You are on page 1of 12

เนื้อหาวิชา พระพุทธศาสนา

ความหมายของศาสนา
ศาสนา คือ คาสอน หรือหลักธรรม ที่ได้รับการยอมรับ นามาปฏิบัตินับถือกันเป็นสากล เป็นที่พึ่งทาง
ใจของมนุษย์
องค์ประกอบของศาสนา
ประกอบด้วย ศาสดา, คาสอน, สิ่งเคารพ, ศาสนิกชน, ศาสนสถาน, ศาสนพิธี, สัญลักษณ์
จุดประสงค์ของศาสนาทุกศาสนา
เพื่อให้คนเป็นคนดี ไม่ทาความชั่ว มีจิตใจที่บริสุทธิ์ : โอวาท 3
ศาสนาที่คนไทยนับถือ
1. ศาสนาพุทธ
ศาสดา : สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (สมณโคดม) คัมภีร์ : พระไตรปิฏก
สิ่งเคารพ : พระรัตนตรัย : พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ศาสนิกชน : พุทธบริษัท 4 : อุบาสก อุบาสิกา ภิกษุ ภิกษุณี
ศาสนสถาน : วัด ศาสนพิธี : เช่น ทาบุญ ตักบาตร เวียนเทียน ทอดกฐิน ฯลฯ
นิกายที่สาคัญ : 1. นิกายเถรวาท (หินยาน) : เน้นในคาสอนที่รวมได้จากการทาสังคายนาครั้งที่ 1
2. นิกายอาจริยวาท (มหายาน) : เน้นในคาสอนของครูบาอาจารย์แต่ละพระองค์
2. ศาสนาคริสต์
ศาสดา : พระเยซู คัมภีร์ : คัมภีร์ไบเบิ้ล
สิ่งเคารพ : ตรีเอกภาพ : พระเจ้ามี 1 เดียว แต่มาใน 3 รูป : พระบิดา(พระยะโฮวาร์) พระบุตร (พระเยซู: พระ
เมสซิยา) และ พระจิต (พระวิญญาณบริสุทธิ์)
ศาสนิกชน : นักบวชคือบาทหลวง มีชาวคริสต์ เป็นผู้นับถือศาสนา ศาสนสถาน : โบสถ์
ศาสนพิธี :
1. พิธีบัพติสมา (ศีลล้างบาป, ศีลจุ่ม) : พิธีกรรมแรกของศาสนาคริสต์ โดยนาน้ามนต์
เจิมศีรษะเด็ก โดยเชื่อว่า ชีวิตเก่าได้ตายไปแล้ว และเกิดใหม่ในพระคริสต์
2. พิธีศีลมหาสนิท : ดื่มไวน์แดง และทานขนมปัง แทนเลือดและเนื้อของพระเยซู
เป็นพิธีที่ถือให้เราเป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า
3. ศีลกาลัง : รับการเจิมบนหน้าผากเพื่อเสริมสิริมงคลและสาบานว่าจะนับถือคริสต์ไปตลอด
4. ศีลอภัยบาป : เป็นการสารภาพบาปที่ทาผิดแก่พระเจ้า กับบาทหลวง
5. ศีลสมรส : เป็นศีลที่สัญญาตอนแต่งงานว่าจะรักกันไปตลอด
6. ศีลอนุกรม : ใช้บวชเป็นบาทหลวง
7. ศีลเจิมคนไข้ : เจิมคนไข้เพื่อให้พระเจ้าอยู่กับคนไข้ จะได้หายป่วย
ข้อบังคับของศาสนาคริสต์
บัญญัติ 10 ประการ : พระเจ้าให้แก่โมเสสและชาวอิสราเอลไว้ เมื่อตอนหนีจากอียิปต์ เพื่อสร้างกาลังใจและสิ่ง
ยึดเหนี่ยวแก่ชาวอิสราเอล
1. อย่ามีพระเจ้าอื่นใดนอกจากเรา 2. อย่าออกพระนามพระเจ้าอย่างไม่สมควร
3. จงระลึกถึงวันซะบาโตเป็นวันบริสุทธิ์ (ทุกวันอาทิตย์ ห้ามทาอะไร และให้เข้าโบสถ์)
4. จงให้เกียรติแก่บิดามารดา 5. อย่าฆ่าคน
6. อย่าล่วงประเวณีผัวเมียคนอื่น 7. อย่าลักทรัพย์
8. อย่าเป็นพยานเท็จ 9. ห้ามโลภประเวณีของผู้อื่น
10. อย่าอยากได้สิ่งของของผู้อื่น
นิกายสาคัญของศาสนาคริสต์
1. นิกายคาทอลิก : มีพระสันตะปาปาเป็นประมุข มีบาทหลวง เป็นนิกายดั้งเดิม
2. นิกายโปรแตสแตนท์ : ไม่มีบาทหลวง มีการปฏิบัติที่เข้มงวด
3. ศาสนาอิสลาม
ศาสดา : นบีมูฮัมหมัด คัมภีร์ : คัมภีร์อัลกุรอาน สิ่งเคารพ : พระอัลเลาะห์
ศาสนสถาน : มัสยิด ศาสนพิธี : ละหมาด, พิธีฮัจญ์
ศาสนิกชน : ไม่มีนักบวช มีแต่ผู้นาศาสนา เช่น โต๊ะอิหม่าม เป็นครูสอนศาสนา เป็นต้น
ข้อบังคับของศาสนาอิสลาม
ฐานบัญญัติของศาสนาอิสลาม 5 ประการ
1. ต้องไม่มีพระเจ้าอื่นใดนอกจากอัลเลาะห์
2. ละหมาด 5 เวลา
3. จ่ายซะกาด คือการบริจาคทานแก่ผู้ยากไร้
4. ถือศีลอดในเดือนเราะมะฏอน
5. บาเพ็จฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ
4. ศาสนาพราหมณ์- ฮินดู
ศาสดา : ไม่มี คัมภีร์ : คัมภีร์ไตรเพท : ฤคเวท (คาสวดบูชาเทพเจ้า) ยชุรเวท (คาสวดพิธีกรรม) สาม
เวท (คาร้อง) อาถรรพเวท (มนต์คาถา)
