You are on page 1of 4

1

เดิ มพันการเมืองของการเลือกตัง1
โดย เกษี ยร เตชะพีระ

ผมอยากเริม+ โดยเล่านิทานให้ฟังเรือ+ งหนึ+ง เป็ นนิทานอุปมาอุปไมย


สมมุตวิ า่ ห้องอาหารใหญ่ทเ+ี รานังทานอาหารเย็
+ นกันนีCเป็ นเวทีการเมืองไทย แล้วท่านทังC หลายถูกกัน
ออกไปข้างนอก ปิ ดห้อง ล็อกประตู เหลือแต่คณะ รปภ.กับเถ้าแก่เดิมอยูใ่ นห้อง
จากนันC พวกคณะ รปภ.กับเถ้าแก่เดิมก็จดั แจงยกร่างเมนูใหม่ จัดโต๊ะแบ่งโซนกันใหม่อยูข่ า้ งในห้อง
โดยพวกท่านไม่มสี ว่ นร่วมด้วย
เวลาผ่านไป ๔ - ๕ ชัวโมงหรื+ อจะเป็ น ๔ - ๕ ปี กแ็ ล้วแต่ ประตูกเ็ ปิ ดออก พวกท่านได้รบั เชิญกลับ
เข้ามาในฐานะตัวแทนผ่านการเลือกตังC ของแขกทังC หมด แล้วก็พบว่าแทบไม่เหลืออะไรให้กนิ ให้สงในเมนู ั+
เพราะอาหารจานเด็ด จานอร่อย จานแพง ๆ ถูกกันออกไปสงวนไว้เฉพาะสําหรับคณะ รปภ.กับเถ้าแก่เดิม
หมดแล้ว
คําถามก็คอื แล้วท่านทังC หลายจะทําอะไรดี? และจะทําอย่างไร?
เรือ+ งทีผ+ มจะว่าต่อไปนีCเป็ นการทดลองอธิบายตีความนิทานเรือ+ งนีCให้ฟัง.....
ความสนใจของผมเกีย+ วกับการเลือกตังC ไม่เชิงเป็ นเรือ+ งทีว+ า่ พรรคไหนจะชนะ หรือพลเอกประยุทธ์จะ
ได้เป็ นนายกต่อไปหรือเปล่า ผมคิดว่าผมกําลังคิดถึงประเด็นทีล+ กึ และกว้างกว่านันC ในความเข้าใจผม เรือ+ ง
สําคัญหลังจากในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้าสวรรคตก็คอื ว่า สังคมการเมืองไทยเสียสองอย่างซึ+งเคยเป็ นสิง+ ทีเ+ ป็ น
กรอบและบํารุงเลียC งการเมืองไทยมา 40 ปี
ผมเรียกอันหนึ+งว่า พระราชอํานาจนํ า (Royal Hegemony) ก็คอื อํานาจนํ าโดยทีค+ นทีต+ ามยอมทํา
ตามโดยไม่ต้องบังคับ เป็ นการนํ าโดยความสมัครใจหรือฉันทามติของคนทีต+ าม อันนีCเป็ นพลังทีส+ ําคัญยิง+
ทางการเมืองทีใ+ นหลวงรัชกาลทีเ+ ก้าทรงค่อย ๆ ปลูกสร้างขึนC มาแล้วก็สําเร็จ แล้วก็อยู่ในการเมืองไทยมา
อย่างน้อย 40 ปี นับแต่ 14 ตุลา 2516 มา
แล้วภายใต้พระราชอํานาจนําของในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้าก็มกี ารจัดวางกรอบแบบแผนปฏิบตั ทิ างการ
เมืองว่าจะทํากันอย่างไร กลุ่มฝ่ ายต่าง ๆ ทางการเมือง สถาบันต่าง ๆ ทางการเมืองจะสัมพันธ์ทางอํานาจ
กันอย่างไร แล้วบรรดาชนชันC นําทังC หลายในสังคมการเมืองไทย รวมไปถึงประชาชนด้วยก็ยอมรับวิถอี าํ นาจ
แบบนีC วิถกี ารดําเนินงานทางการเมืองของการใช้อํานาจแบบนีC ผมเรียกอันนีCว่า ฉันทามติภูมพิ ล (The
Bhumibol Consensus)
เอาเข้า จริง ในตอนปลายรัช กาลที+แ ล้ ว ความเปลี+ย นแปลงทางการเมือ งโดยเฉพาะการเกิด
ประชาธิป ไตยที+ใ ช้ร ะบบเลือ กตังC แบบสัด ส่ว น และอํา นาจนํ า ใหม่ท+ีเ ป็ น ทางเลือ กของรัฐ บาลทัก ษิณ ก็
ก่อให้เกิดแรงผลักดันขัดแย้งทีอ+ าจนํ าไปสู่การขยับปรับเปลีย+ นกรอบการเมืองดังกล่าวนีC ทว่ารัฐประหารทังC
สองครังC ก็มายุตกิ ระบวนการนีCไปเสียก่อน
การณ์กลับกลายเป็ นว่าพร้อมกับการสวรรคตของในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้า สิง+ สําคัญทางการเมืองสอง

