You are on page 1of 32

4.

Analysis and Design of Prestress


1
Concrete Beams
4 1 การวิเิ คราะหหนวยแรงเนืือ่ งจากการดัดั
4.1
… การวิเคราะห หมายถึง การคํานวณหนวยแรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากแรงภายในหนา
ตดคานซงเปนผลจากนํ
ั ึ่ ป ํ้าหนกบรรทุ
ั กภายนอกและแรงอดคาน
ั เมอทราบขนาด
ื่
ตางๆ ของหนาตัดคานคอนกรีต พื้นที่และตําแหนงของเหล็กอัดแรงแลว หนวย
แรงที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ จ ะมี ก ารตรวจสอบกั บ หน ว ยแรงปลอดภั ย ที่ กํ า หนดให ใ ช ต าม
แรงทเกดขนนจะมการตรวจสอบกบหนวยแรงปลอดภยทกาหนดใหใชตาม
ขอกําหนดของมาตรฐานตางๆ
… การออกแบบ ผูผออกแบบทราบแรงกระทาภายนอก
อกแบบทราบแรงกระทําภายนอก คุคณสมบั
ณสมบตของวสดุ
ติของวัสด และ
หนวยแรงปลอดภัย และตองสมมุติขนาดหนาตัดคาน และพื้นที่เหล็กเสริมจาก
ประสบการณหรือจากการลองผิดลองถูกกอน แลวจึงทําการคํานวณตรวจสอบ
หนวยแรงที่เกิดขึ้น ถาหนวยแรงเกินจะตองออกแบบหนาตัดคานใหม
… จะเห็นไดวาการวิเคราะหเปนขัน้ ตอนหนึ่งของการออกแบบ
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
2

4.2 หนวยแรงบนหนาตัดคาน
… การวิเคราะหหนวยแรงจะตองพิจารณาที่ 2 สภาวะ คือ

1. ที่สภาวะถายแรง (Prestress Transfer Stage)


2. ที่สภาวะใชงาน (Service Stage)
ทสภาวะใชงาน
… หนวยแรงที่เกิดขึ้นจะมีคาวิกฤตที่จุดรองรับและที่หนาตัดที่เกิดโมเมนตดัด
มากที่สด
มากทสุ

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


Wg
Po
3

4.2.1 ขัน้ ตอนสภาวะถายแรง L

… มี แ รงอั ด คานแรกเริ่ ม Po กระทํ า พร อ มกั บ โมเมนต ดั ด เนื่ อ งจากน้ํ า หนั ก

คาน Mg A, I
C t
… หนวยแรงบนหนาตดทกงกลางคาน
หนวยแรงบนหนาตัดที่กึ่งกลางคาน N.A.
A
e
f tt = Po / A − Po eC t / I + M g C t / I Cb

f bt = Po / A + P Cb / I − M g Cb / I
PeC ftt = หนวยแรงที่ขอบบน
… หนวยแรงบนหนาตัดที่จุดรองรับคาน ที่สภาวะถายแรง มักเปนดีง
f tt = Po / A − Po eC t / I fbt = หนวยแรงที่ขอบลาง
f bt = Po / A + Po eCb / I ที่สภาวะถายแรง มักเปนอัด

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


Wl + Wd
Wg
Pe
4

4.2.2 ขัน้ ตอนสภาวะใช


ใ งาน L

… มี แ รงอั ด คานประสิ ท ธิ ผ ล η
ηPo กระทํ า พร อ มกั บ โมเมนต ดั ด เนื่ อ งจาก
น้ําหนักคาน Mg น้ําหนักบรรทุกอื่นๆ Md และ Ml A, I
C t
… หนวยแรงบนหนาตดทกงกลางคาน
หนวยแรงบนหนาตัดที่กึ่งกลางคาน N.A.A
f tw = ηPo / A − ηPo eC t / I + ( M g + M d + M l ) C t / I Cb e