สิ่งเคารพ : พระตรีมูรติ : พระพรหม (ผู้สร้าง) พระนารายณ์(พระวิศณุ : ผู้รักษา)พระศิวะ(พระอิศวร:ผู้ทาลาย)
สิ่งที่ควรรู้ :
วรรณะ 4 : แบ่งคนออกเป็น 4 วรรณะ
พราหมณ์ : ชนชั้นนักบวชผู้ประกอบพิธีกรรม กษัตริย์ : ชนชั้นปกครอง
แพทย์ : ชนชั้นพ่อค้า ศูทร : ชนชั้นกรรมกร จัณฑาล : คนที่เกิดจาก
ผู้แต่งงานข้ามวรรณะ ถือเป็นสิ่งไม่ดี เป็นอัปมงคล
อาศรม 4 : แบ่งชีวิตคนเป็น 4 ช่วง
พรหมจารีย์ : 8-15 ปี ต้องเรียนหนังสืออย่างเดียว คฤหัสถ์ : 15-40 ปี ครองเรือน
วานปรัส : 40-60 ปี คนแก่ มีลูกหลานแล้ว ฐานะมั่นคง สันยาสี : เกิน 60 ปี จะออกบวชไม่สึก
พิธีกรรมพราหมณ์ในประเทศไทย : เช่น โล้ชิงช้า พิธีแรกนาขวัญ บูชาเสาหลักเมือง บรมราชาภิเษก เป็นต้น
5. ศาสนาซิกข์
ศาสดา : คุรุนารัก ทั้ง 10 พระองค์ และพระคัมภีร์ คัมภีร์ : ครุ ครันธสาหิบ สิ่งเคารพ : พระวาหคุรู
ข้อกาหนดในศาสนาซิกข์
ผู้ที่จะเข้าสู่ศาสนา ต้องทาพิธี ปาหุล คือ พิธีล้างบาป แล้วต้องรับ กะ ทั้ง 5 คือ
1. เกศ : ต้องไม่ตัดผมเลยตลอดชีวิต
2. กังฆา : หวีขนาดเล็ก
3. กฉา : กางเกงขาสั้น
4. กรา : กาไลเหล็ก
5. กิรปาน : ดาบ แล้วจึงเปลี่ยนชื่อ ถ้าเป็นผู้ชาย ลงท้ายด้วยสิงห์ ถ้าเป็นผู้หญิง ลงท้ายด้วย กอร์

ศาสนาพุทธ
พุทธประวัติ
พระพุทธเจ้า เดิมชื่อเจ้าชายสิทธัทถะ เป็นบุตรของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์
และพระนางสิริมหามายา ในตอนที่พระนางสิริมหามายาจะท้อง ท่านได้ฝันเห็นช้างเผือกนาดอกบัวมาถวาย
โหรจึงทานายว่าจะมีผู้ยิ่งใหญ่มาเกิด จากนั้น พอใกล้คลอด ท่านเดินทางกลับจากกรุงกบิลพัสดุ์ไปเมืองโกลิตะ
เพือ่ คลอด แต่ต้องคลอดระหว่างทาง ณ สวนลุมพินีวัน โดยท่านหยุดคลอดใต้ต้นสาละที่โน้มกิ่งลงมาให้จับ พอ
ท่านคลอดแล้ว เจ้าชายสิทธัทถะสามารถเดินได้เลย เป็นจานวน 7 ก้าว แล้วประกาศว่า ชาตินี้เป็นชาติสุดท้าย
จะไม่กลับมาเกิดอีก จากนั้น พอกลับเมือง โหรต่างทานายว่าจะได้เป็นกษัตริย์ แต่พระโกณฑัญญะ ทานายว่า
ท่านต้องได้เป็นพระพุทธเจ้าอย่างแน่นอน จากนั้น 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็สิ้นพระชนม์ พระนางปชาบดี
โคตมี น้องสาว จึงมาเป็นพระมารดาเลี้ยง ในวันหนึ่งที่พระเจ้าสุทโธทนะเสด็จออกพิธีแรกนาขวัญ เจ้าชาย
สิทธัทถะก็ปลีกตัวจากความรื่นเริงไปเจริญอานาปานสติเพียงพระองค์เดียว สร้างความประหลาดใจให้ผู้พบเห็น
พระเจ้าสุทโธทนะเห็นท่าไม่ดี จึงพยายามส่งเสริมเจ้าชายสิทธัทถะให้อยู่แต่ในทางโลก ให้มีปราสาท 3 ฤดู
ไม่ให้เจอสิ่งน่าสังเวชจนอยากออกบวช ส่งเสริมให้เรียนวิชากับสานักวิศวามิตรจนสาเร็จวิชา แล้วจัดพิธีเลือกคู่
ให้แต่งงานกับพระนางพิมพายโสธรา ในวันหนึ่ง ท่านตกใจตื่นกลางดึกด้วยฝันร้าย จึงให้นายฉันนะ พาเที่ยว
เมือง ในเมืองท่านได้พบกับเทวทูตทั้ง 4 คือ คนแก่ คนเจ็บ คนตาย ซึ่งน่าสังเวชไม่มีทางหลีกหนีพ้นได้ และ
นักบวช ซึ่งพยายามบวชเพื่อหาทางหลุดพ้น ท่านจึงอยากหลุดพ้นจากบ่วงกรรมการเวียนว่ายตายเกิดนี้ แต่แล้ว
ท่านก็มีบุตร จึงตั้งชื่อว่า ราหุล คือ บ่วงที่ผูกมัดท่านไว้ แต่หลังราหุลเกิดไม่นาน ท่านก็ได้ออกบวช โดยท่านได้ขี่
ม้ากัณฑกะ ไปกับนายฉันนะ ไปยังแม่น้าอโนมาแล้วออกบวช จากนั้น ท่านได้ศึกษาเรียนรู้กับอาฬารดาบส
และอุทกดาบส จนบรรลุฌานขั้นสูงสุด แต่ก็ไม่พบหนทางตรัสรู้ ท่านจึงทดลองบาเพ็ญทุกรกิริยา โดยมี ปัญจ
วัคคีย์ทั้ง 5 เป็นผู้ปรณนิบัติ แต่ในวันหนึ่ง พระอินทร์ แปลงกายมาดีดพิณให้พระองค์ฟัง พิณสายหย่อนไป หรือ
ตึงไป ก็ไม่ทาให้เสียงเพราะ พิณที่ขึงพอดี จึงจะเสียงเพราะ ทาให้ท่านได้พบหลัก มัชฌิมาปฏิปทา หรือ หลัก