คอลัมน์การเมืองวัฒนธรรม เดิมพันการเมืองของการเลือกตัง7 เกษี ยร เตชะพีระ


2

อย่างนีCสูญหายไป ก็คอื เราอยู่ในสังคมการเมืองไทยตอนนีCทไ+ี ม่มพี ระราชอํานาจนํ าแล้ว และไม่มฉี ันทมติ


ภูมพิ ล ว่าทางการเมืองจะทํากันอย่างไร พอไม่มสี องอย่างนีC สภาพที+เกิดขึCนก็คอื ว่า หลังจากพระองค์
สวรรคตไปแล้ว กลุ่มฝ่ ายต่าง ๆ ทางการเมืองก็ใช้เวลาช่วง 3 - 4 ปี ทผ+ี ่าน ซึง+ เป็ นจังหวะช่วงทีม+ รี ฐั ประหาร
พอดี ก็ไม่ใช่เรื+องบังเอิญ คือพวกชนชันC นําเขากลัว กลัวว่าหลังจากในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้าสวรรคตไปแล้ว ใน
แง่หนึ+งเขาจะคุมประชาชนอยู่ไหม เพราะว่าในรอบ 10 ปี ทผ+ี ่านมาก็มกี ารชุมนุ มประท้วงใหญ่ ๆ หลายครังC
บ้านเมืองเสียหายไปเยอะ ในแง่หนึ+ง ต่างฝ่ ายต่างก็เร่งดําเนินการช่วงทีพ+ ระองค์ทรงประชวรมาก แล้วก็
พระองค์สวรรคต พากันขยับเขตอํานาจกันใหม่ ว่ากลุ่มต่าง ๆ ที+เคยมีอํานาจอยู่เท่านีC ไม่ว่าจะโดยลาย
ลักษณ์ อกั ษรหรือโดยธรรมเนียมปฏิบตั ภิ ายใต้ในหลวงรัชกาลที+เก้า ต้องการจะขยายเขตอํานาจของตน
ออกไปให้กนิ พืCนทีก+ ว้างที+สุด โดยที+เห็นชัดเลยว่าตัวละครสําคัญที+ทําแบบนีCในช่วง 2 - 3 ปี ท+ผี ่านมา คือ
กองทัพกับชนชันC นําเดิม วิธกี ารก็คอื แก้ไขเปลีย+ นแปลงกฎหมาย เพราะว่าคนทังC สองกลุม่ นีCไม่มอี าํ นาจนํา มี
แต่อาํ นาจบังคับหรือว่าอีกอันหนึ+งคืออ้างอิงบารมีของรัชกาลทีเ+ พิง+ สวรรคตไป ก็ได้ผลักดันกฎหมาย วาดเขต
อํานาจใหม่ ขยายเขตอํานาจของตนออกไป แล้วก็กวาดต้อนเอาผลประโยชน์ กวาดต้อนเอาพืนC ทีอ+ ํานาจที+
เดิมอยู่ภายใต้หรือแบ่งกันอยู่ภายใต้ฉนั ทามติภูมพิ ลให้กลายมาเป็ นของตัวให้มากทีส+ ุดเท่าทีจ+ ะมากได้ แต่
ว่านอกจากกองทัพกับชนชันC นําเดิมแล้ว ก็มที งั C พวกระบบราชการต่าง ๆ ด้วย
ทีค+ นสองกลุ่มนีCทําได้ ทีส+ ําคัญก็เป็ นเพราะว่าอยู่ภายใต้ระบอบรัฐประหาร คนสองกลุ่มนีCมอี ํานาจ
มาก ขณะทีค+ นกลุม่ อื+นถูกอํานาจรัฐประหารปิ ดปากไว้ ห้ามเคลือ+ นไหวทางการเมือง ดังนันC ก็ได้แต่กระพริบ
