You are on page 1of 16

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม

THAI INDUSTRIAL STANDARD


มอก. 2321 2549

สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ
WEATHER RESISTANT EMULSION PAINTS

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ICS 87.040 ISBN 978-974-292-280-1
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ

มอก. 2321 2549

สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
กระทรวงอุตสาหกรรม ถนนพระรามที่ 6 กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท 0 2202 3300

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทัว่ ไป เลม 124 ตอนพิเศษ 40ง


วันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2550
คณะกรรมการวิชาการคณะที่ 157
มาตรฐานสีที่ใชในการกอสรางและตกแตง
ประธานกรรมการ
นางวันทนา สะสมทรัพย สถาบันวิจยั วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย
กรรมการ
นายเขมชิต ธนากิจชาญเจริญ กรมวิทยาศาสตรบริการ
นายสุชาติ ตรีสตั ยพันธ กรมโยธาธิการและผังเมือง
นายสุรพล หุตะเศรณี กรุงเทพมหานคร
นายประเสริฐ อยางธารา สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ
นายวรุตม กีจ่ นา การรถไฟแหงประเทศไทย
นางรัตนจนา เจริญพิทยา บริษทั สี ไอ ซี ไอ (ประเทศไทย) จำกัด
นางสาวเกศริน โทวนิช บริษทั โจตันไทย จำกัด
นายพรชัย เลิศอำนวยพร บริษทั สีซกิ มา (ประเทศไทย) จำกัด
นายอมรชัย ไตรคุณากรวงศ
นายไสว เกิดเกียรติขจร บริษทั บางกอกไชนาเพนท จำกัด
นายประสิทธิ์ วงศวฒ
ั นารัตน บริษทั อุตสาหกรรมสีสยาม จำกัด
นางสาวบัญชรี มณีดษิ ฐ บริษทั ที โอ เอ เพนท (ประเทศไทย) จำกัด
นางพัชรี พัฒนาสิทธิเสรี
กรรมการและเลขานุการ
นางนฤมล วาณิชยเจริญ สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
ปจจุบันมีการพัฒนาการผลิตสีอิมัลชันทนสภาวะอากาศขึ้นไดเองภายในประเทศ และมีการใชกันอยางแพรหลาย
เพือ่ ประโยชนของผใู ชและเพือ่ สงเสริมใหมกี ารทำสีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศทีม่ คี ณุ ภาพ จึงกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรม สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ ขึน้
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีเ้ ปนเลมหนึง่ ในอนุกรมมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมสีอมิ ลั ชัน ไดแก
มอก.272-2549 สีอมิ ลั ชันใชงานทัว่ ไป
มอก.2321-2549 สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีก้ ำหนดขึน้ โดยอาศัยขอมูลจากผทู ำในประเทศและเอกสารตอไปนีเ้ ปนแนวทาง
SS 345 : 1990 Algae Resistant Emulsion Paint for Decorative Purposes
ASTM D 2486-00 Standard Test Methods for Scrub Resistance of Wall Paints
ASTM G 154-00 Standard Practice for Operating Fluorescent Light Apparatus for UV Exposure
of Nonmetallic Materials
BS 4800-1989 Schedule of Paint Colours for Building Purposes
มอก.285 วิธที ดสอบสี วารนชิ และวัสดุทเี่ กีย่ วของ
เลม 1-2521 การชักตัวอยาง
เลม 2-2521 การตรวจและการเตรียมตัวอยางเพือ่ ทดสอบ
เลม 3-2521 แผนทดสอบและการเตรียม
เลม 4-2521 การเคลือบ
เลม 8-2524 การหาความละเอียด
เลม 9-2524 การทดสอบการแหงทีผ่ วิ โดยใชลกู แกว
เลม 10-2524 การทดสอบระยะเวลาเมือ่ แหงแข็ง
เลม 11-2524 ภาวะในภาชนะบรรจุ
เลม 12-2524 เสถียรภาพตอการเก็บ
เลม 14-2524 การหาความหนืด
เลม 15–2524 การเทียบสีดว ยตา
เลม 16-2524 การเปรียบเทียบอัตราสวนความผิดแผกของสีประเภทเดียวกันทีม่ สี เี หมือนกัน
เลม 18-2525 ความคงทนตอแสง
เลม 19-2525 ความทนทานตอการดัดโคง
เลม 20-2525 ความทนทานตอการเช็ดลาง
เลม 21-2525 ความทนทานตอเชือ้ รา
เลม 22-2525 ความทนน้ำ
เลม 23-2525 ความทนของเหลว
เลม 24-2525 สมบัตใิ นการใชงาน
เลม 27-2526 การหาปริมาณตะกัว่ ในสี
เลม 28-2526 การหาปริมาณปรอทในสี
มอก.28-2531 สบซู กั ลาง

