You are on page 1of 5

64

วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (24)
มกราคม - มิถุนายน 2554


การเมืองภาคประชาชน ในงานวิจัยของเสกสรรค์
เกษียร เตชะพีระ
1. การเมื อ งภาคประชาชน ในงานวิ จั ย ของ
ทางปั ญ ญาและวิ ช าการแนวเดี ย วกั บ แบบเกาะติ ด

เสกสรรค์ สืบเนื่องมา
ผมสบโอกาสได้รับเชิญให้ช่วยอ่านและวิจารณ์ ในฐานะข้อเขียนชิ้นหนึ่ง งานเรื่อง “บทบาท
ร่างรายงานการวิจัยเรื่อง “บทบาทของการเมืองภาค ของการเมื อ งภาคประชาชนในการพั ฒ นาระบอบ
ประชาชนในการพัฒนาระบอบประชาธิปไตย ของ ประชาธิปไตย” จัดเป็นความเรียงขนาดยาว (เนื้อหา
อาจารย์ ดร.เสกสรรค์ ประเสริฐกุล ในงานวันคล้าย 4 บท 158 หน้า) ที่นำเสนอข้อถกเถียงโต้แย้งอย่าง
วันสถาปนาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แน่ น เนื่ อ ง, ผ่ า นการบ่ ม เพาะความคิ ด มานานจน
ครบรอบ 55 ปี เมื่อวันจันทร์ที่ 14 มิถุนายน 2547 สุกงอม และเพียบพร้อมด้วยข้อคิดความเข้าใจอัน
ที่ผ่านมา อ่านแล้วก็ตื่นเต้นประทับใจ อยากเอามา หยั่งลึก
เล่าต่อสู่ท่านผู้อ่าน ทั้งนี้ ผมพูดในฐานะเคยอ่าน ตรวจงานวิจัย
งานวิ จั ย ชิ้ น นี้ ไ ด้ ก ารสนั บ สนุ น จากทุ น ปรี ดี และวิ ท ยานิ พ นธ์ ม าไม่ น้ อ ยเล่ ม พบว่ า บ่ อ ยครั้ ง

พนมยงค์ มู ล นิ ธิ 50 ปี ธ นาคารแห่ ง ประเทศไทย ผู้ เ ขี ย นมั ก วกวนหลงติ ด ข้ อ มู ล รายละเอี ย ดหรื อ


เมื่อปี พ.ศ. 2545 อาจารย์เสกสรรค์ อ่านค้นคว้า ประเด็นปลีกย่อยที่ดึงดูดใจจนหันเหออกนอกเรื่องไป
เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล ไป ตามสั ม ภาษณ์ ปั ญ ญาชน ไกล การเขียนงานวิจัยค่อนข้างยาวชิ้นหนึ่งให้รัดกุม
สาธารณะผู้นำกลุ่มประชาชน และผู้นำองค์กรพัฒนา เข้มข้นแนบเนื่อง เป็นเอกภาพ มุ่งตรงกัดติดคำถาม
เอกชน 37 คน จากเหนือจรดใต้ ไปพร้อมกับสอน หลักประเด็นไปสู่ภาพรวมของความรู้ความเข้าใจใน
หนังสือและตรวจข้อสอบของนักศึกษาเป็นร้อยๆ ที่ ที่ สุ ด ราวมั น เป็ น “ความเรี ย ง” หรื อ “ซิ มโฟนี ”

คณะรัฐศาสตร์รวม 7 วิชาไปด้วย กินเวลาปีกว่าจึง บทหนึ่ง จึงนับเป็นประดิษฐกรรมเชิงวิชาการที่อาศัย


เขียนเสร็จ ฝีมือช่างศิลปวรรณกรรมไม่น้อย
แต่ ห ากนั บ ช่ ว งเวลาที่ อ าจารย์ เ สกสรรค์ เ ฝ้ า แม้ โ ดยชื่ อ มั น จะเป็ น การศึ ก ษาค้ น คว้ า ความ
ครุ่นคิดใคร่ครวญถึงปัญหามูลฐานต่างๆ เกี่ยวกับรัฐ เกี่ ย วพั น ระหว่ า ง “การเมื อ งภาคประชาชน” กั บ
สังคมและการเมืองไทย จนก่อรูปเป็นแนวความเข้าใจ “ประชาธิ ป ไตยไทย” แต่ โ ดยสารั ต ถะ อาจารย์

