 12 …………………………………………….

(2) จงแบ่งมุมต่อไปนีออกเป็ นสีมุมเท่าๆกัน

(3) จงแบ่งครึงมุมทุกมุม พร้ อมทังลากเส้นแบ่งครึงมุมแล้ วตอบคําถาม

ความสัมพันธ์ของเส้ นแบ่งครึงมุมทังสามมุม ได้ แก่ ……………………………………………………………………………………………

(4) จงแบ่งครึงด้ านทังสาม พร้ อมทังลากเส้นแบ่งครึงด้ านแล้ วตอบคําถาม

ความสัมพันธ์ของเส้ นแบ่งครึงด้ านทังสามด้ าน ได้ แก่ ..........................................................................


…………………………………………………………………………............…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 1 ……………………………………………

เศษส่ วน
 ความหมายของเศษส่ วน
เศษส่ วน หมายถึง
a
– จํานวนทีเขียนแทนด้ วยตัวเลขทีอยู่ในรูป โดยที b ไม่เท่ากับศูนย์
b
a
– จํานวนทีเขียนอยู่ในรูปการหาร นันคือเศษส่วน หมายถึง ab
b
– ส่วนหนึงจากจํานวนทังหมดทีแบ่งออกเป็ นส่วนเท่าๆกัน

ตัวอย่ าง 1 จงตอบคําถามต่อไปนี
3 4
1. จงวาดรูปทีเขียนด้ วยเศษส่วน 2. จงวาดรูปทีเขียนด้ วยเศษส่วน
4 6

5 9
3. จงวาดรูปทีเขียนด้ วยเศษส่วน 4. จงวาดรูปทีเขียนด้ วยเศษส่วน
7 12

3 3
5. จงวาดรูปทีเขียนแทนด้ วยเศษส่วน 1 6. จงวาดรูปทีเขียนแทนด้ วยเศษส่วน 2
4 5

7. จงเขียนจํานวนลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง

0 1 2 3

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 2 ……………………………………………

 ชนิดของเศษส่ วน
1 2 15
1. เศษส่ วนแท้ คือ เศษส่วนทีมีตวั เศษน้ อยกว่าตัวส่วน เช่น , , เป็ นต้น
3 8 16
2. เศษเกิน คือ เศษส่วนทีมีตวั เศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น 7, 5 , 4 , 5 , 24 เป็ นต้น
5 1 3 8
3. จํานวนคละ คือ เศษส่วนทีประกอบด้ วยจํานวนเต็มกับเศษส่วนแท้ เช่น 1 2 , 5 7 เป็ นต้ น
3 9
2 2 7 7
ซึง 1 หมายถึง 1  , 5 หมายถึง 5 
3 3 9 9
4. เศษส่ วนอย่ างตํา คือ เศษส่วนทีมี ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวส่วนเท่ากับ 1 เช่น 1 , 4 เป็ นต้น
8 7
5. เศษส่ วนไม่ อย่างตํา คือ เศษส่วนทีมี ห.ร.ม. ของตัวเศษและตัวส่วนไม่ เท่ากับ 1 เช่น 4 , 3
8 15
เป็ นต้น

ตัวอย่ าง 2 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. ให้ นกั เรียนเขียนเศษส่วนลงในตารางให้ ถก
ู ต้ อง
ชนิดเศษส่ วน ตัวอย่ างเศษส่ วน 10 จํานวน

เศษส่ วนแท้

เศษเกิน

จํานวนคละ

เศษส่ วนอย่างตํา

เศษส่ วนไม่ อย่างตํา

2. จงเขียนจํานวนต่อไปนีให้ อยูใ่ นรูปจํานวนคละ


3 7 15
(1)  …………… (2)  …………….. (3)  …….……..
2 3 4
27 112 204
(4)  ………….. (5)  ………….. (6)  ………….
6 13 26

3. จงเขียนจํานวนต่อไปนีให้ อยูใ่ นรูปเศษเกิน


2 3 4
(1) 1  ……….….. (2) 2  …………….. (3) 5  …………..
3 7 6
2 5 b
(4) 6  ………….. (5) 12  ………….. (6) a  …………..
11 10 c

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 3 ……………………………………………

 เศษส่ วนทีมีค่าเท่ ากัน


การหาเศษส่วนทีมีคา่ เท่ากับเศษส่วนทีกําหนดให้ มีหลักการสําคัญคือ
“ เศษส่ วนใดๆเมือนํามาจํานวนๆหนึงทีไม่ ใช่ ศูนย์ มาคูณหรื อมาหารทังตัวเศษและตัวส่ วน
ผลทีได้ ยังมีค่าเท่ากับเศษส่ วนเดิม (หรือไม่ ทาํ ให้เศษส่ วนนันมีค่าเปลียนไป) ”
1. หลักการคูณด้ วยจํานวนทีเท่ ากันทังเศษและส่ วน (เราจะเรี ยกว่าการขยายเศษส่วน) เช่น
2 23 6
 
5 5  3 15
2. หลักการหารด้ วยจํานวนทีเท่ ากันทังเศษและส่ วน (เราจะเรียกว่าการตัดทอนเศษส่วน) เช่น
12 12  3 4
 
15 15  3 5

ตัวอย่ าง 3 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จงเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้ ถก
ู ต้ อง
2 2 4 4 4 12
(1)   (2)  
3 3 6 5 5 15

5 5 25 11 11  33
(3)   (4)  
7 7 35 13 13  39

10 3 30 12 2 24
(5)   (6)  
15  3 45 17 2 34

2. จงเติมตัวเลขลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง
8 8  1 9 9 3
(1)   (2)  
16 16  2 12 12  4

15 15  3 18 18  9
(3)   (4)  
25 25  5 40 40  20

50 5 10 20 4 5
(5)   (6)  
75 5 15 36 4 9

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 4 ……………………………………………

3. จงหาเศษส่วนทีเท่ากับเศษส่วนทีกําหนดให้ มา 4 จํานวน
2
(1) = …………… = ………………= ……………… = ………………
3
7
(2) = …………… = ………………= ……………… = ………………
9
56
(3) = …………… = ………………= ……………… = ………………
72
100
(4) = …………… = ………………= ……………… = ………………
150
a
(5) = …………… = ………………= ……………… = ………………
b

4. จงเติมจํานวนลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง
2 4 3 21 7 8
(1)  (2)  (3)  (4) 
5 4 8 64 9 36

12 4 30 2 72 28
(5)  (6)  (7)  (8) 
15 45 81 9 36 9

5. จงเขียนจํานวนต่อไปนีให้ อยูใ่ นรูปเศษส่วนอย่างตํา


4 5
(1) = ……………………. (2) = …………………….
10 15
9 35
(3) = ……………………. (4) = …………………….
18 49
36 12
(5) = ……………………. (6) = …………………….
64 39
144 425
(7) = …………………… (8) = ……………………
156 550
91 186
(9) 4 = …………………. (10) 5 = …………………
105 216

 การเปรียบเทียบเศษส่ วน
1. กรณีทเศษส่
ี วนมีตัวส่ วนเท่ ากัน ให้ พิจารณาตัวเศษโดย
“ถ้ าเศษของเศษส่ วนใดมากกว่ า จะทําให้ เศษส่ วนนันมีค่ามากกว่ าด้ วย”
5 7
เช่น  เพราะว่า 5<7
9 9
2. กรณีทเศษส่
ี วนมีตัวเศษเท่ากัน ให้ พิจารณาตัวส่วนโดย
“ถ้ าส่ วนของเศษส่ วนใดมากกว่ า จะทําให้ เศษส่ วนนันมีค่าน้ อยกว่ า”
5 5
เช่น  เพราะว่า 8 < 13
8 13

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 5 ……………………………………………

3. กรณีทเศษส่
ี วนไม่ มีตัวเศษหรือตัวส่ วนเท่ากัน ให้ ใช้ หลักการคูณไขว้ ดังนี
a c
(1)  ก็ตอ่ เมือ ad = bc
b d
a c
(2)  ก็ตอ่ เมือ ad < bc
b d
a c
(3)  ก็ตอ่ เมือ ad > bc
b d
4. การเปรียบเทียบโดยใช้ เกณฑ์ตดั สิน เช่น
(1) เศษส่วนทีมีเศษไม่ถึงครึงของตัวส่วน น้ อยกว่ า เศษส่วนทีมีเศษเท่ากับครึงของตัวส่วน
น้ อยกว่ า เศษส่วนทีมีเศษเกินครึงของตัวส่วน
(2) ถ้ าเศษส่วนมีเศษน้ อยกว่าส่วนอยู่เท่ากัน เศษส่วนทีมีเศษมากกว่าจะมีคา่ มากกว่า
(3) ถ้ าเศษส่วนมีเศษมากกว่าส่วนอยูเ่ ท่ากัน เศษส่วนทีมีเศษมากกว่าจะมีคา่ น้ อยกว่า

ตัวอย่ าง 4 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จงเติมเครื องหมาย > , < หรือ = ลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง
1 2 4 7
(1) (2)
3 3 9 9
11 14 5 5
(3) (4)
13 13 7 3
10 10 1 1
(5) (6)
15 18 21 12
25 5 12 8
(7) (8)
30 6 13 9
9 6 11 13
(9) (10)
7 4 13 11
9 3 1 2
(11) (12) 2 2
45 15 5 6

2. จงเรียงลําดับเศษส่วนต่อไปนีจากมากไปหาน้ อย
7 3 4 9
(1) , , ,  …………………………………………………...
10 10 10 10

3 3 3 3
(2) , , ,  …………………………………………………...
4 6 5 2

2 1 19 7
(3) , , ,  …………………………………………………...
9 3 21 9

11 1 102 49
(4) , 5 , ,  …………………………………………………...
2 3 21 9

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 6 ……………………………………………

3. จงเรียงลําดับเศษส่วนต่อไปนีจากน้ อยไปหามาก
3 8 11
(1) 1, 1 , ,  …………………………………………………...
10 9 8

5 1 3 4
(2) , , ,  …………………………………………………...
12 8 6 7

13 14 5 4
(3) , , 2 , 2  …………………………………………………...
8 5 6 7

12 17 47 5
(4) , , , 2  …………………………………………………...
6 8 23 9

 การบวกและการลบเศษส่ วน
การบวกและการลบเศษส่วน มีหลักการพืนฐานคือ
“ ต้ องทําให้ ตัวส่ วนเท่ ากันก่ อนแล้ วจึงนําเศษมาบวกหรื อมาลบกัน ”

note การทําให้ ตวั ส่วนให้ เท่ากันมักจะใช้ ความรู้เรือง ค.ร.น. หรือบางครังอาจจะใช้ ผลคูณของตัวส่วน


ก็ได้ เช่น
5 7  5  4   7  3  5 7  5  8   7  6 
         
6 8  6  4   8  3  6 8  6  8   8  6 
20 21 40 42
   
24 24 48 48
20  21 40  42
 หรือ 
24 48
41 82
 
24 48
17 34 17
1 1 1
24 48 24

ตัวอย่ าง 5 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จงหาคําตอบต่อไปนี
1 1 5 2
(1)  (2) 
2 4 6 3

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 7 ……………………………………………

1 2 3 3
(3)  (4) 
3 5 5 7

5 15 12 10
(5)  (6) 
2 13 6 8

1 3 12 16
(7) 1  (8) 5 4
5 15 24 18

11 19 11 19
(9) 11  10 (10) 11  10
20 36 20 36

9 7
(11) 8 1 (12) 42
13 23

2. จงหาคําตอบ (ตอบเป็ นเศษส่วนอย่างตํา)


1  5  5 1  1
(1)   3  (2)   
2  6  6 3  2

 8 3   11 5 3 12   9
(3)         (4)   2  1  
 3 8   14 10  8  5    10 

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 8 ……………………………………………

2 4 8 7
(5) 3 1 (6) 10  3
3 5 5 8

12 8 4 13 1 1 1 1 1
(7)  3  (8)    
6 5 15 5 2 3 4 5 6

3. จงหาคําตอบต่อไปนี
1
(1) ถังใบหนึงมีนําอยู่ครึงถัง ใช้ ไป ของถัง ขณะนีมีนําเหลืออยู่คิดเป็ นเศษส่วนเท่าไร
4
ของถัง
ตอบ …………………………………………………………………………………
2 1 1
(2) ซือส้ ม กิโลกรัม ซือเงาะ กิโลกรัม ซือมังคุด กิโลกรัม จะต้ องหิวผลไม้ หนักกี
7 2 3
กิโลกรัม
ตอบ …………………………………………………………………………………
7
(3) ถนนสายหนึงลาดยางไปแล้ ว ของความยาวถนนทังหมด เหลือทียังไม่ลาดยางคิด
13
เป็ นเท่าไรของความยาวถนนทังหมด
ตอบ …………………………………………………………………………………
2 7
(4) พ่อค้ ามีส้ม 37 กิโลกรัม ขายไปครังแรก 2 กิโลกรัม ขายไปอีก ครังทีสอง 5
3 8
กิโลกรัม ตอนนีแม่ค้าเหลือส้ มอยูก่ ีกิโลกรัม
ตอบ …………………………………………………………………………………
2
(5) มีลวดยาว 50 เมตร ตัดออกเป็ น 3 เส้ น โดยเส้นแรกยาว 17 เมตร เส้นทีสองยาว
5
3
15 เมตร ลวดเส้นทีสามยาวหรือสันกว่าเส้ นแรกกีเมตร
4
ตอบ …………………………………………………………………………………
2 1 2
4. จงหาคําตอบของสมการ x   2
3 2 6

7 9
5. จงหาคําตอบของสมการ 5x  2  3
12 14

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 9 ……………………………………………

 การคูณและการหารเศษส่ วน
“ ผลคูณของเศษส่ วนสองจํานวน เท่ากับ เศษส่ วนซึงมีตัวเศษเท่ากับผลคูณของตัวเศษทุกตัว
และตัวส่ วนเท่ ากับผลคูณของตัวส่ วนทุกตัว ”
“ ผลหารของเศษส่ วนสองจํานวน เท่ ากับ ผลคูณของเศษส่ วนตัวตังและส่ วนกลับของตัวหาร”

note ส่วนกลับของตัวหาร คือการกลับเศษเป็ นส่วนและส่วนเป็ นเศษ เช่น


2 7
ส่วนกลับของ คือ
7 2
และพบว่าผลคูณของเศษส่วนและส่วนกลับของเศษส่วนนันจะเท่ากับ 1

ตัวอย่ าง 6 จงตอบคําถามต่อไปนี
1. จงหาผลลัพธ์ตอ ่ ไปนี
2 5
(1) 6 (2) 12 
9 8

11 12
(3)  16 (4)  100
24 25

8 3 24 25
(5)  (6) 
9 4 30 48

48 60 36 33
(7)  (8) 
120 24 44 60

2 15 3 4
(9) 2  (10) 3
5 21 7 15

1 3 1 3
(11) 3 2 (12) 11  3
5 4 7 13

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 10 ……………………………………………

2. จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี
3 8
(1) 6 (2) 12 
7 15

12 12
(3)  16 (4)  68
23 25

9 3 11 11
(5)  (6) 
8 4 13 13

15 45 36 33
(7)  (8) 
20 60 44 60

2 6 6 3
(9) 2  (10) 3
5 25 7 11

1 3 3 1
(11) 3 2 (12) 3 3
5 4 12 4

3. จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี
3 45 25 42 1
(1) 3  (2)  
12 78 60 105 3

1 1 1 3 7
(3) 1   (4)  
5 3 4 5 9

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 11 ……………………………………………

 1 4 3 1 1 
(5) 1    (6)   
 2 5 5  2 3 

1 1  1 1   2 
(7) 3     (8) 1      3
 3 4   5
 5 10  

 7 16  2  1 7
(9) 4  1   (10)  3  1 
 8 15  13  2 26 


 1  1   3   1 1 1 1 1
(11)   2  

  3  5
 (12) 1    
2 

 4   5
 
   
 2 3 4 5 6

4. จงแก้ สมการหาค่า x จากสมการต่อไปนี


2  x 5  1 7
(1)    
3  6 2  9 3

7  5x 2 3
(2)    1   1
12  9 3 4

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 12 ……………………………………………

 เศษส่ วนซ้ อน
“ เศษส่ วนซ้ อน คือ เศษส่ วนทีมีตัวเศษหรือตัวส่ วนเป็ นเศษส่ วน หรืออาจกล่ าวได้ ว่า
เศษส่ วนซ้ อน คือ เศษส่ วนทีเขียนแทนการหารกันของเศษส่ วนสองเศษส่ วน ” เช่น
5 5 3
2
12 5 3 17 4 5 3 3 
3
หมายถึง 
3
หมายถึง   2     25
17 
12 5  25 4 7 
5 7

