You are on page 1of 63

ยาที่ใช้ ในภาวะไตเสื่ อม และ แนวทางการดูแลรักษา

เพือ่ ชะลอการเสื่ อมของไต

โดยโดยภญ.ภญ. อัมพิทองสอดแสง
เสาวภา กา ขุนค้า
่ เภสั
กลุม ชกรชชานาญการพิ
งานเภสั กรรม รพ.อุเดศษ
รธานี
กลุม่ งานเภสัชกรรม รพ.อุดรธานี 1
ปัจจัยเสี่ ยงภาวะไตวายเรื้อรัง: CKD

• เบาหวาน •Collagen vascular diseases (SLE,


rheumatoid arthritis,
(45% of ESRD)
scleroderma)
• ความดันโลหิตสูง •Medications (NSAIDs, lithium)
(23% of ESRD) •Malignant disease (multiple
myeloma, lymphoma)
• โรคหลอดเลือดหัวใจ •Chronic infection (hepatitis B,C)
(2 – 5x ↑ risk) •Glomerulonephritis,
• Family History of ESRD pyelonephritis
•Smoking
ภาวะไตเสื่ อม/ไตวาย

คือ สภาวะที่ความสามารถของไตในการทางานลดลง เช่ น

-การรักษาสมดุลของเหลวในร่ างกาย
-การควบคุมนา้ และแร่ ธาตุต่างๆ ในเลือด
-การกาจัดของเสียออกจากเลือด การกาจัดยาและพิษออกจาก
ร่ างกาย
-การหลั่งฮอร์ โมนเข้ าสู่กระแสเลือด
ภาวะไตเสื่ อม/ไตวาย ( renal failure, kidney
failure, renal insufficiency)

แบ่ งออกเป็ น 2 ชนิด คือ


1.ชนิดเฉียบพลัน (acute kidney injury, AKI หรื อ
acute renal failure, ARF)

2.ชนิดเรือ้ รัง (ไตวายเรือ้ รัง) ซึ่งเกิดจากโรคหรือภาวะอื่นๆ ได้


หลายสาเหตุ
ภาวะไตวายเฉียบพลัน(Acute Renal Failure)
-ตรวจพบการทางานของไตลดลงอย่ างรวดเร็ว->การ
สูญเสียการทางานในการควบคุมสมดุลของนา้ และ
สารละลายในร่ างกายแบบทันทีทนั ใด (เป็ นวัน – สัปดาห์ )
ปั สสาวะน้ อยกว่ า 400 ซีซี/วัน

- Fluid and electrolyte imbalance

- Metabolic acidosis
ภาวะไตวายเรื อ้ รั ง
(Chronic Kidney Disease:CKD
มีอาการบวม, ซีด, อ่ อนเพลีย เบื่ออาหาร ร่ วมกับ
ลักษณะอย่ างใดอย่ างหนึ่งในสองข้ อต่ อไปนี ้
1) มีภาวะไตผิดปกตินานติดต่ อกันเกิน 3 เดือน ทังนี ้ ้
ผู้ป่วยอาจจะมีอตั รากรองของไต (GFR) ผิดปกติหรื อไม่
ก็ได้
2) มี GFR น้ อยกว่ า 60 mL/min/1.73m2
ติดต่ อกันเกิน 3 เดือน โดยที่อาจจะตรวจพบหรื อไม่พบว่ามี
ร่องรอยของไตผิดปกติก็ได้
การคานวนระดับการทางานของไต
Serum creatinine ประเมินค่า Estimated GFR(eGRF)โดย
1.สูตรModification of diet in Renal Disease (MDRD)
Equation
2. Crockcoft – Gault equation
ผู้ชาย CrCl = (140-age) x IBW (kg) (X 0.85 สาหรับผู้หญิง)
Scr X 72
3.สูตร CKD-EPI (Chronic Kidney Disease
Epidemiology Collaboration) ดังแสดงในตาราง ( p 91)
การแบ่งระยะของโรคไตเรื้ อรัง
1 • GFR ≥ 90 ไตผิดปกติ และ GFR ปกติหรือเพิ่มขึน้

