You are on page 1of 163

เพียงใจบริสุทธิ์ จิตก็จะเป็ นหนึ่ง

เมือ่ ปล่ อยวาง อานาจญาณจะบังเกิด


แจกฟรีเป็ นธรรมทาน (ไม่ ขาย)
เขียนโดย
นายตะวัน เพ่งพิศ
ขอถวายวิช าอภิญ ญาฤทธิ์ ขึ้น เป็ นพุ ทธบู ช า ธรรมบู ช า
สั งฆบูชา บูชาคุณบิดามารดา บูชาพระคุณครู บาอาจารย์
ข้ าพเจ้ าขอมอบวิชาอภิญญาฤทธิ์ กลับมาสู่ พระพุทธศาสนา
เพื่อพระพุทธศาสนาเพียบพร้ อมไปด้ วยอภินิหาร และคาสอนที่
เป็ นอัศจรรย์ ด้ วยประการฉะนี้ สาธุ
อารัมภบทผู้เขียน
เจตนารมณ์ผเู้ ขียน เพื่อให้มีผสู้ ื บทอดวิชาของพระอรหันต์สายอภิญญา
หนังสื อเล่มนี้ ผูเ้ ขียนจะเน้นอภิญญา 6 และวิชชา 3 ซึ่ งเป็ นวิชาของพระอรหันต์สาย
อภิญญา ผูห้ ลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ
ส่ วนวิชาของพระอรหันต์สายปั ญญาวิมุตติ วิปัสสนาล้วน และปฏิ สัมภิทา 4 ข้าพเจ้า
จะได้เขียนไว้ในหนังสื อเล่มต่อไป เพื่อผูส้ นใจศึกษา ได้เรี ยนรู ้ครบทุกสายของการปฏิบตั ิธรรม
พระอรหันต์ 4 ประเภท คือ
1. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยวิปัสสนาล้วน
2. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยวิชชา 3
3. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยอภิญญา 6
4. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา 4
หนทางแห่ งนิ พ พานนั้น มี อยู่หลายสาย จะก้าวเดิ น เจริ ญ ฌานสมถะก่ อน แล้วมาต่ อ
วิปัสสนาทีหลัง หรื อจะเดิ นทางตรงวิปัสสนาล้วนพิจารณาธรรมะต่างๆ เพื่ อแตกฉานในธรรม
ก็สามารถบรรลุธรรมได้เหมือนกันหมด
หนทางแม้มีหลายสาย จะก้าวเดินทางไหน ก็บรรลุธรรมได้เหมือนกันหมด
วิชาเล่มสองมีความแตกต่างจากเล่มแรกอย่างมาก คือเล่มแรกนั้นเป็ นวิชาพื้นฐานถึงขั้นสู ง
มีอานาจบุญรวมทั้งฌานและญาณ ส่ วนเล่มสองของข้าพเจ้ามีท้ งั บุญฤทธิ์ ฌานฤทธิ์ ญาณฤทธิ์
สอนให้เอาทั้งฌานและญาณมารวมกันทาให้ผอู ้ ่านมีความฉลาดในอภินิหาร
บัด นี้ เห็ น สมควรแก่ ก าลเวลาที่ จ ะน ามาเผยแผ่ จะเลื อ กเฉพาะผู ้มี บ ารมี ท างธรรม
ครอบครอง สุ ดยอดอภิ ญญาแต่ละอย่าง จะมี ความโดดเด่นไม่เหมื อนกัน วิชาสุ ดยอดอภิญญา
จะอยูใ่ นมือ ผูม้ ีบุญบารมีเท่านั้น เพื่อครอบครองวิชาดังกล่าว รวมทั้งเก็บรักษาไม่ให้สูญหายไป
จากพระพุทธศาสนาอีก ถ่ายทอดสื บต่อไปยังคนรุ่ นหลัง
ความจริ งแล้วสิ่ งที่ ข ้าพเจ้าค้น พบ จะนามาออกเผยแผ่หรื อไม่ ก็ตาม วิช าพวกนี้ ก็มี อยู่
กระจัดกระจายกันออกไป หรื อแทบไม่มีเลย นักปฏิบตั ิธรรมย่อมได้ผลของสมาธิ เหมือนกัน แม้
ฝึ กวิ ช ามาไม่ เหมื อ นกัน แต่ ถ้าผลส าเร็ จเหมื อ นกัน มี นิ มิ ต ในสมาธิ เหมื อนกัน ก็ มี อ ภิ ญ ญา
เหมือนกัน โดยไม่จาเป็ นต้องลอกเลียนใครมา หนทางแม้อาจมีหลายสาย หากก้าวเดินย่อมสาเร็ จ
เหมือนกัน ไม่เห็นจาเป็ นต้องบอกว่าวิชาพวกนี้ ของผูใ้ ดกัน ธรรมะเป็ นสิ่ งสากล คนสาเร็ จแล้ว
ไม่นามาเผยแผ่ก็มีเยอะ วิชาจึงสู ญหายจากพระพุทธศาสนา
อภิญญาจะเกิดมีได้ สาหรับผูส้ ร้างบุญบารมีมาทางนี้ เท่านั้น สมัยพระพุทธกาล ที่สาเร็ จ
ภายใน 7 วันนั้น เป็ นเพราะบารมีเก่าแต่ละบุคคลที่ได้สั่งสมมา คนทัว่ ไป ไม่ได้สร้างบุญบารมี
เพื่อสาเร็ จสมาธิ ในระดับนั้น จึงต้องใช้ความเพียรควบคู่ไปกับการปฏิบตั ิธรรม
การฝึ กสมาธิ ควรท าใจให้ เย็น ๆ ไม่ ต้องรี บ ร้ อน ค่ อยเป็ นค่ อยไป สั่ งสมบุ ญ บารมี
ควบคู่ไปกับการปฏิบตั ิธรรม โดยมีความเพียรไม่ทอ้ ถอย สักวันหนึ่ง จะสาเร็ จสมาธิ ได้เอง
สมาธิ คือ ความหยุด ไม่ใช่ความอยาก ยิ่งอยาก ยิง่ ไม่สาเร็ จ จะเกิดกิเลสนิวรณ์ธรรม
เข้าแทรกจิตไปในความสาเร็ จทั้งปวง ทาให้จิตส่ าย ไม่สงบเป็ นสมาธิ อีกต่อไป
ที่ว่า หยุดนั้น หมายถึ งอะไร หยุดในที่น้ ี คือ หยุดจิต ไม่ให้ฟุ้งซ่ าน โดยมีสติเป็ น
ที่ ต้ งั ละความอยากได้ อยากมี อยากเป็ น อยากส าเร็ จลงได้ ไม่ ยึด ติ ด ด้วยการปล่ อ ยวาง
ใจเราจะสงบเป็ นสมาธิ เอง ได้ฌ านและญาณ โดยล าดับ เพราะมี ส ติ เป็ นที่ ต้ งั ใจเราก็ ส งบ
ไม่ฟุ้งซ่าน ละความอยากสาเร็ จ สามารถปล่อยวางได้
ด้วยเหตุน้ ี ยิง่ อยาก ยิง่ จะไม่ได้ฌานหรื อญาณ หยุดอยากได้เมื่อไร ใจก็สงบเป็ นสมาธิ
การฝึ กสมาธิแบบปล่อยวาง โดยมีสติเป็ นทีต่ ้งั สาคัญอย่างไร
การฝึ กสมาธิ ควรฝึ กเพื่อให้จิตตัวเองปล่อยวาง จึงเป็ นผูม้ ีสติอยูท่ ุกเมื่อ จิตจะไม่ยึดติดไป
ในนิ มิตต่างๆ จิตจะไม่วิ่งตามนิ มิต จิตจะไม่ส่าย ไม่ฟุ้งซ่ าน “ใจจึงสงบ เพราะมีสติเป็ นที่ต้ งั
สามารถปล่อยวางนิมิต และในสุ ขทั้งปวง” จึงเป็ นผูม้ ีสมาธิ อยูท่ ุกขณะจิต เมื่อเจริ ญภาวนา
แม้ที่ สุดแห่ งความเพียรเพื่ อบรรลุ ธรรม ยิ่งอยากยิ่งไม่ได้ เพราะเกิ ดกิ เลสเข้าแทรกจิ ต
เร่ งความเพียรมากเกิ นไป แทนที่ จะมีสติดูจิตอยู่กบั ปั จจุบนั กลับไปอยากได้ อยากบรรลุ ธรรม
จิตจึงฟุ้ งซ่ านไปในกิ เลสความอยากที่จะบรรลุ ธรรมในอนาคต แทนที่จะมีสติดูจิตทุกขณะอยู่กบั
ปั จจุบนั จึงไม่ได้บรรลุธรรมแต่ประการใด
ด้วยเหตุ น้ ี การปฏิ บตั ิ ธรรมอย่าไปอยากได้ อยากสาเร็ จ ควรฝึ กปล่ อยวาง โดยมี ส ติ
เป็ นที่ต้ งั สติจึงสามารถดูจิตทุกขณะ สามารถละวางกิเลสที่เกิดขึ้นในปั จจุบนั อยูท่ ุกเมื่อ
การปฏิบตั ิธรรมจึงควรฝึ กปล่อยวาง ใจเราจะไม่ยดึ ติด ด้วยประการทั้งปวง
สุ ดท้ายนี้ ผูเ้ ขี ยนขอน าความรู ้ ม าเผยแผ่เป็ นธรรมทาน เพื่ อดารงอยู่ซ่ ึ งคาสั่ งสอนของ
พระพุทธเจ้าสื บต่อไป ด้วยประการฉะนี้ สาธุ
หากผูใ้ ดได้ฝึกวิชาที่ขา้ พเจ้าเขียนและเรี ยบเรี ยงนี้ ขอให้เจริ ญในธรรมยิง่ ๆขึ้นไป สาธุ
ข้ อควรระวัง ใครผู้ใดได้ เรียนวิชานีแ้ ล้ว (ไม่ เคารพในพระพุทธเจ้ า พระธรรม
พระสงฆ์ บิดามารดา ครู อาจารย์ “เอาวิชาของสู งไปใช้ ในทางทีผ่ ดิ ” ) ระวังฟ้ าดินจะ
ลงโทษ นรกสวรรค์ มตี า ใครทาชั่วหรือดี ท่ านก็คงจะเห็น

โลกเราเหมือนกันทั้งสามภพ ยิง่ อยากก็ยงิ่ ทุกข์


หยุดอยากได้ เมื่อไร ดับทุกข์ ได้ เมื่อนั้น

เขียนโดย
นายตะวัน เพ่งพิศ
สารบัญ

เรื่อง หน้ า

บทนา 1
ฤทธิ์ 10 5
อภิญญา 6 16
วิชชา 3 18
วสี สมาธิ 19
วิชาธรรมจักร 26
วิชาเข้าฌานแบบพิสดาร (สมาธิ เบื้องต้นพื้นฐานอภิญญา) 33
วิชาการเข้าญาณที่ถูกวิธี (โดยไม่ให้พลังฌานลดลง) 38
วิชารักษาอิทธิ ฤทธิ์ (อานาจฌาน) 39
พลังฌานรวมพลังญาณ 42
วิชาปัญญาญาณ 45
วิชาตาปัญญา 49
วิชาหูปัญญา 51
วิชาปลุกธาตุตาทิพย์ 53
วิชาใช้ดวงตาสะกด (สัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ) 56
วิชาเปลี่ยนเสี ยงตัวเองให้หวานไพเราะละมุนละไม (ไพเราะจับจิตจับใจ) 58
พลังช้างสาร 60
พลังชีวติ 62
พลังลมปราณ 65
วิชาเคลื่อนไหวชัว่ พริ บตา 67
วิชาเรี ยกพายุ 69
วิชาสลายพายุในอากาศ 71
วิชาล่องหนหายตัวในอากาศ 72
วิชาอัญเชิญพระธาตุกายสิ ทธิ์ (มหาธาตุแห่งโชคลาภ พระสี วลี) 74
วิชาเสกเงิน (ด้วยอานาจแห่ งบุญฤทธิ์ ) 80
วิชาเปลี่ยนร่ างกายตัวเองให้กลายเป็ นธาตุกายสิ ทธิ์
(ต่างกับพลังทางพุทธคุณ คือพลังธาตุกายสิ ทธิ์ น้ นั เอง) 82
วิชาอัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ ออกจากร่ างกาย 85
วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากอากาศเข้าสู่ ร่างกาย 87
วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากร่ างกายออกสู่ อากาศธาตุ 89
เรื่อง หน้ า

โคตรภูญาณ 90
พลังโพธิพนั ญาณ 102
วิชาดึงบารมีในอนาคตตอนบรรลุธรรมออกมาใช้ 104
วิชาหยุดเวลา ใช้ฤทธิ์ บงั คับไม่ให้พระอาทิตย์ข้ ึน (หรื อจะให้พระอาทิตย์เดินเวลาใด
สุ ดแต่ใจปรารถนาบังคับเวลาและพระอาทิตย์) 105
วิชาควบคุมหัวใจหรื อเปลี่ยนหัวใจตัวเองให้กลายเป็ นก้อนดินหรื อน้ าแข็ง
(พระอิฐพระปูน บางครั้งบางเวลา) 107
วิชาเปลี่ยนอากาศ (จะร้อน หนาว หรื อฝน สุ ดแต่ใจปรารถนา
หรื อใช้ฤทธิ์ บงั คับเปลี่ยนอากาศ) 109
วิชาเปลี่ยนดินที่แห้งแล้งให้กลับชุ่มชื้น (เสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น) 111
วิชาโปรดสัตว์ท้ งั สามโลกด้วยกายทิพย์ (มโนมัยฤทธิ์ ) 113
วิชาแยกร่ าง (กายทิพย์) 116
อภินิหารเดินลุยไฟ 118
วิชาแปลงกาย 119
วิชาประสานบาดแผล 121
วิชาชุบชีวติ ให้ผอู้ ื่น (เรี ยกดวงจิตเขากลับเข้าร่ าง) 122
พลังสมาธิ หยัง่ รู ้ใจเทวดาและภาษาสัตว์ต่างๆ หรื ออ่านใจหรื อรู ้ใจสัตว์ก็เรี ยก 124
วิชาทาให้แผ่นดินไหว 126
อาสวักขยญาณ 128
บทส่ งท้ายผูเ้ ขียน 134
รายนามผูบ้ ริ จาคร่ วมบุญพิมพ์หนังสื อธรรมะ 136
1
บทนา
วิชาสมาธิภาคพิสดารหรืออภิญญาสู งสุ ดทางพระพุทธศาสนา
จุดประสงค์ข องผูเ้ ขีย น คื อ รวบรวมค าสั่ งสอนของพระพุ ท ธเจ้า และอภิ ญ ญาที่ ห าย
สาบสู ญ ไปทั้ง หมด กลับ คื น มาสู่ พ ระพุ ท ธศาสนาอี ก ครั้ ง หมายเหตุ ถ้าเรื่ อ งใดมี อ ยู่แ ล้วจะ
ไม่จาเป็ นต้องนามาเผยแผ่ เพราะมี ผนู ้ ามาเผยแผ่อยูแ่ ล้ว แต่จะเขียนเป็ นแนวทางแห่ งการศึกษา
และปฏิบตั ิธรรมเท่านั้นว่าสมาธิ เหล่านั้นเริ่ มต้นจากจุดใด จะเขียนและนามาเผยแผ่เฉพาะวิชาที่หาย
สาบสู ญไป
วิชาอภิ ญญาสู งสุ ดทางพระพุทธศาสนาทั้งหมดที่หายสาบสู ญไปกว่าครึ่ ง เราเองจะเป็ น
ผูน้ ากลับมา มอบคืนให้พระพุทธศาสนาทั้งหมด
เพื่อดารงไว้ซ่ ึ งคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า สื บอายุของพระพุทธศาสนาต่อไป
พลังสมาธิ เริ่ มต้นที่สติปัฏฐาน 4 แล้วแบ่งแยกออกเป็ นหลายแบบ ดังต่อไปนี้ คือ
1. วิชาแสงทิพย์
2. พลังจักรวาล (คือการรวมธาตุ)
3. วิชาธรรมกาย
4. วิชาธรรมจักร
5. วิชารังสี ธรรม
6. พลังจิตตญาณ (วิชาการฝึ กสมาธิแบบทางพระธิเบต)
7. พลังโซล่าเซลล์ (อานาจจิตไวเหนือแสง)
8. พลังปลุกธาตุ
9. พลังเคลื่อนย้ายจักรวาล
10. พลังจักรธาตุ (คือการแยกธาตุ)
11. พลังอรหันต์นิทรา (เข้าสมาธิ อิริยาบถนอน)
12. พลังพระธาตุ
13. วิชาสลายธาตุ หรื อวิชาพลิกธาตุ
14. วิชาสกัดธาตุ (คือการสกัดจิตตัวเองให้บริ สุทธิ์ ปราศจากกิเลส)
15. วิชาประสานกาย (พลังสมาธิใช้ในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บให้ตวั เองและผูอ้ ื่น)
16. พลังออร่ า
17. พลังสมดุลแห่งจักรวาล (หยิน – หยาง)
18. วิชาเล่นแร่ แปรธาตุ
19. พลังกายกับจิตทวีคูณสองเท่า
20. วิชาอิ่มทิพย์ (ใช้เฉพาะอดข้าวปฏิบตั ิธรรมหรื ออยูป่ ่ า)
21. วิชาห้ามลมห้ามฝน
22. วิชาเรี ยกลมเรี ยกฝน
2
23. พลังอนัน ตจัก รวาล (วิช าเพิ่ ม พลัง หรื ออานาจฌานแบบไร้ ขี ดจากัด หรื อพลังไร้
ขอบเขตก็เรี ยก)
24. วิชาเพลิงกาย (ดวงจิตสุ ริยะ)
25. วิชาส่ งกระแสจิตหาผูอ้ ื่น
26. วิชาดึงธาตุหรื อดูดธาตุ (วิชาอรหันต์ปราบมาร)
27. วิชาอ่านคลื่นจิตผูอ้ ื่นได้ในระยะใกล้หรื อไกล
28. พลังข่ายญาณวิเศษ
29. พลังอนัตตาญาณ
30. วิชาสลายดวงจิต (เป็ นการเข้าสมาธิแบบดับกาย ดับจิต และดับธรรม)
31. วิชาเรี ยกดวงจิตกลับคืน (เป็ นการออกสมาธิแบบพิสดาร)
32. พลังบุญฤทธิ์ (พลังสมาธิ สาหรับฆราวาสผูค้ รองเรื อน)
33. ฤทธิ์ ทางใจแบบพิสดาร
34. วิชาเรี ยกพลังธาตุ
35. จุตูปปาตญาณ (รู ้สัตว์เกิดตายด้วยอานาจกรรมของตัวเอง)
36. อนุสาสนีปาฏิหาริ ย ์ (แสดงธรรมได้เป็ นอัศจรรย์)
37. วิชาเข้าฌานแบบพิสดาร (สมาธิ เบื้องต้นพื้นฐานอภิญญา)
38. วิชาถอนคุณไสย์เสน่ห์เล่ห์กลอวิชชาและมนต์ดา
39. วิชาเพ่งญาณตรวจดูธาตุกายสิ ทธิ์ ในร่ างกายคน

อวิชชา คือ ความไม่ รู้ เราเรียนวิชชาเพือ่ รู้ แจ้ ง


แต่ กไ็ ม่ ควรยึดติดอยู่ในความรู้ น้ัน
3
วิชาอภิญญาฤทธิ์หรือวิชาสมาธิภาคพิสดาร 2
วิชาสายอภิ ญญาสู งสุ ดทางพระพุ ทธศาสนาทั้งหมด ที่ไม่ มีผูส้ ื บทอดวิชา จุดประสงค์
ของผูเ้ ขียน เพื่อให้มีผสู้ ื บทอดวิชาของพระอรหันต์สายอภิญญา เพื่อไม่ให้วชิ าหายสาบสู ญไป
เพื่อดารงไว้ซ่ ึ งคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า สื บอายุของพระพุทธศาสนาต่อไป
รายละเอียดของเนื้อหา ดังต่อไปนี้ คือ
1. ฤทธิ์ 10
2. อภิญญา 6
3. วิชชา 3
4. วิชาปัญญาญาณ
5. วิชาปลุกธาตุตาทิพย์
6. พลังลมปราณ
7. วิชาเปลี่ยนเสี ยงตัวเองให้หวานไพเราะละมุนละไม (ไพเราะจับจิตจับใจ)
8. พลังสมาธิ หยัง่ รู ้ใจเทวดาและภาษาสัตว์ต่างๆ หรื ออ่านใจหรื อรู ้ใจสัตว์ก็เรี ยก
9. วิชาใช้ดวงตาสะกด (สัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ)
10. วิชาอัญเชิญพระธาตุกายสิ ทธิ์ (มหาธาตุแห่งโชคลาภ พระสี วลี)
11. พลังชีวติ
12. วิชาเคลื่อนไหวชัว่ พริ บตา
13. พลังช้างสาร
14. วิชาเรี ยกพายุ
15. วิชาสลายพายุในอากาศ
16. วิชาเปลี่ยนดินที่แห้งแล้งให้กลับชุ่มชื้น (เสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น)
17. วิชาเปลี่ยนร่ างกายตัวเองให้กลายเป็ นธาตุกายสิ ทธิ์ (ต่างกับพลังทางพุทธคุณ คือพลัง
ธาตุกายสิ ทธิ์ น้ นั เอง)
18. วิชาอัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ ออกจากร่ างกาย
19. วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากอากาศเข้าสู่ ร่างกาย
20. วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากร่ างกายออกสู่ อากาศธาตุ
21. พลังโพธิพนั ญาณ
22. วิชาหยุดเวลา ใช้ฤทธิ์ บงั คับไม่ให้พระอาทิตย์ข้ ึน (หรื อจะให้พระอาทิตย์เดินเวลาใด
สุ ดแต่ใจปรารถนาบังคับเวลาและพระอาทิตย์)
23. วิชาควบคุ มหัวใจหรื อเปลี่ ยนหัวใจตัวเองให้กลายเป็ นก้อนดิ นหรื อน้ าแข็ง (พระอิฐ
พระปูน บางครั้งบางเวลา)
24. วิชาเปลี่ยนอากาศ (จะร้อน หนาว หรื อฝน สุ ดแต่ใจปรารถนา หรื อใช้ฤทธิ์ บังคับ
เปลี่ยนอากาศ)
4
25. วิชาโปรดสัตว์ท้ งั สามโลกด้วยกายทิพย์ (มโนมัยฤทธิ์ )
26. วิชาทาให้แผ่นดินไหว
27. วิชาเสกเงิน (ด้วยอานาจแห่งบุญฤทธิ์ )
28. วิชาแปลงกาย
29. วิชาแยกร่ าง (กายทิพย์)
30. วิชารักษาอิทธิ ฤทธิ์ (อานาจฌาน)
31. วิชาการเข้าญาณที่ถูกวิธี (โดยไม่ให้พลังฌานลดลง)
32. พลังฌานรวมพลังญาณ
33. อภินิหารเดินลุยไฟ
34. วิชาล่องหนหายตัวในอากาศ
35. วิชาตาปัญญา
36. วิชาหูปัญญา
37. วิชาประสานบาดแผล
38. วิชาชุบชีวติ ให้ผอู้ ื่น (เรี ยกดวงจิตเขากลับเข้าร่ าง)
39. วิชาดึงบารมีในอนาคตตอนบรรลุธรรมออกมาใช้

ใดๆ ในโลกล้ วนอนิจจัง


ไม่ มีสิ่งใด ควรยึดติด ให้ ใจตัวเองเป็ นทุกข์
5
ฤทธิ์ 10
ในพระพุทธศาสนาท่านจาแนกฤทธิ์ ไว้ 10 ประการ ดังต่อไปนี้ คือ
1. อธิ ษฐานฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่ตอ้ งอธิ ษฐานให้สาเร็ จ
2. วิกุพพนาฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่ตอ้ งทาอย่างผาดแผลง
3. มโนมัยฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยใจ
4. ญาณวิปผาราฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยกาลังญาณ
5. สมาธิ ผาราฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยอานาจสมาธิ
6. อริ ยฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยวิสัยของพระอริ ยเจ้า
7. กัมมวิปากชาฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่เกิดขึ้นแต่ผลกรรม
8. บุญญฤทธิ์ ฤทธิ์ ของผูม้ ีบุญญาธิ การ
9. วิชชามัยฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยวิชาหรื อวิทยา
10. สัมปโยคปั จจยิชฌนฤทธิ์ ฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยการประกอบกิจกุศลให้สาเร็ จไป
อธิบายขยายความ
1. อธิษฐานฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่ตอ้ งอธิ ษฐานให้สาเร็ จ ผูม้ ีบุญจะทาสิ่ งใดก็อธิ ษฐานด้วย
บุญของตนให้เกิดเป็ นฤทธิ์ ข้ ึนมา การอธิ ษฐานจิตจึงเป็ นฤทธิ์ ให้สาเร็ จตามเจตนาของตน
2. วิกุพพนาฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่ตอ้ งทาอย่างผาดแผลง หมายถึง การแปลงกายนั้นเอง
3. มโนมัยฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่ สาเร็ จด้วยใจ สาเร็ จด้วยมโนมยิทธิ เป็ นการฝึ กจิตให้มี
อานาจใจเกิดเป็ นฤทธิ์ ข้ ึนมา เช่น ถอดกายทิพย์ของตนออกไปเทวโลก เป็ นต้น
4. ญาณวิปผาราฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยกาลังญาณ หมายถึง การเจริ ญวิปัสสนาแล้วได้
ญาณหยัง่ รู ้ต่างๆ หรื อญาณประหารกิเลส เป็ นต้น
5. สมาธิผาราฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยอานาจสมาธิ การสาเร็ จฌานเป็ นฤทธิ์ น้ นั เอง
6. อริยฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยวิสัยของพระอริ ยเจ้า ท่านสามารถพิจารณาสิ่ งที่
งามให้เห็นเป็ นสิ่ งที่ไม่งาม เป็ นแต่เพียงธาตุๆ ท่านสามารถแสดงฤทธิ์ ได้ยงิ่ กว่ามนุษย์
7. กัมมวิปากชาฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่ เกิ ดขึ้ นแต่ผลกรรม หมายถึ ง ผลกรรมที่ ท าผิดแผกกัน
ออกไปให้เกิดฤทธิ์ เช่น นกมีปีกบินได้ แต่มีกรรมที่ตอ้ งเกิดเป็ นนก เป็ นต้น
8. บุญญฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ของผูม้ ีบุญญาธิ การ หมายถึ ง การทาบุญแล้วมี อิทธิ ฤทธิ์
หรื อเรี ยกว่า บุญฤทธิ์ เป็ นวิสัยของผูม้ ีบุญ หรื อเทวดา
9. วิชชามัยฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่สาเร็ จด้วยวิชาหรื อวิทยา คือ พุทธคุณ คาถา อาคม
10. สั มปโยคปัจจยิชฌนฤทธิ์ เป็ นฤทธิ์ ที่ ส าเร็ จด้ ว ยการประกอบกิ จ กุ ศ ลให้ ส าเร็ จ ไป
การสร้างกุศลและบารมีธรรมต่างๆ เกิดเป็ นฤทธิ์ ข้ ึนมา
6
ข้ อควรทราบ อภิ นิหารในพระพุทธศาสนามี มากมายหลายอย่าง แต่ผูเ้ ขียนจะเลื อกเอา
เฉพาะที่สาคัญและผูอ้ ่านควรรู ้ควรศึกษาให้เกิดประโยชน์ หนังสื อเล่มนี้ ผูเ้ ขียนจะเน้นการเจริ ญ
สมถะฌานแล้วมาต่อญาณวิปัสสนาทีหลัง จึงเลือกเอาเฉพาะวิชาอภิญญาบางอย่าง และผูเ้ ขียนได้
เขียนเพิ่มเติมจากหนังสื อเล่มแรกวิชาสมาธิ ภาคพิสดาร
วิชาอภิญญาฤทธิ์ นี้ นอกจากจากการเจริ ญฌานและญาณแล้ว ผูเ้ ขียนยังแทรกเนื้อหาสาระ
บางประการ เช่ น พลังพุทธคุ ณ เป็ นต้น ผูอ้ ่านสามารถศึกษาได้เพิ่มเติมในส่ วนของอภินิหาร
ทางพระพุทธศาสนา
ปาฏิหาริ ย ์ 3
ปาฏิหาริ ย ์ หมายถึง สิ่ งที่น่าอัศจรรย์เกินกว่าวิสัยของมนุ ษย์ธรรมดาจะทาได้ อันเป็ นผล
มาจากบุคคลนั้น สาเร็ จฌานและญาณ ได้วชิ ชาและอภิญญาต่างๆ
ปาฏิหาริ ยน์ ้ นั มีท้ งั หมด อยู่ 3 อย่าง คือ
1. อิทธิ ปาฏิหาริ ย ์ ฤทธิ์ เป็ นอัศจรรย์
2. อาเทสนาปาฏิหาริ ย ์ ดักใจเป็ นอัศจรรย์
3. อนุสาสนีปาฏิหาริ ย ์ คาสอนเป็ นอัศจรรย์
อจินไตย 4
1. พุทธวิสัย วิสัยขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
2. ฌานวิสัย วิสัยของบุคคลผูท้ รงฌาน ถ้าเรายังไม่ได้ฌานสมาบัติ เราก็ไม่รู้จกั วิสัยของ
ผูท้ ี่ได้ฌาน และเรื่ องฌานสมาบัติได้เช่นใด
3. กรรมวิสัย คือกฎของกรรม เรื่ องกฎของกรรมนี้ก็เหมือนกัน (ว่าเราเคยทากรรมอะไร
ไว้ในอดีต) ยิง่ คิดยิง่ ทุกข์เรื่ องกรรม นอกจากว่าเราจะได้วชิ ชา 3 อภิญญา 6
4. โลกจินไตย เรื่ องของโลก โลกเกิดขึ้นมาได้อย่างไร จะไปจบลงที่ตรงไหน อย่าไปคิด
มันไม่มีทางจบ คือโลกหาที่สุดไม่ได้
ข้ อควรรู้ สมาธิ น้ นั เป็ นอจินไตย ไม่ควรคิดมากถึงวิสัยของผูท้ ี่ได้ฌานและญาณ เพราะ
จะทาให้ผคู ้ ิดนั้นปวดหัว
หัวใจสมาธิ 2 อย่าง
1. หัวใจของสมถะคือฌาน ถ้าได้ฌานก็จะหมดความลังเลสงสัยในนิ มิตและอภิญญาสมาธิ
ผูท้ ี่ ยงั ไม่ได้ฌานสมาธิ หรื อผูท้ ี่ ไม่ป ฏิ บ ตั ิ ส มาธิ ก็จะคิ ดลังเลสงสั ยในสมาธิ และคิ ดว่า
อานาจแห่งฌานสมาธิ น้ นั เหลือเชื่อเกินจริ ง
2. หัวใจของวิปัสสนาคือญาณ ถ้าได้ญาณหยัง่ รู ้หรื อญาณรู ้แจ้งแล้วก็จะหมดความลังเลสงสัย
ในข้อปฏิบตั ิและปฏิปทาของตน และสามารถฝึ กวิชาสิ่ งใดที่เป็ นญาณของวิปัสสนาก็ได้
หมายเหตุ : ผูท้ ี่ ได้ฌานหรื อญาณ กับผูท้ ี่ ไม่ ได้ฌ านและญาณ ต่ างกันที่ ความคิ ดและ
ความสาเร็ จ
ฌานและญาณนั้น เป็ นอจินไตยจะเกิดมีได้ สาหรับผู้ทไี่ ด้ สมาธิเท่ านั้น
7
ข้อแตกต่าง คนที่ได้สมาธิ กบั คนที่ไม่ได้สมาธิ
1. นักปฏิบตั ิที่ไม่ได้สมาธิ หรื อคนที่ไม่เคยปฏิบตั ิสมาธิ จะจินตนาการกว้างไกลเกี่ยวกับนิมิต
ว่าเป็ นเรื่ อ งเหลื อ เชื่ อเกิ น ความสามารถ และมี ค วามลังเลสงสั ย ในข้อ ปฏิ บ ัติ ท้ งั ปวง
รวมทั้งนิมิตและอภิญญาของสมาธิ ท้ งั หลาย
2. นักปฏิบตั ิที่สาเร็ จสมาธิ จะหมดความลังเลสงสัยในปฏิปทาและนิ มิตทั้งหลาย รวมทั้งรู ้
ว่านิมิตแห่งสมาธิ น้ นั เป็ นอย่างไร เป็ นต้น

ความลังเลสงสั ยมาก ไม่ เท่ ากับปฏิบัติให้ สาเร็จ

สมถะนั้นถ้าไม่ต่อยอดเป็ นวิปัสสนาก็สุดแค่โลกียฌาน
(ไม่สามารถเข้าถึงโลกุตตระได้)
การเจริ ญ ฌานสมถะสู ง สุ ด แค่ ช้ ัน พรหมเท่ า นั้ น ถ้า ไม่ เจริ ญ วิ ปั ส สนาต่ อ การเจริ ญ
วิปัสสนาต่อจากการเจริ ญฌานสมถะ เป็ นการหลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ
สมัยหนึ่ งนั้นอุป ติส สะ (พระสารี บุ ตร) สาเร็ จฌานสมาบัติมาจากสานักอาจารย์สัญชัย
ปริ พาชก ท่านพิจารณาด้วยปั ญญาว่าทางนี้ ไม่ใช่ ทางที่ เราจะบรรลุ ธรรมได้ จึงได้หาอาจารย์ต่อ
เพื่อแสวงหาโมกขธรรม ได้พบกับอาจารย์ (พระอัสสชิ ) ท่านแสดงธรรมให้ฟัง มีใจความว่า
ธรรมใดเกิด แต่ เหตุ ธรรมนั้ นย่ อมดับ ได้ ด้ว ยเหตุ เมื่ ออุ ป ติ ส สะ (พระสารี บุตร) ฟั งแล้วเกิ ด
ดวงตาเห็นธรรม
พระสารี บุตรนั้นท่านมีอภินิหารพอๆ กับพระโมคคัลลานะ เพราะเป็ นศิษย์อาจารย์สานัก
เดียวกันและท่านสาเร็ จฌานอภิญญา สมัยตั้งแต่เรี ยนอยูใ่ นสานักอาจารย์สัญชัยปริ พาชก แต่ท่าน
สร้างบารมีมาในด้านของปั ญญาบารมี จึงไม่ได้หลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ เหมือนพระโมคคัลลานะ
แต่พระสารี บุตร สาเร็ จเป็ นพระอรหันต์ดว้ ยปั ญญาวิมุตติ ถึงพร้อมแล้วด้วยปฏิสัมภิทา 4 ส่ วน
พระโมคคัลลานะ หลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ ถึงพร้อมแล้วด้วยอภิญญา 6
ด้วยเหตุน้ ี การเจริ ญสมถะแล้วมาต่อวิปัสสนาทีหลัง เหมือนกับพระโมคคัลลานะ เป็ น
การหลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ อันข้าพเจ้าจะได้กล่าวไว้ในหนังสื อเล่มนี้
ส่ วนปั ญญาวิมุตติ จะได้กล่าวไว้ในหนังสื อเล่มวิชาปั ญญาญาณ
ทั้งเจโตวิมุตติและปั ญญาวิมุตติ รวมทั้งวิชาของพระพุทธเจ้า และพระอรหันต์สายต่างๆ
เพื่ อบรรลุ ธ รรม ของพระอรหันต์ทุ ก สายการปฏิ บ ัติจะได้ก ล่ าวไว้ใ น หนัง สื อเล่ ม วิชาท าลาย
อาสวะกิ เลส (กรุ ณาติดตามอ่านงานเขียนของผูเ้ ขียน) จะได้เขียนไว้ครบทุกสายของการปฏิบตั ิ
เพื่อประโยชน์ผอู ้ ่านจะได้เลือกปฏิบตั ิให้เหมาะสมกับจริ ต และวาสนาบารมีธรรมของตน
8
วิชาอภิญญาฤทธิ์ ผเู ้ ขียนต่อจากพื้นฐานวิชาสมาธิภาคพิสดาร
สาหรับวิชาอภิ ญญาฤทธิ์ นี้ ผูเ้ ขียนจะเขียนต่อจากหนังสื อเล่ มแรกวิชาสมาธิ ภาคพิสดาร
เป็ นการเจริ ญสมถะแล้วมาต่อยอดเป็ นวิปัสสนาทีหลัง
ผูเ้ ขี ย นจึ งเลื อ กเอาเฉพาะวิช าอภิ ญ ญาที่ เป็ นประโยชน์ และเน้น การปฏิ บ ัติฌ านสมถะ
เพื่อมาเจริ ญวิปัสสนาต่อ
หนังสื อวิช าอภิ ญ ญาฤทธิ์ จึ งเขี ยนวิช าธรรมดาพื้ น ฐานสลับ กัน ไปกับ วิช าสายพิ ส ดาร
ตามความเหมาะสม ซึ่ งต่างจากงานเขียนเล่มแรก ที่เขียนเฉพาะสายพิสดารอย่างเดียว
ตัวอย่างเช่น การฝึ กพลังธาตุ
การฝึ กพลังธาตุน้ นั จะฝึ กธรรมดาหรื อพิสดารก็ได้ สุ ดแล้วแต่จริ ตและวาสนาบารมีธรรม
ของผูน้ ้ นั สร้างมาอย่างไร ก็ฝึกแบบนั้น จะได้ตรงกับของเก่าที่ตนเองได้สร้างสมบารมีธรรมมา
ข้อแตกต่าง ระหว่างพลังธาตุสายธรรมดากับสายพิสดาร
พลังธาตุสายธรรมดา เป็ นการฝึ กเจริ ญ กสิ ณ จนช านาญเป็ นวสี ส มาธิ สามารถย่อ
ขยายดวงกสิ ณ และใช้อานุภาพของนิมิตจากการเจริ ญกสิ ณได้ เป็ นต้น
พลังธาตุสายพิสดาร เป็ นการฝึ กพลังธาตุ ม าจากการเจริ ญ กสิ ณ และฝึ กให้พิ ส ดาร
ออกไป เช่ น เรี ยกพลังธาตุ การปรับธาตุในร่ างกาย การสมดุ ลพลังธาตุ การคลื่ นย้ายถ่ ายเท
พลังงาน (เรี ยกว่า พลังเคลื่ อนย้ายจักรวาล) และการสกัดธาตุให้จิตของตัวเองบริ สุทธิ์ ยิ่งขึ้นไป
ในการเจริ ญพลังธาตุและได้นิมิตมาแล้ว ก็สกัดพลังให้นิมิตนั้นละเอียด มีความบริ สุทธิ์ เป็ นต้น
ด้วยเหตุ น้ ี จะฝึ กแบบธรรมดาหรื อพิ สดารก็ได้ท้ งั นั้น ขึ้ นอยู่กบั จริ ตและวาสนาบารมี
ธรรมของแต่ละคน
ข้ อควรทราบ วิชาสายพิ สดารจะเลื อกถ่ ายทอดให้ผูไ้ ม่ มีทิ ฏ ฐิ เท่านั้น ผูเ้ ป็ นอาจารย์ก็ ดี
ผูเ้ ป็ นกัลยาณมิตรก็ดี จึงพิจารณาบุคคลผูท้ ี่เหมาะสมมอบวิชาสายพิสดารให้ ไม่มีประโยชน์อนั ใด
ที่จะให้กบั ผูท้ ี่มีทิฏฐิ เพราะเขาไม่เข้าใจเลยว่า การฝึ กสมาธิ สายพิสดารนั้นฝึ กอย่างไร เป็ นเหตุ
ให้เขาติเตียนการฝึ กสมาธิ สายพิสดารได้ และไม่เกิดประโยชน์อนั ใดเลยกับบุคคลผูน้ ้ นั
ในความเป็ นจริ ง การฝึ กพลังธาตุตอ้ งผ่านมาหมด ไม่ตอ้ งจาต้องฝึ กกสิ ณแบบธรรมดา
จะฝึ กแบบธรรมดาหรื อแบบพิสดาร ก็ตอ้ งรู ้จกั วิธีควบคุ มพลังธาตุ การเรี ยกพลังธาตุ การปรับ
สมดุลพลังธาตุในร่ างกายของเรา การสลายพลังธาตุถา้ มีอยูม่ ากเกินไป จนร่ างกายรับไม่ได้ การ
เคลื่อนย้ายถ่ายเทพลังงานต่างๆ การพัฒนานิ มิตของตนให้ดียิ่งขึ้นด้วยพลังสกัดธาตุ และการนา
พลังธาตุมารักษาโรคให้กบั ตนเองและผูอ้ ื่น เป็ นต้น
เล่ ม แรกวิช าสมาธิ ภาคพิ ส ดาร จึ งไม่ ไ ด้เขี ยนพลังธาตุ ไว้ม ากเกิ นไป แต่ เขี ยนไว้พ อดี
เพราะผูป้ ฏิ บตั ิตอ้ งผ่านจุดนี้ มาทั้งนั้น จากประสบการณ์ ปฏิบตั ิธรรมของผูเ้ ขียน รวมทั้งถ่ายทอด
วิชาความรู ้ให้ผอู ้ ื่น เพราะวิชาพวกนี้หาครู บาอาจารย์ที่ถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นยากมาก
ผูเ้ ขียนจึงเขียนไว้เพื่อเป็ นประโยชน์สาหรั บผูอ้ ่าน วันไหนไม่ค่อยมีพลังจะเรี ยกพลังธาตุ
อย่างไร วันไหนพลังมากเกินไป จะสลายธาตุอย่างไร พลังน้ าและไฟตีกนั จะปรับสมดุลธาตุ
อย่างไร และจะพัฒนานิ มิตของตนเองให้ดียิ่งขึ้นและบริ สุทธิ์ ได้อย่างไร ผูป้ ฏิบตั ิตอ้ งผ่านจุดนี้ มา
9
ทั้งนั้น ไม่วา่ ปฏิบตั ิวชิ าอะไร ก็จาเป็ นต้องรู ้วธิ ี ควบคุมพลังของตนเอง และการพัฒนานิมิต การ
ปรับสมดุ ลพลังต่างๆ ของตนเองได้ เป็ นต้น จึงเป็ นสิ่ งที่ผปู ้ ฏิ บตั ิธรรมทั้งหลายควรจะรู ้ ในการ
ปฏิบตั ิสมาธิ เจริ ญภาวนา อันข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้วในหนังสื อเล่มแรกวิชาสมาธิ ภาคพิสดาร ดังนี้
เรี ยนวิชาเพื่อรู ้หาใช่ยดึ ติดในวิชานั้นไม่
วิชาต่างๆ ในพระพุทธศาสนา ไม่วา่ จะเป็ นวิชชา 3 อภิญญา 6 ปฏิสัมภิทา 4 เรียน
เพื่อรู้ หาใช่ ยึดติดในวิชานั้นไม่ ถ้ายึดติดแล้วก็จะติดในอภิญญาสมาธิ ไม่สามารถเจริ ญวิปัสสนา
ต่อได้ ผูเ้ ขียนเขียนให้รู้เท่านั้น ไม่ได้ให้ยึดติด เพราะว่าถ้าไม่เขียนก็จะไม่มีคนสื บทอดวิชาทาง
พระพุ ท ธศาสนา และวิ ช าพวกนี้ นานไป ถ้ า ไม่ มี ค นสื บทอดก็ จ ะหายสาบสู ญไปจาก
พระพุทธศาสนา คงเหลือแต่วปิ ั สสนาล้วน
เพื่อป้ องกันไม่ให้วิชาทางพระพุทธศาสนาหายสาบสู ญไป ผูเ้ ขียนจึงได้เขียนให้ครบหมด
ทุ ก อย่า ง ไม่ ว่า จะเป็ นวิ ช ชา 3 อภิ ญ ญา 6 ปฏิ สั ม ภิ ท า 4 เพื่ อ ให้ มี ค นสื บ ทอดวิช าทาง
พระพุทธศาสนา และพระพุทธศาสนาจะได้มี คนมีความรู้ความสามารถวิชาที่หลากหลายแบบ
แม้แ ต่ วิปั ส สนาล้วน ที่ เป็ นธรรมะปฏิ บ ัติ ก็ ไ ม่ ค วรยึ ด ติ ด ในวิ ช าของตน เพราะว่า
ธรรมะทั้งหลายของพระพุทธเจ้า ถ้ายึดติดในความรู ้ของตนแล้ว ก็เกิดเป็ นอัตตายึดมัน่ ถือมัน่ ขึ้น
ในความรู ้ของตนเป็ นทิฏฐิไม่สามารถล่วงพ้นจากกองทุกข์ได้
การที่ ค นเราไม่ มี ทิ ฏ ฐิ ในความรู ้ ก็จะสามารถยอมรั บ วิช าต่างๆได้ และพัฒ นาความรู ้
ของตนให้ม ากขึ้ นกว่าเก่ า ถ้าบุ คคลใดมี ทิ ฏ ฐิ ในความรู้ ของตน เขาก็ จะมี วิช าความรู ้ อยู่แค่ น้ ัน
ไม่สามารถพัฒนาวิชาความรู ้ของตนขึ้นมาได้
ด้วยเหตุน้ ี ไม่วา่ จะเป็ นวิปัสสนาล้วน วิชชา 3 อภิญญา 6 ปฏิสัมภิทา 4 คุณธรรม
ต่างๆ ในพระพุทธศาสนา จึงเรี ยนเพื่อรู ้ในวิชาต่างๆ ไม่ใช่เพื่อยึดติดในวิชานั้นไม่
แม้คนเราจะก้าวไปเพื่อนิ พพาน วิชาความรู ้ สู่ ทางแห่ งมรรค ผล นิ พพาน คื อเรี ยน
เพื่ อ รู ้ แ ละน ามาปฏิ บ ัติ เท่ า นั้น จะพ้น ไปจากทุ ก ข์จ ริ ง ๆ วิ ช าต่ า งๆ ก็ ไ ม่ เอาอะไรเลยทั้ง สิ้ น
หมายถึง สามารถปล่อยวางได้หมด ไม่ยดึ ติดทุกอย่าง อันเป็ นเหตุแห่งการยึดมัน่ ถือมัน่ ทั้งปวง
ด้ ว ยเหตุ น้ ี วิ ช าจึ ง เปรี ยบเสมื อ นเข็ ม ทิ ศ น าทางเท่ า นั้ น พอไปถึ ง ฝั่ ง แล้ ว เข็ ม ทิ ศ
ก็ไม่จาเป็ นต้องใช้ เรื อแพใดๆ ก็ไม่จาเป็ นต้องใช้ อีกต่อไป
วิชาจึงเปรี ยบเสมือนเข็มทิศนาทางให้พน้ จากกองทุกข์
เรื อแพจึงเปรี ยบเสมือนอริ ยมรรคมีองค์ 8 ประการ ปฏิบตั ินาไปสู่ มรรค ผล นิพพาน
พายจึงเปรี ยบเสมือนความเพียรพยายามนาบุคคลให้ถึงฝั่ง
แม้บุคคลถึงฝั่งแล้ว วิชาก็ไม่จาเป็ นต้องใช้ เรื อแพและพาย ก็ไม่มีความหมายอีกต่อไป
แต่ เมื่ อ ใดที่ บุ ค คลยัง ไม่ ถึ ง ฝั่ ง ทั้ง วิ ช า ทั้ง เรื อ แพและพาย ยัง คงมี ค วามหมายและ
ความสาคัญอยู่ จนกว่าจะทาความเพียรออกจากทุกข์ท้ งั ปวง
เพราะฉะนั้ น วิชาต่ างๆ ซึ่ งเปรี ยบเสมือนเข็มทิศนาทาง จึงเรี ยนเพื่อรู้ หาใช่ เพื่อยึดติด
ดังนี้
10
ปัญญาว่าด้ วยความเชื่อ
กาลามสู ตร คือ พระสู ตรที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ชาวกาลามะ หมูบ่ า้ นเกสปุตติยนิคม
แคว้นโกศล (เรี ยกอีกอย่างว่า เกสปุตติยสู ตร หรือเกสปุตตสู ตร ก็มี)
กาลามสู ต รเป็ นหลัก แห่ ง ความเชื่ อ ที่ พระพุ ท ธองค์ท รงวางไว้ใ ห้ แ ก่ พุ ท ธศาสนิ ก ชน
ไม่ให้เชื่อสิ่ งใดๆ อย่างงมงายโดยไม่ใช้ปัญญา
พิจารณาให้เห็นจริ งถึงคุณโทษหรื อดี ไม่ดี ก่อนเชื่อ มีอยู่ 10 ประการ ได้แก่
1. อย่าเพิ่งเชื่อตามที่ฟังๆ กันมา
2. อย่าเพิง่ เชื่อตามที่ทาต่อๆ กันมา
3. อย่าเพิ่งเชื่อตามคาเล่าลือ
4. อย่าเพิ่งเชื่อโดยอ้างตารา
5. อย่าเพิ่งเชื่อโดยนึกเดา
6. อย่าเพิ่งเชื่อโดยคาดคะเนเอา
7. อย่าเพิง่ เชื่อโดยนึกคิดตามแนวเหตุผล
8. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะถูกกับทฤษฎีของตน
9. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะมีรูปลักษณ์ที่ควรเชื่อได้
10. อย่าเพิ่งเชื่อเพราะผูพ้ ดู เป็ นครู บาอาจารย์ของตน
เมื่อใด พึงรู ้ดว้ ยตนเองว่าธรรมเหล่านั้นเป็ นอกุศล มีโทษ เป็ นต้นแล้ว จึงควรละธรรม
นั้นเสี ย
เมื่ อใด พึงรู ้ ดว้ ยตนเองว่าธรรมเหล่านั้นเป็ นกุศล ไม่มีโทษ เป็ นต้นแล้ว จึงควรเจริ ญ
เข้าถึงธรรมตามนั้น
กาลามสู ตรนี้ เป็ นสู ตรที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงไว้ อยู่ในเกสปุตติยสู ตร (พระไตรปิ ฎก
เล่ม 20 ข้ อ 505)
การเจริ ญสมถะและวิปัสสนาก็ยงั มีการยึดติด (ถ้าปฏิบตั ิผิดทาง)
การปฏิบตั ิสมาธิ ท้ งั 2 อย่าง สมถะและวิปัสสนา ถ้าปฏิ บตั ิไม่ถูกทาง ก็เป็ นเหตุแห่ ง
การยึดมัน่ ถือมัน่ ได้
สมถะปฏิ บตั ิผิดทาง ก็เป็ นเหตุแห่ งการยึดมัน่ ถื อมัน่ ในอานาจอภิญญาสมาธิ ของตนได้
ไม่ได้เจริ ญวิปัสสนาต่อ อันเป็ นเหตุแห่งความพ้นทุกข์
วิปัสสนาถ้าปฏิบตั ิผิดทาง ก็เป็ นเหตุแห่ งการมีทิฏฐิ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในอัตตาความรู ้ของตน
ไม่ยอมปล่ อยวาง และยึดมัน่ ในญาณต่างๆของวิปั ส สนาขึ้ น เรี ยกว่า วิปั ส สนาเพื่ อเพิ่ ม กิ เลส
ไม่ใช่วปิ ั สสนาเพื่อละกิเลส เป็ นวิปัสสนูปกิเลสนั้นเอง
การเจริ ญสมถะก็ดี และวิปัสสนาก็ดี ไม่ควรยึดติด และยึดมัน่ ถือมัน่ ทั้งหลายทั้งปวง
11
การปฏิบตั ิอย่างไรไม่ให้ยดึ ติด
การปฏิบตั ิกรรมฐานสมาธิ ท้ งั 2 อย่าง คือ สมถะและวิปัสสนาเป็ นเหตุไม่ให้ยึดติดนั้น
พึงเจริ ญกรรมฐานสมาธิ ดังนี้
การเจริ ญสมถะ เพื่อให้จิตของตนเองสงบ และเป็ นพื้นฐานเพื่อเจริ ญวิปัสสนา ไม่ให้
ฟุ้ งซ่ าน ใช้สติกาหนดสมาธิ อภิญญา แล้วก็ปล่อยวาง อภิญญาก็สักว่าอภิญญา รู ้แล้วปล่อยวาง
ได้ดว้ ยสติ ไม่ยดึ ติด ดังนี้
การเจริ ญวิ ปั สสนา เพื่ อ พิ จ ารณากิ เลส ไม่ ค วรยึ ด มั่ น ในญาณหยั่ง รู ้ ต่ า งๆ และ
ไม่ ฟุ้ งซ่ า นไปยึ ด มั่ น ในธรรมะและสิ่ งต่ า งๆ ที่ ไ ด้ เจริ ญวิ ปั สสนาจนเป็ นทิ ฏ ฐิ แ ละอัต ตา
เมื่อพิจารณาด้วยสติแล้วปล่อยวาง จึงเป็ นวิปัสสนากรรมฐาน เพื่อขจัดกิเลส ดังนี้

เพียงใจบริสุทธิ์ จิตก็จะเป็ นหนึ่ง


เมื่อปล่อยวาง อานาจญาณจะบังเกิด

อธิบายขยายความ
คาว่าใจบริ สุ ท ธิ์ นั้น หมายความว่า ท าใจให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ในขณะท าสมาธิ ไม่ คิ ดฟุ้ งซ่ าน
แล้วจิตก็จะเป็ นหนึ่งเดียว
บริ สุทธิ์ ใจนี้ ไม่ได้บริ สุทธิ์ ทางร่ างกาย อันเนื่องไปด้วยการครองคู่อย่างฆราวาส บางคน
คิดมากและฟุ้ งซ่านมากเกินไป ในขณะทาสมาธิ คิดมากและฟุ้ งซ่านว่า การที่ตนเป็ นฆราวาสนั้น
มีคู่ครองแล้ว กายไม่บริ สุทธิ์ ไม่สามารถทาสมาธิ ได้อย่างเพศนักบวช และยังฟุ้ งซ่ านไปอีกว่า
ตัวเองมี คู่แล้ว ทาสมาธิ ได้ฌานก็กลัวจะเสื่ อม ในความเป็ นจริ งแล้ว การมี คู่อย่างฆราวาสนั้น
ไม่ได้ทาให้ฌานเสื่ อม อย่างหลายคนเข้าใจ บางครั้งครู อาจารย์หรื อคนพูดถ่ายทอดกันมาแบบผิดๆ
เราไม่ เอาแบบอย่ างที่ผิด แต่ เราเอาแบบอย่ างที่ถูกต้ อง พระโสดาบันยังมีความรักและยัง มีครองคู่
เป็ นฆราวาสได้ ฌานไม่ เสื่ อ ม พระอนุ รุ ท ธ ท่ า นสร้ า งบารมี ม ามากมาย ก่ อ นจะมาเป็ น
พระอรหันต์น้ นั ก็ยงั มีคู่ครอง และมีตาทิพย์ทุกภพทุกชาติ ฌานก็ไม่เสื่ อม
เพราะฉะนั้น การทาสมาธิ คือ การทาใจให้บริ สุทธิ์ ไม่คิดฟุ้ งซ่ านไปที่อื่นในขณะทา
สมาธิ (ไม่ได้หมายถึ ง ความบริ สุทธิ์ ทางกาย การครองเพศพรหมจรรย์ อย่างหลายคนเข้าใจ)
การเป็ นฆราวาสก็สามารถทาสมาธิ ได้ เพียงพยายามทาใจให้บริ สุทธิ์ ในขณะทาสมาธิ และเมื่อใจ
บริ สุทธิ์ ไม่คิดฟุ้ งซ่านไปที่อื่นในขณะทาสมาธิ จิตก็จะเป็ นหนึ่งเดียว
เมื่ อปล่อยวางจนจิตเป็ นหนึ่ งเดี ยวกันได้แล้วนั้น อานาจทั้งฌานและญาณก็จะเกิ ดขึ้นเอง
โดยเฉพาะอานาจของญาณที่จะบังเกิ ดขึ้น เตรี ยมพร้ อมยกระดับของสมาธิ จิต จากอานาจฌานที่
เป็ นสมถะภาวนา ขึ้นสู่ อานาจของญาณที่เป็ นวิปัสสนา ด้วยประการฉะนี้
ควรสั ท ธาในพระพุ ท ธเจ้ า พระธรรม พระสงฆ์ และธรรมะข้ อ ปฏิ บั ติ ท้ ั งหลาย ที่
พระพุทธองค์ ทรงกล่าวไว้ดีแล้ว
แม้ตวั ข้าพเจ้ายัง ไม่ ต้องการให้ ใครมาสั ท ธา ค าสรรเสริ ญ เป็ นโลกธรรม หาเที่ ย งไม่
เหตุใด จึงยึดติดในโลกธรรมนั้น
12
การปล่อยวาง
การปล่อยวางใจให้สงบไม่คิดฟุ้ งซ่ าน ต้องรู ้ จกั ปล่อยวางจิตไม่ให้ไปยึดติดในโลกธรรม
ในขณะที่จิตได้ทาสมาธิ เพราะจะฟุ้ งซ่ านและจิตหวัน่ ไหวไปตามโลกธรรม จิตไม่สามารถสงบ
เป็ นสมาธิ ได้ มนุ ษย์น้ นั มีงานที่จะต้องทา เป็ นต้น จิตจึงต้องไปเกี่ยวข้องในโลกธรรม เป็ นการ
ยากที่ จะปล่อยวางให้สงบเป็ นสมาธิ ได้ แต่ถา้ ปล่ อยวางใจให้สงบ หยุดคิ ดและฟุ้ งซ่ าน สักพัก
ในขณะทาสมาธิ จิตจะนิ่งและสงบได้ ดังนี้
ในโลกธรรมนั้นมี 8 ประการ คือ
1. มีลาภ เพราะขยันหมัน่ เพียรประกอบการงานและรักษาทรัพย์ เป็ นต้น
2. ไม่มีลาภ เพราะไม่รู้จกั สันโดษ ใช้จ่ายฟุ่ มเฟื อย เป็ นต้น
3. มียศ เพราะมีการงานหน้าที่อนั ดี เป็ นต้น
4. ไม่มียศ เพราะปลดเกษียณหรื อลาออกจากงาน เป็ นต้น
5. สุ ข เพราะสบายกายสบายใจ
6. ทุกข์ เพราะไม่สบายกายไม่สบายใจ
7. สรรเสริ ญ เพราะคนชอบเราจึงกล่าวสรรเสริ ญชม เป็ นต้น
8. นินทา เพราะคนไม่ชอบเราจึงนินทาด่าและกล่าวร้าย เป็ นต้น
ในโลกธรรมนั้น ไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตน เหตุใดจึงต้องยึดติด
ในโลกธรรมนั้น ถ้ ายินดีกฟ็ ุ้ งซ่ านไม่ สงบเป็ นสมาธิ
ถ้ ายินร้ ายก็เกิดความท้อแท้ไม่ เป็ นสมาธิ
การหยุดใจที่ฟุ้งซ่านและท้อแท้ ต้องรู ้จกั ปล่อยวางใจในโลกธรรมทั้งปวง ให้เป็ นอุเบกขา
ไม่ให้เกิดความยินดีและความยินร้าย จิตจึงสงบเป็ นสมาธิ ดังนี้
จะทุกข์ หรือสุ ข อยู่ทใี่ จยึดมั่นในทุกข์ และสุ ขเอาไว้
เหตุ ผลที่ คนเราใจฟุ้ งซ่ านไม่เป็ นสมาธิ เพราะจิ ตไปยึดติ ดกับอารมณ์ ที่ มากระทบต่างๆ
อารมณ์ที่มากระทบจิตแล้วทาให้จิตฟุ้ งซ่านไม่เป็ นสมาธิ คือ อารมณ์ 6 อย่าง ได้แก่ ตาเห็นรู ป
หูได้ยนิ เสี ยง จมูกดมกลิ่น ลิ้นได้รู้รสต่างๆ กายนั้นสัมผัสกับสิ่ งต่างๆ ความรู ้สึกต่างๆเกิดขึ้นที่
ใจ ความยินดีและความยินร้าย ทาให้จิตฟุ้ งซ่านไปตามอารมณ์ต่างๆ จึงไม่เป็ นสมาธิ
หยุดใจทีฟ่ ุ้ งซ่ าน ด้ วยจิตทีป่ ล่ อยวาง
เมื่อทุกสิ่ งทุกอย่ างเกิดทีเ่ หตุ ก็ต้องแก้ ทเี่ หตุ
ใจสงบ จิตก็นิ่งเป็ นสมาธิ
เหตุที่จิตใจโดยกระทบอารมณ์ แล้วใจไปยึดติดฟุ้ งซ่ านไปตามอารมณ์ น้ นั ก็ตอ้ งแก้ดว้ ย
การพิ จ ารณาว่ า ทุ ก อย่ า งเมื่ อ มากระทบจิ ต แล้ ว ความยิน ดี เป็ นสุ ข ความยิ น ร้ า ยเป็ นทุ ก ข์
ในอารมณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อมากระทบจิต ก็แต่วา่ มันไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตวั ตน รู ้แล้วปล่อยวาง
ถ้าไม่ปล่อยวางปล่อยให้มนั ครอบงาจิต คือ ใจได้หวัน่ ไหวไปตามอารมณ์ น้ นั มีความยินดีและ
ความยินร้าย เป็ นต้น จิตจะไม่เป็ นสมาธิ และฟุ้ งซ่านได้
13
การปล่ อยวางนั้นไม่ ยาก สาคัญอยู่ทใี่ จอยากปล่ อยวางหรื อเปล่า
การทาให้จิตนิ่ งเป็ นสมาธิ น้ นั นอกจากมีสติแล้ว ใจต้องไม่ไปยึดมัน่ ถื อมัน่ ในอารมณ์
แห่ งฌานทั้งปวง ว่าอยากจะได้ เมื่ออยากได้ จิตก็เกิ ดกิ เลส แล้วไม่สามารถปล่อยวางใจให้นิ่ง
เป็ นสมาธิได้
การฟุ้ งซ่ าน เพราะจิ ตไปยึดติ ดกับผลของสมาธิ ที่จะเกิ ดขึ้ นในอนาคต ในอารมณ์ ของ
ฌานต่างๆ เป็ นต้น จนจิตไม่สามารถสงบและเป็ นสมาธิ ได้
การท้อแท้ เพราะจิตไปติดยึดกับเหตุ ที่ใจฟุ้ งซ่ านไม่ได้สมาธิ ในอดี ต เมื่ ออดี ตยังไม่ได้
ปั จจุบนั ก็จึงเกิดความท้อแท้วา่ ไม่ได้ เพราะจิตไปยึดติดกับผลของความล้มเหลวในอดีต
การหยุดฟุ้ งซ่ าน ต้ องไม่ คิดเรื่องอดีตและอนาคต
(ดารงสติอยู่กบั ปัจจุบันด้ วยการปล่ อยวาง)
การทาใจให้ปล่อยวางได้น้ นั คือ ทาให้จิตนิ่ งอยูก่ บั ปั จจุบนั ไม่คิดเรื่ องอดีตและอนาคต
คือ หยุดฟุ้ งซ่านและไม่คิดที่จะท้อแท้
เพียงท่านปล่อยวาง จิตก็จะสงบนิ่งเป็ นสมาธิ
การปล่อยวางใจในอารมณ์ แห่ งฌาน ในการปล่อยวางใจให้เข้าถึ งอารมณ์ ของสมาธิ ฌาน
นั้น อันดับแรก คือ การทาใจให้สงบเพื่อละนิวรณ์ธรรมทั้งหมด การละนิวรณ์ธรรมเพื่อเข้าสมาธิ
นั้น คือ การปล่อยวางใจจากโลกธรรมทั้งหมด เป็ นการหยุดคิดฟุ้ งซ่านและไม่คิดที่จะท้อแท้
การไม่คิดถึงเรื่ องอดีตและอนาคต ดารงสติเพ่งดูจิตเฉพาะปั จจุบนั เป็ นการละความลังเล
สงสัยทั้งหมด
การเจริ ญเมตตา หรื ออุเบกขาคือการปล่อยวางใจจากพยาบาท
การปล่อยวางใจจากความตึงเครี ยด เป็ นการละความซึ มเศร้าและง่วงนอน เพื่อเข้าสมาธิ
การปล่อยวางใจจากอารมณ์ที่ชอบใจ ในรู ปสมบัติของเพศตรงข้าม เป็ นต้น เป็ นการละ
นิวรณ์กามฉันท์ ในการเข้าฌานสมาธิ
ฤทธิ์ไม่ ได้ อยู่ทคี่ วามรักความต้ องการทีจ่ ะมีฌาน
(เพราะจะเกิดกิเลสเป็ นเหตุ อยากได้ อยากสาเร็จ แต่ เป็ นกิเลสฝ่ ายดี)
ฤทธิ์เกิดจากอุเบกขาฌานสมาธิ
การปล่ อยวางในสมาธิ จนเป็ นอุเบกขาฌานหรือเอกัคคตา จิตอารมณ์เป็ นหนึ่งเดียว
การท าสมาธิ น้ ัน คื อ การท าใจให้ ส งบ (ส่ วนฤทธิ์ นั้น เป็ นของแถมจากฌานสมถะ)
การท าสมาธิ ต้อ งเน้ น ท าใจให้ ส งบ ถ้ า เน้ น ว่ า ต้อ งการฤทธิ์ ใจก็ จ ะเกิ ด กิ เลส ความพอใจ
ที่ตอ้ งการฤทธิ์ นั้น คือ กิเลสเป็ นเหตุอยากได้ อยากมี อยากเป็ น ก็ความอยากนั้น คือ กิ เลส
อกุศลมูลหรื ออกุศลเจตสิ ก
พื้นฐานการเข้าฌานที่ถูกต้องนั้น คือ การละวางใจจากอกุศลมูล มีรัก โลภ โกรธ หลง
เป็ นต้น มนุษย์น้ นั มีกิเลสรัก โลภ โกรธ หลง เป็ นธรรมดา การออกจากฌานจะมีกิเลสอย่างไร
ก็ได้ แต่การเข้าฌานสมาธิ น้ นั คือ การปล่อยวางใจจากกิ เลสชัว่ คราว หรื อหยุดคิดสักพักหนึ่ ง
นี้คือ การเข้าฌานที่หนึ่ง
14
ส่ ว นการประพฤติ ป ฏิ บ ัติ ศี ล ธรรม และกุ ศ ลทั้ง มวล เป็ นการละจิ ต ใจจากความชั่ว
ประพฤติ ดี (เป็ นการหยุ ด ใจจากอกุ ศ ลธรรม มี พ ยาบาท เป็ นต้ น ) เพื่ อ เข้ า ฌานสมาธิ
การประพฤติกุศลธรรมนั้น จะเข้าฌานได้ต้ งั แต่ฌานที่หนึ่งถึงฌานที่สามเท่านั้น
ส่ วนฌานที่ สี่ น้ ัน เป็ นฌานชั้น สู ง จิ ตต้องปล่ อยวางใจจากอกุ ศลธรรมและกุ ศ ลธรรม
ทั้งหมด เพราะว่าจิ ตติ ดสุ ขนั้น ใจจะติดอยู่ในอารมณ์ ของฌานที่ สามเท่านั้น เรี ยกว่า จิตติ ดดี
แต่ก ารเข้าฌานที่ สี่น้ ัน คื อ การปล่ อยวางทั้งหมด ละทั้งบุ ญและบาปในอารมณ์ แห่ งฌานที่ สี่
เพื่อพัฒนาจิตขึ้นสู่ ฌานที่สี่ ไม่ให้จิตติดสุ ขนั้นเอง การปล่อยวางแล้ว เป็ นอุเบกขาสมาธิ
ฤทธิ์เกิดจากอุเบกขาฌานมิใช่ หรือ (เหตุใดท่ านจึงไม่ ปล่ อยวาง)
คนเราถ้ าไม่ ร้ ู จักปล่ อยวางในสมาธิ ก็ไม่ สามารถเข้ าถึงอุเบกขาฌานและญาณได้
ปล่ อยวางได้ เมื่อไร เข้ าถึงอุเบกขาฌานและญาณได้ เมื่อนั้น
การปล่อยวางใจในอารมณ์แห่ งญาณ ก็ทุกสิ่ งทุกอย่างในโลกนั้น เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับ
ไปเป็ นธรรมดา ทุกสิ่ งทุกอย่างหาเที่ยงแท้ไม่ เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตน ไม่มีสิ่งใดน่ายึดติด
การปล่ อยวางในอารมณ์ แห่ งญาณ ก็ญ าณนั้น คื อ วิปั สสนาเป็ นการพิจารณาธรรมะ
ทั้งหมด ซึ่ งต่างจากสมถะ คือปล่อยวางใจให้สงบเท่านั้น
การพิจารณาธรรมะในอารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐาน คือ สติทาใจให้สงบนิ่ งไม่ฟุ้งซ่ าน
ไปตามธรรมะ หรื อพิจารณาธรรมะจิตไม่ฟุ้งซ่านไปเรื่ องอื่น
เมื่อพิจารณาธรรมะ รู้ธรรมะเข้าใจธรรมะแล้ว ในวิปัสสนากรรมฐาน ก็ปล่อยวางสิ่ งที่รู้
นั้น คือ เมื่อพิจารณาธรรมะให้เข้าใจและถ่องแท้ หรื อลึ กซึ้ งในสัจธรรมแล้ว ก็ปล่อยวางเป็ น
อุเบกขาญาณ
ถ้ารู ้แล้วยังยึดมัน่ ในหัวข้อธรรมะนั้นๆ ที่ตนรู ้ เรี ยกว่า พิจารณาธรรมะแล้วเกิ ดความรู ้
ขึ้น แต่ยงั ยึดมัน่ ในความรู ้ของตนอยู่ เป็ นอัตตาและทิฏฐิ ไม่สามารถเข้าถึงญาณของวิปัสสนาได้
แค่รู้ธรรมะเท่านั้น
การเข้าถึงแก่นแท้ในสัจธรรม คือ การพิจารณาธรรมะบทไหนก็ได้ให้ตรงกับจริ ตของตน
เมื่อรู ้แล้วเกิดความรู ้ข้ ึน คลายความยึดมัน่ ถือมัน่ ในตัวตนเราเขา มีความเห็นว่าทุกสิ่ งนั้นไม่เที่ยง
เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ ตวั ตน แล้วทาใจปล่อยวาง ด้วยสติปัญญาที่พิจารณาธรรมะนั้น เกิ ดความรู ้แจ้ง
ในสัจธรรม เป็ นอุเบกขาญาณแห่งวิปัสสนา
วิปัสสนาญาณ คื อ สติ กาหนดพิจารณาธรรมะ ด้วยจิตที่ ไม่ฟุ้งซ่ านไปตามธรรมะนั้น
เมื่อเข้าใจในสัจธรรม รู ้แล้วปล่อยวาง เรี ยกว่า ญาณ
เพียงท่านปล่อยวาง ญาณก็จะบังเกิด
การปล่อยวางใจในธรรมะ คือ การเข้าถึงสัจธรรมทั้งหลาย สามารถปฏิบตั ิสิ่งไหนก็ได้
ไม่ใช่สิ่งที่สาคัญ วิชาไหนก็ได้ สามารถปฏิบตั ิถูกต้องและปฏิบตั ิถูกทางได้ท้ งั หมด
ผูม้ ี ใจแคบ คิดว่าวิชาของตนต้องดี และถู กต้องทั้งหมด เขาก็จะมี ความรู ้ อยู่เพียงแค่น้ ัน
และไม่สามารถพัฒนาตนเองไปได้ เพราะความคิดที่มีทิฏฐิ
15
ผูเ้ ปิ ดใจกว้างยอมรับ ฟั งความรู้ และความคิ ดเห็ นวิชาของผูอ้ ื่ น เขาจะสามารถพัฒนา
ความรู ้และวิชาของตนขึ้นไปได้
คอมพิ ว เตอร์ ย ัง มี ห ลายโปรแกรมให้ เลื อ ก ในการใช้ ง านให้ เหมาะสมกั บ งาน
จะใช้โปรแกรมไหนไม่สาคัญ สาคัญอยูท่ ี่วา่ โปรแกรมไหนใช้ให้ตรงจุดประสงค์ของงานต่างหาก
การปฏิ บ ัติ ธ รรมก็ เช่ น กัน ปฏิ บ ัติ อ ย่ า งไหนก่ อ นก็ ไ ด้ และสามารถปฏิ บ ัติ ถู ก ทาง
เหมือนกันหมด ปฏิบตั ิแบบไหนก่อนไม่สาคัญ สาคัญอยูท่ ี่วา่ ปฏิบตั ิให้ตรงกับจริ ตของตัวเอง
อุปมา ธรรมะทุกอย่างเหมือนการเดิ นทาง จะเดินทางแบบไหนไม่สาคัญ สาคัญอยูท่ ี่วา่
ออกเดินทางเพื่อไปถึ งจุดหมายแล้วหรื อยัง ถ้าเดิ นทางโดยใช้เท้าก้าวเดิ น ย่อมต้องถึงที่หมายช้า
ถ้าใช้รถยนต์หรื อรถไฟหรื อเครื่ องบินเป็ นยานพาหนะ ย่อมต้องถึงจุดหมายเร็ ว
ในพระพุทธประวัติน้ นั สมัยพระพุทธกาล พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ท้ งั หลาย เวลา
ท่านจะแสดงธรรม จึงต้องเลื อกให้ตรงจริ ตของผูฟ้ ั ง ธรรมะที่ แสดงออกไป ต่างคนฟั ง ย่อม
แสดงธรรมไม่เหมือนกันอยูท่ ี่จริ ตของผูฟ้ ังเป็ นหลัก
พระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ท้ งั หลาย จึงไม่บงั คับใครให้ฝึกวิชาของท่านเพียงอย่างเดี ยว
แต่จะเลือกธรรมะไหนมาแสดง และวิชาไหนมาสอนให้ผฟู ้ ังได้เข้าถึงสัจธรรมต่างหาก
ด้วยเหตุน้ ี ปฏิบตั ิอย่างไรและเริ่ มต้นอย่างไรไม่สาคัญ สาคัญว่าปฏิบตั ิอย่างไรให้ตรงกับ
จริ ตของตัวเองต่างหาก จึงสามารถเข้าถึงสัจธรรมได้
ก็วชิ าทั้งหมดเป็ นของพระพุทธเจ้ า ไม่ มีสานักใดยิง่ หรือหย่ อนไปกว่ ากัน
วิชาทั้งหมดสามารถบรรลุธรรมได้ หมด เหตุใดจึงยึดติดแต่ ในวิชาของตน
ธรรมะนั้นดุจดัง่ สายธารที่กว้างไกล ธรรมะของพระพุทธเจ้าจึงเสมอเหมือนกันหมด ไม่มี
วิชาใดสานักใดยิง่ หรื อหย่อนไปกว่ากัน เพราะวิชาทั้งหมดเป็ นของพระพุทธเจ้า คนเรานั้นจึงมัก
ยึดติดกับวิชาของตนและสานักตนว่าดีกว่าของผูอ้ ื่น (ความคิดเช่นนั้น คือ ทิฏฐิ)
ธรรมะทั้งหลายของพระพุทธองค์ เปรี ยบได้กบั น้ าในแม่น้ า คนเรานั้นกินดื่ มหรื อใช้น้ า
ในแม่ น้ า แม่ น้ าก็ เสมอเหมื อ นกัน หมด โดยไม่ เลื อกใคร คื อ ยุติธ รรมให้ ค นได้เหมื อนกัน
ได้กินดื่มใช้น้ า ดังนี้
ธรรมะของพระพุ ท ธองค์ก็ เช่ น กัน จะฝึ กวิช าไหนก็ ส ามารถเข้าถึ งสั จธรรมได้เสมื อน
กันหมด เพราะวิชาทั้งหมดเป็ นของพระพุทธเจ้า การปฏิบตั ิธรรมให้ถูกต้องตรงกับจริ ตของตัวเอง
ฝึ กวิชาไหนไม่สาคัญ สาคัญอยูท่ ี่วา่ ฝึ กอย่างไรให้ตรงกับจริ ตและบารมีธรรมของตัวเอง
การพิจารณาธรรมะมาก ยังไม่ เท่ ากับปล่อยวางใจให้ เข้ าถึงสั จธรรม

