You are on page 1of 5

อาณาจักรล้านนา (พ.ศ.1839 – พ.ศ.

2101)
อาณาจักรล้านนาเกิดขึ้นในสมัยต้นพุทธศตวรรษที่ 19 เมื่อรัฐโบราณที่เคยรุ่งเรืองมาก่อน เช่น พุกาม ,
กัมพูชา และหริภุณไชย สลายตัวลงทาให้เกิดการสถาปนาอาณาจักรล้านนาขึ้นมาโดยพัฒนามาจากแว่นแคว้น -นคร
รัฐมาสู่แบบอาณาจักร เป็นลักษณะการรวมตัวแบบหลวมๆ เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางอานาจที่ขยายออกไปโดย
วิธีการสร้างเครือข่ายทางญาติ จนถึงอาณาจักรล่มสลายในปี พ.ศ.2101 มีอายุ 262 ปี เป็นเวลาสองร้อยกว่าปีที่
อาณาล้านนาได้กาเนิดและสิ้นสุดลง ด้วยข้อจากัดทางภูมิศาสตร์ในหุบ เขาและการรวบตัวแบบหลวมไม่เป็นหนึ่ง
เดียวกัน อาณาจักรจึงได้ตกเป็นเมืองชายขอบของพม่าและสยามในเวลาต่อมา
1. สมัยสร้างอาณาจักร (พ.ศ.1839-พ.ศ.1898)
พญามังรายได้ทาการรวบรวมเมืองต่างๆในเขตแคว้นโยน หรือแคว้นโยนก (รัฐของชาวไทยวนที่ตั้งอยู่แถบ
ลุ่มน้าโขงตอนกลาง อันเป็นที่ราบลุ่มของแม่น้ากก เป็นตั้งของชุมชนที่มีมาช้านาน เป็นรัฐชายขอบที่ตั้งอยู่
ใกล้กับอาณาจักรขนาดใหญ่ ขอม พุกาม และยูนนาน) และขยายอานาจสู่แคว้นหริภุญไชย อาณาเขตที่ถูก
รวบรวมกันในสมัยนั้นได้แก่ เชียงราย เงินยาง เชียงแสน เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง
สาเหตุหรือปัจจัยของการกาเนิดล้านนา: การขยายตัวทางการค้าเพื่อเป็นดินแดนที่เป็นศูนย์กลางการค้าขายและ
ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ สามารถเชื่อมโยงกิจการการค้ากับเมืองต่างๆได้อย่างสะดวก จึงเป็นสาเหตุเพื่อทา
การยึดครองหริภุญไชยซึ่งมีฐานมั่นคงความสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและการติดต่อค้าขายกับจีนในสมัยนั้น
เมื่อทาการผนวกกับหริภุญไชยได้แล้ว พญามังรายก็ได้สร้างเชียงใหม่บริเวณลุ่มแม่น้าปิงเพื่อให้เป็นศูนย์การค้า
เช่นกัน
เหตุการณ์สาคัญก่อนเกิดอาณาจักร:
- สัญญาสามกษัตริย์ : การทาสัญญาระหว่างพญามังราย พญางาเมือง และพ่อขุนรามคาแหงในปี พ.ศ.
1830 เพื่อทาการผนวกหริภุญไชยและจะได้ไม่เกิดการขัดแย้งระหว่างการขยายอานาจระหว่างกัน
เมืองหริภุญไชยถูกยึดในปี พ.ศ.1935 โดยพญามังรายนาทัพจากเมืองฝากเข้ายึดปละประทับอยู่หริ
ภุญไชยเป็นเวลา 2 ปีและให้อ้ายฟ้าครองหริภุญไชย
- การกาเนิดเวียงกุมกาม : สภาพก่อนจะเป็นเวียงกุมกาม บริเวณนี้เป็นหมู่บ้านมาก่อนตั้งแต่ราวพุทธ
ศตวรรษที่ 17 ในปี พ.ศ. 1837 เวียงกุมกามถูกสร้างขึ้นบนพื้นฐานวัฒนธรรมหริภุญไชยการในผัง
เมืองและคติการให้วัดเป็นศูนย์กลางของเมือง เป็นช่วงเวลาที่มีการรับวัฒรธรรมจากหริภุญไชยและ
สืบต่อสานต่อกับวัฒนธรรมล้านนาในด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม ก่อนจะย้ายไปเมืองเชียงใหม่