2 • 60 – 89  ไตผิดปกติ และ GFR ลดลงเล็กน้ อย 5


1 4

3 • 30 – 59  GFR ลดลงปานกลาง
2 3

4 • 15 – 29  GFR ลดลงมาก

5 • GFR < 15 หรือ RRT  ไตวายระยะสุดท้าย 8


การแบ่ งระยะของโรคไตเรื
ภาวะแทรกซ้ อนโรคไต้ อรัง
• ไม่มีอาการ
1
• ไม่มีอาการ
2 • (ภาวะโลหิตจาง)
• ความดันโลหิตสูง
• ภาวะโลหิตจาง
• ขาดสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
3 แคลเซียมตา่ ฟอสเฟตสูง พาราไธรอยด์ทางานหนัก
โปแตสเซียมสูง 9
การแบ่ งระยะของโรคไตเรื
ภาวะแทรกซ้ ้ อรัอง)
อนโรคไต (ต่
• ฉี่ ไม่ออก,อ่อนแรง, เบื่ออาหาร
• ความดันโลหิตสูง
4 • ภาวะโลหิตจาง
• ขาดสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย(Metabolic acidosis; <30)

• ความดันโลหิตสูง, เจ็บแน่ นหน้ าอก,กระเพาะมีแผล,เลือดออก


,ตะคริว
• ภาวะโลหิตจาง
5 • ขาดสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
• Metabolic acidosis, Uremic encephalopathy
• ติดเชื้อ Infection diseases
10
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
• เกลือคั่ง-> ภาวะบวมนา้ Fluid and electrolyte
• ภาวะโลหิตจาง imbalance
 Hypo/hypernatremia
• โปแตสเซียมสูง:  Hyperkalemia
Hyperkalemia  Hyperphosphatemia

• Renal osteodystrophy  Hypocalcemia


 Hypermagnesemia
• ขาดสมดุลแร่ธาตุ:
Metabolic acidosis
11
การรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
ความรุนแรงของอาการขึน้ กับระยะของโรค
 จากัดอาหารบางประเภท
 การใช้ ยา

1. เกลือคั่ง-> ภาวะบวมนา้


2.ภาวะโลหิตจาง
3.ขาดสมดุลแร่ธาตุ:โปแตสเซียมสูง ฟอสเฟตสูง
4.ขาดสมดุลกรด- ด่าง:ภาวะเป็ นกรด
5.ภาวะต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากเกิน
12
1.เกลือคัง่ -> ภาวะบวมน้ า(ขาดสมดุลน้ า)
• ทาให้เกิดความดันเลือดสูง, บวม  หัวใจวาย
–จะต้องจากัดเกลือ..จากอาหาร

13
1. เกลือคัง่ -> ภาวะบวมน้ า(ต่อ)
ยาที่ใช้รกั ษาเพื่อแก้ ไขความผิดปกติของสมดุลน ้าในร่างกาย
ยาขับปัสสาวะ ประสิทธิภาพขึน้ กับการทางานของไตที่
เหลืออยู่

Furosemide
Lasix 500 mg
Furosemide
Lasix 40 mg
2.การใช้ยาเพื่อรักษาภาวะโลหิ ตจาง

ยาเสริมธาตุเหล็ก ยาเม็ดโฟลิกแอซิด
Ferrous
Sulfate
Folic
FBC
acid
การรักษาภาวะโลหิตจางในผู้ป่วยโรคไต
Folic and Vitamin B12 deficiency : Macrocytic anemia (MCV >
97 µm3)
• Folic acid : up to 1 mg/day once a day
• Vitamin B12 : 250 mcg/day divided 1-3 times

Iron deficiency : Microcytic anemia (MCV < 77 µm3)


• Iron supplement : Ferrous sulfate 300 mg 1x3 pc
(≈200 mg elemental iron/day)

Monitoring : Should be increase Hb 2.0 g/dl in 1 week


2.การใช้ยาเพื่อรักษาภาวะโลหิ ตจาง
Erythropoietin: เป็ นยาฉีดที่ใช้ สาหรับรักษาภาวะเลือด
จางแบบเรื อ้ รั ง เป้าหมาย Hct เท่ ากับร้ อยละ 33 – 36 Hb
เท่ ากับ 11 – 12 g/dl เริ่มรั กษาHct < ร้ อยละ 30
Hb<10 g/dl

เก็บยาในตู้เย็น
Erythropoietin (EPO)
• Erythropoietin (EPO) จัดเป็ นยาในกลุ่ม
erythropoiesisstimulating agents (ESAs)