(3)
คณะกรรมการมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมไดพจิ ารณามาตรฐานนีแ้ ลว เห็นสมควรเสนอรัฐมนตรีประกาศตาม
มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511

(4)
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
ฉบับที่ 3583 ( พ.ศ. 2549 )
ออกตามความในพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
พ.ศ. 2511
เรือ่ ง กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 15 แหงพระราชบัญญัตมิ าตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2511


รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ
มาตรฐานเลขที่ มอก. 2321-2549 ไว ดังมีรายการละเอียดตอทายประกาศนี้

ประกาศ ณ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549


นายโฆสิต ปน เปย มรัษฎ
รัฐมนตรีวา การกระทรวงอุตสาหกรรม

(5)
มอก. 2321–2549

มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม
สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ
1. ขอบขาย
1.1 มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนีค้ รอบคลุมสีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศใชสำหรับเคลือบอาคารทัง้ ภายนอก
หรือภายใน ทีแ่ หงไดเองในอากาศ

2. บทนิยาม
ความหมายของคำทีใ่ ชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มีดงั ตอไปนี้
2.1 สีอมิ ลั ชันทนสภาวะอากาศ ซึง่ ตอไปในมาตรฐานนีจ้ ะเรียกวา “สีอมิ ลั ชัน” หมายถึง สีทปี่ ระกอบดวยผงสีและสิง่
นำสีทเี่ ปนอิมลั ชันระหวางสารยึดกับน้ำ สำหรับใชงานทีต่ อ งการความทนทานตอสภาวะอากาศ อาจเรียกชือ่ อืน่ วา
สีลาเท็กซทนสภาวะอากาศ สีเรซินอิมัลชันทนสภาวะอากาศ สีน้ำพลาสติกทนสภาวะอากาศ สีน้ำอะคริลิก
ในกรณีทสี่ ารยึดเปนอะคริลกิ

3. ประเภท
3.1 สีอมิ ลั ชันแบงตามลักษณะการใชงานเปน 2 ประเภท คือ
3.1.1 สีภายนอก ใชสำหรับเคลือบอาคารทัง้ ภายนอกและภายใน
3.1.2 สีภายใน ใชสำหรับเคลือบเฉพาะภายในอาคาร

4. สวนประกอบ
4.1 ผงสี
4.2 สิง่ นำสี ไดแกสารยึดและน้ำ และอาจมีสารอืน่ อยดู ว ยก็ได เชน สารอิมลั ซิฟาย สารกระจายผงสี สารลดฟอง
สารทำใหขน สารกันเชือ้ ราชนิดไมมปี รอท สารกันตะไคร

5. คุณลักษณะทีต่ อ งการ
5.1 คุณลักษณะทางปริมาณ
ใหเปนไปตามตารางที่ 1

–1–
มอก. 2321–2549

ตารางที่ 1 คุณลักษณะทางปริมาณ
(ขอ 5.1)

รายการที่ คุณลักษณะ เกณฑที่กําหนด วิธีทดสอบตาม


1 ความละเอียด ไมโครเมตร ไมเกิน 60 มอก.285 เลม 8
2 ระยะเวลาทีส่ ีแหง ขอ 9.2
- แหงที่ผิว นาที ไมเกิน 30
- แหงแข็ง ชั่วโมง ไมเกิน 2
3 กําลังซอนแสง รอยละ ไมนอยกวา 80 มอก.285 เลม 16
4 ตะกั่ว รอยละของน้ําหนักสารที่ไมระเหย ไมเกิน 0.01 มอก.285 เลม 27
5 ปรอท รอยละของน้ําหนักสารที่ไมระเหย ไมเกิน 0.01 มอก.285 เลม 28

