You are on page 1of 14

การคัทลอสแบบเซียนเต่ า

ถึงแม้ วา่ อาจจะเป็ นวิธีการเล่นหุ้นที่มีนานมาแล้ วแต่คิดว่ายังมีอกี หลายคนที่ไม่เคยรู้วา่ มีไอเดียแบบนี ้อยู่ โดยปกติแล้ วเรา
มักจะรุ้จกั แต่การกาหนด Cut loss โดยอิงกับราคาที่เราคิดว่าหุ้นมันไปผิดทางแล้ ว แล้ วนามาคานวนsize ของจานวนเงิน
และจานวนหุ้นทีจ่ ะซื ้อเช่น กาหนด Portfolio Risk ไว้ ที่ 2% ถ้ าพอร์ ท 1ล้ านบาทเท่ากับว่าคุณยอมเสียตังค์แต่ละเทรดเป็ น
เงิน2หมื่นบาท เอาล่ะทีนี ้ราคาหุ้นที่คณ ุ จะซื ้อคือ 10 บาท จุดหักกลับที่คณ
ุ คิดว่าหุ้นไปผิดทางคือหรื อ cut loss 9 บาท นัน่ ก็
คือ ถ้ าคุณนาเอาเงิน 20,000 บาท มาเทียบว่ามีคา่ เท่ากับส่วนต่าง 1 บาทของเราคาหุ้น เราซื ้อหุ้นที่ราคา 10 บาทจะเป็ น
เงิน200,000 นัน่ เอง ( ไม่รวมคอมมิสชัน่ )
ถ้ ายัง งงๆ นะครับ

Portfolio Risk = 1,000,000 * 2% = 20,000 บาท


หา Size ของจานวนเงินที่จะเทรดได้ โดย
1. หาจุด Cut loss ก่อน เช่นซื ้อ 10 บาท ขาย 9 บาท ส่วนต่าง = 1 บาท
2. นาส่วนต่าง1บาทมาเทียบกับ Port risk = 20,000
3. เมื่อ 20,000/1 บาท ถ้ าหุ้นราคา 10 บาทต้ องใช้ เงิน = 200,000 บาท
4. พูดเป็ น สมการง่ายๆคือ Port risk/ส่วนต่าง * ราคาหุ้น นัน่ เองครับ ทีนี ้เราก็หาจานวนเงินที่จะซื ้อได้ ง่ายๆแล้ วนะ
ครับ
5. จริ งๆ สูตรสมการนี ้จะง่ายกว่าเดิมอีก เอาแบบลัดไปอีก เอาเป็ นหาจานวนหุ้นที่จะซื ้อเลย ก็แค่นา Port risk/ส่ วน
ต่ าง = จานวนหุ้นที่จะซือ้ แล้ วครับ
นี่คือวิธีการคานวนเงินในพอรท์ทเี่ ราจะนามาซื ้อโดยทัว่ ไปแต่ เหล่ า “เซียนต่ า” Turtle trader มีวิธีการที่ต่างไป คือคิด
ตามค่ า N หรือ Average True Range ของหุ้น เป็ นยังไงลองอ่านดูครับ ( สาหรับคนที่หวั ช้ าในการคานวนผมหา
โปรแกรมมาช่วยแล้ วนะครับ ใช้ งา่ ยดีครับ “ฟั นธง” !! )
ของฟรี สารับ นักเล่นหุ้นครับ trade-position-size-calculator โหลดได้ ที่ http://free-trade-position-size-
calculator.lastdownload.com
Position Sizing
“นักเล่นหุ้นแบบ Turtle trader ใช้ คา่ ความผันผวนของตลาดมาเป็ นตรรกะในการหา Position size”
การกาหนดขนาดของ position นันเป็ ้ นสิง่ ที่สาคัญที่สดุ แต่กลับกลายเป็ นสิง่ ที่มคี นเข้ าใจน้ อยที่สดุ ในการเล่นหุ้น Turtle
trader นันใช้
้ กระบวนการคิดหา Posiotion Size ที่ตา่ งไปจากนักเล่นหุ้นในยุคนันเป็ ้ นอย่างมาก เนือ่ งจากพวกเขานาค่า
ความผันพวนมาคานวน นัน่ หมายความว่า Position ของเราจะมีคา่ ตามความผันผวนของตลาดนัน่ เอง
อีกนัยหนึง่ ก็คือหากตลาดมีคา่ ของความผันพวนสูงจะทาให้ Position Size ของเรามีขนาดเล็กลงกว่าการเล่นหุ้นในตลาดที่
มีความผันผวนน้ อยกว่า
ค่ าความผันผวนนีม้ ีความสาคัญมากที่จะนามาใช้ เนื่องจากมันจะทาให้ เรา มีโอกาศได้ เงินและเสียเงินจานวน
พอๆกัน แม้ ว่าหุ้นเหล่ านัน้ จะเคลื่อนใหวแรงหรือช้ าต่ างกัน นั่นทาให้ เราสามารถควบคุมความเสี่ยงจากการเล่ น
หุ้นที่ต่างตัวกันไป หรือต่ างตลาดกันไป
ถึงแม้ วา่ ความผันผวนของการเคลือ่ นใหวของหุ้นทีเ่ รามีนนจะน้ ั ้ อยกว่าหุ้นตัวอื่นทีเ่ รามี แต่ผลที่ได้ รับออกมาจะไม่แตกต่าง
กันเนื่องจากเราจะมีห้ นุ ที่มคี า่ ความผันผวนตา่ อยูม่ ากกว่าหุ้นที่มีความผันผวนสูงนัน่ เอง