สังเคราะห์ ขนึ ้ เพื่อให้ เป็ นฮอร์ โมนกระตุ้นการสร้ างเม็ดเลือดแดง


ใช้ สาหรับการรักษาภาวะโลหิตจาง
เกณฑ์ การฉีดยากระตุ้นการสร้ างเม็ดเลือดของโรงพยาบาลอุดร

• ความเขมข ้ นของเลื
้ อด (Hct) < 30 vol% ฉี ด
8 ครัง้ /เดือน (ยกเวน้ Renogen ฉี ด 10 ครัง้ /
เดือน)
• ความเขมข ้ นของเลื
้ อด (Hct) 30-35.9 vol%
ฉี ด 4 ครัง้ /เดือน (ยกเวน
้ Renogen ฉี ด 5
ครัง้ /เดือน)
• ความเขมข ้ นของเลื
้ อด (Hct) > 30vol% งดฉี ด
ยา
3.ขาดสมดุลแร่ธาตุ
(โปแตสเซียมสูง ฟอตเฟตสูง)
3.1 โปแตสเซียมสูง
–จากัดอาหารทีม่ โี ปแตสเซียมสูง
 ทุเรียน
 ขนุน  กล้ วย
 มันสาปะหลัง
 แห้ ว  ลูกพรุ น
 มะเขือเทศ
 ลาไย  ส้ ม
 ฟั กทอง
 มะละกอสุก  ฝรั่ง
 แครอท
 น้ อยหน่ า  ลูกเกด
 ผักใบเขียว
 เห็ดกระดุม,โคน, เปาฮือ้
20
3.1 ภาวะโปแตสเซียมในเลือดสูง
• ยาที่ใช้รกั ษา
– Calcium polystyrene sulfonate (Kalimate®)
• ผงยาต้องผสมกับน้าหรือน้ าเชื่อมก่อนใช้ เขย่าหรือคนผงยาที่
ผสมแล้วให้เข้ากันดีก่อนใช้
Kalimateขนาด
5gm/ซอง

21
3.ขาดสมดุลแร่ธาตุ
3.2ภาวะขาดสมดุ ล ฟอสเฟต&แคลเซี
(โปแตสเซียมสูง ฟอตเฟตสูง) ย ม
3.2 ฟอตเฟตสูง
–จากัดอาหารทีฟ่ อสเฟตสูง
 เค้ ก
 นม  อาหารที่มียีสต์
 เนย  ลูกนัท
 พาย  ไข่ แดง
 ไอศครีม  เมล็ดพืช
 ถั่วต่ างๆ  อาหารทะเลแช่ แข็ง
 เนือ้ สัตว์ แปรรูป
 นา้ อัดลม
22
3.2.ภาวะฟอสเฟตสูง
การใช้ยาลดการดูดซึมฟอสเฟตใน
อาหาร
• ยาเม็ดแคลเซียม
– นิยมใช้ ราคาถูก
– อาจทาให้ทอ้ งผูก
– แนะนารับประทานพร้อม
อาหาร

23
3.2.ภาวะฟอสเฟตสู
การรั กษาผู้ป่วยไตวายเรือ้ งรัง

นอกจากนีม้ ียาอื่นเช่ น
- Aluminium Hydroxide Gel

-Sevelamer HCL(Ca-Al-free)
การใช้ยากลุ่ม Phosphate binder
Compound
Drug Starting dose Tritrate dose Comment
content
Approximately
Increase or
39 mg
0.5-1 g element decrease by 500
Calcium 40% element phosphate
calcium 3 times mg with meal
carbonate calcium bound per 1 g
a day with meals (200 mg element
calcium
calcium)
carbonate
Reserve for short
300-600 mg 3 term use (4
Aluminum Not for long
100-600 mg/unit times a day with week) : risk
hydroxide term use
meal aluminum
toxicity
Monitoring : Parathyroid hormones, PO42- , Ca2+ every 3 month
4.ภาวะขาดสมดุลกรด-ด่าง
• มีอาการอ่อนเพลีย, เหนื่อย
• ยาเม็ด Sodamint300mg มีกลิน่ หอม
• ใช้ควบคุมภาวะเลือดเป็ นกรด
ต้องมีการตรวจติดตามระดับ
สารน้าและเกลือแร่ในร่างกาย
อย่างสม่าเสมอ