หมายเหตุ 1. ใหยกเวนการทดสอบกำลังซอนแสงสำหรับสีซึ่งไมมีสีขาวเปนสวนผสม เชน


- สีแดง ตาม BS 4800 หมายเลข 04 E 53
- สีเหลือง ตาม BS 4800 หมายเลข 10 E 53
- สีน้ำเงิน ตาม BS 4800 หมายเลข 18 C 39
- สีดำ ตาม BS 4800 หมายเลข 00 E 53
- สีเหลือง-แดง ตาม BS 4800 หมายเลข 06 E 51, 08 E 51
- สีเขียว-เหลือง ตาม BS 4800 หมายเลข 12 E 51, 12 E 53
2. การทดสอบกำลังซอนแสง ใหทดสอบตัวอยางที่มีความหนืดไมเกิน 100 หนวยเครบส ในกรณีที่
ตัวอยางมีความหนืดเกิน 100 หนวยเครบส ใหเติมน้ำจนตัวอยางมีความหนืด (100 ± 2) หนวยเครบส
การวัดความหนืดใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 14
5.2 สี
สีของฟลม ตองเปนไปตามทีร่ ะบุไวทฉี่ ลากหรือตามขอตกลงระหวางผเู กีย่ วของ กรณีทชี่ อื่ สีตรงกับชือ่ สีตาม BS
4800 สีของฟลม ตองเทียบไดกบั แถบสีตามมาตรฐานดังกลาว
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 15
5.3 ภาวะในภาชนะบรรจุ
สีในภาชนะบรรจุทเี่ ปดใหม ตองไมปรากฏสนิมหรือมีกลิน่ ทีน่ า รังเกียจ และเมือ่ คนจนทัว่ แลวตองไมมกี อ นหรือ
ผงหยาบ แตอาจมีฟองไดเล็กนอย
การทดสอบใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 11
5.4 เสถียรภาพตอการเก็บ
เมือ่ นำสีทผี่ ลิตมาแลวเปนเวลา 6 เดือน มาทดสอบตาม มอก.285 เลม 12 แลว สีจะตองไมขน แข็ง จับตัว
เปนกอน เปนวนุ เปนเม็ด เปนวนุ เหนียว มีกลิน่ ทีเ่ กิดจากการบูดเนา หรือมีกา ซเกิดขึน้ และเมือ่ คนจนทัว่ แลว
สีตอ งไมนอนกนหรือแยกชัน้

–2–
มอก. 2321–2549

5.5 เสถียรภาพตอการเก็บทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู


เมือ่ ทดสอบตาม มอก.285 เลม 12 แลว สีตอ งไมเปนกอนแข็ง เปนฝา นอนกนแข็ง หรือเปลีย่ นสีและตอง
สามารถปรับหรือลดความหนืดใหเหมาะสมเพือ่ ใชงานได
5.6 สมบัตใิ นการใชงานและลักษณะของฟลม เมือ่ แหง
5.6.1 การเคลือบสีดว ยแปรงและลูกกลิง้
ตองเคลือบไดงา ย เรียบ และสวนทีท่ บั กันตองสม่ำเสมอตลอด
5.6.2 การเคลือบทับ
เมือ่ เคลือบสีทบั พืน้ ผิวทีเ่ คลือบสีนนั้ ไว 1 ครัง้ แลวเมือ่ 2 ชัว่ โมงกอน แลวปลอยใหฟล ม แหงเปนเวลา 1
ชัว่ โมง ในหองทดลอง สีทเี่ คลือบทับตองไมดงึ หรือมวนสีทเี่ คลือบไวเดิมขึน้ มา
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.3
5.7 ความทนทานตอการดัดโคง
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.4 แลว แผนฟลม ตองไมแตกราว กะเทาะ หรือลอนเปนแผน
5.8 ความทนทานตอเชือ้ รา
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.5 แลว ตองไมพบเชือ้ ราบนแผนทดสอบในบริเวณทีต่ กี รอบเอาไว
หมายเหตุ สีสตู รเดียวกันใหสมุ ทดสอบเพียง 1 เฉดสี ไมตอ งทดสอบทุกเฉดสี
5.9 ความทนทานตอตะไคร (เฉพาะสีภายนอก)
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.6 แลว ตองไมพบตะไครบนแผนทดสอบ
หมายเหตุ สีสตู รเดียวกันใหสมุ ทดสอบเพียง 1 เฉดสี ไมตอ งทดสอบทุกเฉดสี
5.10 ความทนตอสภาพลมฟาอากาศ (เฉพาะสีภายนอก)
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.7 แลว
(1) ฟลม ของสีตอ งไมเกิดการกัดกรอน ราว ลอน เปนเกล็ด หรือพอง และพืน้ ผิวตองอยใู นสภาพทีจ่ ะเคลือบ
สีทบั ได
(2) ระหวางการผึง่ ฟลม ของสีตอ งยังคงอยใู นสภาพดี ไมเกิดการเปนฝนุ และการเปลีย่ นสีจะแตกตางจากเดิม
ไดไมนอ ยกวาเกรยสเกลระดับ 3
5.11 ความคงทนตอแสง (เฉพาะสีภายใน)
สีของฟลม สวนทีไ่ ดรบั แสงกับสวนทีไ่ มไดรบั แสงจะแตกตางกันไดไมนอ ยกวาเกรยสเกลระดับ 4
การทดสอบใหปฏิบตั ติ ามขอ 9.8
5.12 ความทนน้ำ (เฉพาะสีภายนอก)
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.9 แลว ฟลม ของสีตอ งไมพอง ยน แตก หลุดลอน หรือมีขอ บกพรองอืน่ ๆ และการ
เปลีย่ นสีจะแตกตางจากเดิมไดไมนอ ยกวาเกรยสเกลระดับ 4
5.13 ความทนดาง
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.10 แลว ฟลม ของสีตอ งไมพอง ยน แตก หลุดลอน หรือมีขอ บกพรองอืน่ ๆ และการ
เปลีย่ นสีจะแตกตางจากเดิมไดไมนอ ยกวาเกรยสเกลระดับ 4

