You are on page 1of 35

1

¤ÇÒÁÃٌàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ¨íҹǹ¨ÃÔ§

1 โครงสร้ างของระบบจํานวนจริ ง (The Real Number System)

โครงสร้ างของระบบจํานวนจริง

จํานวนจริ ง

h
จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ

เศษส่ วนทีไม่ ใช่ จํานวนเต็ม


at
m
จํานวนเต็ม

จํานวนเต็ม จํานวนเต็ม จํานวนเต็ม


TR

บวก ศูนย์ ลบ

2 จํานวนตรรกยะ (Rational Number)


G

บทนิยาม จํานวนตรรกยะ หมายถึง จํานวนทีสามารถเขียนในรูปเศษส่วน a


b
เมือ a และ b เป็ นจํานวนเต็ม และ b  0 หรื อในรูปทศนิยมซํา

3 
ตัวอย่างของจํานวนตรรกยะ เช่น , 5, 0.73, 0.6 เป็ นต้ น
11

การเขียนเศษส่วน(fraction) ในรูปทศนิยม(decimal) โดยทัวไปใช้ วิธีการนําตัวส่วนไปหารตัวเศษ


โดยการหารยาว

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


2

ตัวอย่ าง 1 จงเขียนเศษส่วนต่อไปนีให้ อยู่ในรูปทศนิยม


3 53 1 26
(1) (2) (3) (4)
40 20 3 7

h
at
จากตัวอย่างที 1 การเขียนเศษส่วนให้ เป็ นทศนิยมสามารถเขียนได้ ทงทศนิ
ั ยมทีรู้จบและทศนิยมไม่ร้ ูจบแบบ
m
ซํา เพราะฉะนันทศนิยมจึงแบ่งออกได้ เป็ น 2 ชนิด คือ
1. ทศนิยมแบบรู้ จบ คือ ทศนิยมทีจํานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมเป็ นจํานวนรู้จบหรื อมีศน ู ย์ซํา เช่น

0.2, 1.54, 0.38 0 เป็ นต้ น
TR

2. ทศนิยมแบบไม่ ร้ ู จบ คือ ทศนิยมทีจํานวนตัวเลขหลังจุดทศนิยมเป็ นจํานวนไม่ร้ ูจบ แบ่ง


ออกเป็ น 2 คือ
2.1 ทศนิยมซําแบบไม่ ร้ ู จบ คือ ทศนิยมทีมีตวั เลขหลังจุดทศนิยมตัวหนึงหรื อมากกว่าซํากัน
อย่างเป็ นระบบ เช่น
G


0.333… = 0.3
 
2.181818… = 2.18

เป็ นต้ น

–1.125125125… = 1.12 5
2.2 ทศนิยมไม่ ซาแบบไม่
ํ ร้ ูจบ คือ ทศนิยมทีมีตวั เลขหลังจุดทศนิยมมากมายแบบไม่เป็ น
ระบบไม่ซํากันเลย เช่น 1.4142135…, 1.7320508…, 2.6457513… เป็ นต้ น

ในทางกลับกัน เราสามารถเขียนจํานวนทีอยู่ในรูปทศนิยมแบบรู้จบและทศนิยมแบบไม่ร้ ูจบ ให้ อยูใ่ น


รูปเศษส่วนได้ เช่น

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


3

ตัวอย่ าง 2 จงเขียนทศนิยมต่อไปนีให้ อยู่ในรูปเศษส่วน


   
(1) 0.25 (2) 0. 4 2 (3) 2.9 9 8

h
 
0.a1a2 … ak a k 1 a k 2 ...a m

at
การเขียนทศนิยมไม่ร้ ูจบแบบซําให้ เป็ นเศษส่วนนัน สามารถทําได้ โดยวิธีลดั มีหลักดังนี

=
(a1a 2 ...am )  (a1a 2 ...ak )
m
999...900...0
k ตําแหน่ง m – k ตําแหน่ง
m – k ตัว k ตัว
TR

ตัวอย่ าง 3 จงเขียนทศนิยมต่อไปนีในรูปเศษส่วน
 
(1) 0. 3 7
G

 
(2) 0.125 8

 
(3) 5.314 5


(4) 2.26 7

 
(5) 3.4 5 3

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


4

3 จํานวนอตรรกยะ (Irrational Number)