ดูก่อนท่ านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้สาเร็จแล้ วไม่ พูดมาก (เขาย่ อมมีปกติถ่อมตัว)


ผู้พดู มากมักจะไม่ สาเร็จ ท่ านจะสาเร็จหรือไม่ สาเร็จ อยู่ที่คาพูดของท่ านเอง
16
พระอรหันต์ ผู้ถงึ พร้ อมด้ วยอภิญญา 6
พระอรหันต์ผสู้ ร้างบารมีมาเพื่อบรรลุธรรมด้วยอภิญญา 6 มีดงั นี้ คือ
1. อิทธิวธิ ิ แสดงฤทธิ์ ได้
2. ทิพพโสต มีหูทิพย์ (สามารถฟังเสี ยงในที่ไกลหรื อเสี ยงคนละมิติฟัง
เสี ยงเทวดาและสัมภเวสี ได้ยนิ )
3. เจโตปริ ยญาณ รู ้จกั กาหนดใจผูอ้ ื่น (อ่านใจของคน เทวดา และสัตว์ได้)
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
5. ทิพพจักขุ มีตาทิพย์
6. อาสวักขยญาณ ทาอาสวะกิเลสให้สิ้นไป (ญาณหยัง่ รู ้ในธรรมเป็ นที่สิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย)
1. อิทธิวธิ ิ แสดงฤทธิ์ได้
อิทธิ ฤทธิ์ ในพระพุทธศาสนามีอยูม่ ากมาย ทั้งมีมาในพระไตรปิ ฎกและนอกพระไตรปิ ฎก
นักปฏิบตั ิตอ้ งเข้าถึงเอง การจะใช้อภิญญาข้อนี้ได้ตอ้ งสาเร็ จฌาน 4
2. ทิพพโสต หูทพิ ย์
วิธีการใช้หูทิพย์ กาหนดสติ ออกจากหู ตวั เอง กาหนดเสี ยงไกลใกล้โดยไม่มี ประมาณ
กาหนดได้แม้กระทัง่ เสี ยงทิพย์คนละมิติ เสี ยงจากสิ่ งลี้ลบั ที่คนธรรมดาฟังไม่ได้ยนิ
แต่เรากาหนดฟังด้วยหูทิพย์ ฟังได้แม้กระทัง่ เสี ยงเทวดาคนละมิติ
แม้กระทัง่ (อ่านจิตคนทะลุ) ก็กาหนดฟังได้จากหู ทิพย์ ฟังเสี ยงจากจิตใจผูอ้ ื่น ว่าคนอื่น
เขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ สติกาหนดสมาธิ ใช้หูทิพย์ไปกาหนดฟังจิตผูอ้ ื่น เขาคนนั้นคิดอะไรอยูใ่ นใจ
ได้ดว้ ยหูทิพย์ ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่นว่าเขากาลังคิดอะไรอยูใ่ นใจ รู ้ได้ดว้ ยหูทิพย์
3. เจโตปริยญาณ อ่ านใจผู้อื่น
การอ่านใจผูอ้ ื่น แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
1. รู้ได้ดว้ ยอานาจของเจโต
2. รู้ได้ดว้ ยอานาจของหูทิพย์ (ฟังเสี ยงจิตใจผูอ้ ื่นด้วยหูทิพย์)
3. รู้ได้ดว้ ยอานาจของตาทิพย์ (เห็นภาพของจิตใจผูอ้ ื่นด้วยตาทิพย์)
วิธีอ่านใจผู้อนื่
1. ใช้อานาจแห่งเจโต
พึงกาหนดสมาธิ เพ่งดูวาระจิตผูอ้ ื่น เข้าสมาธิ ระดับอุปจารสมาธิ ก็สามารถกาหนดรู ้ ได้
เพียงเรากาหนดวาระจิตเพ่งดูผอู ้ ื่น ก็จะอ่านใจคนออก
2. รู ้ได้ดว้ ยอานาจแห่งหูทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการฟั งออกจากหู ตวั เอง กาหนดหู ทิพย์ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่น
ว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ
17
3. รู ้ได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ ใช้ตาทิพย์ดูวาระจิตผูอ้ ื่นว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ จะเห็ นเป็ นภาพว่าเขา
กาลังนึกอะไรอยูใ่ นใจ อ่านใจคนสาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
กาหนดสมาธิ เข้าฌานระดับอุปจารสมาธิ แล้วนึ กย้อนเหตุการณ์ในอดีตกลับคืน ไม่ว่า
จะเป็ น 1 ชาติ 2 ชาติ 3 ชาติ 10 ชาติ จะมากกี่ชาติก็สามารถกาหนดดูได้ ด้วยอภิญญาภาพ
เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต จะย้อ นกลับ คื น มา และปรากฏอยู่ ใ นนิ มิ ต ของสมาธิ เป็ นภาพเหตุ ก ารณ์
ในอดีตชาติ
5. ทิพพจักขุ ตาทิพย์
วิธีการฝึ กตาทิพย์ เหตุให้เกิดตาทิพย์มีกสิ ณเป็ นเครื่ องนาจิตให้เกิ ดตาทิพย์ ด้วยกสิ ณ 3
อย่าง คือ
1. กสิ ณสี ขาว
2. กสิ ณไฟ
3. กสิ ณแสงสว่าง
ผูจ้ ะฝึ กตาทิ พย์ พึงฝึ กกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งให้เหมาะสมกับจริ ตของตัวเอง จนสาเร็ จกสิ ณ
เป็ นอานาจฌาน
วิธีการใช้ตาทิพย์
พึงเข้าสมาธิ ด้วยกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งที่ ตวั เองฝึ กมาเป็ นอานาจฌาน แล้วกาหนดจิ ตดูภาพ
เหตุการณ์ ใกล้ไกลไม่มีกาหนดประมาณได้ ภาพคนละมิติหรื อแม้แต่ภาพในใจเวลาคนอื่นเขาคิด
อะไรอยูใ่ นใจ ก็สาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
6. อาสวักขยญาณ (คือทาอาสวะให้ สิ้น)
หมายถึง ได้ฌานแล้วมาต่อญาณ เป็ นการหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งเจโตวิมุตติ
จิตถอนความยึดมัน่ ถือมัน่ จากกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง
จิตเข้าถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถอนความยึดมัน่ ทั้งปวง
18
พระอรหันต์ ผู้ถงึ พร้ อมด้ วยวิชชา 3
พระอรหันต์ผสู้ ร้างบารมีมาเพื่อบรรลุธรรมด้วยวิชชา 3 มีดงั นี้ คือ
1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
2. จุตูปปาตญาณ รู ้อานาจสัตว์เกิดตาย
3. อาสวักขยญาณ ทาอาสวะกิเลสให้สิ้นไป
1. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
กาหนดสมาธิ เข้าฌานระดับอุปจารสมาธิ แล้วนึ กย้อนเหตุการณ์ในอดีตกลับคืน ไม่ว่า
จะเป็ น 1 ชาติ 2 ชาติ 3 ชาติ 10 ชาติ จะมากกี่ชาติก็สามารถกาหนดดูได้ ด้วยอภิญญาภาพ
เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต จะย้อ นกลับ คื น มา และปรากฏอยู่ ใ นนิ มิ ต ของสมาธิ เป็ นภาพเหตุ ก ารณ์
ในอดีตชาติ
2. จุตูปปาตญาณ รู้ อานาจสั ตว์ เกิดตาย
หลักการใช้อานาจจุตูปปาตญาณเป็ นการแก้กรรม
1. รู ้ อดี ต ชาติ ส ามารถจาแนกวิ บ ากกรรมดี ก รรมชั่ว ของการแก้ก รรมวิบ ากละเอี ย ดด้ว ย
อานาจญาณของตัวเอง
2. เห็ น อนาคตด้วยญาณวิเศษ สามารถรู ้ ว่า กรรมสิ่ ง ใดที่ ต ัว เอง ได้ส ร้ างไว้ใ นอดี ต จะดี
หรื อชัว่ ก็ตาม จะส่ งผลมากน้อยแค่ไหน
3. รู ้ ปั จ จุ บ ัน ว่ า กรรมดี ห รื อ ชั่ ว ก็ ต าม ส่ ง ผลแค่ ไ หน ตอนนี้ เราก าลั ง เสวยผลบุ ญ หรื อ
ผลกรรมอยู่ รู ้ได้ว่าผลบุ ญตัวเองสร้ างขึ้นจะหมดเมื่ อใด กรรมชั่วที่ ตวั เองได้สร้ างขึ้นในอดี ตจะ
ส่ งผลในปั จจุบนั ชาติ และกรรมชัว่ ตัวเองจะหมดลงเมื่อใด
4. แสดงธรรมเรื่ องวิบากกรรมหรื ออานาจบุ ญกุศลที่ ได้สร้ างไว้ ดุ จดัง่ อนุ สาสนี ปาฏิ หาริ ย ์
แสดงธรรมเป็ นอัศจรรย์
การแก้กรรมได้
ย้อนอดีตดูกรรมคนอื่น ทั้งล่วงรู ้อนาคต
ว่ากรรมอันใด ทาแล้วได้ผลอันใดในอนาคต
วิธีแก้กรรม
เชี่ยวชาญ เรื่ องบุญกุศลทานเป็ นอย่างดี
รู ้ได้เลยว่า กรรมไหนคนทาไม่ดีไว้ จะส่ งผลในปั จจุบนั และจะเอาอันไหนเป็ นตัวแก้
เราเรี ยกวิชาแก้กรรมนี้วา่ จุตูปปาตญาณ รู ้อานาจสัตว์เกิดตาย
3. อาสวักขยญาณ (คือทาอาสวะให้ สิ้น)
หมายถึง ได้ฌานแล้วมาต่อญาณ เป็ นการหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งเจโตวิมุตติ
จิตถอนความยึดมัน่ ถือมัน่ จากกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง
จิตเข้าถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถอนความยึดมัน่ ทั้งปวง
19
วสี สมาธิ
การฝึ กวสี สมาธิ น้ นั มีหลายแบบ บางคนฝึ กกสิ ณอยูเ่ พียงอย่างเดี ยว เดิ นหน้าถอยหลัง
เข้าฌานจนเกิดความชานาญ บางคนฝึ กหลายอย่าง การเดินหน้าเข้าออกฌานก็จะเป็ นการทบทวน
ของเก่าไปในตัว เรี ยกว่า จะฝึ กวิชาใหม่ ก็ไม่ลืมวิชาเดิ มหรื อวิชาเก่า เป็ นการทบทวนไปในตัว
ก่อนเริ่ มฝึ กวิชาใหม่
ในหลักการฝึ กวสี สมาธิ น้ นั ฝึ กเพียงอย่างเดียวง่ายต่อการทบทวน เดินหน้าถอยหลัง เข้า
ออกฌาน จนเป็ นวสี สมาธิ
ส าหรั บ ผูฝ้ ึ กสมาธิ ห ลายอย่าง การฝึ กวสี ส มาธิ ด้วยหลัก อนุ โลมและปฏิ โลม ในการ
เดินหน้าถอยหลัง เข้าออกฌาน เพื่อให้เกิ ดความชานาญในสมาธิ ข้ ึนมา และเพื่อเป็ นประโยชน์
ต่ อ การฝึ กวิ ช าใหม่ ไม่ ลื ม วิ ช าเก่ า เรี ย กว่า ได้ห น้ า ไม่ ลื ม หลัง ฝึ กจนช านาญเป็ นวสี ส มาธิ
จาได้ท้ งั เก่าและใหม่ ดังนี้
ในที่ น้ ี ผูเ้ ขี ยน จะยกตัวอย่าง หลักการฝึ กวสี ส มาธิ แบบอนุ โลมและปฏิ โลมหลายอย่าง
สาหรับผูฝ้ ึ กสมาธิ หลายแบบ เป็ นประโยชน์สาหรับการฝึ กสมาธิ ที่จะไม่ได้หน้าลืมหลัง นั้นเอง
ส่ ว นการฝึ กอย่ า งเดี ย วนั้ น จนเป็ นวสี ส มาธิ น้ ั น ผู ้เขี ย นจะไม่ ไ ด้ย กตัว อย่ า ง เพราะ
อย่างเดี ยวนั้นง่าย แค่เพียงเข้าฌานออกฌานให้ชานาญ ก็จะไม่ลืมวิชาของตน และสามารถฝึ ก
วสี ส มาธิ เพี ย งอย่า งเดี ย วก็ ง่ า ยกว่า ผูฝ้ ึ กหลายอย่า ง จึ ง ไม่ ไ ด้ย กตัวอย่า งในการฝึ กอย่า งเดี ย ว
ผูส้ นใจฝึ กสมาธิ อย่างเดี ยวจนเป็ นวสี สมาธิ ข้ ึนมา สามารถดูหลักการฝึ กวิชาสมาธิ แต่ละอย่างของ
ผูเ้ ขียนได้ต้ งั แต่ งานเขียนเล่ มแรก ถึ งเล่มสี่ จะเข้าใจหลักฝึ กสมาธิ ทีละอย่าง ให้เป็ นวสี สมาธิ
ขึ้นมาได้
วสี สมาธิ 5
วสี คือ ความชานาญในสมาธิ มี 5 อย่าง ดังต่อไปนี้ คือ
1. อาวัชชนวสี ความชานาญในการนึกถึงองค์ฌานแต่ละฌานได้
2. สมาปัชชนวสี ความชานาญในการเข้าฌาน
3. อธิษฐานวสี ความชานาญในการอธิ ษฐานให้การดารงฌานอยูน่ านแค่ไหนก็ได้
4. วุฎฐานวสี ความชานาญในการออกจากฌานได้
5. ปัจจเวกขณวสี ความชานาญในการพิจารณาองค์ฌานแต่ละองค์ได้
หมายเหตุ ในการฝึ กสมาธิ ต่ า งๆ พึ งด าเนิ น แบบอย่างวสี ส มาธิ 5 อย่างนี้ เพื่ อ เกิ ด
ความชานาญในสมาธิ ข้ ึน
ลาดับต่อไป ผูเ้ ขียนจะยกตัวอย่าง หลักการฝึ กอนุโลมและปฏิโลมในวสี สมาธิ เพื่อเป็ น
ประโยชน์สาหรับผูฝ้ ึ กสมาธิ หลายอย่าง
20
อนุโลมและปฏิโลมในวสี สมาธิ
การฝึ กวสี สมาธิ ในอนุ โลมและปฏิ โลมนั้น เพื่อให้ผฝู ้ ึ กเกิ ดความชานาญต่างๆ ในนิ มิต
และสมาธิ จ นกลายเป็ นวสี สมาธิ ข้ ึ นมา จนเป็ นความช านาญต่ า งๆ ของฌานสมาธิ เพื่ อ
ประโยชน์ ต่ อ ตนเองในการฝึ กเจริ ญ กรรมฐาน จะฝึ กวิ ช าใหม่ ก็ ไ ม่ ลื ม วิ ช าเก่ า ด้ ว ย เรี ย กว่ า
ทบทวนวิชาสมาธิ จากการฝึ กวสี สมาธิ ดว้ ยหลักอนุโลมและปฏิโลม ดังนี้
อนุโลม หมายถึง การเดินหน้าเข้าฌาน ตั้งแต่ฌานที่ 1 – 4
ปฏิโลม หมายถึง การถอยหลังออกฌาน ตั้งแต่ฌานที่ 4 – 1 (แล้วออกจากฌานสมาธิ)
วสี รูปนิมิต
การฝึ กวสี รูปนิ มิตนั้น เพื่อให้บุคคลเกิ ดความชานาญในรู ปฌานทั้ง 4 จนเป็ นวสี สมาธิ
ขึ้นมา นั้นเอง
ตัวอย่าง การฝึ กอนุโลมวสี สมาธิ (ในการเจริญกสิ ณ) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 1 เข้ากสิ ณดิน
ฌานที่ 2 เข้ากสิ ณน้ า
ฌานที่ 3 เข้ากสิ ณลม
ฌานที่ 4 เข้ากสิ ณไฟ
ตัวอย่าง การฝึ กปฏิโลมวสี สมาธิ (ในการเจริญกสิ ณ) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 4 เข้ากสิ ณไฟ
ฌานที่ 3 เข้ากสิ ณลม
ฌานที่ 2 เข้ากสิ ณน้ า
ฌานที่ 1 เข้ากสิ ณดิน
หมายเหตุ ในการฝึ กกสิ ณวสี สมาธิ น้ นั บุคคลสามารถฝึ กกสิ ณธาตุต่างๆ กสิ ณสี ต่างๆ
และอากาศกสิ ณ กับอาโลกกสิ ณ สุ ดแล้วแต่ จริ ตของบุ คคลนั้นเป็ นหลัก เพื่ อความชานาญใน
การเข้าออกกสิ ณต่างๆ จนเป็ นวสี สมาธิ ข้ ึนมา ผูเ้ ขียนเพียงแต่ยกตัวอย่างให้ดูเท่านั้น การปฏิบตั ิ
เข้าออกฌานต่างๆ ของกสิ ณให้เกิดเป็ นวสี สมาธิ ผูป้ ฏิบตั ิสมาธิ ตอ้ งเลือกฝึ กเอง ตามจริ ตของตน
ตัวอย่าง การฝึ กอนุโลมวสี สมาธิ (ในการเจริญอนุสสติ 10) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 1 เจริ ญพุทธานุสสติ
ฌานที่ 2 เจริ ญธัมมานุสสติ
ฌานที่ 3 เจริ ญสังฆานุสสติ
ฌานที่ 4 เจริ ญอานาปานานุสสติ
21
ตัวอย่าง การฝึ กปฏิโลมวสี สมาธิ (ในการเจริญอนุสสติ 10) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 4 เจริ ญอานาปานานุสสติ
ฌานที่ 3 เจริ ญสังฆานุสสติ
ฌานที่ 2 เจริ ญธัมมานุสสติ
ฌานที่ 1 เจริ ญพุทธานุสสติ
หมายเหตุ ในการฝึ กวสี สมาธิ อนุสสติท้ งั 10 นั้น ผูป้ ฏิบตั ิสมาธิ สามารถฝึ กอย่างใดก็ได้
ตามหลักของอนุ สสติ เลื อกฝึ กตามแต่จริ ตของตน เดินหน้าถอยหลัง เข้าออกฌาน จนเกิ ดเป็ น
วสี สมาธิ ผูเ้ ขียนเพียงแต่ยกตัวอย่างให้ดูเพียงเท่านี้ ส่ วนผูป้ ฏิ บตั ิตอ้ งเลือกฝึ กเองให้เหมาะสมกับ
จริ ตของตน จนเกิดชานาญเป็ นวสี สมาธิ ข้ ึนมา
ตัวอย่าง การฝึ กอนุโลมวสี สมาธิ (ในการฝึ กสมาธิแบบพิสดาร) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 1 เข้าพลังแสงทิพย์
ฌานที่ 2 เข้าพลังจักรวาล
ฌานที่ 3 เข้าพลังจักรธาตุ
ฌานที่ 4 เข้าพลังธรรมจักร
ตัวอย่าง การฝึ กปฏิโลมวสี สมาธิ (ในการฝึ กสมาธิแบบพิสดาร) ดังนี้ คือ
ฌานที่ 4 เข้าพลังธรรมจักร
ฌานที่ 3 เข้าพลังจักรธาตุ
ฌานที่ 2 เข้าพลังจักรวาล
ฌานที่ 1 เข้าพลังแสงทิพย์
หมายเหตุ ในการฝึ กวสี สมาธิ แบบ หลักการฝึ กสมาธิ พิสดาร มีอยูห่ ลายอย่าง ผูป้ ฏิบตั ิ
ต้องเลือกฝึ กเองให้เหมาะสมตามจริ ตของตน ผูเ้ ขียนเพียงยกตัวอย่างให้ดูเท่านั้น เพื่อจะเรี ยนหรื อ
ฝึ กวิชาใหม่ ก็ไม่ลืมวิชาเก่ า เป็ นการทบทวนวิชาต่างๆ เข้าออกฌาน เดิ นหน้าถอยหลัง เป็ น
วสี สมาธิ ข้ ึนมา
วสี อรู ปนิมิต
การฝึ กวสี อรู ปนิ มิต คื อ การฝึ กเจริ ญอรู ปฌานทั้ง 4 ให้เกิ ดความชานาญในวสี สมาธิ
นั้นเอง
ตัวอย่าง การฝึ กอนุโลมวสี สมาธิ ดังนี้ คือ
ฌานที่ 1 อากาสานัญจายตนะ
ฌานที่ 2 วิญญาณัญจายตนะ
ฌานที่ 3 อากิญจัญญายตนะ
ฌานที่ 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ
22
ตัวอย่าง การฝึ กปฏิโลมวสี สมาธิ ดังนี้ คือ
ฌานที่ 4 เนวสัญญานาสัญญายตนะ
ฌานที่ 3 อากิญจัญญายตนะ
ฌานที่ 2 วิญญาณัญจายตนะ
ฌานที่ 1 อากาสานัญจายตนะ
หมายเหตุ การฝึ กวสี อรู ปนิ มิตที่เป็ นอรู ปฌานนั้น บุคคลนั้นจะฝึ กเดินหน้าถอยหลัง เข้า
ออกฌานอย่า งไรก็ ไ ด้ ไม่ จ าเป็ นต้อ งท าเหมื อ นตัว อย่า งที่ ผู ้เขี ย นยกมาเป็ นแบบ สุ ด แล้ว จะ
ดัดแปลงฝึ กให้เหมาะสมตามแต่จริ ตของตน เป็ นหลัก
สมาบัติ 8
สมาบัติ 8 นั้น ประกอบด้วยรู ปฌาน 4 และอรู ปฌาน 4 ดังต่อไปนี้ คือ
รู ปฌาน 4
รู ปฌาน 4 นั้น หมายถึง องค์ฌานทั้ง 4 ประการ ดังต่อไปนี้ คือ
ฌานที่ 1 ประกอบด้วยอารมณ์สมาธิองค์ฌาน 5 คือ วิตก วิจาร ปี ติ สุ ข เอกัคคตา
ฌานที่ 2 ประกอบด้วยอารมณ์สมาธิองค์ฌาน 3 คือ ปี ติ สุ ข เอกัคคตา
ฌานที่ 3 ประกอบด้วยอารมณ์สมาธิองค์ฌาน 2 คือ สุ ข เอกัคคตา
ฌานที่ 4 ประกอบด้วยอารมณ์สมาธิ องค์ฌาน 1 คือ เอกัคคตา (อุเบกขาสมาธิ จิตเป็ นหนึ่งเดียว)
อรู ปฌาน 4
อรู ปฌาน 4 นั้น เป็ นการปล่อยอารมณ์ ไม่ยดึ ถืออะไร มีผลทาให้จิตว่าง มีดงั นี้ คือ
1. อากาสานัญจายตนะ ถือ อากาศเป็ นอารมณ์ เกิดเป็ นนิมิตอากาศขยายใหญ่และย่อเล็กได้
กาหนดใจว่าอากาศหาที่สุดมิได้
2. วิญญาณัญจายตนะ กาหนดวิญญาณหาที่สุดมิได้ ทิ้งอากาศและรู ปทั้งหมด ต้องการจิต
เท่านั้น
3. อากิ ญจัญญายตนะ กาหนดความไม่มีอะไรเลย อากาศไม่มี วิญญาณก็ไม่มี ถ้ามีอะไร
สักหน่อยหนึ่งก็เป็ นเหตุของภยันตราย ไม่ยดึ ถืออะไร
4. เนวสัญ ญานาสั ญ ญายตนะ ท าความรู ้ สึ ก ตัวเสมอว่า ทั้งที่ มี สั ญ ญาอยู่ก็ท าเหมื อนไม่ มี
ไม่รับอารมณ์ใดๆ จะหนาว ร้อน ก็รู้แต่ไม่ดิ้นรนกระวนกระวาย ปล่อยตามเรื่ องตามราว
ไม่มีความสนใจใดๆ ทั้งสิ้ น
ข้ อควรรู้ เมื่ อเราฝึ กวสี สมาธิ จนชานาญทั้งรู ป ฌานและอรู ป ฌาน ทั้งสองอย่างรวมกัน
เป็ นสมาบัติ 8 ในการเข้าสมาบัติน้ นั จะอธิ ษฐานสั้นยาวไม่เท่ากัน สุ ดแล้วแต่บุคคลนั้นเป็ นหลัก
ถ้ามีงานที่ตอ้ งทา ก็อธิ ษฐานเข้าสมาบัติเพียงวันเดียว ถ้าไม่สนใจต่องานและโลกภายนอก ก็จะ
อธิ ษฐานเข้าสมาบัติ 3 วัน 7 วัน 15 วัน ดังนี้
23
สมาธิ น้ นั มีอยู่ 2 อย่าง คือ
ฌาน คือ ความสาเร็ จของสมถกรรมฐาน
ญาณ คือ ความสาเร็ จของวิปัสสนากรรมฐาน
ลักษณะของฌาน
ลักษณะของฌานสมาธิ ต่างๆ ที่พิจารณาให้ละเอียดรอบคอบแล้ว ย่อมสามารถรู ้วา่ ตนเอง
ได้ฌานหรื อไม่ มีหลักการพิจารณา ดังนี้ คือ
ลักษณะของฌาน คือ อารมณ์ที่จิตสงบและเป็ นหนึ่งเดียว
การเข้าฌาน คือ นึกภาพนิมิตแล้วเข้าได้ทนั ที
การออกฌาน คือ การปล่อยวางอารมณ์ของฌาน
การรู ้วา่ ตัวเองได้ฌาน คือ สามารถใช้นิ มิ ตและอานุ ภาพของฌานได้ทุ กครั้ ง ที่ ตนเอง
ได้เข้าฌาน
อารมณ์ของฌานมีลกั ษณะ ดังนี้ คือ
วิตก อารมณ์ ใ นการภาวนาต่ างๆในสมาธิ เช่ น พุ ท โธ ยุบ หนอ พองหนอ
สัมมาอะระหัง เป็ นต้น เมื่อสติกาหนดรู ้ในองค์บริ กรรมภาวนา เป็ นอารมณ์ของวิตก
วิจาร การพิ จารณาอารมณ์ ของวิตกในสมาธิ ไม่ ฟุ้ งซ่ าน และคิดออกไปนอก
เรื่ องของสมาธิ เกิดเป็ นวิจารอยูใ่ นอารมณ์ของสมาธิ
ปี ติ เมื่ อเข้าสมาธิ แล้วเกิ ดความซาบซ่ าน ที่ผ่านวิตก วิจาร มาแล้ว จิตได้ถึง
ปี ติแล้ว จะไม่มีองค์ภาวนาใดๆ ก็เกิดความซาบซ่าน อยูใ่ นสมาธิ เป็ นอารมณ์ของปี ติ
สุ ข การได้นิมิตในสมาธิ ต่างๆ แล้วจิตได้ยึดติดหรื อติดอยูใ่ นอารมณ์ ของนิ มิต
ในสมาธิ น้ นั เป็ นอารมณ์ของสุ ข
เอกัคคตา การที่ จิตปล่ อยวางจากอารมณ์ ข องสุ ข เป็ นอุ เบกขาสมาธิ มี นิ มิ ตต่ างๆ
ในสมาธิ จิตก็เป็ นหนึ่งเดียว ไม่หวัน่ ไหวไปตามนิมิตนั้นๆ เป็ นอารมณ์ของเอกัคคตา
ลักษณะของญาณ
ลัก ษณะของญาณสมาธิ ต่ างๆ ละเอี ย ดลึ ก ซึ้ งมากกว่าฌาน ลัก ษณะขององค์ฌ านนั้น
สามารถวิเคราะห์ ดู ง่ ายกว่า ญาณ ญาณนั้น มี ค วามส าเร็ จ หลายระดับ ตั้ง แต่ ญ าณโลกี ย ์ข้ ึ น ไป
จนถึ งขั้นโลกุตตระญาณ รายละเอียดของญาณ นับความสาเร็ จเรี ยงตามลาดับ ข้าพเจ้าจะกล่าว
ไว้ในบทต่อไป ให้ละเอียดและลึกซึ้ ง
เมื่อพิจารณาให้ละเอียดรอบคอบแล้ว ย่อมสามารถรู ้วา่ ตนเองได้ญาณหรื อไม่ มีหลักการ
พิจารณา ดังนี้ คือ
ลักษณะของญาณ คือ อารมณ์ที่จิตสงบนิ่งไม่ฟุ้งซ่าน ไปในสิ่ งที่กาลังพิจารณา
การเข้าญาณ คือ มีสติดูจิต กาหนดรู ้สิ่งต่างๆ เกิดเป็ นปั ญญา
การออกญาณ คือ การปล่อยวางอารมณ์ของญาณ
การรู ้วา่ ตัวเองได้ญาณ คือ สามารถใช้ ส ติ ก าหนดดู จิ ต เกิ ด เป็ นปั ญ ญาและญาณ ได้
ทุกครั้ง ที่ตนเองได้เข้าญาณ
24
ส่ วนอารมณ์ ข องญาณนั้น ก็ มี ระดับ ความส าเร็ จเป็ นล าดับ ขั้นตอน ตั้งแต่ ข้ นั โลกี ยถ์ ึ ง
ขั้นโลกุตตระ ญาณหยัง่ รู ้ต่างๆ ญาณปั ญญา ญาณหยัง่ รู ้ในการทาให้อาสวะกิเลสหมดสิ้ น
อันข้าพเจ้าจะกล่าวไว้ในบทต่อไป ให้ละเอียดลึกซึ้ งทีหลัง
เมื่อกล่าวโดยย่ออารมณ์ ของญาณ การพิจารณาสิ่ งต่างๆ แล้วจิตสงบนิ่ ง มีสติอยูก่ บั สิ่ งที่
กาลังพิจารณา ไม่ฟุ้งซ่านไปตามสิ่ งที่กาลังพิจารณา สติกาหนดรู ้ดูจิต เกิดเป็ นปั ญญาและญาณ
ข้อแตกต่าง ระหว่างฌานกับญาณ
เรื่ องของฌานกับ ญาณนั้น ก็ คื อ ผลอัน เกิ ด จากสมถะและวิปั ส สนา แต่ ก ารปล่ อยวาง
อย่างไรเป็ นอารมณ์ของฌาน และการปล่อยวางอย่างไรเป็ นอารมณ์ของญาณ
การปล่อยวางในอารมณ์ของฌาน ยัง ต้อ งการนิ มิ ต เป็ นอารมณ์ ข องฌาน จิ ต เป็ นหนึ่ ง
แต่เอานิมิตต่างๆ ในสมาธิ ที่ตนเองได้ เป็ นอารมณ์ของฌาน และอุเบกขาสมาธิ
การปล่อยวางในอารมณ์ของญาณ ไม่ ต้ อ งการนิ มิ ต ใดๆ เป็ นอารมณ์ ของญาณ สติ
พิจารณาสิ่ งต่างๆ จิตไม่ฟุ้งซ่าน เกิดปั ญญา แล้วปล่อยวางได้ เป็ นอุเบกขาญาณ
ข้ อควรรู้ ถ้าสติพิจารณาแล้ว จิตจะฟุ้ งซ่ านหรื อไม่ก็ตาม ยังปล่อยวางไม่ได้ ในอารมณ์
ต่างๆ ที่ตนได้พิจารณา มีหวั ข้อธรรมะและกรรมฐาน เป็ นต้น ไม่เรี ยกว่า ญาณ
จะเกิดเป็ นความยึดมัน่ ถือมัน่ ในสิ่ งที่ตนได้รู้ และเกิดเป็ นทิฏฐิ เป็ นอัตตา ยึดมัน่ ถือมัน่
ในความรู ้ของตน ไม่ยอมปล่อยวาง (จึงไม่เรี ยกว่า ญาณ)
ข้อแตกต่าง อุปาทานกับความสาเร็ จของฌานและญาณ
เมื่อใช้สติปัญญาพิจารณาให้รอบคอบ จะไม่เกิดความหลงเป็ นอุปาทานคิดว่าตนได้สาเร็ จ
ฌานและญาณต่างๆ จนเป็ นอุปาทานยึดมัน่ ถือมัน่ ในสมาธิ และอานาจฌานกับญาณ
อุปาทานในฌานและญาณ
การที่ไม่ได้พิจารณาในองค์ฌาน และความสาเร็ จขั้นของญาณในลาดับชั้นต่างๆ จึงเกิ ด
เป็ นอุปาทานขึ้นมาคิดว่าตนนั้นได้สาเร็ จ อุปาทานนั้นหนักกว่ามิจฉาสมาธิ เหตุผลเพราะว่า
อุป าทาน หมายถึ ง ไม่ ได้ส าเร็ จแต่ ป ระการใด จิ ตคิ ดไปเอง เกิ ดความยึดมัน่ ถื อมั่น
จนหลง ไปในอานุภาพของฌานและญาณต่างๆ
มิจฉาสมาธิ หมายถึ ง สาเร็ จและได้นิมิตในองค์ฌานและญาณต่างๆ แต่ยึดติดในนิ มิต
นั้นๆ เกิดเป็ นความยึดมัน่ ถือมัน่ ในสมาธิ นิมิตทั้งปวงและทิฏฐิของตน จึงกลายเป็ นมิจฉาสมาธิ
ด้วยเหตุน้ ี การทาสมาธิ จึงควรระวังอุปาทาน เพราะอุปาทานนั้น ท่านคิดไปเองจนเกิ ด
ความเพ้อเจ้อหลงในอานาจฌานและญาณ
อุ ป าทานในอานาจฌาน หมายถึ ง คิ ดว่าตนนั้น ส าเร็ จฌานต่ างๆ แต่ ก็ ไม่ ส ามารถใช้
อานุภาพแห่งฌานได้ เรี ยกว่า หลงในสมาธิ นิมิตต่างๆ สาคัญผิดคิดว่าตนสาเร็ จ
คนที่สาเร็ จฌาน หมายถึ ง จิตกาหนดรู ้ ในองค์ฌานต่างๆ ฝึ กนิ มิตต่างๆที่ ได้จากสมาธิ
จนเกิดความชานาญกลายเป็ นวสี สมาธิ สามารถใช้อานุ ภาพของฌานต่างๆได้ทุกครั้ง ที่ตนนั้นได้
เข้าฌาน จึงเป็ นความสาเร็ จของฌาน ที่ไม่มีอุปาทานคิดไปเองว่าตนนั้นได้สาเร็ จฌาน
25
อุปาทานในอานาจญาณ หมายถึ ง คิดว่าตนนั้นสาเร็ จญาณต่างๆ เป็ นญาณหยัง่ รู ้ หรื อ
ญาณประหารกิเลสในลาดับชั้นคุ ณธรรมต่างๆ หลงสาคัญผิดคิ ดว่า ตนนั้นได้สาเร็ จญาณหยัง่ รู ้
ต่างๆ หรื อสาเร็ จญาณประหารกิเลส จนบรรลุคุณธรรมวิเศษชั้นนั้นๆ เกิดเป็ นความหลงผิดคิดว่า
ตนนั้นได้สาเร็ จ เรี ยกว่า อุปาทานในญาณต่างๆ
คนที่สาเร็ จญาณ หมายถึง จิตกาหนดในญาณต่างๆ ได้อย่างละเอียด เช่น ญาณหยัง่ รู ้
ก็ ส ามารถก าหนดรู ้ สิ่ งต่ างๆ ด้วยอานาจของญาณหยัง่ รู ้ ได้อย่างถู ก ต้องแม่ น ยา หรื อจะเป็ น
ญาณประหารกิ เลส ก็สามารถกาหนดรู ้ จิตของตนเองว่า ตอนนี้ ตนได้ประหารละกิ เลสสังโยชน์
ได้กี่ขอ้ มากน้อยเพียงใด หรื อยังละกิ เลสสังโยชน์ไม่ได้ ก็เพียรพยายามละกิ เลสต่อไป ไม่เกิ ด
ความหลงในญาณ เรี ยกว่า สาเร็ จญาณต่างๆ เป็ นต้น

ความลังเลสงสั ย ย่ อมไม่ มีแก่ ผู้ที่ปฏิบัตสิ าเร็จ


เมื่อจิตถึงแล้ ว ก็จะรู้ เอง
26
วิชาธรรมจักร
ธรรมจักร แยกออกเป็ น 2 ส่ วน คือ วิปัสสนาและสมถะ ดังต่อไปนี้ กล่าวคือ

ภาควิปัสสนา
การเจริ ญ สติ พิ จ ารณาอริ ย สั จ 4 หรื อ การเจริ ญ สติ ปั ฏ ฐาน 4 พิ จ ารณาอริ ย สั จ 4
ในอารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐาน
สติปัฏฐาน 4 คือ กาย เวทนา จิต ธรรม จะอนุโลมและสังเคราะห์เข้าในอริ ยสัจ 4
คือ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค
สงเคราะห์ ธรรมปฏิบัติได้ ดังนี้
เพราะร่ างกายนี้ จึงเป็ นทุกข์
เวทนา เป็ นเหตุให้เกิดทุกข์
ทุกข์เกิดขึ้นที่จิตใจ ย่อมดับได้ที่จิตใจ
ธรรมทั้งหลายเป็ นข้อปฏิบตั ิให้ถึงซึ่ งความดับทุกข์

ภาคสมถะ
กาหนดสติ เพ่งดู กาย เวทนา จิต ธรรม โดยส่ วนใหญ่ นักปฏิ บ ตั ิ จะใช้ส ติ เพ่งดู จิต
ตัวเอง เพราะสติ จะได้ค วบคุ ม ดู จิ ต ไว้ต ลอดเวลา เวลาเข้าสมถะจิ ต จะได้ไ ม่ ฟุ้ งซ่ า นไปที่ อื่ น
เพราะมีสติคอยควบคุมจิตเอาไว้
การฝึ กวิชาธรรมจักร โดยเข้ าสมถะภาวนาทาดังนี้
ทากายให้วา่ งเปล่า ทาใจให้สงบนิ่ง
ใช้สติดูจิตเอาไว้ แล้วแผ่รังสี สี ขาวเป็ นแสงบริ สุท ธิ์ ออกมาจากจิตตัวเอง แล้วจากจิต
แผ่ออกมาจนทัว่ ร่ างกาย เป็ นการชาระจิตและร่ างกายให้สะอาดบริ สุทธิ์ ดุจแก้วมณี โชติ เพราะได้
แผ่รังสี ออกมาจากจิตเป็ นแสงที่บริ สุทธิ์ และเป็ นแสงสี ขาว
โดยส่ วนใหญ่ นักปฏิ บตั ิธรรมสมัยก่อน มักจะใช้แสงสี ขาว มากกว่าแสงสี อื่น เพราะ
เป็ นแสงที่บริ สุทธิ์ ที่สุด จิตจะได้เหมาะสม สาหรับการฝึ กปฏิบตั ิธรรมทั้งหลายทั้งปวง

ทุกข์ เกิด เพราะใจยึดมั่นในทุกข์ เอาไว้


ทุกข์ ดบั เพราะใจปล่ อยวางจากทุกข์ ท้งั ปวง
27
การใช้ พลังธรรมจักรอัญเชิญพระธาตุเสด็จจากอากาศ
ท าจิ ต ให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ดุ จ แก้ว มณี โชติ แล้วแผ่พ ลัง จิ ตออกมาให้ เหมื อ นพระจัน ทร์ แ ผ่รัศ มี
ออกมาในคืน วัน เพ็ญ (ข้อควรระวัง ในการใช้พ ลังจิตอัญ เชิ ญ พระธาตุ พระธาตุ เป็ นของเย็น
ควรใช้พลังจิตทางเย็น ให้เหมื อนพระจันทร์ แผ่รัศมี ออกมาในคื นวันเพ็ญเป็ นพลังเย็นที่ สงบนิ่ ง
ไม่ค วรใช้พ ลังจิ ตแผ่รังสี ออกมาเหมื อนพระอาทิ ตย์ เพราะพระธาตุ เป็ นของเย็นไม่ใช่ ของร้ อน
พระธาตุอาจหายได้ พระธาตุมีได้หายได้ การใช้พลังจิตแผ่รังสี ออกมาแบบพระอาทิตย์ เป็ นการ
ใช้พ ลังจิ ตแบบร้ อนเหมื อนอ านาจเตโชกสิ ณ จิ ตอาจเกิ ดสั ป ระยุท ธ์ ด้วยโทสจริ ต พระธาตุ จึง
เสด็จหนี พลังพระธาตุใช้คู่กบั บารมี 10 ทัศ โดยยึดหลักเมตตาบารมี เป็ นหัวใจและประธาน
หลักของพลังพระธาตุ)
แผ่พลังให้ออกมาจากจิตให้เหมือนพระจันทร์ แผ่รัศมี ให้จิตตัวเองบริ สุทธิ์ ดุจแก้วมณี โชติ
น้อมอัญ เชิ ญ พระธาตุ เมื่ อ จิ ต บริ สุ ท ธิ์ ดุ จแก้วมณี โชติ ดวงจิ ต ของเราจะนิ พ พานชั่วขณะหนึ่ ง
เป็ นจิตที่บริ สุทธิ์ ใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์ แต่จิตของเรายังไม่ใช่ จิตพระอรหันต์ ยังมี
กิเลสอยู่ แต่พระธาตุสามารถเสด็จมาได้ เพราะว่าจิตนิ พพานชัว่ ขณะหนึ่ ง เหมือนการเข้าสมาธิ
แบบขณิ กสมาธิ
ดวงจิตนิพพาน 3 ระดับ ของจิต
1. จิตนิพพานชัว่ ขณะหนึ่ ง หมายถึง การทาสมาธิ จิตใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์
แต่ยงั ไม่ใช่ดวงจิตของพระอรหันต์ จิตยังมีกิเลสอยู่ เพียงแต่ออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลส
เหมือนเดิม
2. จิตนิ พพานชัว่ คราว หมายถึ ง การทาสมาธิ อภิ จิต เจริ ญวิปัสสนาแยกรู ปแยกนาม
แยกจิตออกจากสังขาร เป็ นการดิ่งสมาธิ สู่ข้ นั อนัตตาญาณ แต่ยงั ถอนกิ เลสออกไม่หมด เพราะ
ยังไม่ได้สาเร็ จอนัตตาญาณถึงขั้นบรรลุธรรม พอออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลสเหมือนเดิม
3. จิตนิ พพานถาวร หมายถึง เป็ นการดับจิต ดับกาย ดับธรรม ตัดกิเลสออกจากรู ป
นามและสังขาร ไม่เหลื อความยึดมัน่ ถื อมัน่ ในสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์
ด้วยประการฉะนี้ (สาธุ)

การทาใจให้ สงบ เย็น สะอาดบริสุทธิ์ คือ การเข้ าถึงพลังธรรมจักร


28
พระพุทธเจ้ าตรัสรู้ด้วยวิชาธรรมจักร
ณ วันเพ็ญขึ้ น 15 เดื อน 6 พระมหาโพธิ สัตว์ตรัส รู้ อนุ ตตรสัมมาสัมโพธิ ญ าณ ด้วย
อริ ยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทยั นิ โรธ มรรค มี ใจความว่า เพราะร่ างกายนี้ เป็ นเหตุ ให้เกิ ดทุ ก ข์
การยึดมัน่ ในเวทนาจึงเป็ นเหตุแห่ งทุ กข์ ทุ กข์เกิ ดจากใจไปยึดมัน่ ในทุ กข์ และต้องดับทุกข์ที่ใจ
ส่ วนธรรมะทั้งหลายคือข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์
อริ ยสัจ 4 คือ
1. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
2. สมุทยั คือ เหตุให้เกิดทุกข์
3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์
4. มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์
กิเลสคือ รัก โลภ โกรธ หลง การยึดมัน่ ถื อมัน่ เป็ นเหตุอยากได้ อยากเป็ น อยากมี
เรี ย กว่า ตัณ หา (หรื อสมุ ท ัย คื อ เหตุ ให้ เกิ ด ทุ ก ข์) การดับ กิ เลสและตัณ หาทุ ก ข์ดับ ไปหมด
เรี ยกว่า นิโรธ , ส่ วนมรรค เป็ นข้อปฏิบตั ิให้ถึง ความดับทุกข์

ตัณหา คือ ความทะยานอยากได้ สุข เมื่อไม่ ได้ จึงเป็ นทุกข์

อริ ยมรรค 8 ประการ ที่เป็ นข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ คือ


1. ปัญญาอันเห็นชอบ คือเห็น อริ ยสัจ 4
2. ดาริ ชอบ คือดาริ จะออกจากกาม 1 ดาริ ในอันไม่พยาบาท 1
ดาริ ในอันไม่เบียดเบียน 1
3. เจรจาชอบ คือเว้นจากวจีทุจริ ต 4
4. ทาการงานชอบ คือเว้นจากกายทุจริ ต 3
5. เลี้ยงชีวติ ชอบ คือเว้นจากความเลี้ยงชีวติ โดยทางที่ผดิ
6. เพียรชอบ คือเพียรในที่ 4 สถาน
7. ระลึกชอบ คือระลึกในสติปัฏฐานทั้ง 4
8. ตั้งใจไว้ชอบ คือเจริ ญฌานทั้ง 4
เมื่อพระองค์ได้พิจารณาอริ ยสัจ 4 คือ ทุกข์ สมุทยั นิ โรธ มรรค ก็ได้ตรัสรู ้อนุ ตตร
สัมมาสัมโพธิญาณ สาเร็ จเป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยประการฉะนี้

ตัณหา ความทะยานอยากได้ สุข (จึงมีทุกข์ ต้องดิน้ รน และแสวงหา)


ปล่ อยวางการยึดมั่นทุกข์ และสุ ข คือ ละเสี ยแล้ วซึ่งตัณหา
29
การแสดงธรรมจักรเพือ่ ให้ พ้นจากความทุกข์
ในครั้งพระพุทธกาลนั้น พระสาวกที่สามารถแสดงธรรมจักรได้เหมือนกับพระพุทธเจ้า
มีมากมาย อาทิเช่น พระมหากัจจายนะ พระอานนท์ เป็ นต้น ฯลฯ
แต่พระสารี บุตร สามารถหมุนวงล้อพระธรรมจักร ได้เหมือนกับพระพุทธเจ้ามากที่สุด
ท่านจึงได้อีกชื่อ ตามคุณธรรมของท่านว่า พระธรรมเสนาบดี
พระธรรมจักร หรื ออริ ยสัจ 4 ส่ วนมากพระอริ ยบางองค์ จะแสดงไว้เฉพาะหมวดทุกข์
เท่านั้น คือ ชี้แจงให้ออกจากทุกข์และเจริ ญมรรคปฏิบตั ิ เพื่อพ้นทุกข์
จึงเป็ นเหตุให้ บางท่านศึกษาอริ ยสัจไม่ละเอียด จึงตีความหมายของอริ ยสัจผิด คิ ดว่า
ในอริ ยสั จ นั้ นมี เฉพาะทุ ก ข์ ในความเป็ นจริ งอริ ยสั จ มี สุ ขด้ ว ย ในหั ว ข้อ สมุ ท ัย อธิ บ าย
เพราะตัณ หา คื อ ความทะยานอยากได้ อยากมี อยากเป็ น เป็ นความทะยานอยากได้สุ ข
ยิง่ ๆขึ้นไป จึงเป็ นเหตุให้เกิดทุกข์
ในตัณหานั้น เมื่ออธิ บายให้ชดั เจน จะแบ่งออกเป็ น 3 อย่าง ดังนี้ คือ
1. กามตัณหา คือ ความอยากความสุ ขในกาม
2. ภวตัณหา คือ ความอยากเป็ นโน่นเป็ นนี่
3. วิภวตัณหา คือ ความไม่อยากเป็ นโน่นเป็ นนี่
อธิบายขยายความ
กามตัณหา เป็ นความสุ ขอยากในกามทั้งหลาย กามคุณ มี 5 คือ รู ป เสี ยง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะ อันน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ ในกาม จึงเป็ นเหตุแห่งทุกข์
เพราะโทษของกามนั้ น มี ค วามสุ ขเพี ย งเล็ ก น้ อ ย แต่ มี ทุ ก ข์ ม าก เรี ยกว่ า เพราะ
ความทะยานอยากได้สุขในกาม จึงเป็ นเหตุแห่งทุกข์ ดังนี้
ภวตัณ หา (เป็ นความอยากได้ อยากมี อยากเป็ น) มี ล าภสั ก การะยศถาบรรดาศัก ดิ์
ทรั พ ย์สิ นเงิ น ทอง ทะยานอยากได้ ยิ่ ง ๆขึ้ นไป อย่ า งไม่ รู้ จ บ หมายถึ ง มี แ ล้ ว ก็ อ ยากมี อี ก
อย่างไม่รู้จกั สันโดษ
ความทะยานอยากได้สุขยิง่ ๆขึ้นไป เช่นนี้ จึงเป็ นทุกข์ ที่จะต้องดิ้นรนและแสวงหา
วิภวตัณหา (ความไม่ อยากเป็ นอะไรเลย) เบื่ อหน่ ายท้อแท้ในชี วิต เมื่ อไม่ ได้ในสิ่ งที่
ตนเองต้อ งการ ก็ เป็ นความท้อ แท้ไ ม่ อ ยากได้อ ะไร ไม่ อ ยากมี และไม่ อ ยากเป็ น แม้แ ต่
ความเบื่อหน่ายในชีวติ อยากตาย เป็ นต้น ก็จดั เป็ นวิภวตัณหา
เมื่อไม่อยากได้ ไม่อยากมี และไม่อยากเป็ น เกิดความท้อแท้ข้ ึน จึงเป็ นทุกข์ ดังนี้
ด้วยเหตุน้ ี บางท่านเข้าหัวข้อทุกข์อย่างเดียว แต่ยงั ไม่เข้าถึงสมุทยั อันเป็ นเหตุแห่ งทุกข์
มี ตณ ั หา คื อ ความทะยานอยาก เป็ นต้น แล้วอย่างนี้ จะเข้าถึ งนิ โรธ ซึ่ งเป็ นความดับทุ ก ข์
ได้เช่ นใด แม้จะเข้าใจในมรรค 8 แต่เมื่อเข้าไม่ถึงนิ โรธ ก็ไม่สามารถเข้าใจได้อยู่ดีว่า จะเอา
ธรรมะอันไหน หัวข้อไหน เป็ นตัวดับทุกข์
30
เพราะฉะนั้น ในอริ ยสัจ 4 จาเป็ นต้องทาความเข้าใจให้ละเอียดถึงทุกข์ ว่าเกิดขึ้นเช่นใด
แล้วอะไรเป็ นเหตุ แห่ งทุ ก ข์น้ ันในสมุ ท ยั ถึ งจะรู ้ ว่าจะดับ ทุ ก ข์ด้วยนิ โรธได้เช่ นใด และจะเอา
ธรรมะข้อไหน เป็ นการดับทุกข์ ในอริ ยมรรค 8 ข้อปฏิบตั ิให้เข้าไปถึงซึ่งความดับทุกข์ ดังนี้
พระสารี บุตร เข้าใจอริ ยสัจ 4 อย่างนี้ โดยละเอียด จึงสามารถหมุนวงล้อพระธรรมจักร
ได้เหมือนกับพระพุทธเจ้า และได้ชื่อตามคุณธรรมว่า พระธรรมเสนาบดี
อริ ยสัจ 4 คือ
1. ทุกข์ คือ ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
2. สมุทยั คือ เหตุให้เกิดทุกข์
3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์
4. มรรค คือ ข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์
พระสารี บุตร หมุนวงล้อพระธรรมจักร
การแสดงธรรมจักรให้เข้าถึงใจผูค้ นนั้น พระสารี บุตรท่านแสดงไม่เหมือนกันทุกครั้งไป
หมายความว่า คนเรามี ทุ กข์และเหตุ แห่ งการเกิ ดทุ กข์ ของแต่ล ะคนไม่เหมื อนกัน ด้วยเหตุ น้ ี
พระสารี บุตร ท่านจึงใช้ญาณย้อนอดี ตดูความทุกข์ของแต่ละคน ใช้เจโตอ่านวาระจิตผูอ้ ื่น รู ้ว่า
ความทุกข์ในใจเขาเป็ นเช่นไร และอะไรเป็ นสาเหตุของทุกข์ในใจเขา
จะเลือกธรรมะหมวดไหน ข้อไหนมาแสดงให้ถูกจริ ตของเขา เพื่อเป็ นการดับความทุกข์
และธรรมะนั้น เมื่อผูฟ้ ังตริ ตรองให้เห็นจริ งและนาไปปฏิบตั ิ สามารถดับความทุกข์ในใจเขาได้
พระสารีบุตรแสดงพระธรรมจักรเช่ นนี้ จึงได้ ชื่อว่ า สามารถหมุนวงล้ อพระธรรมจักรได้
เหมือนกับพระพุทธเจ้ า
การแสดงอริ ยสัจให้เข้าถึ งจิตใจผูอ้ ื่น ไม่จาเป็ นต้องแสดงออกมาเป็ นข้อๆ แบบสาธยาย
ยาวๆ (พระอรหั น ต์ ใ นครั้ งพระพุ ท ธกาลทั้ง หลาย จึ ง มัก ใช้ ค าพู ด สั้ นๆ ให้ ไ ด้ใ จความเป็ น
ธรรมภาษิต)
ด้ว ยเหตุ น้ ี การแสดงธรรมของพระอรหั น ต์ ท้ ัง หลาย จึ ง กล่ า วไว้ไ ด้ใ จความ และ
รู ้วาระจิตของคนอื่น จึงแสดงธรรมไปตามวาระจิตนั้น
เพราะฉะนั้ น พระสารี บุ ต ร จึ ง แสดงธรรมจัก รแต่ ล ะครั้ งไม่ เหมื อ นกัน ขึ้ นอยู่ ว่ า
ความทุกข์ของผูน้ ้ นั เป็ นอย่างไร ก็แสดงธรรมออกเป็ นเรื่ องทุกข์ของคนนั้น ให้ตรงประเด็นและ
ตรงวาระจิตของผูอ้ ื่น
ท่านแสดงเกี่ยวกับสมุทยั ก็ไม่เหมือนกันทุกครั้ง ขึ้นอยูว่ า่ เขาทุกข์เรื่ องใดมา แล้วจะ
ชี้โทษแห่งทุกข์ของเขาให้เข้าใจได้ เช่นนั้น
และเลือกเอาธรรมะหมวดใดมาก็ได้ ให้ตรงกับวาระจิตของผูน้ ้ นั เป็ นการดับความทุกข์
ธรรมะบทไหนก็ได้ เมื่อเขาได้ฟังและปฏิบตั ิแล้ว สามารถพ้นไปจากความทุกข์ได้
บางครั้ง ท่านก็แสดงอริ ยสัจ 4 ออกมาสั้นๆ ได้ใจความเป็ นธรรมภาษิต ทีเดียวเลยว่า
จะทุกข์หรื อสุ ข อยูท่ ี่ใจยึดมัน่ ในทุกข์และสุ ขเอาไว้
31
อธิ บาย จะทุ กข์ หมายถึ ง ท่านเริ่ มแสดงธรรมที่ ทุ กข์ก่อน หรื อสุ ข หมายถึ ง ท่าน
แสดงธรรมในหมวดของสมุ ท ัย เป็ นการย่อ เรื่ องตัณ หาทั้งหลาย คื อ ความทะยานอยากได้
อยากมี และอยากเป็ น ลงมาในหมวดของสุ ข
อยูท่ ี่ใจยึดมัน่ ในทุกข์และสุ ขเอาไว้ หมายถึง เพราะว่าใจนี้ ยึดมัน่ ในทุกข์และสุ ข จึงเป็ น
ทุกข์ และเมื่อทุกข์เกิ ดที่ใจ ก็ตอ้ งดับที่ ใจ ส่ วนการปล่ อยวางในทุ กข์ เป็ นการเข้าถึ งธรรม ที่
ไม่มีความยึดมัน่ ในตัวตน เรา เขา เข้าสู่ อนัตตา และเป็ นมรรคปฏิบตั ิให้ธรรมะเข้าถึงใจคน
อริ ยสัจ 4 นั้น เมื่อบุคคลศึกษาถึงแก่นแท้แล้ว จะแสดงออกมาอย่างไรก็ได้ เพื่อให้ตรง
วาระจิตของผูอ้ ื่น ให้บุคคลนั้นเข้าถึงสัจธรรม
พระสารี บุตร เข้าใจอริ ยสัจ 4 ได้อย่างชัดเจนเช่นนี้ จึงสามารถหมุนวงล้อพระธรรมจักร
ได้เหมือนกับพระพุทธเจ้า
ด้วยเหตุน้ ี พระธรรมจักร พระพุทธเจ้าทรงแสดงก็ดี พระอรหันต์แสดงก็ดี มักเลือกให้
ถูกต้องและตรงวาระจิตของผูอ้ ื่น แล้วเลื อกธรรมะมาแสดงให้ผอู้ ื่นปฏิบตั ิ ตรงกับจริ ตของผูอ้ ื่ น
จึงเป็ นมรรค ธรรมะข้อปฏิบตั ิให้พน้ จากความทุกข์ ดังนี้
คนสมัยพระพุทธกาลทั้งหลาย เมื่อฟั งธรรมจากพระพุทธเจ้ าและพระอรหันต์ ท้ ังหลาย
แล้ ว ถึงบรรลุธรรม (เพราะท่ านสอนถูกต้ องและตรงกับจริตของคน) ด้ วยประการฉะนี้
แต่ทุกวันนี้ คนเราไม่เข้าใจอริ ยสัจ 4 ให้กระจ่างหรื อเข้าถึงแก่นแท้แห่ งสัจธรรม จึงเห็น
ว่า ต้องแสดงออกมาเป็ นข้อๆ และชี้ แจงเรื่ องทุกข์ ไม่ตรงวาระจิตของบุคคลผูน้ ้ นั และจะเอา
ธรรมบทไหนมาแสดงให้ถูกต้อง จึงแสดงมรรคไว้มากมาย แต่ไม่ถูกจริ ตคน เขาก็ไม่เข้าใจหรื อ
ถึงแก่นแท้ของพระธรรมอยูด่ ี
การแสดงธรรมจักร ที่ ไม่เข้าถึ งใจของผูค้ น หรื อแสดงธรรมไป คนนั้นก็ไม่ส ามารถ
นาธรรมะไปปฏิบตั ิเพื่อออกจากทุกข์ได้
เพราะสมัยปั จจุบนั การแสดงธรรมจักร ไม่เหมือนครั้งพระพุทธกาล ที่พระพุทธเจ้าทรง
แสดง และพระอรหันต์สาวกทั้งหลายแสดงไว้
ด้วยเหตุ ผ ล ที่ ท่ านไม่ รู้วาระจิ ตผูอ้ ื่ น การที่ เราไม่ รู้วาระจิ ตผูอ้ ื่ น หรื อเราไม่ ส ามารถ
ย้อนอดีตรู้ความทุกข์และสาเหตุของทุกข์ได้ แม้ท่านไม่มีญาณดังกล่าวนี้ แต่สามารถใช้ปัญญารู ้
อุปนิสัยของเขา และสามารถถามความทุกข์ในใจเขาและสาเหตุแห่ งการเกิดทุกข์ แต่ไม่ปรากฏว่า
มีใครทากัน ธรรมะที่แสดงจึงไม่ได้เข้าถึงจิตใจของผูฟ้ ั ง คนนั้นเมื่อฟั งแล้ว ก็ไม่สามารถนาไป
ประพฤติปฏิบตั ิได้
เรี ยกว่า แสดงธรรมไม่รู้จกั ทุกข์และสาเหตุแห่ งทุกข์ของเขา แล้วไม่ยอมถามความทุกข์
ของเขา จึงได้แสดงธรรมอริ ยสัจ ไปเป็ นหัวข้อต่างๆ แต่ธรรมะก็ไม่สามารถเข้าถึงใจของเขาได้
เป็ นการแสดงธรรมเรื่ องทุกข์ ไม่ถูกจุด และสาเหตุแห่งความทุกข์ของเขา
เมื่ อแสดงธรรมไม่รู้ทุกข์และสาเหตุ แห่ งทุ กข์แล้ว การแสดงนิ โรธความดับ ทุ กข์ และ
มรรคข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ท่านจึงแสดงออกมาเป็ นข้อต่างๆ ที่ตนเองถนัด
ธรรมจักรหรื ออริ ยสัจ จึงไม่ได้เข้าอยูใ่ นใจของผูค้ น คนนั้นที่ท่านแสดง
32
สรุ ปการแสดงธรรมจักรให้เข้าถึงใจของผูค้ น มีหลักการแสดงธรรม ดังต่อไปนี้ คือ
1. ใช้ญาณย้อนอดีตดูความทุกข์และสาเหตุแห่ งการเกิดทุกข์ หรื อใช้เจโตตรวจดูวาระจิตของ
ผูอ้ ื่นว่า ทุกข์ของเขาและสาเหตุแห่งการเกิดทุกข์ของเขาเป็ นเช่นใด
2. เมื่อท่านไม่มีญาณย้อนอดีตหรื อเจโต ก็สามารถถามความทุกข์และสาเหตุการเกิดทุกข์ของ
เขาได้
3. เลือกธรรมะที่ถูกจริ ต เป็ นการแสดงธรรมและเลือกหัวข้อให้เขาสามารถนาไปประพฤติ
ปฏิบตั ิได้ เป็ นการแสดงธรรม เพื่อให้เขาเข้าถึงนิโรธเป็ นการดับทุกข์ และเลือกธรรมที่
จะนาไปปฏิบตั ิเป็ นการแสดงธรรม เรื่ องมรรค ข้อปฏิ บตั ิให้ถูกจริ ตและเขาสามารถนา
ประพฤติปฏิบตั ิได้ จึงเป็ นมรรค ธรรมะข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ดังนี้
การแสดงพระธรรมจักร เช่นนี้ เรี ยกว่า หมุนวงล้อพระธรรมจักร เพราะเป็ นการแสดง
ความทุกข์ของเขาได้ตรง และสาเหตุแห่งทุกข์ของเขาได้ถูกต้อง
จึงเลือกธรรมะหัวปฏิบตั ิต่างๆ ให้เข้าถึงจิตของผูอ้ ื่นเป็ นการดับทุกข์ และธรรมะที่แสดง
ออกไปเป็ นหัวข้อปฏิบตั ิให้ถึงความดับทุกข์ ดังนี้

ทุกข์ เกิดขึน้ ที่ใด ให้ แก้ ที่ตรงนั้น


ธรรมใดเกิดแต่ เหตุ ธรรมนั้นย่ อมดับได้ ด้วยเหตุ
33
วิชาเข้ าฌานแบบพิสดาร (สมาธิเบือ้ งต้ นพืน้ ฐานอภิญญา)
การเข้าสมาธิ ฌานที่ถูกต้อง ทากายให้วา่ งเปล่า ทาใจปล่อยวางสบายๆ ไม่คิดถึงสิ่ งที่เป็ น
อดี ตล่วงไปแล้ว และไม่คิดถึ งผลของสมาธิ ที่ยงั มาไม่ถึงในอนาคต จะทาให้จิตฟุ้ งซ่ านไม่สงบ
กาหนดจิตให้มีสมาธิ อยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั
ใช้สติดูจิตตัวเองตลอดเวลา ไม่ให้ฟุ้งซ่าน
ภาวนาว่ า พุ ท โธ ยุ บ หนอ พองหนอ สั ม มาอะระหั ง จะภาวนาแบบไหนก็ ไ ด้
ให้จิตสงบ
การท าสมาธิ ไม่ควรยึดมัน่ ถื อมัน่ ในอารมณ์ แห่ งฌานทั้งปวง คื อ ยึดปี ติ หรื อสุ ขมาก
จนเกิ น ไป ไม่ รู้ จ ัก ปล่ อ ยวาง เป็ นอารมณ์ แ ห่ ง อุ เบกขาฌาน เพราะจิ ต ได้ยึ ด ติ ด ปี ติ สุ ข
เสี ยแล้ว สมาธิ จิตก็ไม่กา้ วหน้าพัฒนาไปได้
การทาสมาธิ ให้จิตนิ่ งและแน่ วแน่ ทาสมาธิ แบบสบายๆ ปล่อยวางจิต ไม่ยึดติดในเรื่ อง
อดีต อนาคต ดารงสติอยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั รวมทั้งไม่คิดถึงว่าเราจะได้ ฌาน 1 2 3 4 จะทาให้
จิตฟุ้ งซ่ าน เพราะอยากได้ฌานมากจนเกิ นไป ทาใจให้สงบ ไม่ยึดติ ดในเรื่ องฌานและอารมณ์
แห่งฌาน คือ ฌาน 1 2 3 4 ทาใจให้สงบ ไม่สนใจว่าตัวเองจะได้ฌานอะไร
เข้านิ่งๆ สงบ เย็นๆ ในอารมณ์สมาธิ นิ่ง สงบ เย็น สว่าง เป็ นอุเบกขาสมาธิ