ทางสายกลาง คือไม่ปฏิบัติเคร่งจนเป็นทุกข์ และไม่หลงอยู่ในทางโลก ท่านจึงเลิกบาเพ็ญทุกรกิริยา โดยได้เริ่ม
ฉันอาหาร จากที่ท่านได้อดอาหารมานาน โดยได้รับนมแพะจากเด็กเลี้ยงแพะ ทาให้ปัญจวัคคีย์หมดความ
ศรัทธาและหนีไป วันหนึ่ง นางสุชาดา ได้นาข้าวมธุปายาสมาถวาย พร้อมถาดทอง หลังพระองค์ฉันเสร็จจึง
อธิษฐานว่า ถ้าจะตรัสรู้ ให้ถาดลอยทวนน้าไป แล้วจึงโยนลงแม่น้าเนรัญชรา พบว่าถาดลอยทวนน้าจริง คืนนั้น
ท่านได้รับถวายหญ้าคามาจากคนเลี้ยงม้า จึงมาปูเป็นอาสนะใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ แล้วอธิษฐานว่า ถ้าไม่ตรัสรู้
จะไม่ลุกออกจากอาสนะนี้ แล้วคืนนั้นท่านก็ได้เจริญสติภาวนา พอใกล้ตรัสรู้ พญามาร ก็ส่งธิดาทั้ง 3 คือ
ตัณหา ราคะ และอรดี มาก่อกวน แต่ก็ไม่เป็นผล พญามารจึงนาทัพมาเอง โดยบอกว่าที่นั่งนี้ เป็นของพญามาร
ให้ลุกออกเสีย พระพุทธเจ้าจึงบอกว่าที่นั่งนี้เป็นของท่านเอง โดยให้พระแม่ธรณีเป็นพยาน แล้วพระแม่ธรณีก็
ขึ้นมา แล้วบีบมวยผม นาน้าที่พระพุทธเจ้าเคยกรวดน้าไว้ตลอดทุกชาติ ไหลพัดกองทัพพญามารไป แล้ว
จากนั้น พระพุทธเจ้าก็เจริญสติภาวนาจนตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วทรงเสวยวิมุติสุขอยู่สักพัก มี
พราหมณ์ 2 คน คือ ตปุสสะและภัลลิกะ มาพบเห็น เกิดความเลื่อมใส จึงขออาราธนาพระธรรมเป็นสรณะ
เป็นอุบาสกคู่แรกของศาสนา จากนั้น จึงหาผู้ที่จะถ่ายทอดศาสนา ท่านคิดถึงอาฬารดาบสและอุทกดาบส แต่
ท่านทั้งสองก็เสียชีวิตแล้ว จึงไปหาปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ท่านทรงแสดงธรรม ที่ชื่อว่า ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร ทาให้
พระอัญญาโกณฑัญญะ มีดวงตาเห็นธรรม และบรรลุโสดาบัน ขอออกบวช เป็นพระสงฆ์รูปแรกในศาสนา
จากนั้น ท่านจึงออกเผยแพร่ศาสนาในแคว้นมคธ ไปเจอกับพระยสะ ที่เบื่อชีวิตทางโลก อุทานว่า “ที่นี่ขัดข้อง
หนอ ที่นี่วุ่นวายหนอ” พระพุทธเจ้าจึงตอบว่า “ที่นี่ไม่ขัดข้องหนอ ที่นี่ไม่วุ่นวายหนอ” พระยสะจึงได้สนทนา
ธรรมกับพระพุทธเจ้าและขอออกบวช บิดาของพระยสะมาเห็น ก็ได้ฟังธรรม จึงอนุโมทนา เป็นอุบาสกคนแรก
ทีม่ ีพระรัตนตรัยเป็นสรณะ แล้วจึงได้ไปโปรดมารดาของพระยสะ เป็นอุบาสิกาคนแรกของศาสนา จากนั้น
ท่านและคณะ ได้ไปโปรดชฬิล 3 พี่น้อง ซึ่งนาโดย อุรุเวลกัสสปะ มีสาวกจานวนมาก จากนั้นจึงได้ไปเผยแผ่
ศาสนายังที่ต่างๆ ส่วนพระพุทธองค์ ได้ไปแสดงธรรมแก่พระเจ้าพิมพิสาร ซึ่งเคยให้สัญญาว่าหากตรัสรู้จะมา
เผยแผ่ความรู้ พระเจ้าพิมพิสารได้ฟังก็บรรลุโสดาบัน จึงถวายพื้นที่จานวนหนึ่งในป่าไผ่ ให้เป็นที่อยู่ของ
พระสงฆ์ กลายเป็นวัดแห่งแรกของศาสนา คือ วัดเวฬุวัน ระหว่างนั้น มีมานพนาม อุปติสสะ ไปพบกับ
พระอัสสชิ เห็นว่าน่าเลื่อมใส จึงไปถามธรรม พระอัสสชิตอบว่า “พระพุทธองค์สอนไว้ว่า สิ่งใดเกิดแก่เหตุ ย่อม
ดับไปด้วยเหตุ” อุปติสสะได้ฟังก็บรรลุโสดาบัน จึงไปชวนโกลิตะ อุปสมบทพร้อมกัน เป็นพระสารีบุตร ซึ่งเป็น
อัครสาวกฝั่งขวา และพระโมคคัลลานะ ซึ่งเป็นอัครสาวกฝั่งซ้าย จากนั้นท่านจึงได้ไปเผยแผ่ศาสนาต่อ ยังกรุง
สาวัตถี แคว้นโกศล ท่านได้โปรด อนาฐบิณฑิกเศรษฐี ซึ่งเป็นอุบาสกผู้อุปถัมภ์ศาสนาอย่างยิ่ง อนาฐบัณฑิก
เศรษฐี ได้ไปหาที่ ซึง่ เป็นที่ของเจ้าเชต ร่วมกันสร้างเป็นวัดที่สาคัญที่สุด ที่เป็นที่อยู่หลักของพระพุทธเจ้า คือ
วัดเชตวัน ในช่วงหน้าฝน ภิกษุเดินจารึกแสวงบุญ ทาให้นาข้าวเสียหาย ชาวบ้านร้องเรียน พระพุทธเจ้าจึงได้
บัญญัติให้ภิกษุจาพรรษาในช่วงหน้าฝน จะได้ศึกษาพระธรรมและไม่ทาให้พืชไร่เสียหาย แต่กระนั้น นางวิสาขา
ได้มาทาบุญที่วัด เห็นภิกษุเปลือยกายอาบน้าฝน เป็นเรื่องอับอาย จึงทูลพระพุทธเจ้าขอเป็นผู้ถวายผ้านุ่งอาบ