–3–
มอก. 2321–2549

5.14 ความทนทานตอการเช็ดลาง (เฉพาะสีภายใน)


เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.11 แลว ตองไมพบขอบกพรองบนแผนฟลม เชน พอง สีสกึ จนถึงพืน้ ผิวชัน้ ลาง สีซดี ลง
และตองขจัดสิง่ สกปรกไดเกือบหมด
5.15 ความทนทานตอการขัดถู (เฉพาะสีภายนอก)
เมือ่ ทดสอบตามขอ 9.12 แลว ฟลม ของสีตอ งไมแตก หลุดลอน หรือสึกจนถึงพืน้ ผิวชัน้ ลางเปนแนวยาวเกิน
10 มิลลิเมตรตามทิศทางการขัดถู

6. การบรรจุ
6.1 ใหบรรจุสอี มิ ลั ชันในภาชนะบรรจุทสี่ ะอาด แหง และปดไดสนิท
6.2 หากมิไดตกลงกันเปนอยางอืน่ ใหขนาดบรรจุของสีอมิ ลั ชันในแตละภาชนะบรรจุเปน 1 ลิตร 4 ลิตร และ 20
ลิตร และตองไมนอ ยกวาทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก

7. เครือ่ งหมายและฉลาก
7.1 ทีภ่ าชนะบรรจุสอี มิ ลั ชันทุกหนวย อยางนอยตองมีเลข อักษร หรือเครือ่ งหมายแจงรายละเอียดตอไปนีใ้ หเห็น
ไดงา ย ชัดเจน
(1) ชือ่ ผลิตภัณฑตามมาตรฐานนีห้ รือชือ่ อืน่ ทีส่ อื่ ความหมายวาเปนผลิตภัณฑตามมาตรฐานนี้
(2) ประเภท
(3) ชือ่ สี พรอมตัวอยางหรือหมายเลขสี
(4) ปริมาตรสุทธิ เปนลิตร
(5) เดือน ปทที่ ำ
(6) รหัสรนุ ทีท่ ำ
(7) ชือ่ ผทู ำหรือโรงงานทีท่ ำ พรอมสถานทีต่ งั้ หรือเครือ่ งหมายการคาทีจ่ ดทะเบียน
(8) คำแนะนำในการใชงาน พรอมทัง้ วิธใี ช
(9) คำเตือนเกีย่ วกับอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ เชน หามรับประทาน ระวังเขาตา เก็บใหพน มือเด็ก
ในกรณีทใี่ ชภาษาตางประเทศ ตองมีความหมายตรงกับภาษาไทยทีก่ ำหนดไวขา งตน

8. การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
8.1 การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน ใหเปนไปตามภาคผนวก ก.

9. การทดสอบ
9.1 การตรวจและการเตรียมตัวอยาง แผนทดสอบ และการเคลือบ
ใหเปนไปตาม มอก.285 เลม 2 เลม 3 และเลม 4 ตามลำดับ โดยผสมสีตามคำแนะนำของผทู ำกอนนำไปทดสอบ
รายการตางๆ ตามขอ 9.2 ขอ 9.3 ขอ 9.4 ขอ 9.7 ขอ 9.8 ขอ 9.9 ขอ 9.10 ขอ 9.11 และขอ 9.12
กรณีทผี่ ทู ำระบุอตั ราการผสมเปนชวง ใหใชคา เฉลีย่ ในการผสม