ช่ วงหัวเลีย้ วหัวต่ อของฌาน


ฌานระหว่างปี ติและสุ ข จิตกาลังเปลี่ยนจากปี ติเป็ นสุ ข ฌาน 2 เป็ น ฌาน 3 (อันตราย
ที่ตอ้ งระวัง เพราะเป็ นจุดเปลี่ยนฌาน) เป็ นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของอานาจฌานสมาธิ
ผูเ้ ขียนจึงบอกว่า ช่ วงหัวเลี้ ยวหัวต่อฌานเป็ นจุดอันตรายเพราะจิตไปยึดในปี ติ อานุ ภาพ
ปี ติของสมาธิ จิต บางคนอยูใ่ นปี ติสมาธิ นัง่ ยิม้ ในอารมณ์ ฌานได้ท้ งั วัน บางคนปี ติแล้วเกิดน้ าหู
น้ าตาไหล จึงบอกว่าปี ติในฌานนั้นดี อยู่ แต่ถ้าปี ติมากเกิ นไป สติก็หลุ ดได้ เพราะสติ ไม่ยอม
ตามดูจิต ปี ติจึงออกมามากเกินไป เหนือการควบคุม สติจึงหลุดได้
ด้วยเหตุน้ ี การทาสมาธิ ไม่ควรยึดติ ดอยู่กบั อดี ต และไม่ควรนึ กถึ งอนาคตที่ยงั มาไม่ถึง
ทาให้ขาดสติ ใจฟุ้ งซ่ านไม่เป็ นสมาธิ การติดปี ติและสุ ขในสมาธิ น้ นั แก้ได้ดว้ ยการกาหนดสติ
แล้วปล่อยวาง ใจก็จะสงบ ไม่ยดึ มัน่ ในอารมณ์ใดๆ

การทาสมาธิ ท่ านต้ องนิ่ง จิตก็สงบเป็ นสมาธิ


สติกจ็ ะอยู่กบั ตัวตลอดเวลา ดังนี้
34
การฝึ กสมาธิ บางครั้ง ถึ งมักจะมีครู บาอาจารย์ คอยควบคุ มดูแลเรื่ องอารมณ์ กรรมฐาน
แต่ถา้ ไม่มีหรื อเก่งกล้าสามารถฝึ กคนเดียว ก็ตอ้ งรู ้จกั ดูแลตัวเอง เรี ยกว่า รักตัวเองต้องดูแลตัวเอง
รักจะฝึ กสมาธิตอ้ งใช้สติดูจิต
วิธีเรียกสติกลับคืนมาเวลาสติหลุด
ส่ ว นมากมัก ท ายาก เพราะปล่ อ ยให้ ใ จเป็ นใหญ่ (สติ จึ ง มัก หลุ ด ) แต่ ก็ ไ ม่ ย ากเกิ น
ความสามารถที่จะเรี ยกสติกลับคืนมา
1. พยายามฝึ กเดินจงกรมบ่อยๆ การเดินจงกรม เป็ นการฝึ กสติ
2. ก าหนดสมาธิ ม หาสติ ปั ฏ ฐานตลอดเวลา หรื อ ถ้าท ายากเกิ น ไป ให้ ก าหนดสติ ดู จิ ต
ตลอดเวลาง่ายๆ
3. การที่ ส ติ ห ลุ ด (ในกรณี ที่ ธ าตุ ไ ฟก าเริ บ) อาบน้ า ราดน้ า ก็ ห าย เรี ยกสติ ก ลั บ
ลดอุณหภูมิธาตุไฟลง
อภิญญาเบือ้ งต้ นทีค่ วรฝึ กให้ สาเร็จ
หัวใจอภิญญา
1. ฌาน 4
2. กสิ ณ 10 หรื อมโนภาพ
3. อิทธิบาท 4 อธิ ษฐานธรรม อานาจกาลังบุญบารมี
4. จิตปราศจากกิเลส นิวรณ์ธรรม
อภิญญา 6
1. อิทธิวธิ ิ แสดงฤทธิ์ ได้
2. ทิพพโสต มีหูทิพย์ (สามารถฟังเสี ยงในที่ไกลหรื อเสี ยงคนละมิติฟัง
เสี ยงเทวดาและสัมภเวสี ได้ยนิ )
3. เจโตปริ ยญาณ รู ้จกั กาหนดใจผูอ้ ื่น (อ่านใจของคน เทวดา และสัตว์ได้)
4. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ ระลึกชาติได้
5. ทิพพจักขุ มีตาทิพย์
6. อาสวักขยญาณ ทาอาสวะกิเลสให้สิ้นไป (ญาณหยัง่ รู ้ในธรรมเป็ นที่สิ้นไป
แห่งอาสวะทั้งหลาย)
35
อานุภาพอภิญญาฤทธิ์ กสิ ณ 10
1. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณดิน สามารถเดินบนน้ าได้ เป็ นต้น
2. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณน้ า สามารถเรี ยกฝนได้ เป็ นต้น
3. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณไฟ สามารถทาอากาศที่หนาวให้อบอุ่นได้ เป็ นต้น
4. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณลม สามารถเรี ยกพายุลมได้ เป็ นต้น
5. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณสี เขียว สามารถเปลี่ยนทุกอย่างให้เป็ นสี เขียว
6. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณสี เหลือง สามารถเปลี่ยนทุกอย่างให้เป็ นสี เหลือง
7. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณสี แดง สามารถเปลี่ยนทุกอย่างให้เป็ นสี แดง
8. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณสี ขาว สามารถเปลี่ยนทุกอย่างให้เป็ นสี ขาว
9. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณแสงสว่าง สามารถทาให้เกิดแสงสว่างได้ เป็ นต้น
10. ผูใ้ ดสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณอากาศ สามารถเดินทะลุสิ่งกีดขวางได้ เป็ นต้น

อานุภาพอภิญญาฤทธิ์ แห่ งมโนภาพ


กสิ ณนั้นกาจัดวัตถุมีอารมณ์แห่งการฝึ กฝนอบรมสมาธิ จิต 10 อย่าง ดังได้กล่าวมาข้างต้น
ส่ วนอานุ ภาพของมโนภาพนั้นมีอยูม่ ากมายไม่ได้จากัดวัตถุ พลังอานุ ภาพแห่งมโนภาพ คือ พลัง
จินตนาการ หมายถึง ภาพนึ กภาพคิดทางใจที่ไม่ฟุ้งซ่าน มีสติควบคุมอารมณ์ของสมาธิ จึงเกิดเป็ น
พลัง จิ น ตนาการแห่ ง มโนภาพนั้ นเอง ตัว อย่ า งเช่ น พลัง มโนภาพแห่ ง พลัง ช้ า งสาร พลัง
มโนภาพเคลื่อนไหวชัว่ พริ บตา เป็ นต้น ผูเ้ ขียนจะได้กล่าวสอนในบทต่อไป

อภิญญาต่ างๆทีค่ วรทราบ


หูทพิ ย์
วิธีการใช้หูทิพย์ กาหนดสติ ออกจากหู ตวั เอง กาหนดเสี ยงไกลใกล้โดยไม่มี ประมาณ
กาหนดได้แม้กระทัง่ เสี ยงทิพย์คนละมิติ เสี ยงจากสิ่ งลี้ลบั ที่คนธรรมดาฟังไม่ได้ยนิ
แต่เรากาหนดฟังด้วยหูทิพย์ ฟังได้แม้กระทัง่ เสี ยงเทวดาคนละมิติ
แม้กระทัง่ (อ่านจิตคนทะลุ) ก็กาหนดฟังได้จากหู ทิพย์ ฟังเสี ยงจากจิตใจผูอ้ ื่น ว่าคนอื่น
เขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ สติกาหนดสมาธิ ใช้หูทิพย์ไปกาหนดฟังจิตผูอ้ ื่น เขาคนนั้นคิดอะไรอยูใ่ นใจ
ได้ดว้ ยหูทิพย์ ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่นว่าเขากาลังคิดอะไรอยูใ่ นใจ รู ้ได้ดว้ ยหูทิพย์
ระลึกชาติได้
กาหนดสมาธิ เข้าฌานระดับอุปจารสมาธิ แล้วนึ กย้อนเหตุการณ์ในอดีตกลับคืน ไม่ว่า
จะเป็ น 1 ชาติ 2 ชาติ 3 ชาติ 10 ชาติ จะมากกี่ชาติก็สามารถกาหนดดูได้ ด้วยอภิญญาภาพ
เหตุ ก ารณ์ ใ นอดี ต จะย้อ นกลับ คื น มา และปรากฏอยู่ ใ นนิ มิ ต ของสมาธิ เป็ นภาพเหตุ ก ารณ์
ในอดีตชาติ
36
อ่ านใจผู้อนื่
การอ่านใจผูอ้ ื่น แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
1. รู้ได้ดว้ ยอานาจของเจโต
2. รู้ได้ดว้ ยอานาจของหูทิพย์ (ฟังเสี ยงจิตใจผูอ้ ื่นด้วยหู ทิพย์)
3. รู้ได้ดว้ ยอานาจของตาทิพย์ (เห็นภาพของจิตใจผูอ้ ื่นด้วยตาทิพย์)
วิธีอ่านใจผู้อนื่
1. ใช้อานาจแห่งเจโต
พึงกาหนดสมาธิ เพ่งดูวาระจิตผูอ้ ื่น เข้าสมาธิ ระดับอุปจารสมาธิ ก็สามารถกาหนดรู ้ ได้
เพียงเรากาหนดวาระจิตเพ่งดูผอู ้ ื่น ก็จะอ่านใจคนออก
2. รู้ได้ดว้ ยอานาจแห่งหูทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการฟั งออกจากหู ตวั เอง กาหนดหู ทิพย์ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่น
ว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ
3. รู ้ได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ ใช้ตาทิพย์ดูวาระจิตผูอ้ ื่นว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ จะเห็ นเป็ นภาพว่าเขา
กาลังนึกอะไรอยูใ่ นใจ อ่านใจคนสาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
ตาทิพย์
วิธีการฝึ กตาทิพย์ เหตุให้เกิดตาทิพย์มีกสิ ณเป็ นเครื่ องนาจิตให้เกิ ดตาทิพย์ ด้วยกสิ ณ 3
อย่าง คือ
1. กสิ ณสี ขาว
2. กสิ ณไฟ
3. กสิ ณแสงสว่าง
ผูจ้ ะฝึ กตาทิ พย์ พึงฝึ กกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งให้เหมาะสมกับจริ ตของตัวเอง จนสาเร็ จกสิ ณ
เป็ นอานาจฌาน
วิธีการใช้ตาทิพย์
พึงเข้าสมาธิ ด้วยกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งที่ ตวั เองฝึ กมาเป็ นอานาจฌาน แล้วกาหนดจิ ตดูภาพ
เหตุการณ์ ใกล้ไกลไม่มีกาหนดประมาณได้ ภาพคนละมิติหรื อแม้แต่ภาพในใจเวลาคนอื่นเขาคิด
อะไรอยูใ่ นใจ ก็สาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
อาสวักขยญาณ (คือทาอาสวะให้ สิ้น)
หมายถึง ได้ฌานแล้วมาต่อญาณ เป็ นการหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งเจโตวิมุตติ
จิตถอนความยึดมัน่ ถือมัน่ จากกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง
จิตเข้าถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ถอนความยึดมัน่ ทั้งปวง
37
ญาณหยัง่ รู้ เหตุการณ์ ในอนาคต
พึ งก าหนดสมาธิ จิตให้ ส งบนิ่ ง จะเข้าสมาธิ ระดับ อุ ป จารสมาธิ ห รื ออัป ปนาสมาธิ ก็ ไ ด้
แล้วพึงทาจิตกาหนดรู ้ ตวั เอง วัด สถานที่สาคัญ หรื อบุคคลอื่น ว่าจะมี เหตุ การณ์ อะไรเกิ ดขึ้ น
ในอนาคต
ภาพเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคต ก็จะมาปรากฏอยูใ่ นภวังคจิต
หมายเหตุ การฝึ กสมาธิ จะฝึ กจากไหนก่ อนก็ได้ ตามวาสนาบารมี จริ ตของตัวเอง แต่
ควรเริ่ ม ที ละอย่าง ให้เชี่ ยวชาญที ละเรื่ อง แล้วรวมสมาธิ หลายอย่างให้กลายเป็ นหนึ่ งเดี ยวกัน
ไม่ใช่เริ่ มทีละหลายอย่าง เรี ยกว่าได้หน้าลืมหลัง

ข้ อควรทราบ
ถ้าผูอ้ ่านชานาญเรื่ องญาณ ก็ จะเป็ นเหมื อนพระสารี บุ ตร ปั ญญาไว ถ้าผูอ้ ่ านช านาญ
เรื่ องฌาน ก็จะเป็ นเหมือนพระโมคคัลลานะ คือ สงบนิ่ง
จะเก่งฌานหรื อญาณ อยูท่ ี่บารมีของผูอ้ ่านและผูอ้ ่านเลือกฝึ กเอาเอง สาธุ

ฌานเป็ นอจินไตย จะเกิดมีได้


สาหรับผู้สาเร็จสมาธิเท่ านั้น
38
วิชาการเข้ าญาณทีถ่ ูกวิธี (โดยไม่ ให้ พลังฌานลดลง)
ญาณ คือ วิปัสสนา ส่ วนฌาน คือ สมถะ หลายคนยังไม่เข้าใจเรื่ องการเข้าออกระหว่าง
ฌานกับญาณ เวลาออกจากฌานแล้วมาเปลี่ยนเข้าญาณแห่ งวิปัสสนาพิจารณาธรรมะ พลังฌานจึง
ลดลง แสดงว่ายังเข้าออกไม่เป็ น เข้าออกผิดวิธี จึงจาเป็ นต้องศึกษาการเข้าออกระหว่างฌานและ
ญาณ เพื่อตัวเองจะได้มีท้ งั พลังฌานและพลังญาณ
ข้ อควรทราบ
ฌาน คือ สมถะ เป็ นการทาจิตให้แน่ วแน่ เป็ นหนึ่ งเดี ยว ไม่คิดฟุ้ งซ่ านไปตามอารมณ์
ต่างๆ หัวใจสมถะ คือ เมื่อจิตสงบจะมีสติควบคุมดูแลจิต ไม่ให้จิตฟุ้ งซ่ านไปในอารมณ์ ต่างๆ
จิตเป็ นหนึ่งเดียวและนิ่งสงบเป็ นอุเบกขาสมาธิ (เรี ยกว่า ฌาน ที่มีสติคอยดูแลจิต)
ญาณ คือ วิปัสสนา เป็ นการฝึ กสติสมาธิ จิตอบรมให้เกิดปั ญญา ให้สติพิจารณาธรรมะ
ต่ า งๆ เกิ ด ความรู ้ ข้ ึ น เรี ย กว่า ปั ญ ญา หัว ใจของวิปั ส สนา คื อ ก าหนดสติ ค วบคุ ม จิ ต ให้
พิ จารณาธรรมะให้ เกิ ด ความรู ้ แจ้ง แห่ ง ธรรมทั้ง ปวง แล้วเกิ ด ปั ญ ญารอบรู ้ ในธรรมะทั้ง หลาย
(เรี ยกว่า ญาณ จึงมีท้ งั สติ สมาธิ ปั ญญา)
เรื่องน่ ารู้ การเข้ าออกฌานกับญาณ
การเข้ าออกที่ผิดวิธี โดยส่ วนมากแล้วนักปฏิบตั ิกรรมฐานที่ฝึกสมถะแล้วจะเข้าวิปัสสนา
ก็มกั จะออกจากสมถะเลยแล้วเปลี่ยนมาเป็ นวิปัสสนา เรี ยกว่าทิ้งสมถะฌาน แล้วเปลี่ยนมาเป็ น
ญาณวิปัสสนา เป็ นการเข้าออกระหว่างสมถะและวิปัสสนาที่ ผิดวิธี กล่ าวได้ว่าใช้สติ พิจารณา
ธรรมะ วิปัสสนาขาดจิตที่สงบฟุ้ งซ่ านไปตามหัวข้อธรรมะต่างๆ พลังฌานจึงลดลงและญาณก็ไม่
บริ สุทธิ์ ด้วยเพราะขาดจิตที่สงบนั้นเอง เรี ยกว่า วิจารณ์ธรรมมากรู ้มาก แต่รู้ไม่จริ งไม่ถ่องแท้และ
เข้าถึงสัจธรรม
การเข้ าออกฌานกับ ญาณที่ถูกต้ อง เมื่ อฌานนั้นสงบนิ่ งไม่ฟุ้ งซ่ านไปตามอารมณ์ ต่างๆ
การออกจากสมถะจากความนิ่ งเท่านั้นพอ เหลือไว้แต่ความสงบไม่ฟุ้งซ่ าน ขั้นวิจาร ขณิ กสมาธิ
คือ หัวใจของวิปัสสนา เพราะเราจะเอาความสงบของสมถะมาต่อเป็ นวิปัสสนา เมื่อจิตสงบนิ่ ง
แต่ ยงั ไม่ ห มดความรู ้ สึ ก ตัวไป ยังคงมี ค วามรู ้ สึ ก ตัวความจาได้ห มายรู ้ อยู่ เอาสติ ก าหนดจิ ต ที่
นิ่ งสงบอันนั้น พิจารณาธรรมะทั้งหลายทั้งปวงให้เกิ ดเป็ นปั ญญา เรี ยกว่า วิปัสสนาสติปัฏฐาน
หรื อ ปัญญาญาณ
หมายเหตุ การเข้าญาณโดยไม่ให้พลังฌานลดลง ไม่ทิ้งสมถะ และเจริ ญวิปัสสนาด้วย
ซึ่ งต่างจากพลังญาณอย่างเดียว จะไม่เข้าสมถะก็ได้ เรี ยกว่า เจริ ญวิปัสสนาล้วน
หัวใจของการเจริญสมถะแล้วมาต่ อเป็ นวิปัสสนาทีหลัง คือ
เพียงใจบริสุทธิ์ จิตก็จะเป็ นหนึ่ง
เมื่อปล่อยวาง อานาจญาณจะบังเกิด
39
วิชารักษาอิทธิฤทธิ์ (อานาจฌาน)
สมถะ คื อ การทาใจให้สงบ เมื่ อใจหยุดนิ่ งสงบดี แล้ว เกิ ดเป็ นอานาจฌานอิทธิ ฤทธิ์
ต่างๆ การทาใจให้สงบเป็ นสมาธิ อานาจฌานนั้นก็ยากสาหรั บคนธรรมดา แต่การรักษาอานาจ
ฌานและอิทธิ ฤทธิ์ ของตัวเองเอาไว้ยงิ่ ยากกว่า
การฝึ กจิตและพลังฌานของตัวเองให้ไม่มีจุดอ่อน จะไม่มีวนั เสื่ อมสลายหายไปเพราะเพศ
ตรงข้าม เขาทากันได้อย่างไร บางครั้งครู บาอาจารย์ในอดีตยังสอนกันไม่หมด ไม่จริ งเลยที่คนเรา
มีความรักแล้วอานาจฌานจะลดลง เรามาฝึ กวิธีรักษาอานาจฌานและอภิญญาฤทธิ์ กนั ดู พลังฌาน
ที่ไม่มีจุดอ่อนเป็ นพลังฌานที่ไร้ขอบเขต ไม่วา่ จะเป็ นปุถุชนคนธรรมดาหรื อพระอริ ยบุคคล ก็มี
วิธีรักษาอานาจฌานที่ ต่างกันออกไปตามบารมี ธรรมของท่าน พระอริ ยบุ คคลไม่ตอ้ งพูดถึ งเป็ น
โลกุตตรธรรมจะไม่เสื่ อมสลายด้วยเหตุประการทั้งปวง แต่ข้ นั โลกียท์ าได้อย่างไรที่จะรักษาอานาจ
ฌานของตนไม่ ให้เสื่ อมสลายหายไปด้วยประการทั้งปวง แม้เหตุ แห่ งความรักของเพศตรงข้าม
เพราะปุ ถุชนคนธรรมดาย่อมจะมี ความรักเป็ นธรรมดา จะห้ามไม่ให้รักย่อมเป็ นไปไม่ได้เพราะ
มนุษย์มีกิเลส ไม่ใช่พระอริ ยบุคคลจะได้ไม่มีกิเลส
เริ่มต้ นรักษาอานาจฌานของตัวเอง
ก่ อ นอื่ น ต้อ งรู ้ จกั ฝึ กให้ ช านาญในการเข้า ออกฌานเป็ นวสี เสี ย ก่ อ น คื อ นึ ก ถึ งฌานจะ
เข้าฌานต้องเข้าได้ทนั ที เรี ยกว่า ชานาญในการเข้า ต่อมาให้ฝึกความชานาญในการอธิ ษฐานใช้
อภินิหารต่างๆจากสมาธิ พลิ กแพลง อภิญญาของตัวเองเป็ นการฝึ กความชานาญในการอธิ ษฐาน
และพิ จารณาไปพร้ อมกันมี ค วามฉลาดในอภิ นิหาร อยากออกจากฌานเมื่ อไรก็ ออกได้ตามใจ
ประสงค์หรื อจะคงฌานให้อยูต่ ราบนานเท่านาน เรี ยกว่า ชานาญในการออกจากฌาน
วสี คือความชานาญในสมาธิ มี 5 อย่าง
1. อาวัชชนวสี ความชานาญในการนึกถึงองค์ฌานแต่ละฌานได้
2. สมาปัชชนวสี ความชานาญในการเข้าฌาน
3. อธิษฐานวสี ความชานาญในการอธิ ษฐานให้การดารงฌานอยูน่ านแค่ไหนก็ได้
4. วุฎฐานวสี ความชานาญในการออกจากฌานได้
5. ปัจจเวกขณวสี ความชานาญในการพิจารณาองค์ฌานแต่ละองค์ได้
การรักษาอารมณ์เมื่อเกิดสภาวธรรมแห่ งจิตมากระทบ
อิ น ทรี ย ์สั ง วร คื อ การส ารวมอิ น ทรี ย ์ 6 ไม่ ใ ห้ เกิ ด ความยิ น ดี แ ละความยิ น ร้ า ยขึ้ น
ในเวลาที่ รูปมากระทบตา เสี ยงมากระทบหู กลิ่ นมากระทบจมูก รสมากระทบลิ้น ผัสสะมา
กระทบร่ างกาย และความรู ้สึกที่เกิดขึ้นกับใจ
หมายเหตุ คนเรามักยินดี ในสิ่ งที่ ใจตัวเองชอบ คือ ยินดีในของสวยงาม เมื่อรู ปภาพ
สวยมากระทบ ก็เกิดความยินดี และถ้าไม่สวยงามก็ยินร้ายขึ้น นั้นเอง เป็ นธรรมดาของปุถุชน
ย่อมชอบใจในสิ่ งที่ตวั เองปรารถนา และไม่ชอบใจในสิ่ งที่ตวั เองไม่ปรารถนา
40
การปล่ อยวางในอารมณ์ ท้ งั ปวง สุ ขและทุ กข์ ชอบและไม่ชอบ ยินดี หรื อยินร้ าย คื อ
อุเบกขาสมาธิ หรื ออุเบกขาฌาน นั้นเอง
สติตามดูจิตของตัวเองอย่ างไรจึงรักษาอานาจฌานไว้ ได้
สติปัฏฐาน 4 คือ 1. กายานุปัสสนา 2. เวทนานุปัสสนา 3. จิ ต ตานุ ปั ส ส น า
4. ธัมมานุปัสสนา
สติกาหนดพิจารณากาย เป็ นอารมณ์วา่ กายนี้ก็สักแต่วา่ กาย ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน
เรา เขา เรี ยกกายานุปัสสนา
สติกาหนดพิจารณาเวทนา คือ สุ ข ทุกข์ หรื อ อุเบกขา เป็ นอารมณ์วา่ เวทนานี้ก็สัก
แต่วา่ เวทนา ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา เรี ยกเวทนานุปัสสนา
สติ ก าหนดพิ จารณาใจที่ เศร้ าหมอง หรื อ ผ่อ งแผ้ว เป็ นอารมณ์ ว่า ใจนี้ ก็ สั ก แต่ ว่าใจ
ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา เรี ยกจิตตานุปัสสนา
สติกาหนดพิจารณาธรรมที่เป็ นกุศลหรื ออกุศล ที่เกิดขึ้นกับใจ เป็ นอารมณ์วา่ ธรรมนี้ ก็
สักแต่วา่ ธรรม ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัว ตน เรา เขา เรี ยกธัมมานุปัสสนา
สรุ ปการฝึ กสติคือ
1. กายนี้ก็สักแต่วา่ กาย รู ้แล้วปล่อยวาง เป็ นอุเบกขาฌาน
2. เวทนานี้ก็สักแต่วา่ เวทนา รู ้แล้วปล่อยวาง เป็ นอุเบกขาฌาน
3. ใจนี้ก็สักแต่วา่ ใจ รู ้แล้วปล่อยวาง เป็ นอุเบกขาฌาน
4. ธรรมนี้ก็สักแต่วา่ ธรรม รู ้แล้วปล่อยวาง เป็ นอุเบกขาฌาน
การฝึ กดังนี้ เรี ยกว่าใช้สติควบคุมอารมณ์ที่เกิดขึ้นกับใจนั้นเอง
ความฉลาดในอภินิหาร
เริ่ มต้นรักษาอานาจฌานที่การชานาญเป็ นวสี และการสารวมอินทรี ยแ์ ละสติปัฏฐาน ต่อมา
เราจะมาฝึ กกันว่าเราจะรักษาอภิญญาไว้อย่างไร ก็บอกแล้วว่าครู บาอาจารย์สอนกันไม่หมดไม่จริ ง
เลย (เราไม่ เอาแบบอย่ า งที่ ผิ ด แต่ เราเอาแบบอย่ า งที่ ถู ก ต้อ ง) การสอนตามๆกัน มาและ
ยึดแบบอย่างใช่วา่ จะถูกต้องเสมอไป หากคนเรามีความรักเพศตรงข้ามอานาจฌานจะลดลง แค่ไม่
ค่อยมีเวลาปฏิบตั ิมากขึ้น เหมือนนักบวชเพราะต้องดูแลครอบครัว แต่ถา้ เพศฆราวาสรู ้จกั แบ่งเวลา
ปฏิบตั ิสมาธิ พลังฌานก็ไม่ยงิ่ หรื อหย่อนไปกว่าเพศนักบวช
ความฉลาดในอภินิหาร สมาธิ ที่ไม่มีจุดอ่อน สามารถมีครอบครั วความรักได้ อานาจ
ฌานแบบไร้ขีดจากัด มีวธิ ีปฏิบตั ิ ดังต่อไปนี้ คือ
1. สมาธิ มนั อยูท่ ี่ใจ ถ้าใจคิดว่าทาได้ก็ทาได้ ถ้าใจคิดว่าทาไม่ได้ก็ทาไม่ได้
2. ความยินดีในเพศตรงข้าม เป็ นความกาหนัดในกาม เรี ยกว่า กามราคะ การรักไม่ตอ้ ง
ทุกข์หรื อทุกข์นอ้ ยที่สุด คือการปล่อยวางอารมณ์ ท้ งั หมด เป็ นอุเบกขาฌาน เมื่อจะรักก็
ออกจากฌาน เป็ นการรักษาฌานนั้นเอง
3. รู ้จกั เหตุแห่ งอิทธิ ฤทธิ์ เช่น รู ้ วา่ อภิญญานี้ ต้องฝึ กอย่างไรมีเหตุอนั ใดที่จะฝึ กให้สาเร็ จ
เรี ยกว่ารู ้ตน้ เหตุของอิทธิ ฤทธิ์ และสามารถรักษาอานาจฌานไว้ได้ เป็ นต้น
41
4. รู ้จกั พลิกแพลงอิทธิ ฤทธิ์ ไม่หยุดนิ่ งพัฒนาจิตตัวเองอยูต่ ลอดเวลา เรี ยกว่า มีความฉลาด
ในอภินิหาร
5. รักษาจิตของตัวเองไม่ให้หวัน่ ไหวไปตามโลกธรรม ไม่ให้ยินดีและยินร้าย สุ ขได้แต่อย่า
นาน ทุกข์ได้แต่อย่าหวัน่ ไหวให้มากเกินไป เพราะคนเราเป็ นปุถุชนย่อมต้องสุ ขและทุกข์
เป็ นธรรมดา การรักษาอารมณ์ ของตัวเองให้เป็ นปกติในเวลาเข้าฌาน จึงเป็ นอุเบกขา
สมาธิ และรักษาไว้ซ่ ึงฌานอภิญญา

เพียงใจหยุดคิด จิตก็จะเป็ นสมาธิ


42
พลังฌานรวมพลังญาณ
การจะเข้าใจทั้งพลังฌานและพลังญาณได้น้ ัน ก่ อนอื่ นต้องศึ ก ษาท าความเข้าใจทั้ง 2
อย่าง กล่าวคือ ศึกษาทั้งเรื่ องฌานและญาณ
สมาธิ 2 อย่าง
1. สมถกัมมัฎฐาน ฝึ กสมาธิ ทาใจให้สงบนิ่ง
2. วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฝึ กสมาธิ เป็ นเหตุให้เกิดปั ญญา
เมื่ อเราฝึ กสมาธิ ท้ งั สมถะและวิปัสสนา แล้วเอาสมถะมาต่อยอดเป็ นวิปัสสนา เวลาเข้า
วิปัสสนาก็ไม่ทิง้ สมถะด้วย เรี ยกว่า พลังฌานรวมพลังญาณ
หัวใจของฌาน
ฌาน คือ การทาใจให้สงบนิ่ งเป็ นอุเบกขา เป็ นการปล่อยวางสภาวะอารมณ์ จากสิ่ งที่มา
กระทบภายนอก อารมณ์ แห่ งฌานมี หลายระดับสภาวะจิ ต ผูท้ ี่ ตอ้ งการความสงบ ไม่สามารถ
นัง่ ได้ แม้แต่จะมีเสี ยงรบกวน ถ้านัง่ ที่เงียบใจถึงหยุดนิ่ งได้ เรี ยกว่าฌานชั้นต้น ส่ วนสมาธิ ของ
ผูใ้ ดไม่หวัน่ ไหวไปตามโลกธรรม เข้าสมาธิ ได้ทุกอิริยาบถ ยืน เดิ น นัง่ นอน แม้จะมีเสี ยง
รบกวนมีอารมณ์ยวั่ ยุหรื อยัว่ ยวนต่อภายนอก ก็สามารถปล่อยวางเข้าสมาธิ ได้ จึงเป็ นอุเบกขาฌาน
สรุ ปความหมายของฌาน การที่จิตไม่หวัน่ ไหวไปตามโลกธรรม คือ การเข้าฌาน
หัวใจของญาณ
ญาณ คื อ การปล่ อยวางอารมณ์ พิ จารณาธรรมะโดยมี ส ติ ค วบคุ มจิ ต เกิ ดเป็ นความ
แตกฉานในธรรมทั้งหลาย เรี ยกว่า อุเบกขาญาณ
ญาณเกิดจากใจที่บริ สุทธิ์ เป็ นสมาธิ นิ่งไม่ฟุ้งซ่านแล้วปล่อยวาง ญาณจึงมีท้ งั สมาธิ ที่เกิดใจ
ที่บริ สุทธิ์ มีสติควบคุมดูแลรักษาใจให้บริ สุทธิ์ ตลอดเวลา เมื่อมีสติดูแลจิตตลอดเวลา จึงเกิดเป็ น
อานาจญาณปั ญญานั้นเอง
สรุ ปความหมายของญาณ สติดูแลจิต เกิดปั ญญา
พลังฌานและพลังญาณรวมกัน
เมื่อศึกษาเข้าใจและปฏิบตั ิไ ด้ท้ งั สมถะและวิปัสสนา ก็จะสามารถรวมทั้งพลังฌานและ
พลังญาณสองอย่างเข้าด้วยกันได้ หลักการรวมทั้งพลังฌานและพลังญาณ ทาได้ดงั นี้ คือ
กาหนดสติ ให้ นิ่งเป็ นสมาธิ ป ล่ อยวางในอารมณ์ ท้ งั ปวง มี ส ติ ดูแลจิ ตตลอดเวลา แล้ว
พิจารณาธรรมะทั้งหลาย เกิดเป็ นญาณปั ญญา
เรี ยกว่า เข้าทั้งสมถะและวิปัสสนาควบคู่กนั ไปทั้งสองอย่าง
การรวมพลังฌานและพลังญาณทั้งสองอย่างรวมกันเป็ นหนึ่ งเดี ยวกันนี้ ผูเ้ ขียนยังเห็ นว่า
ไม่มีผใู ้ ดสอนหรื อเขียน จากประสบการณ์ สอนสมาธิ ให้ผอู ้ ื่น บางคนเข้าฌานก็ยึดติดในอภิญญา
แล้วไม่รู้จกั ปล่อยวาง พอจะมาเข้าญาณเพื่อเจริ ญวิปัสสนาก็ทิ้งฌานมาเข้าญาณ ก็ทาให้พลังฌาน
ของตัวเองลดลง เรี ยกว่า เข้าญาณไม่ถูกวิธี พลังญาณก็จะไม่ก้าวหน้าและก็กลัวอภิ ญญาของ
43
ตัวเองจะลดลงก็เลยยึดติดในฌานไม่พฒั นาจิตตัวเองให้สูงยิง่ ขึ้นไป ส่ วนมากนักปฏิบตั ิที่ไม่มีครู บา
อาจารย์แนะนาก็มกั จะติดในอภิญญาอยูม่ าก
การเป็ นครู บาอาจารย์ก็มกั จะแนะนาประโยชน์ให้แก่บรรดาลูกศิษย์หรื อผูอ้ ื่ น เรี ยกว่ามี
มุทิตาจิต อยากเห็นให้ผอู ้ ื่นได้ดี นี้ คือข้อปฏิบตั ิของอาจารย์ที่ดี แต่ลูกศิษย์มกั มองไม่เห็นในการ
ที่อาจารย์แนะนาประโยชน์ให้ อาจารย์สอนกรรมฐานทั้งหลายปล่อยวางแล้ว ด้วยประการทั้งปวง
ใครเห็นก็ดีไม่เห็นก็ชงั่ เราปิ ดทองหลังพระ เพื่อความสมบูรณ์ขององค์พระปฏิมา
การที่ผเู ้ ขียนเอาวิชาฌานรวมญาณมาถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่น เพราะต้องการให้สมาธิ ของผูป้ ฏิบตั ิ
ก้าวหน้าและพัฒนาจิตสู งยิ่งๆขึ้นไป มีท้ งั พลังฌานและพลังญาณ หมายความว่า เมื่อจะเข้าญาณ
ก็ เข้า ได้ถู ก วิ ธี โดยที่ ไ ม่ ทิ้ ง ฌาน วิ ปั ส สนากรรมฐานก็ ก้า วหน้ า มี พ ลัง ญาณความรู ้ ที่ สู ง ขึ้ น ไป
รวมทั้งพลังฌานของตัวเองก็ไม่ลดลง นี้คือ การเข้าทั้งญาณและฌานที่ถูกวิธี ซึ่ งหาคนรู ้และนามา
ถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นยากมาก ส่ วนมากนักปฏิบตั ิจะเลือกฝึ กญาณหรื อฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง ถ้าอยาก
เรี ยนและปฏิ บตั ิให้ได้ท้ งั สองอย่าง ก็ตอ้ งมีบารมีถึงได้เจอกับครู บาอาจารย์ที่มีความรู ้ถ่ายทอดให้
ทั้งศาสตร์ และศิลป์ แห่งการปฏิบตั ิสมาธิ
ผูเ้ ขียนได้มีบารมีทางธรรมจึงได้พบเจอกับครู บาอาจารย์ ท่านเมตตาสอนสมาธิ ให้ท้ งั พลัง
ฌานและพลังญาณ ขอนอบน้อมแด่พระคุณครู บาอาจารย์ที่สอนสมาธิ ถ้าไม่มีอาจารย์ในวันนั้นก็
ไม่มีลูกศิษย์ในวันนี้ เปรี ยบเสมือนอุปติสสะ (พระสารี บุตรได้พบพระอัสสชิ ) และพระอัสสชิ ก็
คืออาจารย์ของพระสารี บุตร และนาท่านให้สู่ทางของพระอรหันต์
ขอขมากรรมต่ออาจารย์ ถ้าหากข้าพเจ้านั้นเอาวิชาที่อาจารย์สอนแค่อย่างเดียว แต่ขา้ พเจ้า
กลับพัฒนาความรู ้ที่อาจารย์สอนไปถึงสิ บอย่าง ความจริ งแล้วไม่ได้เก่งเกินอาจารย์ แต่น้ ีคือ วิชา
และบารมีเก่าของผูเ้ ขียนที่สร้ างมาดีแล้วในทางธรรม ทั้งร้อยภพพันชาติ ขอนาเอาวิชาที่อาจารย์
สอนให้ และวิชาเก่าของตัวเองในอดีตชาติรวมทั้งปั จจุบนั ชาติเป็ นประสบการณ์ ฝึกสมาธิ นามา
รวบรวมเป็ นความรู ้ถ่ายทอดให้ผอู ้ ื่นได้อ่าน เมื่อพระอาจารย์ของกระผม หากท่านมีโอกาสได้เห็น
ผลงานที่ขา้ พเจ้าเขียนนี้ อาจารย์อาจสงสัยว่าบางสิ่ งถ่ายทอดให้อย่างเดียว แต่ผเู ้ ขียนเขียนมาเป็ น
สิ บได้อย่างไร เมื่อหลวงพ่อได้อ่านถึ งตอนนี้ ก็คงหายสงสัย ความจริ งแล้วเป็ นของเก่าของผมเอง
ครับหลวงพ่อ ก็เหมือนที่หลวงพ่อสอนให้ผมท่องสติปัฏฐาน ธาตุกมั มัฏฐาน ผมท่องได้ภายใน
วันเดียว พระงงกันทั้งวัด หลวงพ่อสอนให้ท่องธรรมะสมาธิ บทไหน ผมท่องได้หมดภายในเวลา
อันรวดเร็ ว หลวงพ่อก็ยงั บอกผมว่านี้คือของเก่า
นี้คือสิ่ งที่ผมอยากจะบอกกับหลวงพ่อครับ ว่าสอนผมหนึ่งอย่าง ผมได้พฒั นาความรู ้ของ
หลวงพ่อเป็ นสิ บอย่าง จนมาเป็ นความรู ้ วิชาสมาธิ นี้ คือของเก่าผมเอง บารมี ทางธรรมร้อยภพ
พันชาติ แต่ถึงอย่างไรก็ดี ถ้าไม่มีหลวงพ่อในวันนั้นก็ไม่มีลูกศิษย์ในวันนี้ เหมือนพระสารี บุตร
จะขาดอาจารย์ที่ดีอย่างพระอัสสชิ ไปไม่ได้ เวลาผมแต่งหนังสื อทุกอย่างต้องนอบน้อมแด่อาจารย์
ของตัวเองก่อนสิ่ งอื่นใด ถึงจะเขียนวิชาอื่นได้ เปรี ยบเหมือนพระสารี บุตรเวลาพระอัสสชิ นอน
หันศีรษะไปทางใด พระสารี บุตรต้องหันหัวนอนไปตามอาจารย์ อุปมาอุ ปไมยฉันใดก็ฉันนั้น
นี้คือการบูชาพระคุณครู บาอาจารย์ ครับหลวงพ่อ (จากลูกศิษย์ที่ดี)
44
หลักการรวมทั้งพลังฌานและญาณเข้ าด้ วยกัน
ฌาน คือ ความสงบใจและอภิญญาฤทธิ์ ต่างๆ ส่ วนญาณ คือ ความรอบรู้ในสัจธรรม
เกิ ดเป็ นปั ญญา เมื่อเอาทั้งสองอย่างมารวมกัน เกิ ดเป็ นความฉลาดในอภินิหาร มีหลักการรวม
พลังทั้งสองอย่าง ดังนี้ คือ
1. ทากายให้ปล่อยวาง ทาใจให้สงบนิ่ง ไม่คิดฟุ้ งซ่าน มีสติอยูต่ ลอดเวลา
2. เอาสติไปรวมกับใจที่สงบนิ่งเป็ นหนึ่งเดียว ไม่ฟุ้งซ่านไปตามอารมณ์ต่างๆ
3. เมื่อสติมารวมกับจิตใจที่สงบนิ่งดีแล้ว เอาความรู ้หรื อธรรมะต่างๆหรื อหัวข้อกรรมฐานมา
พิจารณาให้เกิดปั ญญา นี้คือ การเข้าทั้งฌานและญาณไปพร้อมๆกัน
การเข้าญาณไม่ทิ้งฌานนี้ เป็ นหลักการเข้าญาณที่ถูกต้อง เมื่อสติมีจิตสงบ ก็จะพิจารณา
ธรรมะได้ไม่ฟุ้งซ่ าน เมื่ อจิ ตไม่สงบจะพิจารณาธรรมะให้แตกฉานและรู ้ จริ งได้อย่างไร ก็มีแต่
ฟุ้ งซ่านไปตามธรรมะเท่านั้น คือ รู ้มากแต่รู้ไม่จริ ง ไม่ลึกซึ้ งในรสของพระธรรมในเวลาเข้าสมาธิ
แห่ งวิปั สสนาเพราะได้ฟุ้ งซ่ านไปตามกิ เลส เหตุ ผลคื อจิ ตไม่ สงบจึงขาดสติ พิ จารณาธรรมะให้
แตกฉานเกิดเป็ นความรู ้แจ้งในพระสัจธรรม
เมื่ อ จิ ต สงบก็ มี ส ติ พิ จารณาธรรมะเกิ ด เป็ นความรู ้ แจ้ง แตกฉานในรสพระธรรม นี้ คื อ
หลักการเข้าทั้งฌานและญาณไปพร้อมกัน ด้วยประการฉะนี้

เมื่อรวมทั้งฌานและญาณ จึงเป็ นความฉลาดในอภินิหาร ดังนี้


45
วิชาปัญญาญาณ
วิชาปั ญญาญาณ เป็ นของสาวกผูม้ ีบารมี และสร้างบารมีมาเพื่อที่จะมีปัญญาญาณเท่านั้น
ผูป้ ฏิบตั ิท้ งั หลายต้องเข้าถึงเอง
คนเราแสร้งโง่ ดีกว่าอวดฉลาด คนอื่นเขาทดสอบสติปัญญา ไม่จาเป็ นต้องแสดงปัญญา
ที่แท้จริ งออกมา เรามีปัญญาแล้วสงบนิ่ งอยูภ่ ายใน ดีกว่าอวดรู ้แสดงว่าตัวเองเก่งให้ชาวบ้านเห็ น
เรี ยกว่า แกล้งโง่ดีกว่าอวดฉลาด ไม่มีเหตุไม่แสดงปั ญญาญาณ ถ้ามีเหตุการณ์บงั คับจึงใช้ปัญญา
ญาณ แต่ก่อนใช้ปัญญาญาณ จึงควรพิจารณาให้ดีก่อนใช้ (ไม่ใช่นึกจะใช้ก็ใช้ หรื อสักแต่วา่ ใช้)
ก่อนจะใช้ปัญญาญาณ พึงระลึกไว้เสมอว่า อย่าเอาความทุกข์ของผูอ้ ื่นมาเป็ นความทุกข์
ของตัวเอง สรรพสัตว์ในโลกเกิ ดมาล้วนมี กรรมเป็ นของตัวเอง กรรมย่อมจาแนกสัตว์ให้ดีชั่ว
สู งต่า มัง่ มีหรื อยากจน
วิชาปัญญาญาณ
วิชาปัญญาญาณ คือ การเข้าสมาธิ โดยใช้หลักการของวิปัสสนากรรมฐาน ดังต่อไปนี้
1. ฐานสติอยูก่ ลางศีรษะ
2. ฐานปั ญญาอยูด่ า้ นขวาตรงข้ามของหัวใจ
3. ฐานที่จิตอยูป่ ระจาที่คือตรงซ้ายของหัวใจ
เอาสติ ปั ญ ญา จิ ต มารวมเป็ นหนึ่ งเดี ย ว แล้ ว เอาปั ญ หาทุ ก อย่างในโลกใบนี้ มา
พิจารณาแก้ไขด้วยอานาจแห่งปั ญญาญาณ
ปัญหามาปัญญาเกิด ปัญหาเตลิดปัญญาหนีหาย
หลักวิชาปัญญาญาณ คือ ดวงสติ ดวงปัญญา ดวงจิต เอามารวมเป็ นหนึ่งเดียว
อานาจปัญญาญาณ
1. ปัญญาญาณ เกิดจากการนัง่ สมาธิ การทาสมาธิ อบรมปั ญญาอยูเ่ สมอ
2. ปัญญาญาณ เกิดจากการฟังและพิจารณาโดยอุบายที่ชอบ
3. ปัญญาญาณ เกิดจากตาปั ญญา เพราะได้ใช้ตาปั ญญาเป็ นเครื่ องรู ้ยงิ่ เห็นจริ งใน
สรรพสัตว์ท้ งั ปวง

ข้ อสาคัญของการใช้ ปัญญาญาณ
คือ สติ ปั ญญา จิต รวมเป็ นหนึ่ งเดียว ข้อควรระวังของการใช้ปัญญาญาณ คือ ถ้า
ปัญญาขาดสติควบคุมเสี ยแล้ว เรี ยกว่า สติหลุดหรื อสติเผอเรอ (ปั ญญาก็จะมาไม่เต็มร้อย)
สติมาปัญญาเกิด สติเตลิดปัญญาหนีหาย
แต่ ปัญญาญาณลึกซึ้งยิง่ กว่านั้น คือ
เพราะฉะนั้น สติจึงเป็ นประธานของปั ญญาญาณ เวลาใช้ปัญญาญาณ
ด้วยเหตุน้ ี ข้อสาคัญหรื อหลักของการใช้ปัญญาญาณ จึงมีท้ งั สติ ปั ญญา และจิตที่เป็ น
สมาธิ อยูใ่ นวิปัสสนากรรมฐาน
46
หมายเหตุ นี้ เป็ นการฝึ กปั ญญาญาณแบบพิสดาร คือ เน้นเจริ ญสมถะก่อนแล้ว มาต่อ
เป็ นวิปัสสนาทีหลัง ส่ วนการฝึ กปั ญญาญาณที่เจริ ญวิปัสสนาล้วน จะกล่าวไว้แล้ว ในบทแก่นแท้
ของวิปัสสนา ผูอ้ ่านจะปฏิบตั ิแบบไหนก็ได้ ให้เลือกฝึ กเอาเองตามแต่จริ ตของตนเป็ นหลัก
เหตุผลทีต่ ้ องฝึ กให้ ดวงปัญญาสว่ าง
การฝึ กเพ่งดวงปั ญญาให้สว่างนั้น หมายถึง การใช้ปัญญาญาณสามารถใช้ได้อย่างเต็มที่
ไม่มีอะไรมาบังดวงปั ญญาให้อบั แสง หรื อมีอะไรมาบดบังดวงปั ญญาของเราไว้
เมื่ อจะใช้ปัญญาญาณ สามารถพิจารณาสิ่ งต่างๆให้ละเอี ยด สิ่ งใดซ่ อนอยู่ ก็ส ามารถ
พิจารณาทุ กเรื่ องให้เกิ ดความแตกฉานลึ กซึ้ ง ด้วยปั ญญาญาณของตน เปรี ยบเสมื อนพระจันทร์
ในคื นวันเพ็ญ ไม่ มีอะไรมาบังแสงให้พ ระจันทร์ ตอ้ งอับแสง เป็ นที่ แสงสว่างแก่ ผูอ้ ื่ น ฉันใด
ปั ญญาญาณ ที่ไม่มีสิ่งใดมาบัง ให้สติปัญญาแตกฉาน และใช้ความสามารถของตนได้อย่างเต็มที่
ฉันนั้น
ตัวอย่าง พระอานนท์ถูกมารบังสติปัญญา
สมัยหนึ่ งก่อนพระพุทธเจ้า จะเสด็จดับขันธปริ นิพพาน ทรงแสดงปาฏิ หาริ ยห์ ลายครั้ง
ให้ พ ระอานนท์ ทู ล อาราธนาให้ พ ระองค์ ท รงอยู่ แม้ ค รั้ งสุ ดท้ า ย พระพุ ท ธองค์ ต รั ส ว่ า
ดูก่อนอานนท์บุคคลผูบ้ าเพ็ญอิทธิ บาททั้ง 4 ประการ ถ้าปรารถนาจะมี ชีวิตอยู่ กัปหนึ่ งหรื อ
มากกว่ากัป ก็สามารถที่จะทาได้ แต่พระอานนท์ เป็ นเพียงแค่โสดาบันเท่านั้น ไม่เข้าใจในสิ่ งที่
พระพุทธองค์ตรัสออกมา เพราะถูกมารบังสติปัญญา ผลสุ ดท้าย พระพุทธองค์ทรงรับอาราธนา
ของมารว่า พระองค์ จะทรงอยู่ต่อทาไม พระธรรมที่พระองค์ น้ ั นได้ ประกาศแล้ ว ขอพระองค์
ทรงเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระองค์ก็ทรงได้รับนิมนต์อาราธนาของมาร
พระพุทธองค์ได้ทรงบอกกับพระอานนท์วา่ อานนท์เธอไม่ได้เข้าใจในสิ่ งที่เราตถาคตได้
ตรั สออกมา บัดนี้ ไม่มีป ระโยชน์อนั ใดแล้ว เราตถาคตได้รับนิ มนต์มารแล้ว เราจะเสด็จดับ
ขันธปริ นิพพาน พระอานนท์ได้เสี ยใจ ที่ตนเองไม่รู้ในสิ่ งพระพุทธองค์ตรัส
พระภิกษุสงฆ์ได้ติเตียนพระอานนท์วา่ ท่านฟั งแล้วไม่ได้พิจารณาให้เข้าใจแตกฉาน มี
ข้อสิ่ งใดที่ไม่เข้าใจและสงสัยในสิ่ งนั้น ก็ไม่ถามพระพุทธองค์ให้เข้าใจ พระอานนท์ได้แต่เก็บมา
คิดคนเดียว จนถูกมารบังดวงสติปัญญา
พระภิ กษุ สงฆ์ท้ งั หลาย รู ้ สึ กเสี ยดายพระสารี บุ ตรที่ นิพ พานไปก่ อนพระพุ ท ธองค์ ถ้า
พระสารี บุตรยังอยู่ พระสารี บุตรฟังแล้วพิจารณาจะเข้าใจทันที หรื อไม่ก็มีพระอรหันต์อยูข่ า้ งกาย
พระพุ ท ธองค์ เพราะสติ ปั ญ ญาของพระอรหั น ต์ น้ ั น จะไม่ ถู ก มารบัง ด้ ว ยเหตุ อ ัน ใดก็ ต าม
พระอานนท์เป็ นแค่ พ ระโสดาบัน จะโทษท่ านทั้ง หมดก็ ไม่ ไ ด้ ถ้าไม่ มี พ ระอานนท์ เราก็ ไ ม่
สามารถมีพระไตรปิ ฎกได้อย่างสมบูรณ์ พระพุทธองค์เสด็จไปแสดงธรรมที่ไหน พระอานนท์
จาได้ท้ งั หมด เพราะท่านมีความจาเป็ นเลิศ โดยประชุมสังคายนาครั้งที่หนึ่ ง จะขาดพระอานนท์
ไปไม่ได้ แต่มีขอ้ แม้เงื่อนไขว่า ผูท้ ี่ ประชุ มต้องสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์ โดยที่พระมหากัสสปะ
ผูเ้ ป็ นประธานในการประชุ ม มาบอกพระอานนท์ให้รีบทาความเพียร ผลสุ ดท้าย พระอานนท์
ก็ได้บรรลุธรรมสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์ ด้วยประการฉะนี้
47
วิธีการฝึ กเพ่งดวงปั ญญา ของตนให้เกิดแสงสว่าง เวลาเข้าวิปัสสนากรรมฐานสามารถใช้
สติปัญญาของตนเองได้อย่างเต็มที่ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
การเพ่งดวงปั ญ ญา เพื่ อให้ ปั ญ ญานั้น สว่าง คิ ดพิ จารณาธรรมะและสิ่ งต่ างๆ ในการ
เจริ ญวิปัสสนากรรมฐาน การฝึ กเพ่งดวงปั ญญา เพื่อให้ใจสงบ สว่างแล้วเกิ ดปั ญญา เป็ นการ
เจริ ญสมถะก่อน แล้วมาต่อเป็ นวิปัสสนาทีหลัง
ดวงปั ญญานั้นจะประจาที่อยู่ตรงข้ามกับหัวใจด้านซ้าย (คืออยู่ตรงด้านขวานั้นเอง) แต่
ผูอ้ ่านไม่จาเป็ นต้องสนใจ ในการฝึ กดวงปั ญญาว่าประจาที่อยูท่ ี่ไหน ผูเ้ ขียน เขียนให้รู้ไว้เท่านั้น
ในการฝึ กดวงปั ญญาจริ งๆ จะฝึ กเพ่งไว้ที่ดา้ นใด ด้านไหน ของร่ างกายก็ได้ ตามแต่
จริ ต ของเราเป็ นหลัก จะภาวนาแบบใดก็ ไ ด้ที่ ตนถนัด เป็ นยุบ หนอ พองหนอ หรื อพุ ท โธ
อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตนถนัดและตรงกับจริ ต จึงสงบเป็ นสมาธิ
การฝึ กเพ่งดวงปั ญญา นอกจากจะทาให้ใจสงบแล้ว ยังทาให้ท้ งั ดวงจิตและดวงปั ญญา
สว่างตามด้วย
ในการฝึ กเพ่งดวงปั ญญาที่ เป็ นสมถะนั้น เมื่ อดวงปั ญญาสว่างแล้ว ก็มาเจริ ญวิปัสสนา
กรรมฐานต่อ ดังนี้
การเข้าวิปัสสนากรรมฐาน จะไม่เห็ นดวงปั ญญาของตนเอง จะเห็ นธรรมะ สิ่ งต่างๆที่
กาลังพิจารณา หรื อปั ญหาต่างๆ ที่กาลังจะแก้ไข แต่จะรู ้ ว่าปั ญญานั้นสว่าง สามารถรู ้ ธรรมะ
และสิ่ งต่างๆ หรื อแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดว้ ยปัญญาและความสามารถของตน
การเจริ ญ วิปั ส สนากรรมฐาน (จึ งมี ท้ งั สติ ปั ญ ญา จิ ต) รู ้ ธ รรมะ พิ จารณาสิ่ งต่ างๆ
หรื อปั ญหาต่างๆ ไม่ฟุ้งซ่ านในธรรมะและสิ่ งต่างๆ หรื อปั ญหานั้นๆ เกิดเป็ นปั ญญา ไม่ยึดมัน่
ในความรู ้ใดๆ ธรรมะใดๆ รู ้แล้วปล่อยวาง ไม่เกิดเป็ นความยึดมัน่ ถือมัน่ จึงเป็ นวิปัสสนาญาณ
และเรี ยกว่า ปั ญญาญาณ

การแก้ไขปั ญหาด้วยปั ญญาญาณ


ก่อนที่จะแก้ปัญหาด้วยปั ญญาญาณ ย่อมพิจารณาอดี ต อนาคต และปั จจุบนั คานึ งถึ ง
เหตุและผล เหตุและปั จจัย ประโยชน์และไม่ใช่ประโยชน์ บุคคลผูน้ ้ นั ว่าสมควร แก้ไขให้ดว้ ย
ปั ญ ญาญาณหรื อไม่ และสติ ปั ญ ญาความสามารถของเรา บุ ค คลผูน้ ้ ัน เมื่ อขอให้ เราแก้ไขด้วย
ปั ญญาญาณแล้วต้องเชื่ อฟั ง ความรู ้ความสามารถของเรา ถ้าฟั งแล้วไม่เชื่ อหรื อเชื่ อแต่กลับไปฟั ง
คนอื่นที หลัง ก็ป่วยการช่ วยเสี ยเวลาเปล่าๆ ที่เราจะใช้ปัญญาญาณแก้ไขให้ เมื่ อผูร้ ู ้ ใคร่ ครวญ
พิจารณาแล้ว ก็จะประจักษ์ดีวา่ สิ่ งใดควรและไม่ควร ดังนี้
วิ ธี แ ก้ ไ ขปั ญ หาด้ ว ยปั ญ ญาญาณ พึ ง เข้า วิ ปั ส สนา แล้ ว เอาสติ ม ารวมกับ จิ ต ให้ นิ่ ง
ไม่ฟุ้งซ่ าน และใช้ปัญญาแก้ไขปั ญหา (สติ จิต และปั ญญา มารวมกันเป็ นหนึ่ งเดี ยว เรี ยกว่า
ปัญญาญาณ)
48
ข้อสาคัญ ในการใช้ปั ญญาญาณ คือ ต้องเข้าสมาธิ ให้สติ จิต และปั ญญามารวมเป็ น
หนึ่ งเดี ยวเท่านั้น ห้ามฟุ้ งซ่ านไปตามปั ญหา (สติ จิตสงบ จึงเกิ ดปั ญญา) ปั ญญาญาณต้องอยู่
เหนื อ ปั ญ หา ไม่ ใ ช่ ฟุ้ งซ่ า นไปตามปั ญ หา การฟุ้ งซ่ า นไปตามปั ญ หา จิ ต จะไม่ ส งบ และ
ไม่สามารถใช้ปัญญาญาณได้
ปั ญญาญาณ จึงมีท้ งั สติ และจิตที่สงบนิ่งไม่ฟุ้งซ่าน เป็ นสมาธิ และปั ญญา
สติ จิต ปั ญญามารวมกันเป็ นหนึ่งเดียว เรี ยกว่า ปั ญญาญาณ ดังนี้

ปัญหามา ปัญญาเกิด
ปัญญาเตลิด ปัญญาหนีหาย
ปัญหาทุกอย่ าง จึงแก้ ไขด้ วยปัญญา
49
วิชาตาปัญญา
วิชาตาปัญญา คืออะไร หรื อหลายคนอาจไม่เคยได้ยิน ส่ วนมากคนมักจะรู ้จกั วิชาตาทิพย์
ตาปัญญา คือ การเจริ ญวิปัสสนากรรมฐาน แล้วได้ญาณ เกิดเป็ นตาปั ญญา ส่ วนวิชาตาทิพย์น้ นั
คือ การเจริ ญสมถกรรมฐาน แล้วได้ฌานเกิดเป็ นตาทิพย์ นั้นเอง
การฝึ กวิชาตาปั ญญานั้น ก่อนอื่นต้องเจริ ญวิปัสสนากรรมฐาน จนได้ญาณเสี ยก่อนเป็ น
อันดับแรก
ญาณปัญญา 3 ระดับ
1. ปั ญญาเกิดจาก การฝึ กอบรมวิปัสสนากรรมฐานจนสาเร็ จญาณ
2. ปั ญญาเกิดจาก การเจริ ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้ ตาปั ญญาให้รู้ยงิ่
เห็นจริ งในสภาวะทั้งหลายทั้งปวง
3. ปั ญญาเกิดจาก การเจริ ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้ หูปัญญา เกิดความรู ้
แยกแยะการฟังให้เกิดโยนิโสมนสิ การ (คือตริ ตรองให้รู้
สิ่ งที่ดีหรื อชัว่ โดยอุบายที่ชอบด้วยการฟังแล้วพิจารณาตาม)
หมายเหตุ ญาณปั ญ ญา 3 ระดับ นี้ จะเกิ ด มี แ ละรู ้ ยิ่ ง เห็ น จริ ง ได้ต้อ งรู ้ จกั ฝึ กอบรม
วิปัสสนากรรมฐานอยูเ่ สมอ ให้สาเร็ จเป็ นญาณความรู ้แจ้งขึ้นนั้นเอง
ญาณรู้แจ้ง 3 อย่าง
1. อตีตงั สญาณ ญาณหยัง่ รู ้อดีต
2. ปัจจุปันนังสญาณ ญาณหยัง่ รู ้ปัจจุบนั สามารถแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้
3. อนาคตังสญาณ ญาณหยัง่ รู้อนาคต
หมายเหตุ ญาณรู ้แจ้งทั้ง 3 อย่างนี้ เกิดขึ้นได้จากการเจริ ญทั้งสมถะและวิปัสสนาจนได้
ทั้งฌานและญาณสามารถย้อนอดีตรู ้อนาคตแก้ไขเหตุการณ์ปัจจุบนั
วิธีการฝึ กตาปัญญา
ก่อนอื่นต้องรู ้ จกั เจริ ญวิปัสสนากรรมฐานเป็ นอันดับแรก จะเริ่ มจากบทไหนก่ อนก็ได้ที่
เป็ นหัวใจของวิปัสสนา ตัวอย่างเช่น สติปัฏฐาน 4 ธาตุกมั มัฏฐาน 4 เบญจขันธ์ 5 รวมทั้ง
อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เป็ นต้น
การฝึ กวิปัสสนา คือ การให้จิตใจสงบนิ่ งไม่คิดฟุ้ งซ่ าน มี สติพิจารณาธรรมะเกิ ดเป็ น
ปัญญา ความรู้แจ้งในสภาวธรรมทั้งหลายทั้งปวง จึงสาเร็ จญาณ
50
การใช้ตาปัญญา
1. กาหนดใจให้สงบเป็ นสมาธิ โดยมีสติควบคุมใจไม่ให้ฟุ้งซ่าน
2. เอาสติไปรวมกับจิตให้เป็ นหนึ่งเดียว
3. เพ่งมองดูสิ่งต่างๆ ด้วยตาปั ญญา คือ เข้าวิปัสสนามีสติดู และไม่คิดฟุ้ งซ่าน เมื่อจิตนิ่ ง
ก็สามารถมองดูสิ่งต่างๆ เกิดเป็ นความรู ้แจ้ง เรี ยกว่า ตาปัญญา
การแยกสิ่ งที่จริ งออกจากเท็จด้วยตาปั ญญา
คาโบราณที่วา่ อย่าเชื่ อสิ่ งที่ตาเห็น และอย่าเชื่ อในสิ่ งที่หูได้ยนิ เพราะนั้นไม่ใช่สิ่งที่จริ ง
เสมอไป การรู ้ จกั แยกแยะสิ่ งที่ จริ งออกจากเท็ จด้วยตาปั ญ ญา ย่อมสามารถก าหนดรู้ ได้ญ าณ
ดังนี้ คือ
1. เมื่อตาเห็นรู ปคน สัตว์ สถานที่ หรื อสิ่ งของต่างๆ
2. พึงเข้าญาณย้อนดูอดีต ทั้งคน สัตว์ สถานที่ หรื อสิ่ งของต่างๆ (เพื่อแยกความจริ งออก
จากความเท็จ) เรี ยกว่า รู ้ แจ้งด้วยญาณของตัวเอง ไม่ใช่เห็ นด้วยตาเปล่าก็สักแต่วา่ เห็ น
เป็ นสิ่ งที่เขาสร้างหลักฐานขึ้น เป็ นการไม่แยกความจริ งออกจากความเท็จ
3. ใช้ญ าณแก้ไ ขเหตุ ก ารณ์ ปั จ จุ บ ัน ดู ว่า เรื่ อ งนี้ เราเห็ น ด้ว ยตาปั ญ ญาคื อ ความรู ้ แ จ้ง แล้ว
ควรแก้ไข หรื อควรนิ่ งเสี ย เป็ นการปล่อยวาง เรี ยกว่า รู ้ แล้วแกล้งโง่ ไม่พูด ไม่ได้
หมายความว่า ไม่รู้จริ ง ดังนี้

ดูก่อนท่ านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้สาเร็จแล้ วไม่ พูดมาก (เขาย่ อมมีปกติถ่อมตัว)


ผู้พูดมากมักจะไม่ สาเร็จ ท่ านจะสาเร็จหรือไม่ สาเร็จ อยู่ที่คาพูดของท่ านเอง
51
วิชาหูปัญญา
วิชาหูปัญญา คืออะไร ทุกคนส่ วนมากมักไม่เคยได้ยนิ ส่ วนมากคนมักได้ยนิ แต่หูทิพย์
หูปัญญา นั้นคือญาณ
หูทิพย์ นั้นคือฌาน
การฝึ กวิช าหู ปั ญ ญานั้น คื อ การเจริ ญ วิปั ส สนากรรมฐาน จนส าเร็ จ ญาณ เกิ ด เป็ น
หูปัญญา การที่จะฝึ กวิชาหู ปัญญาได้น้ นั ก่อนอื่นควรเจริ ญทั้งสมถะและวิปัสสนา ต้องได้หูทิพย์
สามารถฟังเสี ยงใจของผูอ้ ื่นได้ สามารถแยกแยะความจริ งออกจากความเท็จ ด้วยหู ทิพย์ ฟังเสี ยง
ใจของผูอ้ ื่น ฝึ กสมาธิ จนได้ฌาน แล้วมาต่อญาณเพิ่มเติมอีก จนสาเร็ จเป็ นหูปัญญา
ญาณแห่งวิปัสสนา
ญาณของวิปัสสนาที่ตอ้ งฝึ กให้สาเร็ จนั้น เพื่อเป็ นเหตุความรู้แจ้งแห่งหูปัญญา คือ
ญาณรู้แจ้ง 3 อย่าง
1. อตีตงั สญาณ ญาณหยัง่ รู ้อดีต
2. ปัจจุปันนังสญาณ ญาณหยัง่ รู ้ปัจจุบนั สามารถแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้
3. อนาคตังสญาณ ญาณหยัง่ รู้อนาคต
หมายเหตุ ญาณรู ้แจ้งทั้ง 3 อย่างนี้ เกิดขึ้นได้จากการเจริ ญทั้งสมถะและวิปัสสนาจนได้
ทั้งฌานและญาณสามารถย้อนอดีตรู ้อนาคตแก้ไขเหตุการณ์ปัจจุบนั
หูปัญญา 3 ระดับ
เมื่อคนเราฟั งแล้วคิดตามด้วยโยนิ โสมนสิ การ คือ ตริ ตรองให้รู้สิ่งที่ ดีหรื อชัว่ โดยอุบาย
ที่ชอบย่อมเกิดหูปัญญา 3 ระดับ ดังนี้ คือ
1. หูปัญญาเกิดจากการฟัง
2. หูปัญญาเกิดจากการคิดตามสิ่ งที่เราฟัง
3. หูปัญญาเกิดจากการได้พิจารณาตามในสิ่ งที่ฟัง
การฝึ กวิชาหูปัญญา
การฝึ กวิชาหู ปัญญานี้ พึงเข้าสมาธิ จะหลับตาหรื อลืมตาฟั ง ก็ได้ แต่ขอให้เข้าสมาธิ แบบ
วิปัสสนาฟังสิ่ งที่คนอื่นพูด หมายถึง เข้าญาณสมาธิ แห่ งวิปัสสนาฟั ง คือ ฟังโดยกาหนดจิตและ
สติ ฟั งอยู่ที่ หู ของตัวเองให้ จิตนิ่ ง กาหนดเรื่ องที่ ค นอื่ นพูดให้เราฟั ง ใช้ส ติ ส มาธิ จิตฟั งแล้วคิ ด
พิจารณาตามให้เกิดปั ญญาญาณ นั้นเอง เรี ยกว่า หูปัญญา (ฟังด้วยดียอ่ มได้ปัญญา)
52
การใช้ญาณหู แห่งปั ญญา
การใช้ญาณหู แห่ งปั ญญาหรื อวิชาหู ปัญญานี้ ก็คล้ายๆกับตาปั ญญา คือ เมื่อฟังคนอื่นเขา
พูดก็ใช้ญาณปั จจุบนั ดู คือ ฟั งเสี ยงจากจิตของเขาว่าเรื่ องที่เขาพูดก็จะรู ้ได้วา่ เขาพูดจริ งหรื อเท็จ
เขาพูดสิ่ งที่เป็ นประโยชน์หรื อไร้ สาระ สามารถใช้ญาณของตัวเองย้อนอดีตดู คือ ฟั งตามเรื่ อง
ของเขาในอดีตที่เขาเล่าให้เราฟัง ก็จะรู ้ทนั ทีวา่ เขาพูดจริ งหรื อเท็จ และกาหนดรู ้อนาคตในสิ่ งที่ฟัง
จากเรื่ องปั จจุบนั ที่เขาเล่าให้เราฟัง ก็จะรู ้วา่ เขาพูดสิ่ งที่เป็ นประโยชน์หรื อไร้สาระ
หลักการใช้หูปัญญา คือ รู ้ เรื่ องจริ งหรื อเท็จ ก็สักแต่ว่าปลง คื อ ไม่ไปยึดติดในสิ่ งที่
เขาพูด ทุ กสิ่ งทุ กอย่างล้วนเป็ นภาพลวงตา มีนินทาและสรรเสริ ญ อย่ายึดติดไปตามโลกธรรม
การรู ้จกั ปลงและปล่อยวาง คือ ญาณ รู ้แล้วปลงปล่อยวางได้ นิ่งสงบแล้ว จิตจึงเป็ นสมาธิ
เรารู ้ แต่ ไ ม่ พู ด ไม่ ได้หมายว่า เราไม่ รู้จริ ง ในสิ่ ง ที่ เขาพู ด ไม่ ว่าจะเป็ นเรื่ องอดี ตหรื อ
ปั จจุบนั เราแกล้งโง่ ไม่ได้หมายความว่า ไม่รู้จริ งในสิ่ งที่เขาพูด การอวดฉลาดไม่ใช่วิสัยของ
ผูไ้ ด้ญาณ การถ่อมตน เรี ยกว่า ฉลาดแล้วแกล้งโง่ คือ ปล่อยให้คนอื่นพูด จะพูดจริ งหรื อเท็จ
การเป็ นผูฟ้ ั งที่ดี คือ วิสัยของผูไ้ ด้ ญาณ เพราะเรารู ้ แล้วในสิ่ งที่ ท่านกาลังพูดให้เราฟั ง แต่เรา
ไม่อวดว่าเรารู ้ เรานิ่งสงบแล้ว เป็ นผูฟ้ ังที่ดีแล้ว
ความรู ้แจ้งแห่งหูปัญญา
1. สิ่ งใดไม่เคยฟังย่อมได้ฟัง
2. บรรเทาความสงสัยในความรู้ของตนหรื อข้อหัวธรรมะเสี ยได้
3. ทบทวนความรู ้ของตัวเองที่เกิดการจากฟัง
4. แยกแยะสิ่ งที่ผดิ หรื อถูกโดยการฟังด้วยอุบายที่ชอบ
5. จิตของเราเมื่อฟังย่อมผ่องใส (เพราะฟังธรรมะหรื อฟังความรู้ในสิ่ งที่เป็ นประโยชน์)