Cb / I − ( M g + M d + Ml ) Cb / I
f bw = ηPo / A + ηPo eC ftw= หนวยแรงที่ขอบบน
… หนวยแรงบนหนาตัดที่จุดรองรับคาน ที่สภาวะใชงานมักเปนอัด
f tw = ηPo / A − ηPo eC t / I fbw = หนวยแรงที่ขอบลาง
f bw = ηPo / A + ηPo eCb / I ที่สภาวะ ใชงานมักเปนดึง

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


5

(4.3 ขั้นตอนสภาวะขนสง - สําหรับคอนกรีตอัดแรงแบบดึงเหล็ก็ กอน)


… ตองพิจารณาหนวยแรงที่จะเกิดขึ้นในแตละขั้นตอนดวย เชน การยกคาน

βL
β βL
β
β= 0.207
0 207

L
M+ M+ = M-
M-

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


6

4.4 หนวยแรงปลอดภัยในคอนกรี
ใ ตและเหล็ก็ เสริมอัดแรง
… คอนกรีต

Fct คือ หนวยแรงอัดปลอดภัยขณะถายแรง = 0.60f ci′


Ftt คอ 0 80 f ci′
หนวยแรงดึงปลอดภัยขณะถายแรง = 0.80
คือ หนวยแรงดงปลอดภยขณะถายแรง
Fcw คือ หนวยแรงอัดปลอดภัยขณะใชงาน = 0.45f c′
Ftw คือ หนวยแรงดึงปลอดภัยขณะใชงาน = 1.60 f c′
… เหล็กเสริมอัดแรง
0.80f pu
f pj or f pi ≤ , f po ≤ 0.70f pu
0.94f py
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
7

4.5 การออกแบบคานคอนกรีตอัดแรง
… มีสองหลักการ คือ

1. หลักการออกแบบอิลาสติก
2 หลกการกาลงดดประลย
2. หลักการกําลังดัดประลัย
… ผู อ อกแบบอาจเลื อ กใช ห ลั ก การออกแบบอั น ใดอั น หนึ่ ง และทํ า การ
ตรวจสอบคานทีอี่ อกแบบแลว ดวยหลัักการอีีกอัันหนึึง่
… ในที่นี้จะออกแบบคานดวยหลักการออกแบบอิลาสติก ซึ่งประกอบดวยการ
ออกแบบเบื้องตนและการออกแบบขั้นสุดทาย แลวตรวจสอบดวยหลักการ
กําลังดัดประลัย
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
8

4.5.1การออกแบบเบือ้ งตนของหนาตัดคาน
… เปนการประมาณพื้น ที่หนา ตัดของคาน โดยการสมมุุติความลึ กของหน า

ตัดคาน (h) และโมเมนตดัดที่กระทําตอหนาตัด


… ใชหลกการของแรงคู
ใชหลักการของแรงคควบ ซงประกอบดวยแรงอดในคอนกรตและแรงดงใน
ซึ่งประกอบดวยแรงอัดในคอนกรีตและแรงดึงใน
เหล็กเสริมอัดแรง
… แบงเปน
 ป 2 กรณี

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


9

… กรณีที่ 1 Mg ≥ 30%Mt ==> Mt เปนคาควบคุมการออกแบบ


(Mt = Mg+Md+Ml) และแขนของแรงคูควบเฉลี่ย = 0.65h จะได
Fcw

Pe = A ps f pe = M t / 0.65h A
0.5Fcw
C
h 0.65h Mt
C / A = A ps f pe / A = 0.5Fcw Pe

A ps f pe / A = 0.5Fcw หนวยแรงอัดเฉลี่ย = 0.5Fcw


A = A pps f ppe / 0.5Fcw = M t / ⎡⎣( 0.65h )( 0.5Fcw ) ⎦⎤

Mt
A=
0 325hFcw
0.325hF
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
10

… กรณีีที่ 2 Mg < 30%M


%Mt ==> Md+Ml เปปนคาควบคุมการ
ออกแบบ และแขนของแรงคูควบเฉลี่ย = 0.50h จะได
Fcw

Pe = A ps f pe = ( M d + M l ) / 0.50h A
0.5Fcw
C Md
h +
0.50h M
C / A = A ps f pe / A = 0.5Fcw l