และองค์ความรู้ในงานชิ้นนี้ก็คงจะกว่า 15 ปีตั้งแต่ เสกสรรค์ได้พยายามบ่งชี้และเสนอความจำเป็นที่จะ


ค้นคว้าและเขียนวิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ต้องริื้อคิด และรวบยอดความคิดใหม่ (rethink &
เรื่อง “The Transformation of the Thai State reconceptualize) ซึ่งหลักมูลฐานต่างๆ ของศาสตร์
and Economic Change (1855-1945)” (“การ และปฏิบัติการแห่งการเมืองการปกครองทีเดียว
เปลี่ ย นรู ป ของรั ฐ ไทยกั บ ความเปลี่ ย นแปลงทาง บทสรุ ป ที่ ว างอยู่ บ นปั ญ ญาความคิ ด และ
เศรษฐกิ จ พ.ศ. 2398-2488) เสร็ จ ณ มหา ประสบการณ์ ชี วิ ต ของผู้ เ ขี ย นนี้ จึ ง สำคั ญ มากต่ อ
วิทยาลัยคอร์แนล เมื่อปี พ.ศ. 2532 และผลิตงาน การเมืองไทยทั้งในปัจจุบันและอนาคต ยังไม่ต้องเอ่ย
65

ถึงว่าเขียนได้ดี มีพลัง กระจ่างชัดเจนและเต็มไปด้วย เศรษฐกิจสังคม 3 ประการใหญ่ของไทยได้แก่