น้าฝนแก่พระภิกษุ เป็นต้นกาเนิดของการถวายผ้าอาบน้าฝน จากนั้น พระพุทธเจ้าได้ไปโปรดพระมารดา ยัง
สรวงสวรรค์ จนมารดา บรรลุโสดาบัน จึงเสด็จกลับลงมา ในวันที่เสด็จลงจากสวรรค์ พญานาคต่างสร้างบันได
เงินทองนากให้พระพุทธเจ้าเสด็จลงมา ทั้ง 3 โลกเห็นถึงกันหมด เรียกวัน เทโวโรหนะ จากนั้น ท่านได้เสด็จไป
โปรดพระเจ้าสุทโธทนะ ยังเมืองกบิลพัสดุ์ ในตอนนั้น พระญาติในกรุง ต่างทะเลาะกันเพื่อแย่งชิงน้าที่แห้ง
เหือด ท่านจึงไปห้ามทัพมิให้ทาสงครามกัน แล้วเทศนาแก่พระญาติ จากนั้นได้เกิดฝนโบกขรพรรษฎ์ ซึ่งเป็นสี
แดง ตกแล้วใครอยากให้เปียกก็เปียก ไม่เปียกก็ไม่เปียก เป็นเรื่องน่าอัศจรรย์ แล้วท่านก็ได้พานักอยู่บริเวณป่า
แถวนั้น ในตอนเช้าก็ออกบิณฑบาตในเมืองกบิลพัสดุ์ พระเจ้าสุทโธทนะเห็น ก็เกิดความละอาย จึงไปห้าม แต่
พระพุทธเจ้าปฏิเสธ ขอบิณฑบาตต่อไป เพราะพระองค์เป็นพระสงฆ์แล้ว มิใช่เชื้อพระวงศ์ แล้วจึงเทศนาแก่
พระเจ้าสุทโธทนะ จากนั้น พอจะกลับ พระราหุล ก็ขอบวช เป็นสามเณรรูปแรกของศาสนา ส่วนพระนางปชาบ
ดีก็ขอบวช แต่พระองค์ไม่อนุญาตเพราะเป็นสตรี พระนางจึงตามไปขอร้องถึงสามครา พระพุทธเจ้าจึงให้
เงื่อนไขว่าจะทาตามภาระที่ทาได้ยาก 8 ประการได้หรือไม่ ก็ทาได้ จึงให้บวช เป็นภิกษุณีรูปแรกของศาสนา
จากนั้น พระพุทธศาสนาก็เจริญงอกงาม แต่ก็มีพระเทวทัต ที่คอยอิจฉาและกลั่นแกล้งพระพุทธเจ้า โดยท่านทา
ให้สงฆ์แตกแยกกัน และผลักหินมาโดนนิ้วเท้าพระพุทธเจ้าจนห้อเลือด ซึ่งถือเป็นอนันตริยกรรมทั้งคู่ จึงถูก
แผ่นดินสูบ เช่นเดียวกับนางอุบลวรรณาที่แสร้งทาว่าท้องกับพระพุทธเจ้า ก็ถูกธรณีสูบในที่สุด แต่
พระพุทธศาสนาก็ยังเจริญก้าวหน้าต่อไป มีมานพหนุ่ม ชื่อ องคุลิมาร ได้รับคาสอนผิดๆจากอาจารย์ว่าตัดนิ้ว
คนครบ 1,000 คน จะสาเร็จวิชา จนเกือบตัดนิ้วมารดาตนเอง แต่เหลือบไปเห็นพระพุทธเจ้า จึงไล่ตาม
พระพุทธเจ้า แต่ก็ไม่ทันเสียที จึงบอกให้หยุด พระพุทธเจ้าตรัสตอบว่า “เราหยุดแล้วแต่ท่านยังไม่หยุด” องค์คุ
ลิมารจึงมีดวงตาเห็นธรรมและขอออกบวช เป็นพระอรหันต์ในที่สุด แล้วในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 ก็มีพระ
อรหันต์ ซึ่งเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา (พระพุทธเจ้าบวชให้) มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ท่านจึงแสดง
โอวาทปาฏิโมกข์ จากนั้น คืนนั้น พญามารได้มาทวงสัญญาที่จะปลงอายุสังขาร ท่านจึงปลงอายุสังขารว่า อีก 3
เดือนท่านจะปรินิพพาน แล้วจากนั้นอีก 3 เดือน ท่านได้ไปยังเมืองกุสินารา นายจุนทะได้นิมนต์ให้ฉันสูกรมัท
วะ (แกงเห็ด) ซึ่งย่อยยาก ท่านได้ห้ามภิกษุอื่นฉัน แล้วท่านฉันเองทั้งหมด ในคืนนั้น ท่านปวดท้องมาก ท่านได้
รับสั่งพระอานนท์ให้ไปบอกนายจุนทะว่า อาหารที่มีบุญสูงสุดมี 2 มื้อ คือ มื้อที่ฉันแล้วตรัสรู้ คือ ข้าวมธุปายาส
ของนางสุชาดา และ มื้อที่ฉันแล้วปรินิพพาน คือ สูกรมัทวะของนายจุนทะนี้เอง แล้วจึงเดินทางต่อ ระหว่าง
ทาง ท่านกระหายน้ามาก แต่ทุกหนแห่ง น้าขุ่นมาก ฉันไม่ได้เลย กว่าจะได้ฉันนั้นต้องรอนานมาก สร้างทุกร
กิริยาแก่ท่านมาก เป็นกรรมเก่าที่ตกตามมาชาระให้หมดไป แล้วท่านจึงเสด็จ ณ แท่นหินระหว่างต้นรัง แล้ว
นอนในท่าไสยยาสน์ ก่อนปรินิพพาน ได้ตอบปัญหาพระสุภัททะ แล้วได้บวชให้พระสุภัททะ เป็นพระที่เป็น
เอหิภิกขุอุปสัมปทารูปสุดท้ายแล้วจึงตรัสให้พระธรรมเป็นศาสดาต่อ แล้วจึงฝากให้ทุกท่านดารงอยู่ในความไม่
ประมาท แล้วจึงเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน

หลักธรรมในพระพุทธศาสนา