Pe

A ps f pe / A = 0.5F
0 5Fcw หนวยแรงอัดเฉลี่ย = 0.5Fcw

p / 0.5Fcw = ( M d + M l ) / ⎡
A = A pps f pe ⎣( 0.50h )( 0.5Fcw ) ⎦⎤

A=
( Md + Ml )
0.25hFcw
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
11

… การกําหนดความลึกของหนาตัด h อาจใช
ใ หลักการดังนี้
1. h = 70% ของคอนกรีตเสริมเหล็ก

คานชวงเดียว คานสองชวง คานสามชวงขึ้นไป คานยี่น


0 7L/20
0.7L/20 0 7L/23
0.7L/23 0 7L/26
0.7L/26 0 7L/10
0.7L/10

2
2. จากสตรซึ
จากสู ่งแนะนําโดย Lin
ตรซงแนะนาโดย

h(in.) = k M(kip ⋅ ft); k = 1.2 − 2.0

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


3. ตามคําแนะนําของ Lin and Zia (1974)
12

พนทางเดยวหนาตดตน
ื้ ี  ั ั พนทางเดยวหนาตดกลวง
ื้ ี  ั พนทางเดยวหนาตดตวทวางชนกน
ื้ ี  ั ั ี ช ั
L/h ≤ 44 L/h ≤ 40 L/h ≤ 32

คานสะพานรูปตวไอ
ัไ
ชวงเดียว ตอเนื่อง
L/h = 14 - 20 (ปกติ) ≤ 26 – 28
L/h = 22 – 24 (ปกต)

คานสะพานรูปตัวที
ชวงเดียว
ชวงเดยว ตอเนื่อง
ตอเนอง
L/h = 0.9(14 – 20) L/h = 0.9(22 – 24) (ปกติ) ≤ 0.9(26 – 28)

คานสะพานรปกล
คานสะพานรู อง (Box Section)
ปกลอง
ชวงเดียว ตอเนื่อง
/ = 1.1(14
L/h ( – 20)) / = 1.1(22 – 24) (ปกติ) ≤ 1.1(26 – 28)
L/h

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


13

4.5.2 การออกแบบขัน้ สุดทาย


4.5.2.1 การออกแบบชนิดหนาตัดสมดุุล (ไมนิยมเพราะไมประหยัด)
… ในการออกแบบชนิ ด หน า ตั ด สมดุ ล ค า โมดู ลั ส ของหน า ตั ด จะถู ก ควบคุ ม

โดยคาหนวยแรงปลอดภัย ทํทาใหหนาตดมสดสวนของปกลางมากกวาปก
โดยคาหนวยแรงปลอดภย าใหหนาตัดมีสัดสวนของปกลางมากกวาปก
บน ทําใหระยะเยื้องศูนยของแรงอัดมีคาไมมากนัก เนื่องจากจุดศูนยถวง
ของหน า ตั ด อย ต่ํ า หนาตดดงกลาวจงไมเหมาะกบคานชวงยาว
ของหนาตดอยู หน า ตั ด ดั ง กล า วจึ ง ไม เ หมาะกั บ คานช ว งยาว การ
ออกแบบชนิดหนาตัดไมสมดุลจึงเหมาะสมกวา

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


14

4.5.2.2
4 5 2 2 การออกแบบชนิดิ หนาตััดไไมสมดุล
… ตามหลักการออกแบบวิธีอิลาสติก หนวยแรงที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับ
หนวยแรงปลอดภัยจะตองเปน ดังนี้
… ขณะถายแรง

ที่ผิวบน f tt = Po / A − Po e / St + M g / St ≥ Ftt (a)


ที่ผิวลาง f bt = Po / A + Po e / Sb − M g / Sb ≤ Fctt (b)
… ขณะใชงาน

ที่ผิวบน f tw = ηPo / A − ηPo e / St + M g / St + ( M d + M l ) / St ≤ Fcw (c)