วรรคตอนคมคายเด็ดๆ ที่สามารถคัดไปรวมเล่มพิมพ์ 1. วัฒนธรรมอุปถัมภ์
เป็ น คติ พ จน์ ว่ า ด้ ว ยการเมื อ งไทยได้ ต่ า งหากอย่ า ง 2. โครงสร้างรัฐรวมศูนย์อำนาจ
สบาย ในแง่ แ บบธรรมเนี ย มทางวิ ช าการ วิ ธี ก าร 3. ช่องว่างเหลื่อมล้ำยิ่งทางเศรษฐกิจสังคม
ศึกษาอันเป็นบุคลิกการคิดเรื่องการเมืองของอาจารย์ เมื่ อ มาถู ก กระทบกระแทกซ้ ำ เติ มโดยกระแส
เสกสรรค์ ใ นงานชิ้ น นี้ มี ลั ก ษณะเด่ น อยู่ ส องสาม โลกาภิวัตน์ ซึ่งอาจารย์เสกสรรค์นิยามแก่นสารของ
ประการ ซึ่งสะท้อนแนวการฝึกฝนอบรมที่ได้มาจาก มั น ไว้ ก ระชั บ จั บ ใจว่ า คื อ “การโอนถ่ า ยอำนาจ
ครูอาจารย์แห่งสำนักมหาวิทยาลัยคอร์แนลกล่าวคือ อธิปไตยจากรัฐชาติไปให้ตลาด” ผลก็คือเกิดสภาพ
1) อิ ง ความเข้ าใจแนวคิ ด ปรั ช ญาการเมื อ ง วิ ก ฤตใหญ่ ใ นระดั บ ทั่ ว ทั้ ง ระบบ และกร่ อ นลึ ก ถึ ง
สมัยใหม่ของตะวันตก เป็นพื้นฐาน มู ล ฐานของระบอบการเมื อ งและรั ฐ ชาติ ไ ทย 3
2) ใช้บริบทและข้อมูลทางประวัติศาสตร์เป็น ประการคือ
ภู มิ ห ลั งในการอ้ า งอิ ง จั ด ลำดั บ เรี ย บเรี ย งความคิ ด 1. ระบอบประชาธิ ป ไตยที่ ไ ร้ อ ธิ ป ไตย อั น
ทำความเข้าใจและตีความการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น สำคัญในบางด้านบางส่วนไป เพราะถูกตลาดยึดตาม
3) แนวทางวิ ธี ก ารศึ ก ษาเป็ น แบบการเมื อ ง กระแสโลกาภิวัตน์
เปรียบเทียบหรือสังคมวิทยามหภาค (comparative 2. สภาวะหนึ่ ง รั ฐ สองสั ง คม ที่ แ ตกต่ า ง
politics or macro-sociology) ที่มองกว้างคิดใหญ่ เหลื่อมล้ำกันทั้งฐานะเศรษฐกิจ ชีวิตสังคม วัฒนธรรม
จับสถาบันและหลักการทางสังคมการเมืองใหญ่ๆ มา การบริโภค ราวอยู่กันคนละชาติ คนละโลก
เป็นหน่วยวิเคราะห์เปรียบเทียบในครรลองเดียวกับ 3. การใช้อำนาจของรัฐบาลประชาธิปไตยที่
งานของนักสังคมศาสตร์ตะวันตก เช่น Max Weber ขาดฉันทานุมัติ ได้แต่เอะอะก็อ้างความชอบธรรม
ในหนั ง สื อ Economy and Society (1968) : จากการชนะเลือกตั้งสี่ปีครั้ง และอ้างชาตินามธรรม
Barrington Moore Jr. Social Origins of ลอยๆ อย่างลวงตาและกลวงเปล่า เพื่อปัดปฏิเสธ
Dictatorship and Democracy (1996) ; Theda และกลบเกลื่ อ นผลประโยชน์ รู ป ธรรมของชาวบ้ า น
Skocpol ใน States and Social Revolutions กลุ่มต่างๆ ท้องถิ่นต่างๆ ที่ถูกหาว่าเป็น “คนส่วน
(1979) ; หรือ Charles Tilly ใน Big Structures, น้อย” ของชาติเสมอ
Large Processes, Hugh Comparisons (1989) สภาพอั น วิ ป ริ ต ของระบอบการเมื อ งและรั ฐ
ในเมื อ งไทยเรา นั ก รั ฐ ศาสตร์ ที่ ท ำงานใน ชาติไทยทั้ง 3 ด้านนี้กระหน่ำตีลงไปที่ปัญหารากฐาน
ลักษณะเดียวกันนี้ก็เช่น ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก ของรัฐศาสตร์สมัยใหม่ ซึ่งตั้งอยู่บนฐานคติเรื่องรัฐ
ศาสตราจารย์ชัยอนันต์ สมุทวณิช, รองศาสตราจารย์
ชาติทีเดียวได้แก่
เอนก เหล่ า ธรรมทั ศ น์ เป็ น ต้ น ด้ ว ยแบบวิ ธี ก าร - ปัญหาอธิปไตยของรัฐ
ศึ ก ษาดั ง กล่ า ว ผลลั พ ธ์ ที่ ไ ด้ จ ากการอ่ า นงานวิ จั ย ระบอบประชาธิ ป ไตยจะมี ค วามหมายใด
ของอาจารย์ เ สกสรรค์ คื อ “ภาพรวม” หรื อ บท หากประชาชนผู้ขึ้นชื่อว่าเป็นเจ้าของอธิปไตย ไม่มี
สังเคราะห์ (synthesis) เป็นภาพรวมของโครงสร้าง อำนาจที่จะเลือกนโยบายบางอย่างเพราะถูกผูกมัด
ใหญ่ๆ ของสังคมการเมืองไทยในกระบวนการที่มัน โดยหลักตลาด ภายใต้อำนาจโลกาภิวัตน์ของสถาบัน
เปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์, พร้อมทั้งหลักคิด โลกบาลทางเศรษฐกิจการค้า กลุ่มทุนข้ามชาติหรือ
ทางการเมืองเบื้องหลังกระบวนการนั้น เปรียบตัด มหาอำนาจเสียแล้ว?
กับความเป็นจริงของสังคมจากมุมมองของชนชั้น - ปัญหาการนิยามผลประโยชน์ของชาติ
ล่างผู้เสียเปรียบ อะไรคือผลประโยชน์ส่วนรวมร่วมกันของชาติ
กล่าวโดยสรุปย่นย่อรวบรัด ข้อค้นพบหลักของ กันแน่ ในเมื่อผู้คนที่ขึ้นชื่อว่าร่วมชาติเดียวกันกลับมี
อาจารย์เสกสรรค์ที่ผมพอจับได้ในงานชิ้นนี้คือ มัน ฐานะ ค่านิยม วิถีชีวิต และประโยชน์ได้เสียแตกต่าง
เริ่ ม จากมรดกทางประวั ติ ศ าสตร์ วั ฒ นธรรมและ เหลื่อมล้ำ กระทั่งขัดแย้งกันถึงขนาดนั้น? ประชาชน
66