อริยสัจ 4 : ความจริงสูงสุด 4 ประการ เป็นหลักที่แสดงว่า ศาสนาพุทธมีความเป็นเหตุเป็นผล
ทุกข์ : สภาพที่ทนได้ยาก ก็คือ สิ่งที่เราต้องแก้ไข
สมุทัย : คือเหตุแห่งทุกข์
นิโรธ : คือสภาวะที่ดับทุกข์แล้ว คือหมดซึ่งปัญหานั้นๆ
มรรค : คือวิธีการดับทุกข์
อริยสัจ 4 นี้ ใช้แก้ปัญหาตั้งแต่เรื่องเล็กๆ จนไปถึงปัญหาใหญ่อย่างการเวียนว่ายตายเกิด ทาให้
สามารถบรรจุหลักธรรมต่างๆลงในอริยสัจ 4 ได้ เช่น ขันธ์ 5 คือสภาพร่างกาย ก็บรรจุเข้าในทุกข์ เป็นต้น
ขันธ์ 5 : กองแห่งรูปธรรมและนามธรรม => ประกอบเป็นตัวเรา
รูปขันธ์ : คือร่างกายของเรานั่นเอง
เวทนาขันธ์ : ความรู้สึกของเรา
สัญญา : ความจา
สังขาร : ความปรุงแต่งจิต เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง
วิญญาณ : จิตที่รับรู้ความรู้สึกต่างๆ
ขันธ์ 5 นี้ เป็นของทางโลก การละได้ ก็คือตัดขาดจากทางโลก คือนิพพาน ขันธ์ 5 จึงเป็นปัญหาของ
โลก ที่ต้องกาจัด จึงจัดในหมวดทุกข์
อบายมุข 6: ช่องทางแห่งความเสื่อม
ติดสุราและของมึนเมา, เที่ยวกลางคืน, ชอบดูการละเล่น, ติดการพนัน, คบคนชั่ว, เกียจคร้าน
นิวรณ์ 5 : สิ่งขัดขวางมิให้ธรรมมาสู่จิต
กามฉันทะ : ความติด พึงพอใจในกาม
พยาบาท : ความไม่พอใจจากการไม่สมหวังในกาม
ถีนมิทธะ : ความขี้เกียจ ท้อแท้
อุทธัจจะกุกกุจจะ : ความคิดซัดส่ายตลอดเวลา ฟุ้งซ่าน
วิจิกิจฉา : ความลังเล ความไม่แน่ใจ
เมื่อเจริญสติภาวนาไป ในยามที่ใกล้จะบรรลุธรรม นิวรณ์ทั้ง 5 จะมาขัดขวางจิตใจมิให้บรรลุธรรม ถ้า
ผ่านนิวรณ์ทั้ง 5 ไปได้ก็จะบรรลุธรรมในที่สุด เปรียบเสมือนพญามารที่มาขัดขวาพระพุทธเจ้ามิให้บรรลุธรรม
สุข 2 : ความดับซึ่งทุกข์
สามิสสุข : ความสุขทางโลก เป็นความสุขเพียงชั่วคราว
นิรามิสสุข : ความสุขทางธรรม เป็นความสุขนิรันดร์ คือการนิพพาน
ไตรลักษณ์ : สภาพทั่วไปของมนุษย์ และสิ่งทั้งปวง
อนิจจลักษณะ : ลักษณะไม่เที่ยง เปลี่ยนไปเรื่อยๆ
ทุกขลักษณะ : ลักษณะหนึ่งทนอยู่ตลอดไปไม่ได้
อนัตตลักษณะ : ไม่ใช่ตัวตน ควบคุมไม่ได้
ไตรวัฏฏ์ : การหมุนเวียนต่อเนื่องของสรรพสิ่ง
กิเลสวัฏฏ์ : วงจรแห่งกิเลส : ประกอบด้วย อวิชชา(ความไม่รู้) ตัณหา(ความอยาก) และอุปาทาน
(ความยึดมั่นถือมั่น)
กรรมวัฏฏ์ : วงจรแห่งกรรม : ประกอบด้วย สังขาร(การปรุงแต่ง) และภพ(โลกอันเป็นที่อยู่)
วิปากวัฏฏ์ : ผลของกรรม
เมื่อมีกิเลส ก็ทาให้เกิดกรรม ทั้งกรรมดีและกรรมชั่ว จากนั้นก็ต้องรับผลของกรรมนั้น แล้วก็เกิดกิเลส
ใหม่ ไม่สิ้นสุด หากหลุดพ้นได้ก็จะสู่นิพพาน
สมบัติ 4 : สิ่งที่ทาให้กรรมดีส่งผลชัดขึ้น
คติสมบัติ : ทากรรมถูกที่
อุปธิสมบัติ : ถึงพร้อมด้วยกายและใจที่สมบูรณ์
กาลสมบัติ : ทากรรมถูกเวลา
ปโยคสมบัติ : ความฝักใฝ่ในการทากรรมดี
วิบัติ 4 : สิ่งที่ทาให้กรรมชั่วส่งผลชัดขึ้น
คติวิบัติ : ทากรรมผิดที่
อุปธิวิบัติ : ร่างกายหรือจิตใจไม่อานวยต่อการทากรรม
กาลวิบัติ : ทากรรมผิดเวลา
ปโยควิบัติ : ฝักใฝ่ในกรรมชั่ว
อกุศลกรรมบถ 10 : ทางแห่งการทาความชั่ว
กายกรรม 3 : กระทาชั่วทางกาย : ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม
วจีกรรม 4 : กระทาชั่วทางวาจา : พูดปด พูดส่อเสียด พูดคาหยาบ พูดเพ้อเจ้อ
มโนกรรม 3 : กระทาชั่วทางใจ : คิดอยากได้ของผู้อื่น คิดร้ายต่อผู้อื่น เห็นผิดจากทานองคลองธรรม
กุศลกรรมบถ 10 : ทางแห่งการทาความดี
กายกรรม 3 : กระทาดีทางกาย : ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม
วจีกรรม 4 : กระทาดีทางวาจา : ไม่พูดปด ไม่พูดส่อเสียด ไม่พูดคาหยาบ ไม่พูดเพ้อเจ้อ
มโนกรรม 3 : กระทาดีทางใจ : ไม่คิดอยากได้ของผู้อื่น ไม่คิดร้ายต่อผู้อื่น ไม่เห็นผิดจากทานองคลอง