บทนิยาม เราเรี ยกจํานวนทีไม่สามารถเขียนในรูป a เมือ a และ b เป็ นจํานวนเต็ม


b
และ b  0 ว่า จํานวนอตรรกยะ

พิจารณาจํานวนต่อไปนี
4.23133113111…
0.4656556555…
 = 3.142857143…
2 = 1.414213562…
จะเห็นว่า จํานวนทีกล่าวข้ องต้ นไม่สามารถเขียนแทนได้ ด้วยเศษส่วนหรื อทศนิยมซํา จํานวนดังกล่าว

h
จึงเป็ นจํานวนอตรรกยะ
ในการคํานวณเรานิยมใช้ จํานวนตรรกยะเป็ นค่าประมาณของจํานวนอตรรกยะ เช่น ใช้
22
7
หรื อ 3.14 เป็ นค่าประมาณของ 
ใช้ 1.414 เป็ นค่าประมาณของ 2 เป็ นต้ น
at
m
เราสามารถแทนจํานวนตรรกยะทุกจํานวนได้ ด้วยจุดบนเส้ นจํานวน ในทํานองเดียวกันเราก็สามารถ
แทนจํานวนอตรรกยะได้ ด้วยจุดบนเส้ นจํานวนเช่นเดียวกัน เช่น
จะหาจุดบนเส้ นจํานวนทีแทน  ได้ โดยกลิงรูปวงกลมทีมีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1 หน่วย ไปบนเส้ น
TR

จํานวนครบ 1 รอบ ดังรูป


G


0 1 2 3 4

จะหาจุดบนเส้ นจํานวนทีแทน 2 ได้ โดยใช้ ทฤษฎีของปี ทาโกรัสได้ ดงั รูป

C
2
1 2 1
A
E B D
–2 –1 0 1 2

จุด D แทน 2

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


5

การคํานวณการบวกและการคูณระหว่างจํานวนอตรรกยะด้ วยกันเอง หรื อระหว่างจํานวนตรรกยะ


กับอตรรกยะ มีสิงทีน่าสนใจทีควรทราบและระมัดระวังได้ แก่

1. จํานวนตรรกยะบวกกับจํานวนอตรรกยะ ผลบวกทีได้ จะต้ องเป็ นจํานวนอตรรกยะ

เช่น 3+ 2 = 3. 414213562…

2. จํานวนอตรรกยะบวกกับจํานวนอตรรกยะ ผลบวกทีได้ อาจจะเป็ นจํานวนตรรกยะ


หรื อจํานวนอตรรกยะ

เช่น 2 + (– 2 ) = 0

h
2 + 3 = 3.14626…

3.

เช่น 0 2 = 0
at
จํานวนตรรกยะศูนย์ คูณกับจํานวนอตรรกยะ ผลคูณทีได้ จะเป็ นจํานวนตรรกยะศูนย์
m
4.จํานวนตรรกยะทีไม่ เป็ นศูนย์ คูณกับจํานวนอตรรกยะผลคูณทีได้ จะเป็ นจํานวน
อตรรกยะ
TR

เช่น 2 2 = 2.828427…

5. จํานวนอตรรกยะคูณกับจํานวนอตรรกยะ ผลคูณทีได้ อาจจะเป็ นจํานวนตรรกยะ


หรื อจํานวนอตรรกยะ
G

เช่น 2  2 = 2
2  3 = 6 = 2.4494…

จํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะเป็ นจํานวนคนละประเภทแยกจากกันเด็ดขาด กล่าวคือ จะไม่มี


จํานวนใดทีเป็ นทังจํานวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะพร้ อมกัน จํานวนทังสองประเภทรวมกันเรี ยกว่า
จํานวนจริง (Real Number) กล่าวคือ จํานวนจริ งจะเป็ นจํานวนตรรกยะหรื อจํานวนอตรรกยะนันเอง

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


6

4 รากทีสอง (Square Root)

บทนิยาม กําหนดให้ a เป็ นจํานวนจริ งบวกหรื อศูนย์ รากทีสองของ a


หมายถึงจํานวนจริ ง b ทีทําให้ b2 = a

ถ้ า a = 0 แล้ ว จะมีรากทีสองของ a เพียงจํานวนเดียว คือ 0 เท่านัน


ถ้ า a > 0 แล้ ว จะมีรากทีสองของ a สองจํานวน จํานวนหนึงเป็ นบวก และอีกจํานวนเป็ นลบ
รากทีสองของ a ทีเป็ นบวก เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ a
รากทีสองของ a ทีเป็ นลบ เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ – a
นันคือ ( a )2 = a และ (– a )2 = a
ตัวอย่ าง 1

h
1. รากทีสองของ 0 คือ ………………………………………………….
2.

