You are on page 1of 527

รายการประกอบแบบก่อสร้าง

โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิบตั ิ การ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ตาบลท่างิ้ว อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช

บริษทั แพลนนิ่ง แอนด์ แม๊ปปิ้ง คอนเซาแทนต์ จากัด


194 ซ.11 ถนนเพชรเกษม อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
โทรศัพท์ 074-256825 โทรสาร (074) 256791

(งวดที่ 2) 26 กุมภาพันธ์ 2559


ii

สารบัญ
หน้า
สารบัญ Ii
บทนา v
รายการทัวไป่ vi
เงื่อนไขและข้อบังคับทัวไป

หมวดที่ 1 คาจากัดความ 1
หมวดที่ 2 บุคลากรในการก่อสร้างและอานาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ 3
หมวดที่ 3 การประสานงาน 6
หมวดที่ 4 การเตรียมสถานที่ 7
หมวดที่ 5 การเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์ 14
หมวดที่ 6 แผนการดาเนินงาน และการรายงานผลงานก่อสร้างและระบบความปลอดภัย 15
หมวดที่ 7 แบบ วัสดุ และการขออนุมตั ิ 23
หมวดที่ 8 การดาเนินงาน 36
หมวดที่ 9 มาตรฐาน และการอ้างอิง 39
หมวดที่ 10 การตรวจงานและควบคุมงาน 41
หมวดที่ 11 การรักษาสิง่ แวดล้อม และความปลอดภัย 42
หมวดที่ 12 การส่งมอบงาน 59
งานวิศวกรรมโครงสร้าง
หมวดที่ 13 งานดินขุด ดินถม และปรับระดับดินเดิม 61
หมวดที่ 14 งานเสาเข็ม 64
หมวดที่ 15 งานเสริมโครงสร้างยึดรัง้ ให้กบั ฐานรากของอาคารทีต่ งั ้ อยู่บนหน้าผาหินไหล่เขาและบน 75
ภูหมวดที
เขา ่ 16 งานแบบหล่อ 77
หมวดที่ 17 งานเหล็กเสริมคอนกรีต 81
หมวดที่ 18 งานเหล็กรูปพรรณ 88
หมวดที่ 19 งานคอนกรีต 90
หมวดที่ 20 งานพืน้ คอนกรีตสาเร็จรูป 101
หมวดที่ 21 งานพืน้ แผ่นเหล็กสาเร็จรูป (Structural decking) 102
หมวดที่ 22 งานผนังคอนกรีตสาเร็จรูป 103
หมวดที่ 23 งานระบบ POST TENSION 106
หมวดที่ 24 งานไม้ 113
หมวดที่ 25 งานป้องกันและกาจัดปลวก 123
หมวดที่ 26 งานก่อสร้างถนนและทีจ่ อดรถ 128

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
iii

สารบัญ
งานสถาปตั ยกรรม หน้า
หมวดที่ 27 งานพืน้ 142
หมวดที่ 28 งานผนัง 167
หมวดที่ 29 งานแผงอลูมเิ นียมกันแดดชนิดอบสีสาเร็จรูป 194
หมวดที่ 30 งานหลังคา 196
หมวดที่ 31 งานฉนวนป้องกันความร้อน 199
หมวดที่ 32 งานฝ้าเพดาน 201
หมวดที่ 33 งานบันได 208
หมวดที่ 34 งานประตู – หน้าต่าง 209
หมวดที่ 35 งานกระจก 224
หมวดที่ 36 งานลูกบิดและลูกกุญแจ 229
หมวดที่ 37 งานสุขภัณฑ์ 231
หมวดที่ 38 งานผนังห้องน้าสาเร็จรูป 243
หมวดที่ 39 งานสี 245
หมวดที่ 40 งานระบบกันซึม 253
หมวดที่ 41 งานแผ่น ALUMINIUM COMPOSITE 259
หมวดที่ 42 งานระบบป้องกันความร้อนสาหรับอาคาร 264
หมวดที่ 43 งานป้าย - เครื่องหมายทัวไป
่ 269
หมวดที่ 44 งานเครื่องหมายอุปกรณ์จราจร 270
หมวดที่ 45 งานเครื่องหมายหนีไฟ - ดับเพลิง 280
หมวดที่ 46 สิง่ อานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชรา 283
หมวดที่ 47 งานสลิง สเตนเลส ราวกันตก 290
หมวดที่ 48 งานอุปกรณ์ยดึ กระจก 292
หมวดที่ 49 งานระบบป้องกันความร้อนชืน้ 294
หมวดที่ 50 งานวัสดุกนั ไฟและควัน 296
หมวดที่ 51 งานฉนวนซีเมนต์ป้องกันไฟโครงเหล็ก 298
หมวดที่ 52 งานสีป้องกันไฟ 300
หมวดที่ 53 ยางยาแนว 303
งานผังบริเวณ
หมวดที่ 54 งานผังบริเวณและงานดินถม 307

หมวดที่ 55 งานภูมสิ ถาปตยกรรม 309
งานระบบประปา และสุขาภิบาล และระบบดับเพลิง
หมวดที่ 56 รายการทัวไป่ 322

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
iv

สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 57 ระบบประปา 326
หมวดที่ 58 ระบบระบายน้าฝนและระบบระบายน้าทิง้ 333
หมวดที่ 59 ระบบบาบัดน้าเสีย 335
หมวดที่ 60 ระบบกาจัดขยะ 336
หมวดที่ 61 ระบบน้าร้อน 337
หมวดที่ 62 ข้อกาหนดทัวไป ่ 339
หมวดที่ 63 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 340
หมวดที่ 64 ท่อน้า 345
หมวดที่ 65 ระบบไฟฟ้า 350
หมวดที่ 66 หม้อแปลงไฟฟ้า 366
หมวดที่ 67 เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ 371
หมวดที่ 68 ตูส้ วิตซ์อตั โนมัตเิ มน 377
หมวดที่ 69 ระบบป้องกันฟ้าผ่า 387
หมวดที่ 70 ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ 392
หมวดที่ 71 ระบบโทรศัพท์และระบบสือ่ สารภายใน 409
หมวดที่ 72 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 414
หมวดที่ 73 เครื่องสารองไฟฟ้าฉุกเฉิน 423
หมวดที่ 74 ระบบเสียง 428
หมวดที่ 75 ระบบเสาอากาศวิทยุ โทรทัศน์รวม 430
หมวดที่ 76 ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด 434
หมวดที่ 77 ระบบควบคุมการเข้าออก 439
หมวดที่ 78 ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ 442
หมวดที่ 79 ระบบอุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ 451
หมวดที่ 80 ระบบชุดกุญแจอัจฉริยะ 453
หมวดที่ 81 ระบบลิฟต์โดยสาร 457
หมวดที่ 82 ระบบดับเพลิง 462
หมวดที่ 83 ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ 467
หมวดที่ 84 การอุดช่องเพื่อป้องกันไฟลามงาน 470
หมวดที่ 85 ระบบมาตรการป้องกันและควบคุมอุบตั เิ หตุ 471
ภาคผนวกเอกสาร
ภาคผนวก ก. รายการวัสดุเทียบเท่าตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 485
ภาคผนวก ข. ตัวอย่างมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์ 492
PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
v

บทนา

ความประสงค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครศรีธรรมราช ต้องการจ้างเหมาก่อสร้าง โครงการออกแบบอาคารเรียน


อเนกประสงค์และปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ก่อสร้าง ณ มหาวิทยาลัยราช
ภัฏนครศรีธรรมราช อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
การเสนอราคา ผูร้ บั จ้างต้องเสนอราคาเป็ นรายการเหมารวม ตามรูปแบบ และหมายรวมถึงรายการทีก่ าหนดไว้ใน
รายการประกอบแบบก่อสร้าง ตลอดจนค่าดาเนินการ กาไร โสหุ้ย การทดสอบอื่นๆ ที่จาเป็ นทัง้ ที่ระบุไว้ในรูปแบบ และ
รายการทดสอบที่ก รรมการตรวจการจ้า ง หรือ ตัว แทนผู้ว่ า จ้า ง หรือ ผู้อ อกแบบร้อ งขอ ทัง้ นี้ มหาวิท ยาลัย ราชภัฏ
นครศรีธรรมราช สงวนสิทธิที์ จ่ ะไม่คานวณค่างานให้หากไม่มเี หตุผลเพียงพอต่อการพิจารณา
การดาเนิ นงาน ผูเ้ สนอราคาจะต้องจัดหาวัสดุและแรงงานทีด่ มี คี ุณภาพมาดาเนินการให้แล้วเสร็จตามแบบแปลน
รายการ และสัญญา ผู้เสนอราคาจะต้องตรวจสอบสถานที่ก่อสร้าง และรับฟงั คาชีแ้ จงสถานที่ก่อสร้างและรายการประกอบ
แบบและรายละเอียดต่างๆ ตามวันและเวลา กาหนดและลงนามรับทราบ ผูเ้ สนอราคารายใดไม่มาดูสถานทีก่ ่อสร้างและรับฟงั
คาชีแ้ จง และลงนามรับทราบ ตามวันและเวลาดังกล่าวจะยกมาเป็ นข้ออ้างและข้อต่อสูใ้ นภายหลังมิได้

รายการประกอบแบบนี้เป็ นรายการประกอบแบบซึง่ กาหนดให้ผรู้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด และผูร้ บั จ้าง


จะต้องอ่านและทาความเข้าใจให้ละเอียดถี่ถ้วน และถื อเป็ นสิง่ ที่ต้องดาเนินการทัง้ หมด ข้อขัดแย้งที่เกิดขึน้ จากรูปแบบ
รายการประกอบแบบ และราคาทีผ่ รู้ บั จ้างเสนอ ให้ยดึ ถือเอาคาวินิจฉัยของกรรมการตรวจการจ้างเป็ นสิน้ สุด ในการรักษา
ประโยชน์ให้กบั ราชการ โดยถือเอาสิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ เป็ นเกณฑ์ และผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามทัง้ สิน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
vi

รายการทัวไป

รายการประกอบแบบนี้เป็ นรายการประกอบแบบซึง่ กาหนดให้ผรู้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด และผูร้ บั จ้าง


จะต้องอ่านและทาความเข้าใจให้ละเอียดถีถ่ ว้ น และถือเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งดาเนินการทัง้ หมด ข้อขัดแย้งทีเ่ กิดขึน้ จากรูปแบบ
รายการประกอบแบบ และราคาทีผ่ รู้ บั จ้างเสนอ ให้ยดึ ถือเอาคาวินิจฉัยของกรรมการตรวจการจ้างเป็ นสิน้ สุด ในการรักษา
ประโยชน์ให้กบั ราชการ โดยถือเอาสิง่ ทีด่ ที ส่ี ดุ เป็ นเกณฑ์ และผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามทัง้ สิน้
รายการมาตรฐานทัวไปนี ่ ้ใช้ประกอบแบบก่อสร้าง ออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช โดยจะกาหนดรายละเอียดงานต่างๆ ดังหัวข้อทีป่ รากฏในสารบัญ ซึง่
เป็ นการกาหนดขอบข่ายของวัสดุ สัดส่วนของวัสดุ กรรมวิธี และข้อควรปฏิบตั อิ ่นื ๆ เพื่อให้งานก่อสร้างอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
ตามหลักวิชาช่างทีด่ ี รายละเอียดอื่นๆ นอกเหนือจากทีม่ าตรฐานกาหนด สถาปนิกและวิศวกรจะระบุหรือกาหนดไว้ในแบบ
หรือรายการเฉพาะงาน
ในรายการมาตรฐานทัวไปนี ่ ้ได้กาหนดรายการซึง่ อาจมีหรือไม่มใี ช้สาหรับงานก่อสร้างในโครงการหนึ่งๆ ให้ค่สู ญ ั ญา
เลือกใช้เฉพาะในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับงานก่อสร้างโครงการนัน้ ๆ วัสดุก่อสร้างทีร่ ะบุไว้ในรายการมาตรฐานทัวไปนี ่ ้ โดยทัวไปจะ

ระบุประเภทของวัสดุสว่ นรายละเอียด ชื่อผลิตภัณฑ์ และคุณสมบัตอิ ่นื ๆ จะได้กาหนดในแบบหรือรายการเฉพาะงาน เพื่อให้
งานก่อสร้างเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ ให้ผรู้ บั จ้างยึดถือรายการเฉพาะงานและรายการมาตรฐานทัวไปนี ่ ้
ประกอบกัน หากมีขอ้ ขัดแย้งกันให้ถอื รายการเฉพาะงานเป็ นสาคัญ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 1 of 521

เงื่อนไขและข้อบังคับทัวไป

หมวดที่ 1
คาจากัดความ

ศัพท์ต่างๆ ทีไ่ ด้ระบุไว้ในสัญญาจ้างเหมาก่อสร้างรวมถึงเอกสารแนบท้ายสัญญาจ้างเหมา ให้ถอื ว่ามีความหมาย ดังต่อไปนี้


1. ผูว้ ่าจ้าง หมายถึง มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
2. ผูร้ บั จ้าง หมายถึง บุคคลหรือนิตบิ ุคคลทีไ่ ด้ทาํ สัญญากับ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
3. คณะกรรมการตรวจการจ้าง หมายถึง คณะบุคคลที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช แต่งตัง้ ขึน้ เพื่อทา
หน้าทีต่ รวจและควบคุมการจ้างให้เป็ นไปตามรูปแบบ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดในสัญญา1
4. ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง หมายถึง คณะกรรมการตรวจการจ้าง ผูบ้ ริหารโครงการ ผูจ้ ดั การโครงการ สถาปนิก วิศวกร หรือผู้
ควบคุมงานก่อสร้าง2 ซึง่ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช มอบหมายแต่งตัง้ หรือว่าจ้างให้ดแู ล หรือควบคุม
ให้งาน ก่อสร้างถูกต้องตามรูปแบบและรายละเอียดของโครงการนัน้ ๆ
5. ผูแ้ ทนผูร้ บั จ้าง หมายถึง บุคคลทีผ่ รู้ บั จ้างแต่งตัง้ ขึน้ โดยมีอาํ นาจเต็มทีจ่ ะรับคําสังคํ
่ าแนะนําต่างๆ ของผูว้ ่าจ้าง
และมีอาํ นาจสังงานควบคุ
่ มการทํางานของผูร้ บั จ้าง โดยได้แจ้งให้ค่สู ญ ั ญาทราบแล้วเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
6. รูปแบบประกอบสัญญา หมายถึง แบบรูปก่อสร้างทัง้ หมดทีป่ ระกอบในการทําสัญญาจ้างเหมา และรวมถึงแบบรูป
ทีม่ กี ารแก้ไข และเพิม่ เติม ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั เิ ห็นชอบจากผูว้ ่าจ้าง
7. ราคาค่างาน หมายถึง ราคาค่างาน งานก่อสร้างตามแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบก่อสร้าง มีขอบเขต
ของงานและราคาค่าก่อสร้างทีเ่ หมารวมไว้แล้ว ดังต่อไปนี้ นอกจากจะระบุเป็ นอย่างอื่น หรือระบุเพิม่ เติมไว้ในสัญญา
- งานเตรียมการ เตรียมสถานทีก่ อ่ สร้างและวางผัง เพื่อให้พร้อมสําหรับการเริม่ งานก่อสร้าง
- งานรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้าง และขนย้ายไปเก็บในทีท่ ผ่ี วู้ ่าจ้างกําหนดให้ หรือขนไปทิง้ งานตัดต้นไม้หรือล้อมต้นไม้
งานโยกย้ายระบบสาธารณูปโภค งานขนดินไปทิง้ หรือถมดินเพิม่
- ค่าทีพ่ กั คนงาน ห้องนํ้า-ส้วม ทางเข้าสถานทีก่ ่อสร้างชัวคราว ่ รัว้ ชัวคราว
่ การทําความสะอาด และเก็บขนขยะ
เศษวัสดุไปทิง้ นอกสถานที่ ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
- ค่าก่อสร้างสํานักงานสนามพร้อมครุภณ ั ฑ์และอุปกรณ์สอ่ื สารของผูร้ บั จ้าง และของผูค้ วบคุมงาน
- ค่าขอมิเตอร์ไฟฟ้าและประปาชัวคราว ่ หรือค่าเจาะนํ้าบาดาล หรือค่าเครื่องปนไฟ ั ่ ค่านํ้า ค่าไฟ และค่า
ระบบสือ่ สารต่างๆ ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง งานต่อเชื่อมระบบสาธารณูปโภคเดิมกับระบบสาธารณูปโภคใหม่
เพื่อให้อาคารใช้งานได้ทนั ทีเมื่อการก่อสร้างแล้วเสร็จ
- ค่าวัสดุและอุปกรณ์ ค่าแรงงาน ค่าเครื่องมือและเครื่องจักร ค่าขนส่ง ค่าล่วงเวลา
- ค่าประสานงานกับส่วนอื่นๆ หรือหน่วยราชการต่างๆ

1
กําหนดความหมายและหน้าทีก่ รรมการตรวจการจ้างเป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไข
เพิม่ เติม
2
กําหนดความหมายและหน้าทีผ่ คู้ วบคุมงานเป็ นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และฉบับแก้ไขเพิม่ เติม
และหรือตามสัญญาจ้างควบคุมงานกําหนดไว้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 2 of 521

- ค่าดําเนินการเกีย่ วกับเทคนิคการก่อสร้าง การรักษาความปลอดภัยและการป้องกันความเสียหายทีจ่ ะเกิดแก่


บุคคลและทรัพย์สนิ ทัง้ ในและนอกสถานทีก่ ่อสร้าง ตลอดจนค่าสิง่ อํานวยความสะดวกชัวคราวต่ ่ างๆ
- ค่าใช้จ่ายด้านเอกสาร เช่น การจัดทํา Shop drawing, As-built drawing, เอกสารขออนุมตั ิ และเอกสารรายงาน
- ค่าทดสอบและตัวอย่างวัสดุต่างๆ ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบและรายการประกอบแบบก่อสร้าง
- ค่าประกันภัยสําหรับความเสียหายต่อบุคคลและทรัพย์สนิ
- ค่ากําไร
- ค่าภาษีอากรต่างๆ ทีผ่ รู้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องตามกฎหมาย
8. รายการประกอบแบบ หมายถึง รายการมาตรฐานทัวไป ่ รายการเฉพาะงาน และรายการชีแ้ จงเพิม่ เติมต่างๆ ซึง่
เป็ นรายการมาตรฐานครอบคลุมการทํางาน วัสดุ การตรวจสอบ และวิธกี ารก่อสร้าง บางรายการ/หมวดอาจไม่มใี น
รูปแบบตามสัญญากําหนด ให้ตรวจสอบและเลือกใช้หมวดงานให้สอดคล้องกัน
9. สถานทีก่ ่อสร้าง หมายถึง สถานทีท่ ผ่ี วู้ ่าจ้างกําหนดขอบเขตให้ดาํ เนินการก่อสร้างตามสัญญา
10. งานก่อสร้าง หมายถึง งานต่างๆ ทีไ่ ด้ระบุในแบบประกอบสัญญา รายการประกอบแบบ และเอกสารแนบสัญญา
รวมทัง้ งานประกอบอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
11. รูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING) หมายถึง รูปแบบก่อสร้างทีผ่ รู้ บั จ้างจัดทําขึน้ ตามวัตถุประสงค์ของรูปแบบ
ตามสัญญาจ้าง เพื่อประกอบการขออนุมตั ริ ายละเอียดการทํางาน ขนาด มิติ แบบขยายละเอียด ต่อผูอ้ อกแบบ
กรรมการตรวจการจ้าง หรือผูค้ วบคุมงาน เพื่อเป็ นแนวทางในการทํางานและการตรวจสอบงานก่อสร้างนัน้
12. รูปแบบก่อสร้างจริง (AS-BUILT DRAWING) หมายถึง รูปแบบก่อสร้างทีแ่ สดงรายละเอียดตามทีไ่ ด้ก่อสร้าง
อันแสดงถึงขนาด มิติ รายละเอียดวัสดุ ตําแหน่ง ทีเ่ หมือนกับการทํางานจริงตามสัญญา เพื่อใช้สาํ หรับการ
ตรวจสอบและแก้ไขเพิม่ เติมงานในอนาคตหลังจากการใช้งานแล้วได้สะดวกและถูกต้อง
13. การอนุมตั ิ หมายถึง การอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร จากผูม้ อี าํ นาจหน้าทีใ่ นการอนุมตั ิ
14. ระบบประกอบอาคาร หมายถึง ระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ ระบบสุขาภิบาล และระบบอื่นๆ ทีน่ อกเหนืองาน
โครงสร้างและงานสถาปตยกรรม ั

จบหมวดที่ 1

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 3 of 521

หมวดที่ 2
บุคลากรในการก่อสร้างและอานาจหน้ าที่ความรับผิดชอบ

1. บุคลากรและขอบเขตของงาน
บุคลากรในการก่อสร้างสําหรับโครงการนี้ ครอบคลุมถึงบุคลากรในส่วนต่างๆ ดังนี้
1.1 ผูว้ ่าจ้าง
1.2 ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน
1.3 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร
1.4 ผูร้ บั จ้าง

2. อํานาจหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ
2.1 ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน
มีหน้าทีค่ วบคุมและตรวจงาน ทําการทดสอบ และวิเคราะห์ผลการทํางานของผูร้ บั จ้าง
2.1.1 ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน มีอาํ นาจออกคําสัง่ คําแนะนํา เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยถือว่าเป็ นข้อ
ผูกมัดผูร้ บั จ้าง เหมือนคําสังของผู่ ว้ ่าจ้างเอง
2.1.2 ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน ไม่มอี าํ นาจทีจ่ ะยกเว้นความรับผิดชอบใดๆ ของผูร้ บั จ้างตามสัญญา
และไม่มอี าํ นาจเกีย่ วกับการเพิม่ ราคาค่าก่อสร้างหรือทําให้งานเปลีย่ นรูปไป
2.1.3 การทีผ่ แู้ ทนผูว้ ่าจ้าง/ผูค้ วบคุมงาน ไม่ได้คดั ค้านการทํางานใดๆ ทีผ่ รู้ บั จ้างกระทําไปโดยพลการ ไม่
อาจลบล้างอํานาจของผูว้ ่าจ้างหรือผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกรทีจ่ ะไม่เห็นชอบกับงานหรือสิง่ ของ
นัน้ ๆ ได้
2.2 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร
2.2.1 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร มีอาํ นาจทีจ่ ะออกคําสังเพิ ่ ม่ เติมในระหว่างงานกําลังดําเนินอยู่ เมื่อ
ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร เห็นสมควร เช่น วิธกี ารใช้วสั ดุทถ่ี กู ต้อง หรือการดําเนินงานส่วนใดควร
จะทําก่อนหรือหลัง เพื่อมิให้เกิดความเสียหายกับงานส่วนอื่นๆ (ทัง้ นี้ไม่หมายถึงการทําให้ราคา
เพิม่ ขึน้ หรือลดลง)ในขณะก่อสร้างหรือภายหลังได้ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําตามและยอมรับคําสังนั ่ น้ ๆ
ในขณะก่อสร้าง
2.2.2 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร มีอาํ นาจทีจ่ ะสังเป็ ่ นลายลักษณ์อกั ษรให้
(1) รือ้ ถอนวัสดุ สิง่ ของใดๆ ก็ตามทีเ่ ห็นว่าไม่เป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบและสัญญาออกจาก
บริเวณสถานทีก่ ่อสร้าง
(2) เปลีย่ นวัสดุสงิ่ ของทีถ่ ูกต้องมาแทน
(3) รือ้ ถอนงานใดๆ ทีฝ่ ีมอื การทํางาน หรือวัสดุสงิ่ ของทีใ่ ช้ไม่เป็ นไปตามรูปแบบรายการและ
สัญญาแล้วให้สร้างใหม่ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างไม่ปฏิบตั ติ ามคําสังดั ่ งกล่าว ผูว้ ่าจ้างมีสทิ ธิที์ จ่ ะ
ว่าจ้างผูอ้ ่นื มาปฏิบตั ติ ามคําสังนั
่ น้ ตามคําแนะนําของผูค้ วบคุมงาน โดยผูร้ บั จ้างต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมด และยอมให้ผวู้ า่ จ้างหักเงินทีจ่ า่ ยให้กบั ผูร้ บั จ้างมาชดเชยการนี้
2.2.3 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร หรือผูใ้ ดทีไ่ ด้รบั มอบอํานาจจากผูว้ า่ จ้างมีสทิ ธิจะเข้ ์ าไปในบริเวณงาน
หน่วยงาน โรงงาน และทุกๆ แห่งทีม่ กี ารเตรียมงาน หรือแหล่งผลิต เก็บรักษา วัสดุสงิ่ ของทีจ่ ะ
นํามาใช้ในการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างมีหน้าทีค่ อยให้ความสะดวกในการนําไปใช้ในสถานทีต่ ่างๆ เหล่านัน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 4 of 521

2.2.4 ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร มีอาํ นาจในการเปลีย่ นแปลงรูปแบบและรายการประกอบแบบตาม


ความเห็นชอบของผูว้ ่าจ้าง เพื่อทีจ่ ะให้อาคารมันคงแข็
่ งแรง หรือทําให้ประโยชน์ในการใช้สอยดีขน้ึ
โดยไม่ทาํ ให้ราคาค่าก่อสร้างเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ าม
2.2.5 บรรดาคําสังหรื ่ อคําชีแ้ จงรายละเอียดต่างๆ ทีอ่ อกโดยผูค้ วบคุมงาน ผูอ้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร
หรือผูว้ ่าจ้าง ทัง้ โดยวาจาและลายลักษณ์อกั ษรทีจ่ ะมีผลให้ราคาค่าก่อสร้างเปลีย่ นแปลงเพิม่ ขึน้ หรือ
ลดลง หรือต้องเปลีย่ นแปลงระยะเวลาก่อสร้างก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งให้ผวู้ ่าจ้างทราบเพื่อตกลง
อนุมตั ใิ ห้เป็ นทีเ่ รียบร้อยก่อนดําเนินการ การดําเนินการล่วงหน้าก่อนได้รบั การอนุมตั ถิ อื เป็ นการ
ดําเนินการโดยความยินยอมของผูร้ บั จ้างทีจ่ ะรับผิดชอบค่าใช้จ่ายนัน้ ๆ
2.3 ผูร้ บั จ้าง
2.3.1 หากผูร้ บั จ้างไม่เข้าใจในรูปแบบ รายการประกอบแบบ วัสดุทใ่ี ช้ หรือวิธกี ารทําก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้อง
แจ้งให้ผอู้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน เพื่อให้ผอู้ อกแบบ/สถาปนิก/
วิศวกร ชีแ้ จงข้อสงสัยนัน้ ๆ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร หรือให้รายละเอียดเป็ นแบบเพิม่ เติม ห้ามมิให้ผรู้ บั
จ้างตัดสินใจทําอย่างใดอย่างหนึ่งเอง ผลเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบทัง้ หมด
2.3.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องแต่งตัง้ ตัวแทนทีม่ ปี ระสบการณ์เหมาะสมกับงานก่อสร้างและมีอาํ นาจเต็ม เป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบควบคุมการดําเนินงานโครงการให้เป็ นไปตามรูปแบบ รายการประกอบแบบ และ
ข้อกําหนดให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ และวิธปี ฏิบตั ซิ ง่ึ เป็ นทีย่ อมรับ การลงนามในเอกสารขณะ
ปฏิบตั งิ านจะถือเป็ นความผูกพันของผูร้ บั จ้างไม่ว่ากรณีใดๆ ผูร้ บั จ้างจะยกข้ออ้างถึงการทีต่ นไม่
ทราบข้อเท็จจริงต่างๆ เพื่อประโยชน์ของตนมิได้ ซึง่ ต้องมีอย่างน้อยตามจํานวน ต่อไปนี้
(1) งานสถาปตั ยกรรม ต้องมี สามัญสถาปนิก อย่างน้อย 1 คน
(2) งานโครงสร้าง ต้องมี สามัญวิศวกรโยธา อย่างน้อย 1 คน
(3) งานระบบไฟฟา ้ ต้องมี สามัญวิศวกรไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน
(4) งานระบบเครื่องกลและงานสุขาภิบาล ต้องมี สามัญวิศวกรเครื่องกล อย่างน้อย 1 คน
ทัง้ นี้ตอ้ งทําหนังสือแต่งตัง้ พร้อมประวัตกิ ารทํางาน และใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรควบคุม
ตามพระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ.2542 และ/หรือใบอนุญาตประกอบวิชาชีพสถาปตั ยกรรมควบคุม
ตามพระราชบัญญัตสิ ถาปนิก พ.ศ.2543
2.3.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดช่างฝีมอื ตามประเภทของงาน ผูว้ ่าจ้าง/ตัวแทนผูว้ ่าจ้างมีอาํ นาจทีจ่ ะให้ผรู้ บั จ้าง
ถอนผูใ้ ดผูห้ นึ่งออกจากงานทันที เมื่อผูว้ ่าจ้าง/ตัวแทนผูว้ ่าจ้างเห็นว่าผูน้ นั ้ ประพฤติมชิ อบ หรือไร้
สมรรถภาพหรือปล่อยปละละทิง้ งาน ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาผูท้ ม่ี คี วามสามารถมาเปลีย่ นโดยทันที
2.3.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องทํารายงานตามแบบฟอร์มตามกําหนดระยะเวลาทีผ่ วู้ ่าจ้าง/ตัวแทนผูว้ ่าจ้างกําหนดให้
เพื่อแสดงรายละเอียดการทํางานต่างๆ
2.3.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดวางผังการก่อสร้างให้ถูกต้องตามรูปแบบ ตลอดจนการแก้ไขทีต่ งั ้
ระดับ ขนาด และแนวต่างๆ ของงาน จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์และแรงงานให้พอเพียง หากมีการวาง
ผังผิดพลาดจะต้องแก้ไขใหม่ให้เป็ นทีเ่ รียบร้อย ผูร้ บั จ้างจะต้องบํารุงรักษา หลักฐาน แนว หมุด
เครื่องหมายต่างๆ ทีใ่ ช้ในการวางผังให้คงสภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ
2.3.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องบํารุงรักษาซ่อมแซมถนน สะพาน หรือเขือ่ น ทีใ่ ช้ผ่านไปยังสถานทีก่ ่อสร้าง เพื่อ
หลีกเลีย่ งผลเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกเส้นทางทีเ่ หมาะสมกับยานพาหนะทีจ่ ะต้องผ่าน เมื่อมีขอ้
กล่าวหาว่า ผูร้ บั จ้างทําสะพาน ถนน หรือเขือ่ นเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซม แก้ไข หรือ
ทําใหม่ ให้อยูใ่ นสภาพเดิมทันที

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 5 of 521

2.3.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามพระราชบัญญัตแิ รงงานสัมพันธ์ พ.ศ.2518 ทุกประการ ตลอดจนกฎข้อบังคับต่างๆ


ของท้องทีแ่ ละตามคําสังของผู ่ ว้ า่ จ้างหรือตัวแทนผูว้ ่าจ้าง
2.3.8 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดส่งตัวอย่างเพื่ออนุมตั แิ ละสังซื ่ อ้ ในเวลาอันเหมาะสม
2.3.9 บรรดาวัสดุสงิ่ ของทีใ่ ช้ในการก่อสร้างทุกชนิดทีป่ รากฏในรูปแบบก่อสร้างและรายการประกอบแบบ หรือ
ไม่ได้ระบุแต่จาํ เป็ นต้องนํามาประกอบงานก่อสร้าง จะมีในท้องตลาดหรือขาดตลาด หรือมีไม่พอ เป็ นหน้าที่
ของผูร้ บั จ้างจะต้องเตรียมการเอาไว้ล่วงหน้า ทัง้ วัสดุเทียบเท่าเพื่ออนุมตั ิ ผูร้ บั จ้างจะต้องอ้างว่าไม่มใี น
ท้องตลาดหรือขาดตลาด หรือต้องสังจากต่ ่ างประเทศ หรือต้องสังทํ
่ า หรือต้องรอให้ครบอายุการใช้งาน แล้ว
นําเหตุผลเหล่านัน้ ไปเป็ นข้ออ้าง เป็ นเหตุให้การก่อสร้างต้องชะงัก หรือล่าช้าไม่ทนั กําหนดสัญญา และขอต่อ
อายุสญ ั ญาไม่ได้ เป็ นหน้าทีโ่ ดยตรงของผูร้ บั จ้างทีจ่ ะต้องวางแผนงานให้รอบคอบก่อนลงมือดําเนินการ
ก่อสร้าง
2.3.10 ผูร้ บั จ้างจะต้องเก็บรักษาวัสดุ เครื่องมืออย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ในกรณีทม่ี กี ารบกพร่องผูอ้ อกแบบ/
สถาปนิก/วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงาน จะแนะนําให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ิ จัดหา หรือระวังรักษาให้ดขี น้ึ เป็ นหน้าที่
ของผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ าม
2.3.11 ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูด้ าํ เนินการทดสอบคุณภาพวัสดุ สิง่ ของ เพือ่ ให้ได้คุณภาพตรงตามทีร่ ะบุในรายการ
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นของผูร้ บั จ้าง
2.3.12 ในกรณีทผ่ี อู้ อกแบบ/สถาปนิก/วิศวกร ต้องการให้มกี ารทดสอบคุณภาพ ณ โรงงาน หรือต้องการใบรับรอง
จากผูผ้ ลิตสิง่ ของใดๆ ก็ตามทีจ่ ะนํามาใช้ ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการนี้ทงั ้ หมด
2.3.13 วัสดุสงิ่ ของทัง้ หมดทีผ่ รู้ บั จ้างสังมายั
่ งหน่วยงาน จะต้องเป็ นของใหม่ ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน จะต้อง
บรรจุลงในหีบห่อเรียบร้อยจากโรงงาน หรือมีใบสังของจากโรงงานกํ ่ ากับ และจะต้องเป็ นวัสดุสงิ่ ของทีม่ ี
คุณภาพชัน้ หนึ่งถูกต้องและมีจาํ นวนพอเพียง วัสดุสงิ่ ของทีไ่ ม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ผูร้ บั จ้างจะต้องนําออก
นอกบริเวณหน่วยงานก่อสร้างทันที
2.3.14 ในงานบางส่วนทีจ่ าํ เป็ นจะต้องทํา หรือจัดทําเป็ นตัวอย่างในหน่วยงาน เพื่อแสดงถึงคุณภาพ เป็นมาตรฐาน
ในการปฏิบตั งิ าน ผูร้ บั จ้างจะต้องเก็บรักษาตัวอย่างทีไ่ ด้รบั อนุมตั แิ ละดําเนินการตามนัน้
2.3.15 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบไม่ให้เกิดเรื่องก่อความรําคาญ หรือเดือดร้อนต่อทรัพย์สนิ หรือบุคคลในบริเวณ และ
บริเวณใกล้เคียงการก่อสร้างโดยเด็ดขาด
2.3.16 ในระหว่างการทํางานตามสัญญานี้ เมื่อใดก็ตามทีผ่ วู้ ่าจ้าง/ตัวแทนผูว้ ่าจ้าง เห็นว่าจะต้องเร่งงาน ผูร้ บั จ้าง
จะต้องปฏิบตั ติ ามคําสังและคํ ่ าแนะนําของผูว้ ่าจ้าง/ตัวแทนผูว้ ่าจ้างทีจ่ ะให้หยุดงานในทีแ่ ห่งหนึ่ง แล้วย้าย
คนงานไปยังทีอ่ กี แห่งหนึ่งเพื่อความเหมาะสม ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามในการสังการนั ่ น้
2.3.17 เพื่อให้การดําเนินงานก่อสร้างบรรลุเป้าหมายโดยเรียบร้อยและปลอดภัย ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง และคําสังของผู ่ ค้ วบคุมงานโดยไม่มเี งื่อนไข
หรือข้อเรียกร้องอื่นใด
2.3.18 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหายามประจํา เพื่อดูแลรักษาความปลอดภัยในบริเวณงานก่อสร้างตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
งานตามสัญญา จํานวนยามทีใ่ ช้ให้พจิ ารณาตามเหมาะสม โดยได้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ ่าจ้าง/ ตัวแทนผูว้ ่า
จ้าง

จบหมวดที่ 2

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 6 of 521

หมวดที่ 3
การประสานงาน

1. การให้ความร่วมมือต่อผูค้ วบคุมงานและวิศวกร
ผูร้ บั จ้างต้องให้ความร่วมมือต่อผูค้ วบคุมงาน และวิศวกรในการทํางานตรวจสอบ วัด เทียบ จัดทําตัวอย่าง
และอื่นๆ ตามควรแก่กรณี
2. การประชุมโครงการ
ผูร้ บั จ้างต้องเข้าร่วมประชุมโครงการ และประชุมในหน่วยงานซึง่ จัดให้มขี น้ึ เป็ นระยะๆ ซึง่ ตัวแทนผูร้ บั จ้างและ
ผูเ้ ข้าร่วมประชุมต้องมีอาํ นาจในการตัดสินใจสังการและทราบรายละเอี
่ ยดของโครงการและการสังการของผู
่ ว้ า่ จ้างได้
เป็ นอย่างดี
3. การประสานงานด้านสาธารณูปโภค
ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูจ้ ดั หานํ้าประปา ไฟฟ้า โทรศัพท์ ฯลฯ ซึง่ เกีย่ วพันกับระบบงานในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
สําหรับใช้ในการก่อสร้าง
3.1 ผูร้ บั จ้างต้องประสานงานกับผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเกีย่ วกับค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ระหว่างการก่อสร้าง ซึง่ อยู่ในความ
รับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับปริมาณ ขนาด และรายละเอียดอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ น และดําเนินการติดต่อกับ
หน่วยงานต่างๆ ของรัฐ หรือเอกชน ในการขออนุมตั ใิ ช้บริการดังกล่าว
4. การประสานงานในด้านมัณฑนาการ
หากพืน้ ทีใ่ ดของอาคารทีเ่ กีย่ วข้องกับการตกแต่ง ทัง้ ทีร่ ะบุไว้ในแบบก่อสร้าง หรือทราบว่าจะมีการตกแต่งใน
ภายหลัง ผูร้ บั จ้างต้องประสานงานกับสถาปนิก และมัณฑนากรโดยใกล้ชดิ ตามทีผ่ คู้ วบคุมงานร้องขอ
5. การรักษาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องขนขยะมูลฝอย เศษวัสดุ และสิง่ ของเหลือใช้ ออกจากพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านทุกวัน โดยนําไปทิง้ รวมกันใน
บริเวณส่วนกลางทีจ่ ดั ไว้ให้ ถ้ามิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ บั จ้างต้องร่วมเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการกําจัดขยะมูล
ฝอยต่างๆ ออกจากบริเวณโครงการ
6. การรักษาความปลอดภัย
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบในการรักษาความปลอดภัยด้านต่างๆ ภายในสถานทีก่ ่อสร้าง
7. การติดต่อหน่วยงานรัฐและค่าธรรมเนียม
ถ้ามิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ บั จ้างต้องมีหน้าทีเ่ ป็ นผูต้ ดิ ต่อประสานงานกับหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน เรื่อง
การทดสอบวัสดุ-อุปกรณ์ หรือการทดสอบระบบต่างๆ เพื่อให้ได้มาซึง่ ความสมบูรณ์ของงานและระบบประกอบ
อาคารนัน้ โดยค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการติดต่อดําเนินงานรวมถึงค่าธรรมเนียมทีเ่ รียกเก็บเป็ นความรับผิดชอบของผู้
รับจ้างทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 3

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 7 of 521

หมวดที่ 4
การเตรียมสถานที่

1. ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานทีก่ อ่ สร้างด้วยตนเองก่อนยื่นเสนอราคา และขอคําชีแ้ จงเพิม่ เติม (ถ้ามี) โดยผูว้ ่าจ้างถือ


ว่าผูร้ บั จ้างได้ทราบ และเข้าใจสภาพของสถานทีช่ ดั เจนดีแล้ว
2. ผูร้ บั จ้างต้องทําการปรับพืน้ ทีโ่ ดยการรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างเดิม เช่น ทางเดิน รัว้ หรืออาคาร โยกย้ายระบบ
สาธารณูปโภค (ถ้ามี) ล้อมย้ายต้นไม้ ตลอดจนงานอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับสถานทีก่ ่อสร้างเพื่อให้งานในสัญญาดําเนิน
ต่อไปโดยเรียบร้อย ทัง้ นี้จะต้องขอความเห็นชอบและได้รบั อนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างก่อนถึงจะดําเนินการได้
2.1 ผูร้ บั จ้างต้องรือ้ ย้ายให้เป็ นไปตามรูปแบบและรายการประกอบแบบ หากการก่อสร้างจําเป็ นต้องรือ้ ถอนสิง่ ที่
มิได้กาํ หนดไว้ ผูร้ บั จ้างต้องเสนอขออนุมตั ติ ่อผูว้ ่าจ้างก่อนดําเนินการ
2.2 พืน้ ทีบ่ ริเวณทีถ่ ูกรือ้ จะต้องกลบเกลีย่ ให้ได้ระดับและมีสภาพเช่นเดียวกับพืน้ ทีร่ อบๆ
2.3 วัสดุทร่ี อ้ื ถอนแล้ว ผูว้ ่าจ้างจะกําหนดให้ผรู้ บั จ้างนําไปทิง้ ในทีซ่ ง่ึ ผูว้ ่าจ้างกําหนด หรือในทีซ่ ง่ึ ผูร้ บั จ้างจัดหาไว้
เอง
2.4 วัสดุทน่ี ําไปใช้ประโยชน์ได้อกี หรือโบราณวัตถุทม่ี คี ่า ให้ผรู้ บั จ้างทําบัญชีรายการวัสดุพร้อมทัง้ ส่งมอบวัสดุให้
ผูว้ ่าจ้างภายใน 30 วัน นับแต่การรือ้ ถอนแล้วเสร็จ
2.5 ในกรณีทม่ี กี ารโยกย้ายระบบสาธารณูปโภคซึง่ ต้องเกีย่ วข้องกับหน่วยงานอื่น ให้ผรู้ บั จ้างประสานงานกับ
หน่วยงานนัน้ ๆ โดยมีหนังสือรับรองหรือมอบอํานาจประสานงานจากผูว้ ่าจ้าง
2.6 ผูร้ บั จ้างต้องระวังรักษาและป้องกันมิให้เกิดความเสียหายแก่สงิ่ ก่อสร้าง และสิง่ แวดล้อม เช่น อาคาร ถนน
สนาม ต้นไม้ ฯลฯ ทีม่ อี ยูใ่ นบริเวณซึง่ มิได้กดี ขวางการก่อสร้าง ให้อยูใ่ นสภาพเรียบร้อยโดยเฉพาะต้นไม้
หากปรากฏว่าผูร้ บั จ้างทําให้เกิดความเสียหายต่อสิง่ ต่างๆ ดังทีไ่ ด้กล่าวแล้วข้างต้น ไม่ว่าจะเป็ นสิง่ ทีอ่ ยู่ใน
บริเวณทีก่ ่อสร้างหรือนอกบริเวณ ผูร้ บั จ้างต้องซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพเดิมโดยเร็ว
3. ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มสี งิ่ อํานวยความสะดวกและสิง่ ปลูกสร้างชัวคราวในบริ
่ เวณสถานทีก่ ่อสร้าง เช่น สํานักงานประจํา
หน่วยงาน ป้ายโครงการ เป็ นต้น ทัง้ นี้รปู แบบและสถานทีต่ งั ้ ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเสียก่อนจึง
จะดําเนินการได้
3.1 ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการให้เรียบร้อยภายใน 10 วัน นับจากวันทีส่ ง่ มอบสถานที่
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดสร้างสํานักงานสนามประจําหน่วยงานก่อสร้างทัง้ ของผูร้ บั จ้างและผูค้ วบคุมงาน โดยผูว้ ่าจ้าง
กําหนดให้มเี นื้อทีใ่ ช้สอยทีเ่ หมาะสม สามารถป้องกันแดดและฝน มีแสงสว่าง การระบายอากาศ และระบบ
ปรับอากาศทีพ่ อเพียง และมีหอ้ งนํ้า ห้องส้วม อุปกรณ์ เครื่องใช้สาํ นักงาน เครื่องโทรสาร คอมพิวเตอร์ และ
เครื่องถ่ายเอกสารทีเ่ หมาะสมเพียงพอกับการควบคุมงานก่อสร้างของตัวแทนผูว้ ่าจ้าง ดังนี้
(1) โต๊ะพร้อมเก้าอี้ 1 ชุด
(2) เครื่องโทรศัพท์และโทรสาร พร้อมคู่สาย 1 ชุด
(3) เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ชุด
(4) เครื่องถ่ายเอกสาร ตามเหมาะสม
3.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําป้ายชื่อโครงการและชื่อผูร้ บั จ้างตามรูปแบบมาตรฐานทีร่ ายการประกอบแบบกําหนดและ
ได้รบั การอนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างก่อนดําเนินการ หรือตามรูปแบบทีผ่ วู้ ่าจ้างเห็นชอบให้ดาํ เนินการ โดยห้ามติดตัง้
เครื่องหมายการค้าและป้ายโฆษณาทุกชนิดในบริเวณทีก่ ่อสร้าง เว้นแต่จะได้รบั อนุญาตจากผูว้ ่าจ้างเป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 8 of 521

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 9 of 521

รูปแบบมาตรฐานป้ายโครงการก่อสร้าง ขนาด 1.20 X 2.40 ม.

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 10 of 521

หมายเหตุ
(1) แผ่นป้ายเป็ นแผ่น STICKER พิมพ์ดว้ ย INK JET ปิ ดบนแผ่นพลาสติกลูกฟูก (Polypropylene Corrugated Board
หนาไม่น้อยกว่า 3 มม.) โดยแผ่นป้ายดังกล่าวจะติดตัง้ ทับบนแผ่นไม้อดั หนา 6 มม. ซึง่ ทาสีดา้ นหลัง
(2) ขนาดตัวอักษร ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ สูง 8-10 ซม. สถานทีต่ ดิ ต่อ สูง 3-5 ซม. รายละเอียดข้อความ สูง 2-5
ซม. และข้อความท้ายป้าย สูง 5-10 ซม. รูปแบบตัวอักษร PSL Natrinthorn, PSL Text Regular หรือ EAC Paetai
Regular
(3) สีของป้ายและตัวอักษร ให้ขออนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างก่อนการดําเนินการติดตัง้

3.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดสร้างโรงเก็บวัสดุทส่ี ามารถกันแสงแดด กันฝนสาด และเพียงพอกับปริมาณของวัสดุทจ่ี าํ เป็ นต้องเก็บ


สํารองไว้ในการก่อสร้าง ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องดูแลเรื่องความปลอดภัย ความสะอาด และความเรียบร้อยตลอดระยะเวลา
ก่อสร้าง
3.5 ผูร้ บั จ้างต้องจัดสร้างรัว้ รอบโครงการ และประตูทางเข้าโครงการก่อสร้าง เพื่อป้องกันอันตรายต่างๆ อันอาจเกิดขึน้
แก่บุคคลและทรัพย์สนิ ในบริเวณงานและบริเวณข้างเคียง โดยรัว้ ต้องมีความมันคงแข็ ่ งแรง มีการดูแลบํารุงรักษาให้
อยู่ในสภาพดีตลอดเวลาก่อสร้าง ซึง่ ผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูก้ าํ หนดแนวรัว้ รอบโครงการให้ และหากเกิดความเสียหายขึน้
ซึง่ เป็ นผลมาจากความบกพร่องของรัว้ ผูร้ บั จ้างจะต้องซ่อมแซม ชดใช้ หรือเปลีย่ นใหม่ให้เหมาะสมคงสภาพใช้งาน
ได้ตามเดิม โดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
3.6 ผูร้ บั จ้างต้องจัดสร้างบ้านพักคนงาน พร้อมทัง้ ระบบสาธารณูปโภคทีเ่ พียงพอ โดยจัดสร้างให้เรียบร้อยและถูก
สุขลักษณะ และได้รบั การอนุมตั ติ ําแหน่งการก่อสร้างจากผูว้ ่าจ้างก่อนจึงจะก่อสร้างได้
3.7 เมื่องานแล้วเสร็จผูร้ บั จ้างจะต้องรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างชัวคราวต่
่ างๆ ออกจากบริเวณทีก่ ่อสร้าง
3.8 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําบ่อล้างล้อสําหรับล้างล้อรถทีเ่ ข้าสูส่ ถานทีก่ ่อสร้างตามมาตรฐานเพื่อมิให้กระทบหรือสกปรกแก่
ถนนทีม่ อี ยู่เดิมของผูว้ ่าจ้าง และจะต้องทําการล้างถนนเป็ นประจําสมํ่าเสมอ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 11 of 521

3.9 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารายงานการสํารวจเส้นทางสัญจรจากภายนอกสถานทีก่ ่อสร้างสูส่ ถานทีก่ ่อสร้างเพื่อตรวจสอบว่ามี


ส่วนชํารุดบกพร่องหรือไม่หากเกิดความเสียหายของเส้นทาง,ถนน หรืออื่น ๆ ผูร้ บั จ้างต้องทําการซ่อมแซมให้

ภาพประกอบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 12 of 521

4. ผูร้ บั จ้างต้องทําการสํารวจ วางแนว และระดับของผังโครงการ ไม่ว่าจะเป็ นถนน ท่อระบายนํ้า ขอบเขตบริเวณทีด่ นิ


ปกั ผังอาคารให้ถูกต้องตามรูปแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 13 of 521

4.1 ผูร้ บั จ้างต้องทําการสํารวจตรวจสอบพืน้ ทีก่ ่อสร้างก่อนการวางผัง เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของแผนผังใน


การดําเนินงาน หากมีปญหาเรื ั ่องของเขตจะต้องเสนอการปรับเปลีย่ นแบบก่อสร้าง เพื่อขอความเห็นชอบ
จากผูอ้ อกแบบให้อนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
4.2 ผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูช้ ต้ี ําแหน่งหมุดหลักเขตของกรมทีด่ นิ หรือเอกสารอื่นๆ ของผูว้ ่าจ้าง บริเวณทีก่ อ่ สร้าง และ
กําหนดหมุด ค่าระดับมาตรฐาน (B.M.)
4.3 ก่อนดําเนินการใดๆ ผูร้ บั จ้างต้องทํา REFERENCE POINT ของหมุดหลักเขตไว้ และถ่ายระดับเพื่อ
กําหนดค่าระดับมาตรฐานย่อยในบริเวณโครงการ
4.4 ระดับและแนวต่างๆ ต้องได้รบั การตรวจสอบและรับรองว่าถูกต้องจากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างก่อน จึงจะดําเนินการ
ก่อสร้างได้ และผูร้ บั จ้างต้องขอเข้าดําเนินการอย่างถูกต้องและเป็ นทางการ
4.5 ผูร้ บั จ้างต้องรักษาหลัก CONTROL POINT ในบริเวณก่อสร้างทีผ่ วู้ ่าจ้างจัดไว้ให้อยู่ในสภาพและตําแหน่งคง
เดิมเป็ นทีเ่ รียบร้อยตลอดเวลาทีท่ าํ การก่อสร้าง จะถอดถอนได้ต่อเมื่อได้รบั ความเห็นชอบจากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง
แล้ว
5. กําหนดให้ผรู้ บั จ้างติดตัง้ วงจรปิดขนาด 8 ช่องสัญญาณในบริเวณงานก่อสร้างตลอดจนระยะเวลาก่อสร้างงานตาม
สัญญา จํานวน 1 ชุด คํานวณราคาวงจรปิ ด เป็ นเงิน 24,000 บาท

จบหมวดที่ 4

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 14 of 521

หมวดที่ 5
การเตรียมวัสดุ – อุปกรณ์

1. สิง่ ของทีป่ รากฏอยู่ในรูปแบบ และรายการประกอบแบบ หรือมิได้ปรากฏในรูปแบบและรายการประกอบแบบ


แต่จาํ เป็ นต้องใช้เป็ นส่วนประกอบในการก่อสร้างนี้ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหามาเองทัง้ สิน้
2. ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ และเครื่องผ่อนแรง ทีม่ ปี ระสิทธิภาพและความปลอดภัย สําหรับ
ใช้ในการปฏิบตั งิ าน เป็ นชนิดทีเ่ หมาะสม เพื่อให้งานก่อสร้างดําเนินการไปตามสัญญา และได้ผลงานทีถ่ ูกต้อง
สมบูรณ์ตามรูปแบบและรายการประกอบแบบทุกประการ อีกทัง้ จํานวนเพียงพอกับปริมาณงาน ผูว้ ่าจ้างมีสทิ ธิที์ จ่ ะ
ขอให้ผรู้ บั จ้างเปลีย่ นแปลง หรือเพิม่ จํานวนให้เหมาะสมกับการใช้งาน
3. ผูร้ บั จ้างต้องขออนุมตั วิ สั ดุ-อุปกรณ์ทร่ี ะบุในรูปแบบและ/หรือรายการประกอบแบบกําหนดก่อนการดําเนินงานใดๆ
โดยต้องส่งตัวอย่างวัสดุ รวมทัง้ เอกสารแนะนําตามทีร่ ายการประกอบแบบกําหนด หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงาน
เห็นสมควร ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างมีความจําเป็ นจะต้องใช้วสั ดุเทียบเท่าวัสดุทบ่ี ่งในรูปแบบและ/หรือรายการประกอบ
แบบ ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารายละเอียดแสดงความจําเป็ นทีต่ อ้ งใช้วสั ดุชนิดนัน้ ๆ แทน และให้แสดงหลักฐาน
เปรียบเทียบคุณภาพและราคาให้ชดั เจน เสนอผูค้ วบคุมงานและคณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบ
4. กรณีทว่ี สั ดุก่อสร้างถูกกําหนดคุณสมบัตโิ ดยอ้างอิงมาตรฐานต่างๆ เช่น มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม เป็ นต้น
ผูว้ ่าจ้างจะทดสอบหรือไม่กไ็ ด้ทงั ้ ในการขออนุมตั ใิ ช้และระหว่างการใช้งาน โดยการทดสอบจะกระทําเฉพาะ
คุณสมบัตทิ ก่ี าํ หนดหรือทีต่ อ้ งการเท่านัน้ และต้องนําไปทดสอบโดยห้องปฏิบตั กิ ารทีผ่ วู้ ่าจ้างเห็นชอบ กรณีทผ่ี ู้
รับจ้างเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมายผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมตามทีก่ าํ หนดแล้ว ไม่ตอ้ งทําการ
ทดสอบเพื่อขออนุมตั ใิ ช้
5. ห้ามนําวัสดุอุปกรณ์ทุกชนิดนอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบ และ/หรือรายการประกอบแบบเข้ามาบริเวณก่อสร้าง
โดยเด็ดขาด ถ้าปรากฏว่ามีการนําเข้าให้ถอื ว่าส่อเจตนาทุจริต คณะกรรมการตรวจการจ้างมีสทิ ธิพิ์ จารณาตัดสินให้
ชดใช้และทําใหม่ทงั ้ หมด โดยผูร้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมและถือเป็ นข้ออ้างในการขอต่ออายุสญ ั ญาจ้างไม่ได้

จบหมวดที่ 5

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 15 of 521

หมวดที่ 6
แผนการดาเนิ นงาน การรายงานผลงานก่อสร้างและระบบความปลอดภัย

ผูร้ บั จ้างต้องเตรียมแผนการทํางานทัง้ วัสดุ-อุปกรณ์ บุคลากร แรงงาน การประสานงาน และการประเมินผลการ


ปฏิบตั งิ านเพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ให้การดําเนินงานทุกอย่างบรรลุวตั ถุประสงค์ โดยผูร้ บั จ้างต้องมีบุคลากรทีม่ ี
ความรูค้ วามสามารถในการวิเคราะห์แผนงานก่อสร้าง การทําแผนงานวิกฤต (CRITICAL PATH METHOD) และการ
จัดการโครงการ (PROJECT MANAGEMENT) ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องเตรียมข้อมูลในการปฏิบตั งิ านและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อ
ปรับปรุงแก้ไขแผนงานต่างๆ ให้เป็ นไปตามแผนงานหลัก
1. แผนงานหลัก (MASTER SCHEDULE)
1.1 ก่อนเริม่ ดําเนินการก่อสร้างผูร้ บั จ้างต้องเตรียมแผนงานหลักให้แล้วเสร็จภายใน 10 วัน โดยแสดง
ความสัมพันธ์ของกิจกรรมหลักทัง้ หมดในโครงการ เพื่อรับความเห็นชอบจากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างก่อนลงมือ
ทํางาน
1.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมบัญชีรายการกิจกรรมก่อสร้างทีเ่ กีย่ วกับโครงการ และระยะเวลาทีต่ อ้ งดําเนินการของ
แต่ละกิจกรรม เพื่อการวางแผนงานวิกฤตของโครงการ และความสัมพันธ์ของแต่ละกิจกรรม การทําแผนการ
ดําเนินงานขัน้ ละเอียดของกิจกรรมย่อยให้แยกขยายออกจากงานของกิจกรรมหลักต่างหาก
1.3 ในกรณีทก่ี ารดําเนินงานล่าช้ากว่าแผนงานหลักเป็ นเวลาตัง้ แต่ 30 วันขึน้ ไป ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งแผนเร่งรัด
งาน เพื่อให้โครงการเป็ นไปตามแผนงานหลัก
1.4 ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งแผนงานแก่ทุกฝา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องในกิจกรรมต่างๆ ของโครงการ รวมถึงผูอ้ อกแบบและผูว้ ่าจ้าง
2. แผนงานการจัดบุคลากรและแรงงาน (MANPOWER SCHEDULE)
ในกรณีทก่ี ารดําเนินงานล่าช้ากว่าแผนงานหลักเป็ นเวลาตัง้ แต่ 30 วันขึน้ ไป ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําแผนงานการจัด
บุคลากรและแรงงานเสนอต่อผูค้ วบคุมงานพร้อมแผนเร่งรัดงาน เพื่อให้โครงการเป็ นไปตามแผนงานหลัก โดยแสดง
รายละเอียดดังนี้
2.1 รายละเอียดขัน้ ตอนการดําเนินงาน
2.2 ปริมาณบุคลากรและแรงงานทีป่ ฏิบตั งิ าน
2.3 ระยะเวลาการปฏิบตั งิ าน
2.4 แผนงบประมาณของผูว้ ่าจ้าง
2.5 แผนงบประมาณของผูร้ บั จ้าง
3. แผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อการอนุมตั วิ สั ดุ (MATERIALS APPROVE SCHEDULE)
หลังจากทีผ่ รู้ บั จ้างจัดทําแผนงานหลักแล้ว ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําแผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อการ
อนุมตั วิ สั ดุ-อุปกรณ์ต่างๆ โดยแสดงรายละเอียดดังนี้
3.1 วัน เดือน ปี ทีส่ ง่ เรื่องขออนุมตั ิ
3.2 หมายเลขหมวดของวัสดุ ผลิตภัณฑ์ทข่ี ออนุมตั ิ
3.3 แสดงรายละเอียด หรืออธิบายส่วนของงานทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั รายการนําเสนอขออนุมตั ิ
ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องคํานึงถึงเวลาการตรวจสอบของผูค้ วบคุมงาน การพิจารณาของผูอ้ อกแบบ และการ
พิจารณาอนุมตั ขิ องกรรมการตรวจการจ้าง รวมถึงเวลาทีผ่ รู้ บั จ้างต้องนําเสนอเอกสารใหม่ กรณีทเ่ี อกสารไม่
ถูกต้อง หรือไม่ครบถ้วน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 16 of 521

4. แผนการทํางานล่วงหน้า
ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําแผนการทํางาน และรายละเอียดของงานเสนอต่อผูค้ วบคุมงานเพื่อประกอบการขออนุมตั ทิ าํ งาน
ล่วงหน้าดังต่อไปนี้
4.1 แผนการทํางานล่วงหน้ารายวัน (DAILY REQUEST) ประกอบด้วย
(1) ตําแหน่งและปริมาณงานก่อสร้างในวันถัดไป
(2) จํานวนบุคลากรและแรงงานทีเ่ ข้าปฏิบตั งิ านในวันถัดไป
(3) ปริมาณเครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์ทใ่ี ช้ปฏิบตั งิ านในวันถัดไป
โดยจัดส่งให้ผคู้ วบคุมงานล่วงหน้าก่อนการดําเนินงาน 1 วัน หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
4.2 แผนการทํางานล่วงหน้ารายสัปดาห์ (WEEKLY REQUEST) ประกอบด้วย
(1) ตําแหน่งและปริมาณงานก่อสร้างพร้อมเวลาแล้วเสร็จของงานในรอบสัปดาห์ถดั ไป
(2) จํานวนบุคลากรและแรงงานทีเ่ ข้าปฏิบตั งิ านในรอบสัปดาห์ถดั ไป
(3) ปริมาณเครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์ทใ่ี ช้ปฏิบตั งิ านในรอบสัปดาห์ถดั ไป
โดยจัดส่งให้ผคู้ วบคุมงานภายในวันสุดท้ายของแต่ละสัปดาห์ หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
4.3 แผนการนําเครื่องจักร วัสดุ และอุปกรณ์เข้าหน่วยงาน (MATERIALS DELIVERY)
ผูร้ บั จ้างต้องแสดงชนิด ปริมาณ และกําหนดการนําเข้าของเครื่องจักร วัสดุ หรืออุปกรณ์ โดยจัดส่งให้ผู้
ควบคุมงานล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน เพื่อทีผ่ คู้ วบคุมงานจะสามารถประสานงานกับผูว้ ่าจ้างในกรณีทก่ี าร
นําเข้านัน้ มีผลกระทบกับบุคคลอื่นๆ เช่น กีดขวางถนน หรือต้องปิ ดการจราจรชัวคราว ่ เป็ นต้น
4.4 แผนการทํางานนอกเวลาทําการปกติ (OVERTIME REQUEST)
หากผูร้ บั จ้างมีความประสงค์ทจ่ี ะทํางานในช่วงเวลาทํางานทีเ่ กินเวลา 8 ชัวโมง่ ในวันทํางานปกติ (วันจันทร์
ถึงวันเสาร์) และทํางานล่วงเวลาในวันอาทิตย์ วันนักขัตฤกษ์ หรือวันทีท่ างราชการกําหนดให้เป็น
วันหยุดราชการ ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน โดยแสดงรายละเอียด
ปริมาณงาน และตําแหน่งของงาน เพื่อขออนุมตั ทิ าํ งานล่วงเวลา ผูค้ วบคุมงานจะพิจารณาอนุมตั ติ ามความ
เหมาะสม ในกรณีทก่ี ารทํางานนัน้ จําเป็ นต้องมีผคู้ วบคุมงานอยู่ควบคุม ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูร้ บั ภาระออก
ค่าใช้จ่ายในการทํางานล่วงเวลาของผูค้ วบคุมงาน
5. การรายงานความก้าวหน้าของงาน
5.1 ผูร้ บั จ้างต้องบันทึกรายละเอียดต่างๆ ของงานทีท่ าํ และเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในแต่ละวัน สรุปเป็ นรายงานนําส่ง
ให้ผคู้ วบคุมงาน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
5.1.1 ปริมาณงานและตําแหน่งงานทีป่ ฏิบตั จิ ริง และผลการดําเนินงาน หมายรวมถึง
(1) งานทีแ่ ก้ไขเปลีย่ นแปลงตามทีผ่ วู้ ่าจ้างหรือผูค้ วบคุมงานสังดํ
่ าเนินการ
(2) การปฏิบตั งิ านนอกเวลาการทํางานปกติ
(3) การปฏิบตั งิ านฉุกเฉิน และ/หรือเฉพาะกิจ
(4) การเชื่อมต่อ หรือตัด หรือเลิกใช้ สาธารณูปโภค หรือส่วนบริการอื่นๆ
(5) การทดลอง ทดสอบ ระบบ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
(6) การแก้ไขรายละเอียด ส่วนงานทีย่ งั ไม่เรียบร้อย เพื่อการมอบงาน
(7) การนําเข้าเครื่องจักร วัสดุ หรืออุปกรณ์
(8) การหยุดงาน และสาเหตุ
5.1.2 อุบตั เิ หตุ (จํานวนครัง้ ลักษณะ และการดําเนินการ)
5.1.3 จํานวนบุคลากรและแรงงานทีป่ ฏิบตั งิ าน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 17 of 521

5.1.4 จํานวนเครื่องจักร วัสดุ หรืออุปกรณ์ทใ่ี ช้ปฏิบตั งิ าน


5.1.5 สภาพภูมอิ ากาศทัวไป ่
5.2 การนําส่งรายงานความก้าวหน้าของงาน ให้ผรู้ บั จ้างนําส่งให้ผคู้ วบคุมงานหลังจากการปฏิบตั งิ านประจําวัน ประจํา
สัปดาห์ และประจําเดือน
5.2.1 รายงานประจําวัน (DAILY REPORT)
ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งให้ผคู้ วบคุมงานภายหลังเลิกงานของวันนัน้ ๆ หรือก่อนเริม่ งานในวันถัดไป หรือตามทีผ่ ู้
ควบคุมงานกําหนดให้
5.2.2 รายงานประจําสัปดาห์ (WEEKLY REPORT)
ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งให้ผคู้ วบคุมงานภายในวันแรกของสัปดาห์ถดั ไป หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
5.2.3 รายงานประจําเดือน (MONTHLY REPORT)
ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งให้ผคู้ วบคุมงานภายในสัปดาห์แรกของเดือนถัดไป หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
6. การนําเสนอและรายงาน ระบบจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
6.1 รายละเอียดงานจัดการความปลอดภัย
6.1.1 กําหนดให้มคี ่าใช้จ่ายเกีย่ วกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างในโครงการ
ก่อสร้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางานแก่ลกู จ้างทีป่ ฏิบตั งิ านโน
โครงการซึง่ ถือว่าผูร้ บั จ้างได้คาํ นวณค่าใช้จ่ายไว้แล้ว ณ วันเสนอราคา
6.1.2 กําหนดให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างทีย่ น่ื ซองประกวดราคา จัดทําเอกสารแนบท้ายเอกสารประกวดราคา
เกีย่ วกับ "ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง” ตามข้อ 6.1.1 เพื่อป้องกันและ
ควบคุมอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ตามมาตรฐานความปลอดภัยฯ ของกระทรวงแรงงานฯ และกฎหมาย
อื่นฯ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยให้กาํ หนดเฉพาะประเภทของงานก่อสร้าง คือ
(1) งานอาคารขนาดใหญ่ ทีม่ พี น้ื ทีอ่ าคารรวมกันทุกชัน้ หรือชัน้ หนึ่งชัน้ ใดในหลังเดียวกันเกิน
2,000 ตารางเมตร หรืออาคารทีม่ คี วามสูงตัง้ แต่ 15.00 เมตร ขึน้ ไปและมีพน้ื ทีอ่ าคาร
รวมกันทุกชัน้ หรือชัน้ หนึ่งชัน้ ใดในหลังเดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000
ตารางเมตร
(2) งานสะพานทีม่ คี วามยาวช่วงเกิน 30.00 เมตร หรืองานสะพานข้ามทางแยกหรือทาง
ยกระดับ หรือสะพานกลับรถยนต์ หรือทางแยกต่างระดับ
(3) งานขุด หรือซ่อมแซม หรือรือ้ ถอนระบบสาธารณูปโภค ทีล่ กึ เกิน 3.00 เมตร
(4) งานอุโมงค์ หรือทางลอด
(5) งานก่อสร้างทีม่ งี บประมาณค่าก่อสร้างเกิน 300 ล้านบาท
6.1.3 กําหนดให้ผรู้ บั จ้าง หรือผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกให้เป็ นผูร้ บั จ้างงานก่อสร้าง ตาม
ข้อ6.1.2 จัดทําแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยในการทํางานอย่างละเอียดและชัดเจน ให้สอดคล้อง
กับระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างแล้วยื่นต่อผูว้ ่าจ้างหรือเจ้าของ
โครงการฯ ก่อนการดําเนินการก่อสร้างภายใน 30 วัน นับแต่วนั เริม่ ทําสัํญ ู าว่าจ้าง
6.1.4 กําหนดให้ผคู้ ุมงานของผูว้ ่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการฯ เป็ นผูค้ วบคุม ดูแลและตรวจสอบการ
ปฏิบตั งิ านในหน่วยงานก่อสร้าง โดยให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ ตาม
ข้อ 6.1.3 หรือผูว้ ่าจ้างสามารถดําเนินการว่าจ้างทีป่ รึกษา ทีม่ คี วามสามารถ ควบคุม ดูแล
รับผิดชอบงานความปลอดภัยฯ ในการทํางานก่อสร้างโดยตรง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 18 of 521

6.1.5 กําหนดให้ผรู้ บั จ้าง หรือผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ต้องปฏิบตั กิ ารตามแผนปฏิบตั งิ านดังกล่าวตามข้อ


6.1.3 อย่างเคร่งครัด และสอดคล้องกับกฎหมาย และระเบียบทีก่ าํ หนดไว้ พร้อมรายงานผลการ
ดําเนินการตามแผนการปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ ดังกล่าว ให้ผวู้ ่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการฯ
รับทราบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้
6.2 ข้อแนะนําขัน้ ตอนและวิธกี ารดําเนินการ
ขัน้ ตอนที่ 1 การเตรียมการ
(ผูร้ บั จ้างได้ดาํ เนินการแล้วในขันตอนการเสนอราคา
้ ให้นําส่งรายชื่อแจ้งพนักงาน บุคลากร และเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัย ต่อผูว้ ่าจ้างผ่านต่อผูค้ วบคุมงานอีกครัง้ )
(1) ผูเ้ สนอราคา ต้องคํานวณปริมาณงานค่าก่อสร้างให้ครอบคลุม ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการป้องกัน
อุบตั เิ หตุและโรคเนื่องจากการทํางานทีอ่ าจเกิดขึน้ ในหน่วยงานก่อสร้างตามมาตรฐานความ
ปลอดภัยในการทํางานเกีย่ วกับงานก่อสร้างและกฎหมายอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง
(2) ผูเ้ สนอราคา ต้องเตรียมบุคลากรทีม่ คี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับการป้องกันอุบตั เิ หตุอนั ตรายที่
อาจจะเกิดขึน้ ให้เพียงพอและเหมาะสม เพื่อดําเนินการตามสัญญาว่าจ้าง
(3) ผูเ้ สนอราคาต้องเตรียมจัดทําเอกสารรายละเอียดเป็ นภาษาไทยเกีย่ วกับ “ระบบการจัดการความ
ปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง”สําหรับโครงการก่อสร้างทีจ่ ะยื่นเสนอราคาตามระเบียบหรือ
เงื่อนไขทีเ่ จ้าของโครงการกําหนดและสามารถปฏิบตั งิ านได้จริงโดยมีขอ้ กําหนดทีส่ าํ คัญๆ
ประกอบด้วย
- กําหนดนโยบายความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางาน
- การจัดองค์กรความปลอดภัยฯ ในงานก่อสร้าง และหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ
- กฎหมายและข้อกําหนดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
- การฝึกอบรมความปลอดภัยฯ
- กําหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอันตราย
- การตรวจความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
- กําหนดกฎความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
- การควบคุม ดูแลความปลอดภัยฯ ของผูร้ บั เหมาช่วง
- การตรวจสอบและการติดตามผลความปลอดภัยฯ
- การรายงานอุบตั เิ หตุ และการสอบสวน วิเคราะห์อุบตั เิ หตุ
- การรณรงค์สง่ เสริมความปลอดภัยฯ
- การปฐมพยาบาล
- การวางแผนฉุกเฉิน
- การจัดเก็บเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง
- อื่นๆ
ขัน้ ตอนที่ 2 การเสนอราคา
(1) ผูเ้ สนอราคา ต้องแนบเอกสารประกวดราคา ตามขัน้ ตอนที่ 1 ข้อ (3) พร้อมกับเอกสารอื่นๆ ทีก่ าํ หนด
ไว้ ในการยื่นซองประกวดราคาเพื่อประกอบการพิจารณา
(2) ผูเ้ สนอราคา ต้องศึกษาเอกสารดังกล่าว ตามขัน้ ตอนที่ 2 ข้อ (1) ไห้เข้าใจชัดเจน สําหรับชีแ้ จงตอบ
ข้อซักถามของคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 19 of 521

ขัน้ ตอนที่ 3 การทําสัญญาจ้าง


(1) ผูร้ บั จ้าง ต้องเตรียมรวบรวมข้อมูลพืน้ ฐานทีจ่ ะต้องมากําหนดกระบวนการของ การวางแผนให้
สอดคล้องและครอบคลุมหัวข้อหลักๆ ของระบบการจัดการความปลอดภัยฯ ทีก่ าํ หนดไว้ ตาม
ขัน้ ตอนที่ 1 ข้อ (3)
(2) ผูร้ บั จ้าง ต้องศึกษากฎหมายและข้อกําหนดต่างๆ รวมทัง้ ขัน้ ตอนและวิธกี ารก่อสร้างโครงการ
ดังกล่าวอย่างละเอียด เพื่อจัดทําแเผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ อย่างเป็ นรูปธรรมและสามารถ
ปฏิบตั ไิ ด้จริง ยื่นต่อผูว้ ่าจ้างตามทีก่ าํ หนดไว้
(3) ผูร้ บั จ้าง ต้องจัดบุคลากรทีเ่ ตรียมไว้ ตามขัน้ ตอนที่ 1 ข้อ (2) เพื่อกําหนดโครงสร้างและบทบาท
หน้าทีข่ องผูท้ เ่ี กีย่ วข้องด้านความปลอดภัยฯ ให้ชดั เจน
ขัน้ ตอนทื่ 4 การตรวจสอบและติดตามผล
(1) ผูร้ บั จ้าง ต้องส่งแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ อย่างละเอียดเเละชัดเจน ให้ผวู้ ่าจ้างตามระยะเวลาที่
กําหนดไว้ ก่อนการดําเนินการก่อสร้างให้เรียบร้อยทัง้ นี้ไม่เกิน 30 วัน
(2) ผูร้ บั จ้าง ต้องปฏิบตั ติ ามระเบียบหรือเงื่อนไขสัญญาจ้างทีผ่ วู้ ่าจ้างกําหนดไว้อย่างเคร่งครัด
(3) ผูร้ บั จ้าง ต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อกําหนดทีเ่ กีย่ วกับความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการ
ทํางานอย่างเคร่งครัด
(4) ผูร้ บั จ้าง ต้องตรวจสอบติดตามวิธกี ารทํางานและสภาพของงานในหน่วยงานก่อสร้างให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทํางานตามแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ ทีก่ าํ หนดไว้อย่างเคร่งครัด พร้อม
ปรับปรุงแก้ไขให้เหมาะสม และสามารถปฏิบตั ไิ ด้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ขัน้ ตอนที่ 5 การรายงานผล
(1) ผูร้ บั จ้าง ต้องรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ ตามขัน้ ตอนที่ 4 ข้อ (4)
ให้ผวู้ ่าจ้างทราบเป็ นระยะๆ ตามทีร่ ะบุไว้ตามสัญญาจ้างอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ ผ่านผูค้ วบคุมงาน
เสนอต่อผูว้ ่าจ้าง
(2) ผูร้ บั จ้าง ต้องประเมินผลความสําเร็จ หรือความล้มเหลวของกิจกรรม ทีว่ างแผนไว้ เพื่อนํามาปรับปรุง
และแก้ไขในการบริหารการจัดการในงานก่อสร้างให้ดขี น้ึ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 20 of 521

1.ระบบความปลอดภัย
ผูร้ บั จ้างอย่างน้อยต้องดําเนินการจัดระบบความปลอดภัยนอกเหนือจากทีน่ ําเสนอดังนี้
1. การป้องกันการบุกรุกทีข่ า้ งเคียง
ผูร้ บั จ้างต้องจํากัดขอบเขตการก่อสร้าง และต้องป้องกันดูแลมิให้ลกู จ้างของตนบุกรุกทีข่ า้ งเคียงของผูอ้ ่นื โดย
เด็ดขาด ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย ค่าชดเชย รวมทัง้ การแก้ไขให้คนื ดีในเมื่อเกิดการเรียกร้องค่าเสียหายใดๆ ทีเ่ กิด
จากการกระทําของลูกจ้างของตนในกรณีทไ่ี ปบุกรุกทีข่ า้ งเคียง

2. การป้ องกันบุคคลภายนอกและอาคารข้างเคียง
ผูร้ บั จ้างต้องป้องกันไม่ให้บุคคลภายนอก หรือผูท้ ไ่ี ม่ได้รบั อนุญาตจากผูค้ วบคุมงานเข้าไปในบริเวณก่อสร้างตลอด
ระยะเวลาก่อสร้างทัง้ ในเวลากลางวันและกลางคืน ให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ติ ามข้อนี้อย่างเคร่งครัด เมื่อถึงเวลาเลิกงานก่อสร้างใน
แต่ละวัน ให้ตวั แทนผูร้ บั จ้างตรวจตราให้ทุกคนออกไปจากอาคารทีก่ ่อสร้าง ยกเว้นยามรักษาการ หรือการทํางานล่วงเวลา
ของบุคคลทีไ่ ด้รบั การอนุมตั แิ ล้วเท่านัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ เครื่องป้องกันวัสดุตกหล่นทีจ่ ะเป็ นอันตรายต่อชีวติ หรือสร้าง
ความเสียหายต่อทรัพย์และอาคารข้างเคียง โดยไม่กดี ขวางทางสัญจรสาธารณะ ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการ
ติดตัง้ ขออนุญาต ค่าบํารุงรักษา ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง รวมถึงค่ารือ้ ถอนเมื่อแล้วเสร็จงาน

3. การป้ องกันสิ่ งก่อสร้างที่มีอยู่เดิ ม


3.1 สิง่ ปลูกสร้างข้างเคียง
ผูร้ บั จ้างต้องป้องกันมิให้เกิดความเสียหายใดๆ แก่สงิ่ ปลูกสร้างข้างเคียงในระหว่างทําการก่อสร้าง หากเกิดความเสียหาย
ขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบแก้ไข ซ่อมแซม ให้คนื อยู่ในสภาพเดิมโดยเร็ว ในกรณีทผ่ี คู้ วบคุมงานเห็นว่าการป้องกันหรือ
การแก้ไขทีผ่ รู้ บั จ้างทําไว้ไม่เพียงพอ หรือไม่ปลอดภัย อาจออกคําสังให้
่ ผรู้ บั จ้างแก้ไขหรือเพิม่ เติม ได้ตามความเหมาะสม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 21 of 521

3.2 สิง่ ก่อสร้างใต้ดนิ


ผูร้ บั จ้างต้องสํารวจจนทราบแน่ชดั แล้วว่ามีสงิ่ ปลูกสร้างทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ ในบริเวณก่อสร้าง หรือบริเวณใกล้เคียง เช่น ท่อ
นํ้าประปา ท่อระบายนํ้า สายโทรศัพท์ ฯลฯ ซึง่ ผูร้ บั จ้างต้องระวังรักษาให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ตี ลอดระยะเวลาก่อสร้าง หากเกิด
ความเสียหายขึน้ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบแก้ไข ซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพเดิมโดยเร็ว ในกรณีทก่ี ดี ขวางการก่อสร้าง
จําเป็ นต้องขออนุญาตเคลื่อนย้าย จากหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องให้ผรู้ บั จ้างรับผิดชอบดําเนินการเองทัง้ หมด โดยเป็ นค่าใช้จ่าย
ของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้

4. การป้ องกัน รักษางานก่อสร้างและป้ องกันเพลิ งไหม้


4.1 การป้องกันและรักษางานก่อสร้าง
ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการป้องกันและรักษางานก่อสร้างรวมทัง้ วัสดุอุปกรณ์ทน่ี ํามาติดตัง้ หรือเก็บไว้ใน
บริเวณก่อสร้าง ตัง้ แต่เริม่ งานจนกระทังผู ่ ว้ ่าจ้างรับมอบงานงวดสุดท้ายในกรณีจาํ เป็ นผูร้ บั จ้างต้องจัดทําเครื่องป้องกันความ
เสียหาย ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับวัสดุอุปกรณ์และงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะเป็ นการสร้างทีก่ าํ บัง การป้องกันการขีดข่วน การตัง้ เครื่อง
สูบนํ้าป้องกันนํ้าท่วม และการป้องกันอื่นๆ ทีผ่ คู้ วบคุมงานเห็นว่าเหมาะสม รวมทัง้ วิธกี ารป้องกันวัสดุอุปกรณ์สญ ู หาย เช่น
การตรวจค้นอย่างละเอียดและ
เคร่งครัดกับทุกคนทีเ่ ข้า-ออกบริเวณหรืออาคารทีก่ ่อสร้างตลอดเวลา
4.2 การป้องกันเพลิงไหม้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มเี ครื่องดับเพลิงทีม่ ปี ระสิทธิภาพและเพียงพอ ประจําอาคารทีก่ ่อสร้างทุกชัน้ รวมทัง้ ในสํานักงาน
ชัวคราว
่ โรงเก็บวัสดุ และในทีต่ ่างๆ ทีจ่ าํ เป็ น มีการป้องกันอย่างเคร่งครัดต่อแหล่งเก็บเชือ้ เพลิงและวัสดุไวไฟ โดยจัดให้มี
ป้ายเตือนทีเ่ ห็นเด่นชัด ห้ามนําไฟหรือวัสดุทท่ี าํ ให้เกิดไฟ เข้าใกล้แหล่งเก็บวัสดุไวไฟ ห้ามสูบบุหรีห่ รือจุดไฟในอาคารที่
ก่อสร้างโดยเด็ดขาด
4.3 ความรับผิดชอบ
ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการดูแล ป้องกัน และรักษางานก่อสร้างดังกล่าว และต้องรับผิดชอบต่อ
ความเสียหาย และการสูญหาย ทีอ่ าจเกิดขึน้ กับวัสดุอุปกรณ์และงานก่อสร้างทัง้ หมด จนกว่าผูว้ า่ จ้างรับมอบงานงวดสุดท้าย

5. การหลีกเลี่ยงเหตุเดือดร้อนราคาญ
งานก่อสร้างหรือการกระทําใดๆ ของลูกจ้างทีน่ ่าจะเป็ นเหตุเดือดร้อนรําคาญแก่บุคคลในทีข่ า้ งเคียง ผูค้ วบคุมงาน
อาจออกคําสังให้ ่ ผรู้ บั จ้าง ทํางานก่อสร้างนัน้ ตามวิธแี ละเวลาทีเ่ หมาะสม หรือแจ้งให้ผรู้ บั จ้างหาวิธปี ้ องกันเหตุเดือดร้อน
ดังกล่าว ผูร้ บั จ้างจะต้องเร่งดําเนินการในทันที

6. อุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยในการทางาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดสถานทีก่ ่อสร้างให้มสี ภาพแวดล้อมทีด่ สี ะอาดไม่มสี งิ่ ทีจ่ ะเป็ นอันตรายต่อสุขภาพและชีวติ ของลูกจ้าง
จัดให้มปี ้ ายเตือนทีเ่ ห็นเด่นชัดในบริเวณทีอ่ าจเกิดอันตรายหรืออุบตั เิ หตุทุกแห่งในบริเวณก่อสร้างจัดให้มอี ปุ กรณ์ป้องกัน
อันตรายต่างๆ เช่น หมวกนิรภัย เข็มขัดนิรภัย รัว้ กันตกจากทีส่ งู เป็ นต้น ผูค้ วบคุมงานอาจออกคําสังให้ ่ ผรู้ บั จ้างปรับปรุง
แก้ไขได้ตามความเหมาะสมให้ผรู้ บั จ้างมีการจัดการเรื่องความปลอดภัยอย่างเคร่งครัดและถูกต้องตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง
ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 22 of 521

7. การปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ช่วยชีวิต
ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มยี าและเวชภัณฑ์สาํ หรับการปฐมพยาบาล และอุปกรณ์ช่วยชีวติ ทีจ่ าํ เป็ นตามความเหมาะสม
หรือตามทีก่ าํ หนดไว้ในกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง และต้องจัดการให้มเี พิม่ เติมเพียงพออยู่เสมอ ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

8. การประกันภัย
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มกี ารประกันภัยสําหรับความเสียหายต่อบุคคลทุกคนทีเ่ กีย่ วข้องและไม่เกีย่ วข้องโดยตรงกับ
การก่อสร้างนี้ตามกฎหมายและประกันภัยสําหรับความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ในบริเวณก่อสร้างและข้างเคียงรวมความ
เสียหายทีเ่ กิดจากภัยธรรมชาติ และอุบตั เิ หตุอ่นื ๆ ตามระบุในสัญญา หรือตามกฎหมายตามมูลค่าของงานก่อสร้าง และตาม
ระยะเวลาก่อสร้างตามสัญญา โดยได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและผูว้ ่าจ้างก่อน

9. การรายงานอุบตั ิ เหตุ
เมื่อมีอุบตั เิ หตุใดๆเกิดขึน้ ในบริเวณก่อสร้าง ไม่ว่าเหตุนนั ้ ๆ จะมีผลกระทบต่องานก่อสร้างหรือไม่กต็ าม ให้ตวั แทนผู้
ว่าจ้างรีบรายงานเหตุทเ่ี กิดนัน้ ๆ ให้ผคู้ วบคุมงานทราบในทันที แล้วทํารายงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษรระบุรายละเอียด
เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ การแก้ไขเหตุการณ์นนั ้ ๆ และการป้องกันไม่ให้เกิดขึน้ อีก

จบหมวดที่ 6

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 23 of 521

หมวดที่ 7
แบบ วัสดุ และการขออนุมตั ิ

1. แบบประกอบสัญญา รูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING) และรูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING)


1.1 แบบประกอบสัญญา
1.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องรับรองว่าได้ตรวจสอบและทําความเข้าใจรายละเอียดแบบวิศวกรรม แบบสถาปตั ยกรรม
และแบบงานระบบต่างๆ พร้อมทัง้ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดต่างๆ ทีป่ รากฏในโครงการนี้
จนเข้าใจถึงเงื่อนไขต่างๆ โดยละเอียดถีถ่ ว้ นแล้ว หากปรากฏว่ารูปแบบและรายการนี้ผดิ พลาดหรือ
คลาดเคลื่อนไปจากหลักการทางวิศวกรรมหรือทางเทคนิค ให้ผรู้ บั จ้างสอบถามจากผูค้ วบคุมงาน
โดยตรง แต่ทงั ้ นี้ผรู้ บั จ้างตกลงทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามคําวินจิ ฉัยของกรรมการตรวจการจ้างหรือผูค้ วบคุมงาน
เพื่อให้งานแล้วเสร็จสมบูรณ์โดยจะคิดค่าใช้จา่ ยใดๆ เพิม่ ขึน้ จากผูว้ ่าจ้างไม่ได้
1.1.2 การอ่านแบบให้ถอื ตัวอักษรและตัวเลขเป็ นสําคัญ ห้ามใช้วธิ วี ดั จากแบบโดยตรง ในส่วนทีต่ อ้ งติดตัง้
วัสดุ-อุปกรณ์ ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบจากวัสดุ-อุปกรณ์ทไ่ี ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ใช้ในโครงการและสถานที่
ติดตัง้ จริง
1.1.3 เมื่อแบบประกอบสัญญาไม่สมบูรณ์ ไม่ชดั เจน หรือในทางปฏิบตั งิ านช่างไม่อาจระบุได้ครบถ้วน ผูร้ บั
จ้างจะต้องเป็ นผูเ้ สนอรูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING) หรือรายการเพิม่ เติม ให้สถาปนิก/
วิศวกรผูอ้ อกแบบ พิจารณาตรวจสอบก่อนการดําเนินการ และให้ถอื ว่าแบบและรายการเพิม่ เติมนัน้
เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาด้วย
1.1.4 ในกรณีทเ่ี กิดความคลาดเคลื่อน ขัดแย้ง หรือไม่ชดั เจนในแบบประกอบสัญญา รายการประกอบแบบ
ใบกรอกปริมาณ รายการวัสดุ-อุปกรณ์ หรือเอกสารสัญญา ผูร้ บั จ้างต้องรีบแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานทราบ
เพื่อขอคําวินิจฉัยทันที กรรมการตรวจการจ้างหรือผูค้ วบคุมงานจะเป็ นผูช้ ข้ี าดและมีสทิ ธิถื์ อเอาส่วนที่
ดีกว่า ถูกต้องกว่าจากองค์ประกอบของสัญญาข้างต้น และหลักการทํางานทีถ่ ูกต้องตามหลักวิชาช่าง
ตลอดจนความมันคงแข็ ่ งแรงเป็นเกณฑ์พจิ ารณา เพื่อให้ได้งานทีม่ คี ุณภาพตามวัตถุประสงค์แห่ง
สัญญาจ้าง ผูร้ บั จ้างจําเป็ นต้องทําโดยไม่มขี อ้ โต้แย้งใดๆ ทัง้ สิน้ หากผูค้ วบคุมงานยังไม่แจ้งผลการ
พิจารณา ห้ามผูร้ บั จ้างดําเนินการในส่วนนัน้ มิฉะนัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบข้อผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้
และผูค้ วบคุมงานอาจจะเปลีย่ นแปลงงานส่วนนัน้ ได้ตามความเหมาะสม ซึง่ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างต้อง
ดําเนินการแก้ไขจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ และขอต่อสัญญาไม่ได้
1.2 รูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING)
1.2.1 ผูร้ บั จ้างต้องศึกษาทําความเข้าใจแบบวิศวกรรม แบบสถาปตยกรรม ั แบบตกแต่งภายใน และงานระบบต่างๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องประกอบกัน รวมทัง้ ตรวจสอบสถานทีก่ ่อสร้างจริง เพื่อให้การจัดทํารูปแบบทีใ่ ช้สร้างถูกต้อง และ
ไม่เกิดอุปสรรคจนเป็ นสาเหตุให้หมายกําหนดการโครงการต้องล่าช้า
1.2.2 วิศวกรผูร้ บั ผิดชอบของผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบรูปแบบทีใ่ ช้สร้างให้ถูกต้องและชัดเจน พร้อมลงนามรับรอง
และลงวันทีก่ าํ กับบนแบบทีเ่ สนอขออนุมตั ทิ ุกแผ่น
1.2.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารูปแบบทีใ่ ช้สร้างยื่นเสนอขออนุมตั ติ ่อผูค้ วบคุมงานอย่างน้อย 30 วันก่อนดําเนินการ
1.2.4 รูปแบบทีใ่ ช้สร้างต้องมีขนาดและมาตรส่วนตามความเหมาะสม เพื่อแสดงรายละเอียดทีช่ ดั เจน และเข้าใจได้
ถูกต้อง ทัง้ นี้ให้ขน้ึ อยู่กบั ดุลยพินิจของผูค้ วบคุมงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 24 of 521

1.2.5 ในกรณีทร่ี ปู แบบทีใ่ ช้สร้างของผูร้ บั จ้างแตกต่างไปจากแบบประกอบสัญญา ผูร้ บั จ้างต้องทําสารบัญแสดง


รายการทีแ่ ตกต่าง และใส่เครื่องหมายกํากับการเปลีย่ นแปลง
1.2.6 ผูร้ บั จ้างต้องไม่ดาํ เนินการใดๆ ก่อนทีร่ ปู แบบทีใ่ ช้สร้างจะได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน มิฉะนัน้ แล้วหาก
ผูค้ วบคุมงานมีความเห็นให้แก้ไขเพื่อความเหมาะสม ซึง่ แตกต่างไปจากรูปแบบทีใ่ ช้สร้างทีผ่ รู้ บั จ้างขออนุมตั ิ
ไว้ ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการแก้ไขให้โดยไม่มเี งื่อนไขใดๆ ทัง้ สิน้
1.2.7 รูปแบบทีใ่ ช้สร้างทีไ่ ม่มรี ายละเอียดเพียงพอ ผูค้ วบคุมงานจะแจ้งให้ผรู้ บั จ้างทราบ และอาจส่งคืนโดยไม่มกี าร
พิจารณาแต่ประการใด
1.2.8 ผูค้ วบคุมงานมีอาํ นาจ และหน้าทีส่ งการให้ ั่ ผรู้ บั จ้างจัดทํารูปแบบทีใ่ ช้สร้างเพิม่ เติมขยายส่วนหนึ่งส่วนใดของ
งานทีเ่ ห็นว่าจําเป็ น
1.2.9 รูปแบบทีใ่ ช้สร้างทีไ่ ด้รบั อนุมตั แิ ล้ว มิได้หมายความว่าเป็ นการพ้นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง หากผู้
ควบคุมงานตรวจสอบข้อผิดพลาดในภายหลัง ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการแก้ไขใหม่ให้ถูกต้อง
1.3 รูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING)
1.3.1 เมื่อดําเนินการแล้วเสร็จตามสัญญาผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารูปแบบก่อสร้างจริงทัง้ หมด และต้องลงนามรับรอง
ความถูกต้องโดยวิศวกรของผูร้ บั จ้าง
1.3.2 รูปแบบสร้างจริงจะต้องมีขนาดและมาตราส่วนเท่ากับแบบประกอบสัญญา
1.3.3 รูปแบบสร้างจริงจะต้องจัดทําสารบัญแบบ โดยจําแนกเป็ นส่วนๆ เพื่อสะดวกในการค้นหาเมื่อต้องการใช้งาน
2. วัสดุ
2.1 การอนุมตั ใิ ห้ใช้วสั ดุชนิดต่างๆ ในงานก่อสร้าง จะต้องกระทําเป็นลายลักษณ์อกั ษรทีช่ ดั เจนเสนอผูค้ วบคุม
งานของผูว้ ่าจ้างและคณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูอ้ อกแบบอาคารเห็นชอบก่อนนําวัสดุชนิดนัน้ ๆ ไป
ใช้ได้
2.2 วัสดุทุกชนิดทีร่ ะบุในรูปแบบและรายการประกอบแบบ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างหรือแคตตาล็อก และ
คุณลักษณะนําเสนอผูค้ วบคุมงาน และคณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูอ้ อกแบบอาคาร พิจารณาอนุมตั ิ
ก่อนใช้งานไม่น้อยกว่า 30 วัน รายการใดทีย่ งั ไม่อนุมตั ิ ห้ามนําเข้ามายังบริเวณหน่วยงานโดยเด็ดขาด
2.3 วัสดุบางอย่างทีร่ ะบุให้ใช้เฉพาะเจาะจง และจําเป็ นต้องสังซื ่ อ้ หรือสังทํ
่ าจากต่างประเทศ ให้ผรู้ บั จ้างออกใบสัง่
ซือ้ (PO) วัสดุดงั กล่าวภายใน 30 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญาจ้าง หากสังซื ่ อ้ วัสดุชนิดดังกล่าวไม่ทนั
จะนํามาเป็ นข้ออ้างในการต่ออายุสญ ั ญาหรืองดและลดค่าปรับไม่ได้
2.4 การใช้วสั ดุเทียบเท่ากระทําได้โดยคณะกรรมการพิจารณาวัสดุก่อสร้างของผูว้ ่าจ้าง หรือผูค้ วบคุมงานอาคาร
เป็ นผูอ้ นุมตั ิ โดยผูร้ บั จ้างต้องยืน่ เสนอขอเทียบเท่าเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและได้รบั อนุญาตเป็ นลายลักษณ์
อักษรก่อนกําหนดการใช้วสั ดุนนั ้ ๆ ไม่น้อยกว่า 30 วัน โดยแสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑ์ทข่ี อเทียบเท่า
และข้อมูลทีจ่ าํ เป็ น เพื่อการพิจารณาเปรียบเทียบ เงื่อนไขที่อนุญาตให้เทียบเท่าได้มดี งั นี้
2.4.1 เหตุผลและความจําเป็ นทีข่ อเทียบเท่า พร้อมแสดงหลักฐานประกอบด้านคุณภาพและราคา
2.4.2 วัสดุชนิดนัน้ มีลกั ษณะใกล้เคียง รูปแบบกลมกลืนและเข้ากันได้กบั การออกแบบเดิม ไม่ก่อให้เกิดการ
เปลีย่ นแปลงแก้ไขรูปแบบ การคํานวณ หรือกระทบกระเทือนงานอื่นทีเ่ กิดความไม่มนคงแข็ ั่ งแรง
2.4.3 มีคุณสมบัติ ประสิทธิภาพ และการบํารุงรักษาไม่ต่ํากว่ามาตรฐานของวัสดุทร่ี ะบุไว้เดิม
2.4.4 หรือให้ผอู้ อกแบบอาคารนําเสนอความเห็นประกอบการขออนุมตั กิ ่อนทีจ่ ะนําวัสดุนนั ้ ๆ มาใช้แทนได้
เมื่อได้รบั อนุมตั ใิ ห้ใช้วสั ดุเทียบเท่าแล้วปรากฏว่าเป็ นผลให้ตอ้ งเพิม่ งานและ/หรือค่าใช้จ่าย ผูร้ บั จ้างต้อง
ยินยอมปฏิบตั งิ านส่วนทีเ่ พิม่ และรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทีเ่ พิม่ ขึน้ ทัง้ ไม่นํามาเป็ นข้ออ้างในการต่ออายุสญ ั ญา
ทัง้ นี้ผคู้ วบคุมงานมีสทิ ธิไม่์ พจิ ารณา หากเอกสารการขอเทียบเท่าไม่ครบถ้วนสมบรูณ์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 25 of 521

2.5 วัสดุทจ่ี ะนํามาใช้ในการก่อสร้างต้องเป็ นของใหม่ทม่ี คี ุณภาพ ขนาด ลักษณะตรงตามทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบและ


รายการประกอบแบบ และถูกต้องตามวัตถุประสงค์ทบ่ี ่งไว้ ทัง้ นี้หากเกิดความเสียหายขึน้ ในระหว่างการ
ก่อสร้าง หรือในระยะประกันตามสัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่ โดยจะเรียกร้องค่า
สินค้าเพิม่ เติมและถือเป็ นข้ออ้างในการขอต่ออายุสญ ั ญาหรืองดและลดค่าปรับไม่ได้
2.6 คณะกรรมการตรวจการจ้างมีสทิ ธิที์ จ่ ะไม่อนุญาตให้ใช้วสั ดุอ่นื ใดทีม่ ขี นาด หรือคุณภาพ ทีไ่ ม่ตรงตามทีร่ ะบุ
ไว้ในรูปแบบและรายการประกอบแบบมาใช้ อีกทัง้ กรรมการตรวจการจ้างสงวนสิทธิในการเลื ์ อกยีห่ อ้ ของ
ผลิตภัณฑ์ทร่ี ะบุไว้ในรูปแบบและรายการประกอบแบบโดยคํานึงถึงประโยชน์ในการใช้งานของผูว้ ่าจ้างเป็ น
เกณฑ์ โดยไม่มขี อ้ โต้แย้งใดๆ ทัง้ สิน้
3. การขออนุมตั ิ
3.1 การขออนุมตั ใิ นโครงการนี้หมายถึง การขออนุมตั วิ สั ดุ-อุปกรณ์ทร่ี ะบุในรูปแบบและรายการประกอบแบบ
หรือมิได้ระบุแต่จาํ เป็ นต้องใช้เป็นส่วนประกอบในการก่อสร้างนี้ การขออนุมตั ริ ปู แบบทีใ่ ช้ก่อสร้าง รวมถึง
การขออนุมตั เิ อกสารอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ นต้องขอความเห็นชอบจากกรรมการตรวจการจ้างก่อนเริม่ ดําเนินการ เช่น
บุคลากรในโครงการ แผนการดําเนินงาน เป็ นต้น รายการทีต่ อ้ งขออนุมตั สิ าํ หรับใช้ในโครงการนี้ดงั แสดงใน
ดังตารางที่ 1
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมการล่วงหน้าในการจัดทํารายละเอียดต่างๆ ทีจ่ ะต้องนําเสนอขออนุมตั ติ ามตารางที่ 1
และต้องมีเวลาพอเพียงสําหรับการตรวจสอบรายละเอียดของผูอ้ อกแบบ (ถ้ามี) การจัดซือ้ การขนส่ง หรือ
การเปลีย่ นแปลงแก้ไขรายละเอียดทีม่ ไิ ด้รบั การอนุมตั แิ ละต้องนําเสนอใหม่
3.3 การขออนุมตั แิ ก้ไขเปลีย่ นแปลงงานก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างต้องขออนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดย
ระบุรายละเอียดเหตุผลทีแ่ ก้ไขตลอดจนราคาปรับลดเปลีย่ นแปลงเพิม่ เติม และเวลาดําเนินการด้วยเมื่อได้รบั
อนุมตั แิ ล้วจึงดําเนินการได้ ทัง้ นี้กาํ หนดให้มกี ารตกลงราคา ระยะเวลาก่อสร้าง และรูปแบบทีแ่ ก้ไขให้เสร็จสิน้
ไปในคราวเดียวกัน
3.4 รายละเอียดการนําเสนอเพื่อขออนุมตั ิ
3.4.1 ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการส่ง และ/หรือแก้ไขเอกสาร และรายละเอียดต่างๆ เพื่อขออนุมตั ติ ามข้อกําหนดใน
รายการประกอบแบบดังแสดงในตารางที่ 2 หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานเห็นสมควร โดยรวบรวมข้อมูล
เรียงลําดับให้เข้าใจง่าย เพื่อประกอบการพิจารณา
3.4.2 การนําเสนอตัวอย่างวิธกี ารติดตัง้ ให้ผรู้ บั จ้างติดตัง้ เป็ นตัวอย่างในสถานทีก่ ่อสร้าง หรือสถานทีก่ าํ หนด
เฉพาะกรณี โดยให้ยดึ ถือตัวอย่างวิธกี ารติดตัง้ ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั แิ ล้วเป็ นบรรทัดฐานในการก่อสร้างต่อไป
3.4.3 สี ลาย และ/หรือรูปแบบของวัสดุผลิตภัณฑ์ทต่ี อ้ งเลือกโดยผูอ้ อกแบบ จะต้องนําเสนอตารางตัวอย่างสีท่ี
เหมือนจริง หรือตารางลวดลายของวัสดุผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆ และรูปแบบทีใ่ ช้สร้างทีแ่ สดงสีและลายเพื่อ
ประกอบการขออนุมตั ดิ ว้ ย
3.5 การขออนุมตั ติ อ้ งแสดงเจตนาในการขออนุมตั ิ และอ้างอิงตามหมวดของรายการประกอบแบบ รวมถึงเลขทีห่ น้า
เลขทีแ่ บบทีอ่ า้ งอิงทุกครัง้
3.6 เอกสารหรือรายละเอียดทีต่ อ้ งนําเสนอใหม่ดว้ ยเหตุผลใดๆ ก็ตาม การระบุหมายเลขเอกสารนําเสนอ ต้องลําดับเลข
หมาย และวันเดือนปี ใหม่ โดยต้องไม่ซ้าํ ของเดิม และอ้างถึงหมายเลขเอกสารเดิมทุกครัง้
3.7 จํานวนชุดของการนําเสนอเพื่อขออนุมตั ิ
3.7.1 เอกสารเพื่อขออนุมตั ิ ให้นําส่งอย่างน้อย 3 ชุด หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
3.7.2 สําเนาส่งผูอ้ อกแบบเก็บไว้เป็ นเอกสารอ้างอิงจํานวน 1 ชุด โดยให้นําส่งตามทีอ่ ยู่ทป่ี รากฏในรูปแบบทาง
ไปรษณีย์ หรือรวบรวมส่งผ่านผูค้ วบคุมงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 26 of 521

3.7.3 จํานวนตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทน่ี ําเสนอเพื่อขออนุมตั ิ ให้นําส่งอย่างน้อย 2 ตัวอย่าง หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงาน


กําหนดให้
3.8 ผูร้ บั จ้างต้องทําตารางสรุปและรวบรวมเรื่องการส่งรายละเอียดต่างๆ ทัง้ ส่วนทีไ่ ด้รบั การอนุมตั แิ ล้ว และส่วนทีย่ งั มิได้
อนุมตั ทิ งั ้ หมดให้ผวู้ ่าจ้าง และ/หรือตัวแทนผูว้ ่าจ้าง เมื่อได้รบั การร้องขอ
ตารางที่ 1 รายการทีต่ อ้ งขออนุมตั สิ าํ หรับใช้ในโครงการ
เงื่อนไขและข้อบังคับทัวไป ่ หมวดที่
 บุคลากรในการก่อสร้างและอํานาจหน้าทีค่ วามรับผิดชอบ 2
 แผนการดําเนินงาน และการรายงาน 6
- แผนงานหลัก
- แผนงานการจัดบุคลากรและแรงงาน
- แผนงานการจัดส่งรายละเอียดและเอกสารเพื่อการอนุมตั วิ สั ดุ
- แผนการทํางานล่วงหน้า
- รายงานความก้าวหน้าของงาน
- ระบบจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง
 การป้องกันอุบตั เิ หตุ และมาตรฐานในงานก่อสร้าง
- โครงสร้างชัวคราว

- รัว้ ชัวคราว

- การรักษาความปลอดภัยทรัพย์สนิ
- การป้องกันฝุน่ ตาข่ายป้องกัน
- ป้ายเตือน และสัญญาณเตือนภัย
- รายการคํานวณนังร้ ่ าน
- รายชื่อผูค้ วบคุมงานตามกฎหมาย
การรักษาสิง่ แวดล้อม และความปลอดภัย 11
งานวิศวกรรมโครงสร้าง
 งานดินขุด ดินถม และปรับระดับดินเดิม 13
 งานเสาเข็ม 14
- เสาเข็มไม้
 - เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ
งานวิศวกรรมโครงสร้าง หมวดที่
 งานแบบหล่อ 16
 งานเหล็กเสริมคอนกรีต 17
 งานเหล็กรูปพรรณ 18
 งานคอนกรีต 19
 งานพืน้ คอนกรีตสําเร็จรูป 20
งานผนังคอนกรีตสําเร็จรูป 22

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 27 of 521

 งานระบบ POST TENSIONED 23


งานไม้ 24
งานป้องกันและกําจัดปลวก 25
งานสถาปตั ยกรรม หมวดที่
งานพืน้ 27
 - พืน้ หินขัด
 - พืน้ ปูหนิ ธรรมชาติ
 - พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งยางชนิดม้วน
- พืน้ ค.ส.ล. ปูไม้ Laminate
 - พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งเซรามิค
- พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งดินเผาชนิดผิวแกร่ง
- พืน้ ค.ส.ล. ผิวทรายล้าง / กรวดล้าง
- พืน้ ปูกระเบือ้ งดินเผาสลับผิวทรายล้าง
 - พืน้ ขัดมันเรียบผสมนํ้ายากันซึม และทํากันซึมชนิดใยแก้ว
 - พืน้ ปูพรมทอชนิดแผ่น
 - พืน้ ปูบล็อกปูพน้ื สําหรับปลูกหญ้า
 - พืน้ ปูบล็อกประสานปูพน้ื ถนน
- พืน้ ปูไม้สงั เคราะห์
 - พืน้ ทําผิวแกร่ง
 - พืน้ ค.ส.ล. ผิวขัดมัน / ผิวขัดมันผสมนํ้ายากันซึม / ผิวขัดมันผสมสี
 - พืน้ ค.ส.ล. ผิวขัดหยาบ / ผิวขัดหยาบเซาะร่องก้างปลา
- พืน้ ยก
- พืน้ กระเบือ้ งหินควอร์ทซ์
 - พืน้ กระเบือ้ งแกรนิตโต้
- พืน้ กระเบือ้ งแก้วโมเสด
- พืน้ ผิวปูปรับระดับขัดมันทําสีอพี ๊อกซี
- พืน้ วีว่าบอร์ดหนา 10 มม. โครงเคร่าเหล็กกลม
งานสถาปตั ยกรรม หมวดที่
- พืน้ คสล.ปรับระดับปูยางสังเคราะห์อะคริลคิ เรซิน่
- หญ้าเทียม
งานผนัง 28
 - ผนังก่ออิฐมอญ
- ผนังก่อคอนกรีตบล็อก
- ผนังก่อคอนกรีตมวลเบา
 - ผนังฉาบปูน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 28 of 521

 - งานโครงเคร่าโลหะผนังเบา
- ผนังแผ่นยิปซัมบอร์
่ ด
 - ผนังบุแผ่น ACOUSTIC BOARD
 - ผนังบุกระเบือ้ งเซรามิค
- ผนังบุกระเบือ้ งดินเผาชนิดแกร่ง
- ผนังไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด (ปราศจากใยหิน)
 - ผนังกระจก
- ผนังก่อบล็อกแก้ว
- ผนังเกล็ดอลูมเิ นียม
- ผนังบุหนิ ธรรมชาติ
- ผนังเลื่อนกัน้ ห้องประชุม
- ผนังอินฟิลวอลล์
- ผนังคอนกรีตบล๊อคกันความร้อน
- ผนังอคูสติกดูดซับเสียงโพลีฯ
- คอนกรีตเสริมใยแก้ว GRC/GFRC
- ผนังสําเร็จรูปชนิดชนิด PU
- ผนังบุแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทพร้อมโครงเหล็ก
 - ผนังบุไม้สงั เคราะห์
- ผนังทําสีพ่น TEXTURE
 - ผนังประกอบสําเร็จรูปซีเมนต์โฟม
งานหลังคา 30
 - หลังคากระเบือ้ งคอนกรีต
- หลังคากระเบือ้ งซีเมนต์ผสมเส้นใยสังเคราะห์
 - หลังคาเหล็กรีดลอน
- หลังคากระจกเทมเปอร์ลามิเนต
- หลังคาโพลีคาร์โบเนต
- หลังคา Shingle Roof
งานฉนวนป้องกันความร้อน 31
- แผ่นสะท้อนความร้อน
- ฉนวนกันความร้อน ชนิดใยแก้ว

งานสถาปตั ยกรรม หมวดที่


- ฉนวนกันความร้อนชนิด POLYETHYLENE FOAM
งานฝ้าเพดาน 32
 - งานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 29 of 521

 - ฝ้าเพดานแผ่นยิปซัมบอร์
่ ด
 - ฝ้าเพดานแผ่นยิปซัมชนิ ่ ดกันชืน้
- ฝ้าเพดานแผ่นกันเสียงสะท้อนใยแร่ (ACOUSTIC BOARD)
 - ฝ้าเพดานแผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด
- ฝ้าอลูมเิ นียมแบบตะแกรง
 - ฝ้าเพดานท้องพืน้ Post Tension หรือท้องพืน้ ค.ส.ล. ฉาบปูนเรียบทาสี
 - ฝ้าเพดานไม้ระแนงพีวซี ลี ายไม้ สีสาํ เร็จรูป
- ฝ้าเพดานแผ่นอะคูสติกดูดซับเสียง ใยไม้สาํ เร็จรูป
- ฝ้าเพดานสําเร็จรูปชนิด PU
- ฝ้าเพดานแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต พร้อมโครงเหล็ก
- ฝ้าเพดานอคูสติกซับเสียงโพลีเอสเตอร์
- ฝ้าเพดานไม้สงั เคราะห์รุ่นผิวเรียบ (ขอบตัววี) ขนาด 0.012x0.10 ม. โครง
เคร่าไม้ 1½”X3” @ 0.60x0.60 ทาสี
- ฝ้าเพดานไม้สงั เคราะห์ไฟเบอร์ซเี มนต์ กว้าง 0.075 หนา 0.008 ม. ชนิดขอบ
ตรง ผิวเรียบ กรุตาข่ายในล่อนกันแมลง ตีเว้นร่อง 0.005 ม. ตัง้ ฉากกับผนังโครง
เหล็กกล่อง
งานบันได
 งานบันได 33
งานประตู – หน้าต่าง 34
 - ประตู-หน้าต่างไม้
 - ประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม
- ประตู หน้าต่างพีวซี ี
- ประตูกระจกบานเปลือย
- ประตูบานม้วน (SHUTTER)
 - ประตูเหล็กทนไฟ
 งานกระจก 35
 งานลูกบิดและลูกกุญแจ 36
 งานสุขภัณฑ์ 37
 งานผนังห้องนํ้าสําเร็จรูป 38
 งานสี 39
งานสถาปตั ยกรรม หมวดที่
 งานระบบกันซึม 40
งานแผ่น ALUMINIUM COMPOSITE 41
 งานป้าย - เครื่องหมายทัวไป
่ 43
 งานเครื่องหมายอุปกรณ์จราจร 44

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 30 of 521

 งานเครื่องหมายหนีไฟ - ดับเพลิง 45
 สิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชรา 46
งานผังบริเวณ
 งานผังบริเวณและงานดินถม 54
 ั
งานภูมสิ ถาปตยกรรม 55
งานวิศวกรรมสุขาภิบาล
 ระบบประปา 57
 ระบบระบายนํ้าฝนและระบบระบายนํ้าทิง้ 58
 ระบบบําบัดนํ้าเสีย 59
ระบบกําจัดขยะ 60
ระบบนํ้าร้อน 61
งานระบบปรับอากาศ
 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วน 63
งานระบบไฟฟ้า
 ระบบไฟฟ้า 65
 หม้อแปลงไฟฟ้า 66
 เครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง 67
 ตูส้ วิตช์อตั โนมัตเิ มน 68
 ระบบป้องกันฟ้าผ่า 69
ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ 70
งานระบบสือ่ สาร
 ระบบโทรศัพท์ 71
 ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 72
 ระบบเครื่องสํารองไฟฟ้าฉุกเฉิน 73
 ระบบเสียง 74
ระบบเสาอากาศวิทยุ – โทรทัศน์รวม 75
 ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด 76
ระบบควบคุมการเข้าออก 77
ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ 78
 อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ 79
ระบบชุดกุญแจ 80
งานระบบลิฟต์โดยสาร หมวดที่
 ระบบลิฟต์โดยสาร 81
งานระบบป้องกันเพลิงไหม้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 31 of 521

 ระบบดับเพลิง 82
 ระบบสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้ 83
 การอุดช่องเพื่อป้องกันไฟลาม 84
งานระบบมาตรการป้องกันและควบคุมอุบตั เิ หตุ 85

ตารางที่ 2 รายละเอียดทีต่ อ้ งส่งเพื่อการอนุมตั ิ


รูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบ
รายการขออนุมตั ิ รายละเอียด ที่ใช้สร้าง/ อื่นๆ
ผลิ ตภัณฑ์ ติ ดตัง้
แค็ตตาล็อก
บุคลากรในงานก่อสร้างและ
หนังสือแต่งตัง้ ประวัตกิ ารทํางาน
อานาจหน้าทีค่ วาม - - - -
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
รับผิดชอบ
แผนการดาเนินงาน และ
 - -
ระบบจัดการความปลอดภัย
รายการคานวณเสาเข็ม
เสาเข็ม   - -
รายการคานวณ BLOW COUNT
การทดสอบการรับน้าหนัก
 - - -
บรรทุกเสาเข็ม
แผนงานความปลอดภัยนังร้
่ าน
แบบหล่อและค้ายัน -  - - และรายการคานวณ (ในกรณี
อาคารสูง)
เหล็กเสริมคอนกรีต  -  -
คอนกรีต  - - - การคานวณออกแบบส่วนผสม
เหล็กรูปพรรณ  -  -
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
ระบบป้องกันและกาจัดปลวก  - - -
ก่อนดาเนินการ
ไม้  -  -
ระบบ Post Tensioned   - - รายการคานวณ
พืน้ คอนกรีตสาเร็จรูป   - - รายการคานวณ
ผนังคอนกรีตสาเร็จรูป   - -
วัสดุป้องกันน้าและความชืน้
   -

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 32 of 521

รูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบ
รายการขออนุมตั ิ รายละเอียด ที่ใช้สร้าง/ อื่นๆ
ผลิ ตภัณฑ์ ติ ดตัง้
แค็ตตาล็อก
ระบบกันซึมชนิดแผ่น  -  -
ระบบกันซึมชนิดทา/ฉาบ
ระบบกันซึมชนิดน้ายา
  
ผสมในคอนกรีต
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
หินขัดในที่ หินขัดสาเร็จรูป - -
ก่อนดาเนินการ
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
ซีเมนต์ขดั มัน/ขัดมันผสมสี  -  - ก่อนดาเนินการ

ขออนุมตั ิ Shop Drawing


ทรายล้าง กรวดล้าง หินล้าง - - - -
ก่อนดาเนินการ
กระเบือ้ งดินเผา ขออนุมตั ิ Shop Drawing
 -  -
กระเบือ้ งเซรามิค ก่อนดาเนินการ
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
กระเบือ้ งยาง - - - -
ก่อนดาเนินการ
หินอ่อน หินแกรนิต 
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
คอนกรีตบล็อกประสานปูพน้ื  -  -
ก่อนดาเนินการ
ไม้ลามิเนท

ยางสังเคราะห์
พรม
คอนกรีตบล็อกสนามหญ้า
พืน้ ยก

ไม้สงั เคราะห์
พืน้ ยางสังเคราะห์
SYNTHETIC
จมูกบันได 

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 33 of 521

รูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบ
รายการขออนุมตั ิ รายละเอียด ที่ใช้สร้าง/ อื่นๆ
ผลิ ตภัณฑ์ ติ ดตัง้
แค็ตตาล็อก
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
คิว้ PVC  -  -
ก่อนดาเนินการ
ผนังก่ออิฐ  -  -
ผนังก่อคอนกรีตบล็อก
ผนังก่อคอนกรีตมวลเบา  -  
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
บล็อกแก้ว  -  -
ก่อนดาเนินการ
ผนังเลื่อนกัน้ ห้องประชุม
น้ายาซิลโิ คนเคลือบผิว
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
โครงเคร่าโลหะผนังเบา  -  
ก่อนดาเนินการ
วัสดุยาแนว  -  -
หลังคาโลหะ ผนังโลหะ และ
 -  -
เกล็ดระบายอากาศโลหะ
หลังคากระเบือ้ งซีเมนต์
ฉนวนกันไฟชนิดพ่น - - - -
ฉนวนกันความร้อนสาหรับ
 -  -
อาคาร
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
โครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน  -  
ก่อนดาเนินการ
แผ่นยิปซัมบอร์
่ ด  -  
แผ่นอะคูสติกบอร์ด
ฝ้าอลูมเิ นียมแบบตะแกรง
งานประตูและงานวงกบเหล็ก  -  -
งานประตูและหน้าต่าง
   -
อลูมเิ นียม
งานประตูไม้  -  -
งานประตูกระจกบานเปลือย 
งานประตูบานม้วน   - -
งานประตูเหล็กทนไฟ   - -
อุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง  -  -

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 34 of 521

รูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบ
รายการขออนุมตั ิ รายละเอียด ที่ใช้สร้าง/ อื่นๆ
ผลิ ตภัณฑ์ ติ ดตัง้
แค็ตตาล็อก
กระจก  -  -
กระจก CURTAIN WALL
สุขภัณฑ์และอุปกรณ์
 - - -
ประกอบ
ผนังห้องน้าสาเร็จรูป 
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
แผ่นอะลูมเิ นียมคอมโพสิต    
ก่อนดาเนินการ
สีทาถนน/สีจราจร
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
สีน้ามัน  - - - ก่อนดาเนินการ

ขออนุมตั ิ Shop Drawing


สีทาภายนอก/ภายใน  - - -
ก่อนดาเนินการ
น้ามันเคลือบแข็งโพลียรู เี ทน
ป้ายเครื่องหมาย
วัสดุอุปกรณ์ระบบสุขาภิบาล  -  -
ระบบประปา
การติดตัง้ ท่อ/อุปกรณ์    -
วาล์ว และเครื่องประกอบ    -
เครื่องสูบน้า   - -
หัวกะโหลกรับน้าฝน   - -
ระบบบาบัดน้าเสีย   - -
วัสดุอุปกรณ์ระบบป้องกัน
 - - -
เพลิงไหม้
วัสดุอุปกรณ์ระบบปรับ
 - - -
อากาศ
ดวงโคมและส่วนประกอบ
สวิทซ์ ฝาครอบ  -  -
เต้ารับ ฝาครอบ  -  -
สายไฟฟ้า หัวต่อสาย  -  -
ท่อและอุปกรณ์การต่อท่อ  -  -
Emergency Light  -  -

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 35 of 521

รูปแบบ
ตัวอย่าง รูปแบบ
รายการขออนุมตั ิ รายละเอียด ที่ใช้สร้าง/ อื่นๆ
ผลิ ตภัณฑ์ ติ ดตัง้
แค็ตตาล็อก
หม้อแปลงไฟฟ้า   - -
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าฉุกเฉิน
ตูส้ วิตซ์อตั โนมัตเิ มน   - -
ระบบป้องกันฟ้าผ่า   - -
ระบบโทรศัพท์และสือ่ สาร   - -
ระบบเครือข่ายไอพี
ระบบคอมพิวเตอร์   - -
ระบบเสียง   - -
ระบบเสาอากาศวิทยุ-
  - -
โทรทัศน์รวม
ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด   - -
ระบบควบคุมการเข้าออก 
ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ 
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์   - -
ขออนุมตั ิ Shop Drawing
ระบบลิฟต์โดยสาร   - -
ก่อนดาเนินการ
สิง่ อานวยความสะดวก ขออนุมตั ิ Shop Drawing
   -
สาหรับผูพ้ กิ าร ก่อนดาเนินการ
อื่นๆ ตามความเห็นของผูค้ วบคุมงาน

จบหมวดที่ 7

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 36 of 521

หมวดที่ 8
การดาเนิ นงาน

1. การดําเนินการทัวไป ่
1.1 รูปแบบและรายการประกอบแบบ ผูว้ ่าจ้างจะจัดไว้ให้ 1 ชุด นอกเหนือจากคู่สญ ั ญา ให้ผรู้ บั จ้างเก็บรักษาไว้
ในสถานทีก่ ่อสร้างอย่างน้อย 1 ชุด และพร้อมทีจ่ ะนําออกมาใช้งานได้ตลอดเวลา
1.2 ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบควบคุมงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ โดยจะให้มผี แู้ ทนผูร้ บั จ้างควบคุมงานแทนก็ได้ ซึง่
จะต้องแจ้งให้ผวู้ ่าจ้างทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร คําสัง่ คําแนะนําต่างๆ ของผูว้ ่าจ้างซึง่ แจ้งแก่ผแู้ ทนผู้
รับจ้าง ถือว่าได้แจ้งผูร้ บั จ้างด้วย และผูว้ ่าจ้างคงไว้ซง่ึ สิทธิในการเปลี
์ ย่ นตัวแทนผูร้ บั จ้างได้ดว้ ย
1.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มกี ารป้องกันอุบตั เิ หตุ อันตราย และมิให้เกิดความเสียหายใดๆ ต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของ
บุคคลภายนอก บุคคลในบังคับของผูร้ บั จ้าง รวมทัง้ เจ้าหน้าทีข่ องผูว้ ่าจ้าง ทัง้ นี้ให้เป็ นไปตามประกาศตาม
กฎกระทรวงของกระทรวงมหาดไทย3 กฎหมายแรงงาน กฎหมายควบคุมอาคาร กฎหมายท้องถิน่
ข้อกําหนดความปลอดภัย หรือมาตรฐานของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการดําเนินงานนัน้ ๆ เช่น การติดตัง้
โครงสร้างชัวคราว ่ รัว้ ชัวคราว
่ การป้องกันฝุน่ ตาข่ายป้องกัน ป้ายเตือน หรือสัญญาณเตือนภัยในระหว่าง
การทํางานกลางคืนหรือขณะฝนตกหนัก เป็ นต้น ในกรณีเป็ นอาคารสูง4 ให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอแผนงานความ
ปลอดภัย รายการคํานวณนังร้ ่ าน รายชื่อผูค้ วบคุมงาน วิศวกร ตามมาตรฐานอาคารสูงอย่างเคร่งครัดต่อผู้
ควบคุมงานและผูว้ า่ จ้างพิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
1.4 ในกรณีทก่ี ารดําเนินงานก่อสร้างจะกีดขวางการจราจรทัง้ ทางบกและทางนํ้า การสัญจร การระบายนํ้าหรือ
อื่นๆ จะก่อให้เกิดความเดือดร้อนต่อชุมชนนัน้ ๆ ผูร้ บั จ้างต้องจัดการป้องกันและหาทางแก้ไขทันที
1.5 ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดต่ออุปทวเหตุ ั ความเสียหาย หรือภยันตรายใดๆ อันเกิดจากการปฏิบตั งิ านของผูร้ บั จ้าง
และจะต้องรับผิดต่อความเสียหายจากการกระทําของลูกจ้างของผูร้ บั จ้าง ความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่งานที่
ผูร้ บั จ้างได้ทาํ ขึน้ แม้เกิดขึน้ เพราะเหตุสดุ วิสยั นอกจากกรณีอนั เกิดจากความผิดของผูว้ ่าจ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้อง
รับผิดโดยซ่อมแซมให้ดหี รือเปลีย่ นให้ใหม่ โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างเอง ความรับผิดของผูร้ บั จ้างดังกล่าวใน
ข้อนี้จะสิน้ สุดลง เมื่อผูว้ ่าจ้างได้รบั มอบงานครัง้ สุดท้าย
1.6 ผูว้ ่าจ้างมีสทิ ธิที์ จ่ ะสังให้ ่ ผรู้ บั จ้างทํางานพิเศษซึง่ ไม่ได้แสดงไว้ หรือรวมอยูใ่ นเอกสารสัญญา หากงานพิเศษ
นัน้ ๆ อยู่ในขอบข่ายทัวไปแห่ ่ งวัตถุประสงค์ของสัญญา นอกจากนี้ผวู้ ่าจ้างยังมีสทิ ธิสั์ งให้
่ เปลีย่ นแปลงหรือ
แก้ไขรูปแบบ และข้อกําหนดต่างๆ ในเอกสารสัญญานี้ โดยไม่ทาํ ให้สญ ั ญาเป็ นโมฆะแต่อย่างใด อัตราค่าจ้าง
หรือราคาทีก่ าํ หนดไว้ในสัญญานี้ให้กาํ หนดใช้สาํ หรับงานพิเศษหรืองานทีเ่ พิม่ เติมขึน้ หรือตัดทอนลงทัง้ ปวง
ตามคําสังของผู
่ ว้ ่าจ้าง หากในสัญญาไม่ได้กาํ หนดไว้ถงึ อัตราค่าจ้างหรือราคาใดๆ ทีจ่ ะนํามาใช้สาํ หรับงาน
พิเศษหรืองานทีเ่ พิม่ ขึน้ ดังกล่าว ผูว้ ่าจ้างและผูร้ บั จ้างต้องตกลงกันทีจ่ ะกําหนดอัตราหรือราคา รวมทัง้ การ

3
กฎหมายความปลอดภัยในการก่อสร้าง ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย
4
อาคารสูง หมายถึง อาคารทีบ่ ุคคลอาจเข้าอยูห่ รือเข้าใช้สอยได้ทม่ี คี วามสูงตัง้ แต่ยส่ี บิ สามเมตรขึน้ ไป การวัดความ
สูงของอาคารให้วดั จากระดับพืน้ ดินทีก่ ่อสร้างถึงพืน้ ดาดฟ้า สําหรับอาคารทรงจัวหรื ั้
่ อปนหยาให้ วดั จากระดับพืน้ ดินที่
ก่อสร้างถึงยอดผนังของชัน้ สูงสุด
PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 37 of 521

ขยายระยะเวลา (ถ้ามี) กันใหม่ เพื่อความเหมาะสม ในกรณีทต่ี กลงกันไม่ได้ผวู้ ่าจ้างจะกําหนดอัตราจ้างหรือราคา