26
การใช้ยา Sodium bicarbonate ในผู้ป่วยโรคไต
HCO3- normal range คือ 22-26 mEq/L (22-26 mmol/L)

Generic Dosage
mEq alkali Comment
name form
Sodium 3.9 mEq 325 mg/tab Bicarbonate preparation
bicarbonate bicarbonate/ can cause bloating
tab because of CO2

Monitoring : Arterial blood gas every 3 month


5. ภาวะระบบต่ อมพาราไทรอยด์ ทางานมากเกิน

Alfacalcidol 0.25 mcg


Calcitriol (active form
ของ vitamin D)

ขนาดยาเริ่มต้ นขึน้ กับระยะภาวะแทรกซ้ อนทางไต หลังจากได้ ยา


ควรติดตามระดับ Ca และ phosphate อย่ างน้ อย 3 เดือน และ
ระดับฮอร์ โมนพาราไทรอยด์ ทุก 3 เดือน

โรงพยาบาลอุดรธานี ผลัดที่ 1
การใช้ยากลุ่ม Vitamin D analogue

Vitamin D
Drug Starting dose Dosage range Frequency
form
Daily or 3
Calcitriol Vitamin D3 0.25 mcg 0.25-5 mcg
times/week

Monitoring : Parathyroid hormones, PO42- , Ca2+ every 3 month


การใช้ ยาในผู้ป่วยโรคไต
วัตถุประสงค์
1.เพื่อชะลอการเสื่อมของไต

- การควบคุมโรคเบาหวาน ความดันโลหิต ไขมันสูง


- การใช้ ยาลดproteinuria
- การจากัดอาหารโปรตีน
การใช้
การใช้ ยาเพื ยาในผู้ป่ อวยโรคไต
่ อชลอการเสื มของไตโรคไต

2. การป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้ อนของโรคไตเรื อ้ รั ง
(โดยเฉพาะในระยะที่3-5)
2.1 ภาวะซีด
2.2 Acidosis
2.3 Bone resorptionและ Hyperphosphatemia
2.4 ภาวะบวมนา้
แนวทางการดูแลเพือ่ ชะลอการเสื่ อมของไต
1. ควบคุมระดับน้าตาลตามเป้ าหมาย
2. ควบคุมระดับความดันโลหิต
3. ควบคุมระดับไขมันในเลือด
4. การลดปริมาณโปรตีนในปั สสาวะ
5. การหลีกเลี่ยงยาหรื อสารพิษที่ทาลายไต

32
เป้าหมายในการควบคุมนา้ ตาลในเลือดสปสช2554

สปสช สปสช สปสช สปสช


2551 2554 2554 2554
HbA1c(%) <6.5 < 6.5 <7 7.0-8.0

FPG (mg/dl) 70-110 70-110 90-130 ใกล้ เคียง130

PPG (mg/dl) < 180 < 140 <180 <180

เข้ มงวด เข้ มงวด ไม่ เข้ มงวด


มาก

33
เป้าหมายในการควบคุมนา้ ตาลในเลือดตารางที่4
หน้ า20

การควบคุมเบาหวาน เป้าหมายการควบคุม
ระดับน้าตาลในเลือดขณะอดอาหาร 70 – 130 มก./ดล.
ระดับน้าตาลในเลือดหลังอาหาร 2 ชั่วโมง 140 – 180 มก./ดล.
ระดับน้าตาลในเลือดสูงสุดหลังอาหาร < 180 มก./ดล.
ระดับน้าตาลสะสม Hemoglobin A1c < 7%

34
เป้าหมายของระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคไต

1. Diabetic Kidney Disease ควรควบคุมระดับ


ความดันโลหิตให้ ต่ากว่ า 125/75 มม.ปรอท
2. Nondiabetic kidney disease
-ในผู้ป่วยที่มีปริมาณโปรตีนในปั สสาวะมากกว่ า 1 gm/day
ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ ต่ากว่ า 125/75 มม.ปรอท
-ในผู้ป่วยที่มีปริมาณโปรตีนในปั สสาวะน้ อยกว่ า 1 gm/day
ควรควบคุมระดับความดันโลหิตให้ ต่ากว่ า 130/85 มม.ปรอท
เป้าหมายในการควบคุมระดับไขมันในเลือด
ตารางที่4หน้ า20

36
การควบคุมระดับน้าตาลในเลือด(เบาหวาน)