Volatility and Meaning of Nค่ าความผันผวนและความหมายของ N


Turtle trader นาคอนเซปท์ที่ได้ รับจาก Richard Dennis และ Bill Eckhardt มาใช้ คอนเซปท์นี่ถกู เรี ยกง่ายๆว่า N ซึง่
หมายถึงค่าความผันผวนของตลาด ( พูดง่ายๆคือการนาค่า N มาใช้ ในการ cut loss นัน่ เองครับ )
N คือค่ า 20 days Moving average คานวนแบบ Simple ของค่ า True range ( ค่ าสมบูรณ์ ของการเคลื่อน
ใหว) ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่ า ATR( Average true range ) ค่า N นันแสดงถึ
้ งค่า ATR ในตลาดหรื อหุ้นต่างๆใน
ช่วงเวลานันๆ้ สูตรการหา ATR คือ
True range = Maximum(H-L,H-PDC,PDC-L)
โดย
H = High จุดสูงสุดของวัน
L = Low จุดตา่ สุดของวัน
PDC = Previous day’s close ราคาปิ ดเมือ่ วันก่อน
_________________________
การหาค่ าของ N คือ
N = (19 * PDN + TR)/20
โดย
PDN = Previous day’s N ค่าN ของวันก่อน
TR = True range ค่าระยะความผันผวนสมบูรณ์ ( ค่าจะเป็ นเลขจานวนสมบูรณ์ ไม่มีคา่ ติดลบ )
สังเกตุวา่ การหาค่า N นันต้
้ องนาค่า N ของวันก่อนมาใช้ ด้วย ค่าทีน่ ามาใช้ ของ N ในการหา Position Size คือ 20 days
Moving average แบบsimple ของ True range ( ใครอยากลองทาไม่ต้องคิดให้ ปวดหัวนะครับใน
โปรแกรม Metastock มี indicator : ATR ให้ อยูแ่ ล้ วลองไปหาดูแล้ วกาหนดเป็ น 20 วัน )

แนวคิดพื ้นฐานในการวิเคราะห์ห้ นุ ทางเทคนิค ของ Turtle trader นันอยุ


้ บ่ นหลักการ Peak and Through
Dollar Volatility adjust (การปรับแต่ งค่ าความผันผวนเป็ นจานวนเงิน)
ขันแรกเราในการหา
้ Position Size นันเราต้
้ องปรับแต่งให้ คา่ N นี ้กลายเป็ นจานวนของเงินขึ ้นมาก่อน
( ในกรณีที่เล่น คอมโมดิตี ้ หรื อ ฟิ วเจอร์ ตา่ งๆ นะครับเนื่องจาก 1 จุดจะไม่เท่ากับ 1 บาทเหมือนการเล่นหุ้น ) หาได้ โดยการ
คานวน
Dollar Volatility = N * Dollar Per Unit
เช่น ง่ายๆนะครับ1 จุดมีคา่ 1000 เหรี ยญ ถ้ า N ที่ได้ จากค่าความผันผวนคือ 10 จุด นัน่ คือค่าความผันผวนทังหมดคิ้ ดเป็ น
10000เหรี ยญครับ นี่คือราคาที่เราต้ องจ่ายต่อ 10 จุดหรื อ 1N นัน่ เอง
แต่หากเราเล่นหุ้นก็ไม่ยงุ่ ยากอะไรครับ ง่ายๆก็คือ
เช่น ราคาหุ้น 10 บาท เถ้ าราได้ คา่ N ที่ 1 บาทเราก็ไม่ต้องแปลงเพิ่มเติมอะไรครับ มันก็คือการหาจุด cut loss จาก
Volatility นัน่ เองและนัน่ คือ ค่าความผันผวนสูงสุดที่ยอมได้ และหากหุ้นเคลือ่ นใหวผิดจากที่คิดถึงจุดนี ้ต้ องขายทิ ้ง
Volatility adjust position unit ( การนามูลค่ าที่ได้ จากการผันผวนมาหาขนาดของ Position )
ง่ายๆอีกเช่นเคย สูตรคือ Unit Size (= 2% * Portfolio Value) / N * Dollar per point
ในกรณีนี ้ถ้ าเล่นหุ้นก็ เอาค่า N มาคิดได้ เลยนะครับ เช่น portfolio เรามีเงิน 1,000,000 บาท 2% คือ 20,000 นี่คือเงินที่เรา
ยอมเสียในแต่ละครัง้ เอามาหารด้ วย N ( นา N มาเป็ นจุด Stop loss ) เช่นหุ้นที่เราต้ องการซื ้อคือ 10 บาท
และ N คือ 1 บาทเราจะ Cut loss ที่ 9 บาทนัน่ เองครับ ทีนี ้เอา 20,000 มาหารด้ วย N=1 จะได้ จานวนหุ้นครับ กี่ unitก็วา่
ไปในที่นี ้ได้ 20,000 หุ้น จะต้ องใช้ เงินทังหมด
้ 10บาท*20,000หุ้น = 200,000 บาท

มึนกันรึปล่าวครับ สรุปง่ายสารับวันนี ้ให้ ก่อนนะครับ พวกเซียนหุ้น Turtle trader เนี่ยเค้ ามีวิธีการหา Position size จาก
จุด Cut loss ที่ตา่ งไปกับเราๆครับ เช่นเราอาจจะกาหนดจุดขาย cut lossตามการหลุด trend line แล้ วนามาหาPosition
Size ในการเทรด แต่พวก “เซียนเต่ า” Turtle trader จะใช้ ค่าเบี่ยงเบน Volatility มาใช้ แทนครับ ซึง่ วิธีการเล่ นหุ้นแบบ
นีจ้ ะช่ วยป้องกันความเสี่ยงจาก “อุบัติเหตุ”ที่ไม่ คาดคิด หรือที่เรียกว่ า Price shock ได้ ดกี ว่ าครับ

The importance of Position Sizing ( ความสาคัญของการหาPosition Size )