การฟังด้ วยดี ย่ อมได้ ปัญญา


53
วิชาปลุกธาตุตาทิพย์ (พระอนุรุทธ)
ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิ ญมหาธาตุตาทิพย์ จงมาเป็ นแสงเที ยน แสงธรรม เป็ นเปลวเทียน
เปลวไฟแห่งสัจธรรม อยูเ่ ป็ นธรรมะที่ส่องสว่าง
ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิญด้วยใจสัทธา และเคารพยิง่ พร้อมขึ้นบูชา
พระอนุรุทธ คือ ผูเ้ ลิศแห่งตาทิพย์ ข้าพเจ้าขออนุญาตนาวิชาท่านมาเผยแผ่เป็ นธรรมทาน
การสร้างบุญบารมีอนั เป็ นเหตุให้เกิดตาทิพย์
การสร้างบุญบารมีอนั เป็ นเหตุให้เกิดตาทิพย์ นั้นคือ การทาบุญด้วยแสงสว่าง หลอดไฟ
แสงไฟ เทียนเข้าพรรษา น้ ามันตะเกียงถวายพระ
หลักการฝึ กตาทิพย์
การฝึ กตาทิพย์ มีหลักใหญ่อยู่ 3 อย่าง ฝึ กใช้กสิ ณทั้ง 3 นาอันเป็ นเหตุให้เกิดตาทิพย์
คือ กสิ ณสี ขาว กสิ ณไฟ และกสิ ณแสงสว่างนั้นเอง
การฝึ กตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณสี ขาว
เพ่งสี ขาว เป็ นอารมณ์ ของสมาธิ ให้เกิดตาทิพย์ คือ เจริ ญกสิ ณสี ขาว นาแผ่นกระดาษ
สี ขาวมาวางไว้ดา้ นหน้าเป็ นแผ่นวงกลม เพื่อเจริ ญเป็ นดวงกสิ ณสี ขาว จะเพ่งหลับตาและลื มตา
แบบพิสดารจนจาดวงกสิ ณสี ขาวเป็ นนิมิตติดตา เมื่อจาดวงกสิ ณสี ขาวเป็ นนิมิตติดตาได้แล้ว เวลา
เข้าสมาธิ ก็ไม่จาเป็ นต้องเพ่งสี ขาวอีกต่อไป เพราะจานิ มิตสี ขาวจนติดตาได้ สาหรับผูท้ ี่ยงั ไม่ได้
นิมิตติดตา หมายความว่า จะหลับตาเข้าสมาธิ กี่ครั้ง ก็ไม่สามารถนึ กและเห็ นภาพเป็ นดวงกสิ ณ
สี ขาวได้ ต้องพยายามฝึ กต่อไปทุกวัน จนได้นิมิตติดตา จึงสาเร็ จสมาธิ แห่ งฌานดวงกสิ ณสี ขาว
อานุภาพแห่งจิต สามารถใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณสี ขาว ดังนี้
หลักการใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณสี ขาว พึงเข้าสมาธิ ดว้ ยกสิ ณสี ขาวจะหลับตาหรื อลื มตาก็ได้
หลับตาเพื่อดูภาพระยะไกล หรื อคนละมิ ติ ลื มตาเพื่อดู สิ่งลี้ ลบั ที่ คนอื่นมองไม่เห็ นระยะใกล้
เป็ นต้น เมื่ อ เข้าฌานสมาธิ ด้วยกสิ ณ สี ข าวแล้ว จะเกิ ด เป็ นดวงกสิ ณ นิ มิ ต ขึ้ น มา ถ้าหลับ ตา
เข้าสมาธิ แล้วใช้ตาทิพย์ ภาพก็จะมาปรากฏอยู่ในดวงนิ มิตสี ขาวของตาทิ พย์ ถ้าลืมตาเข้าสมาธิ
แล้วใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณสี ขาว ภาพก็จะมาปรากฏให้เห็นอยูท่ ี่ดวงตา ดังนี้
การฝึ กตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณไฟ
เพ่งไฟ เป็ นอารมณ์ ของสมาธิ ให้เกิ ดตาทิพย์ คือ เจริ ญกสิ ณไฟ นาเทียนไขจุดไฟหรื อ
ตะเกี ยงน้ ามันแล้วจุ ดไฟขึ้ นหรื อจะเพ่งพระอาทิตย์ในเวลาเช้าและเวลาเย็น ส าหรับ ผูเ้ ริ่ มต้นฝึ ก
กสิ ณ ไฟไม่ ค วรเพ่งพระอาทิ ตย์ตอนเที่ ยงวัน เพราะจะท าให้เสี ย สายตาได้ แต่ ส าหรับผูส้ าเร็ จ
ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณไฟแล้ว จะเพ่งพระอาทิตย์ตอนเที่ ยงวันก็จะไม่รู้สึกปวดสายตา จะเพ่งหลับตา
และลืมตา แบบพิสดารจนจาดวงกสิ ณไฟเป็ นนิมิตติดตา เมื่อจาดวงกสิ ณไฟเป็ นนิมิตติดตาได้แล้ว
เวลาเข้าสมาธิ ก็ไม่จาเป็ นต้องเพ่งไฟอีกต่อไป เพราะจานิ มิตไฟจนติดตาได้ สาหรับผูท้ ี่ยงั ไม่ได้
นิ มิ ตติ ดตา หมายความว่า จะหลับ ตาเข้าสมาธิ กี่ ค รั้ ง ก็ ไ ม่ ส ามารถนึ ก และเห็ น ภาพเป็ นดวง
54
กสิ ณไฟได้ ต้องพยายามฝึ กต่อไปทุกวัน จนได้นิมิตติดตา จึงสาเร็ จสมาธิ แห่ งฌานดวงกสิ ณไฟ
อานุภาพแห่งจิต สามารถใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณไฟ ดังนี้
หลัก การใช้ต าทิ พ ย์ด้วยกสิ ณ ไฟ พึ ง เข้า สมาธิ ด้ว ยกสิ ณ ไฟจะหลับ ตาหรื อ ลื ม ตาก็ ไ ด้
หลับ ตาเพื่ อดู ภาพระยะไกล หรื อคนละมิ ติ ลื ม ตาเพื่ อดู สิ่ งลี้ ล ับ ที่ คนอื่ น มองไม่ เห็ น ระยะใกล้
เป็ นต้น เมื่อเข้าฌานสมาธิ ดว้ ยกสิ ณไฟแล้ว จะเกิดเป็ นดวงกสิ ณนิ มิตขึ้นมา ถ้าหลับตาเข้าสมาธิ
แล้วใช้ตาทิพย์ ภาพก็จะมาปรากฏอยู่ในดวงนิ มิตกสิ ณไฟของตาทิพย์ ถ้าลืมตาเข้าสมาธิ แล้วใช้
ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณไฟ ภาพก็จะมาปรากฏให้เห็นอยูท่ ี่ดวงตา ดังนี้
การฝึ กตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณแสงสว่าง
เพ่ ง แสงสว่าง เป็ นอารมณ์ ข องสมาธิ ใ ห้ เกิ ด ตาทิ พ ย์ คื อ เจริ ญ กสิ ณ แสงสว่าง เพ่ ง
หลอดไฟหรื อแสงสว่างจากหลอดไฟหรื อโคมไฟหรื อแสงสว่างของพระจันทร์ เพื่อเจริ ญเป็ นดวง
กสิ ณแสงสว่าง จะเพ่งหลับตาและลื มตา แบบพิ สดารจนจาดวงกสิ ณแสงสว่างเป็ นนิ มิตติดตา
เมื่ อ จ าดวงกสิ ณ แสงสว่า งเป็ นนิ มิ ต ติ ด ตาได้แ ล้ว เวลาเข้าสมาธิ ก็ ไ ม่ จ าเป็ นต้อ งเพ่ ง แสงสว่า ง
อี ก ต่ อไป เพราะจานิ มิ ตแสงสว่างจนติ ดตาได้ ส าหรั บ ผูท้ ี่ ยงั ไม่ ได้นิมิ ตติ ด ตา หมายความว่า
จะหลับตาเข้าสมาธิ กี่ครั้ง ก็ไม่สามารถนึกและเห็นภาพเป็ นดวงกสิ ณแสงสว่างได้ ต้องพยายามฝึ ก
ต่อไปทุ กวัน จนได้นิ มิตติดตา จึ งส าเร็ จสมาธิ แห่ งฌานดวงกสิ ณ แสงสว่าง อานุ ภาพแห่ งจิ ต
สามารถใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณแสงสว่าง ดังนี้
หลักการใช้ตาทิ พย์ด้วยกสิ ณแสงสว่าง พึงเข้าสมาธิ ด้วยกสิ ณแสงสว่างจะหลับตาหรื อ
ลื ม ตาก็ ได้ หลับ ตาเพื่ อดู ภาพระยะไกลหรื อคนละมิ ติ ลื ม ตาเพื่ อดู สิ่ งลี้ ลบั ที่ คนอื่ นมองไม่ เห็ น
ระยะใกล้ เป็ นต้น เมื่ อเข้าฌานสมาธิ ด้วยกสิ ณแสงสว่างแล้ว จะเกิ ดเป็ นดวงกสิ ณนิ มิตขึ้ นมา
ถ้าหลับตาเข้าสมาธิ แล้วใช้ตาทิพย์ ภาพก็จะมาปรากฏอยู่ในดวงนิ มิตกสิ ณแสงสว่างของตาทิพย์
ถ้าลืมตาเข้าสมาธิ แล้วใช้ตาทิพย์ดว้ ยกสิ ณแสงสว่าง ภาพก็จะมาปรากฏให้เห็นอยูท่ ี่ดวงตา ดังนี้
อุปสรรคของตาทิพย์
สาหรับผูเ้ ริ่ มต้นฝึ กตาทิ พย์ใหม่ๆ มักจะมีอุปสรรคและไม่กล้าใช้ตาทิพย์ คือ กลัวเห็ น
สัมภเวสี ความจริ งแล้วสัมภเวสี ก็เหมือนคน แต่อยูก่ นั คนละโลก เขาอยูโ่ ลกวิญญาณ แต่เรา
อยูโ่ ลกมนุษย์ อาจจะดูธรรมดาหรื อดูน่ากลัว แล้วแต่เวรกรรมของสัมภเวสี ตนนั้น
เมื่อใช้ตาทิพย์ เห็นสัมภเวสี ก็ตอ้ งรู ้สึกปลงสลดสังเวชใจ เพราะคนเราเกิดมาทุกคนต้อง
ตาย ไม่มีอะไรน่ากลัวที่ตอ้ งเห็นสัมภเวสี คนส่ วนใหญ่กลัวที่จะเห็นผี แต่ชอบเห็นเทวดานางฟ้ า
นี้ คือเรื่ องปกติของมนุ ษย์ แต่สาหรับผูจ้ ะสาเร็ จวิชาตาทิ พย์ อย่ากลัวที่จะมอง ถ้ากลัวที่จะมอง
ก็คงไม่สาเร็ จตาทิพย์ แล้วอย่างนี้จะใช้ตาทิพย์ได้อย่างไรกัน
อุปสรรครองลงมา อย่ากลัวสิ่ งยัว่ ยวนของเพศตรงข้าม ความจริ งแล้วเนื้ อหนังมังสาของ
อิสตรี หรื อเพศตรงข้าม ก็สักแต่วา่ เป็ นเบญจขันธ์ รู ป เสี ยง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ก็แต่วา่ มัน
ไม่เที่ยง เห็นแล้วก็ปลง คืออย่ายินดีในรู ปสวย หรื อการยัว่ ยวนต่ออิสตรี และอย่ายินร้ายต่อการ
เห็นรู ปไม่สวยงาม เห็นก็สักแต่วา่ เห็น จะสวยหรื อไม่งาม ก็สักแต่วา่ รู ปภายนอก รู ้แล้วปล่อยวาง
จึงเป็ นอุเบกขาฌาน เมื่อปล่อยวางได้ จึงสมควรที่จะฝึ กและสาเร็ จตาทิพย์ ดังนี้
55
อานาจฌานหลายระดับ แห่ งอารมณ์ฌานของตาทิพย์
ตาทิ พย์ที่เกิ ดขึ้ นจากบุ ญฤทธิ์ เพียงเข้าสมาธิ นิ่งๆ ไม่ตอ้ งสู งมาก ก็ใช้ตาทิ พย์ได้ แต่
ตาทิพย์ที่เกิ ดจากอานาจฌาน ต้องเข้าสมาธิ ให้นิ่งไม่หวัน่ ไหวในอารมณ์ ต่างๆ จึงสาเร็ จและใช้
ตาทิพย์ได้ อานาจฌานในอารมณ์สมาธิ ของทิพย์ ที่สามารถใช้ตาทิพย์ได้ มีดงั นี้ คือ
1. ขณิ กสมาธิ สมาธิ ชวั่ ขณะหนึ่ง สมาธิ เช่นนี้จะใช้ตาทิพย์ได้เป็ นครั้งคราวเพราะจิต
ยังไม่แน่วแน่
2. อุปจารสมาธิ สมาธิแบบเฉียดๆ สมาธิ เช่นนี้สามารถกาหนดจิตใช้ตาทิพย์ในระดับ
หนึ่ง คือเห็นบางไม่เห็นบาง เพราะจิตยังไม่มนั่ คง (แต่ส่วนมากมักเห็น
เกือบทุกครั้ง เพราะสมาธิ เริ่ มแน่วแน่ แต่ไม่เต็มร้อยเปอร์เซ็นต์)
3. อัปปนาสมาธิ สมาธิ แบบแน่วแน่ สมาธิ เช่นนี้สามารถกาหนดจิตใช้ตาทิพย์ได้ทุกครั้ง
หมายเหตุ การเข้าฌานสมาธิ เพื่ อใช้ตาทิ พ ย์น้ นั จะเข้าหมดความรู ้ สึก จิ ตตกภวังค์เป็ น
อุเบกขาสมาธิ ก็ได้ เป็ นการนัง่ สมาธิ หลับตาใช้ตาทิพย์ หรื อเข้าแบบยังรู้สึกตัวเป็ นการเข้าอิริยาบถ
อื่นที่ ไม่ตอ้ งนัง่ สมาธิ แต่จิตปล่อยวางอารมณ์ เป็ นหนึ่ งเดี ยว ที่จะใช้ตาทิ พย์ ร่ างกายยังรู ้ สึกตัว
เพราะจิตไม่ตกภวังค์ตดั ความรู ้สึกออกจากร่ างกาย กล่าวคือ เป็ นการเข้าสมาธิ อิริยาบถนัง่ หรื อยืน
เป็ นต้น ที่เข้าสมาธิ แบบลืมตานั้นเอง เป็ นการลืมตาแล้วใช้ตาทิพย์ดูสิ่งลี้ ลบั ที่คนอื่นมองไม่เห็ น
ในระยะใกล้ นั้นเอง

สว่ างตาด้ วยแสงไฟ


สว่ างใจด้ วยแสงธรรม
56
วิชาใช้ ดวงตาสะกด (สั ตว์ ร้าย อสรพิษต่ างๆ)
การออกธุ ดงค์ตามป่ าเขานั้น ย่อมต้องเจอสัตว์ร้ายและอสรพิษต่างๆ การแผ่เมตตาให้สัตว์
ต่างๆ สัตว์บางจาพวกย่อมรับกระแสจิตเมตตาของเรา แต่บางจาพวกไม่รับกระแสจิตเมตตา
บทแผ่เมตตาให้อสรพิษ เมื่อออกธุ ดงค์ตามป่ าเขาหรื ออยูป่ ่ า ให้ภาวนาบทนี้
วิรูปักเขหิ เม เมตตัง ฯลฯ
หลักการใช้ดวงตาสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ
เราจะอยูป่ ่ าหรื ออยู่บา้ นก็ตาม อยู่ที่ไหนย่อมพบเจอกับอสรพิษต่างๆ อันดับแรกควรทา
การแผ่เมตตาให้ก่อน สัตว์ย่อมรู ้คุณและหลี กทางให้ ถ้าไม่ยอมรับกระแสจิตแห่ งเมตตาของเรา
ค่อยใช้วชิ าสะกดทีหลัง การใช้พลังดวงตาสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ ทาได้ดงั นี้
1. เข้าสมาธิใช้สติรวมกับพลังจิต
2. เพ่งพลังสมาธิ อยูท่ ี่ดวงตา
3. ใช้พลังจิตจากดวงตาสะกดสัตว์ร้ายและอสรพิษ ให้หนั ไปทางซ้ายหรื อขวา บังคับร่ างกาย
สัตว์ร้ายและอสรพิษให้หลีกทางให้จากพลังจิตดวงตาของเรา
ข้อควรรู้ ในการใช้ดวงตาสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ
ในการใช้พลังจิตออกมาจากดวงตาสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ ผูท้ ี่จะใช้พลังจิตของ
ตัวเองนั้นต้องไม่กลัวสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ เป็ นอันดับแรก ถึงสามารถใช้พลังจิตของตัวเองได้
รวมทั้งต้องมีความเชื่ อมัน่ และมัน่ ใจในพลังจิตของตัวเอง ไม่หวัน่ ไหวไปตามอานาจแห่ งสัตว์ร้าย
และอสรพิษ จึงสามารถควบคุ มร่ างกายสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆ ให้อยู่ตามอานาจจิตของตัวเอง
และบังคับให้เขาหลีกทางให้ก็เพียงพอหรื อให้เขาไปทางอื่น
หลักการฝึ กสมาธิให้มีพลังจากดวงตาสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษต่างๆได้
การทาสมาธิ มีอยูห่ ลายแบบหลายประเภท แต่สมาธิ ที่มีอานาจจิตออกมาจากดวงตาสะกด
สัตว์ร้ายและอสรพิษได้น้ นั พื้นฐานต้องมีสมาธิ ที่ดีมาจากการฝึ กกสิ ณสามารถลื มตาและหลับตา
เพ่งกสิ ณแบบพิสดารจนได้นิมิต และจะเกิ ดมีพลังจากอานาจจิตเพ่งและสะกดสัตว์ร้าย อสรพิษ
ออกมาจากดวงตาเอง
การเข้าฌานใช้พ ลังจิ ตสะกดสั ตว์ร้าย อสรพิ ษต่ างๆ ไม่จาเป็ นต้องเข้าฌานขั้นสู งมาก
เข้าแค่ ระดับ อุ ป จารสมาธิ ก็ ส ามารถสะกดได้ ยกเว้น อสรพิ ษ นั้น มี ฤ ทธิ์ สายพญานาคแปลงมา
พญานาคมี ท้ งั ดี และฝ่ ายไม่ ดี ก็ไม่ ต่างอะไรกับ คนย่อมมี ท้ งั คนดี และคนไม่ดี บางครั้ งเทวดาก็
แปลงมาเป็ นพญานาคเพื่ อ ลองตบะสมาธิ ข องเรา เมื่ อ เจออสรพิ ษ ที่ มี ฤ ทธิ์ เดชานุ ภ าพมาก
ให้เข้าฌานชั้นสู งถึงอัปปนาสมาธิ สะกดด้วยอานาจฌานสมาธิ เขาจะย่อมหลีกทางเราเอง
57
การใช้พลังสมาธิ ถอนพิษอสรพิษต่างๆ
ในการเดินทางออกธุ ดงค์ อาจเจอสัตว์ร้ายและอสรพิษต่างๆ เราสามารถสะกดได้เฉพาะ
ตอนเรายังไม่หลับเท่านั้น เวลาที่เราเผลอหลับตอนกลางคืน อาจถูกพิษจากสัตว์ร้าย ยามอยูต่ าม
ป่ าเขาย่อมไม่สามารถหาหมอรักษาได้ ต้องใช้พลังจิตรักษาตัวเอง หลักการใช้พลังจิตรักษาตัวเอง
และถอนพิ ษจากอสรพิ ษ ต่างๆ รวมทั้งพิ ษ มี ฤ ทธิ์ ร้ ายแรงของพญานาคด้วย มี หลักการใช้พ ลัง
สมาธิ ถอนพิษ ดังต่อไปนี้
1. นอนนิ่งๆ อย่าพึงขยับเคลื่อนไหวตัวไปมา อาจทาให้พิษเข้าสู่ หวั ใจได้ ให้มีสติ
2. รวบรวมสติ ปล่อยวางสังขารร่ างกาย เข้าสู่ อานาจฌานชั้นสู ง
3. เมื่อโดนพิษทางไหนของร่ างกาย ให้ใช้พลังสมาธิ ขบั พิษทางนั้นออกมาจากร่ างกาย
4. พิษจากอสรพิษต่างๆ รวมทั้งพิ ษของพญานาคด้วยเป็ นพิ ษที่ร้อน ให้ใช้พลังเย็นรักษา
หรื อดับพิษก็จะหายเป็ นปกติ

สะกดไว้ ด้วยสมาธิ ก็ยงั ไม่ สู้ สะกดไว้ ด้วยเมตตาจิต


เมตตาจึงเป็ นธรรมคา้ จุนโลก
58
วิชาเปลีย่ นเสี ยงตัวเองให้ หวานไพเราะละมุนละไม (ไพเราะจับจิตจับใจ)
ศาสตร์ แห่ งสมาธิ น้ นั นอกจากทาใจให้สงบนิ่ งแล้ว ยังสามารถควบคุ มความประพฤติ
รวมทั้งกิริยามารยาทท่วงท่าและวาจา การเปล่งวาจาออกมางามได้น้ นั ต้องประกอบด้วยวจีสุจริ ต
ดังต่อไปนี้ คือ
1. เว้นจากการพูดปด
2. เว้นจากการพูดคาหยาบ
3. เว้นจากการส่ อเสี ยด
4. เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ
วาจาหากแม้เช่ นเดี ยวกับ ใจ ถ้าคิ ดดี วาจาย่อมพูดออกมาดี ถ้าคิ ดไม่ดี วาจาย่อมพูด
ออกมาไม่ดี จิตมีกุศลมูลย่อมพูดดี จิตประกอบอกุศลมูล คือ รัก โลภ โกรธ หลง ย่อมพูด
ออกมาไม่ดี ดังนี้
กรรมฐานอันเป็ นเหตุแห่งการแก้อกุศลเจตสิ ก คือ
1. จิตมีรัก ใช้อสุ ภะหรื อกายคตาสติปัฏฐานแก้อารมณ์
2. จิตมีโกรธ ใช้เจริ ญเมตตาแก้อารมณ์
3. จิตมีโมหะ ใช้วปิ ั สสนาเป็ นตัวแก้โมหะ
เมื่อจิตปราศจากอกุศลมูลแล้ว การเปล่งวาจาออกมาย่อมงดงาม สามารถเจริ ญกรรมฐาน
และทาสมาธิ ให้ใจสงบนิ่ ง ควบคุมคาพูดทุกคาที่พูดออกมาด้วยสติ การใช้พลังของสมาธิ ให้พูด
ออกมาไพเราะเป็ นที่ฟังของคนได้น้ นั ต้องประกอบด้วยพลังสมาธิ ดังนี้
ผูส้ าเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณดิน คาพูดจะสุ ขมุ หนักแน่นดังดิน
ผูส้ าเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณน้ า คาพูดจะหวานเหมือนน้ า
ผูส้ าเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณลม คาพูดจะเย็นสดชื่นเหมือนกับสายลมที่พดั เย็น
ส่ วนกสิ ณไฟนั้นร้อน ถ้าควบคุมได้ คาพูดจะพูดมาเป็ นผูใ้ หญ่มีหลักการ แต่ถา้ ควบคุ ม
ไฟไม่ได้ จะพูดออกมาร้อนโผงผางหยาบกระด้าง ผูเ้ ขียนจึงกล่าวได้วา่ ไม่ควรใช้พลังของกสิ ณไฟ
ในการกล่าวคาพูดและเจรจา
ข้อควรรู้
ในการกล่าววาจาให้ไพเราะได้น้ นั จะใช้กสิ ณใดก็ให้เลือกเอาไว้กสิ ณหนึ่ง เช่น น้ าหรื อ
ลม เป็ นต้น ไม่ควรเอามาหมดทุกกสิ ณ จะทาให้จิตไม่สงบนิ่ งเพราะใช้มากเกิ นไป ฝึ กให้ครบ
ทุกอย่างได้ แต่ให้เลือกใช้ทีละอย่าง
ข้ อควรระวัง ไม่ควรใช้กสิ ณไฟ ในการใช้พลังสมาธิ กล่าววาจา จิตอาจสัประยุทธ์ดว้ ย
โทสจริ ต กสิ ณไฟเอาไว้ใช้ทาอย่างอื่น เช่น เอาไว้ใช้พลังทาให้ร่างกายตัวเองอบอุ่นได้ เป็ นต้น
59
หลักการกล่าววาจาให้ ไพเราะจับจิตของผู้ฟัง
ในการกล่าววาจาให้ไพเราะจับจิตของผูฟ้ ั งได้น้ นั ย่อมสามารถทาได้เพราะรู ้วาระจิตของ
ผูอ้ ื่น อธิบาย คือ อ่านใจเขาออกได้น้ นั รู ้วา่ เขาชอบให้พดู หวานเช่นใด ก็กล่าววาจา เช่นนั้น
ในการรู้วาระจิตของผูอ้ ื่น ย่อมทาได้เพราะอาศัยอภิญญา 3 อย่าง คือ
1. รู้วาระจิตผูอ้ ื่น เพราะอาศัยอานาจแห่งเจโต
2. รู้วาระจิตผูอ้ ื่น เพราะอาศัยหูทิพย์ รู ้วา่ เขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ ใช้หูทิพย์ฟังเสี ยง
ใจของผูน้ ้ นั ที่เราจะอ่านจิต
3. รู้วาระจิตผูอ้ ื่น เพราะอาศัยตาทิพย์ เห็นภาพจากใจเขา ว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ
ออกมาเป็ นภาพให้เราเห็น ความในใจเขา เพราะอาศัยตาทิพย์
หลักการใช้ เจโตรู้ วาระจิตผู้อนื่
กาหนดสมาธิ เพ่งกระแสจิตไปที่ ดวงจิตของผูน้ ้ ัน ก็จะรู ้ ได้เพราะอาศัยอานาจแห่ งเจโต
เรี ย กว่า ใช้ใจอ่ านใจผูอ้ ื่ น จิ ตเขารัก เราหรื อเกลี ย ดเรา ชอบหรื อไม่ ช อบสิ่ ง ใด ต้องการหรื อ
ไม่ตอ้ งการสิ่ งใด ก็ล่วงรู ้วาระจิตผูอ้ ื่น เพราะเรามีเจโต ดังนี้
หลักการใช้ หูทพิ ย์ ร้ ู วาระจิตผู้อนื่
กาหนดสมาธิ ออกจากหู ตวั เอง ให้ใกล้หรื อไกลโดยไม่มีประมาณ แม้กระทัง่ ฟั งเสี ยงจาก
ใจคน ก็ ก าหนดสมาธิ ไ ปที่ ดวงจิ ตหรื อใจของผูน้ ้ ัน เราจะได้ยิน เสี ย งจากใจของผูน้ ้ ัน ส าเร็ จ
รู ้วาระจิตของผูน้ ้ นั ด้วยหูทิพย์
หลักการใช้ ตาทิพย์ ร้ ู วาระจิตผู้อนื่
กาหนดตาทิพย์ไปที่ดวงจิตหรื อใจของผูน้ ้ นั จะเห็นภาพภายในใจของเขาว่าเขาคิดอะไรอยู่
ออกมาเป็ นภาพทางใจ เหมือนเราดูโทรทัศน์แล้วเห็นภาพ ดังนี้
การใช้ พลังสมาธิกล่าววาจาให้ หวานไพเราะจับจิตจับใจคนฟัง
เมื่ อใช้อภิ ญญารู ้ วาระจิ ตของเขาแล้ว ย่อมสามารถรู ้ ได้ว่าเขาชอบหรื อไม่ช อบฟั งสิ่ งใด
เรี ยกว่า ดักใจผูอ้ ื่ นออกเป็ นอัศจรรย์ แล้วพึงใช้พ ลังสมาธิ กสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งออกมาให้ไพเราะ
ในสิ่ งที่เขาชอบหรื ออยากจะฟั ง เรี ยกได้วา่ กล่าววาจาไพเราะเป็ นที่ชอบใจหรื อต้องการของคนฟั ง
ดังนี้

กล่ าววาจางาม และเป็ นวาจาสุ ภาษิต


ยังประโยชน์ ให้ สาเร็จได้
60
พลังช้ างสาร
พลังช้างสาร คืออะไร พลังช้างสาร ก็คือการทาสมาธิ อย่างหนึ่ ง โดยอาศัยมโนภาพ
เป็ นหลัก ซึ่ งต่างจากพลังของกสิ ณ ที่จากัดวัตถุและสี สัน
พลังช้างสาร เกิดจากอานาจสมาธิ แห่งมโนภาพนั้นเอง เข้าฌานสมาธิ ดว้ ยมโนภาพ แล้ว
จะนึ กจะคิดว่าตัวเองมีพลังช้างสารกี่เชื อกก็ได้ สาเร็ จด้วยอานาจสมาธิ แห่ งมโนภาพ พลังช้างสาร
นั้นเอง
ระดับพลังช้างสาร ไม่เท่ากันขึ้นอยูก่ บั อานาจบุญกุศลบารมี ของตัวเองที่ได้สร้ างสมมา
ดังนี้
1. มนุษย์ผทู้ ี่ได้สมาธิ จะมี พ ลังช้างสาร 1 – 10 เชื อก หรื อมากกว่านี้ ขึ้ นอยู่ก ับ บุ ญ
ของตัวเองเป็ นหลัก
2. เทวดา จะมีพลังช้างสาร 10 – 100 เชื อก หรื อมากกว่านี้ ขึ้นอยูก่ บั บุญ
ของเทวดาองค์น้ นั เป็ นหลัก
3. พระโพธิสัตว์ จะมี พ ลั ง ช้ า งส าร 500 – 1000 เชื อก ขึ้ นอยู่ ก ั บ บุ ญ บ ารมี
10 – 30 ทัศ ของพระโพธิ สัตว์เป็ นหลัก เพราะพระโพธิ สัตว์แต่ละองค์ สร้างบุญบารมี
มาไม่เท่ากัน
การฝึ กพลังช้างสาร
กาหนดสมาธิ ดว้ ยมโนภาพ คือ นึ กภาพแห่ งช้างสาร ได้เข้ามาอยูใ่ นตัวเอง ด้วยอานาจ
สมาธิ แห่งมโนภาพ จะนึกกี่เชื อกก็ได้ 1 – 10 หรื อ 100 – 1000 แล้วแต่สมาธิ ของตัวเองเป็ นหลัก
แต่ฝึกใหม่ๆผูเ้ ขียนแนะนาให้ผฝู ้ ึ ก นึ กถึงช้างสารแค่ หนึ่งเชื อกไปก่อน จะได้มีสมาธิ แค่ชา้ งสาร
เท่านั้น ถ้าหลายเชือกมากเกินไป จิตจะเกิดความสับสนไม่เป็ นสมาธิ ปฏิบตั ิ ถ้าจะคิดให้ได้หลาย
เชื อก เป็ นร้ อยเป็ นพันเชื อก เอาไว้ใช้พ ลังของช้างสารมากกว่า และจะดี ก ว่า ที่ จะนั่งสมาธิ
ภาวนา จิตจะได้ไม่เกิดความสับสนและฟุ้ งซ่าน ขั้นตอนการฝึ กพลังช้างสาร ทาได้ดงั นี้
1. กาหนดสมาธิ ดว้ ยมโนภาพ คือ นึกภาพช้างสารไว้ในจิตนั้นเอง
2. ทาสมาธิ ดว้ ยพลังช้างสาร ว่ากาลังแห่งช้างสารได้เข้ามาอยูใ่ นตัวเอง
3. รวมพลังกายกับจิต ที่ เกิ ดขึ้ นด้วยพลังแห่ งช้างสารเป็ นพลังทวีคูณสองเท่า หมายถึ งใช้
พลังของช้างสารที่ เกิ ด ขึ้ น จากจิ ต แผ่พ ลัง จิ ต ตัวเองด้วยพลังแห่ ง ช้างสาร และท าให้
ร่ างกายมี พ ลังแห่ งช้างสาร เรี ยกว่า รวมพลังกายกับ จิ ต ให้ตวั เองมี พ ลังแห่ งช้างสาร
นั้นเอง
การใช้พลังช้างสาร
จะรู ้ได้อย่างไรว่าตัวเองฝึ กพลังช้างสารแล้วมีพลังช้างสารจริ งๆ ไม่ได้คิดหรื อฝันไป เรา
มาทดสอบพลังตัวเอง ด้วยพลังช้างสารที่เกิดจากสมาธิ แห่งมโนภาพ ดังนี้
1. กาหนดจิตเป็ นสมาธิ ดว้ ยพลังแห่งช้างสาร
2. กาหนดกี่เชื อกก็ได้ เพราะเราใช้พลังช้างสาร จะกาหนดเชื อกเดียวหรื อสิ บเชือกหรื อเป็ น
ร้อยเป็ นพันเชือก ขึ้นอยูก่ บั อานาจสมาธิและบุญตัวเองเป็ นสาคัญ ในการใช้พลังช้างสาร61
3. กาหนดให้กายกับจิ ตมี พลังเท่ากับช้างสาร แล้วลองทดสอบพลังของตัวเองดูด้วยสมาธิ
มโนภาพแห่ งพลังช้างสาร ลองทดสอบยกของหนักเกินกว่าคนธรรมดายกขึ้นได้ แค่น้ ีก็รู้
แล้วว่าตัวเองสาเร็ จพลังช้างสารหรื อไม่
พลังช้างสารจะไร้ขีดจากัด ต้องประกอบด้วยหลัก ดังต่อไปนี้
1. การสร้างบารมี อย่างต่อเนื่ อง เช่น ทานบารมี เป็ นต้น ผูใ้ ห้ขา้ ว ชื่อว่าให้กาลัง แล้ว
ทาสมาธิเปลี่ยนบุญกุศลตัวเอง มาเป็ นพลังช้างสาร
2. ความโกรธถึ งสุ ดขี ด จนไม่สามารถควบคุ มพลังช้างสารไว้ได้ พลังช้างสารจะออกมา
เหนื อการควบคุ ม แห่ งสมาธิ ของจิ ต (จึ งควรระวัง ต่ อการใช้พ ลังช้างสาร ที่ ข าดการ
ควบคุมด้วยความโกรธ)
วิธีเคลื่อนย้ายพลังช้างสารจากภายนอกสู่ ภายใน
หลัก การเคลื่ อ นย้า ยพลัง ช้ า งสาร จากภายนอกสู่ ภ ายในจิ ต คื อ การท าสมาธิ ก าหนด
ช้างสารจากภายนอกร่ างกายเรา หมายถึ ง เอามือแตะที่ตวั ช้างจริ งๆ เพื่อดึ งพลังช้างเข้าสู่ ตวั เรา
เป็ นการเพิ่มพลังกายมี พลังเท่ากับช้างสารนั้นเอง วิธีเคลื่ อนย้ายพลังช้างสารจากภายนอกตัวช้าง
จริ งๆเข้ามาสู่ ตวั เรานี้ ก็เหมือนการชาร์จแบตเตอรี่ รถยนต์ ด้านหนึ่งมีไฟจะชาร์ จพลังให้แบตเตอรี่
ที่ไม่มีไฟ เป็ นการสปาร์ คพลังกัน สาหรับผูท้ ี่มีพลังช้างสารเท่านั้น ถึงจะถูกตัวช้างจริ งๆแล้วขอ
ชาร์ จแบตได้ สาหรับผูท้ ี่ ไม่มีพลังช้างสาร จะถูกตัวช้างสักร้ อยครั้งพันครั้ง ก็จะไม่รู้สึกอะไร
ไม่มีปฏิกิริยา
เคล็ดลับการใช้พลังช้างสาร
ให้เอาสติไปรวมเข้ากับจิต หมายถึง สติควบคุ มจิต แล้วนึ กถึ งช้างสารขึ้นที่ใจเกิ ดเป็ น
มโนภาพ แล้วเอาพลังช้างสารแผ่พลังไปทัว่ ตัว ตัวเองจะรู ้สึกถึงมีพลังช้างสารอยูต่ ลอดเวลา
การดึงพลังช้างสารออกมาใช้ ทาสมาธิ ให้นิ่ง ใช้มโนภาพนึ กถึงช้างสารไว้ที่กลางท้อง
แล้วกาหนดสติรวมเข้ากับสมาธิ และจิตให้เป็ นหนึ่ งเดียวกัน ดึงพลังช้างสารจากตรงกลางท้องไว้ที่
ฝ่ ามือ สุ ดแล้วแต่กาหนดใช้พลังช้างสารเพื่อยกของหนักเกิ นกว่าคนธรรมดาจะยกได้ หรื อจะใช้
พลังช้างสารเพื่อช่วยเหลือผูต้ กทุกข์ได้ยาก (ผูเ้ ขียนขออนุโมทนาบุญไว้ ณ ที่น้ ีดว้ ย สาธุ)

ผู้ให้ ข้าว ชื่อว่ า ให้ กาลัง


62
พลังชีวติ
พลังชีวติ คืออะไร การใช้พลังสติเรี ยกหรื อดึงพลังจิตให้เกิดเป็ นพลังของชีวติ
คนเราทุกวันฟังธรรมะหูซ้ายทะลุหูขวา ยากที่จะเข้าถึงสัจธรรม แค่พละ 5 อย่าง นี้ คือ
พลังชี วติ ที่เกิดจากการเข้าถึงสัจธรรม (พละ คือ ธรรมเป็ นกาลัง 5 อย่าง) มีพลังของพละ 5 อย่าง
สมบูรณ์ แล้วในผูใ้ ด ผูน้ ้ นั ย่อมมี สติ สมาธิ ปั ญญา ความฉลาดในอภิ นิหารรวมทั้งอภิ ญญาที่
สมบูรณ์แบบ
หัวใจของพลังชีวติ
1. สัทธา ความเชื่อ (ที่ไม่งมงาย มีสติสมาธิ ที่มนั่ คงไม่หวัน่ ไหว)
2. วิริยะ ความเพียร (ในสมาธิ ย่อมไม่มีความท้อแท้)
3. สติ ความระลึกได้ (คือ มีสติตามดูจิตของตัวเองตลอดเวลา ไม่ฟุ้งซ่าน)
4. สมาธิ ความตั้งใจมัน่ (การปล่อยวาง จิตเป็ นหนึ่งเดียว)
5. ปัญญา ความรอบรู้ (ในสมาธิ ฉลาดในการทาสมาธิ น้ นั เอง)
พละ คือ ธรรมเป็ นกาลัง 5 อย่างนี้ หรื อ อินทรี ย ์ 5 ก็เรี ยก เพราะเป็ นใหญ่ในกิ จ
ของตน เมื่อนามาประพฤติป ฏิบตั ิตามคาสอนของพระพุทธเจ้า สาเร็ จเป็ นสมาธิ อภิ จิต เรี ยกว่า
พลังชีวติ
การอ่านธรรมะให้เข้าถึงสัจธรรม
ปั จจุบนั คนอ่านหนังสื อธรรมะจะมากหรื อน้อย ส่ วนใหญ่มกั ไม่นามาปฏิบตั ิ จึงไม่เข้าถึง
แก่นแท้แห่ งสัจธรรม ความจริ งแล้วถ้าคนเราอ่านให้ลึกซึ้ งที่สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนแล้วนามา
ปฏิบตั ิ ก็จะเข้าถึงสัจธรรม รวมทั้งสมาธิ ที่เป็ นสมถะและวิปัสสนา
เมื่ออ่านธรรมะของพละ 5 ให้เข้าถึงแก่นแท้แห่ งสัจธรรม แล้วนามาปฏิบตั ิ จะเกิดเป็ น
สมาธิ แห่งพลังชีวติ ขึ้น การเข้าถึงพลังชีวติ สายอภิญญาแห่ง พละ 5 เป็ นดังนี้
การมีสัทธาที่ไม่งมงาย จะเกิ ดความเพียรไม่ทอ้ แท้ในสมาธิ ข้ ึน เวลาจะเข้าสมาธิ ก็มีสติ
กาหนดดูจิตตัวเอง ไม่ให้ฟุ้งซ่ านไปที่อื่น ปล่อยวางเรื่ องอารมณ์ ภายนอกไม่ให้มากระทบจิตใจ
ในขณะทาสมาธิ ส่ วนปั ญญาเป็ นการฉลาดในสมาธิ รู้จกั พลิกแพลงอภิญญา
อัปปนาสมาธิ
อารมณ์แห่งสมาธิ ที่เป็ นหนึ่งเดียว มีหลายระดับ แห่งการเข้า ดังนี้
1. อัปปนาสมาธิ เข้าแล้วตัดความรู้สึกทางกาย เรี ยกว่า เข้าสมาบัติ
2. อัปปนาสมาธิ เข้าแล้วยังมีความรู ้สึกอยู่ จะพูดหรื อคุยก็ได้ เป็ นการเข้าฌาน 4
เหมือนกัน เรี ยกว่า เข้าแบบใช้อภิญญา
3. อัปปนาสมาธิ เข้าเพื่อมาต่อญาณแห่งวิปัสสนา คือ เอาฌานเป็ นพื้นฐานของญาณ
เรี ยกว่า เข้าแบบเอาพลังฌานรวมเป็ นพลังญาณ
63
ข้อควรรู้ ในการทาสมาธิ
การที่คนเราจะเข้าได้ท้ งั ฌานและญาณ ต้องรู ้จกั ทาจิตใจให้แน่ วแน่ คือ การมีสตินาจิต
ไม่ให้หวัน่ ไหว รู ้จกั ปล่อยวางได้ เรี ยกว่า อารมณ์ของฌาน
แต่การจะเข้าญาณได้น้ นั สิ่ งที่ควรทราบ คือ ต้องมีจิตที่สงบนิ่ งไม่ฟุ้งซ่าน เรี ยกว่า จิต
เป็ นหนึ่ง เวลาใช้สติตามดูจิตแล้วพิจารณาธรรมะ จะเกิดปั ญญาพิจารณาอยูแ่ ต่เฉพาะเรื่ องธรรมะ
ที่พิจารณาเท่านั้น หรื อวิจารณ์ ธรรมะก็ไม่ฟุ้งซ่ านไปที่ อื่น เพราะจิตได้สงบเป็ นสมาธิ จึ งมี ท้ งั
สติ สมาธิ ปัญญา เรี ยกว่า อารมณ์ของญาณ
หมายเหตุ จิตสงบไม่ฟุ้งซ่ านพิจารณาธรรมะ เรี ยกว่า มีอารมณ์ของญาณทาให้แตกฉาน
ในธรรมะทั้งหลายทั้งปวง ถ้าจิตไม่สงบแล้วพิจารณาธรรมะ เรี ยกว่า จิตฟุ้ งซ่ าน เมื่อเข้าวิปัสสนา
พิจารณาธรรมะ ก็รู้มาก แต่รู้ไม่จริ ง รู ้หลายอย่างแต่ไม่เกิดปั ญญาแตกฉานสักเรื่ องหรื อสักอย่าง
เพราะเวลาเข้าวิปั ส สนา จิ ตยังคงฟุ้ งซ่ านอยู่ พิ จารณาเรื่ องธรรมะยังไม่ สงบเกิ ดเป็ นความรู ้ ใน
ธรรมะหรื อปั ญญาแตกฉานในธรรมขึ้ น ก็ไปคิดเรื่ องโน้นเรื่ องนี้ แล้วอย่างนี้ จะมีความรู้ ทาง
ธรรมหรื อแตกฉานในธรรมะ แห่งวิปัสสนาก็หาได้ไม่
หลักการใช้พลังชีวติ ที่สาเร็ จด้วยอานาจสมาธิ
เมื่ อร่ างกายหมดแรงหรื อป่ วยไข้ลุกเดิ นไม่ข้ ึ น หรื อร่ างกายแข็งแรงแต่อยากใช้พลังชี วิต
ให้กาหนดสมาธิ นึกถึงหลักของพละ 5 เกิดเป็ นอภิญญา คือ มีสติรวมเข้ากับจิตที่เป็ นหนึ่ งเดียว
เชื่ อ มั่น สั ท ธาในพลัง สมาธิ ข องตัว เอง มี ค วามเพี ย รในการสมาธิ แ ละด ารงฌานและญาณไว้
ตลอดเวลา เกิดความรู ้มีปัญญาฉลาดในหลักของสมาธิ
ตัวอย่าง การใช้พ ลังชี วิตรั ก ษาอาการป่ วยไข้ไม่ มีแรงลุ กขึ้ นเดิ น มี หลักการในการท า
สมาธิ ดังต่อไปนี้ คือ
สัทธาในพลังสมาธิ ของตัวเอง คือ เชื่อมัน่ ว่าตัวเองต้องทาได้ มีความเพียรอย่างไม่ลดละ
ในการทาสมาธิ เข้าสมาธิ โดยเอาสติไปรวมกับจิตให้เป็ นหนึ่ งเดียวกัน แล้วดึงพลังจิตให้เกิดเป็ น
พลังของชี วิต แผ่พ ลังไปทัว่ ร่ างกาย ให้ท้ งั กายและจิตรวมเป็ นหนึ่ งเดี ยวด้วยพลังชี วิต เมื่อยัง
ไม่ส ามารถใช้พ ลังสมาธิ ของพลังจิ ตได้ มี ปัญญาค้นหาสาเหตุและจุ ดบกพร่ องของสมาธิ ตวั เอง
จะมี ท้ ัง สติ จิ ต ปั ญ ญา รวมพลัง กัน เป็ นหนึ่ งเดี ย ว ก็ จ ะเกิ ด มี แ รงลุ ก ขึ้ น เดิ น ได้อ ย่างสบาย
เรี ยกว่า พลังจิตไปรักษาร่ างกายเกิดเป็ นพลังของชีวติ
64
สรุ ปหลักการใช้พลังชีวติ
การใช้พลังชี วิตได้น้ นั ต้องฝึ กจิตให้เป็ นสมาธิ อยูอ่ ย่างสม่าเสมอ มีความเพียรความรู้ใน
การเข้าถึงสมาธิดว้ ยหลักของพละ 5 อย่าง มีวธิ ี ทาจิตให้เกิดเป็ นพลังชีวติ ดังนี้
1. มีสัทธาเชื่อในพลังสมาธิ ของตัวเอง และความเพียรพยายามในการทาสมาธิ ไม่ลดละ คือ
ไม่นึกถึงสิ่ งที่ทาสมาธิ ไม่ได้ในอดีต เพื่อให้จิตเกิดความท้อแท้ รวมทั้งไม่นึกถึงสิ่ งที่ยงั มา
ไม่ถึงในอนาคต คือ ผลของสมาธิ ในอนาคต (ผลสมาธิของอภิญญา) ทาให้จิตเกิดกิเลส
อยากได้ อยากมีและอยากเป็ น เป็ นความฟุ้ งซ่ าน พยายามกาหนดสติอยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั
ในการทาสมาธิ ให้ดีที่สุด ได้หรื อไม่ได้สมาธิ ในสายอภิ ญญา อย่าไปสนใจให้มากนัก
ในขณะทาสมาธิ จิตจึงสงบเป็ นสมาธิ
2. ท าสติ รวมกับ จิ ต ให้ เป็ นหนึ่ งเดี ย ว หมายถึ ง ท าสมาธิ โ ดยใช้ส ติ ค วบคุ ม จิ ต ในขณะ
เข้าสมาธิ ไม่เกิดเป็ นความฟุ้ งซ่าน สติสามารถควบคุมจิตให้ดารงสมาธิ อยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั
3. เมื่ อจิ ตยังท าสมาธิ ไ ม่ไ ด้ก็ เกิ ดปั ญ ญาแก้ไขจุ ดบกพร่ อ งของตัวเอง เมื่ อท าสมาธิ ได้ก็ ใช้
ปัญญาพิจารณาหาหนทางพัฒนาสมาธิจิตและอภิญญา

การใช้ พลังชี วิตนั้น กล่ าวคือ มีสัทธารวมกับความเพียร มีสติรวมกับจิต


ให้ เป็ นหนึ่งเดียว มีปัญญาฉลาดในสมาธิและอภิญญา เรียกว่ า สาเร็ จสมาธิด้วย
หลักการทาสมาธิของพละ 5 เกิดเป็ นพลังชีวติ ดังนี้
65
พลังลมปราณ
พลังลมปราณ คือ พลังลมที่เกิ ดจากอานาจของสมาธิ แล้วหมุนพลังลมไปทัว่ ร่ างกาย
เป็ นพลังลมปราณ
การฝึ กพลังลมปราณ มีหลักใหญ่อยู่ 2 อย่าง คือ
1. พลังลมปราณ ที่ฝึกจากการเพ่งลมหายใจเข้าออก (เรี ยกว่า อานาปานสติ)
2. พลังลมปราณ ที่ฝึกจากการเพ่งกสิ ณลม (เรี ยกว่า ลมปราณกสิ ณลม)
การฝึ กพลังลมปราณ จากการเพ่งลมหายใจเข้าออก
หลักการฝึ กพลังลมปราณ โดยการเพ่งลมหายใจเข้าออก เรี ยกว่า อานาปานสติ เริ่ มต้น
จากการฝึ ก คือ การเพ่งลมหายใจเข้าออก กาหนดสติพิจารณาลมหายใจเข้าออก จะภาวนาโดย
กาหนดสติ พิจารณาลมหายใจเข้าออกว่า พุทโธ หรื อ ยุบหนอ พองหนอ หรื อ สัมมาอรหัง
ก็ได้ อย่างใดอย่างหนึ่งที่ตวั เองถนัด
เมื่ อสติกาหนดพิจารณาลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูก โดยสติกาหนดจิตดูลมหายใจเข้า
ออกอยูน่ ้ ี จิตก็จะไม่คิดฟุ้ งซ่ านไปที่อื่น นิ่ งเป็ นสมาธิ เกิดเป็ นพลังลมที่เกิดจากอานาจของสมาธิ
เรี ยกว่า ลมปราณของอานาปานสติ
การฝึ กพลังลมปราณ จากการเพ่งกสิ ณลม
หลักการฝึ กพลังลมปราณ โดยการเพ่งกสิ ณลม คือ กาหนดการเพ่งลมพัดไปลมที่มีอยู่
ในธรรมชาติ ลมที่ไม่หยุดนิ่ง ลมจากพัดลม ลมที่มีอยูใ่ นท้อง จนเกิดเป็ นสมาธิ แล้วจิตนิ่ งด้วย
พลังของกสิ ณลม จนได้นิมิต คือ สติสามารถกาหนดจิตเข้าสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลมได้ทุกครั้ง โดยที่
จิตไม่คิดฟุ้ งซ่ านไปที่อื่น เรี ยกว่าสาเร็ จอานาจสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม จึงสามารถเรี ยกพลังลมปราณ
ตัวเองออกมาได้
สมาธิ จิตแห่งพลังลมปราณ
เมื่อจิตได้ฝึกฝนอบรมสมาธิ จนเกิ ดเป็ นพลังลมปราณแล้ว สติ ก็สามารถกาหนดจิตเรี ยก
พลังลมปราณออกมาได้ทุกเวลา อานาจแห่งพลังลมปราณของสมาธิ
การหมุนหรื อการโคจรลมปราณ จะบังเกิ ดมี หรื อทาได้ ผูน้ ้ ันต้องสาเร็ จพลังลมปราณ
แล้ว มิฉะนั้น จะทาการหมุนลมปราณของตัวเอง หรื อจะทาการโคจรลมปราณของตัวเองไม่ได้
ให้ยอ้ นกลับไปฝึ กการเพ่งพลังลมปราณใหม่ จะฝึ กแบบเพ่งลมหายใจเข้าออก หรื อแบบกสิ ณลม
ก็ได้ สุ ดแล้วแต่จริ ตของตัวเอง
อานาจแห่ งพลังลมปราณของสมาธิ คือ ประโยชน์ของผูส้ าเร็ จสมาธิ ดว้ ยพลังลมปราณ
สามารถใช้พ ลังลมปราณของตัวเองได้ต ามแต่ ใ จประสงค์ สุ ด แล้วแต่ ผูน้ ้ ัน จะก าหนดใช้พ ลัง
ลมปราณของตัวเอง ตัวอย่างเช่น คลื่นไหวไปมาได้รวดเร็ วดุจลม , มีลมหายใจที่ดีและบริ สุทธิ์
แม้อยู่ในที่ ที่ มี อากาศถ่ ายเทน้อย ก็ส ามารถเรี ยกพลังลมปราณของตัวเองออกมาเป็ นลมหายใจ
และการใช้พลังลมปราณรักษาโรคให้ผอู้ ื่น เป็ นต้น ฯลฯ
66
หลักการโคจรพลังลมปราณ
เมื่อสาเร็ จสมาธิ ดว้ ยพลังลมปราณแล้ว มีหลักการฝึ กต่อไปอีก เรี ยกว่า หลักการโคจร
พลังลมปราณของตัวเอง
หลักการโคจรพลังลมปราณของตัวเอง กระทาได้ดงั นี้ คือ
1. กาหนดสติเรี ยกพลังลมปราณของตัวเองออกมา
2. กาหนดหมุ นพลังหรื อโคจรพลังลมปราณ เริ่ ม ต้น จากปลายจมู ก หรื อ เริ่ มต้น จาก
ตรงท้อง อันไหนก่อนก็ได้ แล้วโคจรไปตามตัวจนทัว่ ร่ างกาย
3. เมื่อฝึ กโคจรพลังลมปราณไปจนทัว่ ร่ างกายแล้ว ต้องฝึ กต่อไปจนชานาญ เรี ยกว่าฝึ กโคจร
พลังลมปราณของตัวเอง
หลักการใช้พลังลมปราณ
เมื่ อส าเร็ จการโคจรลมปราณของตัวเองแล้ว ก็ จะบังเกิ ดมี ค วามรู ้ ใช้พ ลังลมปราณของ
ตัวเอง
หลักการใช้พลังลมปราณของตัวเอง กระทาได้ดงั นี้ คือ
1. กาหนดสติดว้ ยลมหายใจ เพื่อเรี ยกพลังลมปราณ หรื อกาหนดสติดว้ ยกสิ ณลม เพื่อเรี ยก
พลังลมปราณของตัวเองออกมา
2. เมื่ อกาหนดสติเรี ยกพลังลมปราณของตัวเองออกมา เรี ยกว่า อยู่ในสภาพพร้ อมที่จะใช้
ลมปราณของตัวเอง
3. ให้อธิ ษฐานจิตใช้พลังลมปราณ ตัวอย่างเช่น จะทาให้ร่างกายแข็งแรงก็ใช้พลังลมปราณ
โคจรไปจนทัว่ ร่ างกาย ให้ร่างกายของตัวเองเกิ ดความกระปรี้ กระเปร่ า หรื อจะใช้พลัง
ลมปราณรักษาโรคให้คนอื่น ก็กาหนดสติเรี ยกพลังลมปราณให้ออกมาอยู่ที่ปลายฝ่ ามื อ
แล้วถ่ายพลังลมปราณรักษาโรคให้คนอื่น เป็ นต้น ฯลฯ

พลังลมปราณจะเกิดมีได้ สาหรับผู้ที่มีสมาธิ เท่ านั้น


67
วิชาเคลือ่ นไหวชั่วพริบตา
การฝึ กวิชาเคลื่ อนไหวชัว่ พริ บตา หรื อวิชาเดินเหิ นไปมารวดเร็ วดุ จสายลม ก่อนอื่นต้อง
รู้จกั ฝึ กเดินจงกรม เป็ นอันดับแรก เพราะการฝึ กเดินจงกรมเป็ นการฝึ กสติควบคุมร่ างกายและเท้า
เวลาก้าวเดินไปมา
วิชาเคลื่ อนไหวชัว่ พริ บตา จะสาเร็ จได้ด้วยมโนภาพทาร่ างกายตัวเองให้เบาเวลาเดิ นจะ
เคลื่อนไหวไปมารวดเร็ วดุจสายลม หรื อกสิ ณลมทาร่ างกายและจิตตัวเองให้กลายเป็ นสายลมเวลา
เคลื่อนไหวไปมา
การฝึ กสติเดินจงกรม
หลายท่ านที่ เป็ นนักปฏิ บ ตั ิ ธ รรม ส่ วนใหญ่ ก็ เคยฝึ กเดิ นจงกรม แต่ วิชาเคลื่ อนไหวชั่ว
พริ บตา เป็ นการฝึ กเดิ นจงกรมให้พิเศษยิ่งขึ้นไปอีก คือ ฝึ กสติกาหนดดูปลายเท้าเวลาก้าวเดิ น
เวลาจะก้าวเดิน สติก็กาหนดรู ้วา่ เดิน จะก้าวย่าง สติก็กาหนดรู ้วา่ กาลังก้าวย่าง “ภาวนาว่า ซ้าย
ย่างหนอ ขวาย่างหนอ” จนมีสติทุกย่างก้าวเวลาเดิน เริ่ มต้นจากการเดินช้าก่อน จนมีสติควบคุม
ทุกอิริยาบถย่างก้าวที่เดิน
การฝึ กเดิ นจงกรม เริ่ มต้นจากการมีสติควบคุ มการก้าวเดิ นทุ กอิริยาบถย่างก้าวที่เดินจาก
เดินช้าจนชานาญแล้ว ต่อมาก็กาหนดสติให้ร่างกายเบาควบคุ มปลายเท้าที่ ยา่ งก้าวที่ เดิ น ตามอง
ทาง ไม่ให้เดินชนสิ่ งของหรื อหนทางหรื อคนอื่น เวลาเราเคลื่อนไหวไปมารวดเร็ ว
การฝึ กวิชาเคลื่อนไหวชัว่ พริ บตา
หลักการฝึ กวิชาเคลื่อนไหวชัว่ พริ บตา มีอยู่ 2 อย่าง คือ วิธีที่หนึ่ งทาร่ างกายตัวเองเบา
ด้วยหลักมโนภาพ และวิธีที่สองเคลื่อนไหวไปมารวดเร็ วด้วยหลักของกสิ ณลม
เมื่อฝึ กเดินจงกรมจนชานาญแล้ว เรามาฝึ กเดินเหิ นไปมาให้รวดเร็ ว ด้วยหลั กของสมาธิ
โดยเริ่ มต้นจากการฝึ กสติซ่ ึงเป็ นประธานของวิชานี้
วิธีที่หนึ่งทาร่ างกายตัวเองเบาด้วยหลักมโนภาพ
การเดิ น เหิ น ไปมารวดเร็ ว ด้วยหลัก ของมโนภาพเป็ นการท าร่ างกายของตัวเองให้เบา
แล้วใช้สติกาหนดการเคลื่อนไหว สติดูทางและควบคุ มปลายเท้าที่ยา่ งก้าวเดิ น สรุ ปหลักการฝึ ก
และใช้วชิ ามโนภาพเคลื่อนไหวเร็ ว ได้ดงั นี้
1. เข้าฌานสมาธิ กาหนดร่ างกายของตัวเองให้เบาด้วยหลักของมโนภาพ
2. กาหนดสติรวมเข้ากับจิตที่เป็ นสมาธิ ให้เป็ นหนึ่งเดียวกัน
3. กาหนดสติควบคุมปลายเท้าทุกย่างก้าวที่เดิน และตามองทางด้วย
4. เมื่อสติควบคุมปลายเท้าทุกย่างก้าวเดินแล้ว อธิ ษฐานจิตด้วยหลักมโนภาพ คือ ทาร่ างกาย
ตัวเองให้เบา และร่ างกายมีความเร็ วพอๆกับความเร็ วของจิต
5. เมื่ อ กายกับ จิ ต ประสานกัน เป็ นหนึ่ งเดี ย ว ร่ างกายจะมี ค วามเร็ วเท่ ากับ พลัง จิ ต ของเรา
กาหนดให้เดินเร็ ว จะเดินได้เร็ วมากหรื อเร็ วน้อย ขึ้นอยูก่ บั พลังสมาธิและพลังจิตของผูน้ ้ นั
68
วิธีที่สองเคลื่อนไหวไปมารวดเร็ วด้วยหลักของกสิ ณลม
การเคลื่ อ นไหวไปมาด้วยหลัก ของกสิ ณ ลมนั้น คื อ ก าหนดสมาธิ ด้วยกสิ ณ ลม ท า
ร่ างกายของตัวเองให้มีพลังลม เวลาเดินเหิ นจะได้เร็ วเหมือนลม ผูท้ ี่จะเคลื่ อนไหวไปมาให้เร็ วได้
ด้วยกสิ ณลม ก่อนอื่นต้องสาเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม ถ้ายังไม่สาเร็ จกสิ ณลมก็ยงั ไม่สามารถใช้พลัง
สมาธิให้เคลื่อนไหวไปมารวดเร็ วเหมือนลมได้ ต้องย้อนกลับไปฝึ กกสิ ณลมใหม่ คือ การเพ่งลม
นั้นเอง ลมจากอากาศพัดไปมา ลมจากพัดลม ลมหายใจ ลมไปตามตัว ลมที่เกิดขึ้นจากในท้อง
กาหนดให้เป็ นสมาธิ เป็ นต้น ฯลฯ พยายามฝึ กกสิ ณลมจนได้นิมิต เมื่อได้กสิ ณลมจนเป็ นนิมิต
แล้ว ให้ฝึกวิชาเคลื่อนชัว่ พริ บตา ด้วยหลักของกสิ ณลม ดังนี้
1. กาหนดสติเข้าฌานสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม
2. กาหนดพลังของกสิ ณลมให้อยูท่ วั่ ร่ างกายเต็มไปด้วยพลังของลม
3. เมื่อแผ่พลังของกสิ ณลมไปทัว่ ร่ างกายแล้ว ให้กาหนดสติใช้พลังของกสิ ณลม ให้ร่างกาย
เคลื่อนไหวไปมาเร็ วดุจลม
4. เวลาเดินเหิ นเร็ วดุจลม ให้กาหนดสติควบคุมปลายเท้าด้วย ตามองทางจะได้ไม่ชนสิ่ งของ
หรื อทาง หรื อคนอื่น

อากาศก็สักแต่ ว่าอากาศ
ความว่ างก็สักแต่ ว่าความว่ าง
ไม่ ควรยึดติด จึงสามารถปล่ อยวางได้ อย่ างมีสติ
69
วิชาเรียกพายุ
วิชาเรี ยกพายุ คือ ทาให้เกิดลมด้วยอานาจของสมาธิ เป็ นการใช้อภิญญาเรี ยกลม นั้นเอง
การฝึ กวิชาเรี ยกพายุน้ นั สาเร็ จได้ดว้ ยอานาจสมาธิ แห่ งกสิ ณลม , พายุ คือ ธาตุลม ผูท้ ี่
จะเรี ยกพายุได้ ต้องสาเร็ จกสิ ณลม จึงจะสามารถทาได้
ประโยชน์ของการเรี ยกพายุ อยู่ในที่ อากาศร้ อน ฟ้ าฝนไม่ตกตามฤดู กาล สั่งเรี ยกพายุ
และให้ลมจับก้อนเมฆไว้เยอะๆ เป็ นการเรี ยกทั้งลมทั้งฝน การเข้าใจประโยชน์และวิธีใช้ คื อ
สามารถควบคุมลมพายุได้ ไม่ให้มากและน้อยจนเกินไป
โทษของการเรี ยกพายุ คือการที่ ไม่สามารถควบคุ มลมพายุได้ เรี ยกลมออกมามากเกิ น
ความจาเป็ น ท าให้เกิ ดวาตภัย ผูท้ ี่ ไม่ส ามารถเข้าใจโทษของการเรี ยกพายุ ที่ ขาดการควบคุ ม
ได้อย่างเข้าใจให้ถ่องแท้ ย่อมไม่สามารถเข้าใจลึกซึ้ งในประโยชน์และโทษของการเรี ยกพายุ
เริ่ มต้นฝึ กวิชาเรี ยกพายุ
การที่เราจะเรี ยกพายุได้น้ นั อย่างที่กล่าวไว้ขา้ งต้น ต้องฝึ กสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม เพราะพายุ
คือ ธาตุลม ผูท้ ี่จะเรี ยกพายุได้ ต้องสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณลม
หลักการฝึ กสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม คือ กาหนดพิจารณาเพ่งลม ลมจากธรรมชาติ ลมพัดไป
ตามตัว ลมจากพัดลม เป็ นต้น ฯลฯ กาหนดให้จิตเป็ นสมาธิ ดว้ ยกสิ ณลม สามารถจะนึกหรื อ
หลับตาเข้าออกเป็ นสมาธิดว้ ยกสิ ณลมได้ จนสาเร็ จเป็ นสมาธิและได้นิมิตของกสิ ณลม
เมื่อได้นิมิตของกสิ ณลมแล้ว ก่อนอื่นเป็ นอันดับแรกที่จะเรี ยกพายุน้ นั เราต้องฝึ กควบคุม
ลมให้ได้เสี ยก่อน ไม่ใช่ ยงั ควบคุ มลมไม่ได้ เรี ยกลมมากเกิ นความจาเป็ น ทาให้เกิ ดวาตภัยได้
การฝึ กควบคุมพลังลมนั้น กาหนดสมาธิ ข้ ึนด้วยกสิ ณลม ทาร่ างกายตัวเองกายเป็ นธาตุลม หรื อมี
พลังลมเกิดขึ้นที่ร่างกาย พัดไปมาที่ร่างกายหรื อพัดไปมาอยูท่ วั่ ตัว แล้วลองควบคุมลมที่ร่างกายดู
จะทาให้ม ากหรื อน้อยก็ได้แล้วแต่ใจตัวเองจะต้องการ การควบคุ มธาตุ ลมที่ เกิ ดจากอานาจของ
สมาธิ น้ นั อธิ บายให้เข้าใจง่ายขึ้น คือ การฝึ กย่อขยายดวงกสิ ณนั้นเอง ถ้าต้องการให้พลังลมมาก
ก็ขยายดวงกสิ ณนิ มิตของสมาธิ ให้ธาตุลมมาก ถ้าต้องการให้ธาตุ ลมน้อย ก็ลดย่อดวงกสิ ณของ
ธาตุลมลงมา
เมื่อสามารถกาหนดและบังคับธาตุลมได้แล้ว จะเรี ยกลมให้มากหรื อน้อยนั้นเอง ก็ลอง
ฝึ กเรี ยกลม ที่ อยู่ภายนอกขึ้ นว่าจะเรี ยกให้ม ากหรื อน้อยดู อันดับแรก ควรเริ่ ม จากน้อย เพื่ อ
ควบคุมลมที่เราเรี ยกขึ้นจากภายนอกร่ างกาย สาเร็ จเป็ นสมาธิของกสิ ณลมดู เรี ยกลมจากน้อยแล้ว
ควบคุมลมพัดไปมาจะให้พดั ไปทางซ้ายหรื อขวา เมื่อเราฝึ กการควบคุ มลมจนชานาญ ก็สามารถ
เรี ยกลม จากภายนอกเป็ นลมที่สาเร็ จด้วยอานาจสมาธิ ขึ้นทีละมากๆได้ เป็ นการเรี ยกพายุน้ นั เอง
70
สรุ ปวิธีการฝึ กและเรี ยกพายุ
1. ฝึ กสมาธิดว้ ยกสิ ณลมจนได้นิมิต
2. เข้าสมาธิดว้ ยกสิ ณลม แล้วฝึ กควบคุมลมจะให้มากหรื อน้อย
3. ก่อนอื่ นเมื่ อเริ่ มต้นควรเรี ยกลม และควบคุ มลมที ละน้อยดู เมื่อสามารถควบคุ มได้แล้ว
จึงค่อยเรี ยกลมทีละมาก (เป็ นการฝึ กย่อขยายกสิ ณลมนั้นเอง)
4. เมื่อฝึ กเรี ยกลมและบังคับควบคุมลมได้ เป็ นวสี สมาธิ จึงเรี ยกลมที ละมากๆ ก็จะสาเร็ จ
วิชาเรี ยกพายุ ดังนี้