–4–
มอก. 2321–2549

9.2 การทดสอบระยะเวลาทีส่ แี หง


เคลื อ บสี บ นกระจกด ว ยเครื่ อ งทำฟ ล ม ให ไ ด ค วามหนาของฟ ล ม ขณะเป ย กประมาณ 50 ไมโครเมตร
แลวทดสอบระยะเวลาการแหงทีผ่ วิ และการแหงแข็งตามวิธที กี่ ำหนดใน มอก.285 เลม 9 และเลม 10 ตามลำดับ
9.3 การทดสอบสมบัตใิ นการใชงานและลักษณะของฟลม เมือ่ แหง
ทดสอบตามวิธที กี่ ำหนดใน มอก.285 เลม 24 โดยเคลือบสีบนแผนยิปซัมในอัตราการเคลือบประมาณ 13
ตารางเมตรตอลิตร
9.4 การทดสอบความทนทานตอการดัดโคง
เคลือบสีบนแผนเหล็กเคลือบดีบกุ ดวยเครือ่ งทำฟลม ใหไดความหนาของฟลม ขณะเปยกประมาณ 50 ไมโครเมตร
ทิง้ ไวใหแหงในภาวะปกติในแนวนอนเปนเวลา 14 วัน แลวดัดแผนทดสอบตาม มอก.285 เลม 19 โดยใชแมนเดรล
(mandrel) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 3 มิลลิเมตร สำหรับสีภายนอก และใชแมนเดรลขนาดเสนผานศูนยกลาง
6 มิลลิเมตร สำหรับสีภายใน
9.5 การทดสอบความทนทานตอเชือ้ รา
ใหทดสอบตาม มอก.285 เลม 21 โดยมีขอ กำหนดเพิม่ เติมดังนี้
(1) เตรียมแผนทดสอบโดยใชเครือ่ งทำฟลม เคลือบทัง้ 2 ดานของกระดาษกรองวัตแมนเบอร 1 หรือเทียบเทา
ใหไดความหนาของฟลม ขณะเปยกแตละดานประมาณ 100 ไมโครเมตร ทิง้ ไวใหแหง เคลือบซ้ำทีด่ า นเดิม
ให ไ ด ค วามหนาของฟ ล ม ขณะเป ย กแต ล ะด า น 200 ไมโครเมตร ± 10 ไมโครเมตร
(ความหนารวม 2 ชัน้ ) และทิง้ ใหฟล ม แหงเปนเวลา 14 วัน
(2) สีภายนอก ใหแชแผนทดสอบในภาชนะบรรจุน้ำกลัน่ ภาชนะละ 1 แผน ปริมาตรของน้ำกลัน่ ทีใ่ ชตอ พืน้ ที่
หนาตัดของแผนทดสอบประมาณ 20 มิลลิลติ รตอ 3 ตารางเซนติเมตร (หรือแผนทดสอบขนาดเสน
ผานศูนยกลางประมาณ 12.5 เซนติเมตร ใชน้ำกลัน่ ประมาณ 1 ลิตร) ขณะแชแผนทดสอบตองไมแตะผิว
ภาชนะ และตองเปลีย่ นน้ำกลัน่ ทุก 24 ชัว่ โมง แชแผนทดสอบเปนเวลา 48 ชัว่ โมง นำแผนทดสอบออก
ทิง้ ไวใหแหง ตัดแผนทดสอบเปนชิน้ ทดสอบรูปสีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั ขนาดประมาณ 30 มิลลิเมตร จำนวน
3 ชิน้ ใชหมึกทนน้ำไดตเี สนเปนกรอบไวบนแผนทดสอบโดยหางจากขอบ 3 มิลลิเมตร
(3) สีภายใน ไมตองแชแผนทดสอบในน้ำกลั่น ใหตัดแผนทดสอบเปนชิ้นทดสอบและทำเครื่องหมาย
ตามทีก่ ำหนดในขอ 2
(4) ใชเชือ้ แอสเพอรจลิ ลัส ไนเจอร (Aspergillus niger ATCC 6275) คลาโดสปอเรียม คลาโดสปอรอยดส
(Cladosporium cladosporoides IFO 6348)
(5) ใชระยะเวลาอบเพาะเชือ้ 7 วัน
9.6 การทดสอบความทนทานตอตะไคร (เฉพาะสีภายนอก)
9.6.1 เครื่องมือ
9.6.1.1 เครื่องแกว
(1) จานเพาะเชือ้ ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 10 เซนติเมตร
(2) ขวดแกวรูปกรวยขนาด 250 มิลลิลติ ร
9.6.1.2 ตอู บเพาะเชือ้ สามารถควบคุมอุณหภูมไิ ดที่ 25 องศาเซลเซียสถึง 30 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธ
รอยละ 85 ถึงรอยละ 90