3.

4.
at
รากทีสองของ 1 คือ ………………………………………………….
รากทีสองของ 2 คือ ………………………………………………….
รากทีสองของ 3 คือ ………………………………………………….
m
5. รากทีสองของ 4 คือ ………………………………………………….
TR

หมายเหตุ ในกรณีที a เป็ นจํานวนตรรกยะ คําตอบของรากทีสองของ a ไม่นิยมตอบใน


รูป a หรื อ – a แต่จะตอบในรูปจํานวนตรรกยะ

ตัวอย่ าง 2
รากทีสองของ 100 คือ ………………………………………………….
G

1.

2. รากทีสองของ 144 คือ ………………………………………………….


3. รากทีสองของ 196 คือ ………………………………………………….
4. รากทีสองของ 625 คือ ………………………………………………….
5. รากทีสองของ 1,296 คือ ………………………………………………….

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


7

ตัวอย่ าง 3
1
1. รากทีสองของ คือ ………………………………………………….
4
1
2. รากทีสองของ คือ ………………………………………………….
9
4
3. รากทีสองของ คือ ………………………………………………….
25
169
4. รากทีสองของ คือ ………………………………………………….
729
5. รากทีสองของ 0.01 คือ ………………………………………………….
6. รากทีสองของ 0.16 คือ ………………………………………………….

h
7. รากทีสองของ 1.21 คือ ………………………………………………….
8. รากทีสองของ 0.000144 คือ ……………………………………………

ตัวอย่ าง 4
1. 25 = ……………..
atและ – 25 = …………………
m
2. 625 = ……………. และ – 625 = …………………

3. 196 = ……………. และ – 196 = …………………


TR

4. 3.61 = ……………. และ – 3.61 = …………………

ค่ าสัมบูรณ์ ของ a (Abslute Value of a)


G

บทนิยาม ถ้ า a เป็ นจํานวนจริ งใด ๆ จะได้ a 2 = |a| เมือ |a | แทนค่าสัมบูรณ์ของ a

a เมือ a>0

ดังนัน |a| = 0 เมือ a=0

–a เมือ a<0

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


8

ตัวอย่ าง 5
1. 1.252 = ……………………………………………………

2.  1.252 =……………………………………………………

3. 1225 =……………………………………………………

4. – 1296 =……………………………………………………

5. x4 =……………………………………………………

6. 9y 6 =……………………………………………………

7. 25a 4b 4 =……………………………………………………

h
หมายเหตุ ในกรณีทีเรามันใจว่าจํานวนทีปรากฏในเครื องหมายค่าสัมบูรณ์ไม่เป็ นจํานวนลบแล้ ว
สัญลักษณ์ของค่าสัมบูรณ์ก็ไม่จําเป็ น ทังนีเพราะ

ดังนัน
แต่
|a|
|a2b2| =
|xy5| =
=

ata เมือ a  0
a2b2 เพราะ a2b2  0
|xy5| เพราะ xy5 อาจเป็ นจํานวนลบก็ได้
m
สมบัติของรากทีสอง เมือ a  0
กําหนดให้ a  0 , b  0 และ c  0 จะได้
TR

(1) a b  b a áÅÐ a b  b a

(2) ( a  b)  c  a  ( b  c) áÅÐ ( a  b)  c  a  ( b  c)

(3) a  ( b  c)  a  b  a  c

(4) ( a)2  a
G

(5) ab  a  b

(6) a  a
b b
1
2
(7) a a

สัญลักษณ์ ถ้ า a เป็ นจํานวนจริ งใด ๆ และ b  0 แล้ ว สัญลักษณ์


a b หมายถึง a b

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


9

ตัวอย่ าง 6 จงหาค่าต่อไปนีในรูปอย่างง่าย
(1) 8 (2) 27

8 75
(3) (4)
3 125

(5) 108 (6) 252

h
(7) 864
at (8) 1800
m
(9) 75 (10) 98
TR

4 121

6 5 y9
(11) a b (12)
G

x2

(13) 32a
4
(14) 27x7

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


10

ตัวอย่ าง 7 จงหาค่าต่อไปนีในรูปอย่างง่าย
(1) 2( 2  32) (2) ( 3  27) 3

(3) ( 2  8  32) 2 (4) xy( x 3 y  xy3 )