ทผวบน
ที่ผิวลาง f bw = ηPo / A + ηPo e / Sb − M g / Sb − ( M d + M l ) / Sb ≥ Ftw (d)

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


15

… จากสมการ (a) และ (c) จะได


St ≥ ⎡⎣(1 − η) M g + M d + M l ⎤⎦ / [ Fcw − ηFtt ]

… จากสมการ (b) และ (d) จะได


จะได

Sb ≥ ⎡⎣(1 − η) M g + M d + M l ⎤⎦ / [ ηFctt − Ftw


t ]

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


16

… แรงอัดคานแรกเริ่ม Po และ e เพื่อให


ใ หนวยแรงเปนไปตามสมการ
ไ (a)
ถึง (d) จะใชวิธิเขียนแผนภาพ Magnel โดยให e เปนแกน x และ
อัตราสวน A/Po เปนแกน y จากสมการ (a) ถึง (d) เมื่อจัดเทอมใหม
แตละสมการจะเขียนไดเปนสมการเสนตรงดังนี้
1 − eA / St ≥ − A / Po ( M g / St − Ftt )
1 + eA
A / Sb ≤ A / Po ( M g / Sb + Fct )
η (1 − eA / St ) ≤ − A / Po ⎡⎣( M g + M d + M l ) / St − Fcw ⎤⎦
η (1 + eA / Sb ) ≥ A / Po ⎡⎣( M g + M d + M l ) / Sb + Ftw ⎤⎦

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


… สําหรับจุดตัดแกน e และแกน A/Po ของกราฟเสนตรงทั้งสี่จะหาไดดังนี้
17

† เสนตรง Ftt : A / Po = 0; e = St / A
เสนตรง
e = 0; A / Po = −1/ ⎡⎣ M g / St − Ftt ⎤⎦
† เสนตรง Fct : A / Po = 0; e = Sb / A
e = 0; A / Po = 1/ ⎡⎣ M g / Sb + Fct ⎤⎦
† เสนตรง Fcw : A / Po = 0; e = St / A
η / ⎣⎡( M g + M d + M l ) / St − Fcw ⎦⎤
e = 0;; A / Po = −η
† เสนตรง Ftw : A / Po = 0; e = −Sb / A
e = 0; A / Po = η / ⎡⎣( M g + M d + M l ) / Sb + Ftw ⎤⎦

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


o
18

แผนภาพ Magnel
ƒ เมื่อ e และ A/P / o
เปนจุดในบริเวณที่แร
เงา หน ว ยแรงบน
หนาตััดขณะถายแรง
และขณะใช ง านจะ
เป น จริ ง ตามสมการ
เปนจรงตามสมการ
(a) ถึง (d)

ƒ ในทางปฏิบัติจะเลือกคา e ใหมากที่สุดเทาที่ระยะคอนกรีต
หุมจะอํานวยให และเลือกคา A/Po ใหมีคามากที่สุด

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


แรงปฏิกิรยิ า แรงขึงลง
19

4.5.3
4 5 3 การออกแบบแนวโค โ งของเหล็ก็ เสริิม
… การออกแบบหนาตัดจะพิจารณาหนาตัดซึ่งเกิดโมเมนตดัดมากที่สุด อยางไรก็
ตามหนาตดอนซงโมเมนตดดมคานอยลง
 ั ื่ ึ่ โ  ั ี   จะตองพจารณาแนวของเหลกเสรม
 ิ ็ ิ
ดวย ทั้งนี้เพื่อใหทุกๆ หนาตัดของคานมีหนวยแรงไมเกินหนวยแรงปลอดภัย
… แบบดึงเหล็กกอน อาจลดระยะเยองศู
แบบดงเหลกกอน อาจลดร ย เยื้องศนย
นยโดยการยกแนวเหลกเสรมใหเบนไป
โดยการยกแนวเหล็กเสริมใหเบนไป
จากแนวระดับ โดยตําแหนงที่เปลี่ยนแนวเหล็กจะตองออกแบบจุดยึดกับ
โครงสรางที่ใชหลอคานที่เรียกวาหมดตรึ
โครงสรางทใชหลอคานทเรยกวาหมุ ดตรงขนและหมุ
งขึ้นและหมดตรึ
ดตรงลง
งลง
… แบบดึงเหล็กทีหลัง จะออกแบบเหล็กเสริมอัดแรงเปนแนวโคง เชน พาราโบลา
… การออกแบบแรงอัดคานและระยะเยื้องศนย
การออกแบบแรงอดคานและระยะเยองศู นยแบงไดเปน
แบงไดเปน 2 ชนด
ชนิด คอ
คือ ชนดท
ชนิดที่
แรงอัดคานมีคาคงที่ (จะกลาวถึงเฉพาะวิธีนี้) และชนิดที่แรงอัดคานมีคา
เปลี่ยนแปลง
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
20