ตัวอย่ าง 7 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


7
3
(1) (2) 8
3 14
4

5 7
(3) 9 (4) 12
20 1 1

27 3 4

1 1 4 9
 
(5) 3 5 (6) 6 48
4 3 2
2
15 4 3

1
2
3 2
(7) (8) 2
2 1 2
 2
3 6 2
2
1
2
2

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 13 ……………………………………………

ตัวอย่ าง 8 (โจทย์ปัญหาเศษส่วน) จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


7
(1) ดํามีเงิน 56 บาท แดงมีเงินเป็ น เท่าของดํา แดงมีเงินเท่าไร
8
ตอบ ...................................................................................................................................
5
(2) นักเรียนชัน ป.6 มี 48 คน เป็ นนักเรียนชาย ของนักเรียนทังหมด จะมีนกั เรียนหญิงกีคน
12
ตอบ ...................................................................................................................................
3
(3) มีเชือกยาว 6 เมตร ตัดให้ เป็ นเส้นๆละ เมตร เท่าๆกันได้ กีเส้ น
4
ตอบ ...................................................................................................................................
1 2
(4) นิดมีแตงโม 1 ผล แบ่งให้ น้องไป ของผล ให้ พีไป ของผล นิดเหลือแตงโมคิดเป็ น
3 5
เศษส่วนเท่าไรของผล
ตอบ ...................................................................................................................................
1
(5) ป้าซือเงาะมา 48 กิโลกรัม ในราคากิโลกรัมละ 12 บาท และนําไปขายกิโลกรัมละ
4
1
15 บาท จนหมด จะได้ กําไรกีบาท
2
ตอบ ...................................................................................................................................
2 1
(6) แมนมีเงิน 240 บาท ซือหนังสือไป ของเงินทีอยู่ แบ่งให้ น้อง ของเงินทีมีอยู่
5 3
แมนเหลือเงินอยู่กีบาท
ตอบ ...................................................................................................................................
3
(7) นํามัน 1 ลิตร รถยนต์จะแล่นไปได้ ไกลประมาณ 11 กิโลเมตร ถ้ าในถังนํามันของรถยนต์คนั
4
2
นีมีนํามันอยู่ 42 ลิตร จะแล่นไปได้ อีกกิโลเมตร
3
ตอบ ...................................................................................................................................
1 3
(8) พ่อมีทีดิน 25 ไร่ ขายไป 10 ไร่ ทีเหลือแบ่งให้ ลกู 3 คน คนละเท่าๆกัน ลูกแต่ละคนจะ
2 4
ได้ ทีดินคนละกีไร่
ตอบ ...................................................................................................................................
4 1
(9) ถังใบหนึงมีนําอยู่ ของถัง หลังจากใช้ นํามันไป ของถัง จะเหลือนํามันในถังอยู่ 110 ลิตร
5 4
จงหาว่าถังใบนีจุนํากีลิตร
ตอบ ...................................................................................................................................

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 14 ……………………………………………

1 1
(10) ฉันอ่านหนังสือเล่มหนึง วันแรกอ่านได้ ของจํานวนหน้ าทังหมด วันทีสองอ่านได้ ของ
3 2
จํานวนหน้ าทังหมด ปรากฏว่ายยังเหลือหน้ าทีฉันยังไม่ได้ อา่ นอีก 50 หน้ า จงหาว่า หนังสือเล่ม
นีมีทงหมดกี
ั หน้ า
ตอบ ...................................................................................................................................
1
(11) ถังใบหนึงมีความจุ 40 ลูกบาศก์เมตร มีนําอยูใ่ นถัง ของถัง ถ้ ามีท่อสูบนําเข้ าถังได้ นาทีละ
8
1
2 ลูกบาศก์เมตร จงหาว่าจะต้ องใช้ เวลาสูบนานเท่าไรจึงจะเต็มถัง
3
ตอบ ...................................................................................................................................
3
(12) ครูพรแบ่งเงินเดือนทีเขาได้ ออกเป็ น 3 ส่วน ดังนี ค่าใช้ จ่ายภายในบ้ าน ของเงินเดือน
8
2
ทังหมด ค่าใช้ จ่ายภายนอกบ้ าน ของเงินส่วนทีเหลือ และทีเหลือทังหมดนําไปฝากธนาคาร
3
ปรากฏว่าเขามีเงินฝากธนาคารเดือนละ 12,000 บาท จงหา
1. เงินเดือนของครูพร ตอบ ............................................................................................
2. ค่าใช้ จ่ายภายในบ้ าน ตอบ ............................................................................................
3. ค่าใช้ จ่ายภายนอกบ้ าน ตอบ ...........................................................................................
1 1
(13) พ่อค้ าประกาศลดราคาตู้เย็นลง ชองราคาทีปิ ดไว้ ถ้ าผู้ซือเงินสดพ่อค่าจะลดลงให้ อีก
5 20
ของราคาทีลดแล้ วครังแรก ถ้ าฉันซือตู้เย็นด้ วยราคาเงินสด 5,700 บาท จงหาราคาทีพ่อค้ าติด
ไว้ ครังแรก
ตอบ ...................................................................................................................................
1 4
(14) ฉันมีอายุเป็ น ของอายุพ่อ น้ องฉันมีอายุเป็ น ของอายุฉนั ถ้ าผลรวมของอายุฉนั และน้ อง
4 5
เป็ น 18 ปี จงหา
1. อายุของพ่อ ตอบ .....................................................................................................
2. อายุของฉัน ตอบ .....................................................................................................
3. อายุของน้ องฉัน ตอบ ..............................................................................................
2
15. วันแรกฉันเดินไปได้ 12 กิโลเมตร ซึงคิดเป็ น ของระยะทางทังหมด วันทีสองฉันเดินทางไปได้
7
2
ของระยะทางทีเหลือวันจากแรก จงหาระยะทางทีเหลือทีต้ องเดินในวันทีสาม
5
ตอบ ...................................................................................................................................

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 15 ……………………………………………

แบบฝึ กหัดทบทวน

คําชีแจง : ให้ นกั เรียนหาคําตอบในแต่ละข้ อต่อไปนี


1. จงทําเศษส่วนต่อไปนีให้ เป็ นเศษส่วนเกิน
1 2 5
(1) 1 = …………. (2) 3 = …………. (3) 10 = ………….
5 3 7
3 1 3
(4) 3 = …………. (5) 9 = …………. (6) 19 = ………….
5 8 5
6 3 3
(7) 4 = …………. (8) 8 = …………. (9) 25 = ………….
7 8 8

2. จงทําให้ เศษส่วนต่อไปนีเป็ นจํานวนคละ


12 18 49
(1) = …………. (2) = …………. (3) = ………….
15 17 77
56 288 36
(4) = …………. (5) = …………. (6) = ………….
84 312 108
144 52 56
(7) 4 = …………. (8) 3 = …………. (9) 5 = ………….
180 154 234

3. จงทําให้ เศษส่วนเกินต่อไปนีให้ อยู่ในรูปจํานวนคละ


13 33 109
(1) = …………. (2) = …………. (3) = ………….
4 7 9
45 100 95
(4) = …………. (5) = …………. (6) = ………….
8 6 7
45 78 100
(7) = …………. (8) = …………. (9) = ………….
10 9 9

4. จงหาคําตอบแต่ละข้ อต่อไปนี (ตอบเป็ นเศษส่วนอย่างตํา)


5 5 1 8 5 3
(1)   (2)  
16 12 4 9 12 4

9 16 4  5  4 2
(3)    (4) 4  3  2 
10  20 5  6  5 3

 2 3  1  7 5  3 1
(5) 4  1 (6) 6  5   1  1 
 9 4 
 3  12 6 
  4 6 

7  3  1 5   5 5  2 3
(7) 9 
2  1  
 (8) 3  4   2  3 
 18 
 11  2 6 
22 
 
 9  3 4


  3 13  11 5  1 3 4  19
(9) 8  4   2  3 (10) 5  6   4  
 7
 14  21
 6  5 10  15  30
…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)
คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 16 ……………………………………………


 3  7  7  4  7   13 
(11) 8  3   3  2   4 (12) 7  2   3    6  

 4  8 
 12 
 5  10   20  

4 10 22 8 4  10
(13)   (14)    
5 11 25 9 11 9

 1 6 9  4 5
(15) 5    (16) 8   
 4 7 14  9  18

2 3 1 2 1 1
(17) 2  3  3 (18) 3  2  7
7 4 5 3 2 2

2 22
(19) 3  ของ 7 1 (20)
3 1 2 3
1  
3 35 2 2 2 9 4

 3  7 3  1  4   3 5
(21) 9       (22) 5  2     6    
 16   8 4   3 3   4 8 


 7 3  4   3 3  16   1 3 3 7
(23)   2     4  3    (24) 4  3   5   4
 8

 4 5

  4

 8 5   2 4 4  16

4 1 2 1 7 2  1 3  3 3  7
(25)   2  4  4    4 (26) 4  3   4  3  
5 7 3 2 18  3  2 4  8 4  16


 1 9  3   17 7 1  1 2 3  12   7 13 
(27) 3      4  3   2  (28) 8  7   6     8  5 
 2

 10  4

  20

 10  2   2 3 4  11   11 22 

1 1 2

(29) 3 3 (30) 3
15 3 1

4 2

1 1 1

4 6 2
ของ 34
(31) (32)
1 1 9

4 6 16

2 1 1 1 1
3
ของ 
2 4
2
15
1
3
(33) (34) 1 1
2  1 1 
   2 3
3  2 4  4 5

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 17 ……………………………………………

5 3
(35) 4  2
(36) 3 
1
3 2
5 1
3 1
2

7
5 10
(37) 55 (38)
1 1
7 12
5 5
1
5

1 4 1 1 1 1
7 1 4
6 3 3
(39) 2 5 2 (40) 4 6  5 8
7 3 1 1 1 1
3 1 6 4 3 3
8 4 4 6 5 8

5. จงหาคําตอบของแต่ละข้ อต่อไปนี
1
(1) แม่ค้าขายส้ ม 35 กิโลกรัม ราคากิโลกรัมละ 28 บาท
2
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(2) ข้ าวสารหนัก 15 3 กิโลกรัม แบ่งใส่ถงุ 3 ถุง โดยถุงแรกหนัก 4 1 กิโลกรัม ถุงทีสองหนัก 5 1
4 2 4
กิโลกรัม ถุงทีสามหนักกีกิโลกรัม
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(3) พ่อค้ ามีนําตาลอยู่ 17 2 กิโลกรัม ซือมาเพิมอีก 11 1 กิโลกรัม แล้ วขายไปในราคากิโลกรัมละ
5 2
12 บาท พ่อค้ าจะได้ เงินทังสินกีบาท
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(4) ลุงปิ งมีทีดิน 14 1 ไร่ ซือมาเพิมอีก 7 3 ไร่ แล้ วแบ่งให้ ลกู 2 คน คนละ 5 3 ไร่ ลุงปิ งเหลือ
2 5 4
ทีดินไว้ ทํากินกีไร่
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(5) คุณพ่อมีทีดิน 20 ไร่ แบ่งเป็ นแปลงเท่าๆ กัน แปลงละ 2 1 ไร่ จะแบ่งได้ กีแปลง
2
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(6) ขาวมีเงิน 300 บาท ใช้ ไป 4 ของเงินทีมี ขาวจะเหลือเงินกีบาท
5
ตอบ……………………………………………………………………………………….
2
(7) เท่าของเงินจํานวนหนึง คิดเป็ น 180 บาท เงินจํานวนนันมีทงหมดกี
ั บาท
5
ตอบ……………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)
คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 18 ……………………………………………

1 1
(8) เก๋มีเงินอยู่ 60 บาท แบ่งให้ น้อง ของเงินทีมีอยู่ ใช้ ไปอีก ของเงินทีมีอยู่ เก๋เหลือเงินกีบาท
5 3
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(9) นิดมีเงิน 240 บาท ให้ เพือนยืมไป 2 ของเงินทีมีอยู่ และใช้ ไป 1 ของทีเหลือ นิดใช้ เงินไปกีบาท
5 2
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(10) พ่อค้ าขายปลาเป็ น 3 เท่าของเนือหมู ขายเนือหมูเป็ น 1 เท่าของผลไม้ ถ้ าขายผลไม้ 80
4 2
กิโลกรัม พ่อค้ าขายปลาได้ กีกิโลกรัม
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(11) ถังใบหนึงมีนําอยู่ในถัง 3 ของถัง หลังจากใช้ นําไป 45 ลิตร จะเหลือนําอยู่ 3 ของถัง ถังใบนีจุ
4 8
นําได้ กีลิตร
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(12) ถ้ า 3 ของเงินของแดง คิดเป็ น 180 บาท และ 2 ของเงินของดํา คิดเป็ น 150 บาท จงหา
5 3
ผลบวกของเงินของแดงและดํา
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(13) ถังใบหนึงมีนําอยู่ 5 ของถัง หลังจากทีใช้ นําไป 2 ของนําทีมีอยู่ ปรากฏว่าเหลือนําในถัง
6 5
100 ลิตร จงหาว่าถังใบนีจุนําได้กีลิตร
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(13) ชายคนหนึงปลูกบ้ านบนทีดินแปลงหนึง โดยที 1 ของทีดินทังหมดใช้ ปลูกบ้ าน 1 ของทีดินทีเหลือ
4 6
จากปลูกบ้ านขุดเป็ นสระนํา ทีแหลือนอกนันทําเป็ นสวนดอกไม้ จงหาว่าพืนทีสวนดอกไม้ คิดเป็ น
เศษส่วนเท่าใดของทังหมด
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(14) ฉันมีเงิน 2,500 บาท วันแรกฉันซือหนังสือและสมุดไป 1 ของเงินทังหมด วันทีสองซือเสือผ้ า 3
5 8
2
ของเงินทีเหลือจากวันแรก วันทีสามซือของใช้ สว่ นตัวอีก ของเงินทีเหลือจากวันทีสอง จะพบว่า
5
ในทีสุดฉันจะเหลือเงินกีบาท
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(15) ถังใบหนึงบรรจุนํามันเต็มถัง วันแรกใช้ นํามันไป 1 ของถัง วันทีสองใช้ นํามันไป 25 ลิตร พบว่า
3
1
นํามันเหลือ ของถัง จงหาว่าถังใบนีจุนํามันกีลิตร
4
ตอบ……………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 19 ……………………………………………

3 1
(16) บริษัทแห่งหนึงมีพนักงานหญิง ของจํานวนพนักงานทังหมด ในจํานวนนีปรากฏว่า ของ
8 6
2
จํานวนพนักงานหญิง และ ของจํานวนพนักงานชาย ยังไม่ได้ แต่งงาน ซึงรวมพนักงานทียัง
15
ไม่ได้ แต่งงานมี 21 คน จงหาจํานวนพนักงานทังหมด จํานวนพนักงานหญิง และพนักงานชาย
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(17) วันแรกฉันเดินทางไปได้ 12 กิโลเมตร ซึงคิดเป็ น 2 ของระยะทางทังหมด วันทีสองฉันเดินทางไป
7
2
ได้ ของระยะทางทีเหลือจากวันแรก จงหาระยะทางทีเหลือทีต้ องเดินต่อในวันทีสาม
5
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(18) แม่ค้าซือส้ มมาขายจํานวนหนึง พบว่ามีส้มเน่า 1 ของจํานวนส้ มทังหมด ต่อมาขายได้ 15 ของ
20 19
จํานวนส้ มทีเหลือจากเน่า ต่อมาแม่ค้าซือมาเพิมอีก 100 ผล ซึงทําให้ จํานวนส้ มทีมีขณะนีเท่ากับ
จํานวนส้ มทีซือมาครังแรก จงหาจํานวนส้ มทีซือมาในครังแรก
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(19) ชายคนหนึงขับรถจากจังหวัดหนึงไปยังอีกจังหวัดหนึง ชัวโมงแรกเขาขับได้ ระยะทาง 2 ของ
7
4
ระยะทางทังหมด ชังโมงทีสองเขาขับได้ ระยะทาง ของระยะทางทีเหลือ และชัวโมงทีสามเขาขับ
5
ได้ ระยะทาง 100 กิโลเมตร ซึงถึงทีหมายพอดี จงหาระยะทางระหว่างสองจังหวัดดังกล่าว
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(20) ในการเลือกตังประธานนักเรียนของโรงเรียนแห่งหนึง มีผ้ สู มัคร 2 คน ผู้ออกเสียงคือนักเรียนทุก
1
คน ปรากฏว่าในวันลงคะแนนเสียงมีนกั เรียนไม่มาโรงเรียน ของนักเรียนทังหมด นักเรียน
100
5
ทีมาโรงเรียนออกเสียงทุกคน ผู้ชนะการเลือกตังได้ คะแนนเสียง ของผู้ลงคะแนนทังหมด และได้
9
คะแนนมากกว่าอีกคนหนึงอยู่ 121 คะแนน จงหาจํานวนนักเรียนในโรงเรียนแห่งนี
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(21) พ่อค้ าประกาศลดราคาตู้เย็นลง 1 ของราคาทีปิ ดไว้ ถ้ าผู้ซือเงินสด พ่อค้ าจะลดให้ อีก 1 ของ
5 20
ราคาทีลดแล้ วในครังแรก ถ้ าฉันซือตู้เย็นด้ วยเงินสดราคา 5,700 บาท จงหาราคาทีปิ ดแต่แรก
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(22) ฉันมีอายุเป็ น 1 ของอายุของพ่อ น้ องฉันมีอายุเป็ น 4 ของอายุของฉัน ถ้ าผลรวมของอายุฉนั
4 5
และน้ องเป็ น 18 ปี จงหาอายุของพ่อ ของฉัน และของน้ องฉัน
ตอบ……………………………………………………………………………………….