h
(5) 6  12  24
at (6) 20x  5xy
m
TR

6 3 5 3 5 6
(7) 10a b  2a b (8) 6a  5a  10a
G

(9)
6
(10 ab )  (4 8 ) (10) 2 28  3 12  4 125
2 75 45 63
ab

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


11

¡ÒôíÒà¹Ô¹¡Òâͧ¨íҹǹ¨ÃÔ§à¡ÕÂè ǡѺÃÒ¡·ÕÊè ͧ
¡íÒ˹´ãˌ ¡íÒ˹´¨íҹǹ¨ÃÔ§ a, b, x áÅÐ y â´Â·Õè a  0, b  0 áÅÐ ¨Ð䴌
¡Òúǡ x a  y a  (x  y) a
¡Òäٳ (x a )(y b)  xy ab

¡ÒÃËÒÃ 1  1  a  a
a a a a
1  1  a  b  a b
a b a b a  b ab
1  1  a  b  a b
a b a b a  b ab

ตัวอย่ าง 8 จงหาค่าต่อไปนีในรูปอย่างง่าย

h
1. ¨§ËÒ¤íҵͺᵋÅТŒÍµ‹Í仹Õéã¹Ãٻ͋ҧ§‹ÒÂ
(1) 18  50  72

at
m
(2) 112  343  448
TR
G

(3) 2 18  7 12  3 75

(4) 4 128  2 147  3 18  2 98  5 75

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


12

2. ¨§ËÒ¤íҵͺᵋÅТŒÍµ‹Í仹Õéã¹Ãٻ͋ҧ§‹ÒÂ
(1) (2 3  5)(3 3  2 5)

(2) ( 2  2 3)(2 3  2)

h
(3) (2 5  5 2)2 (5 2  2 5)2
at
m
TR

(4) ( 7  5)2  ( 8  20)( 7  5)  ( 2  5)2


G

3. ¨§ËÒ¤íҵͺᵋÅТŒÍµ‹Í仹Õéã¹Ãٻ͋ҧ§‹ÒÂ
(1) 2 5 3
5

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


13

(2) 5 6  3 21
3

(3) 4 15  6 25  8 75
20

h
(4) 27  50  4  6
9 3 2 12
at
m
TR

(5) 1
3 2
G

(6) 1  1
5 2 5 2

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


14

4. ¨§ËÒ¤íҵͺᵋÅТŒÍµ‹Í仹Õéã¹Ãٻ͋ҧ§‹ÒÂ
(1) (5 2  20)( 50  2 5)  (3 2  3)( 18  3)

(2) 5( 5  1)( 5  2)( 5  3)  1

h
at
m
(3) (3  2)2  ( 2  3)2
TR
G

(4) 3 3  4 2
3 2 3 2

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


15

2
2  3 2  3 
(5)   
2  3 2  3 

(6) 5 2  5 2
5 2 5 2

h
at
m
TR

(7) 1  1  1  ...  1
1 2 2 3 3 4 8 9
G

(8) ( 2  8  18  ...  200)2

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


16

การหารากทีสอง

(1) การหารากทีสองโดยวิธีการแยกตัวประกอบ

การหารากทีสองของ a โดยวิธีการแยกตัวประกอบ มีวิธีการดังนี

1. แยกตัวประกอบของ a

2. เขียนผลคูณของจํานวนทังหมดทีเป็ นตัวประกอบของ a ให้ อยู่ในรูปยกกําลังสอง

3. หารากทีสองของ a

ตัวอย่ าง 1 จงหารากทีสองของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีการแยกตัวประกอบ

h
1) 900 = 223355

=
22  32  52

(2  3  5)2 at
m
= 302

ดังนัน รากทีสองของ 900 คือ 302 และ – 302


TR

คือ 30 และ –30

2) 2,700 = 2233355

= 22  33  52
G

= (2  3  5)2  3

= 302  3

ดังนัน รากทีสองของ 2,700 คือ 302  3 และ – 302  3

คือ 30 3 และ –30 3

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


17

(2) การหารากทีสองโดยวิธีการเฉลีย

การหารากทีสองโดยวิธีการเฉลีย มีวิธีการตามตัวอย่างต่อไปนี

ตัวอย่ าง 2 จงหารากทีสองของ 13 เป็ นทศนิยมหนึงตําแหน่ง

h
(3) การหารากทีสองโดยวิธีการตังหาร
มีวิธีการ ดังนี at
ขันที 1 นําจํานวนทีต้ องการหารากทีสองมาแบ่งออกเป็ นชุด ชุดละ 2 ตัว โดยจํานวนเต็มเริ มจากหลัก
m
หน่วยไปทางซ้ าย ส่วนทศนิยมเริ มนับจากตําแหน่งที 1 ไปทางขวา
ขันที 2 นําจํานวนทีต้ องการหารากทีสองมาตังหารยาว หาจํานวน 2 จํานวนทีเท่ากันมาคูณกัน ได้
ผลลัพธ์เท่ากับจํานวนชุดแรกหรื อน้ อยกว่าแต่เกือบเท่ากัน แล้ วใส่เป็ นตัวหารและผลลัพธ์ดําเนินตามวิธีการหาร
TR

ยาว
ขันที 3 ยกจํานวนชุดต่อไปลงมาเป็ นตัวตังชุดใหม่ตอ่ ไป ถ้ าตัวตังหมดหรื อตัวตังถึงจุดทศนิยม ให้ ใส่
จุดทศนิยมทีผลลัพธ์ แล้ วเติม 0 ทีตัวตัง ชุดละ 2 ตัว หรื อยกเลขหลังจุดทศนิยมคูต่ อ่ ไปลงมา
ขันที 4 นํา 2 ไปคูณกับผลลัพธ์ แล้ วนํามาใส่ไว้ เป็ นตัวหารตัวใหม่ จากนันหาจํานวนทีเหมือนกันมา
G

เติมใส่ทีผลลัพธ์ และตัวหารตัวหลังสุดแล้ วดําเนินการตามวิธีหารยาวต่อไป


ขันที 5 ดําเนินการตามหลักการขันที 3 และขันที 4 ต่อไปเรื อย ๆ จนกระทังได้ จํานวนตามต้ องการ

ตัวอย่ าง 3 จงหารากทีสองของ 961

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


18

5 รากทีสาม (Cuberoot)
บทนิยาม ให้ a เป็ นจํานวนจริ งใด ๆ รากทีสามของ a หมายถึง จํานวนจริงทียกกําลังสาม แล้ วได้ a
เขียนแทนด้ วยสัญลักษณ์ 3 a นันคือ

( 3 a )3 =a

หมายเหตุ 1. เราสามารถหารากทีสามของ a ใด ๆ ได้ ไม่วา่ a จะเป็ นจํานวนจริ งบวก หรื อจํานวนจริง


ลบ หรื อศูนย์ ก็ตาม

2. รากทีสามของ a มีเพียงรากเดียวเท่านัน

3. จํานวนจริงลบ เมือยกกําลังสามไม่เท่ากับจํานวนบวก ยังคงได้ จํานวนลบเช่นเดิม

h
4. เนืองจาก a3 = a3 จะได้ วา่ a เป็ นรากทีสมของ a3

นันคือ 3
a3 =
at
การหารากทีสามของ a โดยวิธีการแยกตัวประกอบ
a เมือ a เป็ นจํานวนจริ งใด ๆ
m
ตัวอย่ าง 1 จงหารากทีสามของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีการแยกตัวประกอบ

1) 1,728
TR
G

2) –9,621

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


19

แบบฝึ กหัดชุดที 1

1. จงเขียนเศษส่วนต่อไปนีให้ อยูใ่ นรูปทศนิยม


14 7
1) 2) 
5 20
47 27
3) 4) 
20 40
15 19
5) 6) 
7 8
73 2
7) 8) 
4 37
12 43

h
9) 10) 
25 99
7 359
11)

13)
12
3064
4995
at 12) 

14)
495
204
495
m
359 24851
15) 16)
495 99900
TR

2. จงเขียนทศนิยมซําให้ อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างตํา
   
1) 0.14 2) 0.2 8
 
3) 0.7 3 4) 0.5 9
   
G

5) 0.2 4 3 6) 0.4 6 2
   
7) 1. 4 8 8) 3.5 6
 
9) 5.9 10) 7.9
  
11) 16.413 7 12) 18. 4 0 3
 
13) 43.641 14) 63.49 5
   
15) 4.0 4 5 16) 1.719 4

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


20

แบบฝึ กหัดชุดที 2

1. จงหาว่าจุด A ในแต่ละข้ อแทนจํานวนใดบนเส้ นจํานวน


1)