ธรรม
ปปัญจธรรม 3 : กิเลสที่ขัดขวางไม่ให้เข้าถึงความจริง
ตัณหา : ความปรารถนา ความอยากได้ อยากเอามาเป็นของตน
ทิฏฐิ : ความยึดมั่นถือมั่นในทฤษฏีหนึ่งๆ
มานะ : ความถือตัว ยกตนเป็นใหญ่ ไม่ฟังใคร
อัตถะ 3 : ประโยชน์ 3 ประการ
ทิฏฐธัมมิกัตถะ : ประโยชน์ในปัจจุบัน ในโลกนี้
สัมปรายิกัตถะ : ประโยชน์ในโลกหน้า ชาติหน้า
ปรมัตถะ : ประโยชน์สูงสุด คือ นิพพาน
ไตรสิกขา : ข้อที่ต้องปฏิบัติเพื่อไปสู่นิพพาน
อธิสีลสิกขา : ศีล : การควบคุมความประพฤติของตน
อธิจิตตสิกขา : สมาธิ : การควบคุมจิตใจของตน
อธิปัญญาสิกขา : ปัญญา : การฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้แจ้ง
โอวาท 3 : หลักใหญ่แห่งคาสอนของพระพุทธองค์
ทาความดี , ไม่ทาความชั่ว, ทาจิตใจให้บริสุทธิ์ผ่องใส
พรหมวิหาร 4 : ธรรมแห่งพระพรหม ธรรมของผู้ประเสริฐ
เมตตา : การอยากให้ผู้อื่นมีความสุข
กรุณา : การอยากให้ผู้อื่นพ้นจากทุกข์
มุทิตา : การยินดีเมื่อผู้อื่นมีสุข
อุเบกขา : การวางเฉย พิจารณาธรรมอย่างเป็นกลาง
ฆราวาสธรรม 4 : ธรรมของฆราวาสที่จะให้อยู่อย่างเป็นสุข
สัจจะ : การซื่อสัตย์ พูดจริงทาจริง
ทมะ : การฝึกหัดดัดนิสัยข่มอบรมจิตใจ
ขันติ : ความอดทน มุ่งมานะด้วยความขยัน
จาคะ : ความเสียสละ ความใจกว้าง ไม่เห็นแก่ตัว
กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 : ธรรมสาหรับดารงความมั่งคั่งของตระกูล
นัฏฐคเวสนา : ของหมดรู้จักหามาเติมไว้
ชิณณปฏิสังขรณา : ของเก่าชารุด รู้จักซ่อมแซม
ปริมิตปานโภชนา : รู้จักประมาณการกินการใช้
อธิปัจจสีลวันตสถาปนา : ตั้งผู้มีศีลธรรมเป็นหัวหน้าครอบครัว
ปธาน 4 : ความเพียร
สังวรปธาน : เพียรระวังอกุศลกรรมที่ยังไม่เกิด
ปหานปธาน : เพียรกาจัดอกุศลกรรมที่เกิดแล้ว
ภาวนาปธาน : เพียรทากุศลกรรมที่ยังไม่เกิด
อนุรักขนาปธาน : เพียรรักษากุศลกรรมที่เกิดแล้ว
สังคหวัตถุ 4 : ธรรมอันเป็นที่ยึดเหนี่ยวใจคน
ทาน : การให้
ปิยวาจา : การใช้คาพูดสุภาพ ไพเราะ
อัตถจริยา : บาเพ็ญสาธารณประโยชน์
สมานัตตา : การทาตัวเสมอต้นเสมอปลาย
อิทธิบาท 4 : รากฐานแห่งความสาเร็จ : ใช้ในการเล่าเรียน
ฉันทะ : ความพอใจในสิ่งที่กาลังจะทา
วิริยะ : ความเพียรในการกระทา
จิตตะ : เอาจิตฝักใฝ่ในการกระทานั้น
วิมังสา : ความใตร่ตรองพิจารณาในสิ่งนั้นให้มาก
เบญจศีล- เบญจธรรม 5 : ศีล- ธรรมอันดีงาม
เว้นจากการฆ่าสัตว์ – มีความเมตตากรุณา
เว้นจากการลักทรัพย์ – เลี้ยงชีพในทางสุจริต
เว้นจากการประพฤติผิดในกาม – สารวมระวังในกาม
เว้นจากการพูดปด ส่อเสียด เพ้อเจ้อ – ซื่อสัตย์
เว้นจากของมึนเมา – มีสติอยู่เสมอ
ทิศ 6 : บุคคลประเภทต่างๆที่ต้องดูแล
ปุรัตถิมทิศ : ทิศเบื้องหน้า: บิดามารดา
ทักษิณทิศ : ทิศเบื้องขวา : ครู อาจารย์
ปัจฉิมทิศ : ทิศเบื้องหลัง : บุตรภรรยา
อุตตรทิศ : ทิศเบื้องซ้าย : มิตรสหาย
เหฏฐิมทิศ : ทิศเบื้องล่าง : คนรับใช้ แรงงาน
อุปริมทิศ : ทิศเบื้องบน : สมณสงฆ์
สัปปุริศธรรม 7 : ธรรมของสัตบุรุษ
ธัมมัญญุตา : การรู้หลักความจริง กฏเกณฑ์
อัตถัญญูตา : การรู้จักผลของการกระทา
อัตตัญญุตา : รู้จักประพฤติให้เหมาะสมกับฐานะและกาลัง ปัญญาของเรา
มัตตัญญุตา : รู้จักพอประมาณในการบริโภคปัจจัย 4
กาลัญญุตา : รู้เวลาอันเหมาะสม
ปริสัญญุตา : รู้จักชุมชน
ปุคคลัญญุตา : รู้จักความแตกต่างแห่งบุคคล
มรรค 8 : ทางแห่งการดับทุกข์
สัมมาทิฏฐิ : การเห็นชอบ การรู้ในสิ่งที่ควรรู้
สัมมาสังกัปปะ : การดาริชอบ คิดดี
สัมมาวาจา : เจรจาชอบ การพูดดี
สัมมากัมมันตะ : กระทาชอบ การกระทาดี
สัมมาอาชีวะ : เลี้ยงชีพชอบ การประกอบอาชีพสุจริต
สัมมาวายามะ : พยายามชอบ การเพียรตาม ปธาน 4