ธาตุท้งั 4 ไม่ มธี าตุใดชนะได้ ตลอดกาล


3 ฤดู ไม่ อยู่คงทีเ่ สมอไป ใดๆในโลก จึงล้ วนอนิจจัง
ด้ วยเหตุนี้ จึงไม่ ควรยึดติด ให้ ใจเราเป็ นทุกข์
71
วิชาสลายพายุ
วิชาสลายพายุ คือ วิชาที่ทาตรงข้ามกับการเรี ยกพายุ หมายถึง เมื่อเรี ยกลมออกมามาก
เกินไป อาจเกิดวาตภัยได้ หรื ออยูใ่ นที่ที่มีลมพายุมาก ก็ใช้วชิ าสลายพายุ ดังนี้
การฝึ กวิชาสลายพายุน้ ี จะสาเร็ จได้ดว้ ยกสิ ณลม คือ บังคับให้ลมพายุจากมากกลายเป็ น
น้อย หรื อสาเร็ จสมาธิดว้ ยกสิ ณอากาศ คือ บังคับให้ลมพายุสลายกลายเป็ นอากาศธาตุ
การฝึ กวิชาสลายพายุดว้ ยกสิ ณลม
การฝึ กวิชาสลายพายุดว้ ยกสิ ณลมนี้ คือ ฝึ กเพ่งกสิ ณลม ย่อลมจากมากให้กลายเป็ นน้อย
การที่เราจะใช้พลังของกสิ ณลม ย่อลมหรื อสลายลมที่มีอยูม่ ากให้กลายเป็ นน้อยได้น้ นั เราจะต้อง
ฝึ กให้ได้นิมิตของกสิ ณลมก่อน และฝึ กควบคุมพลังลมจากมากให้กลายเป็ นน้อย จากน้อยให้ลม
หายไปในอากาศ
มีหลักการฝึ กและใช้วชิ าสลายพายุดว้ ยกสิ ณลม ดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิดว้ ยกสิ ณลมจนได้นิมิต
2. เข้าฌานสมาธิดว้ ยกสิ ณลม
3. บังคับควบคุมลมพายุที่มากให้กลายเป็ นน้อย จากน้อยให้สลายกลายเป็ นอากาศ
การฝึ กวิชาสลายพายุดว้ ยกสิ ณอากาศ
การฝึ กวิชาสลายพายุดว้ ยกสิ ณอากาศนี้ คือ ฝึ กเพ่งอากาศ เพ่งอากาศที่เป็ นช่ องว่างให้
เป็ นดวงกลมๆของอากาศ เป็ นการเจริ ญกสิ ณอากาศ ให้สาเร็ จเป็ นดวงนิ มิตของอากาศ จะฝึ ก
พิสดารให้หลับตาและลืมตาเพ่งอากาศ จนจาได้เป็ นนิมิตติดตาของกสิ ณอากาศ
เมื่อฝึ กกสิ ณอากาศสาเร็ จแล้ว ต่อมาให้ฝึกทาให้ลมกลายเป็ นอากาศธาตุ ฝึ กควบคุมและ
สลายธาตุลมกลายเป็ นธาตุอากาศ
หลักการฝึ กและใช้วชิ าสลายพายุดว้ ยกสิ ณอากาศ ดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิดว้ ยกสิ ณอากาศจนได้นิมิต
2. เข้าฌานสมาธิ ด้วยกสิ ณอากาศ เริ่ มฝึ กสลายธาตุ ลมจากมากให้กลายเป็ นน้อย จากน้อย
กลายเป็ นอากาศธาตุ
3. เมื่อฝึ กบังคับธาตุลมด้วยกสิ ณอากาศ ใช้อภิญญาสมาธิ สลายพายุให้กลายเป็ นอากาศธาตุ

การพิจารณาลมหายใจเข้ าออกทุกขณะจิต
จึงเป็ นผู้มีสติ ไม่ ประมาททุกเมื่อ
72
วิชาล่ องหนหายตัวในอากาศ
วิชาล่องหนหายตัวในอากาศ เป็ นวิชาแคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวง วิชานี้จะสาเร็ จได้
ด้วยจิตที่เป็ นสมาธิ การล่องหนหายตัวในอากาศ จะทาได้ดว้ ยกสิ ณ 2 อย่าง คือ
1. กสิ ณอากาศ ใช้อากาศปกคลุมตัวเราทาให้คนอื่นมองไม่เห็น
2. กสิ ณสี เขียว อยูต่ ามป่ าใช้สีเขียวปกคลุมธรรมชาติทาให้อากาศมืดลง สัตว์ร้ายและ
คนอื่นจะมองไม่เห็น เรี ยกว่า ใช้กสิ ณสี เขียว รวมเข้ากับธรรมชาติ
พรางตานั้นเอง
การล่องหนหายตัวด้วยอานุภาพกสิ ณอากาศ
ในการจะล่องหนหายตัวได้น้ นั ต้องใช้พลังสมาธิอภิญญามาก ผูฝ้ ึ กจะใช้วชิ าแคล้วคลาด
ป้ องกันตัวเองจากภยันตราย อันดับแรกต้องเริ่ มต้นฝึ กกสิ ณอากาศ คือ เพ่งอากาศ เป็ นช่ องว่าง
วงกลมๆของอากาศ จะหลับ ตาและลื ม ตาให้ เกิ ด เป็ นนิ มิ ต ของอากาศกสิ ณ ก่ อนจะใช้วิช า
ล่องหนหายตัวในอากาศด้วยกสิ ณอากาศ ต้องรู ้จกั ฝึ กพลังของกสิ ณอากาศที่ตวั เองสาเร็ จเป็ นนิมิต
ของสมาธิ คือ ใช้พลังของกสิ ณอากาศปกคลุมธรรมชาติและตัวเองจากที ละน้อยไปหามาก และ
ปกคลุมธรรมชาติและฝึ กปกคลุ มตัวเองทั้งหมด ด้วยพลังอานุ ภาพของกสิ ณอากาศ แล้วต้องฝึ ก
คลายพลังของกสิ ณอากาศด้วยเป็ นการตรงกันข้ามกับวิชาพรางตา คือ เมื่อล่องหนหายตัวแล้ว ก็
เลิ กล่องหนให้คนอื่นเขาเห็นตัวเองเหมือนเดิม ถ้าฝึ กคลายอานุ ภาพกสิ ณอากาศไม่เป็ นต้องอยู่ตวั
คนเดียวกล่าวคือ จะไปคุยหรื อทักใครเขาก็มองไม่เห็นตัวเรา เพราะตัวเราได้กลายเป็ นอากาศธาตุ
เพราะฉะนั้ น ก่ อ นจะล่ อ งหนด้ ว ยอานุ ภ าพของกสิ ณอากาศ ต้ อ งรู้ จ ัก ฝึ กคลายกสิ ณด้ว ย
หมายความว่า ฝึ กปกคลุมทุกอย่างให้กลายเป็ นอากาศเป็ นการเข้าฌาน และฝึ กคลายทุกอย่างที่เรา
ปกคลุ มไว้ดว้ ยอานุ ภาพของกสิ ณอากาศ ก็คลายออกจากฌาน เป็ นการทาทุกอย่างให้ปรากฏได้
เหมื อนเดิ ม เป็ นการถอนออกจากอานุ ภาพของฌานนั้นเอง คือ อธิ ษ ฐานเข้าฌานได้ ก็ ต้อง
อธิ ษฐานออกจากฌานได้ เรี ยกว่า วสี สมาธิ
การล่องหนหายตัวด้วยอานุภาพกสิ ณอากาศ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กกสิ ณอากาศจนได้นิมิต
2. ฝึ กพลังของกสิ ณอากาศปกคลุมธรรมชาติ ย่อขยายพลังของกสิ ณจนชานาญ
3. ใช้พลังของกสิ ณอากาศปกคลุมตัวเอง ให้ล่องหนหายตัวได้ในอากาศ
การคลายวิชาล่องหนหายตัวในอากาศ ทาตรงกันข้ามและคู่กบั การล่ องหนหายตัวเสมอ
มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ย่อพลังของกสิ ณที่ขยายปกคลุมร่ างกาย ให้หายไป เรี ยกว่า ทาให้ปรากฏเหมือนเดิม
2. คลายออกจากฌานสมาธิดว้ ยอานุภาพของกสิ ณอากาศ
73
การล่องหนหายตัวด้วยอานุภาพกสิ ณสี เขียว
ในการออกธุ ดงค์ตามป่ าเขา ย่อมพบเจอกับ ภยัน ตรายจากสั ตว์ร้ายต่ างๆนาๆประการ
การล่ องหนหายตัวตามป่ าเขา เป็ นการใช้กสิ ณสี เขียวปกคลุ มต้นไม้ให้เขี ยวหมดและบังคับให้
อากาศมืดลง เป็ นการพรางตัวเองจากสัตว์ร้ายนั้นเอง
การฝึ กกสิ ณสี เขียวนั้น คือ การเพ่งสี เขียวเป็ นวงกลม เป็ นดวงกสิ ณสี เขียว จะหลับตา
หรื อลืมตาให้เป็ นนิมิตติดตา สามารถเข้าออกจากฌานได้ชานาญจนเป็ นวสี เมื่อได้นิมิตของกสิ ณ
สี เขียวแล้ว ฝึ กปกคลุมธรรมชาติตน้ ไม้ให้เขียวและให้อากาศมืดลง หรื อทาทุกอย่างให้สีเขียวหมด
เป็ นการใช้พลังของกสิ ณสี เขียวร่ วมกับธรรมชาติ มีตน้ ไม้ เป็ นต้น เป็ นการพรางตาจากสัตว์ร้าย
ต่างๆ เมื่อออกธุ ดงค์ตามป่ าเขานั้นเอง
การล่องหนหายตัวด้วยอานุภาพกสิ ณเขียว มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าฌานสมาธิดว้ ยกสิ ณสี เขียว
2. อธิษฐานจิตด้วยอานุภาพของกสิ ณสี เขียว
3. บังคับให้ทุกอย่างที่อยูต่ ามธรรมชาติ มีตน้ ไม้ เป็ นต้น สี เขียวมากขึ้น เป็ นการพรางตา
จากสัตว์ร้าย หรื อบังคับให้สีเขียวปกคลุมต้นไม้จนอากาศมืด เป็ นการพรางตัว เช่นกัน
การคลายวิชาล่องหนหายตัวด้วยอานุ ภาพกสิ ณสี เขียว เป็ นการทาตรงกันข้ามและควบคู่
กันไปเสมอ กับการล่องหนพรางตา มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. คลายสมาธิจากกสิ ณสี เขียว
2. อธิษฐานจิตให้ทุกอย่างปรากฏเหมือนเดิม จากสี เขียวที่ปกคลุมไว้ ก็ให้หายไป
3. เมื่อทาทุกอย่างให้ปรากฏเหมือนเดิมแล้ว ออกจากฌานสมาธิ

อภิญญาก็สักแต่ ว่าอภิญญา
นิมิตแม้ จะจริงหรือเท็จ
ก็ควรรู้ ด้วยสติ ปล่ อยวางด้ วยปัญญา
74
วิชาอัญเชิญพระธาตุกายสิ ทธิ์ (มหาธาตุแห่ งโชคลาภ พระสี วลี)
ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิ ญมหาธาตุพระสี วลี จงมาเป็ นธรรมบาลช่ วยเหลื อผูต้ กทุกข์ได้ยาก
คนที่เขาเดือดร้อน ข้าพเจ้าขอน้อมอัญเชิ ญด้วยใจสัทธาและเคารพยิ่งพร้ อมขึ้นบูชา ในพระธาตุ
ทั้งหลายและสงฆ์สาวกของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
ข้าพเจ้าขอกราบอภิวาท อัญเชิ ญด้วยเคารพยิ่งพร้ อมขึ้นบูชา (ในพระสี วลี สังฆรัตนะ
แห่งโชคลาภ)
ธาตุกายสิ ทธิ์ มหาธาตุ คืออะไร ธาตุกายสิ ทธิ์ ของพระธาตุแต่ละองค์น้ นั เอง ธาตุสังฆ
รัตนะแต่ละองค์ยอ่ มมีความโดดเด่นไม่เหมือนกัน พระธาตุ พระโมคคัลลานะ คือ อิทธิ ฤทธิ์
พระอนุรุทธ คือ ตาทิพย์ เป็ นต้น ส่ วนพระธาตุพระสี วลี คือ มหาธาตุแห่งโชคลาภ นั้นเอง
การปลุ ก มหาธาตุ แห่ งโชคลาภ พระสี วลี ให้ เป็ นธาตุ ก ายสิ ท ธิ์ ในตัวเองได้น้ ัน ไม่ ใ ช่
ทุ ก คน จะท าได้ห มด หากอยู่ที่ ผูฝ้ ึ กต้องมี บ ารมี ท้ งั 10 ทัศ ถึ งสามารถใช้พ ลังพระธาตุ ไ ด้
และต้องทาสมาธิ จิตสู งพลังพระธาตุนอ้ มอัญเชิญพระธาตุสีวลี มหาธาตุแห่ งโชคลาภเข้าสู่ ร่างกาย
ให้พลังธาตุกายสิ ทธิ์ เปลี่ยนร่ างกายตัวเองให้เป็ นมหาธาตุแห่งโชคลาภ
อย่าคิ ดว่าการสร้ างความดี น้ นั ไม่สาคัญ การทาดี บ่อยๆก็มากหลาย ถ้าไม่เคยสร้ างทาน
บารมี จะเอาบุญบารมีมาจากไหน แล้วจะให้พระช่วยย่อมเป็ นไปไม่ได้โดยแท้
การอัญเชิญพระธาตุพระสี วลี นอกจากจะใช้สมาธิแล้ว จะต้องใช้ทานบารมี ของตัวเอง
ด้วยเป็ นสาคัญ ทานบารมีจึงเป็ นหัวใจหลัก ของพลังพระธาตุพระสี วลี มหาธาตุแห่งโชคลาภ
หลักการทาสมาธิ อญั เชิญพระธาตุพระสี วลี มหาธาตุแห่งโชคลาภ
การฝึ กพลังพระธาตุ
1. กราบไหว้บูชาพระธาตุ
2. นาพระธาตุมาวางไว้หน้าเรา
3. นัง่ สมาธิ เพ่งดูพระธาตุกาหนดหลับตาและลื มตาสลับกันไป แล้วกาหนดพระธาตุมาอยู่ที่
ตัวเราและจิตเรา จนเป็ นนิมิตติดตา
4. เมื่อได้นิมิตติดตาแล้ว พึงกาหนดจิตให้เย็นและสงบ กาหนดจิตตัวเอง หมายถึง ดวงจิต
ตัวเอง กลายเป็ นพระธาตุอยูภ่ ายใน ให้ใจใสสว่างด้วยพระธาตุ เย็นและสงบนิ่ง
5. แผ่พลังพระธาตุออกมาจากจิตตัวเอง ด้วยพลังพระธาตุที่เย็นและสว่าง ตัวเองจะได้รู้สึก
เย็นเหมือนพระธาตุตลอดเวลา
75
การใช้พลังสมาธิอญั เชิญพระธาตุพระสี วลี ให้เสด็จจากอากาศ (เข้าสู่ ร่างกาย)
ท าจิ ต ให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ดุ จ แก้ว มณี โชติ แล้วแผ่พ ลัง จิ ตออกมาให้ เหมื อ นพระจัน ทร์ แ ผ่รัศ มี
ออกมาในคืน วัน เพ็ญ (ข้อควรระวัง ในการใช้พ ลังจิตอัญ เชิ ญ พระธาตุ พระธาตุ เป็ นของเย็น
ควรใช้พลังจิตทางเย็น ให้เหมื อนพระจันทร์ แผ่รัศมี ออกมาในคื นวันเพ็ญเป็ นพลังเย็นที่ สงบนิ่ ง
ไม่ค วรใช้พ ลังจิ ตแผ่รังสี ออกมาเหมื อนพระอาทิ ตย์ เพราะพระธาตุ เป็ นของเย็นไม่ใช่ ของร้ อน
พระธาตุอาจหายได้ พระธาตุมีได้หายได้ การใช้พลังจิตแผ่รังสี ออกมาแบบพระอาทิตย์ เป็ นการ
ใช้พ ลังจิ ตแบบร้ อนเหมื อนอานาจเตโชกสิ ณ จิ ตอาจเกิ ดสั ป ระยุท ธ์ ด้วยโทสจริ ต พระธาตุ จึง
เสด็จหนี พลังพระธาตุใช้คู่กบั บารมี 10 ทัศ โดยยึดหลักเมตตาบารมี เป็ นหัวใจและประธาน
หลักของพลังพระธาตุ)
แผ่พลังให้ออกมาจากจิตให้เหมือนพระจันทร์ แผ่รัศมี ให้จิตตัวเองบริ สุทธิ์ ดุจแก้วมณี โชติ
น้อมอัญ เชิ ญ พระธาตุ เมื่ อ จิ ต บริ สุ ท ธิ์ ดุ จแก้วมณี โชติ ดวงจิ ต ของเราจะนิ พ พานชั่วขณะหนึ่ ง
เป็ นจิตที่บริ สุทธิ์ ใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์ แต่จิตของเรายังไม่ใช่ จิตพระอรหันต์ ยังมี
กิเลสอยู่ แต่พระธาตุสามารถเสด็จมาได้ เพราะว่าจิตนิ พพานชัว่ ขณะหนึ่ ง เหมือนการเข้าสมาธิ
แบบขณิ กสมาธิ
ดวงจิตนิพพาน 3 ระดับ ของจิต
1. จิตนิพพานชัว่ ขณะหนึ่ ง หมายถึง การทาสมาธิ จิตใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์
แต่ยงั ไม่ใช่ดวงจิตของพระอรหันต์ จิตยังมีกิเลสอยู่ เพียงแต่ออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลส
เหมือนเดิม
2. จิตนิ พพานชัว่ คราว หมายถึ ง การทาสมาธิ อภิ จิต เจริ ญวิปัสสนาแยกรู ปแยกนาม
แยกจิตออกจากสังขาร เป็ นการดิ่งสมาธิ สู่ข้ นั อนัตตาญาณ แต่ยงั ถอนกิ เลสออกไม่หมด เพราะ
ยังไม่ได้สาเร็ จอนัตตาญาณถึงขั้นบรรลุธรรม พอออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลสเหมือนเดิม
3. จิตนิ พพานถาวร หมายถึง เป็ นการดับจิต ดับกาย ดับธรรม ตัดกิเลสออกจากรู ป
นามและสังขาร ไม่เหลื อความยึดมัน่ ถื อมัน่ ในสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์
ด้วยประการฉะนี้ (สาธุ)
วิธีเช็คตรวจสอบว่าตัวเองฝึ กพลังพระธาตุสาเร็ จหรื อไม่
หรื อเช็คว่าพระธาตุได้เข้ามาอยูท่ ี่ร่างของเราแล้ว
1. พระธาตุ เป็ นของสู ง ต้อ งกราบไหว้เคารพบู ช า ห้ ามน าออกมาใช้เล่ น โดยไม่ จ าเป็ น
เด็ดขาด ถึงจาเป็ นก็จะออกมาใช้เล่นไม่ได้เด็ดขาด ถือว่าไม่เคารพในพระธาตุและของสู ง
2. กราบไหว้พระธาตุเป็ นการขอขมาก่อนนามาใช้
3. เอานิ้ วมื อตัวเองแตะที่ พ ระธาตุ ถ้ามื อตัวเองดูดพระธาตุ ได้ แสดงว่าฝึ กส าเร็ จ เพราะ
ดวงจิตตัวเองใกล้เคียงกับพระอรหันต์ (พระธาตุ) จึงสามารถดูดพระธาตุได้ (ถึงแม้ยงั
ไม่บรรลุ ธรรมก็ตาม) เรี ยกว่ าธาตุดูดธาตุ น้ ั นเอง แต่อย่าลาพองว่าตัวเองดู ดพระธาตุได้
ถ้าประมาทเมื่อไรก็ดูดไม่ได้ เพราะพระธาตุเป็ นของสู ง
76
4. สาหรับผูท้ ี่ดูดพระธาตุไม่ได้ ให้พยายามฝึ กต่อไป ให้ใจสงบและเย็นสุ ดๆ ใกล้เคียงกับ
พระธาตุ สักวันหนึ่ง ถ้าฝึ กพลังพระธาตุสาเร็ จ ก็สามารถดูดพระธาตุได้เอง
หมายเหตุ การอัญเชิ ญพระธาตุเข้าร่ างนั้น เป็ นการอัญเชิ ญพุทธคุณด้วยของทิพย์ ไม่ใช่
ของหยาบ คนธรรมดาอาจจะมองไม่ เห็ น ถ้าอยากรู ้ ว่าพระธาตุ ม าหรื อ ไม่ ในตัวเองให้ถ อด
พระเครื่ อ งออกจากตัวให้ห มด ในตัวจะต้อ งไม่ มี อ งค์พ ระอยู่เลยแม้แต่ อ งค์เดี ย ว แล้วลองใช้
พลังพระธาตุดูดพระธาตุของจริ งที่คนธรรมดาทัว่ ไปมองเห็นดู ถ้าดูดได้แสดงว่าพุทธคุณได้เข้ามา
อยูใ่ นตัว ถ้าดูดไม่ได้แสดงว่าในตัวเองไม่มีพุทธคุณ
สาหรับคนที่ดูดพระธาตุไม่ได้ ไม่สามารถอัญเชิญพระธาตุกายสิ ทธิ์ มหาธาตุแห่งโชคลาภ
(พระสี วลี) ต้องย้อนกลับไปสร้างทานบารมีใหม่ แล้วฝึ กใหม่ท้ งั หมดตั้งแต่ตอนต้น
วิธีอญั เชิ ญพระธาตุออกจากร่ างกาย
พระธาตุ เป็ นของสู ง การอัญ เชิ ญ พลัง พระธาตุ ม าอยู่ก ับ ตัว ตลอดเวลา จะท าให้ ใ ช้
บุญเปลื องเกิ นความจาเป็ น บุ ญฤทธิ์ จะใช้มากเกิ นไป หากผูฝ้ ึ กเป็ นพระภิ กษุ หรื อเพศนักบวช
การที่ จะให้ พ ระธาตุ อยู่ก ับ ตัวตลอดเวลาย่อมสามารถท าได้ เพราะพระธาตุ เป็ นของสู งอยู่แล้ว
จะอยูก่ บั เพศนักบวชตลอดเวลาย่อมไม่เป็ นไร
แต่สาหรับฆราวาสผูค้ รองเรื อน จะใช้พลังพระธาตุ ในยามจาเป็ นเท่านั้น มิสมควรที่จะ
เอาพระธาตุมาอยูก่ บั ตัวตลอดเวลา เพราะฆราวาสย่อมกินอยูห่ ลับนอนกับคู่ครอง จะไม่สามารถ
อัญเชิญได้อยูก่ บั ตัวตลอดเวลาเหมือนเพศนักบวช
การอัญเชิ ญพระธาตุออกจากร่ าง พระธาตุคือพลังพุทธคุณแบบของทิพย์ คนธรรมดาจะ
มองไม่ เห็ น แต่ รู้ สึ ก และสั ม ผัส ได้ ในเมื่ อ อัญ เชิ ญ มาเข้า ร่ า งได้ ก็ ต้อ งรู ้ จ ัก อัญ เชิ ญ ออกได้
การอัญเชิญพระธาตุออกจากร่ างทาได้ ดังนี้
กาหนดจิ ตเป็ นสมาธิ นึ กถึ งองค์พระธาตุ ค่อยๆท าสมาธิ จากองค์พ ระธาตุ กลายเป็ น
อากาศธาตุ เมื่อกลายเป็ นอากาศธาตุ ปล่อยวางพระธาตุที่เป็ นอากาศธาตุ ค่อยๆเคลื่อนออกจาก
ร่ างกายให้สลายกลายเป็ นอากาศธาตุ เรี ยกว่า อัญเชิญพุทธคุณออกจากร่ างของเรา
การปลุกพลังพระธาตุพระสี วลี มหาธาตุแห่งโชคลาภ
ปลุกเสกที่องค์พระเครื่ อง
การปลุ ก พลังพระธาตุ พ ระสี วลี นิ ย มปลุ ก เสกกัน ที่ อ งค์พ ระสี วลี พระเครื่ ององค์อื่ น
ได้ไหม ถ้าจะอัญเชิ ญพลังพระสี วลีบรรจุไว้ที่องค์พระ เพื่อเสริ มโชคลาภ ตอบว่าได้เหมือนกัน
แต่ไม่นิยมทากัน ส่ วนมากมักจะบรรจุพุทธคุณลงที่พระเครื่ องสี วลี
การปลุกพลังพระธาตุสีวลีลงไปที่องค์พระเครื่ องทาได้ ดังนี้
กาหนดสมาธิ แล้วใช้พลังพระธาตุบรรจุพุทธคุณลงไปที่องค์พระเครื่ อง แล้วบริ กรรมคาถา
หัวใจพระสี วลี นะชาลีติ ลงไปด้วยก็ได้ เพิ่มพลังทางพุทธคุ ณ เมื่อบริ กรรมปลุกเสกเสร็ จแล้ว
พระเครื่ องจะมีพลังพุทธคุณทางด้านโชคลาภ
77
การใช้บารมีของพลังพระธาตุพระสี วลี ให้ประสบความสาเร็ จการงาน
การค้าขายเจริ ญรุ่ งเรื องทาได้ดงั นี้
ในการประกอบหน้าที่การงาน หรื อจะทาให้การขายประสบความสาเร็ จกิ จการรุ่ งเรื อง
ด้วยอาศัยบารมีทางพุทธคุณ (มหาธาตุแห่งโชคลาภ) ได้น้ นั การประกอบการงานให้เจริ ญก้าวหน้า
หรื อจะประกอบการขายกิ จการเจริ ญรุ่ งเรื อง ก่อนอื่นที่จะใช้พลังพระธาตุหรื อขอบารมีพระธาตุ
ได้น้ นั ต้องสร้างทานบารมี อันเป็ นเหตุให้เกิ ดโชคลาภการเงิ นทอง แล้วเปลี่ยนบุญกุศลตัวเอง
เป็ นพลังแห่งบุญฤทธิ์ น้อมอัญเชิญพลังพระธาตุ อธิษฐานให้ประสบความสาเร็ จในหน้าที่การงาน
การขายเจริ ญรุ่ งเรื อง การเงิ นทองไม่ติดขัด ทามาค้าขึ้น สุ ดแล้วแต่บารมีเราเป็ นสาคัญถึ งจะใช้
พลังพระธาตุได้ตามปรารถนาเป็ นผลสัมฤทธิ์ แห่งการงานและเงินทองทั้งปวง
การใช้บารมีของพลังพระธาตุ ในเพศของนักบวชบรรพชิตหรื อพระภิกษุ
ตัวอย่าง ใช้พ ลังพระธาตุ แห่ งโชคลาภ เรี ยกญาติ โยมหรื อเทวดามาใส่ บ าตร ไม่ มีวนั
อดตาย หากพระรู ปใดมีพลังสมาธิ อญั เชิญพระธาตุ หรื อใช้บุญบารมีของตัวเอง
อยูใ่ นที่ทุรกันดารตามป่ าเขาหรื อชนบท ยากที่ญาติโยมมาใส่ บาตร
การอธิ ษฐาน เรี ยก เทวดามาใส่ บาตรตามป่ าเขา ทาสมาธิ จิตอัญเชิ ญพลังพระธาตุแห่ ง
โชคลาภเข้าตัวหรื อจะใช้บุญของตัวเองก็ได้ อธิ ษฐานให้เทวดาหรื อญาติโยมมาใส่ บาตรตามป่ าเขา
อันเป็ นเป็ นที่ ยากต่อการบิ ณฑบาตด้วยข้าวและอาหาร เดิ นบิณฑบาตไปเรื่ อยๆหรื อนั่งอยู่เฉยๆ
เดี๋ ย วมี เทวดาและญาติ โยมมาใส่ บ าตรให้ เอง ถ้าบารมี ไม่ ม ากพอต้องเดิ นหน่ อย ถ้าบารมี แรง
มาใส่ ถึงที่
ตัวอย่าง จะสร้างวัดศาลากุฏิ แต่ขาดปั จจัย
ใช้พลังพระธาตุ เรี ยกญาติโยมมาทาบุญตามกาลังศรัทธา พลังธาตุดูดธาตุ อยูก่ บั ที่เดี๋ยว
ก็มีโยมศรัทธาสร้างถวาย นี้ คือ พลังมหาธาตุแห่ งโชคลาภ พลังธาตุดูดธาตุ เมื่อมีพระธาตุหนึ่ง
อัน ใดอยู่ จะอัญ เชิ ญ พระธาตุ ที่ เหลื อ ย่อ มเป็ นไปได้ง่ า ย เช่ น จะน้อ มอัญ เชิ ญ พระธาตุ แ ห่ ง
การแสดงธรรม มาแสดงธรรมตามงานบุญที่วดั ก็จะมีพระภิกษุผเู ้ ลิศทางแสดงธรรม มาที่วดั เอง
เรี ยกว่า ธาตุดูดธาตุ นั้นเอง
การใช้พลังพระธาตุได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั บารมีตวั เองเป็ นหลัก พระธาตุเป็ นของสู ง จะไม่นา
ออกมาใช้เล่นเป็ นการไม่เคารพพระธาตุ หากจาเป็ นจึงใช้พลังพระธาตุสุดแล้วแต่บารมีของผูใ้ ช้
เป็ นหลัก
การใช้พลังพระธาตุให้สาแดงอภินิหาร
ยึดบารมี 10 ทัศ เป็ นหลัก และจิ ตนิ่ ง เป็ นสมาธิ ฝ่ ายเย็น เพราะพระธาตุ เป็ นของเย็น
ไม่ใช่ของร้อนเหมือนกับการฝึ กวิชาเพลิงกายดวงจิตสุ ริยะ
การใช้บารมีพระธาตุไม่จาเป็ นต้องพูดมากและโอ้อวดว่ามีสิ่งวิเศษอยู่กบั ตัว การใช้พลัง
พระธาตุคือการแสดงพลังและบารมีของผูใ้ ช้เป็ นหลัก คู่กบั บารมีของพระธาตุแต่ละองค์
78
ดูก่อนท่ านผู้เจริญ ผู้สาเร็จไม่ พูดมาก ผู้พูดมากมักจะไม่ สาเร็จ ท่ านจะสาเร็ จ
หรือไม่ สาเร็จ อยู่ทคี่ าพูดของท่ านเอง
ข้อควรรู้ ในการใช้พลังพระธาตุหรื ออัญเชิญพระธาตุ
การใช้พลังพระธาตุได้น้ นั ต้องดูที่ตวั เองเป็ นหลักว่าตัวเองอยู่ในชั้นไหน ดูตวั เองและ
ดูบารมีของตัวเองว่ามีบารมีพอหรื อไม่ ในการอัญเชิ ญพลังพระธาตุ ชั้นโลกี ยม์ นุ ษย์ธรรมดาจะ
อัญเชิ ญได้ข้ ึ นอยู่กบั บารมี ของตัวเองเป็ นหลักว่า สร้ างทานมาพอหรื อเปล่ าและฝึ กสมาธิ ดึงบุ ญ
ออกมาใช้ได้ดีแค่ไหนในการอัญเชิญพระธาตุ ส่ วนชั้นเทพและพรหม จะอัญเชิ ญพระธาตุได้ตอ้ ง
ขึ้ น อยู่ ก ับ บุ ญ บารมี ข องเทพพรหมองค์ น้ ั น เป็ นหลัก ระดับ ชั้ น พระโพธิ สั ต ว์ข้ ึ น ไป จนถึ ง
พระโสดาบันและพระอรหันต์ จะอัญเชิญพระธาตุเท่าไรกี่องค์ก็ได้ตามแต่จิตของท่านปรารถนา
ระดับชั้นการบรรลุคุณวิเศษ (ชั้นโลกีย)์
1. ชั้นมนุษย์
2. ชั้นเทพ
3. ชั้นพรหม
ระดับชั้นการบรรลุคุณวิเศษ (กึ่งโลกียแ์ ละกึ่งโลกุตตระ)
คือชั้นบารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง การแบ่งบารมีธรรมระดับ ชั้นพระโพธิ สัตว์
แบ่งตามระดับแห่งบารมีธรรม ได้ดงั นี้
1. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระอรหันต์
2. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระปัจเจกพระพุทธเจ้า
3. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระพุทธเจ้า
โดยส่ วนมากแล้ว จะยกย่องพระโพธิ สัตว์ที่สร้ างบารมีเพื่อจะมาเป็ นพระพุทธเจ้า ส่ วน
พระโพธิ สัตว์ที่สร้างบารมีเพื่อที่จะมาเป็ นพระอรหันต์หรื อพระปั จเจกพระพุทธเจ้า มักจะค่อยได้
กล่าวถึงเท่าใดนัก
ระดับชั้นการบรรลุคุณวิเศษ (ชั้นโลกุตตระ)
1. พระโสดาบัน ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 3
2. พระสกทาคามี ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 3 (พร้อมทั้งทาราคะ โทสะ โมหะ
ให้เบาบางลง)
3. พระอนาคามี ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 5
4. พระอรหันต์ ละสังโยชน์ได้ท้ งั หมด 10 ข้อ
79
ข้อควรรู้ ในการใช้บารมีและอัญเชิ ญพระธาตุมาแต่ละองค์
มหาธาตุแห่งโชคลาภ คือ พระสี วลี
มหาธาตุแห่งปั ญญา คือ พระสารี บุตร
มหาธาตุแห่งอิทธิ ฤทธิ์ คือ พระโมคคัลลานะ
มหาธาตุแห่งการแสดงธรรม คือ พระมหากัจจายนะ
มหาธาตุแห่งการปราบมาร คือ พระอุปคุตหรื อพระโมคคัลลานะ
มหาธาตุแห่งตาทิพย์ คือ พระอนุรุทธ
มหาธาตุแห่งมโนมัยฤทธิ์ คือ พระจูฬปันถกะ
มหาธาตุแห่งวาจาไพเราะอ่อนหวาน คือ พระโสณกุฎิกณ ั ณะ
มหาธาตุแห่งการเป็ นที่รักของเทวดา คือ พระปิ ลินทวัจฉะ
มหาธาตุแห่งทรงพระวินยั คือ พระอุบาลี
มหาธาตุแห่งการไร้โรคภัยไข้เจ็บ คือ พระพากุละ
มหาธาตุแห่งครองจีวรเศร้าหมอง คือ พระโมฆราช
มหาธาตุแห่งการธุ ดงค์ คือ พระมหากัสสปะ
มหาธาตุแห่งการอยูป่ ่ า คือ พระเรวตะ
ศึกษาประวัติพระอรหันต์เพิ่มเติมได้ที่ หนังสื อ อนุพุทธะประวัติ หลักสู ตรนักธรรมโท
แล้วอัญเชิญพระธาตุขอบารมี จะได้อญั เชิญไม่ผดิ องค์

การเจริญรอยตามพระอรหันต์ ท้งั หลาย


คือ การปฏิบัตเิ พือ่ ให้ ตวั เองพ้ นไปจากทุกข์ ท้งั ปวง
80
วิชาเสกเงิน (ด้ วยอานาจแห่ งบุญฤทธิ์)
ข้อแตกต่างระหว่าง การใช้บุญเสกเงินกับวิชาเล่นแร่ แปรธาตุเสกเงิน
การใช้บุญฤทธิ์ เสกเงิน ต้องทาบุญด้วยเงินหรื ออย่างอื่นที่เป็ นบุญอยูเ่ สมอ แล้วเวลาจะใช้
บุญตัวเองเสกเงิน พึงเข้าฌานหรื อญาณกลัน่ ดวงบุญกุศลของตัวเอง ดึงบุญเป็ นเงิน ดุจเสกได้จาก
อากาศ เมื่อออกจากฌานหรื อญาณ เงินก็จะคงอยูแ่ ละเป็ นของจริ ง เพราะสาเร็ จได้ดว้ ยบุญของ
ตัวเอง
ส่ วนวิชาเล่นแร่ แปรธาตุเสกเงิน เหมือนกับใช้อานาจฌานเปลี่ ยนสิ่ งของ เป็ นการสร้าง
ภาพลวงตาด้วยอานาจฌาน เช่น เสกก้อนดิ นให้กลายเป็ นเงินหรื อทองได้ เป็ นต้น ก้อนดิ นจะ
กลายเป็ นเงิ นหรื อทอง เท่ ากับ อานาจฌานยังคงอยู่ เมื่ อออกจากฌานแล้ว ก็จะกลับกลายเป็ น
ก้อนหิ นดุจเดิม ในกรณี ที่ใช้วิชาเล่นแร่ แปรธาตุ เปลี่ยนสิ่ งของนั้น คือ เสกดินให้กลายเป็ นเงิน
หรื อทองได้ เป็ นต้น ต้องใช้อานาจฌานชั้นสู ง เมื่อออกจากฌานแล้ว เรี ยกว่าสิ่ งของนั้นยังคงอยู่
เป็ นการเปลี่ยนสภาพสิ่ งของด้วย หลักของวิชาเล่นแร่ แปรธาตุ ถ้าใช้ฌานชั้นต่ าไม่สูงมากเกินไป
เรี ยกว่า สร้างภาพลวงตา ดินจะกลายเป็ นทอง ต่อเมื่อฌานยังคงอยู่ แต่เมื่อออกจากฌานแล้ว ก็
จะกลับคืนสู่ สภาพเดิม
การใช้วชิ าเล่นแร่ แปรธาตุน้ นั จะสร้างภาพลวงตา หรื อเปลี่ยนสิ่ งของได้จริ งๆ ขึ้นอยูก่ บั
อานาจฌานหรื อการอธิษฐานจิตของตัวเองเป็ นหลัก
จึงแตกต่างกัน ด้วยประการทั้งปวง
วิชาเสกเงินใช้ดว้ ยอานาจแห่ งบุญฤทธิ์
พึงกาหนดจิตนึ กถึงบุญกุศลที่ตวั เองได้กระทาไว้ในอดีต ต้องมีสมาธิ และกาลังบุญที่มาก
พอ จึงจะสามารถเรี ยกบุญและนาเงินมาได้ ดุจเสกมาในอากาศ ด้วยบุญญาภินิหาร
ข้อสาคัญ ในการใช้บุญฤทธิ์ เสกเงิน
อย่าเสกเงิ นเปลื อง อย่าใช้บุญเสกเงิ นบ่อย เดี๋ ยวบุ ญหมดแล้วจะเสกเงิ นใช้ไม่ได้ ต้อง
ทาบุญบ่อยๆ ถึงเสกได้ ดุจมาในอากาศ เพราะอานาจบุญกุศลเรากระทาไว้ดีแล้ว
หลักการเรี ยกหรื อเสกเงินมาด้วยอานาจแห่งบุญฤทธิ์
บุญกุศลเราทาไว้ดีแล้ว เราจะเสกเงิน ใช้เองเมื่อไรก็ได้ เรี ยกว่า เรามีบุญอันได้กระทาไว้
ดีแล้วในปางก่อน จึงสามารถเรี ยกเงินที่เกิดจากบุญ ดังนี้
1. ทาบุญสร้างบารมี อันเป็ นเหตุให้เกิดทรัพย์ เช่น ทาบุญด้วยเงิน หรื อทาบุญด้วยอาหาร
ที่อยูอ่ าศัย เป็ นต้น ฯลฯ
2. เข้าสมาธิ กลัน่ ดวงบุญกุศลตัวเองให้ใสสะอาด เป็ นดวงบุญบารมี
3. แล้วเข้าสมาธิอธิษฐานจิตดึงบุญกุศลตัวเองออกมาใช้ เปลี่ยนบุญเป็ นเงิน
4. ใช้ส มาธิ เปลี่ ยนบุ ญ เป็ นเงิ น ให้ตวั เอง ประสบความส าเร็ จด้านการงาน มี ลู ก ค้าเยอะๆ
แล้วเงินก็จะมาเอง
81
วิชาเสกเงินใช้ดว้ ยอานาจแห่ งบุญฤทธิ์ (สาหรับพระที่ตอ้ งการสร้างวัด)
การเป็ นพระภิ ก ษุ ป ล่ อ ยวางเรื่ อ งเงิ น ไม่ ยึ ด มั่น ถื อ มั่น ก็ เป็ นสิ่ ง ที่ ถู ก ต้อ ง แต่ บ างครั้ ง
พระท่ านก็ จาเป็ นต้อ งใช้เพื่ อ พัฒ นาวัดสร้ างกุ ฏิ และวิห าร บ ารุ ง สงฆ์แ ละการศึ ก ษาศาสนากิ จ
เป็ นต้น การเป็ นพระภิกษุ หรื อเป็ นหลวงพ่อ ถ้าอยู่ในเมื องก็ไม่ใช่ ปัญหามีญาติโยมถวายอยู่แล้ว
ถ้าเป็ นพระหรื อหลวงพ่ออยู่ตามชนบทจะเอาปั จจัยมาพัฒนาวัด มาจากที่ไหน ไหนๆผูเ้ ขียนๆแล้ว
ก็เขียนให้หมด เพื่อพระภิกษุหรื อหลวงพ่อได้อ่านวิชาของข้าพเจ้า จะได้ใช้ปัจจัยพัฒนาวัด
การใช้บุ ญ ฤทธิ์ พัฒ นาวัด สร้ างกุ ฏิ และวิหาร บ ารุ งสงฆ์และการศึ ก ษาศาสนากิ จ ต้อ ง
แผ่เมตตาจิตให้ภพภูมิเจ้าที่และสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ร่วมกับสมาธิ ของเรา ใช้สมาธิเราครึ่ งหนึ่งขอบารมีจาก
ภพภูมิเจ้าที่ ที่ดูแลวัดอีกครึ่ งหนึ่ง ไม่ตอ้ งเข้าสมาธิ ฌานชั้นสู งและเหนื่อยมาก
การทาสมาธิ ด้วยอานาจแห่ งบุ ญฤทธิ์ เพื่อพัฒนาวัดสร้ างกุฏิและวิหาร บารุ งสงฆ์และ
การศึกษาศาสนากิจ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ทาสมาธิ แผ่เมตตาจิตให้ภพภูมิเจ้าที่สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ดูแลวัด
2. อธิ ษ ฐานจิ ตให้ สิ่ ง ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ เรี ย กคนมาถวายปั จจัย เพื่ อพัฒ นาวัดสร้ างกุ ฏิ และวิห าร
บารุ งสงฆ์และการศึกษาศาสนากิจ
3. จะมีญาติโยมมาถวายปัจจัย สร้างวัดเอง จะมาถึงที่หรื อท่านออกบิณฑบาต
4. จะสาเร็ จหรื อมีโยมมาถวายปั จจัยบารุ งสงฆ์ได้หรื อไม่ อยู่ที่สมาธิ และพลังของเมตตาจิต
ของท่านเป็ นหลัก ส่ วนมากถ้าใช้พลังสมาธิ เพื่อพัฒนาวัดสร้ างกุฏิและวิหาร บารุ งสงฆ์
และการศึกษาศาสนากิจก็จะได้สมความปรารถนา ดังนี้

ความสั นโดษ คือ ความยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้


ไม่ ยดึ ติด ใจเราก็จะละวางจากกิเลสได้ ท้งั หมด
82
วิชาเปลีย่ นร่ างกายตัวเองให้ กลายเป็ นธาตุกายสิ ทธิ์
(ต่ างกับพลังทางพุทธคุณ คือพลังธาตุกายสิ ทธิ์น้ันเอง)
ธาตุกายสิ ทธิ์ คือ ธาตุของพระอรหันต์ หรื อธาตุกายสิ ทธิ์ ที่มีอยูต่ ามธรรมชาติป่าเขา
และถ้ าซึ่ งมีเทพคอยดูแลปกป้ องรักษาคุม้ ครอง ธาตุกายสิ ทธิ์ อนั นั้น
การอัญ เชิ ญ ธาตุ ก ายสิ ท ธิ์ เข้าร่ างตัวเอง และเปลี่ ย นตัวเองให้ เป็ นธาตุ ก ายสิ ท ธิ์ ได้น้ ัน
ไม่ใช่ทุกคนจะทาได้หมด อยูท่ ี่บุคคลนั้นผูค้ รอบครองหรื ออัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ ตอ้ งมีบารมี
การอัญ เชิ ญ ธาตุ ก ายสิ ทธิ์ เข้า ร่ า งจะเป็ นของทิ พ ย์ห รื อ ของหยาบก็ ต าม ถ้า เป็ นของ
พระอรหันต์แล้ว ผูอ้ ญ ั เชิ ญ นั้นต้องมี บารมี ที่ ม ากพอถึ งจะรั บ บารมี ของพระอรหันต์ได้ เพราะ
พระธาตุเป็ นของสู งห้ามใช้เล่น ถื อว่าลบหลู่พระธาตุ ยิ่งเป็ นพระธาตุของพระโมคคัลลานะแล้ว
เป็ นของแรงและสู ง ถ้าบารมีไม่ถึงอย่าทา ให้เอาพระธาตุของท่านตั้งไว้ที่หิ้งพระแล้วบูชาจะเป็ น
มงคลมากกว่า ที่ จะอัญ เชิ ญ เข้าร่ าง พระธาตุ จะอยู่ในร่ างคนที่ ป ฏิ บ ตั ิ ธรรมและได้ธรรมชั้นสู ง
เท่านั้น พระธาตุท่านจะเสด็จมาเอง พระธาตุ เป็ นของสู ง ไม่ใช่ สิ่งสาธารณะสาหรับคนทัว่ ไป
ใครๆก็จะทาได้
ส่ วนธาตุ ก ายสิ ท ธิ์ ที่ เป็ นของเทพที่ คุ ้ม ครองดู แลนั้น ผูอ้ ญ
ั เชิ ญ นั้น ก็ต้องมี บ ารมี เช่ น กัน
เพราะฉะนั้น ธาตุกายสิ ทธิ์ จึงมีได้หายได้ อย่าเอาธาตุกายสิ ทธิ์ มาลองกันเล่น เป็ นการไม่เคารพ
สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ และของสู ง ธาตุกายสิ ทธิ์ ที่มีเทพคอยดูแลนั้น ขึ้นอยูก่ บั เทพองค์น้ นั ว่าท่านจะอยูก่ บั
ผูท้ ี่มีบารมีคนไหน ถ้าประพฤติดีท่านก็อยู่ดว้ ย ถ้าอยู่แล้วทาตัวไม่ดี ท่านก็หายไป จึงบอกว่า
ธาตุ กายสิ ทธิ์ มีได้หายได้ ขึ้นอยู่กบั ความประพฤติและการปฏิ บตั ิของผูค้ รอบครองธาตุกายสิ ทธิ์
คนนั้นเป็ นหลัก
คุณธรรมการถือและครอบครองธาตุกายสิ ทธิ์ ไม่วา่ จะเป็ นของพระอรหันต์พระธาตุ หรื อ
ธาตุกายสิ ทธิ์ ที่มีเทพคอยดูแล ผูน้ ้ นั จะต้องมีศีลอย่างน้อย 5 ข้อ ให้สมบูรณ์ และบารมี 10 ทัศ
ธาตุแห่ งอิทธิ ฤทธิ์ หมายถึง พระอรหันต์ที่ได้อภิญญา สายอิทธิ ฤทธิ์ พระธาตุจะสี ดา
สี แดง สี น้ าตาล หรื อสี ขาวน้ าตาล
ตัวอย่าง พระธาตุของพระโมคคัลลานะ พระสาคตะ พระอุปคุต เป็ นต้น
ธาตุแห่ งปั ญญา หมายถึง พระอรหันต์ที่ได้ปฏิสัมภิทา สายวิปัสสนา พระธาตุจะสี ขาว
สี ไขมุก
ตัวอย่าง พระธาตุของพระสารี บุตร พระสี วลี เป็ นต้น
ส่ วนพระพุ ท ธเจ้านั้น พระบรมสารี ริก ธาตุ มี ทุ ก สี เพราะบารมี ข องพระองค์ม ากกว่า
พระอรหันต์ หลายร้อยพันเท่า
นอกจากธาตุ กายสิ ทธิ์ ของพระธาตุ พระอรหันต์ ยังมี ธาตุ กายสิ ทธิ์ ที่ อยู่ตามป่ าหรื อถ้ า
เป็ นธาตุกายสิ ทธิ์ ที่มีเทพดูแลรักษา การเรี ยกธาตุ กายสิ ทธิ์ จากป่ าหรื อถ้ า ที่ มีเทพคอยดูแลรักษา
ต้องได้รับการยินยอมหรื อขออนุญาตจากเทพ ผูค้ ุม้ ครองธาตุกายสิ ทธิ์ อนั นั้น
83
หลักการอัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ ของพระธาตุพระอรหันต์
ท าจิ ต ให้ บ ริ สุ ท ธิ์ ดุ จ แก้ว มณี โชติ แล้วแผ่พ ลัง จิ ตออกมาให้ เหมื อ นพระจัน ทร์ แ ผ่รัศ มี
ออกมาในคืน วัน เพ็ญ (ข้อควรระวัง ในการใช้พ ลังจิตอัญ เชิ ญ พระธาตุ พระธาตุ เป็ นของเย็น
ควรใช้พลังจิตทางเย็น ให้เหมื อนพระจันทร์ แผ่รัศมี ออกมาในคื นวันเพ็ญเป็ นพลังเย็นที่ สงบนิ่ ง
ไม่ค วรใช้พ ลังจิ ตแผ่รังสี ออกมาเหมื อนพระอาทิ ตย์ เพราะพระธาตุ เป็ นของเย็นไม่ใช่ ของร้ อน
พระธาตุอาจหายได้ พระธาตุมีได้หายได้ การใช้พลังจิตแผ่รังสี ออกมาแบบพระอาทิตย์ เป็ นการ
ใช้พ ลังจิ ตแบบร้ อนเหมื อนอานาจเตโชกสิ ณ จิ ตอาจเกิ ดสั ป ระยุท ธ์ ด้วยโทสจริ ต พระธาตุ จึง
เสด็จหนี พลังพระธาตุใช้คู่กบั บารมี 10 ทัศ โดยยึดหลักเมตตาบารมี เป็ นหัวใจและประธาน
หลักของพลังพระธาตุ)
แผ่พลังให้ออกมาจากจิตให้เหมือนพระจันทร์ แผ่รัศมี ให้จิตตัวเองบริ สุทธิ์ ดุจแก้วมณี โชติ
น้อมอัญ เชิ ญ พระธาตุ เมื่ อ จิ ต บริ สุ ท ธิ์ ดุ จแก้วมณี โชติ ดวงจิ ต ของเราจะนิ พ พานชั่วขณะหนึ่ ง
เป็ นจิตที่บริ สุทธิ์ ใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์ แต่จิตของเรายังไม่ใช่ จิตพระอรหันต์ ยังมี
กิเลสอยู่ แต่พระธาตุสามารถเสด็จมาได้ เพราะว่าจิตนิ พพานชัว่ ขณะหนึ่ ง เหมือนการเข้าสมาธิ
แบบขณิ กสมาธิ
ดวงจิตนิพพาน 3 ระดับ ของจิต
1. จิตนิพพานชัว่ ขณะหนึ่ ง หมายถึง การทาสมาธิ จิตใกล้เคียงกับดวงจิตของพระอรหันต์
แต่ยงั ไม่ใช่ดวงจิตของพระอรหันต์ จิตยังมีกิเลสอยู่ เพียงแต่ออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลส
เหมือนเดิม
2. จิตนิ พพานชัว่ คราว หมายถึ ง การทาสมาธิ อภิ จิต เจริ ญวิปัสสนาแยกรู ปแยกนาม
แยกจิตออกจากสังขาร เป็ นการดิ่งสมาธิ สู่ข้ นั อนัตตาญาณ แต่ยงั ถอนกิ เลสออกไม่หมด เพราะ
ยังไม่ได้สาเร็ จอนัตตาญาณถึงขั้นบรรลุธรรม พอออกจากสมาธิ อภิจิตก็จะกลับมีกิเลสเหมือนเดิม
3. จิตนิ พพานถาวร หมายถึง เป็ นการดับจิต ดับกาย ดับธรรม ตัดกิเลสออกจากรู ป
นามและสังขาร ไม่เหลื อความยึดมัน่ ถื อมัน่ ในสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์
ด้วยประการฉะนี้ (สาธุ)
วิธีเช็คว่าพระธาตุได้เข้ามาอยูท่ ี่ร่างของเราแล้ว
1. พระธาตุ เป็ นของสู ง ต้อ งกราบไหว้เคารพบู ช า ห้ ามน าออกมาใช้เล่ น โดยไม่ จ าเป็ น
เด็ดขาด ถึงจาเป็ นก็จะออกมาใช้เล่นไม่ได้เด็ดขาด ถือว่าไม่เคารพในพระธาตุและของสู ง
2. กราบไหว้พระธาตุเป็ นการขอขมาก่อนนามาใช้
3. เอานิ้ วมื อตัวเองแตะที่ พ ระธาตุ ถ้ามื อตัวเองดูดพระธาตุ ได้ แสดงว่าฝึ กส าเร็ จ เพราะ
ดวงจิตตัวเองใกล้เคียงกับพระอรหันต์ (พระธาตุ) จึงสามารถดูดพระธาตุได้ (ถึงแม้ยงั
ไม่บรรลุ ธรรมก็ตาม) เรี ยกว่ าธาตุดูดธาตุ น้ ั นเอง แต่อย่าลาพองว่าตัวเองดู ดพระธาตุได้
ถ้าประมาทเมื่อไรก็ดูดไม่ได้ เพราะพระธาตุเป็ นของสู ง
4. สาหรับผูท้ ี่ดูดพระธาตุไม่ได้ ให้พยายามฝึ กต่อไป ให้ใจสงบและเย็นสุ ดๆ ใกล้เคียงกับ
พระธาตุ สักวันหนึ่ง ถ้าฝึ กพลังพระธาตุสาเร็ จ ก็สามารถดูดพระธาตุได้เอง
84
หมายเหตุ การอัญเชิ ญพระธาตุเข้าร่ างนั้น เป็ นการอัญเชิ ญพุทธคุณด้วยของทิพย์ ไม่ใช่
ของหยาบ คนธรรมดาอาจจะมองไม่ เห็ น ถ้าอยากรู ้ ว่า พระธาตุ ม าหรื อไม่ ในตัวเองให้ถ อด
พระเครื่ อ งออกจากตัวให้ห มด ในตัวจะต้อ งไม่ มี อ งค์พ ระอยู่เลยแม้แต่ อ งค์เดี ย ว แล้วลองใช้
พลังพระธาตุดูดพระธาตุของจริ งที่คนธรรมดาทัว่ ไปมองเห็นดู ถ้าดูดได้แสดงว่าพุทธคุณได้เข้ามา
อยูใ่ นตัว ถ้าดูดไม่ได้แสดงว่าในตัวเองไม่มีพุทธคุณ
การอัญเชิ ญธาตุกายสิ ทธิ์ ที่เป็ นของเทพดูแลคุม้ ครองรักษาให้มาอยูก่ บั เรา
ธาตุ กายสิ ทธิ์ ที่ เป็ นของเทพดู แลคุ ม้ ครองรั กษา ไม่ว่าอยู่ตามถ้ าหรื อป่ าเขา จะเป็ นของ
หยาบหรื อของทิพย์ก็ตาม จะอัญเชิ ญท่านมาให้อยูก่ บั เราได้น้ นั อย่างน้อยผูอ้ ญั เชิ ญหรื อผูท้ ี่จะถื อ
ครอบครองนั้น จะต้องมีศีล 5 บริ สุท ธิ์ และบารมี 10 ทัศ ห้ามเอาธาตุกายสิ ทธิ์ มาลองเล่ น
เป็ นการไม่ เคารพสิ่ ง ศัก ดิ์ สิ ท ธิ์ และของสู ง ธาตุ ก ายสิ ท ธิ์ จะอยู่ก ับ ผูท้ ี่ ป ระพฤติ ป ฏิ บ ัติ ดีเท่ านั้น
ถ้าได้มาแล้ว ตอนแรกประพฤติดี ตอนหลังประพฤติไม่ดี ธาตุกายสิ ทธิ์ จึงมีได้หายได้
การอัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ ที่เป็ นของเทพดูแลคุม้ ครองรักษา มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ประพฤติศีล 5 บริ สุทธิ์ และบารมี 10 ทัศ
2. สมาธิ จิตต้องถึง จึงอัญเชิญได้ และขออนุ ญาตสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ที่ท่านคุม้ ครองธาตุกายสิ ทธิ์
ให้ท่านอนุญาต ขอธาตุกายสิ ทธิ์ ให้มาอยูก่ บั เรา
3. ให้อธิ ษฐานและเอาบารมีของตัวเองเป็ นหลัก ในการอัญเชิ ญธาตุกายสิ ทธิ์ และอยากได้
หรื อต้องการธาตุกายสิ ทธิ์ แบบไหนมาคุม้ ครอง
4. ห้ามนามาลองเล่นถือว่าไม่เคารพสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ และของสู ง
5. เมื่ อธาตุ กายสิ ท ธิ์ นั้น อยู่ด้วย ก็ห้ามประพฤติ ตวั เหลวไหล ออกจากศีล 5 เป็ นอันขาด
เพราะธาตุกายสิ ทธิ์ มีได้หายได้ จะมีและคุม้ ครองเฉพาะคนที่มีบารมีเท่านั้น

พระธาตุมีได้ หายได้
จะอยู่กบั ผู้ที่มีบุญบารมี และปฏิบัติดปี ฏิบัตชิ อบเท่ านั้น
85
วิชาอัญเชิญธาตุกายสิ ทธิ์ออกจากร่ างกาย
ธาตุ กายสิ ท ธิ์ พระธาตุ เป็ นของสู ง จะให้ท่ านอยู่กบั ตัวตลอดเวลานั้นย่อมเป็ นไปไม่ ได้
เพราะฆราวาสนั้น ย่อมมีการกินอยูห่ ลับนอน
ส่ วนธาตุกายสิ ทธิ์ ที่เป็ นของเทพคุม้ ครองรักษา ถ้าเป็ นฆราวาสยังกินอยูห่ ลับนอน ก็ตอ้ ง
รู้จกั ให้เกียรติสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อัญเชิญออก
วิธีอญั เชิ ญพระธาตุออกจากร่ างกาย
พระธาตุ เป็ นของสู ง การอัญ เชิ ญ พลัง พระธาตุ ม าอยู่ก ับ ตัว ตลอดเวลา จะท าให้ ใ ช้
บุ ญเปลื องเกิ นความจาเป็ น บุ ญ ฤทธิ์ จะใช้ม ากเกิ นไป หากผูฝ้ ึ กเป็ นพระภิ ก ษุ หรื อเพศนักบวช
การที่ จะให้ พ ระธาตุ อยู่ก ับ ตัวตลอดเวลาย่อมสามารถท าได้ เพราะพระธาตุ เป็ นของสู งอยู่แล้ว
จะอยูก่ บั เพศนักบวชตลอดเวลาย่อมไม่เป็ นไร
แต่สาหรับฆราวาสผูค้ รองเรื อน จะใช้พลังพระธาตุ ในยามจาเป็ นเท่านั้น มิสมควรที่จะ
เอาพระธาตุมาอยูก่ บั ตัวตลอดเวลา เพราะฆราวาสย่อมกินอยูห่ ลับนอนกับคู่ครอง จะไม่สามารถ
อัญเชิญให้อยูก่ บั ตัวได้ตลอดเวลาเหมือนเพศนักบวช
การอัญเชิ ญพระธาตุออกจากร่ าง พระธาตุคือพลังพุทธคุณแบบของทิพย์ คนธรรมดาจะ
มองไม่ เห็ น แต่ รู้ สึ ก และสั ม ผัส ได้ ในเมื่ อ อัญ เชิ ญ มาเข้า ร่ า งได้ ก็ ต้อ งรู ้ จ ัก อัญ เชิ ญ ออกได้
การอัญเชิญพระธาตุออกจากร่ างทาได้ ดังนี้
กาหนดจิ ตเป็ นสมาธิ นึ กถึ งองค์พระธาตุ ค่อยๆท าสมาธิ จากองค์พ ระธาตุ กลายเป็ น
อากาศธาตุ เมื่อกลายเป็ นอากาศธาตุ ปล่อยวางพระธาตุที่เป็ นอากาศธาตุ ค่อยๆเคลื่อนออกจาก
ร่ างกายให้สลายกลายเป็ นอากาศธาตุ เรี ยกว่า อัญเชิญพุทธคุณออกจากร่ างของเรา
วิธีอญั เชิ ญธาตุกายสิ ทธิ์ ที่เป็ นของเทพดูแลรักษาออกจากร่ างกาย
ในการเป็ นฆราวาสนั้ น ย่อ มต้อ งกิ น อยู่ห ลับ นอน จะให้ ธ าตุ ก ายสิ ท ธิ์ ที่ เป็ นของเทพ
คุม้ ครองดูแลรักษา จะอัญเชิ ญให้ท่ านมาอยู่เราตัวเราตลอดเวลานั้นย่อมเป็ นไปไม่ได้ เป็ นการ
ไม่ให้เกียรติสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เมื่ออัญเชิญเข้าได้ ต้องรู้จกั อัญเชิญออกได้ เป็ นต้น
มีหลักการอัญเชิญออกจากร่ าง ดังต่อไปนี้ คือ
1. กาหนดจิตให้นึกถึงธาตุกายสิ ทธิ์ (ที่เป็ นของเทพที่คุม้ ครองรักษา)
2. กาหนดจิตบอกสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ให้รับรู ้วา่ เราจะอัญเชิ ญท่านออก
3. กาหนดจิตทาสมาธิ อญั เชิญออกจากร่ าง
86
ในการอัญเชิ ญธาตุกายสิ ท ธิ์ ออกจากร่ างนั้น ไม่ว่าจะเป็ นพระธาตุ ของพระอรหันต์หรื อ
เป็ นของเทพที่คอยดูแลคุม้ ครองรักษา ไม่ตอ้ งกลัวว่าอัญเชิ ญออกจากร่ างแล้ว ท่านจะไม่กลับมา
เมื่ออัญเชิญออกได้ สามารถจะอัญเชิญกลับมาเมื่อไรก็ได้ ขอให้ตวั ท่านไม่ประพฤติออกจากศีล 5
และต้องมีบารมี 10 ทัศ แล้วจิตถึงจะอัญเชิญกลับมาเมื่อไรก็ได้
ศีล 5
1. เว้นจากการฆ่าสัตว์และเบียดเบียนผูอ้ ื่น
2. เว้นจากการลักทรัพย์
3. เว้นจากการประพฤติผดิ ในกาม
4. เว้นจากการพูดปด พูดส่ อเสี ยด พูดคาหยาบ และพูดเพ้อเจ้อ
5. เว้นจากการดื่มสุ ราอันเป็ นตั้งแห่งความประมาท
บารมี 10 ทัศ
หัวใจพระเจ้า 10 ชาติ คือ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
บารมี 10 ทัศ ดังนี้ คือ
1. เต พระเตมีย ์ บาเพ็ญเนกขัมมะบารมี
2. ชะ พระมหาชนก บาเพ็ญวิริยะบารมี
3. สุ พระสุ วรรณสาม บาเพ็ญเมตตาบารมี
4. เน พระเนมิราช บาเพ็ญอธิษฐานบารมี
5. มะ พระมโหสถ บาเพ็ญปัญญาบารมี
6. ภู พระภูริทตั บาเพ็ญศีลบารมี
7. จะ พระจันทรกุมาร บาเพ็ญขันติบารมี
8. นา พระนารท บาเพ็ญอุเบกขา
9. วิ พระวิธูร บาเพ็ญสัจจะบารมี
10. เว พระเวสสันดร บาเพ็ญทานบารมี

ความท้ อแท้ ย่ อมไม่ มีแก่ ผู้ที่มีความเพียร


ถ้ าไม่ เลิกสร้ างบุญบารมีไปเสี ยก่ อน
87
วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากอากาศเข้ าสู่ ร่างกาย
การอัญ เชิ ญพระพุทธคุณจากอากาศเข้าสู่ ร่างกายซึ่ งเป็ นของทิ พย์น้ นั เป็ นศาสตร์ ช้ นั สู ง
ไม่จาเป็ นต้องสักยันต์ให้เลอะตามตัวไม่ว่าจะสักธรรมดาหรื อสักน้ ามัน การอัญเชิ ญพระพุทธคุณ
เข้าร่ างซึ่ งเป็ นศาสตร์ ช้ นั สู งนี้ จะมีพระพุทธคุณไม่ต่างกับสักยันต์ แต่พิเศษกว่าสักยันต์ตรงที่วา่ จะ
อัญเชิญเข้าร่ างหรื อออกจากร่ างตอนไหนก็ได้
พระพุทธคุ ณมีอยู่มากมาย จะเรี ยกโดยรวมว่า นะ 108 เป็ นต้น ฯลฯ ในที่น้ ี ผเู ้ ขี ยน
ไม่สามารถเขียนได้ท้ งั หมด เพราะไม่รู้วา่ ผูอ้ ่านจะใช้พระพุทธคุณด้านไหนบ้าง
ตัว อย่า ง การใช้พ ลังพระพุ ท ธคุ ณ ถ้าท างานด้านการค้าขายหรื อ เข้า หาผูใ้ หญ่ ก็ ใ ช้
พระพุทธคุณด้านเมตตามหานิยม เป็ นต้น
ถ้าต้องการแคล้วคลาดจากภยันตรายทั้งปวง ก็ใช้พระพุทธคุณทางด้านแคล้วคลาด เป็ นต้น
ถ้าผูเ้ ขียนจะเขียนไว้ท้ งั หมดก็เกินความจาเป็ น จะเป็ นการต่อความยาวสาวความยืด และ
เขียนไว้มากเกิ นความจาเป็ น จะยกตัวอย่างไว้พอสังเขป พอผูอ้ ่านศึ กษาแล้วรู ้ หลักการอัญเชิ ญ
พระพุทธคุณเข้าร่ าง ไม่จาเป็ นต้องสักยันต์ ผูอ้ ่านและนักปฏิบตั ิตอ้ งเข้าถึงเอง
ตัวอย่าง การใช้วชิ าสมาธิ อญั เชิ ญพระพุทธพระรอดเข้าสู่ ร่างกาย
การอัญ เชิ ญ พระพุ ท ธคุ ณ พระรอดเข้าร่ างนั้น ผูท้ ี่ จะท าได้น้ ันต้องรู้ วิธี ใช้พ ระพุ ท ธคุ ณ
เสี ยก่ อ น ไม่ ใ ช่ นึ ก จะเชิ ญ ก็ เชิ ญ คื อ รู้ ห ลัก การอัญ เชิ ญ และวิธี ใ ช้ พ ระพุ ท ธคุ ณ กล่ า วคื อ
พระรอดมีพระพุทธคุณทางด้านแคล้วคลาด การปลุกเสกพลังของพระรอดบรรจุไว้ในพระเครื่ อง
หรื อสักยันต์จะใช้พลังของกสิ ณลม เป็ นการให้มีพระพุทธคุณทางด้านแคล้วคลาดนั้นเอง
การจะอัญเชิ ญพระพุ ทธคุ ณพระรอดเข้าร่ างได้น้ นั ผูท้ ี่ จะอัญเชิ ญต้องฝึ กกสิ ณลม เป็ น
หัวใจของพลังพระพุทธคุณแคล้วคลาด
การเจริ ญกสิ ณลม คือ เพ่งลมที่อยู่ตามธรรมชาติ ลมพัดไปมา ลมจากพัดลม เป็ นต้น
ให้สาเร็ จนิมิตของกสิ ณลม
หัวใจคาถาพระพุทธคุณแคล้วคลาด หรื อคาถาพระรอดก็เรี ยก ภาวนาว่า
พุทธังแคล้วคลาด ธัมมังแคล้วคลาด สังฆังแคล้วคลาด แคล้วคลาดด้วย นะโมพุทธายะ
การอัญเชิ ญพระพุทธคุณพระรอดเข้าร่ าง มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิให้สาเร็ จกสิ ณลมจนได้นิมิต ซึ่งเป็ นหัวใจของพลังพระพุทธคุณทางแคล้วคลาด
2. ก าหนดสติ ค วบคุ ม พลัง พระพุ ท ธคุ ณ แคล้ว คลาด หมายถึ ง กายกับ จิ ต ต้อ งเป็ นหนึ่ ง
เดียวกัน เมื่ออัญเชิญพระพุทธคุณ ห้ามฟุ้ งซ่านจิตไม่สงบ ไม่มีพลังอัญเชิญ จิตต้องนิ่ง
3. ภาวนาคาถาบริ กรรม น้อมจิตอัญเชิญ พระพุทธคุณพระรอดเข้าร่ าง
4. เมื่อจะใช้พระพุทธคุณพระรอด อย่าหวัน่ ไหว จิตไม่นิ่ง ต้องเชื่ อมัน่ และสัทธาในพลัง
พระพุทธคุณของตัวเอง
88
วิธีที่จะรู ้วา่ พระพุทธคุณพระรอดได้เข้ามาอยูใ่ นร่ างเราจริ งๆ ไม่ได้อุปาทานไปเอง
เมื่อประสบเหตุการณ์ภยัน ตราย ให้นึกถึงพระรอด แล้วอัญเชิ ญท่านเข้าร่ าง ถ้าเดินผ่าน
อุ ป สรรคศัต รู ภ ยัน ตรายได้ โดยไม่ มี อ ัน ตรายใดๆเกิ ด ขึ้ น แม้แ ต่ น้ อ ย เรี ย กว่า พระพุ ท ธคุ ณ
พระรอดได้เข้ามาอยูใ่ นร่ างเราจริ งๆ ไม่ได้อุปาทานและคิดไปเอง นี้ คือเครื่ องพิสูจน์พลังทางด้าน
พระพุทธคุณพระรอด แต่หา้ มเอาไปใช้เล่นหรื อลองของ สิ่ งศักดิ์สิทธิ์ มีไว้บูชา ห้ามใช้เล่น มีไว้
ป้ องกันภัยให้กบั ตัวเอง
ถ้าประสบเหตุการณ์ ภยันตราย ให้นึกถึงพระรอด แล้วอัญ เชิ ญท่านเข้าร่ าง ถ้าเดิ นผ่าน
อุ ป สรรคศัต รู ภ ยัน ตรายไม่ ไ ด้ การอัญ เชิ ญ ไม่ ไ ด้น้ ัน หมายถึ ง ท่ า นอุ ป าทานและคิ ด ไปเอง
แสดงว่า ตัวท่านเองไม่มีพระพุทธคุณพระรอด ให้กลับไปฝึ กใหม่ต้ งั แต่ตน้ จนจบ
จะอัญเชิ ญได้หรื อไม่ได้อยู่ที่สมาธิ จิตถึ งหรื อไม่ พระพุทธคุ ณพระรอดจะคุ ม้ ครองท่าน
หรื อไม่ อยู่ที่ การประพฤติ ป ฏิ บ ตั ิ ตวั ของท่ าน ว่าอยู่ในศี ลธรรมหรื อเปล่ า ถ้าท่ านอยู่ในศี ล 5
ไม่ตอ้ งอัญเชิ ญก็ได้ เวลามี เหตุ การณ์ ภยันตรายพระก็คุม้ ครอง ถ้าประพฤติตวั เหลวไหล ท่านก็
ไม่อยากอยูด่ ว้ ย หรื ออยูท่ ่านก็จาใจอยู่ และไม่อยากคุม้ ครอง ด้วยประการฉะนี้