ตายตัวตามแต่ผวู้ ่าจ้างจะเห็นว่าเหมาะสมและถูกต้องซึง่ ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั งิ านตามคําสังของผู ่ ว้ า่ จ้าง
1.7 งานสิง่ ใดก็ตามถ้าผูร้ บั จ้างไม่ปฏิบตั ติ ามรูปแบบการก่อสร้าง รายการกําหนด หรือรายการทีส่ งแก้ ั ่ ไข โดยคําสังอั
่ น
ถูกต้องของคณะกรรมการตรวจการจ้าง หรือตามหลักวิชาช่างทีด่ ี ผู้รบั จ้างจะต้องรับผิดชอบต่อผลเสียหาย หรือ
ผลงานทีไ่ ม่ถูกต้องทีเ่ กิดขึน้ และจะต้องรับจัดการแก้ไขเพิม่ เติมให้ถูกต้องตามรายการดังกล่าวข้างต้น โดยจะ
เรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมหรือถือเป็ นข้ออ้างในการขอต่ออายุสญ ั ญาจ้างไม่ได้
2. การดําเนินการทีเ่ กีย่ วข้องกับงานระบบ
2.1 การทําช่องเปิ ดและการตัด - เจาะ
2.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบช่องเปิ ดต่างๆ สําหรับติดตัง้ งานระบบจากแบบโครงสร้างและสถาปตยกรรม ั
เพื่อยืนยันความต้องการและความถูกต้อง
2.1.2 การสกัด ตัด หรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําแบบแสดงรายละเอียดกรรมวิธี
การดําเนินงาน เสนอขออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อนการดําเนินงานอย่างน้อย 7 วัน เพื่อป้องกัน
ผลกระทบทีอ่ าจก่อให้เกิดความเสียหายต่อส่วนอื่นๆ
2.1.3 กรณีทต่ี อ้ งการแก้ไขขนาด ตําแหน่งของช่องเปิ ด หรือต้องการช่องเปิ ดเพิม่ จากทีไ่ ด้จดั เตรียมการให้
ตามแบบโครงสร้างและสถาปตยกรรม ั ผูร้ บั จ้างต้องเสนอขออนุมตั ิ พร้อมจัดทําแบบแสดง
รายละเอียดการติดตัง้ ต่อผูค้ วบคุมงานล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนการดําเนินงานนัน้ ๆ
2.2 การอุดปิ ดช่องว่าง
2.2.1 ภายหลังการติดตัง้ วัสดุ-อุปกรณ์ผ่านช่องเปิ ด หรือช่องเจาะใดๆ ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการอุดปิ ด
ช่องว่างทีเ่ หลือ ด้วยวัสดุและกรรมวิธที เ่ี หมาะสม โดยต้องได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
2.2.2 การเลือกใช้วสั ดุ และกรรมวิธใี นการอุดช่องว่าง นอกจากต้องคํานึงถึงการตรวจซ่อมในอนาคตแล้ว
ยังต้องคํานึงถึงการป้องกันไฟและควันลาม ตลอดจนการป้องกันเสียงเล็ดลอดโดยตรงด้วย
2.2.3 การอุดช่องว่างในส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคาร ไม่ว่าจะเป็ นพืน้ หรือผนังทีเ่ ป็ นโครงสร้างคอนกรีตเสริม
เหล็ก และส่วนทีเ่ ป็ นโครงสร้างเพื่อกันไฟ ต้องใช้วสั ดุและกรรมวิธที ส่ี ามารถทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 2
ชัวโมง
่ เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
2.3 ช่องเปิ ดเพื่อการซ่อมบํารุง
ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบช่องเปิ ดทีใ่ ช้เพื่อการตรวจซ่อม (SERVICE PANEL) วัสดุ-อุปกรณ์ภายหลังการติดตัง้
งานแล้วเสร็จ โดยต้องขออนุมตั พิ ร้อมจัดทําแบบแสดงรายละเอียดขนาดและตําแหน่งต่อผูค้ วบคุมงาน เพื่อ
พิจารณาดําเนินการตามความเหมาะสม
2.4 การจัดทําแท่นเครื่อง
ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูจ้ ดั ทํา แท่น ฐาน และอุปกรณ์รองรับนํ้าหนักอุปกรณ์ต่างๆ ให้มคี วามแข็งแรง สามารถ
ทนการสันสะเทื่ อนของอุปกรณ์ขณะใช้งานได้เป็ นอย่างดี โดยข้อมูลรายละเอียดขนาดและตําแหน่งทีจ่ ะจัดทํา
ต้องเสนอขออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานอย่างน้อย 7 วัน ก่อนดําเนินการ
2.5 การยึดท่อและอุปกรณ์กบั โครงสร้างอาคาร
2.5.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ยดึ หรือแขวนท่อและอุปกรณ์ทเ่ี หมาะสมกับโครงสร้างอาคาร การประกอบ
โครงเหล็กต้องทําด้วยความประณีตไม่มเี หลีย่ มคมอันอาจก่อให้เกิดอันตรายได้ ผูร้ บั จ้างต้องขออนุมตั ิ
จากผูค้ วบคุมงานก่อนดําเนินการยึดหรือแขวนใดๆ
2.5.2 EXPANSION SHIELD ทีใ่ ช้เจาะยึดในคอนกรีตต้องเป็ นโลหะตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต และ
ต้องได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 38 of 521

2.5.3 ขนาดและชนิดของอุปกรณ์ยดึ หรือแขวนจะต้องเป็ นทีร่ บั รองว่าสามารถรับนํ้าหนักได้ โดยมีค่าความ


ปลอดภัยไม่ต่ํากว่า 3 เท่าของนํ้าหนักใช้งาน (SAFETY FACTOR = 3)
2.5.4 การยึดหรือแขวนกับโครงสร้างอาคารต้องแน่ใจว่าจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย หรือกีดขวางงาน
ระบบอื่นๆ
2.6 งานติดตัง้ ในห้องเครื่อง
ผูร้ บั จ้างต้องวางแผนการติดตัง้ อุปกรณ์ รวมทัง้ แท่นวาง โดยไม่เป็ นอุปสรรคต่อการดําเนินงานก่อสร้าง
อาคาร
2.7 การป้องกันนํ้าเข้าอาคาร
การติดตัง้ วัสดุ-อุปกรณ์ทใ่ี กล้ชดิ กับบริเวณทีม่ คี วามชืน้ สูง หรือเชื่อมโยงกับภายนอกอาคาร ผูร้ บั จ้างต้อง
จัดทํารายละเอียดแสดงวิธกี ารติดตัง้ และเสริมเพิม่ เติมวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆ โดยให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั กิ ่อน
ดําเนินการใดๆ เพื่อให้การป้องกันนํ้าเข้าอาคารเป็ นไปอย่างสมบูรณ์
2.8 การแก้ไข ซ่อมแซม
2.8.1 ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างละเลยเพิกเฉยในการดําเนินการ หรือเตรียมการใดๆ จนมีผลให้ตอ้ งมีการ
เปลีย่ นแปลงรูปแบบ หรือการติดตัง้ วัสดุ-อุปกรณ์ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายทีอ่ าจเกิดขึน้
ทัง้ หมดในทุกกรณี
2.8.2 ผูร้ บั จ้างต้องยอมรับและดําเนินการโดยไม่ชกั ช้า เมื่อได้รบั รายงานให้แก้ไขข้อบกพร่องในการ
ปฏิบตั งิ านจากผูค้ วบคุมงาน เพือ่ ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดในสัญญา และถูกต้องตามหลักวิชาการ
โดยต้องรับผิดชอบต่อค่าใช้จ่ายในการแก้ไข เนื่องจากความบกพร่องต่างๆ ทัง้ สิน้
2.9 การทดสอบอุปกรณ์และระบบ
2.9.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําตารางแผนแสดงกําหนดการทดสอบอุปกรณ์และระบบ รวมทัง้ จัดเตรียมเอกสาร
แนะนําจากผูผ้ ลิตในการทดสอบ (OPERATION MANUAL) เสนอผูค้ วบคุมงานก่อนทําการทดสอบ
2.9.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการทดสอบอุปกรณ์และระบบตามหลักวิชาการและข้อกําหนด โดยมีผแู้ ทนผูว้ ่าจ้างอยู่
ร่วมขณะทดสอบด้วย
2.9.3 รายงานข้อมูลในการทดสอบ (TEST REPORT) ให้ทาํ เป็ นแบบฟอร์มเสนอขออนุมตั ติ ่อผูค้ วบคุมงาน
ก่อนทําการทดสอบ หลังการทดสอบผูร้ บั จ้างต้องกรอกข้อมูลตามทีไ่ ด้จากการทดสอบจริงนําส่งให้ผู้
ควบคุมงาน จํานวน 3 ชุด หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนดให้
2.9.4 ค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น กระแสไฟฟ้า นํ้าประปา แรงงาน ฯลฯ ในระหว่างการทดสอบอุปกรณ์และระบบ
อยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 8

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 39 of 521

หมวดที่ 9
มาตรฐาน และการอ้างอิ ง

1. สถาบันมาตรฐาน
นอกเหนือจากข้อบังคับ หรือข้อบัญญัตแิ ห่งกฎหมายท้องถิน่ ตลอดจนระเบียบของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต่างๆ แล้ว
ถ้ามิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น มาตรฐานทัวไปของวั
่ สดุ-อุปกรณ์ การประกอบ การติดตัง้ ทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบ และ
รายการประกอบแบบ เพื่อใช้อา้ งอิงสําหรับงานโครงการนี้ให้ถอื ตามมาตรฐานของสถาบันทีเ่ กีย่ วข้องดังต่อไปนี้
1.1 มาตรฐานทัวไป ่
MINISTRY OF INTERIOR THAILAND (กระทรวงมหาดไทย)
MINISTRY OF INDUSTRY THAILAND (กระทรวงอุตสาหกรรม)
MINISTRY OF ENERGY THAILAND (กระทรวงพลังงาน)
BMA BANGKOK METROPOLITAN ADMINISTRATION
(กทม.) (กรุงเทพมหานคร)
EIT THE ENGINEERING INSTITUTE OF THAILAND UNDER H.M.
THE KING’S PATRONAGE
(วสท.) (วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์)
TISI THAI INDUSTRIAL STANDARDS INSTITUTE
(สมอ.) (สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม)
TEI Thailand Environment Institute
(สสท.) (สถาบันสิง่ แวดล้อมไทย)
ACI American Concrete Institute
AISC American Institute of Steel Construction
ANSI American National Standards Institute
ASTM American Society for Testing and Materials
BOCA Building Officials and Code Administrators International, Inc.
BSI British Standards Institution
CSA Canadian Standards Association
DIN Deutsches Institut für Normung
ICC International Code Council
JSA Japanese Standards Association
NEA NATIONAL ENERGY ADMINISTRATION
1.2 งานระบบสุขาภิบาล
MWA Metropolitan Waterworks Authority
(กปน.) (การประปานครหลวง)
PWA Provincial Waterworks Authority
(กปภ.) (การประปาส่วนภูมภิ าค)
ASPE American Society of Plumbing Engineers

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 40 of 521

ASSE American Society of Sanitary Engineering


AWWA American Water Works Association
1.3 งานระบบป้องกันอัคคีภยั
NFPA National Fire Protection Association
UL Underwriters Laboratories
1.4 งานระบบวิศวกรรมเครื่องกลและปรับอากาศ
AHAM Association of Home Appliance Manufacturers
AHRI Air-Conditioning, Heating, and Refrigeration Institute
AMCA Air Movement and Control Association
ASHRAE American Society of Heating, Refrigerating and Air-Conditioning Engineers
ASME American Society of Mechanical Engineers
AWS American Welding Society
BHMA Builders Hardware Manufacturers Association
SMACNA Sheet Metal and Air Conditioning Contractors’ National Association
1.5 งานระบบไฟฟ้าและสือ่ สาร
MEA Metropolitan Electricity Authority
(กฟน.) (การไฟฟ้านครหลวง)
PEA Provincial Electricity Authority
(กฟภ.) (การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค)
IEC International Electrotechnical Commission
NEMA National Electrical Manufacturers Association
NESC National Electrical Safety Code
2. สถาบันตรวจสอบ
ในกรณีทต่ี อ้ งทดสอบคุณภาพของวัสดุ-อุปกรณ์ ทดสอบงานระบบต่างๆ ตามระบุในสัญญานี้ ให้ผรู้ บั จ้างทดสอบโดย
ห้องปฏิบตั กิ ารทีผ่ วู้ า่ จ้างเห็นชอบ ในกรณีทจ่ี าํ เป็ นอาจทําการทดสอบโดยห้องปฏิบตั ิการของหน่วยราชการอื่น หรือ
ของบริษทั ทีผ่ วู้ ่าจ้างและผูอ้ อกแบบเชื่อถือและให้การรับรอง

จบหมวดที่ 9

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 41 of 521

หมวดที่ 10
การตรวจงานและควบคุมงาน

1. ผูว้ ่าจ้างจะแต่งตัง้ “คณะกรรมการตรวจการจ้าง” ขึน้ ชุดหนึ่งเพื่อทําหน้าทีต่ รวจและควบคุมการจ้างให้เป็ นไปตาม


รูปแบบ รายการประกอบแบบ และข้อกําหนดในสัญญา
2. ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะต้องได้รบั ความสะดวกปลอดภัยตามสมควร ในการตรวจและควบคุมการทํางานในสถานทีก่ ่อสร้าง
และสามารถตรวจสอบครอบคลุมพืน้ ทีก่ ารก่อสร้างทัง้ หมดได้
3. ผูแ้ ทนผูร้ บั จ้างซึง่ สามารถรับผิดชอบและสามารถควบคุมงานแทนผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูไ้ ด้รบั อนุญาตประกอบ
วิชาชีพในการควบคุมงานก่อสร้าง และมาประจํา ณ สถานทีก่ ่อสร้าง โดยต้องนําเสนอรายชื่อพร้อมเอกสารวิชาชีพ
ต่อผูว้ ่าจ้าง
4. เมื่อมีปญั หาขณะก่อสร้างให้ผรู้ บั จ้างรายงานผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างทันที พร้อมทัง้ บันทึกเป็ นหลักฐานและเสนอวิธกี าร
แก้ปญั หา อํานาจในการตัดสินใจแก้ปญหาเป็ ั นของผูว้ ่าจ้าง
5. การส่งงวดงาน ผูร้ บั จ้างต้องส่งมอบงานแต่ละงวดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร คณะกรรมการตรวจการจ้างและตรวจผลงาน
จะลงนามในใบรับรองผลงาน ผูร้ บั จ้างจะได้รบั เอกสาร 1 ชุด เพื่อนําไปเบิกเงินยังทีเ่ บิกจ่ายต่อไป
6. เมื่อผูร้ บั จ้างได้รบั เงินค่าจ้างตามสัญญาแต่ละงวดแล้ว ให้ปิดประกาศไว้ในทีเ่ ปิ ดเผย เพื่อให้ลกู จ้างของผูร้ บั จ้างทราบ
ต่อไป
7. กําหนดให้ผรู้ บั จ้างจัดเตรียมหมวก รองเท้าบู๊ต เพื่ออํานวยความสะดวกต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง และผู้
ควบคุมงานก่อสร้างครบตามจํานวน เพื่ออํานวยความสะดวกและความปลอดภัยในการตรวจการจ้างและควบคุมงาน
ก่อสร้าง

จบหมวดที่ 10

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 42 of 521

หมวดที่ 11
การรักษาสิ่ งแวดล้อม และความปลอดภัย

1. สถานทีก่ ่อสร้าง
1.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
1.1.1 งานก่อสร้าง หมายความว่า การประกอบการเกีย่ วกับการก่อสร้างอาคารและระบบต่างๆ ของอาคาร
เช่น ไฟฟ้า ประปา เป็ นต้น และหมายรวมถึงการต่อเติม ซ่อมแซม ซ่อมบํารุงดัดแปลง หรือรือ้ ถอน
อาคาร หรือสิง่ ก่อสร้างนัน้ ๆ
1.1.2 เขตก่อสร้างหรือสถานทีก่ ่อสร้าง หมายความว่า พืน้ ทีบ่ ริเวณโดยรอบ พืน้ ทีท่ ด่ี าํ เนินการก่อสร้าง
1.1.3 เขตอันตราย หมายความว่า บริเวณทีก่ าํ ลังก่อสร้าง หรือบริเวณทีใ่ ช้ปนจั ั ้ นหรื
่ อบริเวณทีต่ ดิ ตัง้ นังร้
่ าน
หรือติดตัง้ ลิฟต์ขนส่ง หรือส่วนของงานก่อสร้างหรือทางลําเลียงวัสดุเพื่อการก่อสร้างหรือสถานทีเ่ ก็บ
เชือ้ เพลิง หรือวัสดุเพื่อการก่อสร้าง หรือบริเวณทีใ่ ช้เครื่องจักรกล หรือกระแสไฟฟ้าเพื่อการก่อสร้าง
1.1.4 ในสถานทีก่ ่อสร้างจะต้องติดตัง้ ป้ายเตือนให้ลกู จ้างปฏิบตั ใิ ห้ระวัง / ห้าม และให้สวมใส่อุปกรณ์
คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลในเขตก่อสร้าง โดยใช้เครื่องหมาย / ป้ายทีเ่ ข้าใจง่ายและเห็นได้
ชัดเจน
1.1.5 ห้ามดืม่ สุราหรือเสพสารเสพติดทุกชนิดในสถานทีก่ ่อสร้าง
1.2 ความเป็ นระเบียบเรียบร้อยภายในสถานทีก่ ่อสร้าง
1.2.1 ห้ามมิให้ลกู จ้างหรือผูอ้ ่นื เข้าพักอาศัยในอาคารทีก่ าํ ลังก่อสร้าง หรือในเขตก่อสร้างเว้นแต่ นายจ้าง
หรือ ผูร้ บั จ้างเหมาจะได้จดั ให้มมี าตรการด้านความปลอดภัย และได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกร
และเก็บเอกสารแสดงความเห็นชอบนัน้ ไว้ ณ สถานทีก่ ่อสร้าง เพื่อให้พนักงานแรงงานตรวจสอบได้
และในกรณีทไ่ี ด้รบั ความเห็นชอบให้มกี ารพักอาศัยในอาคารทีท่ าํ การก่อสร้าง ให้นายจ้างปฏิบตั ดิ งั นี้
(1) ปิ ดป้ายแสดงเขตทีพ่ กั ให้ชดั เจน ณ เขตทีพ่ กั อาศัย
(2) กําหนดทางเข้า–ออก มิให้ผ่านเขตก่อสร้างและเขตอันตราย
(3) จัดให้มวี ศิ วกรความปลอดภัยดูแลทีพ่ กั อาศัย
1.2.2 ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งและปิ ดประกาศห้ามลูกจ้าง และไม่ยนิ ยอมให้ลกู จ้างเข้าพักอาศัยในอาคารทีก่ าํ ลัง
ก่อสร้างโดยการปิ ดประกาศนัน้ ให้ปิดไว้ในทีเ่ ปิ ดเผยตลอดเวลา ณ เขตก่อสร้าง
1.2.3 จะต้องรักษาความสะอาด บันได ทางเข้า-ออก และทางเดิน ไม่ให้มวี ตั ถุหรือวัสดุทจ่ี ะนําเข้าไปใช้งาน
หรือสิง่ กีดขวางอื่นๆ ทุกชนิด
1.2.4 จะต้องวางวัตถุ วัสดุทน่ี ําเข้าใช้งานให้ห่างจากริมช่องส่งของ ช่องบันไดพืน้ หรือถ้ายังไม่ได้สร้างผนัง
ด้านนอกอาคาร จะต้องวางให้หา่ งจากขอบอาคารด้านนอก
1.2.5 ห้ามทิง้ ชิน้ สิง่ ของใดๆ ไว้เกลื่อนกลาดตามพืน้ หรือบนหลังคา ซึง่ ยังมุงไม่เสร็จเว้นแต่จะเก็บหรือผูก
มันไว้
่ มนคงปลอดภั
ั่ ย
1.2.6 จะต้องเก็บรวบรวม ตะปู สลักเกลียว แป้นเกลียว หรือหมุดยํ้า และวัสดุมคี มทุกวัน โดยเก็บไว้ใน
กล่องหรือทีเ่ ก็บอื่นทีเ่ หมาะสม
1.2.7 ต้องไม่วางเครื่องมือทิง้ ไว้ตามพืน้ ซึง่ อาจทําให้ผอู้ ่นื สะดุดหกล้มหรือเกิดอันตรายอื่นๆ และทุกครัง้
ก่อนเลิกงานจะต้องรวบรวมและเก็บเครื่องมือไว้ทแ่ี ผงเครื่องมือหรือทีๆ่ จัดไว้สาํ หรับเก็บเครื่องมือไม่
ใช้งานแล้ว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 43 of 521

1.2.8 ถุงบรรจุปนู หรือวัสดุทก่ี ่อให้เกิดฝุน่ ละออง จะต้องมีสงิ่ ปกปิ ดไม่ให้ฟ้ ุงกระจายและป้องกันไม่ให้เกิดความ


เสียหายเนื่องจากความชืน้
1.2.9 ตะปูทถ่ี ูกตอกโผล่ขน้ึ มาจะต้องถูกถอน ตอกให้ฝงั จมหรือตีพบั ปลายให้ฝงในเนื ั ้อไม้
1.2.10 เศษไม้ เศษวัสดุเหลือใช้และของต่างๆ ซึง่ เกิดจากการก่อสร้างอาคารจะต้องรวบรวมและขนย้าย ออกไปเก็บ
รวมกองให้เรียบร้อยโดยต้องไม่กองไว้ในลักษณะซึง่ อาจเกิดอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน หรือสัญจรไปมา
1.2.11 เมื่อกองวัสดุและขยะเก็บไว้ในอาคาร จะต้องกองไว้ในลักษณะทีจ่ ะไม่ทาํ ให้พน้ื รับนํ้าหนักเกินกําลังหรือใน
ลักษณะทีจ่ ะเป็ นอันตรายต่อผูป้ ฏิบตั งิ าน
1.2.12 ห้ามทิง้ สิง่ ของหรือขยะจากชัน้ บนลงชัน้ ล่างหรือลงสูพ่ น้ื ดิน เศษไม้และวัสดุควรจะใช้วธิ ผี กู รวมและหย่อนลง
เบือ้ งล่างโดยใช้รอก หรือโดยปล่องทิง้ ขยะหรือโดยวิธอี ่นื ๆ ทีป่ ลอดภัยและไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
1.2.13 ห้ามทําลายวัสดุเหลือใช้หรือขยะด้วยการเผา
1.3 การรักษาความปลอดภัยทัวไปในสถานที ่ ก่ ่อสร้าง
1.3.1 ห้ามลูกจ้างเข้าไปในอาคารทีก่ าํ ลังก่อสร้างหรือเขตก่อสร้างนอกเวลาทํางานโดยมิได้รบั มอบหมาย หรือได้รบั
อนุญาตจากนายจ้าง
1.3.2 จะต้องติดป้ายเตือนเขตก่อสร้างและเขตอันตราย บริเวณเข้า / ออกทุกแห่งและจัดให้มคี นให้สญ ั ญาณใน
ขณะทีม่ ยี านพาหนะขนส่งเข้า – ออก เขตก่อสร้าง
1.3.3 บริเวณทางขนส่งทีเ่ ลีย้ วโค้ง จะต้องติดตัง้ กระจกนูนขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร ทีห่ วั
มุมเลีย้ วโค้ง เพื่อให้ลกู จ้าง / คนงาน และผูข้ บั ขีย่ านพาหนะทีก่ าํ ลังสวนทางมามองเห็นได้สะดวก
1.3.4 เมื่องานสร้างอาคารเสร็จในแต่ละชัน้ หรือแต่ละส่วนหรือแต่ละวัน จะต้องจัดให้มกี ารสํารวจช่องว่างลิฟต์ ช่อง
เปิ ดต่างๆ แล้วทําราวกันตกหรือปิ ดคลุมด้วยวัสดุทแ่ี ข็งแรงรับนํ้าหนักได้ไม่น้อยกว่า 20 กิโลกรัมต่อตาราง
เมตร
1.3.5 จะต้องจัดให้มไี ฟส่องสว่างฉุกเฉินให้พร้อม เพื่อใช้ในกรณีทไ่ี ฟฟ้าดับ
1.3.6 ในบริเวณเขตก่อสร้างทีม่ วี สั ดุตดิ ไฟได้ง่าย จะต้องติดตัง้ เครื่องดับเพลิงขนาดทีพ่ ่นได้ระยะไม่น้อยกว่า 20
เมตร ครอบคลุมพืน้ ที่ 270 ตร.ม. ถึง 540 ตร.ม. อย่างน้อยหนึ่งเครื่องสําหรับพืน้ ทีท่ ุกๆ 280 ตร.ม. และไม่
ว่าในกรณีใดให้มเี ครื่องดับเพลิงขนาดไม่น้อยกว่า 8 กิโลกรัมและอุปกรณ์ผจญเพลิงประจํา ณ ทีเ่ ขตก่อสร้าง
อย่างน้อยหนึ่งเครื่อง
2. นังร้
่ านและบันไดไต่
2.1 ข้อกําหนดทัวไปเกี ่ ย่ วกับนังร้
่ านทุกแบบ
2.1.1 จะต้องสร้างนังร้ ่ านให้เป็ นไปตามข้อกําหนดนี้ ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านซึง่ ไม่สามารถจะปฏิบตั งิ านได้โดย
ปลอดภัยจากพืน้ ดินหรือจากสิง่ ก่อสร้างทีม่ นคง ั ่ ยกเว้นงานทีป่ ฏิบตั นิ นั ้ เป็ นงานในช่วงเวลาสัน้ ๆ ซึง่
สามารถจะปฏิบตั งิ านให้ปลอดภัยโดยใช้บนั ได
2.1.2 นังร้ ่ านหรือยกพืน้ ทีส่ งู เกินกว่า 3.70 เมตร นับจากพืน้ ดินหรือพืน้ ไม่ว่าจะเป็ นแบบแขวนลอยจากสิง่
มันคงเบื
่ อ้ งบน หรือรองรับจากพืน้ จะต้องสร้างราวกันตกไว้ดว้ ยการยึดด้วยสลักเกลียวคํ้ายัน หรือวิธี
อื่นทีจ่ ะทําให้มนคงโดยมี
ั่ ความสูงไม่ต่ํากว่า 90 เซนติเมตร และไม่เกิน 1.10 เมตรนับจากกระดานพืน้
นังร้
่ าน และจะต้องสร้างตามแนวยาวด้านนอกนังร้ ่ านตลอดไปจนสุดปลายทางเดินบนนังร้ ่ านเว้นไว้
่ านหรือยกพืน้ ดังกล่าวนี้ จะต้องยึดแน่นเพื่อป้องกัน
แต่ช่องทีจ่ าํ เป็ นต้องเปิ ดเพื่อขนถ่ายสิง่ ของ นังร้
ไม่ให้เซออกจากตัวอาคาร
2.1.3 นังร้ ่ านทุกแบบรวมทัง้ ฐานรองรับนังร้ ่ าน จะต้องรับนํ้าหนักได้ตามทีไ่ ด้คาํ นวณออกแบบไว้โดยจะต้อง
มีอตั ราความปลอดภัยอย่างน้อยเท่ากับ 4

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 44 of 521

2.1.4 จะต้องบํารุงรักษานังร้ ่ านทุกแบบ รวมทัง้ อุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ให้อยูใ่ นสภาพทีป่ ลอดภัย และจะต้อง


ไม่มกี ารดัดแปลงนังร้ ่ านหรือถอดชิน้ ส่วนออกขณะทีย่ งั ใช้งานอยู่
2.1.5 ถ้านังร้
่ านใดเกิดความเสียหาย หรือเกิดจุดอ่อนเนื่องจากเหตุใดก็ตามจะต้องได้รบั การซ่อมแซมทันที
และห้ามไม่ให้ผปู้ ฏิบตั งิ านใช้นงร้ ั ่ านนัน้ จนกว่าจะได้รบั การซ่อมแซมเสร็จเรียบร้อยแล้ว
2.1.6 ห้ามใช้นงร้ั ่ านเป็ นทีเ่ ก็บกองสิง่ ของ เว้นแต่ใช้เป็ นทีว่ างพักชัวคราว ่ และนังร้
่ านจะต้องไม่รบั นํ้าหนัก
เกินกําลัง
2.1.7 ห้ามใช้นงร้ ั ่ านแบบพิงไว้กบั อาคาร
2.1.8 ห้ามอนุญาตให้ผปู้ ฏิบตั งิ านทํางานบนนังร้ ่ านในขณะเกิดพายุ หรือลมแรง
2.1.9 ห้ามใช้ถงั ลัง กองกระเบือ้ ง หรือกองอิฐทีก่ ่อไว้หลวมๆ หรือวัตถุอ่นื ทีไ่ ม่มนคงเป็ ั่ นฐานรับกระดานซึง่
พาดเพื่อใช้เป็ นนังร้ ่ าน หรือเพื่อปฏิบตั งิ าน
2.2 นังร้
่ านแบบใช้ท่อเหล็ก
2.2.1 ส่วนประกอบนังร้ ่ านทุกชิน้ จะต้องเป็ นท่อเหล็กเหนียวอาบสังกะสี
2.2.2 ส่วนประกอบทัง้ แนวราบ และแนวดิง่ จะต้องยึดแน่น โดยใช้เครือ่ งยึดหรือเครื่องล๊อคห้าม เพื่อให้สว่ น
ทีต่ ่อกันแน่น เครื่องล๊อคห้ามจะต้องเป็ นแบบทีไ่ ม่มสี ว่ นใดหลวมคลอน
2.2.3 เครื่องยึด (Coupler) หรือเครื่องล๊อคห้าม (Locking device) จะต้องเป็ นเหล็กเหนียวอาบสังกะสี ห้าม
ใช้เหล็กหล่อ
2.2.4 ในการสร้างนังร้ ่ านแบบใช้ท่อเหล็ก จะต้องใช้สว่ นประกอบต่างๆ ตามขนาดดังต่อไปนี้
(1) นังร้ ่ านสําหรับงานเบา สําหรับนังร้ ่ านงานเบา ส่วนประกอบทัง้ เสา คาน และตงจะต้องมี
เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 ซม. โดยวางระยะระหว่างเสาตามแนวขวาง 1.80 เมตร และ
ระยะระหว่างเสาตามแนวยาว 3.00 เมตร ส่วนประกอบโยงยึดทัง้ หมดให้ใช้ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 เซนติเมตร
(2) นังร้ ่ านสําหรับงานขนาดกลาง สําหรับนังร้ ่ านซึง่ ใช้งานขนาดกลาง เสา และคานให้ใช้ขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 ซม. และตงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอก 6.35 ม. โดยวางระยะ
ระหว่างเสา ตามแนวขวาง 1.80 เมตร และระยะระหว่างเสาตามแนวยาว 2.40 เมตร
ส่วนประกอบโยงยึดทัง้ หมด ให้ใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 เซนติเมตร
(3) นังร้ ่ านสําหรับงานหนัก สําหรับนังร้ ่ านงานหนัก เสาและคานให้ใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ภายนอก 5 ซม. และตงใช้ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 6.35 ซม. โดยวางระยะระหว่าง
เสาตามแนวทาง 1.80 เมตร และระยะระหว่างเสา ตามแนวยาว 2.00 เมตร ส่วนประกอบโดย
ยึดทัง้ หมดให้ใช้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5 เซนติเมตร
2.2.5 สําหรับนังร้ ่ านแบบใช้ท่อเหล็ก ซึง่ สูงไม่เกิน 22.85 เมตร ให้ใช้เสาขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 5
ซม. ส่วนนังร้ ่ านทีส่ งู เกินกว่า 22.85 เซนติเมตร แต่ไม่เกินกว่า 60.90 เมตร ให้ใช้เสาขนาด
เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก 6.35 เซนติเมตร
2.2.6 นังร้
่ านแบบใช้ท่อเหล็ก จะต้องออกแบบให้มอี ตั ราความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 4 อาจจะใช้อตั ราความ
ปลอดภัยทีท่ ส่ี งู กว่านี้ โดยคํานึงถึงการใช้งานนังร้ ่ าน
2.2.7 จะต้องตัง้ เสาให้อยู่ในแนวดิง่ และมีค้าํ ยันรับตามลําดับ เพื่อให้เสามันคงและรั ่ กษาแนวดิง่ ไว้
2.2.8 เสาจะต้องยึดแน่นกับฐาน ซึง่ วางบนฐานรากทีม่ นคง ั ่ หรือวางบนแผ่นเหล็กเพื่อเฉลีย่ นํ้าหนัก
2.2.9 สําหรับนังร้ ่ านล้อเลื่อนใช้สาํ หรับงานภายในอาคาร ฐานเสาจะต้องมีวงล้อหรือล้อเลื่อน (Casters) ซึง่
เป็ นแบบทีใ่ ช้สาํ หรับงานนังร้ ่ านโดยเฉพาะ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 45 of 521

2.2.10 ท่อเหล็กทีน่ ํามาต่อเป็ นคาน จะต้องต่อและยึดให้แน่นด้วยหัวต่อปลายชนปลายและยึดกับเสาทีจ่ ดุ ตัดโดยใช้


เครื่องยึด
2.2.11 คานต่างๆ ไม่ว่าตามแนวยาว หรือแนวขวางจะต้องอยูใ่ นระดับราบ
2.2.12 ในการประกอบคานอันทีอ่ ยู่เหนือขึน้ ไป เริม่ แรกจะต้องจัดระยะความสูงของเครื่องยึดซึง่ สวมไว้กบั เสาด้วย
การใช้ไม้วดั ระยะ
2.2.13 ตงจะต้องวางตัง้ ฉาก และยึดแน่นกับคานโดยใช้เครื่องยึด
2.2.14 จะต้องติดตัง้ ตงให้เสร็จเรียบร้อยทีร่ ะดับใช้งานต่างๆ รวมทัง้ ระดับกึง่ กลางในขณะทีป่ ระกอบกระดานพืน้
2.2.15 ตงจะต้องยาวเกินแนวเสา ไม่ว่าด้านในหรือด้านนอก ไม่น้อยกว่า 25.00 เซนติเมตร
2.2.16 ในกรณีนงร้ ั ่ านแบบเสาเรียงเดีย่ ว ปลายในของตงจะต้องสอดผ่านอิฐก่อโดยมีเหล็กแผ่นขนาด 4.50 มม. ยึด
ติดไว้ดา้ นหลัง
2.2.17 ตงควรจะมีระดับเอียงตํ่าเล็กน้อย เข้าหาผนังตึก
2.2.18 จะต้องมีค้าํ ยันซึง่ ทําด้วยท่อเหล็ก ยึดทัง้ แนวของนังร้ ่ าน ตามจุดทีจ่ าํ เป็ น
2.2.19 คํ้ายันตามแนวยาวจะต้องติดตัง้ อยู่ดา้ นนอกร้าน ให้ยดึ ติดกับปลายตงส่วนทีย่ ่นื ออกมาด้วยเครื่องยึด
2.2.20 จะต้องมีค้าํ ยันยึดตามแนวขวางของนังร้ ่ านทุกๆ สี่ หรือห้า ช่วงเสา โดยมีเครื่องยึดติดกับคานโดยติดช่องเว้น
ช่องทีร่ ะดับต่างๆ กัน
2.2.21 ฐานเสาซึง่ ไม่มคี าน หรือตงยึดอยู่จะต้องมีเครื่องยึดชนิดเลื่อนแต่ตําแหน่งได้ไว้ยดึ คํ้ายันเสา
2.2.22 จะต้องมีการตรวจสอบนังร้ ่ าน ตามระยะเวลาและบ่อยครัง้ ในระหว่างใช้งาน
2.2.23 กรณีผรู้ บั จ้างจะใช้นงร้ ั ่ านชนิด และขนาดแตกต่างจากทีก่ าํ หนดดังกล่าวนี้ให้ผรู้ บั จ้างจัดทํารายการคํานวณ
เสนอ พร้อมมีวศิ วกรผูค้ วบคุมการก่อสร้างของผูร้ บั จ้างลงนามรับรองบันไดไต่
2.3 ข้อกําหนดทัวไปเกี ่ ย่ วกับบันไดไต่
2.3.1 ยกเว้นทีซ่ ง่ึ ได้จดั ให้มบี นั ไดถาวร หรือชัวคราว
่ ทางลาด (Ramps) จะต้องจัดให้มบี นั ไดไต่ ขึน้ สูพ่ น้ื ปฏิบตั งิ าน
ซึง่ สูงจากพืน้ ดินหรือพืน้ ถาวรหรือพืน้ ชัวคราวเกิ
่ นกว่า 1.50 เมตรขึน้ ไปข้อกําหนดนี้อาจยกเว้นได้ถา้ ได้จดั ทางขึน้ สะดวก
อย่างอื่นทีเ่ หมาะสม เช่น นังร้ ่ านคานหาม นังร้ ่ านลอยซึง่ ใช้ในการก่อสร้างโครงเหล็ก
2.3.2 จะต้องติดตัง้ บันไดไต่ดงั กล่าวไว้จนกระทังได้ ่ สร้างบันไดถาวรเสร็จ และพร้อมทีจ่ ะใช้งานได้ และเมื่อมีการ
ทํางานในระดับสูงเกินกว่า 18 เมตรจากพืน้ ดินควรงดใช้บนั ไดไต่ และต้องสร้างบันไดถาวรตามไป ให้ทนั ใช้
งาน
2.3.3 บันไดไต่แบบต่างๆ จะต้องดําเนินการโดยมีวศิ วกรผูค้ วบคุมการก่อสร้างของผูร้ บั จ้างรับรองความปลอดภัย
2.4 ข้อควรระวังและวิธใี ช้บนั ไดไต่
2.4.1 ในการใช้บนั ไดไต่ยกย้ายได้ จะต้องพาดบันไดโดยให้ระยะนับจากฐานบันไดถึงเส้นตัง้ ฉากลากจากจุดที่
บันไดพาดลงมา ประมาณหนึ่งในสีข่ องความยาวบันได นับจากฐานบันไดถึงจุดทีบ่ นั ไดพาด ในกรณีท่ี
จําเป็ นต้องพาดบันไดเกือบอยู่ใน แนวตัง้ จะต้องผูกยึดปลายบันไดเพื่อป้องกันบันไดหงายลงมา และถ้าพาด
ในแนวเกือบราบ จะมีค้าํ ยันบันไดเพื่อป้องกันบันไดแอ่น
2.4.2 ในการปลูกสร้างอาคารสูงเกินกว่าสองชัน้ ถ้ามีการขึน้ ลงมาก ควรจะสร้างบันไดไต่แยกไว้เป็ นทางขึน้ และ
ทางลง
2.4.3 ห้ามใช้บนั ไดไต่เดีย่ วยกย้าย ซึง่ ยาวเกินกว่า 9.00 เมตร ถ้าจําเป็ นต้องขึน้ ทีส่ งู กว่านี้ จะต้องติดตัง้ บันไดอีก
อันหนึ่ง โดยจัดให้มชี านพักเมื่อสุดบันไดส่วนหนึ่ง
2.4.4 ห้ามใช้บนั ไดไต่ชนั ้ บันไดฝงั ซึง่ มีบนั ไดยึดติดกับแม่บนั ไดเพียงอันเดียว
2.4.5 ห้ามต่อบันไดสัน้ เข้าด้วยกัน เพื่อเพิม่ ความยาวของบันได

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 46 of 521

2.4.6 ห้ามใช้บนั ไดไต่เหยียบเป็ นยกพืน้ สําหรับปฏิบตั งิ าน


2.4.7 ห้ามนําบันไดไต่ ไปวางหรือใช้งานในปล่องลิฟต์โดยสาร หรือปล่องลิฟต์สง่ ของเว้นแต่ผใู้ ช้เป็ นผูป้ ฏิบตั งิ านใน
ปล่องลิฟต์โดยสาร หรือปล่องลิฟต์สง่ ของนัน้ โดยได้ป้องกันสิง่ ของทีจ่ ะหล่นลงมา ซึง่ เกิดจากการปฏิบตั งิ าน
บนทีส่ งู ในหรือใกล้เคียงปล่องลิฟต์นนั ้
2.4.8 เมื่อใช้บนั ไดไต่ยกย้ายได้บนพืน้ เรียบ หรือผิวเรียบอื่นๆ จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์กนั ลื่นทีฐ่ านบันได หรือยึดฐาน
บันไดไว้ให้มนคง ั ่ เพื่อป้องกันบันไดไกลลื่น
3. กว้านและลิฟต์
3.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
กว้านหรือลิฟต์ทใ่ี ช้สง่ ผูโ้ ดยสารหรือสิง่ ของ จะต้องควบคุมการใช้โดยผูท้ ม่ี คี วามชํานาญและได้รบั มอบหมาย
หน้าทีใ่ นการควบคุม และต้องรายงานการตรวจสอบรับรองการใช้งานจากวิศวกรเครื่องกล ผูค้ วบคุมดูแล
กว้านและลิฟต์ทุก 15 วัน
3.2 เครื่องกว้าน
3.2.1 เครื่องกว้านต้องมีกาํ ลังสูง และมีเบรกทีจ่ ะบังคับ 150% ของอัตรานํ้าหนักบรรทุกให้หยุดได้ และ
สามารถบังคับนํ้าหนักบรรทุกสูงสุดได้ตามตําแหน่งทีต่ อ้ งการ
3.2.2 จะต้องสร้างหลังคาทีแ่ ข็งแรงเพือ่ ป้องกันตัวเครื่องกว้าน และผูค้ วบคุมให้ปลอดภัยจากฝน หรือวัสดุท่ี
อาจตกหล่นมาจากชัน้ บน
3.2.3 จะต้องตรวจสอบส่วนประกอบของเครื่องกว้านอยู่เสมอ เช่น เบรกหมู่เฟืองคันบังคับ จะต้องอยู่ใน
สภาพใช้งานได้ดี
3.2.4 จะต้องระมัดระวังไม่ให้กะบะเบรกเปรอะเปื้ อนนํ้ามันเครื่อง หรือจาระบีหรือสารชนิดอื่นใด ซึง่ ลด
ประสิทธิภาพของเบรก
3.2.5 ไม่ควรติดตัง้ เครื่องกว้านในทางสาธารณะ เมื่อสามารถจะหลีกเลีย่ งได้แต่ถา้ จําเป็ นจะต้องสร้างห้อง
กันไว้ เพื่อป้องกันอันตรายซึง่ อาจจะเกิดแก่สาธารณะ เครื่องยนต์และผูป้ ฏิบตั งิ าน
3.2.6 ในการขับเคลื่อนเครื่องกว้าน ผูบ้ งั คับจะต้องให้สญ ั ญาณไฟ หรือเสียงสัญญาณให้ผอู้ ยู่ใกล้เคียงทราบ
3.2.7 เมื่อเครื่องยนต์ของเครื่องกว้านติดตัง้ บนชัน้ ทีอ่ ยู่สงู จากพืน้ ดินขึน้ ไปจะต้องสร้างราวกัน้ และขอบกัน
ของตกทุกด้านทีเ่ ปิ ดโล่งอยู่
3.3 ลิฟต์สง่ ของและลิฟต์โดยสาร
3.3.1 ลิฟต์ภายในสถานทีก่ ่อสร้าง จะต้องจัดให้ผทู้ ไ่ี ด้รบั ใบอนุญาตเป็นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
สาขาวิศวกรรมโยธา จากสภาวิศวกร เป็ นผูอ้ อกแบบ และคํานวณโครงสร้างพร้อมทัง้ กําหนด
รายละเอียดของหอลิฟต์และตัวลิฟต์อย่างน้อยให้เป็ นไปตามข้อกําหนด ดังต่อไปนี้
(1) หอลิฟต์ ต้องสามารถรับนํ้าหนักได้ไม่น้อยกว่าสองเท่าของนํ้าหนักการใช้งาน(Working Load)
(2) คานสําหรับติดตัง้ รอกและฐานทีร่ องรับคาน ต้องมีความแข็งแรงพอทีจ่ ะรับนํ้าหนักรอกนํ้าหนักตัว
ลิฟต์ และนํ้าหนักบรรทุก (Live Load) โดยมีสว่ นปลอดภัย (Safety Factor)
(3) หอลิฟต์ทส่ี ร้างด้วยไม้ ต้องสร้างด้วยไม้ทม่ี หี น่วยแรงดันประลัย (Ultimatic Bending Stress) ไม่น้อย
กว่า 800 KSC. และมีสว่ นปลอดภัยไม่น้อยกว่าแปด
(4) หอลิฟต์ทส่ี ร้างด้วยโลหะ ต้องเป็ นโลหะทีม่ จี ุดราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2400 KSC. และมีสว่ น
ปลอดภัยไม่น้อยกว่าสอง
(5) ฐานรองรับหอลิฟต์ ต้องมีความมันคงสามารถรั ่ บนํ้าหนักได้ไม่กว่าสองเท่าของ นํ้าหนัก หอลิฟต์
นํ้าหนักตัวลิฟต์ และนํ้าหนักบรรทุก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 47 of 521

(6) ตัวลิฟต์ ต้องมันคงแข็


่ งแรงสามารถรับนํ้าหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่าห้าเท่าของ นํ้าหนักใช้งาน (Working
Load) และต้องมีขอบกันของตกสูงไม่น้อยกว่า 7 ซม. จากพืน้ ของตัวลิฟต์โดยรอบและ ด้านทีม่ ใิ ช่ทางขนของเข้า - ออก
ต้องมีผนังปิ ดกัน้ ด้วยไม้หรือลวดตาข่าย มีความสูง จากพืน้ ของตัวลิฟต์ ไม่น้อยกว่า 1.00 ม.
(7) หอลิฟต์ ต้องมีการยึดโยง คํ้ายัน หรือตรึงกับพืน้ ดิน หรือตัวอาคารให้มนคง ั ่ แข็งแรง และปลอดภัย
3.3.2 ห้องลิฟต์จะต้องมีโครงสร้างและคุณสมบัติ ดังนี้
(1) ห้องลิฟต์ จะต้องมีลวดตาข่าย เบอร์ 16 (U.S.Gage) ขนาดช่อง 3.8 x 3.8 ซม. ปิ ดกัน้ โดยรอบ สูงอย่างน้อย 2.40
ม. พร้อมขอบกันของตก ทางเข้า - ออก จะต้องปิ ดกัน้ ด้วย ประตูเลื่อนสูงไม่น้อยกว่า 1.70 ม. ตัง้ สูงจากพืน้ ไม่เกิน 5 ซม.
และห่างจากปล่องลิฟต์ หรือหอลิฟต์ไม่ เกิน 15 ซม. ประตู จะต้องมีกลไกในการล๊อค หรือใส่กลอน
(2) ทางเดินระหว่างห้องลิฟต์กบั สิง่ ก่อสร้าง จะต้องมีราวกันตกสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. และไม่เกิน 1.10
เมตร จากพืน้ ทางเดินและขอบกันของตกสูงไม่น้อยกว่า 7 ซม. จากพืน้ ทางเดิน
(3) พืน้ ลิฟต์จะต้องออกแบบและก่อสร้างอย่างมันคงแข็ ่ งแรงมีสว่ นปลอดภัยในการ บรรทุกตามอัตราไม่
น้อยกว่าห้า
(4) เพดานห้องลิฟต์ จะต้องคลุมด้วยลวดตาข่ายหรือปูดว้ ยไม้เพื่อป้องกันอันตราย จากของทีอ่ าจตกลง
มาในปล่องลิฟต์
3.3.3 ลวดสลิงและลิฟต์รอก และมอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) ลวดสลิงทุกเส้นทีใ่ ช้แขวนลิฟต์จะต้องใช้ลวดสลิง ขนาด Plow Steet เป็ นอย่างน้อย และจะต้อง
ประกอบด้วยกลุ่มเส้นลวดอย่างน้อย 6 กลุ่ม แต่ละกลุ่มประกอบด้วยลวด 19 เส้น ลวดสลิงทีใ่ ช้ยก
ลิฟต์จะต้องมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 12.70 มม.
(2) ขนาดของลวดสลิง ซึง่ ใช้แขวนลิฟต์อยู่กบั อัตราส่วนปลอดภัย (Safety Factor) นํ้าหนักทีจ่ ะยก และอัตราความเร็ว
ของลิฟต์หรือกว้าน ซึง่ แสดงในตารางข้างล่างนี้ แสดงอัตราความเร็วของลิฟต์หรือ กว้าน
อัตราความเร็วของลิฟต์ (เมตร/ อัตราส่วนปลอดภัย (Safety Factor)
นาที) ลิฟต์โดยสาร ลิฟต์สง่ ของ
15 7.50 6.67
30 7.85 7.00
45 8.20 7.32
60 8.54 7.64
(3) ห้ามใช้ลวดสลิงทีม่ คี ุณสมบัตดิ งั นี้ กับลิฟต์ทุกชนิด
- เมื่อลวดสลิงมีเส้นลวดขาดเกินกว่า 10% ต่อช่วงความยาว 30 เซนติเมตร
- เนื้อลวดสลิงส่วนทีข่ ดั สีกบั รอกสึกไปกว่า 30% ของพืน้ เดิม
- โดยการตรวจดูผวิ ของลวดสลิง ปรากฏรอยสนิมผุกร่อนอย่างชัดเจน
(4) การทําห่วงสลิง จะต้องทําอย่างมันคง ่ แข็งแรง
(5) ขนาดของลวดสลิงและรอกทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีย่ อมให้ใช้ตอ้ งมีขนาดตามตารางข้างล่างนี้

ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง


ของลวดสลิง ของรอก ของเพลา
(เซนติเมตร) (เซนติเมตร) (เซนติเมตร)
1.27 30 3.00
1.60 35 3.65

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 48 of 521

1.90 40 4.50
2.22 45 5.00
2.54 50 5.50

(6) การติดตัง้ มอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องดําเนินการให้เป็ นไปตามข้อบัญญัตหิ รือมาตรฐานเพื่อความปลอดภัย


ทางด้านไฟฟ้าทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล
(7) จะต้องติดตัง้ ตูส้ วิทซ์ปิด – เปิ ดและตูฟ้ ิวส์ ควบคุมการทํางานของมอเตอร์ไฟฟ้าเสมอ
(8) แผงสวิทซ์มอเตอร์ไฟฟ้า จะต้องมีตาข่ายกัน้ หรือเป็ นเหล็กปิ ดล้อมและมีเครื่องหมายเตือนผูไ้ ม่เกีย่ วข้องเข้า
ใกล้
3.3.4 ข้อกําหนดการใช้ลฟิ ต์
(1) ผูท้ าํ หน้าทีบ่ งั คับ / ควบคุมลิฟต์ จะต้องเป็ นผูไ้ ด้รบั การฝึกอบรมก่อน
(2) ให้มกี ารตรวจสอบลิฟต์ทุกวัน ถ้ามีสว่ นใดชํารุดเสียหายต้องซ่อมแซมให้เรียบร้อยก่อนทีจ่ ะใช้งาน
(3) ติดป้าย “ห้ามใช้ลฟิ ต์” ให้ทุกคนทราบในกรณีทล่ี ฟิ ต์ไม่อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน หรือไม่มผี ทู้ าํ หน้าทีบ่ งั คับ /
ควบคุมลิฟต์
(4) ห้ามมิให้บุคคลใดใช้ลฟิ ต์โดยลําพัง
(5) ต้องติดป้ายบอกพิกดั นํ้าหนักบรรทุก ไว้ทล่ี ฟิ ต์ให้เห็นได้ชดั เจน
(6) ต้องจัดวางและป้องกันมิให้วสั ดุตกหรือยื่นออกมาขัดกับโครงหอลิฟต์
(7) ในการใช้ลฟิ ต์ขนรถขนของหรือเครื่องมือทีม่ ลี อ้ ต้องป้องกันมิให้รถหรือเครื่องมือนัน้ เคลื่อนทีไ่ ด้
3.4 หอลิฟต์
3.4.1 หอลิฟต์ทส่ี ร้างอยูภ่ ายนอกอาคาร จะต้องสร้างด้วยวัสดุทแ่ี ข็งแรง
3.4.2 ฐานของหอลิฟต์ จะต้องกว้างพอทีแ่ ผ่น้ําหนักของหอลิฟต์ทงั ้ หมดลงสูด่ นิ โดยทีไ่ ม่เกินกําลังปลอดภัยของดิน
ทีจ่ ะรับได้ ฐานรากจะต้องได้ระดับราบ
3.4.3 การสร้างหอลิฟต์ จะต้องดําเนินการโดยผูม้ ปี ระสบการณ์ในการสร้างมาก่อนเท่านัน้
3.4.4 จะต้องมีลวดสลิงโยงยึดตัวหอลิฟต์ และปลายลวดสลิงอีกด้านหนึ่งจะต้องยึดแน่นกับแท่น
3.4.5 ลวดสลิงโยงยึดจะต้องยึดแน่นกับแท่นตอม่อทีม่ ขี นาดใหญ่ และฝงั จมให้ลกึ พอเพียง เว้นแต่ลวดสลิงนัน้ จะ
โยงยึดกับอาคารได้พอดี
3.4.6 บริเวณชานขนของ เข้าและออกจากประตูลฟิ ต์ จะต้องมีขนาดใหญ่พอและแข็งแรงรวมทัง้ จะต้องมีราวกัน้
และขอบกันของตก และจะต้องทําทุกชัน้ ทีค่ นงานทํางาน
3.4.7 ทุกด้านของหอลิฟต์ จะต้องปิ ดตลอดความสูงของหอลิฟต์นนั ้ โดยใช้ลวดตาข่ายเบอร์ 16 (US. Gage) ขนาด
ช่อง 3.8 ซม. x 3.8 ซม. ลวดตาข่ายจะต้องยึดแน่นกับโครงสร้างของหอลิฟต์ ยกเว้นช่องประตูทเ่ี ข้าออกแต่ ละ
ชัน้ ซึง่ จะต้องมีเครื่องป้องกันพอสมควร
3.4.8 ส่วนบนสุดของหอลิฟต์ จะต้องมีความแข็งแรงพอทีจ่ ะรับนํ้าหนักของรอกนํ้าหนักห้องบรรทุกของ และ
นํ้าหนักของทีจ่ ะยก โดยมีสว่ นปลอดภัยไม่น้อยกว่า 5
3.4.9 เมื่อต้องการสร้างหอลิฟต์ทส่ี งู มาก ควรสร้างเป็ นส่วนๆ โดยการสร้างส่วนล่างสูงพอเหมาะกับการใช้งาน เมื่อ
สร้างตึกสูงขึน้ จึงค่อยสร้างหอลิฟต์ให้สงู ตามเพื่อจะได้เสริมความแข็งแรงให้กบั ตัวหอลิฟต์มากขึน้
3.4.10 ควรมีแผงกัน้ ทีท่ าํ ด้วยตาข่าย หรือไม้ สําหรับกันมิให้คนเข้าไปในบริเวณใต้ชานพักลิฟต์
3.4.11 จะต้องปิ ดประกาศแจ้งทราบเมื่อคนงานทํางานส่วนทีเ่ กีย่ วกับหอลิฟต์ การทํางานบนหลังคาลิฟต์ ทีเ่ ครื่อง
กว้านหรือในบ่อลิฟต์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 49 of 521

3.4.12 จะต้องจัดให้มกี ารตรวจตราเครือ่ งมือ เครื่องจักรทุกชิน้ ก่อนทีจ่ ะเริม่ ให้ลฟิ ต์ทาํ งานทุกวัน
3.5 ั ้ น่
ปนจั
3.5.1 จะต้องสร้าง ติดตัง้ บํารุงรักษา และใช้งานปนจั ั ้ น่ โดยไม่ให้ชน้ิ ส่วนใดรับแรงเกินกว่าหน่วยแรงใช้ทป่ี ลอดภัย
และจะต้องปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตามกฎหมาย
3.5.2 จะต้องตรวจสอบลวดสลิงทุกเส้น ก่อนนําไปใช้งาน ลวดสลิงเส้นใดขึน้ สนิมมากหรือลวดแตกเกลียวตัง้ แต่รอ้ ย
ละสิบขึน้ ไปของจํานวนลวดทัง้ หมดต่อความยาวของลวดสลิง 90 เซนติเมตรจะต้องไม่นํามาใช้งานอีก
3.5.3 ฐานของปนจั ั ้ นจะต้ ่ องมีทร่ี องรับแข็งแรงและยึดมันคง ่ เพื่อป้องกันไม่ให้เคลื่อนตัวไปทิศทางใดๆ
3.5.4 ก่อนการติดตัง้ ปนจั ั ้ นแบบสายโยงยึ
่ ด จะต้องตรวจสอบว่า รอก แช็คเกิล้ รอกเคลื่อนและการต่อส่วนต่างๆ ที่
ปลายเสากระโดงอยู่ในสภาพดี
3.5.5 ปนจั ั ้ นแบบสายโยงยึ
่ ด ลวดสลิงดึงทางด้านปลายเสา ควรจะทําเป็ นห่วงสลิง โดยมีเหล็กรองห่วงสลิง
(Thimble) เพื่อป้องกันลวดสลิงหักพับ และปลายสลิงยึดด้วยกริบ๊ Clips or U-clamps) (3 ตัว สายโยงยึด
จะต้องยึดมันคงกั ่ บแผ่นยึดสลิงหัวเสา โดยใช้แช็คเกิล้ (Shackle) และสลัก ของแช็คเกิล้ ควรเป็นแบบสวมเข้า
ทีโ่ ดยใช้เดือยล๊อคขวาง (Cotter pin) ห่วงสลิง ถ้าไม่ใช้เป็ นกริบ๊ สลิง อาจจะใช้ห่วงสลิงสําเร็จรูป (Socket
fiting) แทนได้
3.5.6 ปลายเสากระโดงของปนจั ั ้ นแบบสายโยงยึ
่ ดจะต้องอยู่คงที่ และจะต้องยึดโดยลวดสลิงไม่น้อยกว่า 6 เส้น
ดึงทํามุมระหว่างกันเท่ากัน
3.5.7 ถ้าใช้ “ตอม่อ” เป็ นหลักยึดสายโยงยึด จะต้องระวังไม่ไห้ตอม่อนัน้ รับแรงเกินกว่าหน่วยแรงเฉือนของวัตถุท่ี
นํามาใช้ทาํ ตอม่อ
3.5.8 จะต้องระวังไม่ให้สว่ นหนึ่งส่วนใดของปนจั ั ้ น่ สายโยงยึด หรือสิง่ ของทีย่ กกระทบกับสายไฟฟ้า
3.5.9 จะต้องระวังไม่ให้สงิ่ ของทีย่ ก สลิงทีใ่ ช้ยกของและคันยก กระแทกนังร้ ่ าน วัตถุหรือโครงสร้าง
3.5.10 สายดึง หรือสายโยงยึดจะต้องมีขนาดทีจ่ ะใช้ได้กบั นํ้าหนักสิง่ ของทีย่ กต่างๆ กันโดยสิง่ ของนัน้ แกว่งได้อสิ ระ
จะต้องใช้ผปู้ ฏิบตั งิ านซึง่ มีความชํานาญคอยควบคุมสายดึงเหล่านี้
3.5.11 สําหรับปนจั ั ้ นแบบขายยึ
่ ดตายตัว (Stiff–leg derricks) ซึง่ จะมีคนั ยกยาวกว่าเสากระโดง อุปกรณ์คอห่าน
(Goose necks) ทีป่ ลายเสากระโดงจะต้องยึดแน่นกับขายึดตายตัว เพื่อไม่ให้เกิดแรงเสียดทานทีแ่ กนเสา
มากเกินไป
3.5.12 นํ้าหนักถ่วงและหลักยึด (Anochoring) ทีใ่ ช้กบั ขายึดตายตัวจะต้องอยู่ในลักษณะทีท่ าํ ให้ปนจั ั ้ นทรงตั
่ วได้ดี
3.5.13 จะต้องใช้ผชู้ าํ นาญการ ตรวจสอบสภาพปนจั ั ้ นทุ ่ กวัน และบันทึกผลการตรวจสอบสภาพไว้ท่ี ทีค่ วบคุมปนจั ั ้ น่
นัน้ จนกระทังงานแล้ ่ วเสร็จ
3.5.14 ให้ใช้ผปู้ ฏิบตั งิ านทีม่ คี วามชํานาญไว้ควบคุมดูแลปนจั ั ้ น่ และห้ามไม่ให้ผอู้ ่นื ทีไ่ ม่ได้มอบหมายมาปฏิบตั กิ าร
เกีย่ วกับปนจั ั ้ นนั ่ น้
3.5.15 ห้ามผูป้ ฏิบตั งิ าน โดยสารไปกับสิง่ ของซึง่ ปนจั ั ่ นกํ ่ าลังยกอยู่
3.516 ห้ามยกสิง่ ของ หรือยกเบนสิง่ ของข้ามศรีษะของบุคคลใด และห้ามบุคคลใดเดินลอดใต้สงิ่ ของทีย่ กลอยตัว
3.5.17 ขณะพักงาน หรือขณะไม่ใช้ปนจั ั ่ น่ จะต้องวางคันยกลงแนวราบหรือผูกยึดเอาไว้เพื่อป้องกันแรงลม ซึง่ อาจจะ
พัดให้คนั ยกแกว่งหรือหมุนไป
3.5.18 จะต้องให้ผชู้ าํ นาญงาน หรือจัดให้มกี ารควบคุมดูแลการผูกสลิงรัดสิง่ ของให้ถูกต้อง
3.5.19 ต้องจัดให้มหี า้ มล้อ ซึง่ สามารถจะบังคับหยุด นํ้าหนักสิง่ ของได้รอ้ ยละ 150 ของพิกดั นํ้าหนักทีป่ นจั ั ้ นจะยกได้

และจะต้องอยู่ในสภาพใช้การได้ดอี ยู่เสมอ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 50 of 521

3.5.20 ปนจั ั ้ นสํ


่ าหรับวางท่อ จะต้องตรวจสอบสภาพรอกเคลื่อน ขอเกีย่ ว ลวดสลิงห้ามล้อ และเชือก หรือโซ่ ทุกวัน
ก่อนเริม่ งาน
3.5.21 ปนจั ั ้ นสํ
่ าหรับวางท่อจะต้องมีหา้ มล้อ ชนิดใช้แรงเสียดทานและเดือยบังคับหยุด (Pawl) ไว้ทแ่ี กน
กว้านม้วนสลิง
3.5.22 ปนจั ั ้ นสํ
่ าหรับวางท่อต้องใส่ครอบป้องกันอันตรายทีเ่ ฟืองขับ และรอกทุกตัว
3.5.23 เมื่อเสร็จงานปนจั ั ้ นสํ ่ าหรับวางท่อ จะต้องม้วนลวดสลิงให้สดุ และใช้โซ่รอ้ ยแกนกว้านล๊อคด้วยกุญแจ
3.5.24 ถ้าใช้ปนจั ั ่ นสํ
่ าหรับวางท่อ ซึง่ ติดตัง้ บนรถบรรทุกหรือรถแทร็คเตอร์ จะต้องระมัดระวังการยกสิง่ ของทีจ่ ะไม่
ทําให้รถบรรทุก หรือรถแท็คเตอร์ พลิกควํ่า
3.6 ทาวเวอร์เครน (Tower crane) เครื่องมือทีส่ าํ คัญตัวหนึ่งของงานก่อสร้าง ซึง่ มีขนาดและ Function ต่างๆ กัน ซึง่
ผูร้ บั จ้างจะต้องมีวศิ วกรรับรอง ในการติดตัง้ และใช้งานในการก่อสร้าง
3.6.1 การติดตัง้ Tower crane จะต้องตัง้ อยู่บนฐานทีม่ นคง ั ่ และไม่ลาดเอียง
3.6.2 ถ้าความสูงเกิน 80 เมตร ต้องยึดตึกกับอาคาร เพื่อเสริมความมันคง ่
3.6.3 Tower crane ชนิดไต่ตวั ตามตัวอาคาร เช่น ติดตัง้ ในช่องลิฟต์ ต้องใช้คานเหล็กรองรับทีม่ นคงแข็ ั่ งแรง
3.6.4 ต้องตรวจสอบดูแล Hydraulic และหมันตรวจนํ ่ ้ามัน Hydraulic ให้เต็มอยู่เสมอ
3.6.5 ต้องติดตัง้ Limit switch และจุดต่อของสายไฟฟ้าต้องขันยึดให้แน่น
3.6.6 ลวดสลิงใน Boll ต้องไม่ขบกันและเส้นลวดไม่แตก
3.6.7 ควรตรวจดูลวดสลิง ไม่ให้ตกร่องจากรอกตลอดเวลา
3.6.8 ต้องตรวจสอบ Tower crane และอุปกรณ์ทุกชิน้ ก่อนลงมือปฏิบตั งิ าน
3.6.9 จะต้องใช้ผชู้ าํ นาญการ ตรวจสอบสภาพ Tower crane ทุกวัน และบันทึกผลการตรวจสอบสภาพไว้ท่ี ที่
ควบคุม Tower crane นัน้ จนกระทังงานแล้ ่ วเสร็จ
3.6.10 การรือ้ หรือการย้ายเพื่อไปติดตัง้ ยังตําแหน่งใหม่ ต้องอยูใ่ นความดูแลของวิศวกรโดยตลอด
3.6.11 ให้ใช้ผทู้ ม่ี คี วามชํานาญได้รบั การฝึกอบรมมาก่อน และมีใบอนุญาตเท่านัน้ เป็ นผูบ้ งั คับเคลื่อน Tower crane
ห้ามมิให้ผอู้ ่นื ทีไ่ ม่ได้รบั มอบหมายมาปฏิบตั กิ ารเป็ นอันขาด
4. พืน้ ชัวคราว ่ ราวกัน้ ขอบกันของตก และบันได ช่องเปิ ด
4.1 พืน้ ชัวคราว ่ (ไม้)
4.1.1 จะต้องปูพน้ื ไม้ชวคราวทุ ั่ กๆ ชัน้ ซึง่ ยังไม่ได้เทพืน้ ถาวร หรือไม่ได้ปไู ม้แบบสําหรับเทพืน้ พืน้ ไม้ชวคราวนี
ั่ ้
จะต้องปูปิดแถวของคานทัง้ หมด เว้นไว้แต่ชว่ งทีจ่ ะใช้เป็ นทางสําหรับขึน้ ลงบันไดไม้ทใ่ี ช้ปพู น้ื ชัวคราวจะต้ ่ อง
ไม่มเี สีย้ น หรือตะปูตอกโผล่ปลายแหลมอยู่
4.1.2 ไม้ปพู น้ื ชัวคราว ่ จะต้องเป็ นไม้เนื้อแข็ง ความหนาไม่น้อยกว่า 5 ซม. สําหรับกรณีพาดวางช่วงคานไม่เกิน 3
ม. และความหนาไม่น้อยกว่า 2 ซม. สําหรับกรณีปพู น้ื บนแถวของตงรับพืน้ ซึง่ พืน้ ชัวคราวจะต้ ่ องรับนํ้าหนัก
ได้ไม่น้อยกว่า 450 กก./ตรม.
4.1.3 การปูกระดานพืน้ จะต้องปูชดิ กัน ให้ปลายไม้กระดานทุกแผ่นวางอยู่บนฐานรับทีม่ นคง ั ่ เพื่อป้องกันการพลิก
กระดกหรือตะแคง และแต่ละฝา่ ยจะต้องทับบนฐานรับอย่างน้อย 10 ซม.
4.1.4 ก่อนจะทําการรือ้ ไม้กระดานพืน้ ออก จะต้องเก็บเศษวัตถุสงิ่ ของบนพืน้ ออกก่อนเพื่อป้องกันเศษวัตถุสงิ่ ของ
เหล่านี้ตกหล่นไปโดนบุคคลเบือ้ งล่าง
4.1.5 จะต้องจัดให้มกี ารตรวจสอบสภาพพืน้ ชัวคราวเป็ ่ นประจําทุกวัน
4.2 ราวกัน้ และขอบกันตก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 51 of 521

4.2.1 ราวกัน้ มาตรฐาน จะต้องมีความสูงตามแนวดิง่ ไม่น้อยกว่า 0.90 ม. และไม่เกิน 1.10 เมตร นับจากพืน้ ราวอัน
กลางจะต้องอยู่กลางระหว่างพืน้ กับผิวด้านใต้ของราวอันบน
4.2.2 ราวอันกลางอาจจะใช้ตะแกรงลวดขึงระหว่างราวอันบนกับพืน้ หรือขอบกันตกโดยใช้ลวดตะแกรงเบอร์ 6
(U.S.gage wise) และขนาดช่องตะแกรง 38 มม.
4.2.3 การยึดเสากับพืน้ หรือยกพืน้ รวมทัง้ โครงของราวกัน้ จะต้องสร้างให้ราวกัน้ สามารถรับแรงกระแทกได้ไม่น้อย
กว่า 100 กก. ในทุกทิศทางของแรงทีม่ ากระทํา
4.2.4 ในกรณีทต่ี อ้ งมีขอบกันของตก ขอบดังกล่าวจะต้องสูงตามแนวดิง่ อย่างน้อย 15 ซม. นับจากพืน้ ยกพืน้
ทางลาดหรือทางเดินถึงขอบบนของขอบกันของตก
4.3 บันได
4.3.1 ต้องติดตัง้ บันไดถาวรให้เร็วทีส่ ดุ เท่าทีส่ ภาพการปฏิบตั งิ านจะอํานวยให้
4.3.2 เมื่องานก่อสร้างอาคารดําเนินการคืบหน้าไปถึงระดับสูงเกินกว่า 18.00 เมตรเหนือพืน้ ดินและในทางปฏิบตั ิ
ยังไม่สามารถทีจ่ ะติดตัง้ บนไดถาวรจะต้องสร้างบันไดชัวคราวอย่ ่ างน้อยหนึ่งบันได ทอดตลอดความสูงของ
โครงสร้างขึน้ ไปถึงจุดทีก่ าํ ลังก่อสร้างอยู่ และจะต้องคงบันไดนี้ไว้จนกว่าจะติดตัง้ บันไดถาวรเสร็จ
4.3.3 ชัน้ บันไดและชานพักชัวคราวจะต้ ่ องรับนํ้า หนักได้ 500 กก./ตร.ม.โดยปลอดภัย
4.3.4 บันไดชัวคราว่ จะต้องมีขนาดลูกตัง้ และลูกนอนเท่ากับขนาดของบันไดมาตรฐาน
4.3.5 บันไดชัวคราวจะต้
่ องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร
4.3.6 บันไดชัวคราวซึ ่ ง่ สูงตามแนวดิง่ เกิน 3.50 เมตร จะต้องสร้างชานพัก
4.3.7 ต้องจัดให้มแี สงสว่างพอสมควรทีบ่ นั ไดชัวคราวทั ่ ง้ หมด
4.3.8 บันไดชัวคราว ่ ซึง่ มีฝากัน้ ด้านข้างต้องไม่สร้างประตูเปิ ดออกโดยตรงทีป่ ลายบันได แต่จะต้องสร้างชานบันได
จากปลายบันไดถึงประตู ให้มคี วามกว้างไม่น้อยเท่ากับความกว้างของประตู
4.3.9 บันไดชัวคราวที ่ เ่ ป็ นไม้ จะต้องไม่มตี ะปู หรือเสีย้ นโผล่ปลายแหลมอยู่
4.3.10 บันได และชานพักซึง่ ไม่มฝี ากัน้ ด้านข้าง จะต้องสร้างราวกัน้ มาตรฐานทางด้านข้างทีเ่ ปิ ดโล่งตลอดความยาว
บันได
4.3.11 บันไดทีส่ งู เกินกว่า 50 องศา นับจากแนวราบ ให้ถอื เป็ นบันไดไต่และต้องดําเนินการตามมาตรฐานบันไดไต่
4.3.12 บันไดซึง่ กว้างไม่เกิน 1.10 เมตร และมีดา้ นข้างเปิ ดโล่งอยูข่ า้ งหนึ่งต้องสร้างราวบันไดทางด้านข้างทีเ่ ปิ ดโล่ง
ไว้นนั ้
4.3.13 บันไดซึง่ เกินกว่า 1.10 เมตร ต้องมีราวมือจับทางด้านทีป่ ิ ดกัน้ และราวบันไดทางด้านทีเ่ ปิ ดโล่ง
4.4 ช่องเปิ ด
4.4.1 ช่องเปิ ด หรือรู ทีพ่ น้ื ทีอ่ าจก่อให้เกิดอันตราย พลัดตก หรืออาจก้าวถลําลงไปได้ให้ป้องกันโดยปิดกัน้ ด้วย
วัสดุทส่ี ามารถรับนํ้าหนักได้ไม่น้อยกว่า 200 กก./ตร.ม. หรือทําราวกัน้ มาตรฐาน และขอบกันตกของทุกด้าน
ทีเ่ ปิ ดโล่ง
4.4.2 ช่องเปิ ดทีผ่ นัง ซึง่ สูงจากระดับพืน้ ไม่เกิน 7.50 ซม. หรือสูงจากระดับพืน้ เกินกว่า 1.50 ขึน้ ไป จะต้องกัน้ ด้วย
ขอบกันของตก หรือราวกัน้ มาตรฐานทีข่ งึ ด้วยตะแกรง โดยมีช่องว่างไม่เกิน 2.50 ซม. ตามลําดับเพื่อป้องกัน
อันตรายทีจ่ ะเกิดจากสิง่ ของหล่นใส่บุคคลข้างล่าง
5. การทํางานในทีส่ งู และการป้องกันการตกหล่น หรือพังทลาย
5.1 การทํางานในทีส่ งู
5.1.1 การทํางานจากพืน้ ทีท่ ป่ี ฏิบตั งิ านเกินความสูงสองเมตรขึน้ ไป จะต้องจัดให้มนี งร้ ั ่ านมาตรฐานสําหรับ
ผูป้ ฏิบตั งิ านใช้ในขณะปฏิบตั งิ าน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 52 of 521

5.1.2 การทํางานในทีส่ งู เกินสีเ่ มตรขึน้ ไป จะต้องจัดทําราวกันตก หรือตาข่ายนิรภัยและจัดให้มเี ข็มขัดนิรภัย


- สายชูชพี ช่วยชีวติ แก่ผปู้ ฏิบตั งิ านตลอดระยะเวลาทีท่ าํ งาน
5.1.3 ช่องเปิ ดหรือปล่องต่างๆ ในทีส่ งู จะต้องทําฝาปิ ดหรือรัว้ กันทีม่ คี วามสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตร
เพื่อป้องกันการตกหล่น
5.1.4 ห้ามทํางานในทีส่ งู เกินกว่าสองเมตร ในขณะทีม่ พี ายุ ลมแรง ฝนตกหรือฟ้าคะนอง
5.2 การป้องกันจากการตกหล่น
5.2.1 ห้ามทํางานบนหรือในถัง บ่อ หรือกรวยสําหรับเทวัสดุหรือภาชนะอื่นใดทีอ่ าจตกลงไป หรืออาจถูก
วัสดุพงั ทับเว้นแต่ได้มกี ารป้องกันโดยใช้เข็มขัดนิรภัยหรือสิง่ ปิ ดกัน้ หรือรัว้ ป้องกันทีม่ นคงแข็
ั่ งแรง
5.2.2 ในกรณีทต่ี อ้ งใช้บนั ไดไต่ชนิดเคลื่อนย้ายได้ เพื่อปฏิบตั งิ านบนทีส่ งู จะต้องตัง้ บันไดให้ระยะระหว่าง
ฐานบันไดถึงผนังทีว่ างพาดบันไดต่อความยาวบันได มีอตั ราส่วนประมาณ 1:4 หรือมีมมุ
บันไดทีต่ รงข้ามประมาณ 70 องศา และบันไดจะต้องมีสภาพมันคงแข็ ่ งแรงต่อสภาพการใช้
งานความกว้างของบันไดไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร และมีขาบันไดหรือสิง่ ยึดโยงทีส่ ามารถป้องกัน
การลื่นไถลของบันไดได้
5.2.3 ในกรณีทต่ี อ้ งใช้ขาหยังหรื
่ อม้ายืนในการปฏิบตั งิ าน ขาหยังหรื ่ อม้ายืนนัน้ จะต้องมีโครงสร้างทีแ่ ข็งแรง
ปลอดภัย ถ้าขาหยังหรื ่ อม้ายืนนัน้ เป็ นชนิดมีบนั ไดขึน้ ต้องมีพน้ื ทีส่ าํ หรับยืนปฏิบตั งิ านอย่างเพียงพอ
5.3 การป้องกันอันตรายจากการพังทลายและวัสดุตกหล่นหรือกระเด็น
5.3.1 สถานทีท่ าํ งานทีอ่ าจเกิดการพังทลาย ตกหล่น ของหิน ดิน ทราย หรือวัสดุอ่นื ๆ จะต้องจัดทําไหล่
หิน ดิน ทราย หรือวัสดุอ่นื ให้ลาดเอียงเป็ นมุมทีเ่ พียงพอทีจ่ ะไม่ทาํ ให้เกิดการพังทลาย
5.3.2 การทํางานในท่อ โพรง หรือบ่อ ทีอ่ าจมีการพังทลายจะต้องจัดทําผนังกัน้ คํ้ายันหรือวิธกี ารอื่นๆ ที่
สามารถป้องกันอันตรายนัน้ ๆ ได้
5.3.3 การทํางานในทีๆ่ อาจมีวสั ดุตกหล่นหรือกระเด็น จะต้องจัดทําแผ่นกัน้ ผ้าใบหรือตาข่ายปิ ดกัน้ หรือ
รองรับ
5.3.4 การลําเลียงวัสดุจากทีส่ งู จะต้องจัดทําราง ปล่อง หรือใช้เครื่องมือ
5.3.5 สถานทีท่ าํ งานทีอ่ าจมีการปลิว ตกหล่นหรือกระเด็นของวัสดุ ผูป้ ฏิบตั งิ านในสถานทีด่ งั กล่าวจะต้อง
สวมหมวกแข็ง และรองเท้าทีส่ ามารถป้องกันอันตรายได้อยู่ตลอดเวลา
6. การจัดเก็บวัสดุ และอุปกรณ์การก่อสร้าง
6.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
6.1.1 วัสดุทุกชนิดทีบ่ รรจุในถุง ภาชนะหรือผูกรวมกันเป็ นมัด และวัสดุซง่ึ เก็บกองเป็ นแถวเป็ นแนวควรจะ
เก็บโดยวิธกี องซ้อนกัน มีไม้กนั ชืน้ ไว้ วางทับเหลื่อมกันเพื่อให้วสั ดุยดึ ระหว่างกัน และจะต้องควบคุม
ความสูง ในการวางซ้อนกัน เพื่อให้กองสิง่ ของนัน้ ทรงตัวได้ โดยปลอดภัยไม่เลื่อนไถลหรือทลายลง
มา
6.1.2 วัดสุทก่ี องเก็บไว้ในอาคารซึง่ อยูใ่ นระหว่างก่อสร้าง จะต้องไม่กองไว้ใกล้กว้านหรือช่องทีเ่ ปิ ดไว้ทพ่ี น้ื
ในระยะ 1.80 ม. หรือไม่กองไว้ทพ่ี น้ื ชัน้ ใดๆ ทีอ่ ยู่เหนือพืน้ ดินในระยะ 3.00 เมตร นับจากขอบนอก
อาคาร จนกว่าจะได้สร้างผนังให้สงู ขึน้ ไป เหนือส่วนสูงของกองวัสดุนนั ้ ในกรณีน้ี ระยะห่างตํ่าสุด
จะต้องไม่น้อยกว่า 1.80 เมตร
6.1.3 ห้ามเด็กและผูไ้ ม่เกีย่ วข้อง เข้าไปเล่นรอบๆ หรือบนกองวัสดุ
6.2 การจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์ก่อสร้าง
6.2.1 การกองไม้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 53 of 521

(1) จะต้องกองไม้ซอ้ นทับกันบนไม้รองรับ เพื่อป้องกันไม่ให้ไม้ทก่ี องนัน้ สัมผัสกับพืน้ ดิน


(2) ไม้รองรับจะต้องวางให้ได้ระดับ และวางอยู่บนพืน้ ทีม่ นคง ั่
(3) จะต้องกองซ้อนไม้ให้อยูใ่ นลักษณะทีป่ ลอดภัย ไม่หล่นหรือโคนล้มลงมา
(4) เมื่อกองไม้สงู เกินกว่า 1.20 เมตร จะต้องวางไม้พาดขวางทุกๆ ระยะ 1.50 ม.
(5) ไม้ซง่ึ ใช้งานแล้วจะต้องถอนตะปูออกให้หมดก่อน ทีจ่ ะนํามากองเก็บ
6.2.2 การกองปูนซีเมนต์ และปูนขาว
(1) จะต้องกองถุงปูนซีเมนต์และปูนขาวให้มคี วามมันคง ่ และปลอดภัยในการใช้งานโดยทัวไปไม่ ่
ควรกองเกิน 10 ชิน้
(2) คนงานซึง่ ยกถุงปูนซีเมนต์ และปูนขาวจะต้องสวมแว่นป้องกันฝุน่ ปูน รวมทัง้ มีอุปกรณ์คลุม
ศรีษะและบ่าในการยกปูน
(3) จะต้องมีประกาศเตือนคนงาน ไม่ให้สวมเสือ้ ผ้าซึง่ เปรอะเปื้ อนด้วยฝุน่ ปูนซีเมนต์จนแข็งตัว
แล้ว เนื่องจากเสือ้ ผ้าสภาพดังกล่าว อาจทําให้ผวิ หนังระคายเคืองหรือเกิดผื่นคันพุพอง
ภายหลัง
(4) จะต้องแจ้งให้คนงานทราบว่า ถ้าผิวหนังไหม้อนั เนื่องจากถูกปูนซีเมนต์หรือปูนขาวจะต้อง
รายงานทันที และเตือนคนงานให้หมันทํ ่ าความสะอาดร่างกาย คนงานทีแ่ พ้ปนู ซีเมนต์และปูน
ขาวจะต้องเปลีย่ นโยกย้ายให้ไปปฏิบตั งิ านอย่างอื่น
(5) ควรจัดครีมหรือยาทาป้องกันผิวหนังไหม้ให้คนงานได้ใช้
(6) การกองเก็บปูนขาวจะต้องเป็ นในทีแ่ ห้ง เพื่อป้องกันปฏิกริ ยิ าการดูดซึมความชืน้ อย่างรวดเร็ว
ของปูนขาว ซึง่ อาจก่อให้เกิดความร้อนสูงไฟอาจจะลุกไหม้ได้
6.2.3 การกองเก็บอิฐ
(1) ห้ามกองอิฐไว้บนพืน้ ดินอ่อนหรือพืน้ ทีไ่ ม่เรียบ ควรจะกองอิฐไว้บนแผ่นไม้ทเ่ี รียบเสมอ
(2) ต้องไม่กองอิฐเก็บสํารองไว้บนนังร้ ่ านหรือทางเดิน ยกเว้นกรณีการส่งอิฐเพื่อใช้ในการก่ออิฐ
สําหรับงานบนนังร้ ่ าน สําหรับช่วงก่ออิฐ
(3) จะต้องไม่กองอิฐสูงกว่า 2.10 เมตร เว้นแต่จะกองไว้ภายในโรงเก็บ
6.2.4 การกองเก็บอิฐบล็อก
(1) จะต้องกองอิฐบล็อกวางซ้อนกันเป็ นแนวบนพืน้ ทีม่ นคง ั ่ และระดับราบ
(2) การกองอิฐบล็อกจะต้องกองไม่สงู เกินกว่า 1.80 เมตร
(3) ถ้าจําเป็ นต้องกองอิฐบล็อกสูงเกินกว่า 1.80 เมตร การวางซ้อนจะต้องให้เหลื่อมร่นเข้าข้างใน
มีแถวแนวยันรับมีไม้รองรับอิฐบล็อกระหว่างชัน้ เพื่อไม่ให้กองอิฐบล็อกทลายลงมา
(4) ห้ามโยนอิฐบล็อกลงมาจากทีส่ งู ควรทิง้ ลงในรางระบายวัสดุวสั ดุทป่ี ิ ดทึบ
6.2.5 การกองเก็บเหล็กรูปพรรณและเหล็กเส้น
(1) เหล็กจะต้องเก็บแยกไว้เป็ นกองๆ ตามความยาวและขนาดของเหล็กเส้นนัน้
(2) คนงานขนเหล็กจะต้องสวมหมวกนิรภัยและถุงมือหนัง
(3) การคัดเหล็กเส้นจะต้องกระทําบนโต๊ะทีย่ ดึ มันคงเพื
่ ่อป้องกันโต๊ะล้ม และจะต้องวางโต๊ะไว้บน
พืน้ เรียบและไม่ล่นื
(4) จะต้องกองเหล็กรูปพรรณด้วยความระมัดระวัง เพื่อป้องกันเหล็กแต่ละชิน้ เลื่อนไถลลงมา
ถึงแม้จะไม่มอี นั ตรายจากกองเหล็กโค่นล้มก็ตาม การกองเหล็กรูปตัวไอไม่ควรวางในลักษณะ
แกนอยู่ในแนวดิง่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 54 of 521

6.2.6 การกองเหล็กแผ่นและสังกะสี
(1) เหล็กแผ่นและสังกะสีควรจะกองในลักษณะแบนราบ โดยกองสูงไม่เกิน 1.20 เมตร
(2) ควรมีแผ่นชัน้ รองระหว่างมัดแต่ละมัด และมีเสาไม้ปกั กัน้ โดยรอบกองเหล็กแผ่นและสังกะสี
เพื่อกัน้ ไม่ให้คนงานเดินเข้าใกล้ซง่ึ อาจเกิดเตะหรือถูกเหล็กแผ่นหรือสังกะสีบาดเท้าได้
6.2.7 การกองเก็บท่อ
(1) ท่อทุกชนิดจะต้องวางซ้อนและจัดกองในลักษณะทีจ่ ะป้องกันไม่ให้ท่อกลิง้ กระจายออกมาจาก
กอง
(2) ในการรือ้ ท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกว่า 5 เซนติเมตร ขึน้ ไปออกจากกองโดยทีท่ ่อวางอยูใ่ น
แนวเดียวกัน และซ้อนกันตัง้ แต่ 2 ชัน้ ขึน้ ไป ผูร้ อ้ื จะต้องดึงท่อออกจากด้านปลายห้ามดึงออก
ทางด้านข้าง
(3) ท่อระบายต่างๆ ถ้ามีการจัดกองจะต้องจัดท่อขนาดใหญ่ไว้ขา้ งล่างลําดับขึน้ ไปถึงท่อเล็กๆ อยู่
ข้างบน และความสูงของกองท่อจะต้องไม่เกิน 1.50 เมตร
6.2.8 การกองเก็บทราย กรวด และหินย่อยขนาดต่างๆ
(1) การทิง้ ทราย กรวด หรือหินย่อย กองไว้ขา้ งผนังอาคาร จะต้องกองไม่สงู จนอาจเป็ นสาเหตุให้
ผนังอาคารทลายลงมา
(2) คนงานซึง่ ทํางานอยูท่ ถ่ี งั ปิ ดเปิ ด หรือบนกองวัสดุทไ่ี ม่ยดึ ตัวกันแน่นจะต้องสวมเข็มขัดนิรภัยและสาย
ช่วยชีวติ
7. การเชื่อมและการตัด
7.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
7.1.1 ช่างเชื่อมหรือช่างตัด จะต้องเป็นผูท้ ช่ี าํ นาญซึง่ สามารถจะทําการเชื่อมและตัดได้ตาม
ข้อกําหนดคุณสมบัตชิ ่างเชื่อมและตัด ซึง่ ได้กาํ หนดไว้ในข้อบัญญัตติ ่างๆ เช่น American
Welding Society (AWS) : Code for Arc and Gas Welding in Building Construction ,
American Standard Code for pressure piping.
7.1.2 บริเวณทีท่ าํ การเชื่อมหรือตัดจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ดบั เพลิงทีใ่ ช้ได้ผลเตรียมไว้ เพื่อใช้ได้
ทันท่วงทีและถ้าบริเวณทีท่ าํ การเชื่อม หรือตัดมีวสั ดุทต่ี ดิ ไฟได้งา่ ยอยู่ใกล้จะต้องจัดให้มผี ชู้ ่วย
หรือจัดคนไว้เป็ นพิเศษ เพื่อช่วยในการระงับอัคคีภยั
7.1.3 จะต้องใช้ฉาก ฉนวนกัน้ หรือสิง่ ป้องกันอันตรายอื่นๆ ทีเ่ หมาะสมเพื่อป้องกัน บุคคลหรือวัสดุ
ทีต่ ดิ ไฟง่าย ซึง่ อยู่เบือ้ งล่างหรืออาจเป็ นอันตรายจากประกายไฟเชื่อมหรือตัด
7.1.4 ห้ามแกะหรือพยายามซ่อมอุปกรณ์นิรภัย หรือลิน้ ปิ ด – เปิ ดของท่อเก็บแก๊ส ออกซิเจน ถ้า
เกิดมีการชํารุดดังกล่าว จะต้องแจ้งให้ผสู้ ง่ ท่อแก๊สทราบและส่งคืนทันที พร้อมปฏิบตั ติ าม
ข้อแนะนําวิธกี ารขนส่งกลับคืนโรงงาน
7.1.5 เมื่อมีการเชื่อมหรือตัดโลหะชนิดทีก่ ่อให้เกิดควันพิษ เช่น ตะกัว่ สังกะสี หรือวัสดุทช่ี ุบแคดเมีย่ ม
จะต้องจัดให้มรี ะบบระบายอากาศทีเ่ พียงพอ
7.2 การเชื่อมด้วยไฟฟ้า
7.2.1 อุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้ามาตรฐาน เช่น เครื่องเชื่อมไฟฟ้าชนิดผลิตไฟฟ้าโดยใช้เครื่องยนต์ขบั ผลิต
ไฟฟ้าโดยขับด้วยมอเตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องแปลงไฟตรง (Rectifier) ฯลฯ จะต้องมีคุณสมบัติ
ตามข้อกําหนดมาตรฐานในระดับสากลรองรับ เช่น National Electrical Manufacturers Association

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 55 of 521

7.2.2 การติดตัง้ และบํารุงรักษาวงจรไฟฟ้ากําลัง ซึง่ ใช้กบั อุปกรณ์การเชื่อมไฟฟ้า จะต้องเป็ นไปตาม


มาตรฐานความปลอดภัยทางไฟฟ้า เช่น National Electrical Safety Code
7.2.3 โครงโลหะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าซึง่ ต่อมาจากวงจรไฟฟ้า จะต้องต่อสายดินด้วย ลวดทองแดง ขนาด
ไม่น้อยกว่า No.8 B (U.S.Gage) c และการต่อสายดิน หรือสายไฟเชื่อมอื่นๆ จะต้องยึดหัวสายให้
่ วยวิธที างไฟฟ้า โดยให้เหมาะสมกับการใช้งาน
มันคงด้
7.2.4 สายไฟเชื่อมและสายดิน จะต้องยกให้สงู หรือยึดวางให้แน่นหนาเพื่อไม่ให้เกะกะทางเดิน หรือเกิดการ
สะดุดหกล้มของผูป้ ฏิบตั งิ านในบริเวณดังกล่าว
7.2.5 เมื่อจําเป็ นต้องต่อสายไฟเชื่อมและสายดินให้ยาวออกไป ควรใช้หวั ต่อซึง่ มีฉนวน หุม้ ทัง้ สองเส้น เพื่อ
ความสะดวกในการถอดหรือการต่อเป็ นครัง้ คราว แต่ถา้ ต่อถาวรควรบัดกรีต่อหัวสายและใช้เทปพัน
สายไว้
7.2.6 ต้องใช้หวั จับลวดเชื่อมทีม่ ขี นาดให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้เพียงพอ และมีฉนวนหุม้ ป้องกันไฟดูด หรือ
ป้องกันกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
7.2.7 ถ้าใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้าซึง่ ขับด้วยเครื่องยนต์ในทีแ่ คบหรือในทีอ่ นั ทึบจะต้องจัดให้มรี ะบบระบาย
อากาศเสียออกสูบ่ รรยากาศภายนอก
7.2.8 ช่างเชื่อมและผูช้ ่วยงานเชื่อมทุกคน จะต้องสวมเครื่องป้องกันอันตรายต่อดวงตา
7.3 การเชื่อม – ตัดด้วยแก๊ส
7.3.1 เครื่องผลิตแก๊สอะเซททีลนี จะต้องติดตัง้ และใช้งานตามข้อกําหนดทีก่ ล่าวไว้ใน “ Gas System for
Welding and Cuting ” ฉบับย่อที่ 51 ออกโดย National Board of Fire Underwriters
7.3.2 ท่อและถังเก็บแก๊สอะเชททีลนี และแก๊สออกซิเจน จะต้องมีเครื่องหมายกํากับไว้ ตามข้อบังคับของ
Interstate Commerce Commission อะเชททีลนี ICC - 3 A
7.3.3 ท่อและถังเก็บแก๊สที่ จะเป็ นต้องเก็บไว้ในอาคารจะต้องทําผนังทนไฟกัน้ ไว้ ท่อ – ถังเก็บแก๊ส
7.3.4 ท่อและถังเก็บแก๊สไว้ในทีก่ ลางแจ้ง จะต้องป้องกันไม่ให้ถูกฝนหรือถูกแสงแดด ตลอดเวลา
7.3.5 ท่อ – ถังเก็บแก๊สซึง่ ใช้แก๊สหมดแล้ว จะต้องปิ ดวาล์วและสวมฝาครอบวาล์ว ไว้เสมอ
7.3.6 ต้องใช้รถเข็นซึง่ ออกแบบไว้เฉพาะขนย้ายถังเก็บแก๊ส โดยมีโซ่รดั ถังยึดไว้กบั ตัว รถเข็น แต่ในกรณี
ไม่มรี ถเข็น อาจใช้วธิ กี ลิง้ ถังเก็บแก๊สตะแคงถังให้ขอบฐานถังกลิง้ ไปตามทาง ห้ามใช้วธิ ี ลากหรือไส
ให้ไถลลื่นไป และห้ามปล่อยให้ถงั เก็บแก๊สหล่นกระแทกพืน้ หรือกระทบกันเองรุนแรง
7.3.7 ท่อ – ถังเก็บแก๊ส จะต้องเก็บให้ห่างจากจุดปฏิบตั งิ านตัดหรือเชือ่ มเพียงพอทีจ่ ะ ไม่ให้ประกายไฟ
เศษเชื่อมทีร่ อ้ นอยู่ หรือเปลวไฟเข้าใกล้ หรือกระเด็นถูกท่อ – ถังเก็บแก๊สได้ และจะต้อง ไม่วางท่อ –
ถังเก็บแก๊สใกล้วงจรไฟฟ้า สายไฟฟ้าหรือสายดินทุกชนิด
7.3.8 ห้ามผสมแก๊ส เติมแก๊สหรือใช้ทอ่ – ถังเก็บแก๊สผิดจากวัตถุประสงค์ทผ่ี ผู้ ลิตกําหนดไว้
7.3.9 ถังเก็บแก๊สอะเชททีลนี จะต้องมีปลักนิ ๊ รภัยอุดไว้ ซึง่ หลวมตัวได้เมื่อร้อนถึงจุด เดือดของนํ้าด้วยเหตุน้ี
ถ้าปลายทางออกของวาล์วมีน้ําแข็งอุดตัน จะต้องใช้น้ําอุ่นชโลมห้ามใช้น้ําต้มเดือด และชโลมเฉพาะที
วาล์วเท่านัน้ ห้ามใช้เปลวไฟลนเพื่อให้น้ําแข็งละลาย
7.3.10 ต้องเก็บและใช้งานถังเก็บแก๊ส และเชือ้ เพลิงเหลวในลักษณะตัง้ ขึน้ ห้ามวางนอน และถ้าเกิดการรัว่
จะต้องเลิกใช้งาน และขนย้ายออกไปโดยทันที
7.3.11 การเปิ ดวาล์วถังแก๊สอะเชททีลนี จะต้องเปิ ดช้าๆ ไม่เกินหนึ่งรอบครึง่ การเปิ ด จะต้องใช้กุญแจ ซึง่
ผูผ้ ลิตให้มาโดยเฉพาะและกุญแจนี้ควร จะได้ปิดวาล์ว เมื่อกรณีฉุกเฉินจะได้ปิดวาล์ว ได้ทนั ท่วงที

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 56 of 521

7.3.12 ถังเก็บแก๊สออกซิเจนและข้อต่อต่างๆ จะต้องเก็บไว้ไม่ให้เปื้ อนจาระบีและ นํ้ามันทุกชนิด รวมทัง้ ห้าม


ใช้แก๊สออกซิเจนเปา่ ทําความสะอาดผิววัสดุทเ่ี ปรอะเปื้ อนนํ้ามัน หรือเปา่ ถังเก็บ สารไวไฟทุกชนิด
7.3.13 เมื่อต่ออุปกรณ์ควบคุมการลดความดันเข้าวาล์วของถังเก็บออกซิเจนแล้ว การเปิ ด วาล์วในครัง้ แรก
จะต้องเปิ ดช้าๆ เพื่อให้เครื่องวัดความดันออกซิเจนขึน้ ช้าๆ หลังจากนัน้ จึงจะเปิ ดวาล์วเต็มที่ และการ
เปิ ดวาล์วจะต้องยืนทางด้านข้างอุปกรณ์ควบคุมการลดกําลังดัน ห้ามยืนหันหน้าเข้ากระจก เครื่องวัด
ความดัน
7.3.14 ท่อรวมหรือท่อต่อแยก ซึง่ ใช้สาํ หรับให้แก๊สออกซิเจน หรือแก๊สอะเชททีลนี จาก ถังเก็บแก๊สหลายๆ
ท่อผ่านเข้ามายังอุปกรณ์ควบคุมการลดความดันตัวเดียวกัน จะต้องออกแบบให้แข็งแรง และทนทาน
ต่อความดันใดๆ ทีใ่ ช้งานอยู่ได้โดยปลอดภัย
7.3.15 ต้องใช้อุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน (Regulator) ซึง่ ออกแบบไว้สาํ หรับแก๊สแต่ละชนิดโดยเฉพาะ
และห้ามต่อแก๊สจากถังเก็บแก๊สออกไปใช้งาน โดยไม่ผ่านอุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน
7.3.16 ก่อนต่ออุปกรณ์ควบคุมการลดความดัน ให้ค่อยๆ เปิ ดวาล์วถังเก็บแก๊สเพื่อทําความสะอาดฝุน่ ละออง
หรือสิง่ สกปรกทีบ่ ่าลิน้ แล้วปิ ด
7.3.17 หัวต่อและท่อยางสําหรับแก๊สออกซิเจนและแก๊สอะเซททีลนี จะต้องใช้สตี ่างกันเพื่อป้องกันการต่อ
สลับกันหรือสับสน
7.3.18 หัวต่อท่อยางจะต้องยึดมันคงโดยใช้
่ ปลอกรัดท่อยางอัดแน่น (Clamp) และไม่ควรใช้ท่อยางยาวเกินไป
โดยไม่ จําเป็ น ถ้าจําเป็ นต้องใช้ท่อยางยาวจะต้องระวังอย่าให้ท่อยางหักพับหรือพันกันยุง่ เหยิง
รวมทัง้ จะต้อง ป้องกันไม่ให้รถทับ คนเหยียบ หรือความเสียหายใดๆ เกิดขึน้ ได้
7.3.19 จะต้องตรวจสอบการรัวซึ ่ ม รอยสึกหรอ หรือข้อต่อหลวม เป็ นประจํา
7.3.20 ท่อพ่นเปลวไฟ หัวเชื่อม หัวผสม และหัวตัด จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานตามข้อกําหนดที่
ผูผ้ ลิตกําหนดมา
7.3.21 เมื่อจะเปลีย่ นหัวเชื่อม – ตัด หรือหยุดงานเชื่อม – ตัดชัวคราว ่ จะต้องปิ ดแก๊สทีอ่ ุปกรณ์ควบคุมการ
ลดความดัน หรือปิ ดวาล์วถังเก็บแก๊สก่อนห้ามใช้วธิ บี บี พับท่อยาง
7.3.22 ห้ามใช้ไม้ขดี ไฟจุดหัวเชื่อม – ตัด ควรให้ไฟแก๊สจุดหัวเชื่อม (Friction Lighter) หรือชุดจุดหัวเชื่อม
(Stationary Pilot Flames)
7.4 อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อดวงตา
7.4.1 ผูป้ ฏิบตั งิ านเชื่อม – ตัดด้วยไฟฟ้าหรืออ๊อกซีอะเซททีลนี จะต้องสวมแว่นซึง่ มีเลนส์กรองแสงที่
เหมาะสม โดย ให้เป็ นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยเกีย่ วกับอุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่อศรีษะ
ดวงตาและอวัยวะเกีย่ วกับการหายใจ
7.4.2 ผูป้ ฏิบตั งิ านอื่นซึง่ อยู่ใกล้บริเวณสถานทีท่ าํ งานเชื่อม – ตัด และอาจได้รบั อันตรายจากเศษโลหะปลิว
เข้าตา ซึง่ เกิดจากการสกัด หรือการปฏิบตั งิ านอื่นทีม่ ผี ลตามลักษณะนี้ จะต้องสวมแว่นซึง่ มีเลนส์แข็ง
และมีกรอบป้องกันด้านข้างแว่น
8. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
8.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
8.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้ลกู จ้าง / คนงานของตนใช้อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตลอดเวลา
ทํางาน และให้ถอื เป็ นระเบียบปฏิบตั งิ านของสถานทีก่ ่อสร้างตลอดเวลาทีล่ กู จ้าง / คนงานทํางาน
ทัง้ นี้ให้มอี ุปกรณ์คมุ้ ครองอย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) กรณีงานไม้ งานทาสี ให้สวมหมวกนิรภัย และรองเท้าป้องกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 57 of 521

(2) กรณีงานยก แบก หรือหามของหนัก อันอาจเกิดอันตรายร้ายแรงให้สวมหมวกนิรภัย


(3) กรณีงานเหล็ก งานประปา งานกระจก ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือหนัง และรองเท้าป้องกัน
(4) กรณีงานก่ออิฐฉาบปูน และงานเทคอนกรีต หรือตกแต่งผิวปูน ให้สวมหมวกนิรภัย ถุงมือหนัง
และรองเท้าป้องกัน
(5) กรณีงานเชื่อมโลหะด้วยไฟฟ้าหรือแก๊ส ให้สวมถุงมือหนังกระบังหน้าลดแสงหรือแว่นตากรอง
แสง แผ่นปิ ดหน้าอกกันประกายไฟและรองเท้าป้องกัน
(6) กรณีงานตัด รือ้ ถอน สกัด ทุบ เจาะวัสดุทก่ี ่อให้เกิดฝุน่ ละอองให้สวมหมวกนิรภัยทีป่ ิ ดปาก –
จมูก ถุงมือหนังและรองเท้าป้องกัน
(7) กรณีทท่ี าํ งานมีเสียงดังเกินกว่า 80 เดซิเบล ให้สวมปลักลดเสี ๊ ยง หรือครอบหูลดเสียง
(8) กรณีงานสารพิษ ให้สวมหมวกนิรภัย ชุดหน้ากากปองกันสารพิษ และรองเท้า ป้องกัน กรณี

งานอุโมงค์ ให้สวมหมวกนิรภัย หน้ากากกันฝุน่ อุปกรณ์ช่วยหายใจและรองเท้าป้องกัน
(9) กรณีงานกระเช้าแขวน นังร้ ่ านแขวน หรืองานทีม่ ลี กั ษณะโล่งแจ้งในทีส่ งู เกิน 4 เมตร ให้สวม
หมวกนิรภัย เข็มขัดนิรภัยเชือกนิรภัยและรองเท้าป้องกัน
(10) กรณีงานทัวไป ่ ให้สวมหมวกนิรภัย และรองเท้าป้องกัน
8.1.2 ถ้าลูกจ้าง / คนงานไม่ใช้ หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ให้ผรู้ บั จ้างสังหยุ ่ ด
การทํางานของลูกจ้างของตนทันทีจนกว่าจะปฏิบตั ติ ามทีก่ าํ หนดนี้
8.1.3 ให้ผรู้ บั จ้างเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายอุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของคนงาน / ลูกจ้างของตน
8.2 มาตรฐานอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
8.2.1 หมวกนิรภัยต้องไม่มรี ทู ะลุ ตัวหมวกทําด้วยวัตถุทไ่ี ม่ใช่โลหะ มีน้ําหนักไม่เกิน 420 กรัม ต้านทาน
แรงกระแทกได้ไม่น้อยกว่า 385 กิโลกรัม ภายในหมวกต้องมีรองในหมวกทีท่ าํ ด้วยหนังพลาสติก
หรือวัสดุอ่นื ทีค่ ล้ายกัน โดยรองในหมวกต้องมีระยะห่างจากยอดหมวกไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ซึง่
สามารถปรับระยะได้ตามขนาดศรีษะของผูใ้ ช้
8.2.2 ถุงมือหนังต้องมีความเหนียว ไม่ฉีกขาดง่าย มีความยาวหุม้ ถึงข้อมือและเป็ นชนิดทีส่ วมนิ้วมือได้ทุก
นิ้ว เมื่อสวมแล้วสามารถเคลื่อนไหวนิ้วมือได้สะดวกสามารถกันนํ้าและกรดหรือด่างได้ดี
8.2.3 รองเท้าป้องกัน ต้องทําด้วยหนังหรือผ้าหุม้ เท้าตลอด หรือวัสดุอ่นื ทีส่ ามารถป้องกันอันตรายได้ และมี
พืน้ รองเท้าเป็ นยางสามารถป้องกันการลื่นไถลได้
8.2.4 รองเท้ายางชนิดหุม้ แข็ง ต้องทําด้วยยางหรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกันหุม้ เท้าตลอดขึน้ ไปสูง
ไม่ต่ํากว่าครึง่ หนึ่งของหน้าแข้งสามารถกันนํ้าและกรดหรือด่างได้ดี
8.2.5 รองเท้าหนังหัวโลหะ ปลายรองเท้าต้องมีโลหะแข็งหุม้ สามารถทนแรงกดได้ไม่น้อยกว่า 446
กิโลกรัม
8.2.6 เข็มขัดนิรภัยต้องทําด้วยหนัง หรือทําด้วยด้าย หรือใยไนล่อน หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตคิ ล้ายคลึงกัน
ถักเป็ นแถบ มีความกว้างไม่น้อยกว่า 5 เซนติเมตร สามารถทนแรงดึงได้ไม่น้อยกว่า 1,150 กิโลกรัม
8.2.7 เชือกนิรภัย ต้องสามารถทนแรงดึงไม่น้อยกว่า 1,150 กิโลกรัม ถ้าเป็ นลวดสลิงต้องมีเครื่องช่วยรับ
แรงกระตุกติดตัง้ ไว้ดว้ ย
8.2.8 กระบังหน้าลดแสง ตัวกระบังต้องทําด้วยกระจกสี ซึง่ สามารถลดความจ้าของแสงให้อยูใ่ นระดับทีไ่ ม่
เป็ นอันตรายต่อสายตา กรอบของแว่นตาต้องมีน้ําหนักเบาและต้องไม่ตดิ ไฟง่าย
8.2.9 แว่นตาลดแสง ต้องแว่นต้องทําด้วยกระจกสี ซึง่ สามารถลดความจ้าของแสงให้อยู่ในระดับทีไ่ ม่เป็ น
อันตรายต่อสายตา กรอบของแว่นตาต้องมีน้ําหนักเบา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 58 of 521

8.2.10 ปลักลดเสี
๊ ยง ต้องทําด้วยพลาสติก หรือยาง หรือวัสดุอ่นื ใช้ใส่ชอ่ งหูทงั ้ สองข้างสามารถลดระดับเสียง
ลงพอเพียงทีจ่ ะไม่เกิดอันตราย
8.2.11 ครอบหูลดเสียง ต้องทําด้วยพลาสติกหรือยาง หรือวัสดุอ่นื ใช้ครอบหูทงั ้ สองข้าง สามารถลดระดับ
เสียงลงพอเพียงทีจ่ ะไม่เกิดอันตราย

จบหมวดที่ 11

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 59 of 521

หมวดที่ 12
การส่งมอบงาน

เมื่อผูร้ บั จ้างดําเนินงานแล้วเสร็จถูกต้องตามสัญญา และส่งมอบงานงวดสุดท้ายแล้ว ผูว้ ่าจ้างจะออกหนังสือรับรอง


ผลงานให้ โดยก่อนการส่งมอบงานผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการ ดังนี้
1. การเตรียมสถานทีก่ ่อนการส่งมอบงาน
1.1 ผูร้ บั จ้างต้องรือ้ ถอนสิง่ ปลูกสร้างชัวคราวต่
่ างๆ เช่น สํานักงาน โรงเก็บวัสดุ บ้านพักคนงาน และอื่นๆ ออกไป
จากบริเวณทีก่ ่อสร้างให้หมด เว้นแต่จะได้มกี ารตกลงเป็ นอื่น
1.2 ผูร้ บั จ้างต้องซ่อมแซมอาคาร สาธารณูปโภคต่างๆ ทีช่ าํ รุดเนื่องจากการทํางานของผูร้ บั จ้าง เช่น ถนน ท่อ
ระบายนํ้า สายไฟฟ้า ทางระบายนํ้า สนามหญ้า ให้อยูใ่ นสภาพเรียบร้อย
1.3 ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดสถานทีก่ ลบเกลีย่ พืน้ ให้เรียบร้อย ตกแต่งบริเวณให้สะอาด ทําความสะอาดตัว
อาคารเก็บกวาดเศษอิฐ หิน ปูน ทราย ฯลฯ และขนออกไปจากบริเวณ
1.4 ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดภายในอาคาร ในการส่งมอบงานงวดสุดท้าย โดยสามารถพร้อมใช้งานได้ (ทํา
ความสะอาด ขัด เช็ด ถู ลงแว๊ก เป็ นต้น)
2. การทดสอบระบบและการรับประกัน
2.1 อุปกรณ์ต่างๆ ของระบบประปา ไฟฟ้า เครื่องกล ต้องติดตัง้ ให้ครบก่อนส่งมอบงาน และต้องผ่านการทดสอบ
การใช้งาน
2.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องเปิ ดใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ ในระบบให้อยูใ่ นสภาพทีใ่ ช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ หรือพร้อม
ทีจ่ ะใช้งานได้เต็มความสามารถ โดยค่าใช้จ่ายทีม่ ที งั ้ หมดอยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
2.1.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการทดสอบอุปกรณ์และระบบตามทีผ่ คู้ วบคุมงานจะกําหนดให้ทดสอบ จนกว่าจะ
ได้ผลเป็ นทีพ่ อใจและแน่ใจว่าการทํางานของระบบถูกต้องตามความประสงค์ของผูว้ ่าจ้าง
2.2 การรับประกัน
2.2.1 หากมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพผลงาน ความสามารถการใช้งานของ
วัสดุ-อุปกรณ์ และการติดตัง้ เป็ นเวลา 365 วัน (หรือตามทีส่ ญ ั ญากําหนด) นับจากวันลงนามใน
เอกสารรับมอบงานแล้ว
2.2.2 ระหว่างระยะเวลาประกัน หากผูว้ ่าจ้างตรวจพบว่าผูร้ บั จ้างใช้วสั ดุทไ่ี ม่ถูกต้อง คุณภาพตํ่ากว่า
ข้อกําหนด หรือทําไว้ไม่เรียบร้อย ไม่ถูกต้องตามมาตรฐานแห่งหลักวิชาการ หรือในกรณีทว่ี สั ดุ-
อุปกรณ์เกิดชํารุดเสียหายหรือเสือ่ มคุณภาพอันเนื่องมาจากข้อผิดพลาดของผูผ้ ลิตหรือการติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการเปลีย่ น แก้ไข ให้ถูกต้อง ให้อยู่สภาพใช้งานได้ดเี ช่นเดิมโดยไม่ชกั ช้า
2.2.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมช่างผูช้ าํ นาญในแต่ละระบบไว้สาํ หรับตรวจสอบซ่อมแซม และบํารุงรักษา
อุปกรณ์ให้อยูใ่ นสภาพใช้งานได้ดี เป็ นประจําทุกเดือน ภายในระยะเวลาประกัน โดยผูร้ บั จ้างต้อง
จัดทํารายงานผลการตรวจสอบอุปกรณ์ ระบบ และการบํารุงรักษา เสนอผูว้ ่าจ้างภายใน 7 วัน นับ
จากวันตรวจสอบทุกครัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 60 of 521

2.2.5 การดําเนินการแก้ไข เปลีย่ นแปลงใดๆ ทีอ่ ยูใ่ นระยะเวลาประกัน ผูร้ บั จ้างต้องรีบทําการแก้ไขให้เป็ น


ทีเ่ รียบร้อย โดยผูว้ ่าจ้างไม่ตอ้ งออกเงินใดๆ ในการนี้ทงั ้ สิน้ หากผูร้ บั จ้างบิดพลิว้ ไม่กระทําการ
ดังกล่าวภายในกําหนด 15 วัน นับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั แจ้งเป็ นหนังสือจากผูว้ ่าจ้างหรือไม่ทาํ การแก้ไขให้
ถูกต้องเรียบร้อยภายในเวลาทีผ่ วู้ ่าจ้างกําหนด ให้ผวู้ ่าจ้างมีสทิ ธิที์ จ่ ะทําการนัน้ เองหรือจ้างผูอ้ ่นื ให้
ทํางานนัน้ โดยผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่าย
3. รายการสิง่ ของทีผ่ รู้ บั จ้างต้องส่งมอบให้แก่ผวู้ ่าจ้างในวันส่งมอบงาน ซึง่ ถือเป็ นส่วนหนึ่งของการตรวจรับมอบ
งาน
3.1 รายงานผลการทดสอบระบบทุกระบบ
3.2 รูปแบบก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWING) ทัง้ งานสถาปตั ยกรรมและงานวิศวกรรมทุกระบบ ซึง่
ได้รบั การตรวจสอบและลงนามโดยสถาปนิก,วิศวกรของผูร้ บั จ้าง โดยนําส่งในรูปแบบของ
3.2.1 กระดาษไข เข้าเล่มจํานวน 1 ชุด
3.2.2 พิมพ์เขียว เข้าเล่มจํานวน 3 ชุด
3.2.3 CD-ROM จํานวน 1 ชุด ในรูปแบบ
(1) CAD FILE พร้อม FONT ทีใ่ ช้
(2) PDF FILE แยกหมวดงาน
3.3 คู่มอื การใช้งานและบํารุงรักษาวัสดุ-อุปกรณ์ทุกชนิดแยกเป็ นรายชนิด เช่น FIRE STATION, FIRE
PUMP, FHC, GENERATOR, AIR CONDITION SYSTEM และลิฟต์ เป็ นต้น โดยต้องมี
รายละเอียดดังนี้
3.3.1 รายละเอียดของอุปกรณ์ทงั ้ หมดทีไ่ ด้ย่นื เสนอและได้รบั การอนุมตั ใิ ห้ใช้ในโครงการ
3.3.2 คู่มอื ผลิตภัณฑ์สนิ ค้า
3.3.3 เอกสารแนะนําวิธกี ารติดตัง้ และการซ่อมบํารุง
3.3.4 รายชื่อบริษทั ผูแ้ ทนจําหน่ายอุปกรณ์
3.3.5 รายการอุปกรณ์ อะไหล่ และข้อแนะนําชิน้ ส่วนอะไหล่ทค่ี วรมีสาํ รองไว้ขณะใช้งาน
3.4 เครื่องมือพิเศษสําหรับใช้ในการปรับแต่ง ซ่อมบํารุงเครื่องจักร อุปกรณ์ ซึง่ โรงงานผูผ้ ลิตส่งมา
ให้
3.5 เอกสารรับประกันวัสดุและอุปกรณ์การก่อสร้างทัง้ หมด พร้อมตารางการเข้าตรวจสอบ
คุณภาพการใช้งานวัสดุหลังจากติดตัง้ แล้วเสร็จ ตามเงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ในรายการประกอบแบบ
นี้
3.6 กุญแจ ผูร้ บั จ้างต้องทําป้ายถาวรแสดงลูกกุญแจให้ตรงกับแม่กญ ุ แจส่งมอบให้ผวู้ ่าจ้าง
ระหว่างทีล่ กู กุญแจอยูใ่ นความดูแลของผูร้ บั จ้าง จะต้องรักษาอย่างดี ห้ามมีการจําลองกุญแจ
โดยเด็ดขาด หากลูกกุญแจหายต้องเปลีย่ นกุญแจชุดใหม่ให้ หากเป็ น MASTER ให้สงผลิ ั ่ ตให้
ทันการและนําส่งให้เรียบร้อยด้วย

จบหมวดที่ 12

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 61 of 521

งานวิ ศวกรรมโครงสร้าง
หมวดที่ 13
งานดิ นขุด ดิ นถม และปรับระดับดิ นเดิ ม

1. ทัวไป

ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการปรับระดับพืน้ ทีบ่ ริเวณก่อสร้างให้เหมาะสมทีจ่ ะดําเนินงานก่อสร้าง โดยต้องจัดเตรียมเสนอ
วิธกี ารเปิ ดหน้าดิน การป้องกันดินด้านข้างพังทลาย การระบายนํ้าออกจากทีด่ นิ เสนอให้ผอู้ อกแบบและ/หรือผูว้ ่า
จ้างตรวจสอบพิจารณาและให้ความเห็นชอบเสียก่อนจึงจะดําเนินการได้
2. การเปิ ดหน้าดินโดยไม่มคี ้าํ ยัน
ผูร้ บั จ้างต้องคํานวณความลาดเอียงด้านข้างตามคุณสมบัตขิ องชัน้ ดินทีจ่ ะขุดเปิ ด และเสนอวิธกี ารให้ผคู้ วบคุมงาน
หรือผูอ้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ โดยเอกสารขออนุมตั ติ อ้ งมีวศิ วกรควบคุมและรับรองความปลอดภัยในการขุด
ดินตามประกาศกระทรวงมหาดไทยและพระราชบัญญัตกิ ารขุด-ถมดิน ระหว่างดําเนินงานผูร้ บั จ้างต้องดูแล
รับผิดชอบพืน้ ทีใ่ ห้คงสภาพปลอดภัยตลอดระยะเวลาทํางานและดูแลป้องกันมิให้เกิดนํ้าท่วมขังภายในพืน้ ทีจ่ นกว่า
งานขุดดินฐานรากและงานชัน้ ใต้ดนิ จะแล้วเสร็จ
3. การเปิ ดหน้าดินโดยมีค้าํ ยัน
ผูร้ บั จ้างต้องวิเคราะห์ออกแบบระบบคํ้ายันให้เหมาะสมกับงาน และนําเสนอรายการคํานวณโครงสร้างพร้อมวิศวกร
ลงนามรับรอง ให้ผคู้ วบคุมงานหรือผูอ้ อกแบบพิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ ผูร้ บั จ้างต้องใช้วสั ดุทม่ี คี ุณภาพมา
ติดตัง้ และดูแลรักษาให้มสี ภาพมันคงแข็ ่ งแรงตลอดการใช้งาน
4. ระบบโครงสร้างป้ องกันดิ นสาหรับงานฐานรากและงานโครงสร้างใต้ดินแบบ STEEL SHEET PILE
ระบบโครงสร้างป้องกันดินสําหรับงานฐานรากและงานโครงสร้างใต้ดนิ โดยใช้โครงสร้างกันดินแบบ Steel Sheet
Pile โดยส่วนประกอบของโครงสร้างดังกล่าวมีดงั นี้
1. แผ่นเหล็กพืด (Steel Sheet Pile) เป็ นแผ่นเหล็กลอนรูปต่างๆ มีความยาวตามกําหนดใช้ตอกในแนวดิง่
สําหรับป้องกันแรงดันนํ้า และแรงดันดิน ทีก่ ระทําตามความลึกของการขุด
2. เหล็กคํ้ายันรอบ (Wale) เป็ นส่วนของโครงสร้างทีต่ า้ นแรงกระทําทางด้านข้างจากแผ่นเหล็กพืด (Sheet
Pile) ซึง่ จะถ่ายแรงเป็ นแรงกระจาย (uniform horizontal force) เข้าสูเ่ หล็กคํ้ายันรอบ (Wale)
3. เหล็กคํ้ายัน (Strut) เป็ นส่วนโครงสร้างทีร่ บั แรงแนวแกนทีถ่ ่ายจากเหล็กคํ้ายันรอบ (Wale) และรับแรง
แนวดิง่ ทีถ่ ่ายจากแผ่นเหล็กพืน้ (Platform) ซึง่ นํามาวางบนเหล็กคํ้ายัน (Strut) เพื่อใช้ประโยชน์ต่างๆ ในขัน้ ตอน
การก่อสร้างเหล็กคํ้ายัน (Strut) โดยทัวไปจะมี่ 2 ชนิด คือ เหล็กคํ้ายันตามแนวยาว และเหล็กคํ้ายันตามแนวขวาง
และแบ่งเป็ นชัน้ ๆ ตามระดับความลึก
4. เสาเหล็กหลัก (Kingpost) เป็ นส่วนทีร่ บั แรงจากเหล็กคํ้ายัน (Strut) ในแนวดิง่ แล้วถ่ายลงสูด่ นิ ทําหน้าที่
เหมือนเสาในอาคารขนาดใหญ่ ยังสามารถใช้เป็ นฐานรากในการรับปนจั ั ้ นเสาสู
่ ง (Tower Crane) ในการลําเลียงวัสดุ
และสิง่ ต่างๆ ได้อกี ด้วย หมายเหตุ แผ่นเหล็กพืน้ (Platform) เป็ นโครงสร้างทีป่ ระกอบด้วยตงเหล็กและแผ่นเหล็กที่
นํามาเชื่อมติดกันทําหน้าทีเ่ หมือนพืน้ วางอยู่บนเหล็กคํ้ายัน (Strut) เพื่อใช้ประโยชน์ในการขุดดินการขนส่งวัสดุ และ
อื่นๆ ฯลฯ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 62 of 521

ในการก่อสร้างระบบโครงสร้างกันดินแบบ Steel Sheet Pile การก่อสร้างทีไ่ ด้ทาํ ตามแบบทีก่ าํ หนด


แล้วจะต้องมีความละเอียดรอบคอบประกอบในการทํางานโดยมีขอ้ พิจารณาก่อนการก่อสร้างและหลังการ
ก่อสร้างดังนี้
1. แนวการตอกเหล็กแผ่นพืด (Sheet Pile) ต้องห่างจากขอบฐานรากโดยมีระยะพอเพียง สําหรับการ
ติดตัง้ และรือ้ ถอนไม้แบบฐานราก
2. เสาเหล็กหลัก (King Post) ทีท่ าํ การตอกเพื่อรับนํ้าหนักทีถ่ ่ายจากคํ้ายัน (Strut) ต้องมีความยาว
ตามกําหนดและได้แนวดิง่
3. คํ้ายัน (Strut) และคํ้ายันรอบ (Wale) ต้องได้แนวตรงเพื่อให้สามารถถ่ายแรงได้ตามในแนวแกน
ตามวัตถุประสงค์
4. แนวการเชื่อมของโครงสร้างทีเ่ ป็ นเหล็กต้องเชื่อมให้ได้ความยาว และขนาดการเชื่อม ตามที่
กําหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อความแข็งแรงและความปลอดภัยของระบบโครงสร้าง
5. หลังจากการติดตัง้ ระบบโครงสร้างแล้วเสร็จจะต้องมีการตรวจสอบการเคลื่อนตัว ของ Sheet Pile
ทุกวันก่อนทําการก่อสร้างจนกว่าการก่อสร้างในส่วนฐานรากแล้วเสร็จ เพื่อนํามาเป็ นข้อมูลในการพิจารณา
เสถียรภาพของระบบป้องกันดินว่ามีความปลอดภัยหรือไม่ การก่อสร้างระบบโครงสร้างกันดินแบบ Steel
Sheet Pile ก่อนลงมือก่อสร้างจะต้องศึกษารายละเอียดในแบบทัง้ หมด ให้เข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการทํางาน
5. วิธกี ารก่อสร้างมีขนั ้ ตอนต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. สํารวจระบบสาธารณูปโภคบริเวณก่อสร้าง เช่น ท่อไฟฟ้า ท่อประปา ท่อโทรศัพท์ และให้ทาํ การย้าย
ออกให้พน้ จากพืน้ ทีท่ ก่ี ่อสร้าง เพื่อป้องกันความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้
2. เลือกเครื่องมือให้เหมาะสมกับงาน เช่น เครื่องตอกและถอนแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) เครื่องขุดดิน
รถบรรทุก ฯลฯ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 63 of 521

3. ทําการวางแนวการตอกแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) ตามแนวฐานรากตามแนว กําหนดโดยต้องร่นแบบ


ห่างจากขอบฐานราก 1.00-1.50 เมตร ตามความเหมาะสม
4. ปกั แผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) ตามแนวทีว่ างไว้และทําการตอกแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) ทีละแผ่น
ให้ได้แนวระดับทีต่ อ้ งการ
5. ตอกเสาเหล็กหลัก (Kingpost) ตามจํานวนทีก่ าํ หนดในแบบตามตําแหน่งและระดับทีก่ าํ หนด โดย
อาจจะตอกพร้อมกับแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) ก็ได้ โดยต้องวางแผนในการใช้เครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพสุงสุด
ในการตอก เช่น อาจตอกพร้อมกันในพืน้ ทีโ่ ดยแบ่งเป็ นโซนต่างๆ
6. นําเหล็กคํ้ายัน (Strut) และเหล็กคํ้ายันรอบ (Wale) วางตามแนวทีก่ าํ หนด และทําการเชื่อมติดกับเสา
เหล็กหลัก (Kingpost) และแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile)
7. นําแผ่นเหล็กพืน้ (Platform) มาวางบนเหล็กคํ้ายัน (Strut ) เพื่อเป็ นจุดทีใ่ ห้รถขุดดินสามารถวิง่ บนแผ่น
เหล็กพืน้ (Platform) เพื่อทําการขุดดินชัน้ แรก ออกให้อยูใ่ นระดับทีส่ ามารถติดตัง้ เหล็กคํ้ายัน (Strut) และเหล็กคํ้า
ยันรอบ (Wale) ชัน้ ต่อไปได้
8. นําคอนกรีตเติม (fill) ลงในรอยต่อช่องระหว่างเหล็กคํ้ายัน (Strut) กับเหล็กคํ้ายันรอบ (Wale) และแผ่น
เหล็กพืด (Sheet Pile) กับเหล็กคํ้ายันรอบ (Wale) เพื่อเสริมความแข็งแรง จุดต่อให้มากขึน้ เพื่อป้องกันการโก่งงอ
ของปี กของเหล็กคํ้ายัน (Wale) และแผ่นเหล็กพืด (Sheet Pile) เพราะถ้าเกิดการโก่งงอขณะก่อสร้างจะทําให้
โครงสร้างพังทลายได้
9. ระบบโครงสร้างป้องกันดินทีม่ เี สถียรภาพในการป้องกันดิน หากในการก่อสร้างมีการทํางานเสาเข็ม
เจาะเสร็จก่อนการทําระบบป้องกันดิน ดังนัน้ ระหว่างการขุดดินเพื่อติดตัง้ คํ้ายัน (Strut) และคํ้ายันรอบ (Wale) แต่ละ
ชัน้ จะต้องมีการตัดหัวเสาเข็มตามระดับทีท่ าํ การขุดด้วย เพราะเสาเข็มทําให้ไม่สามารถขุดดินได้และเป็ นการปรับ
ระดับหัวเสาเข็มด้วย

จบหมวดที่ 13

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 64 of 521

หมวดที่ 14
งานเสาเข็ม

1. เสาเข็มไม้
1.1 ชนิด ใช้ไม้แก่น กระเทาะเปลือกหมด ลําต้นตรงเป็ นไม้ท่อนเดียว มีขนาดและความคดโค้งไม่ผดิ ไปจากทีไ่ ด้
อนุโลมไว้ตามข้อ 1.3.1 ไม่แตกร้าว หรือผุจนเสียกําลัง
1.2 ขนาด อนุญาตให้ใช้เสาเข็มทีม่ ขี นาดเล็กกว่าทีก่ าํ หนดในรูปแบบได้ แต่ตอ้ งไม่เล็กกว่าขนาดทีก่ าํ หนดไว้ใน
ตารางข้างล่างนี้

หน้าตัด ความยาว
เส้นผ่านศูนย์กลาง เส้นรอบรูปจริง ความยาวกําหนด ความยาวจริง
ทีก่ าํ หนด ไม่น้อยกว่า (มิลลิเมตร) (เมตร) ไม่สนั ้ กว่า (เมตร)
3 นิ้ว 210 3.00 2.80
4 นิ้ว 280 4.00 3.80
5 นิ้ว 350 5.00 4.80
6 นิ้ว 430 6.00 5.80
8 นิ้ว 570 8.00 7.80
หน้าตัด วัดทีก่ ง่ึ กลางของเสาทีค่ วามยาวจริง
ยาวจริง วัดเมื่อตัดหัวเสาเข็มและตกแต่งปลายเสาเข็มเรียบร้อยแล้ว

เสาเข็มทีม่ ขี นาดเล็กกว่าทีก่ าํ หนดไว้ในรูปแบบ รายการประกอบแบบ และทีอ่ นุโลมไว้ ห้ามผูร้ บั จ้างนําเข้ามาใน