1.1. ข้อมูลทั่วไป เหตุการณ์สาคัญ / ระบบนิเวศวิทยาของเมือง


การวางผั งเมืองเชีย งใหม่ สอดคล้องกับลั กษณะทางกายภาพ ความอุดมสมบูรณ์ ความสู งต่าของภูมิ
ประเทศ พร้อมทั้งกาหนดขอบเขตการใช้ประโยชน์จากพื้นที่ที่มีอยู่อย่างเหมาะสม การทาเลที่ตั้งนี้ความคิดทักษา
เมือง ศาสตร์ด้านโหราศาสตร์การวางตาแหน่งดาวเคราะห์ คือการวางผังเมืองที่ มีความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อ
และจุดเด่นจุดด้อยลักษณะทางกายภาพ
ทิศเหนือ : ทิศมงคล มีน้าไหลผ่านเหมาะแก่การตั้งถิ่นสร้างเมืองเชียงใหม่ เสมือนศีรษะส่วนสาคัญ จึงจัด
วางอยู่ที่ประตูหัวเวียง(ประตูช้างเผือก) ห้ามนาสิ่งอัปมงคลเข้าผ่านประตูนี้
ทิศใต้ : เป็นพื้นที่ลาดต่าลุ่ม ให้ลักษณะเป็นทิศด้อยจึงกาหนดให้ทิศตะวันตกเฉียงใต้เป็นกาลกิณี เส้นทาง
ออกของศพ
ทิศตะวันตก : เป็นดินแดนอรัญญิก มีความเชื่อว่าเป็นทิศแห่งความตายหรือแดนศาสนาจึงมีการตั้งสานัก
สงฆ์
ทิศตะวันออก : อยู่บนตาแหน่งมูลเมืองเหมาะสมแก่การค้าขายและคมนาคม เป็นถิ่นที่มีการตั้งที่อยู่มี
ความหนาแน่นย่านบริเวณนี้ยังปรากฏอยู่ในปัจจุบัน คือ ถนนท่าแพ ถนนช้างม่อย
ทิศเหนือเป็นอวัยวะที่สาคัญตั้งสิ่งมงคลของล้านเมือง เช่น หอคาเวียงแก้ว คุ้มเจ้านายบุตรหลาย
วัดเชียงมั่น หออินทขีล เจดีย์หลวง เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ส่วนบริเวณตีนเวียงเป็นบ้านเรือนและวัดขนาดเล็ก
บริเวณสะดือเมืองคือที่ตั้งของหออินทขีลเป็นเสาหลักเมือง ถนนสาคัญคือแกนนอนกับแกนตั้งที่ตัดกัน ณ
สี่แยกใจกลางเวียงจึงกาหนดเป็นลานอเนกประสงค์ใช้ประกอบกิจกรรมของบ้านเมือง
ภายในกาแพงถูกกาหนดให้เป็นพื้นที่ของกษัตริย์ เจ้านาย ข้ารับใช้และไพร่คนเมือง มีหอคา และวัดที่
สาคัญ เช่น วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง วัดเชียงมั่น

1.2. ศาสนา ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรมโบราณ


ได้รับอิทธิพลพื้นฐานทางศาสนามาจากหริภุญไชย ส่วนการก่อสร้างได้รับมาจากสุโขทัย

1.3. การปกครอง ลาดับของการครองเมืองกษัตริย์ หรือผู้ปกครองเมือง


พญามังราย (พ.ศ.1804-พ.ศ.1854)
พญาไชยสงคราม (พ.ศ.1854-พ.ศ.1868)
พญาแสนพู (พ.ศ.1868-พ.ศ.1877)
พญาคาฟู (พ.ศ.1877-พ.ศ.1879)
พญาผายู (พ.ศ.1879-พ.ศ.1898)

1.4. เศรษฐกิจ การค้าขาย


-ไม่มี-

1.5. สถานที่สาคัญ
วัดสาคัญในยุคสมัยสร้างอาณาจักรล้านนา : วัดเชียงมั่นเป็นวัดแห่งแรกที่เกิดขึ้นในเมืองเชียงใหม่ มีศิลา
จารึกเล่าเรื่องเกี่ยวกับการสร้างเมืองเชียงใหม่ โดยได้รับความร่วมมือระหว่างพญามังราย พญางาเมือง
และพ่อขุนมังราย เป็นต้น
วัดที่สาคัญและตั้งอยู่ในภายในกาแพงเมือง พื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ มี วัดพระสิงห์ วัดเจดีย์หลวง และวัดเชียงมั่น
วัดที่ตั้งในเขตป่าบริเวณดอยสุเทพหรือเชิงดอยมี วัดสวนดอก วัดป่าแดง วัดฝ่ายหิน วัดอุโมงค์ และวัดเจ็ด
ยอด ความเจริญสูงสุดอยู่สมัยพระเจ้าติโลกราชปกครอง