การใช้ ยาเบาหวานในผู้ ป่ วยที่ พ บโรคไตเรื้ อ รั ง อาจมี ก าร


ปรับเปลีย่ น
ไม่ แนะนาให้ ใช้ บางตัว
บางตัวสามารถใช้ ได้ ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่3-4 แต่ ต้อง
ระวังในผู้ป่วยทีอ่ ยู่ในกลุ่มไตวายระยะสุ ดท้ าย
• หากมีอาการภาวะนา้ ตาลในเลือดต่า ให้ ดื่มน ้าหวาน หรื ออมลูก
อม อาการดังกล่าวจะดีขึ ้น ดังนันจึ
้ งควรพกอมลูกอมติดตัว
ตัวอย่างยาเบาหวานที่กินหลังอาหาร
ยากินหลังอาหารบางตัว สามารถ  ยากินหลังอาหารบางตัว สามารถ
ใช้ ได้ ในผู้ป่วยโรคไตเรื อ้ รั งแต่ ต้อง
ใช้ ได้ ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดย
ปรั บขนาดยา
ไม่ ต้องปรับขนาดยา แต่ ต้อง • เม็ดยาไม่ มีรอยแบ่ ง-จาเป็ นต้ อง
ระวังภาวะบวมและหัวใจวาย ใช้ มีดคมๆในการแบ่งเม็ดยา
ยาฉีดอินสุ ลนิ
• ภาวะนา้ ตาลในเลือดต่า (สังเกตได้ ง่ายกว่ าการใช้ ยา
รับประทาน)
• คาแนะนา ควรจะฉีดยาก่ อนอาหารไม่ เกิน 15-30 นาทีหรือ
เวลา21.00น.ขึน้ กับชนิดของตัวยา
• ผู้ป่วยควรกินอาหารให้ ตรงเวลาไม่ อดอาหาร
อินซูลนิ เป็ นยาทีเ่ หมาะสาหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยเฉพาะเมื่อ
การทางานของไตลดลงอย่ างมาก
สิ่ งสาคัญทีผ่ ้ ูป่วยควรรู้ ในการใช้ ยาเบาหวาน
• 1.ชนิดของตัวยาที่กาลังใช้ อยูแ่ ละการนายาเดิมมาด้ วยทุกครัง้
• 2.การปรับเปลี่ยนตัวยา(การเพิ่มยาตัวใหม่ การหยุดใช้ ยาเดิมบางตัว
จากปั ญหาภาวะแทรกซ้ อนทางไต)
• 3.การปรับขนาดยา(ตัวยาเดิมแต่มีการปรับวิธีการใช้ ยาจากเดิม)
• 4.จานวนขนานยาที่เคยใช้ และอุปกรณ์ที่จาเป็ นต่อการใช้ ยาเช่นไซลิ ้ง
(Syringe)หรื อหัวเข็มที่ใช้
• 5.จานวนยาที่เพียงพอกับวันนัด
การควบคุมความดันโลหิต
1.เบาหวานและไต Diabetic Kidney Disease:
ควรเริ่มให้ ยาลดความดัน กลุ่ม ACEI / ARB

2. โรคไต Nondiabetic kidney disease :


ยาลดความดัน กลุม่ ACEI / ARB พบว่าช่วยชะลอความเสื่อมของ
ไตและลดปริมาณ Proteinuria
แนวทางการรักษาและควบคุมความดันโลหิตด้ วยยา

อายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 55 ปี อายุมากกว่า 55 ปี
Step 1 A C/D
Step 2 A + C/D C/D + A
Step 3 A+C+D
Step 4 A + C + D + spironolactone หรือ Step 4
furosemide กอนการให
่ ้ -
blocker/-blocker

ค้าย่อ A: ACEI หรือ ARB, C: Calcium channel blocker, D: Diuretic-thiazide ค้าย่อ A: ACEI หรือ ARB, C: Calcium
channel blocker, D: Diuretic-thiazide

คู่มือ/แนวทางเวชปฏิบัตสิ าหรั บโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง


และไตเรื อ้ รั ง เครื อข่ ายบริการที่ 8: p 23
การรักษาความดันโลหิตสูง
เป้าหมายไม่เกิน130/80มมปรอท(มีเบาหวานร่วมด้วย)..เดิม
ยาทีใ่ ช้: ยาขับปสั สาวะ ร่วมกับยาอื่น