4.5.3.1
4 5 3 1 การออกแบบแนวของเหล็ก็ เสริิมเมือ่ื แรงอััดคานมีคี าคงทีี่
… การออกแบบแนวโคงของเหล็กเสริมใชหลักการคือ วิเคราะหบริเวณ
ปลอดภัยตามความยาวของคาน และให ใ แนวจุดศูนยถวงของเหล็ก็ เสริมอยู
ภายในบริเวณนี้ ทั้งนี้โดยการพิจารณาสมการ (a) ถึง (d) และหา
ฟงกช ัน่ ของ e ในเทอมอื
ใ ืน่ ๆ จะได
ไ 
จากสมการ (a): e1 ≤ M g / Po + St / A − FttSt / Po
จากสมการ (b): e2 ≤ M g / Po − S2 / A + FctSb / Po
จากสมการ (c):) e3 ≥ ( M g + M d + M l ) / ηPo + St / A − Fcw St / ηPo
จากสมการ (d): e4 ≥ ( M g + M d + M l ) / ηPo − Sb / A + Ftw Sb / ηPo

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


บริเวณปลอดภัยของแนวจุดศูนยถวงของเหล็กเสริม
21

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


4 6 การออกแบบชนิดกําํ ลัังดััดประลัยั
4.6
22

… การออกแบบทสภาวะกาลงดดประลยภายใตแรงกระทาเพมสวนซงเทากบ
การออกแบบที ่สภาวะกําลังดัดประลัยภายใตแรงกระทําเพิ่มสวนซึ่งเทากับ
แรงกระทําปกติคูณดวยคาตัวคูณน้ําหนัก จะเลือกหนาตัดและเหล็กเสริม
เพื่ อ ให กํ า ลั ง ดั ด ประลั ย ของหน า ตั ด มี ค า เท า กั บ หรื อ มากกว า โมเมนต ดั ด
เนื่องจากแรงกระทําเพิ่มสวน
φM n ≥ M u = λ d ( M g + M d ) + λ l M l
เมื่อ M n = กําลังดัดประลัยของหนาตัด
M u = โมเมนต
โมเมนตทเกดจากแรงกระทาเพมสวน
ที่เกิดจากแรงกระทําเพิ่มสวน
λ d = ตัวคูณน้ําหนักตายตัว = 1.4
λ l = ตวคู ั = 1.7
ั ณนําํ้ หนกจร 17
φ = ตัวคูณลดกําลังของวัสดุ = 0.9 สําหรับแรงดัด

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


23

… ทีสี่ ภาวะกําลังดัดประลัย ความเครียี ดที่ีผิวนอกสุดของหนาตัดคอนกรีตี มีี


คาเทากับ 0.003
… การแจกแจงความเครียดบนหนาตัดเปนเสนตรง แตการแจกแจงของหนวย
แรงจะไมเปนเสนตรง
… รายละเอียดของการออกแบบชนิดกําลังดัดประลัยจะไมขอกลาวในที่นี้ แต
จะกลาวถึงการวิเคราะหกําลังดัดประลัยของคานคอนกรีตอัดแรงเทานั้น
จะกลาวถงการวเคราะหกาลงดดประลยของคานคอนกรตอดแรงเทานน
ซึ่งจะใชในการตรวจสอบคานหลังจากที่ออกแบบโดยใชหลักการออกแบบ
อิลาสติก
อลาสตก