พระพุทธคุณเป็ นของสู ง
จะเข้ ามาอยู่ในตัวคนที่มีบุญบารมีเท่ านั้น
89
วิชาอัญเชิญพระพุทธคุณจากร่ างกายออกสู่ อากาศธาตุ
การอัญเชิ ญพระพุทธคุณออกจากร่ าง คือ เมื่ออัญเชิ ญเข้าร่ างได้ ต้องรู้จกั อัญเชิญออกได้
สาหรับฆราวาสผูค้ รองเรื อน
สาหรับฆราวาสผูค้ รองเรื อน จะใช้พลังพระพุทธคุณในยามจาเป็ นเท่านั้น มิสมควรที่จะ
เอาพระพุ ท ธคุ ณ มาอยู่ก ับ ตัว ตลอดเวลา เพราะฆราวาสย่อ มกิ น อยู่ห ลับ นอนกับ คู่ ค รอง จะ
ไม่สามารถอัญเชิญพระพุทธคุณ ให้อยูก่ บั ตัวตลอดเวลาเหมือนเพศนักบวช
การอัญเชิญพระพุทธคุณออกจากร่ าง พลังพระพุทธคุณแบบของทิพย์ คนธรรมดาจะมอง
ไม่เห็น แต่รู้สึกและสัมผัสได้ ในเมื่ออัญเชิ ญมาเข้าร่ างได้ ต้องรู้จกั อัญเชิญออกได้ การอัญเชิ ญ
พระพุทธคุณออกจากร่ างทาได้ ดังนี้
กาหนดจิตเป็ นสมาธิ นึกถึงพระพุทธคุณ ค่อยๆทาสมาธิ ออกจากพระพุทธคุณ กลายเป็ น
อากาศธาตุ เมื่อกลายเป็ นอากาศธาตุ ปล่อยวางพระพุทธคุณที่เป็ นอากาศธาตุ ค่อยๆเคลื่อนออก
จากร่ างกายให้สลายกลายเป็ นอากาศธาตุ เรี ยกว่า อัญเชิญพระพุทธคุณออกจากร่ างของเรา
หลักการอัญเชิญพระพุทธคุณออกจากร่ างกาย
ในการเป็ นฆราวาสนั้นย่อมต้องกิ นอยู่หลับนอน จะให้พระพุทธคุณ คุ ม้ ครองดูแลรักษา
จะอัญเชิญให้ท่านมาอยูเ่ ราตัวเราตลอดเวลานั้นย่อมเป็ นไปไม่ได้ เป็ นการไม่ให้เกียรติสิ่งศักดิ์สิทธิ์
เมื่ออัญเชิญเข้าได้ ต้องรู้จกั อัญเชิญออกได้ เป็ นต้น
มีหลักการอัญเชิญออกจากร่ าง ดังต่อไปนี้ คือ
1. กาหนดจิตให้นึกถึงพระพุทธคุณ
2. กาหนดจิตบอกสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ให้รับรู ้วา่ เราจะอัญเชิ ญท่านออก
3. กาหนดจิตทาสมาธิ อญั เชิญพระพุทธคุณออกจากร่ าง

ใดๆในโลก ล้ วนอนิจจัง
ยึดติดทาไม ให้ ใจเราเป็ นทุกข์
90
โคตรภูญาณ
โคตรภู ญ าณ คื อ อะไร เป็ นญาณอยู่ ร ะหว่ า งกึ่ งกลางที่ ก าลัง จะเปลี่ ย นจากปุ ถุ ช น
กลายเป็ นพระอริ ยบุคคล ก่อนที่จะเป็ นพระโสดาบัน ต้องผ่านโคตรภูญาณมาก่อน ด้วยกันทั้งนั้น
เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า ชั้นของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง
ชั้นพระโพธิ สั ตว์ จึงเป็ นชั้นท าความเพียรสร้ างบุ ญ บารมี ธรรม เพื่ อพ้นจากความทุ ก ข์
หาทางออกจากวัฏฏะสงสาร
ชั้นพระโพธิ สัตว์น้ ี ท่านสามารถปล่อยวาง รัก โลภ โกรธ หลง ได้ดีกว่าปุถุชนคน
ธรรมดา เพราะท่านเห็ นภัยในวัฏฏะสงสาร ไม่ป ระมาทในการสร้ างบารมี ธรรม จึ งสามารถ
ปล่อยวางกิเลสได้ดีกว่าปุถุชน เพราะท่านใส่ ใจเพียรในการสร้างบุญบารมีมากกว่า ที่จะติดอยูใ่ น
วัฏฏะสงสารแห่งกองทุกข์
ชั้นพระโพธิ สัตว์น้ ี ท่านทาความเพียรสั่งสมบารมี ตั้งแต่ 10 – 30 ทัศ เพื่อเพียรขจัด
กิเลสให้หมดไปจากจิตของท่าน เพื่อให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด แห่งวัฏฏะสงสาร
การสาเร็ จชั้นโคตรภูญาณ สามารถบรรลุได้ 2 อย่าง คือ
1. บาเพ็ญสมถะต่อวิปัสสนา มีอภินิหารต่างๆ มากมาย
2. บาเพ็ญวิปัสสนาล้วน แตกฉานในธรรมทั้งหลาย
ญาณกึ่งโลกียก์ บั โลกุตตระ
โคตรภู ญาณนั้น คื อ ญาณอยู่ระหว่างกึ่ งกลางที่ ก าลังจะเปลี่ ยนจากปุ ถุช น กลายเป็ น
พระอริ ยบุคคล โคตรภูญาณ เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า ชั้นของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง
ก่ อ นที่ บุ ค คลจะท าความเพี ย รเพื่ อ บรรลุ ธ รรมเป็ นพระโสดาบัน เป็ นต้น ต้อ งผ่ า น
โคตรภู ญาณมาก่ อนด้วยกันทั้งนั้น จึ งเรี ยกอี กอย่างหนึ่ งว่า ชั้นของพระโพธิ สั ตว์ ผูส้ ร้ างบุ ญ
บารมีธรรม เพื่อออกจากความทุกข์ แห่งวัฏฏะสงสาร
พระโพธิ สัตว์ที่ มนุ ษ ย์รู้จกั อาทิ เช่ น พระมหาโพธิ สัตว์ หลวงปู่ ทวด พระแม่กวนอิม
จตุคาม เป็ นต้น ประวัติการสร้ างบารมีของท่าน คงจะไม่จาเป็ นต้องเขี ยนหรื อต้องเล่า เพราะ
เป็ นที่รู้จกั กันดี ของมนุษย์ท้ งั หลาย
พระโพธิ สัตว์ที่มนุษย์ไม่รู้จกั ยังมีอีกมากมาย
พระโพธิสัตว์ 3 ระดับ
การจาแนกบารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์ แบ่งตามระดับแห่งบารมีธรรม ได้ดงั นี้
1. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระอรหันต์
2. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระปัจเจกพระพุทธเจ้า
3. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระพุทธเจ้า
โดยส่ วนมากแล้ว จะยกย่องพระโพธิ สัตว์ที่สร้ างบารมีเพื่อจะมาเป็ นพระพุทธเจ้า ส่ วน
พระโพธิ สัตว์ที่สร้างบารมีเพื่อที่จะมาเป็ นพระอรหันต์หรื อพระปั จเจกพระพุทธเจ้า มักจะค่อยได้
กล่าวถึงเท่าใดนัก
91
ในความเป็ นจริ งนั้น ก่อนที่จะสาเร็ จเป็ นพระโสดาบันทุกองค์ ท่านทั้งหลายต้องผ่านชั้น
ของโคตรภู ญ าณก่ อ น ชั้น นี้ จึ ง เป็ น ชั้น ของผู้มี ค วามเพี ย รสร้ างบารมี เพื่ อ บรรลุ ธ รรม เรี ย ก
อีกอย่างหนึ่งว่า ชั้นของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง
เมื่อเป็ นเช่ นนี้ พระโพธิ สัตว์จึงมีท้ งั 3 แบบ แต่คนเราส่ วนมากไม่ได้ศึกษาให้ละเอียด
จึงมักคิดว่า พระโพธิ สัตว์ตอ้ งเป็ นผูท้ ี่สร้างบารมี มาเป็ นพระพุทธเจ้าเท่านั้น ส่ วนพระโพธิ สัตว์
ผูท้ ี่สร้างบารมีมาเป็ นพระปั จเจกพระพุทธเจ้า หรื อพระอรหันต์ คนจึงมักไม่เข้าใจว่าท่านก็เป็ น
พระโพธิ สัตว์เหมื อนกัน แต่บารมีไม่ถึงพระพุทธภูมิ บางคนไม่ศึกษาให้ละเอียดเอาไปรวมกับ
พระพุทธภูมิก็มี
ในที่ น้ ี ผูเ้ ขียนจะยกย่องพระโพธิ สัตว์ ผูป้ รารถนาจะมาเป็ นพระพุทธเจ้าว่า พระบรม
มหาโพธิสัตว์ หรื อพระมหาโพธิสัตว์
ส่ ว นผู ้ที่ ป รารถนาจะมาเป็ นพระปั จ เจกพระพุ ท ธเจ้า หรื อ พระอรหั น ต์ จะเรี ย กว่ า
พระโพธิ สัตว์ ธรรมดาเพื่อไม่ให้ผอู ้ ่านเกิดความสับสน
พระบรมมหาโพธิ สัตว์ หรื อพระมหาโพธิ สัตว์ ผูส้ ร้างบารมีมาเป็ นพระพุทธเจ้านั้น คือ
ผูท้ ี่ปรารถนา พระพุทธภูมิ จะไม่เกิดความท้อแท้ ในการเกิดเพื่อสร้างบารมีธรรม แม้กาลเวลา
จะยาวนาน ก็จะเกิ ดมาบารมี ธรรมจนเต็ม และรอกาลเวลาตรั สรู ้ เป็ นลาดับไป หมายถึ ง ใคร
สร้างบารมีธรรมก่อน คนนั้นย่อมเป็ นพระพุทธเจ้าได้ก่อน ถ้าสร้างบารมีธรรมมาทีหลัง ก็จะรอ
ตรัสรู ้ เป็ นลาดับไป จะมีความแน่ วแน่ ในการปรารถนาพระพุทธภูมิ ไม่เลิ กบาเพ็ญเพียรสร้ าง
บารมี หรื อท้อแท้ในการเกิ ดแห่ งวัฏ ฏะสงสาร หรื อเบื่ อหน่ ายสิ้ นหวังที่ ตอ้ งรอเป็ นเวลานานๆ
เพื่อตรัสรู ้เป็ นลาดับไป และไม่ลาจากพระพุทธภูมิบรรลุธรรมก่อน เรี ยกว่า ผูม้ ีความปรารถนา
พุทธภูมิอย่างแท้จริ ง
ดวงจิตพุทธะนั้น ท่ านต้ องเข้ าถึงเอง เพราะเมื่ อท่านปรารถนาพระพุทธภูมิ จะเข้าถึ ง
ดวงจิ ต พุ ท ธะเอง และมี ค วามเพี ย รแน่ ว แน่ ใ นการสร้ า งบารมี ธ รรม ไม่ บ อกลาพระพุ ท ธภู มิ
เพราะเบื่อหน่ายต่อการเกิด หรื อเหตุผลอื่นใดก็ตาม เพราะท่านเข้าถึงดวงจิตพุทธะแล้ว
พระโพธิ สัตว์ ผูส้ ร้ างบารมี ธรรมมาเป็ นพระปั จเจกพระพุ ทธเจ้านั้น ก็ จะอดทนรอจน
บารมี ธ รรมของตนเองเต็ ม และอดทนรอจนกว่า โลกนี้ ว่า งจากพระพุ ท ธศาสนา เรี ย กว่ า
พุทธันดร และเลื อกกาลเวลาที่ เหมาะสม จุ ติลงมาเพื่ อบรรลุ ธรรม พระปั จเจกพระพุท ธเจ้านั้น
ท่านตรัสรู ้ชอบได้ดว้ ยตนเอง แต่ท่านมิได้สอนใครให้รู้ตามท่าน เหมือนกับพระพุทธเจ้า
พระโพธิ สั ต ว์ ผูส้ ร้ า งบารมี ธ รรมมาเป็ นพระอรหัน ต์ร ะดับ พระอสี ติ ม หาสาว ก คื อ
พระมหาสาวกของพระพุทธเจ้า ผูม้ ีความเป็ นเลิศในแต่ละด้าน ก็ตอ้ งอดทนรอพระพุทธเจ้าตรัสรู ้
และท่านจะบรรลุ ธรรมตามพระพุทธเจ้าพระองค์น้ นั เพื่อเป็ นพระมหาสาวก ของพระพุทธองค์
และมีความเป็ นเลิ ศในแต่ละด้าน ไม่บรรลุ ธรรมไปก่อน เมื่อตัวเองสร้ างบารมีธรรมเต็ม แต่จะ
อดทนรอกาลเวลาในสมัยของพระพุ ทธเจ้าองค์น้ นั ๆ เพื่ อที่ จะมาเป็ นพระอสี ติม หาสาวก ของ
พระพุทธองค์
92
พระโพธิ สัตว์ ผูส้ ร้างบารมีธรรมมาเป็ นพระอรหันต์ธรรมดา จะบรรลุ ธรรมตอนไหน
ก็ได้ เมื่อบารมีธรรมของท่านเต็ม เพราะท่านเบื่อหน่ายการเกิด แห่ งวัฏฏะสงสาร ที่เต็มไปด้วย
ความทุกข์ ท่านไม่ปรารถนาการเกิดบ่อย เพราะการเกิดแต่ละครั้งเต็มไปด้วยความทุกข์
ญาณของพระโพธิ สัตว์ในแบบต่างๆ ในการสร้างบารมี 10 – 30 ทัศ
ปุจฉา จะรู ้ได้อย่างไรว่า พระโพธิ สัตว์องค์น้ ี มีญาณอะไรอยู่
วิสัชนา ดูที่การสร้างบารมี 10 ทัศ ปัจจุบนั (ถ้าสร้างบารมีอะไรอยู่ ก็จะใช้ญาณอันนั้น)
ตัวอย่าง ญาณของพระโพธิสัตว์
1. ญาณบาเพ็ญตบะ สร้างเนกขัมมะบารมีหรื ออุเบกขาบารมี
2. ญาณบาเพ็ญเพียร สร้างวิริยะบารมี
3. ญาณโปรดสัตว์ สร้างทานบารมี
ความอยากนิ พพานนั้นใครๆก็มีและปรารถนา แต่ถามว่าจะมีสักกี่ คน ที่ปรารถนาแล้ว
บาเพ็ญเพียรสร้างบารมีเพื่อจะนิพพาน
ถ้ าคนเขาปรารถนาสร้ างบารมีเพือ่ จะนิพพาน เขาจะสร้ างบารมีเอง
ข้ อควรระวัง พระโพธิ สัตว์ท้ งั หลาย ไม่ควรใช้ญาณปราบมาร ต่อการใช้ชีวิตอยูบ่ นโลก
มนุษย์ เพราะถ้ามนุ ษย์ปุถุชนคนธรรมดานั้น เขาไม่เข้าใจต่อการใช้ญาณปราบมารของท่าน เขา
จะใส่ ร้าย และหาว่าท่านต่างๆนาๆได้วา่ ท่านไร้เมตตาธรรม
ท่ านผู้ เจริ ญ ถ้ าท่ านยังใช้ ญ าณปราบมารอยู่ แล้ ว บารมี ธรรมของท่ านจะสู งขึ้นไปได้
อย่างไรกัน การแผ่เมตตาให้ มาร เป็ นสิ่ งทีพ่ ระโพธิสัตว์ ท้งั หลาย ควรกระทา ดังนี้
การปราบมารหาใช่หน้าที่ไม่
ในการปราบมารหาใช่หน้าที่ (ของพระโพธิ สัตว์ท้ งั หลายไม่) ถ้าไม่ได้รับอาญาสิ ทธิ์ จาก
สวรรค์และนรกให้จุติลงมาเพื่อปราบมาร
ถ้า ท่ า นแย่ง หน้ า ที่ ค นอื่ น เขาท าหมด แล้ว จะมี น รกสวรรค์ท าไมกัน เพราะเป็ นสิ่ ง ที่
เบื้องบนและเบื้องล่างทาหน้าที่ปราบมารให้ท่านอยูแ่ ล้ว
วิชาทางพระพุทธศาสนา
วิชาอภินิหารต่างๆ ในพระพุทธศาสนามีอยูม่ ากมาย ด้วยเหตุน้ ี
ถ้า ปุ ถุ ช นฝึ กเป็ นขั้น โลกี ย ์ เพราะสู ง สุ ด ของฌานสมถะ เต็ ม ที่ ไ ด้แ ค่ ช้ ั น พรหม ไม่
สามารถทาความเพียรเจริ ญวิปัสสนาเพื่อบรรลุธรรมขั้นสู งขึ้นไป เพราะติดอยูใ่ นอภิญญาตัวเอง
ถ้าพระอริ ยบุคคลฝึ กเป็ นขั้นโลกุตตระ เพราะท่านเจริ ญฌานก่อนแล้วมา เจริ ญวิปัสสนา
ญาณทีหลัง เป็ นการหลุดพ้นด้วยเจโตวิมุตติ
ตัวอย่าง พระสารี บุตร ในอดีตชาติ ก่อนจะมาเป็ นพระอรหันต์ ท่านจุติปราบมาร
ในอดี ตชาติ ก่อนที่ พระสารี บุตรจะบรรลุ ธรรมเป็ นพระอรหันต์ ท่านได้รับมอบหมาย
อาญาสิ ทธิ์ ลงมาจากสวรรค์ เพื่อจุติลงมาปราบมาร เป็ นการทาหน้าที่แทนเบื้องซ้าย
ชาติ น้ ันท่านจึ งมากไปด้วยอภิ นิหาร แต่ ก็เป็ นการยากที่ ท่าน จะใช้ชีวิตอยู่แบบมนุ ษ ย์
ธรรมดาได้
93
ในเมื่อท่านจุติลงมาเพื่อปราบมาร จึงเป็ นที่รังเกียจของมาร และมนุ ษย์ธรรมดาไม่เข้าใจ
ท่าน เขาก็กลัวท่าน และว่าท่านไร้เมตตาธรรม เป็ นต้น
เมื่อท่านปราบมารเสร็ จ เป็ นการหมดภาระหน้าที่จากเบื้องบน และกลับสวรรค์
นอกจากพระสารี บุตรแล้ว พระอุบาลี ก่อนการบรรลุเป็ นพระอรหันต์ ท่านก็ได้จุติลงมา
เพื่อปราบมาร และความอยุติธรรมทั้งหลาย
ด้วยการเป็ นผูพ้ ิพากษามาหลายภพหลายชาติ ตัดสิ นให้ความเป็ นธรรม เพราะท่านสร้าง
บารมีมาเพื่อทรงคุณธรรม ความยุติธรรมต่างๆ และเป็ นผูเ้ ลิศทางทรงคุณพระวินยั
จะรู ้ได้อย่างไรว่า ใช่หรื อไม่ใช่มาร
บารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์ อันมนุ ษย์ธรรมดามิอาจเปรี ยบเทียบได้ การรับรู้ดว้ ยญาณ
ของท่านนั้น รับรู ้ดว้ ยญาณ ดังต่อไปนี้ กล่าวคือ
1. รับรู้ดว้ ยญาณ คือ ตาทิพย์ (สามารถมองทะลุภาพลวงตาต่างๆ ที่มารหลอกได้)
2. รับรู้ดว้ ยญาณ คือ ย้อนอดีต (สามารถย้อนอดีตดูได้วา่ มารแปลงมาจริ งหรื อไม่)
3. รับรู้ดว้ ยญาณ คือ อ่านวาระจิต (สามารถตรวจดูวาระจิตก็รู้วา่ เป็ นจิตแห่งมาร)
ด้วยเหตุน้ ี พระโพธิ สัตว์ท้ งั หลาย จึงมีญาณพิเศษสามารถกาหนดรู ้ได้วา่ นี้ คือ มาร เมื่อ
จุติลงมาเพื่อปราบมาร ก็กาหนดรู ้อย่างชัดเจน
พระโพธิ สัตว์ผไู ้ ด้รับอาญาสิ ทธิ์ ลงมาจากสวรรค์ให้เป็ นผูป้ ราบมาร จึงไม่จาเป็ นต้องสนใจ
ต้องคนพูดของมนุษย์คนธรรมดา เพราะปุถุชนคนธรรมดา ไม่ได้มีญาณพิเศษอย่างเรา
เหตุผลที่วา่ ปราบมาร ไม่จาเป็ นต้องสนใจต่อคาพูดของปุถุชนนั้น เพราะปุถุชนนั้นไม่มี
ญาณพิ เศษเหมื อ นเรา ก็ พู ด กัน ไปต่ า งๆนาๆว่า ท าแล้ว จะตกนรก แต่ ห ารู ้ ไ ม่ ว่า เราก าลัง
ปราบมาร ด้ ว ยเหตุ น้ ี คนธรรมดาไม่ มี ญ าณพิ เศษ เขาจะไม่ มี ว นั เข้า ใจท่ า น และว่ า ท่ า น
ไร้เมตตาธรรม
นรกย่อมไม่ มี ก ับ พระโพธิ สั ต ว์ ผูไ้ ด้รับ อาญาสิ ท ธิ์ ลงมาจากสวรรค์เพื่ อ ปราบมาร จึ ง
ไม่จาเป็ นต้องสนใจต่อคาพูดของปุ ถุชนคนธรรมดา เหตุผล เพราะคนธรรมดาเขาไม่รู้อดี ตของ
พระโพธิ สัตว์ ไม่รู้ปัจจุบนั ว่าท่านกาลังสร้างบารมีหรื อกาลังทาอะไรอยู่ และไม่รู้อนาคตของท่าน
จึงพูดออกไปด้วยสติปัญญาของตน และบางครั้งคนธรรมดาก็พูดออกไปด้วยความลาเอียงมีอคติ
เป็ นต้น จึ งไม่ จาเป็ นต้องสนใจต่อค าพูดของปุ ถุ ชน แค่ท่ านทาหน้าที่ ที่ ได้รับ มอบหมายจาก
เบื้องบนลงมาเป็ นพอ
พระโพธิ สัตว์ท้ งั หลาย ย้อนอดี ตของตัวเองดูได้ รู ้ ท้ งั ปั จจุบนั ว่า กาลังทาอะไรอยู่ จึง
ไม่เกิ ดความประมาทต่อการสร้ างบารมีธรรม แล้วท่านรู ้ อนาคตของตัวเองเป็ นที่ ไปในเบื้องหน้า
เพราะท่านมีบารมีธรรมสู ง สามารถเลือกเกิดเองได้ ตามบุญวาสนาบารมีธรรมว่า ท่านจะสร้าง
บารมีธรรมอย่างไร ก็ไปเกิ ดในตระกูลนั้น หรื อจะหยุดพักการสร้างบารมีธรรม ก็จะไปบังเกิ ด
ในสวรรค์ จึงไม่จาเป็ นต้องสนใจต่อคาพูดของปุ ถุชน ในเมื่ อท่ านลงมาเพื่อปราบมาร เพราะ
คนธรรมดา เขาไม่มีญาณพิเศษ ไม่รู้อนาคตของตัวเองและผูอ้ ื่น ไม่มีบารมีธรรมไม่สามารถเลือก
เกิดเองได้เหมือนพระโพธิ สัตว์ จะสนใจต่อคาพูดของธรรมดา ด้วยเหตุแห่งอันใด
94
ส่ วนพระโพธิ สัตว์ท้ งั หลาย ที่ ไม่มีหน้าที่ ต่อการปราบมาร จึงใคร่ ครวญดูก่อนว่าจะใช้
ญาณปราบมารดีหรื อไม่ ต่อการใช้ชีวติ อยูบ่ นโลกมนุษย์
เพราะถ้าท่านไม่มีหน้าที่ปราบมาร ก็ตอ้ งปล่อยให้เป็ นหน้าที่ของสวรรค์เบื้องบนและนรก
เบื้ องล่างบ้าง (ท่านไม่ควรแย่งหน้าที่คนอื่นปราบมารหมด) เพราะอย่างไรเสี ยนรกกับสวรรค์ก็
ต้องทาหน้าที่ปราบมารให้ท่านอยูแ่ ล้ว ถ้าท่านสร้างบารมีธรรม
การใช้ปัญญาแยกแยะว่าสิ่ งใดเป็ นมารหรื อมิใช่มาร
หน้าที่ของมารนั้น คือ ผูม้ ีมาขัดขวางการสร้างบารมีธรรม ไม่ให้ผทู ้ ี่สร้างความดีประสบ
ความสาเร็ จง่ายๆ ผูท้ ี่ขดั ขวางผูอ้ ื่นสร้างบารมีธรรม หรื อคุณงามความดี จึงเรี ยกว่า มาร
ใช้ปัญญาพิจารณาดูแค่น้ ีก็จะรู ้ได้ เพราะคนดีๆที่ไหน เขาจะมาขัดขวางต่อการสร้างบารมี
ของผูอ้ ื่น การขัดขวางต่อการสร้างบารมีธรรมของผูอ้ ื่น จึงเป็ นหน้าที่ของมาร
บ ารมี ธรรม พ ระ โพ ธิ สั ต ว์ เป็ น สิ่ งที่ ม ารขั ด ข วางไม่ ได้ ท่ าน ล อ งดู ป ระ วั ติ
พระมหาโพธิ สัตว์ ในการสร้างบารมีธรรม แต่ละชาติวา่ ถูกมารขัดขวางนับไม่ถว้ น แต่ท่านก็
ผ่านอุปสรรคมาได้ทุกครั้ง
ท่ านผู้ เจริ ญ ถ้ าท่ านยังใช้ ญ าณปราบมารอยู่ แล้ ว บารมี ธรรมของท่ านจะสู งขึ้นไปได้
อย่างไรกัน การแผ่เมตตาให้ มาร เป็ นสิ่ งทีพ่ ระโพธิสัตว์ท้งั หลาย ควรกระทา ดังนี้
ตัวอย่าง พระสารี บุตร ในอดี ตชาติ ก่อนจะมาเป็ นพระอรหันต์ ท่านจุติปราบยุคเข็ญ
บาเพ็ญมหาทาน สร้างบุญบารมีธรรม
ในการใคร่ ครวญว่าตัวท่านเองจะสร้างบุญบารมีธรรมอะไร ด้านไหน ทางด้านมหาทาน
บารมี น้ นั พระโพธิ สั ตว์ท้ งั หลายจะใคร่ ครวญบารมี ข องตน และเลื อกเกิ ดในสองตระกูล ใน
การบาเพ็ญทานเท่านั้น คือ ตระกูลกษัตริ ย ์ กับตระกูลเศรษฐี
พระสารี บุตร ก่อนจะมาเป็ นพระอรหันต์ ท่านเกิ ดนับภพชาติไม่ถว้ น บางชาติเกิดเป็ น
เทวดา บางชาติเกิดเป็ นครู บาอาจารย์ บางชาติเกิดเป็ นเศรษฐี และบางชาติเกิดเป็ นกษัตริ ย ์ ฯลฯ
ในการจุ ติส ร้ างมหาทานบารมี ในชาติ น้ ัน ท่ านได้เกิ ดเป็ นกษัตริ ยท์ ี่ อินเดี ย เหตุ ผ ลว่า
ทาไมต้องเป็ นที่อินเดีย เพราะในอินเดีย คนรวยที่สุดก็อยูท่ ี่น้ นั คนจนที่สุดก็อยูท่ ี่น้ นั
ถ้าจุติมาเพื่อสร้างทานบารมีแล้ว การจุติลงมาเกิดที่ประเทศอินเดีย จะเป็ นประโยชน์แก่
คนหมู่มาก
ด้วยเหตุ น้ ี พระโพธิ สั ต ว์ท้ งั หลาย ในการเลื อ กเกิ ด ให้ ตนเองนั้น จะต้อ งใคร่ ค รวญ
ดูก่อนว่า เราจะสร้างบารมี 10 ทัศ ในด้านไหน ก็จุติลงมาเลือกประเทศ เลือกตระกูล เลือก
กาลเวลาในการจุติลงมา หมายถึ ง กาลสมัยนั้น เป็ นกาลสมควรลงมาเพื่อเราจะสร้ างบุญบารมี
ธรรม เป็ นต้น
ถ้าจะสร้างทานบารมี ก็เกิดในตระกูลคนรวย คือ ตระกูลกษัตริ ย ์ กับตระกูลเศรษฐี
ถ้าจะบ าเพ็ญ เนกขัม มะบารมี ก็ เกิ ด ในตระกู ล ธรรมดาหรื อ สู ง ก็ ไ ด้ เพื่ อ ตนเองจะได้
ติดดิน ง่ายต่อการบาเพ็ญสมณธรรม
95
ถ้าจะบาเพ็ญอุเบกขาบารมี ก็จะไปจุติเกิ ดเป็ นพรหม เพราะชั้นพรหมง่ายต่อการบาเพ็ญ
เพียรภาวนา แต่ถา้ ท่านบาเพ็ญอุเบกขาบารมี ในการจุติลงมาเป็ นมนุ ษย์ จะเลื อกเกิดในตระกูล
ธรรมดา เพื่อติดดินไม่ยงุ่ เกี่ยวกับใคร ถือสันโดษบาเพ็ญเพียรภาวนา
จะเกิ ดในตระกูลสู งหรื อตระกูลธรรมดา อยู่ที่ชาติน้ นั ๆ เป็ นหลักว่าท่านจะสร้ างบารมี
ธรรมด้านใด ท่านก็เลือกเกิดในตระกูลนั้นๆ เป็ นต้น
ส่ วนมากแล้วพระโพธิ สั ตว์ท้ งั หลาย จะยึดถื อหลักการสร้างบุญบารมี ของพระพุ ทธเจ้า
ทั้งหลายและพระอรหันต์ท้ งั หลาย ที่ท่านเคยสร้างบุญบารมีธรรมไว้แล้ว เป็ นแบบอย่างที่ดี ใน
การสร้างบุญบารมีธรรมของตนเอง
อย่ า เรี ย กบุ ญ บารมี ข องท่ า นให้ ค นอื่ น มากเกิ น ไป อัน เป็ นเหตุ ใ ห้ บุ ญ ของท่ า นหมด
โดยไม่จาเป็ น ทาให้เข้าถึงนิพพานช้าลง ต้องสร้างบุญบารมีใหม่

เหตุปัจจัยในการสร้างบุญบารมีน้ นั มีอยูม่ ากมาย เมื่อกล่าวโดยย่อและสรุ ป คือ


การสร้างบุญในหลักของบุญกิ ริยาวัตถุ 10 และสร้ างบารมีธรรมทั้ง 10 ทัศ เป็ นการ
สั่งสมบุญและบารมีธรรม เพื่อบรรลุธรรม ออกจากการวนเวียนว่ายตายเกิด แห่งวัฏฏะสงสาร
เมือ่ บุคคลนั้น ต้ องการสร้ างบุญบารมีเพือ่ จะบรรลุธรรม
(เขาก็จะสร้ างเอง หาใช่ ใครบังคับไม่ )

การสร้างบุญบารมี มีเหตุที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ คือ


1. บุญเป็ นเหตุให้เกิดสัมมาทิฏฐิ (ละเว้นจากความชัว่ ทาความดี)
2. บุญเป็ นเหตุให้เกิดความสุ ขทั้งในภพนี้และภพหน้า
3. บุญเป็ นเหตุให้เกิดบารมี เข้าสู่ มรรคผลนิพพาน
บุญกิริยาวัตถุ 10 อย่าง
1. ทานมัย บุญสาเร็ จด้วยการบริ จาคทาน
2. สี ลมัย บุญสาเร็ จด้วยการรักษาศีล
3. ภาวนามัย บุญสาเร็ จด้วยการเจริ ญภาวนา
4. อปจายนมัย บุญสาเร็ จด้วยการประพฤติถ่อมตนแก่ผใู ้ หญ่
5. เวยยาวัจจมัย บุญสาเร็ จด้วยการช่วยขวนขวายในกิจที่ชอบ
6. ปัตติทานมัย บุญสาเร็ จด้วยการให้ส่วนบุญ
7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสาเร็ จด้วยการอนุ โมทนาส่ วนบุญ
8. ธัมมัสสวนมัย บุญสาเร็ จด้วยการฟังธรรม
9. ธัมมเทสนามัย บุญสาเร็ จด้วยการแสดงธรรม
10. ทิฏฐุ ชุกมั ม์ การทาความเห็นให้ตรง
96
บารมี 10 ทัศ
หัวใจพระเจ้า 10 ชาติ คือ เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว
บารมี 10 ทัศ ดังนี้ คือ
1. เต พระเตมีย ์ บาเพ็ญเนกขัมมะบารมี
2. ชะ พระมหาชนก บาเพ็ญวิริยะบารมี
3. สุ พระสุ วรรณสาม บาเพ็ญเมตตาบารมี
4. เน พระเนมิราช บาเพ็ญอธิษฐานบารมี
5. มะ พระมโหสถ บาเพ็ญปัญญาบารมี
6. ภู พระภูริทตั บาเพ็ญศีลบารมี
7. จะ พระจันทรกุมาร บาเพ็ญขันติบารมี
8. นา พระนารท บาเพ็ญอุเบกขา
9. วิ พระวิธูร บาเพ็ญสัจจะบารมี
10. เว พระเวสสันดร บาเพ็ญทานบารมี

บารมี 30 ทัศ
บารมี ท้ งั 10 ประการ อัน เป็ นองค์บารมี ข องพุ ท ธการกธรรม สามารถแยกเป็ น 3
ระดับ ดังต่อไปนี้ คือ
1. (สามัญ)บารมี บารมีตน้
2. อุปบารมี บารมีกลาง
3. ปรมัตถบารมี บารมีปลาย

การจาแนกระดับของบารมีน้ ี มีหลายประการ ดังต่อไปนี้ คือ


จาแนกด้ วยการกระทา
บารมีตน้ เป็ นการอนุโมทนาการกระทาของผูอ้ ื่น
อุปบารมี เป็ นการให้ผอู้ ื่นทา
ปรมัตถบารมี เป็ นการกระทาด้วยตนเอง
จาแนกด้ วยธรรม
บารมีตน้ เป็ นธรรมขาวเจือด้วยธรรมดา
อุปบารมี เป็ นธรรมขาวไม่เจือด้วยธรรมดา
ปรมัตถบารมี เป็ นธรรมไม่ดาไม่ขาว
จาแนกด้ วยกาล
บารมีตน้ บาเพ็ญในกาลตั้งความปรารถนาทางใจ
อุปบารมี บาเพ็ญในกาลตั้งความปรารถนาทางวาจา
ปรมัตถบารมี บาเพ็ญในกาลตั้งความปรารถนาทางกาย
97
จาแนกด้ วยความยาก
บารมีตน้ เนื่องด้วยวัตถุและทรัพย์นอกกาย
อุปบารมี เนื่องด้วยอวัยวะและเลือดเนื้ อ
ปรมัตถบารมี เนื่องด้วยชีวติ

บารมีท้ งั สิ บอย่างที่เป็ นบารมีตน้ รวมกันเรี ยกว่า บารมี 10 ทัศ


บารมีท้ งั สิ บอย่างที่เป็ นอุปบารมี รวมกันเรี ยกว่า อุปบารมี 10 ทัศ
บารมีท้ งั สิ บอย่างที่เป็ นปรมัตถบารมี รวมกันเรี ยกว่า ปรมัตถบารมี 10 ทัศ

ผูป้ รารถนาสาวกภูมิ ต้องบาเพ็ญบารมี 10 ทัศ


ผูป้ รารถนาปัจเจกภูมิ ต้องบาเพ็ญบารมี 20 ทัศ คือ บารมีและอุปบารมี
ผูป้ รารถนาพุทธภูมิ ต้องบาเพ็ญบารมี 30 ทัศ คือ บารมี อุ ป บารมี และปรมัต ถ
บารมี

เมื่อจาแนกบารมีท้ งั 30 ทัศ ตามความยาก ดังต่อไปนี้ คือ


1. ทานบารมี
บารมี สละธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา ให้เป็ นทาน
อุปบารมี สละอวัยวะและเลือดเนื้อ ให้เป็ นทาน
ปรมัตถบารมี สละชีวติ ให้เป็ นทาน
2. ศีลบารมี
บารมี ยอมสละธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา เพื่อรักษาศีล
อุปบารมี ยอมสละอวัยวะและเลือดเนื้ อ เพื่อรักษาศีล
ปรมัตถบารมี ยอมสละชีวติ เพื่อรักษาศีล
3. เนกขัมมบารมี
บารมี ถือบวช โดยไม่อาลัยในธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี ถือบวช โดยไม่อาลัยในอวัยวะและเลือดเนื้ อ
ปรมัตถบารมี ถือบวช โดยไม่อาลัยในชีวติ
4. ปัญญาบารมี
บารมี ใช้ปัญญารักษา ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา ของผูอ้ ื่น
อุปบารมี ใช้ปัญญารักษา อวัยวะและเลือดเนื้ อ ของผูอ้ ื่น
ปรมัตถบารมี ใช้ปัญญารักษา ชีวติ ของผูอ้ ื่น
98
5. วิริยบารมี
บารมี มีความเพียร ไม่อาลัยใน ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี มีความเพียร ไม่อาลัยใน อวัยวะและเลือดเนื้ อ
ปรมัตถบารมี มีความเพียร ไม่อาลัยใน ชี วติ
6. ขันติบารมี
บารมี อดทนต่อผูท้ ี่จะทาร้ายต่อ ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี อดทนต่อผูท้ ี่จะทาร้ายต่อ อวัยวะและเลือดเนื้ อ
ปรมัตถบารมี อดทนต่อผูท้ ี่จะทาร้ายต่อ ชี วติ
7 สั จจบารมี
บารมี ยอมสละธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา เพื่อรักษาสัจจะ
อุปบารมี ยอมสละอวัยวะและเลือดเนื้ อ เพื่อรักษาสัจจะ
ปรมัตถบารมี ยอมสละชีวติ เพื่อรักษาสัจจะ
8. อธิษฐานบารมี
บารมี ไม่หวัน่ ไหวแม้ตอ้ งสู ญเสี ย ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี ไม่หวัน่ ไหวแม้ตอ้ งสู ญเสี ย อวัยวะและเลือดเนื้อ
ปรมัตถบารมี ไม่หวัน่ ไหวแม้ตอ้ งสู ญเสี ย ชีวติ
9. เมตตาบารมี
บารมี มีเมตตาแม้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี มีเมตตาแม้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย อวัยวะและเลือดเนื้อ
ปรมัตถบารมี มีเมตตาแม้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย ชีวติ
10. อุเบกขาบารมี
บารมี วางเฉยได้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย ธนสารสมบัติ บุตร ภริ ยา
อุปบารมี วางเฉยได้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย อวัยวะและเลือดเนื้ อ
ปรมัตถบารมี วางเฉยได้ต่อผูท้ ี่จะทาร้าย ชี วติ
(อรรถกถาพระไตรปิ ฎก เล่ มที่ 74 อรรถกถา จาริยาปิ ฏก)

การสร้างบุญบารมีในเพศของฆราวาส
การสร้างบุญบารมีธรรม สู่ มรรค ผล นิ พพาน ในเพศของฆราวาสนั้น ท่านสามารถ
แยกแยะเรื่ องส่ วนตัว ครอบครัว แบ่งแยกหน้าที่การงาน ออกจากการบาเพ็ญเพียรในการสร้าง
บุ ญ บารมี ธ รรม ไม่ ใ ห้ ม าปะปนกัน และสามารถใช้ ชี วิ ต อยู่ ใ นเพศของฆราวาส จนกว่ า
บารมีธรรมของท่านเต็ม
การอยูใ่ นเพศของฆราวาส ไม่ควรบอกใครว่าท่านสร้างบารมีธรรม เพื่อบรรลุมรรค ผล
นิพพาน จะมีอุปสรรคและสิ่ งต่างๆ มาผจญในการสร้างบารมีธรรมของท่านอย่างมากมาย
99
พูดน้ อยเสี ยน้ อย พูดมากเสี ยมาก
ไม่ พูดไม่ เสี ย นิ่งเสี ยโพธิสัตว์

การสร้างบุญบารมีในเพศของนักบวช
การอยู่ในเพศของนักบวชนั้น ก็ไม่สมควรพูดว่าสร้ างบารมีธรรม เพื่อบรรลุ มรรค ผล
นิพพาน เพราะเจอกัลยาณมิตรก็ดีไป ถ้าเจอมิตรไม่ดี จะมีอุปสรรคมากมาย รบกวนการบาเพ็ญ
สมณธรรม

อย่ าหวัน่ ไหวไปตามอารมณ์ และคาพูดของผู้อนื่

จะรู ้ได้อย่างไรว่าตัวเอง สาเร็ จโคตรภูญาณ


คือ ตัวท่านต้องเข้าถึงพลังโพธิญาณ อันเป็ นเครื่ องหมายของพระโพธิสัตว์
คนสาเร็ จนั้นรู ้ดี คนไม่สาเร็ จจะคิดมาก เกิดความสงสัยลังเลในการปฏิบตั ิ
เมื่อท่านสาเร็ จแล้วจะรู ้ อดี ตของตัวเอง รู ้ ท้ งั ปั จจุ บนั ว่าเราจะต้องทาอะไร ไม่ใช่ ดาเนิ น
ชี วิตอยูด่ ว้ ยความประมาท และสามารถกาหนดอนาคต เป็ นที่ไปในเบื้องหน้า คือ รู ้วา่ ชาติหน้า
ตัวเองจะเกิ ดเป็ นอะไร จะหยุดพักสร้ างบารมี ธรรมอยู่บ นสวรรค์ หรื อจุติเปลี่ยนภพเป็ นมนุ ษ ย์
เพื่อสร้างบารมีธรรมอย่างอื่นต่อไปอีก
จึงรู ้ท้ งั อดีต ปั จจุบนั และอนาคตของตนเอง
พระโพธิสัตว์ผมู้ ีความเพียรในการสร้างบารมีธรรม จะเกิดบ่อยนับภพชาติไม่ถว้ น
พระโพธิ สัตว์ผใู ้ ช้ปัญญาในการสร้างบารมีธรรม จะเกิดระดับปานกลาง
พระโพธิ สั ตว์ผูใ้ ช้ท านในการสร้ างบารมี ธ รรม จะเกิ ดน้อยมาก มัก บ าเพ็ญ ทานและ
บารมีธรรมอย่างอื่น ให้บารมีธรรมของตนเองเต็มเร็ ว และอยูบ่ นสวรรค์รอกาลเวลา ของตนเอง
เพื่อบรรลุธรรม คือ ท่านไม่อยากเกิดบ่อย เพราะการเกิ ดบ่อยเป็ นทุกข์ จึงสร้างบารมีธรรมให้
เต็ม เร็ ว ต่ างกับ พระโพธิ สั ตว์ผูม้ ากด้วยความเพี ยรในการสร้ างบารมี ธ รรม จะเกิ ดนับ ภพชาติ
ไม่ถว้ น เพื่อสะสมบุญบารมีธรรม และยินดีในการเกิดเพื่อสร้างบุญบารมีธรรม แม้การเกิดแต่ละ
ชาติจะเป็ นความทุกข์ก็ตาม
ด้ ว ยเหตุ น้ ี ถ้ า เลื อ กเกิ ด เองไม่ ไ ด้ เพื่ อ สร้ า งบุ ญ บารมี ธ รรมในแต่ ล ะชาติ ไม่ ใ ช่
พระโพธิสัตว์
100
บารมีพระโพธิ สัตว์ อันปุถุชนไม่อาจเปรี ยบเทียบได้
บุญบารมีธรรมในการเลือกเกิดเองได้ (ของพระโพธิ สัตว์) อันปุถุชนคนธรรมดา ไม่อาจ
เปรี ยบเทียบได้
ปุถุชนคนธรรมดานั้น จะมี บารมีธรรมในการเลื อกเกิ ดก็หาไม่ คนธรรมดาจึงมักพูดอยู่
เสมอว่า คนเราเลือกเกิดเองไม่ได้ แต่เลือกทาความดีได้
ปุถุชนคนธรรมดานั้น เขาไม่มีญาณพิเศษรู ้ อนาคตของตนเองและผูอ้ ื่น เขาสร้ างบารมี
ธรรมมาไม่เหมือนกับพระโพธิ สัตว์ จึงไม่มีบุญบารมีเทียบเท่าพระโพธิ สัตว์ ที่สามารถเลื อกเกิ ด
เองได้ตามบุญบารมีธรรมของท่าน
บารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์ท้ งั หลาย แต่ละองค์น้ นั ไม่เท่ากัน ขึ้นอยูก่ บั ความเพียรใน
การประกอบบารมีธรรม ท่านเกิดนับภพชาติไม่ถว้ น เพื่อสร้างบารมีธรรม
พระโพธิ สัตว์รู้อดีตของตนเอง รู ้ปัจจุบนั ว่า กาลังทาอะไรอยู่ ไม่ประมาทต่อการสร้าง
บารมี ธ รรม รู ้ อนาคตเป็ นที่ ไปในเบื้ องหน้า สามารถเลื อกเกิ ดเองได้ ตามวาสนาบารมี ธรรม
ของตน เมื่อจะจุติลงมาเกิดในการสร้างบารมีธรรมใดๆ ในบารมีท้ งั 10 ทัศ
จะเกิ ดในตระกูลสู งหรื อตระกูลธรรมดา ก็จะพิจารณาในการสร้ างบารมีแต่ละชาติ น้ นั ๆ
ที่ท่านจะเลือกเกิดเป็ นหลัก

คนจะสู งหรือต่าอยู่ทคี่ ุณธรรมทีไ่ ด้ บรรลุ (ก็ทรัพย์ สมบัติและยศถาบรรดาศักดิ์น้ ันไม่ เทีย่ ง)

วัฏฏะ คือ การวนเวียนว่ายตายเกิดของมนุษย์


ถ้าทาความดี มีมนุษย์สมบัติและสรรค์สมบัติ เป็ นต้น
ถ้าทาความชัว่ หรื อประมาท มีอบายภูมิ เป็ นที่หมาย
เหตุน้ ีท่านจะประมาท ด้วยเหตุแห่งอันใด

ถ้ าได้ บรรลุโคตรภูญาณแล้ ว จะเกิดอีกกีช่ าติ (ก็เป็ นพระโพธิสัตว์ )


หมายถึง ทาความเพียรสร้ างบุญบารมีธรรมต่ อได้ เลย ไม่ ต้องมาเริ่มต้ นนับหนึ่งใหม่

ผูร้ ู ้ใคร่ ครวญดูก่อนว่า กาลนี้เป็ นกาลเวลาของเราจะนิพพานหรื อไม่


ในการพิจารณาใคร่ ครวญกาลเวลา เพื่อที่จะเข้าถึงพระนิ พพานแต่ละองค์ยอ่ มจะพิจารณา
ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยูก่ บั บารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์องค์น้ นั เป็ นหลัก
พระบรมมหาโพธิสัตว์ หรื อพระมหาโพธิสัตว์
เมื่ อ บารมี ธ รรมเต็ ม จะใคร่ ค รวญกาลเวลาของตน ที่ ต้อ งมาตรั ส รู ้ ต ามล าดับ ของ
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ ว่าท่านอยู่องค์ที่เท่าไร ก็จะลงมาตรัสรู ้ต่อจากพระพุทธเจ้าพระองค์
นั้น พิจารณาถึงบุคคล อายุขยั ของมนุษย์ และเวไนยสัตว์ ที่จะต้องโปรด เป็ นต้น ฯลฯ
พระโพธิสัตว์ ผูส้ ร้างบารมีธรรมมาเป็ นพระปัจเจกพระพุทธเจ้า
101
เมื่อบารมีธรรมเต็ม จะใคร่ ครวญกาลเวลาของตน สมัยที่โลกนี้ วา่ งจากพระพุทธศาสนา
เรี ยกว่า พุทธันดร เป็ นกาลที่ท่านจะลงมาตรัสรู ้ เพราะท่านจะตรัสรู ้ชอบได้ดว้ ยตนเอง แต่ท่าน
ไม่สอนใครโปรดใคร เหมือนกับพระพุทธเจ้า
พระโพธิ สัตว์ ผูส้ ร้างบารมีธรรมมาเป็ นพระอสี ติมหาสาวก (ผูม้ ีความเป็ นเลิศแต่ละด้าน)
เมื่ อบารมี ธรรมเต็ม จะใคร่ ครวญกาลเวลาสมัยของพระพุ ท ธเจ้า ว่าตนเองสร้ างบารมี
ธรรมมาเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้า พระองค์ไหน ก็จะมาเป็ นสาวกของพระพุทธเจ้าพระองค์น้ นั
แม้บารมีของท่านจะเต็ม แต่สมัยนั้นพระพุทธเจ้าตรัสรู ้แล้ว แต่ตนเองไม่ใช่สาวกของพระพุทธเจ้า
พระองค์น้ นั ก็ไม่จุติลงมา เพราะจะซื่ อสัตย์กบั พระพุทธเจ้าของตน เป็ นต้น และ รู ้ดีวา่ ตนเอง
สร้างบารมีมาเพื่อเป็ นสาวกผูเ้ ลิศ ของพระพุทธเจ้าพระองค์ไหน เมื่อถึ งกาลนั้นก็จะบรรลุ ธรรม
ในสมัยพระพุทธเจ้าพระองค์น้ นั ไม่รีบบรรลุ ธรรมไปก่อน มี ความอดทนรอได้ เพื่อตาแหน่ ง
สาวกผูเ้ ลิศในแต่ละด้าน แห่งบารมีธรรมของตนที่ได้บาเพ็ญมา
พระโพธิสัตว์ ผูส้ ร้างบารมีธรรมมาเป็ นพระอรหันต์ธรรมดา
เมื่อบารมีธรรมเต็ม จะใคร่ ครวญกาลเวลาของตน ก็สามารถบรรลุธรรมได้ทนั ที ไม่ตอ้ ง
รออะไรมากมาย เหมื อนกับพระอสี ติมหาสาวกที่ ตอ้ งรอพระพุท ธเจ้า จะจุติลงมาตรัส รู ้ เมื่ อ
บารมี ข องท่ านเต็ม แล้ว ก็ ท าความเพี ยรเพื่ อบรรลุ ธ รรมทัน ที เพราะท่ านเบื่ อหน่ ายต่ อการเกิ ด
แห่งวัฏฏะสงสาร

ความท้ อแท้ ย่ อมไม่ มีแก่ ผู้ที่มีความเพียร


102
พลังโพธิพนั ญาณ
พลังโพธิ พนั ญาน คื ออะไร หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน พลังโพธิ พนั ญาณ อธิ บายให้
เข้าใจง่ายคือ ชั้นพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง
เกิ ดจากสร้ างบุ ญ บารมี ถ้าบ าเพ็ญ สมถะมาแล้วต่ อวิปั ส สนากัม มัฏ ฐาน หรื อบ าเพ็ญ
วิปัสสนากัมมัฏฐานอย่างเดี ยวก็ได้ สู งกว่าชั้นของพระพรหม แต่ต่ ากว่าพระโสดาบัน เรี ยกว่า
โคตรภูญาณ ชั้นของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง
วิปัสสนาญาณ 16 (โสฬสญาณ) ที่ควรทราบ
วิปัสสนาญาณ 16 เป็ นญาณที่เกิดแก่ผบู ้ าเพ็ญวิปัสสนา โดยลาดับตั้งแต่ตน้ จนถึงจุดหมาย
มรรค ผล นิพพาน คือ
1. นามรู ปปริ จเฉทญาณ หมายถึง ญาณกาหนดแยกนามรู ป
2. นามรู ปปัจจัยปริ คคหญาณ หมายถึง ญาณจับปั จจัยแห่งนามรู ป
3. สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรู ปโดยไตรลักษณ์
4. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรู ป
วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้
5. ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจาเพาะความดับเด่นขึ้นมา
6. ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็ นของน่ากลัว
7. ทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคานึงเห็นโทษ
8. นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคานึงเห็นด้วยความหน่าย
9. มุจจิตุกมั ยตาญาณ หมายถึง ญาณหยัง่ รู ้อนั ใคร่ จะพ้นไปเสี ย
10. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณอันพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทาง
11. สังขารุ เปกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็ นไปโดยความเป็ นกลางต่อสังขาร
12. สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็ นไปโดยควรแก่การหยัง่ รู ้อริ ยสัจ
13. โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ขา้ มพ้นภาวะปุถุชน
14. มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริ ยมรรค
15. ผลญาณ หมายถึง ญาณอริ ยผล
16. ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
ระดับชั้นการบรรลุคุณวิเศษ (กึ่งโลกียแ์ ละกึ่งโลกุตตระ)
คือชั้นบารมีธรรมของพระโพธิ สัตว์น้ นั เอง การแบ่งบารมีธรรมระดับ ชั้นพระโพธิ สัตว์
แบ่งตามระดับแห่งบารมีธรรม ได้ดงั นี้
1. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระอรหันต์
2. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระปัจเจกพระพุทธเจ้า
3. พระโพธิสัตว์ ที่ปรารถนาจะบรรลุเป็ นพระพุทธเจ้า
103
โดยส่ วนมากแล้ว จะยกย่องพระโพธิ สัตว์ที่สร้ างบารมีเพื่อจะมาเป็ นพระพุทธเจ้า ส่ วน
พระโพธิ สัตว์ที่สร้างบารมีเพื่อที่จะมาเป็ นพระอรหันต์หรื อพระปั จเจกพระพุทธเจ้า มักจะค่อยได้
กล่าวถึงเท่าใดนัก
พระโพธิ สัตว์ที่ สร้ างบารมีม าก จะส าเร็ จเป็ นพลังโพธิ พ นั ญาณ พระโพธิ สัตว์ที่ส ร้ าง
บารมีไม่ถึงระดับพระบรมมหาโพธิ สัตว์ หรื อพระโพธิ สัตว์ช้ นั ต่างๆ จะสาเร็ จแค่พลังโพธิ ญาณ
เท่านั้น
การที่บุคคลสร้างบารมีมาเพื่อที่จะบรรลุเป็ นพระอรหันต์ เจริ ญสมถะและวิปัสสนา เป็ น
หัวเลี้ยวหัวต่อที่จะเปลี่ยนจากปุถุชนเป็ นพระอริ ยะ เหนื อกว่าพระพรหม แต่ต่ากว่าพระโสดาบัน
เรี ยกว่า ชั้นของพระโพธิ สัตว์
พลังโพธิพนั ญาณ คือ พระโพธิ สัตว์ที่สร้างบารมีมามาก เช่น พระบรมมหาโพธิ สัตว์ที่
จะมาเป็ นพระพุ ท ธเจ้า หลวงปู่ ทวด พระแม่ ก วนอิ ม เป็ นต้น หรื อ พระโพธิ สั ต ว์ช้ ัน อื่ น ๆ
ได้สร้างบารมีมาแล้วโปรดผูอ้ ื่น จึงสาเร็ จเป็ นพลังโพธิ พนั ญาณ เช่น แยกร่ างกายทิพย์ได้เป็ นพัน
มีตาทิพย์เป็ นพันตา มีญาณพิเศษต่างๆมากมาย มากด้วยบารมีและอภิหาร เป็ นต้น ฯลฯ
พลังโพธิญาณ คือ พระโพธิ สัตว์สร้างบารมีแล้วไม่โปรดใคร รู ้ได้จาเพาะตนไม่สอนใคร
เหมือนพระปั จเจกพระพุทธเจ้า หรื อผูส้ ร้างบารมีที่จะเป็ นพระอรหันต์แต่ไม่คิดจะสอนใคร หรื อ
โปรดใคร เป็ นต้น สาเร็ จชั้นเหนือพระพรหม แต่ต่ากว่าพระโสดาบัน เรี ยกว่า พลังโพธิญาณ
การฝึ กพลังโพธิพนั ญาณหรื อพลังโพธิญาณ
อันดับแรกผูป้ ฏิบตั ิตอ้ งสร้างบารมีมาเพื่ อที่จะเป็ นพระอรหันต์เท่านั้น จึงสามารถฝึ กพลัง
โพธิพนั ญาณหรื อพลังโพธิ ญาณสาเร็ จได้ พลังหรื อวิชานี้ เป็ นของสู ง ปุถุชนคนธรรมดาทัว่ ไป ที่
ไม่ปรารถนาที่จะเป็ นพระอรหันต์ไม่สามารถฝึ กพลังนี้สาเร็ จได้
ต้องฝึ กสมถะแล้วมาต่อวิปัสสนา หรื อฝึ กวิปัสสนากรรมฐานอย่างเดี ยวก็ได้ จนเข้าถึ ง
โคตรภูญาณ สาเร็จเป็ นพระโพธิสัตว์ เรี ยกว่า สามารถใช้พลังโพธิ พนั ญาณหรื อพลังโพธิ ญาณได้
ข้ อ ควรทราบ ถ้า ฝึ กสมถะและวิ ปั ส สนาด้ว ย จะสามารถใช้อ ภิ ญ ญาถึ ง ระดับ พลัง
โพธิ พนั ญาณได้ ถ้าฝึ กวิปัสสนาอย่างเดียว จะได้แค่พลังโพธิ ญาณเท่านั้น
จะสาเร็จเป็ นพลังโพธิพนั ญาณหรือพลังโพธิญาณ ผู้ปฏิบัติต้องเข้ าถึงและสาเร็จเอง (สาธุ)

ไม่ ใช่ เรื่องง่ ายๆ ถ้ าบุคคลจะสร้ างบุญบารมี


ขึน้ สู่ ความเป็ นพุทธภูมิ ปัจเจกภูมิ สาวกภูมิ
ควรเพียรพยายามไปจนกว่ าจะประสบความสาเร็จ
คนจะล่ วงทุกข์ ได้ เพราะความเพียร
104
วิชาดึงบารมีในอนาคตตอนบรรลุธรรมออกมาใช้
ในการสร้ างบารมี เพื่ อบรรลุ ธ รรม อาจพบเจออุปสรรค จาเป็ นต้องดึ งบารมีตวั เองใน
อนาคตกาลตอนบรรลุธรรมออกมาใช้ เพื่อขจัดอุปสรรค ในการดึงบารมีธรรมตัวเองออกมาใช้
บุ ญ บารมี ท างธรรมของตัว เองจะลดลง จะสร้ า งบุ ญ บารมี เพิ่ ม หรื อ ใช้คื น ในการรู ้ ว่า ตัว เอง
ในอนาคตกาลจะบรรลุธรรมได้ ย่อมรู ้ได้ดว้ ยญาณ 1 – 2 อย่าง คือ
1. อตีตงั สญาณ ญาณระลึกดูบารมีในอดีตของตัวเองว่าได้สร้างบุญบารมีเพื่อบรรลุ
ธรรมหรื อไม่
2. อนาคตังสญาณ ญาณรู ้อนาคตสามารถกาหนดรู ้แน่ชดั ว่า อนาคตตอนไหนตัวเองจะ
บรรลุธรรม
เมื่อเพ่งสมาธิ ดูรู้วา่ ตัวเองได้สร้างบุญบารมีเพื่อบรรลุธรรม และรู ้อนาคตของตัวว่าต้องได้
บรรลุธรรม ก็สามารถดึงเอาบุญกุศลตัวเองออกมาได้ แต่ถา้ ไม่ได้สร้างบุญบารมีของตัวเองมาเพื่อ
บรรลุธรรม ก็ไม่สามารถดึงเอาบุญกุศลที่บรรลุธรรมของตัวเองออกมาใช้ได้
ถ้าสร้ างบุ ญ บารมี เพื่ อบรรลุ ธ รรมตั้งแต่ ปั จจุ บ นั ชาติ น้ ี แล้วดึ งเอาบุ ญ กุ ศลบารมี ตวั เอง
ออกมาใช้ก็ยงั ไม่สาย
เมื่ อสมาธิ จิตเพ่งดู และกาหนดรู ้ ว่าตัวเองจะต้องบรรลุ ธรรม ก็ อธิ ษ ฐานจิ ตดึ งบุ ญบารมี
ตัวเองออกมาใช้
การอธิษฐานเอาบุญบารมีตวั เองออกมาใช้ มีหลักการอธิษฐานจิต ดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าสมาธิอธิษฐานจิต ขออานาจบุญบารมีของตัวเอง
2. อธิษฐานจิตใช้บุญบารมีของตัวเอง
3. เมื่ อใช้บุ ญ บารมี ข องตัวเอง ก็ ต้องหมัน่ สร้ างบุ ญ กุ ศ ลเพิ่ ม เติ ม เรี ย กว่าสร้ างบุ ญ ใช้คื น
อนาคตที่ตวั เองดึงออกมาใช้

อดีตเป็ นสิ่ งที่เกิดขึน้ แล้ วดับแล้ ว


อนาคตเป็ นที่สิ่งยังไม่ ได้ ยงั มาไม่ ถึง
ควรมีสติอยู่กบั ปัจจุบัน
105
วิชาหยุดเวลา ใช้ ฤทธิ์บังคับไม่ ให้ พระอาทิตย์ ขนึ้
(หรือจะให้ พระอาทิตย์ เดินเวลาใด
สุ ดแต่ ใจปรารถนาบังคับเวลาและพระอาทิตย์ )
วิชาหยุดเวลา ใช้ฤทธิ์ บงั คับไม่ให้พระอาทิตย์ข้ ึน มีประวัติความเป็ นมา คือ ลูกศิษย์ของ
พระสารี บุตร ชื่อว่า สุ ขสามเณร ออกไปบิณฑบาตพร้อมกับอาจารย์ แล้วเห็นช่างย่อมดัดคันศร
ช่างปั นหม้อดินบาง (ก็ได้ พิจารณาว่ าบัณฑิตย่ อมฝึ กตน) แล้วบอกพระอาจารย์วา่ อาจารย์ขอจง
บิณฑบาตส่ วนกระผมจะกลับไปนัง่ สมาธิ ส่ วนพระสารี บุตรบอกกับลูกศิษย์ของตัวเองว่า จะฉัน
อะไรเดี๋ยวจะบิณฑบาตมาให้
เมื่ อ สุ ขสามเณรได้ ก ลั บ มานั่ ง สมาธิ พระสารี บุ ต รก าลั ง จะกลั บ มาจากบิ ณ ฑบาต
พระพุทธเจ้าได้ทรงเพ่งพระญาณว่าจะมีใครหนอได้บรรลุธรรมในวันนี้ สุ ขสามเณรได้มาปรากฏ
อยูใ่ นข่ายคือพระญาณ พระพุทธเจ้าได้เสด็จออกไปขวางหน้าประตูของกุฏิสุขสามเณร เพราะถ้า
พระสารี บุตรเข้าไปถึงสุ ขสามเณรก็จะออกจากสมาธิ เป็ นการทาลายมักผลนิพพาน
เมื่อพระพุทธองค์ได้เสด็จ ไปถึงหน้าประตูของสุ ขสามเณร แล้วได้ตรัสสนทนาธรรมกับ
พระสารี บุตร สุ ขสามเณรได้ยนิ ก็ได้บรรลุธรรมเป็ นอรหันต์
ขณะนั้นที่สุขสามเณรนัง่ บาเพ็ญภาวนาเป็ นเวลานานมาก เทวดากลัวว่าจะไม่ได้ฉนั อาหาร
หรื ออีกอย่างกล่าวว่า อยากจะร่ วมถวายอาหารไปพร้ อมกับพระสารี บุตร เมื่ อถวายอาหารที่ ได้
ออกจากสมาธิ แ ละบรรลุ ธ รรมเป็ นอรหั น ต์ จ ะได้บุ ญ กุ ศ ล มาก เทวดาจึ ง ใช้ ฤ ทธิ์ ห้ า มไม่ ใ ห้
พระอาทิตย์เลยเที่ยงวัน เพราะสมัยครั้งพระพุทธกาลไม่มีนาฬิ กาดูเวลา ใช้ดูเวลาจากพระอาทิตย์
คื อ เมื่ อ ตะวัน เลยศี รษะคื อ เลยเที่ ย งวัน ห้ ามฉั น อาหาร ถื อ ว่า ผิ ด ศี ล เทวดาจึ ง ใช้ฤ ทธิ์ ห้ า ม
พระอาทิตย์ เพื่อให้สุขสามเณรได้ฉนั อาหาร แล้วตัวเองได้ร่วมทาบุญถวายอาหารที่ออกจากสมาธิ
แล้วบรรลุธรรมเป็ นอรหันต์จะได้บุญมาก
การใช้ฤทธิ์ ห้ามไม่ให้พระอาทิตย์ข้ ึน หรื อห้ามไม่ให้พระอาทิตย์เดิน โลกหยุดหมุนหรื อ
ไม่ให้พระอาทิตย์ส่องแสง มีการใช้สมาธิ อภิญญา ดังต่อไปนี้
1. เข้าฌานสมาธิ ข้ นั สู งถึงอัปปนาสมาธิ
2. อธิ ษฐานจิตใช้พลังสมาธิ ไปที่ พระอาทิตย์ หรื อจะไม่ให้พระอาทิตย์ส่องแสง หรื อจะให้
โลกหยุดหมุน เรี ยกว่า ใช้อภิญญาหยุดเวลา
3. การใช้อภิญญาสมาธิหยุดเวลา เมื่อมีเหตุจะหยุดก็หยุดได้ ไม่ใช่นึกจะหยุดก็หยุดเอาเล่นๆ
จะมีความผิด ถ้ามีเหตุจะหยุดก็หยุดเวลา เหมือนเหตุแห่ งนิ ทานธรรมบท สุ ขสามเณร
จึงควรใช้อภิญญาหยุดเวลา ดังนี้
106
เมื่อใช้อภิญญาห้ามไม่ให้พระอาทิตย์ข้ ึน หรื อห้ามไม่ให้พระอาทิตย์เดิน โลกหยุดหมุน
หรื อไม่ ให้ พ ระอาทิ ตย์ส่ อ งแสงแล้ว ก็ ต้อ งปล่ อยให้ พ ระอาทิ ตย์ห รื อให้ โลกหมุ น ไปตามปกติ
ตามกาลเวลาเหมือนเดิม เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งทาคู่ไปกับการหยุดเวลาเสมอ
การคล้ายอภิ ญ ญาให้ พ ระอาทิ ตย์ส่ องแสง โลกเดิ นหรื อหมุ น ให้เวลากลับคื น มาปกติ
มีหลักการ ดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าสมาธิ อภิญญาขั้นสู งถึงอัปปนาสมาธิ
2. อธิ ษฐานจิตคล้ายจากสมาธิ อภิญญา ให้พระอาทิตย์ส่องแสง โลกเดิ นหรื อหมุนให้เวลา
กลับคืนมาปกติ
3. เมื่ อ ใช้ อ ภิ ญ ญาห้ า มไม่ ใ ห้ พ ระอาทิ ต ย์ส่ อ งแสงแล้ ว ก็ ต้อ งคล้ า ยอภิ ญ ญาของตัว เอง
ให้เวลากลับคืนมาเหมือนเดิม และเป็ นสิ่ งที่ตอ้ งทาคู่กนั ไปเสมอ