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 20 ……………………………………………

1 1 4
(23) ถังนํารูปทรงสีเหลียมมุมฉาก กว้ าง 2 เมตร ยาวเป็ น 1 ของความกว้ าง และสูง ของ
2 2 5
4
ความยาว ถ้ าถังใบนีบรรจุนําเพียง ของถัง และต้ องการแบ่งนําทังหมดให้ กบั ครอบครัว 15
5
ครอบครัวๆละเท่ากัน แต่ละครอบครัวจะได้นํากีลูกบาศก์เมตร
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(24) กําหนดให้ 30  a  1 1 จงหา ค.ร.น. ของ a, b และ c
7 b
c
ตอบ……………………………………………………………………………………….
(25) จากข้ อสังเกตเราพบว่า 1  1  1 , 1  1  1 , 1

1

1
เป็ นต้ น
23 2 3 4 5 4 5 25  26 25 26
1 1 1 1 1 1
จงหาค่าของ       
2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 99  100
ตอบ……………………………………………………………………………………….

เก่งมากทีทําแบบฝึ กหัดจนเสร็จ ขอให้ ขยันอย่างเรืองไปนะครับ .......

สําหรับทดเลข

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 ………………………… 21 ……………………………………………

() ถ้ าระยะทางในแผนที 1 เซนติเมตร เท่ากับระยะทางจริง 200 กิโลเมตร อยากทราบว่าระยะทางใน


3
แผนที 1 เซนติเมตร เท่ากับระยะทางจริง
8

…………………………………………………………………...…… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 1 ………………………………………….

ทศนิยม

 ทศนิยม
เป็ นการเขียนแทนจํานวนประเภทหนึงทีไม่สมั พันธ์กบั การเขียนแทนด้ วยเศษส่วน แบ่งเป็ น
ทศนิยมรู้จบ เป็ นทศนิยมทีสามารถบอกจํานวนตําแหน่งได้
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบ เป็ นทศนิยมทีไม่สามารถบอกจํานวนตําแหน่งได้ แบ่งเป็ น
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบแบบไม่ ซาํ เช่น 3.12112111211112111112…
ทศนิยมไม่ ร้ ูจบแบบซํา เป็ นทศนิยมทีตัวเลขหลังจุดทศนิยมซํากันเป็ นรอบๆ เช่น

0.444444 … เขียนแทนด้ วย 0. 4 หรือ
 
8.12121212 … เขียนแทนด้ วย 8.12

 ค่ าประจําตําแหน่ งของทศนิยม
ทศนิยมเป็ นการเขียนสัญลักษณ์ตวั เลขแทนจํานวน โดยทิศนิยมค่าประจําตําแหน่งดังนี

ค่าประจําตําแหน่ง
ทศนิยมตําแหน่งที เป็ นเศษส่วน เป็ นทศนิยม ชือเรียก
1 1
1  1 0.1 ส่วนสิบ
10 10
1 1
2  2 0.01 ส่วนร้ อย
100 10
1 1
3  3
1, 000 10
0.001 ส่วนพัน
1 1
4  4
10, 000 10
0.0001 ส่วนหมืน
1 1
5  5
100, 000 10
0.00001 ส่วนแสน

  

ค่ าของตัวเลขในจํานวนทศนิยม เท่ากับ ตัวเลขในตําแหน่ง  ค่าประจําหลักของตําแหน่งนัน

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 2 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 1 ในแต่ละข้ อจงเติมตารางให้ สมบูรณ์


ตําแหน่งที
จํานวน ตัวเลข ค่าประจําตําแหน่ง ค่าของตัวเลข
(หลัก)

8.1024 8
1
0
2
4
–45.0297 4
5
0
2
9
7

ตัวอย่ างที 2 จงตอบคําถามต่อไปนี


(1) จากจํานวน 12.4572 ตัวเลข 2 ทังสองตัวมีคา่ ต่างกันเท่าใด

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) จากจํานวน 108.4507 ตัวเลข 0 ทังสองตัวมีคา่ ต่างกันเท่าใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) จากจํานวน 4.789 ตัวเลข 7 มีคา่ ประจําหลักเป็ นกีเท่าของค่าประจําลักของตัวเลข 9
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(4) จากจํานวน 71.47 ตัวเลข 7 ทังสองมีคา่ ประจําหลักต่างกันเท่าใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(5) จากจํานวน 24.452 ตัวเลข 2 ตัวหน้ าสุดมีคา่ เป็ นกีเท่าของเลขสองตัวหลังสุด
ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 3 ………………………………………….

 การเปรียบเทียบทศนิยม
หลักการเปรียบเทียบทศนิยมให้ เปรียบจํานวนทีอยู่หน้ าจุดทศนิยมก่อน ถ้ าจํานวนใดมีจํานวน
หน้ าจุดทศนิยมมากกว่า จํานวนนันก็จะมากกว่าอีกจํานวน (เหมือนบทที 1 จํานวนและตัวเลข) แต่ถ้า
หน้ าจุดทศนิยมเท่ากันให้ เปรียบเทียบจํานวนทีอยู่หลังจุดทศนิยมโดยเริมจากตําแหน่งทีหนึง เช่น
12.004 > 9.999 เพราะ 12 > 9
45.478 < 45.512 เพราะ 4 < 5

ตัวอย่ างที 3 จงเติมเครืองหมาย >,< = ลงในช่องว่างในแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) 10.2 ……….. 9.99 (2) -7.3 ………… -7.189
(3) 45.18 ……….. –45.9 (4) -85 ………… -85.00
(5) 6.09 ……….. 6.1 (6) -12.457 ……….. -12.453
(7) –7.1457 ……….. 7.1475 (8) -60.91………... -60.905
(9) 111.99 .………. 112.07 (10) -12.400 ………... -12.40000
(11) 107.18 ……….. 107.21 (12) -8.6371 ………... -8.638

 ความสัมพันธ์ ของทศนิยมและเศษส่ วน
ทศนิยมทุกจํานวนทีเป็ นทศนิยมแบบรู้จบหรือทีบอกจํานวนตําแหน่งได้ และทศนิยมซําทังหลาย
เราสามารถเปลียนให้ อยู่ในรูปเศษส่วนได้ และทํานองเดียวกันเราสามารถเปลียนจากเศษส่วนให้ เป้นท
ศนิยมได้ เช่นกัน ดังตัวอย่างต่อไปนี

ตัวอย่ างที 4 จงเขียนทศนิยมต่อไปนีให้ อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างตํา


(1) 0.8 = ………………….. (2) -0.12 = …………………….

(3) -0.5 = ………………….. (4) -0.34 = …………………….

(5) 0.005 = ………………….. (6) -0.125= …………………….

(7) -0.2414= ………………….. (8) -0.102= …………………….

(9) 8.4 = ………………….. (10) 14.528= …………………….

ตัวอย่ างที 5 จงเขียนทศนิยมซําต่อไปนีให้ อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างตํา


(1) 0.8 = ………………….. (2) 0.7 = …………………….

(3) 0.5 = ………………….. (4)  =


0.27 …………………….

(5)  =
0.45 ………………….. (6)  =
0.125 …………………….

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 4 ………………………………………….

(7)  =
0.704 ………………….. (8) 5.6 = …………………….

(9) 8.4 = …………………..  =


(10) 9.42 …………………….

(11) 0.28 = ………………….. (12) 0.127 = …………………….

(13) 2.435 = …………………..  =


(14) 13.427 …………………….

 การหาค่ าประมาณใกล้ เคียงของทศนิยม


หลักการประมาณค่าทศนิยมทําเช่นเดียวกับการประมาณคาจํานวนเต็มให้ ใกล้ เคียงจํานวนเต็ม
สิบ เต็มร้ อย เต็มพัน อย่างทีเคยทําในเรืองจํานวนและการบวก ลบ คูณ หาร

ตัวอย่ างที 6 จงหาค่าโดยประมาณตามเงือนไขต่อไปนี


(1) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นจํานวนเต็ม
12.4  ………………. -3.745  ………………
0.12  ………………. -74.52  ………………
25.494  ………………. -0.87  ………………
0.72  ………………. -10.607  ………………
(2) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมหนึงตําแหน่ง
12.12  ………………. -3.745  ………………
0.17  ………………. -74.541  ………………
25.494  ………………. -0.8499  ………………
9.9578  ………………. -19.97012  ………………
(3) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมสามตําแหน่ง
12.1427  ………………. -3.74547  ………………
0.17076  ………………. -74.5412  ………………
25.494014  ………………. -0.849953  ………………
9.957481  ………………. -19.97012  ………………
(4) จงประมาณจํานวนต่อไปนีให้ เป็ นทศนิยมสีตําแหน่ง
12.1427  ………………. -3.74547  ………………
0.17076  ………………. -74.5412  ………………
25.494014  ………………. -0.849953  ………………
9.957481  ………………. -19.97012  ………………

 การบวกและการลบทศนิยม
การบวกและลบทศนิยมทําเช่นเดียวกับการบวกลบจํานวนเต็ม เพียงแต่ต้องตังจุดทศนิยมให้
ตรงกันระหว่างตัวตังและตัวบวกหรือตัวลบ ดังนี

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 5 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 7 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) 12.45 – 23.47 = …………… (2) 21.45 – 18.45 = ……………...
(3) 71.6 + 78.475 = …………… (4) –5.45 – 12.9 = ……………...
(5) –100.76 + 1.789 = …………… (6) 12.1 – 9.9 = ……………...
(7) –451.45 – 12.4014= …………… (8) –97.47 – 47.1247 = ……………...
(9) –124.12 + 1.12144 = …………… (10) –541.7 – 124.7894= ……………...

 การคูณทศนิยม

ตัวอย่ างที 8 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) –0.75  3 = ……………… (2) -2.78  (–4)= ………………..
(3) 12.4  0.2 = ……………… (4) –1.4  2.5 = ………………..
(5) –2.45  (–4)= ……………… (6) 8.47  4.21 = ………………..
(7) 0.478  (–0.2)= ……………… (8) 0.007  0.0005 = ………………..
(9) 1.002  0.0014 = ……………… (10) (–47)  (–0.041) =………………..

 การหารทศนิยม
(1) การหารทศนิยมด้ วยจํานวนเต็ม ทําเช่นคล้ ายๆกับจํานวนเต็มแต่ต้องเติมจุดทีผลลัพธ์ให้
ตรงกับจุดของตัวตัง
(2) การหารทศนิยมด้ วยจํานวนทีเป็ นทศนิยม ให้ ทําตัวหารเป็ นจํานวนเต็มโดยการเอา 10
หรือ 100 หรือ 1,000 เป็ นต้ น มาคูณกับตัวหารนันก่อนซึงขึนอยู่กบั จํานวนตําแหน่งของตัวหารนัน
ถ้ าหารแล้ วยังเหลือเศษทีไม่ใช่ศนู ย์สามารถหารต่อได้ โดยการเติมศูนย์ทีเศษนันแล้ วหารตามปกติ

ตัวอย่ างที 9 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) 0.45  5 = …………….. (2) 12.48  4 = ………………
(3) –0.128  4 = .................... (4) -7.2  9 = .....................
(5) -1.024  8 = .................... (6) 14.4  (–16)= ………………
(7) 12.78  5 = …………….. (8) -0.007 3 = ………………
(9) -0.0014  0.2 = …………….. (10) 12.45  0.5 = ………………

ตัวอย่ างที 10 จงหาผลลัพธ์ตอ่ ไปนี


(1) (–0.003  0.4)  2.5 = …………………………………….
(2) (0.9  0.02) (–0.05) = …………………………………….
(3) (0.234 + 0.504)  0.4 = …………………………………….
(4) (1.524 – 3.224)  3.2 = …………………………………….

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 6 ………………………………………….

(5) (70  1.6) – (–0.05  0.16) = …………………………………….


(6) (1.3  0.25) – (1.1  0.25) = …………………………………….
(7) (1.3 + 1.1)  0.25 = …………………………………….
(8) (–170  3.2) – (–700  32) = …………………………………….
(9) (170 – 700)  3.2 = …………………………………….
(10) (0.7  0.08)  (1.3  (–0.25)) = …………………………………….

 ทบทวนความสัมพันธ์ ระหว่ างหน่ วยการวัดต่ างๆ


1. หน่ วยการวัดระยะทาง(การความยาว)
10 มิลลิเมตร = 1 เซนติเมตร 100 เซนติเมตร = 1 เมตร
1,000 เมตร = 1 กิโลเมตร
2. หน่ วยการวัดนําหนัก(การชัง)
100 กรัม = 1 ขีด 10 ขีด = 1 กิโลกรัม
1,000 กรัม = 1 กิโลกรัม 1,000 กิโลกรัม = 1 เมตริกตัน
3. หน่ วยการวัดปริมาตร(การตวง)
1 มิลลิลิตร = 1 ลบ.ซม. 1,000 ลบ.ซม. = 1 ลิตร
1,000 ลิตร = 1 ลบ.เมตร
4. หน่ วยการวัดพืนที
1 ตารางวา = 4 ตารางเมตร 100 ตารางวา = 1 งาน
4 งาน = 1 ไร่ 400 ตารางวา = 1 ไร่
5. หน่ วยเวลา
60 วินาที = 1 นาที 60 นาที = 1 ชัวโมง
24 ชัวโมง = 1 วัน 7 วัน = 1 สัปดาห์
30 วัน = 1 เดือน 365/366 วัน = 1 ปี
12 เดือน = 1 ปี 10 ปี = 1 ทศวรรษ
100 ปี = 1 ศตวรรษ
6. เงิน
100 สตางค์ = 1 บาท

หลักการเปลียนหน่ วย : จากหน่วยเล็กไปยังหน่วยใหญ่กว่าใช้ หลักการหาร


จากหน่วยใหญ่ไปยังหน่วยเล็กกว่าใช้ หลักการคูณ

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 7 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 11 จงเติมคําตอบลงในช่องว่างให้ ถกู ต้ อง


ข้ อที กําหนดให้ เขียนเป็ นเศษส่วน เขียนเป็ นทศนิยม
(1) 7 มิลลิเมตร ………………. เซนติเมตร ……………… เซนติเมตร
(2) 48 เซนติเมตร ……………….. เมตร ……………… เมตร
(3) 748 เมตร ……………….. กิโลเมตร ……………… กิโลเมตร
(4) 78 กรัม ……………….. กิโลกรัม ……………….. กิโลกรัม
(5) 45 ขีด ……………….. กิโลกรัม ……………….. กิโลกรัม
(6) 475 มิลลิลิตร ……………….. ลิตร ……………….. ลิตร
(7) 45 ลบ.เซนติเมตร ……………….. ลิตร ……………….. ลิตร
(8) 24 ลิตร ……………….. ลบ.เมตร ……………….. ลบ.เมตร
(9) 3 ตารางเมตร ……………….. ตารางวา ……………….. ตารางวา
(10) 262 ตารางวา ……………….. งาน ……………….. งาน
(11) 11 งาน ……………….. ไร่ ……………….. ไร่
(12) 25 ปี ……………….. ทศวรรษ ……………….. ทศวรรษ
(13) 47 ปี ……………….. ศตวรรษ ……………….. ศตวรรษ
(14) 9 สตางค์ ……………….. บาท ……………….. บาท
(15) 472 สตางค์ ……………….. บาท ……………….. บาท

ตัวอย่ างที 12 เติมตัวเลขในช่องว่างเพือทําให้ ประโยคเป็ นจริง


(1) 14.24 เมตร = ………… เมตร ………….. เซนติเมตร
(2) 5.478 กิโลเมตร = ………… กิโลเมตร ………….. เมตร
(3) 7.8 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. กรัม
(4) 8.2 บาท = ………… บาท ………….. สตางค์
(5) 20.04 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. ขีด
(6) 9.4 เซนติเมตร = ………… เซนติเมตร ………….. มิลลิเมตร
(7) 2.3 เมตร = ………… เมตร ………….. เซนติเมตร
(8) 5.5 กิโลเมตร = ………… กิโลเมตร ………….. เมตร
(9) 12.14 กิโลกรัม = ………… กิโลกรัม ………….. กรัม
(10) 7.5 บาท = ………… บาท ………….. สตางค์
(11) 5.3 ศตวรรษ = ………… ศตวรรษ ………….. ปี
(12) 9.47 งาน = ………… งาน ………….. ตารางวา

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 8 ………………………………………….