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


24

4.6.1กําลังดัดประลัยของคานคอนกรีตอัดแรง (Mn)
b
0.85 f c'

dn γdn
d N.A.

fsu

การกระจายของหน
การกร จายของหนวยแรงในการรบแรงดดปร
วยแรงในการรับแรงดัดประลัลยของคาน
ยของคาน

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


25

… ความลึกของแกนสะเทิน dn สามารถประมาณได
ไ จาก
1 A ps fsu
dn =
0.85 bγf c'

⎡ A ps f pu ⎤
เมื่อ f su = f pu ⎢1 − 0.5 ' ⎥
⎣ bdf c ⎦

γ = 0.85; f c′ ≤ 280 ksc

γ = 0.85 − 0.000725 ( f c′ − 280 ) ; f c′ > 280 ksc

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


26

… มาตรฐาน ACI ได ไ เสนอสูตรในการประมาณกํ


ใ าลังดัดประลัยของคาน
คอนกรีตอัดแรงไวดังนี้
… สําหรับหนาตัดรูปสี่เหลี่ยม และหนาตัดแบบ Flanged ที่แกนสะเทินตก
อยููใน Flange
g
† ถา q ≤ 0.30 (under-reinforced) M n = A ps fsu d [1 − 0.6q ]
† ถา q > 0.30
ถา 0 30 (over reinforced) M n = 0.25bd
(over-reinforced) 0 25bd 2f c'
A ps fsu ⎡ A ps f pu ⎤
เมื่อ q= '
, f su = f pu ⎢1 − 0.5 ' ⎥
bdf c ⎣ bdf c ⎦

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


27

… สําหรับหนาตัดแบบ Flanged ที่แกนสะเทินตกอยูใน web


† ถา qw ≤ 0.30 (under-reinforced)
⎡ A sw fsu ⎤
M n = 0.85f ( b − b w ) t f ( d − 0.5t f ) + fsu A sw d ⎢1 − 0.6
'
c ' ⎥
⎣ b w df c ⎦
† ถา qw > 0.30 (over-reinforced)
M n = 0.25f c' b w d 2 + f su A sf ( d − 0.5t f )

เมื่อ bw = ความกวางของ web ; tf = ความหนาของ flange


A sw = A ps − Asf , A sw f su
qw =
A sf = 0.85f c' ( b − b w ) t f / fsu , b w df c′
Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon
28

4.7 รายละเอียดการจัดวางเหล็ก็ เสริม


… โดยทั่วไป ระยะหางของเหล็กเสริมในคานคอนกรีตอัดแรงใชหลักการ

เดียวกับในคอนกรีตเสริมเหล็ก
… ระยะหางของการจดเหลกเสรมอดแรงและทอรอยเหลกเสรมอดแรงมดงน
ระยะหางของการจัดเหล็กเสริมอัดแรงและทอรอยเหล็กเสริมอัดแรงมีดังนี้
† ในงานคอนกรีตอัดแรงชนิดดึงเหล็กกอน ระยะหางสุทธิระหวางเหล็กเสริมอัด
แรงที่ปลายของชิ้นสวนจะตองไมนอยกวา 4 เทาของเสนผาศู
แรงทปลายของชนสวนจะตองไมนอยกวา เทาของเสนผาศนย
นยกลางระบุ
กลางระบ
สําหรับลวดอัดแรง หรือ 3 เทาของเสนเสนผาศูนยกลางระบุสําหรับลวดเกลียว
อัดแรง แตทั้งนี้ ระยะหางสทธิ
ุ ดังกลาวจะตองไมนอยกวา 3/4 เทาของขนาด
มวลรวมหยาบที่ใหญที่สุด