–5–
มอก. 2321–2549

9.6.1.3 เครือ่ งเขยา ความเร็วประมาณ 100 รอบตอนาที


9.6.1.4 สเปกโทรโฟโตมิเตอร ทีม่ คี วามยาวคลืน่ 1 000 นาโนเมตร
9.6.2 สารเคมี
9.6.2.1 อาหารเลีย้ งเชือ้ บีจ-ี 11 (BG-11)
(1) สวนประกอบ
โซเดียมไนเทรต (NaNO3) 1.5 กรัม
ไดโพแทสเซียมไฮโดรเจนฟอสเฟต (K2HPO4) 0.030 กรัม
แมกนีเซียมซัลเฟตเฮปทะไฮเดรต (MgSO4 ⋅7H2O) 0.075 กรัม
แคลเซียมคลอไรดไดไฮเดรต (CaCl2 ⋅2H2O) 0.036 กรัม
กรดซิทริก 0.006 กรัม
อีดที เี อ (EDTA) 0.001 กรัม
โซเดียมคารบอเนต (Na2CO3) 0.020 กรัม
สารละลายโลหะ (trace metal solution) (ขอ 9.6.2.2) 1 มิลลิลติ ร
(2) วิธเี ตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ เหลวบีจ-ี 11
ผสมสวนผสมทัง้ หมดเขาดวยกัน เติมน้ำกลัน่ จนปริมาตรเปน 1 ลิตร ปรับความเปนกรด-ดาง
เปน 7.5 โดยใชสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 1 โมลตอลิตร หรือสารละลายโซเดียม
ไฮดรอกไซด 1 โมลตอลิตร ฆาเชือ้ ในหมอนึง่ อัดทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 121 องศาเซลเซียส เปนเวลา
15 นาที
(3) วิธเี ตรียมอาหารเลีย้ งเชือ้ วนุ บีจ-ี 11
ผสมสวนผสมทัง้ หมดเขาดวยกัน เติมวนุ 15 กรัม เติมน้ำกลัน่ จนปริมาตรเปน 1 ลิตร ปรับความ
เปนกรด-ดางเปน 7.5 โดยใชสารละลายกรดไฮโดรคลอริก 1 โมลตอลิตรหรือสารละลาย
โซเดียมไฮดรอกไซด 1 โมลตอลิตร ฆาเชือ้ ในหมอนึง่ อัดทีอ่ ณุ หภูมิ 121 องศาเซลเซียส เปน
เวลา 15 นาที
9.6.2.2 สารละลายโลหะ
(1) สวนประกอบ
กรดบอริก 2.86 กรัม
แมงกานีสคลอไรดเททระไฮเดรต (MnCl2⋅4H2O) 1.80 กรัม
ซิงกซลั เฟตเฮปทะไฮเดรต (ZnSO4⋅7H2O) 0.222 กรัม
โซเดียมโมลิบเดรตเพนทะไฮเดรต (NaMoO4⋅5H2O) 0.390 กรัม
คอปเปอรซลั เฟตเพนทะไฮเดรต (CuSO4⋅5H2O) 0.079 กรัม
โคบอลตไนเทรตเฮกซะไฮเดรต (Co(No3)2⋅6H2O) 0.0494 กรัม
(2) วิธเี ตรียม
ผสมสวนผสมทัง้ หมดเขาดวยกันเติมน้ำกลัน่ จนปริมาตรเปน 1 ลิตร

–6–
มอก. 2321–2549

9.6.3 ตะไครทดสอบ ใหใชตะไครสายพันธไุ ทย จำนวน 3 สายพันธุ คือ


(1) คลอโรค็อกคัม (Chlorococcum sp. TISTR 8973)
(2) น็อสท็อก พาลูดอสซัม (Nostoc Paludossum TISTR 8978)
(3) ฟอรมเิ ดียม แองกัสทิสซิมมั (Phormidium angustissimum TISTR 8970)
9.6.4 วิธที ดสอบ
9.6.4.1 การเตรียมสารละลายตะไครทดสอบ
(1) เติมอาหารเลีย้ งเชือ้ เหลวบีจ-ี 11 ปริมาตร 100 มิลลิลติ ร ลงไปในขวดแกวรูปกรวย 3 ใบ
(2) เติมตะไคร 5 มิลลิลติ ร ลงในอาหารเลีย้ งเชือ้ แตละใบ
(3) อบเพาะเชือ้ บนเครือ่ งเขยาความเร็วประมาณ 100 รอบตอนาที ในตอู บเพาะเชือ้ ทีอ่ ณ ุ หภูมิ
28 องศาเซลเซียส ± 2 องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธรอ ยละ 85 ถึงรอยละ 90 ภายใตแสง
ฟลูออเรสเซนต (cool-white fluorescent) ทีค่ วามเขมแสงประมาณ 2 000 ลักซ เปนเวลา
ประมาณ 14 วัน
(4) นำตะไครที่อบเพาะเชื้อแลว ไปวัดคาความหนาแนนของเซลลดวยสเปกโทรโฟโตมิเตอร
ทีค่ วามยาวคลืน่ 1 000 นาโนเมตร เจือจางดวยอาหารเลีย้ งเชือ้ จนมีคา การดูดกลืนแสง 0.3
ถึง 0.5 นำสารละลายของตะไครแตละสายพันธุที่ไดในปริมาตรเทาๆ กัน ผสมรวมเปน
สารละลายตะไครทดสอบ
9.6.4.2 การเตรียมแผนทดสอบ
ใหใชกระดาษกรองวัตแมนเบอร 1 หรือเทียบเทาเปนกระดาษทดสอบ เคลือบสีตวั อยางดวยเครือ่ ง
ทำฟลม (bird film applicator) ทัง้ 2 ดานของกระดาษกรองใหไดความหนาของฟลม ขณะเปยก
แตละดานประมาณ 100 ไมโครเมตร ทิง้ ไวใหแหง เคลือบซ้ำทีด่ า นเดิมใหไดความหนาของฟลม
ขณะเปยกแตละดาน 200 ไมโครเมตร ± 10 ไมโครเมตร (ความหนารวม 2 ชัน้ ) ทิง้ ไวใหแหง
ทีอ่ ณ
ุ หภูมหิ อ งเปนเวลา 14 วัน
9.6.4.3 การแชแผนทดสอบ
แชแผนทดสอบในภาชนะบรรจุน้ำทีม่ ขี นาดและรูปรางพอเหมาะ ภาชนะละ 1แผน ปริมาตรของน้ำกลัน่
ทีใ่ ชตอ พืน้ ทีห่ นาตัดของแผนทดสอบประมาณ 20 มิลลิลติ รตอ 3 ตารางเซนติเมตร (หรือแผนทดสอบ
ขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 12.5 เซนติเมตร ใชน้ำกลัน่ ประมาณ 1 ลิตร) ขณะแชแผนทดสอบ
ตองไมแตะผิวภาชนะและตองเปลีย่ นน้ำกลัน่ ทุก 24 ชัว่ โมง แชแผนทดสอบในน้ำกลัน่ ทีม่ อี ณ ุ หภูมิ
27 องศาเซลเซียส ถึง 30 องศาเซลเซียส เปนเวลา 48 ชัว่ โมง นำแผนทดสอบออก ทิง้ ไวใหแหง
ตัดเปนชิน้ ทดสอบรูปวงกลมขนาดเสนผานศูนยกลางประมาณ 15 มิลลิเมตร