ผู้ป่วยทีม่ ีภาวะแทรกซ้ อนทางไตส่ วนใหญ่ จาเป็ นต้ องใช้


ยาลดความดันโลหิตอย่ างน้ อย 2 ชนิดร่ วมกัน
เพือ่ ควบคุมความดันโลหิตให้ อยู่ในระดับเป้าหมาย

www.th
Company name emegall
ery.com
ตัวอย่างยาลดความดันที่ใช้บ่อย
• ลดความดันและลดการรั่ วของโปรตีนในปั สสาวะ(ช่วยชะลอการเสื่อมของไต)

อานาพริล5มก. อานาพริล20มก ลอแลนต้ า 100 มก.


มีสีขาวเป็ น มีสีส้มเป็ น เม็ดรี สีขาว
เหลี่ยม เหลี่ยม.
ผู้ป่วยควรจดจาตัวยาที่ใช้ อยู่..จะได้ มีความเข้ าใจเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
การปรับขนาดยาลดความดันโลหิตกลุ่ม ACE inhibitors
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5

2.5-40 mg/day in 1- No adjustment 5 mg/day titrated upwards to 2.5 mg day titrated up to a


Enalapril
2 divided doses required maximum of 40 mg maximum of 40 mg

25-100 mg/day
Administer 50%
Captopril Maximum: 150 mg 3 No adjustment required Administer 75% of normal dose
of normal dose
times/day

10-40 mg once
Quinapril 10 mg/day 5 mg/day 2.5 mg/day
daily

2.5-5 mg once daily,


Ramipril maximum: 20 No adjustment required 25% of normal dose
mg/day

4-8 mg/day
2 mg/day; maintenance dosing not to exceed 8
Perindopril maximum 16 Safety and efficacy not established
mg/day
การปรับขนาดยาลดความดันโลหิตกลุ่ม ARB
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5

4-32 mg once
Candesartan No adjustment required
daily
150-300 mg
Irbesartan No adjustment required
once daily
dose range 25-
Losartan No adjustment required
100 mg/day
40 mg once
daily dose
Telmisartan No adjustment required
range: 20-80
mg/day
80-160 mg once
daily maximum
Valsartan No adjustment required
dose: 320
mg/day
การปรับขนาดยาลดความดันโลหิตกลุ่มCCB
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5

dose: 5 mg
once daily;
Amlodipine No adjustment required
maximum dose:
10 mg
2.5-10 mg once
Felodepine daily maximum No adjustment required
of 20 mg/day
20 mg
Nicardipine No adjustment required
3 times/day
10-30 mg 3
times/day
Nifedipine No adjustment required
Maximum: 120-
180 mg/day
การปรับขนาดยาลดความดันโลหิตกลุ่ม Beta blocker
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5

25-50 mg once 50 mg every


50 mg/day
Atenolol daily increase No adjustment required other day
maximum
to 100 mg/day maximum
2.5-5 mg once
Bisopolol daily increased No adjustment required 2.5 mg/day; increase cautiously
to 10-20 mg
6.25 mg twice
Cavidilol daily increased No adjustment required
to 25 mg
Metroprolol 50-100 mg/day No adjustment required
Propanolol 40-160 mg/day No adjustment required
การปรับขนาดยาลดความดันโลหิตกลุ่ม Diuretics
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5

20-80 mg/dose
Furosemide at intervals of No adjustment required
6-8 hours
Usually
ineffective.
Oral: 12.5-50 Effective
HCTZ No adjustment required Avoid to use
mg/day combination
with a loop
diuretic
1.25 mg
Indapamide increase to 5 No adjustment required
mg/day
25-50 mg/day in
Administer every 12-24
Spironolactone 1-2 divided Avoid to use
hours
doses
มีโรคร่ วมเป็ นโรคหัวใจและหลอดเลือด
• ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี พิจารณาจากข้ อบ่ งชีก้ ารใช้
ยา ได้ แก่ beta blockers, ACE Inhibitors(ACEI),
calcium channel blockers(CCB)
• ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย พิจารณาจากข้ อบ่ งชีก้ ารใช้ ยา ได้ แก่
beta blocker, ACE Inhibitors(ACEI), diuretic,
angiotensin receptor blocker(ARB)
3. การควบคุมระดับไขมันในเลือด
การควบคุมอาหารไขมันสู ง และใช้ ยากลุ่ม statin เมื่อการควบคุม
อาหารไม่ ได้ ผล
ตัวอย่ างยาที่ใช้