ไทยผู้ มี ร ายได้ เ ฉลี่ ย เดื อ นละ 3,500 บาท มี ผ ล อำนาจรวมศู น ย์ บั ง คั บ ยั ด เยี ย ดวิ ถี พั ฒ นาเดี ย ว วิ ถี
ประโยชน์อะไรตรงไหนร่วมกันหรือกับรัฐบาลของเขา ชีวิตเดียวให้ผู้คนอันแตกต่างหลากหลายในประเทศ
ซึ่งประกอบไปด้วยผู้นำเจ้าของทรัพย์สินนับพันล้าน อย่ า งไม่ จ ำแนกและไม่ เ คารพศั ก ดิ์ ศ รี และสิ ท ธิ
หมื่นล้าน? หากทรัพย์สินส่วนสำคัญของชาติตกเป็น เสรีภาพในการเลือกของผู้คน
กรรมสิทธิ์ของกลุ่มทุนข้ามชาติไปแล้ว การเอ่ยอ้างผล
ประโยชน์ของชาติยังจะมีความหมายใด? 2. จับประเด็นการเมืองภาคประชาชน
- ปัญหาฉันทานุมัติทางการเมือง ในร่ า งรายงานการวิ จั ย เรื่ อ ง “บทบาทของ
การใช้อำนาจรัฐที่ฝืนมติประชาชน แม้จะโดย การเมื อ งภาคประชาชนในการพั ฒ นาระบอบ
รั ฐ บ า ล ที่ ม า จ า ก ก า ร เ ลื อ ก ตั้ ง ต า ม ร ะ บ อ บ ประชาธิ ป ไตยไทย” (2547) อาจารย์ เ สกสรรค์
ประชาธิปไตยก็ตาม จะนำไปสู่ความไม่ยอมรับ ไม่ ประเสริ ฐ กุ ล ได้ จั บ ประเด็ น หลั ก ทางแนวคิ ด ทฤษฎี
พอใจ ตึ ง เครี ย ด ขั ด แย้ ง และเผชิ ญ หน้ า ระหว่ า ง ประวั ติ ค วามเป็ น มา และบทบาทความสำคั ญ เชิ ง
รัฐบาลกับประชาชนกลุ่มต่างๆ เสมอ ปฏิบัติของการเมืองภาคประชาชน ในฐานะแม่กุญแจ
เมื่อปราศจากฉันทานุมัติของประชาชนแต่ยัง ที่ อ าจมี ศั ก ยภาพจะช่ ว ยไขปั ญ หาหลั ก ทั้ ง 3 ของ
คงดันทุรังจะใช้อำนาจดำเนินนโยบายให้่ได้ รัฐบาลก็ การเมืองไทยปัจจุบัน อันได้แก่
ย่ อมต้ องหั นไปใช้ กำลั ง รุ น แรงเข้ า บั ง คั บ ขื นใจ และ 1) ปัญหาประชาธิปไตยที่ไร้อธิปไตย
ละเมิ ด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของประชาชนพลเมื อ งกลุ่ ม 2) ปัญหาหนึ่งรัฐสองสังคม และ
ต่างๆ มากขึ้นทุกทีเป็นธรรมดา ไทยไร้อำนาจ, ไทย 3) ปัญหาการใช้อำนาจรัฐโดยขาดฉันทานุมัติ
ต่างชั้น, ไทยตีไทย ฯลฯ ทั้งหมดนี้กำลังกลายเป็น จากประชาชน ไว้ดังนี ้
ภาวะปกติ ธ รรมดาทุ ก วี่ วั น ของเมื อ งไทย ภายใต้ - คำนิยามอย่างแคบ
ระบอบประชาธิปไตยปัจจุบัน อาจารย์เสกสรรค์ค่อน ก า ร เ มื อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น ห ม า ย ถึ ง ก า ร
