You are on page 1of 5

Machine testimony

ABSTRACT.
Machines play increasingly crucial roles in establishing
facts in legal disputes. Some machines convey information—the
images of cameras, the measurements of thermometers, the
opinions of expert systems. When a litigant offers a human
assertion for its truth, the law subjects it to testimonial
safeguards—such as impeachment and the hearsay rule—to give
juries the context necessary to assess the source’s credibility.

เครือ ้ ในการพิสูจน์ขอ
่ งมือมีบทบาทสาคัญยิง่ ขึน ้ เท็จจริงในข้อพิพาททางกฎหมายโ
ดยเครือ ่ งบางเครือ
่ งมือแสดงถึงข้อมูล - ภาพถ่ายจากกล้อง, เครือ ่ งการวัดอุณหภูมิ
ในความคิดเห็นของผูเ้ ชีย่ วชาญระบบ
เมือ
่ คูค่ วามเสนอการยืนยันตัวของบุคคลคนสาหรับข้อเท็จจริงนัน ้ เอง
ภายในบังคับของกฎหมายจึงได้มีการคุม ้ ครองรับรอง
เช่นการฟ้ องร้องและกฎพื้นฐานทีค ่ าเบิกความหรือเอกสารทีอ ่ า้ งบุคคลทีไ่ ม่อยูใ่ นศ
าลไม่สามารถยอมรับได้
เพือ่ ให้คณะลูกขุนพิจารณาสถานการณ์ ทจี่ าเป็ นเพือ ่ ประเมินความน่ าเชือ ่ ถือของแ
หล่งข่าว
But the law on machine conveyance is confused: courts
shoehorn them into existing rules by treating them as “hearsay,”
as “real evidence,” or as “methods” underlying human expert
opinions. These attempts have not been wholly unsuccessful, but
they are intellectually incoherent and fail to fully empower juries to
assess machine credibility.
แต่ทว่ากฎหมายอันเกีย่ วกับการใช้เครือ
่ งมือกาลังเป็ นทีส ่ บ
ั สน
ศาลจึงขอยับยัง้ กฎหมายอันเกีย่ วกับการใช้เครือ
่ งมือนัน
้ ให้เป็ นกฎทีม ่ ีอยูโ่ ดยปฏิบ ั
ติในฐานะ "คาบอกกล่าว" เป็ น "หลักฐานทีแ ่ ท้จริง" หรือเป็ น
"วิธีการ"ความพยายามเหล่านี้ยงั คงไม่ประสบความสาเร็จโดยอย่างสิน ้ เชิง
นอกจากเครือ
่ งมือจะทาหน้าทีไ่ ด้ไม่ตอ
่ เนื่องอย่างชาญฉลาดแล้วยังล้มเหลวในกา
รทาให้คณะลูกขุนสามารถประเมินความน่ าเชือ ่ ถือของเครือ
่ งมือได้อย่างเต็มที
This Article seeks to resolve this confusion and offer a
coherent framework for conceptualizing and regulating machine
evidence. First, it explains that some machine evidence, like
human testimony, depends on the credibility of a source. Just as
so-called “hearsay dangers” lurk in human assertions, “black box
dangers”—human and machine errors causing a machine to be
false by design, inarticulate, or analytically unsound—potentially
lurk in machine conveyances.