การกระจายความเสีย่ งนันมี้ ความสาคัญเพื่อทีจ่ ะ กระจายการลงทุนไปยังหุ้นต่ างๆ เพื่อจากัดความเสี่ยง
ของ Port และเพิ่มโอกาศที่จะเล่ นหุ้นถูกตัวให้ มากขึน้ ด้ วยครับ โดยในการนี ้เมื่อเราใช้ วิธีนี ้แล้ วจะทาให้ เราสามารถ
จัดการRisk/Reward ในหุ้นแต่ละตัวได้ อย่างเท่าๆกันด้ วย
ระบบTurtle Trading System จะใช้ คา่ “ความผันผวน หรือ Volatility” ในการประเมิณความเสีย่ งในการลงทุนแทนที่วิธี
ธรรมดา (อ่ านตอนที่ 2) เพื่อที่จะทาให้ ความเสีย่ งในแต่ละการลงทุนที่ถืออยูส่ ามารถประเมินได้ อย่างเท่าๆกันๆ และการ
ทาเช่ นนีย้ งั สามารถช่ วยให้ เกิดความน่ าจะเป็ นที่จะเพิ่มปริมาณการเทรด ที่ถกู ต้ องได้ มากกว่ ากว่ าเทรดที่
ผิดพลาด
อีกประเด็นนึงที่นา่ สนใจนัน่ ก็คือ การกระจายความเสีย่ งนัน้ จะยากขึ ้นหาก portfolio ของเรามีขนาดที่เล็กลง เนื่องจาก
หากเราเล่น option , future หรื อ commodity เราต้ องเทรดเป็ น contract ซึง่ บางครัง้ การคานวน position size ที่ออกมา
จะได้ คา่ ไม่เต็มจานวนเช่น
Unit Size = 1% of account / N * dollar point
ในกรณีที่ ค่า N ที่ได้ นามาคูณกับ มูลค่าต่อจุด ออกมาแล้ วไม่เต็มจานวนเราต้ องตัดเลข ลงมา ไม่ไช่ตดั ขึ ้นนะครับ
ไม่เช่นนันจะเกิ
้ นความเสีย่ งที่เรารับได้ นนั่ เอง
เช่น ถ้ า 1 point คือ 5,000 บาท ค่า N คือ 14.5 เราจะได้ 14.5 * 5000 = 72,500 บาท
จานวนเงิน 2% ของport 1,000,000 บาท = 200,000 บาท
นา 200,000 / 72,500 = 2.75862 เราต้ องลดลงเหลือ 2 contract เท่านันครั ้ บ

กราฟแสดง Performance ที่ถกู จาลองขึ ้นโดยใช้ คอมพิวเตอร์ จากระบบ Turtle Trading System ตังแต่
้ ปี 1990-2003 (
เฉพาะในตลาดที่ U.S )
Unit as a measure of risk (การนาUnit หรือ ปริมาณของการเทรดมาประเมิณความเสี่ยง )
เมื่อ Turtles นาunit มาเป็ นหลักพื ้นฐานในการหาPosition size แล้ วและเมื่อการที่แต่ ละ unit นัน้ ได้ ถกู ปรับแต่ งมา
เป็ นอย่ างดีตามค่ าความผันผวนของตลาด เราจึงสามารถที่จะนาจานวนunit มาประเมิณความเสี่ยงของport เรา
ได้ เช่ นกันครับ
Turtles จะถูกกาหนดกฏของการเทรดเพิ่มเข้ ามาเพื่อจากัดความเสีย่ งจากจานวนของ unit ตามแต่ละช่วงเวลาและตาม
ตลาดที่เข้ าเทรดเพื่อเป็ นการปกป้อง portในเวลาที่พวกเขาต้ องเจอกับ Losing period หรื อ Drawndown หรื อแปลอีกอย่าง
ตามประสาชาวบ้ านว่าช่วง ดวงซวยนัน่ เองครับ เช่นเมื่อตลาดเกิดการหักกลับอย่างกระทันหันหรื อ การ panic เป็ นต้ น
อย่างเช่นช่วง Black monday ในตลาด อเมริ กา หากว่าพวกเขาไม่ทาเช่นนันก็ ้ จะต้ องเจอกับชีวิตที่นา่ เศร้ าของ เทรดเดอร์
นับแสนคนที่ มูลค่าของ Portfolio หายไปหลาย สิบเปอร์ เซนท์ในเพียงวันเดียวเฉกเช่นเดียวกัน ครับ

นี่เป็ นตาราง limit ที่พวกเขาต้ องทาตามครับ


LEVEL TYPE MAXIMUM UNITS
—1———- ตลาดชนิดเดียวกัน ————————– 4 Units—
—2———- ตลาดที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน —————— 6 Units—
—3———- ตลาดที่มีความเกี่ยวเนื่องกันเล็กน้ อย ———- 10 Units—
—4———- การเทรดในทิศทางเดียวกัน Long-Short —– 12 Units—

* ในที่นี่หากเราๆทีเ่ ล่นหุ้นกันเพียงอย่างเดียว อาจจะมองหรื อกาหนดเป็ น Sector ขึ ้นก็ได้ วา่ แต่ละ Sector นันเราจะจ
้ ากัด
Unit หรื อ ปริ มาณเงินของเราอย่างไรนะครับ หากท่านเล่นทัง้ หุ้นทัง้ future หรื ออะไรต่อมิอะไรก็สามารถดูเป็ นแนวคิดได้
เช่นกันครับ ลองหากันดู

Adjusting Trading Size ( การปรับระดับลดนา้ หนักการลงทุน )


ในการเล่นหุ้นหรื อลงทุนนัน้ ปฏิเสธไม่ ได้ เลยว่ าตลาดหุ้นอาจจะไม่ เอือ้ อานวนอยู่เป็ นเวลายาวนานหลายเดือน
ในช่ วงเวลาเหล่ านี ้ เป็ นไปได้ มากที่คุณจะต้ องขาดทุนอย่ างมหาศาล โดยเฉพาะพวก Trend trader หากตลาด
Sideway อยู่หลายเดือน นี่จึงเป็ นเรื่ องสาคัญทีเ่ ราต้ องรู้จกั ลดน ้าหนักการลงทุนลง !
และเมื่อเริ่ มมีการทากาไรก้ อนใหญ่ๆได้ อีกครัง้ แล้ ว คุณอาจจะค่อยๆเพิ่มปริ มาณการเล่นหุ้นให้ มากขึ ้นอีกครัง้ พวกกลุม่
เซียนเต่า Turtle ทังหลายจะไม่
้ เล่นหุ้นในปริ มาณหรื อน ้าหนักทีเ่ ท่าเดิม หรื อเหมือนเดิมทุกครัง้ พวกเขาจะถูกประเมิณ
โดย Richard Dennis ในทุกๆปลายปี เพื่อ ลดน ้าหนักลง หรื อ เพิ่มน ้าหนักขึ ้น ตามผลงานของเขา
พวกเซียนเต่า Turtle Trader จะถูกสอนให้ ร้ ูจักการลดนา้ หนักการลงทุนลง 20% ของportfolio ทุกครัง้ ที่เกิดการ
ขาดทุนรวมของ port ถึง 10% เช่น เงิน 1,000,000 เหรี ยญหากขาดทุน 10% เหลือ 900,000 เหรี ยญ เขาจะต้ องโดน
ลด port เหลือ 800,000 เหรี ยญหากเกิดขาดทุนต่ออีก 10% เขาจะต้ องปรับ port ลงอีกเหลือเพียง 640,000 เหรี ยญ
นัน่ เองถึงแม้ วา่ จะดูเหมือนกับทาให้ การทากาไรกลับไปที่เดิมยากขึ ้น แต่การทาเช่ นนีเ้ ป็ นการลดความเสี่ยงจาก
ช่ วงเวลา Drawn down period ได้ เป็ นอย่ างดี และช่ วยในการลดนา้ หนักการลงทุนในเวลาที่ตลาดไม่ เป็ นใจได้
เป็ นอย่ างดี
และถึงแม้ วา่ นีจ่ ะเป็ น Method การลด port จัดการความเสีย่ งแบบง่ายๆของพวกเขาก็ตามครับ อาจจะมีวิธีการอื่นทีด่ ีกว่า
นี ้แต่มนั ก็ชว่ ยทาให้ พวกเขาอยูร่ อดและรักษา Performance ที่สมา่ เสมอมาได้ ตลอดเป็ นอย่างดีครับ