ข้างเล็งผลร้ายว่าหากทิ้งไว้ต่อไป มักจะนำไปสู่ภาวะ เคลื่ อ นไหวอย่ า งมี จิ ต สำนึ ก ทางการเมื อ งของกลุ่ ม
อนาธิปไตยเข้าจนได้ เว้นไว้แต่ว่าจะริเริ่มคิดใหม่ทำ ประชาชน เพื่อลดฐานะครอบงำของรัฐ รวมทั้งเพื่อ
ใหม่ ต่อตัวระบอบประชาธิปไตย ในประเด็นสำคัญ โอนอำนาจบางส่ ว นมาให้ ป ระชาชนใช้ ดู แ ลชี วิ ต
3 ประการคือ ตนเองโดยตรง
1) ลดลักษณะประชาธิปไตยแบบตัวแทนผ่าน - คำนิยามอย่างกว้าง
การเลือกตั้ง เพิ่มขยายประชาธิปไตยทางตรงแบบ การเมื อ งภาคประชาชนคื อ ปฏิ กิ ริ ย าโต้ ต อบ
ประชาชนมีส่วนร่วมใช้อำนาจด้วยตัวเองมากขึ้น การใช้อำนาจของรัฐ และเป็นกิจกรรมถ่วงดุลอิทธิพล
2) สร้างกระบวนการแสวงหาฉันทานุมัติแบบ การครอบงำของระบบตลาดเสรี ใ นภาคประชาชน
ต่อเนื่อง (continuous consensus) ไม่ใช่เอาแต่ แก่ น สารของการเมื อ งภาคประชาชน : -
เลื อ กตั้ ง สี่ ปี ค รั้ ง - ในประเด็ น นโยบายสำคั ญ ที่ กระบวนการใช้ อ ำนาจโดยตรงประชาชนหมู่ เ หล่ า
กระทบถึงผลประโยชน์ได้เสีย และทรัพยากรหลักของ ต่างๆ ซึ่งมากกว่าการเลือกตั้ง และไม่น้อยไปกว่า
ชุมชนท้องถิ่นทุกประเด็น ต้องเปิดให้ผู้มีส่วนได้เสีย การมี ส่ ว นร่ ว มกำหนดนโยบาย ตลอดจนตั ด สิ นใจ
ในเรื่องนั้นประเด็นนั้น เข้าร่วมส่วนแสดงความเห็น เรื่องที่ส่งผลกระทบถึงตน สถานะของการเมืองภาค
ปัญหา ข้อโต้แย้งและหาฉันทานุมัติที่ทุกฝ่ายอยู่รอด ประชาชน : - การเมืองภาคประชาชนเป็นส่วนหนึ่ง
อยู่ร่วมกันได้และพอรับได้ แทนที่จะอ้างคนส่วนใหญ่ ของการเคลื่อนไหวในประชาสังคม โดยทาบเทียบกับ
ซึ่งไม่เกี่ยวข้องโดยตรง ไม่รับรู้เรื่องราวมาปิดปาก ขยี้ ส่วนที่เป็นรัฐ ขณะที่ประชาสังคมรวมทุกส่วนที่ไม่ใช่
เสียงแย้งของผู้มีส่วนได้เสียและรับผลกระทบโดยตรง ภาครั ฐ ไว้ ด้ ว ยกั น จึ ง มี ทั้ ง สถาบั น ของประชาชน
อย่างพร่ำเพรื่อ ธรรมดา พ่อค้านายทุน และกลไกตลาด สามารถ
3) เปิ ด อนาคตประเทศไทยให้ แ ก่ วิ ถี ท าง แสดงเป็นสัญลักษณ์ได้ว่า ประชาสัมคม (การเมือง
พัฒนาและดำเนินชีวิตอันหลากหลาย รัฐต้องไม่ใช่ ภาคประชาชน)/รัฐ
67