บทความนี้พยายามทีจ่ ะแก้ไขความสับสนนี้และเสนอกรอบการทางานร่วมกันเพือ ่
ทีจ่ ะสร้างแนวความคิดและควบคุมหลักฐานโดยเครือ ่ งมือ
ประการแรกอธิบายได้วา่ หลักฐานเครือ ่ งมือบางอย่างเช่นพยานหลักฐานของตัวบุ
คคลขึน ้ อยูก่ บ
ั ความน่ าเชือ
่ ถือของแหล่งข้อมูล อย่างทีเ่ รียกว่า "hearsay
dangerers" เป็ นการแฝงตัวในการยืนยันของตัวบุคคล
"กล่องดาอันตราย"ข้อผิดพลาดของตัวบุคคลและคอมพิวเตอร์ทาให้เครือ ่ งเป็ นเท็จ
โดยการออกแบบทีไ่ ม่ให้มีการระบุหรือไม่สามารถวิเคราะห์จากการแทรกเเทรงก
ารใช้เครือ ่ งมือ
Second, it offers a taxonomy of machine evidence,
explaining which types implicate credibility and how courts have
attempted to regulate them through existing law. Third, it offers a
new vision of testimonial safeguards for machines. It explores
credibility testing in the form of front-end design, input, and
operation protocols; pretrial disclosure and access rules;
authentication and reliability rules; impeachment and courtroom
testing mechanisms; jury instructions; and corroboration rules.
And it explains why machine sources can be “witnesses” under
the Sixth Amendment, refocusing the right of confrontation on
meaningful impeachment. The Article concludes by suggesting
how the decoupling of credibility testing from the prevailing
courtroom-centered hearsay model could benefit the law of
testimony more broadly.
ประการทีส ่ องการจัดหมวดหมูข ่ องหลักฐานทางเครือ ่ งมือ
อธิบายถึงประเภททีเ่ กีย่ วข้องกับความน่ าเชือ ่ ถือและวิธีการศาลได้พยายามทีจ่ ะทา
การควบคุมหลักฐานทางเครือ ่ งมือผ่านกฎหมายทีม ่ ีอยู่
ประการทีส ่ ามข้อเสนอนี้เป็ นวิสยั ทัศน์ใหม่เกีย่ วกับการป้ องกันการรับรองสาหรับเ
ครือ่ งมือซึง่ เครือ่ งมือนัน ้ สารวจการทดสอบความน่ าเชือ ่ ถือในรูปแบบของการออ
กแบบการรับเข้าและดาเนินการผ่าน โพรโตคอล หรือ
ภาษากลางในการสือ ่ สารระหว่างคอมพิวเตอร์ดว้ ยกัน
การเปิ ดเผยข้อมูลและกฎการเข้าใช้กอ ่ นเปิ ดบัญชี
กฎการตรวจสอบและความเชือ ่ ถือได้
การคัดค้านและการพิจารณาคดีในห้องพิจารณาคดี คาแนะนาของคณะลูกขุน
และกฎการยืนยัน การคัดค้านและการพิจารณาคดีในห้องพิจารณาคดี
คาแนะนาของคณะลูกขุนและกฎการยืนยัน
และจะอธิบายได้วา่ ทาไมแหล่งเครือ ่ งสามารถเป็ น "พยาน"
ได้ภายใต้บงั คับญัตติทห ี่ ก
การมุง่ เน้นทีถ ่ ูกต้องในการเผชิญหน้ากับการฟ้ องร้องทีค ่ อ
่ นข้างสาคัญ
โดยข้อสรุปการแนะนาวิธีการแยกการทดสอบความน่ าเชือ ่ ถือออกจากรูปแบบคา
บอกเล่าทีม ่ ีการพิจารณาคดีในศาลทีม ่ ีอยูเ่ ป็ นศูนย์อาจเป็ นประโยชน์ตอ ่ กฎหมายเ
รือ
่ งคาให้การในวงกว้างมากขึน ้