บริเวณก่อสร้าง ส่วนเสาทีน่ ํามาใช้เป็ นเสาคํ้าไม้แบบห้ามนํามาปะปนโดยเด็ดขาด
1.3 ข้อบกพร่องทีอ่ นุโลมให้ใช้ได้
1.3.1 ความคดโค้ง เมื่อทดสอบโดยใช้เชือกขึงทีก่ ง่ึ กลางของเส้นผ่านศูนย์กลางของหน้าตัดทีห่ วั เสาเข็มและปลาย
เสาเข็มแล้ว แนวเส้นเชือกต้องไม่อยู่นอกพืน้ ทีเ่ สาเข็ม
1.3.2 เส้นรอบรูปจริง เมื่อกระเทาะเปลือกเสาเข็มหมดแล้วให้วดั เส้นรอบรูปจริงทีก่ ง่ึ กลางเสาเข็ม โดยความยาวจริง
ต้องไม่ต่ํากว่าทีร่ ะบุไว้
1.4 การเสีย้ มปลาย ระยะทีเ่ สีย้ มปลายเท่ากับ 2.5 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็มแต่ตอ้ งไม่เกิน 30 เซนติเมตร
1.5 การตอก
1.5.1 ในกรณีทห่ี วั เสาเข็มแตกเนื่องจากการตอก ให้ตดั ส่วนทีแ่ ตกออก เพื่อให้ฐานรากจะได้วางบนส่วนทีแ่ ข็งแรง
1.5.2 ในกรณีทต่ี อกลงไม่ได้ความยาวตามรูปแบบ แต่สามารถรับนํ้าหนักปลอดภัยได้ตามรูปแบบ ให้ตดั ส่วนที่
ตอกไม่ลงออกได้ โดยไม่ตอ้ งคืนเงินแก่ผวู้ ่าจ้าง
1.5.3 ในกรณีทร่ี ปู แบบและรายการประกอบแบบไม่ได้กาํ หนดความยาวของเสาเข็ม แต่ได้กาํ หนดค่าการรับ
นํ้าหนักปลอดภัยไว้ เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างทีจ่ ะต้องกําหนดรายละเอียดความยาวของเสาเข็มและรับรองการ
วิเคราะห์โดยวิศวกรโยธาระดับสามัญวิศวกร เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อน
แต่หากทําการตอกเสาเข็มแล้ว พบว่าเสาเข็มยังรับนํ้าหนักไม่ได้ตามรายการคํานวณ ให้ผรู้ บั จ้างแจ้ง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 65 of 521

คณะกรรมการตรวจการจ้างเพื่อพิจารณาแก้ไขตามหลักวิชาช่าง เมื่อคณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูว้ ่าจ้างแก้ไข


ประการใด ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามนัน้
1.5.4 ในกรณีทร่ี ะดับนํ้าใต้ดนิ อยู่ต่ํากว่าระดับปลายเสาเข็ม ผูร้ บั จ้างต้องตอกส่งให้ปลายเสาเข็มอยู่ต่ํากว่าระดับ นํ้าใต้ดนิ
เพื่อป้องกันการผุพงั ของเสาเข็ม ส่วนระดับของอาคารและอื่นๆ ให้ถอื ตามระดับในรูปแบบ
1.6 การตอกเสาเข็มไม้ดว้ ยปนจั ั ้ นหรื
่ อลูกตุม้
1.6.1 ต้องมีเครื่องป้องกันมิให้หวั เสาเข็มชํารุด เช่น มีกระสอบปา่ นหรือวัสดุอ่นื รองรับเหนือหัวเสาเข็ม รัดปลอก
เหล็กรอบหัวเสาเข็ม และควรตรวจดูอยู่เสมอ
1.6.2 ในกรณีทห่ี วั เสาเข็มแตกเนื่องจากการตอก ให้ตดั ส่วนทีแ่ ตกออก
1.6.3 ในกรณีทเ่ี สาเข็มถูกตอกลงง่ายผิดปกติ จะต้องรายงานให้ผคู้ วบคุมงานหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ทราบเพื่อวินิจฉัยว่าเสาเข็มรับนํ้าหนักได้ตามทีต่ อ้ งการหรือไม่และต้องมีการทดสอบหรือไม่ ถ้าหากมีการ
ทดสอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการทดสอบผูร้ บั จ้างรับผิดชอบเองทัง้ สิน้
1.7 ในกรณีทร่ี ปู แบบและรายการประกอบแบบระบุให้ใช้เสาเข็มไม้หรือเสาเข็มกลวง/หกเหลีย่ ม แต่หากผูร้ บั จ้างมีความ
ประสงค์จะใช้เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตอัดแรง หรือเปลีย่ นรูปทรงหน้าตัดเสาเข็ม ก็สามารถ
ทําได้ โดยต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและวิศวกรของผูว้ ่าจ้างตลอดจนคณะกรรมการตรวจการจ้าง
ก่อน ซึง่ เสาเข็มทีข่ อใช้แทนต้องมีขนาดและคุณสมบัตกิ ารรับนํ้าหนักปลอดภัยไม่น้อยกว่าเสาเข็มไม้ทก่ี าํ หนดไว้ใน
รูปแบบ

2. เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก หรือเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ
2.1 ขอบเขตของงาน
2.1.1 เสาเข็มทีน่ ํามาใช้ในงานก่อสร้างจะต้องเป็ นเสาเข็มทีผ่ ลิตจากโรงงานทีม่ อี ุปกรณ์และมีวศิ วกรควบคุม
การผลิตชัน้ วุฒวิ ศิ วกรทีเ่ ป็ นผูช้ าํ นาญงานพอเพียงแก่การผลิตเสาเข็มให้มคี ุณภาพดีได้มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม อาทิเช่น เสาเข็มคอนกรีต มอก.395–2524 เสาเข็มคอนกรีตอัดแรง
มอก.396–2549 เสาเข็มคอนกรีตขนาดสัน้ มอก.399–2524 เสาเข็มทุกต้นต้องระบุวนั เดือนปี ทผ่ี ลิต
และชื่อผูผ้ ลิตแสดงไว้ชดั เจน และผูอ้ อกแบบหรือผู้ควบคุมงานก่อสร้างสงวนสิทธิในการเข้
์ าดูวธิ กี าร
ผลิต และขอผลทดสอบว่าเป็ นไปตามมาตรฐาน มอก. หรือไม่ เช่น การดึงลวด การทดสอบคอนกรีต
เป็ นต้น
2.1.2 การกําหนดจุดยกและการขนส่ง เสาเข็มทุกต้นจะต้องแสดงจุดยกให้ชดั เจน และหากต้องทําการ
ทดสอบด้วยการนําเสาเข็มวางบนหมอนรองรับทีจ่ ุดยก รอยแตกร้าวทีเ่ กิดขึน้ จะต้องไม่กว้างมากกว่า
0.20 มิลลิเมตร
2.1.3 ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมได้
(1) ความคดงอเสาเข็มตามยาวขณะวางในสภาวะปกติไม่ได้รบั BENDING จะต้องไม่เกิน 3
มิลลิเมตรต่อความยาว 3.00 เมตร หรือ 9.5 มิลลิเมตรต่อความยาว 12.00 เมตร หรือ 47.6
คูณด้วยความยาว (เมตร) หารด้วย 60.96 (เมตร)
(2) ปลายทีต่ อกของเสาเข็มต้องมีผวิ หน้าเรียบและตัง้ ฉากกับแกนความยาวของเสาเข็ม โดยยอม
ให้มคี วามคลาดเคลื่อนไม่เกิน 1 องศา
2.1.4 การตอกเสาเข็มโดยใช้ลกู ตุม้ ชนิดปล่อย ถ้ารูปแบบหรือรายการประกอบแบบไม่ได้ระบุไว้เป็ นอย่าง
อื่น ให้ถอื ปฏิบตั ดิ งั นี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 66 of 521

(1) นํ้าหนักของลูกตุม้ และระยะยก ให้เป็ นไปตามสูตรการคํานวณหานํ้าหนักบรรทุกเสาเข็ม


โดยทัวไป ่ ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องเสนอรายการคํานวณของวิศวกรให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง
พิจารณาเห็นชอบเสียก่อน โดยใช้ลกู ตุม้ หนักไม่น้อยกว่า 70% ของนํ้าหนักเสาเข็ม
(2) ในกรณีทต่ี อกเสาเข็มแล้วปรากฏว่าศูนย์เสาเข็มผิดไปจากตําแหน่งทีก่ าํ หนดไว้เกินกว่า 5
เซนติเมตร โดยวัดขนานกับแกนโคออร์ดเิ นตทัง้ สอง ณ ระดับหัวเสาเข็มใช้งาน หรือพบว่า
เสาเข็มเกิดความเสียหายไม่ว่ากรณีใดๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอวิธกี ารแก้ไขโดยวิศวกรโยธา
ประเภทสามัญ ตามหลักวิชาการเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อน
จะทําการแก้ไขต่อไป โดยจะคิดเงินและเวลาเพิม่ จากทางผูว้ ่าจ้างมิได้
(3) การตอกเสาเข็มต้องป้องกันมิให้หวั เสาเข็มชํารุด เช่น มีกระสอบปา่ นหรือวัสดุอ่นื ๆ รองรับ
เหนือหัวเสาเข็ม รัดปลอกเหล็กรอบหัวเสาเข็ม และคอยระมัดระวังอยู่เสมอ
(4) การตอกเสาเข็มต้องนับ BLOW COUNT ของเสาเข็มทุกต้น และให้เริม่ นับ BLOW COUNT
ตัง้ แต่ 10 ฟุตสุดท้ายเป็ นอย่างน้อย ก่อนทีห่ วั เสาเข็มจะจมถึงระดับทีก่ าํ หนด หากปรากฏว่า
จํานวน BLOW COUNT ต่อฟุต มีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็วแสดงว่าต้องมีสงิ่ ผิดปกติเกิด
ขึน้ กับเสาเข็มหรือดินทีต่ อกเสาเข็มอยู่ ให้รายงานผูค้ วบคุมงานหรือคณะกรรมการตรวจการ
จ้างทราบทันทีเพื่อแก้ไข
(5) ในกรณีทต่ี อกเสาเข็มถึงระดับทีก่ าํ หนดตามรูปแบบหรือรายการประกอบแบบแล้ว หาก
จํานวนนับ BLOW COUNT หรือผลการคํานวณแสดงว่าเสาเข็มยังรับนํ้าหนักปลอดภัยไม่ได้
ตามที่ กําหนด ผูร้ บั จ้างจะต้องเพิม่ ขนาด จํานวน หรือความยาวของเสาเข็ม จนสามารถรับ
นํ้าหนัก ปลอดภัยได้ และให้หมายรวมถึงขนาดฐานรากทีต่ อ้ งขยายใหญ่ขน้ึ ด้วย ทัง้ นี้อยูใ่ น
ดุลยพินิจของผูอ้ อกแบบอาคารและคณะกรรมการตรวจการจ้าง โดยผูร้ บั จ้างจะคิดเงิน
ค่าใช้จ่ายและเวลาเพิม่ ไม่ได้
(6) ห้ามนําเสาเข็มทีม่ กี าํ ลังไม่ถงึ ตามทีก่ าํ หนดมาตอก ผูค้ วบคุมงานต้องได้รบั แจ้งอย่าง
น้อย 24 ชัวโมงก่
่ อนเริม่ ตอก การตอกเสาเข็มทุกต้นต้องกระทําอย่างต่อเนื่องกัน โดยไม่มกี าร
หยุดชะงักจนกว่าเสาเข็มจะจมถึงความลึกหรือได้จาํ นวน BLOW COUNT ตามทีต่ อ้ งการ
2.2 กรณียกเลิกการตอกเสาเข็ม
ถ้ารูปแบบและรายการประกอบแบบ หรือรายการวันชีส้ ถานทีไ่ ม่ได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น จะยกเลิกการ
ตอกเสาเข็มได้เฉพาะกรณีต่อไปนี้
2.2.1 ผูร้ บั จ้างขอยกเลิกการตอกเสาเข็ม โดยมีหนังสือรับรองของทางราชการว่าทีด่ นิ บริเวณทีท่ าํ
การก่อสร้างสามารถรับนํ้าหนักปลอดภัย (SAFE SOIL BEARING CAPACITY) ได้ไม่น้อย
กว่า 12,000 กิโลกรัมต่อตารางเมตร โดยมีคา่ ส่วนความปลอดภัย (FACTOR OF SAFETY)
ไม่น้อยกว่า 2.5 ให้วศิ วกรทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างเห็นชอบเป็ นผูพ้ จิ ารณา
2.2.2 ผูร้ บั จ้างขอยกเลิกการตอกเสาเข็ม โดยมีหนังสือรับรองแสดงว่าได้ทาํ การทดสอบการรับ
นํ้าหนักของดิน โดยวิธี BORING TEST ครอบคลุมพืน้ ทีก่ ่อสร้างเพียงพอ และหนังสือ
รับรองว่าได้ดาํ เนินการออกแบบฐานรากแบบไม่มเี สาเข็มโดยวิศวกรโยธาระดับสามัญวิศวกร
เป็ นผูร้ บั รองการใช้วธิ ี BORING TEST ออกแบบฐานรากใหม่ โดยให้วศิ วกรทีค่ ณะกรรมการ
ตรวจการจ้างเห็นชอบเป็ นผูพ้ จิ ารณา
2.2.3 เมื่องดการตอกเสาเข็มทีก่ าํ หนดในการก่อสร้างนี้ ให้คดิ ราคาฐานรากและเสาเข็มทีก่ าํ หนดในการ
ก่อสร้างนี้กบั ราคาฐานรากชนิดไม่มเี สาเข็ม หักลบกันแล้วเป็ นเงินต่างกันเท่าใดผูร้ บั จ้างยินยอมให้ผู้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 67 of 521

ว่าจ้างหักเงินค่าจ้างเท่ากับจํานวนทีต่ ่างกันนัน้ การคิดราคาดังกล่าวให้ถอื ราคากลางของผูว้ ่าจ้าง


ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างจะอ้างข้อความในรูปแบบเพื่อไม่ตอ้ งหักเงินคืนแก่ผวู้ ่าจ้างมิได้ และให้หกั เงินในงวดที่
แล้วเสร็จงานเสาเข็ม
2.3 รูปร่างของเสาเข็มนอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้ในแบบ
ผูร้ บั จ้างสามารถนํามาใช้ได้ แต่จะต้องมีพน้ื ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่าทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบ และจะต้องให้วศิ วกร
โยธาทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างเห็นชอบเป็ นผูพ้ จิ ารณาเสียก่อน
2.4 กรณีทจ่ี ะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงเสาเข็มและฐานราก
ในกรณีทต่ี อกเสาเข็มแล้ว ปรากฏว่าเสาเข็มชํารุด หัก หรือรับนํ้าหนักปลอดภัยไม่ได้ตามข้อกําหนด ให้เป็ น
หน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอรายละเอียดการแก้ไขปรับรูปแบบ ขยายขนาดฐานราก หรือตอกเสาเข็มเพิม่
โดยวิศวกรโยธา ระดับสามัญวิศวกร เพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อนทีจ่ ะทํา
การแก้ไขต่อไป และการแก้ไขนี้ถอื ว่าเป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาผูร้ บั จ้างจะถือเป็ นข้ออ้างเรียกร้องเงินเพิม่
ไม่ได้
2.5 การขอใช้เสาเข็มชนิดต่อ
หากในรูปแบบไม่ได้กาํ หนดให้ใช้เสาเข็มชนิดต่อ แต่มคี วามจําเป็ นจะต้องใช้เสาเข็มชนิดต่อ ผูร้ บั จ้างจะต้อง
ใช้ชนิดต่อกันไม่เกิน 2 ท่อน ข้อต่อต้องเป็ นเหล็กเหนียวและหล่อเป็ นส่วนเดียวกับตัวเข็มแต่ละส่วน การต่อ
ให้ต่อโดยวิธเี ชื่อมด้วยไฟฟ้า และทุกท่อนทีเ่ มื่อต่อแล้วต้องเป็ นเส้นตรงเดียวกัน ทัง้ นี้ให้ผรู้ บั จ้างเสนอ
รายละเอียดเพื่อขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อน สําหรับการต่อวิธนี อกเหนือจากที่
กําหนดนี้ หรือต่อเสาเข็มมากกว่า 2 ท่อน ให้ผรู้ บั จ้างเสนอรายละเอียดและผลการทดสอบ เพื่อให้ผอู้ อกแบบ
พิจารณาเป็ นกรณีไป โดยมีวศิ วกรโยธาระดับวุฒวิ ศิ วกร รับรองและเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา
และให้เปรียบเทียบราคาระหว่างเสาเข็มชนิดท่อนเดียวและ 2 ท่อนต่อตามราคากลางในวันเปิ ดซองเสนอ
ราคา ส่วนเวลาจะคิดเพิม่ จากทางการมิได้
2.6 การทดสอบทีเ่ กีย่ วข้อง
2.6.1 การทดสอบสภาพการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม (PILE LOAD TEST)
(1) ถ้ามิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ผรู้ บั จ้างทําการทดสอบสภาพการรับนํ้าหนักของเสาเข็มด้วยวิธี
STATIC PILE LOAD TEST โดยขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อนการดําเนินการ และ
ให้วศิ วกรผูอ้ อกแบบเป็ นผูก้ าํ หนดจุดการทดสอบ จํานวน 1 จุด แต่ถา้ หากผลการทดสอบเป็ นทีน่ ่า
สงสัยหรือล้มเหลว คณะกรรมการตรวจการจ้างอาจกําหนดให้ทาํ การทดสอบเพิม่ อีกก็ได้ ทัง้ นี้ผู้
รับจ้างจะไม่คดิ ค่าใช้จ่ายเพิม่ แต่อย่างใด หรือหากผูร้ บั จ้างต้องการทดสอบสภาพการรับนํ้าหนักของ
เสาเข็มด้วยวิธี DYNAMIC PILE LOAD TEST จํานวนร้อยละ 1 จุด ของปริมาณเสาเข็ม ผูร้ บั จ้าง
ต้องขอข้อเสนอแนะและความเห็นชอบจากวิศวกรผูอ้ อกแบบก่อน จึงจะขออนุมตั ดิ าํ เนินการจาก
คณะกรรมการตรวจการจ้างได้
(2) ในกรณีทม่ี กี าํ หนดเรื่องการทดสอบสภาพการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม (PILE LOAD TEST) ในรูปแบบ
แล้ว ให้เป็ นไปตามข้อกําหนดในรูปแบบนัน้

(3) ในกรณีทจ่ี ะต้องทดสอบสภาพการรับนํ้าหนักของเสาเข็ม (PILE LOAD TEST) ส่วนปลอดภัย


(FACTOR OF SAFETY) ให้ใช้สว่ นปลอดภัยไม่น้อยกว่า 2.5 (หรือกําหนดโดยวิศวกรผูอ้ อกแบบ)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 68 of 521

2.6.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการตอกเสาเข็มทดสอบ (PILOT PILE) อย่างน้อย 3 ต้น ครอบคลุมบริเวณทีจ่ ะ


ก่อสร้างอาคาร โดยต้องได้รบั ความเห็นชอบตําแหน่งทดสอบจากวิศวกรผูค้ วบคุมงาน และกรรมการ
ตรวจการจ้างก่อน
2.6.3 การคํานวณค่าการรับนํ้าหนักปลอดภัยของเสาเข็มจาก BLOW COUNT ให้ใช้สตู รของ JANBU’S
FORMULA และอัตราส่วนความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 2.5 หรือสูตรอื่นๆ ทีค่ ณะกรรมการตรวจการ
จ้างและวิศวกรผูอ้ อกแบบเห็นชอบ
2.7 การลอยตัว
ทันทีทต่ี อกเสาเข็มต้นหนึ่งเสร็จเรียบร้อย จะต้องทําระเบียนเกีย่ วกับระดับหัวเสาเข็มทีต่ อกลงไปนัน้ และ
หลังจากตอกต้นข้างเคียงเสร็จหมดแล้วต้องทําการตรวจสอบระดับหัวเสาเข็มอีกครัง้ หนึ่ง หากปรากฏว่า
เสาเข็มต้นใดลอยตัวขึน้ มา จะต้องตอกกลับลงสูร่ ะดับเดิมหรือจนกระทังถึ ่ งระยะทีต่ งั ้ ไว้อกี ครัง้ หนึ่ง ทัง้ นี้
แล้วแต่ผแู้ ทนผูว้ ่าจ้างจะกําหนดโดยทางฝา่ ยผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายทัง้ หมดแต่ฝา่ ยเดียว
2.8 การรับรองตําแหน่งเสาเข็ม
ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูต้ รวจสอบตําแหน่งเสาเข็มในระหว่างทีง่ านดําเนินไป และจะต้องเป็ นผูร้ บั รองขัน้
สุดท้าย และ ภายใน 30 วันนับแต่การตอกเสาเข็มต้นสุดท้ายได้เสร็จสิน้ ลง ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่เคลือ่ นย้าย
ปนจัั ้ น่ และอุปกรณ์อ่นื ๆ ออกจากสถานทีก่ ่อสร้าง จนกว่าจะได้รบั ผลการรับรองดังกล่าวเรียบร้อยแล้ว ทัง้ นี้
ให้ผรู้ บั จ้างนําส่งระเบียนการตอกเสาเข็ม ระยะหนีศนู ย์เสาเข็ม ผังเสาเข็ม และผล BLOW COUNT ทุกต้น
ในวันรับรองตําแหน่งเสาเข็มนี้ดว้ ย
2.9 ระเบียนการตอกเสาเข็ม
2.9.1 ในระหว่างการตอกเสาเข็ม ผูค้ วบคุมงานฝา่ ยผูว้ ่าจ้างและผูร้ บั จ้างต้องเก็บระเบียนการตอกและการ
จัดตําแหน่งเสาเข็มทุกต้นไว้คนละฉบับ และจะต้องส่งระเบียนผลงานประจําวันให้กบั วิศวกรภายใน
24 ชัวโมง

2.9.2 ระเบียนจะต้องประกอบด้วยข้อมูลต่อไปนี้
(1) วันทีต่ อก
(2) ชนิดของเสาเข็ม
(3) จํานวนเสาเข็ม
(4) ความลึกทีต่ อก
(5) ลําดับการตอกในแต่ละกลุม่
(6) จํานวนครัง้ ทีต่ อกสําหรับ 10 เซนติเมตร สามชุดสุดท้าย หรือระยะทีจ่ มของเสาเข็มเมื่อตอก
10 ครัง้ สามชุดสุดท้าย
(7) ชนิดและนํ้าหนักของตุม้ ทีใ่ ช้ตอก
(8) ชนิดและสภาพของวัสดุทใ่ี ช้รองหัวเสาเข็ม
(9) ระยะตกของตุม้ หรือพลังงานทีต่ อกของตุม้
(10) ความยาวทีต่ อ้ งต่อหรือตัดออก
(11) ความยาวจริง
(12) ความยาวทีโ่ ผล่ในฐานราก
(13) รายละเอียดของการติดขัดในการตอก
(14) รายละเอียดในการตอกใหม่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 69 of 521

2.9.3 เมื่อเสร็จการตอก ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งแบบระเบียนความลึกสุดท้ายของเสาเข็มทุกต้นเทียบกับระดับที่


ใช้อา้ งอิงต่อวิศวกร และให้สาํ เนานําส่งผูอ้ อกแบบอาคารจํานวน 1 ชุด ภายใน 30 วัน นับจากวันที่
ตอกเสาเข็มต้นสุดท้ายแล้วเสร็จ
2.10 การหักเงินคืนค่าเสาเข็ม
ราคาค่าก่อสร้างคํานวณโดยใช้เสาเข็มยาวตามรูปแบบกําหนด โดยมีฐานการพิจารณาจากผลการ
ทดสอบการรับนํ้าหนักของดินเฉพาะจุด ฉะนัน้ หากปรากฏว่าในการก่อสร้างจริงหลังจากมีการตอก
ทดสอบก่อนสังผลิ ่ ตเสาเข็มแล้วใช้เสาเข็มสัน้ กว่า ผูร้ บั จ้างจะต้องคืนเงินค่าเสาเข็มในอัตราทีท่ างผู้
ว่าจ้างเป็ นผูก้ าํ หนด แต่ถา้ หากใช้เสาเข็มยาวกว่า ผูร้ บั จ้างสามารถเรียกร้องเวลาและค่าเงินตามความ
ยาวทีเ่ พิม่ ขึน้ ได้
2.11 การจ่ายเงิน
จะไม่มกี ารจ่ายเงินสําหรับเสาเข็มทีต่ อกโดยพลการ เสาเข็มเสีย ไม่แข็งแรง หรือเสาเข็มทีต่ อกได้คุณภาพ
การตอกไม่ดี
2.12 ความรับผิดชอบ
ผูร้ บั จ้างจะต้องหามาตรการป้องกันการเสียหายอันอาจเกิดขึน้ จากการตอก หรือทําเสาเข็มต่ออาคาร
ข้างเคียงทุกชนิดและจะต้องส่งมาตรการเหล่านัน้ พร้อมทัง้ ลําดับการตอกเสาเข็มให้ผคู้ วบคุมงานหรือวิศวกร
ผูอ้ อกแบบพิจารณาก่อน หากปรากฏว่าเกิดความเสียหายดังกล่าวขึน้ ต่ออาคารข้างเคียง ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบทัง้ สิน้ ทัง้ นี้ให้ผคู้ วบคุมงานสําเนาส่งมาตรการป้องกันทีไ่ ด้ขออนุมตั จิ ากคณะกรรมการตรวจการ
จ้างแล้วต่อผูอ้ อกแบบ ณ สถานทีอ่ ยู่ผอู้ อกแบบอาคารด้วย จํานวน 1 ชุด
3. เสาเข็มเจาะระบบแห้ง (BORED PILES - DRY PROCESS)
3.1 ขอบเขตของงาน
3.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะงาน ตลอดจนแรงงาน โรงงาน และสิง่
อื่นใดทีจ่ าํ เป็ น เพื่อมิให้เกิดปญั หาขึน้ ขณะปฏิบตั งิ าน และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของงาน
ตามทีก่ าํ หนด
3.1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีวศิ วกรทีม่ คี วามชํานาญงานเสาเข็มและงานขุดเจาะดินประจําทีห่ น่วยงาน
ก่อสร้าง เพื่อประสานงานและตรวจสอบตําแหน่งเสาเข็ม จนถึงเทฐานรากแล้วเสร็จ
3.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งเอกสารดังต่อไปนี้ เพื่อขออนุมตั ติ ่อผูว้ ่าจ้างก่อนเริม่ ดําเนินการงานเสาเข็ม
เจาะ
(1) แผนงานการทํางาน
(2) รายการคํานวณออกแบบเสาเข็ม
(3) ข้อกําหนด ชนิด ขนาด และระยะความยาวของเสาเข็ม ข้อกําหนดสําหรับวัสดุทุกชนิด
ทีจ่ ะนํามาใช้
(4) SHOP DRAWING แสดงรายละเอียดต่างๆ ของเหล็กเสริมและองค์ประกอบต่างๆ
ของเสาเข็มทีเ่ สนอ
(5) วิธกี ารป้องกันการไหลเข้ามาของดิน และนํ้าในระยะก่อนหรือขณะเทคอนกรีต และ
ขณะถอดปลอก
(6) วิธกี ารเทคอนกรีต และการป้องกันการแยกแยะ
(7) การทดสอบในที่ เพื่อหาระยะจมลึกทีต่ อ้ งการของเสาเข็ม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 70 of 521

(8) สูตรหรือวิธกี ารประมาณค่าความสามารถในการรับนํ้าหนักของเสาเข็มในเรื่องเกีย่ วกับ


ระยะตัง้ ระยะจมลึก และคุณสมบัตทิ อ่ี าศัยกําลังของดินโดยระบุค่าหน่วยแรงใช้งาน
ต่างๆ ตลอดจนความสามารถในการรับนํ้าหนักสูงสุดของเสาเข็ม
(9) วิธกี ารตรวจสอบหาความเบีย่ งเบนจนแนวดิง่ ของเสาเข็ม
3.1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการปรับพืน้ ที่ เพื่อให้เหมาะสมกับขัน้ ตอนการทํางาน ซากสิง่ ก่อสร้างที่
อยู่ใต้ดนิ ซึง่ อาจจะป็ นอุปสรรคต่อการทํางานเสาเข็ม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการขุดเคลื่อนย้าย
เศษวัสดุดงั กล่าวให้พน้ ไปจากบริเวณทีจ่ ะทํางาน สําหรับต้นไม้ใหญ่ก่อนทีจ่ ะเคลื่อนย้ายหรือ
ตัดบางส่วนหรือโค่นลง ให้แจ้งขออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานหรือผูว้ ่าจ้างเสียก่อน
3.1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการจัดทําถนนชัวคราว ่ เพื่อให้สามารถขนย้ายวัสดุ อุปกรณ์ หรือ
เครื่องมืออื่นๆ ไปยังจุดต่างๆ ตามแผนงานก่อสร้างทีเ่ สนอ
3.2 ข้อกําหนดทัวไป ่
3.2.1 การเจาะดินและการใช้ปลอกเหล็ก
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้วธิ กี ารทีจ่ ะให้ตําแหน่งของเสาเข็มตรงตําแหน่งทีอ่ อกแบบและได้ดงิ่ และจะต้องไม่
ทําให้ดนิ รอบหลุมเจาะถูกรบกวนจนเกินจําเป็ น การเจาะจะต้องทําให้ได้หลุมเจาะทีม่ หี น้าตัด
สมํ่าเสมอตลอดความลึกของเสาเข็ม เสาเข็มแต่ละต้นจะต้องฝงั อยู่ในหรือวางอยู่บนชัน้ ดินทีไ่ ด้
กําหนดไว้ การเทคอนกรีตจะต้องเป็ นไปอย่างต่อเนื่องและได้กาํ ลังของคอนกรีต และขนาดหน้าตัดขัน้
ตํ่าทีไ่ ด้ระบุไว้ในรูปแบบ
(2) ผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกใช้วธิ กี ารเจาะทีเ่ หมาะสม เช่น ใช้แรงงานคน สว่านเจาะ ถังเจาะเก็บดิน แคลม
เชลล์ หรืออุปกรณ์นอกเหนือจากนี้ หรือใช้อุปกรณ์หลายชนิดร่วมกัน ให้ได้ขนาดของหลุมเจาะที่
ออกแบบ และควรหลีกเลีย่ งการเจาะเกินขนาดทีอ่ อกแบบ
(3) ในขณะทําการขุดเจาะเสาเข็ม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการตรวจสอบความดิง่ ของเสาเข็มเป็ นระยะๆ โดย
การใช้ระดับนํ้าทาบกับก้านเจาะ
(4) ในกรณีทร่ี ะบุให้เจาะฝงั เสาเข็มลงในชัน้ หิน ผูร้ บั จ้างจะต้องเจาะโดยวิธที ไ่ี ด้อนุมตั แิ ล้ว ตัวอย่างเช่น
การเจาะหมุน การเจาะหินแบบแท่ง (Coring) การใช้วธิ สี กัด (Chipping) และการกระแทก
(Chopping) วิธกี ารเจาะด้วยการระเบิดห้ามนํามาใช้ในพืน้ ทีจ่ าํ กัด ซึง่ แรงเนื่องจากการระเบิดอาจ
ทําลายปลอกเหล็ก หรือส่งผลต่อดินและสิง่ ปลูกสร้างข้างเคียง
(5) ในกรณีทจ่ี ะต้องวางเสาเข็มลงบนชัน้ ดิน จะต้องเจาะลงในชัน้ หินและทําก้นหลุมให้เป็ นขัน้ หรือทําให้
เรียบ โดยมีความเอียงไม่เกินกว่า 10 องศา
(6) ในการเจาะเสาเข็ม จะต้องไม่เจาะเสาเข็มใกล้กบั เสาเข็มทีเ่ พิง่ เทคอนกรีตเสร็จใหม่ ซึง่ คอนกรีตยังไม่
ก่อตัว (Setting) ระยะห่างขัน้ ตํ่าทีจ่ ะไม่ทาํ ให้เกิดการพังของหลุมเจาะทีค่ อนกรีตยังไม่ก่อตัว จากหลุม
หนึ่งไปยังอีกหลุมหนึ่งขึน้ กับคุณสมบัตขิ องดิน รูปทรงเรขาคณิตของเสาเข็ม และระยะเวลาก่อตัวของ
คอนกรีต
3.2.2 การติดตัง้ เหล็กเสริม (Placing Reinforcement)
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องวางเหล็กเสริม เหล็กเดือย ไว้ให้ตรงตําแหน่งตามรูปแบบ และยึดไว้อย่างเพียงพอทีจ่ ะ
รักษาตําแหน่งทีว่ างไว้ในขณะทํางาน กรณีก่อสร้างเสาเข็มโดยใช้ปลอกเหล็กชัวคราวและต้ ่ องถอน
ปลอกเหล็กขึน้ จะต้องระมัดระวังมิให้เหล็กเสริมหรือเหล็กเดือยทีฝ่ งั ไว้ถูกกระทบกระเทือนหรือโผล่
ยื่นมาสัมผัสกับดินในขณะถอนปลอกเหล็ก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 71 of 521

(2) ระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมตัง้ จะต้องไม่ต่ํากว่า 3 เท่าของขนาดมวลรวมหยาบโตสุด หรือ 3 เท่าของ


เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเสริม โดยเลือกใช้ระยะทีม่ ากกว่า
(3) การทาบเหล็กเสริมในแนวดิง่ จะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนด ACI 318 โดยทัวไปจะไม่ ่ ยอมให้มกี ารต่อ
ทาบเหล็กเสริมทีต่ ําแหน่งเดียวกันเกินกว่า 50 เปอร์เซ็นต์
3.2.3 การเทคอนกรีตและการถอนปลอกเหล็ก
(1) การเทคอนกรีตเทโดยปล่อยให้ตกอย่างอิสระโดย มีค่ายุบตัวของคอนกรีตสดเท่ากับ 10 เซนติเมตร
โดยใช้วธิ เี ทคอนกรีตผ่านกรวยทีต่ ่อไว้ดว้ ยท่อขนาดสัน้ ทีว่ างไว้ตรงกลางหลุมเจาะ การเทคอนกรีตลง
ในเสาเข็มทีม่ เี ส้นผ่านศูนย์กลางเล็กและมีเหล็กเสริมเป็ นจํานวนมากอาจจะต้องใช้ท่อต่อจากกรวยให้
ยาวขึน้ หรือใช้ขนาดมวลรวมโตสุดให้มขี นาดเล็กลงและมีค่ายุบตัวทีส่ งู ขึน้
(2) การเจาะเสาเข็มในชัน้ ดินทีส่ ามารถถอนปลอกเหล็กออกได้ขณะเทคอนกรีตเสาเข็ม ผูร้ บั จ้างจะต้อง
แน่ใจว่าอุปกรณ์และขัน้ ตอนการถอนไม่รบกวนหรือดึงให้แยกจากกัน
(3) ปลอกเหล็กจะต้องมีสภาพและรูปร่างทีเ่ หมาะสมและปราศจากคอนกรีตทีแ่ ข็งตัวจับกับเหล็กผิวใน
ของปลอก ซึง่ จะทําให้การถอนปลอกขึน้ ได้ยาก และจะต้องมีความยาวทีเ่ พียงพอเพื่อทีจ่ ะตอกให้ทะลุ
ชัน้ ดินทีม่ โี อกาสพังทลายได้ เส้นผ่านศูนย์กลางของปลอกเหล็กจะต้องมีค่าใกล้เคียงกับเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของหลุมเจาะเมื่อถอนปลอกเหล็กออกแล้ว
(4) การทําเสาเข็มต้นต่อไป ผูร้ บั จ้างสามารถทําการเจาะดินต่อไปได้ในระยะเวลา หรือระยะห่างทีก่ าํ หนด
ต่อไปนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง
- เสาเข็มต้นทีใ่ กล้ทส่ี ดุ กับตําแหน่งทีจ่ ะดําเนินการเจาะต่อไปมีอายุ 48 ชัวโมง
่ หลังจากถอด
ปลอก (น้อยกว่า 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม) และมีผลการทดสอบกําลังอัดคอนกรีต
ประกอบการพิจารณา
- เสาเข็มต้นทีจ่ ะดําเนินการต้นต่อไป จะต้องห่างจากต้นทีด่ าํ เนินการแล้วเสร็จเป็ น 6 เท่าของ
เส้นผ่านศูนย์กลางเสาเข็ม
3.3 ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้
ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้แนวใดแนวหนึ่งเท่านัน้ ถ้าเกิดขึน้ ทัง้ สองแนว ให้นําผลการรวมกันเพือ่ พิจารณาแก้ไข
ตามข้อ 3.4
3.3.1 แนวราบ ±7.5 เซนติเมตร สําหรับเสาเข็มกลุ่ม และ ±5.0 เซนติเมตร สําหรับเสาเข็ม 1-2 ต้น
3.3.2 แนวดิง่ 1:100 สําหรับเสาเข็มกลุ่ม และ 1:150 สําหรับเสาเข็ม 1-2 ต้น
3.4 การแก้ไขกรณีตําแหน่งเสาเข็มคลาดเคลื่อน
3.4.1 สําหรับเสาเข็มกลุ่ม 3 ต้นขึน้ ไป

ความคลาดเคลื่อน การแก้ไข
เสาเข็มแต่ละต้นตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจากศูนย์ ไม่ตอ้ งแก้ไข
ของเสาเข็มไม่เกิน 7.5 เซนติเมตร
เสาเข็มต้นใดๆ ตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจาก แก้ไขจํานวนเหล็กเสริมของฐานรากแต่หรือความ
ตําแหน่งทีร่ ะบุ 7.5 – 10.0 เซนติเมตร หนาของฐานรากตามทีฐ่ านรากไม่น้อยกว่าที่
กําหนดในแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 72 of 521

เสาเข็มต้นใดๆ ตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจาก แก้ไขโครงสร้าง โดยมีคานยึดตามทีผ่ วู้ า่ จ้างแนะนํา


ตําแหน่งทีร่ ะบุ 10.1 – 15.0 เซนติเมตร แต่ศนู ย์ และวิศวกรผูอ้ อกแบบอนุมตั ิ ทัง้ นี้ระยะระหว่างขอบ
เสาเข็มรวมคลาดเคลื่อนไปจากศูนย์เสาเข็มเดิมน้อย เสาเข็มถึงฐานรากไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดในแบบ
กว่า 15.0 เซนติเมตร
เสาเข็มต้นใดๆ ตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจากศูนย์ ตอกเสาเข็มเพิม่ เติมตามตําแหน่งทีผ่ วู้ ่าจ้างแนะนํา
เสาเข็มเกิน 15.0 เซนติเมตร หรือศูนย์เสาเข็มรวม และตามทีว่ ศิ วกรผูอ้ อกแบบเห็นชอบ
คลาดเคลื่อนไปจากศูนย์เดิมมากกว่า 15.0
เซนติเมตร

3.4.2 สําหรับเสาเข็ม 2 ต้น และ 1 ต้น


ความคลาดเคลื่อน การแก้ไข
เสาเข็มแต่ละต้นตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจากศูนย์ ไม่ตอ้ งแก้ไข
ของเสาเข็มไม่เกิน 5.0 เซนติเมตร
เสาเข็มต้นใดๆ ตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจาก แก้ไขโครงสร้าง โดยมีคานยึดตามทีผ่ วู้ า่ จ้างแนะนํา
ตําแหน่งทีร่ ะบุไม่เกิน 5.1 – 10.0 เซนติเมตร และวิศวกรผูอ้ อกแบบอนุมตั ิ ทัง้ นี้ระยะระหว่างขอบ
เสาเข็มถึงฐานรากไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดในแบบ
เสาเข็มต้นใดๆ ตําแหน่งคลาดเคลื่อนไปจาก ตอกเสาเข็มเพิม่ เติมตามตําแหน่งทีผ่ วู้ ่าจ้างแนะนํา
ตําแหน่งทีร่ ะบุเกินกว่า 10.0 เซนติเมตร และตามทีว่ ศิ วกรผูอ้ อกแบบเห็นชอบ

3.4.3 กรณีทก่ี ารสกัดหัวเสาเข็มส่วนของคอนกรีตทีไ่ ม่มคี ุณภาพออกไป หากปรากฏว่าระดับ PILE CUT OFF ตํ่า
กว่าทีก่ าํ หนดไว้ในแบบก่อสร้าง ทางผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการแก้ไขให้สามารถทํางานได้ โดยค่าใช้จ่ายเป็ น
ของผูร้ บั จ้างเอง
3.5 การรายงานประวัตเิ สาเข็ม
ผูร้ บั จ้างจะต้องรายงานประวัตเิ สาเข็มทุกต้น และจะต้องจัดทําให้ผวู้ ่าจ้าง 3 ชุด ภายหลังงานเสาเข็มนัน้ แล้วเสร็จไม่
เกิน 48 ชัวโมง่ ในการทํารายงานประวัตจิ ะต้องใช้แบบฟอร์มทีไ่ ด้รบั อนุมตั ใิ ห้ใช้ได้เท่านัน้ และจะต้องบันทึกข้อมูล
ต่างๆ ของเสาเข็มแต่ละต้นดังนี้
3.5.1 วัน เดือน ปี
3.5.2 หมายเลขกํากับเสาเข็ม
3.5.3 ระดับดิน
3.5.4 ระดับตัดหัวเสาเข็ม
3.5.5 ระดับดินทรายแน่น หรือปลายเสาเข็มเจาะ
3.5.6 เส้นผ่านศูนย์กลางของรูเจาะ
3.5.7 ความเบีย่ งเบนทีร่ ะดับตัดเสาเข็มและระดับก้นฐานรากของศูนย์กลางเสาเข็มจากตําแหน่งทีถ่ ูกต้อง
3.5.8 ความยาวของปลอก
3.5.9 ระดับดินข้างเคียงก่อนและหลังการถอนปลอก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 73 of 521

3.5.10 การแสดงระดับนํ้าใต้ดนิ และรายละเอียดของชัน้ ดินทีเ่ จาะลงไป


3.5.11 รายละเอียดของอุปสรรคและความล่าช้า
3.5.12 ผลการทดสอบใดๆ ของดินในรูเจาะ (ถ้ามี)
3.5.13 รายละเอียดของปรากฏใดๆ ทีผ่ ดิ ปกติในระหว่างงานทําเสาเข็ม
3.5.14 การเก็บตัวอย่างดินในแต่ละชัน้ ของระดับดิน ซึง่ แล้วแต่ให้เก็บทีต่ ําแหน่งเสาเข็มใด และทุกระยะเท่าใด
3.5.15 ข้อมูลอื่นๆ ซึง่ ทางผูว้ ่าจ้างต้องการ
3.6 การทดสอบเสาเข็ม
3.6.1 การทดสอบเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องเสาเข็ม
(1) ความสมํ่าเสมอของเนื้อคอนกรีต การเก็บตัวอย่างคอนกรีตทดสอบ
(2) แนว และขนาดของเสาเข็มจริง ตลอดความยาวเสาเข็ม
(3) การทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็มโดยวิธี SEISMIC TEST โดยทําการทดสอบเสาเข็มทัง้ หมด
การทดสอบไม่ควรกระทําก่อน 72 ชัวโมง ่ ภายหลังการเทคอนกรีตแล้วเสร็จ การทํารายงานผลการ
ทดสอบต้องส่งรายงานการประมวลผลการทดสอบต่อวิศวกรภายในเวลาทีก่ าํ หนด การทดสอบและ
การประมวลผลต้องดําเนินการโดยวิศวกรผูเ้ ชีย่ วชาญงานทดสอบแบบไม่ทาํ ลาย และมีความรูเ้ รือ่ ง
การก่อสร้างเสาเข็มเจาะและเรื่องชัน้ ดิน และมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมจากสภา
วิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ระดับชัน้ สามัญขึน้ ไป ในกรณีทผ่ี ลการทดสอบความสมบูรณ์ของเสาเข็ม
ต้นใดต้นหนึ่งได้พบสัญญาณไม่ปกติ ซึง่ มีความแตกต่างจากผลการทดสอบเสาเข็มทัวไปใน ่
หน่วยงานนัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรายงานสิง่ ผิดปกติดงั กล่าวต่อวิศวกรควบคุมงานโดยไม่ชกั ช้า ทัง้ นี้ผู้
รับจ้างจะต้องสาธิตต่อวิศวกรควบคุมงานให้ได้ว่าเสาเข็มต้นนัน้ ยังคงสามารถใช้งานได้อย่างปกติหรือ
จะต้องทําการปรับปรุงแก้ไข
(4) การทดสอบการรับนํ้าหนักของเสาเข็มโดยวิธี Dynamic Pile Load Test จํานวนร้อยละ 1 ของ
เสาเข็มหรือตามระบุในงานออกแบบ
3.6.2 การทดสอบเกีย่ วกับคุณสมบัตขิ องเสาเข็ม กรณีมขี อ้ บกพร่องจากการเจาะดิน หรือเทคอนกรีต จากการ
บันทึกของผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง
(1) จากการผิดขัน้ ตอนในการทํางาน โดยผูแ้ ทนผูร้ บั จ้างยอมรับในการผิดพลาดทีเ่ กิดขึน้
(2) ผูร้ บั จ้างต้องเจาะเนื้อคอนกรีตเสาเข็มทีม่ อี ายุไม่น้อยกว่า 28 วัน ตลอดความยาวและนําแท่งคอนกรีต
ไปทดสอบในสถาบันการทดสอบทีผ่ วู้ ่าจ้างยอมรับ ผลการทดสอบจะต้องได้ค่าเฉลีย่ ไม่น้อยกว่าค่าที่
ออกแบบไว้
(3) เนื้อคอนกรีตทีเ่ จาะได้ตอ้ งไม่มสี งิ่ อื่นเจือปน
(4) ระดับปลายเสาเข็มจะต้องได้ตามทีก่ าํ หนด
3.7 ความปลอดภัยในงานเสาเข็มเจาะ (Safety)
3.7.1 การป้องกันปากหลุม
หลังจากเทคอนกรีตเสาเข็มเสร็จแต่ละต้น หรือในกรณีทเ่ี จาะดินทิง้ ไว้โดยไม่มผี ดู้ แู ล ผูร้ บั จ้า งจะต้อง
ใช้แผ่นเหล็กปิ ดรูเจาะทุกรู หรือใช้กรงเหล็กครอบไว้ หรือวิธอี ่นื ใดทีเ่ หมาะสมเพื่อป้องกันมิให้คนตก
ลงไปได้
3.7.2 ก๊าซในหลุมเจาะ
ผูร้ บั จ้างจะต้องระมัดระวังก๊าซพิษและก๊าซทีร่ ะเบิดได้ทอ่ี าจมีอยูใ่ นชัน้ ดินและถูกปลดปล่อยเมื่อเจาะ
เสาเข็ม ในพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ านจะต้องจัดเตรียมหน้ากากกันก๊าซ เครื่องตรวจจับก๊าซ และเครื่องมือปฐม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 74 of 521

พยาบาล พร้อมทัง้ เครื่องเปา่ ลมไปยังก้นหลุม สําหรับในกรณีฉุกเฉินถ้าตรวจพบก๊าซหรือคาดว่าจะมี


ก๊าซในขณะขุดเจาะ จะต้องไม่อนุญาตให้ผปู้ ฏิบตั งิ านเข้าไปเจาะหลุมเจาะจนกว่าจะระบายก๊าซออก
จนปลอดภัย

จบหมวดที่ 14

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 75 of 521

หมวดที่ 15
้ กบั ฐานรากของอาคารที่ตงั ้ อยู่บนหน้ าผาหิ น ไหล่เขาและบนภูเขา
งานการเสริมโครงสร้างยึดรังให้

1. ทัวไป

การเสริมโครงสร้างยึดรัง้ ให้กบั ฐานรากของอาคารทีต่ งั ้ อยู่บนหน้าผาหิน บนภูเขา คือการฝงั เหล็กเดือยไว้ในพืน้
หินใต้ฐานรากทีเ่ ป็ นฐานรากชนิดฐานแผ่ โดยการใช้ Epoxy –Tie ซึง่ เป็ นวัสดุเหลวทีม่ คี ุณสมบัตใิ นการช่วยยึดเหนี่ยวตาม
มาตรฐาน ASTM C881 นํามาใส่ในรูทเ่ี กิดจากการใช้สว่านเจาะเข้าไปในพืน้ หินโดยต้องเติมวัสดุยดึ เหนี่ยว ลงไปในรูอย่าง
เหมาะสมและถูกต้องตามข้อกําหนดต่างๆทีร่ ะบุไว้ตามรายการประกอบแบบ แล้วจึงนําเหล็กข้ออ้อยทีม่ ขี นาดและความยาว
ตามรูปแบบกําหนด สําหรับเสริมโครงสร้างยึดรัง้ หรือตามการออกแบบคํานวณแก้ไขใหม่ให้ได้ตามวัตถุประสงค์ความ
แข็งแรงซึง่ อาจเป็ นกรณีทร่ี ปู แบบกําหนดไว้ให้ดาํ เนินการให้เป็ นไปตามรูปแบบกําหนด หรือโดยการตรวจสอบสภาพพืน้ ที่
ก่อสร้างจําเป็ นต้องดําเนินการเป็ นกรณีพเิ ศษและถือเป็ นงานเพิม่ เติมเพื่อแก้ปญั หาการเจาะสํารวจดินใหม่ การเกราท์ เป็ น
ต้น เพื่อให้การก่อสร้างให้ได้ความมันคงแข็่ งแรง
1.1 การดําเนินการ
ผูร้ บั จ้างต้องก่อสร้างเสริมความยึดรัง้ ให้กบั ฐานรากของอาคารทีต่ งั ้ อยู่บนหน้าผาหินบนไหล่เขาหรือ บนภูเขา
ตามหลักวิศวกรรมควบคุมโดยวิศวกร โดยการดําเนินการต้องคํานึงถึงการเคลื่อนตัวตัวขององค์อาคารอย่างระมัดระวัง และ
ต้องใช้แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญในการติดตัง้ การเสริมงานยึดรัง้ ฐานรากเพื่อให้ได้งานทีด่ ี มันคงแข็
่ งแรง และผูร้ บั
จ้างต้องได้รบั อนุมตั วิ ธิ กี ารทํางาน การอนุมตั ิ SHOP DRAWING จากวิศวกรผูค้ วบคุมงานก่อนจึงจะก่อสร้างได้
1.2 การเตรียมการ
ก่อนการวางฐานรากแผ่บนพืน้ หินผานัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการเจาะสํารวจชัน้ หินในบริเวณนัน้ แล้วนําวัสดุ
ตัวอย่างมาวิเคราะห์เพื่อหาผลทดสอบทีแ่ สดงรายละเอียดต่างๆอย่างครบถ้วนและถูกต้อง เพื่อสามารถนํามาประกอบการ
วางแผนงานควบคุมการก่อสร้างได้อย่างชัดเจน ซึง่ หากพบว่าชัน้ หินไม่มคี ุณสมบัตดิ พี อทีจ่ ะใช้รองรับฐานรากแผ่ตามที่
ออกแบบไว้ได้ การ Groutingในบริเวณนัน้ ทีม่ ากกว่ารูปแบบกําหนดไว้และจําเป็ นต้องดําเนินการให้อยูใ่ นวัตถุประสงค์
ของงานตามรายการประกอบแบบนี้แล้ว โดยผูร้ บั จ้างและผูว้ ่าจ้างต้องตกลงงานลดเพิม่ เป็ นกรณีตามข้อเท็จจริง และเป็ น
อํานาจของกรรมการตรวจการจ้างในการพิจารณาโดยถือเป็ นสิน้ สุด
1.3 การขออนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
ก่อนการดําเนินการ ให้ผรู้ บั จ้างต้องขออนุมตั แิ ละนําส่งเอกสารประกอบต่อผูว้ ่าจ้าง ผ่านผูค้ วบคุมงานดังนี้
- รูปแบบสํารวจสถานทีท่ ต่ี อ้ งดําเนินการ
- SHOP DRAWING และวิธกี ารทํางาน
- รายงานผลการเจาะทดสอบดิน ตําแหน่งละ 1 จุด
- รายละเอียดผลิตภัณฑ์วสั ดุสาํ หรับ ยึดเกาะ grount และวัสดุอ่นื ๆ ทีต่ อ้ งใช้เพื่อการทํางานนี้

2. รูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING)


2.1 การอนุมตั โิ ดยวิศวกร
ในกรณีทก่ี าํ หนดไว้ก่อนทีจ่ ะลงมือสร้างงานยึดเหนี่ยวรัง้ หรือ เกราท์ ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรูปแบบทีใ่ ช้สร้าง
แสดงรายละเอียดของงานตามข้อเท็จจริงทีส่ าํ รวจได้เพื่อให้วศิ วกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างอนุมตั กิ ่อน หากรูปแบบ
ดังกล่าวไม่เป็ นทีพ่ อใจของวิศวกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดการแก้ไขตามทีก่ าํ หนดให้เสร็จก่อนทีจ่ ะ
เริม่ งาน การทีว่ ศิ วกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างอนุมตั ใิ นรูปแบบทีเ่ สนอหรือแก้ไขมาแล้วมิได้หมายความว่า ผูร้ บั จ้างจะ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 76 of 521

หมดความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องทําการก่อสร้างให้ดี ในการนําเสนอรูปแบบและรายการคํานวณนี้ผรู้ บั จ้าง


จะต้องมีวศิ วกรโยธาระดับสามัญวิศวกรเป็ นผูค้ าํ นวณและลงนามรับรองการออกแบบ
2.2 สมมุตฐิ านในการคํานวณออกแบบ
ในรูปแบบทีใ่ ช้สร้าง SHOP DRAWING จะต้องแสดงค่าต่างๆ ทีส่ าํ คัญ ตลอดจนสภาพการบรรทุกนํ้าหนัก
นํ้าหนักบรรทุกจร อัตราการบรรทุก แรงดันฐาน หน่วยแรงต่างๆ ทีใ่ ช้ในการคํานวณออกแบบและข้อมูลที่
สําคัญอื่นๆ ประกอบด้วย เช่น สภาพทีด่ นิ และข้อมูลและข้อมูลทางปฐพีกลศาสตร์
3. การก่อสร้าง
3.1 ข้อกําหนดทัวไปและแนวทางการทํ
่ างานในการก่อสร้าง
1. ตรวจสอบตําแหน่งฐานรากแผ่บนพืน้ หินหรือพืน้ ทีท่ จ่ี ะก่อสร้าง และการสกัดเอาหินทีไ่ ม่ตอ้ งการ
บางส่วนออกไป หรือการขุดเอาก้อนหินทีไ่ ม่ตอ้ งการ ย้ายออกไปนอกพืน้ ทีห่ ากจําเป็ นต้องดําเนินการ
2. เจาะหิน หรือพืน้ ดิน ให้ได้รทู ม่ี ขี นาดและความลึกตามต้องการทีก่ าํ หนดไว้ตามรูปแบบ
3. เสียบเหล็กเส้นตามขนาดทีก่ าํ หนดตามรูปแบบลงไป ในรูทม่ี กี ารเตรียม Epoxy-Tie ไว้ขณะยังไม่
แข็งตัว
4. ตรวจสอบความยาวเหล็กเสริมและใช้ลวดผูกเหล็กเสริมตามรูปแบบกําหนดให้เกิดการยึดเหนี่ยวที่
แข็งแรง
5. ทดสอบกําลังรับแรงดึงของเหล็กยึดรัง้ กรณีเคมีประสาน (Pull out test) จํานวนการทดสอบให้อยูใ่ น
ดุลยพินิจของวิศวกรของกรรมการตรวจการจ้าง
6. การประกอบไม้แบบและเสริมเหล็กของฐานราก แบบหล่อจะต้องได้รบั การตรวจก่อนจึงจะเรียงเหล็ก
เสริมสําหรับฐานรากได้ทงั ้ นี้การวางเหล็กเสริมของฐานรากแผ่ตอ้ งเป็ นไปตามรูปแบบก่อสร้าง หรือ
ตาม SHOP DRAWING ทีไ่ ด้รบั การอนุมตั ิ
7. เทคอนกรีตลงในฐานราก
4. วัสดุสาํ หรับงานยึดเหนี่ยวรัง้
วัสดุทใ่ี ช้เป็ น Epoxy-Tie ต้องเป็ นไปตาม มาตรฐาน ASTM C881 Class V ผลิตภัณฑ์ของ HILTI (THAILAND)
Ltd., SIKA หรือเทียบเท่าคุณสมบัตแิ ละมาตรฐาน
5. การแต่งผิวคอนกรีตฐานราก
5.1 คอนกรีตสําหรับหล่อฐานราก เมือ่ คอนกรีตแข็งตัวแล้วต้องอยู่ในตําแหน่งทีถ่ ูกต้อง มีขนาด และความ
แข็งแรงตรงตามทีก่ าํ หนดทัง้ ในรายการประกอบแบบและ/หรือรูปแบบทางวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม
6. การแก้ไขผิวทีไ่ ม่เรียบร้อย
6.1 ทันทีท่ ถ่ี อดแบบจะต้องทําการตรวจสอบ หากพบว่าผิวคอนกรีตฐานรากไม่เรียบร้อยจะต้องแจ้งให้วศิ วกร
ทราบทันที เมื่อวิศวกรให้ความเห็นชอบวิธกี ารแก้ไขแล้ว ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการซ่อมในทันที
6.2 หากปรากฏว่ามีการซ่อมแซมผิวคอนกรีตก่อนได้รบั การตรวจสอบโดยผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง คอนกรีตส่วนนัน้ อาจ
ถือเป็ นคอนกรีตฐานรากเสียก็ได้

จบหมวดที่ 15

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 77 of 521

หมวดที่ 16
งานแบบหล่อ

1. ทัวไป

1.1 แบบหล่อ
ผูร้ บั จ้างต้องก่อสร้างแบบหล่อตามหลักวิศวกรรมควบคุมโดยวิศวกร โดยการคํานวณออกแบบต้องคํานึงถึงการโก่ง
ตัวขององค์อาคารอย่างระมัดระวัง และต้องใช้แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญในการติดตัง้ แบบหล่อเพื่อให้ได้ผวิ คอนกรีต
ทีด่ ี มีขนาดตามระบุในแบบ ในกรณีทแ่ี บบหล่อสูงเกิน 60 เซนติเมตร ผูร้ บั จ้างต้องได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรผูค้ วบคุมงานก่อน
จึงจะก่อสร้างได้
1.2 คํ้ายัน
1.2.1 การต่อหรือวิธกี ารคํ้ายันซึง่ ได้จดทะเบียนสิทธิบตั รไว้ ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามข้อแนะนําของผูผ้ ลิต
อย่างเคร่งครัดเรื่องการยึดโยง และการรับนํ้าหนักปลอดภัยสําหรับความยาวระหว่างทีย่ ดึ ของคํ้ายัน
1.2.2 ผูร้ บั จ้างต้องคํานวณออกแบบรอยต่อ ให้ตา้ นทานการโก่ง และการดันเช่นเดียวกับองค์อาคารทีร่ บั
แรงอื่นๆ วัสดุทใ่ี ช้ต่อคํ้ายันจะต้องไม่สนั ้ กว่าหนึ่งเมตร
1.2.3 การต่อทาบ ห้ามต่อในสนามเกินกว่าอันสลับอันสําหรับคํ้ายันใต้แผ่นพืน้ หรือไม่เกินทุกๆ สามอัน
สําหรับคํ้ายันใต้คาน และไม่ควรต่อคํ้ายันเกินกว่าหนึ่งแห่งนอกจากจะมีการยึดทะแยงทีจ่ ุดต่อทุกแห่ง
และจะต้องกระจายให้ทวสมํ ั ่ ่าเสมอเท่าทีจ่ ะทําได้ รอยต่อต้องไม่อยู่ใกล้กบั กึง่ กลางของตัวคํ้ายันโดย
ไม่มี ทีย่ ดึ ด้านข้าง หรือกึง่ กลางระหว่างจุดยึดด้านข้าง ทัง้ นี้เพื่อป้องกันการโก่ง
1.3 การยึดทะแยง
ผูร้ บั จ้างต้องคํานวณออกแบบให้ถ่ายแรงทางข้างลงสูพ่ น้ื ดินในลักษณะปลอดภัยตลอดเวลา และต้องจัดให้มกี ารยึด
ทะแยงทัง้ ในระนาบดิง่ และระนาบราบตามต้องการเพื่อให้มสี ติฟเนสสูง และเพื่อป้องกันการโก่งขององค์อาคารเดีย่ วๆ
1.4 การทรุดตัว
แบบหล่อต้องสร้างให้สามารถปรับระดับทางแนวดิง่ ได้ เพื่อเป็ นการชดเชยกับการทรุดตัวทีอ่ าจเกิดขึน้ และเพื่อให้
เกิดการทรุดตัวน้อยทีส่ ดุ เมื่อรับนํ้าหนักเต็มที่ ในกรณีทใ่ี ช้ไม้ตอ้ งพยายามให้มจี าํ นวนรอยต่อทางแนวราบน้อยทีส่ ุด
โดยเฉพาะจํานวนรอยต่อซึง่ แนวเสีย้ นบรรจบบนแนวเสีย้ นด้านข้าง อาจใช้ลมิ่ สอดทีย่ อดหรือก้นของคํ้ายันอย่างใดอย่าง
หนึ่ง แต่จะใช้สองปลายไม่ได้ เพือ่ ให้สามารถปรับแก้การทรุดตัวทีไ่ ม่สมํ่าเสมอ ทางแนวดิง่ ได้ หรือเพื่อสะดวกในการถอด
แบบ
2. รูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING)
2.1 การอนุมตั โิ ดยวิศวกร
ในกรณีทก่ี าํ หนดไว้ก่อนทีจ่ ะลงมือสร้างแบบหล่อ ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรูปแบบทีใ่ ช้สร้างแสดงรายละเอียดของงานแบบ
หล่อเพื่อให้วศิ วกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างอนุมตั กิ ่อน หากรูปแบบดังกล่าวไม่เป็ นทีพ่ อใจของวิศวกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดการแก้ไขตามทีก่ าํ หนดให้เสร็จก่อนทีจ่ ะเริม่ งาน การทีว่ ศิ วกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างอนุมตั ใิ นรูปแบบทีเ่ สนอหรือแก้ไขมาแล้วมิได้
หมายความว่า ผูร้ บั จ้างจะหมดความรับผิดชอบทีจ่ ะต้องทําการก่อสร้างให้ดแี ละดูแลรักษาให้แบบหล่ออยู่ในสภาพทีใ่ ช้งาน
ได้ดตี ลอดเวลา ในการนําเสนอรูปแบบและรายการคํานวณนี้ผรู้ บั จ้างจะต้องมีวศิ วกรโยธาระดับสามัญวิศวกรเป็ นผูค้ าํ นวณ
และลงนามรับรองการออกแบบ
2.2 สมมุตฐิ านในการคํานวณออกแบบ
ในรูปแบบทีใ่ ช้สร้างจะต้องแสดงค่าต่างๆ ทีส่ าํ คัญ ตลอดจนสภาพการบรรทุกนํ้าหนัก นํ้าหนักบรรทุกจร อัตรา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 78 of 521

การบรรทุก ความสูงของคอนกรีตทีจ่ ะปล่อยลงมา นํ้าหนักอุปกรณ์เคลื่อนทีซ่ ง่ึ อาจต้องทํางานบนแบบหล่อ แรงดันฐาน


หน่วยแรงต่างๆ ทีใ่ ช้ในการคํานวณออกแบบและข้อมูลทีส่ าํ คัญอืน่ ๆ
2.3 รายการต่างๆ ทีต่ อ้ งปรากฏในรูปแบบงานแบบหล่อจะต้องมีรายละเอียดต่างๆ ดังต่อไปนี้
2.3.1 สมอ คํ้ายัน และการยึดโยง
2.3.2 การปรับแบบหล่อในทีร่ ะหว่างเทคอนกรีต
2.3.3 แผ่นกัน้ นํ้า ร่องลิน้ และสิง่ ทีจ่ ะต้องสอดไว้
2.3.4 นังร้ ่ าน
2.3.5 รูน้ําตา หรือรูทเ่ี จาะไว้สาํ หรับเครื่องจี้ (ถ้ากําหนดไว้)
2.3.6 ช่องสําหรับทําความสะอาด
2.3.7 รอยต่อในขณะก่อสร้าง รอยต่อสําหรับควบคุม และรอยต่อขยายตัวตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ
2.3.8 แถบมนสําหรับมุมทีไ่ ม่ฉาบ (เปลือย)
2.3.9 การยกท้องคานและพืน้ กันแอ่น
2.3.10 การเคลือบผิวแบบหล่อ
2.3.11 รายละเอียดในการคํ้ายัน ปกติจะไม่ยอมให้มกี ารคํ้ายันซ้อน นอกจากวิศวกรผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะอนุญาต
3. การก่อสร้าง
3.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
3.1.1 แบบหล่อจะต้องได้รบั การตรวจก่อนจึงจะเรียงเหล็กเสริมได้
3.1.2 แบบหล่อจะต้องแน่นพอควรเพือ่ ป้องกันไม่ให้มอร์ตา้ ไหลออกจากคอนกรีต
3.1.3 แบบหล่อจะต้องสะอาดปราศจากฝุน่ มอร์ตา้ และสิง่ แปลกปลอมอื่นๆ ในกรณีทไ่ี ม่สามารถเข้าถึงก้น
แบบจากภายในได้ จะต้องจัดช่องไว้สาํ หรับให้สามารถขจัดสิง่ ทีไ่ ม่ตอ้ งการต่างๆ ออกก่อนเท
คอนกรีต
3.1.4 ห้ามนําแบบหล่อซึง่ ชํารุดจากการใช้งานครัง้ หลังสุดจนถึงขัน้ ทีอ่ าจทําลายผิวหน้าหรือคุณภาพ
คอนกรีตได้ มาใช้อกี เด็ดขาด
3.1.5 ให้หลีกเลีย่ งการบรรทุกนํ้าหนักบนคอนกรีตซึง่ เทได้เพียงหนึ่งสัปดาห์ ห้ามโยนของหนักๆ เช่น มวล
รวมไม้กระดาน เหล็กเสริม หรืออื่นๆ ลงบนคอนกรีตใหม่ๆ ตามอายุขา้ งต้น หรือแม้กระทัง้ การกอง
วัสดุ
3.1.6 ห้ามโยนหรือกองวัสดุก่อสร้างบนแบบหล่อในลักษณะทีจ่ ะทําให้แบบหล่อนัน้ ชํารุดหรือเป็ นการเพิม่
นํ้าหนักกมากเกินไป
3.2 ระหว่างการติดตัง้ แบบหล่อและคํ้ายัน ผูร้ บั จ้างต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในข้อต่อไปนี้ เพื่อให้แน่ใจว่าจะได้
งานทีด่ ี
3.2.1 รอยต่อของคํ้ายัน
3.2.2 การสลับจุดร่วมหรือรอยต่อในแผ่นไม้อดั และการยึดโยง
3.2.3 การรองรับคํ้ายันทีถ่ ูกต้อง
3.2.4 จํานวนเหล็กเส้นสําหรับยึด หรือทีจ่ บั และตําแหน่งทีเ่ หมาะสม
3.2.5 การขันเหล็กเส้นสําหรับยึด หรือทีจ่ บั ให้ตงึ พอดี
3.2.6 การแบกทานใต้ชนั ้ โคลนจะต้องมีอย่างพอเพียง
3.2.7 การต่อคํ้ายันกับจุดร่วมจะต้องแข็งแรงพอทีจ่ ะต้านแรงยกหรือแรงบิด ณ จุดร่วมนัน้ ๆ ได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 79 of 521

3.2.8 การเคลือบผิวแบบหล่อจะต้องกระทําก่อนเรียงเหล็กเสริม และจะต้องไม่ใช้ในปริมาณมากเกินไปจน


เปื้ อนเหล็ก
3.2.9 รายละเอียดของรอยต่อสําหรับควบคุม และรอยต่อขณะก่อสร้าง
3.3 ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้
3.3.1 ความคลาดเคลื่อนจากแนวสายดิง่
ในแต่ละชัน้ .............................................................................................. 10 มิลลิเมตร
3.3.2 ความคลาดเคลื่อนจากระดับหรือจากความลาดทีร่ ะบุในแบบ
ในช่วง 10 เมตร....................................................................................... 15 มิลลิเมตร
3.3.3 ความคลาดเคลื่อนของแนวอาคารจากแนวทีก่ าํ หนดในแบบ และตําแหน่งเสาผนังและฝาประจันที่
เกีย่ วข้อง
ในช่วง 10 เมตร....................................................................................... 20 มิลลิเมตร
3.3.4 ความคลาดเคลื่อนของขนาดของหน้าตัดเสาและคาน และความหนาของแผ่นพืน้ และผนัง
ลด........................................................................................................... 5 มิลลิเมตร
เพิม่ ......................................................................................................... 10 มิลลิเมตร
3.3.5 ฐานราก
(1) ความคลาดเคลื่อนจากขนาดในแบบ
ลด................................................................................................20 มิลลิเมตร
เพิม่ .............................................................................................. 100 มิลลิเมตร
(2) ตําแหน่งผิด หรือ ระยะเฉศูนย์....................................................... 50 มิลลิเมตร
(3) ความคลาดเคลื่อนในความหนา
ลด................................................................................................50 มิลลิเมตร
เพิม่ .............................................................................................. 100 มิลลิเมตร
3.3.6 ความคลาดเคลื่อนของขัน้ บันได
ลูกตัง้ ....................................................................................................... 10 มิลลิเมตร
ลูกนอน.................................................................................................... 10 มิลลิเมตร
3.4 งานปรับแบบหล่อ
3.4.1 ก่อนเทคอนกรีต
(1) ต้องติดตัง้ อุปกรณ์สาํ หรับให้ความสะดวกในการจัดการเคลื่อนตัวของแบบหล่อขณะเทคอนกรีตไว้ทแ่ี บบส่วน
ทีม่ ที ร่ี องรับ
(2) หลังจากตรวจสอบขัน้ สุดท้ายก่อนเทคอนกรีต จะต้องยึดลิม่ ทีใ่ ช้ในการจัดแบบหล่อให้ได้ทแ่ี น่นหนา
(3) ต้องยึดแบบหล่อกับคํ้ายันข้างใต้ให้แน่นหนาพอทีจ่ ะไม่เกิดการเคลื่อนตัวทัง้ ทางด้านข้าง และด้านขึน้ ลงของส่วน
หนึ่งส่วนใดของระบบหล่อทัง้ หมดขณะเทคอนกรีต
(4) ต้องเผื่อระดับและมุมมนไว้สาํ หรับรอยต่อต่างๆ ของแบบหล่อ การทรุดตัว การหดตัวของไม้ การแอ่นเนื่องจาก
นํ้าหนักบรรทุกคงที่ และการหดตัวทางอีลาสติคขององค์อาคารในแบบหล่อ ตลอดจนยกท้องคานและพืน้ ซึง่ กําหนด
ไว้ในแบบก่อสร้าง
(5) ต้องจัดเตรียมวิธปี รับระดับ หรือแนวของคํ้ายัน ในกรณีทเ่ี กิดการทรุดตัวมากเกินไป เช่น ใช้ลมิ่ หรือแม่แรง
(6) ควรจัดทําทางเดินสําหรับอุปกรณ์ทเ่ี คลื่อนทีไ่ ด้ โดยทําเสาหรือขารองรับตามแต่จะต้องการและต้องวางบนแบบหล่อ
หรือองค์อาคารทีเ่ ป็ นโครงสร้างโดยตรง ไม่ควรวางบนเหล็กเสริมนอกจากจะทําทีร่ องรับเหล็กนัน้ เป็ นพิเศษ แบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 80 of 521

หล่อจะต้องพอเหมาะกับทีร่ องรับของทางเดินดังกล่าวโดยยอมให้เกิดการแอ่น ความคลาดเคลื่อน หรือการ


เคลื่อนตัวทางข้างไม่เกินค่าทีย่ อมให้
3.4.2 ระหว่างและหลังการเทคอนกรีต
(1) ต้องตรวจสอบระดับการยกท้องคานพืน้ และการได้ดงิ่ ของระบบแบบหล่อโดยใช้อุปกรณ์ตามข้อ 3.4.1(1) หาก
จําเป็ นให้รบี ดําเนินการแก้ไขทันทีในระหว่างการก่อสร้าง หากปรากฏว่าแบบหล่อเริม่ ไม่แข็งแรง และแสดงให้เห็นว่าเกิดการ
ทรุดตัวมากเกินไป หรือเกิดการโก่งบิดเบีย้ วแล้ว ให้หยุดงานทันที หากเห็นว่าส่วนใดจะชํารุดก็ให้รอ้ื ออกและเสริมแบบหล่อ
ให้แข็งแรงยิง่ ขึน้
(2) ต้องมีผคู้ อยเฝ้าสังเกตแบบหล่ออยู่ตลอดเวลา เพื่อทีเ่ มื่อเห็นว่าสมควรจะแก้ไขส่วนใดจะได้ดาํ เนินการได้ทนั ที ผู้
ทีท่ าํ หน้าทีน่ ้ตี อ้ งปฏิบตั งิ านโดยถือความปลอดภัยเป็ นหลักสําคัญ
(3) การถอดแบบหล่อและทีร่ องรับหลังจากเทคอนกรีตแล้วจะต้องคงทีร่ องรับไว้กบั ทีเ่ ป็ นเวลาไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนด
ไว้ ในกรณีทใ่ี ช้ปนู ซีเมนต์ชนิดให้กาํ ลังสูงเร็วอาจลดระยะเวลาดังกล่าวลงได้ตามความเห็นชอบของวิศวกรผูค้ วบคุมงาน
คํ้ายันใต้คาน 21 วัน
คํ้ายันใต้แผ่นพืน้ 21 วัน
ผนัง 48 ชัวโมง

เสา 48 ชัวโมง่
ข้างคานและส่วนอื่นๆ 48 ชัวโมง ่
อย่างไรก็ดี วิศวกรอาจสังให้ ่ ยดื เวลาการถอดแบบออกไปอีกได้หากเห็นเป็ นการสมควร ถ้าปรากฏว่ามีสว่ นหนึ่งส่วน
ใดของงานเกิดชํารุดเนื่องจากถอดแบบเร็วกว่ากําหนด ผูร้ บั จ้างจะต้องทุบส่วนนัน้ ทิง้ และสร้างขึน้ ใหม่แทนทัง้ หมด
4. วัสดุสาํ หรับงานแบบหล่อ
ผูร้ บั จ้างอาจเลือกใช้วสั ดุใดก็ได้ทเ่ี หมาะสมในการทําแบบหล่อ แต่ผวิ คอนกรีตทีไ่ ด้จะต้องตรงตามรูปแบบและ
รายการประกอบแบบการแต่งผิวคอนกรีตทุกประการ นอกจากจะระบุไว้เป็ นพิเศษ
5. การแต่งผิวคอนกรีต
5.1 คอนกรีตสําหรับอาคาร เมื่อคอนกรีตแข็งตัวแล้วต้องอยู่ในตําแหน่งทีถ่ ูกต้อง มีขนาด และชนิดของผิวตรง
ตามทีก่ าํ หนดทัง้ ในรายการประกอบแบบและ/หรือรูปแบบทางวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม
5.2 การแต่งผิวถนนในบริเวณอาคาร อาจใช้มอื หรือเครื่องจักรกลก็ได้ ในทันทีทแ่ี ต่งผิวเสร็จให้ตรวจสอบระดับ
ด้วยไม้ตรงยาว 3 เมตร ส่วนทีเ่ ว้าให้เติมด้วยคอนกรีตทีม่ สี ว่ นผสมเดียวกันสําหรับส่วนทีโ่ ค้งนูนให้ตดั ออก
แล้วแต่งผิวใหม่
6. การแก้ไขผิวทีไ่ ม่เรียบร้อย
6.1 ทันทีท่ ถ่ี อดแบบจะต้องทําการตรวจสอบ หากพบว่าผิวคอนกรีตไม่เรียบร้อยจะต้องแจ้งให้วศิ วกรทราบทันที
เมื่อวิศวกรให้ความเห็นชอบวิธกี ารแก้ไขแล้ว ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการซ่อมในทันที
6.2 หากปรากฏว่ามีการซ่อมแซมผิวคอนกรีตก่อนได้รบั การตรวจสอบโดยผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง คอนกรีตส่วนนัน้ อาจ
ถือเป็ นคอนกรีตเสียก็ได้
7. คุณลักษณะแบบหล่อทีใ่ ช้ในโครงการ
7.1 แบบหล่อเหล็กแผ่นใช้กบั การหล่อคาน ค.ส.ล. เสา ค.ส.ล. และพืน้ ค.ส.ล. กรณีหล่อในที่
7.2 แบบหล่อแผ่นไม้อดั เคลือบผิวลามิเนต 2 ด้าน สําเร็จรูปใช้กบั การหล่อคาน ค.ส.ล. เสา ค.ส.ล. และ พืน้ ค.ส.ล.
กรณีหล่อในที่ และพืน้ โพสเทนชันและผนั่ งคอนกรีตเสริมเหล็กเปลือยผิว
7.3 พืน้ โพสเทนชันกํ ่ าหนดให้ใช้แบบหล่อไม้อดั เคลือบผิวลามิเนต 2 ด้าน สําเร็จรูป และแบบหล่อเหล็กแผ่น เท่านัน้
จบหมวดที่ 16

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 81 of 521

หมวดที่ 17
งานเหล็กเสริมคอนกรีต

1. ทัวไป

1.1 ข้อกําหนดในหมวดนี้ครอบคลุมถึงงานทัวไปเกี ่ ย่ วกับการจัดหา การตัด การดัด และการเรียงเหล็กเสริมตาม
ชนิดและขัน้ ตอนทีร่ ะบุไว้ในรูปแบบและรายการประกอบแบบ งานทีท่ าํ จะต้องตรงตามบทกําหนดและ
คําแนะนําของวิศวกรอย่างเคร่งครัด
1.2 รายละเอียดเกีย่ วกับเหล็กเสริมคอนกรีต ซึง่ มิได้ระบุในรูปแบบและรายการประกอบแบบนี้ ให้ถอื ปฏิบตั ติ าม
มาตรฐานงานเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ทางกรมโยธาธิการ (มยธ.103-2533) โดยสามารถดาวน์โหลดได้ท่ี
www.dpt.go.th หรือ WEB SITE อื่นทีห่ น่วยงานราชการเผยแพร่5
2. วัสดุ
2.1 เหล็กทีใ่ ช้เสริมคอนกรีตจะต้องตรงตามเกณฑ์กาํ หนดของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ทัง้
ขนาด นํ้าหนัก และคุณสมบัตอิ น่ื ๆ
2.2 เหล็กขนาด 6 และ 9 มิลลิเมตร ให้ใช้เหล็กเส้นกลมธรรมดา ชัน้ คุณภาพ SR24 ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต:เหล็กเส้นกลม (มอก.20-2543) โดยมีจุดคลากไม่น้อยกว่า
2400 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
2.3 สําหรับเหล็กขนาดตัง้ แต่ 12 มิลลิเมตร ขึน้ ไปให้ใช้เหล็กข้ออ้อย ชัน้ คุณภาพ SD30 ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต:เหล็กข้ออ้อย (มอก.24-2548) โดยมีจุดคลากไม่น้อยกว่า
3000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร (ในกรณีทร่ี ปู แบบมิได้กาํ หนดเป็ นอย่างอื่น)
2.4 กรณีผรู้ บั จ้างประสงค์จะใช้เหล็กชัน้ คุณภาพ SD 40 – 50
วิศวกร ผ่านผูค้ วบคุมงานภายใต้การอนุมตั ขิ องกรรมการตรวจการจ้าง โดยนําเสนอรายการ
คํานวณทางวิศวกรรมประกอบการพิจารณาเป็ นกรณีไป
2.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างเหล็กเสริมไปทดสอบยังสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ และผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อก
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดในการทดสอบและอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง รายงานผลการทดสอบให้จดั ส่งสําเนารวม 3 ชุด
3. การเก็บรักษาเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต
จะต้องเก็บเหล็กเส้นเสริมคอนกรีตไว้เหนือพืน้ ดินและอยู่ในอาคาร หรือทําหลังคาคลุม หรือมีวสั ดุคลุม เมื่อจัดเรียง
เหล็กเส้นเข้าทีพ่ ร้อมจะเทคอนกรีตแล้ว เหล็กนัน้ จะต้องสะอาดปราศจากฝุน่ นํ้ามันสี สนิมขุม และสะเก็ด
4. วิธกี ารก่อสร้าง
4.1 การตัดและประกอบ
4.1.1 เหล็กเสริมจะต้องมีขนาดและรูปร่างตรงตามทีก่ าํ หนดในรูปแบบ และในการตัดและดัดต้องไม่ทาํ ให้
เหล็กชํารุดเสียหาย
4.1.2 ข้องอ หากในแบบไม่ได้ระบุถงึ รัศมีของการงอเหล็ก ให้งอตามเกณฑ์กาํ หนดต่อไปนี้
(1) การงอขอให้ใช้วธิ ดี ดั เย็น โดยมีสว่ นทีย่ ่นื ต่อออกไปอย่างน้อย 4 เท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็ก
กลม และ 5 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กข้ออ้อย แต่ระยะยื่นนี้ตอ้ งไม่น้อยกว่า 6 เซนติเมตร

5
www.dpt.go.th

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 82 of 521

(2) การงอขอ 90 องศา ใช้ได้ในเหล็กข้ออ้อยทุกขนาด และเหล็กกลมขนาด 15 มิลลิเมตร ขึน้ ไป

(3) เฉพาะเหล็กลูกตัง้ และเหล็กปลอก การงอขอ 90 องศา ให้มสี ว่ นทีย่ ่นื ถึงปลายขออย่างน้อย 6 เท่าของเส้น
ผ่านศูนย์กลางของเหล็กแต่ตอ้ งไม่น้อยกว่า 4 เซนติเมตร และการงอขอ 135 องศา ให้มสี ว่ นทีย่ น่ื ถึงปลายขออย่างน้อย 4
เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กแต่ตอ้ งไม่น้อยกว่า 3 เซนติเมตร ดังรูป

(4) การตัดเหล็กคอม้า ถ้าไม่ระบุไว้ในรูปแบบ ให้ปฏิบตั ดิ งั รูป

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 83 of 521

(5) การต่อเหล็กเสา ถ้าไม่ระบุไว้ในรูปแบบ ให้ปฏิบตั ดิ งั รูป

กรณีเสามีหน้าตัดไม่เท่ากันศูนย์ตรงกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 84 of 521

กรณีเสามีหน้าตัดไม่เท่ากันศูนย์เยือ้ งกัน
(6) การเสริมเหล็กคานยื่น

(7) การเสริมเหล็กพืน้ ยื่น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 85 of 521

4.1.3 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทีเ่ ล็กทีส่ ดุ สําหรับของอ เส้นผ่านศูนย์กลางของการงอเหล็กให้วดั ด้านในของ


เหล็กทีง่ อ สําหรับมาตรฐานขนาดผ่านศูนย์กลางทีใ่ ช้ตอ้ งไม่เล็กกว่าค่าทีใ่ ห้ไว้ในตารางข้างล่างนี้

ตารางที่ 1 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทีเ่ ล็กทีส่ ดุ สําหรับของอเหล็กข้ออ้อย

ขนาดของเหล็ก ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทีเ่ ล็กทีส่ ดุ


12 ถึง 16 มิลลิเมตร 5 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนัน้
20 ถึง 28 มิลลิเมตร 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กนัน้

4.2 การเรียงเหล็กเสริม
4.2.1 ก่อนเรียงเข้าที่ จะต้องทําความสะอาดเหล็กมิให้มสี นิมขุม สะเก็ด และวัสดุเคลือบต่างๆ ทีจ่ ะทําให้
การยึดหน่วงเสียไป
4.2.2 จะต้องเรียงเหล็กเสริมอย่างประณีตให้อยู่ในตําแหน่งทีถ่ ูกต้องพอดี และผูกยึดให้แน่นหนาระหว่างเท
คอนกรีต หากจําเป็ นก็อาจใช้เหล็กเสริมพิเศษช่วยในการติดตัง้ ได้
4.2.3 ทีจ่ ุดตัดกันของเหล็กเส้นทุกแห่งจะต้องผูกให้แน่นด้วยลวดเหล็กเบอร์ 18 SWG (ANNEALED IRON
WIRE) โดยพันสองรอบและพับปลายลวดเข้าในส่วนทีจ่ ะเป็ นเนื้อคอนกรีตภายใน
4.2.4 ให้รกั ษาระยะห่างระหว่างแบบกับเหล็กเสริมให้ถูกต้อง โดยใช้เหล็กแขวนก้อนมอร์ตา้ หรือวิธอี ่นื ใด
ซึง่ วิศวกรให้ความเห็นชอบแล้ว ก้อนมอร์ตา้ ให้ใช้สว่ นผสมซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทรายทีใ่ ช้ผสมคอนกรีต
1 ส่วน
4.2.5 หลังจากผูกเหล็กเสร็จแล้วจะต้องให้วศิ วกรตรวจก่อนเทคอนกรีตทุกครัง้ หากผูกทิง้ ไว้นานเกินควร
จะต้องทําความสะอาดและให้วศิ วกรตรวจอีกครัง้ ก่อนเทคอนกรีต
5. การต่อเหล็กเสริม
5.1 ในกรณีทม่ี คี วามจําเป็ นต้องต่อเหล็กเสริมนอกจุดทีก่ าํ หนดในรูปแบบ หรือทีร่ ะบุในตารางที่ 2 ทัง้ ตําแหน่ง
และวิธตี ่อจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกร
5.2 ในรอยต่อแบบทาบ ระยะทาบต้องไม่น้อยกว่า 48 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้น ในกรณีของ
เหล็กเส้นกลมธรรมดา และ 36 เท่าสําหรับเหล็กข้ออ้อย แล้วให้ผกู มัดด้วยลวดเหล็กเบอร์ 18 SWG
5.3 สําหรับเหล็กเสริมทีโ่ ผล่ทง้ิ ไว้เพือ่ จะเชื่อมต่อกับเหล็กของส่วนทีจ่ ะต่อเติมภายหลัง จะต้องหาทางป้องกันมิให้
เสียหาย และผุกร่อน
5.4 การต่อเหล็กเสริมโดยวิธเี ชื่อม จะต้องให้กาํ ลังของรอยเชื่อมไม่น้อยกว่าร้อยละ 125 ของกําลังของเหล็กเสริม
นัน้ ก่อนเริม่ งานเหล็กจะต้องทําการทดสอบกําลังรอยต่อเชื่อมโดยสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ และผูร้ บั จ้างเป็ นผูอ้ อก
ค่าใช้จ่าย ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งสําเนาผลการทดสอบอย่างน้อย 3 ชุดไปยังสํานักงานวิศวกร
5.5 ณ หน้าตัดใดๆ จะมีรอยต่อของเหล็กเสริมเกินร้อยละ 25 ของจํานวนเหล็กเสริมทัง้ หมดไม่ได้
5.6 รอยต่อทุกแห่งจะต้องได้รบั การตรวจและอนุมตั โิ ดยวิศวกรก่อนเทคอนกรีต รอยต่อซึง่ ไม่ได้รบั การอนุมตั ใิ ห้
ถือว่าเป็ นรอยต่อเสีย อาจถูกห้ามใช้กไ็ ด้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 86 of 521

ตารางที่ 2 รอยต่อในเหล็กเสริม
ชนิดขององค์อาคาร ชนิดของการต่อ ตําแหน่งของรอยต่อ
ต่อทาบ ต่อเชื่อม เหล็กบนต่อทีก่ ลางคาน
แผ่นพืน้ คาน และผนัง (สําหรับเหล็กเส้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง เหล็กล่างต่อทีห่ น้าเสาถึงระยะ 1/5
มากกว่า 19 มิลลิเมตร) จากศูนย์กลางเสา
ต่อเชื่อม เหนือระดับพืน้ ไม่เกินหนึ่งเมตร
เสา (สําหรับเหล็กเส้นขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง
มากกว่า 19 มิลลิเมตร)
ฐานราก ห้ามต่อ

6. การเชื่อมต่อเหล็กด้วยไฟฟ้า
6.1 ลวดเชื่อมและกระแสไฟฟ้าทีใ่ ช้
6.1.1 ลวดเชื่อมทีน่ ํามาใช้เชื่อม ให้ใช้ลวดเชื่อมทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ลวดเชื่อมมีสารพอกหุม้ ใช้เชื่อมเหล็กกล้าละมุนด้วยอาร์ก (มอก.49-2528)
6.1.2 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลวดเชือ่ ม และกระแสไฟฟ้าทีใ่ ช้เชื่อมจะต้องเป็ นไปตามบริษทั ผูผ้ ลิตลวด
เชื่อมนัน้ ๆ กําหนดไว้
6.2 การต่อเหล็กเส้นกลมและเหล็กข้ออ้อย
6.2.1 การเชื่อมต่อต้องเป็ นไปตามแบบทีก่ าํ หนดไว้ให้แบบใดแบบหนึ่ง
6.2.2 ตําแหน่งการต่อเหล็กต้องไม่ต่อ ณ จุดทีเ่ หล็กงอ รอยต่อจะอยู่ห่างจากจุดทีเ่ หล็กงออย่างน้อย 50 เท่า
ของเส้นผ่านศูนย์กลางเหล็กเส้นนัน้
6.2.3 การต่อเหล็กให้ต่อ ณ ตําแหน่งทีเ่ หล็กรับแรงน้อยทีส่ ดุ ในกรณีทไ่ี ม่สามารถต่อเหล็ก ณ จุดทีก่ าํ หนด
ดังกล่าวได้ ให้เสริมเหล็กมากขึน้ จากเดิมเป็ นสองเท่า ในระยะห่างจากปลายของเหล็กทีเ่ ชื่อมแต่ละ
ปลายออกไปอย่างน้อย 15 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของเหล็กเส้นนัน้
6.3 รูปแบบของการต่อเหล็กกลมและเหล็กข้ออ้อย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 87 of 521

6.4 การดําเนินการเชื่อม
6.4.1 เหล็กทีน่ ํามาเชื่อมจะต้องตัดปลายแล้ววางให้ได้รปู ตามทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ในข้อ 6.3
6.4.2 บริเวณปลายเหล็กทีต่ ดั ก่อนทีจ่ ะนํามาเชื่อมจะต้องขัดให้เรียบและสะอาดปราศจากฝุน่ สีน้ํามัน
6.4.3 เหล็กเส้นทีจ่ ะนํามาเชื่อมต่อกันจะต้องวางให้ได้แนวเส้นผ่านศูนย์กลางของกันและกัน ขณะทีท่ าํ การ
เชื่อม ควรวางอยูบ่ นทีร่ องรับยาวประมาณข้างละ 1 เมตร ห่างจากจุดทีจ่ ะเชื่อมต่อ
6.4.4 การเชื่อมจะต้องเชื่อมเป็ นชัน้ ๆ หรือเป็ นแนวๆ ตามลําดับ เมื่อเชื่อมเสร็จแต่ละชัน้ หรือแต่ละแนวการ
เชื่อมขัน้ ต่อไปจะต้องเคาะขีเ้ หล็กออกให้หมดทุกครัง้ แล้วแปรงให้สะอาดเสียก่อน
6.4.5 ระหว่างการเชื่อมแต่ละแนวให้ปล่อยทิง้ ไว้ในอากาศนิ่งจนอุณหภูมลิ ดลงตํ่ากว่า 250 องศาเซียลเซส
โดยการวัดทีผ่ วิ ตรงจุดกึง่ กลางความยาวของแนวเชื่อม ห้ามกระทําการใดๆ เพื่อทีจ่ ะเร่งให้อุณหภูมิ
ลดลง

จบหมวดที่ 17

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 88 of 521

หมวดที่ 18
งานเหล็กรูปพรรณ

1. ทัวไป

1.1 บทกําหนดส่วนนี้คลุมถึงเหล็กรูปพรรณทุกชนิด
1.2 รายละเอียดเกีย่ วกับเหล็กรูปพรรณ ซึง่ มิได้ระบุในแบบและบทกําหนดนี้ ให้ถอื ปฏิบตั ติ าม “มาตรฐานสําหรับ
อาคารเหล็กรูปพรรณ” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ทุกประการ
2. วัสดุ
เหล็กรูปพรรณทัง้ หมดจะต้องมีคุณสมบัตสิ อดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
- เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน (มอก.1227-2539) หรือ ASTM หรือ JIS ทีเ่ หมาะสมชัน้ คุณภาพ SM400
ผลิตภัณฑ์ของ บจก.เหล็กสยามยามาโต๊ะ หรือคุณภาพเทียบเท่า
- เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึน้ รูปเย็น (มอก.1228-2549) หรือ ASTM หรือ JIS ทีเ่ หมาะสม
3. การกองเก็บวัสดุ
การเก็บเหล็กรูปพรรณทัง้ ทีป่ ระกอบแล้วและยังไม่ได้ประกอบ จะต้องจัดเก็บไว้เหนือพืน้ ดิน โดยต้องรักษาเหล็กให้
ปราศจากฝุน่ ไขมัน หรือสิง่ แปลกปลอมอื่นๆ และต้องระวังรักษาอย่าให้เหล็กเป็ นสนิม
4. การประกอบและยกติดตัง้
ก่อนทําการประกอบเหล็กรูปพรรณทุกชิน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรูปแบบขยาย (SHOP DRAWING) ต่อผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง
เพื่อรับความเห็นชอบ โดยรูปแบบต้องแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับการตัดต่อ การประกอบ รูสลักเกลียว รอยเชื่อม และ
รอยต่อทีจ่ ะกระทําในโรงงาน รวมถึงสัญลักษณ์ต่างๆ ทีใ่ ช้จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานสากล และเสนอวิธกี ารยกติดตัง้
ตลอดจนการยึดโยงชัวคราว่
กรณีในรูปแบบกําหนดให้นําเหล็กรูปพรรณมาเปลีย่ นแปลงรูปร่างเป็ นคานหรือเสา หรือโครงสร้างเหล็กรูปร่างอื่น
เป็ นเหล็กชนิด เซลล์ลลู ่าร์บมี ( Cellular Beam ) ทีใ่ ห้เกิดนวัตกรรมใหม่ โดยมีช่องเปิ ดทีม่ ลี กั ษณะโค้งรูปวงกลม หรือ
รูปทรงอื่นๆ เรียงเป็ นระยะบนเหล็กชิน้ งานโดยทัวไป ่ ในกรณีเสาหรือคานเมื่อทําการตัดเป็ นแนว แล้วเทินเหล็กเชื่อมกัน
ใหม่ อันทําให้ได้ผลลัพธ์ของรูปตัดความลึกของคานเพิม่ ขึน้ 40 -60 % นัน้ ข้อกําหนดวัสดุให้เป็นไปมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเดิม และให้นําส่งรายการคํานวณการออกแบบ พร้อมวิศวกรลงนามรับรอง พร้อมนําส่งผล
ทดสอบ จากสถาบัน AIT หรือหน่วยงานราชการทีผ่ วู้ ่าจ้างเชื่อถือด้วย
5. การต่อและประกอบในสนาม
5.1 ให้ปฏิบตั ติ ามทีร่ ะบุในแบบขยาย และคําแนะนําในการยกติดตัง้ โดยเคร่งครัด
5.2 ค่าผิดพลาดทีย่ อมให้ ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานสากล
5.3 จะต้องทํานังร้ ่ านคํ้ายัน ยึดโยง ฯลฯ ให้พอเพียงเพื่อยึดโครงสร้างให้แน่นหนาอยู่ในแนวและตําแหน่งที่
ต้องการ เพื่อความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั งิ านจนกว่างานประกอบจะเสร็จเรียบร้อยและแข็งแรงดีแล้ว
5.4 หมุดให้ใช้สาํ หรับยึดชิน้ ส่วนต่างๆ เข้าหากันโดยไม่ให้เหล็ก (โลหะ) เกิดการบิดเบีย้ วชํารุดเท่านัน้
5.5 ห้ามใช้วธิ ตี ดั ด้วยแก๊สเป็ นอันขาด นอกจากจะได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกร
5.6 สลักเกลียวยึดและสมอให้ตงั ้ โดยใช้แบบนําเท่านัน้
5.7 ช่องเปิ ดอื่นๆ เหนือจากรูสลักเกลียวจะต้องเสริมแหวนเหล็กซึง่ มีความหนาไม่น้อยกว่าความหนาขององค์
อาคารทีเ่ สริมนัน้ รูหรือช่องเปิ ดภายในของแหวนจะต้องเท่ากับช่องเปิ ดขององค์อาคารทีเ่ สริมนัน้
5.8 แผ่นรองรับ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 89 of 521

5.8.1 ใช้ตามทีก่ าํ หนดในแบบขยาย


5.8.2 ให้รองรับและปรับแนวด้วยลิม่ เหล็ก
5.8.3 หลังจากได้ยกติดตัง้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้อดั มอร์ตา้ ชนิดทีไ่ ม่หดตัวและใช้ผงเหล็กเป็ นมวลรวมใต้
แผ่นรองรับให้แน่น แล้วติดขอบลิม่ ให้เสมอกับขอบของแผ่นรองรับโดยทิง้ ส่วนทีเ่ หลือไว้ในที่
6. การป้องกันเหล็กมิให้ผุกร่อน
6.1 เกณฑ์กาํ หนดทัวไป ่
งานนี้หมายรวมถึงการทาสี และการป้องกันการผุกร่อนของงานเหล็กให้ตรงตามบทกําหนดและรูปแบบ และให้
เป็ นไปตามข้อกําหนดของสัญญานี้ทุกประการ
6.2 ผิวทีจ่ ะทาสี
6.2.1 การทําความสะอาด
(1) ก่อนจะทาสีบนผิวใดๆ ยกเว้นผิวทีอ่ าบโลหะ จะต้องขัดผิวให้สะอาดโดยใช้เครื่องมือขัด เช่น จานคาร์บอรันดัม หรือ
เครื่องมือชนิดอื่นทีเ่ หมาะสม จากนัน้ ให้ขดั ด้วยแปรงลวดเหล็กและกระดาษทราย เพื่อขจัดเศษโลหะที่หลุดล่อนออก
ให้หมด แต่ตอ้ งพยายามหลีกเลีย่ งการใช้เครื่องขัดด้วยลวดเป็ นระยะเวลานาน เพราะอาจทําให้เนื้อโลหะไหม้ได้
(2) สําหรับรอยเชื่อมและผิวเหล็กทีไ่ ด้รบั ความกระทบกระเทือนจากการเชื่อม จะต้องเตรียมผิวสําหรับทาสีใหม่
เช่นเดียวกับผิวทัวไปตามวิ
่ ธใี นข้อ 6.2.1(1)
(3) ทันทีก่อนทาสีครัง้ ต่อไปให้ทาํ ความสะอาดผิวซึง่ ทาสีไว้ก่อนหรือผิวทีฉ่ าบไว้ ขจัดสีทร่ี ่อนหลุด และสนิมออกให้หมด
และต้องทําความสะอาดพืน้ ทีส่ ว่ นทีถ่ ูกนํ้ามันและไขมันต่างๆ แล้วปล่อยให้แห้งสนิทก่อนจะทาสีทบั
6.2.2 สีรองพืน้
หากมิได้ระบุเป็ นอย่างอื่นงานเหล็กรูปพรรณทัง้ หมดให้ทาสีรองพืน้ ด้วยสีกนั สนิม แล้วทาสีกนั สนิมทับอีกสองชัน้
ผลิตภัณฑ์ของรัสต์โอเลีย่ มเบอร์ 960 หรือ TOA RUST GUARD หรือเทียบเท่า

จบหมวดที่ 18

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 90 of 521

หมวดที่ 19
งานคอนกรีต

1. ทัวไป

1.1 งานคอนกรีตในทีน่ ้หี มายรวมถึงงานคอนกรีตสําหรับโครงสร้าง ซึง่ ต้องเสร็จสมบูรณ์และเป็ นไปตามรูปแบบ
บทกําหนด ข้อกําหนด และสภาพต่างๆ ของสัญญาอย่างเคร่งครัด
1.2 หากมิได้ระบุในรูปแบบและ/หรือบทกําหนดนี้ รายละเอียดต่างๆ เกีย่ วกับองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก และ
งานคอนกรีตทัง้ หมดให้เป็ นไปตามมาตรฐานงานก่อสร้างคอนกรีตของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย หรือ
กรมโยธาธิการ
2. วัสดุ
วัสดุต่างๆ ทีเ่ ป็ นส่วนผสมของคอนกรีตต้องเป็ นไปตามบทกําหนดและเกณฑ์อ่นื ๆ ดังนี้ คือ
2.1 ปูนซีเมนต์ จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ (มอก.15 เล่ม 1-
2547) ชนิดทีเ่ หมาะสมกับงาน และต้องเป็ นปูนซีเมนต์ทแ่ี ห้งไม่จบั ตัวเป็ นก้อน
2.2 นํ้าทีใ่ ช้ผสมคอนกรีตจะต้องสะอาด ใช้ดม่ื ได้
2.3 มวลรวมทีใ่ ช้สาํ หรับคอนกรีตจะแข็งแกร่ง มีความคงตัว เฉื่อย ไม่ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับด่างในปูนซีเมนต์
มวลรวมหยาบและมวลรวมละเอียดให้ถอื เป็ นวัสดุคนละอย่าง มวลรวมหยาบแต่ละขนาด หรือหลายขนาด
ผสมกันจะต้องมีสว่ นขนาดคละตามเกณฑ์กาํ หนดของข้อกําหนด ASTM ทีเ่ หมาะสม
2.4 สารผสมเพิม่ สําหรับคอนกรีตส่วนทีม่ ใิ ช่ฐานรากทัง้ หมดให้ใช้สารผสมเพิม่ ชนิดเพิม่ ความสามารถได้ ส่วนที่
เป็ นโครงสร้างห้องใต้ดนิ ทัง้ หมดให้ผสมตัวยากันนํ้าซึมชนิดทนแรงและกันนํ้าได้ โดยใช้ตามคําแนะนําของ
ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด นอกจากทีก่ ล่าวนี้หา้ มใช้สารผสมเพิม่ ชนิดอื่นหรือปูนซีเมนต์ทผ่ี สมสารเหล่านัน้
นอกจากจะได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรก่อน
3. การกองเก็บวัสดุ
3.1 ให้เก็บปูนซีเมนต์ไว้ในอาคาร ถังเก็บ หรือไซโลทีป่ ้ องกันความชืน้ และความสกปรกได้ และในการส่งให้สง่ ใน
ปริมาณเพียงพอทีจ่ ะไม่ทาํ ให้งานคอนกรีตต้องชะงักหรือล่าช้าไม่ว่ากรณีใด จะต้องแยกวัสดุทส่ี ง่ มาแต่ละครัง้
ให้เป็ นสัดส่วนไม่ปะปนกัน
3.2 การส่งมวลรวมหยาบ ให้สง่ แยกขนาดไปยังสถานทีก่ ่อสร้าง นอกจากจะได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรเป็ นอย่างอื่น
3.3 การกองมวลรวม ต้องกองในลักษณะทีจ่ ะป้องกันมิให้ปะปนกับมวลรวมกองอื่นซึง่ มีขนาดต่างกัน เพื่อให้
เป็ นไปตามนี้ อาจต้องทําการทดสอบสัดส่วนขนาดคละ ตลอดจนความสะอาดของมวลรวมว่าตรงตามเกณฑ์
กําหนดหรือไม่ โดยเก็บตัวอย่าง ณ ทีท่ าํ การผสมคอนกรีต
3.4 การเก็บสารผสมเพิม่ ต้องระวังอย่าให้เกิดการปนเปื้ อน การระเหย หรือเสือ่ มคุณภาพ สําหรับสารผสมเพิม่
ชนิดทีอ่ ยูใ่ นรูปสารลอยตัวหรือสารละลายทีไ่ ม่คงตัวจะต้องจัดหาอุปกรณ์สาํ หรับกวน เพื่อให้ตวั ยากระจาย
โดยสมํ่าเสมอ ถ้าเป็ นสารผสมเพิม่ ชนิดเหลวจะต้องป้องกันมิให้เกิดการเปลีย่ นแปลงอุณหภูมมิ ากนัก เพราะ
จะทําให้คุณสมบัตขิ องสารนัน้ เปลีย่ นแปลงได้
4. คุณสมบัตขิ องคอนกรีต
4.1 องค์ประกอบ คอนกรีตต้องประกอบด้วยปูนซีเมนต์ ทราย มวลรวมหยาบ นํ้า และสารผสมเพิม่ ตามแต่จะ
กําหนด ผสมให้เข้ากันเป็ นอย่างดีโดยมีความข้นเหลวทีพ่ อเหมาะ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 91 of 521

4.2 ความข้นเหลวคอนกรีตทีจ่ ะใช้กบั ทุกส่วนของงานจะต้องผสมให้เข้าเป็ นเนื้อเดียวกัน โดยมีความข้นเหลวที่


พอเหมาะทีจ่ ะสามารถทําให้แน่นได้ภายในแบบหล่อ และรอบเหล็กเสริมหลังจากอัดแน่นโดยการกระทุง้ ด้วย
มือหรือโดยวิธสี นที ั ่ ไ่ ด้รบั การเห็นชอบแล้ว จะต้องไม่มนี ้ําทีผ่ วิ คอนกรีตมากเกินไป และจะต้องมีผวิ เรียบ
ปราศจากโพรง การแยกแยะ รูพรุน เมื่อแข็งตัวแล้วจะต้องมีกาํ ลังตามทีต่ อ้ งการตลอดจนความทนทานต่อ
การแตกสลาย ความทนต่อการขัดสี ความสามารถในการกันนํ้า รูปลักษณะและคุณสมบัตอิ ่นื ๆ ตามที่
กําหนด
4.3 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบไม่เกิน 1/5 ของมิตทิ แ่ี คบทีส่ ดุ ของโครงสร้าง หรือ 2/3 ของระยะห่างของเหล็ก
เสริมทีน่ ้อยทีส่ ดุ ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบแสดงในตารางที่ 1
4.4 การยุบตัว ค่ายุบตัวของคอนกรีตซึง่ มีน้ําหนักปกติหาโดย “มาตรฐานวิธกี ารทดสอบค่าการยุบตัวของ
คอนกรีต” (ASTM C143) ค่ายุบตัวของคอนกรีตสําหรับงานประเภทต่างๆ จะต้องเป็ นไปตามค่าทีใ่ ห้ไว้ใน
ตารางที่ 2
4.5 กําลังอัดคอนกรีตสําหรับแต่ละส่วนของอาคาร6 จะต้องไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สําหรับ
ก้อนตัวอย่างทรงกระบอก (CYLINDER) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร หรือ
280 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สําหรับก้อนตัวอย่างทรงลูกบาศก์ (CUBE) ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร
โดยให้คดิ ทีอ่ ายุ 28 วันเป็ นหลักสําหรับปูนซีเมนต์ชนิดที่ 1 ธรรมดา แต่ถา้ ใช้ปนู ซีเมนต์ชนิดที่ 3 ซึง่ ให้กาํ ลัง
สูงเร็วให้คดิ ทีอ่ ายุ 7 วัน กรณีทท่ี ดสอบค่าแรงอัดทีอ่ ายุ 7 วัน ค่าแรงทดสอบแรงอัดต้องไม่น้อยกว่า 70%
ของค่าทีก่ าํ หนดทีอ่ ายุ 28 วัน ทัง้ 3 ตัวอย่าง สําหรับคอนกรีตพืน้ POST-TENSION ให้เป็ นไปตามรูปแบบ
กําหนด
4.6 คุณสมบัตขิ องคอนกรีตผสมเสร็จ (READY MIX) ให้เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมคอนกรีต
ผสมเสร็จ (มอก.213-2520)

ตารางที่ 1 ขนาดโตสุดของมวลรวมหยาบสําหรับงานคอนกรีตชนิดต่างๆ
ประเภทของโครงสร้าง ขนาดโตสุด (มิลลิเมตร)
คอนกรีตเสริมเหล็กทัวไป
่ 20 หรือ 25
คอนกรีตเสริมเหล็กทีม่ คี วามหนามากหรือ 40
คอนกรีตไม่เสริมเหล็ก

6
รายการกาลังอัดคอนกรีต หากมีขอ้ ขัดแย้งกันในรูปแบบให้ตรวจสอบจากรายการคานวณของวิศวกรผูอ้ อกแบบจากผูว้ ่าจ้าง และ
ถือเป็ นสิน้ สุด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 92 of 521

ตารางที่ 2 ค่ายุบตัวคอนกรีต
ค่ายุบตัว (เซนติเมตร)
ประเภทของงาน
สูงสุด ตํ่าสุด
พืน้ ถนน 8.0 3.0
โครงสร้างทัวไป
่ 10.0 5.0
เสาหรือผนังบาง 12.5 7.5
โครงสร้างทีเ่ หล็กเสริมแน่น 15.0 10.0

ตารางที่ 3 ระยะหุม้ เหล็กเสริม (วัดถึงผิวเหล็ก MAIN)


ความหนาน้อยสุดของคอนกรีต
ชนิดของการก่อสร้างและโครงสร้างหลัก ทีห่ มุ้ เหล็กเสริมหรือ
คอนกรีตหุม้ เหล็ก (มิลลิเมตร)
1. คอนกรีตเสริมเหล็ก
1.1 เสาสีเ่ หลีย่ มทีม่ ดี า้ นแคบขนาด 300 มิลลิเมตรขึน้ ไป 40
1.2 เสากลมหรือเสาตัง้ แต่หา้ เหลีย่ มขึน้ ไปทีม่ รี ปู ทรงใกล้เคียงเสากลม ซึง่ มี 40
เส้นผ่านศูนย์กลางตัง้ แต่ 300 มิลลิเมตรขึน้ ไป
1.3 คานและโครงข้อหมุนคอนกรีต ขนาดกว้างตัง้ แต่ 300 มิลลิเมตรขึน้ ไป 40
1.4 พืน้ หนาไม่น้อยกว่า 115 มิลลิเมตร 20
2. คอนกรีตอัดแรง
2.1 คานชนิดดึงลวดก่อน 75
2.2 คานชนิดดึงลวดภายหลัง
(1) กว้าง 200 มิลลิเมตร โดยปลายไม่เหนี่ยวรัง้ (UNRESTRAINED) 115
(2) กว้างตัง้ แต่ 300 มิลลิเมตรขึน้ ไปโดยปลายไม่เหนี่ยวรัง้ 65
(UNRESTRAINED)
(3) กว้าง 200 มิลลิเมตร โดยปลายเหนี่ยวรัง้ (RESTRAINED) 50
(4) กว้างตัง้ แต่ 300 มิลลิเมตรขึน้ ไปโดยปลายเหนี่ยวรัง้ (RESTRAINED) 45
2.3 พืน้ ชนิดดึงลวดก่อนทีม่ คี วามหนาตัง้ แต่ 115 มิลลิเมตรขึน้ ไป 40
2.4 พืน้ ชนิดดึงลวดภายหลังทีม่ คี วามหนาตัง้ แต่ 115 มิลลิเมตรขึน้ ไป
(1) ขอบไม่เหนี่ยวรัง้ (UNRESTRAINED) 40

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 93 of 521

(2) ขอบเหนี่ยวรัง้ (RESTRAINED) 20


3. เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
3.1 เสาเหล็กขนาด 150 x 150 มิลลิเมตร 50
3.2 เสาเหล็กขนาด 200 x 200 มิลลิเมตร 40
3.3 เสาเหล็กขนาดตัง้ แต่ 300 x 300 มิลลิเมตรขึน้ ไป 25
3.4 คานเหล็ก 50

ในกรณีโครงสร้างหลักมีขนาดระหว่างขนาดทีก่ าํ หนดในตาราง ให้คาํ นวณหาความหนาน้อยสุดของคอนกรีตทีห่ มุ้


เหล็กเสริมหรือคอนกรีตหุม้ เหล็กโดยวิธเี ทียบอัตราส่วน
ในกรณีโครงสร้างหลักก่อสร้างด้วยคอนกรีตเสริมเหล็กหรือคอนกรีตอัดแรงทีม่ ขี นาดหรือมีความหนาของคอนกรีตทีห่ มุ้
เหล็กเสริมหรือคอนกรีตหุม้ เหล็กน้อยกว่าทีก่ าํ หนดไว้ในตารางข้างต้นจะต้องใช้วสั ดุอ่นื หุม้ เพิม่ เติมหรือต้องป้องกันโดยวิธี
อื่นเพื่อช่วยทําให้เสาหรือคานมีอตั ราการทนไฟได้ไม่น้อยกว่าสามชัวโมง
่ และตงหรือพืน้ ต้องมีอตั ราการทนไฟได้ไม่น้อยกว่า
่ โดยจะต้องมีเอกสารรับรองอัตราการทนไฟจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ประกอบการขออนุญาต7
สองชัวโมง

5. การคํานวณออกแบบส่วนผสม
5.1 ห้ามมิให้นําคอนกรีตมาเทส่วนทีเ่ ป็ นโครงสร้างใดๆ จนกว่าส่วนผสมของคอนกรีตทีจ่ ะนํามาใช้นนั ้ ได้รบั ความ
เห็นชอบจากวิศวกร ผูค้ วบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างแล้ว
5.2 ก่อนเทคอนกรีตอย่างน้อย 35 วัน ผูร้ บั จ้างจะต้องเตรียมส่วนผสมคอนกรีตต่างๆ ในห้องปฏิบตั กิ ารเพื่อให้
วิศวกร ผูค้ วบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง ตรวจให้ความเห็นชอบก่อน
5.3 การทีว่ ศิ วกรให้ความเห็นชอบต่อส่วนผสมทีเ่ สนอมาหรือทีแ่ ก้ไข (หากมี) นัน้ มิได้หมายความว่าจะลดความ
รับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทีม่ ตี ่อคุณสมบัตขิ องคอนกรีตทีไ่ ด้จากส่วนผสมนัน้
5.4 การจัดปฏิภาคส่วนผสม
5.4.1 หาอัตราส่วน นํ้า : ซีเมนต์ ทีเ่ หมาะสมโดยการทดลองขัน้ ตอนตามวิธกี ารต่อไปนี้
(1) ทดลองทําส่วนผสมคอนกรีตทีม่ อี ตั ราส่วนและความข้นเหลวทีเ่ หมาะสมกับงาน โดยเปลีย่ นอัตราส่วน นํ้า : ซีเมนต์
อย่างน้อย 3 ค่า ซึง่ จะให้กาํ ลังต่างๆ กัน โดยอยู่ในขอบข่ายของค่าทีก่ าํ หนดสําหรับงานนี้ และต้องคํานวณออกแบบ
สําหรับค่าการยุบสูงสุดเท่าทีย่ อมให้
(2) จากนัน้ หาปฏิภาคของวัสดุผสม แล้วทําการทดสอบตาม “มาตรฐานวิธปี ฏิบตั ใิ นการเลือกปฏิภาคส่วนผสมสําหรับ
คอนกรีต” (ACI 211.1)
5.4.2 นําผลทีไ่ ด้จากการทดสอบไปเขียนเป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วน นํ้า : ซีเมนต์
5.4.3 สําหรับอัตราส่วน นํ้า : ซีเมนต์ แต่ละค่าให้หล่อชิน้ ตัวอย่างอย่างน้อย 3 ชิน้ สําหรับแต่ละอายุ เพื่อ
นําไปทดสอบ โดยเตรียมและบ่มตัวอย่างตาม “มาตรฐานวิธกี ารทําและบ่มตัวอย่างคอนกรีตใน
ห้องปฏิบตั กิ าร” (ASTM C192) และทดสอบทีอ่ ายุ 7 และ 28 วัน การทดสอบให้ปฏิบตั ติ าม
“มาตรฐานวิธกี ารทดสอบกําลังอัดของตัวอย่างคอนกรีตแท่งทรงกระบอก” (ASTM C39)

7
กฎกระทรวง ฉบับที่ 60 (พ.ศ.2549) ออกตามความในพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร พ.ศ.2522

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 94 of 521

5.4.4 สําหรับคอนกรีต ปริมาณปูนซีเมนต์จะต้องไม่น้อยกว่า 450 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรของคอนกรีต


สําหรับคอนกรีต fc’=240 ksc.(CYLINDER) 350 ./ลบ.ม.และ
สําหรับคอนกรีต fc’=320 ksc.(CYLINDER) ควรใช้ปริมาณปูนซิเมนต์ ไม่น้อยกว่า 400 กก./ลบ.ม.
แต่ทงั ้ นี้ ปริมาณซีเมนต์ทเ่ี หมาะสม จะต้องกําหนดโดยวิศวกรผูอ้ อกแบบส่วนผสม ซึง่ จะต้องพิจารณา
คุณสมบัตขิ องคอนกรีตและการใช้งานทีเ่ หมาะสมด้วย
อ้างอิงจาก 1) มทช.101-2545 มาตรฐานงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก
2) มยผ.1101-52 มาตรฐานงานคอนกรีตและคอนกรีตเสริมเหล็ก
6. การผสมคอนกรีต
6.1 คอนกรีตผสมเสร็จ การผสมและการขนส่งคอนกรีตผสมเสร็จให้ปฏิบตั ติ าม “มาตรฐานข้อกําหนดสําหรับ
คอนกรีตผสมเสร็จ” (ASTM C 94)
6.2 การผสมด้วยเครื่อง ณ สถานทีก่ อ่ สร้าง
6.2.1 การผสมคอนกรีตต้องใช้เครื่องผสมชนิดซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกรแล้ว ทีเ่ ครื่องผสมจะต้องมี
แผ่นป้ายแสดงความจุและจํานวนรอบต่อนาทีทเ่ี หมาะสม และผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามข้อแนะนํา
เหล่านี้ทุกประการ เครื่องผสมจะต้องสามารถผสมมวลรวม ซีเมนต์ และนํ้าให้เข้ากันโดยทัวถึ ่ งภายใน
เวลาทีก่ าํ หนดและต้องสามารถปล่อยคอนกรีตออกได้โดยไม่เกิดการแยกแยะ
6.2.2 ในการบรรจุวสั ดุผสมเข้าเครื่องจะต้องบรรจุน้ําส่วนหนึ่งเข้าเครื่องก่อนซีเมนต์และมวลรวม แล้วค่อยๆ
เติมนํ้าส่วนทีเ่ หลือเมื่อผสมไปแล้วประมาณหนึ่งในสีข่ องเวลาผสมทีก่ าํ หนด จะต้องมีทค่ี วบคุมมิให้
ปล่อยคอนกรีตก่อนจะถึงเวลาทีก่ าํ หนด และจะต้องสามารถปล่อยคอนกรีตออกให้หมดก่อนทีจ่ ะบรรจุ
วัสดุใหม่
6.2.3 เวลาทีใ่ ช้ในการผสมคอนกรีตซึง่ มีปริมาณตัง้ แต่ 1 ลูกบาศก์เมตร ลงมาจะต้องไม่น้อยกว่า 2 นาที
และให้เพิม่ อีก 20 วินาที สําหรับทุกๆ 1 ลูกบาศก์เมตร หรือส่วนของลูกบาศก์เมตรทีเ่ พิม่ ขึน้
6.3 การผสมต่อเนื่อง
6.3.1 ให้ผสมคอนกรีตเฉพาะเท่าทีต่ อ้ งการใช้เท่านัน้ ห้ามนําคอนกรีตทีก่ ่อตัวแล้วมาผสมต่อเป็ นอันขาด
แต่ให้ทง้ิ ไป
6.3.2 ห้ามมิให้เติมนํ้าเพื่อเพิม่ ค่าการยุบเป็ นอันขาด การเติมนํ้าจะกระทําได้ ณ สถานทีก่ ่อสร้างหรือทีโ่ รง
ผสมคอนกรีตกลางโดยความเห็นชอบของวิศวกรหรือผูค้ วบคุมงานเท่านัน้ และไม่วา่ กรณีใดๆ ห้าม
เติมนํ้า ระหว่างการขนส่ง
7. การขนส่ง การเท และการเตรียมการก่อนเท
7.1 การเตรียมการ
7.1.1 แบบหล่อจะต้องเสร็จเรียบร้อย โดยขจัดคอนกรีตทีแ่ ข็งตัวแล้วและวัสดุแปลกปลอมอื่นๆ ออกจาก
ด้านในของอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการลําเลียงออกให้หมด

7.1.2 เหล็กเสริมผูกเข้าทีเ่ สร็จเรียบร้อย วัสดุต่างๆ ทีจ่ ะฝงในคอนกรีตต้องเข้าทีเ่ รียบร้อย และการ
เตรียมการต่างๆ ทัง้ หมดได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างแล้ว จึงจะ
ดําเนินการเทคอนกรีตได้
7.2 การลําเลียง
วิธกี ารส่งและเทคอนกรีต จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างก่อน ในการขนส่ง
คอนกรีตจากเครื่องผสมจะต้องระมัดระวังมิให้เกิดการแยกแยะ หรือการแยกตัว หรือการสูญเสียของวัสดุผสม และต้อง
กระทําในลักษณะทีจ่ ะทําให้ได้คอนกรีตทีม่ คี ุณสมบัตติ ามทีก่ าํ หนด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 95 of 521

7.3 การเทคอนกรีต
7.3.1 ผูร้ บั จ้างจะเทคอนกรีตส่วนหนึ่งส่วนใดของโครงสร้างยังมิได้จนกว่าจะได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกร ผู้
ควบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเรียบร้อยแล้ว และเมื่อได้รบั อนุมตั แิ ล้วถ้าผูร้ บั จ้างยังไม่เริม่ เท
คอนกรีตภายใน 24 ชัวโมง ่ จะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกร ผูค้ วบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างอีกครัง้ จึง
จะเทได้
7.3.2 การเทคอนกรีตจะต้องกระทําต่อเนื่องกันตลอดทัง้ พืน้ ที่ รอยต่อขณะก่อสร้างจะต้องอยูท่ ต่ี ําแหน่งซึง่
กําหนดไว้ในแบบ หรือได้รบั ความเห็นชอบแล้ว การเทคอนกรีตจะต้องกระทําในอัตราทีค่ อนกรีตซึง่
เทไปแล้วจะต่อกับคอนกรีตทีจ่ ะเทใหม่ยงั คงสภาพเหลวพอทีจ่ ะเทต่อกันได้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ
ห้ามมิให้เทคอนกรีตต่อกับคอนกรีตซึง่ เทไว้แล้วเกิน 30 นาที แต่จะต้องทิง้ ไว้ประมาณ 20 ชัวโมง ่ จึง
จะเทต่อได้ เมื่อการเทคอนกรีตส่วนใดจะเทรวดเดียวเสร็จไม่ได้ ก็ให้หยุดเทโดยหยุดให้ตรงตามทีร่ ะบุ
ไว้ในรูปแบบและรายละเอียด หรือตามกําหนดดังนี้
(1) สําหรับเสาให้เทถึงระดับ 75 มิลลิเมตร ตํ่าจากท้องคานหัวเสา
(2) สําหรับคานให้เทถึงกลางคาน
(3) สําหรับพืน้ ให้เทถึงกลางแผ่น
เมื่อเทคอนกรีตต่อจากทีห่ ยุดไว้ให้กระเทาะหน้าคอนกรีตเก่า และใช้แปรงลวดขัด ราดนํ้าให้เปียก แล้วผสม
ปูนซีเมนต์และทรายในอัตราส่วนทีเ่ ท่ากันราดให้ทวหน้ ั ่ าคอนกรีตทีจ่ ะเทต่อแล้วจึงเทคอนกรีตต่อไปได้
7.3.3 ห้ามมิให้นําคอนกรีตทีแ่ ข็งตัวบ้างแล้วบางส่วนหรือแข็งตัวทัง้ หมด หรือทีม่ วี สั ดุแปลกปลอมมาเท
ปะปนกันเป็ นอันขาด
7.3.4 เมื่อเทคอนกรีตต้องเทภายใน 30 นาทีนบั ตัง้ แต่ปล่อยคอนกรีตออกจากเครื่องกวน และจะต้องอัด
คอนกรีตให้แน่นภายในเวลา 30 นาทีนบั ตัง้ แต่ปล่อยคอนกรีตออกจากเครื่องผสมนอกจากจะมีเครื่อง
กวนพิเศษสําหรับการนี้โดยเฉพาะหรือมีเครื่องผสมติดรถซึง่ จะกวนตลอดเวลา ในกรณีเช่นนัน้ ให้เพิม่
เวลาได้เป็ น 2 ชัวโมงนั ่ บตัง้ แต่บรรจุซเี มนต์เข้าเครื่องผสม
7.3.5 จะต้องเทคอนกรีตให้ใกล้ตําแหน่งสุดท้ายมากทีส่ ุดเท่าทีจ่ ะทําได้ เพื่อหลีกเลีย่ งการเกิดการแยกแยะ
อันเนื่องจากการโยกย้ายและการไหลตัวของคอนกรีต ต้องระวังอย่าให้วธิ กี ารใดๆ ทีจ่ ะทําให้คอนกรีต
เกิดการแยกแยะ ห้ามปล่อยคอนกรีตเข้าทีจ่ ากระยะสูงเกินกว่า 2 เมตร นอกจากจะได้รบั อนุมตั จิ าก
วิศวกร
7.3.6 การทําให้คอนกรีตแน่นให้ใช้วธิ สี นด้ ั ่ วยเครื่อง หรือกระทุง้ เพื่อให้คอนกรีตหุม้ เหล็กเสริม และเข้าไปอัด
ตามมุมต่างๆ จนเต็ม โดยขจัดกระเปาะอากาศ และกระเปาะหิน อันจะทําให้คอนกรีตเป็ นโพรงเป็น
หลุมบ่อ หรือเกิดระนาบทีไ่ ม่แข็งแรงออกให้หมดสิน้ เครื่องสันจะต้ ่ องมีความถีอ่ ย่างน้อย 7000 รอบ
ต่อนาที และผูท้ ใ่ี ช้งานจะต้องมีความชํานาญเพียงพอ ห้ามมิให้ทาํ การสันคอนกรี ่ ตเกินขนาดและใช้
เครื่องสันเป็ ่ นตัวเขยือ้ นคอนกรีตให้เคลื่อนทีจ่ ากตําแหน่งหนึ่งไปยังอีกตําแหน่งหนึ่งภายในแบบหล่อ
เป็ นอันขาด ให้จุ่มและถอนเครื่องสันขึ ่ น้ ลงตรงๆ ทีห่ ลายๆ จุด ห่างกันประมาณ 50 เซนติเมตร ใน
การจุ่มแต่ละครัง้ จะต้องทิง้ ระยะเวลาให้เพียงพอทีจ่ ะทําให้คอนกรีตแน่นตัว แต่ตอ้ งไม่นานเกินไปจน
เป็ นเหตุให้เกิดการแยกแยะ โดยปกติจุดหนึ่งๆ ควรจุ่มอยู่ระหว่าง 5 ถึง 15 วินาที ในกรณีทห่ี น้าตัด
ของคอนกรีตบางเกินไปจนไม่อาจแหย่เครื่องสันลงไปได้ ่ กใ็ ห้ใช้เครื่องสันนั
่ น้ แนบกับข้างแบบ หรือใช้
วิธอี ่นื ทีไ่ ด้รบั การเห็นชอบแล้ว สําหรับองค์อาคารสูงๆ และหน้าตัดกว้าง เช่น เสาขนาดใหญ่ควรใช้
เครื่องสันชนิ ่ ดเกาะติดกับข้างแบบ แต่ทงั ้ นี้แบบหล่อต้องแข็งแรงพอทีจ่ ะสามารถรับความสันได้ ่ โดย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 96 of 521