อาจมีการเปลีย่ นตัวยาที่ใช้ ...ต้ องอ่านฉลากยาให้ เข้ าใจ


www.themegallery.com
การปรับขนาดยาลดไขมันในเลือดในผู้ป่วย CKD
CKD
ยา Usual dose
Stage 1 Stage 2 Stage 3 Stage 4 Stage 5
Statin drug
Atorvastatin 5-80 mg/day No adjustment required 20 mg/day
Simvastatin 5-80 mg/day No adjustment required 40 mg/day
Rosuvastatin 10-20 mg/day No adjustment required 10 mg/day
Non-statin drug
Ezetimibe 10 mg/day No adjustment required AUC increased
Fenofibrate 300 mg/day Not recommended
Gemfibrozil 1200 mg/day Not recommended
4 g 1-2
Cholestyrami times/day
No adjustment required
ne Maximum of
16-24 g/day
4.ภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะจากเบาหวาน

• พิจารณาใช้ ACE inhibitors(ACEI) ขนาดปานกลางหรือสู งหากไม่ มีข้อห้ ามกรณีที่


ทนต่อผลข้างเคียงไม่ได้(ไอ)ให้ ใช้ ARB แทน

• ควรปรับขนาดยาจนปริมาณโปรตีนถึงเป้าหมาย เพื่อชะลอการเสื่อมของไต

• ควรติดตามระดับ scrและ Kเป็ นระยะตามความเหมาะสม และยังคงใช้ ACEI หรือ ARB


ต่ อไปได้ ในกรณีทมี่ ีการเพิม่ ขึน้ ของscr ไม่ เกิน 30% จากค่ าพืน้ ฐานในระยะเวลา 4 เดือน หรือ
serum K น้ อยกว่ า 5.5 mmol/L

คู่มือ/แนวทางเวชปฏิบัตสิ าหรั บโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และไตเรื อ้ รั ง


เครื อข่ ายบริการที่ 8: p 23
5. การหลีกเลีย่ งยาหรือสารพิษที่ทาลายไต
ผู้ป่วยทีพ่ บภาวะแทรกซ้ อนทางไตระยะที3่ ควร
หลีกเลีย่ งการได้ รับยาแก้ ปวด แก้อกั เสบ(บางตัว) ยา
ชุดแก้ปวด
และสมุนไพร(ยาผง ยาลูกกลอน ยาต้ ม ยาหม้ อ)เพราะ
อาจมีผลทาให้ ไตเสื่ อมเร็วขึน้ ได้

www.themegallery.com
ยาหรือสารพิษที่ทาลายไต
• ควรหลีกเลี่ยงการได้รบั ยา  ใช้ดว้ ยความระมัดระวังเพราะอาจมี
– ยาชุดแก้ ปวด steroid ผลทาให้ไตเสือ่ มเร็วขึน้ ได้
– กลุ่ม NSAIDs และ COX2  Aminoglycosides
inhibitors  Radiocontrast agents
 สมุนไพร (ยาลูกกลอน,ยาต้ ม
,ยาหม้ อ)

58
ยาที่ควรหลีกเลีย่ ง
• ยาแก้ ปวดกลุ่มแอสไพริน ยาแก้ ปวด กล้ ามเนือ้ อักเสบ
ยาที่ควรหลีกเลีย่ ง
• ยาฆ่ าเชือ้ แก้ อักเสบ

ยาฉีด ฆ่ าเชือ้
ยาทีค่ วรหลีกเลีย่ ง
• ยาชุด ยาประดง แก้ ปวด

ยาสมุนไพร
ยาต้ ม ยาหม้ อ
ยาลูกกลอนผสมสเตียรอยด์
สรุปการชะลอการเสื่ อมของไต
1. ควบคุมความดันโลหิต
2. ควบคุมระดับน้าตาลตามเป้ าหมาย
3. ควบคุมระดับไขมัน
4. การหลีกเลี่ยงยาหรื อสารพิษที่ทาลายไต

....มีความเข้ าใจและยอมรั บ..จะมีความร่ วมมือ


สามารถปฎิบัตทิ ุกอย่ างได้ โดยไม่ ใช่ เรื่ องยาก
62
THANKS YOU FOR ATTENTION

63

You might also like