ตัวอย่ างที 13 จงเติมคําเติมตอบลงในช่องว่าง


(1) 1.25 นาที = ………………… วินาที
(2) 3.16 ชัวโมง = ………………… นาที

(3) 2.45 วัน = ………………… ชัวโมง

(4) 45 นาที = ………………… ชัวโมง

(5) 15 วินาที = ………………… นาที

(6) 6 ชัวโมง = ………………… วัน

 โจทย์ ปัญหาทศนิยม
(1) เดือนกันยายน โรงเรียนบ้ านวิชากรใช้ นําประปาไป 30.75 หน่วย ในเดือนตุลาคมใช้ ไป
27.80 หน่วย โรงเรียนบ้ านวิชากรใช้ นําประปาน้ อยลงไปกีหน่วย

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) น้ องเก็บเงินค่าขนมวันละ 42.25 บาท เป็ นเวลา 6 วัน น้ องเก็บเงินได้ ทงหมดกี
ั บาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) ภูกระดึงสูง 2.14 กิโลเมตร เขาใหญ่สงู 1.759 กิโลเมตร ภูกระดึงสูงกว่าเขาใหญ่เท่ใด
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(4) สุพจน์มเี งิน 302.25 บาท คุณพ่อให้ มาอีก 28.50 บาท ใช้ ไป 130.75 บาท เขาเหลือ
เงินอยูเ่ ท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(5) มีเชือกยาวเส้ นละ 5.45 เมตร จํานวน 8 เส้ น นํามาวางต่อกันจะได้ ความยาวเท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(6) ซือยาสีฟัน 2 กล่องๆละ 16.25 บาท ซือสบู่ 6 ก้ อนๆ ละ 8.50 บาท ให้ ธนบัตรฉบับ
ละ 500 บาท จะได้ เงินทอนกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(7) ขนมราคาชินละ 6.25 บาท แดงมีเงิน 75 บาท จะซือขนมได้ กีชิน
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(8) ไข่ไก่ 12 ฟอง ราคา 39 บาท ไข่เป็ ด 6 ฟอง ราคา 21 บาท ถ้ าซืออย่างละ 10
ฟอง จะต้ องจ่ายเงินกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 9 ………………………………………….

(9) มีนําปลา 16.5 ลิตร แบ่งใส่ขวดๆละ 1.5 ลิตร และขายไปขวดละ 20.50 บาท จะได้
เงินทังหมดกีบาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(9) สมพล วิงได้ ไกลชัวโมงละ 1.24 กิโลเมตร ถ้ าเขาวิงนาน 1 ชัวโมงครึง จะได้ ระยะทาง
เท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(10) วินยั ซือสมุด 4 เล่ม ราคาเล่มละ 11.25 บาท และซือปากกา 3 ด้ าม ราคาด้ ามละ
8.75 บาท ให้ ธนบัตรฉบับละร้ อยบาท 1 ฉบับ จะได้ รับเงินทอนกีบาท

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(11) คุณพ่อขับรถจากกรุงเทพฯไปโคราชเป็ นระยะทาง 350 กิโลเมตร และคุณพ่อเคย
คํานวณดูวา่ นํามัน 1 ลิตร จะแล่นไปได้ ไกล 12.5 กิโลเมตร คุณพ่อจะต้ องเสียค่านํามัน
กีบาท ถ้ านํามันราคาลิจรละ 26.15 บาท
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(12) กระดาษรูปสีเหลียมผืนผ้ า กว้ าง 45.5 เซนติเมตร และ ยาว 60.75 เซนติเมตร ถ้ าตัด
กระดาษทีมุมทังสีออกเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส ยาว 5.25 เซนติเมตร จงหาพืนทีของ
กระดาษทีเหลือจากการตัดมุม
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(13) นายแก้ ว ขับรถเดินทางเป็ นระยะทาง 1390 กิโลเมตร ในการเดินทางครังนีต้ องเติม
นํามัน 3 ครัง จํานวน 35.5 ลิตร 41.7 ลิตร และ 30.3 ลิตร เมือถึงทีหมาย นํามัน
หมดพอดี จงหาว่าโดยเฉลียแล้ วนํามัน 1 ลิตร จะเดินทางได้ กีกิโลเมตร
(คิดเป็ นทศนิยม 2 ตําแหน่ง)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(14) แจ็บ ขับรถได้ ระยะทาง 320 กิโลเมตร ในเวลา 3 ชัวโมง 30 นาที
(1) ถ้ า แจ็บ ขับได้ ระยะทาง 450 กิโลเมตร เขาจะต้ องใช้ เวลาขับนานเท่าไร
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) ถ้ านาย แจ็บ ขับนาน 2 ชัวโมง 18 นาที เขาขับได้ ระยะทางกีกิโลเมตร

ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) จงหาความเร็วเฉลียของการขับรถของนาย แจ็บ

ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


คณิ ตศาสตร์ช่วงชันที 2 ………………………… 10 ………………………………………….

(15) ถ้ านําหนักบนดาวพฤหัสบดีเป็ น 0.05 เท่าของนําหนักบนดวงจันทร์ และนําหนักบนดวง


จันทร์เป็ น 0.155 เท่าของนําหนักบนโลก
(1) วัตถุชินหนึงชังบนดาวพฤหัสบดีหนัก 25 กิโลกรัม 800 กรัม
จงหาวัตถุนีมีนําหนักเท่าไรบนพืนโลก (ตอบเป็ นจํานวนเต็มกิโลกรัม)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(2) วัตถุชินหนึงชังบนดวงจันทร์ หนัก 100 กิโลกรัม

จงหาวัตถุนีมีนําหนักเท่าไรดาวพฤหัสบดีและบนโลกต่างกันกีกิโลกรัม
(ตอบเป็ นจํานวนเต็มกิโลกรัม)
ตอบ ……………………………………………………………………………………
(3) นําหนักบนดาวพฤหัสบดีหนักเป็ นกีเท่าของนําหนักบนพืนโลก

ตอบ ……………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………… อ. รังสรรค์ (อ. ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
1

สามเหลียม

1. ชนิดของสามเหลียม
สามเหลียม เป็ นรูปปิ ดทีมีด้านสามด้ าน มุมสามมุม แต่ละมุมเรียกว่า มุมภายในของรูป
สามเหลียม ชนิดของสามเหลียมจะแบ่งตามลักษณะของด้ านและลักษณะของมุมได้ ดงั นี

ชนิดสามเหลียมแบ่งตามลักษณะของด้ าน ชนิดสามเหลียมแบ่งตามลักษณะของมุม
1. รูปสามเหลียมด้ านเท่า 1. รูปสามเหลียมมุมแหลม

คุณสมบัติ คุณสมบัติ
1) มีด้านเท่ากันทุกด้ าน 1) มุมทุกมุมเป็ นมุมแหลม
2) มุมภายในแต่ละมุมเท่ากับ 60 องศา
3) มีแกนสมมาตร 3 แกน
2. รูปสามเหลียมหน้ าจัว 2. รูปสามเหลียมมุมฉาก

a c

คุณสมบัติ b
1) มีด้านเท่ากัน 2 ด้ าน คุณสมบัติ
2) มีมมุ เท่ากัน 2 มุม (มุมทีฐาน) 1) มีมม
ุ 1 มุมเป็ นมุมฉาก
3) มีแกนสมมาตร 1 แกน 2) c2 = a2 + b2

3. รูปสามเหลียมด้ านไม่เท่า 3. รูปสามเหลียมมุมป้าน

คุณสมบัติ คุณสมบัติ
1) ไม่มีด้านเท่ากัน 1) มีมมุ 1 มุมเป็ นมุมป้าน
2) ไม่มีมมุ เท่ากัน
3) ไม่มีแกนสมมาตร

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
2

2. ส่ วนประกอบของสามเหลียม
B

A D C

กําหนดรูปสามเหลียม ABC และให้ ด้าน AB เป็ นฐาน จะได้


มุมยอดคือ…………………………………………………………
จุดยอดมุมคือ………………………………………………………
ด้ านประกอบมุมยอดคือ…………………………………………….
มุมทีฐานคือ………………………………………………………..
ส่วนสูงของสามเหลียมคือ …………………………………………..

3.สมบัติรูปสามเหลียม
1. มุมภายในรูปสามเหลียมทัง 3 มุมรวมกันได้ 180 องศา
2. ผลบวกของด้ านสองด้ านจะมากกว่าอีกด้ านทีเหลืออยู่
3. มุมภายนอกทีเกิดจากการต่อด้ านใดด้ านหนึงออกไปจะเท่ากับผลบวกของมุมภายในทีไม่ใช่มมุ
ประชิด
4. ผลบวกของมุมภายนอกทีเกิดจากการต่อด้ านทังสามออกไปในทิศทางตามเข็มนาฬิกาเท่ากับ
360 องศา

ตัวอย่ าง 1 จงพิจารณาว่าเงือนไขในแต่ละข้ อต่อไปนีทีสามารถสร้ างรูปสามเหลียมได้


1. มุมทีมีขนาด 30 องศา , 53 องศา และ 77 องศา
2. มุมทีมีขนาด 45 องศา , 45 องศา และ 90 องศา
3. ส่วนของเส้ นตรงทีมีความยาว 7 ซม. , 3 ซม. และ 4 ซม.
4. ส่วนของเส้ นตรงทีมีความยาว 12 ซม. , 5 ซม. และ 13 ซม.
5. ส่วนของเส้ นตรงทีมีความยาว a ซม. , 2a ซม. และ 3a ซม. เมือ a เป็ นจํานวนใดๆ

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
3

ตัวอย่ าง 2 จงหาค่า x ในแต่ละข้ อต่อไปนี


1

2x

60o 45o
2

70o

x 3x

3
80o

120o
4x

ตัวอย่ าง 3 ถ้ าเชือกเส้ นหนึงยาว 12 ซม. สามารถสร้ างรูปสามเหลียมทีต่างกันได้ กีรูป

ตัวอย่ าง 4 ถ้ าเชือกเส้ นหนึงยาว 24 ซม. สามารถสร้ างรูปสามเหลียมได้ กีรูปและในจํานวนสามเหลียม


ดังกล่าวเป็ นรูปสามเหลียมหน้ าจัวกีรูปและสามเหลียมด้ านเท่ากีรูป

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
4

4. ความยาวรอบรูปสามเหลียม
B
กําหนรูปสามเหลียม ABC
ความยาวรอบรูป เท่ากับ AB  BC  CA

A C

ตัวอย่ าง 5จากรูปและสิงทีกําหนดให้ จงหาความยาวรอบรูป


1.
60o 30o
10 ซม.

60o 30o ความยาวรอบรูป = …………………………


6 ซม.
2.

6 นิว

8 นิว ความยาวรอบรูป = …………………………


3. 20 ซม.
30o 30o
15 ซม.

60o
ความยาวรอบรูป = …………………………
4.

6 นิว

4 นิว ความยาวรอบรูป = …………………………


….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
5

5.
60o
5 ซม.

30o ความยาวรอบรูป = …………………………


3 ซม.
6.

30o

60o
ความยาวรอบรูป = …………………………
10 ซม.
7. 3
120o

8 9

ความยาวรอบรูป = …………………………
8.

13 ซม.
15 ซม.
10 ซม.
ความยาวรอบรูป = …………………………

ตัวอย่ าง 6 ถ้ าเชือกเส้ นหนึงสร้ างเป็ นรูปสามเหลียมรูปหนึงมีด้านทุกด้ านยาว 6 ซม. ถ้ านํามาสร้ าง


เป็ นรูปสามเหลียมทีมีมมุ 2 มุมเท่ากัน จงพิจารณาว่าเราสามารถสร้ างได้ กีรูปทีแตกต่างกัน

5. พืนทีรู ปสามเหลียม
….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
6

สูตรที 1 ถ้ าโจทย์ กําหนดความยาวฐานและส่ วนสูง


B
กําหนรูปสามเหลียม ABC
1
พืนที  ABC =  AC  BD
2
1
= ด ฐาน ด สูง
2
A C
D

สูตรที 2 ถ้ าโจทย์ กําหนดความยาวด้ านทังสาม


B
กําหนรูปสามเหลียม ABC
พืนที ABC = S (S  a)(S  b)(S  c)
c
a abc
เมือ S
2

A C
b

สูตรที 3 สําหรับพืนทีสามเหลียมด้ านเท่า


B
กําหนรูปสามเหลียม ABC
3
พืนที ABC =  a2
4
3
 ด ด้ าน ด ด้ าน
4
A C
a

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
7

ตัวอย่ าง 7 จงหาพืนทีของรูปสามเหลียมต่อไปนี
1.

6 ซม.

พืนที = …………………………
10 ซม.
2.

13 ซม.
5 ซม.
พืนที = …………………………
3.

16

พืนที = …………………………
8
4.

4
5

พืนที = …………………………
7
5.

4
3

5 พืนที = …………………………


6.

4
พืนที = …………………………
….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
8

ตัวอย่ าง 8 จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา

5 ซม.

12 ซม.

18 ซม.

ตัวอย่ าง 9 จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา

4 ซม.

10 ซม.

16 ซม.

ตัวอย่ าง 10 จงหาพืนที  ABC

4 ซม. A

3 ซม.
B

7 ซม.

C
10 ซม.
….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
9

ตัวอย่ าง 11 มีสามเหลียม ABC และสามเหลียม DEF ดังรูป พืนทีสามเหลียม DEF เท่ากับ 20


ตารางเซนติเมตร จงหาพืนทีสามเหลียม ABC
C D
25o
25o
20 ซม.
8 ซม.

A B E 65o F

ตัวอย่ าง 12 มีสามเหลียม ABC และสามเหลียม DEF ดังรูป พืนทีสามเหลียม DEF เท่ากับ 6.4
ตารางเซนติเมตร จงหาพืนทีสามเหลียม ABC
D

4 ซม. 4 ซม.

A 27o 36o B 63o


10 ซม. E F

ตัวอย่ าง 13 ABCD เป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส ซึงมีด้านยาวด้ านละ 30 ซม. จุด P และ Q เป็ นจุดทีอยู่
บนด้ าน BC และ CD ตามลําดับ ถ้ าจุด P อยู่กึงกลางของด้ าน BC และด้ าน QD ยาว
12 ซม. จงหาพืนที  APQ

A D

B P C

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
10

ตัวอย่ าง 14 จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา
4

0
2 4

ตัวอย่ าง 15 กําหนดพืนทีบริเวณ A และ B เท่ากับ 20 และ 25 ตามลําดับ จงหาว่าพืนทีบริเวณ A


และพืนทีบริเวณ B ต่างกันอยู่เท่าไร

ตัวอย่ าง 16 จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา
10 ซม.

8 ซม.
20 ซม.

6 ซม.
12 ซม. 10 ซม. 24 ซม.

ตัวอย่ าง 17 กําหนดให้  ABC และ ABO เป็ นสามเหลียมหน้ าจัวจงหาพืนทีส่วนทีแรเงา


C

8 ซม.
O

A B

12.4 ซม.
….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
11

 สมบัติรูปสามเหลียม(เพิมเติม)
1. สมบัติเกียวกับความยาวด้ านและพืนที
C

A D B

จากรูปสามเหลียม ABC มี AD : DB = x:y

จะได้ พืนที ACD : BCD = x : y


ACD AD
นันคือ 
BCD DB

2. สมบัติเกียวกับรูปสามเหลียมคล้ าย
รูปสามเหลียม 2 รูปจะคล้ ายกัน ก็ตอ่ เมือ มีมมุ ทังสามคูเ่ ท่ากันคูต่ อ่ คู่
B

A C P R

กําหนดให้ ABC   PQR


AB BC AC
จะได้ วา่  
PQ QR PR

ตัวอย่ าง 18 จากรูปกําหนดให้ พืนที ABD เท่ากับ 13 ตร.ซม. และ CD : DB = 2 : 1จงหา


พืนทีของสามเหลียม ABC
A

C
B
D

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
12

ตัวอย่ าง 19 กําหนดให้ พืนที ABD เท่ากับ 108 ตร.ซม. และ


CD : DE : ED = 1 : 3 : 2 จงหาพืนทีของสามเหลียม ABC
A

C D E B

ตัวอย่ าง 20 จากรูปจงหาความยาวด้ านทียาว a และ b หน่วย


1.