–7–
มอก. 2321–2549

9.6.4.4 การอบเพาะเชือ้
(1) เตรียมสารละลายผสมตะไครทดสอบ รอยละ 5 ในอาหารเลีย้ งเชือ้ วนุ บีจ-ี 11 ผสมใหเขากัน
เติมลงในจานเพาะเชือ้ 25 มิลลิลติ ร ทิง้ ใหแข็งตัว
(2) วางแผนทดสอบไวตรงกลางจานเพาะเชือ้ หยดสารละลายตะไครทดสอบทีก่ งึ่ กลางแผนทดสอบ
0.02 มิลลิลติ ร เกลีย่ ใหกระจายทัว่ แผนทดสอบ
(3) นำจานเพาะเชื้อไปอบเพาะเชื้อเปนเวลา 28 วัน ที่อุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส ± 2
องศาเซลเซียส ความชืน้ สัมพัทธรอ ยละ 85 ถึงรอยละ 90 ภายใตแสงฟลูออเรสเซนต ทีค่ วาม
เขมแสงประมาณ 2 000 ลักซ โดยมีวงจรการใหแสงมืด : สวาง เปน 12 ชัว่ โมง : 12 ชัว่ โมง
9.6.5 การประเมินผล
เมือ่ ครบกำหนดเวลาการอบเพาะเชือ้ แลว ใหตรวจดูแผนทดสอบดวยตาเปลาหรือใชเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม
กรณีตอ งการดูการชะลางของสารเคมีออกจากแผนทดสอบ ใหวดั ขนาดความกวางของบริเวณโดยรอบแผน
ทดสอบทีต่ ะไครไมเจริญเติบโต
9.7 ความทนตอสภาพลมฟาอากาศ (เฉพาะสีภายนอก)
ใหทดสอบโดยวิธเี รงภาวะ โดยเคลือบสีบนแผนกระเบือ้ งซีเมนตใยหินตามคำแนะนำของผทู ำทีร่ ะบุไวทฉี่ ลาก
แลวผึง่ ในเครือ่ งเรงภาวะตามทีก่ ำหนดใน ASTM G 154 โดยมีภาวะวงจร คือ รับแสง 4 ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมิ
60 องศาเซลเซียส และควบแนน 4 ชัว่ โมง ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 50 องศาเซลเซียส เวลาในการผึง่ ในเครือ่ งเรงภาวะเปน
1 000 ชัว่ โมง
หมายเหตุ ในกรณีที่ใชเครื่องเรงภาวะแบบอื่น ใหปรับวิธีทดสอบเพื่อใหไดผลการทดสอบเทียบเทากับขอกำหนด
ขางตน
9.8 การทดสอบความคงทนตอแสง (เฉพาะสีภายใน)
ใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 18 โดยเตรียมแผนทดสอบดังนี้
เคลือบสี 2 ชัน้ ดวยแปรงบนแผนกระเบือ้ งซีเมนตใยหิน โดยทิง้ ระยะเวลาใหหา งกัน 2 ชัว่ โมง ใหไดความ
หนาของฟลมขณะเปยกแตละชั้นประมาณ 50 ไมโครเมตร ทิ้งไวใหแหงเปนเวลา 24 ชั่วโมง แลวนำแผน
ทดสอบทีเ่ คลือบสีเสร็จแลวนีไ้ ปผึง่ ดวยแสงกลางวัน (day light) เปนเวลา 30 วัน
9.9 การทดสอบความทนน้ำ (เฉพาะสีภายนอก)
ใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 22 โดยเตรียมแผนทดสอบดังนี้
เคลือบสีดวยแปรงใหเรียบสม่ำเสมอบนแผนกระเบื้องซีเมนตใยหินขนาดประมาณ 150 มิลลิเมตร × 50
มิลลิเมตร ทิ้งไว 6 ชั่วโมง แลวเคลือบซ้ำโดยใหไดความหนาของฟลมขณะเปยกแตละชั้นประมาณ 50
ไมโครเมตร ทิง้ ไวใหแหงเปนเวลา 14 วัน แลวเคลือบดานหลังและขอบดวยพาราฟนและใหแชแผนทดสอบ
ในน้ำเปนเวลา 10 วัน