สัมมาสติ : ระลึกชอบ มีสติอยู่เสมอ
สัมมาสมาธิ : ตั้งจิตมั่นชอบ ควบคุมจิตใจตนเองให้มั่นคงได้
วันสาคัญในพระพุทธศาสนา
1. วันวิสาขบูชา
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 เป็นวันประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพานของพระพุทธเจ้า
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง : อริยสัจ 4 เป็นธรรมที่พระองค์ทรงตรัสรู้ได้
การปฏิบัติตน : ทาบุญ ตักบาตร สวดมนต์ ฟังเทศน์ เวียนเทียน
2. วันอาสาฬหบูชา
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 8 เป็นวันที่มีพระรัตนตรัยครบ 3 พระองค์ คือวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จไป
โปรดปัญจวัคคีย์ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวันจนทาให้ พระอัญญาโกณฑัญญะ เกิดดวงตาเห็นธรรม ขอบวชเป็น
ภิกษุ ทาให้มีพระรัตนตรัยครบ 3 องค์
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง : ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร
การปฏิบัติตน : ทาบุญ ตักบาตร สวดมนต์ ฟังเทศน์ เวียนเทียน
3. วันเข้าพรรษา
ตรงกับวันแรม 1 ค่าเดือน 8 จนถึง ขึ้น 15 ค่า เดือน 11 เป็นวันที่พระพุทธเจ้าให้พระสงฆ์อยู่จาวัด
เพื่อไม่ให้ไปเหยียบย่าที่นาชาวบ้าน โดยเมื่อจบช่วงเข้าพรรษา จะมีพิธี ปวารณา ให้พระสงฆ์ได้ตักเตือนกันอีก
ด้วย
การปฏิบัติตน : ทาบุญ ตักบาตร สวดมนต์ ฟังเทศน์ ถวายผ้าอาบน้าฝน เทียนพรรษา
4. วันออกพรรษา
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 ในบางที่ เป็นวันเทโวโรหณะ ซึ่งเป็นวันที่พระพุทธเจ้าทรงเสด็จลงจาก
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งจะมีประเพณีที่ยิ่งใหญ่ในการตักบาตรข้าวต้มลูกโยนที่ จ.อุทัยธานี
การปฏิบัติตน : ทาบุญ ตักบาตรข้าวต้มลูกโยน สวดมนต์ ฟังเทศน์ ฟังธรรม
5. วันอัฏฐมีบูชา
ตรงกับวันแรม 8 ค่า เดือน 6 เป็นวันที่ถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เหตุที่ต้อง
รอ เพราะรอพระมหากัสสปะ และลูกศิษย์ ที่ไปธุดงค์ไกล กลับมาถวายบังคมลา เป็นครั้งสุดท้าย แล้วไฟก็ลุก
ติดเอง จากนั้น พระบรมสารีริกธาตุ ก็ถูกแบ่งไปยังที่ต่างๆ โดยการจัดการของพระเจ้าอชาตศัตรู และมี
บางส่วนที่เทพยดานาไปประดิษฐาน ณ พระมหาเจดีย์จุฬามณี บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
6. วันมาฆบูชา
ตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 เป็นวันปลงอายุสังขารของพระพุทธเจ้า และเป็นวันที่มีพระสงฆ์มา
รวมตัวกัน 1,250 รูปโดยมิได้นัดหมาย โดยทั้งหมดเป็นพระอรหันต์ และเป็นเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ
พระพุทธเจ้าบวชให้เองทั้งสิ้น ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ คือ หลักอันสูงสุดของพระพุทธศาสนา
หลักธรรมที่เกี่ยวข้อง : โอวาท 3
พิธีกรรมทางศาสนา
การทาบุญในงานมงคลและอวมงคล
งานมงคล คืองานที่เป็นงานดี เช่น งานบวช งานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน นิยมนิมนต์พระมาเป็นเลขคี่
เช่น 3 5 7 9 รูป เป็นต้น โดยในงาน ต้องมีการโยงด้ายสายสิญจน์รอบพิธีและโต๊ะหมู่บูชา และมีอ่างน้ามนต์
ส่วนงานอวมงคล คือ งานศพ งานทาบุญกระดูก นิยมนิมนต์พระมาเป็นเลขคู่ เช่น 4 6 8 รูป เป็นต้น
ไม่มีอ่างน้ามนต์และการพันด้ายรอบโต๊ะหมู่บูชา
การตักบาตร
การตักบาตร หรือใส่บาตร กระทาได้โดย ยืนรอให้พระภิกษุมาถึง นิมนต์พระ ถอดรองเท้า ใส่บาตรให้
เรียบร้อย นั่งลงรับพรจากพระเป็นอันเรียบร้อย
ลาดับขั้นตอนในการทาบุญ
นิมนต์พระ จากนั้น จัดเตรียมสถานที่ให้เรียบร้อย จัดโต๊ะหมู่บูชา เตรียมอาสนะ จากนั้นรับพระสงฆ์