20
b 5
2.5

a
12

2.

24
b

a
18

3.

10
6 a

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
13

 ตัวอย่ างโจทย์ เกียวกับสามเหลียม


ตัวอย่ าง 21 จากรูป ABCD เป็ นรูปสีเหลียมด้ านขนาน มีเส้ นทแยงมุมตัดกันทีจุด O , P เป็ นจุด
กึงกลางของด้ าน BC , Q เป็ นจุดกึงกลางของด้ าน BO , และ R เป็ นจุดกึงกลางของด้ าน OP
จงหาว่ารูปสามเหลียม PQR เป็ นกีเท่าของพืนทีรูปสีเหลียม ABCD
A B

P
O R

D
C

ตัวอย่ าง 22 จากรูป ABCD เป็ นรูปสีเหลียมมุมฉาก AB เท่ากับ 60 เซนติเมตร AD เท่ากับ 36

เซนติเมตร รูปสามเหลียม CEG มีพืนทีเป็ นกีเท่าของรูปสามเหลียม ABCD


D C

A B
E F G H

ตัวอย่ าง 23 รูปสามเหลียมมุมฉากรูปหนึงมีด้านประกอบมุมฉากยาว 28 และ 20 เซนติเมตร ถ้ าสร้ าง


รูปสีเหลียมมุมฉากให้ ด้านหนึงอยูบ่ นด้ านประกอบมุมฉากทีสันและมีพืนทีเท่ากับรูปสามเหลียมมุม
ฉากนัน เส้นรอบรูปของรอบรูปสีเหลียมมุมฉากยาวเท่าไร

ตัวอย่ าง 24 รูปสามเหลียมรูปหนึงมีฐานยาว 12 เซนติเมตร มีพืนทีเท่ากับพืนทีของรูปสีเหลียมมุม


ฉากรูปหนึง ซึงกว้ าง 9 เซนติเมตรและยาว 10 เซนติเมตร รูปสามเหลียมรูปนีมีสว่ นสูงเท่าไร

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
14

ตัวอย่ าง 25 จากรูปจงหาค่าของ y

40o

ตัวอย่ าง 26 ABCD เป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส EF เป็ นเส้นแบ่งครึง ABCD ถ้ าพับมุม A และ B ของ
สีเหลียมจัตรุ ัสนีให้ จดุ ทังสองไปพบกันบนเส้ น EF ทีจุด G ดังรูป จงหาค่าของมุม x
A D

E F
G

B C

ตัวอย่ าง 27 จากรูปจงหาพืนทีสามเหลียม ABD

20 ซม. 25 ซม.

30 ซม.
ตัวอย่ าง 28 ให้ ABC เป็ นสามเหลียมใดๆ และจุด D , E และ F คือจุดทีเกิดจากการต่อด้ าน AB ,

BC และ CA ออกไปให้ มีความยาวเป็ น 2 เท่าของแต่ละด้ านตามลําดับ จงหาพืนทีของ

สามเหลียม DEF จะเป็ นกีเท่าของสามเหลียม ABC


F

B C
D E

….………..……………………………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
1

สีเหลียม

1. ชนิดของสีเหลียม
สีเหลียม เป็ นรูปปิ ดทีมีด้านสีด้ าน มุมสีมุม แต่ละมุม เรียกว่า มุมภายในของรูปสีเหลียม ซึงมุม
ภายในรูปสีเหลียมรวมกันเท่ากับ 360 องศา รูปสีเหลียมแบ่งเป็ นชนิดต่างๆได้ ดงั นี
ชนิดของสีเหลียม สมบัติของสีเหลียม
1. รูปสีเหลียมจัตรุ ัส (1) มีด้านทังสียาวเท่ากัน
(2) ด้ านตรงทังสองคูข่ ้ ามขนานกัน
(3) มุมทังสีเป็ นมุมฉาก
(4) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นมีความยาวเท่ากัน
(5) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดกันเป็ นมุมฉาก
(6) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดแบ่งครึงซึงกันและกัน
(7) มีแกนสมมาตร 4 แกน

2. รูปสีเหลียมผืนผ้ า (1) มีด้านตรงข้ ามยาวเท่ากันแต่ยาวไม่เท่ากันทุกด้ าน


(2) ด้ านตรงข้ ามทังสองคูข่ นานกัน
(3) มุมทังสีเป็ นมุมฉาก
(4) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นมีความยาวเท่ากัน
(5) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดกันไม่ เป็ นมุมฉาก
(6) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดแบ่งครึงซึงกันและกัน
(7) มีแกนสมมาตร 2 แกน
3. รูปสีเหลียมด้ านขนาน (1) มีด้านตรงข้ ามยาวเท่ากันแต่ยาวไม่เท่ากันทุกด้ าน
(2) ด้ านตรงข้ ามทังสองคูข่ นานกัน
(3) มุมตรงข้ ามมีขนาดเท่ากัน แต่ไม่เป็ นมุมฉาก
(4) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นมีความยาวไม่เท่ากัน
(5) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดกันไม่ เป็ นมุมฉาก
(6) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดแบ่งครึงซึงกันและกัน
(7) ไม่มีแกนสมมาตร

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
2

(ต่ อ)
ชนิดของสีเหลียม สมบัติของสีเหลียม
4. รูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน (1) มีด้านทังสียาวเท่ากัน
(2) ด้ านตรงข้ ามทังสองคูข่ นานกัน
(3) มุมตรงข้ ามมีขนาดเท่ากัน แต่ไม่เป็ นมุมฉาก
(4) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นมีความยาวไม่เท่ากัน
(5) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดกันเป็ นมุมฉาก
(6) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดแบ่งครึงซึงกันและกัน
(7) ไม่มีแกนสมมาตร
5. รูปสีเหลียมคางหมู
มีด้านขนานกันเพียง 1 คู่

6. รูปสีเหลียมรูปว่าว (1) มีด้านประชิดยาวเท่ากันเพียง 2 คู่


(2) มีมมุ ตรงข้ ามทีขนาดเท่ากัน 1 คู่
(3) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นมีความยาวไม่เท่ากัน
(4) เส้ นทแยงมุมทังสองเส้ นตัดกันเป็ นมุมฉาก
(5) มีแกนสมมาตร 1 แกน

7. รูปสีเหลียมด้ านไม่เท่า
เป็ นรูปสีเหลียมทีมีด้านทังสียาวไม่เท่ากัน

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
3

ตัวอย่ าง 1. จงเติมคําตอบลงในช่องว่าง
1) รูปสีเหลียมทีมีด้านตรงข้ ามยาวเท่ากัน แต่ด้านทีอยู่ตด
ิ กันยาวไม่เท่ากัน
เรียกว่า………………………………………………………………………………
2) รูปสีเหลียมทีมีเส้ นทแยงมุมแบ่งครึงซึงกันและกันได้ แก่ ………………………………..
………………………………………………………………………………………
3) รูปสีเหลียมทีด้ านขนานกัน 2 คู่
ได้ แก่…………………………………………………………………………………
4) รูปสีเหลียมทีมีเส้ นทแยงมุมยาวเท่ากันได้ แก่ ……………………………………………
5) รูปสีเหลียมทีมีเส้ นทแยงมุมตัดกันเป็ นมุมฉากได้ แก่ ……………………………………..
………………………………………………………………………………………
6) รูปสีเหลียมทีมีเส้ นทแยงมุมตัดแบ่งครึงซึงกันและกัน ได้ แก่ ………………………………
………………………………………………………………………………………
7) รูปสีเหลียมทีเส้ นทแยงมุมแบ่งออกเป็ นสามเหลียม 2 รูปทีมีพืนทีเท่ากัน ได้ แก่
………………………………………………………………………………………
ตัวอย่ าง 2. จากรูป จงตอบคําถามต่อไปนี
จากรูปด้ านซ้ ายมีรูปสีเหลียมชนิดใดบ้ าง
…………………………………………………

รูปสีเหลียมจัตรุ ัสมี ………………….…….รูป

รูปสีเหลียมผืนผ้ ามี………………………...รูป

รูปสีเหลียมคางหมูมี ………………………รูป

ตัวอย่ าง 3. จากรูป จงตอบคําถามต่อไปนี


จากรูปด้ านซ้ ายมีรูปสีเหลียมชนิดใดบ้ าง
…………………………………………………

รูปสีเหลียมด้ านขนานมี …………………..รูป

รูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูนมี……………….รูป

รูปสีเหลียมคางหมูมี ………………………รูป

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
4

2. ความยาวรอบรูปสีเหลียม

ความยาวรอบรูปของรูปสีเหลียมใดๆ เท่ากับ ผลบวกของความยาวด้ านทุกด้ าน


ความยาวรอบรูปสีเหลียมผืนผ้ าหรือสีเหลียมด้ านขนาน เท่ากับ 2ด(กว้ าง + ยาว)
ความยาวรอบรูปสีเหลียมจัตรุ ัสหรือสีเหลียมขนมเปี ยกปูน เท่ากับ 4ดด้ าน

ตัวอย่ าง 1. จงหาความยาวรอบรูปของสีเหลียมแต่ละรูปต่อไปนี
1. 5 ซม.

ความยาวรอบรูป =……………...

2. 14 ซม.
10 ซม.
ความยาวรอบรูป =……………...
3.

4.5 ซม.

ความยาวรอบรูป =……………...

4.

6 นิว 60o
ความยาวรอบรูป =……………...

5.

4 ซม.
3 ซม.

7 ซม. ความยาวรอบรูป =……………...

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
5

ตัวอย่ าง 5. จงหาความยาวรอบรูปต่อไปนี
10
1.

2 6
10 ความยาวรอบรูป =……………...

2.

12
ความยาวรอบรูป =……………...

3.

15 ความยาวรอบรูป =……………...

20
4.

10
ความยาวรอบรูป =……………...

16

5.

15
ความยาวรอบรูป =……………...

15

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
6

6.

19
ความยาวรอบรูป =……………...
21

7.

10

ความยาวรอบรูป =……………...
8

ตัวอย่ าง 6. ถ้ า มีเส้ นรอบรูป เท่ากับ 16 จงเชือมต่อ จํานวน 10 รูป


เพือให้ ได้ ความยาวรอบรูปทีมากทีสุด และความยาวทีได้มีคา่ เท่าไร

ตัวอย่ าง 7. จงหาคําตอบต่อไปนี
1) รูปสีเหลียมจัตรุ ัสทีมีความยาวรอบรูป 48 เซนติเมตร จะมีความยาวด้ านละ
………………………เซนติเมตร
2) รูปสีเหลียมผืนผ้ าทีมีความยาวรอบรูป 35 เซนติเมตร และกว้ าง 7 เซนติเมตรจะมี
ด้ านยาว ……………………………….เซนติเมตร
3) รูปสีเหลียมรูปว่าวมีเส้ นรอบรูป 42 นิว และมีด้านสันกว่ายาว 6 นิว จะมีด้านยาว
สุดเท่ากับ …………………… นิว
4) รูปสีเหลียมด้ านขนานมีเส้ นรอบรูป 44.4 นิว และมีด้านยาวกว่ายาว 12.2 นิวจะมี
ด้ านสันกว่ายาวเท่ากับ …………………… นิว
5) นําเชือกมาขดเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส จะมีความยาวด้ านละ 10.5 เซนติเมตร แต่ถ้า
นํามาขดใหม่เป็ นรูปสีเหลียมรูปว่าว โดยให้ ด้านสันกว่ามีความยาวด้ านละ 8 เซนติเมตร
แล้ วด้ านทียาวกว่าจะมีความยาวด้ านละ …………………… เซนติเมตร
6) เชือกเส้ นหนึงขดเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้ า มีด้านกว้ าง 7 นิว ด้ ายยาว 10 นิว ถ้ านํา
เชือกเส้ นนีมาขดเป็ นรูปสามเหลียมด้ านเท่าจะมีความยาวด้ านละ………………นิว

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
7

7) สวนสาธารณะมีลกั ษณะเป็ นรูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน มีความยาวด้ านละ 1250


เมตร ต้ องการปั กเสาเพือทํารัวโดยรอบห่างกันต้ นละ 10 เมตร จะต้ องใช้ เสาทัง
หมด ……………… ต้ น
8) ทีดินแปลงหนึงมีด้านกว้ าง 125 เมตร ด้ านยาว 250 เมตร ต้ องการปลูกต้ นไม้
โดยรอบให้ มรระยะห่างแต่ละต้นเท่ากัน จะต้ องเตรียมต้ นไม้ สําหรับปลูก
………………………ต้ น
9) สีเหลียมมุมฉากรูปหนึงมีความยาวรอบรูปเท่ากับ 72 นิว ถ้ าแบ่งสีเหลียมมุมฉากนี
ออกเป็ นสีส่วนเท่าๆกันจะได้ รูปสีเหลียมรูปเล็กทีมีความยาวรอบรูป เท่ากับ
……………….นิว
10) รูปสีเหลียมหนึงมีเส้ นรอบรูปเท่ากับ 48 เซนติเมตร ถ้ าต้ องการสร้ างรูปสามเหลียม
หน้ าจัวให้ มีเส้นรอบรูปเท่ากับของสีเหลียม และมีด้านหนึงยาว 16 เซนติเมตร
ด้ านทียาวเท่ากันจะยาวด้ านละ…………………..เซนติเมตร

ตัวอย่ าง 8. ทีดินแปลงมีแผนทีแสดงดังข้ างล่าง จงหาว่าถ้ าต้ องการปักเสาทีแต่ละต้ นห่างเท่ากันเพือ


เป็ นรัวโดยรอบจะใช้ เสาน้ อยทีสุดกีต้ น
13 ซม.

6 ซม.

มาตราส่วน 1 ซม. : 10 ม.
ตัวอย่ าง 9 ทีดินแปลงมีแผนทีแสดงดังข้ างล่าง จงหาว่าถ้ าต้ องการปลูกต้นไม้ โดยรอบทีดินยกเว้ นด้ าน
ทีติดกับถนน และแต่ละต้ นห่างเท่าๆกัน จะใช้ ต้นไม้ น้อยทีสุดกีต้ น
24 ซม.

12 ซม.

มาตราส่วน 1 : 1000
ตัวอย่ าง 10. เชือกเส้นหนึงยาว 16 เมตร นํามาสร้ างเป็ นรูปสีเหลียมมุมฉากได้ กีแบบทีความ
ยาวด้ านเป็ นจํานวนเต็ม จะสามารถสร้ างได้ กีรูป

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
8

3. พืนทีรู ปสีเหลียม
การหาพืนทีรูปสีเหลียมสามรถหาโดยใช้ สตู รต่อไปนี
ชนิดของสีเหลียม สูตรพืนที
1. รูปสีเหลียมจัตรุ ัส พืนที = ด้ าน ด ด้ าน
1
= ด ผลคูณเส้นทแยงมุม
2
2. รูปสีเหลียมผืนผ้ า ยาว
กว้ าง พืนที = กว้ าง ด ยาว

3. รูปสีเหลียมด้ านขนาน
สูง พืนที = ฐาน ด สูง
ฐาน

4. รูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูน
พืนที = ฐาน ด สูง
สูง
1
= ด ผลคูณเส้นทแยงมุม
ฐาน 2

5. รูปสีเหลียมคางหมู

สูง สูง 1
พืนที = ด ผลบวกด้ านคูข่ นาน ด สูง
2

6. รูปสีเหลียมรูปว่าว

1
พืนที = ด ผลคูณเส้ นทแยงมุม
2

7. รูปสีเหลียมด้ านไม่เท่า

เส้ นกิง
พืนที= 1 ดผลบวกเส้ นกิงดเส้ นทแยงมุม
เส้ นกิง 2

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
9

ตัวอย่ าง 11. จงหาพืนทีแต่ละข้ อต่อไปนี


1. 2

4 ซม.
7 ซม.
2 ซม.
8 ซม.
13 ซม.
พืนที =…………………….... พืนที =……………………....
8 นิว.
3. 4.
9 นิว 5 นิว
5 นิว
4 ซม.
12 นิว
10 ซม.
10 นิว
พืนที =…………………….... พืนที =……………………....
5. 6.

5 1.5

3 3.2
2.5

พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

7. 8. 14

12
19 5
12.5

5
20

พืนที =…………………….... พืนที =……………………....


……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
10

9. 10.

13
12

30

3 4

40

พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

ตัวอย่ าง 12. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา


14
1. 2.
2

12 6 18
3 3
6
6
2
20
20
พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

3. 4 4. 8
6 8
6
10
4 4
6
4 6

14 10

พืนที =…………………….... พืนที =……………………....


14 ซม.
5. 20 นิว 6.
20 ซม.
26

52 นิว 10 ซม.