“วิธีการวิเคราะห์ ห้ นุ ทางเทคนิค ในการเข้ าซือ้ -ขายหุ้นของThe Turtle” ว่าเป็ นอย่างไร ซึง่ จริ งๆแล้ วนัน้
ทาง Turtles เค้ าเองก็เคยบอกไว้ อย่างนี ้ครับ
เค้ าว่ากันว่าในเรื่ องของระบบการเทรดหุ้นนันการหาสั
้ ญญาณเข้ าซื ้อ หรื อขาย(short)หุ้นเพื่อ initiate
position หรื อ Entry นัน“มี
้ ความสาคัญน้ อยที่สุดสาหรับพวกเขา” แต่อย่างไรก็ตามการได้ ศกึ ษาแนวคิดการวิเคราะห์ห้ นุ
ทางเทคนิคของพวกเขาเหล่านี ้ผมเองเห็นว่าก็เป็ นการดีทเี่ ราจะได้ เห็นว่าแท้ จริ งแล้ ว ระบบการวิเคราะห์ห้ นุ ทางเทคนิค
ของ The Turtles นันใช้
้ Signal ที่เรี ยบง่ายอย่างทีเ่ ราอาจคาดไม่ถึง แต่นี่ก็คือสิง่ ที่สาคัญอย่างหนึง่ ซึง่ ไม่วา่ จะเป็ นนักเล่น
หุ้นสายเทคนิค หรื อ พื ้นฐาน ความเรี ยบง่ายนี ้เองกลายมาเป็ นปั จจัยที่ทาให้ พวกเขามีความได้ เปรียบ จากความเรี ยบง่าย
และชัดเจนในการเล่นหุ้นครับ

การวิเคราะห์ ห้ นุ ทางเทคนิคเพื่อหาจุดซือ้ ขายของ The Turtles Trader


“เหล่ า Turtles นัน้ จะเข้ าซือ้ ขายโดยมีระบบพืน้ ฐาน 2 ชนิด ซึ่งมีรากฐานแนวคิดเบือ้ งต้ นมาจากการวิเคราะห์ ห้ ุน
ทางเทคนิคจากระบบของ Donchian’s Channel Breakout System”
เมื่อกล่าวถึง “ระบบ” นักเล่นหุ้นส่วนใหญ่นนมั
ั ้ กจะคิดถึงแต่เรื่ องของการวิเคราะห์ห้ นุ ทางเทคนิคเพื่อหาสัญญาณซื ้อ-ขาย
เพราะพวกเขาเชื่อว่านี่คือองค์ประกอบที่สาคัญที่สดุ ของ “ระบบ”
อย่างไรก็ตามเราก็อาจจะต้ องประหลาดใจเมื่อเราพบว่าพวกเขานันใช้ ้ ระบบการเข้ าซื ้อ-ขายที่งา่ ยดายเหลือเกินโดยมี
รากฐานจากระบบ Donchian’s Channel Breakout System ซึง่ Richard Dennis ได้ นามาสอนพวกเขานัน่ เอง
พวกเขามีระบบการซื ้อขายทีเ่ กี่ยวเนื่องกันอยู่ 2 ระบบ เรี ยกว่า “System 1” และ “System 2” โดยที่เหล่า Turtles นันมี้
อิสระในการตัดสินใจทีจ่ ะเลือกใช้ ระบบใดระบบหนึง่ หรื อทังคู ้ ผ่ สมผสานกันในการเล่นหุ้นของพวกเขาเอง
System 1 – คือระบบการเข้ าซื ้อ-ขายระยะสันซึ ้ ง่ ใช้ การ Breakout จากจุดสูงสุดเดิมภายใน 20 วันที่ผา่ นมา
System 2 – คือระบบการเข้ าซื ้อ-ขายระยะสันซึ ้ ง่ ใช้ การ Breakout จากจุดสูงสุดเดิมภายใน 55 วันที่ผา่ นมา
….

การทะลุแนวต้ านและ แนวรับ(Breakout)