- จุดหมายของการพัฒนาการเมือง กรอบอุดมการณ์ตายตัว ไม่ต้องการยึดอำนาจรัฐด้วย


คื อ ลดระดั บ การปกครองโดยรั ฐ ลง (less การโค่นอำนาจรัฐเก่าแล้วจัดตั้งอำนาจรัฐใหม่ เพื่อ
government) และให้สังคมดูแลตนเองมากขึ้น โดย เปลี่ยนแปลงจัดระเบียบโครงสร้างสังคมใหม่หมดตาม
ในสถานการณ์ ห นึ่ ง ๆ จะมุ่ ง แสวงหาความสมดุ ล แนวคิ ด แบบใดแบบหนึ่ ง ถื อ กระบวนทั ศ น์ เ อา
ลงตั วในความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งรั ฐ กั บ สั ง คม บนพื้ น ประชาชนเป็นตัวตั้ง (people orienten)
ฐานระดับการแทรกตัวของรัฐเข้าไปในสังคมดังที่เป็น ดังนั้น จึงต่างจากขบวนปฏิวัติสมัยก่อนที่เอา
อยู่ และขีดความสามารถของประชาชนในการจัดการ รัฐเป็นตัวตั้ง (state-orienten) และมุ่งยึดอำนาจรัฐ
ดูแลแก้ปัญหาของตนเองที่เป็นจริง มาดัดแปลงสังคมให้เป็นไปตามอุดมการณ์ที่ยึดมั่น
- เนื้อแท้ของการเมืองภาคประชาชน ฉะนั้ น การเคลื่ อ นไหวของกลุ่ ม ต่ า งๆ ใน
ประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งเพื่ อ จำกั ด การเมืองภาคประชาชน จึงมีประเด็นเรียกร้องต่อสู้ที่
ขอบเขตการใช้อำนาจของรัฐ, ถ่วงดุลอำนาจรัฐด้วย หลากหลายมาก แนวทางการเคลื่ อ นไหวก็ ไ ม่ เ ห็ น
ประชาสั ง คมโดยไม่ ยึ ด อำนาจ พร้ อ มกั น นั้ น ก็ ถ่ ว ง พ้องต้องกันเสียทีเดียว จุดร่วมที่มีอยู่คือ ประเด็น
ดุลอำนาจของพลังตลาดหรือทุนซึ่งสังกัดประชาสังคม ปั ญ หาเหล่ า นั้ น ล้ ว นเกิ ด จากระบอบอำนาจรั ฐ รวม
ไปด้วย, โดยช่วงชิงกับฝ่ายทุนเพื่อลดทอนและกำกับ ศูนย์ส่วนกลาง และความจำกัดจำเขี่ย ไม่พอเพียง
บทบาทของรัฐ, แย่งกันโอนอำนาจบางส่วนที่เคยเป็น ของประชาธิปไตยแบบตัวแทนในเวทีรัฐสภา มากกว่า
ของรัฐมาเป็นของประชาชน (แทนที่จะตกเป็นของ ความเป็น เอกภาพของการเมืองภาคประชาชนเอง
ฝ่ า ยทุ น ) เพื่ อใช้ มั นโดยตรงและไม่ ต้ อ งผ่ า นรั ฐ ดั ง ดังที่เรียกกันว่า one no, many yeses
ก่ อ น, ผลั ก ดั น ให้ รั ฐ ใช้ อ ำนาจที่ เ หลื อ สนอง - ทิศทางและแม่แบบการเคลื่อนไหว
เจตนารมณ์ประชาชน (แทนที่จะสนองผลประโยชน์ การเมืองภาคประชาชนมีทิศทางการเคลื่อน
ของฝ่ า ยทุ น ) ดำเนิ น การต่ อ สู้ ด้ ว ยวิ ธี ข ยายสิ ท ธิ ไหวใหญ่ๆ 4 แบบคือ :
ประชาธิปไตยออกไป และย้ายจุดเน้นจากการเมือง 1) ร้องทุกข์ เรียกร้องให้่รัฐแก้ปัญหาที่ไม่ได้รับ
แบบเลือกตั้งผู้แทนมาเป็นการเมืองแบบมีส่วนร่วม การเหลียวแล เช่น กรณีแม่ใหญ่ไฮ ขันจันทา ร่วม
(ขณะที่ฝ่ายทุนใช้ตลาดเสรีเป็นฐานที่มั่นสำคัญ) กั บ สมั ช ชาคนจนและเอ็ น จี โ อกลุ่ ม ต่ า งๆ ประท้ ว ง