10 ซม.
นิว 40
8 ซม.
พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
11

7. 8.
6 ซม.
10 ซม.
18 ซม.

13 ซม.
พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

9. 10.
10 วา 24 ม.
20 วา

15 วา
30 วา
25 วา

25 วา
30 ม.

พืนที =…………………….... พืนที =……………………....

ตัวอย่ าง 13. โจทย์ปัญหาพืนทีสีเหลียมทีต้ องอาศัยการแก้ สมการ


1) สีเหลียมผืนผ้ ารูปหนึงมีพืนที 360 ตร.ซม. ถ้ าด้ านยาวยาว 30 ซม. ความยาวด้ านกว้ าง
เท่ากับ…………………………ซม.
2) สีเหลียมจัตรุ ัสรูปหนึงมีพืนที 196 ตร.เมตร จะมีความด้ านละ………………….เมตร
3) สีเหลียมจัตรุ ัสรูปหนึงมีพืนที 18 ตร.ซม. จะมีเส้ นทแยงมุมยาว………………..ซม.
4) สีเหลียมด้ านขนานรูปหนึงมีพืนที 96 ตารางนิว ถ้ าฐานของสีเหลียมรูปนียาว 12 นิว ความ
สูงของสีเหลียมด้ านขนานนีเท่ากับ……………………นิว
5) สีเหลียมด้ านขนานรูปหนึงมีพืนที 180 ตารางฟุต ความสูงของสีเหลียมนีเท่ากับ 12 ฟุต
ความยาวด้ านของฐานเท่ากับ…………………………..ฟุต
6) สีเหลียมขนมเปี ยกปูนรูปหนึง มีพืนที 384 ตารางหน่วย ถ้ าเส้ นทแยงมุมเส้นหนึงยาว 24
หน่วย ความยาวของเส้นทแยงมุมอีกเส้นยาว…………………………หน่วย

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
12

7) สีเหลียมคางหมูรูปหนึง มีพืนที 80 ตร.ซม. ผลบวกด้ านคูข่ นานเท่ากับ 20 ซม. ระยะห่าง


ระหว่างด้ านคูข่ นานเท่ากับ………………………..ซม.
8) สีเหลียมคางหมูมีพืนที 225 ตร.ม. มีด้านคูข่ นานหนึงยาว 18 ม. ระยะห่างด้ านคูข่ นาน
เท่ากับ 15 ม. ความยาวด้ านคูข่ นานอีกด้ านเท่ากับ………………………ม.
9) สีเหลียมรูปว่าวรูปหนึง มีพืนที 96 ตร.ซม. ถ้ าเส้ นทแยงมุมเส้ นหนึงยาว 12 ซม. ความยาว
ของเส้ นทแยงมุมอีกเส้นหนึงยาว………………………..ซม.
10) สีเหลียมใดๆรูปหนึงมีพืนที 1,000 ตารางหน่วย ความยาวของเส้ นทแยงมุมเท่ากับ 50
หน่วย ผลบวกของเส้ นกิงเท่ากับ……………………….หน่วย
11) รูปสีเหลียมจัตรุ ัสรูปหนึงมีพืนที 64 ตร.ซม. จะมีความยาวรอบรูปเท่ากับ…………… ซม.
12) รูปสีเหลียมจัตรุ ัสรูปหนึงมีความยาวรอบรูป 52 ซม. จะมีพืนทีเท่ากับ…………… ตร.ซม.
13) รูปสีเหลียมผืนผ้ ากว้ างและยาวเท่ากับ 10 และ 12 ซม. ตามลําดับ ถ้ ารูปสีเหลียมรูปว่าวมี
พืนทีเท่ากับสีเหลียมผืนผ้ ารูปนีและมีเส้นทแยงมุมเส้นยาวเท่ากับ 24 ซม. เส้ นทแยงมุมเส้ นที
สันกว่าจะยาว………………………ซม.
14) กระดาษรูปสีเหลียมผืนผ้ าขนาด 10ด8 ตร.ซม. ถ้ าตัดมุมทังสีเป็ นรูปสีเหลียมจัตรุ ัส ลึกเข้ า
ไปด้ านละ 2 ซม. จะเหลือพืนทีเท่ากับ………………………….ซม.
15) เชือกเส้ นหนึงมีความยาว 100 นิว นํามาสร้ างรูปสีเหลียมขนมเปี ยกปูนให้ มีด้านทีขนานห่าง
กัน 20 นิวจะพืนทีเท่ากับ………………………..ตารางนิว

ตัวอย่ าง 14. จากรูป จงหาความรอบรูป 8 ซม.


120o
6 ซม. 6 ซม.
60o

ตัวอย่ าง 15. มีกระดาษสีเหลียมจัตรุ ัสดังรูป ถ้ าลากเส้ นจากแต่ละด้ านเป็ นมุม 45 องศา จากจุดที
ห่างจากมุมแต่ละมุม 5 ซม. จะทําให้ เกิดสีเหลียมจัตรุ ัสขึนภายใน ดังรูป
จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา

5 ซม.

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


Entrance M.1 ……………………………………………………………………..…
13

ตัวอย่ าง 16. ทีดินแปลงหนึงเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้ าดังรูป ถ้ าทําถนนกว้ าง 4 เมตร ล้ อมรอบทีดินแปลงนี


ถนนทีทําขึนจะมีพืนทีเท่าไร

420 ม.
100 ม.

ตัวอย่ าง 17. ทีดินแปลงหนึงเป็ นรูปสีเหลียมผืนผ้ าดังรูป ขุดบ่อตามด้ านทังสีด้ านให้ บ่อกว้ าง 4 เมตร
จะเหลือทีดินสําหรับเพาะปลูกเท่าไรนี
420 ม.

100 ม.

ตัวอย่ าง 18. เชือกเส้ นหนึงยาว 12 เมตรนํามาสร้ างรูปสีเหลียมมุมฉากได้ กีรูปทีแต่ละด้ านมีความยาว


เป็ นจํานวนเต็มและมีพืนทีแตกต่างกันกีขนาด รูปสีเหลียมขนาดทีมากทีสุดนันเป็ นรูป
สีเหลียมใด

ตัวอย่ าง 19. กล่องกระดาษทรงสีเหลียมมุมฉากปากเปิ ดใบหนึง เมือคลีกระดาษออกแล้ วจะมีลกั ษณะ


ดังรูป ถ้ า AB = 13 ซม. HC = 29 ซม. BE = 23 ซม. และ CD = 7 ซม.
กล่องใบนีต้ องใช้ กระดาษมีพืนทีทังหมดเท่าไร
A B

H C

G D

F E

……………………………………………………………….……… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


1
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

วงกลม

ทบทวนเรืองรูปวงกลม

วงกลม เป็ นรูปปิ ดทีมีสว่ นโค้ งล้ อมรอบ โดยจุดทุกจุดทีอยู่บนส่วนโค้ งจะอยูห่ ่างจากจุดคงทีจุด
หนึงเป็ นระยะทางเท่ากัน เราเรียกจุดคงทีนันว่า จุดศูนย์กลาง ของรูปวงกลม และเรียกส่วนโค้ งนันว่า
เส้ นรอบวงของวงกลม

C
O B
A 

E F

จากรูปกําหนดจุด O ให้ เป็ นจุดศูนย์กลางของวงกลมจึงมีชือเรียกว่า วงกลม O


ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางไปถึงเส้ น
รอบวง เรียกว่า รัศมี ได้ แก่ OA , OB , OE และ OF
ส่วนของเส้ นตรงทีมีจดุ ปลายทังสองข้ างอยู่บนเส้ นรอบวง เรียกว่า คอร์ ด ได้ แก่
CD และ AB
AB เป็ นคอร์ ดทีผ่านจุดศูนย์กลาง เรียกว่า เส้ นผ่ านศูนย์ กลาง และเส้ นทีผ่านศูนย์กลางเป็ น
คอร์ดทียาวทีสุด ซึงจะมีความยาวเป็ นสองเท่าของรัศมี
อาร์ ค คือ ส่วนของเส้ นรอบวง
เซกเตอร์ คือ พืนทีภายในรูปวงกลมทีปิ ดล้ อมด้ วยเส้นรัศมี 2 เส้ น และส่วนของเส้ นรอบวง มี
ลักษณะเป็ นรูปสามเหลียมฐานโค้ ง
เซกเมนต์ คือ พืนทีภายในรูปวงกลม ทีปิ ดล้ อมด้ วยคอร์ด 1 เส้ น และส่วนของเส้น
รอบวง

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


2
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

ความสัมพันธ์ ระหว่ างวงกลม 2 วง มีดงั ต่อไปนี


1. วงกลมสัมผัสกันภายนอก

เมือสร้ างวงกลม 2 วง ให้ มีจดุ ศูนย์กลาง


A B C ห่างกัน เท่ากับผลบวกของความยาวรัศมีของ
วงกลมทังสอง
เราเรียกจุด C ว่า จุดสัมผัสภายนอก

2. วงกลมสัมผัสกันภายใน

เมือสร้ างวงกลม 2 วง ให้ มีจดุ ศูนย์กลางห่าง


A B C กันเท่ากับผลต่างของความยาวรัศมีของวงกลมทังสอง
เราเรียกจุด C ว่า จุดสัมผัสภายใน

3. วงกลมตัดกัน

C
เมือสร้ างวงกลม 2 วง ให้ มีจดุ ศูนย์กลาง
A B ห่างกันมากกว่าผลต่างของความยาวรัศมีแต่ต้อง
น้ อยกว่าผลลบวกของความยาวรัศมีของวงกลมทัง
D
สอง
เราเรียกจุด C และจุด D ว่า จุดตัด และ
เรียก CD ว่า คอร์ ดร่ วม

4. วงกลมทีมีจดุ ศูนย์กลางร่ วมกัน


เมือสร้ างวงกลม 2 วง ให้ มจี ดุ
ศูนย์กลางร่วมกัน แต่มีความยาวรัศมีตา่ งกัน
A
 จะได้ วงกลมซ้ อนกัน 2 วง พืนทีทีอยู่ระหว่าง
วงกลมทังสองเรียกว่า พืนทีวงแหวน

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


3
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

สมบัตเิ กียวกับวงกลม

1. มุมทีอยู่บนเส้ นรอบวงหรือมุมทีจุดศูนย์กลางทีรองรับด้ วยส่วนโค้ งเดียวกันหรือทียาวเท่ากันจะ


มีขนาดเท่ากัน

2. มุมภายในครึงวงกลมมีขนาดของมุมเท่ากับ 90 องศา

3. มุมทีรัศมีทํากับเส้ นสัมผัสมีขนาดเท่ากับ 90 องศา

4. ระยะทางจากจุดสัมผัสทังสองจุดไปยังจุดภายนอกเท่ากัน
Q

O P

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


4
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

เส้ นรอบวงกลมและพืนทีวงกลม

เส้ นรอบวงกลม = 2r


2
r พืนทีวงกลม = r
22
โดยที  = 3.14 หรือ
7

พืนทีวงแหวน

2
R
พืนทีวงแหวน = R – r2
 2
r = (R – r2)
= (R + r)(R – r)

สามเหลียมฐานโค้ ง

 
r พืนทีสามเหลียมฐานโค้ ง  r2
360
1
 a r
2

พืนทีวงรี

a
b
พืนทีวงรี = ab

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


5
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 1. จงหาพืนทีและเส้นรอบวงของวงกลมต่อไปนี

1.

เส้ นรอบวงกลม = ……………………..


14
พืนทีวงกลม = …………………….

2.

10 เส้ นรอบวงกลม = ……………………..


พืนทีวงกลม = …………………….

3.

เส้ นรอบวงกลม = ……………………..

0.7 พืนทีวงกลม = …………………….

4.

เส้ นรอบวงกลม = ……………………..


3.5
พืนทีวงกลม = …………………….

5.

12 เส้ นรอบวงกลม = ……………………..


พืนทีวงกลม = …………………….

6.

40 เส้ นรอบวงกลม = ……………………..


พืนทีวงกลม = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


6
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 2. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา
1.

8.4

พืนทีแรเงา = …………………….
18.9

2.

35 20

พืนทีแรเงา = …………………….

3.

14

พืนทีแรเงา = …………………….
6

4.

2.8 พืนทีแรเงา = …………………….

5.

2.8 พืนทีแรเงา = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


7
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 3. จงหาพืนทีของแต่ละรูปต่อไปนี
1.

300
7

พืนทีแรเงา = …………………….

2.

3.5

พืนทีแรเงา = …………………….

10

3.
20

12
พืนทีวงรี = …………………….

4.

24
10

พืนทีวงรี = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


8
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 4. จงตอบคําถามต่อไปนี
1) ในวงกลมหนึงวงจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางได้…………………………………...เส้ น
2) คอร์ดทียาวทีสุดคือ……………………………………………………………
3) วงกลม 2 วงจะสัมพันธ์กนั …………………ประเภท คือ
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
4) วงกลม O มีรัศมียาว 5 เซนติเมตร และวงกลม Q มีรัศมียาว 7 เซนติเมตร ถ้ าจุด
ศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 8 เซนติเมตร วงกลมทังสองจะมีความสัมพันธ์กนั แบบ
……………………………………………………………….
5) วงกลม O มีรัศมียาว 4 เซนติเมตร และวงกลม Q มีรัศมียาว 6 เซนติเมตร ถ้ าจุด
ศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 2 เซนติเมตร วงกลมทังสองจะมีความสัมพันธ์กนั แบบ
……………………………………………………………….
6) วงกลม O มีรัศมียาว 19 เซนติเมตร และวงกลม Q มีรัศมียาว 14 เซนติเมตร ถ้ าจุด
ศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 9 เซนติเมตร วงกลมทังสองจะมีความสัมพันธ์กนั แบบ
……………………………………………………………….
7) วงกลม O มีรัศมียาว 11 เซนติเมตร และวงกลม Q มีรัศมียาว 3 เซนติเมตร ถ้ าจุด
ศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 15 เซนติเมตร วงกลมทังสองจะมีความสัมพันธ์กนั แบบ
……………………………………………………………….
8) วงกลม 2 วงทีมีพืนทีเท่ากัน แล้ วเส้ นรอบวงทัง 2 วงนัน จะ…………………..
9) วงกลม 2 วงทีมีเส้ นรอบวงเท่ากัน แล้ วพืนทีทัง 2 วงนัน จะ…………………..
10) วงกลม O มีรัศมียาว 10 เซนติเมตร ถ้ าจุดศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 6
เซนติเมตร และวงกลมทังสองสัมผัสกันภายใน แล้ ววงกลม Q จะต้ องรัศมีเท่าใด
………………………………………………………………………………
11) วงกลม O มีรัศมียาว 10 เซนติเมตร ถ้ าจุดศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน 6
เซนติเมตร และวงกลมทังสองสัมผัสกันภายนอก แล้ ววงกลม Q จะต้ องรัศมีเท่าใด
………………………………………………………………………………
12) วงกลม O มีรัศมียาว 10 เซนติเมตร ถ้ าจุดศูนย์กลางของวงกลมทังสองห่างกัน
6 เซนติเมตร และวงกลมทังสองสัมผัสกันตัดกัน แล้ ววงกลม Q จะต้ องรัศมีเท่าใด
………………………………………………………………………………
13) วงกลม 2 วงทีมีจดุ ศูนย์กลางร่วมกันจะทําให้ เกิด………………………………

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


9
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 5. จงหาค่า a ในแต่ละข้ อต่อไปนี


1. 2.

32 a
60
a

a = ……………... a = ……………...

3. 4.

a
a

58o

a = ……………... a = ……………...

5. 6.
a

25o 34o
a

a = ……………... a = ……………...

5. 6. a

4
65o

a = ……………... a = ……………...

7. 8.
21
12
a
60o
a
5

a = ……………... a = ……………...
……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)
10
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 6. จงหาพืนทีส่วนทีแรเงา
1.

14

พืนทีแรเงา = …………………….

2.

14

พืนทีแรเงา = …………………….

3.

10
พืนทีแรเงา = …………………….

4.

12
7 พืนทีแรเงา = …………………….

12

5.

16
14
21

1
พืนทีแรเงา = …………………….

6.
20

พืนทีแรเงา = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


11
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

7.

4.2

พืนทีแรเงา = …………………….

8.

5
พืนทีแรเงา = …………………….

9. 28

28

พืนทีแรเงา = …………………….

10.

พืนทีแรเงา = …………………….

11.

56

พืนทีแรเงา = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


12
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

12.

พืนทีแรเงา = …………………….

13.

2.1 0.3
120o

พืนทีแรเงา = …………………….

14. 5

12

10
พืนทีแรเงา = …………………….

15.

14

พืนทีแรเงา = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


13
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

16.