2. สมัยอาณาจักรล้านนารุ่งเรือง (พ.ศ.1898-2068) ระยะเวลาที่อาณาจักรล้านนารุ่งเรืองประมาณ 170 ปี


ความเจริญสูงสุดอยู่สมัยพระเจ้าติโลกราชปกครอง

2.1. ข้อมูลทั่วไป เหตุการณ์สาคัญ / ระบบนิเวศวิทยาของเมือง


ลักษณะเด่นของอาณาจักรล้านนาที่มีความรุ่งเรือง :
- อาณาเขตกว้างขวาง : ความเจริญแผ่อานาจออกได้อย่างกว้างขวางครอบคลุมถึง เมืองน่าน เมืองแพร่
เมืองเชียงตุง เมืองนาย เมืองยอง และสิบสองพันนา ระหว่างนั้นด้านใต้ก็มีการสู้รบกับอยุธยา
- พระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองมากที่สุด : เชียงใหม่กลายเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรการศึ กษาพุทธ
ศาสนา มีการเผยแผ่ศาสนาพุทธไปตามเมืองต่างๆ
- เศรษฐกิจดี : การค้าขายมีการขยายตัวมากขึ้น เชียงใหม่เป็นศูนย์กลางการค้าขายระดับภูมิภาค
ในยุคนี้มีความรุ่งเรืองด้านการสร้างถาวรวัตถุปละภูมิปัญญา เกิดวรรณกรรมพุทธศาสนาชิ้นสาคัญต่างๆรวมถึง
นิทานปัญญาสชาดก 50 เรื่อง
ในปลายยุคสมัยนี้มีการสู้รบกับเมืองเชียงตุง ทาให้ล้านนาเสียขุนนางและไพร่พลจานวนมาก จนกระทั่งปี พ.ศ.
2067เกิดอุทกภัย ทาให้ประชาชนตายจานวนมาก ความอ่อนแอของล้านนามากขึ้นตามลาดับ แต่ไม่ทันที่พญาแก้ว
จะแก้ไขปัญหาก็สิ้นพระชนม์ลงในปี พ.ศ.2068

2.2. การปกครอง ลาดับของการครองเมืองกษัตริย์ หรือผู้ปกครองเมือง


พญากือนา (พ.ศ.1898-พ.ศ.1928)
พญาแสนเมืองมา(พ.ศ.1928-พ.ศ.1944)
พญาสามฝั่งแกน (พ.ศ.1945-พ.ศ.1984)
พระเจ้าติโลกราช(พ.ศ.1984-พ.ศ.2030)
พญายอดเชียงราย(พ.ศ.2031-2038)
พญาแก้ว (พ.ศ.2038-พ.ศ.2068)

2.3. ศาสนาพุทธ ศิลปกรรม และวัดสาคัญในยุคสมัยอาณาจักรล้านนารุ่งเรือง


ในสมัยที่ล้านนารุ่งเรืองมีการรับพุทธศาสนาสองนิกาย คือ นิกายลังกาวงศ์(สมัยพญากือนา) และนิกายสี
หล (สมัยพระเจ้าติโลกราช) ในสมัยนี้มีการสร้างและบารุงพุทธสถานจานวนมาก

2.4. ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และวรรณกรรม


- ด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม : โครงสร้างพื้นฐานความเจริญศาสนามาจากหริภุญไชย ในช่วงต้นรับ
ศิลปกรรมมาจากสุโขทัย ก่อนจะกลายเป็นศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมมีความเป็นล้านนาเฉพาะในเวลา
ต่อมา
ด้านวรรณกรรม : ถือเป็นความรุ่งเรืองด้านปัญญามากในยุคสมัยพญาแก้ว เกิดวรรณกรรมพุทธศาสนาชิ้น
สาคัญ