การเคลือ่ นใหวทะลุแนวต้ าน (ซึง่ ต่อจากนี ้จะเรี ยกว่า “Breakout”) คือที่ห้ นุ สามารถเคลือ่ นใหวทะลุจดุ ตา่ สุดหรื อจุดสูงสุด
เดิมภายในระยะวันเวลาทีเ่ ราอนุมานไว้ ฉะนัน้ 20 days Breakout ก็คือการเคลือ่ นใหวทะลุจดุ สูงสุดหรื อต่าสุดเดิมที่ผา่ น
มาภายใน 20 วันนัน่ เองครับ
“Turtles จะเข้ าทาการเข้ าซื ้อ(Buy) หรื อขายหุ้น(short)เพื่อสร้ าง Positionใหม่เมื่อราคาหุ้นนันได้ ้ เคลือ่ นตัวทะลุผา่ นแนว
ต้ าน-รับ ทันทีเมื่อราคาได้ ทะลุผา่ นไประหว่างวัน” พวกเขาจะไม่รอให้ หมดวันหรื อผ่านวันนันไปเสี ้ ยก่อน ในกรณีที่ราคาหุ้น
เปิ ดตัว กระโดด(Gaps)ผ่านจุดซื ้อขายของพวกเขาพวกเขาจะเข้ าซื ้อขายทันทีที่ราคานันๆ ้
(Note: คาว่าการเข้ าซื ้อ-ขาย คือการเริ่ มสร้ าง พอร์ ท(Initiate Position) ขึ ้นเป็ นครัง้ แรก ซึง่ ทาได้ ทงโดยการซื
ั้ ้อ(Buy)หรื อ
ขาย(Short) ทังนี ้ ้เนื่องจาก Turtles เล่นคอมโมดิตี ้ต่างๆซึง่ อนุญาติให้ มกี าร long & short ได้ ด้วยซึง่ หมายความว่าเขา
จะ Long เมื่อเกิด ทะลุแนวต้ านขึ ้นไป และขาย Short เมื่อทะลุแนวรับลงมา (ซึง่ กรุณาอย่าสับสนการเข้ า Entry กับExit
signal นะครับ))
….….
การใช้ System 1
พวกเขาจะเข้ าซื ้อ-ขายทันทีเมื่อราคาทะลุผา่ นแนวรับ-ต้ านภายใน 20วันเพียงช่องเดียว เมื่อราคาได้ ทะลุผา่ นไปพวกเขาจะ
เข้ าซื ้อ-ขายเป็ นจานวนเริ่ มต้ นที่ 1 Unit(ดูวิธีการคานวน Unit ได้ จากเรื่ องของ Position Sizing เนื่องจากTurtles มีวิธีการ
คานวนจานวนหุ้นจากความผันผวนของตลาด)
System 1 นันจะถื้ อว่าเป็ นโมฆะหากว่ามีสญ ั ญาณซื ้อของ System 1 ก่อนหน้ านันและเมื
้ ่อดูแล้ วพบว่าสัญญาณนันท ้ าให้
มีกาไรจากการเทรด (ทังในทางทฤษฏี
้ และทางปฏิบตั ิซงึ่ เราอาจจะไม่ได้ ซื ้อหรื อขายก็ได้ ) โดยตัดสินจากการที่เราดูวา่
สัญญาณที่เกิดขึ ้นนันเมื ้ ่อซื ้อหุ้นไปแล้ วราคาหุ้นได้ เคลือ่ นใหวย้ อนทางจนถึงจุด Stop ที่ 2N หรื อไม่( อ่านได้ จากเรื่ องของ
Position Sizing เช่นกัน)
อย่างไรก็ตามในกรณีท่ สี ัญญาณจาก System 1 นัน้ กลายเป็ นโมฆะไป พวกเขาจะเข้ าซือ้ หรือขายอีกครัง้ เมื่อเกิด
55 days Breakout เพื่อที่จะป้องกันการพลาดที่จะจับแนวโน้ มใหญ่ไป และ 55 days Breakout นี่เองถือว่าเป็ นFailsafe
Signal หรื อจุดประกันความเสีย่ งที่จะพลาดแนวโน้ มใหญ่ในการเล่นหุ้นไป
จะสังเกตุได้ วา่ ในกรณีที่คณ ุ ไม่ได้ อยูใ่ นตลาดหุ้นนันคุ
้ ณจะสังเกตุได้ วา่ ไม่วา่ อย่างไรก็ตามจะต้ องเกิดช่วงเวลาที่มีสญ ั ญาณ
ซื ้อหรื อขายเข้ ามา ซึง่ จะเริ่ มต้ นโดยสัญญาณซื ้อระยะสันคื ้ อ 20 days Breakout ก่อน และหากว่าสัญญาณนันเกิ ้ ด Error
หรื อทาให้ ขาดทุน ก็จะเกิด สัญญาณระยะสันนั ้ นขึ
้ ้นอีกครัง้ แต่หากว่าสัญญาณระยะสันนั ้ น้ มีคา่ ถูกต้ องสิง่ ที่จะตามมาก็คือ
สัญญาณระยะยาวหรื อ 55 days Breakout นัน่ เอง
….
การใช้ System 2
“Turtle จะเข้ าซื ้อ-ขายเมื่อราคาได้ ทะลุผา่ นแนวต้ านหรื อรับ 55 วันไปหนึง่ ช่อง(tick) ทันทีระหว่างวันโดยจะเข้ าซื ้อเริ่ มต้ น
เป็ นจานวน 1 Unit” ยกตัวอย่างเช่นเมื่อราคาทะลุแนวต้ าน 55วันไป หนึง่ ช่องพวกเขาจะเข้ าซื ้อทันที 1 Unit หรื อเมื่อราคา
ของหุ้นได้ ทะลุลงหลุดแนวรับ 55 วันไปพวกเขาจะเริ่ มทาการขาย(Short)ทันที 1 Unit เช่นกัน

วิธีการเล่นโดยจับหุ้นแนวโน้ มใหญ่ ด้ วยการใช้ Significant Breakout เป็ นตัวกรอง ในกรณีนี ้คือ PSL ซึง่ ในขณะนัน้
ปั จจัยพื ้นฐานมีความเป็ น Cyclical รองรับอยูจ่ ากการที่กลุม่ เดินเรือนันอยู
้ ใ่ นช่วงปี ทองของแนวโน้ มทางธุรกิจ
การทยอยซื ้อหรื อขายเพิ่มเติมจากไม้ แรก หรื อที่เรี ยกว่าการ Adding Unit นัน่ เองครับ โดยหลักการการทยอยซื ้อขายของ
เหล่าเซียนเต่า Turtle Traders นันใช้ ้ หลักการจัดการความเสีย่ งในรูปแบบของAnti-Martingel System นะครับ นัน่ คือจะ
เพิ่ม Position ต่อเมื่อเราเล่นถูกทางหรื อได้ กาไรแล้ วเท่านัน้ ซึง่ วิธีการเล่นหุ้นรูปแบบนี ้เป็ นวิธีการที่คอ่ นข้ างจะขัดแย้ งกับ
ความรู้สกึ ของนักเล่นหุ้นทัว่ ไปอยูบ่ ้ างเนื่องจากทุกคนต้ องการซื ้อให้ ได้ ราคาถูกที่สดุ แต่เราต้ องทาความเข้ าใจก่อน
ว่า Turtle Traders นันมองว่
้ าพวกเขา “ซือ้ แนวโน้ มไม่ ได้ ซือ้ ราคา” ดังนันหลั ้ กการนี ้จึงถูกนามาใช้ เพื่อ จากัดการ
ขาดทุนหากแน้ วโน้ มเปลีย่ น แต่จะสามารถทากาไรได้ มากมายหากเล่นถูกทางกับตลาดครับ