17. 4 พืนทีแรเงา = …………………….

พืนทีแรเงา = …………………….

18. 4

พืนทีแรเงา = …………………….

19.

10
พืนทีแรเงา = …………………….

20.
5

พืนทีแรเงา = …………………….
2

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


14
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

21.

r = 21

พืนทีแรเงา = …………………….

22.

r = 21

พืนทีแรเงา = …………………….

23.

r = 21

พืนทีแรเงา = …………………….

24.

10

พืนทีแรเงา = …………………….

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


15
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

25.

35

พืนทีแรเงา = …………………….

26.

5
พืนทีแรเงา = …………………….

Problem 7. จากรูป เส้ นโค้ งเป็ นส่วนของวงกลม ส่วนทีแรเงามีพืนทีกีตารางเซนติเมตร

14 ซม

14 ซม

14 ซม

Problem 8. รูปสีเหลียมผืนผ้ า ABCD บรรจุอยู่ในส่วนโค้ งของวงกลม ซึงมีจดุ D เป็ นจุด


ศูนย์กลาง ดังรูป

A D

6 AC = …………………….
พืนที สีเหลียม ABCD = …………………….
B C

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


16
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

1
Problem 9. รูปวงกลมแต่ละรูปมีพืนที 40 ตารางเซนติเมตร ถ้ าส่วนทีแรเงามีพืนทีเป็ น ของพืนที
5
รูปวงกลมแต่ละรูป ส่วนทีไม่แรเงาทังหมดมีพืนทีเท่าไร

Problem 10. จากรูป ส่วนทีแรเงามีพืนทีเท่าไร

3 cm

60o
3 cm

Problem 11. รูปวงกลมสัมผัสด้ านของรูปสีเหลียมจัตรุ ัสทังสีด้ าน ถ้ าพืนทีของสีเหลียมจัตรุ ัสเท่ากับ


225 ตารางเซนติเมตร พืนทีของรูปวงกลมเท่ากับกีตารางเซนติเมตร

Problem 12. จงหาพืนทีของลูว่ ิงในสนามแข่งขันกรีฑา ดังรูป

100 m.

40 m.

10 m.

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


17
Entrance M.1 …………………………………………………………………..…..…

Problem 13. จากรูป กําหนดให้ DABC เป็ นสามเหลียมมุมฉาก และเส้นโค้ งเป็ นส่วนของเส้ นรอ
บวงของวงกลม จงหาพืนทีแรเงา

8 cm

A 10 cm C

Problem 14. แผ่นกระดาษวงกลมแผ่นหนึงเมือพับตามแกนสมมาตร 4 ครัง จะได้ แผ่นกระดาษทีมี


พืนที 2 ตารางเซนติเมตร จงหาพืนทีและเส้นรอบวงของแผ่นกระดาษนี (ตอบในรูปของค่า  )

……………………………………………………………………….…… อ. รังสรรค์ (อ.ปิ ง)


1
คณิตศาสตร์ ประถมศึกษาปี ที 6
รูปทรงสามมิติและปริ มาตร

1.รู ปเรขาคณิตสามมิติ
รู ปเรขาคณิตสามมิติ หรือ รู ปทรงสามมิติ หรือทรงตัน (Solid) หมายถึง วัตถุทีมีความยาว
ความสูง และความหนา เช่น ก้ อนหิน อิฐ ต้นไม้ กล่อง เป็ นต้ น รูปเรขาคณิตสามมิติ ทีควรทราบ ได้ แก่

ทรงสีเหลียมมุมฉาก(rectangular solid) รู ปทรงลูกบาศก์ (cube) คือ รู ปทรงสีเหลียมมุม


คือรู ปทรงทีหน้ าทุกหน้ าเป็ นรู ปสีเหลียมุมฉาก ฉากทีมีหน้ าทุกหน้ าเป็ นรู ปสีเหลียมจัตรุ สั

ปริ ซึม(prism) คือ รู ปทรงสามมิติทีมีฐานทัง ทรงกระบอก(cylinder) คือทรงสามมิติทีมีหน้ า


สองเป็ นรูปเหลียมทีเท่ากันทุกประการ ฐานทังคู่ ตัดเป็ นวงกลมทีเท่ากันทุกประการ และอยูใ่ น
อยูใ่ นระนาบทีขนานกัน และด้ านข้ างแต่ละด้ าน ระนาบทีขนานกัน มีผิวด้ านข้ าวโค้ งราบเรี ยบ
เป็ นรู ปสีเหลียมด้ านขนาน

พีระมิด(pyramid) คือ ทรงสามมิติทีมีฐานเป็ น กรวย(cone) คือ ทรงสามมิตใิ ดทีมีฐานเป็ นรู ป


รู ปเหลียมใดๆ มียอดแหลมซึงไม่อยูบ่ นระนาบ วงกลม มียอดแหลมทีไม่อยูบ่ นระนาบ
เดียวกันกับฐาน และหน้ าทุกหน้ าเป็ นรู ป เดียวกันกับฐาน และเส้ นทีต่อระหว่างจุดยอดและ
สามเหลียม ทีมีจดุ ยอดร่วมกันทียอดแหลมนัน จุดใดๆบนขอบของฐานเป็ นส่วนของเส้ นตรง

ทรงกลม (Sphere) คือ ทรงสามมิติทีมีผิวโค้ งเรี ยบ และทุกจุดบนผิวโค้ งอยูห่ า่ งจากจุดคงที


จุดหนึง(จุดศูนย์ กลาง)เป็ นระยะทางเท่ากันเสมอ(รั ศมี) ถ้ าใช้ ระนาบตัดกับทรง
กลม รอยตัดของระนาบกับผิวของทรงกลมจะเกิดเป็ นรู ปวงกลมทีมีขนาดต่างๆ
กัน วงกลมดังกล่าวทีมีขนาดใหญ่ทีสุด จะเกิดจากระนาบทีผ่านจุดศูนย์กลาง
ของทรงกลม เรี ยกรอยตัดนีว่า วงกลมใหญ่
2
2. ปริมาตรของรู ปทรงสามมิติ
ปริมาตร คือ ขนาดหรือความจุของรูปทรงสามมิติ สีเหลียมมุมฉาก

หน่ วยการวัดปริมาตร
1000 ลบ.มม. = 1 ลบ.ซม. 1,000,000 ลบ.ซม. (1 cc.) = 1 ลบ.ม.
1000 มิลลิลิตร = 1 ลิตร 1000 ลิตร = 1 กิโลลิตร
1 ลบ.ซม. = 1 มิลลิลิตร 1000 ลบ.ซม. = 1 ลิตร 1000 ลิตร = 1 ลบ.ม.
20 ลิตร = 1 ถัง 100 ถัง = 1 เกวียน
1 เกวียน = 2 ลบ.ม. 1 เกวียน = 2,000 ลิตร
3 ช้ อนชา = 1 ช้ อนโต๊ ะ 16 ช้ อนโต๊ ะ = 1 ถ้ วยตวง 1 ถ้ วยตวง = 8 ออนซ์

ปริมาตรของรูปเรขาคณิตสามมิติ

ปริ มาตรทรงสีเหลียมมุมฉาก = กว้ าง  ยาว  สูง ปริ มาตรทรงลูกบาศก์ = ด้ าน  ด้ าน  ด้ าน

ปริ มาตรของปริ ซมึ ใดๆ = พืนทีฐาน  สูง ปริ มาตรของทรงกระบอก = พืนทีฐาน  สูง =
2
r h

ปริ มาตรของพีระมิด = 1  พืนทีฐาน  สูง ปริ มาตรของกรวย = 1  พืนทีฐาน  สูง = 1  r2 h


3 3 3

ปริ มาตรของทรงกลม = 4  r3


3
3

ตัวอย่ าง
1. กําหนดแทนความยาวของด้ าน จงหาปริมาตรของรูปทรงต่อไปนี
(1) (2)
4
2
6
8 6
6

(3) 3 (4)
2
4
4
2
5
5
10 2
2
5

2
2
(5) (6) 4
2
2
6 4 2
5 2
1 4 8 6 2
7 3
5 10 8

21 10

(7) (8) 6
6
3 7 4
15
4
3
5
3 5
4 4
5
12
4

2. กําหนดแทนความยาวของด้ าน จงหาปริมาตรของรูปทรงในแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) (2)

9.5
4 5
15
7 12
3

(3) 50 (4) 8
20 2
2.4
15
5

(5) (6) 10

13
7
16
5 12
3 14 30

3. กําหนดแทนความยาวของด้ าน จงหาปริมาตรของรูปทรงในแต่ละข้ อต่อไปนี


(1) (2) 4
3

7
6

5
5
5

(3) (4)
14
2

12 

(5) (6)
3 12

18
15

10

(7) (8)

20 3

4. ทรงสีเหลียมมุมฉากรูปหนึงมีปริมาตร 2,000 ลบ.ซม. ถ้ าฐานมีด้านกว้ าง 10 ซม. และยาว 16 ซม.


จงหา
(1) ความสูงของรูปทรงนี
(2) จงหาพืนทีผิวทุกด้ านของรูปทรงนี
6

5. ปริซึมแท่งแก้ วหนึงมีฐานเป็ นรูปสามเหลียมมุมฉาก มีด้านประกอบมุมฉากยาว 8 เซนติเมตร และ


6 เซนติเมตร และปริ ซึมนียาว 12 เซนติเมตร จงหาปริ มาตร

6. เหล็กหล่อเป็ นปริซึมกลวง หน้ าตัดสีเหลียมผืนผ้ า


ซึงกว้ าง 9 เซนติเมตร และยาว 12 เซนติเมตร
มีความสูง 25 เซนติเมตร และหนา 0.5 เซนติเมตร ดังรูป
ต้ องใช้ เหล็กปริมาตรเท่าไร

7. แท่งแก้ วรูปปริซึมอันหนึงมีฐานเป็ นรูปห้ าเหลียม และมีปริมาตร 224 ลูกบาศก์เซนติเมตร


(1) ถ้ าแท่งแก้ วสูง 8 เซนติเมตร จงหาพืนทีฐานของแท่งแก้ ว
(2) ถ้ าพืนทีฐานเท่ากับ 32 เซนติเมตร จงหาความสูงของแท่งแก้ ว

8. ปริซึมมุมฉากอันหนึง ถ้ าความกว้ างของฐาน ความยาวของฐาน และความสูงของปริซึมเพิมขึนเป็ น 2


เท่าของความยาวเดิม จงหาว่าปริมาตรของปริซึมใหม่เป็ นกีเท่าของปริมาตรปริซึมเดิม
7

9. แท่งทรงกระบอกแท่งหนึงยาว 14 นิว มีปริมาตรเท่ากับรูปเหลียมลูกบาศก์รูปหนึง


ซึงมีด้านหนึงยาว 11 นิว จงคํานวณหาเส้นผ่านศูนย์กลางของแท่งกระบอกนัน

10. กระป๋ องใบหนึงมีปริมาตร 82,425 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้ ากระป๋ องใบนีสูง 42 เซนติเมตร


จงหาความยาวของเส้นผ่านศูนย์กลางของฐานของกระป๋ องใบนี

11. จงหาปริมาตรของพีระมิดฐานสีเหลียมจัตรุ ัส ซึงมีด้านยาวด้ านละ 30 เซนติเมตร


และมีสงู เอียงยาว 25 เซนติเมตร

12. จงหาปริมาตรของกรวย ซึงมีเส้ นผ่านศูนย์กลางของฐานยาว 6 เซนติเมตร สูงเอียงยาว 5 เซนติเมตร

13. ถ้ านําทรงกระบอกไม้ ตนั ซึงมีรัศมี 4 เซนติเมตร สูง 12 เซนติเมตร มาตัดเป็ นรูปทรงกรวยตรงซึงมีรัศมี


และส่วนสูงเท่ากับทรงกระบอก จงหาปริมาตรของไม้ ทีถูกตัดออก
คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 1 ………………………

บทประยุกต์

1. การเทียบบัญญัติไตรยางค์
การเทียบบัญญัติไตรยางค์มี 2 แบบ คือ บัญญัติไตรยางค์แบบโดยตรง และ บัญญัติไตรยางค์
แบบผกผัน(ส่วนกลับ)
ตัวอย่ าง 1 : ปากการ 5 ด้ ามราคา 35 บาท ถ้ าซือปากกา 8 ด้ าม จะต้ องจ่ายเงินกีบาท
(บัญญัติไตรยางค์แบบโดยตรง)

ตัวอย่ าง 2 : สมุด 3 เล่ม ราคา 36 บาท ถ้ ามีเงิน 84 บาท จะซือสมุดได้ กีเล่ม


(บัญญัติไตรยางค์แบบโดยตรง)

ตัวอย่ าง 3 : ถ้ าซือแก้ วหนึงโหลราคา 120 บาท ถ้ ามีเงิน 350 บาท จะซือแก้ วได้ กีใบ
(บัญญัติไตรยางค์แบบโดยตรง)

ตัวอย่ าง 4 : มีข้าวสาร 5 กระสอบ ถ้ าคน 10 คน รับประทานข้ าวด้ วยกัน จะรับประทานได้ นาน


10 เดือน ถ้ ามีคนรับประทานเพียง 4 คนจะทานได้ นานกีวันข้ าวสารจึงหมดพอดี
(บัญญัติไตรยางค์แบบผกผัน)

ตัวอย่ าง 5 : มีคนงาน 4 คนทํางานช่วยกันอย่างหนึงเสร็จภายในเวลา 18 วัน ถ้ าต้ องการให้ งานเสร็จ


เร็วขึน 6 วัน จะต้ องใช้ คนงานเพิมอีกกีคน (บัญญัติไตรยางค์แบบผกผัน)

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 2 ………………………

แบบฝึ กหัดที 1
1. จงตอบคําถามต่อไปนี
(1) ไข่ 12 ฟอง ราคา 24 บาท ถ้ าซือไข่ 5 ฟองจะต้ องจ่ายเงินเท่าใด
..................................................................................................................................
(2) กระเป๋ า 25 ใบ ราคา 325 บาท ถ้ าซือกระเป๋ า 3 ใบ จะต้ องจ่ายเงินกีบาท
..................................................................................................................................
(3) ริ บบิน 6 ม้ วน ยาว 180 เมตร ริ บบิน 13 ม้ วนจะยาวกีเมตร
..................................................................................................................................
(4) ผ้ า 100 เมตร ราคา 4,500 บาท ถ้ ามีเงิน 2,565 บาท จะซือผ้ าได้ กีเมตร
..................................................................................................................................
(5) รถยนต์คน ั หนึงแล่นได้ ระยะทาง 152 กิโลเมตร ใช้ เวลา 2 ชัวโมง ถ้ าแล่นระยะทาง 9.5 กิโลเมตร
จะใช้ เวลากีชัวโมง
..................................................................................................................................
(6) ถ้ าสบู่ 6 ก่อนราคา 31.50 บาท ถ้ าซือสบู่ 2 ก่อนจะต้ องจ่ายเงินเท่าไร
..................................................................................................................................
(7) ถ้ ายาสีฟัน 16 หลอด ราคา 400 บาท มีเงิน 950 บาท จะซือได้ ทงหมดกี ั หลอด
..................................................................................................................................
(8) ถ้ าข้ าวสาร 7 กระสอบ ตวงเป็ นถังได้ 40 ถัง ข้ าวสาร 21 กระสอบ จะตวงได้ กีถัง
..................................................................................................................................
(9) รถยนต์คน ั หนึงวิงระยะทาง 140 กิโลเมตร ใช้ นํามัน 10 ลิตร ถ้ าในถังนํามัน มีนํามันเหลืออยู่
33 ลิตร จะวิงได้ ระยะทางกีกิโลเมตร
..................................................................................................................................
(10) ทีนา 100 ไร่ คนงาน 8 คน เกียวข้ าวเสร็จภายในเวลา 6 วัน ถ้ าคนงานมี 12 คน จะเกียว
ข้ างเสร็จในเวลากีวัน
..................................................................................................................................
(11) คนงาน 5 คน ทํางานอย่างหนึงเสร็จภายในเวลา 2 วัน ถ้ ามีคนงาน 10 คน ทํางานอย่างเดิม
จะเสร็จภายในเวลากีวัน
..................................................................................................................................
(12) ไก่ 20 กินข้ าวเปลือก 1 กระสอบ หมดในเวลา 8 วัน ถ้ าเลียงไก่ 100 ตัว จะกินข้ าวเปลือก
1 กระสอบหมดในเวลากีวัน
..................................................................................................................................