3. สมัยเสื่อมของอาณาจักรล้านนาและการล่มสลายของอาณาจักร (พ.ศ.2069-พ.ศ.2101)
3.1. ข้อมูลทั่วไป เหตุการณ์สาคัญ / ระบบนิเวศวิทยาของเมือง
สมั ย เสื่ อ มของล้ า นนามี อ ายุ ร าวประมาณ 32 ปี ในช่ ว งเวลาดัง กล่ า วมี ร ะยะเว้ น ว่ า งไม่ มี ก ษั ต ริ ย์ ขึ้ น
ครองราชย์ยาวนานถึง 4 ปี (พ.ศ.2091-พ.ศ.2094) ในสมัยนี้เกิดปัญหาหลายอย่าง อาทิ ขุนนางมีความ
ขัดแย้งกันเอง ขุนนางลอบปลงกษัตริย์ หรือขุนนางปลดกษัตริย์ และกษัตริย์สละราชสมบั ติ ล้านนาปลาย
ราชวงศ์มังรายมีความอ่อนแอจนกระทั่งตกเป็นเมืองขึ้นของพม่าในปี พ.ศ.2101
ปัจจัยแหล่งความเสื่อม : สาเหตุของการล่มสลายและเสื่อมของล้านนามาจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก
- ปัจจัยภายใน : ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในอาณาล้านนา
 ปัญหาการเมือง : ความอ่อนแอของกษัตริย์เพราะขุนนางมีอานาจเหนือกว่ากษัตริย์
 ปัญหาเศรษฐกิจ : เนื่องจากปัญหาทางการเมืองส่งผลกระทบต่อการค้าที่มีผลประโยชน์เข้ามา
เกี่ยวข้อง จากที่เคยมีการค้าอย่างอิสระ กลายเป็นเงื่อนไขจากความจัดแย้งทางการเมือง ทาให้
เกิดความแตกแยก
- ปัจจัยภายนอก : ปัญหาจากการถูกรุกรานและการปล้นจากรัฐใกล้เคียงทาให้อาณาจักรล้านนาล่มสลาย
เร็วขึ้น

3.2. ศาสนา ศิลปกรรม สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรมโบราณ


ศาสนาและวัดสาคัญที่เกิดในช่วงสมัยอาณาจักรล้านนาเสื่อมสลาย : ความโดดเด่นของพุทธศาสนามีเพียง
แค่สมัย พญาเกสเชษราช ครองราชย์ในครั้งแรก มีการสนับสนุนและทนุทาบุงพุทธศาสนานิกายสีหล และ
สร้างวัดโลกโมลี เสมือนวัดประจาราชกาลของท่าน

3.3. การปกครอง ลาดับของการครองเมืองกษัตริย์ หรือผู้ปกครองเมือง


พญาเกสเชษราช (ครั้งแรก พศ.2069-พ.ศ.2081)
ท้าวชาย (ท้าวทรายคา) (พ.ศ.2081-พ.ศ.2086)
พญาเกสเชษราช (ครั้งที่สอง พ.ศ.2086-พ.ศ.2088)
พระมหาเทวี จิรประภา (พศ.2088-พ.ศ.2089)
พระไชยเชษฐา(พ.ศ.2089-พ.ศ.2090)
พญาเมกุ (พ.ศ.2094-พ.ศ.2107)
สถาบันกษัตริย์ : ศูนย์กลางของอานาจในการปกครองบ้านเมืองคือสถานบันกษัตริย์
ลักษณะ : มีความเรียบง่ายในช่วงแรก แล้วค่อยๆถูกหล่อหลอมความเป็นท้องถิ่นจนกลายเป็นประเพณีและจารีตที่
ปฏิบัติสืบต่อกันมา
สถาบันขุนนาง : ขุนนางมีความสาคัญในฐานะผู้ช่วยเหลือกษัตริย์ในการบริหารปกครองอาณาจักร
กษัตริย์ควบคุมขุนนางด้วยการให้มีคุณธรรม
3.4. เศรษฐกิจ การค้าขาย
เศรษฐกิจของอาณาจักรล้านนา (พ.ศ.1839-พ.ศ.2101)
การพัฒนาด้านเศรษฐกิจของล้านนามีความรุ่งเรืองในสมัยพญากือนา และในสมัยพระเจ้าติโลก
ราชเป็นยุคทองที่มีความเจริญถึงขีดสุดทั้งด้านการเมือง กองทัพ และเศรษฐกิจ หลักฐานที่สะท้อนความ
เจริ ญทางด้านเศรษฐกิจ คือ การสร้างวัดซึ่งมีปริมาณมากและมีความสวยงามเป็นเอกลั กษณะเฉพาะ
ล้านนา แต่ทั้งนี้ยุคทองของล้านนาก็จบลงค่อนข้างเร็วเพราะการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
การค้าภายในและการค้าระหว่างรัฐ :
- การค้าภายในอาณาจักรล้านนา : การตกลงเงื่อนไขการค้าเพื่อแลกเปลี่ยนสินค้าที่บางพื้นที่ไม่ได้ผลิต
เพื่อกระจายผลผลิตไปตามแหล่งที่ขาดแคลน
- การค้าระหว่างรัฐ : กษัตริย์มีบทบทความทางการค้า แสงหารายได้จากการค้า สิ่งที่ทารายได้คือ
การค้าของป่าตามที่กษัตริย์เป็นเจ้าของทรัพยากรและผลผลิตจากป่า

3.5. สถานที่สาคัญ
-ไม่ม-ี

You might also like