ไม่ทาํ ให้รปู ร่างขององค์อาคารผิดไปจากทีก่ าํ หนด จะต้องมีเครื่องสันคอนกรี


่ ตสํารองอย่างน้อยหนึ่ง
เครื่องประจํา ณ สถานทีก่ ่อสร้างเสมอในขณะเทคอนกรีต
7.3.7 ในกรณีทใ่ี ช้คอนกรีตเปลือยโดยมีมอร์ตา้ เป็ นผิว จะต้องใช้เครื่องมือทีเ่ หมาะสมดันหินให้ออกจาก
ข้างบนเพื่อให้มอร์ตา้ ออกมาอยูท่ ผ่ี วิ ให้เต็มโดยไม่เป็ นโพรงเมื่อถอดแบบ
8. ั
รอยต่อและสิง่ ทีฝ่ งในคอนกรี ต
8.1 รอยต่อขณะก่อสร้างของอาคาร
8.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องขออนุมตั ริ ปู แบบขยาย (SHOP DRAWING) ก่อนดําเนินการจากวิศวกรผูค้ วบคุมงาน
และผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเสมอ โดยแสดงรายละเอียดและตําแหน่งให้ชดั เจน
8.1.2 ในกรณีทม่ี ไิ ด้ระบุตําแหน่งและรายละเอียดของรอยต่อนี้ในรูปแบบ จะต้องจัดทําและวางในตําแหน่ง
ซึง่ จะทําให้โครงสร้างเสียความแข็งแรงน้อยทีส่ ดุ และให้เกิดรอยร้าวเนื่องจากการหดตัวน้อยทีส่ ดุ
เท่าทีจ่ ะได้ และจะต้องได้รบั ความเห็นชอบก่อน
8.1.3 ในกรณีการทํารอยต่อในแนวราบ ผิวบนของผนังและเสาคอนกรีตจะต้องอยู่ในแนวราบ คอนกรีตซึง่
เททับเหนือรอยต่อขณะก่อสร้าง จะต้องไม่ใช่คอนกรีตส่วนแรกทีอ่ อกจากเครื่องผสม และจะต้องอัด
แน่นให้ทวโดยอั
ั่ ดให้เข้ากับคอนกรีตซึง่ เทไว้ก่อนแล้ว
8.1.4 ในกรณีการทํารอยต่อในแนวดิง่ ให้ใช้ปนู ทรายในอัตราส่วน 1 : 1 ผสมนํ้าข้นๆ ไล้ทผ่ี วิ ให้ทวก่ ั ่ อนที่
จะเทคอนกรีตใหม่ลงไป และผิวคอนกรีตเดิมต้องมีความหยาบด้วย
8.1.5 ให้เดินเหล็กเสริมต่อเนื่องผ่านรอยต่อไป และจะต้องใส่สลักและเดือยเอียงตามแต่วศิ วกร ผูค้ วบคุม
งาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะเห็นสมควร จะต้องจัดให้มสี ลักตามยาวลึกอย่างน้อย 5 เซนติเมตร สําหรับ
รอยต่อในผนังทัง้ หมดและระหว่างผนังกับแผ่นพืน้ หรือฐานราก
8.1.6 ในกรณีทเ่ี ทคอนกรีตเป็ นชัน้ ๆ จะต้องยึดเหล็กทีโ่ ผล่เหนือแต่ละชัน้ ให้แน่นหนา เพื่อป้องกันการ
เคลื่อนตัวของเหล็กเสริมขณะเทคอนกรีต และในขณะคอนกรีตกําลังก่อตัว
8.1.7 ในขณะคอนกรีตยังไม่ก่อตัวให้ขจัดฝ้านํ้าปูนและวัสดุทห่ี ลุดร่วงออกให้หมด โดยไม่จาํ เป็ นต้องทําให้
ผิวหยาบอีก แต่หากไม่สามารถปฏิบตั ติ ามนี้ได้ ก็ให้ขจัดออกโดยใช้เครื่องมือหลังจากเทคอนกรีตแล้ว
24 ชัวโมงขึ
่ น้ ไป แล้วให้ลา้ งผิวทีท่ าํ ให้หยาบนัน้ ด้วยนํ้าสะอาดทันทีก่อนทีค่ อนกรีตใหม่ ให้พรมนํ้าผิว
คอนกรีต ทีร่ อยต่อทุกแห่งให้ชน้ื แต่ไม่เปี ยกโชก
8.1.8 ถ้าหากต้องการหรือได้รบั การยินยอม อาจเพิม่ ความยึดหน่วงได้ตามวิธตี ่อไปนี้
(1) ใช้สารผสมเพิม่ ทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบแล้ว
(2) ใช้สารหน่วงซึง่ ได้รบั ความเห็นชอบแล้วเพื่อทําให้การก่อตัวของมอร์ตา้ ทีผ่ วิ ช้าลง แต่หา้ มใส่มากจนไม่ก่อตัว
เลย
(3) ทําผิวคอนกรีตให้หยาบตามวิธที ไ่ี ด้รบั การรับรองแล้ว โดยวิธนี ้จี ะทําให้มวลรวมโผล่สมํ่าเสมอ ปราศจากฝ้า
นํ้าปูน หรือเม็ดมวลรวมทีห่ ลุดร่วง หรือผิวคอนกรีตทีช่ าํ รุด
8.2 วัสดุฝงั ในคอนกรีต
8.2.1 ก่อนเทคอนกรีตจะต้องฝงั ปลอก ไส้ สมอ และวัสดุฝงั อื่นๆ ทีจ่ ะต้องทํางานต่อในภายหลังให้เรียบร้อย
8.2.2 ต้องจัดวางแผ่นกันนํ้าสําหรับสายไฟและสิง่ ซึง่ จะฝงั อื่นๆ เข้าทีใ่ ห้ถูกตําแหน่งอย่างแน่นอนและยึดให้
ดีเพื่อมิให้เกิดการเคลื่อนตัว สําหรับช่องว่างในปลอกไส้และร่องสมอจะต้องอุดด้วยวัสดุทจ่ี ะเอาออก
ได้ง่ายเป็ นการชัวคราว
่ เพื่อป้องกันมิให้คอนกรีตไหลเข้าไปในช่องว่างนัน้
8.3 รอยต่อสําหรับพืน้ ถนน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 97 of 521

8.3.1 รอยต่อทางยาวตลอดจนรอยต่อสําหรับกันการหดและการยืดตัว จะต้องอยู่ในตําแหน่งทีก่ าํ หนดไว้ใน


รูปแบบ ในกรณีทไ่ี ม่สามารถเทคอนกรีตได้เต็มช่วงจะต้องทํารอยต่อขณะก่อสร้างขึน้ ในช่วงหนึ่งๆ จะ
มีรอยต่อขณะก่อสร้างเกินหนึ่งรอยไม่ได้ และรอยต่อดังกล่าวจะต้องอยู่ภายในช่วงกลางแบ่งสามส่วน
ของช่วง
8.3.2 ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ สําหรับรอยต่อต่างๆ จะยอมให้มคี วามผิดพลาดมากทีส่ ดุ ได้ไม่เกินค่า
ต่อไปนี้
ระยะทางแนวรอบ 6 มิลลิเมตร
ระยะทางแนวดิง่ 3 มิลลิเมตร
9. การซ่อมผิวทีช่ าํ รุด
9.1 ห้ามปะซ่อมรูรอ้ ยเหล็กยึดและเนื้อทีช่ าํ รุดทัง้ หมดก่อนทีว่ ศิ วกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างได้ตรวจสอบ
9.2 สําหรับคอนกรีตทีเ่ ป็ นรูพรุนเล็กๆ และชํารุดเล็กน้อย หากวิศวกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างลง
ความเห็นว่าพอทีจ่ ะซ่อมแซมให้ดไี ด้ ต้องสกัดคอนกรีตทีช่ าํ รุดออกให้หมดจนถึงคอนกรีตดี เพื่อป้องกันมิ
ให้น้ําในมอร์ตา้ ทีจ่ ะปะซ่อมนัน้ ถูกดูดซึมไป โดยสกัดคอนกรีตบริเวณทีจ่ ะปะซ่อมและเนื้อทีบ่ ริเวณโดยรอบ
เป็ นระยะออกมาอย่างน้อย 15 เซนติเมตร มอร์ตา้ ทีใ่ ช้เป็ นตัวประสานจะต้องประกอบด้วยส่วนผสมของ
ซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทรายละเอียดซึง่ ผ่านตะแกรงเบอร์ 30 1 ส่วน ให้ละเลงมอร์ตา้ นี้ให้ทวพื ั ่ น้ ทีผ่ วิ
9.3 ส่วนผสมสําหรับใช้อุดให้ประกอบด้วยซีเมนต์ 1 ส่วน ต่อทรายทีใ่ ช้ผสมคอนกรีต 2 1/2 ส่วน โดยปริมาตรชืน้
และหลวม สําหรับคอนกรีตเปลือยภายนอกให้ผสมซีเมนต์ขาวเข้ากับซีเมนต์ธรรมดา เพื่อให้สว่ นผสมทีป่ ะ
ซ่อมมีสกี ลมกลืนกับสีของคอนกรีตข้างเคียง โดยใช้วธิ ที ดลองหาส่วนผสมเอาเอง
9.4 ให้จาํ กัดปริมาณของนํ้าให้พอดีเท่าทีจ่ าํ เป็ นในการยกย้ายและการปะซ่อมเท่านัน้
9.5 หลังจากทีน่ ้ําซึง่ ค้างบนผิวได้ระเหยออกจากพืน้ ทีท่ จ่ี ะปะซ่อมหมดแล้ว ให้ละเลงชัน้ ยึดหน่วงลงบนผิวนัน้ ให้
ทัว่ เมื่อชัน้ ยึดหน่วงนี้เริม่ เสียนํ้าให้ฉาบมอร์ตา้ ทีใ่ ช้ปะซ่อมทันที ให้อดั มอร์ตา้ ให้แน่นโดยทัวถึ่ งและปาดออก
ให้เนื้อนูนกว่าคอนกรีตโดยรอบเล็กน้อย และจะต้องทิง้ ไว้เฉยๆ อย่างน้อย 1 ชัวโมง ่ เพื่อให้เกิดการหดตัว
ขัน้ ต้นก่อนทีจ่ ะตกแต่งขัน้ สุดท้าย บริเวณทีป่ ะซ่อมแล้วให้รกั ษาให้ชน้ื อย่างน้อย 7 วัน สําหรับผิวคอนกรีต
เปลือยทีต่ อ้ งการรักษาลายไม้แบบ ห้ามให้เครื่องมือทีเ่ ป็ นโลหะฉาบเป็ นอันขาด
9.6 ในกรณีทร่ี พู รุนนัน้ กว้างมากหรือลึกจนมองเห็นเหล็ก และวิศวกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างลง
ความเห็นว่าอยูใ่ นวิสยั ทีจ่ ะซ่อมแซมได้ ก็ให้ปะซ่อมได้โดยใช้มอร์ตา้ ชนิดทีผ่ สมตัวยากันการหดตัวและผสม
ด้วยผงเหล็กเป็ นวัสดุแทนปูนทรายธรรมดา โดยให้ปฏิบตั ติ ามข้อแนะนําของผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
9.7 ในกรณีทโ่ี พรงใหญ่และลึกมากหรือเกิดความเสียหายใดๆ เช่น คอนกรีตมีกาํ ลังตํ่ากว่ากําหนด และวิศวกรผู้
ควบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง มีความเห็นว่าอาจทําให้เกิดอันตรายต่อผูใ้ ช้อาคารได้ ผูร้ บั จ้างจะต้อง
ดําเนินการแก้ไขข้อบกพร่องเหล่านัน้ ตามวิธที ว่ี ศิ วกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างได้เห็นชอบด้วยแล้ว
หรือหากวิศวกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเห็นว่าการชํารุดมากจนไม่อาจแก้ไขให้ดไี ด้ อาจสังให้ ่ ทบุ ทิง้
แล้วสร้างขึน้ ใหม่ โดยผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการนี้ทงั ้ สิน้
10. การบ่มและการป้องกัน
10.1 หลังจากได้เทคอนกรีตแล้วและอยู่ในระยะกําลังแข็งตัว จะต้องป้องกันคอนกรีตนัน้ จากอันตรายทีอ่ าจเกิดจาก
แสงแดด ลมแห้ง ฝน นํ้าไหล การเสียด และจากการบรรทุกนํ้าหนักเกินสมควร สําหรับคอนกรีตซึง่ ใช้
ปูนซีเมนต์ชนิดที่ 1 จะต้องรักษาให้ชน้ื ต่อเนื่องกันเป็ นเวลาอย่างน้อย 7 วัน โดยวิธคี ลุมด้วยกระสอบหรือ
ผ้าใบเปี ยก ขัง หรือพ่นนํ้า หรือโดยวิธที เ่ี หมาะสมอื่นๆ ตามทีว่ ศิ วกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 98 of 521

เห็นชอบ สําหรับผิวคอนกรีตในแนวตัง้ เช่น เสา ผนัง และด้านข้างของคาน ให้หมุ้ กระสอบหรือผ้าใบให้


เหลื่อมซ้อนกันและรักษาให้ชน้ื โดยให้สงิ่ ทีค่ ลุมนี้แนบติดกับคอนกรีต
10.2 ในกรณีทใ่ี ช้ปนู ซีเมนต์ชนิดให้กาํ ลังสูงเร็ว ระยะเวลาการบ่มชืน้ ให้อยู่กบั การวินจิ ฉัยของวิศวกรผูค้ วบคุมงาน
หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง
11. การทดสอบ
11.1 การทดสอบก้อนตัวอย่างทรงกระบอก สําหรับการทดสอบอาจนํามาจากทุกๆ รถ หรือตามแต่วศิ วกรผู้
ควบคุมงาน หรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะกําหนด ทุกวันจะต้องเก็บชิน้ ตัวอย่างไม่น้อยกว่า 6 ชิน้ สําหรับทดสอบ 7
วัน 3 ก้อน และ 28 วัน 3 ก้อน วิธเี ก็บ บ่ม และทดสอบชิน้ ตัวอย่างให้เป็ นไปตาม “มาตรฐานวิธกี ารทําและ
บ่มตัวอย่างคอนกรีตในสนาม” (ASTM C31) และ มาตรฐานวิธกี ารทดสอบกําลังอัดของตัวอย่างคอนกรีต
แท่งทรงกระบอก” (ASTM C39) ตามลําดับ
11.2 รายงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายงานผลการทดสอบกําลังอัดคอนกรีตรวม 3 ชุด สําหรับผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง 1 ชุด
และผูอ้ อกแบบ 1 ชุด เพื่อเก็บไว้เป็ นหลักฐาน รายงานจะต้องรวบรวมข้อมูลต่างๆ ดังต่อไปนี้
11.2.1 วันทีห่ ล่อ
11.2.2 วันทีท่ ดสอบ
11.2.3 ประเภทของคอนกรีต
11.2.4 ค่าการยุบตัว
11.2.5 ส่วนผสม
11.2.6 หน่วยนํ้าหนัก
11.2.7 กําลังอัด
(1) ณ จุดเริม่ ร้าว
(2) ณ จุดประลัย
11.3 การทดสอบแนว ระดับ ความลาด และความไม่สมํ่าเสมอของพืน้ ถนนคอนกรีตในบริเวณอาคาร เมื่อคอนกรีต
พืน้ ถนนแข็งตัวแล้ว จะต้องทําการตรวจสอบแนวระดับความลาดตลอดจนความไม่สมํ่าเสมอต่างๆ อีกครัง้
หนึ่ง หาก ณ จุดใดผิวถนนสูงกว่าบริเวณข้างเคียงเกิน 3 มิลลิเมตร จะต้องขัดออก แต่ถา้ สูงมากกว่านัน้ ผู้
รับจ้างจะต้องทุบพืน้ ช่วงนัน้ ออกแล้วหล่อใหม่โดยต้องออกค่าใช้จ่ายเองทัง้ หมด
11.4 การทดสอบความหนาของพืน้ คอนกรีตในบริเวณอาคาร ผูว้ า่ จ้างหรือผูแ้ ทนอาจกําหนดให้มกี ารทดสอบความ
หนาของพืน้ คอนกรีตโดยเจาะเอาแก่นไปตรวจตาม “มาตรฐานวิธกี ารทดสอบหาความหนาของคอนกรีตโดย
วิธเี จาะแก่นคอนกรีต” (ASTM C174) ก็ได้ หากปรากฏว่าความหนาเฉลีย่ น้อยกว่าทีก่ าํ หนดเกิน 3 มิลลิเมตร
ผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูต้ ดั สินว่าถนนนัน้ มีกาํ ลังพอจะรับนํ้าหนักบรรทุกตามทีค่ าํ นวณออกแบบไว้หรือไม่
หากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างลงความเห็นว่าพืน้ ถนนนัน้ ไม่แข็งแรงพอ ผูร้ บั จ้างจะต้องทุบออกแล้วเทคอนกรีตใหม่ โดย
จะเรียกเงินเพิม่ จากผูว้ ่าจ้างมิได้
12. การประเมินผลการทดสอบกําลังอัด
12.1 ค่าเฉลีย่ ของผลการทดสอบชิน้ ตัวอย่างสามชิน้ หรือมากกว่าซึง่ บ่มในห้องปฏิบตั กิ าร จะต้องไม่ต่ํากว่าค่าที่
กําหนด และจะต้องไม่มคี ่าใดตํ่ากว่าร้อยละ 80 ของค่ากําลังอัดทีก่ าํ หนด
12.2 หากกําลังอัดมีค่าตํ่ากว่าทีก่ าํ หนดก็อาจจําเป็ นต้องเจาะเอาแก่นคอนกรีตไปทําการทดสอบ
12.3 การทดสอบแก่นคอนกรีตจะต้องปฏิบตั ติ าม “มาตรฐานวิธกี ารเก็บชิน้ ตัวอย่างคอนกรีตและการทดสอบโดย
วิธกี ารเจาะแก่นและการเลื่อย” (ASTM C42) การทดสอบแก่นคอนกรีตต้องกระทําในสภาพผึง่ แห้งในอากาศ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 99 of 521

12.4 องค์อาคารหรือพืน้ ทีค่ อนกรีตส่วนใดทีว่ ศิ วกรพิจารณาเห็นว่าไม่แข็งแรงพอ ให้เจาะแก่นอย่างน้อยสองก้อน


จากแต่ละองค์อาคารหรือพืน้ ทีน่ นั ้ ๆ ตําแหน่งทีจ่ ะเจาะแก่นให้วศิ วกรผูค้ วบคุมงานหรือผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างเป็ นผู้
กําหนด
12.5 กําลังของแก่นทีไ่ ด้จากแต่ละองค์อาคารหรือพืน้ ทีจ่ ะต้องมีค่าเฉลีย่ สูงกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 ของกําลังที่
กําหนดจึงจะถือว่าใช้ได้
12.6 จะต้องอุดรูซง่ึ เจาะเอาแก่นออกมาตามวิธใี นข้อ 8
12.7 หากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่าคอนกรีตมีความแข็งแรงไม่พอ จะต้องทุบคอนกรีตนัน้ ทิง้ แล้วหล่อใหม่โดย
ผูร้ บั จ้างเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายทัง้ สิน้
12.8 ชิน้ ตัวอย่างทรงกระบอกคอนกรีตขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร อาจใช้ทรง
ลูกบาศก์ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร แทนได้ โดยให้เปรียบเทียบค่ากําลังอัดตามมาตรฐานสําหรับอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็กของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โดยทีก่ าํ ลังอัดประลัยของแท่งคอนกรีต
ทรงกระบอกจะมีค่าเท่ากับ 0.885 เท่าของแท่งคอนกรีตทรงลูกบาศก์ หรือประมาณ 13%
13. ข้อกําหนดอื่นๆ สําหรับโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก
13.1 การก่อสร้างฐานรากทีม่ รี ะดับลึกต่างกัน จะต้องทําการก่อสร้างฐานรากทีม่ รี ะดับลึกมากทีส่ ดุ ก่อนเสมอไป
ทัง้ นี้เพื่อเป็ นการป้องกันมิให้ฐานรากทีม่ รี ะดับตืน้ กว่าพังขณะทําฐานรากตัง้ อยู่ลกึ กว่า
13.2 ฐานรากทีร่ ะดับลึกต่างกว่ากันนัน้ จะต้องมีระดับลึกต่างกันมากไม่เกินข้อกําหนด หากรูปแบบและรายการ
ประกอบแบบกําหนดระดับต่างกันของฐานรากเกินข้อกําหนดต้องสอบถามวิศวกรผูอ้ อกแบบของผูว้ ่าจ้าง
เพื่อวินิจฉัยความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่งเสียก่อน จึงจะดําเนินการต่อไปได้

ข้อกําหนด
สําหรับฐานรากวางบนดิน (SOIL) b ไม่มากกว่า a/2
สําหรับฐานรากวางบนหิน (ROCK) b ไม่มากกว่า a

13.3 การก่อสร้างฐานรากบนพืน้ ทีเ่ อียงลาด ฐานรากตัวริมทีต่ ดิ กับพืน้ ทีเ่ อียงลาดนัน้ จะต้องมีระยะจากขอบนอกสุด


ส่วนบนของฐานถึงพืน้ ทีเ่ อียงลาดนัน้ (EDGE DISTANCE) เป็ นไปตามข้อกําหนด ทัง้ นี้เพื่อเป็ นการป้องกัน
การสึกกร่อนของผิวดินอันจะเป็นอันตรายแก่ฐานรากภายหลัง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 100 of 521

ข้อกําหนด
สําหรับฐานรากวางบนดิน (SOIL) a ไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร
สําหรับฐานรากวางบนหิน (ROCK) a ไม่น้อยกว่า 0.75 เมตร
สําหรับฐานรากวางบนดิน (SOIL) และหิน (ROCK) b ไม่น้อยกว่า 0.30 เมตร

หากรูปแบบและรายการประกอบแบบได้กาํ หนดระยะของขอบฐานรากดังกล่าวไว้เป็ นอย่างอื่นแล้วให้ถอื ปฏิบตั ติ าม


รูปแบบและรายการประกอบแบบทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ แต่จะต้องมีค่าไม่น้อยกว่าค่าทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ขา้ งต้น
13.4 ในกรณีเมื่อขุดดินเพื่อทําฐานรากแล้วไม่ได้ระดับความลึกตามรูปแบบหรือรายการประกอบแบบเนื่องจากขุด
ถึงชัน้
ลูกรังหรือชัน้ หินพืด ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ดิ งั นี้
(1) รีบแจ้งรายละเอียดให้ผวู้ ่าจ้างทราบทันที เพื่อตรวจสอบและวินิจฉัยว่าจะต้องปฏิบตั อิ ย่างไร คําวินิจฉัยดังกล่าวถือ
เป็ นเด็ดขาด ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด
(2) หากเป็ นชัน้ หินพืด ฐานรากจะต้องอยู่ในหินพืดนัน้ ลึกไม่น้อยกว่า 0.50 เมตร (วัดตรงทีต่ น้ื ทีส่ ดุ ) และเพื่อให้ทราบ
แน่นอนว่าเป็ นหินพืดจริงหรือไม่ ผูร้ บั จ้างจะต้องเจาะรูมขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 2.5 เซนติเมตร ลึกไม่
น้อยกว่า 2.00 เมตร ฐานรากหนึ่งไม่น้อยกว่า 2 รู เพื่อพิจารณาประกอบด้วย ในการนี้ผรู้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อก
ค่าใช้จ่ายเองและจะคิดเวลาเพิม่ ไม่ได้
13.5 ในกรณีทท่ี าํ การขุดดินจนถึงระดับก้นฐานรากตามทีร่ ปู แบบหรือรายการประกอบแบบได้กาํ หนดไว้แล้ว
ปรากฏว่าดินใต้ฐานรากนัน้ เป็ นดินถมหรือมีคุณภาพไม่ดพี อ ผูร้ บั จ้างจะต้องขุดดินให้ลกึ ลงไปอีกจนถึงชัน้ ดิน
แข็ง และเพื่อให้ทราบแน่นอนว่าพืน้ ดินชัน้ ดังกล่าวจะมีความสามารถในการรับนํ้าหนักบรรทุกได้ตามที่
รูปแบบหรือ รายการประกอบแบบกําหนดหรือไม่ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดสอบหาค่าความสามารถในการ
รับนํ้าหนักบรรทุก ของชัน้ ดินนัน้ ๆ
13.6 ในกรณีทม่ี ปี ญหาอุั ปสรรคในงานก่อสร้างฐานราก อันเนื่องมาจากการตอกเสาเข็มหรือกรณีอ่นื ๆ เช่น
ความคลาดเคลื่อนของรูปแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการออกแบบฐานรากให้ใหม่และจะต้องมีความมังคง ่
แข็งแรงตามเดิมโดยไม่ถอื ว่าเป็นการเปลีย่ นแปลงรายการ

จบหมวดที่ 19

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 101 of 521

หมวดที่ 20
งานพืน้ คอนกรีตสาเร็จรูป

1. ทัวไป

1.1 หากระบุในรูปแบบให้ใช้พน้ื สําเร็จรูปแบบตันหรือท้องเรียบ (PLANKS) จะต้องมีคุณภาพมาตรฐาน
อุตสาหกรรมแผ่นคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จสําหรับระบบพืน้ คอนกรีต (มอก.576-2546) หากระบุ
ในแบบให้ใช้พน้ื สําเร็จรูปแบบ HOLLOW CORE จะต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานอุตสาหกรรมชิน้ ส่วน
คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จสําหรับระบบพืน้ ประกอบ (มอก.828-2546) สามารถรับนํ้าหนักจรได้ไม่
น้อยกว่าตามทีร่ ะบุ ในรูปแบบ และเมื่อปูเสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องมีลกั ษณะท้องเรียบโดยสมํ่าเสมอ ไม่โก่ง
แตกต่างกันระหว่างแผ่นจนปรากฏเห็นชัดเจน
1.2 การเก็บกองแผ่นพืน้ สําเร็จรูป ควรใช้ไม้หมอนหนุนตรงจุดหูยกของแผ่นพืน้ สําเร็จรูป
1.3 กรณีรปู แบบกําหนดความยาวแผ่นพืน้ ทีไ่ ม่สอดคล้องกับมาตรฐาน มอก. ทีก่ าํ หนดไว้หรือไม่มผี ลิต
กําหนดให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอคานซอยกลาง เพื่อให้สามารถใช้ผลิตภัณฑ์แผ่นพืน้ ตามขนาดทีม่ ี มอก. รับรองได้
เท่านัน้ ซึง่ ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดขึน้ ให้ถอื เป็ นภาระค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างด้วยแล้ว
2. วัสดุ
2.1 แผ่นพืน้ สําเร็จรูปท้องเรียบ ขนาดและลักษณะ การรับนํ้าหนัก ต้องเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดในรูปแบบก่อสร้าง
2.2 แผ่นพืน้ สําเร็จรูปท้องเรียบทีม่ คี วามยาวพืน้ ตัง้ แต่ 3.00 เมตรขึน้ ไป ต้องมีแผ่นเหล็กเชื่อมข้าง (SHEAR
KEY)
2.3 คอนกรีตทับหน้า (TOPPING) หนา 50 มิลลิเมตร เสริมเหล็กตะแกรง ให้ยดึ ตามทีร่ ปู แบบกําหนด หากไม่
ระบุในรูปแบบ คอนกรีตทับหน้าให้ใช้อตั ราส่วนของ ปูนซีเมนต์ : ทราย : หิน เท่ากับ 1 : 2 : 4 และกําลังอัด
ของคอนกรีตไม่ต่ํากว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
2.4 ก่อนการเทคอนกรีตทับหน้าต้องได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานทุกครัง้
2.5 หลังจากเทคอนกรีตทับหน้าแล้วต้องบ่มคอนกรีตด้วยนํ้าติดต่อกันไม่น้อยกว่า 3 วัน
2.6 การถอดคํ้ายัน ถอดได้เมื่อคอนกรีตมีอายุครบ 7 วัน หรือตามทีว่ ศิ วกรผูอ้ อกแบบกําหนด
2.7 คานรับพืน้ สําเร็จรูปทีร่ ะดับหลังคานตํ่าเกินไป ไม่ควรใช้อฐิ ก่อเสริมปรับระดับ ควรปรับระดับด้วยปูนทราย
หรือเทคอนกรีตเสริมหลังคานโดยต้องเสริมเหล็กด้วย
3. การติดตัง้
3.1 การเรียงพืน้ สําเร็จรูปท้องเรียบบนคาน ทิศทางการวางต้องเป็ นไปตามรูปแบบ โดยให้สว่ นปลายวางบนคาน
อย่างน้อย 50 มิลลิเมตร หรือตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
3.2 การคํ้ายันแผ่นพืน้ ความยาวแผ่นพืน้ ขนาดไม่เกิน 1.00 เมตร ไม่ตอ้ งคํ้ายัน ความยาวแผ่นพืน้ ขนาด 1.00 –
3.00 เมตร คํ้ายัน 1 จุด ทีก่ ง่ึ กลาง ความยาวแผ่นพืน้ ขนาดตัง้ แต่ 3.00 เมตรขึน้ ไป คํ้ายัน 2 จุด ทีร่ ะยะ 1/3
ของความยาวพืน้ และสามารถใช้ค้าํ ยันในการปรับระดับแผ่นพืน้ ให้เสมอกัน โดยต้องคํ้ายันทัง้ พืน้ ชัน้ ล่าง
และชัน้ บน
3.3 กรณีทต่ี อ้ งมีการตัดแผ่นพืน้ ให้ใช้ไฟเบอร์ในการตัดเท่านัน้ ห้ามใช้วธิ สี กัด ทุบ โดยเด็ดขาด หากเกิดรอย
แตกร้าวขึน้ เนื่องจากการตัด ไม่อนุญาตให้ผรู้ บั จ้างนําแผ่นพืน้ นัน้ มาติดตัง้

จบหมวดที่ 20

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 102 of 521

หมวดที่ 21
งานพืน้ แผ่นเหล็กสาเร็จรูป (Structural decking)
1. ทัวไป

1.1 หากระบุในรูปแบบให้ใช้แผ่นเหล็กแบบพืน้ (Structural Decking) จะต้องมีคุณภาพมาตรฐาน AS 1397-G300-
Z215 หรือ ASTM A653 SQ GRADE 40 (257) G90
2. วัสดุ
2.1 แผ่นเหล็กแบบพืน้ สําหรับการหล่อคอนกรีตหรือใช้เป็ นพืน้ ประสมสําหรับพืน้ คอนกรีต ของอาคาร ตาม
บริเวณลอนของแผ่นเหล็กจะต้องมีปมุ่ นูนกระจายอยู่ทวไป ั ่ เพื่อทําหน้าทีย่ ดึ มวลคอนกรีตเข้ากับแผ่นเหล็ก
ผลิตจากเหล็กเคลือบสังกะสีคุณภาพชัน้ ผิวเคลือ Z275 (275 กรัม/ตร.ม.) กําลัง ณ จุดคลาก 300 MPa
2.2 ชนิดลอน 2 w หรือเทียบเท่าคุณลักษณะ (รายละเอียดอาจคลาดเคลื่อนได้)
ความกว้างต่อแผ่น = 914 มม.
ความสูงลอน = 51 มม.
ชนิดลอน 3 w หรือเทียบเท่าคุณลักษณะ (รายละเอียดอาจคลาดเคลื่อนได้)
ความกว้างต่อแผ่น = 914 มม.
ความสูงลอน = 76 มม.
2.3 อุปกรณ์กรรมวิธตี ามแบบมาตรฐานผูผ้ ลิต ผลิตภัณณฑ์ LYSAGHT W-DECK อัยธนาหรือเทียบเท่า
2.4 การติดตัง้
โดยการวางบนคานเหล็กรูปพรรณ โดยวางแผ่นเหล็กแบบพืน้ (Structucral Decking) 2 W หรือ 3 W บนคานเหล็ก
ระยะห่าง 2.50-3.00 ม. ยึดแผ่นโดย SHEAR STUD ขนาด 19x85.7 mm. ถึง 19x123.85 mm. ขึน้ อยู่กบั ความหนา
SLAB วางลวด WIRE MESH Ø 4 mm. @ 150 mm. # พร้อมเทคอนกรีตทีค่ วามหนารวมชิน้ แผ่น = 120 มม. และจบ
ขอบด้วยแผ่นปิ ด (EDGE FORM GALV ทีค่ วามหนา 1.2 mm.)
2.5 ตัวอย่างวัสดุ ทีเ่ หลือใช้คอื รุ่น 3W (หรือเทียบเท่าคุณลักษณะ)
2.5.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุ พร้อมรายการคํานวณวิศวกรรมให้ผวู้ ่าจ้างได้พจิ ารณาและอนุมตั ิ
ก่อนดําเนินการติดตัง้ โดยผ่านผูค้ วบคุมงานพิจารณาเบือ้ งต้น
2.5.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกันกับผูว้ ่าจ้างเพื่อกําหนดตําแหน่งพร้อม SHOP DRAWING
และตรวจสอบสถานทีท่ ุกแห่งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะมีการติดตัง้ ใสมบูรณ์เรียบร้อยก่อนจะมีการ
ติดตัง้
2.5.3 แผ่นเหล็กแบบพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคงแข็
่ งแรง รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้อ
ยึดแน่นแข็งแรงกับโครงสร้างอื่นๆ ได้ระยะขนาดทีถ่ ูกต้องตมมาตรฐานผูผ้ ลิต
2.5.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจความถูกต้องและความสะอาด หากเกิดความเสียหายเช่นแตก บิด ยุบแอ่นตัว
หรือรูรวั ่ อันจะมีผลกับความแข็งแรงและเสียหายดังกล่าวจะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่กอ่ น
ขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
2.5.5 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ หากอุปกรณ์ใดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเกิดชํารุด หรือไม่ครบ
ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไขให้อยูใ่ นสภาพดี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ/หรือผู้
ควบคุมงาน โดยไม่คดิ มูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้
จบหมวดที่ 21

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 103 of 521

หมวดที่ 22
งานผนังคอนกรีตสาเร็จรูป

1. งานผนังคอนกรีตสําเร็จรูป (Precast Concrete) กรณีผอู้ อกแบบอนุญาตให้ใช้ทดแทน


กรณีผรู้ บั จ้างประสงค์ทจ่ี ะเปลีย่ นแปลงระบบการก่อสร้างจากรูปแบบเป็ นระบบหล่อสําเร็จและประกอบติดตัง้ เพื่อสะดวกใน
การทํางานให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการขออนุมตั ติ ่อผูอ้ อกแบบและกรรมการตรวจการจ้างก่อนดําเนินการตามรายละเอียดดังนี้
1.1 ผูร้ บั เหมาและผูผ้ ลิตคอนกรีตหล่อสําเร็จ จะต้องรับผิดชอบในการออกแบบและจะต้องเสนอประเภทของวัสดุ
วิธกี ารผลิต วิธกี ารติดตัง้ และการเชื่อมต่อจนแน่ใจว่านํ้าไม่สามารถรัวซึ ่ มได้และมันคงแข็
่ งแรง
1.2 ในการขออนุมตั ทิ ดแทนจะต้องเสนอขัน้ ตอนการผลิต การก่อสร้าง และรูปทรงของแผ่นคอนกรีตสําเร็จรูป
รวมทัง้ แบบแสดง PANEL LAYOUT โดยให้เสนอไปยังผูเ้ กีย่ วข้องเพื่ออนุมตั กิ ่อนเริม่ งานและได้รบั การ
อนุมตั ิ
1.3 ความหนาของผนัง การเสริมเหล็กและระบบโครงสร้างทีถ่ ูกจํากัด ต้องการเสนอรายการคํานวณโครงสร้าง
ตามความเป็ นจริงเพื่อขออนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
1.4 ต้องจัดเตรียมเครื่องมือทีเ่ หมาะสมในการป้องกันผนังจากการถูกทําลายหรือตกในการยกขึน้ ติดตัง้
1.5 ต้องเสนอรายการคํานวณเกีย่ วกับการรับแรงลม การแอ่นตัวของผนัง การยึดติดกับโครงสร้าง เพื่อขออนุมตั ิ
โดยต้องเป็ นไปตามกฎหมายและเทศบัญญัตเิ กีย่ วกับการควบคุมอาคาร
1.6 ต้องจัดเตรียมรอยต่อสําหรับการขยายตัว รอยต่อทัวไปจะมี ่ ความกว้างไม่เกิน 25 มม.
1.7 โรงงานผูผ้ ลิตและกรรมวิธกี ารผลิตจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากสถาปนิกและวิศวกรก่อนการทํางาน การ
เปลีย่ นแปลงวิธกี ารหรือโรงงานผูผ้ ลิตนัน้ จะต้องได้รบั การอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2. ผนังคอนกรีตสําเร็จรูปเปลือยผิว
2.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหา วัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการติดตัง้ แผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูปเปลือยผิว ซึง่
หมายรวมถึงทัง้ การกําหนดในแบบรูปและการขอเทียบเท่าใช้งาน
2.2 วัสดุ
แผ่น Precast เปลือยผิว โดยใช้แบบฟอร์มสําเร็จรูป Texture ตามตัวอย่างทีอ่ นุมตั โิ ดยสถาปนิก
2.3 Precast Concrete วัสดุตวั อย่างทีข่ ออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานแล้ว จะต้องเก็บไว้ทห่ี น่วยงานตลอดเวลาเพื่อ
ใช้เป็ นตัวอย่างอ้างอิง
2.4 กรรมวิธกี ารติดตัง้
2.4.1 Texture ของแผ่น Precast Concrete ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียน Shop Drawingแสดงชนิดของ Texture
ทุกแบบให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั แิ ผ่น Precast Concrete แต่ละแผ่นจะต้องได้ระนาบเดียวกันและเว้น
ร่องเท่ากัน ตามแบบ Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ พร้อมยาแนวรอยต่อด้านวัสดุกนั นํ้ารัวซึ
่ มและ
การขยายตัวชนิด Non Staining
2.4.2 การติดตัง้ แผ่น Precast Concrete เข้ากับตัวอาคาร ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียนShop drawing แสดงวิธกี าร
ติดตัง้ แผ่น Precast Concrete เข้ากับตัวอาคาร และเสนอรายการคํานวณให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ใิ น
การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องประสานงานกับงานในส่วนอื่นๆ เช่น งานโครงสร้าง งานระบบ Curtain
Wall
2.5 การทําความสะอาด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 104 of 521

เมื่อทําการติดตัง้ เข้ากับตัวอาคารแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดผิวหน้าของแผ่นผนังสําเร็จรูปให้คง


สภาพเรียบร้อยและมีวสั ดุสาํ หรับปกคลุมป้องกันผิวผนังตลอดเวลาจนกว่าจะรับมอบ
3. ผนังคอนกรีตสําเร็จรูปหินแกรนิต
3.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการบุและติดตัง้ แผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูปบุ
หินแกรนิต ซึง่ หมายรวมถึงทัง้ การกําหนดในแบบรูปและการขอเทียบเท่าใช้งาน
3.2 วัสดุ
ให้ใช้หนิ แกรนิตขนาด สี และผิวหน้า ตามระบุในแบบและรายการ และได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน บุบน
แผ่น Precast Concrete ให้เรียบร้อยก่อนทีจ่ ะยกขึน้ ติดตัง้ เข้ากับตัวอาคารโดยผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอ Shop
Drawing แสดงวิธกี ารติดตัง้ ทีม่ นคง ั ่ แข็งแรง ให้ผอู้ อกแบบพิจารณาอนุมตั กิ ่อน
3.3 ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่ง Shop Drawing แสดงวิธกี ารปูและรายละเอียดการเข้ามุมหินแกรนิตบนแผ่น Precast
Concrete วัสดุตวั อย่างหินแกรนิตทีข่ ออนุมตั แิ ล้ว จะต้องเก็บไว้ทห่ี น่วยงานตลอดเวลาเพื่อใช้เป็ นตัวอย่าง
อ้างอิง
3.4 กรรมวิธกี ารติดตัง้
3.4.1 การปูหนิ แกรนิตลงบนแผ่น Precast Concrete ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียนShop Drawing แสดงการปู
หินแกรนิตบนแผ่น Precast Concrete ทุกแบบให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั วิ ธิ กี ารบุหนิ แกรนิต จะต้องมี
วัสดุคนระหว่
ั่ างแผ่น Precast Concrete และหินแกรนิตเพื่อป้องกันการยืดตัวทีไ่ ม่เท่ากันของแผ่น
Precast Concrete และหินแกรนิตหินแกรนิตผนังทีบ่ ุลงบนแผ่น Precast Concrete ทุกแผ่นสีจะต้อง
เท่ากันหากสีของหินผิดเพีย้ นจากสีของหินตัวอย่าง ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานและขออนุมตั ิ
เป็ นกรณีไปหากผูร้ บั จ้างละเลยผลเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบทัง้ หมดแผ่น Precast
Concrete ทีบ่ ุหนิ แกรนิตแล้ว จะต้องได้ระนาบเดียวกันและเว้นร่องรอยต่อแผ่น Precast Concrete
ตามแบบ Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ พร้อมยาแนวรอยต่อด้วยวัสดุกนั นํ้ารัวซึ ่ มและการขยายตัว
ชนิด Non Staining
3.4.2 การติดตัง้ แผ่น Precast Concrete ทีบ่ ุหนิ แกรนิตแล้วเข้ากับตัวอาคาร ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียน Shop
Drawing แสดงวิธกี ารติดตัง้ แผ่น Precast Concrete เข้ากับตัวอาคารให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ใิ นการ
ติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องประสานงานกับงานในส่วนอื่นๆ เช่น งานโครงสร้าง งานระบบ Curtain Wall
เพื่อให้การทํางานเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
3.4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดสอบ การยึดติดของหินแกรนิตกับผนังคอนกรีตสําเร็จรูปด้วยวิธกี ารดึงและ
ถ่วงนํ้าหนัก โดยทําการทดสอบในสถานทีก่ ่อสร้างจริง
3.5 การทําความสะอาด
เมื่อทําการติดตัง้ เข้ากับตัวอาคารแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องขัดผิวตกแต่งและทําความสะอาดผิวหน้าของ
หินแกรนิตให้คงสภาพเงามัน และมีวสั ดุสาํ หรับปกคลุมป้องกันผิวหน้าของหินแกรนิตตลอดเวลานานจนกว่า
จะรับมอบงาน
3.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบ ความบกพร่องของวัสดุแผ่นทีเ่ กิดจากการติดตัง้ หรือขนส่งและทําการเปลีย่ นให้
ใหม่โดยไม่มกี ารเรียกร้องค่าตอบแทนใดๆ
4. ผนังคอนกรีตสําเร็จรูปบุกระเบือ้ ง
4.1 ขอบเขตของงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 105 of 521

ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการบุและติดตัง้ แผ่นผนังคอนกรีตสําเร็จรูปบุ


กระเบือ้ ง ซึง่ หมายรวมถึงทัง้ การกําหนดในแบบรูปและการขอเทียบเท่าใช้งาน
4.2 วัสดุ
ให้ใช้กระเบือ้ งเคลือบ ขนาด และสีตามแบบหรือได้รบั อนุมตั จิ ากผูอ้ อกแบบโดยให้บุกระเบือ้ งพร้อมหล่อแผ่น
Precast Concrete ให้เรียบร้อยจากโรงงานก่อนทีจ่ ะยกขึน้ ติดตัง้ เข้ากับตัวอาคาร
4.3 ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่ง Shop Drawing แสดงวิธกี ารปู และรายละเอียดการเข้ามุมกระเบือ้ งบนแผ่น Precast
Concrete วัสดุตวั อย่างทีข่ ออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานแล้ว จะต้องเก็บไว้ทห่ี น่วยงานตลอดเวลาเพื่อใช้เป็ น
ตัวอย่างอ้างอิง
4.4 กรรมวิธกี ารติดตัง้
4.4.1 การปูกระเบือ้ งลงบนแผ่น Precast Concrete ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียนShop Drawing แสดงรายการปู
กระเบือ้ งบนแผ่น Precast Concrete ทุกแบบให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั วิ ธิ กี ารปูกระเบือ้ ง จะต้องป้องกัน
คราบนํ้าปูนทีท่ าํ ให้ผวิ กระเบือ้ งสกปรกหรือเป็ นรอยด่างแผ่น Precast Concrete แต่ละแผ่นเมื่อปู
กระเบือ้ งแล้วจะต้องได้ระนาบเดียวกันและเว้นร่องรอยต่อแผ่น Precast Concrete ตามแบบ Shop
Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั พิ ร้อมยาแนวรอยต่อด้านวัสดุกนั นํ้ารัวซึ
่ มและการขยายตัวชนิด Non Staining
4.4.2 การติดตัง้ แผ่น Precast Concrete ทีบ่ ุกระเบือ้ งแล้วเข้ากับตัวอาคาร ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียน Shop
Drawing แสดงวิธกี ารติดตัง้ แผ่น Precast Concrete เข้ากับตัวอาคาร ให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ใิ นการ
ติดตัง้ ผูร้ บั จ้าง จะต้องประสานงานกับงานในส่วนอื่นๆ เช่น งานโครงสร้าง ระบบCurtain Wall เพื่อให้
การทํางานเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย
4.4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดสอบ การยึดติดของกระเบือ้ งกับผนังคอนกรีตสําเร็จรูปด้วยวิธกี ารดึงและ
ถ่วงนํ้าหนัก โดยทําการทดสอบในสถานทีก่ ่อสร้างจริง
4.5 การทําความสะอาด
เมื่อทําการติดตัง้ เข้ากับตัวอาคารแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดผิวหน้าของแผ่นผนังสําเร็จรูปบุ
กระเบือ้ ง ให้คงสภาพเรียบร้อย และมีวสั ดุสาํ หรับปกคลุมป้องกันผิวหน้าของกระเบือ้ งตลอดเวลาจนกว่าจะ
รับมอบงาน

จบหมวดที่ 22

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 106 of 521

หมวดที่ 23
งานระบบ POST TENSIONED

1. การขออนุมตั แิ ละดําเนินการ
ระบบ POST TENSIONED ทีก่ าํ หนดไว้ในรูปแบบ ให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอ SHOP DRAWING ต่อผูอ้ อกแบบก่อน
ดําเนินการ ซึง่ ต้องมีขอ้ มูลตามรูปแบบกําหนด เช่น ลวดดึง นังร้ ่ าน ค่าการออกแบบ กําลังคอนกรีตเหล็กเสริม โดยนําเสนอ
ล่วงหน้าก่อนดําเนินการอย่างน้อย 30 วัน
2. รายการประกอบแบบก่อสร้างระบบ POST TENSIONED
2.1 สิง่ ใดทีป่ รากฏในรูปแบบและรายการประกอบแบบ หรือในตารางเสนอราคา หากมีขอ้ ขัดแย้งกัน หรือผูร้ บั

จ้างพบว่าจะเป็ นปญหาในการก่ อสร้างให้ผรู้ บั จ้างปรึกษาและขอความเห็นต่อผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้าง และเมื่อได้รบั
อนุมตั แิ ล้วจึงจะดําเนินการก่อสร้างต่อไปได้
2.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบควบคุมงานก่อสร้างจนแล้วเสร็จ โดยจะให้มผี แู้ ทนผูร้ บั จ้างควบคุมงานแทนก็ได้
ซึง่ จะต้องแจ้งให้ผวู้ ่าจ้างทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร คําสัง่ คําแนะนําต่างๆ ของผูว้ ่าจ้างซึง่ แจ้งแก่ผแู้ ทนผู้
รับจ้าง ถือว่าได้แจ้งผูร้ บั จ้างด้วย และผูว้ ่าจ้างคงไว้ซง่ึ สิทธิในการเปลี
์ ย่ นตัวแทนผูร้ บั จ้างได้ดว้ ย
2.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มกี ารป้องกันอุบตั เิ หตุ อันตราย และมิให้เกิดความเสียหายใดๆ ต่อชีวติ และทรัพย์สนิ ของ
บุคคลภายนอก บุคคลในบังคับของผูร้ บั จ้าง รวมทัง้ เจ้าหน้าทีข่ องผูว้ ่าจ้าง เช่น การติดตัง้ โครงสร้างชัวคราว่
รัว้ ชัวคราว
่ ให้มปี ้ ายเตือน หรือมีสญั ญาณเตือนภัย ในระหว่างการทํางานกลางคืน หรือขณะฝนตกหนัก หรือ
อื่นๆ
2.4 ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแผนการดําเนินงาน เพื่อรับความเห็นชอบจากผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างก่อนลงมือทํางาน
2.5 สิง่ ใดทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ในรูปแบบและรายการประกอบแบบ แต่ในทางปฏิบตั งิ านช่างไม่อาจระบุได้ครบถ้วน เช่น
การติดตัง้ รูปร่างลักษณะ และสิง่ ปลีกย่อยต่างๆ ให้ผรู้ บั จ้างจัดทํารูปแบบทีใ่ ช้สร้าง (SHOP DRAWING)
เพื่อรับความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบและผูแ้ ทนผูว้ ่าจ้างก่อนการดําเนินงานนัน้ ๆ และให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแบบ
สร้างจริง (ASBUILT DRAWING) เมื่อดําเนินการแล้วเสร็จ โดยต้องมีความละเอียดถูกต้องมากทีส่ ดุ และให้
ส่งมอบผูว้ ่าจ้างก่อนงวดสุดท้าย โดยถือเป็ นสาระสําคัญในงวด และได้รบั การตรวจสอบจากผูค้ วบคุมงาน
ก่อนจึงจะส่งมอบงานได้
2.6 ค่าใช้จ่ายในการเตรียมการดําเนินงานในเรื่องต่างๆ การประสานงานด้านสาธารณูปโภคกับหน่วยงานที่
เกีย่ วข้อง ตลอดจนการทดสอบวัสดุ งานไม้แบบ งาน TABLE FORM เป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
2.7 การขอแก้ไข เปลีย่ นแปลงงานก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องขออนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างและผูอ้ อกแบบเป็ นลายลักษณ์
อักษร โดยระบุรายละเอียดตลอดจนราคา และเวลาดําเนินการด้วย เมื่อได้รบั อนุมตั แิ ล้วจึงดําเนินการได้
2.8 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและส่งตัวอย่างวัสดุก่อสร้าง สิง่ ของต่างๆ รวมทัง้ เอกสารแนะนําสินค้าของวัสดุทจ่ี ะใช้
ให้แก่ผแู้ ทนผูว้ ่าจ้าง เพื่อพิจารณาและอนุมตั ใิ ห้ใช้ก่อนกําหนดการใช้งานนัน้ ๆ ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการ
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนการทํางาน
2.9 ผูร้ บั จ้างต้องนําส่งรายงานตามทีก่ าํ หนดไว้ในรายการประกอบแบบนี้ทุกประการ
2.10 ให้ผรู้ บั จ้างแต่งตัง้ วิศวกรควบคุมงานด้านระบบ POST TENSIONED ควบคุมระบบนังร้ ่ าน และความมันคง

แข็งแรง ประสบการณ์ไม่น้อยกว่า 5 ปี เป็ นผูร้ บั ผิดชอบด้านการควบคุมงานเสนอต่อผูว้ ่าจ้างก่อนการ
ดําเนินการ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 107 of 521

2.11 ให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอคอนกรีตทีใ่ ช้ STRENGTH ทีใ่ ช้ และรายการ MIXED DESIGN ตลอดจนระยะเวลาการ


บ่มคอนกรีต แผนงาน ระยะเวลาการดึงลวดแต่ละชัน้ นําส่งผูค้ วบคุมงานและผูอ้ อกแบบทราบและอนุมตั กิ ่อน
ดําเนินการ
2.12 การตัง้ นังร้่ านสําหรับพืน้ ทีก่ ารดึงลวดให้อยู่ในรายการก่อสร้างนี้แล้ว
2.13 การเจาะช่อง (BLOCK OUT) ต่างๆ ห้ามทําโดยพลการ ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและ
ผูอ้ อกแบบก่อนจึงจะดําเนินการได้ หากรูปแบบสถาปตั ยกรรมขัดแย้งกับงานระบบพืน้ ทีเ่ กีย่ วข้องกับความ
มันคงแข็
่ งแรง จะต้องนําเสนอผูอ้ อกแบบพิจารณาก่อน และอนุมตั ิ จึงจะดําเนินการได้
2.14 ความเสียหายจากการทํางานทีผ่ ดิ รูปแบบก่อสร้างทีอ่ าจเกิดขึน้ เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
3. ข้อกําหนดงานวิศวกรรม
3.1 คอนกรีตมีกาํ ลังอัดประลัยของก้อนตัวอย่างทรงกระบอก (CYLINDER) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 15
เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร เมื่ออายุ 28 วัน ไม่น้อยกว่า 320 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร( 380 กิโลกรัม
ต่อตารางเซนติเมตร กรณีทรงลูกบาศก์) และ/หรือไม่น้อยกว่ากําลังอัดประลัยทีว่ ศิ วกรผูอ้ อกแบบได้กาํ หนด
ไว้ โดยจะเริม่ ดึงลวดเมื่อคอนกรีตมีกาํ ลังอัดประลัยไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อ
ทดสอบกําลังอัดของก้อนตัวอย่างทรงกระบอก
3.2 สมอยึด (ANCHORAGE) ด้าน STRESSING END สําหรับยึด STRAND ตามระบบ CPAC และด้าน
DEAD END จะใช้ชนิดหัวตะกร้อ (ONION DEAD END)
3.3 ท่อ SHEATH เป็ นชนิด GALVANIZED CORRUGATED SHEATH
3.4 ลวด STRAND ขนาด Ø 12.7 มิลลิเมตร ตามมาตรฐาน ASTM A416-90A Grade 270 K (LOW
RELAXATION) ชัน้ คุณภาพ 1860 และได้รบั การรับรองคุณภาพ ISO 9002
3.5 STRESSING SERVICE ได้แก่ การจัดหา ขนส่ง และติดตัง้ SUPPORTING CHAIRS จัดวางท่อ SHEATH
และติดตัง้ ANCHORAGE ตามแบบ SHOP DRAWING พร้อมทัง้ การร้อยลวดเข้าไปในท่อ SHEATH การ
ดึงลวดและการอัดนํ้าปูน โดยรวมวัสดุอดั นํ้าปูนด้วย
4. รายละเอียดการทํางาน และการควบคุมงานระบบ POST TENSIONED
4.1 การกองเก็บ และการขนย้ายวัสดุอุปกรณ์
4.1.1 ลวดอัดแรง (STRAND)
(1) ลวดอัดแรงจะต้องได้รบั การตัดตามความยาวทีต่ อ้ งการตาม SHOP DRAWING พร้อมทํา
ONION HEAD (ถ้ามี) แล้วม้วนเป็ นขด (นํ้าหนักประมาณ 100 กิโลกรัมต่อขด) จากโรงงาน
POST TENSIONED ของทางผูผ้ ลิต และได้รบั การตรวจสอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน
(2) การขนส่งขดลวดจากโรงงานไปยังหน่วยงานก่อสร้างก่อนการใช้งานไม่เกิน 2-5 วัน และนํามา
จัดเก็บในสถานทีม่ ดิ ชิด ปลอดภัยจากสภาพดินฟ้าอากาศ
(3) ในการขนขึน้ -ลงจากรถบรรทุก จะต้องกระทําด้วยความระมัดระวัง เพื่อไม่ให้ลวดแตกออก
จากขด หรือเกิดการชํารุดทีผ่ วิ
4.1.2 ท่อ (SHEATH)
(1) กําหนดให้ใช้ท่อแบน (OVAL CORRUGATED SHEATH) สําหรับงานพืน้ และคานทัวไปที ่ ม่ ี
ความลึกไม่เกิน 1.0 เมตร โดยใช้ร่วมกับสมอยึด (ANCHORAGE) หรือตาม
มาตรฐานผูท้ าํ ระบบ POST TENSIONED
(2) ผลิตจากโรงงานของทางบริษทั ฯ ความยาวท่อนละประมาณ 20 เมตร ม้วนเป็ นขดขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 1.5 เมตร หรือตามมาตรฐานผูท้ าํ ระบบ POST TENSIONED

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 108 of 521

(3) การขนส่งจากโรงงาน POST TENSIONED ของบริษทั ไปยังหน่วยงานก่อสร้างก่อนการใช้


งานไม่เกิน 2-5 วัน
(4) การขนลงจากรถบรรทุกไปกองเก็บบนชัน้ ทํางานจะต้องกระทําด้วยความระมัดระวังไม่ให้เกิด
การชํารุดหักงอ หรือถูกกระแทกเกิดรูรวที ั ่ ผ่ วิ โดยเด็ดขาด และต้องได้รบั การตรวจสอบ และใบ
รายงานผลการตรวจสอบจากผูค้ วบคุมงานก่อนจึงจะนํามาใช้งานได้
4.1.3 วัสดุอ่นื ๆ และเครื่องมือ – อุปกรณ์
ในการขนย้ายวัสดุ เครื่องมือ – อุปกรณ์ทุกชนิด จะต้องกระทําด้วยความระมัดระวัง และนําไปเก็บในทีท่ ม่ี กี ารระบาย
อากาศได้ดี ผูค้ วบคุมงานของผูร้ บั จ้างต้องทําหน้าทีด่ แู ลหน้างานก่อสร้าง และเป็ นผูบ้ นั ทึกรายละเอียดวัสดุทร่ี บั เข้า และที่
นําไปใช้งาน สําหรับวัสดุทช่ี าํ รุดเสียหายหรือไม่ได้มาตรฐานจะได้รบั การบันทึกและกองเก็บแยกออกจากกองวัสดุดี
4.1.4 การป้องกันความเสียหายจากสภาพแวดล้อม
วัสดุและเครื่องมือ – อุปกรณ์ จะต้องวางบนหมอนไม้ หรือเหล็ก ห้ามวางสัมผัสกับพืน้ ดินโดยตรง
(1) การกองเก็บในห้องเก็บของ ห้องทีใ่ ช้เก็บต้องมิดชิด และมีการระบายอากาศได้ดี (เพื่อไม่ให้
เกิดเป็ นหยดนํ้า)
(2) การกองเก็บในทีโ่ ล่ง ลวดอัดแรง และเครื่องมือ–อุปกรณ์ ทีก่ องเก็บในทีโ่ ล่งต้องวางบนโครง
เหล็กหรือโครงไม้ทแ่ี ข็งแรง เพียงพอทีจ่ ะต้านทานแรงลมทีอ่ าจจะเกิดขึน้ และระวังไม่ให้
สัมผัสกับพืน้ ดิน
4.2 การติดตัง้ วัสดุ และการวางลวดอัดแรง (INSTALLATION OF POST TENSION MATERIALS)
4.2.1 การติดตัง้ สมอยึด (ANCHORAGE) และ GROUT VENT
(1) ทําการติดตัง้ สมอยึดด้านทีใ่ ช้ดงึ ลวด (STRESSING ANCHORAGE) ติดกับแนวข้างตาม
ตําแหน่งทีร่ ะบุใน SHOP DRAWING และใส่ท่อ GROUT VENT ตามรูปแบบทีก่ าํ หนดใน
รูปแบบก่อสร้างมาตรฐาน
(2) ใส่ท่อ GROUT VENT บริเวณ STRESSING END, DEAD END และทีจ่ ุดสูงสุดของ
TENDON (ทุกระยะประมาณ 30 เมตร) หลังจากวางท่อ SHEATH เรียบร้อยแล้ว โดย
GROUT VENT ทีใ่ ช้เป็ นท่อ HDPE ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 16 มิลลิเมตร
4.2.2 การวางลวดอัดแรง (TENDON PLACING)
หลังจากทีท่ าํ การติดตัง้ แบบล่าง แบบข้างของพืน้ -คาน เหล็กเสริมล่าง และเหล็กปลอกเรียบร้อยแล้วจึงเริม่ ทํางาน
วางลวดอัดแรงตามขัน้ ตอนดังนี้
(1) กําหนดตําแหน่งของ SUPPORTING CHAIR ทีร่ องรับ TENDON ตามแบบ SHOP DRAWING ทีไ่ ด้รบั การ
อนุมตั ิ
(2) ตรวจสอบความเรียบร้อยของท่อ SHEATH
(3) คลีล่ วดออกจากขด
(4) ร้อยลวดเข้าท่อ SHEATH และสมอยึดด้านทีใ่ ช้ดงึ (STRESSING ANCHORAGE)
(5) ผูกยึดปลายลวดอัดแรงด้านทีเ่ ป็น ONION END ติดกับ SPACER PLATE ด้วยลวดผูกเหล็ก
(6) พันเทปบริเวณรอยต่อ (COUPLE) ของท่อกับท่อและรอยต่อระหว่างท่อกับสมอยึด เพื่อป้องกันนํ้าปูนรัว่
(7) ผูกยึดท่อ SHEATH ติดกับ SUPPORTING CHAIR และผูกยึด SUPPORTING CHAIR ติดกับเหล็กเสริม
ล่าง หรือแบบพืน้ ในกรณีทว่ี างหลบช่องเปิ ด TENDON สามารถวางโค้งให้รศั มีไม่น้อยกว่า 12 เมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 109 of 521

(8) ทําความสะอาดฝุน่ ละอองบริเวณผิว และปลายท่อ ตรวจสอบผิว ตะเข็บ ลอน หากพบบริเวณทีช่ าํ รุดเสียหาย


จะทําการซ่อมแซมโดยการใช้เทปพัน ทัง้ นี้จะหลีกเลีย่ งการต่อท่อบริเวณตําแหน่งทีท่ ่อวางโค้ง (CURVE
ZONE)
(9) ตรวจสอบความเรียบร้อยของ TENDON, ANCHORAGE และ GROUT VENT อีกครัง้ ก่อนเทคอนกรีต
(10) การเทคอนกรีตให้เทคอนกรีตให้แล้วเสร็จภายในครัง้ เดียว
(11) ค่าความคลาดเคลื่อนในการวาง TENDON
แนวดิง่ สําหรับพืน้ ทีม่ คี วามลึกไม่เกิน 0.20 เมตร ไม่เกิน 4 มิลลิเมตร
สําหรับพืน้ -คาน ทีม่ คี วามลึกเกินกว่า 0.20 เมตร ไม่เกิน 6 มิลลิเมตร
แนวราบ ในทิศทางทีต่ งั ้ ฉากกับแนว TENDON ไม่เกิน 20 มิลลิเมตร
4.2.3 การเตรียมงานดึงลวด
(1) การใส่ ANCHORAGE BLOCK ใส่ ANCHOR BLOCK ในวันทีท่ าํ การดึงลวด ทัง้ นี้ ANCHOR BLOCK ทีส่ ง่
มายังหน้างานก่อนสร้างจะต้องเคลือบด้วยนํ้ามันหรือวัสดุป้องกันการเกิดสนิม เพื่อช่วยให้ลมิ่ จับลวดได้ดขี น้ึ
นอกจากนี้ยงั ต้องระมัดระวังไม่ให้เปื้ อนสิง่ สกปรก เช่น ฝุน่ ดิน และโคลน เป็ นต้น
(2) วิธกี ารใส่ ANCHOR BLOCK
- ตรวจสอบความยาวของปลายลวด ถ้ามีบางเส้นสัน้ กว่าต้องดึงออกมาให้มคี วามยาวใกล้เคียงกัน
(เฉพาะลวดทีม่ กี ารดึงสองด้าน)
- ทําความสะอาดปลายลวดเพื่อไม่ให้เปื้ อนสิง่ สกปรก เช่น เศษคอนกรีต นอกจากนี้ยงั ต้องทําความ
สะอาดบริเวณ ANCHOR GUIDE ไม่ให้มนี ้ําปูนเกาะติดอยูท่ ด่ี า้ นใน และด้านหน้าทีส่ มั ผัสกับ
ANCHOR BLOCK
- สวม ANCHOR BLOCK เข้าไป
(3) สวมใส่ลมิ่ เข้าไปใน ANCHOR BLOCK การใส่ลมิ่ จะทําก่อนการดึงลวด โดยมีวธิ กี ารดังนี้
- ดัน ANCHOR BLOCK ติดกับ ANCHOR GUIDE
- ใส่ลมิ่ (โดยใช้มอื ) เข้าไปในรู ANCHOR BLOCK
- เคาะลิม่ เบาๆ โดยใช้คอ้ น
- ตรวจสอบพืน้ ทีด่ า้ นหลัง ANCHORAGE ว่าเพียงพอทีจ่ ะให้เครือ่ งดึงทํางานได้หรือไม่
4.3 การดึงลวด (STRESSING)
4.3.1 เนื่องจากแรงดึงในลวดมีความสําคัญต่อความแข็งแรงของโครงสร้างเป็ นอย่างยิง่ อีกทัง้ แรงขณะทํา
การดึงสูงมาก ดังนัน้ ในระหว่างการทํางานจะต้องดูแลอย่างใกล้ชดิ และเข้มงวดในเรื่องความ
ปลอดภัย (อันตรายอาจเกิดจากการทีข่ ดลวด หรือคอนกรีตแตกระเบิด)
4.3.2 การดึงลวดจะกระทําเมื่อกําลังอัดของคอนกรีตสูงถึงค่าทีต่ อ้ งการ (240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
สําหรับก้อนตัวอย่างทรงกระบอก) และได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรผูค้ วบคุมงาน และผูอ้ อกแบบก่อนจึงจะ
ทําการดึงลวดได้
4.3.3 การใช้ และการบํารุงรักษาเครื่องมือดึงลวด
(1) ตรวจสอบค่ากําลังอัดคอนกรีตให้ได้ตามรูปแบบก่อนจึงจะสามารถดึงลวดได้
(2) เครื่องมือดึงลวดทุกเครื่องจะได้รบั การ CALIBRATE จากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ทุกๆ 6 เดือน
และทําการตรวจสอบบํารุงรักษาอย่างสมํ่าเสมอ โดยให้ผรู้ บั จ้างนําส่งผล CALIBRATE ต่อผู้
ควบคุมงาน
(3) ข้อต่อสายนํ้ามันไฮโดรลิคจะได้รบั การทําความสะอาดก่อนทีจ่ ะสวมปลายเข้าหากัน (เนื่องจาก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 110 of 521

อาจจะมีฝนุ่ ละออง ทราย อยู่ทป่ี ลายและเกลียวข้อต่อ)


(4) เมื่อสวมปลายสายนํ้ามันเข้ากับเครื่องดึง (JACK) และ PUMP แล้วต้องขันเกลียวให้แน่น และ
ระหว่างการใช้งาน (ซึง่ มีแรงดันอยู่ภายในสาย) ต้องปล่อยให้สายเคลื่อนทีอ่ สิ ระ และไม่หกั งอ
(5) ลิม่ จับลวด (ลิม่ ของเครื่องดึง) จะได้รบั การหล่อลื่นโดยใช้ผง GRAPHITE ผสมนํ้ามันหล่อลื่น
เมื่อมีการดึงครบทุกๆ 100 ครัง้
(6) เก็บเครื่องมือไว้ในทีม่ ดิ ชิด มีกญ ุ แจล็อก (เมื่อเลิกใช้งานแล้ว)
4.3.4 ขัน้ ตอนหลักของการดึงลวดมีดงั นี้
(1) สวมใส่ JACK คร่อมปลายลวด และดันลิม่ (TEMPORARY WEDGE) ของ JACK จับลวดให้
แน่น
(2) เดิน PUMP จนได้แรงดันของนํ้ามันไฮโดรลิคตามทีต่ อ้ งการ
(3) เริม่ วัดระยะยืดโดยใช้เทปวัดระยะ
(4) เพิม่ แรงดันตามค่าทีก่ าํ หนดใน STRESSING REPORT และบันทึกค่าระยะยืด
(5) อัดลิม่ ของ ANCHOR BLOCK
(6) หด JACK โดยการลดแรงดันของนํ้ามัน
(7) นํา JACK ออก และตรวจดูว่าขอบของลิม่ แต่ละซีกสมํ่าเสมอหรือไม่
(8) เปรียบเทียบค่าระยะยืดสุทธิ (NET ELONGATION) กับค่าทีไ่ ด้จากการคํานวณ
4.3.5 ถ้าค่าระยะยืดเฉลีย่ ของลวดในแต่ละ CABLE เกินช่วง ±5% ต้องวิเคราะห์หาสาเหตุของความ
แตกต่างเสนอให้วศิ วกรผูค้ วบคุมงานของโครงการพิจารณาต่อไป
4.3.6 ลําดับการดึงลวด (STRESSING SEQUENCE) และค่าระยะยืดทีไ่ ด้จากรายการคํานวณ วิศวกรของ
บริษทั ผูร้ บั จ้างจะเป็ นผูจ้ ดั ทํา และนําส่งให้วศิ วกรผูค้ วบคุมงานและผูอ้ อกแบบก่อนการดึงลวด
ประมาณ 3-7 วัน
4.3.7 ผลการดึงลวดทุกเส้น จะได้รบั การบันทึกตามแบบฟอร์มและรวบรวมนําส่งผูอ้ อกแบบ 1 ชุด และผูร้ บั
จ้าง 1 ชุด
4.3.8 เมื่อทําการดึงเสร็จเรียบร้อย ผูร้ บั จ้าง จะรวบรวมข้อมูลให้วศิ วกรผูค้ วบคุมงานของโครงการพิจารณา
อนุมตั ผิ ลการดึงลวด และตัดปลายลวด แล้วจัดทํารายงานนําส่งผูว้ ่าจ้างต่อไป
4.3.9 เมื่อผลการดึงลวดได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรผูค้ วบคุมงานแล้วจึงทําการตัดปลายลวด
4.3.10 ควรทําการตัดปลายลวดก่อนการถอดแบบหล่อพืน้ และคํ้ายัน เพื่อป้องกันอันตรายจากวัสดุตกหล่น
ไปข้างล่างชัน้ ทีท่ าํ งาน
4.4 การอัดนํ้าปูน (GROUTING)
4.4.1 ความสําคัญและวัตถุประสงค์
การอัดนํ้าปูนมีความสําคัญต่อความทนทานของโครงสร้างคอนกรีตอัดแรงชนิด BONDED SYSTEM โดยทัวไปการ ่
อัดนํ้าปูนจะดําเนินการทันทีทไ่ี ม่มนี งร้ั ่ าน คํ้ายัน หรือกองวัสดุอยูใ่ นบริเวณทีจ่ ะทํางาน โดยวัตถุประสงค์ของการอัดนํ้าปูน
ป้องกันการเกิดสนิมทีล่ วดอัดแรง โดยทําการอัดนํ้าปูนเข้าไปในท่อ SHEATH ให้เต็มช่องว่างทีม่ อี ยู่ทาํ ให้เกิดแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างลวดอัดแรงกับคอนกรีต
4.4.2 การเตรียมหน้างาน
(1) ตัดปลายลวดหลังจากได้รบั อนุมตั จิ ากวิศวกรผูค้ วบคุมงาน
(2) หลังจากทําการตัดปลายลวดอัดแรง ทําการอุดเบ้าทีใ่ ช้ดงึ ด้วยปูนทราย สัดส่วนผสมของทราย ต่อซีเมนต์
(PORTLAND CEMENT TYPE I) เท่ากับ 2 ต่อ 1

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 111 of 521

(3) ติดตัง้ เครื่องอัดนํ้าปูนให้ใกล้กบั บริเวณทีจ่ ะทํางาน


(4) ความสูงในแนวดิง่ ระหว่างเครื่องอัดนํ้าปูนกับบริเวณทีจ่ ะทํางานอัดนํ้าปูน ไม่เกิน 35-40 เมตร
(5) เตรียมวัสดุสว่ นผสมของนํ้าปูนซึง่ ประกอบด้วย ซีเมนต์ นํ้า สารเคมีผสมเพิม่ ให้เพียงพอต่อการใช้ในขณะนัน้ และ
ป้องกันไม่ให้เปี ยกนํ้า
(6) ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องผสม ปมอั ั ๊ ดนํ้าปูน ปมลม
ั ๊ PRESS GUAGE และ VALUE ต่างๆ จากคู่มอื การใช้
งานและการบํารุงรักษา
(7) ทําการอัดลมเข้าในท่อ SHEATH เพื่อไล่น้ํา วัสดุแปลกปลอมออกจากท่อ และเพื่อใช้ตรวจสอบการอุดตันของท่อ
ด้วย
4.4.3 นํ้าปูนและส่วนผสม
(1) นํ้าปูน ประกอบด้วยส่วนผสมของซีเมนต์ นํ้า และสารเคมีผสมเพิม่ (ไม่ผสมทราย)
(2) ซีเมนต์ ชนิด PORTLAND TYPE I มีสว่ นผสมของคลอไรด์ไม่เกิน 0.1% อายุของซีเมนต์อยู่ระหว่าง 7-30 วัน ถ้า
อายุน้อยกว่านี้เนื้อปูนซีเมนต์จะยังร้อนอยู่ ถ้าอายุมากกว่านี้ จะต้องการนํ้า ทีใ่ ช้ผสมมากขึน้ ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความ
เห็นชอบจากวิศวกรผูค้ วบคุมงานก่อสร้างก่อนเสมอ มีการสุม่ ตรวจสอบนํ้าหนักของซีเมนต์ถุง หากพบว่ามีความ
คลาดเคลื่อนเกิน 2% จะปรับส่วนผสมใหม่เพื่อให้ปริมาณนํ้าทีใ่ ช้สอดคล้องกับสัดส่วนทีก่ าํ หนด
(3) ADMIXTURE ใช้สารเคมีผสมเพิม่ POZZOLITH 300R และ ALUMINUM POWDER หรือเทียบเท่าโดยมีสดั ส่วน
การผสมดังนี้
POZZOLITH 300R ปริมาตร 200 ซีซี ต่อปูนซีเมนต์ 100 กิโลกรัม
ALUMIMUM POWDER ปริมาณ 7 กรัม ต่อปูนซีเมนต์ 100 กิโลกรัม
ให้นําส่งอัตราส่วนผสมปฏิภาคเสนอผูค้ วบคุมงานก่อนดําเนินการ
(4) นํ้า เป็ นนํ้าสะอาด สัดส่วนผสมโดยนํ้าหนักไม่เกิน 45% ของนํ้าหนักซีเมนต์ ปราศจากสิง่ เจือปนซึง่ อาจจะทําให้ลวด
อัดแรงเสียคุณสมบัติ และความทนทาน มีสว่ นผสมของคลอไรด์ไม่เกิน 500 มิลลิกรัมต่อลิตร และไม่มสี ว่ นผสมของ
สารอินทรีย์
4.4.4 การทดสอบคุณสมบัตขิ องนํ้าปูนก่อนการทํางาน
ก่อนการทํางานในแต่ละวัน จะทดสอบคุณสมบัตขิ องนํ้าปูนเพื่อยืนยันสัดส่วนผสม และคุณสมบัตทิ ไ่ี ด้ว่าสอดคล้อง
กับทีต่ อ้ งการหรือไม่ การทดสอบจะกระทําภายใต้สภาพแวดล้อมเช่นเดียวกับทีห่ น้างานนัน้ ๆ เช่น ซีเมนต์ นํ้า สารเคมีผสม
เพิม่ และอุณหภูมิ คุณสมบัตขิ องนํ้าปูนเป็ นไปตามมาตรฐาน POST TENSIONED การทดสอบทีต่ อ้ งนําส่งรายงานมีดงั นี้
(1) ทดสอบ FLUIDITY (FLOWABILITY)
(2) ทดสอบ EXPANSION และ BLEEDING
(3) ทดสอบ กําลังอัดของก้อนปูนตัวอย่าง
การทดสอบในข้อที่ (1) และ (2) สามารถทดสอบ และปรับสัดส่วนผสมให้ได้ตามค่าทีต่ อ้ งการก่อนทําการอัดนํ้าปูน
เข้าในท่อ SHEATH ส่วนกําลังอัดนัน้ จะทําการทดสอบเมื่อก้อนปูนตัวอย่างมีอายุตามทีก่ าํ หนดไว้
4.4.5 การตรวจสอบคุณภาพนํ้าปูนระหว่างการทํางาน
ระหว่างทําการอัดนํ้าปูน จะต้องตรวจสอบคุณภาพของนํ้าปูน โดยการเก็บตัวอย่างจากเครื่องผสมสําหรับความถีใ่ น
การตรวจสอบให้เป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบก่อสร้าง แต่อย่างน้อยทีส่ ดุ จะต้องดําเนินการตรวจสอบดังนี้
(1) ตรวจสอบ FLUIDITY อย่างน้อยทุกๆ 3 ชัวโมง ่ ถ้ามีความแตกต่างไปจากค่าทีก่ าํ หนดจะต้องปรับเปลีย่ นส่วนผสมใหม่
(2) ตรวจสอบ EXPANSION และ BLEEDING อย่างน้อยสองตัวในแต่ละวัน
(3) ทดสอบกําลังอัดของนํ้าปูน โดยเก็บก้อนตัวอย่างลูกบาศก์ (CUBE) ขนาด 15x15x15 เซนติเมตร จากนํ้าปูนทีผ่ สมครัง้
เดียวกับทีท่ าํ การตรวจสอบ EXPANSION และ BLEEDING อย่างน้อย 6 ตัวอย่าง (เพื่อนําไปทดสอบกําลังอัดที่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 112 of 521

อายุ 7 วัน 3 ตัวอย่าง และทีอ่ ายุ 28 วัน 3 ตัวอย่าง) และให้นําส่งผลการทดสอบอย่างเคร่งครัด


4.4.6 การอัดนํ้าปูน
ภายหลังจากทีท่ ดสอบส่วนผสมจนได้ค่าต่างๆ ทีก่ าํ หนดแล้ว จึงทําการอัดนํ้าปูนเข้าไปในท่อ SHEATH ทัง้ นี้
อุณหภูมขิ องโครงสร้างขณะทีอ่ ดั นํ้าปูนเข้าไปไม่ควรเกิน 30 องศาเซลเซียส
(1) วิธกี ารอัดนํ้าปูน หลังจากทําการผสมและตรวจสอบคุณสมบัตติ ่างๆ พร้อมทัง้ เก็บตัวอย่างก้อนปูนไว้ทดสอบ
กําลังอัดเรียบร้อยแล้ว จึงทําการอัดนํ้าปูนเข้าในท่อ SHEATH ตามขัน้ ตอนดังนี้
- ใช้หวั ฉีดนํ้าปูนอัดเข้าไปในท่อ GROUT VENT ให้แน่น
- เดิน PUMP พร้อมทัง้ ควบคุมแรงดันที่ PRESSURE GUAGE
- เมื่อนํ้าปูนไหลออกปลายอีกด้านหนึ่ง ให้ปล่อยนํ้าปูนซึง่ มีน้ําและฟองอากาศปนอยู่ทง้ิ ไปจนหมด
- หัก (ปิ ด) ปลายท่อด้านทีน่ ้ําปูนไหลออก แล้วมัดด้วยลวดผูกเหล็ก และคงความดันไว้ไม่น้อยกว่า 7
BAR สําหรับคานและ 3 BAR สําหรับพืน้ POST TENSIONED จนกระทังแรงดั ่ นคงที่
- หัก (ปิ ด) ปลายท่อด้านทีอ่ ดั นํ้าปูนเข้า แล้วมัดด้วยลวดผูกเหล็ก
- ย้ายไปอัดนํ้าปูน CABLE อื่นๆ ต่อไปตามขัน้ ตอนข้างต้น
(2) การบันทึกรายงานการอัดนํ้าปูน (GROUTING REPORT) จะต้องบันทึกทุกวันทีม่ กี ารทํางาน โดยมี
รายละเอียดทีส่ าํ คัญดังนี้
- หมายเลข CABLE
- ช่วงเวลาทีท่ าํ งาน
- ผลการทดสอบคุณสมบัตขิ องนํ้าปูน
- เหตุการณ์สาํ คัญต่างๆ
4.4.7 อุปสรรคทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ระหว่างการอัดนํ้าปูน
(1) การอัดนํ้าปูนต้องกระทําอย่างต่อเนื่อง ถ้าหากหยุดเกิน 30 นาที จะต้องล้าง MIXER PUMP
สายยาง และ VALUE ต่างๆ ด้วยนํ้าสะอาด นอกจากนี้ถา้ มี CABLE ทีอ่ ดั นํ้าปูนไม่เสร็จ
ภายใน เวลา 30 นาที จะต้องล้างนํ้าปูนในท่อ SHEATH ออกจนหมดโดยใช้น้ํา แล้ว
เปา่ ลมไล่น้ํา ออกจากท่อ
(2) หยุดล้างทําความสะอาดเครื่องมืออัดนํ้าปูน เมื่อมีการใช้งานอย่างต่อเนื่องทุกๆ 4-5 ชัวโมง

และทําความสะอาดเมื่อเสร็จสิน้ การทํางานในแต่ละวัน
4.5 เอกสารระหว่างการทํางาน (DOCUMENTATIONS) ทีต่ อ้ งนําส่งผูอ้ อกแบบ และผูว้ ่าจ้าง รายการละ 1 ชุด
4.5.1 รายชื่อวิศวกรผูค้ วบคุมงานระบบ POST TENSIONED
4.5.2 เอกสารรายละเอียดวัสดุ และตัวอย่างผลิตภัณฑ์ ข้อกําหนด ADMIXTURE นํ้าปูน SHEATH
4.5.3 เอกสารขอความเห็นชอบและอนุมตั กิ ารทํางาน
4.5.4 SHOP DRAWING
4.5.5 INSPECTION FORM
4.5.6 STRESSING REPORT
4.5.7 GROUTING REPORT
4.5.8 ASBUILT DRAWING
4.5.9 รายการคํานวณนังร้ ่ าน และวิศวกรควบคุมลงนามรับรอง
4.5.10 แผนการทํางานและแผนงานด้านการรักษาความปลอดภัย
จบหมวดที่ 23

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 113 of 521

หมวดที่ 24
งานไม้

ขอบข่ายของมาตรฐานนี้ครอบคลุมถึงไม้ทใ่ี ช้ในงานก่อสร้างทุกชนิด ยกเว้นไม้แบบ ไม้บานประตู หน้าต่าง และไม้


อัดประเภทต่างๆ
1. ข้อกําหนดสําหรับวัสดุก่อสร้างและการทดสอบ (SPECIFICATION AND TEST FOR MATERIALS)
1.1 ชนิดและประเภทของไม้
1.1.1 ไม้ทใ่ี ช้เป็ นโครงสร้างหลักของอาคาร ต้องเป็ นไม้เนื้อแข็งทีม่ กี าํ ลังต้านทานแรงดัด (MODULUS OF
RUPTURE) ไม่น้อยกว่า 800 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ขีดจํากัดยืดหยุ่น (PROPORTIONAL
LIMIT) ไม่น้อยกว่า 600 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ปริมาณความชืน้ ร้อยละ 10-14 และมีความ
ทนทานไม่น้อยกว่า 6 ปี ตามตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อไม้เนื้อแข็งมาตรฐาน
1.1.2 ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างจําเป็ นต้องใช้ไม้นอกจากระบุไว้ในตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อไม้เนื้อแข็งมาตรฐาน ผูร้ บั
จ้างต้องส่งตัวอย่างไม้ทจ่ี ะใช้ ตามขนาดและจํานวนทีร่ ะบุในข้อ 1.5 เพื่อให้ผวู้ ่าจ้างทําการทดสอบ
1.2 ขนาดของไม้
1.2.1 ขนาดของไม้ต่างๆ ทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ในแบบรายละเอียดหรือในรายการ เป็ นขนาดระบุของไม้ทย่ี งั มิได้
ไสเรียบทีใ่ ช้เรียกกันอยูใ่ นตลาด
1.2.2 ไม้ต่างๆ ทีน่ ํามาใช้โดยไม่ตอ้ งไสเรียบยอมให้มคี วามหนาหรือความลึกน้อยกว่าขนาดระบุได้ไม่เกิน 6
มิลลิเมตร สําหรับไม้ทม่ี คี วามหนา หรือความลึกตัง้ แต่ 2 นิ้ว (50.8 มิลลิเมตร) ขึน้ ไป และไม่เกิน 4
มิลลิเมตร สําหรับไม้ทม่ี คี วามหนาหรือความลึกน้อยกว่า 2 นิ้ว
1.2.3 ไม้ทไ่ี สเรียบยอมให้มคี วามหนาหรือความลึกเมื่อไสแล้วน้อยกว่าขนาดระบุ ดังนี้
ความหนาหรือความลึกทีย่ อมให้
ความหนาหรือความลึกของขนาดระบุ
น้อยกว่าขนาดระบุไม่เกิน (มิลลิเมตร)
เกินกว่า 6 นิ้ว (150.4 มิลลิเมตร) ขึน้ ไป 12.0
เกินกว่า 2 นิ้ว (50.8 มิลลิเมตร) แต่ไม่เกิน 6 นิ้ว 9.0
เกินกว่า 1 นิ้ว (25.4 มิลลิเมตร)
7.5
แต่ไม่เกิน 2 นิ้ว (50.8 มิลลิเมตร)
1 นิ้ว (25.4 มิลลิเมตร) 6.0
1.3 ไม้ทใ่ี ช้งานต่างๆ ให้จาํ แนกดังนี้ คือ
ไม้ก่อสร้างชัน้ หนึ่ง ได้แก่ ไม้ใช้สาํ หรับโครงสร้างของอาคารพิเศษตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร
เช่น โรงมหรสพ อัฒจันทร์ หอประชุม อู่เรือ อาคารทีส่ งู เกินกว่า 15 เมตร เป็ นต้น
ไม้ก่อสร้างชัน้ สอง ได้แก่ ไม้ใช้สาํ หรับโครงสร้างของอาคารสาธารณะตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร
เช่น โรงแรม โรงเรียน ภัตตาคาร โรงพยาบาล เป็ นต้น
ไม้ก่อสร้างชัน้ สาม ได้แก่ ไม้ใช้สาํ หรับโครงสร้างของบ้านพักอาศัยตามพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคาร
เช่น ตึก บ้าน เรือน โรง แพ เป็ นต้น
1.4 เกณฑ์จาํ กัดข้อบกพร่องในเนื้อไม้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 114 of 521

ไม้ต่างๆ ทีน่ ํามาใช้งานนอกจากจะมีคุณภาพและได้มาตรฐานตามข้อกําหนดต่างๆ ดังกล่าวมาแล้ว ต้องมีคุณภาพ


เกณฑ์กาํ หนด ดังต่อไปนี้
ไม้ก่อสร้างชัน้ สอง
1.4.1 ตา ขนาดตาถือเอาค่าเฉลีย่ ของเส้นผ่านศูนย์กลางของส่วนทีก่ ว้างทีส่ ดุ และแคบทีส่ ดุ
(1) ขนาดสูงสุดของตาทีย่ อมให้มี ดังนี้
ขนาดสูงสุดของตา (นิ้ว)
หน้าไม้ (นิ้ว) บน 1/4 ของหน้ากว้างตอนบน บนกึง่ กลาง
บนหน้าแคบ
และล่าง (ดูรปู ) ของหน้ากว้าง
1 1/4 - 1/4
1 1/2 3/8 1/4 3/8
2 1/2 3/8 1/2
3 3/4 1/2 3/4
4 1 3/4 1
5 1 3/4 1 1/4
6 1 1 1 1/2
8 1 1 1/2 2
10 1 2 2 1/2
12 1 21/8 3
14 1 2 1/4 3 1/4
16 1 2 1/2 3 1/2
หมายเหตุ ถ้าเป็ นเสาทีม่ หี น้าตัดสีเ่ หลีย่ มจัตุรสั ให้ถอื เป็ นหน้ากว้าง ทัง้ 2 หน้า

(2) ผลบวกของเส้นผ่านศูนย์กลางของตาทัง้ หมดในระหว่างช่วงกลาง (1/3 ของความยาวช่วง) ของความยาวของคาน


หรือตง ต้องน้อยกว่าขนาดความกว้างของหน้าไม้ในช่วงกลางนัน้

(3) ตาหลุด หรือตาผุยอมให้มไี ด้ในขนาดเดียวกับตาทีร่ ะบุไว้ในข้อ 1.4.1 (1) และ (2)


1.4.2 รอยแตกร้าว ความยาวของรอยแตกร้าว วัดตามเสีย้ นทีป่ ลายหนึ่งปลายใดของไม้ความยาวสูงสุดของรอยแตก
กําหนดให้มี ดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 115 of 521

หน้าไม้ (นิ้ว) ความยาวสูงสุดของรอยแตก (นิ้ว)


ไม่เกิน 3 1
เกิน 3 แต่ไม่เกิน 4 1 1/2
เกิน 4 แต่ไม่เกิน 6 2
เกิน 6 แต่ไม่เกิน 8 2 5/8
เกิน 8 แต่ไม่เกิน 10 3 1/4
เกิน 10 แต่ไม่เกิน 12 4
เกิน 12 แต่ไม่เกิน 14 4 1/4
เกิน 14 แต่ไม่เกิน 16 4 5/8

1.4.3 เนื้อไม้แหว่งทีข่ อบไม้ ยอมให้เนื้อไม้แหว่งได้ไม่เกินเศษส่วนของหน้าแคบ ดังนี้


1/8 สําหรับไม้ก่อสร้างชัน้ หนึ่ง
1/5 สําหรับไม้ก่อสร้างชัน้ สอง
1/5 สําหรับไม้ก่อสร้างชัน้ สาม
1.4.4 มุมเสีย้ น มุมเสีย้ นต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1 ใน 15
1.4.5 กระพี้ กระพีย้ อมให้มไี ด้สาํ หรับงานก่อสร้างชัวคราว
่ ถ้าเป็ นงานก่อสร้างถาวร หน้าทัง้ สีข่ องไม้แต่ละ
หน้าต้องมีสว่ นทีเ่ ป็ นแก่นให้เห็นได้อย่างน้อยร้อยละ 85 และต้องทําการอาบนํ้ายารักษาเนื้อไม้
เสียก่อน
1.4.6 ไม้ท่อนใดทีม่ นี ้ําหนักเบาผิดปกติ มีรมู อดหรือมีเนื้อผุดว้ ยเหตุใดก็ตามให้คดั ออกห้ามนํามาใช้
1.4.7 การจําแนกไม้ตามคุณสมบัติ
ไม้ก่อสร้างชัน้ หนึ่ง ยอมให้มตี ําหนิต่างๆ ได้เพียงครึง่ หนึ่งของไม้ชนั ้ สอง เว้นแต่ตาหลุด ตาผุ ไม่ยอม
ให้มมี มุ เสีย้ นต้องไม่ชนั ถึง 1 ใน 20 ไม้ก่อสร้างชัน้ สาม ยอมให้มตี ําหนิต่างๆ ได้เป็ นเท่าครึง่ ของไม้
ชัน้ สอง มุมเสีย้ นยอมให้มไี ด้ ถึง 1 ใน 12
1.4.8 หมายเหตุ มุมเสีย้ น คือ มุมเนื้อไม้ทาํ กับความยาวของตัวไม้
1.5 การเก็บและส่งตัวอย่างไม้เพื่อทดสอบ
ในการส่งตัวอย่างไม้แต่ละชนิด ต้องส่งชนิดละ 3 ท่อนเป็ นอย่างน้อย แต่ละท่อนยาวไม่น้อยกว่า 100 เซนติเมตร
การเก็บตัวอย่างไม้ตอ้ งเก็บต่อหน้าผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้างแล้วนําส่งกรมโยธาธิการ หรือส่วนราชการอื่นใด หรือทีท่ ่ี
ตัวแทนของผูว้ ่าจ้างสามารถร่วมทําการทดสอบได้ เพื่อทดสอบตาม มยธ.(ท) 201 ถึง มยธ.(ท) 207 : มาตรฐานการทดสอบ
ไม้ของกรมโยธาธิการ ค่าใช้จ่ายในการนี้ทงั ้ หมดเป็ นของผูร้ บั จ้าง

2. ข้อกําหนดในการก่อสร้าง (CONSTRUCTION REQUIREMENTS)


2.1 ไม้ทใ่ี ช้เป็ นส่วนประกอบทัวไป ่ ซึง่ มิใช่ไม้สาํ หรับโครงสร้างหลัก อาทิ ไม้สาํ หรับทําเคร่าฝา เคร่า
เพดาน ถ้าแบบและรายการมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นแล้ว ให้ใช้ไม้เนื้ออ่อนได้ ได้แก่ ไม้ยาง ไม้กราด ไม้
ตะเคียนทราย ไม้อา้ ยกลิง้ ไม้โอบ ไม้กะบาก ไม้ไข่เขียว และไม้ชุมแพรก เป็ นต้น ไม้เนื้ออ่อนทีน่ ํามาใช้งาน
ก่อสร้างนี้ตอ้ งอาบด้วยนํ้ายารักษาเนื้ออไม้การอาบนํ้ายา ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานการอาบนํ้ายาไม้ของ
องค์การอุตสาหกรรมปา่ ไม้ (อ.อ.ป.) ปลายไม้ทต่ี ดั ในการก่อสร้างให้ทาด้วยนํ้ายากันแมลง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 116 of 521

ตารางที่ 1 บัญชีรายชื่อไม้เนื้อแข็งมาตรฐาน
ลําดับ ชนิดไม้ ชื่อพฤกษศาสตร์ หมายเหตุ
1 ตะเคียนทอง Hopea odorata Roxb.
2 ก่อ Quercus sp.
3 กะโดน Careya arborea Roxb.
4 กระถินพิมาน Acacia siamensis Craib
5 กะพีเ้ ขาควาย Dalbergia cultrata Graham
6 คันเกรา Fagraea fragrans Roxb.
7 ขานาง Homalium tomentosum Benth.
8 เขล็ง Dialium cochinchinense Pierre
9 เคีย่ ม Cotylelobium lanceolatum Craib
10 เคีย่ มคะนอง Shorea sericeiflora Fisch. & Hutch.
11 แคทราย Stereospermum neuranthum Kurz
12 เฉียงพร้านางแอ Carallia brachiata Merr.
13 ชัน หรือ เต็งดง Shorea thorelii Pierre
14 ชิงชัน Dalbergia oiiveri Gamble
15 ซาก Erythrophleum teysmannii Craib
16 แดง Xylia kerrii Craib & Hutch
17 ตะเคียนชันตาแมว Balanocarpus heimii King
18 ตะเคียนราก(ก) Hopea avellanea Heim
ตะเคียนราก(ข) Hopea pierrei Hance
19 ตะเคียนหิน Hopea ferrea Pierre
20 ตะแบกเลือด Terminalia mucronata Craib & Hutch.
21 ตะแบกใหญ่ Lagerstroemia calyculata kurz
22 ตีนนก Vitex sp.
23 เต็ง Shorea obtuse Wall.
24 เต็งมาเลเชีย หรือ Balau Shorea foxworthyi Sym.
25 เต็งมาเลเชีย หรือ Balau Shorea maxwelliana King
26 บุนนาค Mesue ferred Linn.
27 ประดู่ Pterocarpus spp.
28 พะยอม Shorea talura Roxb.
29 พยุง Dalbergia cochinchinansis Pierre
30 พลวง Dipterocarpus tuberculatus Roxb.
31 มะเกลือ Diospyros mollis Griff.

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 117 of 521

32 มะค่าแต้ Sindora spp.


33 มะค่าโมง Afzelia xylocarpa Craib
34 มะชาง Madhuca pierrei H.J. Lam.
35 มังคะ Cynometra sp.
36 ยมหิน Chukrasia velutina Wight & Arn.
37 รกฟ้า Terminalia alata Heyne
38 รัง Shorea siamensis Miq.
39 เลียงมัน Berrya mollis Wall.
40 สะทิต Phoebe sp.
41 สัก (สวน) Tectona grandis Linn.f.
42 สัก (ปา่ ) Tectona grandis Linn.f.
43 สาธร หรือ ขะเจ๊าะ Millettia leucantha Kurz
44 เสลา Lagerstroemia tomentosa Presl
45 หลุมพอ Intsia bakeri Prain
46 เหียง Dipterocarpus obtusifolius Tejsm.
47 แอ๊ก Shorea glauca King
48 Giam Cotylelobium melanoxylon Pierre อินโดนีเซีย
ทีม่ า: ฝา่ ยวิจยั ไม้ชนั ้ พืน้ ฐาน กองวิจยั ผลิตผลปา่ ไม้ กรมปา่ ไม้ “ไม้เนื้อแข็งของประเทศไทย”

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ตารางแนบท้าย 02: บัญชีเปรียบเทียบรายชื่อไม้เนื้อแข็ง ภาษาไทย ประเทศใกล้เคียง

3.
ลําดับ ชื่อไทย THAILAND MALASIA SABAH SARAWAK INDONESIA INDOCHINA PHILIPPINES MYANMA CEYLON INDIA
1 กันเกรา,ตําเสา Kan Krao Tembusu Tamasu Tembusu Tembusu Trai Urang Ananma Termbusu Anan
2 เขล็ง,หมากเค็ง,หยี Khleng Keranji Keranji Keranji Xoay - - - - -

งานไม้
3 เคีย่ ม Kian Giam,Resak, - - Giam - - - - -
Bukit
4 เคีย่ มคะนอง Kiam Meranti - - - - - - - -
Meranti
Kanong
Pa’ang
Group
Bakauan-
5 เฉียงพร้านางแอ Chiang Phra Meransi Perapat Sabak - Sang-ma Manianga Dawata, Calallia
Gubat
Hutan Bakau - - - Uberiya Wood

มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
6 ตะเคียนชัน Ta Kianchan Chengal - - - - - - - -
ตะเคียนชันตาแมว
7 ตะเคียนทอง Takianthong Merawan Gagil, Gagil Luis Cengal Sao Manggachapui Thingan - Thingan
8 ตะเคียนใหญ่,แคน Selangan Selangan
ตะเคียนหิน Takianhin Malut - - - - - - - -
9 ตีนนก Tin nok Leban Kulimpape Leban - Binhlinh, Molave Kyetyo Milla Miilla
Leban Hap
10 บุนนาค,นาคบุตร Bunnak Penaga - Penaga - Vap - Gangau Na Betta
11 ประดู่ Pra doo Sena - - Sono - Narra - -
Cham-
Kembeng
pagam
12 พลวง Pluang - - - - Cho-nau - In Hora Eng
Tatlum,Tatalu
13 มะค่าโมง Maka Mong - - - - Beng - - -

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


m
14 มะขาง Ma Sang Bitis - - - - - - - Bullet
มะค่าแต้ หรือมะค่า
Page 118 of 521

15 Ma Ka Tae Sepetir Sepetir Sepetir - Gu, Gomat Supa, Kayu, - - Wood


ลึง
และอ้ายกลิง้ Ei-Kling Galu -
Page 119 of 521

3.1 หลักเกณฑ์ทวไปสํ
ั ่ าหรับเนื้อไม้
3.1.1 ขนาดไม้ทเ่ี ลื่อยและไสแล้วยอมให้เสียไม้เป็ นคลองเลื่อยและไสกบเล็กกว่าขนาดทีร่ ะบุได้ แต่เมื่อ
ตกแต่งพร้อมทีจ่ ะประกอบเข้าเป็ นส่วนของสิง่ ก่อสร้างแล้ว จะต้องมีขนาดของการลดหย่อนตาม
ตารางต่อไปนี้
ขนาดทีร่ ะบุ (นิ้ว) ขนาดทีต่ กแต่งแล้ว (มิลลิเมตร)
1/2 9
3/4 14
1 19
1 1/4 25
1 1/2 30
2 40
2 1/2 54
3 67
4 90
ถ้าไม้ขนาดใหญ่กว่า 4 นิ้ว ให้ไสกบออกได้เพียง 1/2 นิ้ว เป็ นอย่างมาก สําหรับไม้พน้ื และฝาไม้ ขนาดความกว้างให้
เล็กลงจากขนาดทีก่ าํ หนดให้ 1/2 นิ้ว เป็ นอย่างมาก
3.1.2 ตาและรูตอ้ งมีขนาดไม่มากกว่าหรือไม่น้อยกว่าขนาดทีก่ าํ หนดไว้ขา้ งล่างนี้ โดยวิธวี ดั ขนาดหรือรูแห่ง
หนึ่ง ด้วยการลากเส้นขนานกับขอบไม้ 2 เส้น กระทบกับขอบตาหรือขอบรูตอนทีก่ ว้างทีส่ ดุ ไม้ทม่ี ตี าเป็ นกลุม่ หรือ
ติดต่อกันเป็ นกระจุกให้คดั ออก ไม้ทม่ี เี นื้อผุ เนื้ออ่อนอยู่ภายในของตาให้นบั ว่าใช้ได้ ในการพิเคราะห์เรื่อง ตา รู จะ
แบ่งเป็ น ตา รู อยูใ่ นด้านแคบ (หน้าราบ) ของตง คานกับตารู อยู่ดา้ นกว้าง (หน้าทีต่ งั ้ ขึน้ ) ส่วนตาทีอ่ ยู่คาบทัง้ 2 ด้าน
เพราะอยู่ทม่ี มุ ท่อน ให้ถอื เสมือนเป็ นตาอยู่ในด้านแคบของตง คาน ทีม่ ตี ารูอยู่ทงั ้ ขอบบน ขอบล่าง และมีลกั ษณะเข้า
ประเภทต่างกันให้ถอื ประเภททีอ่ ยู่สงู กว่าเป็ นเกณฑ์
ขนาดของตาหรือรูทโ่ี ตทีส่ ดุ
ลักษณะ ตา รู ไม้ทใ่ี ช้ก่อสร้างอาคาร
ตา รู ทุกๆ แห่งภายในครึง่ ท่อนตอนกลางบน
ไม่ต่ําว่า 1.5 ของหน้าแคบ
หน้าแคบของตงคาน วัดรวมกัน
ตาใดตาหนึ่งภายใน 1/3 ท่อน ตอนกลางบน
ไม่โตกว่า 3/4 เท่าของหน้าแคบ หรือ 6 เซนติเมตร
หน้าแคบของตง คาน
ตาใดตาหนึ่งภายใน 1/3 ท่อน ตอนปลายบน
ไม่โตกว่า 3/4 เท่าของหน้าแคบ หรือ 10 เซนติเมตร
หน้าแคบของตง คาน
ตาใดตาหนึ่งบนหน้ากว่าของตงคาน หรือบนหน้าใดๆ ของเสา
ไม่โตกว่า 3/4 เท่าของหน้ากว้างหรือ 11 เซนติเมตร
เมื่อตาอยู่กง่ึ กลางหน้ากว้าง
3.1.3 รอยแตกร้าวทีห่ น้าตัดปลายท่อน สําหรับคาน ตง และเสา ยอมให้แตกลึกเข้าไปในท่อนได้ไม่เกิน 4/9
ของหน้าแคบ
3.1.4 เนื้อไม้แหว่งบริเวณทีข่ องไม้ แหว่ง ได้กว้างไม่เกิน 1/5 เท่าของหน้าแคบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 120 of 521

3.1.5 นํ้าหนัก ห้ามใช้ไม้ทม่ี นี ้ําหนักเบากว่าปกติ เมื่อเทียบกับไม้ชนิดเดียวกันทีม่ ขี นาดเท่ากัน ทําการ


ก่อสร้าง
3.1.6 การแบ่งชัน้
(1) ไม้ชนั ้ ที่ 1 สามารถเห็นได้โดยง่ายกว่าเป็ นไม้ทค่ี ดั เลือกมาอย่างดีแล้ว ต้นต้องไม่คดโค้ง ไม่
แตกร้าว ไม่มตี ําหนิ บิด หรือเสือ่ มความงาม สามารถแต่งให้เห็นความงามของเนื้อไม้ตาม
ธรรมชาติ
(2) ไม้ชนั ้ ที่ 2 ต้องไม่ผุ ไม่มตี ากลวงหรือตาผุ ไม่ตดิ กระพีห้ รือแตกร้าวจนเสียกําลัง ตําหนิอ่นื ๆ
ยอมให้มไี ด้บา้ งแต่ตอ้ งปะซ่อมให้เรียบร้อย เหมาะสมสําหรับการตกแต่งโดยวิธที าสี
3.2 งานช่างไม้
3.2.1 การเข้าไม้ การเข้าไม้ตอ้ งพอดีตรงตามทีก่ าํ หนดให้ การบากไม้ เข้าไม้ ต้องทําให้แนบสนิท เต็มหน้า
ส่วนทีป่ ระกับและแข็งแรง
3.2.2 การต่อไม้ โดยทัวไปไม่ ่ อนุญาตให้ต่อไม้ เว้นแต่มคี วามจําเป็ น ผูค้ วบคุมงานก่อสร้างหรือ
คณะกรรมการตรวจการจ้างจะเป็ นผูพ้ จิ ารณาและกําหนดให้ในกรณีการต่อด้วยเหล็กประกับจะ
กําหนดไว้ชดั เจนในแบบ
3.2.3 การตกแต่งไม้ประกอบไม้
(1) ไม้สว่ นทีไ่ ม่ตอ้ งไส คือ ส่วนทีม่ สี งิ่ อื่นปกคลุมมองไม่เห็น หรือไม่มผี ลต่อความเรียบตรงของสิง่ ทีม่ าปิ ด เช่น โครง
หลังคาส่วนทีอ่ ยูภ่ ายในฝ้าเพดาน กระทงฝ้าเพดาน ด้านบนและด้านข้าง เป็ นต้น หรือตามทีก่ าํ หนดไว้
(2) ไม้สว่ นทีต่ อ้ งไส คือ ส่วนทีส่ ามารถมองเห็นทัง้ หมด และส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับระดับของสิง่ ทีม่ าปิ ดทับ เช่น ส่วนใต้ของ
กระทงฝ้าเพดาน เป็ นต้น
(3) การไสไม้ ต้องไสตกแต่งจนเรียบตรง ไม่เป็ นลอนหรือลูกคลื่น และหากยังมีรอยคลองเลื่อยหลงเหลืออยู่ ต้องไสหรือ
แต่งใหม่จนเรียบ การไสต้องทําให้ได้ฉากมีมมุ หรือรูปทรงและขนาดทีก่ าํ หนดไว้ ส่วนใดทีไ่ ม่อาจไสให้เรียบได้ เช่น
ตาไม้ ให้ใช้กระดาษทรายขัดตกแต่งจนเรียบ
(4) ไม้พน้ื ต้องได้รบั การอบหรือผึง่ ให้เนื้อไม้แห้งสนิท และเก็บไว้ให้พน้ จากแดด ฝน ความชืน้ ต้องไสให้ขนาดหน้ากว้าง
เท่ากันหมดโดยประมาณ เว้นแต่รปู แบบและรายการประกอบแบบจะกําหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ถ้าไม้พน้ื ต้องเข้าลิน้
รองลิน้ ต้องพอดีรบั ลิน้ และลึกกว่าความกว้างของลิน้ 3 มิลลิเมตร เมื่อตีพน้ื เข้าทีต่ อ้ งวางเรียบเป็ นแผ่นๆ อัดและปรับ
ให้แนวรอยต่อระหว่างแผ่นแน่นสนิทดี
(5) ไม้ฝา ไม้ฝาเข้าลิน้ ให้ปฏิบตั เิ ช่นเดียวกับไม้พน้ื
(6) ไม้เพดาน ซึง่ ตีซอ้ นกันต้องเหลือ่ มกันข้างละไม่น้อยกว่า 2.5 เซนติเมตร
3.2.4 การยึดด้วย ตะปู ตะปูควง
(1) ชนิดและขนาด
ตะปู ต้องยาวอย่างน้อย 2.5 เท่าของความหนาของไม้ทถ่ี ูกยึด
ตะปูควงต้องโตกว่าเบอร์ 8 และยาวอย่างน้อย 2 เท่าของความหนาของไม้ทถ่ี ูกยึด
(2) การเจาะรูสาํ หรับ ตะปู ตะปูควง หากจําเป็ น เจาะนํา เพื่อมิให้ไม้แตก
ตะปู เจาะรูนําได้ไม่เกิน 0.8 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของตะปู
ตะปูควงเจาะรูนําได้ไม่เกิน 0.9 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางของตะปูควง
(3) การตีตะปู
- ไม้กระดานไม่เข้าลิน้
ไม้กว้างไม่เกิน 7 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 2 ตัวทุกๆ ช่วงตง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 121 of 521

ไม้กว้างเกิน 7 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 3 ตัว ทุกๆ ช่วงตง โดยเพิม่ ทีก่ ลางแผ่นอีก 1 ตัว
- ไม้กระดานเข้าลิน้
ไม้กว้างไม่เกิน 8 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปูกลางแผนตัวเดียวทุกๆ ช่วงตง
ไม้กว้างเกิน 8 นิ้วฟุต ยึดด้วยตะปู 2 ตัว ทุกๆ ช่วงตง
- ระยะห่างในการตอกตะปู นับเป็นจํานวนเท่าของขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตะปู ดังนี้
ระยะ เมื่อไม่เจาะนํา เมื่อเจาะนํา
ระหว่างปลายไม้กบั ศูนย์ตะปู 20 เท่า 10 เท่า
ระหว่างขอบไม้กบั ศูนย์ตะปู 5 เท่า 5 เท่า
ระหว่างแถวตะปูวดั ตามหน้ากว้าง 10 เท่า 3 เท่า
ระหว่างตะปูภายในแถววัดตามยาวของท่อนไม้ 20 เท่า 10 เท่า
หมายเหตุ ระยะระหว่างขอบไม้กบั ศูนย์ตะปู ต้องไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร

- การขันตะปูควง ให้ปฏิบตั ติ ามข้อ 3.2.4 ทุกประการ แต่หา้ มใช้การตอกโดยเด็ดขาด ให้หมุนเข้าโดยไขควง


ขนาดทีเ่ หมาะสมกับหัวตะปูควง
(4) การยึดด้วยน็อตหรือสลักเกลียว
- ชนิดและขนาด เป็ นเหล็กและต้องมีความยาวทีเ่ หมาะสม
- การเจาะรูตอ้ งเจาะรูให้พอดีตอกน็อต หรือสลักเกลียวเข้าได้โดยง่าย และไม่โตกว่าขนาดน็อตร้อยละ 6
- แหวนรองน็อตหรือสลักเกลียวทุกตัว จะต้องมีแหวนมาตรฐานหรือตามทีก่ าํ หนดรองอยูใ่ ต้แป้นเกลียวทุกๆ
ตัว
- ระยะห่างของรูน็อตหรือสลักเกลียว
จํานวนเท่าอย่างน้อย
ระยะ
ของเส้นผ่านศูนย์กลางสลักเกลียว
1. ระหว่างปลายท่อนไม้กบั สลักเกลียว
(1) เมื่อได้รบั แรงดึง เช่น ขือ่ แกงแนง ดัง้ 7
(2) เมื่อได้รบั แรงอัด เช่น จันทัน คํ้ายัน 4
2. ระหว่างแถวสลักเกลียว เมื่อแรงทําการตามยาวของท่อนไม้ 4
เช่น ตัวไม้ในโครงหลังคา
3. ระหว่างขอบไม้ทต่ี อ้ งแรงดันจากสลักเกลียวกับศูนย์สลักเกลียว 1.5
4. ระหว่างศูนย์แถวสลักเกลียว เมื่อวัดตามความกว้างของไม้ 4
(5) ข้อยกเว้นพิเศษ
เพื่อเป็ นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ และบรรเทาความเสียหายของปา่ อนุญาตให้นําไม้คา้ํ ยันนชัวคราวต่ ่ างๆ
ทีร่ อ้ื ถอนมาใช้ในการก่อสร้างเป็ นส่วนของอาคารได้ เช่น ทําเคร่าฝ้า เพดาน เป็ นต้น ทัง้ นี้ไม้เหล่านี้ตอ้ งเป็ นไม้
รูปพรรณ มีชนิดของเนื้อไม้ขนาด และคุณสมบัตอิ ่นื ๆ ตรงกับทีก่ าํ หนดให้ใช้ และแน่ใจได้ว่าได้รบั การกําจัดปลวก
มอด แมลง ตามเหมาะสมแล้ว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 122 of 521

3.3 หมายเหตุ กําหนดการเลือกใช้ไม้


3.3.1 พืน้ ไม้ คําว่า พืน้ ไม้เข้าลิน้ ให้ใช้ตามขนาดต่อไปนี้ได้คอื 1”x6” 1”x4” หรือ 1”x3” และถ้าใช้ชนิดราง
ลิน้ รอบตัวขนาดต้องไม่เล็กกว่า 1”x3” แทนได้ดว้ ยในกรณีทร่ี ปู แบบกําหนดให้ใช้พน้ื ไม้ตชี น ผูร้ บั จ้าง
สามารถใช้พน้ื ไม้เข้าลิน้ หรือพืน้ ไม้ชนิดรางลิน้ แทนกันได้
3.3.2 ในกรณีทค่ี ณะกรรมการตรวจการจ้าง ไม่สามารถตัดสินชีข้ าดได้ว่าไม้ทน่ี ํามาใช้งานนัน้ เป็ นไม้ชนิดใด
ชื่อใด ตรงกับทีร่ ะบุตามรูปแบบและรายการประกอบแบบหรือสัญญาหรือไม่ เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้าง
ต้องนําส่งตัวอย่างไม้ให้กรมปา่ ไม้ตรวจสอบคุณสมบัติ แล้วส่งผลพร้อมตัวอย่างไม้ซง่ึ ทางกรมปา่ ไม้
ประทับตรารับรองไว้บนเนื้อไม้ ว่าเป็ นไม้ชนิดใดชื่อใด (ทัง้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ) ให้
คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา ค่าใช้จ่ายในการนี้เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างทัง้ หมด
3.3.3 ไม้ชนิดใดซึง่ กรมปา่ ไม้ได้ตรวจสอบคุณสมบัตแิ ละคณะกรรมการตรวจการจ้างได้พจิ ารณาเห็นว่ามี
คุณสมบัตเิ ทียบเท่าไม้ทร่ี ะบุไว้ในบัญชีรายชื่อไม้ใด ให้ใช้ก่อสร้างสําหรับงานตามบัญชีรายชื่อไม้นนั ้
ได้
3.3.4 ไม้พน้ื ทีม่ คี วามกว้างต่างไปจากรูปแบบ เช่น 3”, 4”, 6” เป็ นต้น ถือว่าใช้แทนกันได้
3.3.5 และให้ถอื ปฏิบตั ติ ามทีก่ ล่าวข้างต้นเช่นกันในกรณีทเ่ี ป็ นไม้พน้ื รางลิน้ รอบ

จบหมวดที่ 24

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 123 of 521

หมวดที่ 25
งานป้ องกันและกาจัดปลวก

1. ข้อกําหนดทัวไป ่ (PIPE TREATMENT)


ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายพร้อมจัดหาวัสดุแรงงานทีช่ าํ นาญงานโดยเฉพาะ และสิง่ ประกอบอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ น
สําหรับการทํางานป้องกันปลวกตามทีก่ าํ หนดในรายการประกอบแบบนี้ให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ อีกทัง้ ทดสอบจนสามารถใช้
งานได้ดี
1.1 การเสนอรายละเอียด
1.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายละเอียดของสารเคมีทเ่ี ลือกใช้ อัตราการใช้ ชื่อทางการค้า และได้ขน้ึ ทะเบียนต่อ
กระทรวงสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัยในการใช้สารเคมีและการ
รักษาพยาบาลเบือ้ งต้นเมื่อถูกพิษของสารเคมี รวมทัง้ วัสดุอุปกรณ์ทใ่ี ช้ประกอบในงานป้องกันปลวก
เพื่อพิจารณาตรวจสอบ
1.1.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา SHOP DRAWING แสดงแผนผังการเดินแนวท่อนํ้ายาเคมี หรือตําแหน่งวาล์วฉีด
นํ้ายาเคมี หรือตําแหน่งหัวสําหรับอัดฉีดนํ้ายาเคมีรอบอาคาร หรือภายในอาคารแบบขยายแสดงการ
ยึดท่อติดโครงสร้างอาคารขัน้ ตอนการทํางานป้องกันปลวก และแบบขยายอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้องหรือ
จําเป็ นตามทีผ่ คู้ วบคุมงานต้องการ
1.1.3 ผูร้ บั จ้างต้องส่งสําเนาใบอนุญาตเพื่อแสดงว่าผูด้ าํ เนินงานป้องกันปลวกได้จดทะเบียน โดยมี
ใบอนุญาตถูกต้องจากสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข ในการอนุญาตให้
ใช้สารเคมีตามทีร่ ะบุ
1.1.4 ผูร้ บั จ้างต้องส่งสําเนาตัวอย่างใบรับประกันสําหรับงานป้องกันปลวก และหนังสือแสดงผลงานทีผ่ ่าน
มาเพื่อประกอบการพิจารณาคุณสมบัตขิ องผูด้ าํ เนินงานป้องกันปลวก
1.1.5 จัดส่งรายละเอียดอื่นๆ ตามทีผ่ คู้ วบคุมงานต้องการ เช่น ระยะและตารางการบริการตรวจสอบผลการ
ดําเนินการกําจัดปลวกตลอดระยะเวลารับประกัน
2. วัสดุ
2.1 ท่อนํ้ายาเคมี ให้ใช้ท่อ PVC ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 18 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว) คุณสมบัตติ ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.17-2532 ชัน้ 13.5 พร้อมข้อต่อ PVC ชัน้ 13.5 ฉีดด้วยเครื่อง ส่วนวาล์วฉีด
นํ้ายาเคมีใช้ชนิด PVC หรือวัสดุทส่ี ามารถป้องกันการกัดกร่อนของนํ้ายาเคมีได้ตามมาตรฐานผูต้ ดิ ตัง้
2.2 สารเคมี ให้ใช้สารเคมีป้องกันปลวกในกลุ่ม Pyrethroid โดยต้องได้รบั การอนุญาตและขึน้ ทะเบียนไว้กบั
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
เช่น Steadfast 8 SC ความเข้มข้น 0.1%
หรือ คลอร์ไพริฟอส 40 % EC
หรือ อิมดิ าคลอปริด 20 % SC
หรือ ฟิโพรนิล 2.9 % EC
หรือ แอลฟ่า-ไซเปอร์เมทริน 8 % SC
หรือ Lyctane TC ความเข้มข้น 0.25-0.5%
หรือ Demon TC ความเข้มข้น 0.25-0.5%

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 124 of 521

2.3 รายชื่อผูด้ าํ เนินงานป้องกันปลวก เช่น บริษทั อุตรดิตถ์ กําจัดปลวก บริษทั 12 เพสท์ คอนโทรล เซอร์วสิ
จํากัด หรือ บริษทั เวล-เพสท์ คอนโทรล จํากัด หรือ บริษทั แอ๊ดวานซ์ เซอร์วสิ (ประเทศไทย) จํากัด
บจก. โอภา เซอร์วสิ (ประเทศไทย)
หรือทีไ่ ด้รบั การพิจารณาคุณสมบัตจิ ากผูค้ วบคุมงานและพิจารณาแล้วสามารถเทียบเท่าได้ ทัง้ นี้ให้ผ่านการ
พิจารณาจากกรรมการตรวจการจ้างก่อนดําเนินการ
3. วิธกี ารดําเนินงาน
3.1 ทัวไป ่
3.1.1 เลือกสารเคมีตามทีก่ าํ หนด ผสมในอัตราส่วนและฉีดคลุมบริเวณพืน้ ทีต่ ามปริมาณทีก่ าํ หนด
ผูด้ าํ เนินการต้องรูเ้ ทคนิคและวิธกี ารเป็ นอย่างดี การทํางานอาจปรับเปลีย่ นให้เข้ากับสภาพพืน้ ที่ แต่
การปฏิบตั จิ ะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้
3.1.2 พืน้ ใต้ถุนยกสูง แนวพืน้ ดิน บริเวณกําแพง หรือคานคอดินของใต้ถุน ต้องทําให้ร่วน เพื่อให้สารเคมี
สามารถซึมลึกได้ไม่ต่ํากว่า 2 นิ้ว ของพืน้ ผิวและผนังด้านใน
3.1.3 พืน้ ถมเต็ม อัดสารเคมีให้ทวทุ ั ่ กจุดของพืน้ ผิว การเพิม่ หน้าดินใดๆ จะต้องมีการฉีดสารเคมีในส่วนที่
เพิม่
3.1.4 ท่อนํ้าดี หรือนํ้าเสียหรือท่ออื่นๆ ทีต่ อ้ งเจาะเข้าหรือฝงั ผ่านพืน้ ผนังอาคาร จะต้องฉีดสารเคมีบริเวณ
ปากทางเข้าโดยรอบของท่อ
3.1.5 ไม่อนุญาตให้ทาํ งานอัดฉีดนํ้ายาเคมีป้องกันปลวกในสภาพพืน้ ทีท่ เ่ี ปี ยกแฉะ หรือหลังฝนตก หรือมี
การเคลื่อนไหลของดิน
3.2 การวางท่อ
หลังจากดําเนินการก่อสร้างโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องให้ผเู้ ชีย่ วชาญด้านการ
ป้องกันและกําจัดปลวกติดต่อประสานงานต่อผูว้ ่าจ้าง ได้แล้วจึงให้ทาํ การวางท่อนํ้ายาเคมียดึ ติดให้แข็งแรง ขนานติดกับ
แนวคานด้านในรอบตัวอาคาร และส่วนกลางของอาคาร ตามทีแ่ สดงไว้ใน SHOP DRAWING ระยะวาล์วฉีดนํ้ายาเคมีบน
ท่อห่างกันไม่เกิน 1.00 เมตร และต้องมีหวั อัดนํ้ายาเคมีรอบอาคาร เป็ นช่วงๆ ตามความยาวของท่อไม่เกินช่วงละ 15
เมตร ติดหัวอัดนํ้ายาเคมีทห่ี วั และท้ายของช่วงท่อนัน้ ๆ ดําเนินการวางท่อจนสามารถอัดฉีดนํ้ายาเคมีได้ครอบคลุมเต็มพืน้ ที่
ของอาคาร (การกําจัดปลวกแบบวางท่อจะกําหนดไว้ในรูปแบบและราคาเสมอ หากไม่ระบุให้เป็นการจัดทํา SOIL
TREATMENT แบบฉีดลงดินแทน)
3.3 การอัดและฉีดพ่นนํ้ายาเคมี
3.3.1 ดําเนินการอัดนํ้ายาเคมีลงดินบริเวณฐานอาคาร รอบตอม่อ และรอบส่วนของโครงสร้างทีส่ มั ผัสกับ
ดินโดยใช้เครื่องอัดแรงดันสูงอัดนํ้ายาเคมีลงใต้ดนิ ลึกประมาณ 30 เซนติเมตร ห่างจากฐานอาคาร
หรือตอม่อ หรือรอบโครงสร้างใต้ดนิ ประมาณ 20 เซนติเมตร และทิง้ ระยะห่างต่อจุดประมาณ 1.00
เมตร ตามแนวยาว โดยใช้น้ํายาผสมเสร็จในปริมาณ 5 ลิตร ต่อ 1 จุด
3.3.2 ดําเนินการฉีดนํ้ายาเคมีเคลือบผิวหน้าดินแบบครอบคลุมทุกตารางเซนติเมตร รอบนอกอาคาร โดย
ทําห่างจากแนวอาคารไม่ต่ํากว่า 1.00 เมตร โดยรอบ อัตราการใช้น้ํายาเคมีผสมเสร็จไม่ต่ํากว่า 5
ลิตร ต่อ 1 ตารางเมตร
3.3.3 ดําเนินการอัดนํ้ายาเคมีเข้าท่อ โดยใช้น้ํายาผสมเสร็จในปริมาณเฉลีย่ 15 ลิตร ต่อทุกๆ ความยาว
3.00 เมตร ของท่อ
3.3.4 รายละเอียดอื่นๆ ทีม่ ไิ ด้กล่าวถึงให้ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามข้อกําหนดของ Thailand Pest
Management Association (TPMA)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 125 of 521

4. รายละเอียดระบบการวางท่อ
ระบบการวางท่อ คือระบบการป้องกันและกําจัดปลวก ใต้พน้ิ ดินด้วยการอัดสารเคมีชนิดนํ้าเข้าท่อ
คุณสมบัตขิ องท่อ HDPE
1. เป็ นท่อทีส่ ามารถใช้งานอุตสาหกรรมทัวไป ่ ได้แก่ อุตสาหกรรมอาหาร อุตสาหกรรมสารเคมี การประปา งาน
การเกษตร สนามกอล์ฟ เหมืองแร่ ท่อร้อยสายไฟ สายเคเลิล้ ท่อส่งแก๊สธรรมชาติ ท่อนํ้าทิง้ เป็นต้น
2. สามารถโค้งงอได้ 20-40 เท่า ไม่หกั งอหรือแตกร้าวจากการทรุดตัวของพืน้ ดิน
3. สามารถทนต่อแสงแดด เคลือบสารป้องกันแดด เพื่อไม่กรอบแตก ทนต่อแรงกระแทก แรงกดทับต่าง ๆจากการ
ฝงั ดินได้ดี
4. มีคุณสมบัตเิ ป็ นกลางทางเคมีจงึ ทนต่อกรดด่างได้ดี ดังนัน้ ไม่ว่าจะติดตัง้ ใต้ดนิ หรือในนํ้าทะเล จึงไม่มกี ารผุ
กร่อน หรือ เป็ นสนิม
5. ผิวภายในท่อมีความเรียบมัน มีการเสียดทานตํ่า สามารถทนต่อแรงดันได้สงู ถึง 259.86 psi (ปอนด์ต่อ
ตารางนิ้ว) หรือ 18.3 บาร์ต่อตารางนิ้ว
6. สามารถทนต่อสภาพดินฟ้าอากาศทีเปลีย่ นแปลงได้เป็ นอย่างดี แม้ภาวะทีร่ อ้ นจัด หรือเย็นจัด เพราะได้ผลิต
ตามมาตรฐาน BS HEAVY มาตรฐานของประเทศอังกฤษ
อุปกรณ์วางท่อ
1. ท่อHDPE ซึง่ มีขนาดของเส้นผ่าศูนย์กลางรอบนอกเท่ากับ 21.4 มิลลิเมตร และความหนาของท่อเท่ากับ 303
มิลลิเมตร
2. ข้องอ ข้อต่อตรงเกลียวใน นิปเปิ้ล (ต่อตรงเกลียวนอก เข็มขัดรัดท่อ ตะปูเกลียว พุก และปล่อยสารเคมี
(สปิ งเกลอร์)
3. สว่านไฟฟ้าสําหรับเจาะท่อและคาน
วิธกี ารทําบริการด้วยระบบการวางท่อ
1. ใช้สว่านเจาะรูท่อ และทําเกลียวทีเ่ จาะทุกรู ระยะห่างจากจุดประมาณ 1 เมตร ใส่หวั ปล่อยสารเคมีตามรูทเ่ี จาะ
ทุกรู หมุนตามเกลียวทีท่ าํ ไว้เพือ่ ป้องกันการหลุดออกของหัวปล่อยสารเคมี และปรับหัวปล่อยสารเคมีอยู่ใน
ทิศทางเดียวกัน
2. ผูร้ บั จ้างจะเริม่ ปฏิบตั งิ านได้ หลังจากทีเ่ จ้าหน้าทีฝ่ า่ ยก่อสร้างได้ทาํ การเทคานคอดิน และถอนแบบออก
เรียบร้อย
3. ผูร้ บั จ้างจะเริม่ ดําเนินการวางท่อ ตามแบบแปลนการวางท่อ ซึง่ ผูร้ บั จ้าง เป็ นผูจ้ ดั ทําให้กบั ผูว้ ่าจ้างหรือตัวแทน
ผูว้ ่าจ้าง ท่อทีจ่ ะวางต้องขนานติดด้านในรอบตัวอาคาร โดยให้ลงลึกจากคานด้านบนประมาณ 15.30
เซนติเมตร ปรับระดับของท่อจากแนวคานในระดับประมาณ 45-90 องศา จากแนวคาน
4. ใช้เข็มขัดรัดท่อ ทําการรัดท่อให้ตดิ กับแนวคานระยะห่างแต่ละจูดประมาณ 1-1.5 เมตร
5. กําหนดจุดทีจ่ ะติดตัง้ หัวอัดสารเคมี โดยความยาวของท่อ HDPE จะเท่ากับ 20 เมตร ต่อหัวอัดสารเคมี
6. การตัดตัง้ หัวอัดสารเคมี จะห่างจากผนังของอาคารด้านนอก อย่างน้อยประมาณ 10 เซนติเมตร
สารเคมีทน่ี ํามาใช้ได้รบั การขึน้ ทะเบียนจากหน่วยงานของรัฐ
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
หมายเหตุ สารเคมีทใ่ี ช้ กลุม่ คลอร์ไพริฟอส
วิธใี ช้สารเคมีลงในดิน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 126 of 521

กรณี Soil treatment System


Soil Treatment system คือการป้องกันและการกําจัดปลวกใต้ดนิ ทีม่ ปี ระสิทธิภาพด้วยการอัดสารเคมีลงดินและการ
พ่นสารเคมีลงพืน้ ดิน ครอบคลุมพืน้ ทีท่ ุกตารางเมตร

ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ระบบ Soil Treatment


1. บริเวณภายในตัวอาคารใช้หวั อัดแรง (Sub-floor high pressure injector) อัดสารเคมีลงในดินลึกประมาณ
1.5 ฟุต (ประมาณ 30-50 เซนติเมตร) โดยใช้เครื่องอัดทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูง ซึง่ กําลังแรงดันเครื่องประมาณ
25 ปอนด์ ต่อตารางนิ้ว ห่างจากฐานหรือตอม่อโครงสร้างใต้ดนิ ประมาณ 20 เซนติเมตรและทิง้ ระยะห่างต่อ
จุดประมาณ 1 เมตร ตามแนวยาว โดยใช้สารเคมีทผ่ี สมเสร็จในปริมาณ 20 เซนติเมตรและทิง้ ระยะห่างต่อจุด
ประมาณ 1 เมตร ตามแนวยาว โดยใช้สารเคมีทผ่ี สมเสร็จในปริมาณ 5 ลิตร ต่อ 1 จุด
2. ดําเนินการฉีดพ่นสารเคมีบนพืน้ ดิน ให้ครอบคลุมพืน้ ทีท่ ุกตารางเมตร โดยใช้สารเคมีในปริมาณ 2 ลิตรต่อ
ตารางเมตร
3. ส่วนบริเวณภายนอกรอบตัวอาคาร หลังจากทีป่ รับพืน้ ดินบริเวณรอบอาคารเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้าง จะ
ดําเนินการอัดสารเคมีลงในดินลึกประมาณ 1.5 ฟุต (ประมาณ 30-50 เซนติเมตร) โดยใช้เครื่องอัดทีม่ ี
ประสิทธิภาพสูง ซึง่ กําลังแรงดันเครื่องประมาณ 25 ปอนด์ ต่อตารางนิ้วและห่างจากแนวอาคารโดยรอบไม่
ตํ่ากว่า 1 เมตรตามแนวยาวโดยใช้สารเคมีทผ่ี สมเสร็จในปริมาณลิตรต่อ 1 จุด
4. ดําเนินการฉีดพ่นสารเคมีบนพืน้ ผิวดินแบบครอบคลุมทุกตารางเมตรนอกอาคาร ห่างจากแนวอาคารโดยรอบ
ไม่ต่ํากว่า 1 เมตร โดยใช้สารเคมีทผ่ี สมเสร็จในปริมาณ 2 ลิตรต่อตารางเมตร
5. ในการดําเนินการให้เน้นเป็ นพิเศษ บริเวณทีม่ คี วามชืน้ สูง เช่น ห้องนํ้า ห้องเก็บของ หรือช่องท่อชาร์ป เป็ น
ต้น