มายังพิธี แล้วเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย กล่าวคาบูชาพระรัตนตรัย อาราธนาศีล 5 รับศีล
อาราธนาพระปริตร จุดเทียนน้ามนต์ ถวายข้าวพระพุทธ ประเคนข้าวพระสงฆ์ ลาข้าวพระพุทธ ถวายสังฆทาน
กรวดน้าอุทิศส่วนกุศล รับน้ามนต์ แล้วส่งพระกลับวัดให้เรียบร้อย

พระไตรปิฏกและการสังคายนาพระไตรปิฏก
พระไตรปิฏกเป็นคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้ มี 3 หมวด คือ
1. พระวินัยปิฏก : อธิบายถึงระเบียบวินัย ข้อห้าม ศีลของพระสงฆ์ (228 ข้อ) ภิกษุณี (311ข้อ) สามเณร
(10 ข้อ) อุบาสก- อุบาสิกา (8 ข้อ) คฤหัสถ์ (5 ข้อ)
2. พระสุตตันตปิฏก : ว่าด้วยพระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าโดยทั่วไป โดยแบ่งเป็นหมวดหมู่ โดยมี
เหตุการณ์และบุคคล ต้นกาเนิดแห่งพระธรรมเทศนานั้นๆประกอบ
3. พระอภิธรรมปิฏก : คัมภีร์ว่าด้วยหลักธรรมล้วนๆ เป็นแก่นแท้แห่งธรรมชาติ
การสังคายนาพระไตรปิฏก
1. กระทาที่ ถ้าสัตยาบรรณคูหา โดยมีพระมหากัสสปะเถระเป็นประธาน มีพระเจ้าอชาตศัตรูเป็นผู้
อุปถัมภ์
2. กระทาที่เวลิการาม เมืองเวสาลี
3. กระทาที่อโศการาม แคว้นมคธ โดยในครั้งนั้น มีพวกเดียรถี คือนักบวชปลอม จานวนมาก จึงต้องจัด
สังคายนาขึ้น เพื่อจัดการพวกเดียรถี และส่งพระธรรมทูติ ไปเผยแผ่ศาสนารอบชมพูทวีป โดยมีพระ
เจ้าอโศกมหาราชเป็นผู้อุปถัมภ์
4. กระทาที่ถูปาราม ประเทศศรีลังกา โดย พระมหินทรเถระ ซึ่งเป็นหัวหน้าพระธรรมทูติสายที่มาเผยแผ่
ธรรม ณ ศรีลังกา เป็นการเริ่มการเผยแผ่ธรรม ที่ศรีลังกา
5. กระทาที่อโลกเลณสถาน ประเทศศรีลังกา เป็นการจารึกลงบนใบลานเป็นครั้งแรก
6. กระทา ณ ศรีลังกา เพื่อแปลภาษาสิงหลเป็นภาษามคธ มีอรรถกถาอธิบายพุทธพจน์
7. กระทาที่ ศรีลังกา เพื่อเพิ่มฏีกา คือส่วนที่อธิบายอรรถกถาอีกที
8. กระทาในประเทศไทย โดยพระเจ้าติโลกราช พระเจ้าล้านนา เพื่อวางรากฐานศาสนาในไทย
9. กระทาในไทย โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงชาระพระไตรปิฏกเพื่อก้าวสู่
ราชอาณาจักรใหม่
10. กระทาในประเทศไทย โดยสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส โดยมี
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมหาราช เป็นองค์อุปถัมภ์
11. กระทาในประเทศไทย ในสมัย พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

การเผยแผ่ศาสนาในไทย
ศาสนาพุทธ เข้ามาในไทยครั้งแรกผ่านอาณาจักรศรีวิชัย ในสมัยทราวดี ซึ่งเป็นนิกายมหายาน
จากนั้น ทางทราวดี ได้รับศาสนาพุทธนิกายเถรวาท มาจากลังกา แล้วยึดถือใช้เรื่อยมา จนในสมัย รัชกาล
ที่ 4 ทรงตั้งนิกายธรรมยุติ ซึ่งเคร่งต่อพระวินัยมาก ทาให้ปัจจุบัน มีทั้ง 3 นิกายในไทย

สังเวชณียสถานทั้ง 4
คือสถานที่สาคัญทางศาสนาทั้ง 4 มีเพื่อให้เกิดความสังเวช คิดถึงเหตุการณ์ คาสั่งสอน ณ สถานที่
นั้นๆ โดยประกอบด้วย
1. ลุมพินีวัน ประเทศ เนปาล : คือ สวนลุมพินี ซึ่งเป็นที่ประสูติของพระพุทธเจ้า มีเสาอโศก ซึ่งเป็นสิ่งที่
พระเจ้าอโศกมหาราชทรงทาเครื่องหมายไว้ว่านี่คือที่ประสูติ
2. พุทธคยา ประเทศอินเดีย : คือ ตาบลอุรุเวฬาเสนานิคม ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ซึ่งเป็นที่อยู่ของต้นพระ
ศรีมหาโพธิ์ ซึ่งเป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
3. สารนาถ ประเทศอินเดีย : คือ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เป็นที่แสดงปฐมเทศนา
4. กุสินารา ประเทศเนปาล : คือ สาลวโนทยาน เมืองกุสินารา ที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้า

You might also like