INTRODUCTION
In 2003, Paciano Lizarraga-Tirado was arrested and charged
with illegally reentering the United States after having been
deported.1 He admitted that he was arrested in a remote area
near the United States-Mexico border, but claimed he was
arrested in Mexico while awaiting instructions from a smuggler.
ในปี 2003, Paciano Lizarraga-Tirado
ถูกจับกุมและถูกตัง้ ข้อหาลักลอบเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาอย่างผิดกฎหมายหลังจาก
ถูกเนรเทศเขาสารภาพว่าเขาถูกจับในพื้นทีห ่ า่ งไกลใกล้ชายแดนสหรัฐฯ -
เม็กซิโก แต่อา้ งว่าเขาถูกจับในเม็กซิโกขณะรอคาสั่งจากผูล้ กั ลอบนาเข้า
To prove the arrest occurred in the United States, the
prosecution offered the testimony of the arresting officers that
they were familiar with the area and believed they were north of
the border, in the United States, when they made the arrest. An
officer also testified that she used a Global Positioning System
(GPS) device to determine their location by satellite, and then
inputted the coordinates into Google Earth. Google Earth then
placed a digital “tack” on a map, labeled with the coordinates,
indicating that the location lay north of the border
เพือ
่ ทีจ่ ะพิสูจน์ วา่ การจับกุมเกิดขึน ้ ในสหรัฐอเมริกา
การฟ้ องร้องได้เสนอพยานหลักฐานของเจ้าหน้าทีจ่ บ ั กุมว่าพวกเขาคุน้ ชินกับพื้นที่
ดังกล่าวและเชือ ่ ว่าพวกเขาอยูท ่ างเหนือของชายแดนในสหรัฐอเมริกา
ในประเทศสหรัฐอเมริกาเมือ ่ พวกเขาถูกจับกุม
เจ้าหน้าทีย่ งั ให้การว่าเธอใช้อุปกรณ์ Global Positioning System (GPS)
เพือ
่ กาหนดตาแหน่ งของพวกเขา แล้วใส่พก ิ ดั ลงใน Google Earth จากนัน ้
Google Earth
จึงจับตาแหน่ งบนแผนทีด ่ จิ ท
ิ ลั โดยมีป้ายกากับว่าพิกดั ระบุวา่ สถานทีต
่ ง้ ั อยูท
่ างเหนื
อของชายแดน
Mr. Lizarraga-Tirado insisted that these mechanical
accusations were “hearsay,” out-of-court assertions offered for
their truth, and thus inadmissible. The Ninth Circuit rejected his
argument, even while acknowledging that the digital “tack” was a
“clear assertion,” such that if the tack had been manually placed
on the map by a person, it would be “classic hearsay.”3 In the
court’s view, machine assertions—although raising reliability
concerns4—are simply the products of mechanical processes and,
therefore, akin to physical evidence. As such, they are adequately
“addressed by the rules of authentication,” requiring the proponent
to prove “that the evidence ‘is what the proponent claims it is,’”5 or
by “judicial notice,”6 allowing judges to declare the accuracy of
certain evidence by fiat.
นาย Lizarraga-Tirado
ยืนยันว่าข้อกล่าวหาเกีย่ วกับทางเครือ
่ งมือเหล่านี้คอ ื "คาบอกเล่า"
คายืนยันทีศ่ าลออกซึง่ เสนอขึน
้ มาเพือ่ ความจริงของพวกเขาและไม่อาจถูกรับไว้พิ
จารณาได้ ศาลอุทธรณ์ ภาคเก้าแห่งสหรัฐอเมริกาปฎิเสธข้อโต้แย้งของเขา
แม้ในขณะรับทราบ "นโยบาย" แบบดิจท ิ ลั เป็ น "การยืนยันอย่างชัดเจน"
เช่นว่าถ้ามีการระบุตนเองบนแผนทีโ่ ดยบุคคลหนึ่งแล้วมันจะเป็ น
"คาบอกเล่าแบบเดิมๆ
ในมุมมองของศาล เครือ ่ งยืนยันแม้วา่ จะเพิม
่ ความน่ าเชือ
่ ถือ
ความน่ ากังวลคือผลจากกระบวนการทางกลและยังเกีย่ วข้องกับหลักฐานทางกายภ
าพ
ดังนัน
้ หลักฐานเหล่านี้น่าจะเพียงพอโดยการแจ้งเตือนการพิจารณาคดีเพือ ่ ให้ผพ
ู้ ิ
พากษาสามารถประกาศความถูกต้องหลักฐานบางอย่างได้โดยคาสั่งดังกล่าว

You might also like