ตาดูการแบ่งเค้กกันใหม่ในระหว่างคนสองกลุ่มนีC ซึง+ ก็ออกมาในรูปกฎหมาย ในรูปรัฐธรรมนู ญใหม่ทแ+ี ปลก
พิลกึ มาก ต่างไปจากเดิมมาก ขยายเขตอํานาจของกองทัพล่วงลํCาเข้ามาในทีต+ ่าง ๆ มาก แล้วก็ขยายเขต
อํานาจของชนชันC นํ าเดิมเข้าไปยังพืนC ทีท+ แ+ี ต่เดิมไม่ได้ครอบคลุม โดยเฉพาะทีเ+ กี+ยวกับทรัพย์สนิ และกําลัง
ทหาร ฉะนันC การเลือกตังC ทีจ+ ะจัดขึนC ก็เหมือนกับว่าเขานังโต๊ + ะกันอยูส่ องกลุม่ แบ่งเค้กกันเรียบร้อยแล้ว แล้วก็
เชือC เชิญคนกลุม่ ทีถ+ กู กันออกไปจากห้องจากโต๊ะในรอบ 4 - 5 ปี ทผ+ี า่ นมาให้กลับเข้ามา
ในแง่หนึ+งก็คอื นักการเมืองจากการเลือกตังC เป็ นชนชันC นํ าจากการเลือกตังC เป็ นตัวแทนของราษฎร
เป็ นตัวแทนของประชาชน ฉะนันC คนกลุ่มทีถ+ ูกเชือC เชิญกลับเข้ามาใหม่หลังจากถูกกันออกไป 4 - 5 ปี กจ็ ะ
มาพร้อมกับความพยายามหรือข้อเรียกร้องทีจ+ ะแบ่งเขตอํานาจกันใหม่ ทีจ+ ะแบ่งผลประโยชน์กนั ใหม่หลังจาก
เขาถูกปิ ดช่องทางนีCไป 4 - 5 ปี ซึ+งมันก็รวมทังC ประโยชน์ และอํานาจเฉพาะของกลุ่มนักการเมืองจากการ
เลือกตังC ของเขา และประโยชน์และอํานาจทัวไปที + ม+ าจากประชาชนทีเ+ ขาเป็ นตัวแทนทีเ+ ลือกตังC เขาเข้ามาด้วย
อันนีCผมคิดว่าเป็ นเดิมพันสําคัญทีส+ ุดทีจ+ ะเกิดขึนC ในการเลือกตังC ก็คอื ไม่ว่าผลการเลือกตังC จะออกมา
อย่างไร ระเบียบอํานาจทีถ+ ูกช่วงชิงจัดวางไว้เรียบร้อยไปก่อนแล้ว จะเผชิญกับการท้าทายและเจรจาใหม่
จากชนชันC นําจากการเลือกตังC และประชาชนซึง+ ถูกกันออกไปจากโต๊ะในช่วง 4 - 5 ปี ทผ+ี ่านมา ความคิดของ
ผมหลัก ๆ ก็เป็ นแบบนีC
ดังนันC ข้อเสนอของผมก็คอื ว่า ระเบียบทีว+ างกันไว้ในช่วงรัฐประหารโดยหลัก ๆ คือคนสองกลุม่ นีCมนั
ไม่เวิรค์ ดู ๆ ก็เห็น คือไม่เวิรค์ ทางเศรษฐกิจ และมันก็กระทบกระเทือนผลประโยชน์ของกลุ่มต่าง ๆ ทีถ+ ูก

คอลัมน์การเมืองวัฒนธรรม เดิมพันการเมืองของการเลือกตัง7 เกษี ยร เตชะพีระ


3

กันออกไปมากเกินไป ดังนันC มันจะดีสาํ หรับประเทศชาติบา้ นเมือง ถ้าคิดถึงการเลือกตังC ทีก+ ําลังจะเกิดขึนC