…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
การทยอยเพิ่ม Position หรือ Adding Units
เหล่าเซียนเต่า Turtle Traders นันจะใช้ ้ ระบบพื ้นฐานในการเข้ าซื ้อหุ้นเมื่อหุ้นทะลุผา่ นแนวต้ านขึ ้นไป และจะเริ่ มทาการซื ้อ
เพิ่มไม้ ตอ่ ๆไปเมื่อราคาของหุ้นนันได้ ้ วิ่งไปตามแนวโน้ มถึงระยะหนึง่ ซึง่ ระยะทางนันจะถู ้ กกาหนดโดย ค่าของความผันผวน
ของตลาดครับ ซึง่ เป็ นค่าที่นามาจาก ค่าเฉลีย่ เคลือ่ นที่ 20 วันของAverage true range ที่เรี ยกว่าค่า N ครับ (หากใครจา
ไม่ได้ ลองไปเปิ ดบท Position Sizing นะครับ)
หลักการง่ายนันมี ้ อยูว่ า่ เหล่า Turtle Tradersจะทาการเข้ าทยอยซื ้อเพิ่มเมื่อราคาได้ วิ่งขึ ้นไป “จากจุดซื ้อ หรื อราคาต้ นทุน
ไม้ ลา่ สุด” เป็ นระยะทาง ½ N ครับ เช่นถ้ าหุ้นมีจดุ Breakout ที่ 20 บาท และ½ N มีคา่ เท่ากับ 0.4 เมื่อ Turtle
Traders เข้ าซื ้อได้ ราคาที่ 20 บาท ดังนันพวกเขาจะเข้
้ าซื ้อไม้ ที่สองที่ราคา 20.4 บาท ครับแต่หากพวกเขาได้ ราคาที่ สูงขึ ้น
จากเดิมที่ 20.2 พวกเขาจะเข้ าซื ้อเพิ่มที่ราคา 20.6 ครับ
ทังนี
้ ้นันการเข้้ าทยอยซื ้อหรื อขายเพิ่มจะต้ องคานึงถึงจานวน Position ที่ได้ ถกู กาหนดมาจากระบบPosition
sizing และ Money Management ของพวกเขาไว้ ลว่ งหน้ าแล้ วครับ ซึง่ หากวันใหนทีต่ ลาดนันวิ ้ ่งไปอย่างแรงพวกเขาก็
อาจจะ เข้ าทยอยซื ้อได้ ถึง 4-5 ไม้ ภายในวันเดียวก็เป็ นได้ และนี่เป็ นตัวอย่าง จากหนังสือ Original Turtle Trading
Rules นะครับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
Gold
N = 2.50
ใช้ ระบบ 55 วันBreakout เข้ าซือ้ ที่ราคา 310 บาท

ไม้ แรกเข้ าซือ้ ที่ราคา…………. …310.00
ไม้ ท่ สี องเข้ าซือ้ ที่ราคา…………..310.00 + ½ N หรือ 311.25
ไม้ ท่ สี ามเข้ าซือ้ ที่ราคา…………..311.00 + ½ N หรือ 312.50
ไม้ ท่ สี ่ เี ข้ าศือ้ ที่ราคา………………312.50 + ½ N หรือ 313.75
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………..
ความสม่าเสมอ และวินัยการเล่ นหุ้น

สุดท้ ายนี ้เรื่ องที่ต้องใส่ใจก็คือความสม่าเสมอ และความมีวินยั ครับ เหล่า Turtle Traders จะถูกสอนให้ มีวินยั ในการเข้ าซื ้อ
ขายตามระบบอย่างเคร่งครัด และให้ ความสาคัญที่เท่าเทียมกันในการเทรดหุ้นทุกครัง้ เนื่องจากด้ วยรูปแบบของ
ระบบ Trend Following ของเหล่า Turtle Traders นันจะมี ้ Winning Ratio ที่คอ่ นข้ างต่า และผลกาไรของพอร์ ทในแต่ละ
ปี จะขึ ้นอยูก่ บั การเทรดที่ได้ กาไรอย่างมากมายเพียง2-3 ครัง้ ในแต่ละปี ครับ ดังนันหากมี
้ การเทรดครัง้ ใดที่ถกู มองข้ ามผ่าน
ไป ไม่เข้ าเทรด จะทาให้ กระทบต่อผลงานในแต่ละปี เป็ นอย่างมากครับ

Stop การตัดขาดทุน
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
“เหล่ า Turtle Traders หลีกเลี่ยงการขาดทุนอย่ างรุ นแรงโดยใช้ ค่าความผันผวนของตลาด หรือ N มาใช้ คานวน
จุดตัดขาดทุน”
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
มีคากล่าวไว้ วา่ “อาจจะมีนักเล่ นหุ้นเก๋ าเกม อาจจะมีนักเล่ นหุ้นที่กล้ าหาญ แต่ จะไม่ มีนักเล่ นหุ้นที่กล้ าหาญและ
เก๋ าเกม” นักเล่นหุ้นที่บ้าระห่าไม่มีจดุ ตัดขาดทุนสุดท้ ายจะต้ องหมดตัว และเหล่าเซียนเต่า Turtle Trader ทุกคนนันใช้ ้
การตัดขาดทุนครับ และสาหรับคนส่วนใหญ่แล้ ว มันทาใจง่ายกว่าที่จะหวังพึง่ โชคชะตา ให้ นาพาหุ้นที่เราขาดทุนกลับมา
เท่าทุนเหมือนเดิม เพราะมันง่ายกว่าการที่ต้องยอมรับว่า การซื ้อหุ้นครัง้ นี ้นันผิ
้ ดพลาด และถอยออกมาจากตาแหน่งนัน้
เสีย
ย ้าอีกครัง้ ให้ เข้ าใจว่า การถอยออกมาจากการเทรดที่ผิดพลาดเป็ นสิง่ ที่สาคัญที่สดุ ! นักเล่นหุ้นที่ไม่ยอมตัดขาดทุนนันจะไม่