สารเคมีทใ่ี ช้เพื่อความปลอดภัยต่อผูใ้ ช้อาคาร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 127 of 521

ผูร้ บั จ้างต้องตระหนักถึงประโยชน์และความปลอดภัย โดยเลือกใช้สารเคมีทมี ปี ระสิทธิภาพในการป้องกันกําจัดแมลง สัตว์


พาหนะ สัตว์ศตั รู และมีความปลอดภัยต่อผูใ้ ช้อาคาร สัตว์เลีย้ งและสภาพสิง่ แวดล้อม สารเคมีตอ้ งได้รบั การรับรองจาก
สํานักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข

5. การรับประกัน
1. ให้ผรู้ บั จ้างรับประกันผลงานเป็ นระยะเวลา 3 ปี นับจากวันส่งมอบงานให้กบั ผูว้ ่าจ้าง หากมีปญั หาการเข้า
ทําลายของปลวกเกิดขึน้ ในช่วงระยะเวลารับประกัน ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการกําจัดและแก้ไขภายใน 7 วัน
หลังจากทีไ่ ด้รบั แจ้งจากผูว้ ่าจ้าง โดยผูร้ บั จ้างต้องนําส่งตารางการบริการ งานตรวจสอบ การกําจัดปลวก เป็ น
เอกสารต่อตัวแทนผูว้ ่าจ้าง หรืองานพัสดุของโครงการเพื่อใช้เร่งรัดและติดตามผลการดําเนินงานระหว่างการ
ประกันต่อไป
2. ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการตรวจสอบปลวกทุก 6 เดือน ต่อครัง้ ตลอดระยะเวลาสัญญา
3. ในกรณีผรู้ บั จ้างเปลีย่ นแปลงสถานทีต่ ดิ ต่อ หรืออื่น ๆ จะต้องแจ้งให้ผวู้ ่าจ้างทราบทุกครัง้ เพื่อความสะดวกใน
การแจ้งปฏิบตั งิ านครัง้ ต่อไป

จบหมวดที่ 25

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 128 of 521

หมวดที่ 26
การก่อสร้างถนน และที่จอดรถ

รายการประกอบแบบนี้กาํ หนดให้ใช้สาํ หรับงานก่อสร้างถนนและทีจ่ อดรถ กรณีมงี านโครงสร้างและภูม-ิ


สถาปตยกรรม ตลอดจนงานระบบทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น งานระบบไฟฟ้า ระบบสุขาภิบาล กําหนดให้พจิ ารณาประกอบกันไป

1. การดาเนิ นงาน
1.1 ก่อนดําเนินงานผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบขนาด ระยะ และสภาพต่าง ๆ ของงานทีจ่ ะปรับปรุง และ / หรือ
ก่อสร้างตามสัญญารายการนี้ในสถานทีจ่ ริง
1.2 งานปลีกย่อยส่วนใดทีม่ ไิ ด้ระบุไว้ในแบบรูปและรายการ แต่มคี วามจําเป็ นต้องกระทําเพื่อให้งานสําเร็จไป
โดยเรียบร้อยตามหลักวิชาช่างทีด่ ี และ/หรือเพื่อให้งานปรับปรุง และ/ หรือก่อสร้างบรรลุผลตามวัตถุประสงค์
หรือมีคาํ วินิจฉัยของผูว้ ่าจ้างให้แก้ไขเกีย่ วกับแบบรูปรายการหากการแก้ไขนัน้ ไม่ผดิ เปลีย่ นไปจากสาระ
สําคัญแห่งแบบรูปและรายการแล้ว ผูร้ บั จ้างสัญญาว่าจะยินยอมทํางานนัน้ ๆ ให้แล้วเสร็จเรียบร้อย โดยไม่
คิดค่าจ้างและเวลาเพิม่ เติมจากทีไ่ ด้ตกลงกันไว้ตามสัญญาจ้าง

1.3 ในกรณีทม่ี ปี ญหาเกี ย่ วกับแบบรูปและรายการ หรืออุปสรรคในการดําเนินงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องสอบถามจาก
คณะกรรมการตรวจการจ้าง เมือ่ คณะกรรมการตรวจการจ้างให้แก้ไขประการใด ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ าม
ทันที
1.4 ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับงานในเรื่องแนวและระดับ คณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูแ้ ทนจะเป็ นผูก้ าํ หนดหมุดแนว
และหมุดระดับหลักฐานอ้างอิงส่วนทีจ่ าํ เป็ นให้ ซึง่ ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลรักษาไม่ให้เกิดความเสียหาย หรือ
เปลีย่ นแปลงตลอดระยะเวลาการดําเนินงาน
1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องปกั หมุดหรือดําเนินการด้วยวิธอี ่นื ใด เพื่อแสดงตําแหน่งของงานทุกช่วงระยะห่างกัน 50
เมตรนับจากจุดเริม่ ต้นไปจนจุดสิน้ สุดความยาวทีจ่ ะทําการปรับปรุงและ/หรือก่อสร้าง และจะต้องรักษาไว้
จนกว่าผูว้ า่ จ้างจะได้รบั มอบงานตามสัญญาจ้างทีไ่ ด้แล้วเสร็จลงหมุดแนวหมุดระดับ และหมุดหลักอื่นๆ
นอกเหนือจกหมุดหลักฐานอ้างอิงทีก่ ล่าวในข้อ (1.4) ซึง่ จะต้องทําเพิม่ เติมเพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงและ /
หรือก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็นผูจ้ ดั ทําและรับผิดชอบเองทัง้ สิน้
1.6 ก่อนลงมือทําการปรับปรุง และ/หรือก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งวัสดุก่อสร้างต่าง ๆ ตามแบบรูปรายการที่
จะนํามาใช้ในงาน ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจสอบก่อน เมื่อได้รบั อนุญาตแล้วจึงนําวัสดุดงั กล่าวไป
ใช้ได้ในกรณีทค่ี ณะกรรมการตรวจการจ้างสงสัยว่าวัสดุมคี ุณภาพตํ่ากว่ากําหนดไว้ในแบบรูปรายการ
คณะกรรมการตรวจการจ้างมีสทิ ธิทจ่ี ะสังให้ ่ ผรู้ บั จ้างนําวัสดุดงั กล่าวไปทําการทดสอบคุณภาพ ณ สถาบันที่
เชื่อถือได้ แล้วส่งผลการทดสอบให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา (ค่าใช้จ่ายในการทดสอบทัง้ หมด
เป็ นของผูร้ บั จ้าง) ถ้าหากปรากฏว่าวัสดุใดมีคุณภาพตํ่ากว่าทีก่ าํ หนดไว้ ให้ผรู้ บั จ้างจัดหาวัสดุใหม่ทม่ี ี
คุณภาพเท่าเทียมหรือดีกว่าทีก่ าํ หนดไว้ หรือหาวัสดุทจ่ี าํ เป็ นมาเพิม่ เติม เพื่อให้ได้คุณภาพเท่าเทียมหรือ
ดีกว่าทีก่ าํ หนดไว้ แต่อย่างไรก็ดกี ารเปลีย่ นแปลงหรือเพิม่ เติมส่วนวัสดุต่างๆ ทีใ่ ช้ในการปรับปรุง และ/หรือ
ก่อสร้างจะต้องได้รบั ความเห็นชอบ และอนุญาตจากผูว้ ่าจ้างเสียก่อนทุกครัง้
1.7 การปรับปรุง และ/หรือก่อสร้างชัน้ ทางต่างๆ เมื่อผูร้ บั จ้างจะทํางานในชัน้ ถัดขึน้ มาจากทีท่ าํ ไว้แล้วได้กต็ ่อเมื่อ
ปรากฏว่าผลการทดสอบความแน่นของการบดอัดในชัน้ ทีท่ าํ ไว้แล้วนัน้ เป็ นไปตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนด (ทัง้ นี้เว้น
แต่การปรับปรุงและ / หรือก่อสร้างนัน้ เป็ นการปรับปรุงและ/หรือก่อสร้างบนถนนเดิม ซึง่ ผ่านการทําชัน้ ทาง
ต่างๆ มาแล้ว ไม่ตอ้ งทําการทดสอบ) การทดสอบความแน่นของการบดอัดครัง้ หนึ่งๆ ให้กระทําทีละชัน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 129 of 521

(แต่ละชัน้ ความหนาภายหลังการบดอัดแล้วไม่เกิน 15 ซม.) ห้ามผูร้ บั จ้างทํางานในชัน้ ถัดขึน้ มาโดยยังมิได้


ทดสอบหรือผลการทดสอบของงานชัน้ ล่างยังไม่ได้ตามเกณฑ์ ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการทดสอบผูร้ บั จ้างเป็ น
ผูจ้ ่ายทัง้ หมด
1.8 ถ้าคณะกรรมการตรวจการจ้างพบว่า ผูร้ บั จ้างทําไม่ถูกต้องตามแบบรูปรายการ คณะกรรมการตรวจการจ้าง
หรือผูว้ ่าจ้างมีสทิ ธิสงให้ั ่ ผรู้ บั จ้างทําการแก้ไขให้ถูกต้องตามแบบรูปรายการทันที โดยทีผ่ รู้ บั จ้างจะเรียกร้อง
ค่าเสียหายหรือขอต่อสัญญามิได้ มิว่ากรณีใด ๆ ทัง้ สิน้
1.9 ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบแต่ฝา่ ยเดียวต่ออุบตั เิ หตุและความเสียหายใด ๆ อันเกิดแก่ทรัพย์สนิ ของทางราชการ
และ/หรือบุคคล ซึง่ เป็ นผลจากการกระทําของผูร้ บั จ้าง ทัง้ นี้ไม่ว่า อุบตั เิ หตุ และ/หรือความเสียหายนัน้ จะ
เกิดขึน้ แก่ฝา่ ยผูร้ บั จ้าง ผูว้ ่าจ้าง หรือบุคคลอื่นก็ตาม
1.10 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบแต่ฝา่ ยเดียวต่อการชํารุดเสียหายใด ๆ ทีเ่ กิดขึน้ จากการดําเนินงานนอกเหนือจาก
รายการทีผ่ รู้ บั จ้างจะต้องจัดทําซึง่ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการบูรณะซ่อมแซมหรือทําขึน้ ใหม่ให้กลับคืนสภาพดี
ตามเดิม ก่อนส่งงานโดยไม่คดิ ค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมแต่ประการใด
1.11 ผูร้ บั จ้างจะต้องอํานวยความสะดวกในการจราจรระหว่างการดําเนินงานตลอดเวลา และจะต้องติดตัง้
เครื่องหมายการจราจร สัญญาณป้องกันอันตรายต่าง ๆ ให้ถูกต้องตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของทาง
ราชการ รายละเอียดการติดตัง้ เครื่องหมายและสัญญาณให้เป็ นไปตามทีค่ ณะกรรมการป้องกันอุบตั ภิ ยั
แห่งชาติได้กาํ หนดไว้ใน “ระเบียบว่าด้วยการติดตัง้ เครื่องหมายและสัญญาณสําหรับการจัดสร้าง ซ่อมถนน
และงานสาธารณูปโภคของหน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ”
1.12 วัสดุก่อสร้างทีน่ ํามาใช้จะต้องเป็ นของใหม่ ซึง่ ไม่เคยใช้งานทีอ่ ่นื มาก่อน นอกจากสัญญาจ้างหรือแบบรูป หรือ
รายการเฉพาะงานได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
1.13 การใช้วสั ดุเทียบเท่า
1.13.1 ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างจะใช้วสั ดุเทียบเท่ากับวัสดุทร่ี ะบุไว้ในรายการ ให้ผรู้ บั จ้างทําหนังสือขอ
เทียบเท่าพร้อมทัง้ หลักฐาน เหตุผล และหนังสือรับรองคุณภาพจากสถาบันของทางราชการ หรือสถาบัน
อื่นทีเ่ ชื่อถือได้ ต่อผูว้ ่าจ้าง โดยผ่านคณะกรรมการตรวจการจ้างเพื่อพิจารณาก่อน เมื่อได้รบั อนุมตั ใิ ห้ใช้
วัสดุดงั กล่าวได้แล้ว จึงนําไปติดตัง้ หรือใช้ได้ หากยังไม่ได้รบั อนุมตั หิ า้ มนําไปติดตัง้ หรือใช้ก่อนโดยเด็ดขาด
ระยะเวลาทีเ่ สียไปในการเทียบเท่านี้ ผูร้ บั จ้างจะถือเป็ นเหตุต่อสัญญาไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใดๆ ทัง้ สิน้
1.13.2 เมื่อผูร้ บั จ้างใช้วสั ดุทม่ี คี ณ
ุ ภาพเทียบเท่า หากราคาของวัสดุทข่ี อเทียบเท่าตํ่ากว่าวัสดุทร่ี ะบุ
ในรายการ ผูร้ บั จ้างต้องยินยอมให้ผวู้ ่าจ้างหักเงินในส่วนของราคาทีข่ าดไป เมื่อมีการจ่ายเงินสําหรับงานงวด
นัน้
1.14 การใช้วสั ดุและอุปกรณ์ทก่ี าํ หนดในแบบรูปรายการ
1.14.1 ให้ผรู้ บั จ้างใช้เฉพาะวัสดุ อุปกรณ์ทไ่ี ด้ระบุหมายเลขมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมไว้แล้ว
ในรายการก่อสร้างโดยให้เลือกใช้จากผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม ประเภท ชนิด และขนาดเดียวกัน
1.14.2 วัสดุอุปกรณ์ใดทีย่ งั ไม่มปี ระกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แต่มผี จู้ ดทะเบียน
ไว้กบั กระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว หรือมีประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมแล้ว แต่มผี ไู้ ด้รบั
ใบอนุญาตไม่ถงึ สองรายให้ผรู้ บั จ้างเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์ทผ่ี ลิตในประเทศไทยเทียบเท่าได้โดยให้มี
รายละเอียดหรือคุณลักษณะเฉพาะตามทีร่ ะบุไว้ในคูม่ อื ผูซ้ อ้ื หรือใบแทรกคู่มอื ผูซ้ อ้ื ของกระทรวงอุตสาหกรรม
และให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการขออนุญาตใช้วสั ดุเทียบเท่าข้อ 1.13 ได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 130 of 521

1.14.3 วัสดุอุปกรณ์ทร่ี ะบุไว้ในรายการทีย่ งั ไม่ได้กาํ หนดเป็ นมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรมไว้ให้ผรู้ บั จ้าง


ใช้ตามรายการทีร่ ะบุ
หมายเหตุ กรณีมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทีร่ ะบุไว้ในรายการ มีหมายเลขใดทีม่ กี ารปรับปรุง
หรือแก้ไขเพิม่ เติม หรือเปลีย่ นแปลงหมายเลขมาตรฐาน ภายหลังการทําสัญญาแล้วให้ถอื หมายเลขมาตรฐานหรือ
ประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมฉบับล่าสุดเป็ นเกณฑ์
1.15 รายละเอียดในรายการมาตรฐานงานถนนนี้ ใช้สาํ หรับงาน ปรับปรุง และ/หรือก่อสร้าง หรือเกีย่ วข้องกับงานที่
กําหนดเท่านัน้ หากมีรายละเอียดส่วนใดทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับงานนี้กใ็ ห้ยกเลิกไป

2 งานกรุยแนวทางและขุดตอ
2.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
งานกรุยแนวทางและขุดตอ ให้กระทําในบริเวณก่อสร้างภายในเขตทาง บรรดาสิง่ ก่อสร้างทีก่ ดี ขวางและเป็ น
อุปสรรคแก่งานก่อสร้าง ทัง้ ทีอ่ ยูเ่ หนือพืน้ ดินและอยู่ใต้พน้ื ดิน ตลอดจนสิง่ ใด ๆ ทีอ่ าจจะทําให้ถนนซึง่ จะสร้างขึน้
ใหม่เสียความมันคงแข็
่ งแรง หรือเสียประโยชน์ใช้สอยในภายหน้า ให้ถอื ว่าเป็ นสิง่ ไม่พงึ ประสงค์ ผูร้ บั จ้างจะต้องรือ้
ถอนหรือกําจัดออกไปให้พน้ จากบริเวณก่อสร้าง
2.2 วิ ธีการทางาน
2.2.1 การปรับพืน้ ที่
(ก) พืน้ ทีใ่ นบริเวณทีจ่ ะสร้างถนนซึง่ จะต้องกําจัดรากไม้ ตอไม้ วัชพืชและสิง่ ปฏิกลู ให้ขดุ ตํ่าลง
ไปจากระดับหลังคันทาง (FINISHED SUBGRADE) ไม่น้อยกว่า 40 ซ.ม.
(ข) พืน้ ทีใ่ นบริเวณทีร่ ะดับหลังคันทางทีจ่ ะสร้างใหม่สูงกว่าระดับดินเดิม (EXISTING GROUND)
เกินกว่า 80 ซ.ม. ต้นไม้และตอไม้ต่างๆ ให้ตดั ออกเสมอระดับดินเดิมก่อนทีจ่ ะทําการถม
(ค) ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความระมัดระวังในการดูแลสงวนต้นไม้ทม่ี อี ยู่ใกล้บริเวณก่อสร้าง ห้ามทํา
การตัดโค่นโดยไม่จาํ เป็ น คณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูแ้ ทนจะเป็ นผูก้ าํ หนดว่า ต้นไม้ตน้ ใดบ้างทีจ่ ะให้คงไว้
และเป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องคอยดูแลรักษามิให้ตายหรือเสียหายตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง
(ง) วัสดุต่างๆ ทีข่ ดุ ออกจากถนนเดิม และมีคุณสมบัตอิ ยูใ่ นเกณฑ์ทจ่ี ะใช้งานต่อไปได้ให้นําไป
กองรวมไว้ ณ บริเวณทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างหรือผูแ้ ทนกําหนดให้
(จ) วัสดุต่างๆ ทีข่ ดุ ออกหรือรือ้ ถอนออก และไม่อยูใ่ นเกณฑ์ทจ่ี ะใช้งานได้ ให้ผรู้ บั จ้างรีบขนย้าย
ออกไปให้พน้ บริเวณก่อสร้างทันที โดยให้จดั การส่งไปไว้ยงั ทีใ่ ดๆ ตามทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างกําหนด
2.2.2 ปริมาณงาน
งานกรุยแนวทางและขุดตอให้ทาํ เต็มความกว้างของถนนจากจุดสุดลาดไหล่ทางฝงหนึ ั ่ ่งไปจรดสุด
ลาดไหล่ทางอีกฝงหนึ ั ่ ่ง สําหรับงานสร้างถนนทีไ่ ม่มไี หล่ทาง ให้ทาํ เต็มความกว้างจากขอบนอกของถนนฝงหนึ ั ่ ่ง
ไปจรดขอบนอกของถนนอีกฝงหนึ ั ่ ่งเช่นเดียวกัน
3. งานคันทาง
3.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
งานคันทางจะต้องสร้างให้ได้ความกว้าง แนว ระดับ รูปร่าง ส่วนลาดโค้ง ตลอดจนความแน่นในการบด
อัดเป็ นไปตามกําหนดไว้ในแบบรูปรายการก่อสร้างในการทํางานให้ทาํ ติดต่อกันเป็ นช่วงยาวตลอดห้ามทําการ
ก่อสร้างเป็ นช่วงๆ นอกจากกรณีผรู้ บั จ้างมีเครื่องจักร เครื่องมือสําหรับทํางานมากกว่า 1 ชุด หรือกรณีจาํ เป็ นซึง่
ต้องได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 131 of 521

ในระหว่างการก่อสร้างคันทางนี้ ผูร้ บั จ้างจะต้องแต่งลาดให้อยู่ในลักษณะทีส่ ามารถระบายนํ้าได้ตลอดเวลา


คันทางทีไ่ ด้รบั การตรวจสอบว่าถูกต้องแล้ว หากผูร้ บั จ้างมิได้ดาํ เนินการก่อสร้างต่อเนื่องไปในทันที และต่อมาได้
เกิดความเสียหายขึน้ ไม่ว่าจะเกิดจากสาเหตุใดก็ตาม คณะกรรมการตรวจการจ้างมีสทิ ธิสงให้ ั ่ แก้ไขใหม่ และอาจจะ
ให้ทาํ การทดสอบความแน่นของการบดอัดใหม่กไ็ ด้
คันทางทีส่ ร้างขึน้ ไม่ว่าจะเป็ นงานขุดตัดคันทาง หรืองานถมคันทาง จะต้องได้รบั การบดอัดให้ได้ความ
แน่นของการบดอัดไม่ต่ํากว่า 95 % ของความแน่นมาตรฐาน (STANDARD PROCTOR DENSITY)
3.2 วัสดุ
วัสดุทใ่ี ช้ถมคันทาง จะต้องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้
(ก) ปราศจากอินทรียวัตถุ เช่น ใบไม้ รากไม้ วัชพืช และสิง่ ปฏิกลู อื่น ๆ
(ข) ค่าความแน่นเมื่อแห้ง (DRY DENSITY) ไม่น้อยกว่า 90 ปอนด์ ต่อลูกบาศก์ฟุต (1,440
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
(ค) ค่า C.B.R. ในห้องปฏิบตั กิ ารทดลองไม่น้อยกว่า 2.5 % และค่า SWELL ซึง่ วัดได้จากการ
ทดสอบ C.B.R. ต้องไม่เกิน 4 %
(ง) มีขนาดเม็ดผ่านตะแกรง 3/8” ได้ 100 % และผ่านตะแกรงเบอร์ 200 ไม่เกิน 25 %
3.3 วิ ธีการทางาน
3.3.1 การขุดตัดคันทาง
(ก) วัสดุต่าง ๆ ทีข่ ดุ ออกและมีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์ทจ่ี ะใช้งานต่อไปได้ ให้นําไปกองไว้ ณ ที่
ซึง่ คณะกรรมการตรวจการจ้างกําหนดให้ หรือบริเวณทีจ่ ะทําการถม โดยไม่ให้กดี ขวางการจราจรและการระบายนํ้า
ส่วนวัสดุทข่ี ดุ ออกและใช้งานไม่ได้ ให้ผรู้ บั จ้างขนออกไปให้พน้ บริเวณก่อสร้างทันที
(ข) การขุดตัดจะต้องกระทําภายในเขตซึง่ กําหนดไว้เท่านัน้ นอกจากกรณีจาํ เป็ นซึง่ จะต้องได้รบั
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้าง
(ค) เมื่อทําการขุดตัดถึงระดับทีต่ อ้ งการแล้ว ถ้าปรากฏว่าคุณสมบัตขิ องวัสดุชนั ้ นัน้ ๆ ไม่ได้
ตามเกณฑ์หรือไม่มเี สถียรภาพเพียงพอ ให้ทาํ การขุดตัดลงไปอีกแล้วนําวัสดุทเ่ี หมาะสมมาใส่แทนจนใช้การได้ ทัง้ นี้
ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
(ง) ให้ทาํ การบดอัดเพิม่ เติมแล้วตบแต่งทํา FINE GRADE เพือ่ ปรับระดับส่วนลาดโค้งให้เป็ นไป
ตามความต้องการ

3.3.2 การถมคันทาง
(ก) ในบริเวณทีจ่ ะทําการถมจะต้องได้รบั การตรวจสอบจากคณะกรรมการ ตรวจการจ้าง
เสียก่อนว่างานในชัน้ กรุยแนวทางและขุดตอได้กระทําถูกต้องแล้ว
(ข) ในกรณีทจ่ี ะทําการถมบนผิวทางเดิมและปรากฏว่าความหนาของวัสดุคนั ทางทีจ่ ะทําการ
ถมน้อยกว่า 10 ซ.ม. จะต้องทําการไถคราดผิวหน้าของผิวทางเดิมให้แตกย่อยเป็ นก้อนเล็กเสียก่อน เพื่อให้มกี าร
ยึดเหนี่ยวระหว่างวัสดุเก่าและวัสดุใหม่
(ค) การถมจะต้องเกลีย่ ใส่วสั ดุเป็ นชัน้ ๆ ให้เต็มความกว้างยาวของบริเวณทีจ่ ะทําการถม โดย
ใช้ใบมีดรถเกลีย่ เกลีย่ กลับไปมา หรือใช้วธิ อี ่นื ทีค่ ล้ายกัน จนได้วสั ดุเป็ นเนื้อเดียวกัน พรมนํ้าตามจํานวนทีต่ อ้ งการ
แล้วใช้รถเกลีย่ ปาดเกลีย่ ให้วสั ดุมคี วามชืน้ สมํ่าเสมอทัวกั่ น ก่อนทําการบดอัด ทัง้ นี้เพื่อให้ได้ชนั ้ ของวัสดุหลังการ
บดอัดมีความแน่นและความชืน้ สมํ่าเสมอ ในการถมซึง่ มิได้ทาํ เต็มตามความกว้างยาวตลอดบริเวณทีจ่ ะถมดังทีก่ ล่าว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 132 of 521

ในวรรคก่อน เมื่อทําการถมต่อจากทีไ่ ด้ถมบดอัดไว้แล้ว ให้ดาํ เนินการตามวิธกี ารทีก่ ล่าวไว้ในข้อ 3.3.3 ว่าด้วยการ


ขยายคันทาง
(ง) การถมคันทางจะต้องทําเป็นชัน้ ๆ ความหนาของแต่ละชัน้ จะต้องไม่เกิน 15 ซ.ม. (ความหนา
ภายหลังการบดอัด) และทุกๆ ชัน้ จะต้องทําการบดอัดให้ได้ความแน่นตามต้องการ
(จ) เมื่อถมและบดอัดจนถึงระดับแล้ว ให้ตบแต่งทํา FINE GRADE ให้เป็ นไปตามต้องการ
3.3.3 การขยายคันทาง
ให้ตดั ลาดไหล่ทางของคันทางเดิมจากสุดลาดไหล่ทางถึงขอบไหล่ทางให้เป็ นขัน้ บันได
(BENCHING) โดยให้มคี วามหนาไม่เกินชัน้ ละ 15 ซ.ม. แล้วจึงเกลีย่ ใส่วสั ดุ คันทางทําการบดอัดต่อไปตามวิธที ่ี
กล่าวมาแล้วในข้อ 3.3.2
3.3.4 ปริมาณงานและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
(ก) งานสร้างคันทางให้ทาํ เต็มความกว้างของถนนจากสุดลาดไหล่ทางฝงหนึ ั ่ ่งไปจรดสุดลาดไหล่
ทางของอีกฝงหนึ ั ่ ่ง สําหรับงานสร้างถนนทีไ่ ม่มไี หล่ทาง ให้ทาํ เต็มความกว้างจากขอบนอกของถนนฝงหนึ ั ่ ่งไปจรด
ขอบนอกของถนนอีกฝงหนึ ั ่ ่งเช่นเดียวกัน
(ข) คันทางทีท่ าํ FINE GRADE แล้ว ระดับในแนวทีข่ นานไปกับศูนย์กลางของถนนทีต่ รวจสอบ
ได้จะต้องต่างกันไม่เกิน 1 ซ.ม. ในทุกระยะ 3.00 เมตร ส่วนต่าระดับยอมให้มกี ารคลาดเคลื่อนจากทีก่ าํ หนดได้ไม่
เกิน 1.5 ซ.ม.
เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ตามทีก่ าํ หนดในวรรคก่อน ให้ยกเว้นตอนทีต่ อ้ งมีการปรับส่วน
ลาดโค้งของถนนเพื่อให้กลมกลืนกับถนนเดิมทีม่ อี ยู่แล้ว ทัง้ นี้ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
4. งานพืน้ ฐาน
4.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
ข้อกําหนดในหมวดนี้ให้ใช้บงั คับแก่งานสร้างชัน้ รองพืน้ ทาง (SUBBASE COURSE) และชัน้ พืน้ ทาง
(BASE COURSE) ซึง่ รวมเรียกว่า พืน้ ฐานของถนน และ ให้นําข้อกําหนดทัวไปในข้ ่ อ 3.1 มาใช้บงั คับสร้าง
พืน้ ฐานนี้เพียงเท่าทีไ่ ม่ขดั กับข้อกําหนดเฉพาะสําหรับงานสร้างพืน้ ฐานดังจะได้กล่าวต่อไปนี้
พืน้ ฐานทีส่ ร้างขึน้ ไม่ว่าจะเป็ นงานพืน้ ฐานสร้างใหม่ หรืองานปรับเสริมพืน้ ฐาน จะต้องได้รบั การบดอัดให้
ได้ความแน่นตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูป หรือรายการก่อสร้างเฉพาะงาน ถ้าแบบรูปหรือรายการก่อสร้างเฉพาะงาน
มิได้กาํ หนดไว้ ความแน่นของการบดอัดจะต้องทดสอบได้ไม่ต่ํากว่า 95 % ของความแน่นแห้งสูงสุดซึง่ ได้จากการ
ทดลองตามระเบียบวิธี MODIFIED PROCTOR ในห้องปฏิบตั กิ ารทดลอง
4.2 วัสดุ
วัสดุทใ่ี ช้ทาํ พืน้ ฐาน จะต้องมีคณ ุ สมบัตดิ งั นี้
1. ปราศจากอินทรียวัตถุ เช่น ใบไม้ รากไม้ วัชพืช ขยะและสิง่ ปฏิกลู อื่น ๆ
2. เป็ นวัสดุเลือกสรรประกอบด้วยเม็ดแข็งทนทาน มีขนาดคละกันสมํ่าเสมอ
จากใหญ่มาหาเล็ก โดยจะต้องมีสว่ นคละของขนาดเม็ดตามตาราง ดังนี้ (สดมภ์ A ถึง D ใช้กบั ชัน้ พืน้ ทาง และ
สดมภ์ A ถึง E ใช้กบั ชัน้ รองพืน้ ทาง)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 133 of 521

ขนาดตะแกรงร่อน ร้อยละทีผ่ ่านตะแกรงโดยนํ้าหนัก


(U.S. SIEVE) A B C D E
2" 100 100 - - -
1" - - 100 100 100
3/8 " 30 – 65 40 -75 50 – 85 60 – 100 -
เบอร์ 10 15 – 40 20 – 45 25 – 50 40 – 70 40 – 100
เบอร์ 40 8 – 20 15 – 30 15 – 30 25 – 45 20 – 50
เบอร์ 200 2-8 5 - 20 5 - 15 5 - 20 6 - 20

3. จะต้องมีขดี เหลว (LIQUID LIMIT) ไม่เกิน 25 % สําหรับวัสดุชนั ้ พืน้ ทาง หรือไม่เกิน 35 %


สําหรับวัสดุชนั ้ รองพืน้ ทาง
4. จะต้องมีดชั นีพลาสติก (PLASTICITY INDEX) ไม่เกิน 6 % สําหรับวัสดุชนั ้ พืน้ ทาง หรือไม่เกิน
11 % สําหรับวัสดุชนั ้ รองพืน้ ทาง
5. จะต้องมีค่า C.B.R. ไม่ต่ํากว่าทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูปหรือรายการก่อสร้างเฉพาะงาน
4.3 วิ ธีการทางาน
4.3.1 งานสร้างพืน้ ฐานใหม่
(ก) ก่อนทีจ่ ะลงมือทําการสร้าง คันทางทีไ่ ด้รบั การเตรียมไว้แล้วจะต้องได้รบั การตรวจสอบว่าอยู่
ในสภาพเรียบร้อย ได้ความกว้าง แนว ระดับ รูปร่าง ส่วนลาดโค้ง และความแน่นของการบดอัดเป็ นไปตามกําหนด
(ข) ให้นําวัสดุพน้ื ฐานทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้ใช้ได้แล้วมาเกลีย่ ใส่เป็ นชัน้ ๆ
โดยใช้ความระมัดระวังมิให้เกิดการแยกตัวขึน้ แล้วทําการบดอัดโดยใช้เครื่องมือกลทีเ่ หมาะสมตามประเภทของวัสดุ ความ
หนาของพืน้ ฐานแต่ละชัน้ ภายหลังการบดอัดแล้ว จะต้องไม่เกิน 15 ซ.ม.
(ค) ในการเกลีย่ ใส่วสั ดุและบดอัดให้กระทําจากริมทัง้ สองข้างของเขตทางเลื่อนเข้าหาศูนย์กลาง
ของถนน และจากทีร่ ะดับตํ่าไปทีร่ ะดับสูง
(ง) ในกรณีทท่ี าํ การทดสอบความแน่นของการบดอัดครัง้ แรกแล้วปรากฏไม่ได้ตามเกณฑ์ท่ี
กําหนดไว้ ให้ทาํ การบดอัดเพิม่ เติมแล้วทําการทดสอบใหม่ เมือ่ ยังไม่ได้ความแน่นตามเกณฑ์อกี ให้ตรวจสอบดูวา่ วัสดุซง่ึ
ใช้ทาํ พืน้ ฐานนัน้ ได้เกิดการแยกตัวหรือเสียคุณสมบัตไิ ปหรือไม่ ถ้าตรวจพบกรณีดงั กล่าว ให้ผรู้ บั จ้างรือ้ ออกแล้วนําวัสดุท่ี
มีคุณภาพดีมาใส่แทน แล้วจึงทําการบดอัดใหม่และทดสอบความแน่นจนได้ตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้
(จ) เมื่อสร้างพืน้ ฐานจนได้ระดับแล้ว ให้ตบแต่งทํา FINE GRADE ให้เป็ นไปตามต้องการอีก
ครัง้ หนึ่ง
4.3.2 งานปรับเสริมพืน้ ฐานเดิ ม
(ก) ก่อนดําเนินการก่อสร้างให้ทาํ การตรวจสอบผิวทางเดิม หากพบว่าส่วนใดชํารุดเสียหายจน
เป็ น SOFT SPOT ต้องทําการแก้ไขเสียก่อน
(ข) ในกรณีเสริมพืน้ ฐานเดิม ถ้าชัน้ ของวัสดุทจ่ี ะเสริมน้อยกว่า 10 ซ.ม. ให้ทาํ การไถคราด
ผิวหน้าของผิวทางเดิมให้แตกย่อยเป็ นก้อนเล็กเสียก่อน เพื่อให้มกี ารยึดเหนี่ยวระหว่างวัสดุเก่าและวัสดุใหม่
(ค) ในกรณีปรับแต่งพืน้ ฐานเดิม ถ้าตัดถึงระดับแล้วแต่ปรากฏว่าคุณสมบัตขิ องวัสดุในชัน้ นัน้
ๆ ไม่ได้ตามเกณฑ์หรือไม่มเี สถียรภาพเพียงพอให้ทาํ การตัดลงไปอีก แล้วนําวัสดุทเ่ี หมาะสมมาใส่แทนจนใช้การได้
(ง) ให้นําบทกําหนดข้อ 4.3.1 (ข) ถึง (จ) มาใช้บงั คับแก่งานปรับเสริมพืน้ ฐานเดิมนี้ หากมิได้
ถูกยกเว้นหรือเปลีย่ นแปลงไปโดยสภาพแห่งงานทีพ่ งึ จะต้องกระทํา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 134 of 521

4.3.3 งานปรับปรุงพืน้ ฐานของถนนลาดยางเดิ ม


(ก) บริเวณใดทีผ่ วิ ทางลาดยางเดิมหลุดออกจนมองเห็นวัสดุชนั ้ Subbase หรือบริเวณใดทีท่ รุดตัว
เป็ นแอ่ง หลุม บ่อ ให้ซ่อมแซมด้วยการขุดบริเวณนัน้ ออก ในแนวตัง้ ฉากกับผิวทางโดยให้มคี วามลึกไม่น้อยกว่า 2 เท่า
ของความหนาของผิวทางและมีความกว้างยาวไม่น้อยกว่า 2 เท่าของพืน้ ทีท่ เ่ี สียหาย เก็บเศษวัสดุทร่ี ่วงลงไปในบริเวณที่
ขุดนัน้ ออกแล้วใช้ หินคลุกบดอัดลงไปในบริเวณนัน้ จนได้ระดับเดียวกันกับผิวทางเดิม
(ข) ใช้ Motor – Grader หรือเครื่องมือชนิดอื่นทีเ่ หมาะสมซึง่ คณะ กรรมการ ตรวจการจ้าง
เห็นสมควรทําการขุดลอกผิวทางลาดยางเดิมออกทัง้ หมด ตลอดความกว้างและความยาวของถนน เกลีย่ แต่งชัน้ พืน้ ทาง
เดิมให้เรียบ สมํ่าเสมอ จนทัวผิ ่ วหน้าแล้ว บดอัดให้แน่นในระหว่างทีท่ าํ การบดอัดนัน้ หากมีบริเวณใดทีย่ งั ไม่ได้ระดับให้
ใช้หนิ โม่ (หินคลุก) เสริมเกลีย่ แต่งแล้วทําการบดอัดแน่นจนได้ความแน่นไม่ต่ํากว่า 95 % Modified Proctor Density
ในกรณีทต่ี อ้ งปรับระดับสูงเกิน 15 ซ.ม. การเกลีย่ ใส่วสั ดุและบดอัดให้กระทําเป็ นหลายชัน้ ความหนาแต่ละชัน้ ให้เฉลีย่
ชัน้ ละประมาณเท่า ๆ กัน และภายหลังจากการปรับ บดอัดเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องมีผวิ หน้าแน่นเรียบเสมอได้ระดับ
ตามทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างกําหนด และมีรปู ตัด ความลาดเอียงถูกต้องตามแบบ
4.3.4 ปริมาณงานและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
(ก) งานพืน้ ฐานของถนนจะต้องสร้างให้ได้ความกว้างมากกว่าของผิวทางออกไปทัง้ สองข้างไม่
น้อยกว่า ข้างละ 30 ซ.ม. ยกเว้นในกรณีซง่ึ ไม่อาจกระทําได้เนื่องจากปญั หาพืน้ ที่ หรือได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นในแบบรูป
หรือรายการก่อสร้างเฉพาะงาน
(ข) พืน้ ฐานทีท่ าํ FINE GRADE แล้ว ดับในแนวทีข่ นานไปกับศูนย์กลางของถนนที่
ตรวจสอบได้จะต้องต่างกันไม่เกิน 1.25 ซ.ม. ในทุกระยะ 3.00 เมตร ส่วนค่าระดับยอมให้มกี ารคลาดเคลื่อนจากทีก่ าํ หนด
ได้ไม่เกิน 1.5 ซ.ม. เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ตามทีก่ าํ หนดในวรรคก่อน ให้ยกเว้นตอนทีต่ อ้ งมีการปรับส่วนลาด
โค้งของถนนเพื่อให้กลมกลืนกับถนนเดิมทีม่ อี ยู่แล้ว ทัง้ นี้ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
5. งานผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็ก
5.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
ข้อกําหนดในหมวดนี้ให้ใช้บงั คับแก่งานคอนกรีตเสริมเหล็ก ไม่ว่าจะเป็ นงานคอนกรีตผิวทาง แผ่นพืน้
รางวี ขอบ ค.ส.ล. (คันหิน) ฯลฯ ทีส่ ร้างถัดจากชัน้ พืน้ ฐานขึน้ มา
5.2 วัสดุ
5.2.1 คอนกรีต วัสดุทใ่ี ช้ผสมคอนกรีตต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(ก)ปูนซีเมนต์ให้ใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทหนึ่งมีคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 15 เล่ม 1 – 2532
(ข) ทราย ให้ใช้ทรายหยาบนํ้าจืดทีส่ ะอาด มีเม็ดแข็งทนทานและไม่มดี ่างหรือกรด หรือเกลือ
เจือปน ปราศจากอินทรียวัตถุและสิง่ สกปรกต่าง ๆ ทีจ่ ะทําให้คุณสมบัติของคอนกรีตเสือ่ มเสีย และต้องมีขนาด 1.55 –
3 ม.ม.
(ค) หินย่อยหรือกรวด ให้ใช้หนิ ย่อยหรือกรวดทีม่ คี ุณสมบัตแิ ข็ง ทนทานไม่ผุ สะอาด ปราศจาก
อินทรียวัตถุเจือปน ก่อนใช้ตอ้ งล้างหินหรือกรวดให้สะอาดเสมอ และมีสว่ นคละของเม็ดวัสดุตามตาราง ดังนี้

ขนาดตะแกรง ร้อยละทีผ่ ่านตะแกรงโดยนํ้าหนัก


A B
1 ½" 90 – 100 100
1" - 90 – 100

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 135 of 521

¾" 30 – 70 -
½" - 20 – 60
3/8 " 10 – 30 -
No. 4 0 – 15 0 – 10
No. 8 - 0-5

(ง) นํ้า ต้องใช้น้ําสะอาด ไม่มคี ณ ุ สมบัตเิ ป็ นนํ้ากระด้าง ไม่มรี สกร่อย ปราศจากนํ้ามัน


พฤกษชาติ และสิง่ สกปรก เจือปน เช่น ตะไคร่น้ํา จอก แหน ฯลฯ การก่อสร้าง ณ สถานทีท่ ม่ี นี ้ําประปาให้ใช้
นํ้าประปา ถ้าทีใ่ ดไม่มนี ้ําประปาอนุญาตให้ใช้จา้ํ จากบ่อ คู คลอง ได้ แต่น้ํานัน้ ต้องมีคุณสมบัตดิ งั กล่าวข้างต้น
5.2.2 เหล็กเสริม เหล็กเสริมคอนกรีตต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(ก) เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ต้องเป็ นเหล็กใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน มีผวิ สะอาดไม่มสี นิมขุม
ไม่เปื้ อนสิง่ สกปรกอื่นใด ไม่มรี อยปริแตกร้าว ปี ก ลูกคลื่น สามารถทนต่อการดัดเย็น โดยไม่มรี อยปริเกิดขึน้ ตามผิว มี
ลักษณะตรง ไม่คดงอ และเป็ นชนิดทีต่ รงกับทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูป มีคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมของ
สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม คือ
เหล็กเส้นกลมเป็ นเหล็กชนิด SR – 24 มอก. 20 – 2527
เหล็กข้ออ้อยเป็ นเหล็กชนิด SD – 30 มอก. 24 – 2536
(ข) ตะแกรงลวดเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต (WELDED STEEL WIRE FABRIC FOR
CONCRETEREINFORCEMENT)มีขนาดตรงกับทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูปและมีคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 737 - 2531
5.2.3 วัสดุยารอยต่อ (JOINT SEALANT)
เป็ นวัสดุซง่ึ มีคุณสมบัตหิ ยุ่นตัวและเกาะติด สามารถทําให้เหลวได้ โดยการให้ความร้อนและเทลง
ในรอยต่อได้สมํ่าเสมอ ไม่ขาดตอนหรือเกิดโพรงอากาศ ไม่ไหลออกนอกรอยต่อหรือติดล้อยานพาหนะ โดยทัวไปหาก ่
แบบรูปหรือรายการก่อสร้างมิได้กาํ หนดไว้เป็ นเฉพาะแล้ว ให้ใช้วสั ดุยารอยต่อคอนกรีตชนิดเทร้อน ซึง่ มีคุณลักษณะที่
ต้องการ การบรรจุ ฯลฯ และเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมวัสดุยารอยต่อคอนกรีตแบบ
ยืดหยุ่นชนิดเทร้อน (มอก. 479 – 2526)
5.2.4 ส่วนผสมคอนกรีต
หากมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ใช้อตั ราส่วนผสมคอนกรีต 1 : 1 ½ : 3 โดยปริมาตรและมีสว่ น
ยุบตัวของคอนกรีต (Slump) 4 – 6 ซ.ม.
5.3 วิ ธีการทางาน
5.3.1 ความเรียบร้อยขัน้ มูลฐานก่อนสร้างผิวทาง
(ก) ทรายรองพืน้ ต้องมีความหนาและคุณสมบัตเิ ป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูปหรือรายการ
และจะต้องราดนํ้าให้ชมุ่ ทัวถึ่ งก่อนเทคอนกรีตผิวทาง
(ข) แบบหล่อ ให้ใช้แบบหล่อทําด้วยเหล็กซึง่ ได้รบั การเสริมให้แข็งแรงไม่คดงอ ก่อนนําไปใช้
จะต้องขูดผิวหน้าของแบบหล่อให้สะอาด แล้วยึดตรึงเข้าทีม่ ใิ ห้ ขยับเขยือ้ นได้ง่าย โดยต้องได้ระดับและแนวทางที่
ถูกต้อง รอยต่อของแบบหล่อจะต้องทําให้แนบสนิทมิให้เกิดการรัวไหลของ ่ MORTAR ขณะเทคอนกรีตได้ ก่อนทําการเท
คอนกรีตจะต้องทาแบบหล่อด้วยนํ้ามันทาแบบเสียก่อน แบบหล่อนี้อนุโลมให้ใช้แบบไม้ได้ เฉพาะในกรณีทต่ี อ้ งเป็ นแบบ
โค้งเท่านัน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 136 of 521

(ค) เหล็กเดือยและเหล็กยึด (Dowel Bars หรือ Tie Bars) จะต้องมีขนาด ชนิดความยาว และ
ตําแหน่งถูกต้องตามทีก่ าํ หนดในแบบรูป มีลกั ษณะไม่คดงอ เหล็กเดือย ซึง่ ให้ทาปลายข้างหนึ่งด้วย BOND BREAKING
MATERIAL นัน้ ปลายข้างทีท่ าจะต้องเรียบไม่มเี หลีย่ มมุม วัสดุทท่ี าไว้จะต้องไม่หลุดลอกออกขณะนําไปใช้งาน สําหรับ
เหล็กยึดจะต้องสะอาด ปราศจากการเปรอะเปื้ อนของสี นํ้ามันเชือ้ เพลิง นํ้ามันทาแบบและต้องไม่มี MORTAR ทีแ่ ห้งจับ
เกรอะอยู่
(ง) การเสริมเหล็ก เหล็กเสริมจะต้องได้ขนาด ระยะเรียง และตําแหน่งตามทีป่ รากฏในแบบรูป
เหล็กเสริมจะต้องผูกให้แน่นอยูใ่ นตําแหน่งทีต่ อ้ งการ เหล็กเสริมเส้นริมสุดต้องอยูห่ ่างจากขอบผิวทางหรือรอยต่อระหว่าง
3 – 8 ซ.ม. (วัดจากผิวเหล็กเสริม) และปลายทัง้ สองข้างของเหล็กเสริมจะอยูห่ ่างจากขอบผิวทาง หรือรอยต่อได้ไม่เกิน 5
ซ.ม.
5.3.2 การเตรียมการ
(ก) ก่อนทีจ่ ะทําการเทคอนกรีต ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งให้คณะกรรมการตรวจการจ้างทราบล่วงหน้า
เป็ นลายลักษณ์อกั ษรไม่น้อยกว่า 6 ชัวโมง ่ เพื่อทีจ่ ะได้ทาํ การตรวจความเรียบร้อยต่าง ๆ ว่าพร้อมทีจ่ ะเทคอนกรีตได้
หรือไม่ ผูร้ บั จ้างให้สญ
ั ญาว่าจะไม่ทาํ การเทคอนกรีตโดยไม่ได้รบั อนุญาตจากคณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อน
(ข) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ ตลอดจนอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ
ให้พร้อมเพรียง เช่น เครื่องเขย่าคอนกรีต อุปกรณ์ป้องกันมิให้เกิดการแยกตัวของคอนกรีตขณะเท อุปกรณ์แต่งผิวหน้า
และป้ายสัญญาณต่าง ๆ ฯลฯ คณะกรรมการตรวจการจ้างมีสทิ ธิทจ่ี ะไม่อนุญาตให้ทาํ การเทคอนกรีต หากการเตรียมการ
ดังกล่าวข้างต้นยังไม่พร้อม
5.3.3 การสร้างผิวทาง
(ก) ในการเทคอนกรีต การเกลีย่ และการทําให้คอนกรีตแน่นตัวจะต้องให้สมํ่าเสมอ โดยใช้
ช่างฝีมอื ทีช่ าํ นาญงาน การใช้เครื่องเขย่า ให้จุ่มหัวเครื่องเขย่าลงในเนื้อคอนกรีตตามแนวดิง่ เป็นจุด ๆ ไล่ไปตลอดความ
กว้างและความยาวของคอนกรีตทีเ่ ทไว้ โดยแต่ละจุดให้จุ่มหัวเขย่าไว้ในเนื้อคอนกรีตเป็ นระยะเวลาสัน้ ๆ ให้เพียงพอที่
ส่วนของคอนกรีตทีถ่ ูกเขย่าแล้วเหลื่อมกันโดยไม่เว้นข้ามส่วนใดเลย การเกลีย่ คอนกรีตเข้าแบบให้ใช้จอบหรือพลัวหรื ่ อใช้
เครื่องปู ห้ามใช้เครื่องเขย่าในการเกลีย่ ไล่คอนกรีตเป็ นอันขาด
(ข) เมื่อเทคอนกรีตได้ระดับแล้ว จะต้องแต่งผิวหน้าให้เรียบร้อยได้สว่ นลาดเอียงตามต้องการ
แล้วใช้ไม้กวาดหรือกระสอบกวาดผิวหน้าของคอนกรีตอีกครัง้ หนึ่ง การกวาดให้กวาดจากริมด้านหนึ่งไปยังริมอีกด้านหนึ่ง
ในแนวตัง้ ฉากกับแนวศูนย์กลางของถนน การกวาดแต่ละครัง้ ต้องให้ทบั รอยกวาดเดิมด้วย และต้องระวังไม่ให้รอยกวาดนี้
ลึกเกิน 5 มม. ผิวหน้าของผิวทางเมื่อเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องไม่มรี โู พรง หรือเศษหินทรายโผล่ตดิ อยูท่ ผ่ี วิ
(ค) ผิวทางทีไ่ ด้รบั การตกแต่งเรียบร้อยแล้ว จะต้องได้รบั การบ่มเพื่อให้คอนกรีตมีความแข็งแรง
การบ่มให้กระทําติดต่อกันไม่น้อยกว่า 7 วัน หรือตามทีค่ ณะกรรมการตรวจการจ้างจะเห็นสมควร และให้เริม่ ทําการบ่ม
ทันทีทผ่ี วิ หน้าของผิวทางทีแ่ ต่งไว้แข็งตัว หรือ อย่างช้าไม่เกิน 24 ชัวโมง ่ นับแต่การเทคอนกรีตผิวทางเสร็จเรียบร้อย
แล้ว ถ้าแบบรูปและรายการก่อสร้างเฉพาะงานไม่ได้กาํ หนดการบ่มไว้เป็ นการเฉพาะแล้ว การบ่มให้ใช้วธิ กี ารใดวิธกี าร
หนึ่งดังนี้ คือ
1. ใช้กระสอบคลุมสลับกันเป็ นชัน้ โดยให้เหลื่อมกันอย่างน้อย 15 ซ.ม. แล้วรดนํ้าให้ชุ่ม
ตลอดเวลา
2. ใช้ดนิ เหนียวกัน้ เป็ นขอบโดยรอบแล้วใช้น้ําแช่ขงั ให้เต็มหน้าคอนกรีต
3. เมื่อคอนกรีตก่อตัวแล้ว ให้ใช้ทรายสาดคลุมผิวหน้าคอนกรีต แล้วรดนํ้าให้ชมุ่ ตลอดเวลา
4. ใช้น้ํายาบ่มคอนกรีตตามกรรมวิธที ผ่ี ผู้ ลิตกําหนดไว้ แต่จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 137 of 521

(ง) การถอดแบบ จะถอดได้เมื่อเทคอนกรีตเสร็จเรียบร้อยแล้วไม่น้อยกว่า 24 ชัวโมง ่ โดยได้รบั


ความเป็ นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างเสียก่อน การถอดแบบนี้จะต้องทําด้วยความระมัดระวังมิให้สว่ นใดส่วนหนึ่ง
ของผิวทางทีส่ ร้างไว้เกิดการเสียหาย ในกรณีทเ่ี กิดการเสียหายขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการซ่อมแซมหรือสร้างขึน้
ใหม่ ทัง้ นี้ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
(จ) การทํารอยต่อเผื่อหด ให้ใช้ JOINT CUTTER ทําการตัดเมื่อคอนกรีตอายุได้ 6 – 24
ชัวโมง
่ โดยจะต้องตัดให้ได้แนว ตําแหน่งและขนาดทีร่ ะบุไว้ในแบบรูป ในการนี้อนุโลมให้ใช้เชือกดีดเป็ นแนวสําหรับการใช้
JOINT CUTTER ได้
(ฉ) รอยต่อทุกชนิดทีส่ ร้างไว้จะต้องยาด้วยวัสดุยารอยต่อ แต่กอ่ นทีจ่ ะดําเนินการต้องทํารอยต่อ
ให้แห้ง สะอาด ปราศจากฝุน่ ละอองและนํ้ามัน ในกรณีทค่ี ณะกรรมการตรวจการจ้างเห็นว่าจําเป็นทีจ่ ะต้องจัดหาเครื่องปมั ๊
ลมเพื่อทําความสะอาดรอยต่อให้เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องัดหาให้โดยไม่ชกั ช้า
(ช) การใช้วสั ดุรอยต่อ จะต้องปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด อาทิ วิธกี ารให้ความ
ร้อน อุณหภูมขิ ณะทําการหยอด ความจําเป็ นในการใช้วสั ดุรองพืน้ ฯลฯ ในการดําเนินการให้ใช้เครื่องหยอดหรือวิธกี าร
อื่นทีเ่ หมาะสม โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้าง
5.3.4 ปริมาณงานและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
(ก) ผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็กให้สร้างเต็มความยาวทีก่ าํ หนดให้ ในกรณีทม่ี งี านสร้างขอบ ค.
ส.ล. (คันหิน) ความกว้างของผิวทางจะต้องยื่นต่อออกไปรับส่วนกว้างทัง้ หมดของฐานขอบ ค.ส.ล. (คันหิน)
(ข) ผิวทางคอนกรีตเสริมเหล็กทีส่ ร้างเสร็จแล้ว ระดับในแนวทีข่ นานไปกับแนวศูนย์กลางของ
ถนนทีต่ รวจสอบได้จะต้องต่างกันไม่เกิน 5 ม.ม. ในทุกระยะ 3.00 เมตร ส่วนค่าระดับยอมให้มกี ารคลาดเคลื่อนจากที่
กําหนดได้ไม่เกิน 5 ม.ม. เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ตามกําหนดในวรรคก่อน ให้ยกเว้นตอนทีต่ อ้ งมีการปรับส่วน
ลาดโค้งของถนนเพื่อใก้กลมกลืนกับถนนเดิมทีม่ อี ยู่แล้ว ทัง้ นี้ให้อยู่ในดุลยพินจิ ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ความหนา
ของผิวทางทีห่ ล่อเรียบร้อยแล้ว จะมีความหนาน้อยกว่าทีก่ าํ หนดไว้ตามแบบรูปได้ ไม่เกิน 5 ม.ม. แต่เมื่อถัวเฉลีย่ จากการ
สุม่ 3 จุดแล้วจะต้องหนาไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนด
5.4 ข้อกาหนดอื่น ๆ
(ก) การเปิ ดการจราจรของผิวทางคอนกรีต จะต้องเปิ ดหลังหล่อผิวทางเสร็จแล้วเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า
21 วัน ยกเว้นในกรณีพเิ ศษทีจ่ ะต้องเปิ ดการจราจรก่อนกําหนด ซึง่ จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการ
จ้างก่อน
(ข) หากเกิดความเสียหายขึน้ แก่ผวิ ทางในลักษณะของการหลุดร่อนออกของผิวหน้า ไม่ว่าจะได้เปิ ด
การจราจรแล้วหรือไม่กต็ าม ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการซ่อมแซม โดยการสกัดหน้าของผิวทางที่ชาํ รุดออกไปไม่น้อย
กว่า 7 ซ.ม. แล้วทําการเทคอนกรีตใหม่หรืออาจซ่อมแซมโดยวิธอี ่นื ตามทีผ่ วู้ ่าจ้างเห็นชอบ ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อก
ค่าใช้จ่ายในการนี้แต่ฝา่ ยเดียว
(ค) การเชื่อมต่อกับถนนเดิม เมื่อผูร้ บั จ้างสร้างผิวทางเสร็จแล้วจะต้องดําเนินการปรับผิวทางใหม่กบั ถนน
เดิมให้กลมกลืนกัน โดยใช้แอสฟลั ต์ผสมร้อนหรือวัสดุอ่นื เสริมบนถนนเดิมบริเวณต่อเชื่อม ทัง้ นี้ให้อยูใ่ นดุลยพินจิ ของ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
6. งานไหล่ทาง
6.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
ในการก่อสร้างถนนไม่ว่าจะเป็นผิวทางชนิดใด จะต้องสร้างไหล่ทางให้ได้ความกว้าง แนวระดับรูปร่าง
ส่วนลาดโค้ง ความแน่นของการบดอัด ตลอดจนการทําผิวไหล่ทางให้เป็ นไปตามกําหนดในแบบรูปและรายการ ในกรณีท่ี

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 138 of 521

แบบรูปมิได้กาํ หนดรายละเอียดของไหล่ทางไว้ให้ถอื เป็ นเกณฑ์บงั คับว่าจะต้องสร้างไหล่ทางด้วยเสมอ ปริมาณงานทีจ่ ะต้อง


สร้างให้เป็ นไปตามทีก่ ล่าวไว้ในข้อ 6.2.2
6.2 วิ ธีการทางาน
6.2.1 ไหล่ทาง
(ก) ให้นําวัสดุงานดินทีก่ าํ หนดให้ใช้สาํ หรับงานสร้างพืน้ ฐาน ตามทีก่ าํ หนดไว้แล้วในหมวดที่ 4
มาเกลีย่ ใส่บริเวณทีจ่ ะสร้างไหล่ทางเป็ นชัน้ ๆ
(ข) ทําการบดอัดเป็ นชัน้ ๆ ความหนาแต่ละชัน้ ภายหลังการบดอัดแล้วจะต้องหนาไม่เกิน 15
ซ.ม.และมีความแน่นของการบดอัดซึง่ ทดสอบได้ไม่ต่ํากว่า 95 % ของความแน่นแห้งสูงสุดทีไ่ ด้จากการทดลองตามระเบียบ
วิธี MODIFIED PROCTOR ในห้องปฏิบตั กิ ารทดลอง ในการบดอัดนี้จะต้องใช้ความระมัดระวังตรงบริเวณรอยต่อให้ได้
ความแน่นสมํ่าเสมอดีตลอดแนว

6.2.2 ปริมาณงานและเกณฑ์ความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
(ก) งานสร้างไหล่ทางจะต้องสร้างให้ได้ความกว้างและความลาดตามทีก่ าํ หนดให้ในแบบรูปและ
รายการ หากมิได้กาํ หนดไว้ให้สร้างไหล่ทางเลยจากแนวผิวทางออก ไปทังสองข้ ่ าง ๆ ละไม่ต่ํากว่า 50 ซ.ม. (วัดถึงขอบ
ไหล่ทาง) โดยมีความลาดชันของไหล่ทาง 1 : 2
(ข) เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ไหล่ทางทีส่ ร้างเสร็จแล้วระดับในแนวทีข่ นานไปกับ
ศูนย์กลางถนนทีต่ รวจสอบได้ จะต้องต่างกันไม่เกิน 1 ซ.ม. ส่วนค่าระดับยอมให้มกี ารคลาดเคลื่อนจากทีก่ าํ หนดได้ไม่เกิน
1 ซ.ม. เกณฑ์ความคลาดเคลื่อนทีย่ อมให้ตามทีก่ าํ หนดในวรรคก่อนให้ยกเว้นตอนทีต่ อ้ งมีการปรับส่วนลาดโค้งของถนน
เพื่อให้กลมกลืนกับถนนเดิมทีม่ อี ยู่แล้ว ทัง้ นี้ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้าง

7. งานทางเท้า
7.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
งานทางเท้าจะต้องสร้างให้ได้ความกว้าง แนว รูปร่าง ฯลฯ และปูล๊อคประดับตามทีก่ าํ หนดให้ในแบบ
รูป วัสดุทน่ี ํามาใช้สร้างทางเท้าจะต้องมีคุณสมบัตเิ ป็ นไปตามข้อกําหนด
7.2 วัสดุปูทางเท้า
ให้ใช้บล็อกประดับแบบ PAVING BLOCK ขนาดหนา 60 ม.ม. มีค่ากําลังอัดประลัย (ULTIMATE
COMPRESSIVE STRENGTH) ไม่น้อยกว่า 350 กก./ ซ.ม. 2
7.3 วิ ธีการทางาน
7.3.1 ให้บดอัดดินเดิม และ/หรือดินถมและรองพืน้ ทางเท้าทีส่ ร้างขึน้ ให้ได้ความแน่นไม่ต่ํากว่า 95 %
STANDARD PROCTOR DENSITY
7.3.2 การปูบล็อกประดับให้ปฏิบตั ดิ งั นี้
(ก) ให้เกลีย่ ทรายรองพืน้ จนเต็มทางเท้าตามความลาดทีต่ อ้ งการ โดยให้คาํ นึงถึงระยะยุบตัวของ
ทรายรองพืน้ นี้ภายหลังการบดอัดด้วย
(ข) ปู PAVING BLOCK ให้พน้ื ผิวทางข้างของ BLOCK แต่ละก้อนเรียงชิดติดกันในลักษณะ
ให้เกิด INTERLOCKING RESISTANCE (ตามแบบ) และผิวด้านบนจะต้องได้ระดับเสมอกัน
(ค) หลังจากการปู PAVING BLOCK เสร็จแล้ว ให้ใช้ทรายสาดทับหน้า กวาดทรายให้ลงไป
อุดตามรอยต่อระหว่าง BLOCK แล้วใช้ PLATE VIBRATOR ตบผิวหน้าบล็อกซํ้าอีกครัง้ เพือ่ ให้ทรายอัดตัวกันแน่น
ตามรอยต่อระหว่าง BLOCK

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 139 of 521

7.4 ข้อกาหนดอื่น ๆ
7.4.1 ในการปู PAVING BLOCK แถวสุดท้าย ซึง่ อาจจําเป็ นต้องตัด PAVING BLOCK ให้เข้ากับ
ช่องว่างทีเ่ หลือ ให้ตดั ด้วยเครื่อง HYTRAULIC SPLITTER ให้ได้ขนาดพอดีกนั
7.4.2 ทางเท้าเมื่อสร้างเสร็จแล้ว ช่องว่างตรงแนวต่อของแผ่นวัสดุปทู างเท้ากับคันหินจะต้องมีความกว้าง
ไม่เกิน 1 ซ.ม.
7.4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องสร้างคันหิน หรือคันหินรางตืน้ ให้แล้วเสร็จเสียก่อน จึงทําการสร้างทางเท้าได้

8. งานระบายน้า
8.1 ข้อกาหนดทัวไป ่
ข้อกําหนดในข้อหมวดนี้ ให้ใช้บงั คับกับงานก่อสร้างท่อหรือรางระบายนํ้าทิง้ นํ้าฝน ฯลฯ และบ่อพัก
ทัง้ ประเภทหล่อในที่ และประเภทนําท่อหรือรางระบายนํ้าสําเร็จรูปมาวางเรียงต่อกัน เพื่อจุดประสงค์ในการระบายนํ้า
ท่อหรือรางระบายนํ้า ต้องเป็นท่อระบายนํ้ากลมหรือท่อระบายนํ้ารูปทรงอื่น ๆ หรือรางระบายนํ้าตามที่
กําหนดในแบบรูปหรือรายการก่อสร้างเฉพาะงาน
8.2 ข้อกาหนดสาหรับวัสดุ
8.2.1 ท่อระบายนํ้ากลม ให้ใช้ท่อระบายนํ้าคอนกรีตเสริมเหล็กสําเร็จรูปซึง่ ผลิตด้วยเครื่องจักรมีคุณสมบัติ
และคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ท่อระบายนํ้าคอนกรีตเสริมเหล็ก (มอก. 128 – 2528) ชัน้ คุณภาพ ค.
ส.ล. 2 มีขนาดและเส้นผ่าศูนย์กลางภายในตามทีก่ าํ หนด และความยาวของท่อแต่ละท่อนต้องไม่น้อยกว่า 1.00 เมตร
8.2.2 คอนกรีต ทีใ่ ช้หล่อโครงสร้างส่วนต่าง ๆ ของท่อหรือรางระบายนํ้าประเภทหล่อในที่ หล่อบ่อพัก
และอื่น ๆ ให้ใช้อตั ราส่วนผสม 1 : 2 : 4 โดยปริมาตร และวัสดุทใ่ี ช้ผสมคอนกรีตต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(ก)ปูนซีเมนต์ให้ใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท1มีคุณสมบัตติ ามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรม มอก. 15 เล่ม 1 – 2532
(ข) ทราย ให้ใช้ทรายหยาบนํ้าจืดทีส่ ะอาด มีเม็ดแข็งทนทานและไม่มดี ่าง หรือกรด หรือเกลือ
เจือปน ปราศจากอินทรียวัตถุและสิง่ สกปรกต่าง ๆ ทีจ่ ะทําให้คุณสมบัตขิ องคอนกรีตเสือ่ มเสีย และต้องมีขนาด 1.55 – 3
ม.ม.
(ค) หิน ให้ใช้หนิ ปูนย่อยเป็ นส่วนผสมคอนกรีต โดยหินจะต้องมีขนาดลอดตะแกรงทีม่ ชี ่องลอด
ขนาด 2.5  2.5 ซ.ม. ได้ทงั ้ สิน้ และต้องมีคุณสมบัตแิ ข็ง ทนทาน ไม่ผุ สะอาด ปราศจากวัตถุอ่นื ๆ ปน และก่อน
ใช้ตอ้ งล้างหินให้สะอาดก่อนเสมอ
(ง) นํ้า ให้ใช้น้ําสะอาด ไม่มคี ณ
ุ สมบัตเิ ป็ นนํ้ากระด้าง ไม่มรี สกร่อย ปราศจากนํ้ามันพฤษชาติ
และสิง่ สกปรกเจือปน เช่น ตะไคร่น้ํา จอก แหน ฯลฯ การก่อสร้าง ณ สถานทีท่ ม่ี นี ้ําประปา ให้ใช้น้ําประกา ถ้าทีใ่ ด
ไม่มนี ้ําประปา อนุญาตให้ใช้น้ําจากบ่อ คู คลองได้ แต่น้ํานัน้ ต้องมีคุณสมบัตดิ งั กล่าวข้างต้น
8.2.3 เหล็กเสริม เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต ต้องเป็ นเหล็กใหม่ไม่เคยใช้งาน มาก่อน มีผวิ สะอาดไม่มี
สนิมขุม ไม่เปื้ อนสิง่ สกปรกอื่นใด ไม่มรี อยปริแตกร้าว ปี ก ลูกคลื่น สามารถทนต่อการดัดเย็น โดยไม่มรี อยปริแตกร้าว
เกิดขึน้ ตมผิวมีลกั ษณะตรงไม่คด งด และเป็ นชนิดทีต่ รงกับทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูปมีคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คือ
เหล็กเส้นกลมเป็ นเหล็กชนิด SR – 24 มอก. 20 – 2527
เหล็กข้ออ้อยเป็ นเหล็กชนิด SD – 30 มอก. 24 – 2536
8.2.4 ปูนก่อ สําหรับยาแนวรอยต่อท่อคอนกรีต ให้ใช้ซเี มนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน ซึง่ ผสมไว้ไม่นาน
เกินกว่า 30 นาที

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 140 of 521

8.3 ข้อกาหนดในการทางาน
8.3.1 การขุดดิน เพื่อการก่อสร้าง คูระบายนํ้า รางระบายนํ้า บ่อพัก ท่อระบายนํ้า เขือ่ น และโครงสร้าง
อื่น ๆ ตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบรูปและรายการให้ดาํ เนินการดังต่อไปนี้
(ก) ให้ผรู้ บั จ้างทําการบดอัดคันทางให้เสร็จเรียบร้อยตามวิธกี ารทีก่ าํ หนดในหมวดที่ 2 เสียก่อน
แล้วจึงขุดร่องดินตรงทีจ่ ะสร้างรางระบายนํ้า หรือวางท่อให้ได้ความลึกตามต้องการ
(ข) การขุดร่องดินเพื่อสร้างรางระบายนํ้า หรือวางท่อระบายนํ้า ผูร้ บั จ้างต้องขุดเป็ นระยะทาง
ยาวพอสมควรให้สมั พันธ์กบั การดําเนินการขัน้ ต่อไป ห้ามผูร้ บั จ้างขุดร่องดินยาวเกินความจําเป็น และการขุดผ่านทางแยก
หรือทางเข้าอาคาร ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาแผ่นเหล็ก หรือวัสดุอน่ื ใดปิ ดร่องทีข่ ดุ ให้ยานพาหนะสามารถผ่านได้ หากผูร้ บั จ้าง
ไม่อาจจัดหาแผ่นเหล็กหรือวัสดุใดปิ ดได้ภายใน 6 ชัวโมง ่ นับแต่เริม่ ขุดและไม่มกี ารปฏิบตั งิ านต่อเนื่องกัน ผูร้ บั จ้างต้อง
รีบจัดการหลุมร่องดินเสียก่อน สําหรับท่อทีน่ ํามาใช้ให้ผรู้ บั จ้างวางเรียงไม่ให้กดี ขวางแก่ยานพาหนะและผูส้ ญ ั จร
(ค) การขุดร่องดิน ในบริเวณทีอ่ ยู่ใกล้เคียงกับสิง่ ก่อสร้างอื่นหรือถนน ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการ
จัดทํากําแพงกันดินชัวคราว
่ เพือ่ ป้องกันการทรุด และจะต้องป้องกันมิให้สงิ่ ก่อสร้างเดิมได้รบั ความเสียหาย
(ง) ดินทีน่ ําขึน้ มาจากการขุดร่อง ไม่ควรกองไว้ทป่ี ากหลุม ยกเว้นจะมีวธิ กี ารป้องกันดินปาก
หลุมพังอย่างเพียงพอ
(จ) ถ้าจําเป็ นจะต้องสร้างเขือ่ นชัวคราวเพื
่ ่อกักนํ้าให้สร้าง ณ บริเวณทีค่ ณะกรรมการตรวจการ
จ้างหรือผูแ้ ทนกําหนดให้
8.3.2 การวางท่อหรือการก่อสร้างรางระบายนํ้า
(ก) เมื่อขุดดินได้ระดับแล้ว จะต้องปรับพืน้ เดิมให้เรียบและทํารองพืน้ โดยใช้วสั ดุทก่ี าํ หนดให้ใน
แบบรูป แล้วจึงทําการวางท่อ หรือก่อสร้างรางระบายนํ้าได้ ในกรณีทเ่ี ป็ นท่อหรือรางชนิดทีไ่ ม่มเี สาเข็มรองรับ หากขุดถึง
ระดับทีต่ อ้ งการแล้วปรากฏว่าดินเดิมเป็ นดินอ่อนหรือดินเลน ผูร้ บั จ้างจะต้องขุดทิง้ จนถึงดินแข็งแล้วใส่ทรายหยาบ หรือ
หินคลุกแทนแล้วทําการบดอัดแน่นเสียก่อนทีจ่ ะทํารองพืน้
(ข) การวางท่อ จะต้องทําให้รอยต่อสนิทแนบเนียน หากไม่เป็ นดังทีก่ ล่าวนี้จะต้องจัดวางใหม่
ให้ถูกต้อง และในการวางท่อหากว่าท่อเกิดชํารุดเสียหาย จะต้องเอาออกและนําท่อใหม่ทม่ี สี ภาพดีมาวางแทน
(ค) การต่อท่อและยาแนวท่อ การวางท่อจะต้องวางท่อจากระดับตํ่าไปหาสูง
- ท่อแบบปากลิน้ ราง วางท่อท่อนแรกลงบนพืน้ ร่องท่อหันปลายทีป่ ากรางไปในทางสวนกับ
ทิศทางนํ้าไหล แล้ววางท่อท่อนทีส่ องทีเ่ ป็ นลิน้ สอดเข้าไปในรางท่อท่อนแรกให้สนิทแนบเนียน แล้วพอกปูนก่อตรงช่วงที่
ต่อกันโดยรอบ ใช้ปนู ก่อยาแนวผิวท่อตรงรอยต่อให้ได้ขนาดความหนาและความกว้างของปูนยาแนว ตามทีก่ าํ หนด เมื่อ
ยาแนวแล้วให้บม่ ปูนก่อเป็ นเวลา 3 วัน
- ท่อแบบปากระฆัง (เบลแอนด์สปิ กกอต) วางท่อท่อนแรกลงบนพืน้ ร่องท่อ หันปลายด้าน
เป็ นปากระฆังสวนกับทิศทางนํ้าไหล แล้วใช้ท่อท่อนทีส่ องสอดเข้าไปในปากท่อทีว่ างครัง้ แรก จนเข้ากันสนิทแนบเนียน
แล้วพอกปูนก่อตรงช่วงทีต่ ่อกันโดยรอบ ใช้ปนู ยาแนวผิวท่อตรงรอยต่อ ให้ได้ขนาดความหนาและความกว้างของปูนยา
แนวตามทีก่ าํ หนด เมื่อยาแนวแล้วให้บม่ ปูนก่อเป็ นเวลา 3 วัน
8.3.3 การถมและบดอัดภายหลังการวางท่อหรือการก่อสร้างรางระบายน้า
(ก) ท่อหรือรางระบายนํ้าทีส่ ร้างในผิวทาง ให้ถมและบดอัดข้างท่อหรือรางระบายนํ้า และหลัง
ท่อด้วยทรายถมซึง่ สะอาด เป็ นชัน้ ๆ ตามความยาวของท่อหรือรางระบายนํ้า การบดอัดให้ใช้วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม และ
จะต้องได้ความแน่นของการบดอัดไม่ต่าํ กว่า 95 % ของความแน่นแห้งสูงสุด ทีไ่ ด้จากการทดลอง ตามระเบียบวิธี
STANDARD PROCTOR ในห้องปฏิบตั กิ ารทดลอง การถม และบดอัดนี้ ให้กระทําเป็ นชัน้ ๆ แต่ละชัน้ หนาไม่เกิน
15 ซ.ม. จนถึงระดับทีจ่ ะสร้างพืน้ ฐาน (BASE & SUBBASE) ของผิวทาง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 141 of 521

(ข) ท่อทีส่ ร้างในทางเท้า ให้ถมและบดอัดด้วยวัสดุและวิธกี ารเดียวกับทีก่ ล่าวในข้อ (ก) จนถึง


เหนือหลังท่อขึน้ มาไม่ต่ํากว่า 20 ซ.ม. หรือตามสภาพแล้วจึงดําเนินการสร้างคันทางและพืน้ ฐานของทางเท้าต่อไป
(ค) หากระดับหลังท่อทีว่ างเสร็จแล้วมีระดับสูงไม่อาจดําเนินการตามข้อ (ก) หรือข้อ (ข) ได้
คณะกรรมการตรวจการจ้างจะกําหนดวิธกี ารทีเ่ หมาะสมให้ในระหว่างก่อสร้าง
(ง) หากวางท่อไปในบริเวณทีเ่ ป็ นทีล่ ุ่มยังไม่ถมดิน ก็ให้ถมดินหลังต่อขึน้ เป็ นคันดิน ซึง่ มีลาด
ตลิง่ ไม่ชนั กว่า 1 : 1 ½ และความกว้างของคันดินตรงระดับ 30 ซ.ม. เหนือท่อต้องกว้างกว่าแนวผิวนอกของท่อตาม
แนวดิง่ ไม่น้อยกว่าขนาดของท่อทัง้ สองข้าง
(จ) การถมดินบริเวณข้างรางระบายนํ้า บ่อพักและโครงสร้างอืน่ ๆ ซึง่ หล่อในทีจ่ ะถมได้ ก็
ต่อเมื่อโครงสร้างนัน้ ๆ มีความแข็งแรงเพียงพอทีจ่ ะสามารถรับนํ้าหนักได้แล้ว
9. งานป้ ายจราจรและสีจราจร
9.1 ป้ายจราจรใช้แผ่นโลหะอย่างดีเบอร์18 (1.2 มม) ขนาดตามแบบโครงเหล็กกล่อง 1” x 1” เสาเหล็กกล่องแบน 1” x 2”
สีทใ่ี ช้กบั ป้ายจราจรต้องเป็ นสีสะท้อนแสงโดยตัวหนังสือและสัญลักษณ์บนป้ายต้องใช้วธิ สี กรีนลงบนแผ่นโลหะและหลังจาก
ก่อสร้างแล้วเสร็จต้องมอบแบบคืนแก่มหาวิทยาลัย
9.2 สีจราจรทีใ่ ช้ตอ้ งมี มอก.415-2525

จบหมวดที่ 26

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 142 of 521

งานสถาปัตยกรรม
หมวดที่ 27
งานพืน้

1. พืน้ หินขัด
1.1 วัสดุ
1.1.1 หินขัดชนิดแผ่นหินขัดสําเร็จ ขนาด 0.50x0.50 เมตร หนา 20 มิลลิเมตร หรือตามทีร่ ปู แบบระบุ และ
ต้องได้มาตรฐานอุตสาหกรรมกระเบือ้ งหินขัดปูพน้ื (มอก.379-2543) กรรมวิธกี ารติดตัง้ ให้เป็ นไป
ตามมาตรฐานและคําแนะนําของผูผ้ ลิต โดยสี ลาย และขนาดเม็ดหิน สถาปนิกเป็ นผูก้ าํ หนด
ผลิตภัณฑ์ TRG, MARBLEX, STONIC หรือของ บริษทั สระบุรรี ชั ต์ จํากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.1.2 หินขัดชนิดดําเนินการก่อสร้างในที่ กําหนดให้
(1) หิน ใช้เศษหินอ่อนเบอร์ 3 หรือระบุเป็ นอย่างอื่น โดยต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ เศษหินอ่อนทีใ่ ช้
จะต้องสะอาดปราศจากเศษดิน หินอื่นๆ ฝุน่ หรือวัสดุอ่นื เจือปน
(2) ปูนซีเมนต์ขาว ให้ใช้ปนู ซีเมนต์ตรากิเลน หรือตราช้างเผือก หรือเทียบเท่า
(3) สีผสม ต้องใช้สนี ้ําฝุน่ สําหรับผสมซีเมนต์อย่างดี ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําตามตัวอย่างทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบ
(4) นํ้า ทีใ่ ช้ผสมจะต้องใสสะอาด ปราศจากนํ้ามัน กรด และสิง่ สกปรกอื่นๆ
(5) เส้นแบ่งหินขัด ให้ใช้ชนิดและขนาดตามทีร่ ะบุในรูปแบบ กรณีทไ่ี ม่ได้ระบุเจาะจงไว้ ให้ใช้เส้นทองเหลืองขนาด 3/16
นิ้ว แบ่งเป็ นช่องไม่เกิน 4 ตารางเมตร ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแผนผังแต่ละห้องให้ผอู้ อกแบบ และ/หรือผูค้ วบคุมงาน
เห็นชอบก่อนดําเนินการ
1.1.3 บัวเชิงผนัง พืน้ หินขัดทุกแห่งจะต้องมีบวั เชิงผนังหินขัดสูง 10 เซนติเมตร เสมอผิวปูนฉาบ ขนาดของ
หินเป็ นเบอร์ 3 หรือเบอร์ 4 สีเดียวกัน นอกจากจะระบุเป็ นอย่างอื่น
1.1.4 ในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้บวั เชิงผนัง PVC ให้ใช้วสั ดุทผ่ี ลิตจาก PVC เกรด A ขนาดความกว้าง 4 นิ้ว
หนา 9 มิลลิเมตร ทนทานต่อความชืน้ ไม่บดิ งอหรือหดตัว ความคงตัวสูง ทําความสะอาดเช็ดถูได้
ง่าย ผลิตภัณฑ์ของ APACE, INFINITE หรือเทียบเท่า
1.1.5 ติดตัง้ ด้วยกาวแม๊กซ์บอนด์เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการยึดเกาะทีถ่ าวรและคงทน ควรบีบกาวเป็ น
ลักษณะลูกคลื่นเป็ นเส้นขนาดประมาณ 5 มิลลิเมตร (กาวสามารถแห้งภายใน 20-30 นาที)
1.2 วิธดี าํ เนินการ
1.2.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดพืน้ ผิวบริเวณทีจ่ ะทําหินขัดให้เรียบร้อย ปราศจากเศษปูน ฝุน่ ละออง
1.2.2 จัดวางแนวเส้นแบ่งพืน้ พร้อมกับทําปุม่ จับให้ทวบริ ั ่ เวณ ทิง้ ไว้ให้แห้ง 1 วัน เป็ นอย่างน้อย
1.2.3 ก่อนเทส่วนผสมปูนซีเมนต์ขาวกับเศษหินอ่อนต้องรดนํ้าให้ชมุ่ แล้วเทด้วยนํ้าปูนซีเมนต์ขน้ ๆ
พอประมาณให้ทวบริ ั ่ เวณ แล้วจึงเทส่วนผสมปูนซีเมนต์ขาวกับหินอ่อนลงไป
1.2.4 ปรับระดับผิวหน้าให้ได้ระดับทัวบริ ่ เวณ แล้วปล่อยทิง้ ไว้ให้แห้งอย่างน้อย 24 ชัวโมง ่ จากนัน้ บ่ม
ผิวหน้าพืน้ ทีจ่ ะทําหินขัดทิง้ ไว้อย่างน้อย 7 วัน จึงเข้ามาขัดผิวหน้าได้
1.2.5 การขัดผิวหน้าจะต้องขัดด้วยเครือ่ ง ยกเว้นในส่วนทีเ่ ป็ นมุมตามซอกอนุญาตให้ขดั มือได้
1.2.6 หลังจากขัดผิวหน้าได้ระดับเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาด เก็บกวาด ทัวบริ ่ เวณ
รวมทัง้ ส่วนอื่นๆ ของอาคารทีส่ กปรกเนื่องจากการทําหินขัด แล้วลงผิวหน้าด้วยวัสดุเคลือบผิวทีไ่ ม่ทาํ
ให้สขี องหินขัดเปลีย่ นไปอย่างน้อย 2 ครัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 143 of 521

1.2.7 ในกรณีทเ่ี กิดมีรอยด่าง แตกร้าว หรือเม็ดหินกระจายไม่สมํ่าเสมอ ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขโดยทุบออก


แล้วทําใหม่ทงั ้ ช่อง
1.3 การส่งตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างทําแผ่นตัวอย่างขนาดประมาณ 0.30x0.30 เมตร หรือ 0.50x0.50 เมตร จํานวน 2 แผ่น พร้อมตัวอย่าง
เส้นกัน้ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
1.4 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลบํารุงรักษางานหินขัดให้เรียบร้อยตลอดเวลาจนส่งมอบงานงวดสุดท้าย หากเกิดการชํารุด
เสียหายขึน้ จากกรณีใดๆ ก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมหรือจัดทําให้ใหม่ โดยค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นของผูร้ บั จ้าง ใน
กรณีทย่ี งั ไม่สง่ งานแต่ผรู้ บั จ้างจําเป็ นต้องใช้พน้ื ทีห่ นิ ขัดเสร็จเรียบร้อยแล้วเป็ นทีท่ าํ งานหรือสัญจร จะต้องปูดว้ ยแผ่นไม้อดั
หรือกระดาษอัดให้ทวบริ ั ่ เวณ ในกรณีทม่ี กี ารแตกร่อนเสียหายในระหว่างการใช้งานไม่เกิน 1 ปี ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบ
โดยการแก้ไขซ่อมแซมจนกว่าจะกลับคืนสูส่ ภาพปกติ

2. พืน้ ปูหนิ ธรรมชาติ


2.1 ขอบเขตของงาน
2.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ ี ในการติดตัง้ งานพืน้ ปูหนิ ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมมีวสั ดุป้องกัน
ความเสียหาย
2.1.2 วัสดุทน่ี ํามาใช้ตอ้ งเป็ นวัสดุใหม่ทไ่ี ด้มาตรฐานของผูผ้ ลิตและคัดพิเศษ ปราศจากรอยร้าวหรือตําหนิ
ใดๆ ไม่บดิ งอ ขนาดเท่ากันทุกแผ่น
2.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการวัดและตรวจสอบสถานทีจ่ ริงบริเวณทีจ่ ะติดตัง้ แผ่นหินก่อน เพื่อความถูกต้อง
ของขนาดและระยะตามความเป็นจริง
2.1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างหินตามชนิด สี และลายทีก่ าํ หนด ขนาดเท่ากับวัสดุทจ่ี ะใช้จริงไม่น้อย
กว่า 2 ตัวอย่าง ให้ผคู้ วบคุมงาน และ/หรือผูอ้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้ ตัวอย่างดังกล่าวให้
รวมถึงตัวอย่างการติดตัง้ และอุปกรณ์ประกอบทีจ่ าํ เป็ น เช่น ขอบคิว้ การเข้ามุม การบาก เป็ นต้น
2.1.5 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ ดังนี้
(1) แบบแปลน รูปด้าน รูปตัด ของงานพืน้ ปูหนิ ลายหรือรอยต่อของแผ่นหินและเศษของแผ่นหินทุกส่วน ระบุสขี องหิน
แต่ละสีแต่ละชนิดให้ชดั เจน
(2) แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ Flashing แนวบรรจบของวัสดุใกล้เคียง
(3) แบบขยายอื่นทีเ่ กีย่ วข้องหรือจําเป็ น เช่น ตําแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบทีเ่ กีย่ วข้อง ช่องซ่อมบํารุง การระบายนํ้า
เป็ นต้น
2.1.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําระบบกันซึมพืน้ ทีร่ ะบุให้ทาํ ระบบกันซึม ก่อนการเทพืน้ ปูนทรายปรับระดับ แล้วจึง
ทําการติดตัง้ หิน เช่น ระบบกันซึมพืน้ ชัน้ ล่างทีต่ ดิ กับพืน้ ดิน เป็ นต้น
2.1.7 พืน้ ปูหนิ ภายในและภายนอกทุกระยะไม่เกิน 4.00x4.00 เมตร จะต้องเว้นร่องอย่างน้อย 3 มิลลิเมตร
แล้วยาแนวด้วยซิลโิ คน เพื่อการขยายตัวของแผ่นหิน
2.1.8 ในกรณีทม่ี บี วั ขอบเคาน์เตอร์ ขอบบันได หรือจมูกบันไดทีเ่ ป็ นหินแกรนิตหรือหินอ่อน ให้ทาํ มุมมน
และขัดผิวมันทีม่ ุมบน ความหนาหรือสันของแผ่นทีม่ องเห็น เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วจะต้องได้รบั การขัด
ผิวมันเช่นเดียวกับผิวหน้าแผ่นหิน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 144 of 521

2.1.9 หากไม่มรี ะบุในแบบ การใช้แผ่นหินปูบนั ไดจะต้องเป็ นแผ่นเดียวตลอดไร้รอยต่อและได้รบั การขัดมุม


มน บากร่อง หรือตาม Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ
2.2 วัสดุ
วัสดุทน่ี ํามาใช้งานต้องเป็ นวัสดุใหม่ ปราศจากการแตกร้าว หรือตําหนิใดๆ ชนิด ขนาด ความหนา ลวดลาย สีและ
แบบตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดให้
2.2.1 หิน
(1) หินอ่อน หินแกรนิต หมายถึง หินทัง้ ภายในประเทศและภายนอกประเทศ หากมิได้ระบุความหนาของหินปูพน้ื ให้ใช้
ความหนาไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร ความกว้างและความยาวตามทีร่ ะบุในรูปแบบก่อสร้าง ขนาดสี ลวดลายต่างๆ
ต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้
(2) หินทรายธรรมชาติขนาด 300x600x25 มิลลิเมตร ใช้ชนิดผิวหน้าเรียบ หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบก่อสร้าง
(3) หินสังเคราะห์หรือหินเทียม
2.2.2 ความมันของผิวหิน ต้องมีความมันทีไ่ ด้รบั การขัดด้วยเครื่องมือทีไ่ ด้รบั มาตรฐานสากลอันเป็ นที่
ยอมรับ
(1) หินผลิตภายในประเทศต้องวัดได้ 80-90 ตามมาตรฐานสากล
(2) หินผลิตภายนอกประเทศต้องวัดได้ 90-95 ตามมาตรฐานสากล
2.2.3 ปูนซีเมนต์
(1) ปูนซีเมนต์ (CEMENT) สําหรับปรับระดับพืน้ และเตรียมพืน้ ผิวใช้ปนู ซีเมนต์ตามมาตรฐาน อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์
ผสม (มอก.80-2550) ต้องเป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวจับกันเป็ นก้อน
(2) ซีเมนต์ขาว (WHITE CEMENT) ตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ขาว (มอก.133-2518) ต้องเป็ นปูนใหม่ไม่จบั ตัวกันเป็ น
ก้อน
2.2.4 ปูนขาว (LIME) เป็ นปูนขาวทีม่ ขี ายในท้องตลาด โดยเป็ นประเภท HYDRATED LIME มีสว่ นผสม
โดยรวมของ UNHYDRATED CALCIUM OXIDE (CaO) และ MAGNESIUM OXIDE (MgO) ไม่เกินกว่า 8% โดย
นํ้าหนัก ต้องเป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวกันเป็ นก้อน
2.2.5 ทราย เป็ นทรายนํ้าจืดปราศจากสิง่ เจือปนในปริมาณทีจ่ ะทําให้เสียความแข็งแรง
2.2.6 นํ้าทีใ่ ช้ผสมปูน ต้องเป็ นนํ้าจืดทีป่ ราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่างและสารอินทรียต์ ่างๆ ใน
ปริมาณทีท่ าํ ให้ปนู เสียความแข็งแรง
2.2.7 กาวซีเมนต์ (MORTAR)
(1) งานปูพน้ื ภายในทัวๆ ่ ไป
(ยกเว้น BATH ROOMS, REST ROOMS, SHOWER ให้ดรู ายละเอียดจากงานปูพน้ื ภายนอก) วัสดุทใ่ี ช้ตอ้ งได้รบั
การเห็นชอบตามความต้องการจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งานโดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้
กาวซีเมนต์ (MORTAR) มีสวนผสมของ PORTLAND CEMENT ทราย และส่วนผสมพิเศษ เป็นระบบ DRY-SET ทัง้ นี้ตอ้ ง
ได้รบั มาตรฐานอเมริกา ANSI A118.1-1985 DRY-SET PORTLAND CEMENT MORTAR ดังนี้
- COMPRESSIVE STRENGTH (PSI) ASTM C-109 < 3,000
(210.9 kg/sq.m.)
- SHEAR BOND (PSI) ANSI A118.1
NON-VITREOUS TILE 7 DAYS > 400
(28.1 kg/sq.m.)
28 DAYS > 400

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 145 of 521

(28.1 kg/sq.m.)
VITREOUS (PAVER) TILE 7 DAYS > 400
(28.1 kg/sq.m.)
28 DAYS > 400
(28.1 kg/sq.m.)
(2) งานปูพน้ื ภายนอก
รวมทัง้ พืน้ ทีภ่ ายในห้องนํ้า (BATH ROOMS, REST ROOMS, SHOWER) ทัวๆ ่ ไป วัสดุทใ่ี ช้ตอ้ งได้รบั การ
เห็นชอบตามความต้องการจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งาน โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
กาวซีเมนต์ (MORTAR) มีสว่ นผสมของ POWDER LATEX, PORTLAND CEMENT, SAND และส่วนผสมของ
POLYMET ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั มาตรฐานอเมริกา ANSI A118.1-1985 LATEX PORTLAND MORTAR ดังนี้
- COMPRESSIVE STRENGTH (PSI) ASTM C-109 > 3,500
- SHEAR BOND (PSI) ANSI A 118.4
NON-VITREOUS TILE 7 DAYS > 600
28 DAYS > 800
VITREOUS (PAVER TILE) 7 DAYS > 300
28 DAYS > 450
NON-VITREOUS TILE 7 DAYS > 250
28 DAYS > 300
2.2.8 การยาแนว (GROUT)
(1) งานปูพน้ื นอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ทีร่ ่องยาแนวไม่เกิน 3 มิลลิเมตร (1/8 นิ้ว) ให้ใช้กาวยาแนว DRY SET
GROUT ต้องได้รบั การเห็นชอบตามความต้องการจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งาน โดยมีคุณสมบัติ ดังนี้
กาวยาแนว (GROUT) มีสว่ นผสมของ PORTLAND CEMENT และส่วนผสมเป็ นระบบ DRY-SET GROUT ทัง้ นี้
ต้องได้มาตรฐานอเมริกา ANSIA118.6-H-2.3 ดังนี้
- SHEAR BOND (PSI) ABSORPTIVE TILE 7 DAYS > 200
SEMI-VITREOUS TILE 7 DAYS > 300
- COMPRESSIVE STRENGTH (PSI) 7 DAYS > 2,400
28 DAYS > 3,500
- WATER ABSORPTION (%) > 12
- HARDNESS (SHORE D) > 70
- INITIAL SET (HOURS) ASTM C-266 2
- FINAL SET (HOURS) ASTM C-266 8
- BUCKET LIFE 2
(2) การยาแนวสําหรับงานปูพน้ื ทีร่ อ่ งยาแนวตัง้ แต่ 3 มิลลิเมตร (1/8 นิ้ว-1/2 นิ้ว) ให้ใช้กาวยาแนว DRY SET GROUT
ต้องได้รบั การเห็นชอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งานโดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้
กาวยาแนว (GROUT) มีสว่ นผสมของ LATEX, PORTLAND CEMENT เป็ นระบบ LATEX PORTLAND
CEMENT GROUT ทัง้ นี้ตอ้ งได้มาตรฐานอเมริกา ANSIA118.6-H-2.4 ดังนี้
- SHEAR BOND (PSI)
VITREOUS (PAVER) TILE 7 DAYS > 500

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 146 of 521

SEMI-VITREOUS TILE 7 DAYS > 500


NON- VITREOUS TILE 7 DAYS > 400
- COMPRESSIVE STRENGTH (PSI) 7 DAYS > 2,900
28 DAYS > 4,000
- WATER ABSORPTION (%) < 4
- HARDNESS (SHORE D) 90
- INITIAL SET (HOURS) ASTM C-266 2
- FINAL SET (HOURS) ASTM C-266 8
- BUCKET LIFE 2
(3) การยาแนวในระบบ DRY PROCESS ให้ใช้วสั ดุยาแนวเป็ น NEUTRAL CURED SILICONE เท่านัน้ โดยจะต้องอุด
ร่องด้วย POLYETHYRENE FOAM BACKING ROD ก่อน
2.2.9 นํ้ายาเคลือบผิวหิน ต้องใช้พ่นเคลือบหลังของหินก่อนการติดตัง้ ทัง้ นี้น้ํายาทีใ่ ช้ตอ้ งมีคุณสมบัติ ดังนี้
(1) ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา (ASTM) หรือมาตรฐานสากลอันเป็ นทีเ่ ชื่อถือและยอมรับจาก
ผูอ้ อกแบบ
(2) การดูดซึมนํ้า การอมนํ้า และการต้านทานซัลเฟต ต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C-67
(3) การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมติ อ้ งได้รบั มาตรฐาน ASTM C-666
(4) การยึดเกาะ การป้องกันฝุน่ และการเสือ่ มสภาพ ต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM G23-69, ASTM E 42-65
(5) ป้องกันการซึมของนํ้า นํ้ามัน และกรดต่างๆ
(6) ป้องกันการเกิดรอยด่างในเนื้อหิน และเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กบั ผิวหน้าของหิน
(7) ต้องไม่ทาํ ให้สขี องหินเปลีย่ นแปลง และไม่เป็ นฟิลม์ อยู่บนผิวหน้าของหิน
(8) ป้องกันการเกิดเชือ้ รา และตะไคร้น้ํา

2.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิด ขนาดเท่ากับวัสดุทจ่ี ะใช้จริงไม่น้อยว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้
ผูอ้ อกแบบเห็นชอบก่อนจึงจะนําไปใช้งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย เช่น
ขอบคิว้ หรือมุมต่างๆ เป็ นต้น รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE SPECIFICATION)
2.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ดีมคี วามชํานาญในการปู โดยปูตามแนวราบ แนวตัง้ และแนวนอน จะต้องได้ฉากแนว
ระดับสมํ่าเสมอ หรือลวดลายตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดให้ดว้ ยความปราณีตเรียบร้อย ทัง้ นี้ให้มกี ารคลาดเคลื่อนได้ไม่เกิน 1
มิลลิเมตร ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบดูหนิ ให้มาจากส่วนการผลิตและรุ่นเดียวกัน ตรวจสอบสีให้ถูกต้อง และสีไม่แตกต่างกัน
มาก และทําการเรียงแผ่นหินทีจ่ ะใช้ในบริเวณใกล้เคียงกัน เพื่อเฉลีย่ สีและลายของหินให้สมํ่าเสมอกันทัวทั ่ ง้ พืน้ ที่ ทีจ่ ะปู
และให้ผอู้ อกแบบ หรือผูค้ วบคุมงานพิจารณาเห็นชอบก่อนการดําเนินการติดตัง้
2.4.1 การเตรียมผิว
(1) ทําความสะอาดพืน้ ผิวทีจ่ ะปูหนิ ให้ปราศจากฝุน่ ผง คราบไขมัน เศษปูน หรือสิง่ สกปรกอื่นใด แล้วล้างทําความสะอาด
ด้วยนํ้า
(2) เทปูนทรายปรับระดับสําหรับพืน้ ให้ได้ระดับและความเอียงลาดตามต้องการ ได้ดงิ่ ได้ฉาก ได้แนว เพื่อให้ได้ผวิ
พืน้ ทีเ่ รียบและแข็งแรงก่อนการปูหนิ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 147 of 521

(3) หลังจากเทพืน้ ปูนทรายปรับระดับแล้ว 24 ชัวโมง ่ ให้ทาํ การบ่มตลอด 3 วัน ทิง้ ไว้ให้แห้ง แล้วจึงเริม่ ดําเนินการปูหนิ
ได้
(4) การเตรียมแผ่นหิน จะต้องจัดเรียงแผ่นหินทีจ่ ะใช้ในบริเวณใกล้เคียงๆ เพื่อเฉลีย่ สีและลายของหินให้สมํ่าเสมอกันทัว่
ทัง้ พืน้ ทีท่ จ่ี ะปูหนิ ให้ผคู้ วบคุมงาน และ/หรือผูอ้ อกแบบพิจารณาอนุมตั ติ ําแหน่งการวางแผ่นหินแต่ละแผ่น และ
คัดเลือกหินแต่ละแผ่นก่อนการติดตัง้
(5) ก่อนดําเนินการปูหนิ จะต้องทานํ้ายาเคลือบใสป้องกันความชืน้ ทีด่ า้ นหลังและด้านข้างของแผ่นหิน รวม 5 ด้าน โดย
ยกเว้นด้านหน้าของแผ่นหิน สําหรับหน้าหินทีท่ าํ ผิวขัดมัน และทาทัง้ 6 ด้าน โดยทาทีด่ า้ นหน้าของแผ่นหินด้วย
สําหรับหน้าหินทีท่ าํ ผิวด้าน พ่นทราย เปา่ ไฟ สกัดหยาบ หรือผิวอื่นใดนอกเหนือจากผิวขัดมัน โดยทาอย่างน้อย
ด้านละ 2 เทีย่ ว และทิง้ ไว้ให้แห้งก่อนนําไปติดตัง้
2.4.2 การปูหนิ
(1) ทําการวางแนวของแผ่นหิน กําหนดจํานวนและเศษแผ่นตาม Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ แนวหินทัวไปให้ ่ ชดิ กัน
ให้มากทีส่ ดุ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
(2) เศษของแผ่นหินจะต้องเหลือเท่ากันทัง้ สองด้าน แนวรอยต่อหินของพืน้ กับผนังจะต้องตรงกัน หรือตาม Shop
Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ การเข้ามุมหินหากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้วธิ เี จียรขอบ 45 องศา ประกบเข้ามุม ให้เห็นความ
หนาของแผ่นหินทีป่ ระกบกันทัง้ 2 แผ่น ด้านละประมาณ 5 มิลลิเมตร
(3) การตัดแต่งหินในแนวตรง แนวโค้ง ต้องตัดด้วยเครื่องมือมาตรฐานและคมเป็ นพิเศษ การเจาะหินเพื่อใส่อุปกรณ์
ต่างๆ รอยเจาะต้องมีขนาดตามต้องการ หินทีต่ ดั แต่งแล้วต้องไม่บดิ เบีย้ ว แตกบิน่ มีขนาดตามต้องการและต้อง
ตกแต่งขอบให้เรียบร้อยก่อนนําไปติดตัง้
(4) CONTROL JOINT (ในกรณีการปูดว้ ยกาวซีเมนต์)
- การปูชดิ สําหรับงานภายใน ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 4-6 เมตร
- การปูห่างสําหรับงานภายใน ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 6-10 เมตร
- การปูชดิ สําหรับงานภายนอก ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 2-3 เมตร
- การปูห่างสําหรับงานภายนอก ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 4-5 เมตร
(5) ทําความสะอาดพืน้ ผิว แล้วพรมนํ้าให้เปี ยกโดยทัว่ ใช้เกรียงฉาบกาวซีเมนต์ทใ่ี ช้สาํ หรับยึดติดแผ่นหิน ด้วยการโบก
ให้ทวพื
ั ่ น้ ทีท่ จ่ี ะปูหนิ แล้วขูดให้เป็ นรอยทาง ให้ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตกาวซีเมนต์ โดยได้รบั ความเห็นชอบ
จากผูค้ วบคุมงานก่อน
(6) ติดตัง้ และกดแผ่นหินตามแนวทีว่ างให้แน่นไม่เป็ นโพรงภายในเวลาทีก่ าํ หนดของกาวซีเมนต์ทใ่ี ช้ในกรณีท่ี
เป็ นโพรง หรือไม่แน่น หรือไม่แข็งแรง จะต้องรือ้ ออกและทําการติดตัง้ ใหม่
(7) หลังจากปูหนิ แล้วเสร็จ ทิง้ ให้หนิ ไม่ถูกกระทบกระเทือนเป็ นเวลาอย่างน้อย 48 ชัวโมง ่ แล้วจึงยาแนวรอยต่อด้วยวัสดุ
ยาแนว โดยใช้สที ใ่ี กล้เคียงหรืออ่อนกว่าสีหนิ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
(8) การยาแนว ขนาดความกว้างต้องให้มขี นาดเดียวกันและสมํ่าเสมอกันตลอดแนว มีความประณีต เรียบร้อย สีของ
กาวยาแนวต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนติดตัง้
(9) เช็ดวัสดุยาแนวส่วนเกินออกจากแผ่นหินด้วยฟองนํ้าชุบนํ้าหมาดๆ ก่อนทีว่ สั ดุยาแนวจะแห้ง ให้ร่องและผิวของหิน
สะอาด ปล่อยทิง้ ไว้ประมาณ 2 ชัวโมง ่ จึงทําความสะอาดด้วยผ้าสะอาดชุบนํ้า หมาดๆ ทิง้ ให้วสั ดุยาแนวแห้งสนิท
(10) นํ้ายาเคลือบผิว ต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งาน และต้องปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิต
โดยเคร่งครัด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 148 of 521

2.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ ผิวของวัสดุตอ้ งปราศจากรอยแตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด
หรือมีตําหนิ หลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน
(1) ทําความสะอาดผิวหินด้วยฟองนํ้า ผ้า และนํ้า ก่อนทีป่ นู จะแห้งภายใน 1 ชัวโมง ่ หลังจากการติดตัง้ และทําความ
สะอาดรอยต่อระหว่างแผ่นให้สะอาดไม่มรี อยคราบเปื้ อนใดๆ ก่อนส่งมอบ
(2) การขัดเคลือบผิว ให้ทาํ ความสะอาดอีกครัง้ ด้วยนํ้าสบู่ หรือนํ้ายาทําความสะอาด และชําระด้วยนํ้าเปล่า เช็ดให้แห้ง
ด้วยผ้านุ่มสะอาด หลังจากนัน้ เคลือบผิวด้วยนํ้ายาเคลือบเงา
(3) ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้งานพืน้ ปูหนิ สกปรกหรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

2.6 การป้องกันแผ่นหิน
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องเก็บกองโดยไม่ให้มนี ้ําหนักกดทับลงบนแผ่นหิน โดยการวางแผ่นหินเรียงกันตามแนวตัง้ มีกระสอบ
หรือหมอนไม้รองรับ และทีเ่ ก็บกองจะต้องไม่มคี วามชืน้
(2) พืน้ ทีป่ หู นิ แล้วเสร็จ ห้ามมีการเดินผ่านหรือบรรทุกนํ้าหนัก หากจําเป็ นจะต้องมีการสัญจร จะต้องมีการป้องกันผิว
หินมิให้เป็ นรอยหรือเสียหาย ในกรณีทผ่ี วิ หน้าหินเกิดริว้ รอยขูดขีดปรากฏให้เห็น หรือแผ่นหินไม่เรียบ ไม่สมํ่าเสมอ
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการแก้ไขตามกรรมวิธกี ารขัดผิวมันของแผ่นหิน หรือเปลีย่ นให้ใหม่ และให้ได้สขี องแผ่นหินที่
สมํ่าเสมอกันทัวทั ่ ง้ บริเวณ โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง

2.7 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ หากเกิดความเสียหายอันเนื่องจากการติดตัง้ และผิวของ
วัสดุ เกิดรอยร้าว แตกบิน่ ขูดขีด หรือหลุดล่อน ผูร้ บั จ้างจะต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของ
ผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

3. พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งยางชนิดม้วน


3.1 ขอบเขตของงาน
กระเบือ้ งยางชนิดม้วน ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทํารูปแบบ SHOP DRAWING
รายละเอียดต่างๆ ในการติดตามแบบก่อสร้างและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบและตรวจสอบจากทาง
ผูอ้ อกแบบ
3.2 วัสดุ
วัสดุทน่ี ํามาใช้ตอ้ งเป็ นวัสดุใหม่ได้มาตรฐานของผูผ้ ลิต ปราศจากรอยร้าวหรือตําหนิใดๆ ชนิด ขนาด ความหนา
ลวดลาย สี และแบบ ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด
(1) วัสดุทใ่ี ช้ทาํ กระเบือ้ งยางชนิดแผ่นต้องไม่มสี ว่ นผสมของใยหิน (NON-ASBESTOS) มีความทนทานต่อการใช้งาน
การปูตอ้ งมีสเี หมือนกันไม่ผดิ เพีย้ น
(2) หากไม่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ใช้กระเบือ้ งยางชนิดแผ่น หนาไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตร ลวดลาย สี จะกําหนดโดย
ผูอ้ อกแบบ
(3) กาวติดกระเบือ้ งยางจะต้องทนต่อความชืน้ หลังจากการติดตัง้ กระเบือ้ งยางแล้ว ให้ใช้กาวขาวทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็ นกาว
สูตรนํ้า ประกอบด้วยไวนิลอะครีลคิ โคโพลิเมอร์ไม่มสี ว่ นผสมของสารระเหย วิธใี ช้ให้ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของ
บริษทั ผลิตกระเบือ้ งยาง หรือตามผูอ้ อกแบบกําหนด และต้องได้ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 149 of 521

(4) บัวเชิงผนัง หากไม่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น บัวเชิงผนังจะต้องเป็ นวัสดุ PVC หนา 2.0 มิลลิเมตร สูง 10 เซนติเมตร
ลวดลายและสีจะกําหนดโดยผูอ้ อกแบบ
(5) กรณีรปู แบบระบุเป็ นชนิดม้วนจะกําหนดชัดเจนในรูปแบบเฉพาะ

3.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งผูอ้ อกแบบเห็นชอบก่อนจึงจะ
นําไปใช้งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอืน่ ที่จาํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย เช่น ขอบคิว้ หรือมุมต่างๆ เป็ นต้น
3.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝีมอื ดี มีความชํานาญในการปู โดยการปูตามแนวราบ แนวตัง้ และแนวนอน จะต้องได้ฉาก
แนวระดับเท่ากันสมํ่าเสมอ หรือลวดลายตามผูอ้ อกแบบกําหนดให้ดว้ ยความประณีตเรียบร้อย
3.4.1 การเตรียมพืน้ ผิว
(1) พืน้ คอนกรีตเสริมเหล็กทีจ่ ะปูกระเบือ้ งยางจะต้องเตรียมเผื่อระดับความหนาประมาณ 40 มิลลิเมตร และเทปูนทราย
รองพืน้ อีกชัน้ หนึ่ง ให้เหลือความหนาเท่ากับความหนาของกระเบือ้ งยางทีใ่ ช้อตั ราส่วนปูนทรายใช้ปนู ซีเมนต์ 1 ส่วน
ต่อทราย 3 ส่วน แล้วทําการขัดผิวพืน้ ให้เรียบและได้ระดับสมํ่าเสมอ
(2) พืน้ ทีจ่ ะติดตัง้ ด้วยกระเบือ้ งยางชนิดแผ่นจะต้องเป็ นพืน้ ทีไ่ ด้ระดับเรียบ ผิวของพืน้ ทีจ่ ะปูจะต้องไม่เป็ นคลื่นโดย
เด็ดขาด และปราศจากเศษปูน นํ้ามัน เศษฝุน่ ต่างๆ ทีเ่ หลืออยู่เป็ นพืน้ ผิวขัดมันเรียบ
(3) พืน้ ไม้ จะต้องเป็ นพืน้ ทีเ่ รียบ รอยต่อต้องสนิทและสมํ่าเสมอกัน ต้องสะอาดปราศจากความชืน้ แห้งสนิท
3.4.2 การปูกระเบือ้ งยาง
(1) ต้องปูหลังจากงานส่วนอื่นทีอ่ าจจะมีผลเสียหายต่อกระเบือ้ งเสร็จเรียบร้อยแล้ว ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างจะจัดเตรียมกระเบือ้ ง
ยางสํารองให้แก่เจ้าของงานทุกสีและลวดลายของการใช้ ในอัตราส่วน 1% ของปริมาณกระเบือ้ งยางทีป่ ู
(2) การทากาวติดกระเบือ้ ง การปาดทา และระยะเวลาทีย่ อมให้ปกู ระเบือ้ งยาง ก่อนกาวแห้งจะต้องปฏิบตั ิตามคําแนะนํา
ของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
(3) การปูกระเบือ้ งยาง จะต้องปูตามแนวทีก่ าํ หนดในแบบก่อสร้าง หรือตามอนุมตั ใิ น SHOP DRAWING ทัง้ นี้ การปู
จะต้องชิดสนิทกันและได้ฉาก
(4) หลังการปูเสร็จให้ใช้ลกู กลิง้ หนักประมาณ 50 กิโลกรัม บดทับทันที เพื่อให้กระเบือ้ งยางติดกับพืน้ ทุกแผ่น แล้ว
จะต้องทิง้ ไว้ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่น้อยกว่า 7 วัน
(5) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดผูด้ แู ลมิให้ฝนสาด หรือเกิดการพองตัว หรือหลุดล่อน หากเกิดการพองตัว หรือหลุดร่อน ผูร้ บั จ้าง
จะต้องรือ้ ทัง้ ห้อง และทําการปูใหม่ โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างเองทัง้ สิน้

3.5 การทําความสะอาดและเคลือบผิว
การทําความสะอาดและเคลือบผิวหลังจากปูเสร็จเรีบยร้อยในห้องหรือบริเวณทีก่ าํ หนด จะต้องทําความสะอาดผิว
ด้วยนํ้ายาล้างพืน้ และคราบไขมัน สิง่ สกปรกบนพืน้ ต่างๆ ให้สะอาดจนกว่าจะหมดคราบและทําการเคลือบเงาพืน้ ด้วยนํ้ายา
เคลือบพืน้ WAX อย่างน้อย 2 ครัง้ และขัดด้วยเครื่องขัดให้ขน้ึ เงา โดยให้ปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิต ผูร้ บั จ้าง
จะต้องทําให้เรียบร้อยทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ ผิวของกระเบือ้ งต้องปราศจาก รอยร้าว แตกบิน่ หรือมีตําหนิ หลุดล่อน
ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน

3.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพวัสดุ และการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้ แล้วต้องแข็งแรงมันคงปราศจากตํ
่ าหนิ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 150 of 521

ต่างๆ หากเกิดตําหนิต่างๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นแปลงให้ใหม่ หรือซ่อมแซมแก้ไขให้อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์


ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูว้ ่าจ้างโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

3.7 ผลิตภัณฑ์ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ DYNOFLEX PREMIUM, STARFLOR ของบจก. ยูเนี่ยนปรอพเปอร์ต้ี หรือ


เทียบเท่า สีเลือกโดยสถาปนิก หรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง ทัง้ นี้ให้สอดคล้องกับสี งานตกแต่งภายในอาคาร

4. พืน้ ค.ส.ล. ปูไม้ LAMINATE


4.1 วัสดุทใ่ี ช้
ให้ใช้ไม้ LAMINATE สําเร็จรูป ขนาดไม่น้อยกว่า 19-25 เซนติเมตร หนาไม่น้อยกว่า 12 มิลลิเมตร ยาวไม่น้อยกว่า
1.20 เมตร ชนิดกันความชืน้ และใช้สาํ หรับงานหนัก ผลิตภัณฑ์ผลิตในประเทศ หรือนําเข้า ปูบนโครงสร้างคอนกรีตขัดมัน
เรียบ รองไม้ดว้ ยแผ่นโฟม PE และพลาสติกกันชืน้ ปูได้ระดับให้เรียบร้อยแล้วเคลือบผิวหน้าด้วยการขัดนํ้าก่อนส่งงาน
งานบัวพืน้ และตัวจบขอบประตู ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
4.2 การส่งตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างส่งตัวอย่าง 1 ชุด เพือ่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเลือกสีและเห็นชอบก่อนดําเนินการ
4.3 ผลิตภัณฑ์
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ GALLIANT, HARO, ROBINA หรือเทียบเท่า สีเลือกโดยสถาปนิก หรือคณะกรรมการตรวจ
การจ้าง ทัง้ นี้ให้สอดคล้องกับสี งานตกแต่งภายในอาคาร

5. พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งเซรามิค


5.1 ขอบเขตของงาน
5.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ ี ในการติดตัง้ งานกระเบือ้ ง ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
5.1.2 วัสดุทน่ี ํามาใช้ตอ้ งเป็ นวัสดุใหม่ทไ่ี ด้มาตรฐานของผูผ้ ลิต ปราศจากรอยร้าวหรือตําหนิใดๆ ไม่บดิ งอ
ขนาดเท่ากันทุกแผ่น ให้ใช้คุณภาพที่ 1 หรือเกรด A หรือเกรดพรีเมีย่ ม บรรจุในกล่องเรียบร้อย โดย
มีใบส่งของและใบรับรองคุณภาพจากโรงงานผูผ้ ลิต ทีส่ ามารถตรวจสอบได้ และจะต้องเก็บรักษาไว้
อย่างดีในทีไ่ ม่มคี วามชืน้
5.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง ชนิด และสีต่างๆ ของกระเบือ้ ง เส้นขอบคิว้ วัสดุยาแนว พร้อม
รายละเอียด และขัน้ ตอนในการติดตัง้ งานกระเบือ้ งแต่ละชนิด เช่น กระเบือ้ งปูพน้ื กระเบือ้ งผนัง
ภายในและภายนอก เป็ นต้น ให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการดําเนินการ
5.1.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ ดังนี้
(1) แบบแปลนของการปูกระเบือ้ งทัง้ หมด ระบุรุ่น ขนาด ของกระเบือ้ งแต่ละชนิด
(2) แบบขยายการติดตัง้ บริเวณขอบ มุม รอยต่อ การลดระดับ การยกขอบ แนวของเส้นรอยต่อ หรือเส้นขอบคิว้ และ
เศษของกระเบือ้ งทุกส่วน แสดงอัตราความลาดเอียง และทิศทางการไหลของนํ้า ของพืน้ แต่ละส่วน
(3) แบบขยายอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องหรือจําเป็ น เช่น ตําแหน่งติดตัง้ ท่อนํ้าสําหรับจ่ายเครื่องสุขภัณฑ์ ทีผ่ นังช่องระบายนํ้าทิง้ ที่
พืน้ ตําแหน่งทีต่ ดิ ตัง้ สวิทช์ ปลัก๊ ช่องซ่อมบํารุง เป็ นต้น
5.1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําระบบกันซึมพืน้ หรือผนังทีร่ ะบุให้ทาํ ระบบกันซึม ก่อนการเทพืน้ ปูนทรายปรับ
ระดับหรือฉาบปูนรองพืน้ ผนัง แล้วจึงทําการติดตัง้ กระเบือ้ ง เช่น ระบบกันซึมพืน้ ห้องนํ้า หรือพืน้ ชัน้
ล่างทีต่ ดิ กับพืน้ ดิน เป็ นต้น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 151 of 521

5.2 วัสดุทใ่ี ช้
5.2.1 ใช้กระเบือ้ งเซรามิคผิวเคลือบด้านขนาด 12 x 12 นิ้ว (หรือขนาดตามรูปแบบกําหนด) ผลิตภัณฑ์ตาม
มาตรฐานกระเบือ้ งดินเผาปูพน้ื (มอก.37-2529) ได้แก่ COTTO หรือ RCI หรือคัมพาน่า หรือ
คุณภาพเทียบเท่า (สีและลายเลือกภายหลังโดยผูอ้ อกแบบ)
5.2.2 นํ้ายากันซึม ใช้ของ THOROSEAL, UNASEAL, BRUSBOND หรือคุณภาพเทียบเท่า
5.2.3 กระเบือ้ งจะต้องได้มาตรฐาน ขนาด ความหนา ลวดลาย และสีจะต้องสมํ่าเสมอเท่ากันทุกแผ่น
เป็ นไปตามทีส่ ถาปนิกเลือกไว้ หากเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี ชี น้ิ ส่วนกระเบือ้ งทีใ่ ช้ทาํ ขอบ คิว้ มุม กาบกล้วย
ควํ่า และหงาย ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหามาให้พร้อม หากผลิตภัณฑ์ไม่มชี น้ิ ส่วนดังกล่าว ให้ใช้เส้นขอบ
มุม PVC สําเร็จรูปสีเหมือนกระเบือ้ ง
5.2.4 ซีเมนต์ขาวสําหรับปูกระเบือ้ ง ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ขาว (มอก.133-2518) ได้แก่
ตราช้างเผือก ตรากิเลน หรือเทียบเท่า
5.2.5 ซีเมนต์กาวสําเร็จรูปสามารถนํามาใช้เทียบเท่าได้ เช่น ตราจรเข้ ตราตุ๊กแก เป็ นต้น
5.3 การติดตัง้
5.3.1 การเตรียมผิว
(1) ทําความสะอาดพืน้ ผิวทีจ่ ะปูหรือบุกระเบือ้ งให้ปราศจากฝุน่ ผง คราบไขมัน เศษปูนทราย หรือสิง่ สกปรกอื่นใด แล้ว
ล้างทําความสะอาดด้วยนํ้า
(2) สําหรับพืน้ ทีจ่ ะปูกระเบือ้ ง จะต้องเทปูนทรายปรับระดับ ให้ได้ระดับและความเอียงลาดตามต้องการเพื่อให้ได้ผวิ
พืน้ ทีเ่ รียบและแข็งแรงก่อนการปู
(3) หลังจากเทพืน้ ปูนทรายปรับระดับ แล้ว 24 ชัวโมง ่ ให้ทาํ การบ่มตลอด 3 วัน ทิง้ ไว้ให้แห้ง แล้วจึงเริม่ ดําเนินการปู
กระเบือ้ งพืน้ ได้
(4) การเตรียมแผ่นกระเบือ้ ง จะต้องแกะกล่องออกมา ทําการเฉลีย่ สีของกระเบือ้ งให้สมํ่าเสมอทัวกั ่ น และเพียงพอกับ
พืน้ ทีท่ จ่ี ะปูแล้วจึงนํากระเบือ้ งไปแช่น้ําก่อนนํามาใช้ หรือปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิต โดยได้รบั ความเห็นชอบ
จากผูค้ วบคุมงานก่อน
(5) กระเบือ้ งดินเผาทีไ่ ม่เคลือบผิว ก่อนการปูหรือบุตอ้ งเคลือบผิวด้วยนํ้ายาเคลือบใส เพื่อป้องกันการซึมของนํ้าปูนและ
สียาแนวโดยเคลือบให้ทวผิ ั ่ วหน้าและขอบโดยรอบรวม 5 ด้าน อย่างน้อย 2 เทีย่ ว
5.3.2 การปูกระเบือ้ ง
(1) ทําการวางแนวกระเบือ้ ง กําหนดจํานวนแผ่น และเศษแผ่นตาม SHOP DRAWING ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ แนวกระเบือ้ ง
ทัวไปหากไม่
่ ระบุในแบบให้ห่างกัน 2 มิลลิเมตร หรือชิดกันตามชนิดของกระเบือ้ ง หรือตามวัตถุประสงค์ของ
ผูอ้ อกแบบ
(2) เศษของแผ่นกระเบือ้ งจะต้องเหลือเท่ากันทัง้ 2 ด้าน แนวรอยต่อจะต้องตรงกันทุกด้านทัง้ พืน้ และผนัง หรือตาม
SHOP DRAWING ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ การเข้ามุมกระเบือ้ งหากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้วธิ เี จียรขอบ 45 องศา ครึง่ ความ
หนาของแผ่นกระเบือ้ งประกบเข้ามุม รอยต่อรอบสุขภัณฑ์หรืออุปกรณ์หอ้ งนํ้าต่างๆ จะต้องตัดให้เรียบร้อยสวยงาม
ด้วยเครื่องมือตัดทีค่ มเป็ นพิเศษ
(3) ทําความสะอาดพืน้ ผิว แล้วพรมนํ้าให้เปี ยกโดยทัว่ ใช้กาวซีเมนต์ในการยึดกระเบือ้ ง ด้วยการโบกให้ทวพื ั ่ น้ แล้วจึงปู
กระเบือ้ ง ให้ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตกาวซีเมนต์ โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อน
(4) ติดตัง้ และกดแผ่นกระเบือ้ งตามแนวทีว่ างไว้ให้แน่นไม่เป็ นโพรง ภายในเวลาทีก่ าํ หนดของกาวซีเมนต์ทใ่ี ช้ ในกรณีท่ี
เป็ นโพรง หรือไม่แน่น หรือไม่แข็งแรง จะต้องรือ้ ออกและทําการติดตัง้ ใหม่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 152 of 521

(5) ไม่อนุญาตให้บุกระเบือ้ งทับขอบวงกบใดๆ ทุกกรณี


(6) หลังจากปูหรือบุกระเบือ้ งแล้วเสร็จ ทิง้ ให้กระเบือ้ งไม่ถูกกระทบกระเทือนเป็ นเวลาอย่างน้อย 48 ชัวโมง ่ แล้วจึงยา
แนวรอยต่อด้วยวัสดุยาแนว โดยใช้สที ใ่ี กล้เคียงหรืออ่อนกว่าสีกระเบือ้ ง หรือ ตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
(7) เช็ดวัสดุยาแนวส่วนเกินออกจากกระเบือ้ งด้วยฟองนํ้าชุบนํ้าหมาดๆ ก่อนทีว่ สั ดุยาแนวจะแห้งให้ร่องและผิวของ
กระเบือ้ งสะอาด ปล่อยทิง้ ไว้ประมาณ 2 ชัวโมง ่ จึงทําความสะอาดด้วยผ้าสะอาดชุบนํ้าหมาดๆ ทิง้ ให้วสั ดุยาแนว
แห้งสนิท
5.4 การบํารุงรักษาและทําความสะอาด
5.4.1 งานกระเบือ้ งทัง้ หมดทีเ่ สร็จแล้ว จะต้องได้แนว ได้ระดับ ได้ดงิ่ ได้สที เ่ี รียบสมํ่าเสมอทัวทั
่ ง้ บริเวณ
ความไม่เรียบร้อยใดๆ ทีเ่ กิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการแก้ไข โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง
5.4.2 หลังจากวัสดุยาแนวแห้งดีแล้วประมาณ 24 ชัวโมง ่ ให้ทาํ ความสะอาดอีกครัง้ ด้วยนํ้า และเช็ดให้แห้ง
ด้วยผ้าสะอาด แล้วเคลือบผิวด้วย WAX อย่างน้อย 1 ครัง้
5.4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้งานกระเบือ้ ง สกปรกหรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

6. พืน้ ค.ส.ล. ปูกระเบือ้ งดินเผาชนิดผิวแกร่ง


6.1 วัสดุทใ่ี ช้
6.1.1 ใช้กระเบือ้ งเซรามิคชนิดไม่เคลือบ และเป็ นกระเบือ้ งเนื้อเดียวกัน โดยผ่านการเผาทีอ่ ุณหภูมไม่ต่าํ
กว่า 1250°C โดยผ่านการตรวจสอบมาตรฐานจาก ASTM หรือ EN87 ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษทั
เคนไซ ซีรามิคส์ อินดัสตรี้ จํากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า (สีและลายเลือกภายหลังโดยผูอ้ อกแบบ)
6.1.2 ซีเมนต์กาวสําเร็จรูปสามารถนํามาใช้เทียบเท่าได้ เช่น ตราจรเข้ ตราตุ๊กแก เป็ นต้น
6.2 การติดตัง้
6.2.1 ตีเส้นตามลวดลายทีเ่ ลือกไว้
6.2.2 นํากระเบือ้ งแช่ในนํ้าสะอาดก่อนการใช้งาน
6.2.3 นําซีเมนต์กาวผสมนํ้า
6.2.4 ราดนํ้าบริเวณทีจ่ ะปูกระเบือ้ งให้ชุ่ม เพื่อให้กระเบือ้ งยึดเกาะได้ดยี งิ่ ขึน้
6.2.5 ตักซีเมนต์กาวทีผ่ สมไว้ป้ายด้านหลังของกระเบือ้ ง แล้วปูตามขัน้ ตอนของลวดลายทีเ่ ลือกไว้
6.2.6 ใช้แปรงไม้กวาดชุบนํ้าล้างเศษปูนทีต่ ดิ ผิวหน้าออกให้หมด แล้วเช็ดทําความสะอาดด้วยฟองนํ้าอีก
ครัง้

7. พืน้ ค.ส.ล. ผิวทรายล้าง / กรวดล้าง


7.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
7.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ ี ในการติดตัง้ งานพืน้ ทรายล้าง/กรวดล้าง ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
7.1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแผ่นตัวอย่างหินล้าง/กรวดล้างขนาด 300x300 มิลลิเมตร แสดงสี ขนาดเม็ดหิน
และกรวด ลวดลาย และวัสดุแบ่งช่อง จํานวน 2 ตัวอย่าง ให้ผคู้ วบคุมงาน และ/หรือผูอ้ อกแบบ
คัดเลือกและอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
7.1.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ ดังนี้
(1) แบบแปลนของงานทรายล้าง/กรวดล้างทัง้ หมด ระบุสแี ละขนาดเม็ดหินหรือกรวดให้ชดั เจน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 153 of 521

(2) แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ แนวเส้นแบ่งช่องหรือเส้นขอบคิว้ แสดงอัตราความลาดเอียงและทิศ