ครังC นีCวา่ เป็ นการเปิ ดฉากเปิ ดม่าน เป็ นก้าวแรกของการเจรจากันใหม่ซง+ึ ระเบียบอํานาจทีท+ าํ กันขึนC มาโดยกัน
โต๊ะปิ ดประตูทาํ อยูส่ องกลุม่ นี+ มันไม่เวิรค์ ไม่แก้ปัญหา ไม่อาจเป็ นทีย+ อมรับของคนส่วนใหญ่ได้ ดังนันC ก็ควร
ถือการเลือกตังC นีCเป็ นการเปิ ดฉากเจรจาแบ่งเค้กกันใหม่
แน่ นอนกลุ่มทีเ+ ขาทําอยู่เดิมเขาก็ไม่ตอ้ งการให้เกิดขึนC ก็เลยออกแบบรัฐธรรมนู ญมาประเภทแก้ไข
ยากฉิบหายเลย คือเขาชอบแบบนีC เขาแช่แข็งมันไว้เลย เขาต้องการให้เป็ นแบบนีCเพือ+ ทีเ+ ขาจะได้มอี าํ นาจ
ยาวนานไป แต่ว่ามันจะเป็ นปั ญหาขัดแย้งในทางการเมือง ถ้าเกิดคุณไม่เริม+ เปิ ดฉากเจรจากันใหม่ ไม่เริม+
เปิ ดฉากหาทางแบ่งเค้กกันใหม่ในแบบทีไ+ ปด้วยกันได้
ในทางปรัชญาการเมืองมีแนวคิดเรื+อง La volonté générale' เป็ นคําฝรังเศส + มาจากรูสโซก็คอื The
general will ในภาษาอัง กฤษหรือ 'เจตจํา นงทัว+ ไป' ที+ถือ ประโยชน์ ส่ว นรวมของสัง คมเป็ น ที+ต ังC กับ La
volonté particulière หรือ The particular will อันหมายถึง ‘เจตจํานงเฉพาะ’ เป็ นของเฉพาะกลุม่ เฉพาะส่วน
ซึง+ คิดถึงแต่ผลประโยชน์เฉพาะส่วน
คือถ้าพูดแบบนีCในความเห็นผมก็กล่าวได้วา่ หลังจากในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้าสวรรคต ประเทศไทยไม่มี
เจตจํานงทัวไป + มีแต่เจตจํานงเฉพาะทีเ+ บียดบังเข้ามาแอบอ้างว่าเป็ นเจตจํานงทัวไป + แล้วก็กํากับดูแลความ
เป็ นไปของสังคม
ดังนันC นี+กเ็ ป็ นจังหวะทีจ+ ะดูกนั ว่าผลจากการเลือกตังC และต่อไปข้างหน้าสังคมการเมืองไทยจะสร้าง
เจตจํานงทัวไปขึ + นC มาใหม่ได้หรือไม่ ซึง+ จากประสบการณ์ของสังคมไทยทีผ+ า่ นมาในภายใต้สมัยรัชกาลทีเ+ ก้า
ถ้าคิดกว้าง ๆ รวม ๆ เราอาจจะคิดอย่างนีCได้ว่าเจตจํานงทัวไปที + ม+ าได้สองทาง อันหนึ+งคือมาจากเบือC งบน
หรือ The general will from above/La volonté générale d'en haut และ The general will from below/La
volonté générale d'en bas ทีม+ าจากทีต+ +าํ ก็คอื มาจากราษฎร มาจากประชาชน
การปฏิรปู ครังC สําคัญในประวัตศิ าสตร์ของการเมืองไทยทีส+ าํ เร็จมักจะเกิดขึนC ได้เมือ+ มีการผสานสมัคร
สมานกลมเกลียวกันระหว่างเจตจํานงทัวไปจากเบื + อC งบนกับเจตจํานงทัวไปจากเบื
+ อC งล่าง เมือ+ ไหร่สองอันนีCไป
ด้วยกันได้การปฏิรูปสําเร็จ แต่ว่าสภาวะทีเ+ รามีอยู่ตอนนีCในเมืองไทยก็คอื ไม่มเี จตจํานงทัวไป + หลังจากใน
หลวงรัชกาลทีเ+ ก้าสวรรคตแล้ว มีแต่เจตจํานงเฉพาะ ฉะนันC จะสร้างเจตจํานงทัวไปขึ + นC มาใหม่โดยผสานกัน
ระหว่างบนกับล่างได้หรือเปล่า
ในประวัตศิ าสตร์ไทยตอนทีท+ าํ สําเร็จหนหนึ+งคือสมัยรัชกาลทีห+ า้ การปฏิรปู การปกครองแผ่นดิน หน
นันC ทํา สํา เร็จ ก็เ พราะว่า มีเ จตจํา นงทัว+ ไปของในหลวงรัช กาลที+ห้า ในการปฏิรูป จากเบืCอ งบน ผสานกับ
เจตจํานงทัวไปจากกลุ+ ่มสยามหนุ่ มและกลุ่มกระฎุมพีขา้ ราชการจากเบืCองล่างระดับหนึ+ง เพราะว่าตอนนันC
สามัญชนไพร่ราบทัวไปก็ + ยงั ไม่ได้เข้าสูว่ งการเมืองเท่าไหร่ ครังC นันC ก็ผลักดันสําเร็จ
หนทีช+ ดั เจนมากอีกหนหนึ+งก็คอื ตอนรัชกาลทีเ+ ก้า ตอน 14 ตุลา 2516 เรือ+ ยมาถึงประมาณ พฤษภา
2535 มันมีการผสานกันระหว่างเจตจํานงทัวไปจากเบื + อC งบนของในหลวงรัชกาลทีเ+ ก้า กับเจตจํานงทัวไปจาก +
เบือC งล่างของประชาชนทีเ+ รียกร้องต่อสู้ ต้องการให้มรี ะบอบประชาธิปไตย แล้วก็สมานกันออกมาในรูปเป็ น