- พลังพลวัตใหม่ของการเมืองภาคประชาชน เขื่อนห้วยละห้าท่วมที่นาทำกินนาน 27 ปี
ได้ แ ก่ กลุ่ ม ธุ ร กิ จ รายย่ อ ยและคนชั้ น กลาง 2) มุ่งตรวจสอบกระบวนการใช้อำนาจรัฐ เช่น
ทั่วไปในสังคมเมือง ซึ่งแตกต่าง ไม่วางใจ และอาจ กรณีเครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนตรวจสอบทุจริต
คัดค้านหรือปฏิเสธการตัดสินใจของกลุ่มทุนใหญ่ที่อยู่ ยาอื้อฉาวในกระทรวงสาธารณสุข
บนเวที ก ารเมื อ ง, กั บ กลุ่ ม ปั ญ ญาชนสาธารณะ 3) ประท้วงอำนาจรัฐและเรียกร้องให้ถ่ายโอน
สื่อมวลชนอิสระ และกลุ่มประชาชนผู้เสียเปรียบ อำนาจที่รัฐเคยมีมาเป็นของประชาชน เช่น กรณีร่าง
- ความเป็นมาของการเมืองภาคประชาชน พ.ร.บ. ป่ า ชุ ม ชนฉบั บ ประชาชน, การต่ อ ต้ า น
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เป็นหลัก โครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังถ่านหินที่บ่อนอก-หิน
หมายสำคัญ, ช่วงหลังจากนั้น องค์กรพัฒนาเอกชน กรูด จ.ประจวบคีรีขันธ์, การคัดค้านโครงการวางท่อ
(เอ็นจีโอ) เป็นห่วงเชื่อมต่อสำคัญระหว่างขบวนการ ก๊ า ซไทย-มาเลเซี ย ของประชาชน อ.จะนะ
ปฏิวัติแบบเก่า ไปสู่การเมืองภาคประชาชนแบบใหม่ จ.สงขลา, การประท้วงนโยบายแปรรูปรัฐวิสาหกิจ
- บุคลิกลักษณะของการเมืองภาคประชาชน ของสหภาพแรงงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต และสมาพันธ์
เป็นขบวนการประชาธิปไตยที่ค่อนข้างราดิคัล แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ ฯลฯ
(Radical Democratic Movements) ของกลุ่มย่อย 4) ร่วมมือเชิงวิพากษ์ (critical co-operation)
ที่ค่อนข้างกระจัดกระจายเป็นไปเอง โดยปราศจาก หรื อ เกี่ ย วข้ อ งอย่ า งสร้ า งสรรค์ (constructive
ศู น ย์ บั ญ ชาการ มุ่ งใช้ สิ ท ธิ ท างการเมื อ งในระบอบ engagement) กั บ รั ฐ เพื่ อ เบี ย ดแย่ ง พื้ น ที่ ใ น
ประชาธิปไตยมาแก้ปัญหาเฉพาะเรื่องเฉพาะจุด ไม่มี กระบวนการใช้อำนาจมาเป็นของประชาสังคม เช่น
68

แนวทางการเคลื่อนไหวสามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขาของ ประชาชน” สอดคล้องกับแนวทางถ่ายโอนอำนาจ


หมอประเวศ วะสี เป็นต้น ของรัฐไปสู่สังคมมากที่สุด อีกทั้งเป็นการช่วงชิงฐานะ
นับว่าการเคลื่อนไหวการเมืองภาคประชาชน ได้เปรียบเสียเปรียบกับพลังตลาด/ทุนด้วย จึงอาจถือ
ในทิศทางที่ 3) กล่าวคือ “ประท้วงอำนาจรัฐและ ได้ ว่ า เป็ น แม่ แ บบ (model) ของการเมื อ งภาค
เรี ย กร้ อ งให้ ถ่ า ยโอนอำนาจที่ รั ฐ เคยมี ม าเป็ น ของ ประชาชนทีเดียว
บทความจาก : รัฐศาสตร์ไทยร่วมสมัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

You might also like