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 3 ………………………

2. ร้ อยละ

2.1 ทบทวนเรืองร้ อยละ


ตัวอย่ าง 6 : จงเปลียนจํานวนต่อไปนีให้ อยูใ่ นรูปร้ อยละ
2 3
(1) = …………………………. (2) = ………………………….
5 8
1 7
(3) 1 = ……………………….. (4) 2 = ………………………
4 16
(5) 0.05 = ……………………… (6) 0.57 = ……………………….
(7) 0.8 = ……………………….. (8) 1.9 = …………………………

ตัวอย่ าง 7 : จงแปลความหมายของร้ อยละต่อไปนี


(1) ปรี ดาสอบได้ คะแนน 70 % ของคะแนนเต็ม
………………………………………………………………………………………..
(2) มีส้มร้ อยละ 61 ของผลไม้ ทงสวน

………………………………………………………………………………………..
(3) ซือของเสียเงินไป 24% ของเงินเดือน
………………………………………………………………………………………..
(4) พ่อค้ าได้ กําไร 25% ของเงินลงทุน
………………………………………………………………………………………..
(5) ลดราคา 10% ของราคาทีติดไว้
………………………………………………………………………………………..

2.2 การแก้ โจทย์ปัญหาร้ อยละ


เราใช้ วิธีการเทียบบัญญัติไตรยางค์หรือการแปลความหมายจากข้ อความโดยตรง โดยเปลียนคํา
ว่า “ของ” เป็ น “คูณ” แก้ โจทย์ปัญหาร้ อยละ ดังนี

ตัวอย่ าง 7 : แมนสอบคณิตศาสตร์ได้ คะแนนร้ อยละ 75 ของคะแนนเต็ม ถ้ าคะแนนเต็ม 80 คะแนน


แมนสอบได้ กีคะแนน

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 4 ………………………

ตัวอย่ าง 8 : ขายขนมได้ กําไร 20 % ของต้ นทุน ถ้ าลงทุนไป 1,600 บาท จะขายของได้กําไรกีบาท


และขายได้ เงินทังหมดเท่าไร

ตัวอย่ าง 9 : ร้ านค้ าได้ ประกาศลดราคา 15 % ของราคาทีปิ ดไว้ ถ้ าทีปิ ดราคาไว้ 400 บาท ถ้ าผู้ซือ
จะต้ องจ่ายเงินกีบาท

2.3 การหาร้ อยละ


สิงทีเราสนใจ
ใช้ สตู ร  100
จํานวนทังหมด

ตัวอย่ าง 9 : จงหาร้ อยละต่อไปนี


(1) นักเรี ยนทังหมดในโรงเรียนมี 2,400 คน เป็ นนักเรียนชาย 1800 คน จงหาว่ามีนกั เรียนชาย
และนักเรียนคิดเป็ นกีเปอร์เซ็นต์

(2) ขายทีดินแปลงหนึงได้เงิน 450,000 บาท แต่ต้องเสียค่านายหน้ า 18,000 บาท จงหาว่าเรา


เสียค่านายหน้ าไปร้ อยละเท่าไร

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 5 ………………………

3.การซือขาย กําไร ขาดทุน


การแก้ โจทย์ปัญหาเกียวกับการซือขาย ***กําไร ขาดทุน การลดราคา ***

สูตรทีใช้ ในการแก้ ปัญหาเกียวกับการซือขาย


กําไรและขาดทุน ลดราคา

กําไรจริง = กําไร ลดราคา ลดราคา ราคาทีติด


 = 
100
ทุนจริง 100

ขาดทุนจริง= ขาดทุน  ทุนจริง ขายจริง =


ขาย %
 ราคาทีติดไว้
100 100

ขายจริง ขาย % ทุนจริง ราคาทีติด 100


ขาย
=  = 
100 ขาย %

ทุนจริง 100
ขาย ลดราคา% ลดราคา 100
=  = 
ขาย % ราคาทีติด

กําไร% = กําไรจริง  100


ทุนจริง
ขาดทุน% = ขาดทุนจริง 100
ทุนจริง

การแก้ โจทย์ปัญหาร้ อยละกับการซือขาย 1 ครัง


ตัวอย่ าง 10 : จงหาคําตอบของปั ญหาต่อไปนี (โดยใช้ สตู ร)
(1) ซือสินค้ ามาราคา 250 บาท ต้ องการขายให้ ได้ กําไร 20% จะต้ องขายในราคาเท่าใด

(2) ซือผ้ าห่มผืนหนึงราคา 240 บาท ขายขาดทุนไป 25% ขายผ้ าห่มไปราคาเท่าใด

(3) ขายนาฬิกาเรือนหนึงได้เงิน 810 บาท ปรากฏว่าขาดทุน 10% จงหาราคาทุน

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 6 ………………………

(4) ซือลูกสุนขั มา 5 ตัว ขายไปตัวละ 1,125 บาท ทําให้ ได้กําไร 12.5% จงหาราคาทุน

(5) พ่อค้ าติดราคาขายรถจักรยานไว้ 1,600 บาท แล้ วลดราคาให้ ผ้ ซู ือเงินสด 10%


ผู้ซือเงินสดจะต้ องจ่ายเงินกีบาท

(6) ซือพัดลม 500 บาท ขายไป 600 บาท ได้ กําไรกีเปอร์เซ็นต์

(7) ซือโต๊ ะมาราคา 720 บาท ขายไป 450 บาท ขาดทุนไปร้ อยละเท่าใด

(8) ติดราคาหม้ อหุงข้ าวไฟฟ้า 1,250 บาท ขายจริง 1,125 บาท ลดราคากีเปอร์เซ็นต์

(9) ซือเสือมาขายราคาตัวละ 120 บาท และต้ องการขายให้ ได้ กําไรตัวละ 10% ถ้ าซือมาขาย
ทังหมด 50 ตัวเราจะขายได้ เงินกีบาท

(10) แม่ค้าติดราคาขายส้ มกิโลกรัมละ 60 บาท เมือมีลกู ค้ ามาขอลดราคาจะลดให้ เพียง 5% ถ้ า


ลูกค้ าซือในราคาทีลดแล้ วจํานวน 9 กิโลกรัม ลูกค้ าต้ องจ่ายเงินกีบาท

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 7 ………………………

(11) สมคิดซือเสือราคาตัวละ 80 บาท ขายไปได้ กําไร 15% เขาขายเสือราคาตัวละกีบาท

(12) ซือโทรทัศน์มาราคา 7,990 บาท ขายไปขาดทุน 30% ขายไปราคากีบาท

(13) ซือของมา 2,400 บาท ขายไปขาดทุน 6.5% ขายของไปเท่าใด

2
(14) ซือของ 6,721 บาท ขายไปได้ กําไร 3 % ขายของไปเท่าใด
5

(15) ขายกระเป๋ าเดินทาง 1,450 บาท ได้ กําไร 16% ซือกระเป๋ ามาราเท่าใด

3
(16) ขายทีดินราคา 365,000 บาท ขาดทุน 8 % ซือทีดินมาราคาเท่าใด
4

(17) ขายตู้ 1,098 บาท ขาดทุน 8.5% จงหาราคาทุน

(18) ขายบ้ านพร้ อมทีดินราคา 1,807,500 บาท ได้ กําไร 20.5% จงหาราคาทุน

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 8 ………………………

(19) แม้ คา่ ติดราคาขายเสือ 199 บาท ลดราคาให้ ผ้ ซู ือ 20% แม่ค้าขายเสือไปตัวละกีบาท

(20) ติดราคาวิทยุไว้ 2,400 บาท ลดราคา 25% ขายวิทยุไปราคาเท่าใด

(21) พ่อค้ าขายโทรทัศน์ 4,400 บาท หลังจากทีได้ ลดราคาให้ ผ้ ซู ือแล้ ว 12% จงหาว่าเดิมพ่อค้ า
ติดราคาไว้ กีบาท

(22) ซือนาฬิกา 1,500 บาท ขายไป 1,680 บาท ได้ กําไรกีเปอร์เซ็นต์

(23) ซือเครืองสูบนํา 12,600 บาท ขายไป 10,710 บาท ขายไปขาดทุนร้ อยละเท่าใด

(24) ติดราคาขาย 18,000 บาท ขายจริง 17,100 บาท ลดราคาร้ อยละเท่าใด

(25) ติดราคาขายรถยนต์คนั หนึง 690,000 บาท ขายจริง 552,000 บาท ลดราคากีเปอร์เซ็นต์

*** ยาก หรือ ง่ าย อยู่ทตัี วเรา***


สู่โว้ ย!!!!

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 9 ………………………

การแก้ โจทย์ปัญหาร้ อยละกับการซือขายมากกว่า 1 ครัง

ตัวอย่ าง 11 : จงหาคําตอบของปั ญหาต่อไปนี (โดยใช้ สตู ร)


(1) แอนซือวิทยุเครื องหนึงมาราคา 1,200 บาท แล้ วขายให้ บอมไปขาดทุน 5% แต่บอมนําไปขาย
ต่อได้ กําไร 10% จงหาว่าบอมขายวิทยุเครืองนีไปราคาเท่าใด

(2) ขายกล้ องถ่ายรูปไปได้ เงิน 3,325 บาท ขาดทุนอยู่ 5% ถ้ าอยากได้ กําไร 5% จะต้ องขาย
กล้ องถ่ายรูปในราคาเท่าใด

(3) มนตรีซือตู้เย็นมาขายในราคา 5,400 บาท และเขาตังราคาขายสูงกว่าทุน 20% แล้ วลดราคา


ให้ ผ้ ซู ือ 10% มนตรีได้ เงินจากการขายกตู้เย็นนีกีบาท

(4) ซือรองเท้ ามาขายโดยตังราคาสูงกว่าทุน 15% และลดราคาให้ สําหรับผู้ซือเงินสดอีก 5% จง


หาว่าถ้ าขายให้ กบั ผู้ซือเงินสดเขายังคงได้ กําไรหรือขาดทุนกีเปอร์เซ็นต์

(5) ขายวัวตัวหนึงราคา 10,260 บาท ได้ กําไร 8% ถ้ าต้ องการกําไร 15% ต้ องขายวันตัวนัน
ราคาเท่าใด

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 10 ………………………

(6) สมบัติขายเครืองซักผ้ า 6,480 บาท ขาดทุน 10% ถ้ าเขาต้ องการกําไร 20% จะต้ องบอก
ขายราคาเท่าใด

(7) ราคาต้ นทุนของรองเท้ า 800 บาท ผู้ผลิตขายให้ พ่อค้ าคนกลางได้ กําไร 5% พ่อค้ าคนกลาง
นําไปขายต่อโดยติดราคาเอากําไร 15% พ่อค้ าคนกลางขายรองเท่าราคาเท่าใด

(8) ราคาทุนของเตารีด 400 บาท พ่อค้ าติดราคาขายโดยเอากําไร 20% และลดให้ 5%


จากราคาทีติดไว้ พ่อค้ าขายเตารีดราคาเท่าใด

(9) นิดลงทุนทําดอกไม้ ผ้า 120 บาท และนําไปขายโดยคิดเอากําไร 30% แต่เมือมีคนมาซือจึง


ลดราคาให้ 12% เมือขายดอกไม้ แล้ วนิดจะได้กําไรกีบาทและคิดเป็ นกําไรร้ อยละเท่าใด

(10) พ่อค้ าต้ องการขายโทรทัศน์ให้ ได้ กําไร 20% จึงติดราคาไว้ 19,200 บาท แต่ลดราคาให้ ผ้ซู ือ
ทีซือด้ วยเงินสด 10% เขาจะยังคงได้ กําไรอยู่กีเปอร์เซ็นต์

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 11 ………………………

4. ดอกเบีย
ความหมายของศัพท์ทีเกียวกับการคิดดอกเบีย
(1) เงินต้ น หมายถึง จํานวนเงินทีนําไปฝากธนาคาร
(2) ดอกเบีย หมายถึง ผลประโยชน์ตอบแทนทีผู้ฝากได้ รบ ั เมือนําเงินไปฝากครบระยะเวลาหนึง
(3) อัตราดอกเบีย หมายถึง การคิดดอกเบียจากเงินต้ น 100 บาท ในเวลา 1 ปี
(4) เงินรวม หมายถึง เงินต้ น + ดอกเบีย
(5) การฝากสะสมทรัพย์ หรื อฝากออมทรัพย์ ธนาคารจะคิดดอกเบียให้ ตามจํานวนวันทีฝาก
โดยคิดจากเงินทีเหลือคงทีอยู่ในสมุดฝาก (คิดดอกเบียแบบทบต้น)
(6) การฝากประจํา ธนาคารจะคิดดอกเบียให้ ตามอัตราและระยะเวลาของแต่ละประเภท เช่น
ฝากประจํา 3 เดือน ฝากประจํา 6 เดือน ฝากประจํา 1 ปี เป็ นต้น

ตัวอย่ าง 12 : จงหาคําตอบของปั ญหาต่อไปนี


(1) สมปองนําเงิน 1,000 บาท ไปฝากธนาคาร เป็ นเวลา 1 ปี ธนาคารคิดอัตราดอกเบีย 8% ต่อปี
สินปี สมปองได้ ดอกเบียกีบาท และเงินรวมกีบาท

(2) ประสิทธิก้ เู งินจากธนาคาร 250,000 บาท อัตราดอกเบียร้ อยละ 15 ต่อปี เมือครบเวลา 1 ปี


จะต้ องชําระดอกเบียให้ กบั ธนาคารเป็ นเงินกีบาท

(3) วิทยานําเงิน 4,000 บาทไปฝากธนาคาร เป็ นเวลา 150 วัน ในอัตราดอกเบียร้ อยละ 10 ต่อ
ปี วิทยาถอนเงินทังหมด เขาจะได้ เงินรวมเท่าใด

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 12 ………………………

แดงฝากเงิน 2,000 บาท กับธนาคารแห่งหนึงเป็ นเวลา


(4) 2 ปี ในอัตราดอกเบีย 9% ต่อปี
แดงถอนเงินทังหมด เขาจะได้ เงินรวมเท่าใด

(5)หม่อนนําเงินไปฝากธนาคารปี ละ 10,000 บาท เป็ นเวลา 2 ปี เมือสินปี ที 2 หม่อนจะมีเงิน


ในบัญชีธนาคารกีบาท ถ้ าธนาคารคิดดอกเบียให้ ในอัตรา 1.5% ต่อปี

(6) จงหาดอกเบียด้ วยเงินฝาก อัตราดอกเบียและเวลาฝาก ดังต่อไปนี


ข้ อ เงินฝาก อัตรา ระยะเวลา
(บาท) ดอกเบีย ทีฝาก ดอกเบีย เงินรวม

1. 20,000 6% 1 ปี

2. 60,000 9% 1 ปี

3. 36,000 8% 6 เดือน

4. 146,000 10% 150 วัน

5 400,000 18% 292 วัน

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 13 ………………………

(7) ฝากเงิน 2,400 บาท อัตราดอกเบียร้ อยละ 5 ต่อปี เมือครบปี จะได้ เงินดอกเบียเท่าใด

(8) ฝากเงิน 10,500 บาท ในอัตราดอกเบีย 8% ต่อปี เมือครบปี จะได้ ดอกเบียเท่าใด


และได้ เงินรวมเท่าใด

(9) กู้เงิน 4,600 บาท ในอัตราดอกเบียร้ อยละ 12 ต่อปี เมือครบปี จะเสียดอกเบียเท่าใด

(10)กู้เงิน 8,450 บาท ในอัตราดอกเบีย 15% ต่อปี เมือครบปี จะเสียดอกเบียเท่าใดและต้ อง


จ่ายเงินรวมเป็ นจํานวนเท่าใด

(11) ฝากเงิน 36,500 บาท อัตราดอกเบีย 8% ต่อปี เมือฝากครบ 180 วัน จึงไปถอนธนาคาร
คิดดอกเบียให้ เท่าใด

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)


คณิ ตศาสตร์ ช่วงชันที 2 บทประยุกต์ …………… 14 ………………………

(12) ร้ านอาหารแห่งหนึงกู้เงินจากธนาคารมาลงทุน 50,000 บาท ธนาคารคิดอัตราดอกเบียร้ อย


ละ 16 ต่อปี ถ้ ากู้เงิน 146 วัน จะต้ องจ่ายดอกเบียเท่าใด

(13) ฝากเงิน 219,000 บาท เป็ นเวลา 240 วัน อัตราดอกเบีย 8.5% ต่อปี จะได้ เงินรวมเท่าใด

(14) ฝากเงิน 40,000 บาท เป็ นเวลา 2 ปี ธนาคารคิดอัตราดอกเบียร้ อยละ 10 ต่อปี เมือครบ
กําหนดจะได้ เงินรวมเท่าใด

(15) ฝากเงิน 100,000 บาท ในอัตราดอกเบีย 8% ต่อปี เมือครบ 3 ปี จะได้ ดอกเบีย


ทังสินเท่าใด

……..…………….....……………………………………… อ. รังสรรค์ (GTRping)

You might also like