หยุดใจฟุ้ งซ่ าน ด้ วยสติ


หยุดจิตที่ไหลตามนิมิต ด้ วยการปล่ อยวาง
107
วิชาควบคุมหัวใจหรือเปลีย่ นหัวใจตัวเอง
ให้ กลายเป็ นก้ อนดินหรือนา้ แข็ง
(พระอิฐพระปูน บางครั้งบางเวลา)
ในการประพฤติปฏิบตั ิธรรมนั้น ถ้ายังไม่ได้บรรลุธรรมถึงขั้นพระอนาคามีหรื อสาเร็ จเป็ น
พระอรหันต์ก็ยากที่จะตัดกิเลสความรักได้หมด การบรรลุธรรม เรี ยกว่า ญาณเป็ นเครื่ องตัดและ
ประหารกิเลส แต่ถา้ ยังเป็ นปุถุชนคนธรรมดาอยู่ จะควบคุ มหัวใจตัวเองไม่ให้เกิ ดกิเลสหวัน่ ไหว
ไปตามโลกธรรม เรี ยกว่า เข้าฌาน เป็ นการข่มเอาไว้ คื อ เมื่ อดารงฌานอยู่ก็จะไม่เกิ ดกิ เลส
ความรักขึ้น แต่เมื่อออกจากฌานสมาธิ กิเลสก็จะคืนมาเหมือนเดิม เพราะยังไม่สามารถตัดความรัก
ได้ขาดเหมือนพระอรหันต์ เรี ยกว่า ข่มจิตของตัวเองไม่ให้หวัน่ ไหวไปตามโลกธรรม สาหรับ
นักปฏิบตั ิธรรมทาสมาธิเจริ ญภาวนา
การเปลี่ ยนหัวใจหรื อควบคุ มดวงจิตของตัวเองให้กลายเป็ นก้อนดิ นนั้น สาเร็ จด้วยสมาธิ
กสิ ณดิน ถ้าให้ดวงจิตตัวเองเป็ นน้ าแข็ง ก็เจริ ญกสิ ณน้ า จะเย็นชาต่อเพศตรงข้ามเหมือนน้ าแข็ง
ตามที่ ตวั เองยังเข้าฌานอยู่ เหมื อนออกจากฌานจิตก็จะกลับมี กิเลสเหมื อนเดิ ม เพราะยังไม่ได้
บรรลุ เป็ นพระอรหันต์ แต่ก็ยงั ดี กว่าที่ตวั เองไม่ได้ ฝึ กข่มจิตของตัวเอง ปล่อยให้ตวั เองลุ่มหลง
ต่อเพศตรงข้ามจนไม่เป็ นต้องทาอะไรหรื อเจริ ญภาวนา เป็ นต้น จึงมีคาสอนที่วา่ รักได้แต่ห้าม
หลง
วิช าเปลี่ ย นหัวใจหรื อ ควบคุ ม ดวงจิ ต ของตัวเองให้ ก ลายเป็ นก้อนดิ น คื อ การฝึ กเจริ ญ
กสิ ณดินจนได้นิมิต จะหลับตาและลืมตา เพ่งกสิ ณดินแบบพิสดาร จนสาเร็ จสมาธิ แห่งกสิ ณดิน
เมื่อนักปฏิบตั ิธรรมกรรมฐาน สาเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณดินแล้ว มีหลักการใช้อานุ ภาพของ
กสิ ณดินเปลี่ยนหัวใจหรื อควบคุมดวงจิตของตัวเองให้กลายเป็ นก้อนดิน ดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าสมาธิดว้ ยกสิ ณดิน
2. อธิษฐานให้ดวงจิตตัวเอง หรื อให้ใจตัวเองแข็งดัง่ ศิลา เมื่อพบเจอเพศตรงข้าม
3. ใจตัวเองก็จะแข็งดังก้อนหิ น เพราะอานุภาพของกสิ ณดิน ดังนี้
วิช าเปลี่ ย นหั วใจหรื อ ควบคุ ม ดวงจิ ต ของตัว เองให้ ก ลายเป็ นน้ า แข็ ง คื อ การฝึ กเจริ ญ
กสิ ณน้ าจนได้นิมิต จะหลับตาและลืมตา เพ่งกสิ ณน้ าแบบพิสดาร จนสาเร็ จสมาธิ แห่งกสิ ณน้ า
เมื่อนักปฏิบตั ิธรรมกรรมฐาน สาเร็ จสมาธิ ดว้ ยกสิ ณน้ าแล้ว มีหลักการใช้อานุ ภาพของ
กสิ ณน้ าเปลี่ยนหัวใจหรื อควบคุมดวงจิตของตัวเองเย็นชากลายเป็ นน้ าแข็ง ดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าสมาธิ ดว้ ยกสิ ณน้ า
2. อธิษฐานให้ดวงจิตตัวเอง หรื อให้ใจตัวเองเย็นชากลายเป็ นน้ าแข็ง เมื่อพบเจอเพศตรงข้าม
3. ใจตัวเองก็จะเย็นชากลายเป็ นน้ าแข็ง เพราะอานุภาพของกสิ ณน้ า ดังนี้
108
การเปลี่ยนหัวใจหรื อควบคุมดวงจิตของตัวเองให้กลายเป็ นก้อนดินก็ดี หรื อจะทาให้ดวง
จิตตัวเองเป็ นน้ าแข็งก็ดี อยูท่ ี่จริ ตของผูฝ้ ึ กว่าจะมีจริ ตหรื อสร้ างบุญบารมีเพื่อที่จะสาเร็ จสมาธิ ดว้ ย
กสิ ณดินหรื อน้ า คือถ้าเชี่ยวชาญหรื อสร้างบุญบารมีมาทางด้านไหน ก็เจริ ญกสิ ณนั้นให้สาเร็ จเป็ น
สมาธิ จนได้นิมิต แล้วอธิ ษฐานใช้ สมาธิ น้ นั มีหลายแบบอยูท่ ี่ผฝู ้ ึ กให้ถูกกับจริ ตของตัวเอง ถ้าฝึ ก
ถูกจริ ต ก็สาเร็ จเป็ นสมาธิ ได้ ถ้าฝึ กไม่ตรงกับจริ ต ก็ไม่สาเร็ จสมาธิ เรี ยกว่า เปล่าประโยชน์
การฝึ กสมาธิ น้ ัน ถ้าฝึ กไม่ตรงกับ จริ ตของตัวเอง ผูฝ้ ึ กก็ จะเกิ ดความท้อแท้เป็ นนิ วรณ์ ธรรมได้
เรี ยกว่า อดีตฝึ กแล้วฝึ กอีก นัง่ สมาธิ ยงั ไม่ได้อะไร อนาคตก็คงจะไม่ได้เช่นกัน เป็ นการท้อแท้
ในการบาเพ็ญเพียรภาวนา
การท าสมาธิ ที่ ถู ก ต้อ ง คื อ ฝึ กให้ ต รงกับ จริ ต ของตัว เอง กรรมฐานมี ต้อ งมากมาย
หลายอย่าง ผูฝ้ ึ กชอบแบบไหน ตรงกับจริ ตของตัวเองก็เลือกฝึ กเอาอย่างนั้น
การฝึ กสมาธิ จึงไม่ควรนึกถึงอดีต ที่ยงั ไม่ได้เก็บมาคิดในขณะทาสมาธิ จะทาให้จิตตัวเอง
เกิ ดนิ วรณ์ ธ รรม เป็ นความท้อแท้ และไม่ ค วรคิ ดถึ งผลของสมาธิ ที่ ย งั ไม่ ไ ด้ไ ม่ ถึ ง ในอนาคต
เพราะจะทาให้จิตตัวเองเกิดกิเลส
การฝึ กสมาธิ คือ ดาเนิ นสติเพ่งดูจิตอยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั ไม่ให้ฟุ้งซ่าน เลือกฝึ กกรรมฐาน
ให้ถูกกับจริ ตของตัวเอง ก็จะสาเร็ จเป็ นสมาธิ ข้ ึน (สาธุ)
หมายเหตุ สติเพ่งดูจิตอยูเ่ ฉพาะปั จจุบนั นั้นหมายเหตุ สติกาหนดดูจิต สติเพ่งจิตที่ฝึก
กสิ ณ ดิ น น้ า ไฟ ลม หรื อ มโนภาพ หรื อวิปั ส สนากรรมฐาน อย่างใดอย่างหนึ่ ง ไม่ ไ ด้
หมายถึงใช้สติเพ่งดูดวงจิต ที่เป็ นดวงแก้วของจิตเสมอไป หลายคนไม่เข้าใจความหมายที่ลึกซึ้ ง
ของค าศัพ ท์ใ นสมาธิ จิ ต ก็ เลยตี ค วามหมายกัน แบบผิ ด ๆ ฝึ กสติ เพ่ ง ดู จิ ต ดู ด วงแก้ว ของจิ ต
อย่างเดียว ถ้าบางคนสร้างบารมีมาเพื่อฝึ กเช่นนั้น ก็บรรลุสาเร็ จสมาธิ ได้ แต่ถา้ ไม่ได้สร้างบารมี
มาเช่ น นั้ น ก็ ย ากที่ จ ะส าเร็ จ สมาธิ เพราะฉะนั้ น ค าว่า ใช้ส ติ เพ่ ง ดู จิ ต จึ ง ตี ค วามหมายและ
ขยายความให้นักปฏิ บ ตั ิ ธรรมท าสมาธิ เจริ ญ ภาวนาให้เข้าใจได้ดงั นี้ จึงเลื อกฝึ กกรรมฐาน ให้
เหมาะสมกับจริ ตของตัวเอง จึงสาเร็จเป็ นสมาธิ ทีเ่ ลือกฝึ กให้ ตรงกับจริตของตัวเอง ดังนี้

รู ปสวย คือ สิ่ งลวงตา


กิเลส คือ สิ่ งลวงใจ
ไม่ ยดึ ติด ใจเราก็หลุดพ้น
109
วิชาเปลีย่ นอากาศ (จะร้ อน หนาว หรือฝน สุ ดแต่ ใจปรารถนา
หรือใช้ ฤทธิ์บังคับเปลีย่ นอากาศ)
ในการใช้อภิญญาเปลี่ยนอากาศนั้น จะใช้ร้อน หนาว หรื อฝน ผูท้ ี่จะใช้อภิญญาเปลี่ยน
ฤดูกาล ต้องสาเร็ จสมาธิ 2 กสิ ณ คือ เปลี่ยนอากาศเป็ นฤดูร้อน ให้ใช้กสิ ณไฟ เปลี่ยนอากาศ
เป็ นฤดูหนาว หรื อฤดูฝน ให้ใช้กสิ ณน้ า
ในการใช้อ ภิ ญ ญาเปลี่ ย นอากาศนั้น มี เหตุ ก็ ค วรเปลี่ ย น หรื อ เพื่ อ ยัง ชนที่ ไ ม่ เลื่ อ มใส
ให้ เลื่ อ มใส ที่ สั ท ธาแล้ว ให้ ค วามสั ท ธายัง คงอยู่ หรื อ ฟ้ าฝนไม่ ต กต้อ งตามฤดู ก าล เป็ นเหตุ
ให้ฝนแห้ง ต้นข้าวในนาเสี ยหาย เป็ นต้น ก็จะใช้อภิญญาเปลี่ยนแปลงฤดูกาล ดังนี้
หลักการใช้อภิญญาเปลี่ยนฤดูร้อน
เมื่อออกธุ ดงค์หรื อ อยู่สภาพอากาศเย็นตามพื้ นที่ จนร่ างกายรั บไม่หวัน่ ก็จะใช้อภิ ญญา
เปลี่ ย นอากาศ การใช้อภิ ญ ญาเปลี่ ยนอากาศจากหนาวให้ก ลายเป็ นร้ อน คื อการเจริ ญ กสิ ณ ไฟ
เพ่งไฟจนได้นิมิต จะหลับตาหรื อลืมตา ก็เป็ นนิมิตของกสิ ณไฟ
วิธีการเปลี่ยนอากาศให้ร้อน ด้วยอานุภาพของกสิ ณไฟ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิให้สาเร็ จด้วยกสิ ณไฟ จนได้นิมิต
2. แผ่พลังของกสิ ณไฟ ให้ออกมาจากจิต รอบๆตัวเรา จนกระทัง่ ถึงเปลี่ยนอากาศ
3. อากาศจะร้ อนมากหรื อร้อนน้อย หรื ออากาศอุ่นๆ เป็ นสภาพปกติ ขึ้นอยูก่ บั สมาธิ หรื อ
กาลังกสิ ณของผูใ้ ช้อภิญญาเป็ นหลัก
หลักการใช้อภิญญาเปลี่ยนฤดูหนาว
เมื่ออยูใ่ นที่อากาศร้ อนมากจนเกินไป ก็สามารถทาให้อากาศเย็นได้เช่นกัน เรี ยกว่า ใช้
อภิ ญ ญาเปลี่ ย นอากาศ การใช้อภิ ญ ญาเปลี่ ยนอากาศจากร้ อนให้กลายเป็ นหนาว คื อการเจริ ญ
กสิ ณน้ า เพ่งน้ าจนได้นิมิต จะหลับตาหรื อลืมตา ก็เป็ นนิมิตของกสิ ณน้ า
วิธีการเปลี่ยนอากาศให้หนาว ด้วยอานุภาพของกสิ ณน้ า มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิให้สาเร็ จด้วยกสิ ณน้ า จนได้นิมิต
2. แผ่พลังของกสิ ณน้ า ให้ออกมาจากจิต รอบๆตัวเรา จนกระทัง่ ถึงเปลี่ยนอากาศ
3. อากาศจะหนาวเท่ าใดนั้น ขึ้ น อยู่ก ับ พลัง ของกสิ ณ น้ า และการอธิ ษ ฐานจิ ต ของผูใ้ ช้
อภิญญาเป็ นหลัก
110
หลักการใช้อภิญญาเปลี่ยนฤดูฝน
เมื่ออยู่ในที่ อากาศร้ อนมากจนเกิ นไป หรื อฤดูแห้งแล้ง ต้นข้าวในนาเสี ยหาย เป็ นต้น
เรี ยกว่า ใช้อภิญญาเปลี่ยนอากาศให้เป็ นฤดูฝน หรื อใช้อภิญญา เรี ยกฝนให้ตกลงมา เป็ นการแก้
ภัยแล้ง เป็ นต้น ฯลฯ สาเร็ จได้ดว้ ยการเจริ ญกสิ ณน้ า เพ่งน้ าจนได้นิมิต จะหลับตาหรื อลืมตา
ก็เป็ นนิมิตของกสิ ณน้ า
วิธีการเปลี่ยนอากาศให้เป็ นฤดูฝน ด้วยอานุภาพของกสิ ณน้ า มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิ ให้สาเร็ จด้วยกสิ ณน้ า จนได้นิมิต
2. แผ่พลังของกสิ ณน้ า ให้ปกคลุมชั้นบรรยากาศว่าจะให้ตกปริ มาณเท่าใด
3. กาหนดสมาธิ เป็ นรัศมีของกสิ ณน้ า จะให้ปริ มาณน้ าฝนตกอยูใ่ นรัศมีของสมาธิ นอกรัศมี
ของสมาธิ ฝนไม่ตก ดังนี้
ในการใช้อภิญญาเปลี่ ยนอากาศนั้น จะใช้ร้อน หนาว หรื อฝน อยู่ที่ผใู ้ ช้อภิญญาเป็ น
หลักว่าควรจะเปลี่ยนหรื อไม่ประการใด จงเลือกใช้ให้เหมาะสม ดังนี้ จึงควร

ความเย็นเกิดจากใจที่สงบอยู่ข้างใน
หาใช่ จากภายนอกไม่
111
วิชาเปลีย่ นดินทีแ่ ห้ งแล้ งให้ กลับชุ่ มชื้น
(เสกต้ นข้ าวต้ นไม้ ทตี่ ายให้ กลับฟื้ น)
ความเป็ นมาของวิชานี้ สมัยหนึ่ งเมื่อพระพุทธองค์ได้เสด็จพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์อรหันต์
สาวก อยูท่ ี่เมืองแห้งแล้งเป็ นชนบท ต้นข้าวในนาเสี ยหาย ฝนฟ้ าไม่ตกต้องตามฤดูกาล ขาดน้ า
กินดื่มและน้ าไว้ใช้
พระโมคคัลลานะ ทูลขอพระพุทธองค์ถึง 3 ครั้ง ในการทาอิทธิปาฏิหาริ ยพ์ ลิกแผ่นดิน
เพื่อให้แผ่นดินที่อยูข่ า้ งล่างนั้น อุดมสมบูรณ์เป็ นเหตุแห่งการทานาทาสวนได้ เป็ นต้น
พระพุ ท ธองค์ท รงห้ า มถึ ง 3 ครั้ ง เพราะสั ต ว์ที่ อ ยู่ใ นดิ น เป็ นอัน มากจะตายลงด้ว ย
ปาฏิหาริ ยพ์ ลิกแผ่นดิน และเป็ นเหตุไม่บงั ควรแห่งการใช้ปาฏิหาริ ยน์ ้ ี
พระสารี บุ ต รจึ ง ใช้ปั ญ ญา ถ้าทู ล ขอพลิ ก แผ่น ดิ น ไม่ ไ ด้ ก็ อ ธิ ษ ฐานให้ ดิ น ที่ แ ห้ ง แล้ง
ต้น ไม้ที่ ก ลับ ตายให้ ก ลับ มาชุ่ ม ชื้ น และมี ชี วิต อี ก ครั้ ง (ด้ว ยการเรี ย กฝน) และใช้พ ลัง ของน้ า
อธิ ษฐานให้ดินที่แห้งแล้งนั้นกลับชุ่มชื้น ต้นข้าวและต้นไม้ที่ตายให้กลับมีชีวติ ขึ้นมาอีกครั้ง
พระอรหันต์ที่ สามารถเปลี่ ยนดิ นที่ แห้งแล้งให้ชุ่มชื้ น นอกจากพระสารี บุตร แล้วยังมี
พระสี วลีและพระมหากัจจายนะ เป็ นต้น ฯลฯ เพราะธรรมดาของพระอรหันต์เมื่อไปสถานที่ใด
ย่อมนาความชุ่มชื้ นสู่ สถานที่น้ นั โดยเฉพาะพระสี วลีกบั พระมหากัจจายนะ ไปสถานที่ใดที่น้ นั
ย่อมจะไม่มีคาว่า อดอยาก เวลาพระพุทธองค์เสด็จไปไหน มักจะรับสั่งให้พระสี วลี ติดตามหมู่
ภิกษุสงฆ์ดว้ ยเสมอ เพื่อป้ องกันความลาบากของภิกษุสงฆ์น้ นั เอง
วิชาเปลี่ยนดินที่แห้งแล้งให้กลับชุ่มชื้น
การเปลี่ ยนดิ นที่ แห้งแล้งให้กลับชุ่ มชื้ น จะสาเร็ จได้ดว้ ยอานุ ภาพของกสิ ณน้ า เรี ยกฝน
ให้ตกลงมาเป็ นการแก้ภยั แล้ง ด้วยอภิญญาสมาธิ มีหลักการใช้ดงั นี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิ ให้สาเร็ จด้วยกสิ ณน้ า จนได้นิมิต
2. แผ่พลังของกสิ ณน้ า ให้ปกคลุมชั้นบรรยากาศว่าจะให้ตกปริ มาณเท่าใด
3. กาหนดสมาธิ เป็ นรัศมีของกสิ ณน้ า จะให้ปริ มาณน้ าฝนตกอยูใ่ นรัศมีของสมาธิ นอกรัศมี
ของสมาธิ ฝนไม่ตก ดังนี้
อีกวิธีหนึ่ง คือ ถ้าไม่เรี ยกฝนให้ตก
ก็ใช้พลังของกสิ ณน้ าเพ่งตามพื้ นดิ นให้กลับ ชุ่ มชื้ น ดิ นที่ แห้งแล้งให้กลับอุดมสมบูรณ์
ขึ้นมา แต่การทาเช่ นนี้ ใช้พลังสมาธิ มากเกิ นความจาเป็ น การเรี ยกฝนให้ตกลงมา จะเป็ นการดี
ที่สุด ไม่ตอ้ งใช้พลังสมาธิ มาก

พระอรหันต์ อุบัตขิ นึ้ ใน ณ ที่ใด


ย่ อมนาความสงบร่ มเย็นมาให้ แก่ ทุกสถานที่
112
วิชาเสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น
การใช้อภิญญาสมาธิ คือการเสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น จะสาเร็ จได้ดว้ ยอานุ ภาพ
ของกสิ ณน้ า หรื อการอธิ ษฐานจิตก็ได้ หรื อแต่ผใู ้ ช้อภิญญาจะชานาญด้านในก็ใช้อภิญญาด้านนั้น
การเสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น ด้วยพลังของกสิ ณน้ า คือ การเจริ ญสมาธิ ด้วย
กสิ ณน้ าจนได้นิมิต และใช้พลังของกสิ ณเพ่งที่ตน้ ข้าวต้นไม้ที่ตาย ด้วยอานุ ภาพพลังของกสิ ณน้ า
ก็จะกลับมีชีวติ ขึ้นมาได้ดงั ปาฏิหาริ ย ์
การเสกต้นข้าวต้นไม้ที่ตายให้กลับฟื้ น ด้วยการอธิ ษฐานจิต คือกาหนดจิตให้เป็ นสมาธิ
แล้ว อธิ ษ ฐานเพ่ ง สมาธิ ไ ปที่ ต้น ข้า วหรื อต้น ไม้ที่ ต าย ก็ จ ะกลับ ฟื้ นมี ชี วิ ต ขึ้ น มา ส าเร็ จ เป็ น
ปาฏิหาริ ย ์ ด้วยประการฉะนี้

สิ่ งต่ างๆ ล้ วนแล้ วแต่ ไม่ เที่ยง


เกิดขึน้ ตั้งอยู่ ดับไป
ควรปล่ อยวาง อย่ างมีสติ
113
วิชาโปรดสั ตว์ ท้งั สามโลกด้ วยกายทิพย์ (มโนมัยฤทธิ์)
ข้าพเจ้าขอบู ช าแล้วซึ่ งพระอรหัน ต์พ ระโมคคัล ลานะและพระมาลัย ผูโ้ ปรดสั ตว์น รก
น้อมขึ้นบูชาด้วยเศียรเกล้าในคุณวิเศษของพระอรหันต์
ข้าพเจ้าขออนุญาตนาวิชาของท่านมาเผยแผ่เป็ นธรรมทาน
วิชาโปรดสัตว์ท้ งั สามโลกด้วยกายทิพย์ (มโนมัยฤทธิ์ )
ในการที่จะโปรดสัตว์นรกได้เหมือนพระโมคคัลลานะและพระมาลัย ต้องเรี ยนรู้วิชาถอด
ดวงจิตออกจากร่ าง
การถอดจิตที่ถูกต้อง
วิช าอภิ ญ ญาสู งสุ ด อัน นี้ ไ ด้หายสาบสู ญ ไปจริ งๆ การถอดจิ ตที่ ถู ก ต้อง ไม่ ค วรถอด
ออกไปทั้งหมด ดวงจิต หมายถึ ง ไม่ควรถอดดวงจิตออกจากร่ างไปแบบหมดตัว เกจิ ครู บ า
อาจารย์ ถอดดวงจิ ตแล้วมรณภาพเพราะกลับ เข้าร่ างไม่ ไ ด้ (เหตุ น้ ี มี เยอะไป) เพราะลู ก ศิ ษ ย์
ไม่รู้จริ ง คิดว่าท่านมรณภาพเสี ยแล้ว จึงนาร่ างท่านไปเผา
จึงเป็ นอันตรายกับผูถ้ อดดวงจิตออกจากร่ าง
การถอดดวงจิตออกจากร่ าง แบบหมดทั้งดวงจิต ต้องมีความรู ้ถึง 3 อย่าง จึงจะถอด
ออกจากร่ างได้หมดทั้งดวงจิต
1. รู้อดีต ย้อนกลับได้วา่ ร่ างเราอยูไ่ หน
2. รู้อนาคต ว่าร่ างตัวเองเขาเอาไปไว้ไหน
3. มีตาทิพย์ รู ้วา่ ร่ างกายตัวเองอยูไ่ หน จะเข้าร่ างได้อย่างไร
เมื่อมีความรู ้ ดงั นี้ แล้ว จึงจะสามารถถอดจิตออกไปจากร่ างได้แบบหมดตัว โดยไม่ตอ้ ง
กลัวว่ากลับเข้าร่ างไม่ได้
การถอดจิตที่ถอดออกไปทั้งดวงจิตหมดจากร่ างของตัวเอง กระทาได้ดงั นี้
1. เข้าฌานกาหนดดวงจิตของตัวเอง และทาการเคลื่อนย้ายดวงจิตตัวเอง ออกจากร่ าง
2. มี ต าทิ พ ย์ สามารถก าหนดรู ้ ใ นสิ่ ง ที่ จ ะถอดไป ไม่ ใ ช่ ถ อดจิ ต ไปแบบไม่ มี จุ ด หมาย
ปลายทาง ถ้าถอดไปแบบไม่ มีจุดหมายปลายทางว่าเราจะไปไหน อันนี้ ก็กลับเข้าร่ าง
ไม่ได้ ใช้ตาทิพย์กาหนดดูสถานที่ที่จะถอดจิตออกไป ว่าเราจะไปในสถานที่ไหน นรก
สวรรค์ หรื อโลกมนุษย์
3. ใช้ปาฏิหาริ ยย์ น่ ระยะทางในการถอดจิตออกไป เรี ยกว่าลัดนิ้ วมือถึ งเลย ไม่เสี ยเวลามาก
นักในการเดินทาง
4. การกลับเข้าร่ างให้ใช้ตาทิพย์ดูวา่ ร่ างตัวเองอยูท่ ี่ไหน ยังอยูท่ ี่เดิมหรื อเปล่า มีใครมาย้ายร่ าง
เราไปไหนหรื อเปล่า เมื่อกาหนดรู ้วา่ ร่ างตัวเองอยูท่ ี่ไหนก็เข้าร่ างได้ทนั ที
5. เมื่อมีมารหรื อสัมภเวสี มากั้นกลางระหว่างทางไม่ให้กลับ ให้ใช้วิชากาบังกาย หมายถึ ง
เรี ย กเอาอากาศธาตุ ม าบัง กายทิ พ ย์ ไม่ ใ ห้ สั ม ภเวสี เห็ น เรี ย กว่า ล่ องหนหายตัวแบบ
กายทิ พย์ คนละมิ ติ สัมภเวสี จึงมองไม่เห็ นตัวเรา แล้วรี บกลับเข้าร่ าง หรื อถนัดวิชา
114
แบบไหนก็ใช้วิชาแบบนั้นก็ได้ ไม่มีรูปแบบตายตัวที่แน่ นอน เช่ น สัมภเวสี กลัวไฟ
เพราะไฟมันร้อน พวกนี้ มนั อยูใ่ นนรกหรื อมิติที่เย็นวูบวาบ ก็เลยกลัวพลังความร้อน ใช้
วิชาดวงจิตสุ ริยะ กาหนดจิตตัวเองเป็ นพลังธาตุไฟ เมื่อสัมภเวสี ถูกตัวเราจะร้อนเป็ นไฟ
ก็จะไม่กล้าเข้าใกล้ตวั เรา แล้วรี บกลับเข้าร่ างกาย

การถอดจิตออกไปทั้งหมดนี้ ความจริ งแล้วไม่แนะนาให้ทา ถ้าไม่เก่งจริ ง เพราะมิ ติมี


เยอะ ถ้าไม่เก่งจริ งก็จะกลับเข้าร่ างไม่ได้ ผูเ้ ขียนเขียนเป็ นแนวทางให้รู้ไว้วา่ การถอดจิต ที่ถอด
ไปหมดทั้งดวงจิตออกจากร่ างเขาทากันอย่างไร เพราะถ้าไม่รู้จริ งก็ไม่สมควรถอดออกจากร่ าง ถึง
ถอดจิตได้ก็ตาม เช่น ยังไม่รู้อดีต อนาคตเลย ไม่สามารถกาหนดจิตดูร่างตัวเองได้วา่ ร่ างตัวเอง
ตอนเราถอดจิ ต ออกจากร่ า งไป คนอื่ น เขาเอาร่ า งเราไปไหน และซ้ า ร้ า ยหนัก ไปกว่านั้น แล้ว
ยังไม่สามารถกาหนดตาทิพย์ดูร่างตัวเองว่ายังอยู่ที่เดิ มหรื อเปล่า หรื อคนอื่นเอาร่ างเราไปไว้ไหน
อันนี้ถา้ ขืนถอดออกไปรับรองว่ากลับเข้าร่ างไม่ได้แน่นอน
การถอดจิตที่สามารถกลับเข้าร่ างได้ คือต้องเก่งจริ งถึงถอดออกจากร่ างได้ ไม่ใช่สักแต่วา่
ถอดจิ ตได้ก็ อยากถอด ถอดจิ ตได้ก ับ ถอดจิ ตเป็ นไม่ เหมื อนกันครั บ ถอดจิ ตได้ใครๆก็ ถอดได้
ถอดจิตเป็ นหรื อเปล่า ไม่ใช่ทุกคนจะทาได้ ถอดจิตได้ คือ ถอดได้ แต่เข้าร่ างได้หรื อเปล่าไม่รู้
มีตาทิพย์กาหนดดู ร่างตัวเองว่าอยู่ที่ไหนได้หรื อเปล่าไม่รู้ แต่ถอดจิ ตเป็ น คือ รู้อดีต รู้อนาคต
มีตาทิพย์ รู ้ วา่ ร่ างตัวเองอยู่ที่ไหน จะกลับเข้าร่ างตัวเองได้อย่างไร เชี่ ยวชาญมิติดีเวลามีปัญหา
เมื่อถอดจิตออกไปตามมิติต่างๆ สามารถกลับเข้าร่ างได้
เพราะฉะนั้น ผูเ้ ขี ย นจึ ง บอกว่าถอดจิ ตได้ ใครๆก็ ถ อดได้ แต่ ถ อดจิ ตเป็ นหรื อ เปล่ า
ไม่ใช่ วา่ ทุกคนจะทาได้ ถ้าถอดจิตได้ ไม่แนะนาให้ถอดออกจากร่ าง เพราะถอดไปแล้ว ตัวเอง
ไปไหนยังไม่รู้ที่จะไป แล้วยังนี้ จะกลับเข้าร่ างได้ไหมครับ แต่ถ้าถอดจิตเป็ นถอดไปเถอะครั บ
ยังไงก็กลับเข้าร่ างได้อยูแ่ ล้ว
เมื่อถอดจิตลงไปนรกหรื อแดนเปรตอสู รกาย
ถอดจิตลงไปนรกหรื อแดนเปรตอสู รกาย เมื่อพระโมคคัลลานะและพระมาลัย ก็บนั ดาล
ให้ฝนตกดับไฟนรก มีหลักการทา ดังต่อไปนี้
1. ฝึ กสมาธิ ให้สาเร็ จด้วยกสิ ณน้ า จนได้นิมิต
2. แผ่พลังของกสิ ณน้ า ให้ปกคลุมชั้นบรรยากาศว่าจะให้ตกปริ มาณเท่าใด
3. กาหนดสมาธิ เป็ นรัศมีของกสิ ณน้ า จะให้ปริ มาณน้ าฝนตกอยูใ่ นรัศมีของสมาธิ นอกรัศมี
ของสมาธิ ฝนไม่ตก ดังนี้
หมายเหตุ ถ้าผูถ้ อดจิตเป็ นพระก็สามารถเทศน์โปรดสัตว์นรกได้เหมือนพระโมคคัลลานะ
และพระมาลัย เป็ นต้น ถ้าผูถ้ อดจิตเป็ นฆราวาสให้นาความทุกข์หรื อเรื่ องราวมาบอกกับบรรดา
ญาติพี่น้องของเขาให้เขาทาบุ ญอุทิศส่ วนกุศลไปให้ ถ้าญาติพี่น้องของเขาไม่เชื่ อ ท่านก็ทาบุ ญ
อุทิศให้เสี ยเอง จะเป็ นการดี ดังนี้
115
ตัวอย่าง เปรตมาขอส่ วนบุญพระสารี บุตร
พระสารี บุ ต รมี ค วามสามารถที่ จ ะเห็ น สิ่ ง ลี้ ลับ ที่ ค นธรรมดาทั่ว ไปมองไม่ เห็ น ได้
เหมือนกับพระอนุรุทธ แต่ท่านไม่แสดงตนเพราะไม่ได้มีหน้าที่ที่จะใช้ตาทิพย์โดยตรงเหมือนกับ
พระอนุรุทธ
ในการที่เปรตมาขอส่ วนบุ ญพระสารี บุตร พระสารี บุตรได้เห็ นว่าเปรตตนนั้นไม่มีญาติ
ขาดที่พ่ ึง ท่านเองจึงได้ทาบุญอุทิศให้เปรต มีการตักบาตรให้พระภิกษุดว้ ยกัน และถวายผ้าไตร
จีวร แด่พระภิกษุสงฆ์
เมื่อเปรตได้รับส่ วนบุญที่พระสารี บุตรทาบุญอุทิศให้แล้ว ก็ปรากฏกายเป็ นเทวดา มาหา
พระสารี บุตร จนพระสารี บุตรท่านจาไม่ได้ จากเปรตที่มีรูปร่ างหิ วผอมและลาบาก มาปรากฏ
กายเป็ นเทวดา ซึ่ งอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์
เปรตตนนั้นเมื่อได้รับผลบุญที่พระสารี บุตรอุทิศให้ จนกลายเป็ นเทวดา ก็ได้เล่าผลบุ ญ
ทานที่พระสารี บุตรอุทิศให้ตน
การถอดจิตโปรดสัตว์นรกได้เหมือนพระโมคคัลลานะและพระมาลัย หรื อจะอยูก่ บั ที่ให้
สัตว์นรกเปรตอสู รกาย มาขอส่ วนบุญเหมือนกับพระสารี บุตร อยูท่ ี่ผปู ้ ฏิบตั ิธรรมทาสมาธิจะเลือก
ปฏิบตั ิเอาเอง ด้วยประการฉะนี้

สั งขารทั้งหลายไม่ เที่ยง
มีสติอยู่กบั ปัจจุบัน
ทุกข์ ใจก็ปล่ อยวาง
116
วิชาแยกร่ าง (กายทิพย์ )
ข้าพเจ้าขอบูชาแล้วซึ่ งพระอรหันต์พระจูฬปั นถกะ (ผูเ้ ชี่ ยวชาญฤทธิ์ ทางใจ) แยกร่ างได้
เป็ นมหัศจรรย์ น้อมขึ้นบูชาด้วยเศียรเกล้าในคุณวิเศษของพระอรหันต์
ข้าพเจ้าขออนุญาตนาวิชาของท่านมาเผยแผ่เป็ นธรรมทาน
วิชาแยกร่ าง (กายทิพย์) ฤทธิ์ทางใจแบบพิสดาร
การถอดจิตทีถ่ ูกวิธี ทีไ่ ม่ มีใครสอนวิชาที่หายสาบสู ญไป
อภิญญาฤทธิ์ ทางใจ การถอดจิตแบบไม่หมดทั้งดวงจิต เพียงแต่แยกดวงจิตออกจากร่ าง
โดยที่ดวงจิตเดิม ยังควบคุมร่ างกายเดิม และดวงจิตใหม่ไปปรากฏกายอยูท่ ี่อื่น “นี้ คือ อภิญญา
สู งสุ ดที่หายสาบสู ญไป” ถอดแบบนี้ ไม่ตอ้ งกลัวเข้าร่ างไม่ได้ เราถอดแบบแยกดวงจิต ถอดแบบ
นิ่ ม ๆ ไม่ มี ใ ครรู ้ ว่ า เราถอดจิ ต ออกจากร่ า ง เพราะจิ ต ดวงเดิ ม ยัง อยู่ ก ับ ร่ า ง จิ ต ดวงใหม่ ไ ป
ปรากฏกาย ณ ที่อื่น เรี ยกว่า ถอดแบบแยกดวงจิต
การถอดจิตที่ถูกวิธี (อภิญญาสู งสุ ดที่หายสาบสู ญไป)
1. แยกดวงจิ ต ออกจากร่ า ง โดยที่ จิ ต ดวงเดิ ม ยัง อยู่ก ับ ร่ า ง ดวงจิ ต ใหม่ ไ ปปรากฏกาย
ณ ที่อื่น
2. ดวงจิตเดิมควบคุมร่ างกายเราอยู่ และดวงจิตใหม่ไปปรากฏกาย ณ ที่อื่น แต่ดวงจิตเดิม
และใหม่เชื่อมโยงถึงกันตลอดเวลา หากมีสิ่งใดสิ่ งหนึ่ งเกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ดวงจิตใหม่
จะกลับมาเข้าร่ างแบบอัตโนมัติ ถ้าหากใครสงสัยเรื่ องนี้ ศึกษาหาความรู ้ เพิ่มเติ มได้จาก
ประวัติพระจูฬปั นถกะ ผูเ้ ลิ ศด้วยฤทธิ์ ทางใจ สามารถแยกร่ างและดวงจิตตัวเองได้เป็ น
พันองค์ แต่มนุ ษย์ธรรมดายังไม่ใช่พระอรหันต์ ผูเ้ ขียนให้แยกแค่ดวงเดียวพอครับ เป็ น
พันมากเกินความจาเป็ นไป
3. ดวงจิตเดิมบังคับ ดวงจิตใหม่ที่ถอดแยกออกไปให้ทาอะไรก็ได้ ตามใจตัวเอง
4. มีตาทิพย์ รู ้วา่ ดวงจิตใหม่กาลังทาอะไรอยู่ ถึงไม่ใช้ตาทิพย์ แต่ดวงจิตหรื อกระแสจิตก็
สามารถสัมผัสได้ เพราะดวงจิตเดิมและใหม่มีความเชื่อมโยงถึงกันตลอดเวลา
5. เมื่ อจะเข้าร่ าง พึงรวมดวงจิตเดิ มและใหม่ ให้กลายเป็ นหนึ่ งเดี ยวกัน เรี ยกว่า วิธีรวม
ดวงจิต หรื อรวมกายทิพย์ของจิตที่แยกกายทิพย์ออกจากร่ าง ให้กลับมารวมกันเป็ นร่ าง
เดี ยวกัน หรื อเป็ นจิตดวงเดี ยวกัน เมื่ อแยกกายทิ พย์หรื อแยกดวงจิตออกจากร่ างได้ ก็
ต้องมีความรู้ความสามารถที่จะรวมกายทิพย์หรื อดวงจิตให้กลับมาดังเดิม
117
วิธีการฝึ กจิตให้ตวั เองแยกดวงจิตออกจากร่ างและรวมดวงจิตเข้าร่ าง
การแยกดวงจิตออกจากร่ างไม่ใช่ ใครก็สามารถจะทาได้ทุกคน หากอยูท่ ี่การฝึ กฝนอบรม
จิตให้มีความเชี่ ยวชาญทางจิ ต พื้ นฐานของการแยกดวงจิ ตออกจากร่ าง คื อ การฝึ กสติเพ่งดูจิต
เรี ยกว่า จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน เมื่อสติได้ฝึกฝนอบรมเพ่งดูจิตมากๆ ก็จะเกิดเป็ นจิตตานุภาพ
หรื ออีกวิธีหนึ่ ง คือ การฝึ กกสิ ณแสงสว่าง เมื่อฝึ กกสิ ณแสงสว่างมากๆ จิตก็จะเกิดเป็ น
ความสว่างและมี พลานุ ภาพ สติกบั จิตและแสงสว่างก็จะรวมเป็ นหนึ่ งเดี ยวกัน เพราะฝึ กกสิ ณ
ย่อมมีสติไม่ฟุ้งซ่ าน เมื่อมีสติ จิตก็กาหนดได้เป็ นแสงสว่าง เมื่อจิตกาหนดได้ถึงแสงสว่างก็จะ
กาหนดรู ้ได้วา่ อันใดดวงสติ ดวงจิต และนิ มิตที่เป็ นแสงสว่าง เมื่อจิตมีพลานุ ภาพ เช่นนี้ แล้ว
ก็จะเป็ นเรื่ องง่ายที่จะแยกดวงจิตออกจากร่ าง และรวมดวงจิตกลับมาเข้าร่ าง
การรวมดวงจิ ต ก็ เช่ น กัน เมื่ อ ฝึ กสติ ที่ เรี ย กว่ า จิ ต ตานุ ปั ส สนาสติ ปั ฏ ฐาน หรื อ กสิ ณ
แสงสว่าง จิตจะมีพลานุ ภาพเกิดความรู ้ความสามารถในการรวมดวงจิต เรี ยกว่า การอธิษฐานให้
ดวงจิตกลับมาเป็ นดวงเดิม เพราะฝึ กสติเพ่งดูจิตตลอดเวลาย่อมสามารถรู ้ได้วา่ จิตอันไหนเป็ นจิต
ดวงเดิมและดวงใหม่ จะรวมหรื อจะแยก ย่อมสามารถทาได้อย่างง่าย ด้วยอานุภาพแห่งจิต

ผู้ใดตามดูจิตของตน
ผู้น้ันจะพ้นจากบ่ วงแห่ งมาร
118
อภินิหารเดินลุยไฟ
อภิ นิ ห ารเดิ น ลุ ย ไฟ หรื อวิช าเดิ น ลุ ย ไฟ จะท าได้ต่อเมื่ อผูใ้ ช้อภิ ญ ญาส าเร็ จสมาธิ ด้วย
กสิ ณ น้ า เวลาเดิ น ลุ ย ไฟแล้วจะไม่ ร้อน ตราบที่ ย งั เข้า ฌานอยู่ เมื่ อออกจากฌานสมาธิ ก็ จะมี
ความรู ้สึกรู ้ร้อนรู ้หนาวเหมือนคนธรรมดาทัว่ ไป
การฝึ กพลังสมาธิ ของกสิ ณน้ าเดินลุยไฟ
เมื่ อผูป้ ฏิ บ ตั ิ ส มาธิ จะใช้อภิ ญญาของตัวเองเดิ นลุ ย ไฟ ต้องฝึ กพลังของกสิ ณ น้ าก่ อนให้
สาเร็ จเป็ นสมาธิ เวลาเดินลุยไฟตัวเองจะได้ไม่รู้สึกร้อน ดังนี้
การฝึ กพลัง ของกสิ ณ น้ า ให้ ส าเร็ จ เป็ นสมาธิ จ นได้นิ มิ ต ของกสิ ณ น้ า เมื่ อ ได้นิ มิ ต ของ
กสิ ณน้ าแล้วเวลาจะเดินลุยไฟ ให้ใช้พลังของกสิ ณน้ าปกคลุมจนทัว่ ตัว จนร่ างกายมีความเย็นของ
กสิ ณ น้ าไหลเวียนอยู่ทวั่ ร่ างกาย ใช้พลังของสติ รวมเข้ากับ กสิ ณน้ า อธิ ษฐานให้เดิ นลุ ยไฟผ่าน
ความร้อนได้เหมือนเดินปกติ
หลักการใช้อภิญญาเดินลุยไฟ
1. ฝึ กพลังของกสิ ณน้ าจนสาเร็ จเป็ นนิมิต
2. เมื่อได้นิมิตของกสิ ณน้ าแล้ว เวลาเดินลุยไฟให้ใช้พลังของสติรวมเข้ากับพลังของกสิ ณน้ า
3. อธิษฐานจิตเดินลุยไฟผ่านความร้อนไปได้ เหมือนเดินอยูใ่ นที่ปกติ ฉะนั้น
ข้อควรรู้ ในการเดินลุยไฟ
ในการเดินลุยไฟนั้นไม่ใช่ของเล่น ไม่ใช่วา่ ทุกคนจะทาได้หมด อยูท่ ี่การฝึ กสมาธิ จิตมาดี
และมีความชานาญในการใช้อภิญญา เวลาเดินลุยไฟอย่าเผลอสติหรื ออย่าประมาท สติกาหนดใช้
พลังของกสิ ณน้ าปกคลุมร่ างกายไว้ให้ดี จิตต้องเป็ นหนึ่ งและนิ่ ง ใจเย็นๆเวลาเดินลุยไฟ เหมือน
น้ า ถ้าใจร้อนเหมือนไฟ คือ รี บเดิ นเพราะกลัวไฟร้ อน แสดงให้เห็ นว่าจิตยังไม่นิ่ง ถ้าใจร้อน
เหมือนไฟเวลาเดินลุยไฟ ก็จะยิง่ ร้อน จะเดินลุยไฟไม่ได้
จงเชื่ อมัน่ ในพลังสมาธิ ของตัวเอง สติไม่หวัน่ ไหว จิตนิ่ งเป็ นหนึ่ งเดียว ใจเย็นๆเหมือน
น้ า ก็จะสามารถเดินลุยไฟได้ ฉะนี้

ร้ อนก็สักว่ าร้ อน เย็นก็สักว่ าเย็น


ไม่ ยดึ ติด ใจเราก็สงบ
119
วิชาแปลงกาย
วิชาแปลงกาย ต่างกับ วิชาเล่นแร่ แปรธาตุให้ตวั เองอย่างไร
วิชาแปลงกาย คือ การใช้กาลังสมาธิ ของมโนภาพแปลงกาย
ส่ วนวิชาเล่นแร่ แปรธาตุ ให้ตวั เองอยูไ่ ด้น้ นั คือใช้พลังของธาตุท้ งั 4 หรื อพลังของกสิ ณ
นั้นเอง เพื่อให้ร่างกายตัวเองอยู่ได้ตามสภาพแวดล้อมกับธรรมชาติ ร่ างกายของตัวเองจะอยู่ใน
สภาพนั้น ไม่ เปลี่ ยนแปลงอะไรมากนัก ถึ งเปลี่ ยนแปลงก็ ค งจะไม่ เปลี่ ยนมาก เพราะไม่ ไ ด้
แปลงกาย เป็ นเพียงการเล่นแร่ แปรธาตุรักษาสังขารตัวเองไว้เท่านั้น
วิชาแปลงกาย จะสาเร็ จด้วยพลังของสมาธิ ที่ประกอบด้วยมโนภาพเท่านั้น ผูจ้ ะใช้วิชา
แปลงกายได้น้ นั ต้องฝึ กพลังสมาธิ ของมโนภาพให้สาเร็ จจนได้นิ มิต คล้ายกับฝึ กพลังของกสิ ณ
เช่ นกัน คือ เมื่อจะใช้อภิญญาดังกล่าว ก็ตอ้ งได้นิมิตสมาธิ ดงั กล่าวของวิชานั้น กสิ ณนั้นกาจัด
วัตถุ เป็ นอารมณ์ สมาธิ ที่เพ่งวัตถุ ให้จิตแน่ วแน่ เกิ ดสมาธิ ข้ ึ น ส่ วนมโนภาพนั้น ไม่ได้จากัดวัตถุ
สิ่ งของ เป็ นแต่ภาพนึ กหรื อภาพคิดตามจินตนาการ แต่ตอ้ งไม่ฟุ้งซ่ านเป็ นอารมณ์ ของมโนภาพ
สมาธิจิต จึงสาเร็ จสมาธิอภิญญามโนภาพ ดังนี้
หลักการฝึ กสมาธิดว้ ยวิชาแปลงกาย
การที่จะใช้พลังสมาธิมโนภาพแปลงกาย ให้เป็ นเด็ก คนหนุ่ม หรื อคนแก่ หรื ออย่างใด
อย่างหนึ่ง เป็ นต้น ฯลฯ พึงฝึ กสมาธิให้ใจนิ่งสงบเป็ นมโนภาพสมาธิ ให้ชานาญ มีความสามารถ
จะนึกภาพเด็ก คนหนุ่ม หรื อคนแก่ หรื ออย่างอื่น ก็นึกวาดภาพที่จะแปลงกาย เป็ นต้น ฯลฯ
ตัวอย่าง ถ้าอยากแปลงกายเป็ นคนหนุ่ม ก็ใช้เข้าสมาธิ จิตมโนภาพเป็ นคนหนุ่ม เกิดเป็ น
มโนภาพสมาธิ แล้วอธิ ษฐานให้ร่างกายของตัวเอง เป็ นคนหนุ่ มจึงสาเร็ จเป็ นวิชาแปลงกายด้วย
มโนภาพสมาธิ
การใช้มโนภาพสมาธิแปลงกาย
เมื่อฝึ กมโนภาพสมาธิ สาเร็ จเป็ นอภิญญาแล้ว มีความชานาญในการใช้มโนภาพสมาธิ ก็
ให้อธิษฐานจิตแปลงกายด้วยมโนภาพสมาธิ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าฌานด้วยมโนภาพสมาธิ
2. นึ กวาดรู ปภาพในสิ่ งที่จะแปลงกาย ตัวอย่างเช่น จะแปลงกายเป็ นคนหนุ่ ม ก็อธิ ษฐาน
จิตให้เป็ นคนหนุ่มด้วยมโนภาพสมาธิ
3. เมื่อนึ กวาดรู ปภาพในสิ่ งที่ตอ้ งการแปลงไว้เป็ นมโนภาพสมาธิ เรี ยบร้อยแล้ว ก็อธิ ษฐานจิต
แปลงกายเป็ นสิ่ งนั้นตามต้องการ สาเร็ จเป็ นวิชาแปลงกายด้วยมโนภาพสมาธิ
120
วิชาอธิ ษฐานจิตกลับคืนสู่ ร่างเดิม
โดยส่ ว นมากแล้ว มัก จะท าคู่ ก ัน กับ วิ ช าแปลงกายเสมอ คื อ เมื่ อ แปลงกายแล้ว ก็ ต้อ ง
อธิ ษฐานจิตกลับคืนสู่ ร่างเดิ ม คนส่ วนมากบางครั้งแปลงกายแล้วหลงในรู ปก็จะไม่ยอมกลับคืนสู่
ร่ างเดิ ม เช่ น แปลงกายเป็ นคนหนุ่ ม ก็ไ ม่ ยอมกลับ คื น สู่ ร่างเดิ ม แต่ถ้าแปลงกายเป็ นคนแก่
ส่ วนมากมัก จะรี บ กลับ คื น สู่ ร่า งเดิ ม ทัน ที โดยไม่ ต้องรอ (เรี ย กว่ายัง ยึด ติ ด ในรู ป ) ในการเป็ น
นักปฏิ บ ตั ิ ไม่ควรยึดในรู ปสั งขารไม่เที่ ยง ผูเ้ ขียนเขียนให้รู้หลักวิชาแปลงกายไว้เป็ นวิทยาทาน
ไม่ได้ให้ยดึ ติดในรู ป
ตัวอย่าง อุปติสสะ (พระสารี บุตร) ก่อนบวชท่านเป็ นคนที่ชอบดูการละเล่น ดูมโหรสพ
ดูหนัง ดูละคร เป็ นต้น อยู่ม าวันหนึ่ งท่านก็ไปเที่ ยวดู หนังเหมื อนเช่ นเคย เกิ ดสลดสังเวชใจ
ไม่สนุ กดังเช่ นแต่ก่อนมา โกลิตะ (พระโมคคัลลานะ) สหายของท่าน ถามท่านว่าทาไมวันนี้
ท่านไม่สนุกดังเช่นก่อนมา อุปติสสะตอบว่า ผูห้ ญิงที่สวยเป็ นนางเอกหรื อนางละคร สักวันหนึ่ง
ก็ตอ้ งแก่เป็ นธรรมดาหาความสวยมิได้ ก็ดว้ ยเหตุแห่ งอันใดเล่าเราจะมาหาความสนุ กอยู่ดว้ ยการ
เที่ ยวเล่ นดู นางเอกนางละครหนังมโหรสพ เอาเวลาทิ้งไปวันหนึ่ งๆ ควรที่ เราและท่ านจะออก
แสวงหาโมกขธรรม เมื่อโกลิ ตะได้ฟังดังนั้น ก็เกิ ดสลดสังเวชใจตามเพื่อน ถ้าอย่างนั้นท่านกับ
เราจงออกแสวงหาโมกขธรรมด้วยกัน ใครบรรลุธรรมได้ดวงตาเห็นธรรมก่อน ต้องกลับมาบอก
อีกฝ่ ายให้รับรู ้ ดังนี้
ข้ อคิดคติธรรมเรื่องนี้ จึงสอนให้รู้วา่ ไม่ควรยึดมัน่ ในสังขารทั้งปวง เพราะไม่จิรังเที่ยงแท้
มีเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป หาความเที่ยงไม่ได้ คือสวยแล้วก็มีวนั แก่เป็ นธรรมดา เมื่อถึงวัยอันควร
ดังนี้
การอธิ ษฐานกลับคืนสู่ ร่างเดิม มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. เข้าฌานมโนภาพสมาธิ นึกถึงรู ปร่ างและหน้าตาของตัวเอง
2. อธิ ษฐานจิตกลับคืนสู่ รูปร่ างและหน้าตาของตัวเอง
3. ก็จะกลับคืนสู่ ร่างเดิม ดังนี้

สั งขารทั้งหลายไม่ เที่ยง
ไม่ ยดึ ติด ใจเราก็พ้นทุกข์
121
วิชาประสานบาดแผล
วิชาประสานบาดแผล คือ การใช้อภิญญาสมาธิ รักษาบาดแผลให้ตวั เอง อุบตั ิเหตุน้ นั มัก
เกิดขึ้นได้ ถ้าคนเรานั้นประมาท เป็ นการยากที่คนเราจะมีสติตลอดเวลา อาจเผลอสติพลาดพลั้ง
เกิดอุบตั ิข้ ึนได้เสมอ ถ้ายังทรงฌานสมาธิ อยูอ่ าจจะไปโดนอะไรโดยที่ไม่ทนั ระวัง ฌานสมาธิ ก็จะ
รักษาตัวเองโดยไม่ให้เจ็บ ปวด เช่ น เกิ ดอุ บตั ิ เหตุ ไม่ท นั ระวัง เป็ นต้น ถ้าเข้าฌานอยู่อานุ ภาพ
ของสมาธิ รักษาก็จะไม่รู้สึกเจ็บปวด ถ้าออกจากฌานแล้วก็จะมีความรู ้สึกเจ็บปวดเหมือนคนทัว่ ไป
จึงต้องรู ้จกั ใช้วชิ าสมาธิ ให้เกิดเป็ นอภิญญา รักษาบาดแผลที่เกิดจากอุบตั ิเหตุที่ไม่ทนั ระวัง
วิชาประสานบาดแผลด้วยฌานสมาธิ
เมื่ อ ตัว เองได้ป ระสบอุ บ ัติ เหตุ ข้ ึ น โดยที่ ไ ม่ ท ัน ระวัง เกิ ด เป็ นบาดแผลขึ้ น จนกระทั่ง
เลื อ ดออก ให้ รี บ เข้า ฌานสมาธิ ท ัน ที แล้ว ใช้ส มาธิ บ ังคับ เลื อ ดให้ ห ยุด ไหล ต่ อ มาประสาน
บาดแผลด้วยอานาจอานุ ภาพของกสิ ณดิ น เพราะเนื้ อหนังมังสา คือธาตุดิน ก็ตอ้ งใช้พลังของ
กสิ ณ ดิ น ประสานบาดแผลให้ เป็ นเนื้ อ เดี ย วกัน เลื อ ดก็ จ ะหยุ ด ไหลและจะหายเป็ นปกติ ด้ว ย
อานุภาพของกสิ ณดิน
การประสานบาดแผลด้วยกสิ ณดินนั้น คือ ต้องเจริ ญกสิ ณดิน เพ่งดินให้สาเร็ จเป็ นนิ มิต
แล้วฝึ กประสานสิ่ งต่างๆ ที่เป็ นธาตุดินให้กลายเป็ นเนื้ อเดียวกัน เมื่อร่ างกายเกิดบาดแผลขึ้นด้วย
อุบตั ิเหตุ ก็จะประสานบาดแผลกลายเป็ นเนื้อเดียวกัน ดังนี้
วิชาประสานบาดแผลด้วยฌานสมาธิ มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. เมื่อเกิดบาดแผลขึ้นมาจากอุบตั ิเหตุ ให้รีบเข้าฌานสมาธิทนั ที
2. ใช้พลังสมาธิของตัวเองบังคับให้เลือดหยุดไหล
3. แล้วใช้อานุภาพของกสิ ณดิน ประสานบาดแผลให้กลายเป็ นเนื้อเดียวกัน
4. บาดแผลก็จะประสานกลายเป็ นเนื้อเดียวกัน และหายเป็ นปกติ ดังนี้

สั งขารทั้งหลายไม่ เที่ยง
ควรมีสติอยู่ทุกขณะจิต
จึงเป็ นผู้ไม่ ประมาททุกเมื่อ
122
วิชาชุ บชีวติ ให้ ผู้อนื่ (เรียกดวงจิตเขากลับเข้ าร่ าง)
การชุ บ ชี วิตให้ผูอ้ ื่ น ต้อ งมี ค วามรู ้ เรื่ องอภิ ญ ญาสมาธิ อย่างน้ อยก็ ต้อ งมี ต าทิ พ ย์ คื อ
สามารถกาหนดสมาธิ เพ่งตาทิพย์ของตนดู วา่ ดวงจิตของผูน้ ้ นั อยูท่ ี่ ไหน จะได้เรี ยกกลับเข้าร่ าง
ให้ถูก ในการเรี ยกดวงจิตผูน้ ้ นั กลับเข้าร่ าง ร่ างกายของผูน้ ้ นั จะต้องไม่เน่าเปื่ อยไปตามธรรมชาติ
ดวงจิ ต พึ งออกจากร่ างไปได้ไ ม่ น าน และผูน้ ้ ัน ยัง ต้อ งไม่ สิ้ น อายุข ยั ตามบัญ ชี ข องนรกสวรรค์
ไม่อย่างนั้น จะถือว่าฝื นกฎและผิดกฎนรกสวรรค์
ในการชุ บชี วิตหรื อต่อชะตา เรี ยกดวงจิตกลับเข้าร่ างให้ผอู ้ ื่นนั้น ผูท้ ี่จะต่อให้ตอ้ งมีบารมี
และอานาจสมาธิ พร้ อมทั้งขออนุ ญาตต่อเบื้ องล่าง คือ นรก (พระยายมราช) เบื้ องบน คือ
สวรรค์ (พระพรหม) ถ้าเบื้ องล่างและเบื้องบนไม่ได้อนุ ญาตแล้ว ผูท้ ี่ต่อชะตาชี วิตให้ผอู ้ ื่นจะมี
อายุที่ส้ นั ลง เรี ยกว่า ทาผิดกฎนรกและสวรรค์
ในกรณี ที่ชะตาของผูน้ ้ นั ขาด แต่ไม่ได้รับการอนุ ญาตทั้งเบื้องล่างและเบื้องบน เวลานอน
หลับหรื อเวลาอื่น เจ้าของดวงชะตา ดวงจิต เจ้าของร่ างที่ต่อให้ จะถู กเบื้องล่างนรก ดึงดวง
วิญญาณออกจากร่ างอยู่ดี เพราะว่าดวงชะตาของผูน้ ้ นั ได้ขาดลง การต่อดวงชะตา เรี ยกดวงจิต
ผูอ้ ื่ น กลับ เข้าร่ า ง ชุ บ ชี วิ ต ให้ ผูอ้ ื่ น นั้น ต้อ งได้รับ การอนุ ญ าตความยิน ยอมและเห็ น ชอบจาก
ทั้งเบื้องล่างและเบื้องบน คือ นรกและสวรรค์ ดังนี้
หลักการชุบชีวติ ให้ผอู้ ื่น เมื่อดวงจิตของผูน้ ้ นั ออกจากร่ าง
1. ร่ างกายต้องไม่เน่าเปื่ อย (หรื อดวงจิตออกจากร่ างห้ามเกิน 3 วัน)
2. การเรี ยกดวงวิญญาณคนอื่นกลับเข้าร่ าง ห้ามถอดจิตตัวเองไปตามดวงวิญญาณของผูอ้ ื่น
เพราะจะทาให้หลงมิติไปทั้งคู่ ห้ามถอดจิตเล่นหรื อเลียนแบบหนัง เพราะไม่รู้จริ ง จะทา
ให้ไม่ได้กลับเข้าร่ างทั้งคู่ อุปมา เหมือนคนตกน้ า การที่จะช่วยคนตกน้ าได้น้ นั ผูท้ ี่จะ
ช่วยต้องอยู่บนฝั่งแล้วเอาเชื อกหรื อห่ วงยางให้เกาะขึ้นมาจากน้ า ไม่ใช่ ผทู ้ ี่ช่วยโดดลงน้ า
ไปทั้งคู่ เรี ยกว่า จมน้ ากันทั้งคู่ ฉันใดก็ฉนั นั้น
3. ชะตาชีวติ ของผูน้ ้ นั ต้องไม่หมดอายุขยั
4. เมื่อผูน้ ้ นั ชะตาขาดแล้ว ผูท้ ี่ต่ออายุให้หรื อเรี ยกดวงจิตของผูน้ ้ นั กลับเข้าร่ าง ต้องมีบารมี
พอสมควร ไม่เช่นนั้น ถือว่าทาผิดกฎนรกสวรรค์ อายุขยั ของคนต่อให้ตอ้ งสั้นลง
5. ต้องได้รับความเห็นชอบจากพระยายมราช (เมืองนรก) และต้องได้รับความเห็นชอบจาก
พระพรหมด้ ว ย (เมื อ งสวรรค์ ) สองบั ญ ชี อายุ ข ั ย มนุ ษย์ ถึ ง จะได้ ถ้ า ไม่ ไ ด้ รั บ
ความเห็ นชอบจาก สองบัญชี ท้ งั นรกและสวรรค์ เวลานอนหลับหรื อเวลาอื่น จะถู ก
เบื้องล่างนรก ดึงดวงวิญญาณออกจากร่ าง
123
การชุบชีวติ ให้ผอู้ ื่นที่ถูกต้อง
1. ทาการขออนุญาตต่อชะตาชีวติ ทั้งนรกและสวรรค์
2. ใช้ตาทิพย์ตรวจดูและมองว่าดวงจิตผูน้ ้ นั อยูท่ ี่ไหน
3. ใช้ฤทธิ์ ยน่ ระยะทางหรื ออธิ ษฐานให้ดวงจิตผูน้ ้ นั กลับเข้าร่ าง
4. ถ้าดวงจิตของผูน้ ้ นั ไม่ยอมกลับมาเข้าร่ าง ใช้ธูปเชิ ญดวงวิญญาณให้ทา้ วเวสสุ วรรณหรื อ
เบื้องล่างองค์ใดก็ได้ ที่มีหน้าที่นาดวงวิญญาณมาคืนให้

คนเรามีความตายเป็ นธรรมดา ไม่ ล่วงพ้ นความตายไปได้


ควรมีสติอยู่กบั ปัจจุบัน จึงไม่ ประมาทในกาลทุกเมื่อ
สามารถละวาง ไม่ ยึดติดในสั งขารทั้งหลาย
124
พลังสมาธิหยัง่ รู้ใจเทวดาและภาษาสั ตว์ ต่างๆ
หรืออ่ านใจหรือรู้ใจสั ตว์ กเ็ รียก
การอ่านใจคนและเทวดา ย่อมสามารถกาหนดด้วยอภิญญา ดังต่อไปนี้ คือ
หลักการอ่านใจคนและเทวดา
การอ่านใจผูอ้ ื่น แบ่งออกเป็ น 3 ระดับ
1. รู้ได้ดว้ ยอานาจของเจโต
2. รู้ได้ดว้ ยอานาจของหูทิพย์ (ฟังเสี ยงจิตใจผูอ้ ื่นด้วยหูทิพย์)
3. รู้ได้ดว้ ยอานาจของตาทิพย์ (เห็นภาพของจิตใจผูอ้ ื่นด้วยตาทิพย์)
วิธีอ่านใจผู้อนื่
1. ใช้อานาจแห่งเจโต
พึงกาหนดสมาธิ เพ่งดูวาระจิตผูอ้ ื่น เข้าสมาธิ ระดับอุปจารสมาธิ ก็สามารถกาหนดรู ้ได้
เพียงเรากาหนดวาระจิตเพ่งดูผอู ้ ื่น ก็จะอ่านใจคนออก
2. รู ้ได้ดว้ ยอานาจแห่งหูทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการฟั งออกจากหูตวั เอง กาหนดหู ทิพย์ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่น
ว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ
3. รู ้ได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
พึงกาหนดสมาธิ ใช้ตาทิพย์ดูวาระจิตผูอ้ ื่นว่าเขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ จะเห็ นเป็ นภาพว่าเขา
กาลังนึกอะไรอยูใ่ นใจ อ่านใจคนสาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
หูทพิ ย์
วิธี การใช้หูทิ พ ย์ ก าหนดสติ ออกจากหู ตวั เอง กาหนดเสี ยงไกลใกล้โดยไม่มี ป ระมาณ
กาหนดได้แม้กระทัง่ เสี ยงทิพย์คนละมิติ เสี ยงจากสิ่ งลี้ลบั ที่คนธรรมดาฟังไม่ได้ยนิ
แต่เรากาหนดฟังด้วยหูทิพย์ ฟังได้แม้กระทัง่ เสี ยงเทวดาคนละมิติ
แม้กระทัง่ (อ่านจิตคนทะลุ) ก็กาหนดฟังได้จากหู ทิพย์ ฟังเสี ยงจากจิตใจผูอ้ ื่น ว่าคนอื่น
เขาคิดอะไรอยูใ่ นใจ สติกาหนดสมาธิ ใช้หูทิพย์ไปกาหนดฟังจิตผูอ้ ื่น เขาคนนั้นคิดอะไรอยูใ่ นใจ
ได้ดว้ ยหูทิพย์ ฟังเสี ยงใจผูอ้ ื่นว่าเขากาลังคิดอะไรอยูใ่ นใจ รู ้ได้ดว้ ยหูทิพย์
125
ตาทิพย์
วิธีการฝึ กตาทิพย์ เหตุให้เกิดตาทิพย์มีกสิ ณเป็ นเครื่ องนาจิตให้เกิ ดตาทิพย์ ด้วยกสิ ณ 3
อย่าง คือ
1. กสิ ณสี ขาว
2. กสิ ณไฟ
3. กสิ ณแสงสว่าง
ผูจ้ ะฝึ กตาทิ พย์ พึงฝึ กกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งให้เหมาะสมกับจริ ตของตัวเอง จนสาเร็ จกสิ ณ
เป็ นอานาจฌาน
วิธีการใช้ตาทิพย์
พึงเข้าสมาธิ ด้วยกสิ ณใดกสิ ณหนึ่ งที่ ตวั เองฝึ กมาเป็ นอานาจฌาน แล้วกาหนดจิ ตดูภาพ
เหตุการณ์ ใกล้ไกลไม่มีกาหนดประมาณได้ ภาพคนละมิติหรื อแม้แต่ภาพในใจเวลาคนอื่นเขาคิด
อะไรอยูใ่ นใจ ก็สาเร็ จได้ดว้ ยอานาจแห่งตาทิพย์
การอ่ านใจสั ตว์ หรือหยัง่ รู้ ภาษาสั ตว์ ต่างๆ
ในการที่จะรู ้ใจสัตว์หรื อหยัง่ รู ้ภาษาต่างๆ ย่อมประกอบด้วยสมาธิ 2 อภิญญา คือ
1. รู้ได้ดว้ ยอานาจของเจโต รู ้วา่ สัตว์น้ นั ต้องการอะไรหรื อรู ้ใจด้วยอานาจแห่งเจโต
2. รู้ได้ดว้ ยอานาจของตาทิพย์ เห็นภาพความต้องการในใจของสัตว์ดว้ ยตาทิพย์
หมายเหตุ การที่จะรู ้ใจสัตว์หรื อหยัง่ รู ้ภาษาต่างๆ ควรใช้ 2 อภิญญา ดังนี้ เพราะเรา
ฟั งภาษาไม่ ออกหรื อไม่ รู้เรื่ องว่าสั ต ว์น้ ัน พู ด อะไรในใจ จึ ง ไม่ ค วรใช้หู ทิ พ ย์ การใช้เจโตและ
ตาทิพย์เป็ นการสมควร แห่ งอภิญญาหยัง่ รู ้ ใจสัตว์และภาษาต่างๆ ด้วยอภิญญาเจโตและตาทิพย์
ดังนี้

อภิญญาและญาณหยัง่ รู้ ต่างๆ เป็ นอจินไตย


รู้ สิ่งใดควรรู้ ไว้ จาเพาะตน
126
วิชาทาให้ แผ่ นดินไหว
วิชาทาให้แผ่นดินไหว เป็ นการแสดงปาฏิ หาริ ย ์ บอกเรื่ องราวสิ่ งที่ดีและไม่ดีออกมาเป็ น
การทาให้แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว ในพระพุทธประวัติน้ นั มีอยู่ มีท้ งั หมด 8 ประการ ดังต่อไปนี้ คือ
1. เกิดจากภัยธรรมชาติ
2. ผูม้ ีอานาจฌานฤทธิ์ หรื อเทวดาดลบันดาล
3. พระมหาโพธิ สัตว์ทรงถือปฏิสนธิ ข้ ึนในพระครรภ์ของพระมารดา
4. พระมหาโพธิสัตว์ทรงประสู ติ
5. พระมหาโพธิสัตว์ตรัสรู้อริ ยสัจ 4 สาเร็ จเป็ นพระพุทธเจ้า
6. พระพุทธเจ้าทรงแสดงพระธรรมจักรครั้งแรก พระสงฆ์ได้อุบตั ิ ข้ ึ นในโลกเป็ นครั้งแรก
พระรัตนตรัยครบองค์ 3 คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
7. พระพุทธเจ้าทรงปลงอายุสังขาร
8. พระพุทธเจ้าทรงเสด็จดับขันธปริ นิพพาน
หลักการใช้อานาจฌานทาให้แผ่นไหว ย่อมสาเร็ จได้ดว้ ย 2 กสิ ณ คือ กสิ ณดิ นและ
กสิ ณน้ า พึงเลือกพึงกสิ ณใดกสิ ณหนึ่งให้เหมาะสมกับจริ ตของตัวเองให้เกิดเป็ นอภิญญา
หลักการทาให้แผ่นดินไหวด้วยกสิ ณดิน
ในการจะท าสมาธิ ให้แผ่นดิ นไหวด้วยกสิ ณ ดิ นได้น้ ัน ผูฝ้ ึ กสมาธิ ตอ้ งส าเร็ จสมาธิ ด้วย
กสิ ณ ดิ น กล่ าวคื อ เพ่ งดิ น จนได้นิมิ ต เมื่ อส าเร็ จ ด้วยกสิ ณ ดิ น ก็ อธิ ษ ฐานจิ ต ด้วยสมาธิ ข อง
กสิ ณดิ น ให้ดินนั้นเคลื่ อนไหวไปมา จะย่อหรื อขยายแผ่นดิ น ให้ดินนั้นเคลื่ อนไหวไปมาด้วย
อานุภาพของสมาธิ เป็ นการทาให้แผ่นดินไหวด้วยกสิ ณดิน
ในการทาให้แผ่นไหวด้วยกสิ ณดินนั้น มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิให้สาเร็ จด้วยกสิ ณดินจนได้นิมิต
2. เข้าฌานสมาธิดว้ ยกสิ ณดิน
3. อธิ ษ ฐานจิ ต ให้ แ ผ่น ดิ น ย่อ และขยาย เป็ นการท าให้ ดิ น นั้น เคลื่ อ นไหวไปมา จึ ง เกิ ด
แผ่นดินไหว

เรื่องของฌาน ยิง่ อยากยิง่ ไม่ ได้


เพราะจะเกิดนิวรณ์ ธรรมเข้ าแทรกจิต
หยุดอยากได้ เมื่อไร ใจเราเป็ นสมาธิได้ เมื่อนั้น
127
หลักการทาให้แผ่นดินไหวด้วยกสิ ณน้ า
ในการจะท าสมาธิ ให้ แผ่นดิ นไหวด้วยกสิ ณ น้ าได้น้ ัน ผูฝ้ ึ กสมาธิ ต้องส าเร็ จสมาธิ ด้วย
กสิ ณน้ า กล่าวคือ เพ่งน้ าจนได้นิมิต เมื่อสาเร็ จด้วยกสิ ณน้ า ก็อธิ ษฐานจิตด้วยสมาธิ ของกสิ ณน้ า
ให้ดินนั้นเคลื่อนไหวไปมา เป็ นเหตุให้แผ่นดินไหว ด้วยอานุภาพของกสิ ณน้ า
ในการทาให้แผ่นไหวด้วยกสิ ณน้ านั้น มีหลักการดังต่อไปนี้ คือ
1. ฝึ กสมาธิ ให้สาเร็ จด้วยกสิ ณน้ าจนได้นิมิต
2. เข้าฌานสมาธิ ดว้ ยกสิ ณน้ า
3. อธิ ษ ฐานจิ ต ด้ว ยอานุ ภ าพของกสิ ณ น้ า ใช้ น้ าท าให้ ดิ น เคลื่ อ นตัว ไหวไปมา จึ ง เกิ ด
แผ่นดินไหว