ทางการไหลของนํ้าของพืน้ แต่ละส่วน
(3) แบบขยายอื่นทีเ่ กีย่ วข้องหรือจําเป็ น เช่น ตําแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบทีเ่ กีย่ วข้อง ช่องระบายนํ้าทีพ่ น้ื ตําแหน่ง
ติดตัง้ สวิทช์ปลัก๊ ช่องซ่อมบํารุง เป็ นต้น
7.1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการป้องกันและระมัดระวังมิให้ผนังหรือส่วนของอาคารอื่นๆ เปรอะเปื้ อน และ
ป้องกันไม่ให้ท่อนํ้าหรือทางระบายนํ้าต่างๆ อุดตันเสียหาย
7.2 วัสดุ
7.2.1 ทรายแม่น้ําธรรมชาติทม่ี ขี นาดเม็ดสมํ่าเสมอ จะต้องล้างจนสะอาดปราศจากฝุน่ และสารอื่นๆ ทีม่ ผี ล
ต่อการยึดตัวกับส่วนผสมใช้ทรายเม็ดเล็ก เบอร์ 5 หรือตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดชนิดและขนาดจะต้องได้รบั
ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการนําไปใช้
7.2.2 กรวดทะเลสีธรรมชาติทม่ี ขี นาดเม็ดสมํ่าเสมอ จะต้องล้างจนสะอาดปราศจากฝุน่ และสารอื่นๆ ทีม่ ผี ล
ต่อการยึดตัวกับส่วนผสมใช้กรวด เบอร์ 4 1/2, 4 หรือตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดชนิดและขนาดจะต้อง
ได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการนําไปใช้
7.2.3 ปูนซีเมนต์ ปูนซีเมนต์ขาว ต้องได้รบั มาตราฐานอุตสาหกรรม มอก.80-2550 หรือ มอก.133-2518
และได้มาตราฐาน ASTM C150-70 TYPE, BS12:1971 ORDINARY
7.2.4 นํ้า ต้องปราศจากคราบนํ้ามัน กรด ด่าง สารอินทรีย์ หรือสารแขวนลอยอื่นๆ
7.2.5 สีฝนุ่ โดยสีฝนุ่ ทีใ่ ช้ผสมจะต้องไม่เกิน 8% โดยปริมาณ
7.2.6 นํ้ายาซิลโิ คน ป้องกันความชืน้ และเชือ้ รา
7.3 วิธกี ารดําเนินการ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในงาน ทรายล้าง กรวดล้าง หรือหินล้าง ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้อง
ได้ระดับเส้นแนว หรือลวดลายทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและมีความประณีตเรียบร้อย
7.3.1 ห้ามนําทรายล้างลงบนแผ่นพืน้ ค.ส.ล. ทีอ่ ายุไม่ครบ 28 วัน หรือบนพืน้ คอนกรีตทีล่ อยตัวทีม่ อี ายุ
น้อยกว่า 7 วัน
7.3.2 การเตรียมพืน้ ผิว จะต้องเทปูนทรายปรับระดับ หนาประมาณ 2-4 เซนติเมตร บนผิวคอนกรีตทีม่ ผี วิ
หยาบเหมาะสมกับการยึดเกาะกับผิวของปูนทราย โดยในส่วนทีม่ ผี วิ เรียบเกินไปจะต้องสกัดผิว
คอนกรีตให้หยาบขึน้ ทัง้ นี้ พืน้ ผิวจะต้องสะอาดปราศจากคราบไขมัน นํ้ามันและสารอื่นๆ ทีม่ ผี ลต่อ
การยึดเกาะของปูนทรายและทรายล้าง
7.3.3 พืน้ ทรายล้างจะต้องแบ่งแนวด้วยไม้แนวแบ่งพืน้ ที่ โดยเฉลีย่ ทุกๆ 2 ตารางเมตร โดยใช้ไม้แนวหน้า
ตัดรูปสีเ่ หลีย่ ม ความหนาขนาดหน้ากว้างประมาณ บน 1.5 เซนติเมตร ล่าง 1 เซนติเมตร และหนา 1
เซนติเมตร ในกรณีทม่ี ไิ ด้ระบุแนวเส้นในแบบก่อสร้างสถาปนิกจะกําหนดแนวให้ระหว่างการก่อสร้าง
7.3.4 หลังจากทําผิวทรายล้างแล้วเสร็จทิง้ ไว้จนผิวแห้งสนิท จึงแกะไม้แบ่งแนวออก หากปรากฏขอบของ
เส้นแบ่งไม่เรียบร้อยให้ทาํ การแต่งให้เรียบร้อยก่อนเคลือบผิวด้วยนํ้ายาซิลโิ คน 2 ครัง้
7.3.5 หลังการติดตัง้ ให้ป้องกันผิวของทรายล้าง โดยปราศจากคราบนํ้ามัน ยางไม้ หรือสารเคมีต่างๆ โดย
การคลุมผิวของทรายล้างด้วยแผ่นพลาสติกป้องกันความเสียหายทีจ่ ะเกิดขึน้
7.3.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ ด้วยนํ้าทีส่ ะอาด ถ้าเกิดการด่างให้ใช้กรด
เกลือล้างตามกรรมวิธขี องผูต้ ดิ ตัง้ ผิวของทรายล้างต้องปราศจากรอยด่าง เปรอะเปื้ อน หลุดล่อน
หรือมีตําหนิ ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 154 of 521

7.4 การส่งตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด ซึง่ แสดงขนาดของเม็ดทรายและสี ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้
ผูอ้ อกแบบเห็นชอบก่อนจึงนําไปใช้งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย เช่น ขอบคิว้
หรือมุมต่างๆ เป็ นต้น ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทําตัวอย่าง ขนาด 30x30 เซนติเมตร หรือขนาด 20x20 เซนติเมตร จํานวน
2 ตัวอย่าง เพื่อขอความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้

8. พืน้ ปูกระเบือ้ งดินเผาสลับผิวทรายล้าง


8.1 วัสดุ
กระเบือ้ งดินเผา (ขนาดตามรูปแบบระบุ) ผลิตภัณฑ์ของ L-THAI, บ.ป.ก. หรือเทียบเท่า สลับทรายล้างชนิดเม็ด
ละเอียด สีเทา-ขาว หรือตามรูปแบบระบุ
8.2 การเตรียมผิวและการปู
8.2.1 ถ้าอยู่ภายนอกอาคารหรือบริเวณทีม่ โี อกาสเกิดนํ้านอง ให้แต่งผิวพืน้ ทีจ่ ะปูดว้ ยปูนทรายผสมนํ้ายา
กันซึม ให้ได้ระดับและความลาดเอียง 1:200 ลงสูท่ ่อระบายนํ้า
8.2.2 หลังจากพืน้ คอนกรีตแห้งดีแล้วจึงปูแผ่นกระเบือ้ งดินเผาให้ผวิ หน้าเรียบเสมอกัน จัดแนวให้ตรง
หลังจากพืน้ กระเบือ้ งดินเผาแห้งแล้ว ให้ลา้ งให้สะอาด จากนัน้ ให้ทาํ ผิวทรายล้างระหว่างแผ่น
กระเบือ้ ง (ดูรายละเอียดในวิธกี ารดําเนินการพืน้ ทรายล้าง)
8.3 การส่งตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างนําส่งแคตตาล๊อค และตัวอย่างกระเบือ้ งและทรายล้างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบ
ก่อนดําเนินการ การจัด PATTERN กําหนดโดยผูอ้ อกแบบสถาปตั ยกรรมพิจารณา

9. พืน้ ขัดมันเรียบผสมนํ้ายากันซึม และทํากันซึมชนิดใยแก้ว (ระเบียงกันสาดและดาดฟ้า)


9.1 วัสดุ
ให้ใช้วสั ดุกนั ซึมทีม่ คี ุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
9.1.1 ประกอบด้วยสารอาคิลคิ โพลิเมอร์เยล 100% เสริมบริเวณกลางชัน้ ด้วยแผ่นใยแก้ว นํ้าหนัก 300 กรัม
ต่อตารางเมตร เพื่อเป็ นตัวรับแรงในการยึด และหดตัว
9.1.2 มีคุณสมบัตใิ นการป้องกันการรัวซึ ่ มของนํ้าได้ดี
9.1.3 ไม่มรี อยต่อเมื่อติดตัง้ เสร็จแล้ว ไอนํ้าสามารถผ่านได้ในอัตรา 5.123 กรัมต่อตารางเมตร กว่า 24
ชัวโมง

9.1.4 มีความยืดหยุ่นตัวและผ่าน 3 MM. MANDREL ตามมาตรฐาน ASTM D 1737 สามารถเชื่อมรอย
แตกร้าวเล็กๆ บนผิวพืน้ สามารถทนต่อแสงอุลตร้าไวโอแลตได้ 2000 ชัวโมง ่ ทดสอบด้วย QUV
WEATHERMETER ตามมาตรฐาน ASTM D 882
9.1.5 ผิวของวัสดุสามารถใช้เป็ นทางเดินในสภาพใช้งานปกติ หรือใช้เป็ นทางสําหรับล้อเลื่อนขนาดเบา
9.1.6 มี TENSILE STRENGTH อยู่ท่ี 211.3 NEWTON ตามมาตรฐาน ASTM D2370-68 ที่ 30 องศา
เซลเซียส
9.1.7 ทนต่อกรดเจือจางบางชนิด นํ้ามัน สารละลายชนิดอ่อน ด่างทีเ่ จือจาง และผงซักฟอก ตามมาตรฐาน
ASTM D2571
9.1.8 เป็ นสารไม่ตดิ ไฟ และมีคุณสมบัตใิ นการหน่วงการลุกลามของเปลวไฟ ตามมาตรฐาน AS 1530
PART 3ผลิตภัณฑ์ของ Deckard, DURACRETE, Elastodeck S หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 155 of 521

9.2 การเตรียมผิว
ผิวของวัสดุทจ่ี ะทํากันซึม จะต้องสะอาด แห้ง ไม่มขี ป้ี นู คราบไขมัน หรือสิง่ แปลกปลอมอื่นๆ ควรปรับระดับผิวให้น้ํา
ไหลไปทางท่อระบายนํ้าก่อน สําหรับผิวคอนกรีตใหม่ตอ้ งทิง้ ผิวนัน้ ให้แห้งสนิท อย่างน้อย 28 วันก่อนทํากันซึม
9.3 ขัน้ ตอนการติดตัง้ ระบบกันซึม ประกอบด้วยชัน้ ต่างๆ ดังนี้
9.3.1 ชัน้ PRIMER ใช้น้ํายาทารองพืน้ บนพืน้ ผิวเพื่ออุดรอยแตกร้าว และเพิม่ แรงยึดเกาะ อัตราส่วนของ
นํ้ายา ต่อนํ้าสะอาด เท่ากับ 5:1 ทิง้ ไว้ให้แห้งประมาณ 4 ชัวโมง

9.3.2 ชัน้ BODY COAT ทานํ้ายาด้วยลูกกลิง้ เพื่อสร้างชัน้ ฟิลม์ อัตราส่วนของนํ้ายาต่อนํ้าสะอาด เท่ากับ
10:1
9.3.3 ชัน้ FIBRE GLASS MAT ปูแผ่นเสริมแรง Fiber Glass Mesh ทันทีขณะทีช่ นั ้ BODY COAT ยังไม่
แห้ง
9.3.4 ชัน้ SECOND BODY COAT ทานํ้ายาด้วยลูกกลิง้ เพื่อสร้างชัน้ ฟิลม์ และยึดแผ่นเสริมแรงให้
เป็ นเนื้อเดียว อัตราส่วนของนํ้ายาต่อนํ้าสะอาด เท่ากับ 10:1
9.3.5 ชัน้ TOP COAT ทาทับหน้าด้วยนํ้ายาด้วยลูกกลิง้ เพื่อปกป้องฟิลม์ ในชัน้ SECOND BODY COAT
อัตราส่วนของนํ้ายาต่อนํ้าสะอาด เท่ากับ 10:1 แล้วทิง้ ให้แห้งอย่างน้อย 48 ชัวโมง
่ พืน้ ผิวนัน้ จึง
สามารถใช้งานได้ตามปกติ
9.4 พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้
พืน้ ค.ส.ล. บริเวณดาดฟ้า พืน้ ผิวซีเมนต์ขดั มันภายนอกอาคาร หรือบริเวณทีเ่ ปี ยกนํ้าได้ (หรือตามระบุในรูปแบบ)
โดยให้แต่งระดับพืน้ ด้วยปูนทราย ผสมนํ้ายากันซึมให้มคี วามลาดเอียง 1:200 ลงสูร่ รู ะบายนํ้า ขัดด้วยเครื่องขัดขณะปูน
หมาด

10. พืน้ ปูพรมทอชนิดแผ่น


10.1 ขอบเขตของงาน
10.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ สี าํ หรับงานพรม ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
10.1.2 วัสดุทน่ี ํามาใช้ ต้องเป็ นวัสดุใหม่ทไ่ี ด้มาตรฐานของผูผ้ ลิต ปราศจากตําหนิใดๆ
10.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพรมตามชนิด สี และลาย 2 ชุด พร้อมอุปกรณ์อ่นื ๆ ให้ผคู้ วบคุมงาน
และ/หรือผูอ้ อกแบบคัดเลือกและอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้
10.1.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ ดังนี้
(1) แบบแปลน ของการปูพรมทัง้ หมด ระบุสแี ละรุ่นของพรมแต่ละส่วนให้ชดั เจน
(2) แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ แนวรอยต่อของพรมกับวัสดุอ่นื
(3) แบบขยายอื่น ทีเ่ กีย่ วข้องหรือจําเป็ นตามทีผ่ คู้ วบคุมงานต้องการ
10.2 วัสดุ
พรมทอ ชนิดแผ่น ขนาดไม่น้อยกว่า 0.50x0.50 หรือ 0.60x0.60 เมตร พร้อมยางรอง หนา 2.2 ปอนด์ ผลิตภัณฑ์
ของ CARPET INTER, INTERFACE, ไทปิ ง หรือเทียบเท่า เลือกสีและลายโดย กรรมการตรวจการจ้างและสถาปนิก
ผูอ้ อกแบบ ตามคุณสมบัติ ดังนี้
10.2.1 เป็ นพรมทอเครื่อง (TUFTED CARPET) ชนิดขนพรมเป็ นใย NYLON 100% ย้อมสีในกระบวนการ
ฉีดเส้นใย หรือใยสังเคราะห์ ACRYLIC 100% ตามระบุในแบบ หากไม่ระบุ ให้ใช้ใยสังเคราะห์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 156 of 521

ACRYLIC 100% จะต้องมีสารทีช่ ่วยป้องกันการเกิดเชือ้ ราและแบคทีเรีย ซึง่ ถูกผสมเข้าไปเป็ นส่วน


หนึ่งของแผ่นรองหลังของพรมทุกแผ่น
10.2.2 ลักษณะของเส้นพรมเป็ นขนห่วง (LOOP PILE) หรือขนตัด (CUT PILE) ตามวัตถุประสงค์ของ
ผูอ้ อกแบบ
10.2.3 นํ้าหนักเส้นใยไม่น้อยกว่า15 ออนซ์/ตารางหลา (+/-1 ออนซ์/ตารางหลา) หรือ 509 กรัม/ตารางเมตร
(+/-34 กรัม/ตารางเมตร
10.2.4 แผ่นรองพืน้ พรมเป็ นไวนิล และมีสว่ นผสมของไฟเบอร์กลาส
10.2.5 บัวเชิงผนัง หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ไม้เนื้อแข็งขนาด 25x100x2000 มิลลิเมตร หรือตาม
วัตถุประสงค์ของผูผ้ ลิต
10.3 การติดตัง้
10.3.1 การเตรียมผิว
(1) พืน้ ผิวของพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ พรมจะต้องแห้ง ราบเรียบและสะอาดปราศจากสิง่ สกปรก ครบนํ้ามัน สี รอยตะเข็บ คราบกาว
หรือสิง่ แปลกปลอมใด ๆ และพืน้ จะต้องมีผวิ หน้าทีร่ าบเรียบได้ระดับ มีความแข็งแรง
(2) พรมก่อนการติดตัง้ จะต้องนํามาเป็ นกล่อง ไม่ควรหักงอ การเก็บกองให้วางซ้อนกันโดยไม่กองซ้อนทับมากเกินไป
และไม่ควรเก็บกองไว้นาน สถานทีเ่ ก็บกองจะต้องแห้ง สะอาด ไม่มคี วามชืน้
10.3.2 การปูพรม
(1) ทําการวางแนวการปูหรือทิศทางของลายพรมตาม SHOP DRAWING ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ
(2) พืน้ ทีท่ จ่ี ะปูตอ้ งมีผวิ หน้าเรียบได้ระดับ การปูให้เป็ นไปตามกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
10.4 การทําความสะอาด และบํารุงรักษา
10.4.1 งานพรมทัง้ หมดเมื่อปูเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องได้แนว ได้ระดับ สีเรียบสมํ่าเสมอ ปราศจากตําหนิ
ต่างๆ และจะต้องดูดฝุน่ ทําความสะอาดขนพรมให้เรียบร้อย ความไม่เรียบร้อยใดๆ ทีเ่ กิดขึน้ ผูร้ บั จ้าง
จะต้องดําเนินการแก้ไขหรือเปลีย่ นให้ใหม่ทนั ที โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง
10.4.2 เมื่อมีของเหลว หรือสิง่ ใดๆ ทีจ่ ะทําให้เกิดรอยเปื้ อนบนพรมเล็กน้อยไม่ตดิ แน่น จะต้องรีบเช็ดออก
ด้วยผ้าสะอาดชุบนํ้าอุ่น แล้วใช้โฟมทําความสะอาดพรม เช็ดออกให้สะอาดอีกครัง้
10.4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้งานพรมเสียหายหรือสกปรก ตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
10.5 การซ่อมแซม
10.5.1 หลังการติดตัง้ พรมเสร็จแล้ว หากพรมมีรอยฉีกขาด หรือเกิดรอยเปื้ อนบนพรมมาก หรือติดแน่น ให้
แก้ไขโดยการนําพรมทีอ่ ยูใ่ นสภาพสมบูรณ์มาแทนที่ โดยจะต้องเปลีย่ นโดยทีพ่ น้ื พรมยังได้ระดับ และ
มีสที เ่ี รียบสมํ่าเสมอกัน

11. พืน้ ปูบล็อกปูพน้ื สําหรับปลูกหญ้า (TURF STONE CONCRETE BLOCK)


11.1 วัสดุทใ่ี ช้
ใช้บล็อกปูพน้ื สนามหญ้า (TURF STONE CONCRETE BLOCK) ตรา CPAC โอฬาร เคทีที C-CON หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
11.2 การเตรียมพืน้
11.2.1 ปรับระดับและอัดพืน้ ดินเดิมให้แน่นเช่นเดียวกับการเตรียมพืน้ ชัน้ ล่างของทางเดินเท้า ถนนลาดยาง
หรือถนนทัวไป่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 157 of 521

11.2.2 การปูบล็อกให้เรียงก้อนบล็อกชิดติดกันให้ได้แนวเมื่อปูบล็อกจนเต็มพืน้ ที่ ไม่ตอ้ งทุบอัดลงบนก้อน


บล็อกอีก นําดินผสมปุ๋ยใส่ในช่องให้ระดับตํ่ากว่าผิวบล็อก 2 เซนติเมตร ตัดหญ้าทีจ่ ะปลูกให้ได้ขนาดพอดีกบั ช่องบล็อกแล้ว
นําไปปลูกตามช่องบล็อกนัน้ เสร็จแล้วจึงรดนํ้า
11.3 การส่งตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างส่งตัวอย่างและแคตตาล๊อค จํานวน 1 ชุด เพื่อให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเลือกสีและเห็นชอบก่อน
ดําเนินการ พร้อมทัง้ นําเสนอ SHOP DRAWING PATTERN การปูพน้ื

12. พืน้ ปูบล็อกประสานปูพน้ื ถนน (INTER LOCKING CONCRETE ROAD PAVING BLOCK)
12.1 วัสดุทใ่ี ช้
12.1.1 คอนกรีตบล็อกประสานปูพน้ื มีกาํ ลังอัดประลัยไม่ต่ํากว่า 300 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ขนาด
และชนิดตามทีร่ ะบุไว้ในแบบก่อสร้าง และจะต้องได้รบั การเห็นชอบวัสดุเรื่องสี รูปลักษณ์ และ
ลวดลาย จากผูอ้ อกแบบก่อนนํามาใช้ ผลิตภัณฑ์ตรา CPAC โอฬาร เคทีที C-CON หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
12.1.2 ปูนซีเมนต์ ตามมาตรฐานอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ผสม (มอก.80-2550)
12.1.3 ทรายนํ้าจืด ต้องสะอาดปราศจากสิง่ เจือปน
12.1.4 ขอบคันหิน ขนาด 15x30x100 เซนติเมตร
12.2 การเตรียมพืน้
12.2.1 ปรับพืน้ ทีใ่ ห้เรียบแล้วจึงถมทรายให้ได้ระดับอย่างน้อย 20 เซนติเมตร แล้วจึงราดนํ้าให้ชมุ่ พร้อมบด
อัดด้วยเครื่องตบ
12.2.2 ปูบล็อกตามลวดลายทีอ่ อกแบบไว้
12.2.3 ยาแนวรอยต่อด้านข้างริมขอบคันหินสําเร็จรูป
12.2.4 ปรับระดับบล็อก แล้วนําเอาผงปูนซีเมนต์ผสมทรายละเอียดโรยทับทิง้ ไว้ 72 ชัวโมง ่
12.2.5 กวาดทรายออกและทําความสะอาด
12.3 การส่งตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างส่งตัวอย่างและแคตตาล๊อค จํานวน 1 ชุด เพื่อให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเลือกสีและ
เห็นชอบก่อนดําเนินการ พร้อมทัง้ นําเสนอ SHOP DRAWING PATTERN การปูพน้ื

13. พืน้ ปูไม้สงั เคราะห์


13.1 วัสดุ
ใช้ไม้สงั เคราะห์ ทีม่ สี ว่ นผสมของไม้กบั ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ปราศจากส่วนผสมของสารใยหิน หรือยูเรียฟอร์มลั
ดีไฮน์ ผลิตภัณฑ์ของ วีวาร์บอร์ด ตราช้าง (สมาร์ดบอร์ด) หรือตราต้นไม้ (แฟลกซีบ่ อร์ด) หรือเทียบเท่า ความหนา 24
มิลลิเมตร หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบก่อสร้าง
13.2 พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้
ตามทีร่ ะบุในรูปแบบ
13.3 การติดตัง้
ให้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 158 of 521

14. พืน้ ทําผิวแกร่ง (FLOOR HARDENER)


14.1 ขอบเขตงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุแรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการทํากันซึมตามระบุในแบบและรายการก่อสร้าง เพื่อขอ
ตรวจสอบและความคิดเห็นชอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน
14.2 วัสดุ
(1) วัสดุฉาบผิวแกร่ง (Floor Hardener) ทีใ่ ช้จะต้องเป็ นชนิดทีไ่ ม่มผี งโลหะในส่วนผสม (Non Metallic) และ
เป็ นชนิดผงผสมคอนกรีตสําเร็จ (Premix) ผิวของวัสดุฉาบผิวแกร่ง (Floor Hardener) ทีต่ ดิ ตัง้ แล้ว
จะต้องรวมตัวเป็ นเนื้อเดียวกันกับผิวพืน้ คอนกรีตทนทานต่อการขูดขีด และสามารถรับนํ้าหนักการใช้
งานได้
(2) จะต้องมีคุณสมบัตทิ างกายภาพ (Physical Properties) ดังนี้
(2.1) ความหนาแน่น (Density) ไม่น้อยกว่า 1.4 กิโลกรัม/ลิตร
(2.2) ความถ่วงจําเพาะ (Specific Gravity) ไม่น้อยกว่า 2.6
(2.3) ความแข็ง (Hardness) ตามมาตราวัด MOH’s Scale ไม่น้อยกว่า 7
(2.4) มีกาํ ลังอัดตามมาตรฐาน ASTM C 109 หรือมาตรฐานเทียบเท่า
(2.5) มีความทนทานต่อการขูดขีด (Abrasion Resistance) ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM C779
(Test Method For Abrasion Resistance of Horizontal Concrete Surfaces) Procedure A
หรือมาตรฐานเทียบเท่า โดยมีค่าเฉลีย่ ไม่เกิน 0.038 มม./นาที
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ คอนไลท์ฟลอล์ฮาร์ดดินเนอร์ อี ของ VISPACK CO.,LTD. หรือ NITOFLOR EMERITOP ของ
FOSROC (THAILAND) CO.,LTD. ไทคอนท๊อป มิเนอราล หรือเทียบเท่า
14.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิดและอุปกรณ์ต่างๆ ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง รวมถึง MANUFACTURE’S
SPECIFICATION ส่งให้ผอู้ อกแบบตรวจสอบและให้ความคิดเห็นชอบตามความต้องการก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้
14.4 การติดตัง้ วัสดุผวิ แกร่ง ไร้ผงโลหะ
14.4.1 หากในแบบมิได้ระบุ พืน้ ผิวทีจ่ ะต้องใช้ระบบนี้คอื ส่วนของโครงสร้างพื้นคอนกรีตทีต่ อ้ งการความ
ทนทานต่อการเสียดสี การใช้งานหนัก เช่น โรงงาน โรงซ่อมรถ โรงรถ โกดัง เป็ นต้น
14.4.2 การเตรียมพืน้ คอนกรีตต้องมีอตั ราส่วนการผสมซีเมนต์ไม่ต่ํากว่า 300 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หรือ
ตามกําหนดวิศวกรรมเพื่อให้ความสามารถในการบดอัดเต็มที่
่ ก่อนโรยผง FLOOR HARDINER ต้องเปา่ ไล่น้ําๆ
14.4.3 พืน้ ผิวคอนกรีตทีเ่ ทเสร็จ ภายหลัง 3-4 ชัวโมง
ออกให้หมด
14.4.4 โปรยผง FLOOR-HARDINER แล้วทําการปรับแต่งผิว จนชิน้ งานแข็งตัวและบ่มด้วยนํ้ายา VIBOND
CC. ตามกรรมวิธี เป็ นเวลา 7 วัน จึงสามารถงานได้
14.4. การขัดวัสดุผวิ แกร่ง ให้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด และต้องอยูภ่ ายใต้การควบคุม
ของผูค้ วบคุมงาน
14.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดบริเวณทีต่ ดิ ตัง้ ทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องจากการติดตัง้ ด้วยความปราณีตเรียบร้อยก่อนการ
ขอตรวจสอบและความเห็นชอบเพื่อส่งมอบงานจากผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 159 of 521

14.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างรับประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการติดตัง้ ในระยะ 1 ปี หากเกิดรอยร้าว แตก เกิดขึน้ ภายในระยะเวลา
1 ปี ภายหลังส่งมอบงานแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องมาจัดทําใหม่หรือซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

15. พืน้ ค.ส.ล. ผิวขัดมัน / ผิวขัดมันผสมนํ้ายากันซึม / ผิวขัดมันผสมสี


15.1 ขอบเขตงาน
งานซีเมนต์ขดั มันหรือขัดมันผสมสี ตามระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทําแบบ SHOP
DRAWING รายละเอียดต่างๆ ในการติดตัง้ ตามแบบก่อสร้างและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ เพื่อตรวจสอบและขอความ
เห็นชอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน
15.2 วัสดุ วัสดุทน่ี ํามาใช้งานต้องเป็ นวัสดุใหม่ได้มาตรฐานของผูผ้ ลิต ชนิดและสีและแบบตามทีผ่ อู้ อกแบบ
กําหนดให้
(1) ปูนซีเมนต์ (CEMENT) ตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ผสม (มอก.80-2550)
(2) ปูนซีเมนต์ขาว (WHITE CEMENT) ตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ขาว (มอก.133-2518)
(3) สี ให้ใช้สฝี นุ่ สําหรับผสมซีเมนต์
(4) ทรายและนํ้าจืดต้องปราศจากสิง่ เจือปน
(5) นํ้ายากันซึมโดย ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SIKA หรือ IMPERES หรือ BARRA หรือคุณภาพเทียบเท่า
15.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้ ซึง่ แสดงให้เห็นสี และลวดลาย ขนาด 30x30 เซนติเมตร ไม่น้อยกว่า 2
ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบให้ความเห็นชอบและพิจารณาอนุมตั จิ ากผูว้ ่าจ้างและ/หรือตัวแทนผูว้ ่าจ้างก่อนจึงจะนําไปใช้
งานได้ตวั อย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ยก่อนการดําเนินการติดตัง้
15.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในงาน โดยทําให้ระนาบระดับเท่ากันสมํ่าเสมอ และลวดลายตามที่
ผูอ้ อกแบบกําหนดให้ดว้ ยความประณีตเรียบร้อย
15.4.1 การขัดมันบนผิวปูนทรายทับหน้า
(1) การเตรียมพืน้ ผิวจะต้องปราศจากเศษวัสดุ ขยะและคราบนํ้ามัน บนพืน้ ทีท่ จ่ี ะทับหน้าด้วยปูนทราย
(2) ติดตัง้ ปุม่ ระดับเป็ นระยะห่าง 1.00 เมตร ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน โดยมีแนวลาดตามทีแ่ บบกําหนดหรือตามที่
ผูอ้ อกแบบเห็นชอบ
(3) เทปูนทรายปรับผิวให้เรียบด้วยส่วนผสม ปูนซีเมนต์ 1 ส่วนต่อทราย 3 ส่วน หากเป็ นการขัดมันผสมนํ้ายากันซึม ให้
ใช้สว่ นผสมของนํ้ายากันซึมตามข้อกําหนดของผูผ้ ลิต แล้วขัดผิวให้มนั เรียบด้วยปูนซีเมนต์ดงั กล่าวข้างต้น
(4) การขัดมันผิวจะต้องทําการขัดเมื่อผิวปูนทรายเริม่ SET ตัว
(5) หากต้องการเข้าไปใช้งานชัวคราวจะต้ ่ องทิง้ ไว้ 24 ชัวโมง
่ ก่อนหลังจากเมื่อขัดมันเสร็จ และทิง้ ไว้อย่างน้อย 7 วัน
หากต้องการปูวสั ดุอ่นื ปิ ดผิวหน้าขัดมัน
15.4.2 การขัดมันผิวผสมสี
(1) การเตรียมพืน้ ผิวก่อนขัดมัน ให้ปฏิบตั กิ ารตามข้อ 4.1 หรือ 4.2 แล้วแต่กรณี
(2) สีทใ่ี ช้โปรยผิวขัดมันจะต้องใช้สฝี นุ่ ผสมกับซีเมนต์ขาวในอัตราส่วน 1:15
(3) เมื่อผิวปูนทรายหรือคอนกรีตเริม่ SET ตัว ให้ทาํ การขัดมันผสมสีจนแล้วเสร็จ
(4) และทิง้ ไว้ไม่น้อยกว่า 24 ชัวโมง ่ จนแข็งตัวดีแล้วจึงจะเข้าไปใช้งานได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 160 of 521

15.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ แล้วเสร็จ ผิวของวัสดุตอ้ งปราศจากรอยแตกร้าว แตกบิน่ มี
ตําหนิ หลุดล่อน และไม่เปรอะเปื้ อน ก่อนขอความเห็นชอบของการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานและก่อน
ส่งมอบงาน
15.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ หากเกิดการชํารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ อง
วัสดุและการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นให้ใหม่หรือซ่อมแซม ให้อยู่สภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของผูว้ ่าจ้างและ/หรือ
ตัวแทนผูว้ ่าจ้าง โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

16. พืน้ ค.ส.ล. ผิวขัดหยาบ / ผิวขัดหยาบเซาะร่องก้างปลา


16.1 พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้
16.1.1 พืน้ ผิวซีเมนต์ขดั หยาบภายในและนอกอาคาร หรือบริเวณทีเ่ ปี ยกนํ้าได้ ให้มคี วามลาดเอียง 1 : 200
ลงรูระบายนํ้า ทําผิว SCREED ร่องตะปูหรือไม้กวาด
16.1.2 พืน้ ค.ส.ล. บริเวณถนนทางบริการและรถดับเพลิง (หรือตามรูปแบบระบุ)
16.1.3 เซาะร่องก้างปลาระยะห่าง 0.20 เมตร กว้าง 0.01 เมตร ลึก 0.005 เมตร (หรือตามรูปแบบระบุ)

17. พืน้ ยก (Accessed Floor)


17.1 การเตรียมผิว
ผิวทีจ่ ะติดตัง้ พืน้ ยกต้องทําการปรับพืน้ ผิวซีเมนต์ให้เรียบเสียก่อน ให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ติ ามรายละเอียดทีก่ าํ หนดใน
หมวดงานคอนกรีต และทําผิวซีเมนต์ปาดเรียบ เมื่อผิวแห้งตัวดีแล้วทําความสะอาดผิวพืน้ ให้เรียบร้อยก่อนการติดตัง้
17.2 การติดตัง้
ให้ตดิ ตัง้ ตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต
17.3 รายละเอียดวัสดุ (MATERIAL)
17.3.1 แผ่นพืน้ ขนาด 600x600x38 มม. ทําจากแผ่น Gavanized Steel ขึน้ รูป เคลือบกันสนิมภายนอกด้วย
สี Epoxy Powder Coating ผลิตภัณฑ์ CROSSTRACK ของบริษทั เตียวฮงสีลม จํากัด หรือ
EXTRA ของบริษทั โปร-แอ๊ด มาเก็ตติง้ กรุ๊ปส์ จํากัด หรือ TAKO ของบริษทั ทาโก้ (ประเทศไทย)
จํากัด หรือ MERO ของ FRANK MODERN SYSTEM คุณภาพเทียบเท่า
17.3.2 ภายในกรอบแผ่นเป็ นซีเมนต์มวลเบา (Light Weight Cementitious Material) มีความสามารถในการ
รับนํ้าหนัก Impact Load และ Rolling Load มีขนาดไม่เปลีย่ นแปลงเมื่อสัมผัสความชืน้ และนํ้า
17.3.3 วัสดุทงั ้ หมดไม่มสี ารทีเ่ ป็ นวัสดุตดิ ไฟ (Non Combustible Material) อันก่อให้เกิดควันและก๊าซพิษ
17.3.4 ขาตัง้ (Pedestal) ทําจาก Gavanized Steel เป็ นระบบมีคาน (Bolted Stringer) รับทัง้ สีด่ า้ นโดยการ
ยึดด้วยสกรู มีน๊อตสําหรับปรับระดับความสูงตัง้ แต่ 15-60 ซม.
17.3.5 ขาตัง้ สามารถรับ Axial Load มากกว่า 2,00 กิโลกรัม
17.3.6 การรับนํ้าหนักต่อจุด (Concentrated Load) มากกว่า 545 กิโลกรัม/จุด
17.3.7 การรับนํ้าหนักต่อพืน้ ทีส่ งู สุด (Distributed Load) มากกว่า 1,250 กิโลกรัม/ตารางเมตร
17.3.8 การรับนํ้าหนัก Uniform Load มากกว่า 14,000 นิวตัน/ตารางเมตร
17.3.9 วัสดุปทู บั หน้าเป็ น High Pressure Laminated (Anti-Static Grade)
17.3.10ระบบพืน้ มีมาตรฐานรับรอง ดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 161 of 521

(1) CISCA Standard สําหรับวัสดุ


(2) BRITISH Standard สําหรับ Fire Test
(3) MTEC Standard สําหรับ Corrosion Test

18. พืน้ กระเบือ้ งหิ นควอทซ์


18.1 วัสดุชนิดแผ่นกระเบือ้ งหินควอทซ์สาํ เร็จ รุ่น D Quartz engineered stone ขนาด 600x600 ความหนา 15
มม. วัตถุดบิ ผลิตจากหินควอทซ์ อัดเครื่องจักรความดันคุณภาพสูง ให้เกิดรูพรุนน้อย แกร่ง กันรอยขีดข่วน
กรด ด่าง และความร้อน ปลอดภัยด้วยคุณสมบัตปิ ้ องกันแบคทีเรีย เคลือบผิวเงา อันเกิดจากการเคลือบ
สําเร็จจากโรงงาน นํ้าหนักความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 11.70 กิโลกรัมต่อแผ่น ตรา STD TILES , Stone
make sense หรือเทียบเท่า
18.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด 20x20 เซนติเมตร จํานวน 2 แผ่น พร้อมแผ่นตัวอย่างสี และ
แคทตาล๊อคสินค้า ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
18.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลบํารุงรักษางานพืน้ กระเบือ้ งหินควอทซ์ให้เรียบร้อยตลอดเวลาจนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
หากเกิดการชํารุดเสียหายขึน้ จากกรณีใดๆ ก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมหรือทําให้ใหม่ โดย
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นขอบผูร้ บั จ้าง ในกรณีทย่ี งั ไม่สง่ งานแต่ผรู้ บั จ้างจําเป็ นต้องใช้พน้ื ที่ ทีไ่ ด้ปกู ระเบือ้ งหิน
ควอทซ์สาํ เร็จ เป็ นทีท่ าํ งานหรือสัญจร จะต้องปูดว้ ยแผ่นไม้อดั หรือกระดาษอัดให้ทวบริ ั ่ เวณ เนื่องจากแม้
วัสดุจะกันรอยขีดข่วนแต่กไ็ ม่ทนต่อวัสดุมคี วามเช่น ตะปู , เหล็ก ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ในกรณีทม่ี ี
การแตกร่อนเสียหายในระหว่างการใช้งานไม่เกิน 1 ปี ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยการแก้ไขซ่อมแซม
จนกว่าจะกลับคืนสูส่ ภาพปกติ
18.4 รูปแบบการติดตัง้ เหมือนการปูหนิ ให้ดรู ายละเอียดตามแบบแปลนพืน้ ตกแต่งภายในประกอบ

19. พืน้ กระเบือ้ งแกรนิ ตโต้


19.1 วัสดุชนิดแผ่นกระเบือ้ งแกรนิโต้ รุ่น Pure dark slate ขนาด 300x600 ความหนาไม่น้อยกว่า 9 มม. การดูด
ซึมนํ้าไม่มากกว่า 0.2% โรงงานผลิตวัสดุตามมาตรฐานสากล ระดับ PEI 5 เพื่อใช้ในพืน้ ทีส่ าธารณะ
โดยเฉพาะ ตรา UMI,RCI , COTTO หรือเทียบเท่า
19.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด ทีร่ ะบุในรูปแบบ จํานวน 2 แผ่น และ แคทตาล๊อคสินค้า ให้
คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
19.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลบํารุงรักษางานพืน้ กระเบือ้ งแกรนิโต้ ให้เรียบร้อยตลอดเวลาจนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
หากเกิดการชํารุดเสียหายขึน้ จากกรณีใดๆ ก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมหรือทําให้ใหม่ โดย
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นขอบผูร้ บั จ้าง ในกรณีทย่ี งั ไม่สง่ งานแต่ผรู้ บั จ้างจําเป็ นต้องใช้พน้ื ที่ ทีไ่ ด้ปกู ระเบือ้ งแกร
นิโต้ เป็ นทีท่ าํ งานหรือสัญจร จะต้องปูดว้ ยแผ่นไม้อดั หรือกระดาษอัดให้ทวบริ ั ่ เวณ เนื่องจากแม้วสั ดุจะกัน
รอยขีดข่วนแต่กไ็ ม่ทนต่อวัสดุมคี วามเช่น ตะปู , เหล็ก ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ในกรณีทม่ี กี ารแตก
ร่อนเสียหายในระหว่างการใช้งานไม่เกิน 1 ปี ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยการแก้ไขซ่อมแซมจนกว่าจะ
กลับคืนสูส่ ภาพปกติ
19.4 รูปแบบการติดตัง้ เหมือนการปูกระเบือ้ งเซรามิค ให้ดรู ายละเอียดตามแบบแปลนพืน้ ตกแต่งภายในประกอบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 162 of 521

20. พืน้ กระเบือ้ งโมเสค


20.1 วัสดุชนิดแผ่นกระเบือ้ งโมเสค รุน่ Route 1212 สี Midnight route รุ่นไม่มกี ากเพชร ขนาดแผ่น 300x300
ขนาดชิน้ โมเสคคละ Mix 6/8x5ซม. ,6/8x10ซม., 6/8x15ซม. , 6/8x20ซม. ความหนา 8 มิลลิเมตร. ตรา
STD TILES , COTTO , GLASSCERA หรือเทียบเท่า
20.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่ง รูปแบบสี แคทตาล๊อคสินค้า ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา
เห็นชอบก่อนดําเนินการ
20.3 กระเบือ้ งจะต้องได้มาตรฐาน ขนาด ความหนา ลวดลาย และสีจะต้องสมํ่าเสมอเท่ากันทุกแผ่น เป็นไปตามที่
สถาปนิกเลือกไว้ หากเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี ชี น้ิ ส่วนกระเบือ้ งทีใ่ ช้ทาํ ขอบ คิว้ มุม กาบกล้วยควํ่า และหงาย ผูร้ บั
จ้างต้องจัดหามาให้พร้อม เป็ นไปตามทีผ่ อู้ อกแบบได้ออกแบบไว้
20.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลบํารุงรักษางานพืน้ กระเบือ้ งโมเสค ให้เรียบร้อยตลอดเวลาจนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
หากเกิดการชํารุดเสียหายขึน้ จากกรณีใดๆ ก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมหรือทําให้ใหม่ โดย
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นขอบผูร้ บั จ้าง ในกรณีทย่ี งั ไม่สง่ งานแต่ผรู้ บั จ้างจําเป็ นต้องใช้พน้ื ที่ ทีไ่ ด้ปกู ระเบือ้ งโม
เสค เป็ นทีท่ าํ งานหรือสัญจร จะต้องปูดว้ ยแผ่นไม้อดั หรือกระดาษอัดให้ทวบริ ั ่ เวณ เนื่องจากแม้วสั ดุจะกันรอย
ขีดข่วนแต่กไ็ ม่ทนต่อวัสดุมคี วามเช่น ตะปู , เหล็ก ซึง่ อาจก่อให้เกิดความเสียหาย ในกรณีทม่ี กี ารแตกร่อน
เสียหายในระหว่างการใช้งานไม่เกิน 1 ปี ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบโดยการแก้ไขซ่อมแซมจนกว่าจะกลับคืน
สูส่ ภาพปกติ
20.5 รูปแบบการติดตัง้ ก่อนการติดตัง้
20.5.1 ตรวจเช็คสี จัดวางแบบโมเสคแก้วทีจ่ ะปู แล้วนําโมเสคแก้วจัดเรียงวางต่อกันบนพืน้ ก่อนจะทํา
การติดตัง้ ให้พอดีกบั การแบ่งสัดส่วนของขนาดพืน้ ที่ นัน้
20.5.2 ปรับพืน้ ที่ สภาพพืน้ ที่ ทีจ่ ะทําการติดตัง้ ต้องเรียบสะอาด และต้องได้ระนาบเสมอกัน/ตี
เส้นระดับการวางกระเบือ้ งโมเสคแต่ละแถว เช็คพืน้ ทีใ่ ห้ได้ฉาก
20.5.3 ฉาบกาวซีเมนต์สขี าว ให้ทวพื ั ่ น้ ทีด่ ว้ ยเกรียงหวี โดยฉาบครัง้ ละประมาณ 1 ตรม. รอ 5 นาที ให้
กาวซีเมนต์เซ็ทตัวจึงทําการติดตัง้
20.5.4 ติดโมเสคแก้วตามแนวเส้นระหว่างนี้ ใช้ไม้บรรทัดฟุตเหล็กขยับเลื่อนแนวโมเสคแก้วให้เสมอกัน
20.5.5 กดเบา ๆ ให้ทวพื ั ่ น้ โมเสคแก้ว เพื่อช่วยเสริมการยึดเกาะ
20.5.6 ทิง้ ไว้ 24 ชัวโมง
่ ควรทิง้ ให้ผนังทีต่ ดิ ตัง้ แห้งสนิท ก่อนทําการยาแนว
20.5.7 ยาแนว ใช้ปนู ขาวหรือปูนยาแนวถมให้เต็มร่องโมเสคแก้ว ให้ทวถึ ั ่ งทัง้ พืน้ ที่
20.5.8 ใช้ฟองนํ้าเช็คยาแนวออกจากร่องโมเสคให้พอเห็นว่าเนื้อยาแนวอยู่ต่ํากว่าผิวโมเสคแก้ว
เล็กน้อยเทคนิคนี้จะช่วยทําให้โมเสคแก้วมีความสวยงามและแวววาวมากยิง่ ขึน้
20.5.9 กาวซีเมนท์สาํ เร็จรูป คุณภาพสูงป้องกันเชือ้ รา ตราจระเข้ ตราตุ๊กแก เป็ นต้น

21. พืน้ ผิวปูปรับระดับขัดมันทาสี อีพอ๊ กซี่ (Epoxy)


งานพืน้ หรือส่วนโครงสร้าง คสล. ทีเ่ สริมความแข็งแรงของผิวพิเศษด้วยวัสดุอพี ๊อกซี่ (Epoxy) ทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบ
ก่อสร้าง หรือรายละเอียดประกอบแบบก่อสร้างทัง้ หมด วัสดุทจ่ี ะนําเข้าใช้ยงั สถานทีก่ ่อสร้าง จะต้องอยู่ในหีบห่อเรียบร้อย
จากบริษทั ผูผ้ ลิต โดยมีเลขหมาย รายละเอียดต่างๆ แสดงชื่อผูผ้ ลิตอย่างสมบูรณ์ชดั เจน วัสดุอพี ๊อกซี่ (Epoxy) จะต้องมี
คุณสมบัติ คุณลักษณะดังนี้ อีพ๊อกซี่ สาหรับงานพืน้ ระบบ Self Leveling หนาตัง้ แต่ 2 มม. ขึน้ ไป
21.1 ข้อกําหนดของพืน้ ผิวคอนกรีต

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 163 of 521

- คอนกรีตทีใ่ ช้ตอ้ งมีค่ากําลังอัดของคอนกรีต (Compressive Strength) ไม่ต่ากว่า 25 นิวตัน ต่อ ตาราง


มิลลิเมตร
- คอนกรีตต้องมีอายุอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 28 วัน และมีค่าความชืน้ 4-5 %
- ผิวของคอนกรีตเตรียมด้วยวีธกี ารขัดเรียบ
21.2 วัสดุ
ระบบเคลือบพืน้ อีพ๊อกซี่ ชนิดเหลวไหลตัวผิวเรียบแบบผิวเงา แบบ 3 ส่วนผสม และปราศจากสารทาละลาย
ระบบซิงเกิลเลเยอร์ ความหนา 2 มิลลิเมตร มีสใี นตัวสําหรับพืน้ ทีท่ ม่ี กี ารสัญจรระดับกลาง
21.3 ขัน้ ตอนการติดตัง้
(21.3.1) ทําการสกัดผิวชัน้ บนสุดของพืน้ คอนกรีต ด้วยเครื่องช๊อตบลาส (เครื่องพ่นลูกเหล็กขนาดเล็กมาก)
เพื่อให้คอนกรีตยึดติดกับวัสดุได้เป็ นอย่างดี
(21.3.2) ทาอีพ๊อกซีช่ นิดใสลงบนพืน้ คอนกรีต ด้วยลูกกลิง้ ทาสี
(21.3.3) เทอีพ๊อกซีช่ นิดเหลวไหลทีม่ สี ว่ นประกอบ 3 ส่วน หลังจากทีไ่ ด้ผสมไว้แล้วลง จากนัน้ ปรับปาดด้วย
เกียงปาดให้เรียบ ความหนาของพืน้ อีพ๊อกซีว่ ดั จากขนาดปุม่ ของเกียงปาด และคํานวณจากปริมาณ
ของวัสดุต่อตารางเมตร
21.4 คุณสมบัตขิ องผูต้ ดิ ตัง้
จะต้องมีผลงานทีเ่ คยติดตัง้ ระบบวัสดุเดียวกันนี้ พืน้ ทีไ่ ม่น้อยกว่า 5,000 ตร.ม. และมีประสบการณ์การติดตัง้
ไม่น้อยกว่า 10 ปี
21.5 การรับประกัน
ต้องมีการรับประกันไม่น้อยกว่า 3 ปี
21.6 คุณสมบัตทิ างด้านเทคนิดของพืน้ อีพ๊อกซี่ ดังนี้
- ความสามารถในการป้องกันไฟ (Fire Resistance) ผ่านผลการทดสอบตามมาตรฐาน BS476 : Part
7Class 2
- ความสามารถในการป้องกันอุณหภูมิ (Temperature Resistance) สูงถึง 60 ºc
- ความสามารถในการซึมผ่านของไอน้า (Vapour Permeability) ที่ 4 Gms/Sqm/Mm/24 ชัวโมง ่
- ค่าความแข็งของผิวหน้า (Surface Hardness) ตามมาตรฐานการทดสอบ Koenig Hardness Test ที่
180 Secs.
- มีความสามารถในการทนต่อสารเคมี : ตามตารางแนบ
- ความสามารถในการรับแรงกด (Compressive Strength) ตามมาตรฐานการ ทดสอบ Bs6319 ที่
60n/Mm2
- ความสามารถในการรับแรงดึง (Tensile Strength) ตามมาตรฐานการทดสอบ Bs6319 ที่ 25n/Mm2
- ความสามารถในการรับแรงดัด (Flexural Strength) ตามมาตรฐานการทดสอบ Bs6319 ที่ 40n/Mm2
โดยการติดตัง้ เป็ นไปตามข้อกาหนดของบริษทั ฯผูผ้ ลิต โดยวัสดุทใ่ี ช้คอื Flowshield SL ของบริษทั ฯ
Flowcrete หรือเทียบเท่า
- 1.1 ข้อกําหนดทัวไปคุ ่ ณสมบัตวิ สั ดุ
- ระบบหญ้าเทียมทัง้ ระบบต้องผ่านมาตรฐาน DIN V 18035-7 หรือเทียบเท่า และโรงงานผลิต
ต้องได้รบั มาตรฐานอุตสาหกรรม เช่น DQS-GZ -100 standards หรือเทียบเท่าใบหญ้าผลิตจาก
100% Polyethylene ลักษณะใบหญ้าเป็ นเส้นใยผสมระหว่างแบบใบเดีย่ ว( Monofilament ) และ
แบบใบแผ่ (Fibrillate) ใบหญ้าสูงไม่ต่ํากว่า 40มิลลิเมตรใช้วสั ดุทบั หน้าด้วยเม็ดทรายซิลกิ า้ และมี

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 164 of 521

เม็ดยาง SBR เป็ นระบบหญ้าสังเคราะห์สาํ หรับการแข่งขันกีฬาฟุตบอลใบหญ้าผลิตจากเส้นใยทีใ่ ช้


ในการแข่งขันฟุตบอลโดยเฉพาะ เช่น Thiolonหรือ เทียบเท่าเป็นผลิตภัณฑ์รุ่นPORPLASTIC 40
M+F Evolutionของบริษทั ซีวลิ มาสเตอร์คอนสตรัคชันจํ ่ ากัด , ITALGREEN DUOBLE-Tของ
บริษทั เคบิทอินเตอร์เนชันแนลจํ
่ ากัด, Sarus Grass ของบริษทั world profixหรือเทียบเท่า
- 1.2 คุณสมบัตหิ ญ้าเทียม
- 1.2.1 ใบหญ้าผลิตจากโพลีเอธีลนี 100% พร้อมสารปกป้องรังสี UV ความหนาของใบหญ้า
100% โครงสร้างใบหญ้าเป็ นใบแบบเดีย่ ว (Monofilament) ความหนาแน่น 17,000/1 D.Texความ
หนาของใบหญ้าไม่น้อยกว่า 130 ไมครอนความสูงใบหญ้าไม้น้อยกว่า40 มิลลิเมตรความกว้างของ
แถวทอ3/4นิ้วอัตราการทอ 160 ฝีเข็มต่อ 1 เมตรจํานวนรวมการทอ / ฝีเข็มไม่น้อยกว่า8,400 ฝีเข็ม
ต่อตร.ม. นํ้าหนักของเส้นหญ้าต้องหนักไม่น้อยกว่า 1,390กรัมต่อตร.ม.
- 1.2.2 แผ่นรองรับการทอใบหญ้าทําจากวัสดุโพลีพรอบโพลีน 100% นํ้าหนัก 260 กรัม
ต่อตร.ม.ใช้กาวลาเทกซ์กนั นํ้านํ้าหนักชัน้ เคลือบ 1,100 กรัมต่อตร.ม.นํ้าหนักรวมใบหญ้าและแผ่น
ทอไม่น้อยกว่า 2,750 กรัมต่อ ตร.ม.
- 1.2.3 ใบหญ้าต้องผ่านการทดสอบความคงทนต่อแสง UV 10 ปี ตามมาตรฐานDIN EN ISO
4892-2
- 1.2.4 ต้องได้รบั มาตรฐานฟีฟ่า 2 ดาว
- 1.2.5 วัสดุเติมหญ้าชัน้ แรกเป็ นทรายซิลกิ าเม็ดละเอียดขนาด 0.2 - 0.8 มิลลิเมตรเติมไม่น้อย
กว่า 15-22กิโลกรัม/ตารางเมตร
- 1.2.6 วัสดุเติมหญ้าชัน้ สองเป็ นเม็ดยาง SBR ขนาดเม็ด 1 มิลลิเมตรถึง3 มิลลิเมตรเติมไม่
น้อยกว่า4-10กิโลกรัม/ตารางเมตร
- 1.2.7 รับประกันพืน้ สนามหญ้าเทียมไม่น้อยกว่า7ปี
- คุณสมบัติชนั ้ รับแรงกระแทก Shock Pad
- วัสดุชนั ้ รับแรงกระแทกเป็ นวัสดุผสมด้วยเม็ดยางดําชนิด SBR ขนาด 1-6 มม ,ยึดติดกันด้วย
กาวโพลียรู เิ ทนผสมด้วยเครื่องจักรและเทกับทีด่ ว้ ยเครื่องปูโดยเฉพาะเทหนาจากพืน้ ค.ส.ลปาด
เรียบ15 มม.เมื่อแข็งตัวแล้วมีรพู รุนให้น้ําไหลผ่านสูร่ างระบายนํ้าเบือ้ งล่างได้ มีอตั ราการไหลของนํ้า
ไม่น้อยกว่า 180 มม.ต่อชัวโมงวั
่ สดุตอ้ งผ่านมาตรฐาน DIN V 18035 มีคา่ Shock absorption ไม่
น้อยกว่า 59%ผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ เป็นรุ่นPorplastic EL 15 mm. หรือ เทียบเท่า
- 1.3 การติดตัง้
- 1.3.1 สนามหญ้าเทียมควรได้รบั การติดตัง้ จากผูร้ บั เหมาทีม่ คี วามเชีย่ วชาญและมี
ประสบการณ์โดยได้รบั การแนะนําและขัน้ ตอนวิธกี ารจากผูผ้ ลิต
- 1.3.2 สนามหญ้าเทียมต้องปูและเชื่อมรอยต่อด้วยผ้าสังเคราะห์ขนาดหน้ากว้างไม่น้อย
กว่า 30 ซม.โดยต้องใช้กาวสังเคราะห์ชนิดพิเศษ2 ส่วนผสมกันและผ้าสังเคราะห์และกาวทีใ่ ช้ตอ้ ง
ได้รบั มาตรฐานการแข่งขันระดับนานาชาติ

22. หญ้าเทียม
22.1 ข้อกําหนดทัวไปคุ
่ ณสมบัตวิ สั ดุ
ระบบหญ้าเทียมทัง้ ระบบต้องผ่านมาตรฐาน DIN V 18035-7 หรือเทียบเท่า และโรงงานผลิตต้องได้รบั
มาตรฐานอุตสาหกรรม เช่น DQS-GZ -100 standards หรือเทียบเท่าใบหญ้าผลิตจาก 100% Polyethylene ลักษณะใบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 165 of 521

หญ้าเป็ นเส้นใยผสมระหว่างแบบใบเดีย่ ว( Monofilament ) และแบบใบแผ่ (Fibrillate) ใบหญ้าสูงไม่ต่ํากว่า 40มิลลิเมตร


ใช้วสั ดุทบั หน้าด้วยเม็ดทรายซิลกิ า้ และมีเม็ดยาง SBR เป็ นระบบหญ้าสังเคราะห์สาํ หรับการแข่งขันกีฬาฟุตบอลใบหญ้า
ผลิตจากเส้นใยทีใ่ ช้ในการแข่งขันฟุตบอลโดยเฉพาะ เช่น Thiolonหรือ เทียบเท่าเป็ นผลิตภัณฑ์รุ่นPORPLASTIC 40
M+F Evolutionของบริษทั ซีวลิ มาสเตอร์คอนสตรัคชันจํ ่ ากัด , ITALGREEN DUOBLE-Tของบริษทั เคบิทอินเตอร์เนชัน่
แนลจํากัด, Sarus Grass ของบริษทั world profixหรือเทียบเท่า
22.2 คุณสมบัตหิ ญ้าเทียม
- 22.2.1 ใบหญ้าผลิตจากโพลีเอธีลนี 100% พร้อมสารปกป้องรังสี UV ความหนาของใบหญ้า 100%
โครงสร้างใบหญ้าเป็ นใบแบบเดีย่ ว (Monofilament) ความหนาแน่น 17,000/1 D.Texความหนาของ
ใบหญ้าไม่น้อยกว่า 130 ไมครอนความสูงใบหญ้าไม้น้อยกว่า40 มิลลิเมตรความกว้างของแถวทอ
3/4นิ้วอัตราการทอ 160 ฝีเข็มต่อ 1 เมตรจํานวนรวมการทอ / ฝีเข็มไม่น้อยกว่า8,400 ฝีเข็มต่อตร.
ม. นํ้าหนักของเส้นหญ้าต้องหนักไม่น้อยกว่า 1,390กรัมต่อตร.ม.
- 22.2.2 แผ่นรองรับการทอใบหญ้าทําจากวัสดุโพลีพรอบโพลีน 100% นํ้าหนัก 260 กรัมต่อตร.ม.ใช้
กาวลาเทกซ์กนั นํ้านํ้าหนักชัน้ เคลือบ 1,100 กรัมต่อตร.ม.นํ้าหนักรวมใบหญ้าและแผ่นทอไม่น้อย
กว่า 2,750 กรัมต่อ ตร.ม.
- 22.2.3 ใบหญ้าต้องผ่านการทดสอบความคงทนต่อแสง UV10 ปี ตามมาตรฐานDIN EN ISO 4892-2
- 1.2.4 ต้องได้รบั มาตรฐานฟีฟา่ 2 ดาว
- 1.2.5 วัสดุเติมหญ้าชัน้ แรกเป็นทรายซิลกิ าเม็ดละเอียดขนาด 0.2 - 0.8 มิลลิเมตรเติมไม่น้อยกว่า
15-22กิโลกรัม/ตารางเมตร
- 1.2.6 วัสดุเติมหญ้าชัน้ สองเป็ นเม็ดยาง SBR ขนาดเม็ด 1 มิลลิเมตรถึง3 มิลลิเมตรเติมไม่น้อย
กว่า4-10กิโลกรัม/ตารางเมตร
- 1.2.7 รับประกันพืน้ สนามหญ้าเทียมไม่น้อยกว่า7ปี

23. พืน้ ทาผิวพียู PU-POLYURETHANE (HF) FLOWFRESH HF 6 มม. (Heavy duty)


23.1 ขอบเขตงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุแรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการทําผิวต้านทานเคมี PU
Flowfresh ตามระบุในแบบและรายการก่อสร้าง เพื่อขอตรวจสอบและความคิดเห็นชอบตามความต้องการ
ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน
23.2 วัสดุ วัสดุผวิ ต้านทานเคมี PU Flow fresh เป็ นวัสดุทาผิว สําหรับทาบนพืน้ คอนกรีต เพื่อเพิม่ ความ
ต้านทานต่อการเสียดสีให้กบั พืน้ คอนกรีต ทนทานต่อการสึกกร่อนและสารเคมี ผลิตภัณฑ์ของ Flow fresh
HF หรือเทียบเท่า
23.3 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิดและอุปกรณ์ต่างๆ ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง รวมถึง
MANUFACTURE’S SPECIFICATION ส่งให้ผอู้ อกแบบตรวจสอบและให้ความคิดเห็นชอบตามความ
ต้องการก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้
23.4 การติดตัง้
23.4.1 หากในแบบมิได้ระบุ พืน้ ผิวทีจ่ ะต้องใช้ระบบนี้คอื ส่วนของโครงสร้างพืน้ คอนกรีตทีต่ อ้ งการความ
ทนทานต่อการเสียดสี การใช้งานหนัก ทนต่อสารเคมีในพืน้ ทีเ่ ปียก เช่น ห้องครัว โรงงานผลิต
อาหาร เป็ นต้น
23.4.2 การเตรียมพืน้ คอนกรีตต้องมีอตั ราส่วนการผสมซีเมนต์ไม่ต่ํากว่า 300 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
หรือตามกําหนดวิศวกรรมเพื่อให้ความสามารถในการบดอัดเต็มที่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 166 of 521

23.4.3 พืน้ ผิวคอนกรีตทีเ่ ทเสร็จ จึงทําการเคลือบผิวพืน้ มาตรฐาน GMP และ HACCP ด้วยความหนาแน่น
2 กก/ลิตร ความหนา 6 มม. (12 กก/ตรม)
23.4.4 เลือกสีโดยผูใ้ ช้อาคาร
23.5 การทําความสะอาด ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดบริเวณทีต่ ดิ ตัง้ ทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องจากการติดตัง้ ด้วย
ความปราณีตเรียบร้อยก่อนการขอตรวจสอบและความเห็นชอบเพื่อส่งมอบงานจากผูอ้ อกแบบและ/หรือผู้
ควบคุมงาน
23.6 การรับประกันผลงาน ผูร้ บั จ้างรับประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์และการติดตัง้ ในระยะ 1 ปี หากเกิดรอย
ร้าว แตก เกิดขึน้ ภายในระยะเวลา 1 ปี ภายหลังส่งมอบงานแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องมาจัดทําใหม่หรือ
ซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 27

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 167 of 521

หมวดที่ 28
งานผนัง

1. ผนังก่ออิฐมอญ
1.1 ขอบเขตของงาน
งานก่อผนังตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมแบบ SHOP DRAWING เพื่อแสดงขนาดของผนังเมื่อก่อ
เสร็จ ความหนาของปูนฉาบ หรือ FINISHING อื่นๆ การใส่เหล็กเสริมต่างๆ ในการก่ออิฐ ตําแหน่ งและระยะติดตัง้ เสาเอ็น/
คานทับหลัง เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทําการติดตัง้
1.2 วัสดุ
1.2.1 อิฐ อิฐมอญหรืออิฐก่อสร้างสามัญจะต้องเป็ นอิฐทีม่ คี ุณภาพดี เผาไฟสุกทังก้ ่ อน เนื้อแกร่ง ไม่มโี พรง
ไม่แตกร้าว รูปร่างและขนาดสมํ่าเสมอ ไม่แอ่นบิดงอ จะต้องดูดนํ้าไม่เกิน 25% และจะต้องต้านทาน
แรงอัดสูงสุดไม่ยน้อยกว่า 40 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สามารถใช้อฐิ ก่อพืน้ ถิน่ ได้ หรือมี
คุณสมบัตติ ามมาตรฐานอิฐก่อสร้างสามัญ เทียบเท่า (มอก.77-2545) ในกรณีทใ่ี นรูปแบบระบุเป็น
ผนังก่ออิฐโชว์แนว อิฐทีใ่ ช้ตอ้ งมีผวิ เรียบสมํ่าเสมอ
1.2.2 ปูนซีเมนต์ ใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ทม่ี วี สั ดุเฉื่อยผสมอยู่ เช่น ทราย หรือหินปูนบดละเอียด (MIXED
CEMENT) ตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ผสม (มอก.80-2550) เป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวจับกันเป็ นก้อน หรือ
ในกรณีทใ่ี ช้ปนู ผสมสําเร็จรูปจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพได้มาตรฐานปูนก่อสําเร็จรูปชนิดแห้ง
(มอก.598-2547)
(1) ปูนก่อทีผ่ สมแล้ว จะต้องใช้ให้หมดภายในเวลา 30 นาที ปูนก่อที่ผสมแล้วนานเกินกว่า 30 นาที ห้ามนํามาใช้ในงาน
ก่อสร้าง
(2) การกองเก็บปูนซีเมนต์สาํ หรับงานก่อ ต้องเก็บในสถานทีท่ ป่ี ้ องกันนํ้าและความชืน้ ได้ หากปูนซีเมนต์แข็งจับตัวเป็ น
ก้อน ห้ามนํามาใช้งานโดยเด็ดขาด
(3) ลักษณะของปูนก่อทีด่ จี ะต้องมีความข้นเหลวพอเหมาะ เหนียวนุ่ม เวลาปนจะจั ั ้ บตัวเป็ นก้อน ไม่แห้งแตก ยึดเกาะ
ก้อนอิฐได้ดี มีระยะเวลาแห้งตัวพอเหมาะ เมื่อแข็งตัวแล้ว จะต้องไม่ยดื หรือหดตัวมาก มีแรงยึดเหนี่ยวทีด่ ี สามารถ
รับแรงอัด แรงเฉือน และแรงดึงได้ไม่น้อยกว่ากําลังของอิฐ หรือวัสดุทใ่ี ช้ก่อ
1.2.3 ทราย เป็ นทรายนํ้าจืด ปราศจากสิง่ เจือปนในปริมาณทีจ่ ะทําให้เสียความแข็งแรง
1.2.4 นํ้า นํ้าทีใ่ ช้ผสมปูนก่อ ต้องเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาดปราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง และ
สารอินทรียต์ ่างๆ ในปริมาณทีจ่ ะทําให้ปนู ก่อเสียความแข็งแรง
1.2.5 เหล็กเสริม ใช้เหล็ก GRADE SR24 มีคุณภาพตามมาตรฐานเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต:เหล็กเส้นกลม
(มอก.20-2543)
1.2.6 ตะแกรงลวด ตะแกรงลวดทีใ่ ช้ยดึ ผนังก่ออิฐ (METAL LATH) ต้องเป็ นชนิดอาบสังกะสีขนาดช่อง 1/4
นิ้ว ความหนาของลวดไม่ต่ํากว่า 6 มิลลิเมตร
1.2.7 อีพ๊อกซีส่ าํ หรับเชื่อมเหล็กเสริมกับโครงสร้างคอนกรีต ในกรณีทต่ี อ้ งมีการเจาะเสียบเหล็กเสริมเพื่อ
การก่ออิฐมอญ ให้ใช้เป็ นชนิด 2-PART THIXOTROPIC EPOXY ADHESIVE ทีไ่ ด้รบั มาตรฐาน
ASTM-C88-78 TYPE 1 GRADE 3 CLASS B+C หรือ EN 1504-4 สามารถรับแรงดึงสูงสุดได้ไม่ต่ํา
กว่า 20 N/Sq.m. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ เช่น SIKA DUR 731N หรือเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 168 of 521

1.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบเห็นชอบและอนุมตั กิ ่อน จึงจะ
นําไปใช้ตดิ ตัง้ ได้ นอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
1.4 การก่อผนัง
1.4.1 ต้องรดนํ้าหรือแช่อฐิ ในนํ้าให้อมิ่ ตัวก่อนนําไปใช้
1.4.2 การผสมปูนก่อ
ในกรณีทไ่ี ม่ได้ใช้ปนู ซีเมนต์ผสมสําเร็จ ให้ใช้สว่ นผสมของปูนก่อโดยปริมาตร ดังนี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ปูนขาว 1 ส่วน
ทราย 4-6 ส่วน
นํ้า พอประมาณ
การผสมปูนก่อ ต้องคลุกปูนขาวกับทรายให้เข้ากันดี แล้วจึงเติมปูนซีเมนต์กบั นํ้า ปริมาณของนํ้าทีใ่ ช้ ต้องให้พอดี
ไม่แข็งไม่เหลวจนเกินไป หรืออาจใช้น้ํายาผสมปูนก่อแทนปูนขาวได้ โดยผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอรายละเอียดผลิตภัณฑ์เพื่อ
ขออนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานเสียก่อน
1.4.3 การแต่งแนวเซาะร่องรอยต่อระหว่างแผ่นอิฐ แนวรอยต่อระหว่างแผ่นอิฐต้องไม่ตรงกันทุกชัน้ ใน
แนวตัง้ ต้องก่อสลับแนวชัน้ ต่อชัน้ ขนาดรอยต่อประมาณ 1 เซนติเมตรนอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
ต้องให้เห็นรอยต่อโชว์แนวอิฐระหว่างแผ่นอิฐแต่ละแผ่นอย่างชัดเจน ได้ระดับทัง้ แนวตัง้ แนวนอนโดย
ปราศจากการหลุดล่อนของปูนก่อ
1.4.4 จุดตัดของผนัง ทีท่ ุกจุดตัดของผนังให้ทาํ เสาเอ็นเชื่อมประสานระหว่างผนังเท่านัน้
1.4.5 การยึดผนังติดกับโครงสร้าง ทีร่ อยต่อด้านข้าง ด้านบน และด้านล่างของผนังกับโครงสร้างอาคาร
ต้องยึดด้วยเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ทุกระยะ 40 เซนติเมตร โดยให้ปลายฝงั
อยู่ในผนังไม่น้อยกว่า 20 เซนติเมตร ท้องพืน้ หรือท้องคาน ไม่น้อยกว่า 5 ตารางเมตร และยื่นโผล่
พ้นผิวโครงสร้างออกมาไม่น้อยกว่า 40 ตารางเมตร โดยฝากเหล็กออกมาในขัน้ ตอนการหล่อเสา
คอนกรีต
1.4.6 คานเอ็นทับหลังและเสาเอ็น การก่อผนังอิฐทัง้ หมด รวมทัง้ ทีข่ อบของช่องปิ ดในผนัง (เช่น ประตู และ
หน้าต่าง) ให้ก่อโดยมีคานเอ็นทับหลังและเสาเอ็น ค.ส.ล. ทัง้ หมด โดยผนังก่อทีไ่ ม่มชี ่องเปิ ดจะต้องมี
คานเอ็นทับหลัง ค.ส.ล.ทุกระยะความสูงไม่เกิน 1.50 เมตร และทุกความยาวไม่เกิน 2.50 เมตร ของ
ผนังต้องมีเสาเอ็น โดยการใช้เหล็กเสริมตามแนวดิง่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 มิลลิเมตร 2 เส้นวาง
อยู่ในตําแหน่งแกนกลางของแบบหล่อ ช่องละเส้น ปลายเหล็กแต่ละข้างยึดติดกับโครงสร้าง กรอก
คอนกรีตสําหรับงานโครงสร้าง มีค่ากําลังอัดไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร โดยใช้
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 1 ตาม มอก.80-2550 เป็ นส่วนผสม และมีความกว้างไม่น้อยกว่า 15
เซนติเมตร โดยเสาเอ็น ทับหลังทัง้ หมด ต้องยึดติดกับโครงสร้างหลักของอาคาร นอกจากระบุไว้ใน
แบบว่าเป็ นอย่างอื่น
1.4.7 ในกรณีทก่ี ่อผนังชนท้องพืน้ หรือท้องคาน ให้ใส่โฟมคันระหว่่ างท้องพืน้ หรือท้องคานนัน้ ๆ กับผนังอิฐ
ก่อชัน้ บนสุด เพื่อป้องกันแรงกดทับจากโครงสร้าง ทําให้ผนังแตกร้าวได้
1.4.8 เมื่อก่อสร้างแล้ว หากพบว่าแนวก่อล้มดิง่ เกินกว่า 1 เซนติเมตร ให้ผรู้ บั จ้างทําการแก้ไขให้ตรงตาม
แนวทีก่ าํ หนด โดยต้องเสนอวิธกี ารให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั กิ ่อนการแก้ไข

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 169 of 521

1.4.9 การบ่มชืน้ ผนัง หลังจากก่ออิฐเสร็จแล้วประมาณ 24 ชัวโมง ่ หรือเมื่อปูนก่อเริม่ แห้งแล้ว ต้องทําการ


บ่ม โดยการรดนํ้าให้ผนังชุม่ ชืน้ อยู่สมํ่าเสมออย่างน้อย 7 วัน เพือ่ ให้ปนู ก่อพัฒนาความแข็งแรงอย่าง
สมบูรณ์ และห้ามให้ผนังถูกกระทบกระเทือน หรือรับนํ้าหนักเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 3 วัน หลังจากก่อ
เสร็จ
1.4.10 การก่ออิฐต่อจากเดิมทีก่ ่อไว้แล้ว ต้องรดนํ้าเพื่อความสะอาด และให้อฐิ เดิมได้ดดู นํ้าจนอิม่ ตัวก่อนโดย
ให้รดนํ้าอย่างน้อย 2 ครัง้ และตัง้ ทิง้ ไว้ประมาณ 1 นาที ให้หมาดๆ ก่อนทําการต่อไป
1.4.11 แนวผนังก่ออิฐทีอ่ ยูใ่ นแนวของโถงบันไดหนีไฟ และทางเดิน ทีส่ ามารถไปสูบ่ นั ไดหนีไฟได้ และที่
อื่นๆ ทีร่ ะบุให้เป็ นผนังกันไฟ ให้ก่อผนังเป็ นครึง่ แผ่น 2 ชัน้ หรือก่ออิฐมอญเต็มแผ่น และให้ก่อไปจน
สุดถึงท้องพืน้ ทีโ่ ครงสร้าง
1.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างทําความสะอาดทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ ด้วยความประณีตสะอาดเรียบร้อย ปราศจากคราบนํ้า
ปูน คราบไคล หรือรอยเปรอะเปื้อนต่างๆ ก่อนขออนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบหรือผูค้ วบคุมงาน
1.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการก่อ หากเกิดชํารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุ และ
การก่อ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นให้ใหม่หรือซ่อมแซม ให้อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่คดิ มูลค่า
ใดๆ ทัง้ สิน้

2. ผนังก่อคอนกรีตบล็อก
2.1 ขอบเขตของงาน
งานก่อผนังตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทําแบบ SHOP DRAWING เพื่อแสดงขนาดของผนังเมื่อ
ก่อเสร็จ ความหนาของปูนฉาบ หรือ FINISHING อื่นๆ การใส่เหล็กเสริมต่างๆ ในการก่อตําแหน่งและระยะติดตัง้ เสาเอ็น/
คานทับหลัง เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทําการติดตัง้
2.2 วัสดุ
2.2.1 คอนกรีตบล็อก
คอนกรีตบล็อกทีใ่ ช้ ให้เป็ น HOLLOW BLOCK ทีม่ คี ุณภาพ รูปร่างสมํ่าเสมอ ได้ตามมาตรฐานคอนกรีตบล็อกไม่รบั
นํ้าหนัก (มอก.58-2533) ยกเว้นส่วนทีก่ าํ หนดให้เป็ นผนังส่วนทีร่ บั นํ้าหนัก จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานคอนกรีตบล็อกรับ
นํ้าหนัก (มอก.57-2533) มีกาํ ลังอัดประลัย (ULTIMATE COMPRESSIVE STRENGTH) ไม่น้อยกว่า 35 กิโลกรัมต่อ
ตารางเซนติเมตร มีอตั ราการดูดซึมนํ้าไม่เกิน 7% เพื่อไม่ให้มกี ารดูดซึมนํ้า เนื่องจากฝนและขยายตัวเมื่อถูกแดดมาก
เกินไป เป็ นสาเหตุให้ผนังเกิดการแตกร้าว
(1) ในกรณีทแ่ี บบระบุให้เป็ นผนังก่อเต็มแผ่น ให้ใช้คอนกรีตบล็อกหนา 14 เซนติเมตร
(2) ในกรณีทก่ี ่อผนังสูงเกินกว่า 3.5 เมตรให้ใช้คอนกรีตบล็อกหนา 14 เซนติเมตร
(3) บริเวณทีต่ อ้ งเป็ นผนังกันไฟ เช่น โถง และปล่องบันไดหนีไฟ ทางเดินไปสูบ่ นั ไดหนีไฟ และ FIRE
COMPARTMENT ให้ใช้คอนกรีตบล็อกหนา 19 เซนติเมตร กรอกปูนทรายให้เต็มในช่องบล็อกทุกก้อน และก่อชน
ท้องพืน้
(4) ผนังคอนกรีตบล็อกทีต่ ดิ ตัง้ เครื่องสุขภัณฑ์ ให้กรอกปูนทรายเต็มก้อน
(5) ผนังคอนกรีตบล็อกทีต่ อ้ งฉาบปูนทับหน้า ให้ใช้คอนกรีตบล็อกชนิดหยาบ
(6) ผนังคอนกรีตบล็อกก่อแต่งแนวให้ใช้คอนกรีตบล็อกชนิดผิวเรียบ
(7) นอกจากบล็อกธรรมดาแล้ว ผูร้ บั จ้างต้องเตรียมบล็อกลักษณะจําเพาะต่างๆ เช่น ครึง่ บล็อก บล็อกมุม เป็ นต้น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 170 of 521

2.2.2 ปูนซีเมนต์ ใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ทีม่ วี สั ดุเฉื่อยผสมอยู่ เช่น ทรายหรือหินปูนบดละเอียด (MIXED


CEMENT) มอก.80-2550 เป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวจับกันเป็ นก้อน หรือกรณีทใ่ี ช้ปนู ผสมสําเร็จรูป จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน
มอก.598-2547
(1) ปูนก่อทีผ่ สมแล้ว จะต้องใช้ให้หมดภายใน 30 นาที ปูนก่อทีผ่ สมแล้วนานเกินกว่า 30 นาที ห้ามนํามาใช้ในงาน
ก่อสร้าง
(2) การกองเก็บปูนซีเมนต์สาํ หรับงานก่อ ต้องเก็บในสถานทีท่ ป่ี ้ องกันนํ้าและความชืน้ ได้ หากปูนซีเมนต์แข็งจับตัวเป็ น
ก้อน ห้ามนํามาใช้งานโดยเด็ดขาด
(3) ลักษณะของปูนก่อทีด่ จี ะต้องมีความข้นเหลวพอเหมาะ เนียวนุ่ม เวลาปนจะจั ั ้ บตัวเป็ นก้อน ไม่แห้งแตก ยึดเกาะก้อน
อิฐได้ดี มีระยะเวลาแห้งตัวพอเหมาะ เมื่อแข็งตัวแล้ว จะต้องไม่ยดื หรือหดตัวมาก มีแรงยึดเหนี่ยวทีด่ ี สามารถรับ
แรงอัด แรงเฉือน และแรงดึงได้ไม่น้อยกว่ากําลังของอิฐ หรือวัสดุทใ่ี ช้ก่อ
2.2.3 ทราย เป็ นทรายนํ้าจืด ปราศจากสิง่ เจือปนในปริมาณทีจ่ ะทําให้เสียความแข็งแรง
2.2.4 นํ้า ทีใ่ ช้ผสมปูนก่อ ต้องเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาด ปราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง และ
สารอินทรียต์ ่างๆ ในปริมาณทีจ่ ะทําให้ปนู ก่อเสียความแข็งแรง
2.2.5 เหล็กเสริม ใช้เหล็ก GRADE SR24 มีคุณภาพตามมาตรฐานเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต:เหล็กเส้นกลม
(มอก.20-2543)
2.2.6 อีพ๊อกซีส่ าํ หรับเชื่อมเหล็กเสริมกับโครงสร้างคอนกรีต ในกรณีทต่ี อ้ งมีการเจาะเสียบเหล็กเสริมเพื่อ
การก่อคอนกรีต ให้ใช้เป็ นชนิด 2-PART THIXOTROPIC EPOXY ADHESIVE ทีไ่ ด้รบั มาตรฐาน ASTM-C88-78 TYPE 1
GRADE 3 CLASS B+C หรือ EN 1504-4 สามารถรับแรงดึงสูงสุดได้ไม่ต่ํากว่า 20 N/Sq.m. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ เช่น
SIKA DUR 731N หรือเทียบเท่า
2.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบเห็นชอบและอนุมตั กิ ่อน จึงจะ
นําไปใช้ตดิ ตัง้ ได้ นอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
2.4 การก่อผนัง
2.4.1 การผสมปูนก่อ ให้ใช้สว่ นผสมของปูนก่อโดยปริมาตร ดังนี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ปูนขาว 1 ส่วน
ทราย 4-6 ส่วน
นํ้า พอประมาณ
การผสมปูนก่อต้องคลุกปูนขาวกับทรายให้เข้ากันดีแล้วจึงเติมปูนซีเมนต์กบั นํ้า ปริมาณของนํ้าทีใ่ ช้ตอ้ งให้ พอดี ไม่
แข็งไม่เหลวจนเกินไป หรืออาจใช้น้ํายาผสมปูนก่อแทนปูนขาวได้ โดยผูร้ บั จ้างต้องเสนอ รายละเอียดผลิตภัณฑ์เพื่อขอ
อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานเสียก่อน
2.4.2 ข้อพึงปฏิบตั ใิ นงานก่อ ให้ก่อคอนกรีตบล็อกในลักษณะแห้ง ห้ามนําไปแช่น้ําหรือสาดนํ้าก่อน เว้นแต่
ต้องทําความสะอาดก้อนบล็อกเท่านัน้ การก่อคอนกรีตบล็อกแถวล่างสุด จะต้องกรอกปูนทรายลงในช่องว่างของก้อน
คอนกรีตบล็อกให้เต็ม และแน่นตลอดแนวของผนัง แล้วจึงเริม่ ก่อแถวต่อไป
2.4.3 ช่องเจาะสําหรับงานระบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําช่องสําหรับงานระบบอื่นๆ เตรียมไว้ในขณะก่อสร้าง
เช่น ช่องท่องานระไฟฟ้า งานระบบปรับอากาศ ฯลฯ หรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานสัง่ การเจาะช่องจะต้องทําด้วยความประณีต
และต้องระมัดระวังมิให้ผนังก่อบริเวณใกล้เคียงแตกร้าวเสียความแข็งแรงไป

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 171 of 521

2.4.4 การยึดผนังติดกับโครงสร้าง ทีร่ อยติดของด้านข้าง และด้านบนของผนังกับโครงสร้างอาคาร ต้องยึด


ด้วยเหล็กเสริมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ทุกระยะ 40 เซนติเมตร โดยให้ปลายฝงั อยูในผนังไม่น้อยกว่า 20
เซนติเมตร และยื่นโผล่พน้ โครงสร้างออกมาไม่น้อยกว่า 40 เซนติเมตร โดยฝากเหล็กออกมาในขัน้ ตอนการหล่อคอนกรีต
โครงสร้าง
2.4.5 คานเอ็นทับหลังและเสาเอ็น การก่อผนังอิฐทัง้ หมด รวมทัท้ ข่ี อบเปิ ดในผนัง (เช่น ประตู และหน้าต่าง
) ให้ก่อโดยมีคานเอ็นทับหลังและเสาเอ็น ค.ส.ล.ทัง้ หมด โดยผนังก่อทีไ่ ม่มชี ่องเปิ ดจะต้องมีคานทับหลัง ค.ส.ล.ทุกระยะ
ความสูงไม่เกิน 1.50 เมตร และทุกความยาว 2.50 เมตร ของผนังต้องมีเสาเอ็น โดยการใช้เหล็กเสริมตามแนวดิง่ ขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลาง 9 มิลลิเมตร 2 เส้น วางอยู่ในตําแหน่งแกนกลางของแบบหล่อ ช่องละเส้น ปลายเหล็กแต่ละข้างยึดติดกับ
โครงสร้าง กรอกคอนกรีตสําหรับงานโครงสร้าง มีค่ากําลังอัดไม่น้อยกว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร โดยใช้
ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ตามมอก.80-2550 เป็ นส่วนผสม และมีความกว้างไม่น้อยกว่า 15 ตารางเมตร โดยเสา
เอ็น/ทับหลังทัง้ หมดต้องยึดติดกับโครงสร้างหลักของอาคาร นอกจากระบุไว้ในแบบว่าเป็ นอย่างอื่น
2.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ ด้วยความประณีตสะอาดเรียบร้อย ปราศจากคราบนํ้าปูน
คราบไคล หรือรอยเปรอะเปื้ อนต่างๆ ก่อนขออนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบและส่งมอบงาน
2.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการก่อ หากเกิดชํารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุ และการก่อ
ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นให้ใหม่หรือซ่อมแซม ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ
ทัง้ สิน้

3. ผนังก่อคอนกรีตมวลเบา
3.1 ขอบเขตงาน
งานก่อผนังตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมรูปแบบ (SHOP DRAWING) หรือแผงตัวอย่างในส่วน
ต่างๆ เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทําการติดตัง้
3.2 วัสดุ
3.2.1 คอนกรีตมวลเบา คอนกรีตมวลเบาทีใ่ ช้ให้เป็ นชนิดมีฟองอากาศ-อบไอนํ้า ซึง่ ผลิตจากทราย
ปูนซีเมนต์ ปูนขาว ยิปซัม่ และผงอลูมเิ นียม จะต้องได้รบั มาตรฐานชิน้ ส่วนคอนกรีตมวลเบาแบบมีฟองอากาศ-อบไอนํ้า
(มอก.1505-2541) ขนาดของก้อนถ้าไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ขนาดกว้างไม่ต่ํากว่า 20 เซนติเมตร ยาวไม่ต่ํากว่า 60 เซนติเมตร
และมีความหนา สําหรับผนังภายในและผนังภายนอก ไม่ต่ํากว่า 7.5 เซนติเมตร ความคลาดเคลือ่ นของวัสดุไม่เกิน ±2
มิลลิเมตร และมีคุณสมบัตทิ ส่ี าํ คัญดังนี้
(1) ความหนาแน่นไม่เกิน 500 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
(2) ค่ากําลังรับแรงอัดไม่น้อยกว่า 20 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
(3) ค่าโมดูลสั ยืดหยุ่นไม่น้อยกว่า 15,000 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
(4) อัตราการทนไฟตามมาตรฐาน BS476 ไม่ต่ํากว่า 4 ชัวโมง ่ ทีค่ วามหนา 7.5 เซนติเมตร
(5) อัตราการดูดกลืนนํ้าไม่เกิน 50%
(6) ค่าการนําความร้อนไม่เกิน 0.089 วัตต์ต่อเมตร-เคลวิน
3.2.2 ปูนก่อ ใช้ปนู ก่อบางสําเร็จรูปสําหรับงานผนังคอนกรีตมวลเบาโดยเฉพาะ (THIN BED ACHESIVE
MORTAR) ซึง่ มีค่ากําลังรับแรงอัดที่ 28 วัน ไม่ต่ํากว่า 100 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และค่ายึดเหนี่ยวไม่น้อยกว่า 1.50
กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 172 of 521

3.2.3 เหล็กเสริมความแข็งแรง ใช้เหล็ก GRADE SR24 มีคุณภาพตามมาตรฐานเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต:


เหล็กเส้นกลม (มอก.20-2543) หรือแผ่นเหล็ก METAL STRAP ยาว 20 เซนติเมตร ตามมาตรฐานผูผ้ ลิตคอนกรีตมวลเบา
3.2.4 นํ้า นํ้าทีใ่ ช้ผสมปูนก่อต้องเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาด ปราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง และ
สารอินทรียต์ ่างๆ ในปริมาณทีจ่ ะทําให้ปนู ก่อเสียความแข็งแรง
3.2.5 อีพ๊อกซีส่ าํ หรับเชื่อมเหล็กเสริมกับโครงสร้างคอนกรีต ในกรณีทต่ี อ้ งมีการเจาะเสียบเหล็กเสริมเพื่อ
การก่อคอนกรีต ให้ใช้เป็ นชนิด 2-PART THIXOTROPIC EPOXY ADHESIVE ทีไ่ ด้รบั มาตรฐาน ASTM-C88-78 TYPE 1
GRADE 3 CLASS B+C หรือ EN 1504-4 สามารถรับแรงดึงสูงสุดได้ไม่ต่ํากว่า 20 N/Sq.m. ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ เช่น
SIKA DUR 731N หรือเทียบเท่า
3.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบเห็นชอบและอนุมตั กิ ่อน จึงจะนําไปใช้ตดิ ตัง้
ได้ นอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่น

3.4 วิธกี ารก่อผนังคอนกรีตมวลเบา


3.4.1 ทําความสะอาดบริเวณทีจ่ ะทําการก่อผนังคอนกรีตมวลเบา แล้วกําหนดระยะตีเส้นแนวก่อให้ถูกต้อง และขึง
แนวเส้นเอ็น เพื่อช่วยให้ก่อได้งา่ ยขึน้
3.4.2 เริม่ ก่อโดยการใช้ปนู ก่อสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ป้ายลงไปตามแนวทีจ่ ะก่อผนัง
3.4.3 ใช้ปนู ทรายทัวไป่ วางลงไปบนปูนก่อทีไ่ ด้ป้ายไว้แล้วตามแนวทีจ่ ะก่อเพื่อช่วยปรับระดับพืน้ ให้ได้แนวระนาบ
เดียวกัน ความสูงประมาณ 1-5 ซม. จากนัน้ ใช้ปนู ก่อสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ทีไ่ ด้ผสมไว้แล้ว ป้าย
ด้วยเกรียงก่อ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต หนาประมาณ 2-3 มม. ตลอดแนวด้านล่างของบล็อคก้อนแรกและข้าง
เสาโครงสร้าง แล้วยกวางลงไปบนปูนทราย ใช้คอ้ นยางและระดับนํ้าช่วยจัดให้ได้แนวและระดับทีถ่ ูกต้อง
3.4.4 เริม่ ก่อ Block ก้อนที่ 2 โดยป้ายปูนก่อสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ตลอดแนวด้านล่างของบล็อคและ
บริเวณด้านข้างของก้อน แรกแล้ววางบล็อคก้อนที่ 2 ลงไปให้ชดิ กับก้อนแรก แล้วใช้คอ้ นยางเคาะให้ชดิ
กัน ตรวจด้วยระดับนํ้าทุกครัง้ ทําเช่นนี้กบั ก้อนที่ 3, 4 ไปจนก่อจบชัน้ นี้
3.4.5 เมื่อจําเป็ นต้องตัดก้อนบล็อคให้วดั ระยะให้พอดี แล้วใช้เลื่อยตัดบล็อคตัดให้ได้แนวดิง่ ฉาก เมื่อจะก่อบล็อค
ชัน้ ที2่ ควรรอระยะเวลาในการเซ็ทตัวของบล็อคชัน้ แรกไม่น้อยกว่า 30 นาที
3.4.6 บล็อคชัน้ ที่ 2 ให้ก่อด้วยวิธสี ลับแนวระหว่างแถวชัน้ ล่างโดยให้ให้แนวเหลื่อมอย่างน้อย 10 ซม. ก่อให้ได้แนว
ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน โดยป้ายปูนก่อสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ทีด่ า้ นข้างของก้อนแถวนัน้ และ
ด้านบนของก้อนแถวล่าง ด้วยเกรียงก่อ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ปูนก่อจะไม่หกล้นออกด้านข้าง และจะต้อง
ป้ายปูนก่อให้ต่อเนื่องตลอดแนวไม่มชี ่องว่าง โดยไม่ตอ้ งตอกแผ่นเหล็กใด ๆ เพื่อยึดก้อน Block อีก
3.4.7 ปลายก้อนทีก่ ่อชนเสาโครงสร้างหรือเสาเอ็นจะต้องยึดด้วยเหล็ก Ø 6 มม. ความยาวไม่น้อยกว่า 25 ซม. โดย
ฝงั ลึกลง ในเสาโครงสร้างไม่น้อยกว่า 5 ซม. หรือใช้แผ่นเหล็กยึด (Metal Strap) ความยาวประมาณ 22 ซม.
ยึดด้วยพุกสกรู ทุกระยะ 2 ชัน้ ของแนวก่อ Block
3.4.8 หากพืน้ ทีข่ องผนังมีขนาดใหญ่เกินมาตรฐานทีก่ าํ หนดไว้ในตาราง จะต้องมีเสาเอ็น หรือคานเอ็น ค.ส.ล.
ขนาด ประมาณ 10 ซม. โดยใช้เหล็กเสริม 2 เส้น Ø 9 มม. และมีเหล็กปลอก Ø 6 มม. ทุกระยะ 20 ซม.
ปลายของเหล็กจะต้องฝงั ลึกในพืน้ หรือคานทีเ่ ป็ นโครงสร้างหลักยึดด้วย Epoxy
3.4.9 บริเวณมุมผนังทีก่ ่อมาบรรจบกัน อาจก่อประสานเข้ามุม (Interlocking) ได้แต่ทงั ้ นี้ผนังต้องมีระยะไม่เกิน ที่
ตารางกําหนดโดยคิดคํานวณพืน้ ทีต่ ่อเนื่องกัน (ยกเว้นกรณีใช้ บล็อคหนา 7.5 ซม. ต้องทําเสาเอ็นทุกมุม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 173 of 521

ผนัง ) และหากพืน้ ทีร่ วมเกินกว่าทีก่ าํ หนดใว้ในตาราง (แล้วแต่ความหนาของ Block) ให้ทาํ เสาเอ็น หรือ
คานเอ็น ค.ส.ล.หรือใช้เสาเอ็นสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
3.4.10 สําหรับผนัง Block หนา 7.5 ซม. ต้องทําเสา/คานเอ็น ค.ส.ล. หรือใช้ทบั หลังสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
โดยรอบ ช่องเปิ ด ตามคําแนะนําของ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต กรณีใช้ความหนาตัง้ แต่ 10 ซม. ขึน้ ไป เหนือ
ช่องประตูหน้าต่าง หรือช่องเปิ ดอื่น ๆ ใช้ทบั หลังสําเร็จรูป ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต วางลงบนช่องเปิ ด ให้มรี ะยะ
นังบนผนั
่ งทัง้ 2 ด้าน ไม่น้อยกว่า 15 ซม.ขึน้ ไปแทนการหล่อเสาและคานเอ็น ค.ส.ล.
3.4.11 การยึดวงกบเข้ากับผนัง สามารถทําได้หลายวิธอี าจใช้แผ่นเหล็ก Metal Strap ยึดด้วยตะปูเข้ากับวงกบไม้
ทุกชัน้ ของ รอยต่อระหว่างชัน้ Block แล้วป้ายทับด้วยปูนก่อ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ก่อนวาง Block ทับลงไป
แล้วอุดแนวรอยต่อข้างวงกบให้แน่นด้วยปูนก่อ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต หรือยึดตามวิธี Detail การยึดวงกบ
ประตู-หน้าต่าง ของตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
3.4.12 การก่อผนังให้ก่อชนท้องคานหรือท้องพืน้ ทุกแห่ง โดยเว้นช่องไว้ประมาณ 2-3 ซม. แล้วอุดให้แน่นด้วยปูน
ทรายตลอดแนว ผนังทีก่ ่อสูงไม่ชนท้องคานหรือพืน้ (ก่อลอย)จะต้องทําทับหลัง ค.ส.ล. ขนาดไม่เล็กกว่าเสา
เอ็นตามข้อ 3.4.8 ตลอดแนว
3.4.13 การก่อผนังทีช่ นกับท้องพืน้ โครงสร้างอาคารซึง่ อาจมีการแอ่นตัวมากเป็ นพิเศษ เช่น พืน้ ระบบ Post
Tensioned หรือโครงสร้างเหล็ก จะต้องเว้นช่องว่างด้านบนไว้ประมาณ 4 - 5 ซม. แล้วเสริมวัสดุทม่ี คี วาม
ยืดหยุ่นตัวได้ เช่น โฟม เป็ นต้น และหลีกเลีย่ งการฉาบชนท้องพืน้ แต่หากจําเป็ นให้เซาะร่องไว้ตามแนว
รอยต่อ
3.4.14 การวางฝงั ท่องานระบบในผนังสามารถใช้เหล็กเซาะร่องขูดออกตามแนว หรือเครื่องตัดไฟฟ้า เป็ นร่องแนว
ลึก 2 แนว แล้วสกัดออก ทัง้ นี้ไม่ควรลึกเกิน 1 ใน 3 ของความหนาของผนัง จากนัน้ อุดปูนทรายให้แน่นเต็ม
แล้วปิ ดทับด้วยลวดตาข่ายกว้างจากขอบแนวสกัดด้านละ 10 ซม. ตลอดแนวก่อนฉาบปูนทับ
3.4.15 กรณีทท่ี าํ การติดตัง้ ท่องานระบบไว้ก่อน ให้ก่อผนัง ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ห่างจากแนวท่อเล็กน้อย แล้วตอก
ฝงั เหล็ก Ø 6 มม. แล้วอุดด้วยปูนทราย กรณีทช่ี ่องใหญ่กว่า 2 นิ้ว ให้เทคอนกรีตตลอดแนวท่องานระบบ

3.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังการติดตัง้ ด้วยความประณีตสะอาดเรียบร้อย ปราศจากคราบนํ้า
ปูน คราบไคล หรือรอยเปรอะเปื้อนต่างๆ ก่อนขออนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบและส่งมอบงาน
3.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องประกันคุณภาพของวัสดุและการก่อ ตลอดจนฝีมอื ช่างทีด่ าํ เนินการ หากเกิดชํารุดเสียหายอัน
เนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุ และการก่อ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นให้ใหม่และซ่อมแซม ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ตาม
วัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบและผูว้ ่าจ้างตามสัญญานี้ โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

4. ผนังฉาบปูน
4.1 ขอบเขตของงาน
งานฉาบปูนทัง้ ภายในและภายนอก ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมแบบ SHOP DRAWING แสดงแนวการแบ่งเส้นเซาะ
ร่องกันแตกในกรณีทเ่ี ป็ นผนังขนาดใหญ่ ทีจ่ ะต้องมีการแบ่งเส้นแนวกันแตก เพื่อเสนอผูอ้ อกแบบให้ความเห็นชอบและ
จัดเตรียมแผงตัวอย่าง (MOCK-UP PENAL) เพื่อเป็ นตัวอย่างมาตรฐานการฉาบปูน โดยปูนฉาบทีร่ ะบุไว้เป็ นการฉาบปูน
เรียบจะต้องมีพ่ น้ื ผิวทีส่ มํ่าเสมอไม่เกิดรูพรุน หรือมีเม็ดทรายทีข่ นาดโตกว่าทีก่ าํ หนดปรากฏขึน้ มากเกินไป พืน้ ผิวทีฉ่ าบปูน
เรีบยร้อยแล้วจะต้องมีระนาบ เรียบสมํ่าเสมอไม่เกิดคลื่น และต้องยึดเกาะติดแน่นกับพืน้ ผิวทีฉ่ าบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 174 of 521

4.2 วัสดุ
ปูนฉาบชนิดปูนซีเมนต์ผสม
4.2.1 ปูนฉาบสําเร็จรูป ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานมอร์ตาร์สาํ หรับฉาบ (มอก.1776-2542) ประเภทปูน
ฉาบทัวไปสํ
่ าหรับงานฉาบบริเวณผนังก่อทัวไป ่ เช่น อิฐมอญ คอนกรีตบล็อก เป็ นต้น และใช้ประเภทปูนฉาบผิวคอนกรีตมี
กําลังอัดไม่น้อยกว่า 50 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร สําหรับบริเวณทีเ่ ป็ นพืน้ ผิวคอนกรีตหล่อ เช่น เสา คาน ผนัง ค.ส.ล.
เป็ นต้น
4.2.2 ปูนฉาบชนิดปูนซีเมนต์ผสม
(1) ปูนซีเมนต์ ใช้ปนู ซีเมนต์ปอร์ตแลนด์คุณภาพตามมาตรฐานปูนซีเมนต์ผสม (มอก.80-2550)
(2) ปูนขาว/นํ้ายาผสมปูนขาว
- ใช้ปนู ขาวหินทีเ่ ผาสุกดีแล้ว ต้องเป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวจับกันเป็นก้อนแข็ง
- นํ้ายาผสมปูนฉาบต้องมีคุณภาพการยึดเกาะแน่น ลดการแตกร้าวช่วยกระจายกักฟองอากาศและไม่มี
ส่วนผสมของ CHLORIDE คุณภาพตามมาตรฐาน BS 4887
(3) ทราย ทรายนํ้าจืด สะอาดปราศจากสิง่ เจือปนในปริมาณทีจ่ ะทําให้เสียความแข็งแรง
(4) นํ้า นํ้าทีใ่ ช้ผสมปูนฉาบต้องเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาด ปราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง และ สารอินทรียต์ ่างๆ
ในปริมาณทีจ่ ะทําให้ปนู เสียความแข็งแรง การใช้น้ํายาผสมปูนฉาบต้องทําตาม กรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิตโดย
เคร่งครัด
4.2.3 ปูนฉาบคอนกรีตมวลเบา ให้ใช้ปนู ฉาบทีผ่ ลิตขึน้ สําหรับงานคอนกรีตมวลเบาโดยเฉพาะ มีค่ากําลังรับ
แรงอัดไม่ต่ํากว่า 50 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และมีแรงยึดเหนี่ยวไม่น้อยกว่า 80 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และ
ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM C091, ASTM C109, ASTM C185, ASTM C807, ASTM C952
4.2.4 ตะแกรงลวด ให้ใช้ตะแกรงลวดติดทับบริเวณรอยต่อระหว่างผนังก่อกับผนังคอนกรีต โดยอยูใ่ นพืน้ ที่
ทัง้ 2 ฝงๆ ั ่ ละ 10 เซนติเมตร และเป็ นตะแกรงชนิดอาบสังกะสีขนาดช่อง 1/4 นิ้ว
4.3 การฉาบปูน
4.3.1 การเตรียมสถานทีก่ ่อนทํางานต้องทําความสะอาดสถานทีใ่ ห้เรียบร้อย ไม่ให้มเี ศษขยะ เศษฝุน่ หรือ
เศษวัสดุอ่นื ใดอยู่ในบริเวณทีท่ าํ งาน และต้องให้ผคู้ วบคุมงานตรวจแนวผนัง รวมถึงการล้มดิง่ ของผนังก่อ ห้ามล้มดิง่ เกิน 1
ตารางเมตร
4. 3.2 การเตรียมผิวทีร่ บั ปูนฉาบ ผิวผนังทีร่ บั ปูนฉาบต้องทําเสร็จไม้น้อยกว่า 7 วัน และผ่านขัน้ ตอนการก่อ
อย่างถูกต้องตามหมวดงานผนัง
(1) การจัดเซีย้ ม ให้จดั เซีย้ มทุกมุมของผนังทีจ่ ะทําการฉาบด้วยปูนเค็ม โดยให้จบั เซีย้ มตามแนวเส้นทีผ่ ่านการ
ตรวจสอบแล้วจากผูค้ วบคุมงาน ในการจัดเซีย้ มจะใช้วธิ กี ารจับสด (ใช้ปนู เค็มอย่างเดียว) หรือใช้เซีย้ ม PVC ก็ได้
แต่ตอ้ งเป็ นเซีย้ ม PVC ทีท่ าสีตดิ
(2) การจัดปุม่ ให้ใช้ปนู เค็มปนเป็ ั ้ นก้อนขึน้ มาจากผนัง โดยระดับหลังปุม่ เป็ นระดับตามแนวเส้นทีผ่ ่านการตรวจสอบแล้ว
จากผูค้ วบคุม โดยแต่ละปุม่ กําหนดให้มรี ะยะห่างกันไม่เกิน 1.00 เมตร
(3) การสลัดดอก เป็ นการเตรียมผิวทีฉ่ าบให้หยาบหรือขรุขระ โดยเฉพาะผิวคอนกรีตให้กะเทาะให้เกิดรอย หรือทําการ
สลัดปูนทราย โดยใช้สว่ นผสมปูนซีเมนต์ต่อทรายหยาบ 1:1 โดยปริมาตร ให้เกาะติดกับผนังก่อนฉาบ
(4) การติดตะแกรงลวด ให้ตดิ ตะแกรงลวดบริเวณทีเ่ ป็ นวัสดุต่างชนิดกัน เช่น ผนังก่ออิฐกับเสา หรือคานคอนกรีต ผนัง
ก่ออิฐกับเสาเอ็น หรือทับหลังค.ส.ล. รวมถึงบริเวณทีเ่ ดินท่องานระบบไฟฟ้าและสุขาภิบาลด้วย โดยให้ตะแกรงลวด
ั่
อยู่ในพืน้ ทีข่ องทัง้ 2 วัสดุ ฝงละไม่ น้อยกว่า 10 เซนติเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 175 of 521

4. 3.3 การผสมปูนฉาบ
(1) ปูนฉาบสําเร็จรูปชนิดฉาบทัวไป ่ ให้ผสมนํ้าสะอาดในอัตราส่วน 10-13 ลิตรต่อปูนฉาบ 50 กิโลกรัม
(2) ปูนฉาบสําเร็จรูปชนิดฉาบผิวคอนกรีต ให้ผสมนํ้าสะอาดในอัตราส่วน 10-12 ลิตรต่อปูนฉาบ 50 กิโลกรัม
(3) ปูนฉาบทีผ่ สมเสร็จแล้ว ควรใช้ให้หมดโดยเร็ว ไม่ให้ทง้ิ ไว้เกิน 30 นาที ลักษณะเนื้อปูนฉาบทีด่ ี เมื่อผสมเสร็จจะต้อง
มีความข้นเหลวเหมาะสม มีความเหนียวนุ่ม เวลาปนจะจั ั ้ บตัวเป็นก้อนไม่แห้งแตก มีความเหนียวยึดเกาะก้อนอิฐดี
แต่ไม่เหนียวติดเกรียง
(4) การผสมปูนฉาบกรณีใช้ปนู ฉาบ ให้ใช้สว่ นผสมของปูนฉาบ ดังนี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ปูนขาว 1/4 ส่วน สําหรับปูนฉาบภายใน
1/10 ส่วน สําหรับฉาบภายนอก
ทราย 3 ส่วน
นํ้า พอประมาณ
ในกรณีใช้น้ํายาผสมปูนฉาบ ต้องทําตามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
4. 3.4 การฉาบปูน
(1) การรดนํ้าผนังอย่างพอเพียงและทัวถึ ่ งก่อนทําการฉาบ ก่อนการทําการฉาบทุกครัง้ จะต้องรดนํ้าให้ ทัวผนั ่ งทีจ่ ะทํา
การฉาบ จนผนังก่อดูดนํ้าจนอิม่ ตัว ให้รดนํ้าให้ชมุ่ ในช่วงเย็นก่อนทําการฉาบ 1 วัน และในวันรุ่งขึน้ ก่อนจะเริม่ ฉาบ
ให้พรมนํ้าซํ้าอีกครัง้ จนกว่าจะสังเกตเห็นนํ้าซึมออกมาอีกด้านหนึ่งของผนังทีไ่ ม่ได้พรม
(2) การฉาบชัน้ แรก การแบต้องกดให้แน่นเพื่อให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวระหว่างผนังกับปูนฉาบมากทีส่ ดุ ผิวของปูนฉาบชัน้
แรกต้องทําให้หยาบและขรุขระเล็กน้อย โดยการใช้แปรงหรือไม้กวาดไล้ตามผิวแนวนอน ในระหว่างทีป่ นู ฉาบยังไม่
แข็งตัว แล้วควบคุมการฉาบในชัน้ นี้ให้หนาไม่เกิน 1.5เซนติเมตร หลังจากฉาบแล้ว ให้บม่ โดยการพรมนํ้าให้ชน้ื อยู่
ตลอดเป็ นเวลา 48 ชัวโมง ่ เสร็จแล้วทิง้ ไว้ให้แห้งไม่น้อยกว่า 5 วัน ก่อนทีจ่ ะลงมือฉาบชัน้ ที่ สอง
(3) การแบชัน้ ทีส่ อง ก่อนแบต้องทําความสะอาด และพรมนํ้าให้ผวิ ของปูนฉาบชัน้ แรกมีความชืน้ สมํ่าเสมอ แล้วจึงฉาบ
ชัน้ ทีส่ องให้มคี วามหนาในชัน้ นี้ ไม่เกิน 1.5 เซนติเมตร เมื่อรวมความหนาปูนทัง้ สองชัน้ แล้ว ต้องไม่เกิน 2.5
เซนติเมตร และต้องอยูใ่ นแนวระดับของเซีย้ ม และปุม่ ทีท่ าํ ไว้กอ่ นหน้าแล้วด้วย
(4) การตีน้ําลงฟอง เป็ นการทําให้ผนังปูนฉาบมีความเรียบเนียนมากขึน้ โดยการใช้แปรงสลัดนํ้าไปที่ ผนังปูนฉาบทีเ่ ริม่
แห้งหมาดๆ แล้วใช้เกรียงไม้ลบู ไปมาให้ทวั ่ เพื่อเกลีย่ ผิวหน้าปูนฉาบให้มคี วามเสมอกันทัวทั ่ ง้ ผนัง จากนัน้ ใช้
ฟองนํ้าชุบนํ้า บิดให้แห้ง ประกบบนเกรียงไม้ ลูบไปมาให้ทวผนั ั ่ งอีกครัง้ ไม่ให้ตนี ้ําในขณะทีป่ นู ฉาบยังไม่แห้ง
หรือปล่อยให้ปนู ฉาบแห้งไปแล้วจึงตีน้ํา เพราะจะทําให้ผนังปูนฉาบเกิดลายงาภายหลัง และไม่ให้ใช้ฟองนํ้าทีแ่ ห้ง
เกินไป เพราะจะดูดนํ้าปูนออกจาก ปูนฉาบ ทําให้ปนู ฉาบแห้งตัวเร็วและแตกร้าวได้
(5) การบ่มผิว เป็ นขัน้ ตอนทีไ่ ม่ให้ปนู ฉาบสูญเสียนํ้าเร็วเกินไป ในขณะทีป่ นู ยังไม่แข็งตัว ให้ใช้น้ําพ่น เป็ นหมอกหรือ
ละอองไปบนผิวปูนฉาบทีเ่ ริม่ แข็งตัวแล้ว เพื่อให้ผนังชุ่มชืน้ อยู่เสมอต่อเนื่องเป็ นเวลาอย่างน้อย 7 วัน
4.4 การฉาบคอนกรีตมวลเบา
4.4.1 การผสมปูนฉาบคอนกรีตมวลเบาสําเร็จรูป ให้ผสมกับนํ้าสะอาดในอัตราส่วน 10-12 ลิตรต่อปูนฉาบ
50กิโลกรัม
4.4.2 การเตรียมพืน้ ผิว
(1) ใช้แปรงตีน้ําหรือไม้กวาดปาดเศษผงทีต่ ดิ อยู่บนผนังออกให้หมด
(2) หากมีรอยแตกบิน่ ของผนัง ให้อดุ ซ่อมก่อนด้วยปูนซ่อม โดยผสมเศษผงคอนกรีตมวลเบา จากการตัดเข้ากับปูนก่อ
คอนกรีตมวลเบาและนํ้าผสมให้เข้ากันดี แล้วนําไปป้ายอุดจุดทีต่ อ้ งซ่อม ทิง้ ไว้ให้แห้งก่อนฉาบอย่างน้อย 1 วัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 176 of 521

(3) ราดนํ้าทีผ่ นังก่อนฉาบตามกรรมวิธขี อ้ 4.3.4 (5)


(4) รอให้ผวิ ผนังดูดซับนํ้าจนแห้งเล็กน้อย จึงเริม่ ลงมือฉาบ
4.4.3 วิธฉี าบปูน
(1) ความหนาปูนฉาบทีแ่ นะนํา 0.5-1.0 เซนติเมตร โดยทําการฉาบเป็ นสองชัน้ ชัน้ ละประมาณครึง่ หนึ่งของความหนา
ทัง้ หมด
(2) เมื่อฉาบชัน้ แรกแล้ว ทิง้ ไว้ให้ผวิ หน้าแห้งหมาด บางส่วนจะเกิดรอยแตกเป็ นปกติ จากการหดตัวของปูน ปูนทีฉ่ าบ
ต้องผสมไม่เหลวจนเกินไป เพราะจะทําให้เกิดการย้อยตัวของปูน เสียเวลารอให้หมาดนาน และเป็ นสาเหตุของ
การแตกร้าว
(3) ฉาบปูนชัน้ ทีส่ องให้ได้ความหนาทีต่ อ้ งการ ปดั หน้าให้เรียบและทิง้ ไว้ ให้ผวิ หน้าแห้งหมาดมากๆ
(4) ตีน้ําด้วยแปรงให้ทวพอดี ั่ ั ่ า กดเกรียงแรงๆ และขัดผิวหน้าให้เรียบก่อนลงฟอง
กบั การปนหน้
4.5 ร่องกันแตก (CONTROL JOINTS)
ให้ทาํ (CONTROL JOINTS) ในปูนฉาบตามตําแหน่งและขนาดทีร่ ะบุไว้ในแบบ ในกรณีทไ่ี ม่ได้ระบุให้ผรู้ บั จ้างเสนอ
แบบรายละเอียด ตําแหน่งและขนาด ก่อนการฉาบ
4.6 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจากการชํารุดและมีตําหนิ ก่อนขอความ
เห็นชอบในการตรวจสอบและส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
4.7 การซ่อมแซม
ผิวปูนฉาบจะต้องแน่นตลอดผิว ทีใ่ ดมีเสียงเคาะดังโปร่งหรือมีรอยแตกร้าวจะต้องทําการซ่อมแซม โดยสกัดออกเป็ น
บริเวณรอบรอยร้าวหรือบริเวณดังโปร่งนัน้ น้อยกว่า 10 เซนติเมตร ทําความสะอาดรดนํ้าพอประมาณ แล้วจึงฉาบ
ซ่อมแซมโดยประสมนํ้ายาประเภท BONDING AGENT ทีเ่ สนอและได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน ผิวของปูนฉาบ
ใหม่กบั ปูนฉาบเก่าจะต้องเป็ นเนื้อเดียวกันในกรณีทเ่ี กิดรอยแตกราวทีผ่ วิ ปูนฉาบแต่ไม่แตกร่อน ให้ตดั ร่องให้ลกึ แล้วฉีดอุด
ด้วย PAINTABLE SEALANT รายละเอียดผลิตภัณฑ์ตามทีร่ ะบุในหมวดวัสดุยาแนว
ในกรณีทม่ี กี ารซ่อมแซมงานคอนกรีตเกีย่ วกับคอนกรีตโครงสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมส่วนนัน้ ตามคําสังของผู
่ ้
ควบคุมงานและ/หรือผูอ้ อกแบบโดยผูค้ วบคุมงาน/หรือผูอ้ อกแบบ จะเป็ นผูก้ าํ หนดกรรมวิธตี ลอดจนการเลือกใช้วสั ดุ ผูร้ บั
จางจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมทัง้ หมด

5. งานโครงเคร่าโลหะผนังเบา
5.1 วัสดุ
5.1.1 โครงเคร่า (METAL FRAMING) ต้องผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีดว้ ยกรรมวิธกี ารจุม่ ร้อน (HOT-DIP
ZINC COATED) มีความหนาไม่น้อยกว่า 0.50 มิลลิเมตร ได้รบั การรับรองตามมาตรฐาน JIS 3302-1987 หรือ มอก.863-
2532 ผลิตภัณฑ์ ของ DECEM, ตราช้าง หรือเทียบเท่า
5.1.2 สกรูเกลียวปล่อย (SCREW)
5.1.3 พุกเหล็ก (EXPANSION BOLT)
5.2 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ ี มีความชํานาญ และประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและ
เส้นแนวตรง มีความประณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรง ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด และกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้ตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง ถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินการติดตัง้
5.2.1 โครงเคร่าผนังสูงไม่เกิน 3.00เมตร (ผนังไม่จรดเพดาน)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 177 of 521

(1) กําหนดแนวผนังทีจ่ ะกัน้ ขีดเส้นไว้ทพ่ี น้ื ห้อง


(2) ติดตัง้ โครงเคร่าโลหะตัวยู ความกว้างของหน้าตัดไม่น้อยกว่า 64 มิลลิเมตร กับพืน้ ห้องด้วยพุกเหล็กฝงั พืน้
คอนกรีตทุกระยะห่างไม่เกิน 60 เซนติเมตร
(3) ติดตัง้ โครงเคร่าโลหะตัววี ความกว้างของหน้าตัดไม่น้อยกว่า 64 มิลลิเมตร สูงเท่าขนาดของผนังตามต้องการเป็ น
เคร่าตัง้ วางอัดในเคร่าตัวยู โดยเว้นระยะห่างไม่เกิน 60 เซนติเมตร และปิ ดทับบนโครงเคร่าด้วยเคร่าโลหะตัวยู
(4) ถ้าผนังสูงกว่า 1.50 เมตร ให้ใช้เคร่าโลหะตัวยูยดึ โครงเคร่าตัง้ ตามแนวนอนด้วย โดยเว้นระยะห่างของเคร่านอนไม่
เกิน 60 เซนติเมตร
(5) ถ้าผนังในระนาบเดียวกัน มีความยาวเกินกว่า 8.00 เมตร และไม่มผี นังอื่นใดมาชนสัมผัส ให้เสริมเสาเอ็นด้วยเหล็ก
รูปพรรณจะเป็ นเหล็กกล่องสีเ่ หลีย่ มหรือเหล็กตัวซีกไ็ ด้ เพื่อป้องกันผนังล้มทุกระยะ 8.00 เมตร โดยเสาเอ็นรูปพรรณ
ต้องยึดติดแน่นกับพืน้ โครงสร้างด้วยพุกเหล็ก
(6) โครงเคร่าเหล็กทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ดงิ่ ระนาบ และเป็ นเส้นตรง หรือนอกจากจะระบุเป็ นอย่างอืน่ จากผูอ้ อกแบบ
5.2.2 โครงเคร่าผนังสูงกว่า 3.00 เมตร แต่ไม่ถงึ 5.00 เมตร (ผนังจรดเพดาน)
(1) กําหนดแนวผนังทีจ่ ะกัน้ ขีดเส้นไว้ทฝ่ี ้ าเพดานและพืน้ ห้อง
(2) ติดตัง้ โครงเคร่าตัวยูมคี วามกว้างของหน้าตัดไม่น้อยกว่า 76 มิลลิเมตร ทีพ่ น้ื และฝ้าเพดานด้วยพุกเหล็กทุกระยะไม่
เกิน 60 เซนติเมตร
(3) ติดตัง้ โครงเคร่าโลหะรูปตัวซี ซึง่ มีความกว้างหน้าตัดไม่น้อยกว่า 75 มิลลิเมตร โดยอาศัยความฝืดทิง้ ช่วงห่างไม่เกิน
60 เซนติเมตร และเว้นช่องไว้ตอนบนของเคร่าตัวซี 12-15 มิลลิเมตร เพื่อลดความเสียหายอันอาจเกิดกับผนัง
เนื่องจากการสันสะเทื
่ อนของโครงสร้างอาคาร
(4) การต่อโครงเคร่าตัวซี กรณีทค่ี วามสูงของโครงเคร่าตัง้ สูงกว่าความยาวของเคร่าตัวซี ให้ต่อโดยใช้เคร่าตัวยูยาว 30
เซนติเมตร ประกบด้านนอกของเคร่าตัวซีทต่ี ่อชนกันและยึดด้วยสกรูเกลียวปล่อย
(5) โครงเคร่าตัวซี ตามแนวตัง้ ทุกตัวจะต้องติดตัง้ จากพืน้ จรดท้องพืน้ ชัน้ ถัดไปทุกตัว
(6) โครงเคร่าผนังทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ดงิ่ ระนาบและเป็ นเส้นตรง หรือนอกจากระบุเป็ นอย่างอื่นจากผูอ้ อกแบบ
5.2.3 โครงเคร่าผนังสูงกว่า 5.00 เมตร
(1) ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา SHOP DRAWING และรายการคํานวณของเหล็กโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ เพื่อใช้รบั นํ้าหนัก
ของโครงเคร่าผนังเบา
(2) โครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ให้เว้นระยะห่างของโครงทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนเป็ นระยะห่าง 3.00 เมตร
(3) ติดตัง้ โครงเคร่าตัวยูทโ่ี ครงสร้างเหล็กรูปพรรณ ทัง้ ตัวล่างและตัวบนด้วยสกรูเกลียวปล่อย ทุกระยะห่างไม่เกิน 60
เซนติเมตร
(4) ติดตัง้ โครงเคร่าตัวซี โดยอาศัยความฝืดทิง้ ช่วงห่างไม่เกิน 60 เซนติเมตร และเว้นช่องไว้ช่องบนของเคร่าตัวซี
(5) โครงเคร่าผนังทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ดงิ่ ระนาบและเป็ นเส้นตรง หรือนอกจากจะระบุเป็ นอย่างอื่นจากผูอ้ อกแบบ

5.3 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจากการชํารุดและมีตําหนิ ก่อนขอความเห็นชอบ
ในการตรวจสอบและส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
5.4 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ โครงเคร่าโลหะผนังเบาตามมาตรฐานของบริษทั ของ
ผูผ้ ลิต และได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ หากเกิดการโก่งตัวหรือชํารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุและ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 178 of 521

การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ให้ใหม่หรือซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพทีด่ ี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบหรือผูว้ ่าจ้างโดยไม่


คิดมูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

6. ผนังแผ่นยิปซัมบอร์่ ด
6.1 วัสดุ
วัสดุทจ่ี ะนํามาใช้จะต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อนไม่มรี อยชํารุดแตกร้าวเสียหาย ใช้แผ่นยิปซัมบอร์ ่ ดชนิด
ธรรมดา (REGULAR GYPSUM BOARD) ต้องประกอบด้วยยิปซัมในส่ ่ วนกลาง ปิ ดผิวด้วยกระดาษชนิดอัดแน่นด้านนอก2
ด้าน หากมิได้ระบุในแบบให้ใช้ใช้ขนาดความหนา 9 มิลลิเมตร ผลิตภัณฑ์ มอก.219-2524 ได้แก่ ตราช้าง TG, GYPROC
หรือเทียบเท่า
6.2 โครงเคร่า
ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะผนังเบา
6.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบ
และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่
จําเป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
6.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับ
และเส้นแนวตรงหรือลวดลายได้ฉากมีความปราณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรงตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตราฐาน
ของบริษทั ผูผ้ ลิตก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้
สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานการติดตัง้

7. ผนังบุแผ่น ACOUSTIC BOARD


7.1 วัสดุทใ่ี ช้
7.1.1 แผ่นกันเสียงสะท้อน (ACOUSTIC BOARD) ความหนา 12 มิลลิเมตร หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบ
ก่อสร้าง ผลิตจากวัสดุใยแร่ MINERAL FIBER
(1) ค่าการกันเสียง 35-39 Decibel
(2) ค่าการดูดซับเสียง NCR: 55-65
(3) คุณสมบัตกิ ารป้องกันความร้อน R-FACTOR 1.5 @ 75 ºF
7.1.2 แถบ STAINLESS-ALUMINIUM เพื่อปิ ดรอยต่อแผ่น รูปตัว T
หากมีรายการตกแต่งภายในให้ดรู ายละเอียดตามแบบตกแต่งภายในประกอบ

8. ผนังบุกระเบือ้ งเซรามิค
8.1 วัสดุทใ่ี ช้
8.1.1 ใช้กระเบือ้ งเซรามิค ขนาด 8x8 นิ้ว, 12x12 นิ้ว หรือตามรูปแบบกําหนด ความหนาไม่น้อยกว่า 6.5
มิลลิเมตร ผลิตในประเทศตาม มอก.613-2529 ได้แก่ COTTO, RCI, CAMPANA หรือคุณภาพเทียบเท่า (สีและลายเลือก
ภายหลัง) โดยให้สง่ ตัวอย่างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเลือกสีและเห็นชอบก่อนดําเนินการภายในระยะเวลา 30
วัน
8.2 การบุกระเบือ้ ง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 179 of 521

8.2.1 ผิวผนังต้องสะอาดและมีผวิ ขรุขระ


8.2.2 ปูนซีเมนต์ทใ่ี ช้บุกระเบือ้ งจะต้องเกลีย่ ให้เรียบและกว้างพอทีจ่ ะปูกระเบือ้ งแต่ละครัง้ ความหนาของ
ปูนประมาณ 1 เซนติเมตร ห้ามใช้ปนู ทีผ่ สมไว้นานเกินกว่า 1 ชัวโมง ่
8.2.3 แช่กระเบือ้ งทีจ่ ะปูในนํ้าสะอาด
8.2.4 เมื่อบุกระเบือ้ งแล้ว ต้องทําความสะอาดคราบปูนทีผ่ วิ กระเบือ้ งทันที อย่าปล่อยทิง้ ไว้จนแห้ง
8.2.5 การบุ ต้องบุให้ได้แนว ได้ระดับ และได้ดงิ่
8.2.6 การตัดกระเบือ้ ง ต้องตัดด้วยเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสม ขอบทีข่ รุขระให้ขดั จนเรียบ
8.2.7 จบขอบมุมและแนวกระเบือ้ งด้วย PVC ย
8.2.8 กระเบือ้ งดินเผาไม่เคลือบ ถ้ารูปแบบและรายการไม่กาํ หนดการเคลือบผิวให้เคลือบสารกันตะไคร่น้ํา
และเชือ้ รา

9. ผนังบุกระเบือ้ งดินเผาชนิดผิวแกร่ง
9.1 วัสดุทใ่ี ช้
9.1.1 ใช้กระเบือ้ งเซรามิคชนิดไม่เคลือบ และเป็ นกระเบือ้ งเนื้อเดียวกัน โดยผ่านการเผาทีอ่ ุณหภูมไม่ต่าํ
กว่า 1250°C โดยผ่านการตรวจสอบมาตรฐานจาก ASTM หรือ EN87 ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษทั เคนไซ ซีรามิคส์ อินดัสต
รี้ จํากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า (สีและลายเลือกภายหลังโดยผูอ้ อกแบบ)
9.1.2 ซีเมนต์กาวสําเร็จรูปสามารถนํามาใช้เทียบเท่าได้ เช่น ตราจรเข้ ตราตุ๊กแก เป็ นต้น
9.2 การติดตัง้
9.2.1 ตีเส้นตามลวดลายทีเ่ ลือกไว้
9.2.2 นํากระเบือ้ งแช่ในนํ้าสะอาดก่อนการใช้งาน
9.2.3 นําซีเมนต์กาวผสมนํ้า
9.2.4 ราดนํ้าบริเวณทีจ่ ะบุกระเบือ้ งให้ชุ่ม เพื่อให้กระเบือ้ งยึดเกาะได้ดยี งิ่ ขึน้
9.2.5 ตักซีเมนต์กาวทีผ่ สมไว้ป้ายด้านหลังของกระเบือ้ ง แล้วบุตามขัน้ ตอนของลวดลายทีเ่ ลือกไว้
9.2.6 ใช้แปรงไม้กวาดชุบนํ้าล้างเศษปูนทีต่ ดิ ผิวหน้าออกให้หมด แล้วเช็ดทําความสะอาดด้วยฟองนํ้าอีก
ครัง้
9.2.7 จบขอบมุมและแนวกระเบือ้ งด้วย PVC ย

10. ผนังไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด (ปราศจากใยหิน)


10.1 รายละเอียดวัสดุ
(1) ทนต่อการลามไฟ ตามมาตรฐาน BS 476
(2) ทนนํ้า ทนชืน้ ทนแดด/ฝน ปลวกไม่กนิ ไม่เปื่ อยยุย่ โก่ง บวม หรือยืดหดตัว ตามมาตรฐาน JIS A5420
(3) ทนทานต่อการรับแรงกระแทก มีความเหนียว ดัดโค้งได้ ตามมาตรฐาน ASTM C1185
(4) ป้องกันความร้อนได้ดี ตามมาตรฐาน ASTM C117
(5) ความหนา 8, 10, 12 มม. การเลือกใช้ควรพิจาณาเลือกความหนาของแผ่นตามความสูงของอาคารและแรงลมที่
กระทํากับผนังอาคาร
(6) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ตราช้าง (สมาร์ดบอร์ด) หรือตราต้นไม้ (แฟลกซีบ่ อร์ด) หรือตรา ROCK WOOD หรือเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 180 of 521

10.2 โครงเคร่า
โครงเคร่าเหล็ก ขนาด 2”x4” หนา 2.3 มิลลิเมตร @ 0.60 เมตร ชุบสีกนั สนิมทัง้ ภายนอกและภายในและทาทับหน้า
ด้วยสีน้ํามัน หรือตามรูปแบบระบุ โดยผูร้ บั จ้างต้องเสนอ SHOP DRAWING รายละเอียดการติดตัง้ ให้สถาปนิกพิจารณา
อนุมตั กิ ่อนการติดตัง้
10.3 การติดตัง้
(1) การติดตัง้ โครงเคร่า ให้วางโครงตามแนวนอนทัง้ ด้านบนและด้านล่าง แล้วจึงวางระยะโครงในแนวตัง้ โดยกําหนด
ระยะห่างที่ 60 เซนติเมตร สําหรับผนังทาสี และ 40 เซนติเมตร สําหรับผนังติดกระเบือ้ ง หรืออาจจะมากน้อยกว่า
ั ยด้านแรงลมทีม่ ากระทําเป็ นหลัก ความหนาของไฟเบอร์
นัน้ ขึน้ อยู่กบั วิศวกรโครงการเป็นผูอ้ อกแบบ ซึง่ ขึน้ กับปจจั
ซีเมนต์แนะนําให้ใช้ความหนาตัง้ แต่ 10 มิลลิเมตรขึน้ ไป โดยระยะห่างของตะปูเกลียว คือ 20 เซนติเมตร รอยต่อให้
ทําการติดตัง้ แบบเว้นร่องยาแนวด้วยโพลียลู เี ทน
(2) ผนังทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน ได้ฉากกับพืน้ ผนังห้อง และจะต้องทําความสะอาดให้
เรียบร้อย