1
A
–2 –1 0 1 2 3

2)
1

A
–2 –1 0 1 2 3

h
3)

–3
2

–2 –1 0
at 1 2
m
4)
2

A C D
TR

0 1 2 3 4

B
5)
G

A
C D
0 1 2 3

6) B

D C A

–2 –1 0

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


21

2. จงหาจุดบนเส้ นจํานวนต่อไปนี
1) 5

–3 –2 –1 0 1 2 3

2)  7, 7

–3 –2 –1 0 1 2 3

h
3)  10, 10

at
m
–3 –2 –1 0 1 2 3

4) 2, 3, 4, 5
TR
G

–3 –2 –1 0 1 2 3

5)  2,  3,  4,  5

–3 –2 –1 0 1 2 3

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


22

3. ในแต่ละข้ อต่อไปนี จงพิจารณาว่าจํานวนใดเป็ นจํานวนตรรกยะ และจํานวนใดเป็ นจํานวน


อตรรกยะ โดยเขียนเครื องหมาย “” ลงในตารางให้ ตรงกับจํานวนทีกําหนดให้

ข้ อ จํานวน จํานวนตรรกยะ จํานวนอตรรกยะ


1. 2
5
2. 5
3. 1.2121121112…
4. 0
5. 2.153153…
6. 8

h
7. 
8. 9
9.
10.
11.
81
3 2
5 5
5
at
m
12. 4

3
13. 3
27
14. 25  5
TR

15. 2.5000…
16. 2. 4

17. 0 3  5
18. 27  3
G

3
19. 6 2
5 3
20. 2 2 2 2
1
21. ( 9)3

22. 2. 4  3.5
 
23. 5.2  2.5
24. 5 5 5 2
(  )  10
5 2

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


23

4. จงพิจารณาว่าข้ อความต่อไปนีจริ งหรื อเท็จ ถ้ าจริ งให้ เขียนเครื องหมาย “” หน้ าข้ อความ แต่ถ้าเป็ นเท็จ
ให้ ใส่เครื องหมาย “” หน้ าข้ อความพร้ อมทังยกตัวอย่างค้ าน
………. 1) 0.414141414… เป็ นจํานวนตรรกยะ
………. 2) 2.2354235468… เป็ นจํานวนตรรกยะ
………. 3) –9.21745217452… เป็ นจํานวนอตรรกยะ
………. 4) 4.544544455… เป็ นจํานวนอตรรกยะ
………. 5) 0 เป็ นจํานวนอตรรกยะ
a
………. 6) จํานวนตรรกยะคือ จํานวนทีเขียนอยูใ่ นรูป เมือ a > 0 และ b  0
b
………. 7) ทศนิยมทุกชนิดเป็ นจํานวนตรรกยะ
………. 8) มีจํานวนตรรกยะบางจํานวนเป็ นจํานวนอตรรกยะ

h
………. 9) เศษส่วนทุกชนิดสามารถเปลียนเป็ นทศนิยมได้
………. 10) ค่า  มีคา่ ประมาณ 22
………. 11)
………. 12)
………. 13)
4, 5, 7
7

at
ทุกจํานวนเป็ นจํานวนอตรรกยะ
จํานวนอตรรกยะบางจํานวนไม่สามารถหาค่าบนเส้ นจํานวนได้
ผลบวกของจํานวนอตรรกยะกับจํานวนอตรรกยะเป็ นจํานวนอตรรกยะ
m
………. 14) ผลคูณของจํานวนอตรรกยะกับจํานวนอตรรกยะเป็ นจํานวนอตรรกยะ
………. 15) ผลบวกของจํานวนตรรกยะกับจํานวนอตรรกยะเป็ นจํานวนอตรรกยะ
TR
G

