You are on page 1of 25

ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย .. บทที่ 5
ความสัมพันธ์และฟังก์ชนั
1. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2522]
ให้ x และ y เป็นตัวแปรจริง
กราฟของสมการ x  y  a เมื่อ a  0 คือกราฟในข้อใดต่อไปนี้
1. y 2. y
a a

-a O a x -a O a x

-a -a

3. y 4. y
a a

-a O a x -a O a x

-a -a

5. y
a

-a O a x

-a

2. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2533]
กําหนดให้ f  {(x, y)  R  R | y  4  x2 }
g  {(x, y)  R  R | y  x  2 }
h  {(x, y)  R  R | y  x  2  0 และ x  0 }
ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันที่ไม่ใช่เซตว่าง
1. (f  g)  h 2. (f  g)  h 3. (f  h)  g 4. (f  g)  h

เฉลย 1. 1 2. 2
š——µÃ 5 336 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

3. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2521]
ให้ความสัมพันธ์ r1  {(x, y)  R  R | y2  2  x2 }
และ r2  {(x, y)  R  R | y  x2 }
จะได้ว่า r1  r2 คือส่วนที่แรเงาในข้อใด
1. y 2. y

(0, 2) (0, 2)
(1,1) (1,1)
O x x
( 2,0) ( 2,0) ( 2,0) O ( 2,0)
(1, 1) (1, 1)
(0, 2) (0, 2)

3. y 4. y
(0, 2)
(1,1) (0, 2)
(1,1) (1,1)
(1,1)
O x x
( 2,0) ( 2,0) O
( 2,0) ( 2,0)
(1,  1) (1,  1)
(0, 2)
(0,  2)

5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้องในข้อ 1. ถึงข้อ 4.

4. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2537]
ให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง
และ A  {(x, y)  R  R | x2  y2  16 }
B  {(x, y)  R  R | x2  4y }
C  {(x, y)  R  R | 4  x  4, y  4 }
ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. A  (B  C)  {(0, 4)} 2. A B  
3. (B  A)  C  C 4. C B  

5. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2532]
ถ้า A  {(x, y)  R  R | 0  x  2, 0  y  2x }
และ B  {(x, y)  R  R | 0  y  4, y  x  2 }
2
แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. A เท่ากับ B 2. A ' เท่ากับ B
3. A เป็นสับเซตแท้ของ B 4. B เป็นสับเซตแท้ของ A
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 337 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

6. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2528]
กําหนดรูปสี่เหลี่ยมคางหมูที่มีความสูง 3 หน่วย ด้านๆ หนึ่งอยู่บนแกน y ด้านๆ หนึ่งของด้าน
คู่ขนานอยู่บนแกน x และด้านๆ หนึ่งอยู่บนเส้นตรง x  y  3 ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้มีกราฟ
เป็นบริเวณภายในรูป และเส้นรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมคางหมูดังกล่าว
1. {(x, y)  R  R | x  0 , 0  y  3 และ y  x  3 }
2. {(x, y)  R  R | y  0 , 0  x  3 และ x  y  3 }
3. {(x, y)  R  R | 3  y  0 และ y  x  3 }
4. {(x, y)  R  R | 3  x  0 และ x  y  3 }

7. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2527]
เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็นเซตว่าง
1. {(x, y)  R  R | x  y  1}  {(x, y)  R  R | y2  x  0 }
2. {(x, y)  I  I | y  x  2 }  {(x, y)  R  R | y  2  3x }
3. {(x, y)  R  R | y  x }  {(x, y)  R  R | y  x }
4. {(x, y)  R  R | 1  x  4 }  {(x, y)  R  R | y  2 }

8. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2524] :(
2
y2
กําหนดความสัมพันธ์ r  {(x, y) | x   0} ข้อต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้อง
4 9
1. สามารถหาความสัมพันธ์ r1 ซึ่ง r1  r 1 และ r1 เป็นฟังก์ชันจาก R ไป R ได้
2. สามารถหาความสัมพันธ์ r2 ซึ่ง r2  r และ r2 เป็นฟังก์ชันจาก R ไปทั่วถึง R ได้
3. ถ้า r3 คือ ความสัมพันธ์ใดๆ ที่เป็นสับเซตของความสัมพันธ์ r และ Dr3  [1, 1]
แล้ว จะได้ว่าความสัมพันธ์ r31 ไม่เป็นฟังก์ชัน
4. กราฟของความสัมพันธ์ r เป็นเส้นตรง 2 เส้นตัดกัน
5. ความสัมพันธ์ r4  {(x, y) | y  3 x } เป็นสับเซตของความสัมพันธ์ r
2

9. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2538] :(
ให้ r1 และ r2 เป็นความสัมพันธ์ กําหนดโดย
r1  {(x, y)  R  R | y  x  3}
r2  {(x, y)  R  R | x  y2  9  0 และ y  3}
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. r1  r2 2. r2  r1 3. r1  r21 4. r2  r11

เฉลย 3. 4 4. 3 5. 1 6. 1 7. 1 8. 3 9. 4
š——µÃ 5 338 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

10. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2527] :(


กําหนดให้ A  {(x, y)  R  R | y  x2  3 }
และ B  {(x, y)  R  R | 2y  3 (x  1)  4x }
คํากล่าวในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
3 3
1. (1, 2) เป็นจุดสูงสุดในเซต A '  B 2. ( , ) เป็นจุดต่ําสุดในเซต A'  B
2 4
3 3
3. ( , ) เป็นจุดสูงสุดในเซต A'  B 4. (1, 2) เป็นจุดต่ําสุดในเซต A'  B
2 4

11. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2541]


กําหนดให้ S  { x | x เป็นจํานวนเต็ม และ x  5}
3 2 2
x  x  4x  a
และ f (x)  โดยที่ a  S, b  S
x4  bx  4
จํานวนคู่ลําดับ (a, b)  S  S ทั้งหมดที่ทําให้ f (1)  0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 15 2. 18 3. 20 4. 22

12. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2540] :(


ให้ A  {0, 1, 2, 3} และ P(A) คือเพาเวอร์เซตของ A
ถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไปยัง P(A) กําหนดโดย
r  {(a, B) | a  2, a  B และ a  1  B } แล้ว r มีจํานวนสมาชิกกี่จํานวน

13. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2543]


กําหนดให้ S เป็นเซตคําตอบของอสมการ x2  8x  20
ถ้า A  { x  S | x เป็นจํานวนเฉพาะบวก } และ B  { x  S | x เป็นจํานวนเต็มคี่ }
แล้ว (A  B)  (B  A) มีจํานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 11 2. 15 3. 21 4. 23

14. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2521] ;Þ


กําหนดให้ ความสัมพันธ์ r1  {(x, y)  R  R | y  3  x },
2
r2  {(x, y)  R  R | y  }
1 x3
และถ้าให้ A และ B แทนโดเมนของ r1 และ r2 ตามลําดับ
จะได้ว่า A  B คือเซตซึ่งแสดงด้วยเส้นจํานวนในข้อใดต่อไปนี้

1. 2.
-4 -2 3 3
3. 4.
-4 -2 3 -2 3
5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้องในข้อ 1. ถึงข้อ 4.
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 339 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

15. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2528] ;Þ
กําหนดให้ r  {(x, y)  R  R | x  y2  6y  10 }
ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. Dr  R และ Rr  { y | y  0 }
1 1 2. Dr 1  { x | x  0 } และ Rr 1  R
3. Dr  R และ Rr  { x | x  1 }
1 1 4. Dr 1  { y | y  1 } และ Rr 1  R

16. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2528]


กําหนดให้ f(x)  2 ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริง
x 1
1. Df  { x | x  1} และ Rf  { x | 2  x  0 }
2. Df  { x | x  1 และ x  1} และ Rf  { x | 2  x  0 }
3. Df  { x | x  1} และ Rf  { x | x  2 หรือ x  0 }
4. Df  { x | x  1 และ x  1 } และ Rf  { x | x  2 หรือ x  0}

17. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2544]


ถ้า r  {(x, y)  R  R | 2x3  3xy2  x2  y2  0} แล้ว เรนจ์ของ r 1 เท่ากับข้อใด
1. ( 1 , 1 ] 2. [ 1 , 1)
3 2 2 3
1 1
3. (,  )  ( , ) 4. (, )
3 3

18. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2543]


1
กําหนดให้ r  {(x, y) | y  9  x2 } และ s  {(x, y) | y 
2
}
x 9
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. Dr  Rs   1 ข. Rr  Ds1  (0, )

ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

19. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2529]


กําหนดความสัมพันธ์
r1  {(x, y)  R  R | x2  y2  1 }
1
และ r2  {(x, y)  R  R | y   1}
x2  1
ให้ A เป็นโดเมนของ r1 และ B เป็นเรนจ์ของ r2
ดังนั้น A  B คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. [0, 1]  {1} 2. (0, 1]  {1}
3. (0, 1] 4. {1}

เฉลย 10. 3 11. 3 12. 12 13. 2 14. 3 15. 3 16. 4 17. 1 18. 2 19. 2
š——µÃ 5 340 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

20. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2541]


4
ถ้าความสัมพันธ์ r  {(x, y)  R  R | y  2 }
(x  1)2  4
แล้วข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์ของ r
1. (, 2)  [3, ) 2. (, 2)  (3, )
3. (, 2]  [3, ) 4. (, 2]  (3, )

21. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2535]


กําหนดให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง
ถ้า r  {(x, y)  R  R | 9x2  4y2  18x  16y  11  0 }
แล้ว Dr  Rr เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. [1, 3] 2. [5, 1] 3. [1, 1] 4. [5, 3]

22. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2542]


กําหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ในเซตของจํานวนจริง
1  x2
โดยที่ r  {(x, y) | y  } ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1  x2
1. Dr  [1, 1], Dr 1  [1, 1] 2. Dr  [1, 1], Dr 1  [0, 1]

3. Dr  [0, 1], Dr 1  [1, 1] 4. Dr  [0, 1], Dr1  [0, 1]

23. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2546]


2
ให้ r  {(x, y) | y  x  4 }
x 2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. 4  Rr ข. Rr 1  [0, 4)  (4, )
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

24. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2532]


 2 x , x  [2, 3]  x  2 , x  (2, 0]
ให้ f(x)   และ g(x)  
 x  5 , x  (3, 8)  4  x , x  (0, 4]
ถ้าให้ A  เรนจ์ของ f และ B  โดเมนของ g1
แล้ว A  B' คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (2, 0)  [2, 6] 2. [2, 0]  (2, 6)
3. [2, 6] 4. (2, 0)
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 341 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

25. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2524]
ถ้า f  {(x, y) | y  x2  2x  2 และ 3  x  2 } แล้ว
(1) Rf  { y | 3  y  6 }
(2) Rf  { y | 1  y  6 }
(3) ถ้า h  f โดยที่ Dh  { x | 1  x  1} และ h(x)  f(x) แล้ว h1 เป็นฟังก์ชัน 1 1
ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ (1) ถูกเพียงข้อเดียว 2. ข้อ (2) ถูกเพียงข้อเดียว
3. ข้อ (3) ถูกเพียงข้อเดียว 4. ข้อ (1) และข้อ (3) ถูกเพียง 2 ข้อ
5. ข้อ (2) และข้อ (3) ถูกเพียง 2 ข้อ

26. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2538]


ถ้า r  {(x, y) | y  x2 และ y  2x }
แล้วเรนจ์ของ r 1 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. [0, 2] 2. [0, 4]
3. (, 0]  [2, ) 4. (, 0]  [4, )

27. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2537] :( * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันลอการิทึม” ด้วย


ให้ r1  {(x, y) | x2  y  2  0 } และ r2  {(x, y) | ln y  x2  0 }

เรนจ์ของ (r1  r2) คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. [1, 2] 2. (, 0]

3. (, 1]  [ 1 , 1] 4. 1
(, ]  [1, 2]
2 2

28. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2547] :(


กําหนดให้ r  {(x, y) | x  y และ y2  x2  2x  3 }
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. Dr  [1, ) ข. Rr  (, )
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

29. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2546] :(


กําหนดให้ r  {(x, y) | 0  x, 0  y  5 และ x2  y2  2x  6y  8 }
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. Dr  [0, 3] ข. ถ้า 0  c และ (3, c)  r แล้ว c  5
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

เฉลย 20. 1 21. 3 22. 2 23. 3 24. 1 25. 4 26. 3 27. 4 28. 2 29. 4
š——µÃ 5 342 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

30. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2544]


1
กําหนดความสัมพันธ์ r  {(x, y) | y  }
x2  1
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1 x
ก. Dr  (, 1)  (1, ) ข. r  1  {(x, y) | y   }
x
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

31. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2523] ;Þ


ถ้า A  {1, 2, 3, 4} และถ้า r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป A
ข้อใดต่อไปนี้ที่มีความสัมพันธ์เป็นฟังก์ชัน แต่อินเวอร์สของความสัมพันธ์ไม่เป็นฟังก์ชัน
1. r1  {(x, y)  A  A | y  x } 2. r2  {(x, y)  A  A | y  x2 }
3. r3  {(1, 1),(2, 4),(4, 1)} 4. r4  {(1, 1),(2, 4),(3, 3),(4, 1)}
5. r5  {(1, 2),(2, 3),(3, 4),(4, 1)}

32. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2532] ;Þ * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันตรีโกณมิติ” ด้วย


กําหนดให้ D  {2, 5, 6, 7, 8}
อินเวอร์สของความสัมพันธ์ที่มี D เป็นโดเมนในข้อใดต่อไปนี้ ไม่เป็นฟังก์ชัน
1. {(x, y) | y  sin( (x  5)) }
6
2. {(x, y) | y  x  2 }
3. {(x, y) | y  x2  4x }
4. {(x, y) | y  เศษเหลือจากการหาร x ด้วย 4 }

33. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2537]


กําหนดให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง และ I เป็นเซตของจํานวนเต็ม
ถ้า A  { x  I | x2  2  8 } และ B  { x  R | 1  1  0 }
x
แล้วเซตของความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันจาก AB ไป B
1. {(3, 1),(2, 2),(1, 3),(1, 4),(2, 5)}
2. {(3, 0),(2, 1),(1, 1),(2, 2),(3, 3)}
3. {(3, 1),(0, 2),(1, 1),(2, 3),(3, 4)}
4. {(3, 1),(2, 4),(1, 5),(2, 2),(3, 1)}
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 343 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

34. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2523] ;Þ
ถ้า A  B  เซตของจํานวนจริง และ f  {(x, y)  A  B | y  x  2 }
ข้อความใดถูกต้องที่สุด
1. f เป็นเพียงความสัมพันธ์ ไม่ใช่ฟังก์ชัน เพราะค่า x มากกว่าหนึ่งค่า ให้ค่า y เท่ากัน
2. f เป็นฟังก์ชัน แต่ไม่ใช่ฟังก์ชัน 1  1 เพราะเมื่อลากเส้นขนานกับแกน x
เส้นนั้นจะตัดกราฟของฟังก์ชันมากกว่าหนึ่งจุด
3. f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B เพราะจํานวนสมาชิกของ A และ B เท่ากัน
4. ถูกทั้งข้อ 2. และข้อ 3. ดังนั้น f ไม่ใช่ฟังก์ชันชนิด “หนึ่งต่อหนึ่งทั่วถึง”
5. ไม่มีคําตอบใดถูกต้อง

35. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2527]


อินเวอร์สของความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็นฟังก์ชัน
1. {(x, y)  A  A | y  x } , A  {1, 2, 3}
2. {(x, y)  R  R | x2y  1 }
3. {(x, y)  R  R | y  x  2 }
4. {(x, y)  B  B | y  x  2 } , B  {2, 1, 0, 1, 2}

36. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2522] ;Þ


f เป็นฟังก์ชัน 1  1 จากเซต A ไปทั่วถึงเซต B ข้อความในข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. A และ B มีจํานวนสมาชิกเท่ากัน
2. A มีจํานวนสมาชิกมากกว่า B
3. B มีจํานวนสมาชิกมากกว่า A
4. A  B
5. จากข้อมูลที่กําหนดให้ เปรียบเทียบกันไม่ได้ระหว่าง A และ B

37. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2526] ;Þ


กําหนดให้ A  {1, 2} ข้อความในข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. จํานวนของความสัมพันธ์ทั้งหมดจาก A ไป A เท่ากับ 4
2. จํานวนของฟังก์ชันทั้งหมดจาก A ไป A เท่ากับ 4
3. จํานวนฟังก์ชันคงที่จาก A ไป A เท่ากับ 1
4. อินเวอร์สของแต่ละฟังก์ชันจาก A ไป A ไม่เป็นฟังก์ชัน

38. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2539] ;Þ


ถ้าเซต A มีสมาชิก 10 ตัว
แล้วจํานวนทั้งหมดของความสัมพันธ์จาก A  A ไป A เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2100 2. 21000 3. 1002 4. 10002

เฉลย 30. 2 31. 3, 4 32. 4 33. 4 34. 2 35. 3 36. 1 หรือ 5 37. 2 38. 2
š——µÃ 5 344 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

39. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2520] ;Þ


ให้ A  {1, 2, 3} , B  {2, 3, 4}
ข้อใดเป็นฟังก์ชัน 1  1 จาก A ไปทั่วถึง B
1. {(1, 3),(2, 4),(3, 3)} 2. {(2, 2),(3, 3),(4, 1)}
3. {(1, 1),(2, 2),(3, 3)} 4. {(1, 2),(3, 3),(2, 3)}
5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้องในข้อ 1. ถึงข้อ 4.

40. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2540] ;Þ


ถ้าเซต A มีสมาชิก 8 จํานวน เซต B มีสมาชิก 6 จํานวน
และ A กับ B มีสมาชิกร่วมกัน 3 จํานวน
แล้วฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจากเซต (B  A) ไปยังเซต (A  B) มีจํานวนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 5 3. 10 4. 20

41. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2542]


ให้ A  {1, 2, 3} และ B  {3, 4}
ถ้า S  { f : A  B  A  B | f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง }
แล้วจํานวนสมาชิกของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 120 2. 240 3. 360 4. 480

42. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2541]


ให้ A  {1, 2, 3} และ B  {a, b, c, d} แล้ว
จํานวนสมาชิกของเซต { f : A  B | f ไม่เป็นฟังก์ชัน 11} เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 40 2. 34 3. 30 4. 24

43. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2539]


ถ้า A  {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} และ B  {a, b}
แล้วจํานวนของฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึง B เท่ากับข้อใด
1. 14 2. 63 3. 126 4. 252

44. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2543]


ให้ A  {1, 2, 3, 4, 5} และ B  {a, b}
และให้ S  { f | f : A  B เป็นฟังก์ชันทั่วถึง }
จํานวนสมาชิกของเซต S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 22 2. 25 3. 27 4. 30

45. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2540]


ให้ A  {1, 2, 3, 4, 5} และ S เป็นเซตของฟังก์ชัน f ทั้งหมด
โดยที่ f : A  A เป็นฟังก์ชัน 1  1 และทั่วถึง
ถ้า f(1)  3 แล้ว จํานวนสมาชิกของ S เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 40 2. 48 3. 56 4. 72
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 345 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

46. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2536]
ถ้า A  {2, 1, 0, 1, 2} แล้ว จํานวนทั้งหมดของฟังก์ชัน f : A  A ซึ่งมีคุณสมบัติว่า
f(x)  0 สําหรับ x  0 และ f(x)  0 สําหรับ x  0 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 160 2. 80 3. 64 4. 16

47. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2544]


กําหนดให้ A  {1, 2, 3, 4} และ S  { f : A  A | f (x)  x1 ทุก x  A}
จํานวนฟังก์ชันทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของ S เท่ากับเท่าใด

48. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2531]


กําหนดให้ A  {1, 2, 3, 4, 5} จํานวนฟังก์ชัน f : A  A ซึ่งมีคุณสมบัติว่า
ทุก x  A , f(x)  x หรือ f(x)  3 เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 24 2. 29 3. 72 4. 120

49. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2544]


ให้ A, B และ F เป็นเซตซึ่งกําหนดดังนี้
A  {1, 2, 3, 4, 5, 6}
B  {{1}, {1, 2}, {1, 2, 3}, {1, 2, 3, 4}}
F  {f : B  A | f (x)  x ทุกเซต x  B }
จํานวนสมาชิกของ F เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 24 2. 60 3. 100 4. 120

50. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2535 และ ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2546] :(


กําหนดให้ A  {1, 2} และ B  {1, 2, 3, ..., 10}
เซต { f | f : A 11  B และมี x  A อย่างน้อย 1 ตัว ซึ่ง f (x)  x }
มีจํานวนสมาชิกเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 16 2. 17 3. 18 4. 19

51. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2548] :(


ให้ A  {1, 2, 3, 4} และ B  {1, 2, 3, 4, 5}
ถ้า f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B โดยที่ f (1)  2 หรือ f (2)  m เมื่อ m เป็นจํานวนคี่
แล้ว จํานวนของฟังก์ชัน f ที่มีสมบัติดังกล่าว เท่ากับข้อใด
1. 75 2. 150 3. 425 4. 500

52. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2541] :(


ถ้า A  {1, 2, 3, 4, 5, 6} และ B  {1, 2, 3} แล้ว
จํานวนฟังก์ชัน f : A  B ทั้งหมดซึ่ง f (1)  1 หรือ f (2)  2 หรือ f (3)  3
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 530 2. 612 3. 702 4. 814

เฉลย 39. 5 40. – 41. 3 42. 1 43. 3 44. 4 45. 2 46. 2 47. 96 48. 3 49. 4 50. 2 51. 3 52. 3
š——µÃ 5 346 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

53. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2534] ;Þ * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันตรีโกณมิติ” ด้วย


2
ให้ a, b เป็นค่าคงที่ และ f(x)  a sin x  bx cos x  x สําหรับทุกค่า x  R
ถ้า f(2)  3 แล้ว f(2) เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
1. 3 2. 1 3. 1 4. 5

54. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2525]


ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
x 3
1. r  {(x, y) | x  R, y  R และ y  } เป็นฟังก์ชัน
2x  1
x 3
และมี r 1  {(x, y) | x  R, y  R และ y  } ซึ่งเป็นฟังก์ชัน
1  2x
x2  25
2. ถ้า f(x)  x  5 และ g(x)  จะได้ f  g
x 5
3. ถ้า f(x)  x2  4 , x 2 และ g(x)  x2  2x  3

f x2  4
จะได้ ( )(x)  2 , x 2
g x  2x  3
 x  3 ถ้า x  3
4. ถ้า f(x)  x  3 และ g(x)   จะได้ f  g
 3  x ถ้า x  3

55. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2539] :(


 x2 เมื่อ x  0
ถ้า g(x)   2
  x เมื่อ x  0
แล้ว สําหรับจํานวนจริง x ใดๆ ค่าของ g( x  x ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. x ( x  x ) 2. x ( x  x )
3. 2 x ( x  x ) 4. 2 x ( x  x )

56. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2541] :(


 2 , x  1
 2
กําหนดให้ f(x)   (x  1) ,  1  x  2
 (x  1), x 2

เซตคําตอบของสมการ f( x )  4  0 เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้
1. (3, 5) 2. (6, 1) 3. (5, 4) 4. (1, 6)

57. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2533] :(


 f( x ) , x  3

กําหนดให้ f(x)   f(f(x  1)),  3  x  0
x1 , x0

f(3  h)  f(h)
ถ้า h  5 แล้ว มีค่าเท่ากับเท่าใด
f(2)
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 347 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

58. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2536] :(
ให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง และ f : R  R กําหนดโดย
  1  x, x  0

f(1  x)   0 , x  0

 1 x , x  0
ถ้า x  y  f(y  x2) สําหรับจํานวนจริง x และ y ใดๆ
แล้วค่าของ (2)  f(3) มีค่าอยู่ในช่วงใดต่อไปนี้
1. (4, 2] 2. (2, 2] 3. (2, 4] 4. (4, 6)

59. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2545]


กําหนดให้ f (x)  1 36  4x2
3
ถ้า A  { x | x  [3, 3] และ f (x)  {0, 1, 2, 3}}
แล้ว จํานวนสมาชิกของเซต A เท่ากับเท่าใด
60. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2547] :(
 1 x , x  [0, 1]
กําหนดให้ f (x)  
 1  x  1 , x  (1, )

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. f 1(x)  f (x) ทุก x  (1, )
ข. มีจํานวนจริง a  0 เพียง 2 จํานวนเท่านั้น ซึ่ง f 1(a)  a
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
61. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2520]
ข้อความใดไม่จริง
1. ไม่มีจํานวนจริง x ใดๆ ที่เมื่อ F(x)  x2  4x  4 แล้ว F(x)  x
2. ถ้า x และ y เป็นจํานวนจริงที่ x  y  0 แล้ว x  y  x  y
3. ถ้า r  A  B แล้ว r เป็นความสัมพันธ์จาก A ไป B
4. มีเซต A และ B ซึ่ง A  B มีจํานวนสมาชิกเท่ากับ 7
5. ถ้าเรนจ์ของฟังก์ชัน f เป็นสับเซตของโดเมนของฟังก์ชัน g แล้ว สามารถหา g f ได้

62. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2528] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล” ด้วย


ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. ถ้า A เป็นเซตจํากัด และ f : A  B เป็นฟังก์ชัน 1  1 แล้ว B เป็นเซตจํากัด
2. ถ้า f เป็นฟังก์ชัน 1  1 แล้วไม่จําเป็นที่ f  f 1  f 1 f
3. g(x)  x2 เมื่อ x  0 ไม่เป็นฟังก์ชัน 1  1
4. f(x)  e x เป็นฟังก์ชัน 1  1
เฉลย 53. 4 54. 4 55. 4 56. 3 57. 1 58. 1 59. 5 60. 3 61. 1 62. 2
š——µÃ 5 348 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

63. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2540] ;Þ


ให้ I เป็นเซตของจํานวนเต็มบวก
กําหนดให้ f  {(x, y) | x  2y  12 และ x, y  I }
แล้ว f  f เท่ากับเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. {(8, 5),(4, 4)} 2. {(5, 8),(4, 4)}
3. {(2, 2),(4, 4)} 4. {(6, 3),(4, 4)}

64. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2528]


1
พิจารณาฟังก์ชันต่อไปนี้ f(x)  x  1 , g(x)  x และ h(x) 
x
ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. หา f  h ได้เสมอ 2. หา h g ได้เสมอ
3. หา g  f ได้เสมอ 4. หา h f ได้เสมอ

65. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2526]


ให้ R เป็นโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน f และ g
R  R เป็นโดเมนของฟังก์ชัน u และ v
R เป็นเรนจ์ของ u และ v และให้ a  R
จงพิจารณาว่าสัญลักษณ์ในข้อใดต่อไปนี้แทนจํานวนจริง
1. g(u(f(a))) 2. u(g(v(a))) 3. f(u(a, a)) 4. g f  u

66. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2534] ;Þ


กําหนดฟังก์ชัน f และ g จากเซตของจํานวนจริง R ไปยัง R
โดย f(x)  1  x และ g(x)  1 แล้ว (g  f)(x) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
f(x)
1 1
1. 1 x 2. 2 x 3. 4.
1 x 2 x

67. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2535] ;Þ


ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชัน กําหนดโดย f  {(x, y)  R  R | x2  2y  5 }
และ g  {(x, y)  R  R | 2x  y  3 } แล้ว g  f คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. {(x, y)  R  R | x2  y  2 } 2. {(x, y)  R  R | x2  4y  11 }
3. {(x, y)  R  R | x2  4x  2y  5 } 4. {(x, y)  R  R | 4x2  12x  2y  4  0 }

68. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2525] ;Þ


กําหนด f(x)  x2  6 , g(x)  1 ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
x3
6 1
1. (f  g)(x)  2. (g  f)(x) 
(x  3)2 x2  3
3. Rf  R 4. Rg  R  {3}  { x | x  R, x  3 }
5. Rg  R  {0}  { x | x  R, x  0 }
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 349 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

69. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2521] ;Þ
 2x  2 เมื่อ x  0
กําหนดให้ f(x)  3x , g(x)  x2  1 และ h(x)  
 2x  3 เมื่อ x  0
จะได้ว่า f (h  g)(1) มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 3 2. 5 3. 6 4. 10
70. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2541]
ให้ f(x)  1 โดยที่ x  1
x 1
ถ้า I เป็นฟังก์ชันเอกลักษณ์ และ g  (f  f)(f  I) แล้ว g(x) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
2
(x  1) (x  1)2  x (x  1)2  x
1. 1 2. 3. 4.
(x  2) (x  2) (x  2)

71. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2533]


กําหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชันจากเซตของจํานวนจริง R ไปยัง R
 1 ถ้า x  1
โดย f(x)  2x และ g(x)   2
x  20 ถ้า x  1
ถ้า n เป็นจํานวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทําให้ (g  f)(n)  0
แล้ว n เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
72. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2524]
1
กําหนด f  {(x, y) | y  x2  1 } และ g  {(x, y) | y  }
1  x2
ข้อต่อไปนี้ข้อใดถูกต้อง
y x
1. (f  g)1  {(x, y) | x 
2
} 2. f  g  {(x, y) | y  }
1 y 1  x2
1 1
3. (g  f)(x)  4. g1  {(x, y) | x2  1  }
x y2
5. Dg/ f  [1, )

73. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2523]


พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(1) ถ้า f(x)  3 a  x3 เมือ่ x  0 แล้ว ดังนั้น f  f  f  f (x)  x
2
x
(2) ถ้า f(x)  และ g(x)  x สําหรับ x R ดังนั้น f และ g เหมือนกันทุกประการ
x
(3) ถ้า f(x)  x สําหรับ x  R ดังนั้น f 1 เป็นฟังก์ชัน และ f 1  f
ข้อความใดถูกต้องที่สุด
1. มีข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว 2. มีข้อที่ถูกต้อง 2 ข้อ คือ (1) และ (2)
3. มีข้อที่ถูกต้อง 2 ข้อ คือ (1) และ (3) 4. มีข้อที่ถูกต้อง 2 ข้อ คือ (2) และ (3)
5. ตั้งแต่ข้อ (1) – ข้อ (3) ถูกต้องทุกข้อ

เฉลย 63. 1 64. 1 65. 3 66. 4 67. 1 68. 5 69. 1 70. 4 71. 3 72. 1 73. 3
š——µÃ 5 350 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

74. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2526]


ให้โดเมนของฟังก์ชัน f และ g เป็นเซต R ของจํานวนจริงทั้งหมด
c  R , c  0 กําหนด f(x)  x  c และ g(x)  c สําหรับทุก x
ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. f(x)  g(x)  x สําหรับทุก x  R 2. f  g เป็นฟังก์ชันชนิด 1  1
3. Df  g  R 4. อินเวอร์สของ f  g ไม่เป็นฟังก์ชัน

75. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2526]


กําหนดฟังก์ชัน f และ g ดังนี้
x 3
f(x)  เมื่อ x  R
2
g(x)  x เมื่อ x R
เมื่อ x  3 ค่าของ [(f 1  g)(x)  (f 1  g)(2)] /( x  2) เท่ากับเท่าใด
1
1. 2 2. 6 3. 1 4.
2

76. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2520]


ให้ A  {1, 2, 3, 4} , B  {1, 3, 4, 5}
และ f  {(1, 1),(2, 3),(3, 4),(4, 5)} แล้ว ข้อความใดถูก
1. f 1 f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป B 2. ff เป็นฟังก์ชันจาก A ไป A
1 1
3. f  f เป็นฟังก์ชันจาก A ไป A 4. ff เป็นฟังก์ชันจาก B ไป A
5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้องในข้อ 1. ถึงข้อ 4.

77. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2542]


ถ้า f (x)  4x และ g(x)  2
x1
แล้ว ค่า x ที่ทําให้ (f  g)(x)  (g  f)(x) เท่ากับเท่าใด

78. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2545] :(


 2 , x  1

กําหนดให้ f (x)   (x  1) , 1  x  2
2
และ g(x)  f (x)  2

 x 1 ,x  2
ถ้า k เป็นจํานวนเต็มที่น้อยที่สุดที่ทําให้ g(k)  5 แล้ว (g  f)(k) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 6 3. 7 4. 8

79. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2530] ;Þ


ให้ f  {(x, y)  R  R | y  3x  2 }
และ g  {(x, y)  R  R | y  2x  7 }
ค่าของ (g1 f 1)(2) คือข้อใด
1.  17 2.  7 3. 
1
4. 7
6 2 6 2
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 351 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

80. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2540]
กําหนดให้ f(x)  x2  2x  1 และ g(x)  x3  3x2  3x  9
แล้ว (f  g1)(7) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 2 2. 1 3. 1 4. 2

81. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2548] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “เมทริกซ์” ด้วย


 1 1
กําหนดให้ f (x)  det  1 x  เมื่อ x  1 ข้อใดต่อไปนี้ถูก
 1 1

 1 1
1
1. f เป็นฟังก์ชัน 1 1 และ f 1(x)  det  1 x  เมื่อ x  0 , x  1
 1 1
 1 1
2. f เป็นฟังก์ชัน 1 1 และ f 1(x)  det  1  เมื่อ x  1
 1 x 1

 1 1
3. f ไม่เป็นฟังก์ชัน 1 1 เนื่องจากมีค่า x ที่ทําให้ det  1 x   0
 1 1

 1 1 2
4. f ไม่เป็นฟังก์ชัน 1 1 และ (f  f)(x)  det  1 x  เมื่อ x  1
 1 1

82. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2544]


กําหนดให้ f (x)  x , x   1 และ g(x)  x
, x1
1 x 1 x
ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. (f  g) 1(x)  x ,x 1 2. (f 1  g1)(x)  x ,x 1
x x
3. (f 1  g)(x)  ,x 1 4. 1
(g  f)(x)  ,x  1
1  2x 1  2x

83. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2539] :(


กําหนดให้ r  {(x, y)  R  R | x  y2  1 }
และ s  {(x, y)  R  R | x  y }
ข้อความใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
1. r 1 s1  s1 r 1 2. r 1  s 1  r 1
3. r 1 r 1  r 1 4. s1  s 1  s 1

84. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2529] :(


ให้ f(x)  x แล้ว f 1(x) เท่ากับข้อใด
1 x
x x
1. x 2. 3. 4. x
1 x 1 x 1 x 1 x

เฉลย 74. 2 75. 1 76. 3 77. 0.2 78. 3 79. 1 80. 2 81. 2 82. 3 83. 3 84. 2
š——µÃ 5 352 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

85. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2529] :(


กําหนดความสัมพันธ์ r  {(x, y)  R  R | y  x x }
อินเวอร์สของ r คือข้อใด
1. r 1  {(x, y)  R  R | y   x , x  0 }
 x , x  0
 x , x  0
2. r 1  {(x, y)  R  R | y   }
  x, x  0
 x , x  0
3. r 1  {(x, y)  R  R | y   }
 x , x  0
 x , x  0
4. r 1  {(x, y)  R  R | y   }
 x , x  0

86. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2542]


กําหนดให้ f (x)  x และ A  { x  R | f 1(x)  [f (x)]2  2 }
พิจารณาค่าความจริงของข้อความต่อไปนี้
ก. x  A [ x2  x  6  0 ] ข. x  A [ x2  2x  3  0 ]
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. จริง ข. จริง 2. ก. จริง ข. เท็จ
3. ก. เท็จ ข. จริง 4. ก. เท็จ ข. เท็จ

87. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2546] :(


กําหนดให้ f (x)   (x 1)2 ทุก x  1 และ g(x)  1 x ทุก x  1
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1 3
ก. f 1(x)  1  x ทุก x  0 ข. (g1  f 1)( ) 
4 4
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

88. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2545] :(


 x ,0  x  1
กําหนดให้ f (x)  x เมื่อ x  0 และ g(x)  
x  1 , 1 x

พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. g  f 1 เป็นฟังก์ชันเพิ่มบน Rf ข. f  g1 เป็นฟังก์ชันเพิ่มบน Rg
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 353 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

89. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2547] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน” ด้วย
x1 , x  0
กําหนดให้ f (x)   x  1 , x  0

ฟังก์ชัน g ในข้อใดต่อไปนี้ ทําให้ฟังก์ชัน g  f ไม่ต่อเนื่อง
1. g(x)  1 เมื่อ x  (, 1)  [1, )
1
2. g(x)  f (x) เมื่อ x  (, 1)  [1, )
 (x  1)2 , x  1
3. g(x)   2
 (x  1) , x  1
4. g(x)  x 3 เมื่อ x  (, 1)  [1, )

90. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2547] :( * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “แคลคูลัส (อนุพันธ์)” ด้วย


กําหนดให้ f (x)  x 2 เมื่อ x  (1, 1)
1 x
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
 1  1  4x2
ก. 1 
f (x)   , x  0 ข. f เป็นฟังก์ชันเพิ่มในช่วง (1, 1)
2x
 0 , x  0

ข้อใดต่อไปนี้จริง
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

91. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2546] :( * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “เอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม” ด้วย


x
 a (10 ) , x  1
กําหนดให้ a  0 และ g(x)   3
 x  1 ,x  1
ถ้า Rg  (2.5, ) แล้ว พิจารณาข้อความต่อไปนี้
 log(4|x|) , x  0
ก. g1(a 1)  log 2 ข. g1(x)  
 3 x  1 ,x  0
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

92. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2545] :(


กําหนดให้ k เป็นค่าคงตัว และ r  {(x, y)  R  R | x  k x  y  k y }
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. ถ้า k  1 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน ข. ถ้า k  1 แล้ว r เป็นฟังก์ชัน
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

เฉลย 85. 2 86. 3 87. 1 88. 1 89. 4 90. 3 91. 4 92. 2


š——µÃ 5 354 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

93. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2531] :(


ให้ f(x)  x2
และสําหรับ A  R , R  เซตของจํานวนจริง นิยาม f 1(A)  { x | f(x) A }
ข้อความใดต่อไปนี้ผิด
1. f 1([25, 0])  {0} 2. f 1([1, 1])  [1, 1]
3. f 1([0, 1])  [1, 1] 4. f 1([4, 9])  [2, 3]

94. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2521] ;Þ


กําหนดให้ f( 1 x  1)  1 x  1 จะได้ว่า f 1(2) มีค่าเท่ากับเท่าใด
2 2
1. 6 2. 4 3. 2
4. 0 5. ไม่มีคําตอบที่ถูกต้องในข้อ 1. ถึงข้อ 4.
95. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2543]
ถ้า (f  g)(x)  3x  14 และ f ( 1 x  2)  x 2
3
แล้ว (g1  f)(x)
เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 3x  4 2. 3x  6 3. 3x  8 4. 3x  10

96. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2535]


ถ้า f 1(x)  x และ (f  g)(x  2)  3x  6 แล้ว g(2) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
x 2
5 3 12 24
1. 2. 3. 4.
6 2 5 11

97. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2537]


ถ้า f(x)  x  1 และ (g  f 1)(x)  4x2  1
แล้วเซตคําตอบของสมการ g(x)  0 เป็นสับเซตของช่วงในข้อใดต่อไปนี้
1. [4, 1] 2. [1, 0] 3. [0, 4] 4. [4, 6]

98. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2538]


ให้ f และ g เป็นฟังก์ชันจากเซตของจํานวนจริง R ไปยัง R
ถ้า f(x)  x3  1 และ (f  g)(x)  x3  3x2  3x  2
แล้วค่าของ (g  f 1)(7) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 1 4. 3

99. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2547]


กําหนดให้ f (x)  ax2  b และ g(x  1)  6x  c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว
ถ้า f (x)  g (x) เมื่อ x  1, 2 และ (f  g)(1)  8
แล้ว (f  g1)(16) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 31 2. 61 3. 10 4. 20
9 9
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 355 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

100. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2536] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “เลขยกกําลัง” ด้วย
ให้ R เป็นเซตของจํานวนจริง, f : R  R และ g: R  R กําหนดโดย
f(x)  a2x  1 และ g(x)  bx  5
ถ้า (f  g1)(2)  27 และ (f g)(0)  15
แล้ว 3 f(1)  4 g(2) มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 35 2. 33 3. 37 4. 39

101. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2546]


กําหนดให้ a  0 และ f (x)  ax2 , x  0 และ g(x)  x3
f 1(64)
ถ้า (f 1  g)(4)  2 แล้ว มีค่าเท่ากับเท่าใด
g1(64)

102. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2546]


กําหนดให้ f, g เป็นฟังก์ชันซึ่ง Df  [0, )
โดยที่ f 1(x)  x2 , x  0 และ g1(x)  (f (x))2  1 , x  0
ถ้า a  0 และ f (a)  g(a)  19 แล้ว f 1(a)  g1(a) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 273 2. 274 3. 513 4. 514

103. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2527]


ถ้า (f  g)(x)  x , g(x)  1 x  3 และ g(h(x))  2x  1 แล้ว ข้อใดต่อไปนี้ถูก
3
1. f(x)  g1(x) และ h(x)  6x  4 2. f(x)  g1(x)และ h(x)  6x  6
3. f(x)  3x  9 และ h(x)  6x  4 4. f(x)  3x  9 และ h(x)  6x  6

104. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2544]


กําหนดให้ f (x  1)  3x  2  f (x) และ g(3x  1)  2x  8 ถ้า f (0)  1
แล้ว g1(f (2)) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 0 3. 1 4. 2

105. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2546]


กําหนดให้ f และ g เป็นฟังก์ชัน ซึ่ง f (x)  0 ทุก x
ถ้า (g  f)(x)  2 [f (x)]2  2 f (x)  4 และ g1(x)  x  1 แล้ว
3
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. g  f เป็นฟังก์ชันคงตัว ข. f (100)  g(100)  300
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

เฉลย 93. 4 94. 2 95. 2 96. 2 97. 3 98. 1 99. 4 100. 3 101. 0.5 102. 1 103. 2 104. 1 105. 2
š——µÃ 5 356 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

106. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2533]


ให้ f : R  R เมื่อ R เป็นเซตของจํานวนจริงบวก และ g : R  R
ถ้ากําหนดให้ (g  f)(x)  3(f(x))2  2f(x)  1 และ g(x)  x2  x  2
ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. (g  f)(1)  2 2. (g  f)(1)  2 3. (g)(1)  2 4. (g  f)(1)  2
f

107. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2545]


กําหนดให้ f, g เป็นฟังก์ชันที่มีสมบัติว่า f 1(g (x))  x  2 ทุก x  R
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. f (2x)  g (2 (x 1)) ทุก x  R ข. g1(f (x)) เป็นฟังก์ชันเพิ่มใน R
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ก. ถูก และ ข. ถูก 2. ก. ถูก และ ข. ผิด
3. ก. ผิด และ ข. ถูก 4. ก. ผิด และ ข. ผิด

108. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2538] ;Þ


1
ถ้า f(x)  (3  x)(2  x) และ g(x) 
x 3
แล้ว โดเมนของ fg คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1.  2. (, 2] 3. (3, 2) 4. (3, 2]

109. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2534] ;Þ


กําหนดให้ f(x)  1 3x2  1 , g(x)  3  x , h(x)  x2  5x  6
2
g
ถ้า u  แล้ว Rf  Du เป็นสับเซตของเซตในข้อใดต่อไปนี้
h
1. (4, 1) 2. (1, 5) 3. (2, 7) 4. (4, 8)

110. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2529]


ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. ถ้า f เป็นฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B และ g เป็นฟังก์ชันจากเซต B ไปทั่วถึงเซต C
แล้ว g  f เป็นฟังก์ชันจาก A ไปทั่วถึงเซต C
2. ถ้า f(x)  x และ g(x)  x2 แล้ว Dgof  Dfog
3. ถ้า f(x)  x2  4x  3 และ g(x)  x แล้ว Rfog  Rgof
4. ถ้า f(x)  2x  1 และ g(x)  x3  3x2  3x แล้ว f 1 g1(1)  g1 f 1(1)
3

111. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2527]


ถ้า f(x)  x2  25 , g(x)  2x และ h(x)  f(x)  g(x)  (x2  25)(2x)
แล้ว โดเมนของ (g  h)(x) คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. { x | x  5 } 2. { x | 5  x  0 หรือ x  5}
3. { x | x  5 หรือ x  5 } 4. { x | x  0 }
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 357 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

112. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2541]
ถ้า f  {(x, y)  R  R | y  x2  2x  1 }
1
g  {(x, y)  R  R | y  }
1  x2
และ h  (g  f)  fg แล้ว โดเมนของ h คือข้อใดต่อไปนี้
1. { x | x  1 } 2. { x | x (x  2)  0 }
3. { x | (x2  1)(x  2)  0 } 4. { x | x (x2  1)(x  2)  0 }

113. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2544]


1
กําหนดให้ f (x)  4  x2 และ g(x) 
9  x2
จํานวนในข้อใดต่อไปนี้เป็นสมาชิกของ Rgof
1 1 1 1
1. 2. 3. 4.
2 4 8 14

114. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2531] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล” ด้วย


กําหนดให้ f(x)  10x , g(x)  1  x2
r  {(x, y)  R  R | y  (f  g)(x) }
ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. Dr  [1, 1] , Rr  [0, 1] 2. Dr  [0, 1] , Rr  [1, 10]
3. Dr  [1, 1] , Rr  [1, 10] 4. ไม่สามารถหา f  g ได้

115. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2547] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล” ด้วย


x 2
กําหนดให้ f (x)  10 และ g(x)  100  3x
จํานวนเต็มที่มีค่ามากที่สุดที่เป็นสมาชิกของ Rgof มีค่าเท่าใด

116. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2543]


ให้ f (x)  (x  1)2 และ g(x)  x  1
Dfog  R 'gof คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. [0, 1) 2. [0, 2) 3. [1, ) 4. [2, )

117. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2542]


กําหนดให้ f (x)  x และ g(x)  x2  1
1 x
ถ้า A  Dgof และ B  Dg แล้ว (A  B') คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. R  {1, 1} 2. (1, )
1
3. ( , 1)  (1, ) 4. (1, 1)  (1, )
2

เฉลย 106. 4 107. 1 108. 4 109. 2 110. 1 111. 1 112. 4 113. 3 114. 3 115. 9 116. 1 117. 4
š——µÃ 5 358 •°¥¸¢½ˆ—¢p‚m­ª­š„“´•¨²ª•£p

118. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2544] * ข้อนี้อาศัยเนื้อหา “ฟังก์ชันตรีโกณมิติ” ด้วย


กําหนดให้ f (x)  2 sin x และ g(x)  x2  1
2
เซต (R f  Dg)  R gof คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. {1, 1} 2. {2, 2}
3. [2,  3]  [1, 2] 4. [2, 1]  ( 3, 2]

119. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2545] :(


กําหนดให้ f (x)  5  g (x) โดยที่ g(x)  5  2x
ถ้า Dfog  [a, b] แล้ว 4 (a  b) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 15 2. 20 3. 25 4. 30

120. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2531] :(


ฟังก์ชันในข้อใดต่อไปนี้เป็นตัวอย่างที่แสดงว่าข้อความ “กําหนดให้ A   เป็นเซตใดๆ
ถ้า f : A  A เป็นฟังก์ชันทั่วถึง แล้ว f เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง” ไม่เป็นความจริง
1. f(n)  n , n  N , N  เซตของจํานวนเต็ม
2. f(n)  2n , n  N , N  เซตของจํานวนเต็ม
n , ถ้า n เป็นจํานวนเต็มคี่บวก
3. f(n)  
 n  1 , ถ้า n เป็นจํานวนเต็มคู่บวก
 (n  1) , ถ้า n เป็นจํานวนเต็มคี่บวก
4. f(n)   n2

 2
, ถ้า n เป็นจํานวนเต็มคู่บวก

121. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2529] :(


ให้ R  { x  R | x  0 } และ N  {0, 1, 2, 3, ...}
นิยาม f : R  R โดย f(x)  2x
และ g(0)  1 , g(n  1)  f(g(n)) , n  N
ข้อใดต่อไปนี้ผิด
1. g เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก N ไป R
2. f  g เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก N ไป R
3. Rg  Rfog
4. g(n)  2 , n  N

122. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / ต.ค.2541]


ให้ I เป็นเซตของจํานวนเต็ม
ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันซึ่งกําหนดโดย f (x)  2x และ g(x)  x  1 ทุก x  I
แล้ว เรนจ์ของ (f  g)  f คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. { x  I | x เป็นจํานวนเต็มคี่ } 2. { x  I | x เป็นจํานวนเต็มคู่ }
2 2
3. เซตของจํานวนเต็มคี่ทั้งหมด 4. เซตของจํานวนเต็มคู่ทั้งหมด
„“´• ¡‡„¥ž´—±©pª¸‚ 359 „§²¡ª±¡ž±™˜p¼¥°Ÿy‡pŠ±™

123. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / 2536]
ให้ I เป็นเซตของจํานวนเต็ม ถ้า f : I  I และ g : I  I กําหนดโดย
f(x)  2x ทุก x  I
0 ถ้า x เป็นเลขคี่
และ g(x)  
 x/2 ถ้ า x เป็นเลขคู่
และให้ F : I  I กําหนดโดย F  g  f  f แล้ว F เป็นจริงตามข้อใดต่อไปนี้
1. ไม่หนึ่งต่อหนึ่ง และไม่ทั่วถึง 2. หนึ่งต่อหนึ่ง แต่ไม่ทั่วถึง
3. ไม่หนึ่งต่อหนึ่ง แต่ทั่วถึง 4. หนึ่งต่อหนึ่ง และทั่วถึง

124. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2545]


กําหนดให้ I เป็นเซตของจํานวนเต็ม และให้ f, g เป็นฟังก์ชันจาก I ไป I
 x/2 , x เป็นจํานวนคู่
ซึ่งกําหนดโดย f(x)  2x และ g(x)  
 x , x เป็นจํานวนคี่
แล้ว g  f  f เป็นฟังก์ชันจาก I ไป I ที่มีสมบัติตามข้อใดต่อไปนี้
1. หนึ่งต่อหนึ่งและทั่วถึง 2. หนึ่งต่อหนึ่งแต่ไม่ทั่วถึง
3. ทั่วถึงแต่ไม่หนึ่งต่อหนึ่ง 4. ไม่หนึ่งต่อหนึ่งและไม่ทั่วถึง

125. [ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย / มี.ค.2543] :(


ให้ f, g : R  R กําหนดโดย f (x)  x
x 1
และ g(x)  จํานวนเต็มซึ่งน้อยที่สุด ที่มากกว่าหรือเท่ากับ x
(เช่น g(1.01)  2 , g(6)  6 , g(7.99)  7 เป็นต้น)
ถ้า F (x)  (f  g)(x) และ G(x)  (g  f)(x) แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
1. DF  (, ) 2. RF  (0, 1)
3. G(x)  1 เมื่อ x  0 4. G(x)  0 เมื่อ x  0

เฉลย 118. 4 119. – 120. 4 121. 3 122. 1 123. 4 124. 1 125. 2

You might also like