มีทางประสบความสาเร็จได้ ในระยะยาว หากเราสังเกตุการล่มสลายครัง้ ใหญ่ๆ ของบริ ษัททางการเงินหรื อ การเจ๊ งจากการ
เล่นหุ้น ส่วนใหญ่นนจะเห็ั้ นได้ วา่ มีสาเหตุจากการที่ปล่อยให้ การขาดทุนเล็กๆกลายเป็ นการขาดทุนครัง้ ใหญ่ทงสิ
ั ้ ้น!
สิง่ ที่สาคัญที่สดุ ในการตัดขาดทุนคือการทีเ่ รามีการวางแผน หาจุดตัดขาดทุนล่วงหน้ าก่อนที่เราจะเข้ าซื ้อขายหุ้นนันๆเรา

ต้ องมีวินยั อย่างยิ่งว่าหากราคาเคลือ่ นไปถึงจุดจุดนันเราต้
้ องถอยหนีออกมา โดยไม่มีข้อยกเว้ น ทุกๆครัง้ หากคุณบ่ายเบี่ยง
สิง่ ที่ตามมาก็คือความหายนะ อย่างแน่นอน ( นี่คือความจริงอย่ างยิ่ง หากใครเคยเจ็บตัวหนักๆมาแล้ วจะรู้ หรือ
หากคุณยังไม่ เข้ าใจให้ ลองกลับไปดู Record ที่ผ่านมาของการเล่ นหุ้นของคุณ คุณจะพบว่ า หากขายไปแต่ แรกก็
สิน้ เรื่องครับ :))
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
การตัดขาดทุนแบบ Turtle Trader
เหล่าเซียนเต่า Turtles นันถึ้ งแม้ วา่ จะมีการกาหนดจุด “ตัดขาดทุน” ไว้ ลว่ งหน้ าแล้ วก็ตามแต่พวกเขาก็จะไม่ใช้ การฝาก
คาสัง่ ล่วงหน้ าไว้ กบั โบรคเกอร์ เนื่องจากเหล่า Turtles นันมี้ Position อยูเ่ ป็ นจานวนมหาศาลพวกเขาจะไม่ต้องการ
เปิ ดเผยความต้ องการและพอร์ ทของพวกเขาออกไป นัน่ จึงทาให้ พวกเขาใช้ วธิ ีการมองตลาดระหว่างวันและตัดขาดทุน
ขณะนันด้ ้ วยตนเองครับ และสิง่ ทีต่ ้ องจาอยูใ่ นใจเสมอนัน่ ก็คือ จุดตัดขาดทุนเป็ นจุดที่ห้ามต่อรองเด็ดขาด ไม่วา่ ครัง้ ใดๆก็
ตาม
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
หลักการคานวนหาจุดตัดขาดทุนแบบ Turtle Traders
Turtles จะกาหนดจุดตัดขาดทุนโดยอ้ างอิงถึงขนาดของ Position ในพอร์ ทของพวกเขาครับ จะไม่ มีการเทรดครัง้ ให
นที่พวกเขาจะยอมขาดทุนเกิน 2% ของพอร์ ทรวม
พวกเขาจะกาหนดเอาไว้ วา่ ค่าความผันผวน หรื อ ATR หรือ N นัน้ จะถูกกาหนดให้ 1N = 1% ของพอร์ ท
โดยรวม ดังนัน้ การที่พวกเขาไม่อนุญาตุให้ เกิดการขาดทุนเกิน 2% ของพอร์ ทจึงหมายถึงการกาหนดจุด ตัดขาดทุนที่
ระยะ 2N นัน่ เอง และพวกเขาจะวางจุดตัดขาดทุนไว้ ท่ รี ะยะ 2N ข้ างใต้ ราคาที่พวกเขาได้ ซอื ้ ไว้ ไม้ ล่าสุด ซึง่ นัน่
หมายถึง เมื่อมีการเพิ่มPosition เข้ าไปใหม่พวกเขาจะยกจุดตัดขาดทุนก่อนหน้ านันขึ ้ ้นมาอีก ½ N เป็ นผลทาให้ จดุ ตัด
ขาดทุนของทุก Positionจะอยูท่ ี่ 2N ของราคาล่าสุดที่พวกเขาซื ้อนัน่ เอง ( ถ้ ายังจากันได้ จากบทที่แล้ ว พวกเขาจะ
เพิ่ม Position ทุกครัง้ ที่ราคาวิ่งขึน้ ไป ½ N หากจาไม่ ได้ ลองกลับไปอ่ านนะครับ )
อย่างไรก็ตามหากในกรณีที่เมื่อเข้ าซื ้อเพิ่มไปแล้ ว ราคาที่ได้ กระโดดเกิน ½ N ไป โดยอาจจะเกิดจากตลาดเปิ ด Gapหรื อ
ราคาหุ้นวิ่งเร็ วมากจนซื ้อไม่ทนั จะทาให้ การคานวนมีคา่ ทีต่ า่ งออกไปจากกรณีแรกครับ พูดไปเดีย๋ วจะงง เราไปดูตวั อย่าง
กันดีกว่า ผมยกมาจากในหนังสือเลยครับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
กรณีแรก ( ได้ ราคาตามที่คาดหวัง )
เป็ นการซือ้ ขายนา้ มันดิบ
คานวนได้ ค่า N = 1.20
ใช้ ระบบ 55 days Breakout = 28.30
………………….ราคาซือ้ ………………..จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 25.90
………………….ราคาซือ้ ………………..จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 26.50 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….26.50
………………….ราคาซือ้ ………………..จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.10 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….27.10 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี าม……….29.50…………………….27.10
…………………ราคาซือ้ ………………..จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….27.70 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี าม……….29.50…………………….27.70 ( สังเกตุว่าจะถูกยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี ่ …
ี ……….30.10……………………..27.70
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
หากเกิดกรณีท่ สี อง นั่นก็คอื ราคาที่ได้ กระโดดออกเกินไปจะเป็ นดังนี ้
…………………ราคาซือ้ ………………..จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70 ( สังเกตุว่าจะไม่ ถกู ยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….27.70 ( สังเกตุว่าจะไม่ ถกู ยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี าม……….29.50…………………….27.70 ( สังเกตุว่าจะไม่ ถกู ยกขึน้ มา ½ N จากคราวที่แล้ ว )
ไม้ ท่ สี ่ …ี ……….30.10……………………..28.40
…………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
นัน่ ก็คือหากเราสังเกตุเราจะพบว่าพวกเขาจะไม่ยก Stop ของสามไม้ ก่อนหน้ าขึ ้นมาตาม เพราะว่าราคาล่าสุดที่ได้ นนสู
ั้ ง
เกินไปหากยกขึ ้นมาตามอาจจะทาให้ เมื่อหุ้นพักตัวนัน้ ระยะตัดขาดทุนจะแคบเกินไปเป็ นผลทาให้ เสียของได้ ง่ายๆนัน่ เอง
ครับ