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


29

† ทอ รอ ยเหล็็กเสริมอัดั แรงสําหรัับงานคอนกรีีตอััดแรงชนิดดึงึ เหล็็กทีีหลังั อาจ


รวมกลุมกันไดถาการเทคอนกรีตสามารถกระทําไดอยางดี และมีการปองกันมิ
ใ  ็ สิ ั
ใหเหลกเสรมอดแรงทถู ี่ กดงแลวแตกทะลุ
ึ  ทอออกมาไดไ  อยางไรกตาม
 ไ ็
พื้นที่หนาตัดทอควรมีคามากกวาสองเทาของพื้นที่หนาตัดเหล็กอัดแรงทั้งหมด
ในทอนั้น และเสนผาศู
ในทอนน และเสนผาศนย นยกลางทอควรมคามากกวาเสนผาศู
กลางทอควรมีคามากกวาเสนผาศนยนยกลางเทยบเทา
กลางเทียบเทา
ของเหล็กอัดแรงทั้งหมดในทอนั้นไมนอยกวา 0.6 เซนติเมตร

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


ตารางที่ 4.1
ตารางท 4 1 ระยะหุ
ระยะหมทีทนอยทสุ
่นอยที่สด
30 ชนิดชิน้ สวนและสภาวะแวดลอม ระยะคอนกรีตหุมที่นอยที่สุด (mm)
1.1 คอนกรตซงหลอกบดนและสมผสกบดนตลอดเวลา
ี ึ่  ั ิ ั ั ั ิ 75
2. คอนกรีตซึง่ สัมผัสกับดินหรือบรรยากาศภายนอก:
- ผนัง พืน้ ตง 25
- ชิ้นสวนชนิดอื่น 38
3. คอนกรีตซึง่ ไมสัมผัสกับดินหรือบรรยากาศภายนอก:
- ผนงั พนื้ ตง 20
4. คาน เสา
- เหล็กเสริมหลัก 38
- เหล็กลูกตั้ง 25
5. โครงสรางเปลือกบาง (shell) หลังคาจีบ
- เหลกเสรมธรรมดาขนาด
เหล็กเสริมธรรมดาขนาด 16 mm และเลกกวา
และเล็กกวา 10
- เหล็กเสริมอื่นๆ เทากับเสนผาศูนยกลางระบุแตไมนอยกวา 20 mm

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


31

ตัวั อยา ง จงออกแบบคานสะพานคอนกรีตี อัดั แรงชว งเดียี่ วธรรมดา มีคี วามยาว


ชวง 20.00 m กวาง 15 m ตัวสะพานประกอบดวยคานสะพานและ
พื้นส พาน ทาการกอสรางในทแบบดงเหลกทหลง
พนสะพาน ทําการกอสรางในที่แบบดึงเหล็กทีหลัง มระยะหางระหวางคาน
มีร ย หางร หวางคาน
สะพาน 90 cm ผิวจราจรเปนยางแอสฟลทติกคอนกรีตมีความหนา ซึง่
คิดเปนน้ําหนัก 145 kg/m2 นาหนกบรรทุ
คดเปนนาหนก น้ําหนักบรรทกจรประกอบด
กจรประกอบดวยนาหนกวยน้ําหนัก
แผกระจาย 1,075 kg/m2 และน้าํ หนักแบบกระทําเปนแนวตาม
ความกวางเทากับ 3,250 kg/m กาหนดใหใชคอนกรตทมกาลง
ความกวางเทากบ กําหนดใหใชคอนกรีตที่มีกําลัง
ประลัยที่อายุ 28 วันเทากับ 350 ksc และที่อายุ 7 วัน ซึ่งเปนอายุ ณ
วันถายแรง เทากับ 250 ksc และใหใชลวดเกลียวอัดแรง ขนาด 12.7
mm ชนิดผอนคลายหนวยแรง (stress relieved) เกรด 270 K

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon


32

… ตัวอยางการออกแบบแผนพื้นสําเร็จ
ตวอยางการออกแบบแผนพนสาเรจ

Prepared by Assist. Prof. Dr. Krit Chaimoon

You might also like