11. ผนังก่อบล็อกแก้ว (GLASS BLOCK)


11.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบผนังก่อบล็อกแก้ว ตามทีร่ ะบุในแบบหรือรายการประกอบแบบก่อสร้าง
รวมถึงการจัดหาแรงงานในการก่อติดตัง้ ให้ได้มาตรฐานเรียบร้อยจนแล้วเสร็จใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มี
ข้อบกพร่องรวมทัง้ ปกป้องดูแลให้อยู่ในสภาพเดิมจนกว่าจะส่งงานงวดสุดท้าย
11.2 วัสดุ
11.2.1 หากแบบไม่ได้ระบุขนาดเป็ นอย่างอื่น ให้ใช้ขนาดประมาณ 0.19 x 0.19 เมตร ความหนาไม่น้อยกว่า
80 มิลลิเมตร
11.2.2 หากแบบมิได้ระบุเป็ นอย่างอื่นให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตในประเทศ เช่น ตราช้างแก้ว หรือ BG หรือ
เทียบเท่าโดยสถาปนิกจะกําหนดลายขณะก่อสร้าง
11.2.3 ปูนก่อให้ใช้อตั ราส่วนผสมซีเมนต์ 2 ส่วน ปูนขาว 1 ส่วน ต่อทราย 8 ส่วน
11.3 การติดตัง้
11.3.1 ต้องก่อบล็อกแก้วให้ได้ดงิ่ ได้ฉากระยะห่างระหว่างก้อนต้องไม่มากกว่า 10 มิลลิเมตร และเท่ากัน
ตลอดทุกแนว
11.3.2 ปูนก่อจะต้องไม่เลอะบล็อกแก้ว เมื่อก่อเสร็จจะต้องเช็ดรอยเปรอะเปื้ อนออกทันที
11.3.3 ปูนก่อจะต้องเรียบเสมอผิวหน้าบล็อกแก้ว ไม่ลน้ นูนลํ้าออกมากหรือหลุบเป็ นร่องลงไป
11.3.4 ตําแหน่งทีบ่ ล็อกแก้วชนข้างเสาหรือท้องคานจะต้องมีเหล็กสอดระหว่างก้อนทีไ่ ด้เตรียมเสียบใน
คอนกรีตเสา ขณะก่อสร้าง โดยใช้เหล็กเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 6 มิลลิเมตร ยื่นโผล่ออกมาไม่น้อยกว่า 0.20 เมตร และฝงั
อยู่ในคอนกรีตไม่น้อยกว่า 0.10 เมตร ให้มเี หล็กนี้ทุกระยะ 2 ก้อนของบล็อกแก้ว โดยตําแหน่งของเหล็กต้องได้ระดับพอดี
ระหว่างก้อน ห้ามดัดงอเหล็กเป็ นอันขาด
11.3.5 ให้ยาแนวรอยต่อบล็อกแก้วด้วยซีเมนต์ขาวผสมนํ้ายากันซึม
11.4 ตัวอย่าง
ให้ผรู้ บั จ้างจัดหาวัสดุตวั อย่างบล็อกลายต่างๆ เพื่อเสนอให้สถาปนิกเลือกลายก่อน โดยให้เสนอพร้อมเอกสารประกอบวัสดุ
เมื่อสถาปนิกกําหนดเลือกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรแล้วจึงจะดําเนินการได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 181 of 521

12. ผนังบุหนิ ธรรมชาติ


12.1 ขอบเขตของงาน
12.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ ี ในการติดตัง้ งานผนังบุหนิ ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมมีวสั ดุป้องกันความเสียหาย
12.1.2 วัสดุทน่ี ํามาใช้ตอ้ งเป็ นวัสดุใหม่ทไ่ี ด้มาตรฐานของผูผ้ ลิตและคัดพิเศษ ปราศจากรอยร้าวหรือตําหนิ
ใดๆ ไม่บดิ งอ ขนาดเท่ากันทุกแผ่น
12.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการวัดและตรวจสอบสถานทีจ่ ริงบริเวณทีจ่ ะติดตัง้ แผ่นหินก่อน เพื่อความถูกต้อง
ของขนาดและระยะตามความเป็นจริง
12.1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูค้ าํ นวณ ออกแบบ การใช้ขอยึดต่างๆ ความหนาแผ่นหินทีใ่ ช้ ตําแหน่ งและ
จํานวนขอยึดสําหรับยึดติดแผ่นหิน การบากแผ่น เจาะรูแผ่น และอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ น พร้อมการตรวจสอบผนังของอาคารให้
แข็งแรงพอสําหรับการติดตัง้ ผนังหินให้มนคงแข็ ั่ งแรงและปลอดภัย
12.1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างหินตามชนิด สี และลายทีก่ าํ หนด ขนาดเท่ากับวัสดุทจ่ี ะใช้จริงไม่น้อย
กว่า 2 ตัวอย่าง ให้ผคู้ วบคุมงาน และ/หรือผูอ้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงตัวอย่างการติดตัง้
และอุปกรณ์ประกอบทีจ่ าํ เป็ น เช่น ขอยึดแผ่นหินบุผนัง ขอบคิว้ การเข้ามุม การบาก เป็ นต้น
12.1.6 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ ดังนี้
(1) แบบแปลน รูปด้าน รูปตัด ของงานผนังบุหนิ ลายหรือรอยต่อของแผ่นหินและเศษของแผ่นหินทุกส่วน ระบุสขี องหิน
แต่ละสีแต่ละชนิดให้ชดั เจน
(2) แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ Flashing แนวบรรจบของวัสดุใกล้เคียง ตําแหน่ง และการยึดอุปกรณ์
ประกอบในการติดตัง้
(3) แบบขยายอื่นทีเ่ กีย่ วข้องหรือจําเป็ น เช่น ตําแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบทีเ่ กีย่ วข้อง ช่องซ่อมบํารุง การระบายนํ้า
เป็ นต้น
12.1.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องทําระบบกันซึมผนังทีร่ ะบุให้ทาํ ระบบกันซึม ก่อนการฉาบปูนรองพืน้ ผนัง แล้วจึงทํา
การติดตัง้ หิน
12.1.8 ผนังบุหนิ ภายในทุกระยะไม่เกิน 4.00x4.00 เมตร จะต้องเว้นร่องอย่างน้อย 3 มิลลิเมตร แล้วยาแนว
ด้วยซิลโิ คน เพื่อการขยายตัวของแผ่นหิน
12.1.9 ผนังบุหนิ ภายนอกทุกแผ่น หรือทุกระยะไม่เกิน 1.00x1.00 เมตร จะต้องเว้นร่องอย่างน้อย 3
มิลลิเมตรแล้วยาแนวด้วยซิลโิ คน เพื่อการขยายตัวของแผ่นหิน
12.1.10 ผนังบุหนิ ทัง้ ภายนอกและภายในทีส่ งู เกินกว่า 2.50 เมตร จะต้องเป็ นผนังทีแ่ ข็งแรงพอทีจ่ ะรับ
นํ้าหนัก และจะต้องติดตัง้ แผ่นหินด้วยวิธใี ช้ขอยึดแสตนเลส หรือเทียบเท่า
12.1.11 ในกรณีทม่ี บี วั เชิงผนังทีเ่ ป็ นหินแกรนิตหรือหินอ่อน ให้ทาํ มุมมนและขัดผิวมันทีม่ ุมบน ความหนา
หรือสันของแผ่นทีม่ องเห็น เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วจะต้องได้รบั การขัดผิวมันเช่นเดียวกับผิวหน้าแผ่นหิน
12.2 วัสดุ
วัสดุทน่ี ํามาใช้งานต้องเป็ นวัสดุใหม่ ปราศจากการแตกร้าว หรือตําหนิใดๆ ชนิด ขนาด ความหนา ลวดลาย สีและแบบ
ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดให้
12.2.1 หิน
(1) หินอ่อน หินแกรนิต หมายถึง หินทัง้ ภายในประเทศและภายนอกประเทศ ผนังทีส่ งู น้อยกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้ความ
หนาไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร ในกรณีทผ่ี นังสูงกว่า 5.00 เมตร ให้ใช้กรรมวิธกี ารบุผนังแบบ DRY PROCESS

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 182 of 521

ความหนาของหินไม่น้อยกว่า 40 มิลลิเมตร ขนาดความกว้าง ความยาวตามทีร่ ะบุในแบบก่อสร้างขนาดสี ลวดลาย


ต่างๆ ต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้
(2) หินทรายธรรมชาติขนาด 300x600x25 มิลลิเมตร หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบก่อสร้าง
(3) หินสังเคราะห์หรือหินเทียม
12.2.2 ความขัดมันของผิวหิน ต้องมีความมันทีไ่ ด้รบั การขัดด้วยเครื่องมือทีไ่ ด้รบั มาตรฐานสากลอันเป็ นที่
ยอมรับ
(1) หินผลิตภายในประเทศต้องวัดได้ 80-90 ตามมาตรฐานสากล
(2) หินผลิตภายนอกประเทศต้องวัดได้ 90-95 ตามมาตรฐานสากล
12.2.3 ปูนซีเมนต์
(1) ปูนซีเมนต์ (CEMENT) สําหรับปรับระดับและเตรียมผิวใช้ปนู ซีเมนต์ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.80-2550 ต้อง
เป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวจับกันเป็ นก้อน
(2) ซีเมนต์ขาว (WHITE CEMENT) ตามมาตรฐาน มอก.133-2518 ต้องเป็ นปูนใหม่ไม่จบั ตัวกันเป็นก้อนแข็ง
12.2.4 ปูนขาว (LIME) เป็ นปูนขาวทีม่ ขี ายในท้องตลาด โดยเป็ นประเภท HYDRATED LIME โดยมี
ส่วนผสมโดยรวมของ UNHYDRATED CALCIUM OXIDE (CaO) และ MAGNESIUM OXIDE (MgO) ไม่เกินกว่า 8%
โดยนํ้าหนักต้องเป็ นปูนใหม่ไม่รวมตัวกันเป็ นก้อนแข็ง
12.2.5 ทราย เป็ นทรายนํ้าจืดปราศจากสิง่ เจือปนในปริมาณทีจ่ ะทําให้เสียความแข็งแรง
12.2.6 นํ้าทีใ่ ช้ผสมปูนก่อ ต้องเป็ นนํ้าจืดทีป่ ราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่างและสารอินทรียต์ ่างๆ
ในปริมาณทีจ่ ะทําให้ปนู ก่อเสียความแข็งแรง
12.2.7 กาวซีเมนต์
12.2.8 โครงเคร่าโลหะและอุปกรณ์รบั นํ้าหนักในระบบ DRY PROCESS
โครงเคร่าโลหะและอุปกรณ์รบั นํ้าหนักทีใ่ ช้งานบุผนังหนังระบบ DRY PROCESS จะต้องเป็ นชนิดชุบสังกะสี แบบจุม่ ร้อน
(HOT DIP GALVANIZED) ทุกชิน้ ผูร้ บั จ้างมีหน้าทีต่ อ้ งทําแบบรายระเอียดการติดตัง้ และคํานวณความสามารถในการรับ
นํ้าหนักของโครงผนัง และจะต้องแจ้งล่วงหน้าก่อนการดําเนินทุกครัง้
12.2.9 การยาแนว (GROUT)
การยาแนวในระบบ DRY PROCESS ให้ใช้วสั ดุยาแนวเป็ น NEUTRAL CURED SILICONE เท่านัน้ โดยจะต้องอุดร่อง
ด้วย POLYETHYRENE FOAM BACKING ROD ก่อนกรรมวิธกี ารทํางานให้เป็ นไปตามทีร่ ะบุในหมวดวัสดุยาแนวทุก
ประการ
12.2.10 นํ้ายาเคลือบผิวหิน ต้องใช้พ่นเคลือบหลังของหินก่อนการติดตัง้ ทัง้ นี้น้ํายาทีใ่ ช้ตอ้ งมีคณ
ุ สมบัติ ดังนี้
(1) ต้องได้รบั การทดสอบตามมาตรฐานของสหรัฐอเมริกา (ASTM) หรือมาตรฐานสากลอันเป็ นทีเ่ ชือ่ ถือและยอมรับจาก
ผูอ้ อกแบบ
(2) การดูดซึมนํ้า การอมนํ้า และการต้านทานซัลเฟต ต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C-67
(3) การเปลีย่ นแปลงอุณหภูมติ อ้ งได้รบั มาตรฐาน ASTM C-666
(4) การยึดเกาะ การป้องกันฝุน่ และการเสือ่ มสภาพ ต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM G23-69 ASTM E42-65
(5) ป้องกันการซึมของนํ้า นํ้ามัน และกรดต่างๆ
(6) ป้องกันการเกิดรอยด่างในเนื้อหิน และเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กบั ผิวหน้าของหิน
(7) ต้องไม่ทาํ ให้สขี องหินเปลีย่ นแปลง และไม่เป็ นฟิลม์ อยู่บนผิวหน้าของหิน
(8) ป้องกันการเกิดเชือ้ รา และตะไคร้น้ํา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 183 of 521

12.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิด ขนาดเท่ากับวัสดุทจ่ี ะใช้จริงไม่น้อยว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้
ผูอ้ อกแบบเห็นชอบก่อนจึงจะนําไปใช้งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย เช่น ขอบ
คิว้ หรือมุมต่างๆ เป็ นต้น รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE SPECIFICATION)
12.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ดีมคี วามชํานาญในการปู โดยปูตามแนวราบ แนวตัง้ และแนวนอน จะต้องได้ฉากแนว
ระดับสมํ่าเสมอ หรือลวดลายตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดให้ดว้ ยความปราณีตเรียบร้อย ทัง้ นัน้ จะมีการเคลื่อนได้ไม่เกิน 1
มิลลิเมตร ก่อนการติดตัง้ ต้องทําการเรียงแผ่นหินให้ผอู้ อกแบบ หรือผูค้ วบคุมงานพิจารณาเห็นชอบก่อนการดําเนินการ
ติดตัง้
12.4.1 การเตรียมผิว
(1) ทําความสะอาดผิวทีจ่ ะบุหนิ ให้ปราศจากฝุน่ ผง คราบไขมัน เศษปูน หรือสิง่ สกปรกอื่นใด แล้วล้างทําความสะอาด
ด้วยนํ้า
(2) ฉาบปูนรองพืน้ สําหรับผนัง ให้ได้ระดับและความเอียงลาดตามต้องการ ได้ดงิ่ ได้ฉาก ได้แนว เพือ่ ให้ได้ผวิ ผนังที่
เรียบและแข็งแรงก่อนการบุหนิ
(3) หลังจากฉาบปูนรองพืน้ ผนังแล้ว 24 ชัวโมง ่ ให้ทาํ การบ่มตลอด 3 วัน ทิง้ ไว้ให้แห้ง แล้วจึงเริม่ ดําเนินการบุหนิ ได้
(4) การเตรียมแผ่นหิน จะต้องจัดเรียงแผ่นหินทีจ่ ะใช้ในบริเวณใกล้เคียงกัน เพื่อเฉลีย่ สีและลายของหินให้สมํ่าเสมอกัน
ทัวทั
่ ง้ พืน้ ทีท่ จ่ี ะบุหนิ ให้ผคู้ วบคุมงาน และ/หรือผูอ้ อกแบบพิจารณาอนุมตั ติ ําแหน่งการวางแผ่นหินแต่ละแผ่น และ
คัดเลือกหินแต่ละแผ่นก่อนการติดตัง้
(5) ก่อนดําเนินการบุหนิ จะต้องทานํ้ายาเคลือบใสป้องกันความชืน้ ทีด่ า้ นหลังและด้านข้างของแผ่นหิน รวม 5 ด้าน โดย
ยกเว้นด้านหน้าของแผ่นหิน สําหรับหน้าหินทีท่ าํ ผิวขัดมัน และทาทัง้ 6 ด้าน โดยทาทีด่ า้ นหน้าของแผ่นหินด้วย
สําหรับหน้าหินทีท่ าํ ผิวด้าน พ่นทราย เปา่ ไฟ สกัดหยาบ หรือผิวอื่นใดนอกเหนือจากผิวขัดมัน โดยทาอย่างน้อยด้าน
ละ 2 เทีย่ ว และทิง้ ไว้ให้แห้งก่อนนําไปติดตัง้
12.4.2 การบุหนิ
(1) ทําการวางแนวของแผ่นหิน กําหนดจํานวนและเศษแผ่นตาม Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ แนวหินทัวไปให้ ่ ชดิ กัน
ให้มากทีส่ ดุ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
(2) เศษของแผ่นหินจะต้องเหลือเท่ากันทัง้ สองด้าน แนวรอยต่อหินของพืน้ กับผนังจะต้องตรงกัน หรือตาม Shop
Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ การเข้ามุมหินหากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้วธิ เี จียรขอบ 45 องศา ประกบเข้ามุม ให้เห็นความ
หนาของแผ่นหินทีป่ ระกบกันทัง้ 2 แผ่น ด้านละประมาณ 5 มิลลิเมตร
(3) การตัดแต่งหินในแนวตรง แนวโค้ง ต้องตัดด้วยเครื่องมือมาตรฐานและคมเป็ นพิเศษ การเจาะหินเพื่อใส่อุปกรณ์
ต่างๆ รอยเจาะต้องมีขนาดตามต้องการ หินทีต่ ดั แต่งแล้วต้องไม่บดิ เบีย้ ว แตกบิน่ มีขนาดตามต้องการและต้อง
ตกแต่งขอบให้เรียบร้อยก่อนนําไปติดตัง้
(4) CONTROL JOINT (ในกรณีการบุดว้ ยกาวซีเมนต์)
- การบุชดิ สําหรับงานภายใน ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 4-6
เมตร
- การบุห่างสําหรับงานภายใน ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 6-10
เมตร
- การบุชดิ สําหรับงานภายนอก ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 2-3
เมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 184 of 521

- การบุห่างสําหรับงานภายนอก ให้มี CONTROL JOINT ทุกระยะห่างกันประมาณ 4-5


เมตร
(5) ทําความสะอาดพืน้ ผิว แล้วพรมนํ้าให้เปี ยกโดยทัว่ ใช้เกรียงฉาบกาวซีเมนต์ ทีใ่ ช้สาํ หรับยึดติดแผ่นหิน ด้วยการโบก
ให้ทวพื
ั ่ น้ ทีท่ จ่ี ะบุหนิ แล้วขูดให้เป็ นรอยทาง ให้ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตกาวซีเมนต์ โดยได้รบั ความเห็นชอบ
จากผูค้ วบคุมงานก่อน
(6) ติดตัง้ และกดแผ่นหินตามแนวทีว่ างให้แน่นไม่เป็ นโพรงภายในเวลาทีก่ าํ หนดของกาวซีเมนต์ทใ่ี ช้ในกรณีท่ี
เป็ นโพรง หรือไม่แน่น หรือไม่แข็งแรง จะต้องรือ้ ออกและทําการติดตัง้ ใหม่
(7) หลังจากบุหนิ แล้วเสร็จ ทิง้ ให้หนิ ไม่ถูกกระทบกระเทือนเป็ นเวลาอย่างน้อย 48 ชัวโมง ่ แล้วจึงยาแนวรอยต่อด้วยวัสดุ
ยาแนว โดยใช้สที ใ่ี กล้เคียงหรืออ่อนกว่าสีหนิ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
(8) การยาแนว ขนาดความกว้างต้องให้มขี นาดเดียวกันและสมํ่าเสมอกันตลอดแนว มีความประณีตเรียบร้อย สีของ
กาวยาแนวต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนติดตัง้
(9) เช็ดวัสดุยาแนวส่วนเกินออกจากแผ่นหินด้วยฟองนํ้าชุบนํ้าหมาดๆ ก่อนทีว่ สั ดุยาแนวจะแห้ง ให้ร่องและผิวของหิน
สะอาด ปล่อยทิง้ ไว้ประมาณ 2 ชัวโมง ่ จึงทําความสะอาดด้วยผ้าสะอาดชุบนํ้า หมาดๆ ทิง้ ให้วสั ดุยาแนวแห้งสนิท
(10) นํายาเคลือบผิว ต้องได้รบั การเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งาน และต้องปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิต
โดยเคร่งครัด เช่น
- ทําความสะอาดพืน้ ผิวของหินทีจ่ ะทําให้สะอาด แห้ง ปราศจากฝุน่ ละออง และคราบ
ไขมันก่อนการใช้
- ห้ามใช้ภาชนะใส่น้ํายาทีเ่ ป็ นทองแดง สังกะสี ดีบุก และอลูมเิ นียม
- ให้ใช้น้ํายาเคลือบผิว ก่อนการติดตัง้ โดยทาทีด่ า้ นหน้า ด้านหลัง และขอบทัง้ 4 ด้าน
12.4.3 การบุหนิ ด้วยขอยึด ให้ปฏิบตั ติ ามวิธกี าร ขัน้ ตอน และ Shop Drawing ทีไ่ ด้รบั อนุมตั ิ
12.4.4 การเตรียมพืน้ ทีผ่ วิ และการติดตัง้ ในระบบ DRY PROCESS
(1) ปรับผนังให้เรียบร้อย และได้ระดับทีต่ อ้ งการ ทําความสะอาดผนัง แล้วทิง้ ไว้ให้แห้งปราศจากคราบนํ้ามัน ฝุน่ กาว
กรด ด่าง และสิง่ สกปรกต่างๆ
(2) วางแนวระดับทีจ่ ะใช้ในการติดตัง้ โครงเคร่า
(3) ติดตัง้ โครงเคร่าโลหะและอุปกรณ์ยดึ ติดทุกชิน้ ให้แน่นหนา มันคง ่ กับโครงสร้าง
(4) วางหินให้ได้แนวตามทีต่ อ้ งการ แล้วใช้กาวยึดกับโครงเคร่าตามมาตรฐานการติดตัง้ โดยห้ามปรับแต่งแนว จัดระดับ
อีกหลังจากติดตัง้ แล้ว 10-15 นาที

12.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ ผิวของวัสดุตอ้ งปราศจากรอยแตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด
หรือมีตําหนิ หลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน
(1) ทําความผิวหินด้วยฟองนํ้า ผ้า และนํ้า ก่อนทีป่ นู จะแห้งภายใน 1 ชัวโมงหลั
่ งจากการติดตัง้ และทําความสะอาด
รอยต่องระหว่างแผ่นให้สะอาดไม่มรี อยคราบเปื้ อนใดๆ ก่อนส่งมอบ
(2) การขัดเคลือบผิว ให้ทาํ ความสะอาดอีกครัง้ หนึ่งด้วยนํ้าสบู่ หรือนํ้ายาทําความสะอาด และชําระด้วยนํ้าเปล่า เช็ดให้
แห้งด้วยผ้านุ่มสะอาด หลังจากนัน้ เคลือบผิวด้วยนํ้ายาเคลือบเงา
(3) ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้งานผนังบุหนิ สกปรกหรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 185 of 521

12.6 การป้องกันแผ่นหิน
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องเก็บกองโดยไม่ให้มนี ้ําหนักกดทับลงบนแผ่นหิน โดยการวางแผ่นหินเรียงกันตามแนวตัง้ มีกระสอบ
หรือหมอนไม้รองรับ และทีเ่ ก็บกองจะต้องไม่มคี วามชืน้
(2) พืน้ ทีบ่ ุหนิ แล้วเสร็จ ห้ามมีการเดินผ่านหรือบรรทุกนํ้าหนัก หากจําเป็ นจะต้องมีการสัญจร จะต้องมีการป้องกันผิว
หินมิให้เป็ นรอยหรือเสียหาย ในกรณีทผ่ี วิ หน้าหินเกิดริว้ รอยขูดขีดปรากฏให้เห็น หรือแผ่นหินไม่เรียบ ไม่สมํ่าเสมอ
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการแก้ไขตามกรรมวิธกี ารขัดผิวมันของแผ่นหิน หรือเปลีย่ นให้ใหม่ และให้ได้สขี องแผ่นหินที่
สมํ่าเสมอกันทัวทั ่ ง้ บริเวณ โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง

12.7 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ หากเกิดความเสียหายอันเนื่องจากการติดตัง้ และผิวของ
วัสดุ เกิดรอยร้าว แตกบิน่ ขูดขีด หรือหลุดล่อน ผูร้ บั จ้างจะต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของ
ผูอ้ อกแบบ และ/หรือผูค้ วบคุมงาน โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

13. ผนังเลื่อนกัน้ ห้องประชุม


13.1 ขอบเขตของงาน
งานในส่วนนี้ประกอบด้วยการจัดหาวัสดุบาน รางเลื่อน และอุปกรณ์ประกอบ รวมถึงติดตัง้ ผนังให้เสร็จเรียบร้อยใช้
งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนทําความสะอาดดูแลรักษาปกป้องให้อยู่ในสภาพดีจนส่งงานงวดสุดท้าย
13.2 วัสดุ
13.2.1 ประสิทธิภาพการกันเสียง
มีประสิทธิภาพการกันเสียงได้ไม่ต่ํากว่า 47 STC โดยมีผลทดสอบรับรองการทดสอบผลิตภัณฑ์จากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
13.2.2 ลักษณะทัวไป

เป็ นบานผนังเดีย่ ว (ขนาดและจํานวนตามแบบ) แขวนอยู่บนราง สามารถเลื่อนจากส่วนเก็บมาเรียงต่อประกบกันจน
สนิทเป็ นผนังทึบ ซึง่ แต่ละบานมีอุปกรณ์ลอ็ คทีพ่ น้ื โดยไม่ตอ้ งมีรางทีพ่ น้ื
13.2.3 ระบบราง
รางตรงผลิตจากอลูมเิ นียม 6063 T-5 (HEAVY DUTY TRACK) ความหนาไม่น้อยกว่า 4 มม. เพื่อความสะดวก
คล่องตัวในการใช้งาน ลูกล้อเป็ น HEAVY STEEL TROLLEY ไม่มสี ว่ นประกอบของพลาสติกหรือไนล่อน (1 ชุด
ประกอบด้วย 4 ล้อ) แต่ละบานประกอบด้วยลูกล้อ 2 ชุด ลูกล้อทําจากเหล็กชุบแข็ง พร้อมผลทดสอบการรับนํ้าหนักจาก
สถาบันกลางทีเ่ ชื่อถือได้ กรณีความสูงไม่เกิน 5 เมตร รางต้องรับนํ้าหนักในช่วง 60-70 ซม. ได้ไม่ต่ํากว่า 500 กก. โดยราง
ยังไม่หกั ขาด และล้อเลื่อน 1 ชุด ต้องรับนํ้าหนักได้ไม่ต่าํ กว่า 500 กก. รางเลีย้ วเก็บเป็ นรางเลีย้ วโค้งเพื่อความสะดวกใน
การใช้งาน ผลิตจากเหล็กกล้า
13.2.4 วัสดุประกอบบาน
ตัวบานเป็ นเหล็กเคลือบกัลวาไนซ์ (GALVANIZED SLEEL SHEET) ความหนาไม่ต่ํากว่า 1.4 มม. ยาวตลอด
ความสูงของบานผนังโดยไม่มรี อยต่อ ปิ ดทับผิวหน้าด้วยลามิเนตลายไม้ ด้านในเสริมแผ่นลดความถี่ (DAMPING
MATERIAL) ด้านในภายในบรรจุวสั ดุเก็บเสียงความหนาแน่นไม่ต่ํากว่า 60 กก./ลบม. บานมีความหนาไม่ต่ํากว่า 76 มม.
สามารถซ่อมแซมกลไกภายในได้โดยไม่ตอ้ งเปิ ดผิวบานออก
13.2.5 โครงสร้างผนัง
ภายในผนังมีโครงสร้างเป็ นเหล็กชุบกันสนิม ปราศจากสารปรอท มีขอบอลูมเิ นียมโดยรอบ 4 ด้าน ขอบอลูมเิ นียม
หนาไม่ต่าํ กว่า 3 มม. เพื่อป้องกันการกระแทกขณะเข็นบาน และสะดวกแก่การตกแต่งผิว กลไกภายในเป็ นชนิดขยายตัว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 186 of 521

ลิน้ กันเสียงชนิดยืดได้ทงั ้ ด้านบนและด้านล่างของบาน


13.2.6 แกนแขวนล้อ
ทําจากเหล็กเชื่อมกับฐานยึดเหล็กกล้า มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่ต่ํากว่า 3/4 นิ้ว และมีผลทดสอบการรับนํ้าหนักจาก
สถาบันกลางทีเ่ ชื่อถือได้วา่ รับนํ้าหนักได้
13.2.7 มาตรฐานผลิตภัณฑ์
เป็ นสินค้าไทยทีผ่ ลิตในประเทศไทย โดยโรงงานผูผ้ ลิตทีไ่ ด้มาตรฐาน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ADR, MULTIWALL,
MAXPARETE หรือเทียบเท่า
13.3 การติดตัง้
13.3.1 การติดตัง้ จะต้องกระทําโดยช่างผูช้ าํ นาญของบริษทั ผูผ้ ลิต
13.3.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอแบบรายละเอียดการติดตัง้ แสดงการแบ่งระยะ ขนาดบาน รายละเอียดการ
ติดตัง้ รวมถึงรายละเอียดอื่นๆ (ถ้ามี) ให้ผอู้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนติดตัง้
13.4 ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างวัสดุบผุ วิ ให้ผอู้ อกแบบพิจารณาเลือกก่อนลงมือติดตัง้
14. งานผนังอินฟิลวอลล์
14.1 วัสดุทน่ี ํามาประกอบเป็ นผนังอินฟิลวอลล์ จะต้องมีขนาดตามระบุในแบบหรือรายการก่อสร้าง
 แผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์ทใ่ี ช้ตอ้ งผ่านเกณฑ์มาตราฐาน มอก.1427-2540 หรือ ASTM C1185 หรือ
AS/NZ 2908.2:2000 หรือ BS EN 12467:2000
 โครงเหล็กซี สตัด และ ยู แทรค จะต้องมีขนาดและความหนาตามทีร่ ะบุในแบบหรือรายการก่อสร้าง
และต้องผ่านเกณฑ์มาตราฐาน มอก.1228-2537 โดยมีความหนาขัน้ ตํ่า 0.50 มม.
 โฟมอีพเี อส หรือ โพลีเทอม ทีน่ ํามาใช้ผสมในซีเมนต์มอร์ตาร์ตอ้ งเป็ นเกรดชนิดไม่ลามไฟและผ่าน
มาตราฐาน ASTM D 1692-68 มีขนาดเฉลีย่ ระหว่าง 5 มม. และเมื่อผสมแล้วจะต้องแขวนลอยได้ใน
มอร์ตาร์
14.2 การประกอบโครงเหล็กและแผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์ ให้เป็ นไปตามแบบทีท่ างสถาปนิก วิศวกร ผูอ้ อกแบบ หรือ
เจ้าของงานระบุไว้
14.3 การผสมคอนกรีตมวลเบา หรือ ซีเมนต์มวลเบา หรือ วัสดุทใ่ี ช้ในการเติมลงในช่องว่างระหว่างผนัง ต้อง
ปฏิบตั ติ ามวิธขี องผูผ้ ลิตและผูร้ บั จ้างต้องเสนอตัวอย่าง ชนิด หรือ ยีห่ อ้ ของวัสดุทน่ี ํามาผสมเข้าด้วยกันให้
ผูว้ ่าจ้าง หรือ สถาปนิก วิศวกรผูอ้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนนํามาใช้
14.4 การเก็บรอยต่อระหว่างแผ่นเฌอร่าบอร์ด หรือรอยต่อโครงสร้าง เสา คานคอนกรีต ให้ใช้วสั ดุเก็บรอยต่อตาม
วิธขี องผูผ้ ลิตและผูร้ บั จ้างต้องเสนอตัวอย่าง ชนิด หรือ ยีห่ อ้ ของวัสดุทน่ี ํามาผสมเข้าด้วยกันให้ผวู้ ่าจ้าง หรือ
สถาปนิก วิศวกรผูอ้ อกแบบอนุมตั กิ ่อนนํามาใช้ โดยถ้าเป็ นงานระบบผนังภายใน หรือบริเวณแห้งให้ใช้ว สั ดุ
ฉาบเรียบเฌอร่า และถ้าเป็ นภายนอกหรือบริเวณเปี ยกชืน้ ให้ใช้วสั ดุซเี มนต์ฉาบเรียบเฌอร่า โดยใช้ควบคู่กบั
เทปตาข่ายไฟเบอร์ทุกกรณีเพื่อป้องกันรอยแยกของแผ่น

15. ผนังก่อคอนกรีตบล็อก กันความร้อน


15.1 วัสดุ คอนกรีตบล็อกกันความร้อน ทีใ่ ช้ มีคุณภาพ รูปร่างสมํ่าเสมอ โดยผลิตตามมาตรฐานอุตสาหกรรม
เลขที่ มอก. 58-2533 ขนาด 39 x 19 x 7 ซม. มีรกู ลวงกลมตรงกลางก้อนคอนกรีตเพื่อเพิม่ การยึดเกาะ
ระหว่างก้อน นํ้าหนักต่อก้อนไม่เกินก้อนละ 5.2 กิโลกรัม มีการตรวจวัดค่าสัมประสิทธิการนําความร้อนไม่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 187 of 521

เกิน 0.20 วัตต์ /เมตร.องศาเคลวิน ค่าการทนไฟตาม BS 476 Part 22:1987 ได้ 4 ชัวโมง ่ มีคา่ กันเสียง
STC 40 ตรา อีโค บล็อก , เอส จี ไอ , สิทธิบล็อก หรือเทียบเท่า
15.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ก้อนตัวอย่าง พร้อม แคทตาล๊อ
คสินค้า และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบและตรวจสอบความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะ
นําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียด
ประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
15.3 การติดตัง้ ก่อผนัง
15.3.1 ขัน้ ตอนการก่อผนัง คอนกรีตบล็อก กันความร้อน
(1) ทําความสะอาดบริเวณแนวทีจ่ ะทําการก่อผนัง กําหนดแนวดิง่ แนวระดับของการก่อ
(2) ผสมปูนก่อสําเร็จรูป ในสัดส่วน 1 ถุง( 50 กก.) ต่อ นํ้าสะอาดประมาณ 10-11 ลิตร ผสม
ั ่ นทีต่ ่อเข้ากับสว่านไฟฟ้า 2-3 นาที ให้เข้ากันเป็ นอย่างดี ควรผสม
ให้เข้ากันด้วยหัวปนปู
แค่พอใช้เท่านัน้ และควรใช้ให้หมดภายใน 2 ชม. ( ข้อแนะนําให้ใช้ปนู ก่อสําเร็จรูปเพราะ
สัดส่วนผสมมาตรฐานสมํ่าเสมอ อาจใช้ปนู ก่อผสมเองได้อตั ราส่วนต้องคงทีต่ าม
คําแนะนําผูผ้ ลิตปูนซิเมนต์)
(3) เริม่ การก่อชัน้ แรก โดยการใช้ปนู ก่อทําการปรับระดับพืน้ โดยให้มคี วามหนาของแนวปูน
ก่อประมาณ 2.5-3.0 ซม. การก่อผนังบนพืน้ ระบบ Post Tension ทีม่ โี อกาสแอ่นตัวได้ ถ้า
ความยาวผนังเกิน 3.5 เมตร ควรทํา คานคอนกรีตรองรับผนังขนาด 10 ซม.(เหมือนเสา
เอ็น/ทับหลัง)
(4) ก่อบล็อกชัน้ แรกโดยให้มปี นู ก่อระหว่างเสา ค.ส.ล.กับบล็อก และระหว่างก้อนบล็อก 1.0-
1.5 ซม. โดยใช้คอ้ นยางและระดับนํ้าปรับให้ได้ระดับตามแนวเอ็นทีค่ วบคุมทัง้ แนวดิง่ และ
แนวนอน
(5) ก่
. มี .-
1.5 ซ . ครื่องตัดไฟฟ้า

(6) ปาดปูนส่วนเกินออกจากผนังก่อนทีจ่ ะแข็งตัว


15.3.2 การก่อบล็อกทีต่ ดิ กับเสาโครงสร้างหรือเสาเอ็น ค.ส.ล.ให้ใส่เหล็ก ( Dowel) เส้นกลมขนาด 6
มม. ยาว 15 ซม. ทุก 2 ชัน้ บล็อกโดยให้เสียบอยูใ่ นแนวปูนก่อประมาณ 10 ซม. และฝงั ลึกใน
เสาโครงสร้าง คสล.ไม่น้อยกว่า 5 ซม.
15.3.3 หากพืน้ ทีข่ องผนังมีขนาดใหญ่เกินมาตรฐานทีก่ าํ หนดไว้ในตาราง จะต้องมีเสาเอ็น / ทับหลัง
ค.ส.ล.ขนาดประมาณ 10 ซม. โดยใช้เหล็กเส้นเสริม 2 เส้น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย
6 มม. และมีเหล็กปลอกขนาดเส้นผ่านศุนย์กลาง 6 มม. ทุกระยะ 20 ซม. ปลายของเหล็กเส้น
ั กลงในพืน้ หรือคานทีเ่ ป็ นโครงสร้างหลัก
จะต้องฝงลึ
15.3.4 การทําเสาเอ็น / ทับหลัง ค.ส.ล. เสริมความแข็งแรงให้พจิ ารณาความยาวและความสูงของผนัง
จากตาราง และมุมผนังทุกมุมควรทําเสาเอ็น ค.ส.ล.

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 188 of 521

ความสูงของผนัง ความยาวของผนังโดยไม่ต้องมีเสาเอ็น / ทับหลัง ค.ส.ล. (เมตร)


(เมตร) ความหนาของก้อนบล็อก
6.5 ซม. 7.0-7.5 ซม. 10 ซม. 14 ซม. 19 ซม.
2.50 3.8 4.2 6.3 9.0 10
2.75 3.5 3.7 6.0 8.5 10
3.00 _ 3.4 5.7 7.4 10
3.25 _ 3.0 4.9 6.75 10
3.50 _ 2.0 4.5 6.0 10
3.75 _ _ 3.5 5.6 10
4.00 _ _ 3.0 4.6 9.5
4.50 _ _ 1.5 3.25 9.0
5.00 _ _ _ 2.25 7.5
5.50 _ _ _ 2.0 6.0
6.00 _ _ _ _ 5.0

15.3.5 การยึดวงกบเข้ากับผนัง ต้องทําเสา/คานเอ็น ค.ส.ล. โดยรอบวงกบ


15.3.6 การก่อผนังชนท้องคานหรือท้องพืน้ ทุกแห่งต้องเว้นช่องไว้ประมาณ 2-3 ซม. แล้วอุดให้แน่นด้วยปูน
ก่อตลอดแนว และจะต้องยึดด้วยเหล็กเส้น 6 มม.ความยาวไม่น้อยกว่า 15 ซม.ทุกระยะไม่เกิน 120
ซม. ตลอดแนวผนัง ในกรณีทบ่ี ล็อกแถวบนสุดไม่เต็มความสูงของก้อนบล็อกอาจใช้การก่ออิฐมอญ
แทนเพื่อความสะดวกในการทํางาน สําหรับผนังทีก่ ่อสูงไม่ชนท้องคานหรือพืน้ ทุกแห่ง จะต้องทําทับ
หลัง ค.ส.ล.
15.3.7 การก่อผนังทีช่ นกับท้องพืน้ โครงสร้างอาคาร ซึง่ มีโอกาสแอ่นตัวลงมาได้ เช่น พืน้ ระบบ Post
Tension หรือโครงสร้างเหล็ก หรือ โครงสร้างสําเร็จรูป จะต้องเว้นช่องว่างทีส่ ว่ นบนไว้ประมาณ 2.5-
3.0 ซม. แล้วเสริมวัสดุทม่ี คี วามยืดหยุ่นตัว เช่น โฟม, แผ่นยาง หรือ Fiber Glass ปิ ดก่อนฉาบทับ
แล้วทําการเซาะร่องตามแนวรอยต่อและควรมีเหล็กแผ่นหรือเส้นกลมยึดประคองแนวผนังกับท้องพืน้
ทุกระยะประมาณ 120 ซม.
15.3.8 การฝงั ท่อสายไฟและท่อนํ้าในผนังสามารถใช้เครื่องตัดไฟฟ้า ตัดเป็ นร่องแนวลึก 2 แนวแล้วสกัดออก
ในกรณีทท่ี าํ การติดตัง้ ท่อร้อยสายไฟและท่อนํ้าไว้ก่อน ให้ก่อผนังห่างจากแนวท่อแต่ละด้านประมาณ
2 ซม. จากนัน้ อุดด้วยปูนก่อให้แน่นเต็มความหนาผนัง แล้วปิ ดทับด้วยลวดตาข่ายให้ขอบลวดตาข่าย
ทับอยู่บนแนวผนังอย่างน้อยข้างละ10 ซม. ตลอดแนวก่อนการฉาบปูนปิ ดผิว
15.3.9 กรณีมบี ล็อกทีแ่ ตกชํารุดให้อุดด้วยปูนก่อก่อนทําการฉาบ

15.4 วิธกี ารฝงั ท่องานระบบประปาและไฟฟ้า


(1) ทําแนวการวางท่อโดยการวัดขนาดความกว้างของแนวทีจ่ ะขูดเซาะร่องเผื่อฝงั ท่อโดยการใช้ดนิ สอขีดลงผนัง
(ตามรูป ก)
(2) ใช้เลื่อยวงเดือนหรือมอเตอร์เจียโดยใช้ใบตัดคอนกรีตตัดตามแนวเส้นทีไ่ ด้ทาํ ไว้ให้ลกึ พอดีกบั ขนาดท่อ(ตาม
รูป ข)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 189 of 521

(3) ใช้สวิ่ สกัดเนื้อบล็อกออกแล้วใช้เหล็กขูดเซาะร่องแต่งส่วนทีย่ งั ติดค้างออกให้หมด (ตามรูป ค และ ง )


(4) ฝงั ท่อเข้าไปในร่องทีไ่ ด้เตรียมไว้แล้วทําการยึดโดยการตอกตะปูจบั ยึด และปดั ฝุน่ ออกจากในร่องให้
หมดแล้วจึงอุดด้วยปูนทรายให้แน่นเต็มเสมอกับแนวก่อแล้วปิ ดด้วยตะแกรงเหล็กทับลงไปให้มขี นาด
ตะแกรงเหล็กยื่นออกไปจากแนวเซาะร่องไม่น้อยกว่าข้างละ 10 ซม. ก่อนฉาบ (ตามรูป)

ก ข ค) ง)
15.5 การติ ดตะแกรงเหล็ก
ตําแหน่งทีค่ วรติดตะแกรงเหล็ก คือ
(1) มุมวงกบประตูหน้าต่างโดยตัดตะแกรงขนาด 15x50 ซม. ติดให้ชดิ มุมวงกบ และติดทัง้ 2 ด้านของผนัง (ตามรูป
จ)
(2) แนวรอยต่อระหว่างผนังกับเสาหรอคาน ค.ส.ล. โดยใช้ตะแกรงขนาดกว้าง 15 ซม. ติดยาวตลอดแนวเสาหรือ
คาน ค.ส.ล. (ตามรูป จ)
(3) ตามแนวฝงั ท่องานระบบประปาและไฟฟ้าโดยควรให้ความกว้างคลุมเลยจากท่อไปอีกข้างละ 10 ซม. (ตามรูป ฉ)

( ตามรูป จ )

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 190 of 521

( ตามรูป ฉ)
15.6 ขัน้ ตอนการฉาบผนัง
(7) ใช้แปรงตีน้ําหรือไม้กวาดปาดและทําความสะอาดเศษผงทีต่ ดิ อยู่บนผนังให้หมด พรมนํ้าทีผ่ นังให้ชมุ่
พอประมาณเหมือนการเตรียมการฉาบผนังก่ออิฐมอญหรือผนังคอนกรีตบล็อกทัวไปแล้ ่ วทิง้ ให้ผนัง ดูดซับนํ้า
(ควรพรมนํ้าก่อน 1 คืนและก่อนการฉาบพรมนํ้าแต่พอสมครรอีกครัง้ จะได้ผวิ ปูนฉาบทีส่ มบูรณ์)
(8) ผสมปูนฉาบสําเร็จรูปกับนํ้าสะอาดในอัตราส่วน 3.5 : 1 โดยปริมาตร (ปูน 1 ถุง/50 กก.ใช้น้ํา 11 ลิตร) หรือ
ใช้ปนู ซิเมนต์ผสมทราย ในอัตราส่วน 1 : 3 โดยปริมาตร และใส่สารเคมีทช่ี ว่ ยการฉาบ ผสมให้เข้ากันด้วย
หัวปนปูั ่ นทีต่ ่อเข้ากับสว่านไฟฟ้า 2-3 นาที ให้เข้ากันเป็ นอย่างดี ควรผสมแค่พอใช้เท่านัน้ และควรใช้ให้หมด
ภายใน 2 ชม. 30 นาที
(9) ให้ทาํ การฉาบ 2 ชัน้ ชัน้ ละประมาณครึง่ หนึ่งของความหนาทัง้ หมด
(10) เมื่อฉาบชัน้ แรกแล้วให้ทง้ิ ไว้ให้หมาด แล้วฉาบชัน้ ทีส่ องต่อ จนได้ความหนาทีต่ อ้ งการ หลังจากนัน้ แต่งผิวให้
เรียบตามวิธปี กติ ปูนฉาบต้องหนาประมาณ 10 – 15 มม.
(11) การฉาบตามบริเวณมุมวงกบประตู, หน้าต่าง, รอยต่อเสา รวมถึงบริเวณทีม่ กี ารฝงั ท่อสายไฟหรือท่อนํ้า ให้
ติดลวดตาข่ายหรือตาข่ายพลาสติก ในผิวปูนฉาบ
(12) ควรพรมนํ้าบนผิวฉาบต่ออีก 1-2 วัน
(13) ปูนก่อและปูนฉาบสําเร็จรูปทีค่ วรใช้

ปูนสาเร็จรูป เคทีพี ทีพีไอ. สยามมอร์ต้า อิ นทรีย์

ปูนก่อสําเร็จรูป KTP-DM M 300 เสือคู่ อินทรียแ์ ม็กซ์


ปูนฉาบสําเร็จรูป KTP-MA-I M 200 เสือคู่ อินทรียแ์ ม็กซ์

16. ผนังบุแผ่นอะคูสติ กดูดซับเสียง โพลีเอสเตอร์ แพทเทิ รน์


16.1 วัสดุทใ่ี ช้ แผ่นอะคูสติกดูดซับเสียงโพลีเอสเตอร์ แพทเทิรน์ รุน่ Theatre ความหนา 9 มม. นํ้าหนักความ
หนาแน่นไม่น้อยกว่า 1.55 กิโลกรัม/ตร.ม. ขนาดแผ่นรวม 2420x1220มิลลิเมตร ผลิตจากเส้นใยไฟเบอร์โพ
ลีเอสเตอร์ ด้วยระบบกดอัดความร้อนสูง สีสาํ เร็จรูป สามารถทําร่องรายตามผูอ้ อกแบบกําหนด ตรา Cello
board , Daiken หรือ Valchromat

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 191 of 521

16.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด 20 ซม.x 20ซม. จํานวน 2 ชิน้ พร้อมแผ่นตัวอย่างสี แพทเท
เทิรน์ และแคทตาล๊อคสินค้า ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
16.3 การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้
ระดับและเส้นแนวตรงหรือลวดลายได้ฉากมีความประณีตเรียบร้อย มันคงแข็ ่ งแรง ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด
และกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ฯผูผ้ ลิตก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพือ่ ตรวจสอบ
บริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานติดตัง้
16.4 รูปแบบการติดตัง้ และวัสดุโครง ให้ดรู ายละเอียดตามแบบตกแต่งภายในประกอบ

17. คอนกรีตเสริมใยแก้ว GRC/GFRC (Glassfibre Reinforced Concrete)


17.1 วัสดุทใ่ี ช้ GRC (Glass fibre Reinforced Concrete) เป็ นส่วนผสมระหว่างซิเมนต์, ทราย, นํ้า และใยแก้ว
(AR glass fibres) (ALKALINE RESISTANCE)ของ (EM-FIL)โดยมีใยแก้วเป็ นส่วนผสมประมาณ 3-5%
โดยนํ้าหนัก Ar-Glass Fibre (Alkali-Resistant) เป็ นใยแก้วทีใ่ ช้เสริมกําลังแทนเหล็ก ทําให้สามารถรับแรง
ดัดและแรงดึงได้ -มีความหนาไม่น้อยกว่า 6 มม. เมื่อขึน้ รูปแล้ว ทําสีพ่นทราย TEXTURE ตามรูปแบบ
สถาปตั ยกรรม
วัสดุประกอบ
- ซิเมนต์ - Ordinary Portland Cement (OPC). ปอร์ตแลนด์ซเิ มนต์ TYPE 1
- กลาสไฟเบอร์ เป็ นใยแก้วทีใ่ ช้เสริมกําลังแทนเหล็ก ชนิด Ar-Glass Fibre (Alkali-Resistant) มาตรฐาน
ยุโรป หรือ ญีป่ นุ่
- ทราย ชนิด Silica sand สะอาด มีเปอร์เซ็นต์ของซิลกิ าสูงกว่า 95% และมีเปอร์เซ็นต์ของเหล็กตํ่า
17.2 ลักษณะทัวไป ่
- ความหนาเฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 8-10 มม. พร้อม STIFFENER RIB (โครงเสริมความแข็งแรง เพื่อเสริม
ความแข็งแรงและมีน้ําหนักโดยประมาณ 2,000 กก./ลบ.ม. หรือ ประมาณ 35 กก./ตร.ม.
- ผลิตโดยกรรมวิธี HAND SPRAY หรือ Extrudtion โดยมีอตั ราส่วนการผสมของวัตถุดบิ ทีไ่ ด้รบั การ
รับรอง จาก บริษทั ASAHI GLASS BUILIDING-WALL ประเทศญีป่ นุ่ ให้เหมาะกับการบ่มด้วยระบบ
DRY CURING เพื่อป้องกันการหดตัว (SHRINKAGE)
17.3 ตัวอย่างวัสดุ และรูปทรง ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด 60 ซม.x 60ซม. จํานวน 2 ชิน้ พร้อมแผ่นตัวอย่าง
สี แพทเทิรน์ ลวดลาย และแคตตาล๊อคสินค้า มาตรฐานวัสดุและผลการทดสอบ ตลอดจน SHOP
DRAWING การติดตัง้ ให้ผอู้ อกแบบพิจารณาให้ความเห็นชอบลวดลายและความหนา เพื่อนําเสนอ
คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
17.4 การซึมผ่านนํ้า
ชิน้ งาน GRC ทีป่ ระกอบจากโรงงาน เมื่อนํามาติดตัง้ ต้องไม่ซมึ ผ่านนํ้าและไม่ปรากฏความชืน้ บริเวณผิว
17.5 มาตรฐานคุณสมบัตวิ สั ดุ
วัสดุ GRC ทีน่ ํามาใช้ประกอบขึน้ รูป อย่างน้อยต้องผ่านเกณฑ์ หรือเทียบเท่า เกณฑ์มาตรฐานดังนี้
1 Compressive Strength :tested to ASTM : C 109/C 109M : 2002
A) Maximum Load : 53269.7 N
B) Compressive Strength :21.31 N/mm²
2 Flexural Strength tested to ASTM : C 580 – 98
A) Flexural Strength :33.8 N/mm²

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 192 of 521

B) Modulus of Elasticity :6172.8 MPa


3 Charpy Impact Strength :12.0 KJ/m² (tested to ASTM D6110 : 1997)
4 Coefficient of Thermal Expansion :10.5 μm/mºC (tested to ASTM E831 : 2000)
5 Thermal Conductivity :0.12258 w/mºK(tested to ASTM C518 : 1991)
6 ชิน้ งานทําด้วย GRC จะต้องออกแบบให้ถูกต้องพร้อมแนบรายการคํานวณโดยวิศวกร
7 ผิวด้านสัมผัสกับแม่แบบจะต้องเรียบปราศจากรอยกะเทาะหรือหลุดร่อนของปูนซีเมนต์
8 ผูผ้ ลิตจะต้องดําเนินการทดสอบ โดยการนําชิน้ ตัวอย่างจาก Test Board โดยใช้เครื่องทดสอบ Lloyd 6000S
17.6 การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้อง
ได้ระดับและเส้นแนวตรงหรือลวดลายได้ฉากมีความประณีตเรียบร้อย มันคงแข็ ่ งแรง ตามทีผ่ อู้ อกแบบ
กําหนดและกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ฯผูผ้ ลิตก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อ
ตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานติดตัง้
17.7 รูปแบบการติดตัง้ และวัสดุโครง ให้ดรู ายละเอียดตามแบบก่อสร้างประกอบ และการติดตัง้ ต้องมีความมันคง ่
แข็งแรง ซึง่ ให้ถอื เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างด้วยแล้ว
- BOLT & NUT เป็ นเหล็กชุบสังกะสี
- SEALANT เป็ น SILICONE SEALANT หรือ POLYURETHANE SEALANT ชนิด PAINTABLE
สําหรับยาแนวรอยต่อกันนํ้าซึม ยีห่ อ้ BOSTIC, GE, DOW CORNING หรือเทียบเท่า
17.8 การป้องกันความเสียหาย ผ้รบั จ้างต้องมีมาตรการป้องกันความเสียหาย จาก การขนส่ง การติดตัง้ และ หลัง
การติดตัง้ แล้วเสร็จ จนกว่าส่งมอบงาน โดยไม่ให้เกิดความเสียหายใดๆ และต้องรับประกันผลงานไม่น้อย
กว่า 2 ปี
17.9 ผลิตภัณฑ์ PREMIER PRODUCT, PCM คอนสตรัคชัน่ แมททีเรียล, CEM-FIL หรือเทียบเท่า

18 ผนังสาเร็จรูปชนิ ด Pu (Sandwich Panel)


เป็ นแผ่นสําเร็จรูปโลหะ ทีม่ โี ครงสร้างเป็ นชิน้ เดียวกันตลอด (Integral Type) แบบ Sandwich Panel, มี
คุณสมบัตเิ ป็ นฉนวนกันความร้อน, รักษาอุณหภูม,ิ ควบคุมความชืน้ , ทําความสะอาด ติดตัง้ ง่าย และรือ้ ย้ายต่อ
เติมได้สะดวก
- ความหนาของผนังเป็ นไปตามทีร่ ะบุในแบบ
- ส่วนประกอบของแผ่น (Sandwich Panel)
- ผิวหน้าทัง้ สองด้าน (Surface) จะต้องทํามาจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสี ความหนา 0.45 มม.เคลือบสีรอง
พืน้ ด้วย Epoxy Primer 3-5 ไมครอน และเคลือบสีจริงด้วยโพลีเอสเตอร์ (Off white) 20 ไมครอน
- แกนกลาง (Core) เป็ นโพลียรู เี ทนโฟม (Polyurethane Foam) ชนิดไม่ลามไฟ S.E. Class (Self-
Extinguishing) ฉีดเข้าแบบด้วยเครื่องฉีดโฟมแรงดันสูง (Hi Pressure Injection) ฉนวน PU จะต้องเป็ น
ชิน้ เดียวกันตลอดแผ่นผนัง (Single Body) ห้ามใช้วธิ กี ารประกอบด้วยการทากาวโฟมติดกับแผ่นเหล็ก
- ขอบแผ่น (Frame) แผ่นเหล็กทีบ่ ริเวณขอบแผ่นจะต้องถูกรีดขึน้ รูปเป็ นแบบเสียบเข้าลิม่ ทัง้ สองด้าน ชนิด
ตัวผูแ้ ละตัวเมีย Slip Joint (ไม่ใช่ PVC Joint )
- วัสดุเคลือบผนัง เป็ นพลาสติกใสติดทีผ่ วิ ทัง้ 2 ด้าน
- คุณสมบัตขิ องแผ่นผนัง และฝ้าเพดาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 193 of 521

รายการ รายละเอียด คุณสมบัติ


1. ความเป็ นฉนวน(HeatInsulation Properties) 0.42 kcal/M2 hr. oC
2. กันเสียง (Sound Insulation Properties) 25 Db
3. ความแข็งแรง (Panel Strength) S = 11.0 m/m
ไม่ลุกลามไฟ (S.E.
4. การติดไฟ (Inflammability)
Class)
5. ความหนาแน่น (Density) 40 kg/m3
กรณีหอ้ งเย็น
- ฝ้าเพดาน PUใช้ความหนา 4 นิ้ว
- ผนัง PU ใช้ความหนา 4 นิ้ว
กรณีหอ้ งปฏิบตั กิ ารทัวไป

- ฝ้าเพดาน PU ความหนา 2 นิ้ว

จบหมวดที่ 28

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 194 of 521

หมวดที่ 29
งานแผงอลูมิเนี ยมกันแดด ชนิ ดอบสีสาเร็จรูป
(ALUMINIUM SHADING DEVICES)

1. ขอบเขตของงาน
งานแผงอลูมเิ นียมกันแดด ชนิดอบสีสาํ เร็จรูปทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์
แรงงาน การประสานงานกับผูร้ บั เหมาช่วง และการจัดเตรียมทําแบบแปลนแสดงตําแหน่งการติดตัง้ โครงสร้างยึด
โยงหลัก และโครงสร้างรอง ตลอดจนแบบ SHOP DRAWING แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ การยึด ระยะต่าง ๆ และ
ต้องเป็ นไปตามแบบและขนาดซึง่ กําหนดไว้ในแบบก่อสร้างเพื่อขอตรวจสอบพิจารณาเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและ
กรรมการตรวจการจ้างตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
2. วัสดุ
2.1 วัสดุทใ่ี ช้ในการสร้างนี้จะต้องเป็นวัสดุใหม่ มีสภาพเรียบร้อยจากบริษทั ผู้ผลิต มีเครื่องหมายรายละเอียด
ต่างๆ แสดงรุ่นและชื่อผูผ้ ลิตอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
2.2 แผ่นอลูมเิ นียม รูปตัวซีขนาดหน้ากว้าง 8.5 ซม. ความหนาไม่น้อยกว่า 0.6 มม. ผลิตจากอลูมเิ นียม
อัลลอย NO.3105 H16 เคลือบสีระบบ Roller Coating หรือ ระบบ POWDER COAT ใช้ขายึดแผ่น ชนิด
มุมเอียง 25-45 องศา ผลิตจากAluminium เคลือบสี POWDER COAT การติดตัง้ ติดตัง้ พร้อม โครง
เหล็ก LG ขนาด 1 1/4" x 1 1/4" ความหนา 1.2 มม. ทาสี กันสนิม และทาทับด้วยสีจริงอีกครัง้ พร้อม
อุปกรณ์ กรรมวิธตี ามแบบ มาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ของ MPV ,KNAUF, CLINE หรือ
เทียบเท่า
3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุแต่ละชนิดทีใ่ ช้ ให้ผคู้ วบคุมงานได้ตรวจสอบให้เป็ นไปตามความต้องการ ของ
ผูอ้ อกแบบและให้ความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง
3.1 โครงหลัก
3.2 โครงรอง
3.3 แผงกันแดด ลักษณะต่างๆทีก่ าํ หนดไว้
3.4 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’s SPECIFCATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณสมบัตขิ อง
วัสดุ และส่วนอุปกรณ์ยดึ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
4. การติดตัง้
4.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในการติดตัง้ ทุก ๆ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ และจะต้องมันคงแข็
่ งแรง ได้
ระดับในแนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อย จะต้องปฏิบติตามแบบมาตรฐานกรรมวิธกี ารติดตัง้ ของ
บริษทั ผูผ้ ลิตและต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกันกับผูจ้ า้ งหลัก เพื่อกําหนดตําแหน่งทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ ทัง้ หมด
และตรวจสอบสถานทีท่ ุกแห่งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อนจะมีการติดตัง้
4.3 แผงกันแดดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคง ่ แข็งแรง
4.4 แผงกันแดดสําเร็จรูปรวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องยึดแน่นแข็งแรงกับผนังหรือโครงสร้างอื่นๆ ได้
ระยะขนาดที่ ถูกต้องตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 195 of 521

4.5 การทดสอบ เมื่อทําการติดตัง้ เรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ บั จ้างทําการตรวจสอบการใช้งานของแผงกันแดดสําเร็จรูป


และอุปกรณ์ยดึ โยงต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ให้อยูใ่ นสภาพการใช้งานทีด่ ี ในกรณีทต่ี รวจสอบแล้วไม่แข็งแรง อาจทําให้ใช้
งานขัดข้องให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการแก้ไขให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน ในกรณีเช่นนี้ผรู้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมมิได้
5. การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดแผงกันแดดสําเร็จรูป และอุปกรณ์ยดึ โยงทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจาก
รอยแตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด รอยด่าง หรือมีตําหนิ สีหลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน หากเกิดความเสียหายดังกล่าว
จะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
6. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องระวังมิให้มกี ารชํารุดเสียหาย
หรือมีตําหนิก่อนส่งมอบงาน หากอุปกรณ์ใดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเกิดชํารุดเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไข
ให้อยูใ่ นสภาพดี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 29

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 196 of 521

หมวดที่ 30
งานหลังคา

1. ทัวไป

1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ โดยมีระบบควบคุมคุณภาพ
ทีด่ ใี นการก่อสร้างงานมุงหลังคา ตามทีร่ ะบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมการทดสอบและให้ใช้งานได้ป้องกันการ
รัวซึ
่ ม
1.2 การสังวั ่ สดุมุงหลังคาให้สงคราวเดี
ั่ ั
ยวกัน เพื่อไม่ให้มปี ญหารื ่องเฉดสี พร้อมนําส่งใบรับประกันการมุงจาก
ผูผ้ ลิต 5 ปี
1.3 วัสดุโครงหลังคา สําหรับกระเบือ้ งคอนกรีต หรือกระเบือ้ งซีเมนต์ผสมเส้นใยสังเคราะห์ หากไม่ระบุในรูปแบบ
ให้ใช้แปสําเร็จรูปชุบสังกะสี ความหนา 0.55 มิลลิเมตร สําหรับองค์อาคารมีความสูงไม่เกิน 15 เมตร และใช้ความหนา 0.70
มิลลิเมตร สําหรับองค์อาคารมีความสูงเกินกว่า 15 เมตร หากรูปแบบระบุใช้ขนาดความหนาทีข่ ดั แย้งกับทีร่ ะบุขา้ งต้น ให้
ผูร้ บั จ้างใช้ขนาดทีใ่ หญ่กว่าในการติดตัง้ โดยค่าใช้จ่ายเป็ นของผูร้ บั จ้าง
1.4 ในกรณีทอ่ี งค์อาคารมีความสูงเกินกว่า 15 เมตร ให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอรูปแบบการติดตัง้ วัสดุโครงหลังคา และ
รายการคํานวณ โดยมีวศิ วกรโยธาระดับสามัญวิศวกรเป็ นอย่างน้อยเป็ นผูร้ บั รอง เพื่อขออนุมตั ติ ่อผู้ควบคุมงานก่อนการ
ติดตัง้
2. หลังคากระเบือ้ งคอนกรีต
2.1 วัสดุ
2.1.1 วัสดุมุงหลังคา ให้ใช้หลังคากระเบือ้ งคอนกรีตชนิดตามระบุในรูปแบบรายการ เลือกสีโดยสถาปนิก
ผูอ้ อกแบบ
2.1.2 ครอบหลังคาต่างๆ แผ่นปิ ดเชิงชาย แผ่นปิ ดรอยต่อหลังคาและอุปกรณ์อ่นื ๆ ทีใ่ ช้ในการป้องกัน
หลังคารัวระบบ่ Dry Tech ให้ใช้ของบริษทั ทีผ่ ลิตวัสดุมุงหลังคา หรือระบุเป็ นอย่างอื่นในแบบ
2.1.3 ตะปูเกลียวหรือสลักเกลียว สําหรับยึดวัสดุมุงหลังคากับแป พร้อมทัง้ อุปกรณ์แหวนและแผ่นยางรอง
ให้ใช้ขนาดทีเ่ หมาะสมตามมาตรฐานหรือคําแนะนําจากบริษทั ผูผ้ ลิตวัสดุมุงหลังคา และต้องป้องกันการรัวซึ ่ มได้ดี โดยได้รบั
ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน
2.1.4 อื่นๆ ตามระบุในแบบ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
2.2 การติดตัง้
2.2.1 ก่อนมุงหลังคาจะต้องตรวจสอบระดับความลาดเอียงให้เรียบร้อยก่อน หากมีการผิดพลาดเนื่องจาก
การติดตัง้ โครงหลังคา จะต้องได้รบั การแก้ไขให้เรียบร้อย ก่อนทีจ่ ะติดตัง้ แปและมุงหลังคา
2.2.2 ก่อนมุงหลังคา ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบทิศทางลมฝนเสียก่อนและไม่ควรให้รอยซ้อนทับของหลังคา
หันเข้าหาทิศทางลม โดยขอความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน
2.2.3 การตัดเจาะวัสดุมงุ หลังคาและติดตัง้ หลังคา จะต้องใช้เครื่องมือทีเ่ หมาะสมและใช้ความประณีต โดย
จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน
2.2.4 การมุงหลังคา การติดตัง้ อุปกรณ์ยดึ และอุปกรณ์อ่นื ๆ การซ้อนทับ การยาแนว และการกันรัวซึ ่ ม
จะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตวัสดุหลังคาอย่างเคร่งครัด โดยได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน และ
ต้องมีวธิ ปี ้ องกันและระมัดระวังไม่ให้เกิดความเสียหายใดๆ ต่อวัสดุมุงหลังคาขณะทําการติดตัง้ และขณะตรวจสอบหรือ
แก้ไขหลังการติดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 197 of 521

2.3 การทดสอบ
เมื่อมุงหลังคาเสร็จแล้ว ต้องมีการตรวจสอบอย่างละเอียดว่าหลังคามีความเสียหายหรือไม่ แล้วจึงทําการทดสอบว่า
หลังคาทีต่ ดิ ตัง้ แล้ว ไม่มกี ารรัวซึ
่ มและสามารถระบายนํ้าได้ดี โดยการฉีดนํ้ารดให้ทวทั
ั ่ ง้ หลังคาด้วยความแรง และระยะเวลา
ทีเ่ หมาะสม หรือวิธอี ่นื ตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน
2.4 การบํารุงรักษาและทําความสะอาด
เมื่อมุงหลังคาเสร็จเรียบร้อย ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดหลังคาให้ปราศจากเศษวัสดุต่างๆ ทัง้ บนหลังคา และ
รางนํ้า แล้วตรวจตราความเรียบร้อยของหลังคาอีกครัง้ หากมีการเสียหายจะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นใหม่ ตามคําสังของผู ่ ้
ควบคุมงาน และต้องป้องกันไม่ให้สกปรกหรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
3. หลังคากระเบือ้ งซีเมนต์ผสมเส้นใยสังเคราะห์
เป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตจากปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ผสมเส้นใยสังเคราะห์รปู ทรงว่าว ขนาดแผ่น 0.80x0.60 เมตร หนา
6 มิลลิเมตร พร้อมอุปกรณ์ครบชุด ระยะห่างและวิธกี ารติดตัง้ ให้ปฏิบตั ติ ามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
ผลิตภัณฑ์ของไอยรา หรือเทียบเท่า
4. หลังคาเหล็กรีดลอน
ขอบข่ายหลังคาแผ่นเหล็กรีดตามระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ให้ดาเนินการตามมาตรฐานผูผ้ ลิตโดย
เคร่งครัด ผูร้ บั จ้าง” จะต้องจัดเตรียมหาแบบ Shop Drawing รายละเอียดในส่วนต่างๆ ในการติดตัง้ ตามแบบ
ก่อสร้างและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบเพือ่ ขออนุมตั ิ และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบ
4.1 แผ่นเหล็กจะต้องเป็ นชนิดสังกะสีผสมอลูมเิ นียม ประกอบด้วยอลูมเิ นียม 55% สังกะสี 43.4% และซิลคิ อน
1.6% โดยมีปริมาณการเคลือบบนแผ่นเหล็กทัง้ สองด้านไม่น้อยกว่า 150 กรัม ต่อตารางเมตร หรือ AZ 150g/Sq.m. และมี
ความแข็งแรง ณ จุดครากของเหล็ก (ค่า MINIMUM YEILD STRENGHT) ต้องไม่น้อยกว่า 550 MPA –G550 ทัง้ นี้ให้
เป็ นไปตามมาตรฐาน AS1397-1993 หรือ JIS3321 หรือ ASTM A 792
4.2 ในกรณีทร่ี ะบุให้มกี ารเคลือบสี ความหนาแผ่นเหล็กรวมชัน้ เคลือบสีตอ้ งไม่น้อยกว่า 0.50 มิลลิเมตร
4.3 การเคลือบสีให้เคลือบอบด้วยสี POLYESTER โดยระบบต่อเนื่อง ต้องมีความหนาของชัน้ เคลือบไม่น้อยกว่า
ทีก่ าํ หนดคือ ชัน้ เคลือบด้านบน ประกอบด้วยสีรองพืน้ หนา 5 ไมครอน เคลือบทับด้วยสี POLYESTER หนา 20 ไมครอน
ทัง้ นี้ความหนาของชัน้ สีเมื่อแห้ง (DRY FILM THICKNESS) ของสีดา้ นบนรวมกันต้องไม่น้อยกว่า 25 ไมครอน ชัน้ เคลือบ
ด้านล่าง ประกอบด้วยสีรองพืน้ หนา 5 ไมครอน เคลือบทับด้วยสีอพี อคซี่ หนา 5 ไมครอน ทัง้ นี้ให้มคี ุณสมบัตเิ ป็ นไปตาม
มาตรฐาน AS-2728 “PRE-PAINTED AND ORGANIC FILM / METAL LAMINATE PRODUCTS” โดยผ่านการทดสอบ
ตามมาตรฐานสากล ดังนี้
4.3.1 การทดสอบแรงกระแทก (IMPACT TEST) ตามมาตรฐาน AS-2728 (APP.E) มากกว่า 10 จูล
4.3.2 การทดสอบการโค้งงอ (BENDING TEST) เมื่องอแผ่นโค้งด้วยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 เท่าของ
ความหนาจะต้องไม่มกี ารหลุดลอกของสี (ADHESION LOSS)
4.4 แผ่นเหล็กเคลือบสีมุงหลังคาต้องเป็ นแผ่นเดียวยาวตลอดความยาวของลาดหลังคา ชนิดการยึดแผ่นแบบ
คลิปล็อก หน้ากว้างแผ่นไม่น้อยกว่า 70 เซนติเมตร รวมระยะซ้อนทับแล้ว ความสูงลอนไม่น้อยกว่า 39 มิลลิเมตร
4.5 สกรู สกรูยงิ ยึดหลังคาและผนังเหล็กรีดลอน ให้ใช้สกรูทเ่ี คลือบด้วย Armourcoat 4 (Armourcoat 4 เป็ นชัน้
เคลือบด้วยอัลลอย ผ่านขบวนการ Mechanical Plating ได้มาตรฐาน AS3566.2-2002 Class 4 ) สําหรับสกรูทใ่ี ช้ยงิ สัน
ลอนหลังคา จะต้องมี Top Grip เพื่อยึดสันลอนกับหัวสกรู และ Shank Protector เพื่อป้องกันชัน้ เคลือบของแกนสกรู แหวน
ยางกันนํ้าทีใ่ ช้กบั สกรูจะต้องเป็นแหวนยาง EPDM ชนิดทนความร้อนและไม่น้ําไฟฟ้า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 198 of 521

4.6 แหวนยางอลูมเิ นียมทีเ่ หมาะสมสําหรับหลังคาเหล็กรีดลอน ทีต่ ดิ ตัง้ ในบริเวณทีม่ ลี มแรงแหวนยางอลูมเิ นียม


จะต้อง เป็ น Herculok Washer ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 25 ม.ม. แหวนอลูมเิ นียมหนา 1.2 มม. ส่วนทีเ่ ป็ นยางทาจาก
Extruded EPDM ทีม่ คี ุณสมบัตทิ นความร้อน ทนต่อรังสี UV และไม่นําไฟฟ้า
4.7 อุปกรณ์ FLASHING กันนํ้ารัวซึ ่ ม และอื่นๆ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ของ Blue scope
Lysaght หรือเทียบเท่า
4.8 ส่งตัวอย่างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเลือกสีและเห็นชอบก่อนดําเนินการ
4.9 ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดหาผูด้ าเนินการหรือช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชานาญในการติดตัง้ มีประสบการณ์ในการ
ติดตัง้ และได้รบั การอนุมตั หิ รือแต่งตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตโดยตรงเป็ นผูด้ าํ เนินการให้เป็ นไปตามแบบขยาย Shop
Drawing ทัง้ นี้การติดตัง้ อุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้อง ต้องถูกต้องสมบูรณ์ตามกรรมวิธแี ละคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้ว ต้องได้ระดับเรียบแนบสนิทเป็ นแนวเรียบร้อย ผูร้ บั จ้าง จะต้องมีการประสานงานเพื่อกาหนดตําแหน่ง
และพิจารณาส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ และตรวจสอบสถานทีท่ จ่ี ะดําเนินการทุกแห่งให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามี
ข้อบกพร่องใดๆ ให้มกี ารแก้ไขให้ถูกต้องก่อนจะมีการติดตัง้
(1) ติดตัง้ หลังคาด้วยระบบ Boltless System คล๊ปล็อค โดยยึดติดกับโครงสร้างไร้สลักยึด
(2) ผนังติดตัง้ ด้วยระบบสกรู (Bolt) ยึดทีท่ อ้ งลอน (สําหรับผนัง) ลักษณะการยึดเป็ นแบบลอนเว้นลอนในช่วง
แปกลาง และจะต้องยึดทุกลอนในช่วงแปปลายและแปเดีย่ ว
5. หลังคาโพลีคาร์บอเนต
แผ่นโพลีคาร์บอเนตโปร่งแสง หนา 10 มิลลิเมตร นํ้าหนักเบา ไม่แตกหักง่าย ผิวของแผ่นเคลือบด้วยสารป้องกันรังสี UV
สามารถตัดแสง UV ได้ไม่น้อยกว่า 80% ทนความร้อนได้ในอุณหภูมิ 20-120 ºC ทนแรงกระแทกสูง ดัดโค้งงอได้ 150 เท่า
ของความหนาโดยไม่ตอ้ งใช้ความร้อน ผลิตภัณฑ์ของ GLOBAL, TWINLITE หรือเทียบเท่า
6. หลังคา Shingle Roof
6.1. อุปกรณ์ในการติดตัง้ ตามมาตรฐานบริษทั ผูผ้ ลิตหลังคา Asphalt Shingle Roof
(1) แผ่นหลังคายางมะตอย (Asphalt Shingle) ตามรุ่นทีเ่ ลือกใช้งาน
(2) แผ่น Starter รอบแนวชายคา
(3) ครอบสันหลังคา (Shadow Ridge & Hip)
(4) แผ่นไม้อดั ทนความชืน้ หนา 10 มม.
(5) ฉากกัน้ นํ้า รอบแนวชายคาและด้านจัว่
(6) กระดาษกันนํ้า ระบายความชืน้
6.2. การติดตัง้ ให้ตดิ ตัง้ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
การส่งตัวอย่าง :
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด ซึง่ แสดงถึงผิวและสี ขนาด 19x13 ซม.จํานวนไม่น้อยกว่า 2
ตัวอย่าง พร้อมเอกสารประกอบ 1) แคทตาล๊อค 2) รายละเอียดคุณสมบัตขิ องวัสดุ(Technical data) 3) หนังสือรับรอง
คุณภาพการทดสอบมาตรฐานการกันไฟจากผูผ้ ลิต 4) หากจัดซือ้ วัสดุจากผูแ้ ทนหรือตัวแทนจําหน่ายในประเทศให้ขอ
หนังสือแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายจากโรงงานให้กบั ผูจ้ ดั จําหน่ายวัสดุในโครงการ และจัดส่งให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง
อนุมตั วิ สั ดุก่อนดําเนินการ จึงจะสามารถนําไปใช้งานติดตัง้ ได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงอุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ เช่น
โครงเหล็ก , สกรู , ซิลโิ คนยาแนว ,ฉากยึดอลูมเิ นียม พร้อมเอกสารแสดงคุณสมบัตวิ สั ดุ และแคทตาล๊อคสินค้า

จบหมวดที่ 30

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 199 of 521

หมวดที่ 31
งานฉนวนป้ องกันความร้อน

1. แผ่นสะท้อนความร้อน
1.1 วัสดุ
แผ่นอลูมเิ นียมฟอยล์ 2 ด้าน มีความสะท้อนไม่น้อยกว่า 0.95 ไมครอน มีเส้นใยโพลีเอทธีลนี เสริมความแข็งแรง และ
แผ่นกันชืน้
ผลิตภัณฑ์ ไอยรา CPACMONIER, V-CON หรือเทียบเท่า
1.2 การติดตัง้
1.2.1 การติดตัง้ กับแปสําเร็จรูปหรือแปไม้ ให้ปตู ามแนวขนานกับเชิงชาย โดยปูบนจันทันก่อนติดตัง้ แป
แล้วใช้ตะปูยดึ แปยึดแผ่นสะท้อนความร้อนติดกับจันทัน ให้มรี ะยะซ้อนทับระหว่างแผ่น 15 เซนติเมตร
1.2.2 การติดตัง้ กับแปเหล็ก ให้ปบู นแผ่นเหล็กซึง่ เชื่อมกับจันทันเรียบร้อยแล้ว โดยเริม่ ปูจากเชิงชายขึน้ ไป
บนสันหลังคา และให้มรี ะยะซ้อนทับด้านข้างระหว่างแผ่น 15 เซนติเมตร

2. ฉนวนกันความร้อน ชนิดใยแก้ว
2.1 วัสดุ
ใยแก้ว (GLASS WOOL) ให้ใช้ใยแก้ว หนา 2 นิ้ว หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบ ปิ ดผิวหน้าด้วยอลูมเิ นียมฟอยด์ 2 ด้าน
ชนิดเสริมแรงจากโรงงานได้รบั การออกแบบและผลิต ตามมาตรฐาน ASTM คุณภาพผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานใยแก้ว
(มอก.486-2527) แผ่นใยแก้ว (มอก.487-2526) และ/หรือตามข้อกําหนดฉลากเขียวสําหรับฉนวนกันความร้อน (TGL-14-
97) ผลิตภัณฑ์ ตราช้าง, MICROFIBER, Ultra Kool หรือเทียบเท่า
2.2 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายละเอียดของวัสดุป้องกันความร้อน และชิน้ ตัวอย่าง ขนาด 30x30 เซนติเมตร อย่างน้อย 2
ตัวอย่าง ให้ผอู้ อกแบบตรวจสอบให้ความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน
2.3 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตวัสดุป้องกันความร้อน โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อน
ขัน้ ตอนในการติดตัง้ จะต้องประสานงานกับงานส่วนอื่นๆ เช่น งานติดตัง้ แป งานติดตัง้ ท่อร้อยสายไฟ โคมไฟฝ้าเพดาน งาน
ติดตัง้ ท่อนํ้ายาและเครื่องปรับอากาศใต้หลังคา ค.ส.ล. งานติดตัง้ Sleeve และรูระบายนํ้าต่างๆ ของงานระบบสุขาภิบาล
เป็ นต้น การติดตัง้ วัสดุกนั ความร้อน ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการป้องกันงานส่วนอื่นของอาคาร ไม่ให้เกิดความสกปรกหรือ
เสียหาย จะต้องจัดทําขัน้ ตอนและแผนปฏิบตั งิ านให้สอดคล้องกันกับงานส่วนอื่นๆ หากมีปญั หาในการติดตัง้ จะต้องแจ้งให้
ผูค้ วบคุมงานทราบ เพื่อพิจารณาแก้ไขปญหาในทั ั นที
2.3.1 การติดตัง้ ฉนวนบนแปเหล็ก ติดตัง้ โดยมีตะแกรงกัลวาไนท์ ขนาด 2 นิ้ว# รองรับใต้แผ่น PVC สีขาว
ตลอดผืนหลังคา รอยต่อระหว่างแผ่นให้ปิดทับด้วยเทปอลูมเิ นียมทัง้ หมด
2.3.2 การติดตัง้ ฉนวนบนฝ้าเพดานยิบซัมบอร์ ่ ด ชนิดโครงเคร่า ที-บาร์

(1) เปิ ดฝาเพดานในบริเวณทีต่ อ้ งการปูเพื่อนําฉนวนขึน้ ไป
(2) ปูฉนวนไปตามแนวโครงเคร่าฝ้าเพดาน โดยการกลิง้ ฉนวนให้เต็มพืน้ ทีแ่ ละในแนวต่างๆ ทีต่ อ้ งการ
(3) ส่วนทีท่ าํ การตัดต่อฉนวนหรือรอยฉีกขาดให้ซ่อมแซมด้วยเทปอลูมเิ นียมฟอยล์ ข้อแนะนํา
ควรปูห่างจากจุดทีม่ กี ารติดตัง้ ดวงไฟประมาณ 3 นิ้ว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 200 of 521

2.3.3 การติดตัง้ ฉนวนบนฝ้าเพดานยิบซัมบอร์ ่ ด ชนิดฉาบเรียบ


(1) ้
ติดตัง้ โครงเคร่าฝาเพดาน ให้ได้ระดับเป็ นทีเ่ รียบร้อย
(2) ปูฉนวนไปตามแนวโครงเคร่าฝ้าเพดานตัวบน โดยการกลิง้ ฉนวนให้เต็มพืน้ ทีแ่ ละในแนวต่างๆ ทีต่ อ้ งการ
(3) ส่วนทีท่ าํ การตัดต่อฉนวนหรือรอยฉีกขาดให้ซ่อมแซมด้วยเทปอลูมเิ นียมฟอยล์
(4) ควรปูห่างจากจุดทีม่ กี ารติดตัง้ ดวงไฟประมาณ 3 นิ้ว
(5) หลังจากนัน้ ให้ตดิ ตัง้ แผ่นฝ้าเพดาน

3. ฉนวนกันความร้อนชนิด POLYETHYLENE FOAM


3.1 วัสดุ
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ POLYETHYLENE FOAM มีลกั ษณะโครงสร้างเป็ นแบบ CLOSED-CELL ความหนาไม่น้อยกว่า
33 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ค่าสัมประสิทธิ ์ การนําความร้อนไม่เกิน 0.03 w/m.K ไม่ตดิ ไฟและไม่ทาํ ให้เกิดสารทีเ่ ป็ น
อันตรายต่อร่างกาย มีความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 5 มิลลิเมตร หุม้ แผ่นอลูมเิ นียมฟอยล์ ซึง่ จะต้องติดตัง้ มาจากโรงงาน
โดยตรง คุณภาพผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานฉนวนกันความร้อนพอลิเอทิลนี โฟม (มอก.1384-2548) และ/หรือตามข้อกําหนด
ฉลากเขียวสําหรับฉนวนกันความร้อน (TGL-14-97)
3.2 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายละเอียดของวัสดุป้องกันความร้อน และชิน้ ตัวอย่าง ขนาด 30x30 เซนติเมตร อย่างน้อย 2
ตัวอย่าง ให้ผอู้ อกแบบตรวจสอบให้ความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน
3.3 การติดตัง้
การติดตัง้ POLYETHYLENE FOAM กับหลังคา ให้ใช้กาวและกรรมวิธตี ามมาตรฐานผูผ้ ลิต บริเวณรอยต่อแผ่นให้
ปิ ดด้วยเทปกาว PE ให้แน่นสนิท ไม่มชี ่องว่าง

จบหมวดที่ 31

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 201 of 521

หมวดที่ 32
งานฝ้ าเพดาน

1. งานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน
1.1 ขอบและเขตงาน
งานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดานตามระบุในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมทําแบบประกอบการติดตัง้
SHOP DRAWING รวมถึงส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ ต้องแสดงรายละเอียดการติดตัง้ (INSTALLTION) การยึด (FIXED)
และแสดงระยะต่างๆ โดยละเอียดให้ถูกต้องตามแบบก่อสร้าง พร้อมทัง้ ให้ตรวจสอบ การแบ่งระยะดวงโคมไฟฟ้า เพื่อขอ
อนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนจะทําการติดตัง้
1.2 วัสดุ
วัสดุทน่ี ํามาใช้งานต้องได้มาตรฐานการผลิตของบริษทั ผูผ้ ลิตและเป็ นวัสดุใหม่ ผลิตหรือจัดจําหน่ายโดยบริษทั ผูผ้ ลิต
หรือจัดจําหน่ายเดียวกับแผ่นฝ้าเพดาน ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้งาน
1.2.1 โครงเคร่าโลหะชนิดแผ่นฝ้าเพดานยึดติดแน่น (ฉาบเรียบ)
(1) โครงเคร่าโลหะ ต้องผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีดว้ ยกรรมวิธจี ุ่มร้อน มีความหนาโครงเคร่าไม่น้อยกว่า 0.50 มิลลิเมตร
ได้รบั รองมาตรฐาน JIS 3302-1987 หรือ มอก. 863-2532 ผลิตภัณฑ์ ตราช้าง GYPROC, DECEM หรือเทียบเท่า
(2) สปริงปรับระดับและลวด เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร
(3) สกรูเกลียวปล่อย
(4) พุกเหล็ก (EXPANSION BOLT)
1.2.2 โครงเคร่าโลหะ ชนิด T-BAR
(1) โครงเคร่าโลหะ T-BAR ต้องผลิตจากเหล็กชุบสังกะสีและเคลือบสี มีความหนาแบบพับซ้อน 2 ชัน้ ชัน้ ละไม่น้อย
กว่า 0.35 มิลลิเมตร ความกว้างไม่น้อยกว่า 24 มิลลิเมตร โครงเคร่าหลักความสูงไม่น้อยกว่า 32 มิลลิเมตร
ผลิตภัณฑ์ ตราช้าง GYPROC, DECEM หรือเทียบเท่า
(2) สปริงปรับระดับและลวด เส้นผ่านศูนย์กลาง 4 มิลลิเมตร
(3) พุกเหล็ก (EXPANSION BOLT)
1.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง ละส่งให้ผอู้ อกแบบเพื่อขอความเห็นชอบ
และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน
1.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญในการติดตัง้ ฝ้าเพดานทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับและ
เส้นแนวตรงเรียบร้อยหรือลวดลายได้ฉากตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดด้วยความประณีตเรียบร้อย
1.4.1 โครงเคร่าโลหะชนิดแผ่นฝ้าเพดานยึดติดแน่น (ฉาบเรียบ)
(1) หาระดับทีต่ อ้ งการติดตัง้ ฝ้าเพดาน แล้วยึดรางระดับเข้ากับโครงสร้างอาคารโดยรอบของห้องหรือบริเวณทีท่ าํ การ
ติดตัง้ ฝ้าเพดาน ตามระดับกําหนด
(2) ยึดเหล็กฉากด้วยพุกเหล็กกับโครงสร้างบนของอาคาร เว้นระยะห่างกันไม่เกิน 1.20 เมตร
(3) ใช่สปริงและลวดปรับระดับยึดโยงระหว่างเหล็กฉากกับโครงเคร่าหลักและปรับให้ได้ระดับตามต้องการ
(4) ยึดเคร่าซอยเข้ากับด้านล่างของเคร่าหลัก ให้แนวตัง้ ฉากกับเคร่าหลัก โดยเว้นระยะเคร่าซอยห่างกันทุก ระยะ 40
เซนติเมตร โดยมีเคร่าหลักหิว้ อยู่ดา้ นบนทุกๆ ระยะ 1.00 – 1.20 เมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 202 of 521

(5) ปรับระดับโครงเคร่าฝ้าเพดานทีช่ ุดสปริงปรับระดับจนได้ระนาบทัง้ หมด แล้วจึงนําแผ่นฝ้าเพดานยึดติดกับโครงเคร่า


1.4.2 โครงเคร่าโลหะ T-BAR
(1) หาระดับทีต่ อ้ งการติดฝ้าเพดาน แล้วจึงยึดเคร่าริมรับแผ่นฝ้าเพดานกับผนังโดยรอบให้ได้ระดับตามทีก่ าํ หนด
(2) ยึดเหล็กฉากด้วยพุกเหล็กกับโครงสร้างบนของอาคารเว้นระยะห่างกัน 1.20 เมตร
(3) ใช้สปริงและลวดระดับระหว่างเหล็กฉากกับโครงเคร่าผืน T-BAR และปรับให้ได้ระดับตามต้องการโดยเคร่ายืนห่าง
กันระยะ 1.20 เมตร
(4) สอดเคร่าซอยยึดกับเคร่ายืนให้ได้ฉาก โดยหากต้องการรูปแบบฝ้า T-BAR เป็ นระยะ 0.60x0.60 เมตร ให้ใช้เคร่า
ซอยสอดขวางระหว่างกลางเคร่าซอยยาวช่วงระยะ 1.20 เมตร
(5) ปรับระดับโครงเคร่าฝ้า T-BAR ทีช่ ุดสปริงปรับระดับจนได้ระนาบทัง้ หมด แล้วจึงนําแผ่นฝ้าเพดานว่างบนโครงเคร่า
1.4.3 บริเวณดวงโคมทีเ่ ป็ นกล่องขนาดใหญ่หรือกล่องวางไฟ ให้เว้นช่องไว้ตามขนาดกล่องดวงโคม โดยให้
กล่องดวงโคมไฟฟ้ายึดแขวนโดยอิสระตามกรรมวิธงี านระบบไฟฟ้า ห้ามยึดติดกับโครงฝ้าเพดานโดยเด็ดขาด อนุญาตให้
เฉพาะดวงโคมขนาดเล็ก เช่น DOWN LIGHT เป็ นต้น
1.4.4 กรณีใต้ MAIN AIRDUCT ขนาดใหญ่ทาํ ให้ลวดยึดโครงเคร่าเหล็กหรือเคร่ายืนไม่ได้ระยะตาม
SPECIFICATION ให้ทาํ เหล็กเสริมให้สามารถรับแรงได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆ ด้วยกรรมวิธหี ลักวิชาการช่างที่ดแี ละ
ได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน ห้ามยึดโครงเคร่าฝ้ากับ AIRDUCT หรือจุดยึดแขวนของ
AIRDUCT โดยเด็ดขาด
1.4.5 กรณีทร่ี ะยะห่างระหว่างฝ้าเพดานถึงโครงสร้างบนของอาคารมากกว่า 2.5 เมตร ห้ามใช้วธิ กี ารต่อ
ลวดปรับระดับไม่ว่าจะวิธใี ดก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องเสริมโครงสร้างโดยการใช้เหล็กฉากต่อห้อยลงมาจากโครงสร้างบนอาคาร
แล้วแขวนลวดปรับระดับกับเหล็กฉากนัน้ ในกรณีเช่นนี้ ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอแบบและแนวทางการทํางานต่อผูอ้ อกแบบ
และ/หรือผูค้ วบคุมงานก่อนการติดตัง้ เสมอ หากเกิดความผิดพลาดเนื่องจากผูร้ บั จ้างไม่ได้เสนอแบบรายละเอียดให้ถอื ว่าผู้
รับจ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในทุกกรณี
1.5 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดทุกแห่ง หลังจากการติดตัง้ ผิดของวัสดุตอ้ งปราศจากรอยแตกร้าว ด่าง รอยขูดขีด
หรือมีตําหนิ และต้องไม่เปรอะเปื้ อน ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
1.6 การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของโครงเคร่าฝ้าเพดานและการติดตัง้ โดยปราศจากการแอ่นตัว (SAGGING)
เป็ นเวลาอย่างน้อย 5 ปี หากเกิดการแอ่นตัวหรือชํารุดเสียหาย อันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ ผูร้ บั จ้าง
จะต้องติดตัง้ ใหม่หรือซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพทีด่ ตี ามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบหรือผูว้ ่าจ้าง โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้
2. ฝ้าเพดานแผ่นยิปซัมบอร์ ่ ด
2.1 วัสดุ
วัสดุทจ่ี ะนํามาใช้จะต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อนไม่มรี อยชํารุดแตกร้าวเสียหาย ใช้แผ่นยิปซัมบอร์
่ ดชนิ ด
ธรรมดา (REGULAR GYPSUM BOARD) ต้องประกอบด้วยยิปซัมในส่ ่ วนกลาง ปิ ดผิวด้วยกระดาษชนิดอัดแน่นด้านนอก
2 ด้าน หากมิได้ระบุในแบบให้ใช้ใช้ขนาดความหนา 9 มิลลิเมตร ผลิตภัณฑ์ มอก.219-2524 ได้แก่ ตราช้าง TG, GYPROC
หรือเทียบเท่า
2.2 โครงเคร่า
ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 203 of 521

2.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบ
และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่
จําเป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
2.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและเส้นแนวตรง
หรือลวดลายได้ฉากมีความปราณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรงตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตราฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่
บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานการติดตัง้
3. ฝ้าเพดานแผ่นยิปซัมชนิ ่ ดกันชืน้
3.1 วัสดุ
วัสดุทจ่ี ะนํามาใช้จะต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อนไม่มรี อยชํารุดแตกร้าวเสียหาย
ใช้แผ่นยิปซัมชนิ่ ดทนความชืน้ (MOISTURE RESISTANTN GYPSUM BOARD) ในส่วนกลางของแผ่นยิปซัม่ ต้องมี
ส่วนผสมของ SILICONE หรือสารประกอบอย่างอื่นทีไ่ ม่เป็ นพิษ (NONTOXIC) สามารถป้องกันความชืน้ โดยแผ่นยิปซัม่
จะต้องดูดความชืน้ ไม่เกิน 5% และมีกระดาษชนิดเหนียวพิเศษปิดผิดด้านนอก 2 ด้าน หากไม่ได้ระบุให้ใช้ขนาดความหนา
9 มิลลิเมตร ผลิตภัณฑ์ มอก.219-2524 ได้แก่ ตราช้าง TG, GYPROC หรือเทียบเท่า
3.2 โครงเคร่า
ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน
3.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบ
และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่
จําเป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
3.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและเส้นแนวตรง
หรือลวดลายได้ฉากมีความปราณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรงตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตราฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลักเพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่
บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานการติดตัง้
4. ฝ้าเพดานแผ่นกันเสียงสะท้อนใยแร่ (ACOUSTIC BOARD)
4.1 วัสดุ
4.1.1 ฝ้าเก็บเสียงใยแร่ชนิดบังใบใหญ่ให้ใช้แผ่นฝ้าทีผ่ ลิตจาก MINERAL FIBER ขนาด 595x1195x19
มิลลิเมตร มีใบรับประกันไม่แอ่นตัว 10 ปี ภายใต้ความชืน้ 99% อุณหภูมิ 49 องศาเซลเซียส ค่าดูดซับเสียงไม่น้อยกว่า
0.50 ค่าการกันเสียงไม่น้อยกว่า 33 เดซิเบล การป้องกันไฟ CLASS A ตามมาตรฐาน BS 476 PART 6&7 เคลือบสีขาว
VINYL LATEX สําเร็จจากโรงงาน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ARMSTRONG รุ่น FINE FISSURRED SECOND LOOK 4 RH99 #
3583 หรือAURATONE หรือเทียบเท่า
4.1.2 ฝ้าเก็บเสียงใยแร่ชนิดขอบเรียบให้ใช้แผ่นฝ้าทีผ่ ลิตจาก MINERAL FIBER ขนาด 595x1195x15
มิลลิเมตร มีใบรับประกันไม่แอ่นตัว 10 ปี ภายใต้ความชืน้ 99% อุณหภูมิ 49 องศาเซลเซียส ค่าดูดซับเสียงไม่น้อยกว่า
0.50 ค่าการกันเสียงไม่น้อยกว่า 33 เดซิเบล การป้องกันไฟ CLASS A ตามมาตรฐาน BS 476 PART 6&7 เคลือบสีขาว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 204 of 521

VINYL LATEX สําเร็จจากโรงงาน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ARMSTRONG รุ่น FINE FISSURRED RH99 # 3570 หรือ
AURATONE หรือเทียบเท่า
4.1.3 แผ่นฝ้าเก็บเสียงทีจ่ ะนํามาติดตัง้ จะต้องมีขนาดตามทีก่ าํ หนด ขอบแผ่นทุกด้านจะต้องได้รบั การบังใบ
มาจากโรงงานผูผ้ ลิต ได้ฉาก ไม่แตกบิน่ การกองเก็บแผ่นฝ้าเก็บเสียงจะต้องกองบนพืน้ ทีเ่ รียบเท่านัน้
4.2 โครงเคร่า
ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน
4.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบเพื่อขอความเห็นชอบและ
ตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่
จําเป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
4.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและเส้นแนวตรง
หรือลวดลายได้ฉากมีความปราณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรงตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตราฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลักเพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่
บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานการติดตัง้
5. ฝ้าเพดานแผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด
5.1 วัสดุทใ่ี ช้
ใช้แผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด (ปราศจากใยหิน) ตราช้าง (สมาร์ดบอร์ด) หรือตราต้นไม้ (แฟลกซีบ่ อร์ด) หรือตรา
ROCK WOOD หรือเทียบเท่า หนา 6 มิลลิเมตร
5.2 โครงเคร่า
ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน
5.3 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบ
และตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่
จําเป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
5.4 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและเส้นแนวตรง
หรือลวดลายได้ฉากมีความปราณีตเรียบร้อยมันคงแข็ ่ งแรงตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตราฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่
บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานการติดตัง้
6. ฝ้าอลูมเิ นียมแบบตะแกรง
6.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุซง่ึ ประกอบด้วยแผ่นฝ้า โครงรับฝ้า อุปกรณ์ยดึ ฝ้า แรงงานฝีมอื ดี อุปกรณ์เครื่องมือ และสิง่
อํานวยความสะดวกต่างๆ ทีจ่ าํ เป็ นทุกชนิด สําหรับการทํางานฝ้าอลูมเิ นียมให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ครบถ้วนตามแบบและ
รายการสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนต้องดูรกั ษาให้คงอยูใ่ นสภาพดีจนถึงส่งงานงวดสุดท้าย
6.2 วัสดุ
6.2.1 โครงหลัก (MAIN RUNNER) และโครงขวาง (CROSS RUNNER) ทําจากอลูมเิ นียมรูปตัว U กว้าง
10 มม. สูงไม่เกิน 50 มม. ความหนาไม่น้อยกว่า 1.0 มม. ระยะห่างระหว่างโครง 0.60 x 0.60 หรือ 0.60 x 1.20 มิลลิเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 205 of 521

เคลือบสีระบบ STOVE ENAMELLED IN SPRAY SYSTEM หรือ ROLLER COATING


6.2.2 ส่วนตะแกรง (CELL PANEL) ทําจากอลูมเิ นียมรูปตัว U กว้าง 10 มม. สูงไม่เกิน 50 มม. ความหนา
ไม่น้อยกว่า 0.45 มม. ระยะห่างของตะแกรง 0.10 x 0.10 เคลือบสีดว้ ยระบบ STOVED ENAMELLED IN SPRAY
SYSTEM หรือ ROLLER COATING
6.2.3 ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ LUXALON หรือ FAMED LINE หรือ MVP FOUR STAR หรือ C-LINE หรือ
เทียบเท่า
6.3 การติดตัง้
6.3.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบงานระบบต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องบนฝ้าเพดานทัง้ หมดก่อนว่าเสร็จเรียบร้อยแล้ว
จึงจะเริม่ ดําเนินการ
6.3.2 การประกอบและติดตัง้ ฝ้าเพดานทัง้ หมดจะต้องให้ช่างทีม่ ฝี ีมอื ดี และมีความชํานาญงานโดยเฉพาะ
โดยติดตัง้ ตามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิตและแบบขยายรายละเอียด (SHOP DRAWINGS) ซึง่ ได้รบั การพิจารณาอนุมตั จิ ากผู้
ควบคุมงานแล้ว
6.3.3 ให้ระมัดระวังเป็ นกรณีพเิ ศษสําหรับการติดตัง้ ช่องไฟต่างๆ แนวบรรจบกับโครงสร้างและงานระบบ
อื่นๆ ซึง่ เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วจะต้องแลดูเรียบร้อย ได้ระดับเดียวกับฝ้าเพดาน (ห้ามยึดงานระบบโดยฝากกับโครงฝ้าเพดาน
ให้แยกยึดงานระบบโดยใช้โครงยึดของงานระบบโดยเฉพาะ)
6.3.4 ท้องพืน้ โครงสร้างและท่องานระบบต่างๆ ทีอ่ ยู่เหนือฝ้าตะแกรง ให้ทาหรือพ่นด้วยสีดาํ ด้าน
6.4 ตัวอย่าง
6.4.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอรายละเอียดข้อกําหนดผลิตภัณฑ์ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนําการติดตัง้ และ
ข้อมูลอื่นๆ ตามทีส่ ถาปนิกต้องการ
6.4.2 ผูร้ บั จ้างต้องเสนอตัวอย่างวัสดุ อุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ ทัง้ หมดทีจ่ ะใช้จริง
6.4.3 แบบขยายรายละเอียด (SHOP DROWINGS) จะต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) ตําแหน่ง ขนาด ระยะของฝ้าเพดานทีจ่ ะติดตัง้
(2) แบบขยายการติดตัง้ ของฝ้าเพดานแต่ละส่วน
(3) แนวบรรจบของฝ้าเพดานกับโครงสร้างและ/หรือผนังข้างเคียง
(4) แบบขยายการติดตัง้ ช่องไฟแสงสว่าง และช่องงานระบบต่างๆ ทีม่ อี ยู่บนฝ้าเพดาน
(5) รายละเอียดอื่นๆ ตามทีผ่ คู้ วบคุมงานต้องการ
รายละเอียดทัง้ หมดดังกล่าวผูร้ บั จ้างจะต้องนําเสนอต่อผูค้ วบคุมงานอย่างน้อย 3 ชุด เพื่อพิจารณาอนุมตั ิ ในกรณี
จําเป็ นต้องจัดทําแผงฝ้าเพดานตัวอย่างเพื่อประกอบการพิจารณา ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการให้เป็ นทีเ่ รียบร้อย โดย
ค่าใช้จ่ายเป็ นของผูร้ บั จ้างเอง หลังจากสถาปนิกอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรแล้วจึงลงมือติดตัง้ จริงได้
7. ฝ้าเพดานท้องพืน้ Post Tension หรือท้องพืน้ ค.ส.ล. ฉาบปูนเรียบทาสี
7.1 การเตรียมผิวพืน้ และการฉาบทําเช่นเดียวกับการฉาบปูนผนัง
7.2 บัว หรือร่องนํ้าหยด ปลายกันสาดโดยรอบหรือท้องคานขอบกันสาดให้บวั ปูนหรือร่องกันนํ้าส่วนทีอ่ ยู่
ภายนอก เช่น เฉลียงทางเดิน และกันสาดให้ทาสีชนิดทาภายนอก มีขนาดความกว้าง 2 เซนติเมตร ลึก 1 เซนติเมตร เป็ น
ร่องสีเ่ หลีย่ มคางหมู
8. ฝ้ าเพดานไม้ระแนงพีวีซีลายไม้ สีสาเร็จรูป
8.1 วัสดุทใ่ี ช้ แผ่นฝ้าระแนงลายไม้ สีสาํ เร็จรูป รุ่น pvc series ขนาดเส้น 11 x 118 มม. หนา 5 มม. ระบบซ่อน
สกรู ความยาวเส้น 3 ขนาดเพื่อประหยัดการเสียเศษ คือ 2.439 / 3.048 / 3.658 ระยะความกว้างแผ่นฝ้า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 206 of 521

ระแนงหลังซ้อนทับ 4 นิ้ว ทําสีสาํ เร็จรูปจากโรงงานผูผ้ ลิต การดูดซึมนํ้าตํ่า ปลวกไม่กนิ ตรา winwood หรือ
peonek หรือ daiken
8.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด 11 มม. xความยาว 30 เซนติเมตร จํานวน 2 ชิน้ พร้อม
ตัวอย่างสี และแคทตาล๊อคสินค้า ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
8.3 โครงเคร่า ดูรายละเอียด และการติดตัง้ ในงานโครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน
8.4 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง พร้อม แคทตาล๊อคสิน
ค้า และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบและตรวจสอบความต้องการของผู้ออกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้
งาน ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบ
ตัวอย่าง (MANUFACTURE APECIFICATION)
8.5 การติดตัง้ ใช้การติดตัง้ ยึดด้วยสกรูยงิ ฝ้าเกลียวปล่อย ขนาด 6 มม.กับโครงเคร่า โดยใช้การติดตัง้ แผ่นฝ้า
ระแนงซ้อนแผ่น เพื่อซ่อนสกรู ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วน
ทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับและเส้นแนวตรงหรือลวดลายได้ฉากมีความประณีตเรียบร้อย มันคงแข็ ่ งแรง ตามที่
ผูอ้ อกแบบกําหนดและกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ฯผูผ้ ลิตก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้าง
หลัก เพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการ
ดําเนินงานติดตัง้
9. ฝ้ าเพดานแผ่นอะคูสติ กดูดซับเสียง ใยไม้สาเร็จรูป
9.1 วัสดุทใ่ี ช้ แผ่นอะคูสติกดูดซับเสียงใยไม้สสี าํ เร็จรูป รุ่น wood wool silk ceiling & panel ขนาดแผ่นรวม
600x600 หนา 15 มม. ความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 8 กิโล/ตร.ม. ขอบบังใบ ผลิตจากใยไม้ละเอียด ทําสี
สําเร็จรูป ตรา Cello board , Daiken หรือ Valchromat
9.2 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งตัวอย่างขนาด 20x20 เซนติเมตร จํานวน 2 แผ่น พร้อมแผ่นสี และแคทตาล๊อ
คสินค้า ให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
9.3 โครงเคร่าโลหะ ชนิด T-BAR
9.4 ตัวอย่างวัสดุ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทใ่ี ช้ แต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง พร้อม แคทตาล๊อคสินค้า
และส่งให้ผอู้ อกแบบ เพื่อขอความเห็นชอบและตรวจสอบความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน
ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ดว้ ย รวมทัง้ รายละเอียดประกอบตัวอย่าง
(MANUFACTURE APECIFICATION)
9.5 การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างทีม่ คี วามชํานาญและประสบการณ์ในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้
ระดับและเส้นแนวตรงหรือลวดลายได้ฉากมีความประณีตเรียบร้อย มันคงแข็ ่ งแรง ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด
และกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ฯผูผ้ ลิตก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพือ่ ตรวจสอบ
บริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์เรียบร้อยถ้ามีสงิ่ บกพร่องให้แก้ไขก่อนการดําเนินงานติดตัง้
1) โครงเคร่าโลหะ T-BAR
 จัดวางผังการติดตัง้ ตามแปลนพืน้ ที่ คํานวณระยะจากวางโครง เพื่อให้ได้ตามแบบและมีความประณีต
เรียบร้อย ตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด
 หาระดับทีต่ อ้ งการติดตัง้ ฝ้าเพดาน แล้วจึงยึดเคร่าริมรับแผ่นฝ้าเพดานกับผนังโดยรอบให้ได้ระดับตามที่
กําหนด
 ยึดเหล็กฉากด้วยพุกเหล็กกับโครงสร้างบนของอาคารเว้นระยะห่างกัน 1.20 เมตร
 ใช้สปริงและลวดระดับระหว่างเหล็กฉากกับโครงเคร่าผืน T-BAR และปรับให้ได้ระดับตามความต้องการ
โดยเคร่ายืนห่างกันระยะ 1.20 เมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 207 of 521

 สอดเคร่าซอยยึดกับเคร่ายืนให้ได้ฉาก โดยหากได้รปู แบบ T-BAR เป็ นระยะ 0.60x0.60 เมตร ให้ใช้เคร่า


ซอยสอดขวางระหว่างกลางเคร่าซอยยาวช่วงระยะ 1.20 เมตร
 ปรับระดับโครงเคร่าฝ้า T-BAR ทีช่ ุดสปริงปรับระดับจนได้ระนาบทัง้ หมด แล้วจึงนําแผ่นฝ้าเพดานวาง
บนโครงเคร่า
10 ฝ้ าเพดานสาเร็จรูปชนิ ด Pu (Sandwich Panel)
เป็ นแผ่นสําเร็จรูปโลหะ ทีม่ โี ครงสร้างเป็ นชิน้ เดียวกันตลอด (Integral Type) แบบ Sandwich Panel, มี
คุณสมบัตเิ ป็ นฉนวนกันความร้อน, รักษาอุณหภูม,ิ ควบคุมความชืน้ , ทําความสะอาด ติดตัง้ ง่าย และรือ้ ย้ายต่อ
เติมได้สะดวก
- ความหนาของผนังเป็ นไปตามทีร่ ะบุในแบบ
- ส่วนประกอบของแผ่น (Sandwich Panel)
- ผิวหน้าทัง้ สองด้าน (Surface) จะต้องทํามาจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสี ความหนา 0.45 มม.เคลือบสีรอง
พืน้ ด้วย Epoxy Primer 3-5 ไมครอน และเคลือบสีจริงด้วยโพลีเอสเตอร์ (Off white) 20 ไมครอน
- แกนกลาง (Core) เป็ นโพลียรู เี ทนโฟม (Polyurethane Foam) ชนิดไม่ลามไฟ S.E. Class (Self-
Extinguishing) ฉีดเข้าแบบด้วยเครื่องฉีดโฟมแรงดันสูง (Hi Pressure Injection) ฉนวน PU จะต้องเป็ น
ชิน้ เดียวกันตลอดแผ่นผนัง (Single Body) ห้ามใช้วธิ กี ารประกอบด้วยการทากาวโฟมติดกับแผ่นเหล็ก
- ขอบแผ่น (Frame) แผ่นเหล็กทีบ่ ริเวณขอบแผ่นจะต้องถูกรีดขึน้ รูปเป็ นแบบเสียบเข้าลิม่ ทัง้ สองด้าน ชนิด
ตัวผูแ้ ละตัวเมีย Slip Joint (ไม่ใช่ PVC Joint )
- วัสดุเคลือบผนัง เป็ นพลาสติกใสติดทีผ่ วิ ทัง้ 2 ด้าน
- คุณสมบัตขิ องแผ่นผนัง และฝ้าเพดาน

รายการ รายละเอียด คุณสมบัติ


1. ความเป็ นฉนวน(HeatInsulation Properties) 0.42 kcal/M2 hr. oC
2. กันเสียง (Sound Insulation Properties) 25 Db
3. ความแข็งแรง (Panel Strength) S = 11.0 m/m
ไม่ลุกลามไฟ (S.E.
4. การติดไฟ (Inflammability)
Class)
5. ความหนาแน่น (Density) 40 kg/m3

กรณีหอ้ งเย็น
- ฝ้าเพดาน PUใช้ความหนา 4 นิ้ว
- ผนัง PU ใช้ความหนา 4 นิ้ว
กรณีหอ้ งปฏิบตั กิ ารทัวไป

- ฝ้าเพดาน PU ความหนา 2 นิ้ว

จบหมวดที่ 32

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 208 of 521

หมวดที่ 33
งานบันได

1. วัสดุทาํ พืน้ ผิวบันได



เป็ นบันไดลูกนอน – ลูกตัง้ ผิวหินขัดสําเร็จรูป หรือวัสดุกาํ หนดตามรูปแบบสถาปตยกรรม
2. วัสดุทาํ จมูกบันได
จมูกบันไดอลูมเิ นียมสอดเส้นผ้าเบรก 3 เส้น จมูกบันได PVC หรือตามรูปแบบกําหนด
ผลิตในประเทศไทย ผลิตภัณฑ์ของ HOMEPLAS, INFINITE, KOENIG, APACE หรือ คุณภาพเทียบเท่า
การติดตัง้ ใช้เส้นเดียวยาวตลอด
3. บัวเชิงผนังบันได
ชนิดเดียวกับบัวพืน้ ทัวไปหรื
่ อตามแบบ
4. การส่งตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างต้องส่งตัวอย่างจมูกบันได 1 ชุด ให้คณะกรรมการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ

จบหมวดที่ 33

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 209 of 521

หมวดที่ 34
งานประตู – หน้ าต่าง

1. งานประตู-หน้าต่างไม้
1.1 ขอบเขตของงาน
1.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ ในการติดตัง้ งาน
ประตู-หน้าต่างไม้ ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมทําการทดสอบให้ใช้งานได้ดี
1.1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งชิน้ ส่วนตัวอย่างวัสดุบานประตู-หน้าต่างไม้ วงกบไม้ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้ผู้
ควบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้ หรือสังผลิ
่ ต
1.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทํา Shop drawing แสดงการติดตัง้ วงกบและบานประตู-หน้าต่างไม้ พร้อม
รายละเอียดต่างๆ ให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้
1.2 วัสดุ
1.2.1 วงกบไม้ทงั ้ หมดจะต้องมีขนาดและรูปร่างตามระบุในแบบ หากไม่ระบุในแบบ ให้ใช้ไม้เนื้อแข็ง ขนาด
50x100 มิลลิเมตร (2x4 นิ้ว) สําหรับห้องนํ้า ให้ใช้ขนาด 50x125 มิลลิเมตร (2x5 นิ้ว) และบานทีม่ มี งุ้ ลวดหรือบานเลื่อน ให้
ใช้ขนาด 50x150 มิลลิเมตร (2x6 นิ้ว)
วงกบประตูจะต้องมีบงั ใบสูง 10 มิลลิเมตร กว้างเท่ากับความหนาของบานประตู (35 มิลลิเมตร) หรือตามระบุในแบบ
สําหรับวงกบประตูภายนอกทีจ่ ะต้องกันฝนสาด ต้องมีขอบวงกบล่าง (ธรณีประตู) ฝงั เรียบเสมอผิวพืน้ ทีต่ กแต่งแล้ว และมี
บังใบสําหรับกันฝนสาดสูง 20 มิลลิเมตร หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
การเข้าไม้จะต้องให้ถูกตามหลักวิชาช่าง
1.2.2 บานกรอบประตูไม้ และบานกรอบหน้าต่างไม้ จะต้องประกอบขึน้ จากไม้เนื้อแข็ง เกรด A และจะต้อง
ประกอบมาจากโรงงานให้เรียบร้อย การบากและการเข้าไม้จะต้องแน่นสนิท และมีขนาดตามระบุในแบบ
1.2.3 ประตูไม้อดั ให้ใช้ประตูทไ่ี ด้มาตรฐานบานประตูแผ่นไม้ประกอบ (มอก.192-2549) ของไทยวนภัณฑ์
ไม้อดั ไทยบางนา หรือเทียบเท่า ห้ามใช้ประตูประกอบขึน้ เอง เว้นแต่เป็ นขนาดทีไ่ ม่มใี นท้องตลาด โดยได้รบั การอนุมตั จิ าก
ผูค้ วบคุมงานก่อน ประตูทุกบานจะต้องมีความหนา 35 มิลลิเมตร ประตูไม้อดั ทัง้ หมดทัง้ ภายใน ภายนอก และประตู
ห้องนํ้า ให้ใช้ประตูไม้อดั ชนิดภายนอก (Exterior doors)
1.2.4 หากระบุให้ตดิ มุง้ ลวด ให้ตดิ ตัง้ มุง้ ลวดอย่างดีสดี าํ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ กรอบประตู
ไม้เนื้อแข็งขนาด 37.5x125 มิลลิเมตร (1 - 1/2x5 นิ้ว) หรือกรอบหน้าต่างไม้เนื้อแข็งสักขนาด 37.5x100 มิลลิเมตร (1
1/2x4 นิ้ว) หรือตามระบุในแบบ การติดตัง้ มุง้ ลวดต้องขึงให้ตงึ ได้ระดับและได้แนว ยึดให้ตดิ กับกรอบบานไม้อย่างเรียบร้อย
แข็งแรง ทัง้ สีด่ า้ น
1.3 การขนส่ง การเก็บและการรักษา
ประตู-หน้าต่างไม้และวงกบไม้ จะต้องส่งมายังสถานทีก่ ่อสร้างในสภาพแห้ง และต้องเก็บให้คงสภาพแห้งอยู่เสมอ
การขนย้ายต้องทําด้วยความระมัดระวังทัง้ ระหว่างการขนส่งและทัง้ ในสถานทีก่ ่อสร้าง จะต้องเก็บกองไว้ในลักษณะทีป่ ระตู
ไม้และวงกบไม้ ไม่บดิ เบีย้ ว แตกหัก หรือเสียหายใดๆ การเก็บวางบานประตู-หน้าต่างและวงกบไม้ไว้ในสถานทีก่ ่อสร้าง
ต้องวางในทางตัง้ และเก็บไม้ไว้ในทีแ่ ห้ง มีสงิ่ ปกคลุม ไม่มคี วามชื้น ไม่มนี ้ํารัวซึ ่ ม และไม่มฝี นสาดเข้ามา หากปรากฏ
ภายหลังว่างานประตู-หน้าต่างไม้บดิ เบีย้ ว ยืด และหดตัว หรือเกิดความเสียหายใดๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการแก้ไขหรือ
เปลีย่ นใหม่ทนั ที โดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 210 of 521

1.4 การติดตัง้
1.4.1 การติดตัง้ วงกบไม้
ไม้วงกบทีน่ ําเข้ามาในหน่วยงานจะต้องทาหนึ่งครัง้ ด้วยแชล็คขาวโดยรอบวงกบ เพื่อป้องกันนํ้าปูนซึม เข้าไปในเนื้อ
ไม้ ขณะเทเสาเอ็น และคานทับหลัง วงกบไม้ดา้ นนอกโดยรอบทีจ่ ะติดกับเสาเอ็นหรือคานทับหลัง ต้องเซาะร่องขนาดกว้าง
ไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร ลึก 10 มิลลิเมตร และต้องทําการติดตัง้ วงกบไม้ก่อนเทเสาเอ็นและคานทับหลัง เพื่อให้วงกบไม้
ยึดแน่นกับเอ็นและคานทับหลัง ค.ส.ล. โดยจะต้องมีการคํ้า หรือยึดตรึงวงกบไม้ให้ดดี ว้ ยวิธที เ่ี หมาะสมตามความเห็นชอบ
ของผูค้ วบคุมงาน เพื่อป้องกันวงกบไม้คดโก่ง ยกเว้นคานทับหลังใต้วงกบหน้าต่าง หรือช่องแสง หรือกรณีพเิ ศษตามความ
เห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน ให้เทก่อนติดตัง้ วงกบได้ โดยฝงั พุกไม้ไว้ขณะเททุกระยะไม่เกิน 500 มิลลิเมตร แล้วติดตัง้ ด้วย
วิธที เ่ี หมาะสม โดยวงกบไม่เสียหายส่วนของวงกบไม้ทต่ี ดิ กับผนังฉาบปูน จะต้องเซาะร่องผนังปูนฉาบโดยรอบวงกบกว้าง 5
มิลลิเมตร ลึก 3 มิลลิเมตร ทัง้ ภายนอกและภายใน
1.4.2 บานประตู-หน้าต่างไม้และอุปกรณ์
(1) ก่อนการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจดูความถูกต้องของวงกบเสียก่อน ถ้าเกิดการคดโก่งของวงกบ หรือการชํารุด
อื่นๆ ซึง่ อาจเป็ นผลเสียหายต่อบานประตู-หน้าต่างภายหลัง ผูร้ บั จ้างต้องทําการแก้ไขให้เรียบร้อย โดยได้รบั การ
พิจารณาอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อน จึงทําการติดตัง้ บานประตู-หน้าต่างได้
(2) การติดตัง้ บาน อาจต้องมีการตัดแต่งบ้างเล็กน้อยเพื่อให้พอดีกบั วงกบ เพื่อความสะดวกในการปิดเปิ ด และ
สอดคล้องกับการทํางานของช่างสี ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ และปรับบานด้วยความระมัดระวัง โดยมีช่องว่างโดยรอบ
บาน ห่างจากวงกบประมาณด้านละ 2 มิลลิเมตร
(3) การติดตัง้ อุปกรณ์ เช่น บานพับ กุญแจ ลูกบิด ฯลฯ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้เครื่องมือทีเ่ หมาะสม โดยกําหนดจุดทีจ่ ะเจาะ
ก่อน แล้วจึงทําการเจาะ เพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดหลังจากการติดตัง้ อุปกรณ์ต่างๆ และได้ทดสอบการใช้งานได้ดี
แล้ว ให้ถอดอุปกรณ์ต่างๆ ออกให้หมด (ยกเว้นบานพับ) แล้วนําเก็บลงในกล่องบรรจุเดิมให้เรียบร้อย เพื่อให้ช่าง
ทาสีทาํ งานได้โดยสะดวก และเมื่องานทาสีบาน และวงกบเสร็จเรียบร้อยและแห้งสนิทแล้ว จึงทําการติดตัง้ อุปกรณ์
เหล่านัน้ ใหม่และทดสอบจนใช้งานได้ดอี ุปกรณ์ต่างๆ ถ้าปรากฏเป็ นรอยอันเนื่องมาจากการติดตัง้ หรือจากการขนส่ง
งานทาสี เป็ นสนิมมีรอยด่าง หรืออื่นๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไข หรือเปลีย่ นให้ใหม่ทนั ที โดยค่าใช้จา่ ยต่างๆ เป็ นของผู้
รับจ้างทัง้ สิน้
1.5 การทาสีและการบํารุงรักษา
วงกบไม้ บานประตูไม้ บานหน้าต่างไม้ทงั ้ หมดทัง้ ภายนอกและภายใน ให้ทาย้อมเนื้อไม้ตามระบุในหัวข้องานทาสี
นอกจากระบุเป็ นอย่างอื่นในแบบ หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ และเมื่อทาสีเสร็จแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทดลองเปิ ด -
ปิ ดบานประตูและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ จนสามารถใช้งานได้ดี ก่อนส่งมอบงาน

2. งานอุปกรณ์ ประตู-หน้าต่างไม้
2.1 ขอบเขตของงาน
2.1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุม
คุณภาพทีด่ ใี นการติดตัง้ อุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง (Hardware) ตามทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบและรายการประกอบแบบ รวมทัง้ การ
ทดสอบให้ใช้งานได้ดี
2.1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างอุปกรณ์ประตู-หน้าต่างทัง้ หมดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง พร้อม
รายละเอียดให้ผคู้ วบคุมงาน เพือ่ พิจารณาอนุมตั กิ ่อนการสังซื่ อ้
2.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทํา Shop drawing แสดงระยะ ตําแหน่ง การติดตัง้ ของ Hardware ทุกชนิด แสดง
ทิศทางการเปิ ดของประตู รายละเอียดของกุญแจ โดยระบุการใช้งาน (Function) เพื่อให้เหมาะสมกับประตูหอ้ งต่าง ๆ ตาม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 211 of 521

ข้อแนะนําของผูผ้ ลิต และตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ และต้องจัดทํารายละเอียดระบบ Master keys ตามวัตถุประสงค์


ของผูอ้ อกแบบและผูว้ ่าจ้าง
2.1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง ตามระบุในแบบเป็นหลัก หรือต้องประสานงานกับ
ผูอ้ อกแบบงานตกแต่งภายใน หากไม่ระบุในแบบใด ๆ ให้ยดึ ถือตามทีร่ ะบุไว้น้ี
2.2 วัสดุ อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างไม้
2.2.1 กุญแจลูกบิด (Cylindrical Lock)
(1) กุญแจต้องมี 6 Pin Cylinders ทําจาก Solid Brass
(2) ลูกบิดทําจากสแตนเลสขึน้ รูปชิน้ เดียว พร้อมจานสแตนเลส
(3) หากเป็ นประตูทเ่ี ปิ ดออกภายนอก จะต้องมีแผ่นสแตนเลสเสริม ป้องกันการเขีย่ ลิน้ กลอนลูกบิด
2.2.2 กุญแจติดตาย (Deadbolt Lock)
(1) ต้องเป็ นชนิด 25 มิลลิเมตร (1 นิ้ว) Throw, Deadbolt ทําจาก Hardened Steel Roller สามารถป้องกันการตัดด้วย
เลื่อย
(2) ไส้กุญแจต้องมี 6 Pin Cylinders ทําจาก Solid Brass
(3) ครอบหุม้ กุญแจ ทําจากสแตนเลส
2.2.3 บานพับ (Hinge)
(1) ประตู-หน้าต่างไม้บานเปิ ดทางเดียว ให้ใช้บานพับทําด้วยสแตนเลสชนิดมีแหวนสแตนเลส 4 แหวน ขนาด
100x75x2.5 มิลลิเมตร (4x3 นิ้ว) บานละ 3 ตัว สําหรับประตู และบานละ 2 ตัวสําหรับหน้าต่าง (สูงไม่เกิน 1.20
เมตร)
(2) บานพับปรับมุม สําหรับหน้าต่างบานกระทุง้ ให้ใช้บานปรับมุมชนิดฝืด 4 แขน ขนาดตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต โดย
ได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
2.2.4 อุปกรณ์กนั กระแทกและเปิ ดค้างประตู (Door Bumper and Door Stopper)
(1) ประตูบานเปิ ดทุกบานให้ตดิ ตัง้ ทีก่ นั กระแทกทําด้วยยางกันกระแทกและกรอบสแตนเลส ติดตัง้ ตามตําแหน่งที่
เหมาะสมกับบานประตู โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
(2) ประตูบานเปิ ดทีต่ อ้ งการเปิ ดค้างได้ให้ตดิ ตัง้ ทีก่ นั กระแทกชนิดล็อคได้แบบก้ามปูทาํ ด้วยสแตนเลสยาว 4 นิ้ว
2.2.5 กลอน (Bolt)
(1) ประตูบานเปิ ดคู่ ให้ใช้กลอนสแตนเลสขนาด 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) (บน-ล่าง) เฉพาะบานทีไ่ ม่ตดิ กุญแจ
(2) หน้าต่างบานเปิ ด ให้ใช้กลอนสแตนเลส บน 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว) และล่าง 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) บานละ 1 ชุด
2.2.6 มือจับ (Handle)
(1) บานทีไ่ ม่ได้ตดิ กุญแจลูกบิด ให้ตดิ ลูกบิดหลอกทัง้ นอกและใน บานละ 1 ชุด ชนิดและผูผ้ ลิตเดียวกันกับลูกบิด พร้อม
กลอนบน-ล่าง
(2) หน้าต่างบานเปิ ด ให้ตดิ มือจับสแตนเลส ขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) กลางบาน ผูผ้ ลิตเดียวกันกับกลอน พร้อม
กลอนบน-ล่าง
(3) ประตูบานเปิ ดสวิง ให้ตดิ ตัง้ มือจับสแตนเลสขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 19 มิลลิเมตร ชนิดมีแผ่นสแตนเลส ขนาด
100x300 มิลลิเมตร หนา 2 มิลลิเมตร ทัง้ สองด้าน พร้อมด้วยกุญแจติดตาย
(4) บานเลื่อนและบานเฟี้ยม ให้ตดิ ตัง้ มือจับสแตนเลส 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ชนิดฝงั ในบาน
(5) หน้าต่างบานกระทุง้ ให้ตดิ ตัง้ มือจับสแตนเลส ขนาด 4 นิ้ว ชนิดหมุนล็อค
2.2.7 อุปกรณ์บานเลื่อน (Sliding Door Equipments)
(1) สําหรับบานเลื่อนและบานเฟี้ยม ให้ใช้ชนิดรางแขวน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 212 of 521

(2) สําหรับบานเลื่อนขนาดใหญ่และบานเฟี้ยม จะต้องมี Guide Rail ขนาดของล้อเลื่อนต้องเหมาะสมกับนํ้าหนักของ


บานเลื่อน หรือบานเฟี้ยม จะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตอุปกรณ์ โดยได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน
2.2.8 อุปกรณ์บานเกล็ดปรับมุม (Adjustable Louver)
ให้ใช้กบั เกล็ดกระจกใสหรือกระจกฝ้าหนา 6 มิลลิเมตร ขนาด 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ชนิดมือหมุน
2.2.9 ขอรับ-ขอสับ (Hook Set) สําหรับบานหน้าต่างบานเปิ ด ให้ตดิ ขอรับ-ขอสับสแตนเลส ยาว 150
มิลลิเมตร (6 นิ้ว)
2.2.10 DOOR CLOSER สําหรับติดบานประตูไม้ให้ตดิ บานละ 1 ตัว
อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างไม้ ใช้ผลิตภัณฑ์ของ VVP,สกุลไทย, 555 CPS, หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.2.11 ชุดกุญแจ Smart Electronic Door Lock สําหรับติดตัง้ ทีป่ ระตูเข้าห้องพัก
(1) ต้องเป็ นทีท่ ผ่ี ่านการทดสอบการใช้งานมาแล้วไม่น้อยกว่า 1,000,000 cycles.
(2) วัสดุภายนอกทําจากสแตนเลส 304 ทีท่ นการกัดกร่อน และบริเวณหัวอ่านต้องไม่ใช่วสั ดุสแตนเลท เพื่อเป็ นการยืด
อายุการใช้งานของแบตเตอรี่
(3) บานประตูทใ่ี ช้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ชุดนี้ กรอบบานต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 115 มิลลิเมตร และความหนาของบานไม่
น้อยกว่า 35 มิลลิเมตร
(4) อุปกรณ์ Smart Electronic Door Lock ใช้ผลิตภัณฑ์ของ Keyking, Be-Tech, Adel หรือคุณภาพเทียบเท่า

3. งานประตูพวี ซี ี
ผลิตด้วยพีวซี คี ุณภาพสูงขึน้ รูปเคลือบผิวด้วยเทอร์โมพลาสติกยูรเี ทน ใช้ผลิตภัณฑ์ของ BATHIC, POLYWIN,
CHAMP หรือคุณภาพเทียบเท่า
3.1 งานประตู-หน้าต่างไวนิล ผลิตจากโพลิเมอร์สงั เคราะห์คุณภาพสูงใช้ผลิตภัณฑ์ของ WNSER จากบริษทั นว
พลาสติก หรือคุณภาพเทียบเท่า

4. งานประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม
4.1 วงกบและกรอบบาน
4.1.1 ขอบเขตของงาน
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหา วัสดุอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบควบคุมคุณภาพทีด่ ี ในการ
ติดตัง้ งานประตู-หน้าต่าง ตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมการทดสอบ
(2) ผูร้ บั จ้างติดตัง้ งานอลูมเิ นียม จะต้องเป็ นบริษทั ทีม่ เี ครื่องมือทีท่ นั สมัย และมีช่างทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบ
ควบคุมคุณภาพทีด่ ี มีประวัตแิ ละผลงานการติดตัง้ ทีด่ ี โดยเสนอผูค้ วบคุมงานพิจารณาอนุม ตั กิ ่อนทีผ่ รู้ บั จ้างจะว่าจ้าง
ให้เป็ นผูต้ ดิ ตัง้
(3) ผูร้ บั จ้างจะต้องคํานวณแรงลมตามกฎหมาย จัดหาวัสดุซง่ึ มีหน้าตัดและความหนาทีเ่ หมาะสมและแข็งแรง และ
สามารถป้องกันการรัวซึ ่ มของนํ้าฝนได้เป็ นอย่างดี โดยเสนอผูค้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้
(4) ผูร้ บั จ้างจะต้องวัดขนาดทีแ่ น่นอนของประตู-หน้าต่างจากสถานทีก่ ่อสร้างจริงทันทีทส่ี ามารถจัดทําได้และจัดทํา
Shop drawing พร้อมรายละเอียดต่าง ๆ ให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการประกอบและติดตัง้
4.1.2 วัสดุอลูมเิ นียม จะต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) เนื้อและผิวอลูมเิ นียม (ALUMINIUM EXTRUSION) ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานอะลูมเิ นียมเจือหน้าตัดรูปต่างๆ
(มอก.284-2530) ชนิด 6063 ภาวะประสงค์ T5 หรือ 50S-T5 โดยมี ULTIMATE TENSILE STRENGTH ไม่น้อย
กว่า 22,000 PSI การเคลือบผิวอลูมเิ นียมจะต้องเป็ นสี NATURAL ANODIZED Na-1 หรือ ANOLOK ตามทีร่ ะบุใน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 213 of 521

แบบโดยมีความหนาของ ANODIC FILM ไม่ต่ํากว่า 0.0006 นิ้ว หรือ 15 MICRON (Allowable Tolerance ±2
Micron) และจะต้องมีหนังสือรับรองความหนาของ Anodic Film และระบบชุบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากโรงงาน
ผูผ้ ลิต สําหรับสีของแผ่นอลูมเิ นียมให้ใช้ชนิด FLUOROCABONผลิตจากโรงงานทีไ่ ด้มาตรฐาน ISO 9001
ผลิตภัณฑ์ของ TOSTEM THAI CO.,LTD. , ผลิตภัณฑ์ของเอ็ม ที อลูเม็ท เมืองทองอุตสาหกรรมอาลูมเิ นียม
มหานครมิทอล ไทยเม็ททอลวินเซท อลูมเิ นียม หรือเทียบเท่า
(2) ขนาดหน้าตัดอลูมเิ นียม ถ้าในแบบมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น จะต้องมีความหนาของส่วนโครงสร้างดังนี้ (Allowable
Tolerance ตามมาตรฐานการรีดโลหะสากล)
- ชิน้ ส่วนหลัก ได้แก่ วงกบ และกรอบบาน หนาไม่น้อยกว่า 1.8 มิลลิเมตร
- ชิน้ ส่วนประกอบส่วนทีเ่ หลือทัง้ หมด หนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตร
(3) แถบยางกันซึม (WEATHER SEAL GASKET)
ยางอัดกระจกให้ใช้ชนิด NEOPRENE ส่วนชนิด EPDM สีดาํ สามารถใช้ได้กบั ส่วนทีไ่ ม่ถูกแสงแดด โดยมีความ
ยืดหยุ่น 40 (± 5) DUROMETREตาม ASTM C509-7
(4) แถบใยกันซึมกัน้ อากาศ (PILE WEATHERSEAL)
สําหรับบานกระทุง้ หรือบานเปิ ดชนกับวงกบหรือชนกับบานอื่นให้ใส่ BULB SEAL ชนิด NEOPRENE ส่วนบาน
เลื่อนหรือบานสวิงทีเ่ สียดสีกบั วงกบหรือบานอื่นตามแนวตัง้ ให้ใส่สกั หลาด (WOVEN POLY) ความยาวของใยทีใ่ ช้
ต้องมากกว่าช่องห่าง 15% โดยตลอดแนว
(5) วัสดุยาแนวรอยต่อและกันซึม (JOINT SEALANT)
รอยต่อรอบวงกบทัง้ ภายนอกและภายในส่วนทีต่ ดิ แนบกับปูน คอนกรีต ไม้ หรือวัสดุอ่นื ใดให้ใช้ SILICONE
EALANT ส่วนรอยต่อระหว่างกระจกและอลูมเิ นียมในส่วนทีจ่ ะต้องรับแรงลมให้ใช้ STRUCTURAL SILICONE
SEALANT และส่วนทีส่ มั ผัสแสงแดดจะต้องเป็ น SILICONE ชนิดทนรังสี UV ทัง้ หมด
(6) แหวนรอง สกรู หมุดยํ้า ฉากยึด (FIXING BRACKET)
ส่วนทีอ่ ยู่ภายนอกอาคารให้ใช้ STAINLESS STEEL NO.304 ส่วนทีอ่ ยู่ภายในอนุญาตให้ใช้เหล็กกล้าเคลือบ
สังกะสี (ZINC COATING) ด้วยกรรมวิธี (HOT DIPPED GALVANIZED STEEL) หรือ CAD PLATED ตาม
มาตรฐาน ASTM A-123 พุกพลาสติกทําด้วย NYLON ระยะยึดห่างกันไม่เกิน 50 เซนติเมตร สีเดียวกันกับสีของ
อลูมเิ นียมการยาแนวรอยต่อต่างๆ จะต้องทําด้วยฝีมอื ประณีตและสวยงามทัง้ ภายนอกและภายใน
(7) แบบและเอกสารพิจารณา ให้ผรู้ บั จ้างนําส่งเอกสารดังนี้
(1) รายชื่อบริษทั ผูผ้ ลิตและติดตัง้ งานระบบประตู-หน้าต่าง อลูมเิ นียม พร้อมทัง้ รายละเอียดของบริษทั ดังนี้
(1.1) ผลงานการติดตัง้ ประตู-หน้าต่าง อลูมเิ นียม อย่างน้อย 2 โครงการ โครงการละไม่ต่ากว่า 50 ล้านบาท
และจะต้องมีหนังสือรับรองผลงานจากเจ้าของโครงการ
(1.2) บุคลากรทีจ่ ะทํางานโครงการ
(1.3) เครื่องมือ และเครื่องจักรทํางาน
(1.4) แผนการติดตัง้ ประตู-หน้าต่าง อลูมเิ นียม
(2) แบบประกอบการพิจารณา
(2.1) แบบรายละเอียดประตู-หน้าต่างทัวไป่
(2.2) แบบรายละเอียดสําหรับแบบประกอบการเสนอราคาดังกล่าวข้างต้นนัน้ จะต้องแสดงรายละเอียดของ
ขนาด Section การยึด (Fixing) ระบบกันนํ้า โดยละเอียด
(3) รายการคานวณขนาด Section

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 214 of 521

ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูค้ าํ นวณออกแบบหน้าตัด และความหนาของงานอลูมเิ นียมทัง้


โครงการ โดยใช้ขอ้ มูลทีก่ าหนดได้ดงั ต่อไปนี้
(3.1) ความสามารถในการต้านทานต่อแรงลม ให้ใช้ดงั ต่อไปนี้
(3.1.1) งานอลูมเิ นียมสําหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 10 เมตรแรกจากพืน้ เท่ากับ
50 กก/ตรม.
(3.1.2) งานอลูมเิ นียมสําหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 10-20 เมตร เท่ากับ 80 กก/
ตรม.
(3.1.3) งานอลูมเิ นียมสําหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 20-40 เมตร เท่ากับ 120 กก/
ตรม.
(3.1.4) งานอลูมเิ นียมสําหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 40 เมตรขึน้ ไปเท่ากับ 160
กก/ตรม.
(3.2) ค่า Allowable Deflection ต้องไม่เกิน L/175 ของความยาวจาก Support แรก
ถึง Support ถัดไป (เมื่อ L คือความยาวของ Member) ความหนาของ
อลูมเิ นียมทีก่ าหนดให้ใช้ในรายการก่อสร้างนี้เป็ นความหนาขัน้ ตํ่าทีย่ อมให้
ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างคํานวณแล้วผลการคํานวณแสดงให้เห็นว่าความหนาของ
อลูมเิ นียมจะต้องหนามากกว่าทีก่ าํ หนดให้ใช้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนา
ตามผลการคํานวณ หรือในกรณีทผ่ี ลการคํานวณแสดงให้เห็นว่าความหนา
ของอลูมเิ นียมสามารถใช้บางกว่าทีก่ าํ หนดให้ได้ ผูร้ บั จ้าง จะต้องใช้ความ
หนาตามทีก่ าหนดให้ไว้ในรายการก่อสร้างนี้โดยเคร่งครัด
(3.3) สาหรับหน้าต่างภายในซึง่ ไม่ตอ้ งรับแรงลมให้คาํ นวณโดยใช้แรง 50 กก./ตรม.