คอลัมน์การเมืองวัฒนธรรม เดิมพันการเมืองของการเลือกตัง7 เกษี ยร เตชะพีระ


4

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุขคือได้ทงั C บนทังC ล่าง อันนันC ก็เป็ นอีกหนหนึ+งที+


ผลักดันการปฏิรปู สําเร็จไปได้
คําถามคือหนนีCจะทําได้หรือเปล่า อันนีCเป็ นโจทย์ทผ+ี มทิงC เอาไว้ ก็จะเห็นได้วา่ เป็ นเรือ+ งทีไ+ ม่ได้คดิ ถึง
การเลือกตังC แบบสันC ๆ ว่าใครชนะใครแพ้ใครขึนC เป็ นรัฐบาล มันเป็ นเรือ+ งทีล+ กึ และยาวกว่า
คือถ้าพูดในแง่รา้ ยทีส+ ุดตอนนีCกอ็ าจจะเรียกได้ว่าระเบียบการเมืองทีเ+ รามีในเมืองไทยปั จจุบนั เป็ น
ระเบีย บการเมือ งนิ ร นาม (A political system with no name) เพราะถ้ า คิด ว่ า เดิม ทีเ คยเป็ นระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข ตอนนีCไม่ใช่ประชาธิปไตยแน่ ๆ และทีร+ า้ ยกว่านันC ก็คอื ดู
จะมีปัญหาความกํากวมลักลันในหมู + ่ผูก้ ุมอํานาจรัฐระหว่าง public person (บุคคลผูก้ ระทําการในฐานะรัฐ
ส่วนรวม) กับ private person (บุคคลเอกชนส่วนตัว) ด้วย แต่ตอนนีCมนั ค่อนข้างปนกันแล้ว เป็ นทังC public
person เป็ นทังC private person ซึง+ มีผลประโยชน์สว่ นตัว มีผลประโยชน์เฉพาะของปั จเจกตัวเอง อันนีCทาํ
ให้แย่มาก ก็คอื ว่าระเบียบการเมืองมันงง ผูค้ นทังC หลายทีท+ าํ งานอยูใ่ นหน่ วยราชการต่าง ๆ งง เมือ+ เจอกับ
บทบาทฐานะทีก+ Cํากึง+ กํากวมแบบนีC ดังปรากฏข้อมูลในข้อเขียนของ มรว. ปรีดยิ าธร เทวกุลเรื+องเหตุผล ๘
ข้อทีไ+ ม่ตอ้ งการให้พลเอกประยุทธ์เป็ นนายกฯอีก เป็ นตัวอย่าง
คําถามคือว่า แล้วอะไรคือบทบาทของบุคคลเอกชนคนนีC เขาจะยึดถือเจตจํานงทัวไปผลประโยชน์ +
ทัวไป+ หมือนกับสมัยก่อนได้ทาํ หรือเปล่า
อันนีCกร็ วม ๆ ทีพ+ ดู ไป ก็จะเห็นได้ว่า โอ้โห เรื+องมันใหญ่เว้ย โจทย์มนั ยากเว้ย แล้วมันเหมือนกับ
พอเข้าใจว่าทังC หมดเดิมพันคืออะไรก็ทําให้เรารูส้ กึ ว่ามันไม่ใช่เรื+องง่ายทีจ+ ะทํา แล้วก็อาจจะมองในแง่ลบแง่