เหล่าเซียนเต่า Turtle traders นันจะถู


้ กสอนเทคนิคการกาหนดจุดขาดทุนในอีกรูปแบบหนึง่ ไว้ ด้วยเพื่อเพิม่ ศักย์ภาพใน
การทากาไร แต่อย่างไรก็ตามครับข้ อเสียของเทคนิคการหยุดขาดทุนนี ้ก็คือว่า มันจะส่งผลให้ เกิด การ Stop ที่บอ่ ยขึ ้นเป็ น
ผลทาให้ Ratio ของ Win/loss percentage มันน้ อยลง (ซึ่งหากใครใจไม่ แข็งพอก็ออาจจะท้ อแท้ กับการขาดทุนยิบ
ย่ อยหลายๆครัง้ นั่นเองครับ) เทคนิคนี ้เรี ยกว่า เทคนิคการหยุดขาดทุนแบบ The Whipsaw ครับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
โดยแทนที่จะกาหนดความเสีย่ งต่อการเทรดหุ้นหนึง่ ครัง้ ไว้ ที่ 2% พวกเขาจะกาหนดความเสีย่ งไว้ ที่ ½ หรื อ 0.5%ของพอร์ ท
แทนโดยจะกาหนดจุดตัดขาดทุนที่แคบมากๆที่ ½ N ครับ โดยหลักการคือ หากซื ้อแล้ วหุ้นตกลงมาเป็ นระยะ ½ N พวกเขา
จะขายออก แต่หากราคากลับไปจุดซื ้อเดิมเขาจะซื ้อเข้ าไปใหม่ครับ และเป็ นที่นา่ สังเกตุวา่ มีคนบางคนในกลุม่ เซียน
เต่า The Turtle เท่านันที้ ่ใช้ เทคนิคนี ้ได้ เนื่องจากความยากทาง จิตวิทยาของมันนัน่ เองครับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
เมื่อพูดถึงประโยชน์ของการตัดขาดทุนในรูปแบบนี ้นัน้ ก็ต้องบอกว่าข้ อดีคือมันทาให้ เรา “ไม่ จาเป็ นต้ องยกจุดตัดขาด
ทุนเดิมตามขึน้ มา” อีกนัน่ เองเนือ่ งจากว่าเมื่อเพิ่ม Positionเข้ าไปเรื่ อยๆแล้ ว ค่าความเสีย่ งของพอร์ ทนันจะไม่
้ เกิน 2%ต่อ
การเทรดหนึง่ ครัง้ นัน่ เองครับ เพราะขนาด Positionของเราในแต่ละครัง้ มันจะเล็กลงไปถึง 4 เท่า…. พอเข้ าใจรึปล่าว หาก
ยังไม่เข้ าใจมาดูตวั อย่างกันครับ
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
ตัวอย่างนี ้เป็ นการเทรดน ้ามันดิบเช่นเคยนะครับ ต่างกันตรงวิธีใช้ Stop หรื อจุดตัดขาดทุนแบบ The Whipsaw
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
เป็ นการซือ้ ขายนา้ มันดิบ
คานวนได้ ค่า N = 1.20
ใช้ ระบบ 55 days Breakout = 28.30
………………….ราคาซือ้ ……………….. จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70
………………….ราคาซือ้ ……………….. จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….28.30
………………….ราคาซือ้ ……………….. จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….28.30
ไม้ ท่ สี าม……….29.50…………………….28.90
…………………ราคาซือ้ ……………….. จุดตัดขาดทุน
ไม้ แรก…………28.30……………………. 27.70
ไม้ ท่ สี อง……… 28.90…………………….28.30
ไม้ ท่ สี าม……….29.50…………………….28.90
ไม้ ท่ สี ่ …
ี ……….30.10……………………..29.50
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
เมื่อสังเกตุจะเห็นว่า เมื่อกาหนดค่าความเสีย่ งหรื อ N น้ อยลงการขาดทุนต่อครัง้ ก็จะลดลงไป แต่สงิ่ ที่ตามมาในการเทรด
จริ งๆก็คือ การเกิด Whipsaw ที่เพิ่มมากขึ ้นนัน่ เองครับ (ต้ องลองเลือกเอาเองครับว่ าชอบแบบใหน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
สุดท้ ายนี ้เป็ นเรื่ องของ ประโยชน์จากการใช้ การตัดขาดทุนแบบ Turtles นัน่ ก็คือว่าหากเราจะสังเกตุดีๆ ว่าพวกเขาหาระยะ
จุดตัดขาดทุนจาก ค่าความผันผวนของตลาดหรื อ N ซึง่ มาจาก 20 days Moving Average True Rangeเมื่อตลาดมี
ความผันผวนมากค่า N นี ้ก็จะมากตามไปด้ วย และเมื่อค่า N มากขึ ้นแล้ วจุดตัดขาดทุนจะกว้ างขึ ้น ส่งผลให้ เมื่อคานวน
หา Position Size ที่จะขาดทุนไม่เกิน 2%ก็จะทาให้ ขนาดของ Position จะลดลงไป นัน่ จึงส่งผลให้ เกิดการกระจายความ
เสีย่ ง และโอกาศไปในตัวครับ เนื่องจากหุ้นที่มีคา่ ความผันผวนหรื อ N มาก ระบบก็จะบังคับให้ เราถือมันน้ อยลงกว่าหุ้นที่มี
ค่า N น้ อยๆหรื อมีความเสีย่ งต่านัน่ เอง จึงเป็ นการ ทาให้ ความเสีย่ งและผลตอบแทนของทุกเทรดนันเท่้ ากันไปในตัว ไม่วา่
ค่าความผันผวนจะต่างกันเท่าไร และนี่จะทาให้ เราไม่เกิดความลาเอียงต่อการเทรดหุ้น ครัง้ ใดครัง้ หนึง่ ไปครับ

You might also like