อจินไตยจะเกิดมีได้
สาหรับผู้สร้ างบุญบารมีมาได้ นีเ้ ท่ านั้น
128
อาสวักขยญาณ
อาสวักขยญาณ หมายถึง ญาณหยัง่ รู ้ขจัดกิเลสให้หมดไปจากสันดาน
การเข้าถึงอาสวักขยญาณ เจริ ญสมถะแล้วมาต่อเป็ นวิปัสสนา เป็ นการหลุดพ้นด้วยเจโต
วิมุตติ เจริ ญวิปัสสนาล้วน เป็ นการหลุดพ้นด้วยปัญญาวิมุตติ
การหลุดพ้ นจากกิเลส 2 อย่าง
เจโตวิมุตติ การหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ
ปัญญาวิมุตติ การหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งปั ญญา
ในการประพฤติปฏิบตั ิธรรมนั้น แบ่งเรื่ องการหลุดพ้นได้เป็ น 2 อย่าง คือ
1. เจโตวิมุตติ การหลุดพ้ นด้ วยอานาจแห่ งใจ
การหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ ที่เรี ยกว่า เจโตวิมุตติน้ นั คือการเจริ ญสมาธิ ที่ประกอบด้วย
สมถะให้ ต รงกับ จริ ตของตัวเอง จนส าเร็ จเป็ นอ านาจฌาน แล้วเอาฌานมาเจริ ญ ญาณต่ อเป็ น
วิปัสสนา ในการหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจนั้น ไม่ใช่แต่จะใช้ใจเพียงอย่างเดียวเท่านั้น การฝึ กจิต
ให้ใจสงบเป็ นสมาธิ น้ นั เรี ยกว่า สมถะ สู งสุ ดของสมถะ คือ ชั้นพรหม ถ้าไม่เจริ ญวิปัสสนาต่อ
ก็จะหยุดอยูแ่ ค่น้ นั ถ้าเจริ ญวิปัสสนาต่อก็สาเร็ จชั้นโพธิ สัตว์ โสดาบัน และอรหันต์ ตามลาดับ
และบารมีธรรมของผูน้ ้ นั จึงกล่าวได้วา่ ในเจโตวิมุตติน้ นั ถ้าปฏิบตั ิให้ถูกทางนอกจากมีอานุ ภาพ
แห่งจิตเป็ นเครื่ องหลุดพ้นแล้ว ก็จะมีปัญญาแห่งวิปัสสนาอยูด่ ว้ ย ปั ญญาเป็ นเครื่ องประหารกิเลส
เจโตวิมุตติ การหลุดพ้นด้วยอานาจแห่งใจ มีหลักการขั้นตอน ดังต่อไปนี้ คือ
1. เจริ ญสมถะจนจิตสงบเป็ นสมาธิให้ได้ฌาน
2. ได้ฌานแล้วมาต่อญาณ คือเจริ ญวิปัสสนาต่อ
3. เข้าทั้งสมถะและวิปัสสนาไปพร้อมกัน ฝึ กกัมมัฏฐานให้เหมาะสมกับจริ ตของตน จิตจึง
หลุดพ้นด้วยอานาจแห่งเจโตวิมุตติ ดังนี้

2. ปัญญาวิมุตติ การหลุดพ้ นด้ วยอานาจแห่ งปัญญา


ในการเข้าถึ งปั ญ ญาวิมุ ตติ น้ นั ส่ วนมากคนมักจะเข้าใจกันดี ว่า คื อการเจริ ญ วิปั ส สนา
กัมมัฏฐานอย่างเดียวให้หลุดพ้น แต่การจะหลุดพ้นอย่างไรให้ถูกวิธีและถูกจริ ตของตัวเอง นั้นคือ
สิ่ งสาคัญในการฝึ กและปฏิบตั ิธรรม
กรรมฐานในอารมณ์ แห่ งวิปัสสนานั้นมี อยู่มากมายหลายอย่าง เราชอบสิ่ งไหน สมาธิ
บทไหนตรงกับจริ ตของเรา
การส าเร็ จอนิ จจาญาณ ญาณเข้าถึ งสภาวะแห่ งความไม่ เที่ ยง หรื อส าเร็ จทุ ก ขตาญาณ
ญาณเข้าถึงสภาวะแห่ งกองทุกข์ แต่ยงั ไม่สาเร็ จอนัตตาญาณ ญาณเข้าถึงสภาวะแห่ งการไม่ยึดมัน่
ในตัวตน ไม่เรี ยกว่าส าเร็ จชั้นสู งสุ ดแห่ งการพ้นทุ ก ข์ คื อพระอรหันต์ เพราะตราบใดที่ จิตยัง
ยึดมัน่ ในรู ป ตัวตน เรา เขา เป็ นต้น ไม่เรี ยกว่า สภาวะจิตแห่งนิพพาน
129
การเข้า ถึ ง สภาวะแห่ ง ญาณไม่ เที่ ย งเป็ นทุ ก ข์ แต่ ย งั ยึ ด มั่น ในตัว ตน เป็ นการส าเร็ จ
บรรลุ ธรรมตั้งแต่ข้ นั พระโพธิ สั ตว์ พระโสดาบันจนถึ งพระอนาคามี ยังไม่ถึ งขั้นพระอรหันต์
เพราะยังยึดมัน่ ตัวตนอยู่
การเข้าถึงสภาวะแห่งญาณอนัตตา เป็ นการถอนจิตออกจากกิเลส หมดความยึดมัน่ ถือมัน่
ในตัวตน เราเขา เป็ นต้น เรี ยกว่า สภาวะจิตแห่ งเข้าถึงนิ พพาน จึงจะสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์ที่
สมบูรณ์ เพราะจิตหมดการยึดมัน่ ในตัวตน ดังนี้ (สาธุ)
วิมุตติ 5
การใคร่ ครวญด้วยสติปัญญาของตนเองว่า เราบรรลุ หรื อยังเพื่อไม่ให้เกิดความหลงธรรม
ในความรู้แจ้ง ย่อมพิจารณาจากวิมุตติ ว่าด้วยเรื่ องการหลุดพ้น 5 อย่าง ดังต่อไปนี้ คือ
1. ตทังควิมุตติ พ้นชัว่ คราว
2. วิกขัมภนวิมุตติ พ้นด้วยการสะกดไว้
3. สมุจเฉทวิมุตติ พ้นด้วยเด็ดขาด
4. ปฏิปัสสัทธิวมิ ุตติ พ้นด้วยการสงบ
5. นิสสรณวิมุตติ พ้นด้วยการออกไป
อธิ บายความแห่งวิมุตติท้ งั 5 คือ
1. ความพ้นจากกิเลสได้ชวั่ คราว หมายถึง เกิดความสลดสังเวชใจเกิดขึ้น หายกาหนัดกาม
เจริ ญเมตตา หายจากความโกรธ ได้ชวั่ คราวเท่านั้น ไม่พน้ เสี ยทีเดียวทั้งหมด
2. ความพ้นจากกิ เลสด้วยการสะกดไว้ หมายถึ ง สะกดไว้ด้วยการเข้าฌานหรื อกาลังของ
ฌาน เมื่อออกจากฌานแล้วก็จะกลับมีกิเลสขึ้นอีก เหมือนเอาก้อนหิ นมาทับหญ้าไว้ ตราบใดที่
ก้อนหิ นยังทับหญ้าอยู่ หญ้าจะยังไม่ข้ ึน เมื่อเอาก้อนหิ นออกแล้ว หญ้าจะขึ้นมาเหมือนเดิม
3. ความพ้นจากกิเลสด้วยเด็ดขาด หมายถึง ละกิเลสได้เด็ดขาดเพราะอานาจแห่งอริ ยมรรค
4. ความพ้น จากกิ เลสด้วยการสงบ หมายถึ ง พ้น จากกิ เลสเนื่ องมาจากอริ ยมรรคและผล
ไม่ตอ้ งมาขวนขวาย เพื่อละกิเลสอีกเพราะกิเลสนั้นได้สงบลงไปแล้ว
5. ความพ้นจากกิเลสด้วยการออกไป หมายถึง พ้นจากกิเลสตลอดกาล เพราะหลุดพ้นออก
จากกิเลสทั้งปวง
ข้ อควรรู้ ความหลุดพ้นข้อ 1 – 2 ไม่เรี ยกว่าหลุ ดพ้นได้เด็ดขาด เพราะเป็ นแค่หลุ ดพ้น
ชัว่ คราวกับพ้นด้วยการสะกดไว้
ข้อ 3 – 5 คื อพ้นจากกิ เลสเด็ ดขาด เพราะเกิ ดญาณรู ้ แจ้งแห่ งวิปั สสนา ประหารกิ เลส
หมดแล้ว ด้วยประการทั้งปวง
130
สังโยชน์ 10
สังโยชน์ แปลว่า กิเลสเป็ นเครื่ องร้อยรัดจิตใจให้ตกอยูใ่ นวัฏฏะ มี 10 อย่าง
1. สักกายทิฏฐิ ความยึดมัน่ ในทิฏฐิของตน
2. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัยในคุณพระรัตนตรัย
3. สี ลพั พตปรามาส ความงมงายยึดมัน่ ในสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ท้ งั หลายว่า มีมาด้วยศีลหรื อพรต
4. กามฉันทะ มีจิตมัว่ สุ มหมกมุ่น ใคร่ อยูใ่ นกามารมณ์
5. พยาบาท มีอารมณ์ผกู โกรธ จองล้างจองผลาญ
6. รู ปราคะ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในรู ปฌาน
7. อรู ปราคะ ยึดมัน่ ถือมัน่ ในอรู ปฌาน คิดว่าเป็ นคุณพิเศษที่ทาให้พน้ จากวัฏฏะ
8. มานะ มีอารมณ์ถือตัวถือตน ถือชั้นวรรณะเกินพอดี
9. อุทธัจจะ มีอารมณ์ฟุ้งซ่าน ครุ่ นคิดอยูใ่ นอกุศล
10. อวิชชา มีความคิดเห็นว่า โลกามิสเป็ นสมบัติที่ทรงสภาพ

การละสังโยชน์ของพระอริ ยบุคคล
พระอริ ยบุคคล 4 จาแนกตามประเภทในการบรรลุธรรม ได้ดงั นี้
1. พระโสดาบัน ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 3
2. พระสกทาคามี ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 3 (พร้อมทั้งทาราคะ โทสะ โมหะ
ให้เบาบางลง)
3. พระอนาคามี ละสังโยชน์ได้ต้ งั แต่ขอ้ 1 – 5
4. พระอรหันต์ ละสังโยชน์ได้ท้ งั หมด 10 ข้อ

ปุจฉา จะรู ้ได้อย่างไรว่าตนเองสาเร็ จขั้นไหน


วิ สั ช นา ให้ ดู ที่ ก ารละกิ เลสสั ง โยชน์ ใ นแต่ ล ะข้อ (ละได้แ ค่ ไ หน ก็ ส าเร็ จ ขั้น นั้ น )
คุณธรรมอย่างอื่น ที่ท่านได้สาเร็ จยังไม่จาเป็ นต้องไปดู หรื อพิจารณาให้มากนัก
เหตุผล ท่านยังละกิเลสไม่ได้ แล้วคุณธรรมจะมีได้เช่นใด จะเกิดเป็ นอุปาทาน หลงขึ้น
ได้วา่ ตนได้สาเร็ จ
ถ้าท่านพิจารณากิ เลสในจิตของตนเองว่า เราละสังโยชน์ได้กี่ขอ้ มากหรื อน้อยเพียงใด
หรื อยังละไม่ ได้ ก็จะไม่ เกิ ดอาการหลงในอุ ป าทาน แต่เป็ นความรู ้ แจ้ง แห่ งความเป็ นจริ งว่า
กิเลสสังโยชน์ออกไปจากจิตตัวเอง มากน้อยเพียงใด ดังนี้
131
การกาหนดพิจารณาไตรลักษณ์ 3
การก าหนดไตรลัก ษณ์ ให้ เห็ น ว่า ไม่ เที่ ย ง เป็ นทุ ก ข์ ไม่ ใช่ ตวั ตน ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่าง
เกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไป ไม่พน้ กฎสามัญลักษณะไปได้
การกาหนดพิจารณาไตรลักษณ์น้ นั มีดงั ต่อไปนี้ คือ
1. อนิจจัง ความไม่เที่ยง
2. ทุกขัง ความเป็ นทุกข์
3. อนัตตา ความเป็ นของไม่ใช่ของตน
เมื่อบุคคลได้พิจารณา ความไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ ไม่ใช่ตวั ตน ก็จะคลายความยึดมัน่ ถือมัน่
สิ่ งทั้งหลายลงได้ ด้วยการปล่อยวาง ไม่ยดึ มัน่ ถือมัน่ ในตัวตน เรา เขา
ข้ อควรทราบ
การส าเร็ จอนิ จจาญาณ ญาณเข้าถึ งสภาวะแห่ งความไม่ เที่ ยง หรื อส าเร็ จทุ ก ขตาญาณ
ญาณเข้าถึงสภาวะแห่ งกองทุกข์ แต่ยงั ไม่สาเร็ จอนัตตาญาณ ญาณเข้าถึงสภาวะแห่ งการไม่ยึดมัน่
ในตัวตน ไม่เรี ยกว่าส าเร็ จชั้นสู งสุ ดแห่ งการพ้นทุ ก ข์ คือพระอรหันต์ เพราะตราบใดที่ จิตยัง
ยึดมัน่ ในรู ป ตัวตน เรา เขา เป็ นต้น ไม่เรี ยกว่า สภาวะจิตแห่งนิพพาน
การเข้า ถึ ง สภาวะแห่ ง ญาณไม่ เที่ ย งเป็ นทุ ก ข์ แต่ ย งั ยึ ด มั่น ในตัว ตน เป็ นการส าเร็ จ
บรรลุ ธรรมตั้งแต่ข้ นั พระโพธิ สั ตว์ พระโสดาบันจนถึ งพระอนาคามี ยังไม่ถึ งขั้นพระอรหันต์
เพราะยังยึดมัน่ ตัวตนอยู่
การเข้าถึงสภาวะแห่งญาณอนัตตา เป็ นการถอนจิตออกจากกิเลส หมดความยึดมัน่ ถือมัน่
ในตัวตน เราเขา เป็ นต้น เรี ยกว่า สภาวะจิตแห่ งเข้าถึงนิ พพาน จึงจะสาเร็ จเป็ นพระอรหันต์ที่
สมบูรณ์ เพราะจิตหมดการยึดมัน่ ในตัวตน ดังนี้ (สาธุ)
ข้อควรรู้ กรรมฐานหรื อธรรมบทไหนก็เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนาได้ท้ งั นั้น
อารมณ์ ข องวิปั ส สนากรรมฐาน เป็ นแบบอย่า ง หรื อ ตัว อย่า ง ในการเอาธรรมะมา
พิจารณาในการเจริ ญภาวนาเท่านั้น
ในความเป็ นจริ งแล้ว การฝึ กวิปัสสนากรรมฐาน สามารถพิจารณาธรรมะบทใดก็ได้ ที่
ตนเองถนัดและถูกกับจริ ตของตน เป็ นอารมณ์ของวิปัสสนาได้ท้ งั หมด
แม้แต่การฝึ กวิปั ส สนา เพื่ อการเรี ยนรู ้ วิช าต่างๆ หรื อแก้ปั ญหาต่างๆ ก็เข้ากรรมฐาน
สมาธิ พิจารณาสิ่ งนั้นเป็ นอารมณ์ของวิปัสสนา
เพียงแต่พิจารณาให้เข้าถึ งหลักอนิ จจัง ไม่เที่ยง ทุกขัง เป็ นทุกข์ อนัตตา ไม่ใช่ตวั ตน
แล้วปล่อยวางจากการยึดมัน่ ตัวตนเราเขา เป็ นการเข้าถึงแก่นแท้แห่งสัจธรรม
การฝึ กวิปัส สนาอันเป็ นเหตุ แห่ งปั ญญานั้น เมื่ อกล่ าวโดยย่อ คื อ การเจริ ญกรรมฐาน
บทไหน ก็ได้ให้เหมาะสมกับจริ ตของตน
132
วิปัสสนาญาณ 9
วิปัสสนาญาณ หมายถึ ง ญาณในวิปัสสนาที่ จดั เป็ นความรู ้ ที่ทาให้เกิ ด ความเห็ นแจ้ง
เข้าใจสภาวะของ สิ่ งทั้งหลายตามเป็ นจริ ง
วิปัสสนาญาณ 9 ประการ มีดงั ต่อไปนี้ คือ
1. อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ ญาณอันตามเห็นความเกิดและความดับ
2. ภังคานุปัสสนาญาณ ญาณอันตามเห็นความสลาย
3. ภยตูปัฏฐานญาณ ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็ นของน่ากลัว
4. อาทีนวานุปัสสนาญาณ ญาณอันคานึงเห็นโทษ
5. นิพพิทานุปัสสนาญาณ ญาณอันคานึงเห็นความหน่าย
6. มุญจิตุกมั ยตาญาณ ญาณอันคานึงด้วยใคร่ จะพ้นไปเสี ย
7. ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ ญาณอันคานึงพิจารณาหาทางหลุดพ้น
8. สังขารุ เปกขาญาณ ญาณอันเป็ นไปโดยความเป็ นกลางต่อสังขาร
9. สัจจานุโลมิกญาณ หรื อ อนุโลมญาณ ญาณอันเป็ นไปโดยอนุโลมแก่การหยัง่ รู ้อริ ยสัจ
อธิบายขยายความ
1. อุ ท ยัพ พยานุ ปั ส สนาญาณ หมายถึ ง ญาณอัน ตามเห็ น ความเกิ ด และความดับ คื อ
พิจารณาความเกิดขึ้น และความดับไปแห่ งเบญจขันธ์จนเห็นชัดว่า สิ่ งทั้งหลายเกิดขึ้น ครั้นแล้ว
ก็ดบั ไปในที่สุด
2. ภังคานุ ปัสสนาญาณ หมายถึ ง ญาณอันตามเห็ นความสลาย คือ เมื่อเห็ นความเกิ ดดับ
เช่นนั้นแล้ว เข้าใจความดับอันเป็ นจุดจบสิ้ น ก็เห็นว่าสังขารทั้งปวงล้วนจะต้องสลายไปในที่สุด
3. ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึ ง ญาณอันมองเห็ นสังขารปรากฏเป็ นของน่ ากลัว คื อ เมื่ อ
พิจารณาเห็นความแตกสลายของสังขารแล้วก็ปรากฏเป็ นของน่ากลัว เพราะล้วนต้องสลายไป
4. อาทีนวานุ ปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณอันคานึ งเห็นโทษ คือ เมื่อพิจารณาเห็นสังขาร
ทั้งปวงซึ่ งล้วนต้องแตกสลายไป เป็ นของน่ ากลัวแล้วย่อมคานึ งเห็ นสังขารทั้งปวงนั้นว่าเป็ นโทษ
เป็ นสิ่ งที่มีความบกพร่ อง จะต้องประกอบไปด้วยความทุกข์
5. นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณอันคานึงเห็นความหน่าย คือ เมื่อพิจารณาเห็นว่า
สังขารทั้งปวงเป็ นโทษแล้ว ย่อมเกิดความหน่ายไม่เพลิดเพลินติดใจในสังขารนั้น
6. มุญจิตุกมั ยตาญาณ หมายถึง ญาณอันคานึ งด้วยใคร่ จะพ้นไปเสี ย คือ เมื่อหน่ายสังขาร
ทั้งหลายแล้วย่อมปรารถนาที่จะพ้นไปเสี ยจากสังขารเหล่านั้น
7. ปฏิ สังขานุ ปั ส สนาญาณ หมายถึ ง ญาณอัน ค านึ งพิ จารณาหาทางหลุ ดพ้น คื อ เมื่ อ
ต้องการจะพ้นไปเสี ยจากสังขาร จึงกลับหันไปยกเอาสังขารทั้งหลาย ขึ้นมาพิจารณากาหนดด้วย
ไตรลักษณ์ เพื่อมองหาอุบายที่จะปลดเปลื้องหรื อหาทางหลุดพ้น
133
8. สังขารุ เปกขาญาณ หมายถึ ง ญาณอันเป็ นไปโดยความเป็ นกลางต่อสั งขาร คื อ เมื่ อ
พิจารณาสังขารต่อไป ย่อมเกิดความรู ้เห็นสภาวะของสังขารตามความเป็ นจริ งว่า มีความเป็ นอยู่
เป็ นไปของมันอย่างนั้นเป็ นธรรมดา จึงวางใจเป็ นกลางได้ไม่ยินดียินร้ายในสังขารทั้งหลาย ญาณ
จึงมุ่งสู่ นิพพาน โดยเลิกละความเกี่ยวพันกับสังขารอีก
9. สั จ จานุ โ ลมิ ก ญาณ หรื อ อนุ โ ลมญาณ หมายถึ ง ญาณอัน เป็ นไปโดยอนุ โ ลมแก่
การหยัง่ รู ้อริ ยสัจ คือ เมื่อวางใจเป็ นกลางต่อสังขารทั้งหลาย และญาณมุ่งสู่ นิพพานแล้ว ญาณ
ก็จะส่ งผลต่อ การตรัสรู ้ อริ ยสัจ ย่อมเกิ ดขึ้ นในลาดับต่อไป เป็ นขั้นสุ ดท้ายของวิปัสสนาญาณ
ต่อจากนั้น ก็จะทาให้สาเร็ จเป็ นอริ ยบุคคลต่อไป
พระอรหันต์ท้ งั 4 ประเภท
1. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยวิปัสสนาล้วน
2. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยวิชชา 3
3. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยอภิญญา 6
4. พระอรหันต์ ผูถ้ ึงพร้อมด้วยปฏิสัมภิทา 4
หนังสื อวิชาอภิญญาฤทธิ์ นี้ ผูเ้ ขียนเน้นสายอภิญญา 6 และวิชชา 3 เป็ นการหลุดพ้น
ด้วยเจโตวิมุตติ ส่ วนสายวิปัสสนาล้วน และปฏิ สัมภิทา 4 เป็ นการหลุ ดพ้นด้วยปั ญญาวิมุตติ
จะอยู่ในหนังสื อวิชาปั ญญาญาณ ทั้งเจโตวิมุตติและปั ญญาวิมุตติ พระอรหันต์ท้ งั 4 ประเภท
และรวมวิชาปฏิบตั ิเพื่อการบรรลุธรรม จะอยูใ่ นหนังสื อวิชาทาลายอาสวะกิเลส
ผูเ้ จริ ญ สมาธิ ภาวนาสามารถเลื อกปฏิ บ ัติธ รรม ได้ต ามความเหมาะสมกับ จริ ตของตน
และวาสนาบุญบารมีธรรมที่ตนเองได้สร้างมา

สมาธุเปกขาญาณ คือ การทาสมาธิให้ จิตสงบ โดยมีสติเป็ นที่ต้งั


ไม่ ฟุ้งซ่ านไปในอารมณ์ ต่างๆ ปล่ อยวางจากทิฏฐิ การยึดมั่นทั้งปวง
แล้ ววิปัสสนาญาณก็จะเกิดขึน้ โดยลาดับ
134
บทส่ งท้ ายผู้เขียน
ข้าพเจ้าขออัญเชิ ญพระธาตุ พระธรรม พระสู ตร และพระวินัย มาเรี ยบร้อยเรี ยงเป็ น
พุทธธรรมนาชีวติ คน
หนังสื ออภิญญาฤทธิ์ หรื อวิชาสมาธิ ภาคพิสดาร เล่ม 2 นี้ ผูเ้ ขียนไม่ได้เอาแต่วิชาฌานและ
ญาณอย่างเดียว ได้เอาวิชาทั้งหมดของพระโมคคัลลานะ (อิทธิ ฤทธิ์ ) พระสารี บุตร (ปัญญาญาณ)
รวมทั้งวิชาทั้งหมดของ พระอสี ติมหาสาวกทั้งหมดที่ผเู ้ ขียนมีอยูโ่ ดยไม่ปิดบังอาพราง เช่น วิชา
พระอนุรุทธ (ตาทิพย์) พระสาคตะ (เตโชกสิ ณ) พระมหากัจจายนะ (แสดงธรรม) พระสี วลี
(โชคลาภมาก) พระจูฬปั นถกะ (ฤทธิ์ ทางใจ) พระอุบาลี (ทรงคุณวินัย) พระโสณกุฎิกณ ั ณะ
(วาจาไพเราะอ่อนหวาน) พระปิ ลินทวัจฉะ (เป็ นที่รักของเทวดา) เป็ นต้น ฯลฯ
รวมทั้งพลังโพธิ พนั ญาณหรื อพลังโพธิ ญาณวิชาของพระโพธิ สัตว์ดว้ ย
วิชาในพระไตรปิ ฎกนั้น สอนแต่นิทานแต่ยากยิง่ ที่สอนวิชาสมาธิ ช้ นั สู ง ของพระอรหันต์
รวมทั้งการฝึ กที่ถูกต้อง
วิชาทั้งหมดนี้ ผูเ้ ขียนได้เลือกเอาเฉพาะวิชาบางอย่างของพระอรหันต์ เฉพาะที่สาคัญ มี
ประโยชน์ ผูอ้ ่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมวิชาทั้งหมดในส่ วนของอภิญญาได้ดว้ ยตนเอง
ในการแผ่เผยพระพุทธศาสนานั้น จะใช้ธรรมะสอนธรรมดาอย่างเดี ยวไม่ได้ หากอยู่ที่
สอนให้ ต รงจริ ต และบารมี ธ รรมของผูน้ ้ ัน จึ ง จะส าเร็ จ สมาธิ และเข้า ถึ ง ธรรมชั้น สู งได้ และ
จาเป็ นต้องใช้อภิญญาฤทธิ์ ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อขจัดหมู่มาร และยังชนที่ไม่เลื่ อมใส
ให้สัทธาเลื่อมใสด้วยปาฏิหาริ ย ์ ที่เลื่อมใสแล้วให้สัทธามากขึ้น ให้สัทธาด้วยปั ญญาหากใช่งมงาย
ใช้อภินิหารเท่าที่จาเป็ น ใช่แสดงเกินความจาเป็ น
ผูเ้ ขียนอยากให้แสดงธรรมเป็ นอัศจรรย์มากกว่าอย่างอื่น เพราะเป็ นสิ่ งเดียวที่จะให้คาสอน
ของพระผู้มี พ ระภาคเจ้า และพระศาสนาอยู่ ไ ด้ ผู ้เขี ย นจึ ง ได้ ร วมทั้ง ความฉลาดในอภิ ห าร
การใช้ปัญญาญาณนาอิทธิ ฤทธิ์ รวมทั้งวิชาทั้งหมดของ พระอสี ติมหาสาวกทั้งหมดที่ผเู ้ ขียนมีอยู่
โดยไม่ปิดบังอาพราง
ขออนุ โ มทนาบุ ญ ส าหรั บ ผู ้อ่ า นทุ ก ท่ า นที่ ไ ด้ ศึ ก ษาและปฏิ บ ั ติ ธ รรม และน าเอา
วิชาอภิญญาฤทธิ์ เล่มนี้ เผยแผ่เพื่อเจริ ญรอยตาม พระอรหันต์สายอภิญญา เพื่อดารงคาสอนของ
พระพุทธศาสนาสื บต่อไป
เพื่อไม่ให้วชิ าทั้งหมดหายสาบสู ญไปจากพระพุทธศาสนา
เป็ นการยากยิ่ง ที่ ผูอ้ ่ า นจะฝึ กวิช าของพระอรหั น ต์ ระดับ พระอสี ติ ม หาสาวกทั้ง หมด
หากไม่มีบ ารมี ทางธรรม แต่ถ้ายากเกิ นไปก็ไม่มีใครสาเร็ จกันและมี เกจิ อาจารย์ให้เห็ น ถ้าง่าย
เกิ น ไปคนก็ บ รรลุ เป็ นพระอรหั น ต์ก ัน หมดแล้ว บางครั้ งทุ ก อย่า งอาจเป็ นเรื่ อ งของอจิ น ไตย
การคิดมากเรื่ องอจินไตยวิสัยของผูท้ ี่ได้อานาจฌาน ก็จะทาให้ผคู ้ ิดนั้นปวดหัว
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิติฯ เป็ นสิ่ งทีร่ ้ ู และศึกษาปฏิบัติย่อมรู้ ได้ จาเพาะตน ดังนี้
135
สุ ดท้ายนี้ ผูอ้ ่านไม่ควรสงสัยในตัวผูเ้ ขียนว่าเป็ นใครทาไมถึ งรู ้ วิชาสุ ดยอดอภิญญาต่างๆ
ต้องมากมาย แต่ควรทาสมาธิ ให้สาเร็ จสุ ดยอดอภิญญาแต่ละอย่างจะดีกว่า เรื่ องบางเรื่ องมันเป็ น
อจินไตยยากยิ่งจะอธิ บายให้คนธรรมดานั้นเข้าใจ ถ้าหากใครได้มีบารมีมาฝึ กวิชาอย่างเดี ยวกับ
ข้าพเจ้า ก็จะรู ้ ในเรื่ องของอานาจสมาธิ หายสงสัยลังเลเอง อธิ บายให้เข้าใจง่าย ผูส้ าเร็ จไม่เกิ ด
ความสงสัย มีแต่คนไม่สาเร็ จเท่านั้นจึงเกิดความสงสัย และถามครู อาจารย์ซ้ าไปซ้ ามาเป็ นสิ บครั้ง
ร้อยครั้งว่าตัวเองจะฝึ กเช่นใดฝึ กอย่างไร ตัวเองจะทาได้หรื อไม่ จะสาเร็ จหรื อไม่ คนเราจะสาเร็ จ
หรื อไม่สาเร็ จ อยูท่ ี่การลงมือกระทาลงไป ไม่ใช่ลงั เลสงสัยแล้วมัวแต่ถาม ไม่ปฏิบตั ิแล้วอย่างนี้
เมื่อไรจะสาเร็ จ สมาธิ ไม่ใช่สิ่งที่ยากเกินไป ถ้ายากเกินไป ก็ไม่มีใครทาได้และเกจิครู อาจารย์ก็คง
ไม่สาเร็ จกัน แต่มีตวั อย่าง เกจิครู บาอาจารย์ที่สาเร็ จให้เห็นต้องเยอะแยะ แต่ถา้ คนเขาสาเร็ จกัน
ไปหมด สมาธิ ก็ง่ายเกินไป เป็ นสิ่ งที่เป็ นไปไม่ได้ สมาธิ ไม่ใช่เรื่ องยากและเรื่ องง่าย ถ้ายากคน
เขาก็ทาไม่ได้ ถ้าง่ายปานนี้ คนก็สาเร็ จกันไปหมด ก็ยงั มีตวั อย่างให้เห็ นง่ายๆว่า บางคนยังนั่ง
สมาธิ ไม่ได้ นัง่ ที่ไรใจออกไปคิดเรื่ องนั้นทีหนึ่ งเรื่ องนี้ ทีหนึ่ง ใจยังหยุดคิดไม่ได้ แล้วอย่างนี้ จะ
ไม่ให้ฟุ้งซ่ านไปได้อย่างไร การนัง่ สมาธิ ได้ไม่ได้ไม่ใช่สิ่งสาคัญ แต่นงั่ อย่างไรให้ใจสงบนั้นเป็ น
สิ่ งสาคัญกว่า มิใช่หรื อ เพียงใจหยุดคิด จิตก็เป็ นสมาธิ

สมาธิน้ันเป็ นอจินไตย ผู้ปฏิบัติต้องเข้ าถึงเอง

เขียนโดย
นายตะวัน เพ่งพิศ
หมายเหตุ : ให้ธรรมะความรู้เป็ นการสร้ างบารมี ไม่สงวนลิขสิ ทธิ์ ทางกฎหมาย ธรรมะ
เป็ นของพระพุทธเจ้า เป็ นคาสัง่ สอนสากล มิบงั อาจจดลิขสิ ทธิ์ ทางปั ญญาเป็ นของตัวเอง
หากผูใ้ ดได้ฝึกวิชาที่ขา้ พเจ้าเขียนและเรี ยบเรี ยงนี้ ขอให้เจริ ญในธรรมยิง่ ๆขึ้นไป สาธุ
ข้ อควรระวัง ใครผู้ใดได้ เรียนวิชานีแ้ ล้ว (ไม่ เคารพในพระพุทธเจ้ า พระธรรม
พระสงฆ์ บิดามารดา ครู อาจารย์ “เอาวิชาของสู งไปใช้ ในทางทีผ่ ดิ ” ) ระวังฟ้ าดินจะ
ลงโทษ นรกสวรรค์ มตี า ใครทาชั่วหรือดี ท่ านก็คงจะเห็น
136
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
1 นายตะวัน เพ่งพิศ 1,000
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
2 น.ส.ชนิกา บัวลา 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
3 คุณปราณี ชาญสวัสดิ์ 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
4 นายอัศม์วฒ ุ ิ ฐิติโชติโสภณ และน.ส.ภัสส์ณิชา แข็งขัน 1,000
5 คุณจิรัตติ สวัสนาที คุณเฉลิมพล พังจุนนั ท์ และครอบครัว 500
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้ญาติพี่นอ้ งทุกภพทุกชาติ
6 ครอบครัว นายพุฒิพฒั ดิ์ ภูวบวรสวัสดิ์ จ.ขอนแก่น 200
7 คุณนิภาพร หัชชปราณี 100
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
8 คุณณัทชาภา พลบูรณ์ 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
9 นายณัฐวัฒน์ เฮงสุ วรรณ 100
10 คุณสุ กญั ญา โภควนิช และครอบครัว 500
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
11 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 300
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
เทวดา บิดา มารดา บรรพบุรุษของข้าพเจ้าทั้งหลาย
ครู บาอาจารย์ที่ช่วยเหลืออุดหนุนข้าพเจ้า
12 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 200
13 คุณกัญญาณี ลีชนะวานิชพันธ์ 300
บิดา มารดา และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับ
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร
14 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,190
อุทิศให้กบั ทุกคนทัว่ โลกธาตุ 31 ภพภูมิ
137
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
15 ครอบครัวลัคนาวิวฒั น์ 199
อุทิศให้ญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
16 คุณจีระวัฒก์ ศรี วฒั นะชัย 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทุกดวงจิต
17 น.ส.วริ นทร จิตไทย พร้อมครอบครัว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร ครู บาอาจารย์และพ่อแม่และคู่ครอง
18 นางสาวชฎาพร วงศ์จิโน พร้อมครอบครัว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร พ่อแม่และครู บาอาจารย์
19 นางสาวปาริ ชาติ สุ ทธิโก พร้อมครอบครัว 50
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
พ่อแม่ ญาติกา สัตว์ท้ งั หลายที่เป็ นเพื่อนทุกข์
20 นางสาวธัญญพันธ์ พันธุ์สี่แก้ว พร้อมครอบครัว 50
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร พ่อแม่และครู บาอาจารย์
21 น.ส.จามรี ศรี วเิ ชียร 50
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
22 คุณสุ ชาวดี คงคาหลวง 100
อุทิศให้บิดา มารดา ครู บาอาจารย์
และเจ้ากรรมนายเวรทั้งหมด ทั้งมวล
23 คุณนพนาฎ หล้าเตจา พร้อมครอบครัว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
24 คุณมงคล สติมานนท์ 1,000
25 คุณอรวรรณ ทวีสุวรรณ ด.ญ.วริ ษฐา ทวีสุวรรณ 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
26 คุณบุสดี – คริ ช โน๋ เตอร์ 200
อุทิศให้กบั เทวดาที่คุม้ ครอง
27 คุณพ่อพิง สี กะชา 150
28 คุณแม่ไล ราษี 150
29 คุณเสาภาคย์ ศรี พลาย 400
138
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
30 คุณอรพรรณ สอนมัน่ 100
31 คุณกัญญวรา ไกรสิ งห์ และครอบครัว 100
32 คุณกันต์กมล ได้ดี และครอบครัว 100
33 นายบัณฑิต รงควิลิต และครอบครัว 500
34 คุณคนิษฐา ลาดกระโทก 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติที่ล่วงลับไปแล้ว
35 คุณทิพจุฑา โทบุราณ และครอบครัว 200
อุทิศให้ญาติที่ล่วงลับทุกภพชาติ
36 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 32
37 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 20
38 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 200
39 นางผารัตน์ ค๊าสตารี , นางสาวอรนุช สว่าง 200
อุทิศบุญให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ครู อาจารย์ เทวดาประจาตัว
และเจ้ากรรมนายเวร
40 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 30
41 คุณยศฐนันต์ ทิพย์วงศ์ 200
บิดามารดา ญาติกา
และเจ้ากรรมนายเวร ตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั
42 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 200
43 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
44 คุณณัษฐพงษ์ ฉลาดมาก 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
45 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 30
46 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 20
47 นายพงษ์พิพฒั น์ ใหม่วงศ์ 200
อุทิศให้นางอารยา ใหม่วงศ์
48 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 30
49 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
139
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
50 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
51 คุณแม่นุภารักษ์ บุญขา 200
อุทิศให้แด่เทวดาที่ปกปั กรักษา
เจ้ากรรมนายเวรและเจ้าเกณฑ์ชะตา มารดา บิดา
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ให้มีความสุ ขถ้วนหน้ากันเทอญ
52 ว่าที่ร้อยตรี วรกัลยา บุญขา 100
อุทิศให้แด่เทวดาที่ปกปั กรักษา
เจ้ากรรมนายเวรและเจ้าเกณฑ์ชะตา มารดา บิดา
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ให้มีความสุ ขถ้วนหน้ากันเทอญ
53 คุณแม่เทวา รัตนะ 100
อุทิศให้แด่เทวดาที่ปกปั กรักษา
เจ้ากรรมนายเวรและเจ้าเกณฑ์ชะตา มารดา บิดา
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ให้มีความสุ ขถ้วนหน้ากันเทอญ
54 น.ส.เสาวลักษณ์ ระเบียบ 100
อุทิศให้แด่เทวดาที่ปกปั กรักษา
เจ้ากรรมนายเวรและเจ้าเกณฑ์ชะตา มารดา บิดา
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ให้มีความสุ ขถ้วนหน้ากันเทอญ
55 นายรัฐกานต์ วิปัสสา 100
อุทิศให้แด่เทวดาที่ปกปั กรักษา
เจ้ากรรมนายเวรและเจ้าเกณฑ์ชะตา มารดา บิดา
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ให้มีความสุ ขถ้วนหน้ากันเทอญ
56 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 12
57 คุณวีระศักดิ์ – คุณวีรยา เส้งศักดิ์ และครอบครัว 1,000
อุทิศส่ วนกุศลนี้แด่ เทวดารักษาตัว และเจ้ากรรมนายเวร
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย
58 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 20
59 น.ส.ชญาดา ผ่องกลาง 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
140
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
60 คุณศราดา สื บซุย (sarada mccrea) 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
61 คุณมะยุรี สวยงาม 1,000
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
62 คุณสรสิ ช ผิวนวล และครอบครัว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหมดของครอบครัว
63 คุณสุ พิชฌาย์ หมีวเิ ชียร 200
อุทิศให้บิดา มารดา ครู อาจารย์
ผูล้ ่วงลับไปแล้วและมีชีวติ อยู่
64 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 10
65 คุณอ่อนตา ศรี บาลแจ่ม พร้อมด้วยลูกค้า Slim Plus ทุกท่าน 500
ขอผลบุญนี้ จงเกิดแก่ลูกค้า Slim Plus ทุกท่าน
ขอผลบุญนี้ นามาซึ่ งความเพียร ความมีสติ มีสมาธิ
มีปัญญา มีดวงตาเห็นธรรม
นาพาสู่ มรรค ผล นิพพาน ในอนาคตกาล
อันใกล้น้ ี แก่ทุกท่านทุกคน เทอญ.
66 คุณสุ ณี ศรี บุญเรื อง และครอบครัว 109
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้คุณพ่อผ่อง ศรี บุญเรื อง
พี่วรี ะ ศรี บุญเรื อง หลวงน้าสนัน่ แก้วราวี
67 นางจิราภา ก้อฝั้น 200
อุทิศให้บิดาที่ล่วงลับไปแล้ว
68 นางกัลยา สุ นิลหงษ์ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
69 คุณวษิฐิวริ ะ รี ราวิภคั ภาษิฏา และคุณนัฐญนัน ธันดรัฐบันพนัน 500
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
70 คุณเพ็ญพรรณ ก๊อตสชาล์ค 400
71 คุณรัชนี ผุดผ่อง คุณ Mr.kevin Hibbins 200
141
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
72 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้ทุกท่านในสามแดนโลกธาตุที่มีสัมมาทิฏฐิ
แก่เจ้ากรรมนายเวร , บิดามารดา , ครู บาอาจารย์ และญาติกา
จากทุกภพทุกชาติ รวมทั้งสรรพสัตว์และมนุษย์ท้ งั หลาย
ที่ยงั เวียนว่ายตายเกิด
73 คุณณัฐชุดา นิลผาย พร้อมครอบครัว 200
อุทิศให้บรรพบุรุษ เจ้ากรรมนายเวร สัมภเวสี
74 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
75 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
76 คุณณกรณ์ บุญฤทธิ์ 100
77 นางกนิษฐา แสนสี สุข และครอบครัว 200
ขออุทิศให้บิดา มารดา เทวดา เจ้ากรรมนายเวร สัตว์ท้ งั หลาย
78 น.ส.ณัฐวดี มณี วรรณ 100
79 น.ส.อมรรัตน์ มณี วรรณ 200
80 คุณกัญญาภัค อริ ยเสริ มบุญ 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
81 คุณเล้า และคุณณัชชา บุญถาวรวัฒน พร้อมครอบครัว 200
อุทิศให้คุณพ่อเอี่ยมบุน้ แซ่เฮ้ง
เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
82 คุณสุ รภา บุญถาวรวัฒน และเพื่อนๆ 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
83 นางสาวธันยพร แสงแจ้น 300
นางสาววรรณวิมล สุ ทธิ กิจจานนท์
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
84 นางมาลัยพร จินตชิน 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
85 คุณปฐมชัย เลาหะวรนันท์ และครอบครัว 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
142
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
86 น.ส.ดารารัตน์ จันทะบุรมณ์ 200
87 คุณฤทัยพร ศรี ดาวงษ์ และครอบครัว 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
88 ครอบครัว นริ ศรา กลิ่นศรี สุข 200
ขอน้อมถวายแด่พระพุทธเจ้า
เพื่อเป็ นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
89 คุณชลธิ ชา ไชยมงคล คุณวีระพงษ จันทร์ ช่วยนา 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
90 คุณพรชัย อ้นเก้ 500
91 คุณสรศักดิ์ กาญธัญกร 100
92 คุณกัลยกร บารุ งรส และครอบครัว 300
อุทิศให้คุณพ่อ ไพบูลย์ บารุ งรส
93 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
94 คุณนริ นทรา เสฐโฐวัฒนพันธ์ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
95 คุณปภาวริ นทร์ จันทร์เพ็ง 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และบุตรที่ล่วงลับไปแล้ว
96 น.ส.สาวิตรี ภูพวก ด.ญ.ณัฐชานันท์ ภูพวก 200
อุทิศแด่เจ้ากรรมนายเวร
คุณพ่อหนูเทียม สี ทา คุณแม่สุบิน สี ทา คุณวิเชียน สี ทา
97 คุณศิวพร กรอบทอง 100
98 คุณศรันย์ธร พรจันทร์ทอง 200
99 คุณแทนใท พรจันทร์ทอง 200
100 คุณมยุรี จันทรคร 100
101 คุณณัฐนันท์ วรพิริยานันท์ 100
102 คุณกานต์สุรีย ์ พุม่ เกตวงศ์ และครอบครัว 500
อุทิศให้พอ่ เหรี ยญ พุม่ เกต และเจ้ากรรมนายเวร
143
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
103 คุณพงศ์พฒั น์ ตังคะประเสริ ฐ 100
ขออุทิศให้ดวงจิตทุกดวงที่ผกู พันกันมา
ทั้งด้วยกุศลกรรมและอกุศลกรรม
104 คุณอาทิตยา เพิ่มสุ ข 1,000
105 น.ส.ขจรรัตน์ แก้วการ 1,000
106 นางสาวณัทณลัลน์ แก้วซุ ง 100
107 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
108 นางสาวประวีนรัตน์ นันกระโทก และครอบครัว 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
109 นายอุดม เส็งพานิช 300
นางนุวอร เส็งพานิช
น.ส.ภวยา เส็งพานิช
นายนิคม สวัสดิ์เมือง
ขออุทิศบุญกุศลให้แก่ นายพงศ์เทพ เส็ งพานิช
110 น.ส.หยาดทิพย์ กาเนิดยศหิ รัญ 100
111 คุณแม่เง็กซวง ศรี ชวั ชม และครอบครัว 200
คุณป้ าสมศรี ศรี ชวั ชม
อุทิศให้แก่ คุณพ่ออุดม ศรี ชวั ชม
คุณแม่น้ าเต้า นิลประสิ ทธิ์ และครอบครัว
อุทิศให้แก่นายม้วน นิลประสิ ทธิ์
คุณวิไลรัตน์ ศรี ชวั ชม
112 คุณกัญญา นระเอี่ยม 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
113 คุณวนิดา พรเจริ ญ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร ทั้งในอดีตชาติและปัจจุบนั
นายก้อน และนางบัวสี บิดา มารดา ที่ล่วงลับไปแล้ว
เทวดาประจาตัวข้าพเจ้า
144
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
114 นางสาวจิรารัตน์ อภิวงศ์ พร้อมครอบครัว 200
อุทิศให้สรรพสัตว์ท้ งั หลายจงพ้นทุกข์
115 คุณษรฉัตร สี หนู 1,000
116 คุณวรรณภา สุ ขมี 300
อุทิศให้บุพการี และเจ้ากรรมนายเวร
117 ด.ญ.ไอยรดา นิ่มลพ 200
อุทิศให้บุพการี และเจ้ากรรมนายเวร
118 คุณศริ พร บุญธรรม 300
อุทิศให้บุพการี และเจ้ากรรมนายเวร
119 คุณสุ รีพร พงษ์สุวรรณ์ 200
อุทิศให้บุพการี และเจ้ากรรมนายเวร
120 น.ส.วาริ นทร์ ปราโมทย์ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติที่ล่วงลับไปแล้ว
121 น.ส.ชุลีพร ทองยิม้ 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติที่ล่วงลับไปแล้ว
122 กองบุญนิพพานสมบัติ 100
123 คุณวิลาวรรณ เขียววรรณ 300
คุณตรี ภพ สิ นใจ
อุทิศให้บุพการี และเจ้ากรรมนายเวร
124 น.ส.สาธิตา ลัดลอย และครอบครัว 100
อุทิศให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ ท้ งั หลาย ในสากลโลก เจ้าที่เจ้าทาง
เจ้ากรรรมนายเวร เทวดาประจาตัว ผูอ้ าฆาต ผูจ้ องผลาญ
บรรพบุรุษ สัมภเวสี ผีไร้ญาติ สรรพสัตว์ทุกสิ่ ง
ที่บุญไม่สามารถเข้าถึง หรื ออยูใ่ นห้วงที่ทรมาน
ขอให้ทุกท่านที่กล่าวมา ได้โปรดอนุ โมทนาบุญให้เพิ่มเติม
เสริ มบารมี หลุดพ้นจากวัฏสงสารที่เป็ นอยู่
มีแต่สิ่งดีๆ เข้ามาในชีวิตข้าพเจ้าด้วยเทอญ สาธุ.
145
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
125 น.ส.ปนัดดา โมครัตน์ 200
ขออุทิศให้กบั นางทองเพียร สาวิกนั
น.ส.นาตยา โมครัตน์ และเจ้ากรรมนายเวรของข้าพเจ้า
126 คุณชินาภัฑร หนูอินทร์ และครอบครัว 500
เพื่อน้อมถวายเป็ นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
สาธุ สาธุ สาธุ นิพพานะ ปัจจะโย โหตุ
127 คุณสาริ สา มณี ฉาย 100
128 น.ส.สุ พรรษา ปิ ยธนสกุลชัย และครอบครัว 200
ถวายบุญ บรมครู ศรี คุรุเทวา และสิ่ งศักดิ์สิทธิ์ ทุกพระองค์
และอุทิศบุญแด่เจ้ากรรมนายเวรตั้งแต่อดีตถึงปั จจุบนั
ตลอดจนญาติที่มีชีวติ อยูห่ รื อล่วงลับไปแล้ว
129 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
130 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 50
131 คุณทองใบ สุ ภาพ 500
ด.ช.ศุภวิชญ์ ด.ญ.สุ พิชญา กองสมบูรณ์
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
132 คุณอัคระสิ ทธิ์ ชูเลิศ 300
133 คุณอุทยั วรรณ นิยมสัตย์ 300
134 คุณพรเพ็ญประภา กัญญาเลิศ 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
135 คุณกฤตติญา บุญสุ โชติ 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
136 คุณบุญยัง กัญญาเลิศ 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
146
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
137 คุณสวาสดิ์ กัญญาเลิศ 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
138 คุณกัลยากร ฉิ มอ่อน 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
139 คุณทิพย์รัตน์ กุลที 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
140 คุณสุ วลักษณ์ บ่อชล 100
ให้ญาติผลู ้ ่วงลับทุกท่าน
และเจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติมีส่วนได้ในกุศลผลบุญนี้
141 นางสาวณัฐพร เรณะสุ ระ 100
อุทิศส่ วนบุญให้แก่พอ่ แม่ ครู อาจารย์
ผูม้ ีพระคุณ และเจ้ากรรมนายเวร
142 คุณดาริ นทร์ สรวงศารัตน์ 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และสรรพชีวติ
143 น.ส.สาวิณี เอี่ยมสอาด 200
144 น.ส.ธนภัทรศรณ์ ราวิชยั 200
บุญกุศลในครั้งนี้ ขออุทิศให้เทพเทวาทุกพระองค์
บิดา มารดา ครู บาอาจารย์ บรรพบุรุษทั้งหลาย
เจ้ากรรรมนายเวร เจ้าที่เจ้าทาง ณ.ที่ทางาน
และที่พกั พิงที่อาศัย ทุกๆผูท้ ุกๆนาม เทอญ
145 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 199
146 นางสาวภาณิ ชา คงรักษ์ และครอบครัว 300
147 คุณณัฐชมธร รอดเกิด และครอบครัว 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
147
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
148 คุณโกศนธิ์ กลิ่นนิ่ม พร้อมครอบครัว 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และตัวเอง
149 คุณไพรร้อย แก้วบุตรตา พร้อมครอบครัว 300
ขออุทิศให้บิดา มารดา ญาติผลู ้ ่วงลับไปแล้ว
และเจ้ากรรมนายเวร
150 นายณภัค กุลกีรติสุนทร 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
151 นางสาวญาณ์ณิศา พรหมวิศาสตร์ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
มารที่จะมาคอยขัดขวางการเป็ นครู สมาธิ
152 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
153 คุณนันทวัน หาญสมบูรณ์ 100
154 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
155 นายสุ นนั ท์ – นางประจา ทองห่อ 500
156 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
157 คุณจารุ วรรณ นิลทจันทร์ 200
158 คุณวริ ษฐา ชินรังสิ กุล และครอบครัว 50
159 นายสมศักดิ์ – นางสุ ภาพร พิมพ์ลี และครอบครัว 150
160 น.ส.รุ่ งนภา พิมพ์ลี 100
161 น.ส.ขนษฐา สหธนานนท์ 100
162 ด.ช.กอบศักดิ์ หนูผาสุ ข 50
163 ด.ช.ไชยวัฒน์ แสดงจิตร 50
164 ด.ญ.ณัฐณิ ชา ศรี ทองใบ 50
165 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 50
166 นายชยุต นุตาลัย 100
อุทิศเจ้ากรรมนายเวรของชยุต
167 คุณรภัสสา พิภูธนัตถ์ 200
อุทิศบุญให้กบั เทวดาประจาตัว
148
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
168 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 800
169 คุณสุ พิชา ทัพพเมธา 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
170 คุณรวีวรรณ อยูแ่ จ้ง 300
อุทิศให้พอ่ แม่ ครู อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร
171 นายวิวรรธน์ – นางปวันรัตน์ จีระโรจน์ทวี 1,000
172 คุณฤทัยรัตน์ ฉัตรพาณิ ชย์สกุล และครอบครัว 500
173 นายชาตรี พระทัศน์ 140
174 คุณวิไลวรรณ สาสารี 200
175 น.ส.อุทุมพร เทพพิทกั ษ์ และครอบครัว 500
ขออุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
176 คุณหนึ่งฤทัย ภู่แส 200
อุทิศให้พอ่ ทอง ภู่แส แม่เหนียม ภู่แส
177 คุณวรรณา อังรัตนันท์ 200
178 คุณปภาวริ นทร์ จันทร์เพ็ง 200
ขออุทิศให้นางประไพร คุม้ แสง และเจ้ากรรมนายเวร
179 นางบัวล้อม ชัยสิ ทธิ์ 300
180 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้หมดทุกภพภูมิ
181 ครอบครัวจันทร์ แสง 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้หมดทุกภพภูมิ และเจ้ากรรมนายเวร
182 คุณพร้อมพงศ์ พรมุกดามณี และคุณลีลี่ เชี่ยววิสามัญ 1,000
ขออุทิศส่ วนบุญส่ วนกุศลให้แก่ญาติผลู ้ ่วงลับ
และเจ้ากรรมนายเวร
183 คุณนภาวรรณ สุ ปานันท์ และครอบครัว 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
184 นางสาวณัฐชยา ศรี สนัน่ 500
149
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
185 คุณอนุสรา พัฒโน และราเมศ รัตนอรุ ณ และครอบครัว 500
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้พอ่ แม่ พี่นอ้ ง ปู่ ย่า ตายาย
ญาติผลู ้ ่วงลับ และเจ้ากรรมนายเวร
186 คุณกนกอร ขุนทอง 20
อุทิศให้บรรพบุรุษตั้งแต่อดีตจนปั จจุบนั บริ วาร
และเจ้ากรรมนายเวรทั้งของข้าพเจ้า
และบิดา มารดา น้องสาวข้าพเจ้า
187 คุณกัลปพฤกษ์ สมชุปการ 200
อุทิศให้บิดามารดา ครู บาอาจารย์ทุกสายญาณบารมี
ญาติท้ งั หลายที่ล่วงลับ เทพเทวดาที่รักษา
เจ้ากรรมนายเวร และสรรพสัตว์ท้ งั หลาย
188 คุณสมเดช ศรี วลิ าศ คุณปิ ยนันท์ โตรด 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
189 พ่อบุญมา ห้วยลาโกน แม่เภา ห้วยลาโกน 200
อุทิศให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องเกี่ยวพันทั้งหมด
ตั้งแต่อดีตจนถึงปั จจุบนั และเทวดาที่รักษาตัวข้าพเจ้า
190 คุณณัฐภัทร นาคจีนวงศ์ 400
อุทิศให้คุณพ่อมนัส นาคจีนวงศ์
คุณแม่ทองเย็น นาคจีนวงษ์ และเจ้ากรรมนายเวร
191 คุณสะพานบุญ สู่ แสงธรรม 111
192 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 20
193 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
194 คุณฉัตรชนก สุ ยะใหญ่ 360
อุทิศแด่ ดวงวิญญาณ คุณพ่อหลวง สุ ยะใหญ่
และเจ้าบุญนายคุณ เจ้ากรรมนายเวร ของนางนงนุช จันธิดุก
195 นายอธิวฒั น์ ขาวสวี 300
196 นางสาวจิตต์สมิตา สิ รนนท์สกุล 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และญาติพี่นอ้ ง
150
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
197 คุณจิราภร คเนาฟ์ และครอบครัว 2,000
ขออุทิศให้พ่อน้อย เมืองรมย์
198 น.ส.อิงพร อภิชยั อาจศิลป์ 900
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
199 คุณศักดิ์ วีระนันทาเวทย์ 400
อุทิศให้ญาติพี่นอ้ ง และเจ้ากรรมนายเวร
200 น.ส.ณิ ชนันท์ แสงว่าง 100
อุทิศให้บุตรชื่อบอลลูน และเจ้ากรรมนายเวร
201 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
202 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
203 นายโกษม เนตรวิวฒั น์ นางสาวชัญญานุช ปานเอี่ยม 300
204 คุณอารี ย ์ เลิศศักดิ์ชยั 500
อุทิศบุญกุศลนี้ ให้พี่นาตยา พูนวัฒนะพิสุทธิ์
205 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 10
206 คุณภคมน เจียมตน และครอบครัว 200
อุทิศให้ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว และเจ้ากรรมนายเวร
207 คุณเฉลียว นิ่มเนี นน 300
ขออุทิศบุญกุศลให้กบั เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย
208 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 1,000
209 นางสมปรารถนา พงษ์มณี 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง
210 นางเยาวลักษณ์ ธิติมาพงศ์ และครอบครัว 500
211 น.ส.โสรญา อ่อนวรรณะ และครอบครัว 200
อุทิศให้กบั เจ้ากรรมนายเวร เทวดาประจาตัว
และญาติที่ล่วงลับไปแล้ว
212 น.ส.เปมฐปัณฑ์ เปลี่ยนประยูร 1,000
151
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
213 คุณสุ กญั ญา วงศ์คา และคุณกรกฎ เสนาทัย 300
อุทิศให้คุณพ่อสมพงษ์ และคุณแม่ยพุ า วงศ์คา
พร้อมด้วยเจ้ากรรมนายเวร
214 คุณศรัณย์กร เรื องธนาสถิตย์ 100
อุทิศให้เทวดาประจาตัว
215 คุณบุญหลง คงวิเชียร 200
อุทิศให้เทวดาประจาตัว
216 คุณจันทิรา สมแสวง 200
217 คุณแฝด สมแสวง 100
218 คุณจร สมแสวง 100
219 คุณบดินทร์ ศรี พิจารณ์ 100
220 คุณจีรนันท์ ซื่อสัตย์ 100
221 คุณธัญณาริ นทร์ วรัตน์วรากุล 100
222 คุณกัลยกร บารุ งรส 400
223 คุณพัณณ์ชิตา พงษ์กุลอนันต์ คุณนันธิ วรรธน์ กันทะวงศ์ 400
224 คุณเจนจิรา หนูเมือง 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
225 คุณปั ญญา แจ่มแจ้ง 1,000
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
226 คุณน้อย ตรี สุทธาชีพ
อุทิศให้เทวดาประจาตัว และเจ้ากรรมนายเวร 500
227 คุณกฤษดา – คุณเนตรชนก น้อยเจริ ญ และครอบครัว 1,000
อุทิศให้สิ่งศักดิสิทธิ์ ที่ดูแลครอบครัว
228 นางอุไรทิพย์ พฤกษ์ไพบูลย์ 1,000
229 คุณขุติตญาฐ์ แซ่จึง และครอบครัว 100
อุทิศให้คุณพ่ออิ๋ว แซ่จึง และเจ้ากรรมนายเวร
230 นางสาวกาญจนา สารผล 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
152
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
231 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 300
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้ยาย ให้ลูก และเจ้ากรรมนายเวร
232 คุณฐิตาภา คาแดงไสย 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
233 คุณมณี จนั ทร์ ศรี ทะนารัตน์ 500
คุณธนพล ธนจิตไพบูลย์ และครอบครัว
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
234 ครอบครัวบุญธรรม 1,000
อุทิศให้ครอบครัวบุญธรรม สุ ขสุ กธิ ที่ล่วงลับไปแล้ว
235 คุณกันยา พงธนู เบ็คเค็ทท์ 2,000
คุณเจมส์ เอียน เบ็คเค็ทท์
ด.ญ.สุ นิสา โจแอน เบ็คเค็ทท์
ด.ช.โรเบิร์ต เจมส์ ทอร์เวลล์
ขอถวายเป็ นพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา
พระปัจเจกพระพุทธเจ้าทุกๆพระองค์ บูชาคุณครู บาอาจารย์
บิดามารดา และผูม้ ีพระคุณ
อุทิศส่ วนกุศลให้ น้องแดง พงธนู , ด.ญ.ไพรวัลย์ พงธนู ,
น.ส.สาวิตรี พงธนู
เจ้ากรรมนายเวร โอปปาติกะ สัมภเวสี ท้ งั หลาย
236 คุณวรรณิ กา สมิท และครอบครัว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
237 คุณวันวิภา ฮ่อบุตร และครอบครัว 500
ขออุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร เจ้าที่เจ้าทาง สัมภเวสี
ของบ้านไทยสุ รินทร์ ฮิลล์ บ้านไทยลายัน บ้านสี น้ า
238 นางสาวทองเลื่อน แสนใจ และครอบครัว 1,000
อุทิศกุศลให้ตาชู และยายดวน เศษสุ วรรณ์
นางทองดา แสนใจ นายสมพงษ์ เกษแสนวงศ์
และเจ้ากรรมนายเวร
153
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
239 คุณสัมฤทธิ์ ทอร์ ดีนี และครอบครัว 300
อุทิศบุญให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาทั้งหลาย
240 ครอบครัวไกรเลิศอิสรากุล 1,000
241 คุณวณิ รัชติ์ ขันติ และเด็กหญิงประทุมา ขันติ 200
242 คุณแม่หวด แก้วพรมราช พร้อมครอบครัว 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
243 นายเจียม สอนนอก พร้อมครอบครัว 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
244 นายเสกสรร ขันธวัช พร้อมครอบครัว 1,000
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
245 คุณบุญาภา เดชานพมณี 500
อุทิศให้เทวดาประจาตัว และเจ้ากรรมนายเวร
246 นายอรรถพล มลิเครื อ และครอบครัว 300
247 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 300
248 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 50
249 คุณกุหลาบ บุญศรี 50
อุทิศกุศลให้ปู่ย่า ตายาย และเจ้ากรรมนายเวร
250 น.ส.ทองใส อุดทุม 1,000
อุทิศบุญให้เจ้ากรรมนายเวร
251 คุณชนิจนันท์ บกแก้ว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
252 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 400
ขอน้อมถวายเป็ นพระราชกุศลแด่พอ่ หลวง
ให้หายจากอาการพระประชวรโดยเร็ วด้วย เทอญ สาธุ
253 กองบุญไตรรัตน 100
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้ทุกดวงจิต
254 คุณภัทราภรณ์ วาดงาม 150
อุทิศให้นอ้ งสายน้ า วาดงาม และเจ้ากรรมนายเวร
154
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
255 นางศรี นวล ปิ งขอด 500
ขออุทิศบุญกุศลครั้งนี้ให้กบั นายสุ ภาพ ปิ งขอด
และนางนาตยา ไชยชูโชติ
256 นายฤทธิเดช ศรี ทิน 49
นางสาวอภิญญา โพธิ์ ทรัพย์ พร้อมครอบครัว
อุทิศให้คุณแม่บวั ลา ศรี หะมงคง และเจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย
257 น.ส.กินรี แก้วกิตติวฒั น์ 500
ขออุทิศบุญให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ญาติผลู ้ ่วงลับ
กุมารี กุมารทอง ทุกตนที่ขา้ พเจ้าเลี้ยง
258 นางสาวจันทรัตน์ ชนมงคล 100
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้เทวดาประจาตัว และเจ้ากรรมนายเวร
259 คุณจอมกัญญา บุญแทรก 200
ขออุทิศให้แก่เจ้าหนี้ท้ งั หลาย
260 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้คุณยาย จานรรจ์ เชิดสติ
261 นายศักศริ ญจ์ ทิพย์พรมมา 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้กบั เจ้ากรรมนายเวร
262 นายเทวเดช ห้วยหงษ์ทอง 200
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้กบั เจ้ากรรมนายเวร
263 นายจันทร์ – นางวาน พงธนู และครอบครัว 300
อุทิศกุศลให้กบั นายดิ่ง – นางนนท์ พงธนู ,
นางสาวสาวิตรี พงธนู , นายปอ – นางงา มะลิงาม ,
นายนัด บุญครัน , ด.ญ.ไพรวัลย์ พงธนู
และเจ้ากรรมนายเวร
264 คุณนิมิต บุญเชิด 100
ขอกุศลที่ได้กระทา จงเป็ นพลวปัจจัยให้ถึงซึ่งพระโพธิญาณ
ในอนาคตกาลเบื้องหน้า
155
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
265 คุณวนิดา พรเจริ ญ 200
ขออุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย ในอดีตชาติและปั จจุบนั
เทวดาประจาตัวข้าพเจ้า บิดา มารดาที่ล่วงลับไปแล้ว
ของข้าพเจ้า ท้าวเวสสุ วรรณ พญามัจจุราช
266 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
267 MRS.WATAWEE SUKKHIEO 1,000
ขออุทิศบุญให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลาย
ในอดีตชาติ และปัจจุบนั เทวดาประจาตัวข้าพเจ้า
บิดาที่ล่วงลับไปแล้ว ของข้าพเจ้า ท้าวเวสสุ วรรณ
พญามัจจุราช ด้วยเทอญ สาธุ
268 คุณกันตพัฒน์ บริ บูรณ์พิทกั ษ์ 261
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
269 น.ส.อนัญญา ขันแก้ว 300
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร คุณแม่ กาลังป่ วย นางศรี ดา ขันแก้ว
270 คุณสิ ริพร เลาหะวรนันท์ (ร่ วมบุญเพิ่มเติมจากครั้งที่แล้ว) 230
อุทิศให้มารดา ประยงค์ แก้วสิ ทธิ์
271 นางแก้วใจ – น.ส.รุ จิรินทร์ ทับทิมไทย 769
อุทิศให้ จ.ส.อ. วีรศักดิ์ – นายวีรชัย ทับทิมไทย
272 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
273 คุณจิราภา ก้อฝั้น (ร่ วมบุญเพิ่มเติม) 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
ญาติพี่นอ้ งทุกภพทุกชาติ
สรรพสัตว์ท้ งั หลาย ที่ยงั เกิด และตายอยู่ ทัว่ ทั้งสามโลก
อันหาประมาณมิได้
274 คุณกุลพัชร – คุณจงดี – คุณณัฐฏ์ – คุณธนธัช ฌานชลิต 400
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
156
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
275 Lam mun Choi 300
276 Lam Chee theam 100
277 Lam Chee khuan 100
278 Lam Kai sin 100
279 Chua wei fu 100
280 Chua Yi qin 100
281 Lam Chee Seng 100
282 Lam Chee kin 100
283 คุณอาภากร แต่งแก้ว 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
284 น.ส.ทิพย์สุภา สุ ภาอิน 100
ขออุทิศให้ เจ้ากรรมนายเวรของนางมะลิวลั ย์ สุ ภาอิน
และเทพเทวดาประจาตัวข้าพเจ้า , ท่านท้าวเวสสุ วรรณ ,
ท่านมัจจุราช , พ่อประยูร สุ ภาอินและญาติ ด้วยเทอญ สาธุ
285 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร เทวดาประจาตัว
ญาติพี่นอ้ งทุกภพทุกชาติ
286 นายตะวัน เพ่งพิศ (บริ จาคเพิ่มเติม) 900
อุทิศให้มารดาที่ได้ล่วงลับไปแล้ว เทวดาประจาตัว
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทุกภพทุกชาติ
เจ้ากรรมนายเวรของคนอื่นที่ขา้ พเจ้าได้เคยช่วยเหลือ
ญาติพี่นอ้ งในชาติน้ ี และทุกภพทุกชาติ
เหล่าสรรพสัตว์ท้ งั หลาย ทัว่ ทั้งสามโลก อันหาประมาณมิได้
287 นางสาวธิภาภร พวงพี่ และครอบครัว 100
อุทิศให้เทวดาประจาตัว ญาติพี่นอ้ งที่ล่วงลับไปแล้ว
และอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวรทุกภพชาติ
288 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 50
157
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
289 คุณธนภัทรศรณ์ ราวิชยั (บริ จาคเพิ่มเติม) 200
บุญกุศลในครั้งนี้ขออุทิศให้เทพเทวาทุกพระองค์
บิดา มารดา ครู บาอาจารย์ บรรพบุรุษทั้งหลาย
เจ้ากรรรมนายเวร เจ้าที่เจ้าทาง ณ.ที่ทางาน
และที่พกั พิงที่อาศัย ทุกๆผูท้ ุกๆนาม เทอญ
290 พระสี หนาท โชติโก 100
อุทิศให้พอ่ ประสงค์ แม่ก่วง ทองยศ
291 นางสาวหนึ่งฤทัย ดาวเงิน 100
อุทิศให้เจ้ากรรรมนายเวร
292 คุณชมนภัส ทองห่ อ 500
อุทิศให้เจ้ากรรรมนายเวร
293 คุณสิ ริวมิ ล วงศ์ขจรทรัพย์ 1,000
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
294 คุณภัทรพล หนูวรรณะ 200
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
295 นายจันทร์ – นางวาน พงธนู และครอบครัว 500
อุทิศส่ วนกุศลให้ ด.ญ.ไพรวัลย์ – นางสาวิตรี พงธนู ,
นายนัด บุญครัน , เจ้ากรรมนายเวร , สัมภเวสี ,
โอปปาติกะทั้งหลาย
296 น.ส.สุ พิชชา คงได้ และครอบครัว 1,348
ขออุทิศบุญนี้แด่ ปู่ ย่าตายาย ญาติผลู ้ ่วงลับไปแล้ว
กับบุตรที่แท้งไปโดยไม่ต้ งั ใจ ให้ได้ไปสู่ ภพภูมิที่ดี
ที่สุขอยูแ่ ล้วให้สุขยิง่ ขึ้น ที่ทุกข์ก็ขอให้พน้ จากทุกข์
และอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร เทวดาประจาตัว
297 ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม 100
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
298 คุณปณิ ตา จีรภัชนาการ 286
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว
158
รายนามผู้บริจาคร่ วมบุญพิมพ์ หนังสื อธรรมะ
ลาดับที่ ชื่อ – นามสกุล จานวนเงิน
299 คุณฉัตรชนก สุ ยะใหญ่ (บริ จาคเพิ่มเติม) 300
อุทิศแด่ ดวงวิญญาณ คุณพ่อหลวง สุ ยะใหญ่
และเจ้าบุญนายคุณ เจ้ากรรมนายเวร ของนางนงนุช จันธิดุก
300 นางเพ็ญพรรณ ตั้งเลิศเมธา และครอบครัว 500
อุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร
สัมภเวสี รู ้นามก็ดีไม่รู้นามก็ดี ด้วยเทอญ
301 จท.สัมภาษณ์ ชัยบรรณ์ 1,000
อุทิศให้องค์พรหม เทพเทวาที่ดูแล พ่อแม่ ครู อาจารย์
เจ้ากรรมนายเวร เหล่าสรรพสัตว์ท้ งั หลาย
302 คุณเบญจวรรณ ปราชญ์พิริยะ 162
อุทิศส่ วนบุญกุศลให้กบั เจ้ากรรมนายเวร และเทวดาประจาตัว

ขออนุโมทนาบุญกับกัลยาณมิตรทุกท่ าน
ทีร่ ่ วมพิมพ์หนังสื อธรรมะเป็ นธรรมทาน

บุญบารมีทขี่ ้ าพเจ้ า และกัลยาณมิตรร่ วมกันสร้ าง


ขอจงเป็ นปัจจัยให้ เข้ าถึงซึ่งพระนิพพาน เทอญ.

You might also like