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


24

แบบฝึ กหัดชุดที 3

1. จงหารากทีสองของจํานวนทีกําหนดให้ ตอ่ ไปนี


1) 784 2) 1,369

3) 256 4) 529

5) 1,156 6) 1,521

h
7) 2,209 8) 3,364

9) 0.04
at 10) 10.24
m
TR

11) 0.0081 12) 16.81


G

13) 27.04 14) 5.29

15) 53.29 16) 34.81

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


25

2. จงหาค่าของจํานวนทีกําหนดให้ ตอ่ ไปนี

1) 961 2) 441

3) – 2116 4) – 841

5) 2.89 6) – 1156

h
7) – (0.11)2 8) (45)2

at
m
9) x 4y 2 10) x 6y 8
TR

11) – x 5y 2 12) – (45)2


G

13) – x 2y 4z 2 14) p 8q 4

15) (0.08)4 16) 13.69

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


26

3. จงหาค่า x จากสมการทีกําหนดให้ ตอ่ ไปนี

1) x2 = 36 2) x =5

3) 2 x = 10 4) x2 = 31.36

h
5) x 1 = 3
at 6) x2 – 67 = –3
m
TR

7) x 1 – 6 = 4 8) x 1 = 2 2
G

9) 3x2 = 108 10) x2 = 2.6569

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


27

4. จงหาค่าของจํานวนต่อไปนี

1) 2 2  2 2) 3  27

3) 5  125 4) 4 2  3 3

h
5) 18  24 6) 21  35

7) 3
1
 4
1
at 8) 3 3  4
1
m
2 8 3
TR

 1  1
9) (–7 7 )   5   10) (–12 3 )   2 
 7  3
G

11) 7 6 + 4 6 12) 3 (5 3 + 24 )

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


28

13) 5 (3 5 – 2) 14) 18 – 8 – 2

5 6  3 21
15) 5 + 3 5 – 20 + 5 16)
3

h
at
m
2(2 7  28) 3 2 5 6
17) 18) + –
4 2 3 6
TR
G

11 1 1
19) 54 – 24 + 20 – 180 20) 35 3 – –7
3 3 27

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


29

แบบฝึ กหัดชุดที 4

1. จงหารากทีสองของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีการแยกตัวประกอบ

1) 1,764

2) 4,356

h
3) 15,625

at
m
4) 19,600
TR

5) 34,596
G

6) 43,264

7) – 32, 041

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


30

2. จงหารากทีสองของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีเฉลียเป็ นค่าประมาณ

1) 5

2) 70

h
3) 141
at
m
TR

4) 10.48
G

5) 212

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


31

3. จงหารากทีสองทีของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีตงหาร

1) 784

2) 56.38

h
at
m
3) 1,296
TR
G

4) 552.5

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


32

5) 685.9

6) 2,304

h
7) 9,623.61
at
m
TR
G

4. กล่องรูปทรงสีเหลียมมุมฉากใบหนึง กว้ าง 4 หน่วย ยาว 6 หน่วย และสูง 2 หน่วย จงหาความยาว


โดยประมาณเป็ นทศนิยมสองตําแหน่งของเส้ นทแยงมุมของกล่องใบนี เมือกําหนดให้

2 = 1.414 และ 7 = 2.646

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


33

แบบฝึ กหัด 5

1. จงหารากทีสามของจํานวนต่อไปนี โดยวิธีการแยกตัวประกอบ

1) 8

2) –27

3) 64

h
4) –343

5) 1,331
at
m
6) –1,728
TR

7) 13,824
G

8) –19,683

9) –39,304

64
10)
343

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


34

125
11) –
27

1331
12)
729

13) 0.027

14) 4.913

h
15) 0.000027
at
m
2. จงทําให้ อยู่ในรูปอย่างง่าย
TR

1) 3 (7)9

2) 3
512
G

3) 9  3 27

13
4) 5253
5

5) 3
64  5  3 25

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก


35

3. จงหาค่าของจํานวนต่อไปนี เมือตัวแปรทุกตัวแทนจํานวนจริ งใด ๆ และไม่เท่ากับศูนย์

1) 3
27a 9

2) 3
8x 6

3) 3
8x 6y 6

4) 3
27a 3b 6

5) 3
0.216a 12

125a 3
6) 3
343b 3

h
8a 9
7) 3

8)
3
125b 6c 3

216a 3b 6c 9
6ab 2c 3
at
m
3
81x 2y 4
9)
3
3x 2y
TR

3
125x 4y
10)
3
x 2y 2

11) 3
x 6y 12

3
4x 3 8x 6
G

12)

4. จงทําให้ อยู่ในรูปอย่างง่าย

1) 3 8, 000 + 3 2,197

2) 3
64a 3 + 121a 6

3) 3 1, 728 – 3 1, 000 + 3
512

3, 375 1, 331


4) 3 + 3
64 64

อาจารย์รังสรรค์ ทองสุ กนอก

You might also like