ร้ายไป แต่ว่าสิง+ ทีผ+ มพยายามจะบอกก็คอื ว่า มันไม่ทําไม่ได้ เพราะว่าระเบียบแบบทีส+ ร้างกันอยู่โดยสอง
กลุ่มนีCมนั ไม่เวิรค์ มันติดขัดไปหมด มันก่อปั ญหาในแง่ปฏิบตั เิ ยอะสําหรับผูค้ นทังC หลายและโดยเฉพาะกับ
ประชาชนทัวไป + คือถ้ามันอยูต่ ่อมันจะเป็ นต้นทุนของประเทศทังC ประเทศต้องแบกรับ ของคนในสังคมทีต+ อ้ ง
แบกค่าใช้จ่ายให้กบั ระเบียบอํานาจทีไ+ ม่เป็ นธรรมชาติ มันกํCากึง+ กํากวม มันไม่ถูกครรลองคลองธรรมแบบนีC
มันจะเป็ นปั ญหาและทําให้ประเทศต้องเสียหายประชาชนลําบากเดือดร้อนไปอีก
แต่เพราะเหตุนันC ผมก็เลยคิดว่ามันคุมไม่อยู่หรอก มันไม่สามารถทีจ+ ะแช่แข็งระเบียบทีเ+ ขาออกมา
โดยไม่เปลีย+ นแปลงได้หรอก แรงกดดันจะเพิม+ มากขึนC หลังการเลือกตังC แล้วถ้าผูม้ อี ํานาจฉลาดพอเขาควร
จะปรับระเบียบนันC เปิ ดให้กบั การเจรจาเพือ+ ปรับระเบียบนันC ใหม่ ทีว+ า่ ฉลาดพอผมหมายความว่า นักปฏิ รปู
ที= ฉลาดจะให้ มากกว่ าที= ประชาชนอยากได้ แต่ ไม่ เกิ นไปกว่ าที= เขาอยากเสี ย พูด อย่ า งนีC ก็ไ ด้ ถ้า
ประชาชนเรียกร้อง 3 คุณเป็ นนักปฏิรูปที+เก่งคุณให้ 4 เลย ประชาชนจะแฮปปีC อยู่กบั คุณ ถ้าประชาชน
อยากได้ 4 คุณให้ 5 เลย แล้วประชาชนจะแฮปปีC มคี วามหวังยอมอยู่กบั คุณ แล้วทําไมคุณจะไม่ให้ล่ะ?
เพราะว่าในจํานวน 10 คุณยังเหลือในกํามืออีกตังC 5 คุณยังได้เปรียบกว่าตังC เยอะ ถ้าเขาเป็ นนักปฏิรูปที+
ฉลาดเขาควรให้ แต่ในแง่กลับกัน คือถ้าเขาไม่ฉลาด ไม่ให้ เขายังพยายามแช่แข็งระเบียบอํานาจเดิมต่อไป
สิง+ ทีจ+ ะเกิดขึนC ก็คอื มันจะมี ความผิดหวังเพิม+ ทวีขนCึ อาการตาสว่างต่อระเบียบการเมืองเพิม+ ทวีขนCึ (rising
disappointment & rising disillusionment) หลังการเลือกตังC ซึง+ อันนีCน่าห่วง อันนีCน่ากลัว

คอลัมน์การเมืองวัฒนธรรม เดิมพันการเมืองของการเลือกตัง7 เกษี ยร เตชะพีระ

You might also like