–8–
มอก. 2321–2549

9.10 ความทนดาง
ใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 23 โดยเตรียมแผนทดสอบตามขอ 9.9 แลวแชแผนทดสอบในสารละลายอิม่ ตัว
แคลเซียมไฮดรอกไซด เปนเวลา 144 ชัว่ โมง สำหรับสีภายนอก และเปนเวลา 48 ชัว่ โมง สำหรับสีภายใน
9.11 การทดสอบความทนทานตอการเช็ดลาง (เฉพาะสีภายใน)
ใหปฏิบตั ติ าม มอก.285 เลม 20 โดยมีขอ กำหนดเพิม่ เติมดังนี้
(1) ใชสบซู กั ลาง ตาม มอก.28 หรือสารเทียบเทา
(2) ใหถฟู องน้ำ 1 000 รอบ โดยเมือ่ ครบ 25 รอบและ 50 รอบ ใหดงึ ฟองน้ำออกทำความสะอาดดวยน้ำกลัน่
โดยการจมุ และบิดหลาย ๆ ครัง้ จนหมดสบู แลวเทน้ำกลัน่ ลงบนฟองน้ำ และถูสบใู หม
9.12 การทดสอบความทนทานตอการขัดถู (เฉพาะสีภายนอก)
ใหปฏิบัติตาม ASTM D 2486 Method A โดยไมใชแผนทองเหลืองรองใตแผนทดสอบ (brass shim)
ใชสารละลายสบูเหลวรอยละ 6 โดยน้ำหนัก เปนตัวกลางขัดถู ( scrub media) และขัดถู 3 000 รอบ
ตรวจพินจิ ฟลม ของสีบริเวณหางจากขอบหัวและทายเกิน 50 มิลลิเมตร

–9–
มอก. 2321–2549

ภาคผนวก ก.
การชักตัวอยางและเกณฑตดั สิน
(ขอ 8.1)
ก.1 รุนในที่นี้ หมายถึง สีอิมัลชันประเภทและชื่อสีเดียวกัน ทำโดยกรรมวิธีเดียวกัน ที่ทำหรือสงมอบหรือซื้อ
ขายในระยะเวลาเดียวกัน
ก.2 การชักตัวอยางและการยอมรับ ใหเปนไปตามแผนการชักตัวอยางที่กำหนดตอไปนี้ หรืออาจใชแผนการชัก
ตัวอยางอืน่ ทีเ่ ทียบเทากันทางวิชาการกับแผนทีก่ ำหนดไว
ก.2.1 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบการบรรจุและเครือ่ งหมายและฉลาก
ก.2.1.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันตามจำนวนทีก่ ำหนดในตารางที่ ก.1
ก.2.1.2 จำนวนตัวอยางทีไ่ มเปนไปตามขอ 6. และขอ 7. ตองไมเกินเลขจำนวนทีย่ อมรับทีก่ ำหนดในตารางที่
ก.1 จึงจะถือวาสีอมิ ลั ชันรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ตารางที่ ก.1 แผนการชักตัวอยางสำหรับการทดสอบการบรรจุและเครือ่ งหมายและฉลาก
(ขอ ก.2.1)

ขนาดรุน ขนาดตัวอยาง เลขจํานวนที่ยอมรับ


หนวยภาชนะบรรจุ หนวยภาชนะบรรจุ
ไมเกิน 90 2 0
91 ถึง 150 8 1
151 ถึง 500 13 2
501 ถึง 1 200 20 3
เกิน 1 200 32 5

ก.2.2 การชักตัวอยางและการยอมรับสำหรับการทดสอบคุณลักษณะทีต่ อ งการ


ก.2.2.1 ใหชกั ตัวอยางโดยวิธสี มุ จากรนุ เดียวกันตาม มอก.285 เลม 1
ก.2.2.2 ตัวอยางตองเปนไปตามขอ 5. ทุกรายการ จึงจะถือวาสีอมิ ลั ชันรนุ นัน้ เปนไปตามเกณฑทกี่ ำหนด
ก.3 เกณฑตดั สิน
ตัวอยางสีอมิ ลั ชันตองเปนไปตามขอ ก.2.1.2 และขอ ก.2.2.2 ทุกขอ จึงจะถือวาสีอมิ ลั ชันรนุ นัน้ เปนไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้

–10–

You might also like