ประตูและหน้าต่าง เมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จตามมาตรฐานผูผ้ ลิตต้องมีประสิทธิภาพ เพื่อการใช้งาน ดังนี้


ขนาดหน้าตัด การต้านทานแรงลม (Kgf/sq.m) การป้องกันการรัวของอากาศ ่ การป้องกันการรัวของนํ
่ ้า
( mm) ( ทดสอบตามมาตรฐาน JIS….) ( ทดสอบตามมาตรฐาน JIS….) ( ทดสอบตามมาตรฐาน JIS….)
71 ระดับชัน้ S-1 ( 80) ระดับชัน้ A-3 ระดับชัน้ W-2
101.60 ระดับชัน้ S-2 (120) ระดับชัน้ A-4 ระดับชัน้ W-3

4.1.3 การติดตัง้
(1) การประกอบประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม จะต้องติดตัง้ ตามแบบและรายละเอียดทีไ่ ด้รบั อนุมตั ดิ ว้ ยฝีมอื ประณีต
(2) การเคลื่อนย้ายประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียมระหว่างการขนส่งและในสถานทีก่ ่อสร้าง ต้องกระทําด้วยความระมัดระวัง
ต้องห่อหุม้ ให้เรียบร้อย การวางพิงหรือเก็บกอง ต้องมีค้าํ ยัน หรือวัสดุรองรับทีเ่ หมาะสม ต้องมีหลังคาคลุม และไม่
โดนนํ้าหรือฝนสาด กุญแจ มือจับและอุปกรณ์อ่นื ๆ ต้องห่อหุม้ ไว้เพื่อป้องกันความเสียหายจนกว่าจะส่งมอบงาน
หากเกิดความเสียหายใด ๆ ผูร้ บั จ้างต้องแก้ไข หรือเปลีย่ นให้ใหม่ทนั ที โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง
(3) การติดตัง้ ประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม จะต้องติดตัง้ ให้ถูกต้องครบถ้วนตามช่องเปิ ดทีเ่ ตรียมไว้ และต้องรับผิดชอบใน
การตรวจสอบและประสานงานการปรับระดับเสาเอ็นและคานทับหลังโดยรอบช่องวงกบ เพื่อให้วงกบขนานกับผิว
ของเสาเอ็นและคานทับหลัง และมีระยะเว้นโดยรอบด้านละประมาณ 5 มิลลิเมตร ได้ดงิ่ และได้ฉากทุกมุม
(4) การยึดวงกบอลูมเิ นียมกับโครงสร้าง หรือเสาเอ็นและคานทับหลัง ให้ตดิ ตัง้ ชิน้ ส่วนสําหรับยึดไว้อย่างมันคงก่
่ อน การ
ยึดจะต้องเว้นช่วงห่างไม่เกิน 500 มิลลิเมตร การยึดวงกบทุกจุดทุกด้าน จะต้องมันคงแข็ ่ งแรง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 215 of 521

(5) ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่พยายามใส่บานประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียมเข้ากับช่องวงกบทีไ่ ม่ได้ฉาก หรือขนาดเล็กเกินไป ช่อง


วงกบจะต้องมีระยะเว้นโดยรอบบานประมาณ ด้านละ 2 มิลลิเมตร
(6) การติดตัง้ โดยการขันสกรู ต้องระมัดระวังมิให้วงกบและบานประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียมเสียรูปได้
(7) ผูร้ บั จ้างจะต้องยาแนวระหว่างวงกบอลูมเิ นียมกับผิวปูนฉาบให้เรียบร้อยสวยงามทัง้ ภายในและภายนอก
(8) ภายหลังการติดตัง้ ประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม รวมทัง้ กระจก และอุปกรณ์ทงั ้ หมดแล้ว จะต้องทําการทดสอบบานเปิ ด
ทุกบานให้เปิ ด-ปิ ดได้สะดวก และจะต้องมีการหล่อลื่นตามความจําเป็ น
4.1.4 การบํารุงรักษาและทําความสะอาด
(1) เมื่อติดตัง้ วงกบและ/หรือประตูอลูมเิ นียมเสร็จแล้ว แต่งานก่อสร้างส่วนอื่นหรือชัน้ บนยังดําเนินการอยู่เช่น งานก่ออิฐ
ฉาบปูน งานเทพืน้ ปูนทราย เป็นต้น ผูร้ บั จ้างจะต้องพ่น Strippable PVC Coatings เพื่อป้องกันผิวของอลูมเิ นียม
ไม่ให้เกิดความเสียหายจากนํ้าปูนหรือจากสิง่ อื่นใด
(2) เมื่อติดตัง้ งานอลูมเิ นียมแล้วเสร็จ ข้อบกพร่องใด ๆ ก็ตามทีเ่ กิดขึน้ โดยเฉพาะการรัวซึ่ มของนํ้าฝน จะต้องได้รบั การ
แก้ไขจนใช้การได้ดี และไม่มกี ารรัวซึ ่ ม ด้วยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง
(3) ก่อนส่งมอบงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของอาคารทีช่ าํ รุดอันเนื่องจากการติดตัง้ อลูมเิ นียมพร้อมทํา
การทดลองเปิ ด-ปิ ดประตูและทดลองอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สามารถใช้การได้ดี
(4) ก่อนส่งมอบงานงวดสุดท้าย ผูต้ ดิ ตัง้ จะต้องทําความสะอาดผิวอลูมเิ นียมและกระจกทัง้ ด้านนอกและด้านในให้สะอาด
ปราศจากคราบฝุน่ คราบสี หรือสิง่ อื่นใด เพื่อให้ดสู วยงาม ผูร้ บั จ้างต้องไม่ใช้เครื่องมือและนํ้ายาทําความสะอาดที่
อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อผิวอลูมเิ นียม และกระจกได้
4.2 วัสดุอุปกรณ์ประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียม
4.2.1 วัสดุอุปกรณ์
(1) หน้าต่างช่องแสงติดตายวงกบอลูมเิ นียม
ให้ใช้วงกบขนาด 4.5 x 10 ซม. ความหนาของวงกบอย่างน้อย 1.8 มม. การติดตัง้ จะต้องซ่อนสก
รูทข่ี นั ยึดติดกับวงกบไม่ให้มองเห็น และจะต้องมีขอบของอลูมเิ นียมเพียงพอทีจ่ ะรองรับเส้น
Polyetherene (โฟมเส้น) Joint Backing และ Silicone Sealant ในงานส่วนทีแ่ นบติดกับปูนฉาบ
คอนกรีต โดยไม่ใช้ Rivet (เม็ดย้า) ในการยึดอลูมเิ นียม
(2) ประตูอลูมเิ นียมบานเปิ ดสองทาง
(2.1) Door Closer ให้ใช้ชนิดซ่อนในวงกบเหนือประตูแบบเปิ ดเข้า-ออกได้สองทาง (Double
Action) จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้ผ่านการทดสอบ และรับรองคุณภาพจากประเทศ
สหรัฐอเมริกา และผูผ้ ลิตจะต้องได้รบั ประกันคุณภาพอย่างน้อย 30 เดือน นับจากวันที่
ทาการติดตัง้
(2.2) Dead Lock เป็ นชนิด Mortise Dead Lock
(2.3) Flush Bolt จะต้องเป็ นชนิด Zinc Diecast แบบ Round Front และExtension Rod ต้อง
มีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 6.00 มม.
(2.4) มือจับเป็ น Stainless Steel
(3) ประตูบานเปิ ดอลูมเิ นียมกันนํ้า สาหรับเปิ ดสูภ่ ายนอกอาคาร
(3.1) ติดตัง้ บานพับ Pivoted Hinge, Off Set Type ชนิด Stainless Steel
(3.2) Door Stop ชนิด Stainless Steel
(3.3) มือจับเป็ นแบบ Lever Handle
(3.4) กุญแจ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 216 of 521

(3.5) Door Closer ใช้ Floor Spring Type


(4) ประตูบานเลื่อนอลูมเิ นียม
(4.1) Roller
(4.2) Flush Pull Handle W/Lock
(4.3) Lock ให้ใช้ Mortise Dead Lock รุ่นทีใ่ ช้เฉพาะประตูบานเลื่อนอลูมเิ นียมมีระบบล็อค
ภายนอกใช้กุญแจ ภายในเป็ น Thumb Turn
(5) ประตูบาน Stainless
(5.1) ติดตัง้ บานพับ Pivoted Hinge, Off Set Type ชนิด Stainless Steel
(5.2) Dead Lock เป็ นชนิด Mortise Lock
(5.3) มือจับเป็ น Stainless Steel Ø 32 มม. ยาวตลอดบาน ตามแนวดิง่ ยึดที่ Frame นอน
บนและล่าง
(5.4) Frame ของบานและบานติดตายจะต้องอัดด้วย Poly Urethane Foame
(6) หน้าต่างบานเลื่อนอลูมเิ นียม
(6.1) Roller
(6.2) Flush Pull Handle W/Lock
(7) หน้าต่างบานเปิ ดอลูมเิ นียม
(7.1) Cam Handle S/Lock
(7.2) 4 Bar Hinges
(8) บานหน้าต่างกระทุง้ อลูมเิ นียม
(8.1) บานพับซ่อนในกรอบบาน ด้านบนเป็ น Extruded Aluminium
(8.2) Supporting Arm W/Limited Opening Device
(8.3) Security Cam Lock ติดตัง้ อย่างน้อยบานละ 2 จุด หรือตามรายการคํานวณที่ ป้องกันไม่ให้
บานโก่งตัวออกจากวงกบ หรือเกิดเสียงลมสอดแทรกเข้ามาในอาคาร
(9) หน้าต่างบานเกล็ด หรือผนังเกล็ดตามระบุ
บานเกล็ดอลูมเิ นียม ใช้ตวั Z ความหนาไม่น้อยกว่า 1.3 มม. ไม่ให้เห็นสกรู หรือ Rivet จากภายนอก
มีโครงสร้างอลูมเิ นียมยึดด้านหลังทุกระยะ Span 1.20 เมตร และบางรายการต้องติดตัง้ ตะแกรงเหล็กกันนก
ขนาดช่อง 1”x1” หรือหน้าต่างมุง้ ลวดป้องกันแมลง ตามรายละเอียดทีส่ ถาปนิกระบุให้
(10) กุญแจไฟฟ้าสาหรับประตู Security Aluminum ใช้กญ ุ แจไฟฟ้า ดังนี้
(10.1) Adams Rite Electric Latch. Release For Aluminum Door
(10.2) Lock Case No. 4711 W 628 With Schlage Mortise Cylinder
(10.3) Electric – Release Strike No. 7801 628
(10.4) Handle No. 4560 682
(10.5) Mortise Thumbturn No. 4066 628
(10.6) เชื่อมต่อเข้ากับระบบ Security ของอาคารและ Electrical Supply
(11) กุญแจประตูอลูมเิ นียม และกุญแจประตูท้ งั ้ หมดให้ทา Master Key เข้าชุดกับประตูอ่นื ๆ ของอาคาร
โดยมีรายละเอียดดังนี้
(11.1) กุญแจและลูกบิดประตูทกุ บานให้จดั ทากุญแจเฉพาะแต่ละลูกบิด จํานวนลูกบิดละ 2 ดอก
(11.2) กุญแจลูกบิดแต่ละชัน้ ให้ทา Sub Master Key สาหรับลูกบิดแต่ละชัน้ จํานวนชัน้ ละ 5 ดอก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 217 of 521

(11.3) กุญแจและลูกบิดประตูทกุ บานให้จดั ทํากุญแจ Grand Master Key จํานวนรวม 2 ดอก


อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างอลูมเิ นียมใช้ผลิตภัณฑ์ของ VVP, Dorma, Lockwood,Geze,VBH MAX STAR สกุลไทย ยูไนเต็ด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.2.2 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิด ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการ
ของผูอ้ อกแบบ ก่อนทีจ่ ะนําไปติดตัง้ เช่น
(1) ตัวอย่างของ HARDWARE ทีจ่ ะใช้ในงานก่อสร้าง แสดงถึง ขนาด ลวดลาย สี และ FINISIHNG
(2) รายละเอียดประกอบตัวอย่างของ HARDWARE แสดงถึง ระบบกุญแจ (KEY SYSTEM), FUNCTION และ
SPECIFICATION แสดงถึงคุณสมบัตแิ ละข้อแนะนําให้การติดตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิต
(3) ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายละเอียดแสดงระยะ ตําแหน่งการติดตัง้ ของ HARDWARE ให้ผอู้ อกแบบพิจารณาให้ความ
เห็นชอบก่อนการติดตัง้ HARDWARE
4.2.3 การติดตัง้
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกใช้ช่างทีม่ ฝี ีมอื และมีความชํานาญ พร้อมเครื่องมือทีด่ ใี นการติดตัง้ Hardware ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้
แล้วจะต้องได้ระดับทัง้ แนวตัง้ และแนวนอน ด้วยความประณีตเรียบร้อยถูกต้องตามหลักวิชาช่าง
(2) ก่อนการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบตําแหน่งและส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ Hardware หากพบว่ามี
ข้อบกพร่องใดๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขให้ถูกต้องเรียบร้อยก่อนการติดตัง้
(3) งานติดตัง้ อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างไม้ ให้ปฏิบตั ติ ามทีร่ ะบุไว้ในหมวดงานประตู-หน้าต่างไม้ หัวข้อการติดตัง้ บาน
ประตู-หน้าต่างไม้และอุปกรณ์
(4) Hardware ทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคงแข็ ่ งแรง เปิ ด-ปิ ดได้สะดวก เมื่อเปิ ดบานประตู-หน้าต่างออกไปจนสุดแล้ว
จะต้องมีอุปกรณ์รองรับหรือป้องกันการกระแทก ด้วยอุปกรณ์ทเ่ี หมาะสม มิให้เกิดความเสียหายกับประตู-หน้าต่าง
หรือผนัง และส่วนต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
(5) ตะปูเกลียว ทุกตัวทีข่ นั ติดกับเหล็ก ประตู-หน้าต่างไม้ จะต้องมีขนาดและความยาวทีเ่ หมาะสม ถูกต้องตามหลักวิชา
ช่างทีด่ ี การยึดทุกจุดต้องมันคงแข็
่ งแรงประณีตเรียบร้อย ตะปูเกลียวให้ใช้แบบหัวฝงั เรียบทัง้ หมด
(6) ผูร้ บั จ้างจะต้องมีกุญแจชัวคราวที่ ใ่ ช้ระหว่างการก่อสร้าง (Construction Keying) โดยให้เปลีย่ นกุญแจชัวคราวเป็
่ น
กุญแจจริง ให้ถูกต้องเรียบร้อยก่อนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
(7) ตะปูควงทุกตัวทีข่ นั ติดกับส่วนทีไ่ ม่ใช้ไม้ และวัสดุทเ่ี ป็ นโลหะ เช่น ผนัง ค.ส.ล., เสา ค.ส.ล., กําแพงก่อ อิฐ
ฉาบปูน ฯลฯ ตะปูควงทีข่ นั จะต้องใช้รว่ มกับพุกพลาสติกทําด้วย Nylon อย่างดี ระยะทีย่ ดึ จะต้องไม่เว้น ช่องเกินกว่า 50
ซม. ทีว่ งกบด้านบน ด้านล่างและด้านข้าง เว้นแต่จะระบุเป็ นอย่างอื่นในรูปแบบหรือรายการ การยึดทุกจุดจะต้องมันคง

แข็งแรง
(8) ตะปูควงทีใ่ ช้กบั วงกบทุกตัวต้องเป็ น Stainless Steel หรือระบุไว้เป็ นอย่างอื่น
(9) รอยต่อรอบ ๆ วงกบประตูและหน้าต่างทัง้ ภายในและภายนอก ส่วนทีแ่ นบติดกับปูนฉาบคอนกรีตไม้ หรือ
วัสดุอ่นื ใด จะต้องอุดด้วย Silicone Sealant ของ G.E. หรือ Dow Corning หรือคุณภาพเทียบเท่า และ จะต้อง
รองรับด้วย Closed Cell Polyethylene Joint Backing เสียก่อนทีจ่ ะทาการอุดหมัน (Caulking) และ ก่อนทาการอุด
หมัน (Caulking) จะต้องทําความสะอาดรอยต่อให้ปราศจากฝุน่ คราบนํ้ามัน สิง่ เปรอะเปื้ อน สกปรกต่างๆ และจะต้อง
ปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิต Silicone โดยเคร่งครัด
(10) สําหรับการสัมผัสกันระหว่างอลูมเิ นียมกับโลหะอืน่ ๆ จะต้องทาด้วย Alkali Resistant Bituminus
Paints หรือ Zinc-Chromate Primer หรือ Isolator Tape ตลอดบริเวณทีโ่ ลหะทัง้ สองสัมผัสกัน
เสียก่อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 218 of 521

(11) การปรับระดับภายหลังการติดตัง้ ประตู-หน้าต่างแล้ว อุปกรณ์ทงั ้ หมดจะต้องได้รบั การปรับให้อยูใ่ น


ลักษณ์ทเ่ี ปิ ด-ปิ ดได้สะดวก
(12) ช่องเปิ ดสําหรับการติดตัง้ ผูร้ บั จ้าง จะต้องไม่พยายามใส่บานประตู-หน้าต่าง เข้ากับช่องเปิ ดทีไ่ ม่ได้
ฉากหรือขนาดเล็กเกินไปช่องเปิ ดจะมีระยะเว้นเพือ่ การติดตัง้ โดยรอบประมาณด้านละ 10 มม. เป็ น
อย่างน้อย กรอบบานจะต้องมีความแข็งแรงทุกด้าน ในการติดตัง้ ซึง่ มีการขันเกลียวต้องระมัดระวังมิ
ให้บานประตูหรือหน้าต่างเสียรูปได้
(13) การรับรอง
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของประตูหน้าต่างรวมถึงวัสดุต่างๆ ทีใ่ ช้ในการติดตัง้ ทัง้ หมดเป็ นเวลา
5 ปี หากเกิดข้อบกพร่องต่างๆ อันเนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุ และการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องมาติดตัง้ ให้ใหม่ และซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ดี ว้ ยความประณีตเรียบร้อย ตาม
จุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้
4.2.4 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาด Hardware ทัง้ หมด และทุกส่วนของอาคารทีเ่ กีย่ วข้องกับการติดตัง้ Hardware พร้อม
การตรวจสอบ Hardware ทัง้ หมดไม่ให้มรี อยขูดขีดหรือมีตําหนิใด ๆ และมีความมันคงแข็
่ งแรง ใช้งานได้ดี ก่อนส่งมอบงาน
งวดสุดท้าย

5. ประตูกระจกบานเปลือย
5.1 ขอบเขตของงาน
งานในส่วนนี้ประกอบด้วยการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ และติดตัง้ บานประตูกระจก รวมถึงการติดตัง้ อุปกรณ์และงานอื่นๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานนี้เสร็จเรียบร้อยตามแบบและรายการก่อสร้าง ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพไม่มขี อ้ บกพร่องและป้องกัน
ดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพดีจนส่งงานงวดสุดท้าย
5.2 วัสดุ
5.2.1 ให้ใช้กระจกชนิด TEMPERED ขนาดความหนาหากมิได้ระบุในแบบก่อสร้างไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ใช้
ขนาดหนา 12 มม. สําหรับบานขนาดไม่เกิน 1.50 x 2.50 ม. ส่วนบานทีข่ นาดใหญ่กว่านี้ให้ผผู้ ลิตเสนอความหนาพร้อม
รายการคํานวณ และหนังสือรับรองความแข็งแรงลงนามโดยผูม้ อี าํ นาจของผูผ้ ลิตและวิศวกรผูค้ าํ นวณ
5.2.2 หากมิได้ระบุในแบบไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ใช้เป็ นบานเปลือยชนิดไม่มกี รอบบานทัง้ 4 ด้าน
5.2.3 มาตรฐานอื่น ๆ ให้สอดคล้องกับรายการในหัวข้อกระจก
5.3 อุปกรณ์
5.3.1 บานพับสปริง สําหรับบานกระจกเปลือย (FLOOR SPRING) หากมิได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างให้ใช้

ชนิดฝงซ่อนเรียบเสมอในพืน้ แบบ DOUBLE ACTION เปิ ดค้าง 90ºให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ DORMA BTS 75 หรือ WINMA
200 หรือ VVPหรือสกุลไทย ยูไนเต็ด หรือเทียบเท่า
5.3.2 อุปกรณ์บานเปลือยอื่น ๆ ได้แก่ อุปกรณ์ยดึ ล่าง อุปกรณ์ยดึ บน อุปกรณ์ยดึ ข้าง อุปกรณ์ยดึ ช่องแสง
หรืออุปกรณ์อ่นื ๆ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ WINMA หรือ VVPหรือสกุลไทย ยูไนเต็ด หรือเทียบเท่า
5.3.3 กุญแจกระจกเปลือย หากในแบบก่อสร้างไม่ได้ระบุให้ใช้อุปกรณ์ชนิดอื่นหรือแบบมิได้ระบุว่าไม่ตอ้ ง
ติดตัง้ ให้ถอื ว่าต้องติดตัง้ กุญแจบานเปลือยชนิดมีกุญแจเปิ ดทีบ่ านเปิ ดทุกบาน โดยใช้ผลิตภัณฑ์ของ DORMA หรือ
WINMA หรือ VVPหรือสกุลไทย ยูไนเต็ด หรือเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 219 of 521

5.3.4 มือจับ หากมิได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้าง ให้ใช้ VVPหรือสกุลไทย ยูไนเต็ด หรือ WINMA KT-003-9815


หรือเทียบเท่า
5.4 การขนส่งและการเก็บรักษา
การขนส่งต้องระวังอย่าให้ตกหล่น ให้ขนเคลื่อนย้ายด้วยความระมัดระวัง โดยมิให้มคี วามเสียหายหรือมีตําหนิเกิดขึน้ วัสดุ
ต่าง ๆ จะต้องเก็บไว้ในทีร่ ่ม ไม่เปี ยกชืน้ และจะต้องระมัดระวังรักษาให้อยู่ในสภาพทีเ่ รียบร้อย
5.5 การติดตัง้
5.5.1 การประกอบติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างทีช่ าํ นาญงานเฉพาะ ทีผ่ ผู้ ลิตวัสดุอุปกรณ์รบั รอง
ดําเนินการติดตัง้ บาน
5.5.5 กระจกเปลือยทุกชิน้ จะต้องลบขอบและมุมให้เรียบลื่น
5.5.3 การติดตัง้ จะต้องให้ได้ดงิ่ ได้ฉากได้ระดับและแนวตามแบบและรายการก่อสร้าง และตามคําแนะนํา
ของโรงงานผูผ้ ลิต การยึดจับกับผนังหรือวัสดุอ่นื ต้องยึดตามความเหมาะสม การติดตัง้ กับผนังอิฐหรือคอนกรีตจะต้องจัดหา
วัสดุยดึ ให้มขี นาดทีเ่ หมาะสมเพือ่ ความมันคงแข็
่ งแรง หรือตามทีร่ ะบุไว้ในแบบแปลน
5.5.4 หลังจากการติดตัง้ บานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องปรับบาน และอุปกรณ์ประกอบให้บานประตู
เปิ ดปิ ดได้สะดวก ไม่ฝืดหรือเบียดติดพืน้ เพดาน หรือส่วนอื่น ๆ จะต้องมีอุปกรณ์หรือวัสดุทส่ี ามารถป้องกันไม่ให้น้ํารัวซึ ่ ม
เข้ามาภายในอาคาร จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ตามคําแนะนําของโรงงานผูผ้ ลิต
5.6 การเสนออนุมตั ิ
5.6.1 แบบขยายแสดงการประกอบติดตัง้ (SHOP DRAWINGS)
ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอ SHOP DRAWINGS ของการประกอบติดตัง้ ประตูให้ผคู้ วบคุมงานและสถาปนิกตรวจแก้ไขให้
ถูกต้องก่อนลงมือประกอบติดตัง้ แบบขยายแสดงการประกอบติดตัง้ จะต้องเสนอระยะ ขนาดติดตัง้ ขนาดกระจก การแบ่ง
ซอยบานของบานติดตายข้างเคียง รายละเอียดการติดตัง้ (FIXING) การกันนํ้า และระยะต่าง ๆ ทีแ่ สดงต้องแสดงความ
คลาดเคลื่อน (TOLERANCE) โดยละเอียดให้ถูกต้องตรงตามแบบและรายการก่อสร้าง ระยะต่าง ๆ จะต้องวัดจากสถานที่
ก่อสร้างและจะไม่ทาํ โดยวัดจากขนาดในแบบ เมื่อสถาปนิกอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรแล้วจึงสังซื ่ อ้ วัสดุได้
5.6.2 ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอตัวอย่างวัสดุต่อไปนี้ให้สถาปนิกอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนจัดซือ้
(1) กระจก
(2) อุปกรณ์ประตูหน้าต่างทุกชนิด
5.6.3 การทดสอบ
ก่อนลงมือติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ประตูตวั อย่างพร้อมกระจก ลงในสถานทีจ่ ริงเพื่อให้สถาปนิกตรวจสอบและผู้
ควบคุมงานใช้เป็ นตัวอย่างมาตรฐาน แต่ผรู้ บั จ้างยังคงต้องรับผิดชอบให้คุณสมบัตขิ องประตูบานเปลือยเป็ นไปอย่าง
ครบถ้วนเรียบร้อยและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

6. งานประตูบานม้วน (SHUTTER)
6.1 วัสดุ
6.1.1 ประตูเหล็กม้วนทึบใช้เหล็กลอนเดีย่ วเบอร์ 22 ชุบสี (สีตามสถาปนิกผูอ้ อกแบบกําหนด)
6.1.2 ประตูเหล็กโปร่งใช้ลายตาข่าย พร้อมอุปกรณ์ครบชุดสามารถเลื่อนปิ ดเปิ ดทางตัง้ ขึน้ ไปซ่อนไว้ใน
กล่องตอนบน ขอบบนมีเหล็กฉากและปุม่ ยางกันกระแทก ขอบล่างประตูมที ใ่ี ส่กุญแจล๊อคกลอนติดราง 2 ข้าง พร้อมทีใ่ ส่
กุญแจแบบคล้องยึดติดพืน้ รางเหล็กข้าง เชื่อมแนบติดเหล็กในเสาอย่างมันคงแข็
่ งแรง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 220 of 521

6.1.3 ระบบมือดึง ใช้สาํ หรับประตูทม่ี คี วามกว้างไม่เกิน 4.00 เมตร สูงไม่เกิน 3.00 เมตร หรือไม่ควรมี
นํ้าหนัก เกิน 120 กิโลกรัม ถ้าเกินกว่านี้ให้เสริมเสากลาง หรือใช้ระบบอื่น
6.1.4 ระบบมือหมุนใช้สาํ หรับประตูทม่ี คี วามกว้างไม่เกิน 6.00 เมตร สูงไม่เกิน 4.00 เมตร หรือไม่ควรมี
นํ้าหนัก เกิน 400 กิโลกรัม
6.1.5 ระบบโซ่ ใช้สาํ หรับประตูทม่ี คี วามกว้างไม่เกิน 7.00 เมตร สูงไม่เกิน 4.00 เมตร หรือไม่ควรมีน้ําหนัก
เกิน 650 กิโลกรัม
6.1.6 ระบบไฟฟ้า ใช้สาํ หรับประตูทม่ี คี วามกว้างไม่เกิน 10.00 เมตร สูงไม่เกิน 5.00 เมตร หรือไม่ควรมี
นํ้าหนักเกิน 750 กิโลกรัม
6.2 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุทจ่ี ะใช้แต่ละชนิด ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง พร้อมทัง้ ทํา SHOP DRAWING เพื่อขอความ
เห็นชอบ และตรวจสอบ ตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปติดตัง้ เช่น
6.2.1 ตัวอย่างของประตูทจ่ี ะนําไปใช้งานก่อสร้าง และรวมถึงสีและ FINISHING
6.2.2 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’S SPECIFICATIONS) แสดงถึงการทดสอบ
คุณภาพของประตูและส่วนต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
6.2.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ (HARDWARE) ทีจ่ ะใช้มาช่วย เพื่อพิจารณาประกอบการติดตัง้ และได้รบั
ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
6.3 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในการติดตัง้ ให้เป็นไปตามรายละเอียดของ SHOP DRAWING และได้
มาตรฐานทางวิชาการก่อสร้างทีด่ ี
6.3.1 ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานทีท่ ม่ี กี ารติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไขให้
ถูกต้องก่อนการติดตัง้
6.3.2 การติดตัง้ ต้องมีความมันคงแข็่ งแรง เปิ ด-ปิ ด ได้สะดวก เมื่อปิ ดจะต้องมีขอยึดหรือุปกรณ์รองรับ มิให้
เกิดความเสียหายกับประตูหรือผนัง
6.3.3 การติดตัง้ รางรับประตู จะต้องได้ดงิ่ และฉากถูกต้องตามหลักวิชาช่างทีด่ ี การยึดทุกจุดต้องมันคง ่
แข็งแรง
6.3.4 การปรับระดับภายหลังการติดตัง้ ประตูแล้ว อุปกรณ์ทงั ้ หลายต้องได้รบั การปรับให้อยูใ่ นลักษณะทีเ่ ปิ ด
ปิ ด ได้สะดวก
6.3.5 ช่องเปิ ดสําหรับการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างต้องไม่พยายามใส่บานประตูเข้ากับช่องเปิ ดทีไ่ ม่ได้ฉาก หรือขนาด
เล็กเกินไป ช่องเปิ ดต้องมีระยะเว้นเพื่อการติดตัง้ โดยรอบประมาณด้านละ 10 มิลลิเมตร เป็ นอย่างน้อย
6.3.6 การทําสีตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดแผ่นประตูและรางรับประตู จะต้องขัดให้ผวิ เรียบทําความสะอาดให้
เรียบร้อย ไม่มฝี นุ่ คราบนํ้ามันใด ๆ แล้วพ่นสีกนั สนิมอย่างน้อย 2 ครัง้ หรือตามมาตรฐานผูผ้ ลิตสีกนั สนิมแล้วพ่นทับหน้า
ด้วยสีน้ํามันอย่างน้อย 2 ครัง้ หรือโดยมีความสวยงามประณีตเรียบร้อย
6.4 การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องให้เรียบร้อย ผิวส่วนทีเ่ ป็ นเหล็กของประตูทุกด้านให้สะอาด ปราศจาก
คราบนํ้าปูน รอยขีดข่วน หรือตําหนิต่าง ๆ ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบ
6.5 การรับประกันผลงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 221 of 521

ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของประตู รวมถึงวัสดุต่าง ๆ ทีใ่ ช้ในการติดตัง้ ทัง้ หมด หากเกิดข้อบกพร่องต่างๆ อัน


เนื่องมาจากคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ให้ใหม่และซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ี ด้วยความประณีต
ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบโดยไม่คดิ มูลค่าใด ๆ

7. ประตูเหล็กทนไฟ
7.1 ขอบเขตเขตของงาน
งานในส่วนนี้ประกอบด้วยการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และติดตัง้ วงกบ บานประตู กระจกช่องมอง อุปกรณ์กนั ควัน
ตัวอย่าง รวมถึงการติดตัง้ อุปกรณ์และงานอื่น ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับงานนี้เสร็จเรียบร้อยตามแบบและรายการก่อสร้าง ใช้งานได้
อย่างมีประสิทธิภาพตลอดจนทําความสะอาดดูแลรักษาให้อยูใ่ นสภาพดีจนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
7.2 วัสดุประตูทนไฟ
7.2.1 สามารถต้านทานและป้องกันการแผ่กระจายความร้อน และควันจากเพลิงไหม้อาคาร
7.2.2 ทิศทางการเปิ ดผลักให้ดจู ากแบบ และข้อกําหนดในรายการนี้ร่วมกัน หากมีขอ้ ขัดแย้งให้เสนอ
สถาปนิกชีข้ าดเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนลงมือก่อสร้าง
7.2.3 บานประตูพบั ขึน้ รูปด้วยแผ่นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 1.5 มม. ชนิด ELECTRO ZINC COATED
STEEL เชื่อมหรืออ๊อกด้วยระบบ SPOT WELD ยืดหดตัวได้เมือ่ ถูกความร้อน แต่จะต้องไม่เห็นรอยเชื่อมจากภายนอกบาน
7.2.4 ภายในต้องมีระบบกันไฟด้วยระบบรังผึง้ (HONEY COMB) หรือฉนวนกันความร้อนใยหิน (ROCK
WOOL) หรือระบบอื่นทีม่ คี ุณสมบัตปิ ้ องกันไฟ ความร้อนทีเ่ ทียบเท่ากัน
7.2.5 สามารถทนไฟได้นานอย่างน้อย 2 ชัวโมง ่ ยกเว้นบานประตูหอ้ ง MAINFRAME COMPUTER
จะต้องเป็ นบานพิเศษทนไฟได้ 4 ชัวโมง ่
7.2.6 หากแบบไม่ได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น ขนาดช่องประตูกว้าง 0.90 ม. สูง 2.00 ม. หรือตามมาตรฐาน
ผูผ้ ลิต
7.2.7 บานประตูหนาไม่น้อยกว่า 44 มม.
7.2.8 วงกบทําด้วยเหล็กทัง้ 4 ด้าน รอบบาน
7.2.9 มีแถบ NEOPRENE ปิ ดรอบวงกบเพื่อกันควันเวลาเกิดเพลิงไหม้ หรือติดตัง้ อุปกรณ์อ่นื ทีใ่ ช้งานได้
เทียบเท่ากันโดยต้องเสนอสถาปนิกอนุมตั ิ
7.2.10 ประตูพ่นและอบแห้งด้วยสี PRIMER หรือ EPOXY โทนสีทบั หน้าจะกําหนดระหว่างก่อสร้าง
7.2.11 ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ MARTIN ROBERTS หรือ SCL หรือ FEDERALS หรือ CHUBB หรือเทียบเท่า
7.2.12 จะต้องมีช่องมองขนาดกว้าง 0.20 ม. สูง 0.80 ม. กระจกช่องมองต้องเป็ นกระจกกันไฟได้โดยไม่ทาํ
ให้คุณสมบัตโิ ปร่งใสมองทะลุได้เสียไปเมื่อถูกไฟ มีคว้ิ ยึดกระจกซึง่ สามารถกันไฟและควันได้
7.3 อุปกรณ์
7.3.1 ประตูกนั ไฟบานทัวไป่ ด้านในตัวอาคารมีคานผลักเปิ ดสลักประตู (PANIC DEVICE) ออกสูบ่ นั ไดหนี
ไฟ ส่วนด้านบันไดหนีไฟมีลกู บิดหรือแขนมือจับหมุนเปิ ดเข้ากลับในอาคาร
7.3.2 ประตูกนั ไฟบานเปิ ดออกดาดฟ้า ด้านบันไดหนีไฟมีคานผลักเปิ ดสลักประตูออกสูด่ าดฟ้าภายนอก
ส่วนด้านดาดฟ้ามีลกู บิดหรือแขนมือจับหมุนเปิ ดเข้ากลับในบันไดหนีไฟ
7.3.3 ประตูกนั ไฟบานเปิ ดออกภายนอกอาคารบริเวณระดับพืน้ ดิน หรือระดับทีส่ ามารถหนีไปสูร่ ะดับ
พืน้ ดินได้ ด้านบันไดหนีไฟมีคานผลักเปิ ดสลักประตูออกสูภ่ ายนอกอาคาร ส่วนด้านภายนอกอาคารมีลกู บิดหรือแขนมือจับ
หมุนเปิ ดเข้ากลับในบันไดหนีไฟ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 222 of 521

7.3.4 คานผลักเปิ ดประตู หากแบบมิได้กาํ หนดเอาไว้ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ BRITON 378 หรือ MONARCH
F18 หรือ VONDUPRIN 22 K-F หรือเทียบเท่า
7.3.5 บานพับโลหะ หากแบบมิได้กาํ หนดเอาไว้ ให้ใช้แบบ HEAVY DUTY HINGE ติดตัง้ กับบานและวง
กบด้วยระบบสกรู
7.3.6 อุปกรณ์ปิดบานอัตโนมัติ หากแบบมิได้กาํ หนดเอาไว้ ให้ใช้ชนิดเปิ ดค้างไม่ได้ มี DELAY ACTION
ใช้ผลิตภัณฑ์ของ BRITON หรือ GEZE TS 4000 หรือเทียบเท่า
7.4 ตัวอย่างและการติดตัง้
7.4.1 แบบขยายรายละเอียด SHOP DRAWINGS แสดงการประกอบติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอ SHOP DRAWINGS ของการประกอบติดตัง้ ประตู ให้ผคู้ วบคุมงานและสถาปนิกตรวจแก้ไขให้
ถูกต้องก่อนลงมือประกอบการติดตัง้ แบบประกอบการติดตัง้ จะต้องเสนอรายละเอียดการ ติดตัง้ (FIXING) การกันนํ้า
(WATER TIGHT) การกันควัน และต้องแสดงระยะต่าง ๆ ตลอดจนความคลาดเคลื่อน (TOLERANCE) โดยละเอียดให้
ถูกต้องตามแบบงานสถาปตยกรรม ั
7.4.2 ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งแคตตาล็อคตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ต่อไปนี้จาํ นวน 2 ชุด ให้สถาปนิกอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
- วงกบและกรอบบานโลหะทุกชนิดของประตูหน้าต่างแสดงให้เห็นทุกจุดเช่น วงกบบน วงกบล่าง และอื่น ๆ แสดงยึด
ติดเป็ นชุดเข้ากับผนังโดยรอบ พร้อมวัสดุประกอบต่าง ๆ เช่น การกันควัน
- กระจกช่องมอง
- อุปกรณ์ประตูทุกชนิด
7.4.3 การตรวจสอบ ก่อนจะลงมือติดตัง้ ประตูหน้าต่างผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ตัวอย่างพร้อมกระจก ลงใน
สถานทีจ่ ริงเพื่อให้สถาปนิกตรวจสอบและใช้เป็ นตัวอย่างมาตรฐาน
7.4.4 การขนส่งและเก็บรักษา การขนส่งอย่าให้ตก หล่นหรือโยน ให้เคลื่อนย้ายด้วยความระมัดระวัง โดยมิ
ให้มคี วามเสียหายหรือมีตําหนิเกิดขึน้ วัสดุต่าง ๆ จะต้องเก็บไว้ในทีร่ ่ม ไม่เปี ยกชืน้ และจะต้องระมัดระวังรักษาให้อยู่ใน
สภาพเรียบร้อย
7.4.5 การติดตัง้ ประตูเหล็กกันไฟต้องถูกต้องตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างทีช่ าํ นาญ
งานในด้านนี้มาทําการติดตัง้ วงกบ ตัวบาน การติดตัง้ จะต้องให้ได้ดงิ่ ได้ฉากระดับและแนวตามแบบและตามคําแนะนําของ
โรงงานผูผ้ ลิต การยึดจับกับผนังหรือวัสดุอ่นื ต้องแข็งแรง เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วสิง่ ทีย่ ดึ จับเพื่อช่วยในการติดตัง้ และไม่
จําเป็ นต้องตัดออกและจะต้องตกแต่งให้เรียบร้อย การติดตัง้ วงกบโลหะกับผนังอิฐหรือคอนกรีตจะต้องจัดหาวัสดุยดึ ให้มี
ขนาดทีเ่ หมาะสมเพื่อความมันคงแข็ ่ งแรง หรือตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ หลังจากการติดตัง้ กรอบบานและบานเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ผูร้ บั จ้างจะต้องปรับบานและอุปกรณ์ประกอบให้บานประตูเปิ ดปิดได้สะดวก จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์ตามคําแนะนําของโรงงาน
ผูผ้ ลิตตามความจําเป็ น

8. ประตูหอ้ งมันคง

เป็ นโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กตามรูปแบบ
8.1 โครงสร้าง
บานประตูขน้ึ รูปจากเหล็กกล้า ภายในโครงสร้างบรรจุสารกันเจาะและกันความร้อน มีความหนารวม 140
มม.(รวมชุดกลไก) หน้าบานทีท่ าํ หน้าทีป่ ้ องกันการเจาะทําลายหนา 25 มม. บริเวณด้านหลังบานประตูตดิ ตัง้ แผง
ฉนวนกันความร้อนหนา 40 มม. เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการกันไฟ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 223 of 521

8.2 วงกบ
ประกอบเป็ นชิน้ เดียวกับตัวบานประตู เป็ นวงกบแบบหุม้ ผนังทัง้ ด้านนอกและด้านใน ซึง่ เป็ นรูปแบบทีแ่ ข็งแรงและ
ทนทานต่อความพยายามในการทําลายบานประตู วงกบประกอบจากเหล็กกล้าเชื่อมติดเป็ นชิน้ เดียวกันแบบไร้รอยต่อ
8.3 ระบบล็อค
แบบ 2 กุญแจ 1 รหัส กุญแจแบบ 8 แถบระดับ ฟนั กุญแจแบบ 2 ด้าน ยากต่อการทําเลียนแบบ กุญแจทัง้ 2 ชุด
ทํางานอิสระจากกัน บริเวณแม่กญ ุ แจติดตัง้ แผ่นเหล็กกันเจาะป้องกันการเจาะทําลายแม่กญ
ุ แจ รหัสแบบ 3 ตัวเลข ผ่าน
มาตรฐาน UL สามารถเปลีย่ นเลขรหัสได้ถงึ 1 ล้านหมายเลข บริเวณรหัสติดตัง้ กระจกนิรภัย ซึง่ ทํางานร่วมกับระบบล็อค
อัตโนมัตเิ มื่อเกิดแรงสันสะเทื
่ อน,แรงกระแทก หรือ แรงอัดอย่างรุนแรงจากการระเบิด ระบบล็อคอัตโนมัตจิ ะทํางานทันที ทํา
ให้บานประตูยงั คงล็อคสนิทอยู่อย่างเดิม มาตรฐาน VDS,ECB-S และ EN1300A
8.4 สลักกลอน
ควบคุมการเปิ ด-ปิ ด ด้วยสลักกลอนเคลื่อนที่ 3 ทิศทาง บริเวณขอบบานด้านหน้า 7 จุด ขอบบานด้านบนและล่าง
ตําแหน่งละ 2 จุด บริเวณขอบบานด้านหลังติดตัง้ สลักกลอนตาย 7 จุด สลักกลอนผลิตจากเหล็กกล้า ชุบโครเมีย่ มเพื่อ
ป้องกันสนิม มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 32 มม.
8.5 อุปกรณ์เสริม
ติดตัง้ บานลูกกรงและพัดลมดูดอากาศ
8.6 รายละเอียดบานประตูหอ้ งมันคง่ ขนาด 1 นิ้ว
ขนาดภายนอกรวมวงกบ (กว้าง x สูง) 1266 มม. X 2110 มม. หรือขนาดไกล้เคียง +-10 มม. ขนาดภายในช่อง
ประตูเมื่อเปิ ดบานประตู 180 องศา (กว้าง x สูง) 814 มม. X 1920 มม. หรือขนาดไกล้เคียง +-10 มม. ขนาดช่องเจาะช่อง
กําแพงเพื่อเตรียมติดตัง้ (กว้าง x สูง) 1000 มม. X 2000 มม. หรือขนาดไกล้เคียง +-10 มม. ความหนาของกําแพงไม่น้อย
กว่า 200 มม. นํ้าหนักบานประตู 610 กิโลกรัมผลิตภัณฑ์ Chubb safes, National, Falcon หรือเทียบเท่า

จบหมวดที่ 34

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 224 of 521

หมวดที่ 35
งานกระจก

1. รายการทัวไป ่
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จา่ ยทัง้ หมดในการจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ รวมทัง้ แรงงานฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญงาน
โดยเฉพาะสําหรับทําการก่อสร้างซึง่ เกีย่ วเนื่องกับงานกระจก เพื่อให้สาํ เร็จลุล่วงและทดสอบจนใช้งานได้ดตี ามรายละเอียดที่
ระบุในรูปแบบรายการ อาทิเช่น การติดตัง้ ระบบ Curtain Wall งานประตูหน้าต่าง งานหลังคากระจก งานกระจกทัง้ หมด
ถือเป็ นงานทีผ่ รู้ บั จ้างต้องปฏิบตั แิ ละได้คดิ ราคารวมอยู่ในการเสนอราคาแล้วทัง้ หมดไม่ว่ากรณีใดๆ ผูร้ บั จ้างจะยกเป็ น
ข้ออ้างในการปฏิเสธไม่ได้ คิดราคารายการหนึ่งรายการใดไม่ได้
2. ชนิดของกระจก
2.1 กระจกโฟลตใส (Clear Float Glass)
เป็ นกระจกโปร่งใสผลิตด้วยระบบ Float Process ซึง่ เป็ นระบบผลิตทีท่ นั สมัยทีส่ ดุ โดยให้กระจกไหลลอยบนผิวดีบุก
หลอม ภายใต้ความดันและอุณหภูมทิ ถ่ี ูกควบคุมอย่างดี จะทําให้ได้กระจกแผ่นทีม่ คี ุณภาพผิวทัง้ สองด้านขนานเรียบสนิท
ให้ภาพมองผ่านแจ่มชัดและให้ภาพสะท้อนทีส่ มบูรณ์ไม่บดิ เบีย้ ว ขนาดความกว้าง ± 3.00 เมตร ความยาวถึง 7.60 เมตร
ความหนาตัง้ แต่ 2 – 19 มม. หรือตาม มอก. 54-2516 และ 880–2547 ความหนาเป็ นไปตามทีค่ าํ นวณและรายการระบุไว้
2.2 วัสดุยาแนว (Sealant)
ควรเป็ นวัสดุยดื หยุ่นทีม่ คี ุณภาพสูง เช่น โพลีซลั ไฟด์ (PolySulfide) หรือ ซิลโิ คน (Silicone) วัสดุทใ่ี ช้รองรับวัสดุยา
แนว (Backup Material) ต้องมีคุณสมบัตเิ ป็ นฉนวนความร้อนทีด่ ี เช่น โฟมยาง (Neoprene Foam) หรือ โพลีแอทธีลนี
(Polyethelene) เพื่อป้องกันการแตกร้าวเมื่อกระจกได้รบั ความร้อนและขยายตัว การใช้วสั ดุรองกระจก (Setting Block)
ควรเป็ นยางแข็ง (Neoprene) ความแข็ง 90 องศา หรือมากกว่า และควรแยกรองเป็ น 2 จุด เพื่อให้สามารถรับนํ้าหนักได้
ความหนาของกระจกตัง้ แต่ 3 – 15 มม.
2.3 กระจกลวดลาย (Figured Glass)
เป็ นกระจกทีม่ ลี วดลายพิมพ์ลกึ ลงบนด้านหนึ่งของแผ่นกระจก คุณสมบัตกิ ง่ึ ทึบกึง่ ใส เหมาะสําหรับใช้กบั งานตกแต่ง
ความหนา 3 – 5 มม.
2.4 กระจกเงา (Mirror)
ผลิตจากกระจกโฟลทใสและโฟลทสีตดั แสง มี 4 สี คือกระจกใส (Clear) กระจกเงาชา (Grey) กระจกเงาบรอนซ์
(Bronze) กระจกเงาฟ้า (Blue)
2.5 กระจกสะท้อนแสง (Reflective Glass)
เป็ นกระจกสะท้อนแสงชนิดธรรมดา (Annealed Reflective Glass) ความหนาตัง้ แต่ 3 – 12 มม.
2.6 กระจกสะท้อนแสงกึง่ นิรภัย (Heat Strengthened Glass)
เป็ นกระจกเคลือบผิวสะท้อนด้านในของกระจก ความหนาตัง้ แต่ 6 – 12 มม.
2.7 กระจกสะท้อนแสงชนิดนิรภัยเทมเปอร์ (Tempered Reflective Glass)
มีความแข็งแรงมากกว่ากระจกธรรมดา 3 – 5 เท่า ความหนาตัง้ แต่ 3 – 19 มม. หรือตาม มอก.965-2537
หากไม่ระบุเป็ นอย่างอื่น ประตูเปลือย และผนังเปลือย ใช้ 12 มม. มาตรฐาน ASTM C1038 ASTM C1048 และ ANSI
Z97.1

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 225 of 521

2.8 กระจกสะท้อนแสงชนิดนิรภัยหลายชัน้ (Laminated Reflective Glass)


เป็ นการนํากระจกมาอัดติดกัน โดยมีฟิลม์ ทีม่ คี ุณลักษณะคล้ายกาวซึง่ มีความเหนียวและแข็งแรงคันอยู ่ ่ระหว่าง
กระจกทําหน้าทีย่ ดึ แผ่นกระจกให้ตดิ กัน ทนต่อแรงกระแทกและลดเสียงได้ดี เหมาะสําหรับงานทีต่ อ้ งการความปลอดภัยสูง
เช่น หลังคา อาคารพิพทิ ธภัณฑ์ ความหนาชัน้ อยู่กบั ประโยชน์ใช้สอย หรือตาม มอก.1222-2539
กระจกลามิเนต (Laminated Glass) ให้ใช้กระจก 2 ชัน้ ตามรายละเอียดทีร่ ะบุไว้ในแบบดังนี้
4 มม. Blue Green Tint - Heat Strengthened + PVB 0.76 มม. สีขนุ่ + 4 มม. Clear Anneal Glass
4 มม. Clear Anneal Glass + PVB 0.38 ม.ม. + 4 มม. Clear Anneal Glass
5 มม. Clear Anneal Glass + PVB 0.38 ม.ม. + 5 มม. Clear Anneal Glass
โดยผลิตภัณฑ์จะต้องได้มาตรฐาน ASTM C1036 ASTM E1172 และ ANSI Z 97.1 หรือเทียบเท่ากระจก
กันความร้อน (Heat Stop Blue Green Tinted) ต้องได้มาตรฐานการผลิต DIN 1286 Part 1 and Part 2
และ ISO 9001:2000/EN ISO 9001:2000 By RWTUV และ ISO/TS 16949:2002 By RWTUV จากผูผ้ ลิต
ให้ใช้กระจก Insulated หนา 24.38 มม. ประกอบด้วย
(1) Laminated 4 มม. Blue Green Tinted Heat Strengthened + 0.76 PVB + 4 มม. Clear Anneal
Low–E CVD Coating Surface # 4
(2) Bending Aluminum Air Space 12 มม. W/Argon Gas Filled
(3) Clear Anneal 6 มม.
(4) คุณสมบัติ
(4.1) SC เท่ากับหรือน้อยกว่า 0.32
(4.2) Light Transmission เท่ากับหรือมากกว่า 45%
(4.3) Light Reflection Out เท่ากับหรือน้อยกว่า 8%
(4.4) U-Value เท่ากับหรือน้อยกว่า 1.6 W/m²
ในส่วนทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ บนแผงทีย่ ดึ กระจก โดยระบบ Structural Silicone Glazing นัน้ Sealant ทีย่ ดึ กระจกแผ่นนอก
และในจะต้องเป็ น Structural Sealant ซึง่ ผ่านการตรวจสอบแล้วว่า Compatible กับ Silicone ของระบบ อลูมเิ นียม
ผลิตภัณฑ์จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ของ Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด), TGSG, Thai Asahi, Siam
Guardian, Singapore Safety Glass, Manum หรือเทียบเท่า โดยจะต้องมีคุณสมบัตติ ามทีร่ ะบุไว้ในแบบหรือรายการ
ประกอบแบบโดยเฉพาะในข้อกาหนดว่าด้วยเรื่องค่าประหยัดพลังงานต่างๆ หากแตกต่างจากทีก่ าหนดไว้จะต้องได้รบั การ
อนุมตั แิ ละยินยอมจากผูอ้ อกแบบ และผูเ้ กีย่ วข้องเสียก่อน
2.9 กระจกสี (Tinted Glass)
ให้ใช้กระจกชนิด Blue Green Tinted ตามรายการคานวณหรือทีร่ ะบุไว้ในแบบสถาปตั ยกรรม ตามคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) เท่ากับหรือน้อยกว่า 0.59
(2) Light Transmission เท่ากับหรือมากกว่า 68%
(3) Solar Transmission เท่ากับหรือน้อยกว่า 32%
(4) U-Value เท่ากับหรือน้อยกว่า 5.82 W/m2
3. การใช้งานกระจก
3.1 กระจกสําหรับประตู หน้าต่าง และช่องแสง
กระจกต่างๆ ทีใ่ ช้สาํ หรับประตูหน้าต่างช่องแสงจะต้องเป็ นกระจกโฟลท (CLEAR FLOAT GLASS) ทัง้ หมดมี
คุณภาพดี ผิวเรียบสมํ่าเสมอ ปราศจากริว้ รอยขีดข่วนหรือฝ้ามัว มีการแต่งลบมุมเรียบร้อย ในกรณีเป็ นกระจกแสง
(TEMPERED GLASS) จะต้องใช้สตี ามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด กระจกทัง้ หมดให้ใช้ เป็ นกระจกผลิตภายในประเทศ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 226 of 521

ผลิตภัณฑ์ของกระจกไทยอาซาฮี หรือเทียบเท่า ความหนาของกระจกหากไม่ได้กาํ หนดเป็ นอย่างอื่นในแบบก่อสร้างสําหรับ


ประตู หน้าต่างช่องแสงทัวไปที ่ ม่ พี น้ื ทีไ่ ม่เกิน 20 ตารางฟุต ให้ใช้ไม่ต่ํากว่า 5 มิลลิเมตร
การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องระมัดระวังในการใช้วสั ดุอุดยาแนวกระจก ไม่ก่อให้เกิดความสกปรกเลอะเทอะ หรือทําให้กระจก
และกรอบบานเสียหาย ห้ามผสมนํ้ายาใดๆ อันจะทําให้ความเข้มข้นของวัสดุอุดยากระจกน้อยลง และเมื่ออุดยากระจกแล้ว
ต้องตกแต่งวัสดุอุดยากระจกส่วนทีเ่ กินให้เรียบร้อยก่อนทีจ่ ะแข็งตัว กระจกทีต่ ดิ ตัง้ เสร็จสมบูรณ์ตอ้ งพอดีไม่แตกร้าว หรือ
คลาดเคลื่อน วัสดุอุดยาแนวสําหรับประตูหน้าต่างช่องแสงไม้กบั กระจกให้ใช้วสั ดุประเภท ONE PART SILICONE
SEALANT
ในกรณีทป่ี ระตูเหล็กกันไฟระบุให้มชี ่องกระจกชนิดเสริมลวด (WIRE GLASS) มีพน้ื ทีไ่ ม่เกิน 100 ตารางนิ้ว โดย
สามารถทนไฟไม่ต่ํากว่า 1.5 ชัวโมง ่ ต้องมีใบรับรองการทนไฟจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
3.2 กระจกเงา (ห้องนํ้า)
หากไม่ได้ระบุไว้ในรูปแบบรายการ ให้ใช้กระจกโฟลทใสความหนา 6 มม. ซึง่ ผ่านกรรมวิธเี คลือบเงา 4 ชัน้ คือเคลือบวัสดุ
เงิน เคลือบวัสดุทองแดงบริสทุ ธิ ์ (Copper Red Back) เคลือบสีอย่างดีชนั ้ ที่ 1 และเคลือบสีอย่างดี ชัน้ ที่ 2 กําหนดให้ตดิ ตัง้
บนผนังยาซิลโิ คลนโดยรอบ ขนาดกว้างยาวตามแบบ
3.3 กระจก CURTAIN WALL
3.3.1 ทัวไป

(1) ให้ใช้เป็ นกระจกสําหรับทํา CURTAIN WALL โดยเฉพาะชนิด SOLAR SAVE ประหยัดพลังงาน ชนิดสะท้อนแสง สี
ฟ้า-เขียว-ทอง เลือกเฉดความเข้มโดยสถาปนิกและคณะกรรมการตรวจการจ้าง หนาไม่น้อยกว่า 8 มิลลิเมตร โครง
อลูมเิ นียม ทางตัง้ ไม่น้อยกว่า 2”x6” โครงอลูมเิ นียมทางนอนไม่น้อยกว่า 2”x4” มองด้านนอกไม่เห็นวงกบ
อลูมเิ นียมเป็ นอลูมเิ นียมอบ Natural Anodized หรือตามระบุในแบบสถาปตั ยกรรม
(2) ผูร้ บั จ้างขออนุมตั ิ SHOP DRAWING พร้อมวิศวกรควบคุมการติดตัง้ นําเสนอต่อผูว้ ่าจ้างก่อนการดําเนินการ
(3) ผลิตภัณฑ์ของ Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด) Tostem Thai Co.,Ltd ASAHI, BSG หรือ
เทียบเท่ามาตรฐาน มอก.
3.3.2 แบบประกอบการติดตัง้ ระบบ CURTAIN WALL (SHOP DRAWING OF CURTAIN WALL)
ในแบบก่อสร้างได้แสดงแบบของ CURTAIN WALL เพื่อบอกจุดประสงค์และขนาดเท่านัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องเขียนแบบ
แสดงรายละเอียดประกอบการติดตัง้ มาเสนอต่อผูค้ วบคุมงานและสถาปนิก เป็ นจํานวน 3 ชุด เพื่อตรวจแก้ไขให้ถูกต้อง
เหมาะสมกับงานสถาปตั ยกรรมโดยจะต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานและสถาปนิกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเสียก่อน จึง
จะลงมือดําเนินการติดตัง้ ได้ สําหรับในแบบ SHOP DRAWING จะต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี้
(1) แบบรายละเอียดระบบ CURTAIN WALL จะต้องเทียบเท่า SCALE จริง พร้อมแบบขยายส่วนประกอบของ
HORIZONTAL และ VERTICAL SECTION, TRIM ANCHORAGE, GLASS TYPE และ GLAZING แสดงการ
ป้องกันนํ้ารัวของอากาศ
่ (AIR INFILTRATION) ระบบป้องกันการรัวซึ ่ มของนํ้า (WATER PENETRATION) ระบบ
เผื่อการขยายตัว (EXPANSION) ระบบป้องกัน THERMAL BREAKAGE และ แสดงอื่นๆ ของระบบ ซึง่ จะต้องมี
แบบรายละเอียดแสดงระบบอุปกรณ์ประกอบระบบ และแบบรายละเอียดทีเ่ กีย่ วข้องกับงานก่อสร้างด้านรายละเอียด
สัมพันธ์กนั รวมทัง้ รายการคํานวณ และตารางแสดงข้อมูลต่างๆ แบบ SHOP DRAWINGS และรายละเอียดอื่นๆ
จะต้องได้รบั ความเห็นของสถาปนิก และวิศวกรผูค้ วบคุมการก่อสร้างก่อนทําการติดตัง้
(2) ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างของวัสดุทใ่ี ช้ประกอบในส่วนของผนังกระจก CURTAIN WALL ทัง้ ระบบ โดยจะต้องแสดง
ตัวอย่างการติดตัง้ ประกอบให้สอดคล้องกับ SHOP DRAWING ทีเ่ สนอมา และได้รบั ความเห็นชอบในหลักการจากผู้
ว่าจ้างเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว เพื่อใช้เป็ นมาตรฐานการตรวจรับงาน
3.3.2 การทดสอบอลูมเิ นียมสําหรับระบบ CURTAIN WALL (CURTAIN WALL TESTING)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 227 of 521

(1) ก่อนการติดตัง้ ระบบ CURTAIN WALL ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดสอบ ULTIMATE TENSILE STRENGTH ของ
อลูมเิ นียมตามทีก่ าํ หนด โดยค่าใช้จ่ายส่วนผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ และในระหว่างการก่อสร้าง หาก
สถาปนิกพิจารณาเห็นว่าจะต้องนําตัวอย่างอลูมเิ นียมไปทําการทดสอบ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบสําหรับค่าใช้จ่ายนี้
ด้วย และผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ตัวอย่างชุดหน้าต่าง และหน้าต่างติดตายพร้อมกระจกและอุปกรณ์ เพื่อให้สถาปนิก
ตรวจสอบ และเพื่อใช้เป็ นมาตรฐานในการติดตัง้ งานอลูมเิ นียม สําหรับการติดตัง้ ตัวอย่างนี้ผคู้ มุ งานจะกําหนดให้
ภายหลัง
(2) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําการทดสอบระบบอัดอากาศ (CHAMBER TEST) สําหรับการทดลองผนังกระจกระบบ
CURTAIN WALL ให้เป็ นไปด้วยความถูกต้อง และสอดคล้องกับข้อกําหนดมาตรฐานการทดสอบด้วยอุปกรณ์ และ
วิธกี ารทีไ่ ด้ถอื ปฏิบตั มิ าแล้วในต่างประเทศ โดยให้อยู่ภายใต้การควบคุมดูและของวิศวกรจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นฝา่ ยจัดให้มกี ารทดสอบโดยเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จา่ ยสําหรับการเตรียมการดําเนินการอื่นๆ ในทุกกรณี
ผูร้ บั จ้างสามารถใช้ผลการทดสอบอ้างอิงระบบ CURTAIN WALL แบบเดียวกัน ซึง่ ได้ทาํ การติดตัง้ และทําการ
ทดสอบระบบอัดอากาศ (CAHMBER TEST) ไปแล้ว ทัง้ นี้ผลการทดสอบจะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนด ดังต่อไปนี้
- รายการทดสอบ และการคํานวณในโครงสร้าง (STRUCTURAL)
การทดสอบตามเงื่อนไขของ ASTM E330 หากผลการทดสอบไม่เป็ นทีพ่ อใจของผูว้ ่าจ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายการคํานวณ
เพิม่ เติมเกีย่ วกับ DEFLECTION และ STRESS ในโครงสร้างของ CURTAIN WALL จนกว่าจะพิสจู น์ความเป็ นไปได้จน
เป็ นทีแ่ น่ชดั ทางวิชาการ
- แบบหย่อนตัว (DEFLECTION)
CURTAIN WALL จะต้องรับแรงลม (WIND LOAD) ได้ไม่น้อยกว่า 100 กก./ตร.ม. ในระดับตํ่ากว่า 40 เมตร ลงมาถึงระดับ
ดิน และ 160 กก./ตร.ม. ในระดับสูงกว่า 40 เมตรขึน้ ไป หรือยึดหลักเกณฑ์สามารถรับแรงลมได้ไม่น้อยกว่า 801 กก./ตร.ม.
โดยทัวไป ่ และมีการหย่อนตัวทีย่ อมให้ (ALLOWABLE DEFLECTION) ไม่เกิน 1/175 ของช่วง SPAN และจะต้องไม่
มากกว่า 0.75 นิ้ว หรือ 20 มม. ส่วนระยะหย่อนตัวที่ SEALANT JOINTS ตรงกรอบหน้าต่าง และส่วนประกอบอื่นๆ ของ
อาคารต้องไม่มากกกว่า ½ ของ JOINT WIDTH ซึง่ จะมีการเสริมความแข็งแรงด้วยอลูมเิ นียมหรือเหล็กเมื่อจําเป็ น ส่วนการ
หย่อนตัวของ ANCHORS จะไม่เกินกว่า 1.5 มม. ส่วนประกอบทุกชิน้ จะต้องผ่านการทดสอบทีก่ าํ หนดตามเทศบัญญัติ หรือ
ตาม ANSVAAMA 302.9 โดยผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอผลการทดสอบพร้อมทัง้ รายการคํานวณให้ผวู้ า่ จ้าง
(3) GLASS LOAD
ชิน้ ส่วนรับบานกระจกติดตายจะต้องมี DEFLECTION ของจุดรับนํ้าหนักไม่เกิน 1/175 ของ SPAN ซึง่ ไม่ทาํ ห้
GLASS BITE ลดลงเกินกว่า 25% หรือ 3 มม.
(4) ความเค้น (STRESS)
โครงสร้างชิน้ ส่วนหน้าต่างทัง้ หมดจะต้องเป็ น ALUMINIUM ALLOY และสามารถรับ ULTIMATE TENSILE
STRENGHT 22,000 P.S.L. เมื่อทดสอบโครงสร้างจะเท่ากับ 1.5 เท่า ของความกดดันทีอ่ อกแบบไว้ และไม่มี
OVER STRESS ปรากฏทีส่ ว่ นประกอบใดๆ STRESS LIMITS สําหรับส่วนประกอบต่างๆ จะอยู่ในขอบเขต
ข้อกําหนดของ SPECIFICATION ของ AAMA ตาม GUIDE LINES อย่างเคร่งครัด
(5) AIR INFILTRATION
บานกระจกติดตายเมื่อทําการทดสอบด้วย STATIC PRESSURE 1.56 PSF. (25 MPH.) จะต้องมีค่าการรัวของ ่
อากาศไม่เกินกว่า 0.06 CFM. ต่อตารางฟุต (ทดสอบตามมาตรฐานของ ASTM.E283)
(6) WATER PENETRATION
เมื่อทําการทดสอบตาม ASTM E331 ด้วย STATIC PRESSURE 6.24 PSF.(50MPH.) และพ่นกระจายนํ้า 5
แกลลอน ต่อตารางฟุตต่อชัวโมง ่ จะต้องไม่ปรากฏการรัวซึ ่ มใดๆ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 228 of 521

(7) THERMAL BREAKAGE AND THERMAL SHOCK


ระบบ CURTAIN WALL จะต้องได้รบั การออกแบบโดยทีก่ ระจกไม่แตก เนื่องจาก THERMAL BREAKAGE หรือ
THERMAL SHOCK โดยการทดสอบหรือโดยการคํานวณจนกว่าจะพิสจู น์ความเป็ นไปได้ และเป็ นทีแ่ น่ชดั ทาง
วิชาการ นอกจากนี้ควรมีวสั ดุรอง (backing) โดยรอบแผ่นกระจกทุกด้าน
4. การขอนุมตั ิ
ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายละเอียด ข้อกําหนดผลิตภัณฑ์ ข้อมูลทางเทคนิคข้อแนะนําการบํารุงรักษา รวมทัง้ ตัวอย่างกระจก
แต่ละชนิดทีจ่ ะใช้จริง ขนาดไม่เล็กกว่า 30 x 30 ซม. ให้สถาปนิกผูอ้ อกแบบพิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ สําหรับรายการ
คํานวณผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการคํานวณความหนาของกระจกทุกชนิด โดยต้องสอดคล้องกับความต้องการที่
แสดงในแบบก่อสร้าง และให้เป็นไปตามข้อสัญญาและเป็ นไปตาม พรบ. ควบคุมอาคารเรื่องแรงลม โดยให้ใช้ขอ้ มูลการ
คํานวณความหนาของกระจกทีก่ าํ หนดไว้ในแบบและรายการก่อสร้างเป็ นความหนาชัน้ ตํ่าทีย่ อมให้ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้าง
คํานวณแล้วผลการคํานวณแสดงให้เห็นว่าความหนาของกระจกจําเป็ นต้องหนากว่าทีก่ าํ หนดให้ ผูร้ บั จ้างต้องใช้ความหนา
ตามทีค่ าํ นวณได้หรือในกรณีทม่ี ผี ลการคํานวณความหนาของกระจก สามารถใช้บางกว่าทีก่ าํ หนดได้ผรู้ บั จ้างจะต้องใช้
ความหนาทีก่ าํ หนดไว้ในแบบและรายการ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงความหนา ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบจะเรียกร้องเงินเพิม่ หรือถือเป็ นข้ออ้างในการขอต่ออายุสญ ั ญาจากผูว้ ่าจ้างไม่ได้
5. การติดตัง้
กระจกทุกชนิดก่อนนํามาติดตัง้ จะต้องได้รบั การแต่งขอบให้ปราศจากความคม และมีความเรียบสมํ่าเสมอ การ
ประกอบกระจกเข้ากับกรอบบานต้องฝงั ลึกเข้าไปในกรอบบาน/วงกบ และจะต้องมียางรองรับเสมอ การจัดวางให้มรี ะยะ
ตามทีผ่ ผู้ ลิตกําหนด วัสดุยาแนวให้เป็ นไปตามทีไ่ ด้กล่าวถึงข้างต้น และเป็ นไปตามข้อกําหนดของบริษทั ผูผ้ ลิต การ
ประกอบกระจกเข้ากรอบบาน จะต้องฝงั ลึกเข้าไปในกรอบงาน/วงกบ ไม่น้อยกว่าความหนาของกระจก และจะต้องมียาง
รองรับกระจกเสมอ อย่างน้อย 2 ก้อน โดยใช้ยางดันประเภทนีโอพรีน ความแข็งประมาณ 80-90 Shore A และจัดวางโดยมี
ระยะ L/4 (เมื่อ L คือความกว้างกระจก) ทัง้ 2 มุม แต่จะต้องห่างจากมุมไม่น้อยกว่า 50 มม. กระจกทุกแผ่นทีน่ ํามาติดตัง้
จะต้องมีฉลากชื่อติดมาจากโรงงานระบุทบ่ี ริษทั ผูผ้ ลิตชนิดของกระจก จนกระทังได้ ่ รบั การตรวจสอบจากผูค้ วบคุมงาน และ
สถาปนิกผูอ้ อกแบบ ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ทีไ่ ม่ได้กล่าวถึงให้ปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องบริษทั ของผูผ้ ลิต

จบหมวดที่ 35

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 229 of 521

หมวดที่ 36
งานลูกบิ ดและลูกกุญแจ

1. ขอบเขตของงาน
งานในข้อนี้ให้รวมถึงการจัดหาวัสดุจาํ พวกกุญแจ และอุปกรณ์อ่นื ทีใ่ ช้สาํ หรับเปิ ดสลักบานประตูหน้าต่าง ตลอดจน
รวมถึงแรงงานทีช่ าํ นาญเฉพาะในการติดตัง้ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เหล่านัน้ ให้เสร็จสิน้ สมบูรณ์ครบถ้วนตามทีม่ รี ะบุในแบบ
และรายการก่อสร้างอย่างเรียบร้อย ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพดีจนถึงส่งงานงวด
สุดท้าย
2. วัสดุ
2.1 ลูกบิดและลูกกุญแจ
วัสดุลกู บิดและอุปกรณ์อ่นื ทีใ่ ช้สาํ หรับปิ ดล็อคหรือเปิ ดสลักบานประตู-หน้าต่าง รวมถึงลูกกุญแจทีใ่ ช้ไขลูกบิดนัน้ ให้
ใช้ตามทีม่ กี าํ หนดในแต่ละข้อประตู-หน้าต่างเฉพาะชนิดนัน้
2.2 กุญแจหลัก (MASTER KEY)
ลูกกุญแจทีใ่ ช้ไขลูกบิดในแต่ละประเภทชนิดประตู-หน้าต่างนัน้ จะต้องมีกุญแจหลักทีใ่ ช้ร่วมเปิ ดลูกบิดหลายๆ ลูก
รวมกันได้เฉพาะกลุม่ ของตนเอง ให้จดั หากุญแจหลักแบ่งเป็ นกลุม่ จํานวนกลุ่มละ 3 ดอก (3 COPIES) เป็ นอย่างน้อย โดย
ให้แบ่งกลุ่มดังนี้
2.2.1 กลุ่ม 1 ชัน้ 1
2.2.2 กลุ่ม 2 ชัน้ 2 (และกลุ่มอื่น ๆ ตามชัน้ ความสูงอาคารต่อไป)
2.2.3 กลุ่ม 3 ห้องนํ้า ห้องระบบวิศวกรรม ทุกห้อง
2.3 ลูกกุญแจรวม (GRAND MASTER KEY)
ให้มลี กู กุญแจรวม (GRAND MASTER KEY) ในแต่ละประเภทชนิดของประตู-หน้าต่างนัน้ ๆ โดยลูกกุญแจรวมนี้
จะต้องไขประตูแต่ละประเภทชนิดของประตูหน้าต่างนัน้ ได้ทุกบานในอาคารหลังนี้ กําหนดให้ตอ้ งมีลกู กุญแจรวมนี้อย่าง
น้อย จํานวน 3 ดอก (3 COPIES)
3. การติดตัง้ และตัวอย่าง
การติดตัง้ และการส่งตัวอย่างอนุมตั ใิ ห้เป็ นไปตามทีก่ าํ หนดในแต่ละข้อประตู-หน้าต่างเฉพาะแต่ละชนิดนัน้
4. ป้ายกุญแจ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําป้ายถาวรติดห้อยกุญแจ ป้ายดังกล่าวจะต้องระบุตวั อักษรหรือตัวเลขแล้วแต่กรณี ให้สอ่ื ถึงลูกบิด
ทีค่ ่กู นั ทุกลูกได้อย่างชัดเจน เข้าใจง่ายไม่สบั สน
5. แผงแขวนกุญแจ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําตูแ้ ผงสําหรับแขวนกุญแจรวมกันไว้ครบทุกดอก ตูแ้ ผงดังกล่าวทําด้วยวัสดุสเตนเลส หน้าบาน
เปิ ดมีกรอบเป็ นสเตนเลส ลูกฟกั กระจกหนาไม่ต่าํ กว่า 10 มิลลิเมตร ขนาดของตูแ้ ผงให้ใหญ่เหมาะสมสําหรับการแขวน
กุญแจทุกดอกรวมกันไว้ พร้อมทัง้ มีป้ายติดกับทีใ่ ต้กญ ุ แจแต่ละดอกนัน้ โดยป้ายนัน้ ต้องมีตวั อักษรหรือตัวเลขตรงกับ
ตัวอักษรหรือตัวเลขบนป้ายกุญแจ ตามหัวข้อย่อย “ป้ายกุญแจ” ให้ตดิ ตัง้ ตูแ้ ผงนี้ในตําแหน่งทีผ่ รู้ บั จ้างจะระบุให้ขณะ
ก่อสร้าง เช่น ในห้องควบคุมระบบอาคารหรือฝา่ ยรักษาความปลอดภัย ผูร้ บั จ้างต้องส่งมอบตูแ้ ผงนี้ในการส่งมอบงานงวด
สุดท้าย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 230 of 521

6. ข้อกําหนด
6.1 กุญแจทุกดอกทุกชนิดทีใ่ ช้กบั ประตู-หน้าต่างในอาคารนี้จะต้องได้รบั การเก็บรักษากุญแจจากผูร้ บั จ้างอย่างดี
โดยผูร้ บั จ้างจะต้องแต่งตัง้ อย่างเป็ นทางการให้เจ้าหน้าทีค่ นใดคนหนึ่งของผูร้ บั จ้างเป็ นผูม้ อี าํ นาจในการดูแลรับผิดชอบ
กุญแจทุกดอกทีใ่ ช้ในอาคารหลังนี้ การนํากุญแจดอกใดดอกหนึ่งไปใช้จะต้องกระทําโดยเจ้าหน้าทีผ่ นู้ ้ี หรือภายใต้การรูเ้ ห็น
ของเจ้าหน้าทีผ่ นู้ ้โี ดยตลอดเท่านัน้ ห้ามมิให้ผอู้ ่นื นอกเหนือจากเจ้าหน้าทีผ่ นู้ ้ใี ช้กุญแจโดยเด็ดขาด ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งชื่อ
ของเจ้าหน้าทีผ่ นู้ ้ใี ห้ผวู้ ่าจ้างทราบภายใน 60 วันหลังลงนามในสัญญาจ้าง
6.2 กุญแจทุกดอกของโครงการห้ามมิให้มกี ารจําลองโดยเด็ดขาด มิว่าในกรณีใดๆ ทัง้ สิน้ หากกุญแจหาย ผูร้ บั
จ้างจะต้องเปลีย่ นลูกบิดนัน้ ทัง้ ชุดโดยจะคิดเงินเพิม่ อีกไม่ได้
6.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งมอบกุญแจทีก่ ล่าวถึงทุกดอกให้แก่ผวู้ ่าจ้างในการส่งงานงวดสุดท้ายอย่างครบถ้วน

จบหมวดที่ 36

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 231 of 521

หมวดที่ 37
งานสุขภัณฑ์

1. มาตรฐานผลิตภัณฑ์
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมทีร่ ะบุ และ/หรือตามข้อกําหนดฉลากเขียวสําหรับเครื่อง
สุขภัณฑ์ (TGL-5-R2-03) ในกรณีทไ่ี ม่มรี ะบุให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ AMERICAN STANDARD หรือ Kohler หรือ COTTO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. การจัดวางสุขภัณฑ์
การจัดวางสุขภัณฑ์ตอ้ งถูกต้องตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต ตําแหน่งของสุขภัณฑ์ให้ดตู ามรูปแบบ และพิจารณา
จากมาตรฐานการติดตัง้ ประกอบ ทัง้ ในส่วนระยะ และความสูงของสุขภัณฑ์ ซึง่ ต้องสอดคล้องกับระบบท่อนํ้าทิง้ และนํ้าดี
โดยให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการ
3. การติดตัง้
3.1 สําหรับห้องนํ้าทุกห้อง กําหนดให้ตดิ ตัง้
3.1.1 STOP VALVE ทุกจุดทีต่ ่อเชื่อมกับสายชําระ อ่างล้างมือ และส้วมชักโครก
3.1.2 หัวก๊อกล้างพืน้ ชนิดโลหะชุบโครเมีย่ มของ AMERICAN STANDARD หรือ TOTO หรือ KARAT
หรือ COTTO หรือ EVERGREEN คุณภาพเทียบเท่า (ห้องละอย่างน้อย 1 ที่ หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบ)
3.1.3 ตะแกรงปิ ดท่อนํ้าทิง้ ชนิดดักกลิน่ ถอดได้รุ่น A-8200-N ผลิตภัณฑ์ของ AMERICAN STANDARD
หรือ TOTO หรือ KARAT หรือคุณภาพเทียบเท่า (ห้องละอย่างน้อย 1 ที่ หรือตามทีร่ ะบุในรูปแบบ)
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องวางท่อให้ได้ตําแหน่งก่อนทําพืน้ และผนัง ห้ามสกัดพืน้ POST TENSIONED โดยเด็ดขาด หาก
กรณีจาํ เป็ นให้อยู่ในดุลยพินจิ ของวิศวกรผูอ้ อกแบบเท่านัน้ ให้นําเสนอ SHOP DRAWING งานระบบสุขาภิบาลควบคู่ไปกับ
งานโครงสร้างดึงลวด POST TENSIONED
3.3 งานทีท่ าํ จะต้องให้ได้ระดับมาตรฐานทีด่ ี รอยต่อ รอยประกอบจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน
ทุกครัง้ ก่อนทีจ่ ะทําการปิ ดฝงั ท่อต่างๆ ในส่วนนัน้
3.4 ตําแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์ ท่อนํ้า ก๊อกนํ้า ทีจ่ ะต้องทะลุจากผนังให้ตดิ ตัง้ ตรงตําแหน่ง รอยต่อระหว่างแผ่น
กระเบือ้ ง หรือมุมกระเบือ้ ง 4 แผ่นชนกันแล้วแต่กรณีทไ่ี ด้แสดงไว้ในรูปแบบ การติดตัง้ ต้องเตรียมการหรือนําเสนอ SHOP
DRAWING เพื่อการบุกระเบือ้ งให้ลงตัวไว้ล่วงหน้าโดยผูร้ บั จ้าง
3.5 การติดตัง้ ชักโครกจะต้องได้ระดับหรือลาดจากด้านหน้าลงไปด้านหลังเล็กน้อย เพื่อให้ฝาปิ ดชักโครกเปิ ด
ค้างได้โดยไม่ตอ้ งล้มปิ ดลงมา
4. เครื่องอุปกรณ์ประกอบ
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของบริษทั เดียวกับเครื่องสุขภัณฑ์ โดยจัดส่งตัวอย่างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา
เห็นชอบก่อนดําเนินการ
5. การทดสอบ การทําความสะอาด
เครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ทงั ้ หมด ภายหลังจากการติดตัง้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ต้องทําการทดสอบการรัวซึ ่ ม และ
กําลังดันของนํ้า เครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้ เรียบร้อยแล้วต้องทําความสะอาดให้เรียบร้อยจึงส่งมอบงานได้
6. เครื่องสุขภัณฑ์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 232 of 521

ทัง้ หมดให้ใช้ผลิตภัณฑ์ชนิดเคลือบขาว รุ่นของสุขภัณฑ์ให้เทียบจากตัวอย่างของรุ่นทีก่ าํ หนดให้ ดังต่อไปนี้


รูปตัวอย่าง รูปตัวอย่าง
รูปตัวอย่าง
ลําดับ รายละเอียด AMERICAN COTTO
KOHLER
STANDARD
1 โถส้วมนังราบแบบฟลั
่ ชวาล์ว
แบบใช้น้า 3.8 ลิตร
รุ่น 2225SC-WT-0
และ Flush Vale
แบบใช้น้า 3.8 ลิตร
รุ่น A-5901-038
โถส้วมนังราบแบบฟลั
่ ช
ของ AMERICAN STANDARD สุขภัณฑ์แบบฟลัช
วาล์ว C1320
วาล์ว
รุ่น K-9313X

รหัส : CT457NS
ฟลัชวาล์วสําหรับโถ ยีห่ อ้ : COTTO
สุขภัณฑ์ ใช้น้ํา 3.8 ลิตร ฟลัชวาล์วสําหรับโถ รุ่น : TOILET FLUSH
สุขภัณฑ์ ใช้น้ํา 6 VALVE
ลิตร
K-13516X-CP

2 โถส้วม(นังราบ)แบบฟลั
่ ชแทงค์ แบบ
ประหยัดนํ้า 2.6 / 4 ลิตร
รุ่น 2007-WT-0 พร้อม Stop Valve
และสายนํ้าดี
ของ AMERICAN STANDARD

สุขภัณฑ์แบบชิน้
เดียว รหัส : C1046-WH
รุ่น เมมมัวร์ (สเตทลี่
ดีไซน์) ยีห่ อ้ : COTTO
K-3453X-S รุน่ : GRAND
ASTORIA LITE

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 233 of 521

รูปตัวอย่าง รูปตัวอย่าง
รูปตัวอย่าง
ลําดับ รายละเอียด AMERICAN COTTO
KOHLER
STANDARD
3 โถส้วม (นังราบ)แบบฟลั
่ ชแทงค์
แบบประหยัดนํ้า 2.6 / 4 ลิตร
รุ่น 2307SC-WT-0 พร้อม Stop
Valveและ สายนํ้าดี ของ
AMERICANSTANDARD
รหัส : C13527-WH
ยีห่ อ้ : COTTO
K-45363X
Persuade Two รุ่น : RIVIERA
Piece 3/ 4.5 L Dual
Flush Toilet

4 โถส้วม (นังราบ)แบบฟลั
่ ชแทงค์รุ่น
2146SC-WT-0 พร้อม Stop Valve
และ สายนํ้าดี ของ
AMERICANSTANDARD

K-45682X-S-0 รหัส : C1470


สุขภัณฑ์แบบ2ชิน้ ใช้ ยีห่ อ้ : COTTO
นํ้า 2.6/4 ลิตร รุ่น รุ่น : นิโคล Nicole
โอดิออน

5 ั เคาน์เตอร์รุ่น
อ่างล้างหน้าชนิดฝงใต้
WP-F513-WT
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-2889X-0 รหัส : C0511-WH


ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : VERTICYL รุ่น : FRESIA II

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 234 of 521

6 อ่างล้างหน้าชนิดครึง่ เคาน์เตอร์รุ่น
WP-F513-WT
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : C02237-WH
รหัส : K-11479X- ยีห่ อ้ : COTTO
VC1-0
รุ่น : RIVIERA
ยีห่ อ้ : KOHLER
รุ่น : FOREFRONT

7 อ่างล้างหน้าชนิดแขวนพร้อมขา
รุ่น 0507W/0707-WT-0
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส :
รหัส : K-2358X-1-0 C01517/C4250-WH
ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : ARCHER รุ่น : TETRAGON

8 ก๊อกผสมอ่างล้างหน้า รุ่น
A-1301-100 พร้อม สะดือ
Pop-Up และ Stop Valve
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-37327X-4- รหัส : CT202AST


CP
ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER
รุ่น : SQUARE
รุ่น : STRAYT

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 235 of 521

9 ก๊อกเซ็นเซอร์อ่างล้างหน้า
แบบใช้ไฟฟ้า
รุ่น A-8509-AC
ของ AMERICANSTANDARD
รหัส : CT532NAC
รหัส : K-13471X-CP
ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER
รุ่น : AUTOMATIC
รุ่น : GEOMETRIC
TOUCHLESS

10 ก๊อกนํ้าเย็นอ่างล้างหน้า
รุ่น A-0406-10
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-37327X-
รหัส : CT1046A
4CD-CP
ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER รุ่น : LARIO
รุ่น : STRAYT
11 โถปสั สาวะชาย
รุ่น 6502-WT-0 + Flush
Valve A-5900-01N
ของ AMERICANSTANDARD

K-4960X-ET-0
รหัส : C3010
โถปสั สาวะชาย รุ่น บา
ยีห่ อ้ : COTTO
ดัน้ (รูน้ําเข้าด้านบน)
รุ่น :มาร์แชล Mashal

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 236 of 521

รหัส : CT4001DUF
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : URINAL
FLUSH VALVE
K-13519X-CP
Urinal Flush Valve ใช้
นํ้า 1.9 ลิตร
12 โถปสั สาวะชาย รุ่น
6502BD-WT + Flush
Valve แบบ Sensor แบบใช้ไฟฟ้า รุ่น
A-8614-000-50 และอุปกรณ์ชุดทาง
นํ้าเข้าด้านหลังรุ่น VP-1823
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-4991X-ET-0 รหัส : C3010BI-


WH****
ยีห่ อ้ : KOHLER
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : BARDON ECO
รุ่น : MARSHAL

รหัส : K-8988X-C03-
CP รหัส :
CT480AC(NL)
ยีห่ อ้ : KOHLER
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : PATIO
รุ่น : CT480AC(NL)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 237 of 521

13 อ่างอาบนํ้าพร้อมสะดืออ่างแบบป๊อป
อัพ
รุ่น 70020P-WT
ของ AMERICANSTANDARD
รหัส :
K-18257X-0 ( 1.7 m
BT1052PP(H)
x 0.8 x 0.42 m.)
อ่างอาบนํ้าอะครีลคิ รุ่น ยีห่ อ้ : COTTO
แพททีโอ รุน่ : ริเวียร่า

14 ก๊อกผสมอ่างอาบนํ้าติดผนัง
รุ่น A-1311-200
พร้อมฝกั บัว
ของ AMERICANSTANDARD รหัส : K-45370X-4-
CP
ยีห่ อ้ : KOHLER รหัส : CT2012A
รุ่น : STRAYT ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : SQUARE

รหัส : Z42(HM)
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : SHOWER
15 ก๊อกผสมอ่างอาบนํ้าติดผนัง
รุ่น A-6911-200
พร้อมฝกั บัว
ของ AMERICANSTANDARD
รหัส : CT2032A
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : SOPRANO

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 238 of 521

K-7686X-4-CP
ก๊อกผสมลงอ่างและยืน
อาบแบบติดผนังพร้อม
ฝกั บัวสายอ่อนแบบ
ปรับได้ 4 ระดับ รุ่น จู
ลายน์
รหัส : Z42(HM)
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : SHOWER
16 ชุดฝกั บัวแบบ Rain Shower รุ่น A-
6110-978-903 และ ก๊อกผสมยืนอาบ
รุ่น A-1912-711-310B
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-45372X-4-
CP รหัส : CT2072W
ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO

รุ่น : STRAYT รุ่น : SOPRANO

17 ก๊อกนํ้าเย็นยืนอาบ รุ่น A-0426-10


ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : K-99255X- รหัส : CT1134A


4CD-CP ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER รุ่น : SCIROCCO
รุ่น : STRAYT
18 ฝกั บัวพร้อมสายและขอแขวน รุน่ A-
6012-HS
ของ AMERICANSTANDARD

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 239 of 521

K-15821X-CP รหัส : Z42(HM)


ชุดฝกั บัวสายอ่อน 1 ยีห่ อ้ : COTTO
ระดับ (หัวฝกั บัว,สาย รุ่น : SHOWER
,ขอแขวน)
19 ก๊อกนํ้าเย็นล้างพืน้ แบบติดผนัง
รุ่น A-JT69-10
ของ AMERICANSTANDARD

รหัส : EC-03-401-50 รหัส :


ยีห่ อ้ : KARAT CT171C10(HM)****
FAUCET ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : GAMMA รุ่น : WINDY

20 สายชําระพร้อม stop valve


รุ่น A-4700A-CH
ของ AMERICANSTANDARD

K-5419X-CP
รหัส :
ชุดฝกั บัวฉีดชาระ
CT992K#CR(HM)
พร้อมสาย สีโครเมีย่ ม
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : RINSING(CT)

21 สะดืออ่างล้างหน้า
รุ่น A-8007
ของ AMERICAN STANDARD

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 240 of 521

K-11681X-CP รหัส : CT661(HM)


สะดืออ่างล้างหน้าแบบ ยีห่ อ้ : COTTO
ดึงล็อค รุ่น : OTHER(CT)

22 ท่อนํ้าทิง้ อ่างล้างหน้า ชนิด


P-Trap
รุ่น A-8100-N
ของ AMERICAN STANDARD

K-11704X-CP
ชุดท่อน้าทิง้ อ่างล้าง รหัส : CT682
หน้ารูปตัวพี (ยาว 25.5 ยีห่ อ้ : COTTO
ซม.)

23 Stop Valve
รุ่น A-4400
ของ AMERICANSTANDARD

แบบ single outlet รหัส : CT129(HM)


single control ยีห่ อ้ : COTTO
รุน่ : OTHER(CT)

24 สายนํ้าดี 1/2" ยาว 14 นิ้ว สําหรับอ่าง


ล้างหน้า
รุ่น A-800
ของ AMERICANSTANDARD K-1148938
สายน้าดีสแตนเลสแบบ รหัส : Z402(HM)
ถัก ½” ยาว 14” ยีห่ อ้ : COTTO

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 241 of 521

25 ทีใ่ ส่กระดาษชําระ
รุ่น K-1387-55-N สีโครเมีย่ ม
ของ AMERICAN STANDARD

รหัส : K-37350X-CP รหัส : CT0114


ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : STRAYT รุ่น : GLACIER
26 ทีใ่ ส่กระดาษชําระ
รุ่น K-2501-56-N สีโครเมีย่ ม
ของ AMERICAN STANDARD

รหัส : CT0044(HM)
รหัส : K-16141-CP
ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER
รุ่น : DIAMOND
รุ่น : REVIVAL
27 ทีใ่ ส่สบู่ รุ่น K-1382-42-N
ของ AMERICAN STANDARD

รหัส : K-37066X-CP
รหัส : CT0115
ยีห่ อ้ : KOHLER
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : AIRFOIL
รุ่น : GLACIER
28 ทีใ่ ส่สบู่ รุ่น K-2501-54-N
ของ AMERICAN STANDARD

รหัส : CT0046(HM)
รหัส : K-16142-CP ยีห่ อ้ : COTTO
ยีห่ อ้ : KOHLER รุ่น : DIAMOND
รุ่น : REVIVAL
29 ราวแขวนผ้า 60 ซม.
รุ่น K-1393-46-N
ของ AMERICAN STANDARD

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 242 of 521

รหัส : K-37347X-CP รหัส :


CT0043X(HM)
ยีห่ อ้ : KOHLER
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : STRAYT
รุ่น : DIAMOND
30 ราวแขวนผ้า 60 ซม.
รุ่น K-2501-46-N
ของ AMERICAN STANDARD
รหัส : CT0121(
ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่นรหัส :
รหัส : K-16150-CP CT0121(HM)
ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : REVIVAL รุ่น : COMO :
COMO
31 ขอแขวนผ้า
รุ่นK-2501-41-N
ของAMERICAN STANDARD

รหัส : K-37346X-CP รหัส : CT0061(HM)


ยีห่ อ้ : KOHLER ยีห่ อ้ : COTTO
รุ่น : STRAYT รุ่น : TWIST
32 ตะแกรงดักกลิน่ หน้าแปลน 3.5 นิ้ว
แบบเหลีย่ ม-สแตนเลส
รุ่น A-8200-N
ของ AMERICANSTANDARD
K-5279X-CP รหัส :
ตะแกรงกันกลิน่ สเตน CT640Z3P(HM)
เลส ยีห่ อ้ : COTTO

กําหนดให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์อตั โนมัตขิ อง SANA ทุกชุดสําหรับโถปสสาวะ
ตารางเทียบเท่าคุณภาพวัสดุและราคาผลิตภัณฑ์ทงั ้ 3 ผลิตภัณฑ์ ผูอ้ อกแบบสงวนสิทธินํ์ าเสนอแนะนําและพิจารณาขณะ
ก่อสร้าง
จบหมวดที่ 37

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 243 of 521

หมวดที่ 38
งานผนังห้องน้าสาเร็จรูป (TOILET PARTITION)

1. ขอบเขตของงาน
ผนังห้องนํ้าสําเร็จรูปทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์ แรงงาน การประสานงาน
กับผูร้ บั เหมาช่วง และการจัดเตรียมทําแบบแปลนแสดงตําแหน่งทิศทางการเปิ ดปิ ดของประตู แบบ SHOP DRAWING
แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ การยึด ระยะต่าง ๆ และต้องเป็นไปตามแบบและขนาดซึง่ กําหนดไว้ในแบบก่อสร้างเพื่อขอ
ตรวจสอบพิจารณาเห็นชอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบ
2. วัสดุ
2.1 วัสดุทใ่ี ช้ในการสร้างนี้จะต้องเป็นวัสดุใหม่ ต้องห่อหุม้ เรียบร้อยจากบริษทั ผูผ้ ลิต มีเครื่องหมายรายละเอียด
ต่างๆ แสดงรุน่ และชื่อผูผ้ ลิตอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
2.2 แผ่น MFF (Melamine Face Foamboard) ผลิตจากโพลียรู เี ทนโฟมชนิดหนาแน่นพิเศษ แข็งเหมือนไม้เทียม
ควบคุมระบบการผลิตทุกขัน้ ตอน และได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO 9001:2000 คุณสมบัตขิ องแผ่น MFF ไม่บวมนํ้า ไม่
เป็ นสือ่ ลามไฟ ไม่นําไฟฟ้า นํ้าหนักเบา ความหนาของแผ่นกัน้ กลาง ประตู เสากลาง เสาข้าง รวมผิวเมลามีน 2 ด้าน ความ
หนาที่ 25 มิลลิเมตร ปิ ดผิวด้วย PVC เกรด A ทัง้ 4 ด้านโดยรอบ ขาตัง้ สแตนเลส พร้อมอุปกรณ์เป็ นวัสดุปลอดสนิมครบชุด
ขนาดและการติดตัง้ ตามแบบ ผลิตภัณฑ์ของ WILLY, ELITE, PERSTOP, KOREX หรือเทียบเท่า
3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุแต่ละชนิดทีใ่ ช้ ให้ผอู้ อกแบบได้ตรวจสอบความต้องการ และให้ความเห็นชอบ
ก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง
3.1 DOOR STOPPER
3.2 LOCK RIMBOLT
3.3 SPPING HINGE
3.4 BUMPER HOOK
3.5 TISSUE HOLDER
3.6 HEAD RAIL
3.7 U-BRACKET
3.8 BRACING
3.9 ADJUSTABLE FOOTING
3.10 DOOR AND PARTITON
3.11 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’s SPECIFCATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณสมบัตขิ อง
วัสดุ และส่วนต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง
4. การติดตัง้
4.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในการติดตัง้ ทุก ๆ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ และจะต้องมันคงแข็
่ งแรง ได้
ระดับในแนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อย จะต้องปฏิบติตามแบบมาตรฐานกรรมวิธรี การติดตัง้ ของ
บริษทั ผูผ้ ลิตและต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกันกับผูจ้ า้ งหลัก เพื่อกําหนดตําแหน่งทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ ทัง้ หมด
และตรวจสอบสถานทีท่ ุกแห่งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อนจะมีการติดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 244 of 521

4.3 ประตูทต่ี ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคง


่ แข็งแรง เปิ ดปิ ดได้สะดวก เมื่อเปิ ดจะต้องมีอุปกรณ์รองรับมิให้เกิดความ
เสียหายประตู
4.4 ผนังห้องนํ้าสําเร็จรูปรวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องยึดแน่นแข็งแรงกับผนังหรือเพดาน ได้ระยะ
ขนาดที่ ถูกต้องตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต
4.5 การทดสอบ เมื่อทําการติดตัง้ เรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ บั จ้างทําการตรวจสอบการใช้งานของผนังห้องนํ้าสําเร็จรูป
และอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ให้อยู่ในสภาพการใช้งานทีด่ ี ในกรณีทใ่ี ช้งานขัดข้องให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการแก้ไขให้
เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน ในกรณีเช่นนี้ผรู้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมมิได้
5. การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดผนังห้องนํ้าสําเร็จรูป และทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจากรอย
แตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด รอยด่าง หรือมีตําหนิ หลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน หากเกิดความเสียหายดังกล่าวจะต้อง
แก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่กอ่ นขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน
6. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องระวังมิให้มกี ารชํารุดเสียหาย
หรือมีตําหนิก่อนส่งมอบงาน หากอุปกรณ์ใดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเกิดชํารุดเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไข
ให้อยูใ่ นสภาพดี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 38

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 245 of 521

หมวดที่ 39
งานสี

1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ ทีม่ คี ุณภาพ แรงงานทีม่ ฝี ีมอื มีความชํานาญ และมีผคู้ วบคุมงานคอย
ดูแลตลอดเวลา มีระบบคุณภาพทีด่ ี สําหรับงานทาสี ตามทีร่ ะบุในแบบและรายการประกอบแบบ พร้อมการรับประกัน
คุณภาพ
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อกสี และ/หรือแผ่นตัวอย่างสีทใ่ี ช้ สีรองพืน้ และอื่นๆ ให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณา
อนุมตั ติ ามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ และคณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนการดําเนินการ
1.3 สีทน่ี ํามาใช้จะต้องบรรจุอยู่ในถังหรือภาชนะทีป่ ิ ดสนิทเรียบร้อยมาจากโรงงาน โดยมีใบส่งของและรับรอง
คุณภาพจากโรงงานผูผ้ ลิตทีส่ ามารถตรวจสอบได้
1.4 การเก็บรักษาจะต้องแยกห้องสําหรับเก็บสีเฉพาะ โดยไม่มวี สั ดุอ่นื เก็บรวม และเป็ นห้องทีไ่ ม่มคี วามชืน้ สีท่ี
เหลือจากการผสมหรือการทาแต่ละครัง้ จะต้องนําไปทําลายทันที พร้อมภาชนะทีบ่ รรจุสนี นั ้ หรือตามความเห็นชอบของผู้
ควบคุมงาน
1.5 การผสมสีและขัน้ ตอนการทาสี จะต้องปฏิบตั ติ ามวิธกี ารของผูผ้ ลิตสีอย่างเคร่งครัด และได้รบั อนุมตั จิ ากผู้
ควบคุมงาน โดยให้ทาํ การผสมสี ณ ทีก่ ่อสร้างเท่านัน้
1.6 สีทใ่ี ช้และสีรองพืน้ จะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด ห้ามการผสมสีอ่นื ใด
นอกเหนือไปจากนัน้ ในการทาสีภายหลังจากทีแ่ ห้งแล้ว สีเดียวกันจะต้องปรากฏเหมือนกันทุกประการ หากสีทท่ี าไม่เท่ากัน
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทาสีทต่ี ่างกันเสียใหม่
1.7 ห้ามทาสีขณะฝนตก อากาศชืน้ จัด หรือบนพืน้ ผิวทีย่ งั ไม่แห้งสนิท และจะต้องมีเครื่องตรวจวัดความชืน้ ของ
ผนังก่อนการทาสีทุกครัง้
1.8 งานทาสีทงั ้ หมดจะต้องเรียบร้อยสมํ่าเสมอ ไม่มรี อยแปรง รอยหยดสี และข้อบกพร่องอื่นๆ ต้องทําความ
สะอาดรอยเปื้ อนสีบนกระจก พืน้ ฯลฯ งานทาสีจะต้องได้รบั การตรวจตราและได้รบั ความเห็นชอบจากสถาปนิก
1.9 พืน้ ทีไ่ ม่ตอ้ งทาสี โดยทัวไปสี
่ ทท่ี าทัง้ ภายนอกและภายใน จะทาผนังปูนฉาบ ผิวคอนกรีต ผิวท่อโลหะ โครง
เหล็ก ต่างๆ หรือตามระบุในแบบ สําหรับสิง่ ทีไ่ ม่ตอ้ งทาสี มีดงั นี้
1.9.1 ผิวกระเบือ้ งปูพน้ื และบุผนัง ฝ้า กระจก กระเบือ้ งมุงหลังคา
1.9.2 อุปกรณ์สาํ เร็จรูปทีม่ กี ารเคลือบสีมาแล้ว
1.9.3 ผิวพืน้ คอนกรีตขัดมัน ผิวท่อคอนกรีต
1.9.4 ผิวบันไดคอนกรีตทัง้ ลูกตัง้ ลูกนอน
1.9.5 ผิววัสดุทผ่ี ่านวิธกี นั สนิม
1.9.6 สแตนเลส
1.9.7 ผิวภายในรางนํ้า
1.9.8 โคมไฟ
1.9.9 ส่วนของอาคารหรือโครงสร้างซึง่ ซ่อนอยู่ภายในไม่สามารถมองเห็นได้ ยกเว้น การทาสีกนั สนิม หรือ
ระบุในแบบเป็ นพิเศษ
1.10 การรับประกัน ผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกใช้วสั ดุสแี ละขัน้ ตอนการทาสีทด่ี ี สามารถรับประกันคุณภาพโดย
บริษทั ผูผ้ ลิตและผูร้ บั จ้างทาสีเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 246 of 521

2. วัสดุ
2.1 สีทาภายนอก
2.1.1 สีทาภายนอกอาคาร ผิวปูนฉาบ ปูนสลัด งานกระเบือ้ งแผ่นเรียบ GRC ให้ใช้สนี ้ําชนิด ACRYLIC
100% กึง่ เงา หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
PARASHIELD COOL MAX ของ CAPTAIN
BEGER COOL UV SHIELD ของ BEGER
SUPER SHIELD TITANIUM ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.1.2 สีทาเพดานภายนอกอาคาร
PARASHIELD COOL MAX ของ CAPTAIN
BEGER COOL UV SHIELD ของ BEGER
SUPER SHIELD TITANIUM ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.1.3 สีรองพืน้ สําหรับภายนอกอาคาร (ปูนเก่า)
PARACHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ CAPTAIN
BEGER SHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING B-4000 ของ BEGER
SUPERSHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.1.4 สีรองพืน้ สําหรับภายนอกอาคาร (ปูนใหม่)
PARACHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ CAPTAIN
BEGER SHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING B-4000 ของ BEGER
SPEED PRIMER และ
SUPERSHIELD ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.1.5 สีน้ํามันสําหรับงานไม้และโลหะ หรือส่วนทีร่ ะบุให้ทาสีน้ํามัน
HIGH GLOSS ENAMEL ของ CAPTAIN
BEGERSHIELD SUPER GLOSS ENAMEL ของ BEGER
HIGH GLOSS ENAMEL ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.2 สีทาภายใน
2.2.1 สีทาภายในอาคาร ผิวปูนฉาบ ปูนสลัด งานกระเบือ้ งแผ่นเรียบ GRC ให้ใช้สแี บบธรรมดา หรือตาม
วัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 247 of 521

SHIELD PLUS SEMI GLOSS ของ CAPTAIN


CERAMICCLEAN ของ BEGER
SHIELD 1 NANO ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.2.2 สีทาเพดานภายในอาคาร
SHIELD PLUS ของ CAPTAIN
CERAMICCLEAN ของ BEGER
SUPERSHIELD DURACLEAN ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.2.3 สีรองพืน้ ปูน สําหรับภายในอาคาร (ปูนเก่า)
CAPTAIN ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ CAPTAIN
CERAMICCLEAN ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ BEGER
ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
2.2.4 สีรองพืน้ ปูน สําหรับภายในอาคาร (ปูนใหม่)
CAPTAIN ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ CAPTAIN
CERAMICCLEAN ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ BEGER
ACRYLIC ALKALI RESISTING PRIMER ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
2.2.5 สีน้ํามันสําหรับงานไม้และโลหะ หรือส่วนทีร่ ะบุให้ทาสีน้ํามัน
HIGH GLOSS ENAMEL ของ CAPTAIN
BEGERSHIELD SUPER GLOSS ENAMEL ของ BEGER
HIGH GLOSS ENAMEL ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.3 สีรองพืน้ กันสนิม
2.3.1 สําหรับผิวเหล็กหรือโลหะทีม่ สี ว่ นผสมของเหล็ก ให้ใช้สรี องพืน้ กันสนิมชนิด RED LEAD หรือสีรอง
พืน้ กันสนิม EPOXY
2.3.2 สําหรับผิวเหล็กอาบสังกะสี หรือโลหะผสม อลูมเิ นียม ทองแดง ให้ทาสีรองพืน้ เสริมการยึดเกาะ
WASH PRIMER และสีรองพืน้ กันสนิมชนิด ZINC CHROMATE หรือสีรองพืน้ กันสนิม EPOXY ZINC CHROMATE หรือ
สีรองพืน้ อีพอ็ กซีโ่ มดิฟายด์ ชนิดฟิลม์ หนา ทีท่ าทับบนพืน้ ผิวโลหะผสมได้
2.4 สียอ้ มเนื้อไม้และรักษาเนื้อไม้ สําหรับงานไม้ทร่ี ะบุให้ทาสียอ้ มเนื้อไม้ หรือสีธรรมชาติ ให้ใช้สยี อ้ มเนื้อไม้และ
รักษาเนื้อไม้ประเภทมองเห็นเนื้อไม้หรือโชว์ลายไม้ตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
WOODSTAIN ของ CAPTAIN
WOODSTAIN ของ BEGER
WOODSTAIN (GLOSS) ของ PAMMASTIC

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 248 of 521

WOODSHIELD ของ JOTUN


WOODSTAIN ของ TOA
DELTA ของ บริษทั สีเดลต้า
หรือเทียบเท่า
2.5 สีรองพืน้ ไม้ สําหรับไม้ทร่ี ะบุให้ทาสีน้ํามัน ให้ใช้สรี องพืน้ ไม้ ALUMINIUM
2.6 สีเคลือบแข็ง สําหรับงานไม้ภายในทีร่ ะบุให้ทาสีเคลือบแข็ง หรือสีโพลียรู เิ ทน ให้ใช้สโี พลียรู เิ ทนชนิด
ภายนอก สีใส หรือ VARNISH หรือ LACQUER
2.7 สี TEXTURE ให้พ่น 2.0-2.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร เลือก TEXTURE โดยผูอ้ อกแบบ
สี TEXTURE ใช้สขี อง TERRACO หรือ TOA หรือ CAPTAIN หรือเทียบเท่าเกรดสี
2.8 สี EPOXY กําหนดความหนาไม่น้อยกว่า 0.3 มิลลิเมตร โดยทาบนปูนทรายปรับระดับแต่งผิวเรียบ หรือตาม
วัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ ผลิตภัณฑ์ของ CAPTAIN, TOA, SIKAGARD-701จํานวน 2 เทีย่ ว โดยผูร้ บั จ้าง
จะต้อง เสนอวิธกี ารทาและจัดทําตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อน
2.9 นํ้ายาซิลโิ คนเคลือบใสกันซึม สําหรับผิวทรายล้าง กรวดล้าง หินล้าง คอนกรีตเปลือย อิฐโชว์ ทัง้ ภายนอก
และภายใน ผลิตภัณฑ์ของ CAPTAIN, TOA หรือเทียบเท่า
2.10 สีอ่นื ๆ ตามระบุในแบบ โดยได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงาน และตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
ทัง้ นี้ผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ตอ้ งเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของสีประเภทนัน้ ๆ และ/หรือ
ข้อกําหนดฉลากเขียวสําหรับผลิตภัณฑ์สี (TGL-4-R3-08)

3. การเตรียมผิวและการทาสีรองพืน้
3.1 งานปูน
3.1.1 ข้อควรปฏิบตั ิ
(1) การเตรียมพืน้ ผิวก่อนทาสีเป็ นสิง่ สําคัญยิง่ ถ้าพืน้ ผิวทีจ่ ะทาสะอาดปราศจากฝุน่ หรือสิง่ สกปรกสีทท่ี าลงไปจะดู
สวยงามและมีความทนทานได้นานกว่า อย่างน้อยงานปูนฉาบควรทิง้ ให้แห้ง โดยไม่มปี ฎิกริ ยิ าทางเคมี ไม่น้อยกว่า
28 วัน หรือตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน
(2) ผิวปูนฉาบส่วนใดทีแ่ ตกร้าวจะต้องสกัดออกและฉาบแต่งใหม่ให้เรียบร้อย โดยใช้ปนู ทรายชนิดเดียวกันกับทีใ่ ช้เดิม
และทิง้ ไว้ให้แห้งก่อนลงมือทาสีได้
3.1.2 ผิวปูนใหม่
ทิง้ ให้พน้ื ผิวแห้งสนิท ขจัดฝุน่ โดยใช้ผา้ แห้งเนื้อหยาบๆ แล้วเช็ดตามด้วยผ้าชืน้ อีกครัง้ หนึ่งก่อนทาสีรองพืน้ ต้องให้
แน่ใจว่าได้ขจัดฝุน่ คราบไขมัน คราบปูนจนหมด รอจนพืน้ ผิวนัน้ แห้งสนิทจริงๆ จึงทาสีได้
3.1.3 ผิวปูนเก่า
(1) สําหรับผิวปูนฉาบ ปูนสกัด งานกระเบือ้ งแผ่นเรียบ GRC ให้ทาสีรองพืน้ ด้วยสีประเภท ACRYLIC ALKAYD
RESISTING PRIMER 1 ครัง้ และทาทับหน้าด้วยสีประเภท PURE ACRYLIC PAINT 100% กึง่ เงา อีก 2 ครัง้
(2) สําหรับภายนอกอาคาร เพิม่ ขัน้ ตอนทาทับหน้าด้วยสี INETRIOR EMULSION PAINT อีก 2 ครัง้
(3) สําหรับภายใน ผิวปูนเก่าให้ทาสีรองพืน้ สําหรับปูนเก่า (CONTACT PRIMER) 1 ครัง้
3.2 งานไม้
3.2.1 ข้อควรปฏิบตั ิ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 249 of 521

การทาสีบนพืน้ ไม้ขน้ึ อยู่กบั ความชืน้ ของเนื้อไม้ ถ้าเนื้อไม้ยงั มีความชืน้ สูงมาก ห้ามทาสี ต้องปล่อยทิง้ ไว้ให้แห้งด้วย
การตากหรืออบจนเหลือง ความชืน้ ประมาณ 10% – 20% รอยต่อหรือส่วนของไม้ทจ่ี ะต้องนําไปประกอบวัสดุอย่างอื่น เช่น
ผนังอิฐ ผนังซีเมนต์ ผนังปูน พลาสเตอร์ ต้องทาสีรองพืน้ ก่อนนําไปประกอบติดกัน
3.2.2 ผิวไม้ใหม่
(1) ต้องแน่ใจว่าได้ผ่านการอบหรือตากจนแห้งดีแล้ว
(2) รอยแตกร้าวเป็ นรู ต้องทําการอุดแต่งด้วยวัสดุทแ่ี ข็งพอ และขัดให้เรียบเสมอกัน
(3) ส่วนทีเ่ ป็ นตาไม้ ต้องตกแต่งให้เรียบร้อย ถ้าตาใหญ่ให้เจาะและอุดด้วยไม้ชนิดเดียวกันขัดให้เรียบ
(4) รอยต่อ ลิน้ ร่องต่างๆ ทีท่ าํ จากโรงงานจะต้องทาสีรองพืน้ ก่อนทีจ่ ะนํามาประกอบ
(5) ในการต่อประกอบชิน้ ส่วนต่างๆ หากมีการตัดเลื่อยส่วนใดๆ ให้ทาสีรองพืน้ ทันที
(6) เช็ดฝุน่ ออกให้หมด และปราศจากคราบนํ้ามัน หรือสิง่ สกปรกอื่นๆ ถ้ามีตอ้ งขัดหรือเช็ดออกให้สะอาด
(7) ทาด้วยนํ้ายารักษาเนื้อไม้ 1 ครัง้ (ห้ามใช้สนี ้ําตาลหรือสีชา ยกเว้นส่วนทีอ่ ยู่ในฝ้าซึง่ มองไม่เห็นจากภายนอกให้ทา
ด้วยสีน้ําตาล) แล้วทาด้วยสีรองพืน้ กันยางไม้ (ALUMINIUM WOOD PRIMER) อีก 1 ครัง้ โดยทาทัง้ 6 ด้านของ
ชิน้ งาน
3.3 งานโลหะ
3.3.1 ข้อควรปฏิบตั ิ
(1) จุดประสงค์ของการทาสีบนพืน้ โลหะ ก็เพื่อการรักษาความคงทนและช่วยให้เกิดความสวยงามฉะนัน้ กรรมวิธที าสีท่ี
ถูกต้องและการเตรียมพืน้ ผิว จึงเป็ นสิง่ สําคัญมาก เพื่อช่วยให้สที บั หน้าเกิดความสวยงามและทนทาน
(2) การทาสีรองพืน้ กันสนิมให้ทา 1 ครัง้ เมื่อส่งวัสดุเข้าถึงหน่วยงานก่อสร้างเมื่อทําการติดตัง้ แล้วหรือขณะทําการ
ประกอบเป็ นโครงก่อนทําการติดตัง้ ให้ทาทับทัง้ หมดอีก 1 ครัง้ เฉพาะรอบๆ รอยเชื่อมทีส่ กี นั สนิมโดนละลายด้วย
ความร้อน จะต้องขัดให้สะอาดแล้วทาสีรองพืน้ ทับ 2 ครัง้ เมื่อติดตัง้ แล้วต้องตรวจดูรอยกระทบกระเทือน หากมีรอย
ชํารุดเสียหายหรือทําการเชื่อมใหม่ให้ทาสีรองพืน้ ส่วนใดไม่ดจี ะต้องขัดออกและทาใหม่
3.3.2 ผิวเหล็กหรือโลหะทีม่ สี ว่ นผสมของเหล็ก
(1) ผิวโลหะทีย่ งั ไม่เคยทาสีมาก่อน ต้องขจัดสนิม สะเก็ดลวดเชื่อม หรือผงร่อนออก ด้วยการขัด กระดาษทรายหรือ
แปรงลวด
(2) ขจัดคราบนํ้ามันด้วยทินเนอร์ หรือนํ้ามันก๊าซ
(3) เช็ดด้วยผ้าให้สะอาด
(4) ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสีน้ํามัน หรือสีน้ํามันอะครีลคิ (ACRYLIC SOLVENT) ให้ทาสีรองพืน้ กันสนิมเรดเลด 1-2 ครัง้
(5) ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสี EPOXY หรือสีโพลียรู เี ทน (POLYURETHANE) หรือสีฟลูออโรคาร์บอน (FLUOROCARBON)
ให้ทาสีรองพืน้ กันสนิม EPOXY 1-2 ครัง้
3.3.3 ผิวเหล็กอาบสังกะสี หรือโลหะผสม อลูมเิ นียม ทองแดง
(1) ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสีน้ํามัน หรือสีน้ํามันอะครีลคิ (ACRYLIC SOLVENT) ให้ทาสีรองพืน้ วอซไพรเมอร์ 1 ครัง้ และทาสี
รองพืน้ กันสนิมซิงค์โครเมท 1-2 ครัง้
(2) ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสีโพลียรู เี ทน (POLYURETHANE) หรือสีฟลูออโรคาร์บอน (FLUOROCARBON) ให้ทาสีรองพืน้
วอซไพรเมอร์ 1 ครัง้ และทาสีรองพืน้ กันสนิมอีพอ้ กซีซ่ งิ ค์โครเมท 1-2 ครัง้ หรือ สีรองพืน้ อีพ๊อกซีโ่ มดิฟายด์ ชนิด
ฟิลม์ หนา ทีท่ าทับบนพืน้ ผิวโลหะผสมได้
3.4 งานเครื่องหมายจราจรบนผิวถนนและขอบทาง
3.4.1 ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสีเทอร์โมพลาสติก (THERMOPLASTIC) ให้ทาสีรองพืน้ TACK COAT 1 ชัน้
3.4.2 ถ้าสีทบั หน้าเป็ นสี CHLORINATED RUBBER ALKYD RESIN ไม่ตอ้ งทาสีรองพืน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 250 of 521

3.5 งานไฟเบอร์ซเี มนต์ ไม้ฝา และสมาร์ทวู๊ด


3.5.1 พืน้ ผิวไม้
(1) ทําความสะอาดฝุน่ ผงสี และครบไขออกให้หมด
(2) พืน้ ผิวควรแห้งสนิท
(3) สําหรับหัวตะปูให้อุดโป๊วด้วยวัสดุโป๊วชนิดอะครีลคิ
(4) ทาสีรองพืน้ สําหรับงานไฟเบอร์ซเี มนตร์โดยเฉพาะ 1-2 เทีย่ ว โดยทาทัง้ 6 ด้านของชิน้ งาน
3.5.2 พืน้ ผิวเก่าทีเ่ คยทาสีมาแล้ว
(1) ใช้กระดาษทรายลูบฟิลม์ สีเดิม
(2) สําหรับบริเวณทีม่ เี ชือ้ ราหรือตะไคร่น้ํา ให้ลา้ งทําความสะอาดแล้วทาด้วยนํ้ายาฆ่าเชือ้ รา ทิง้ ให้
แห้งก่อนทาสี
(3) ทําความสะอาดฝุน่ ผงสี และคราบไขออกให้หมด
(4) ทาสีรองพืน้ สําหรับงานไฟเบอร์ซเี มนต์โดยเฉพาะ 1-2 เทีย่ ว โดยทาทัง้ 6 ด้านของชิน้ งาน
4. การทาสีทบั หน้า
สีทบั หน้า (TOP COAT) หมายถึงชัน้ สีทอ่ี ยูช่ นั ้ สุดท้าย ทําหน้าทีใ่ ห้ความคงทนถาวร ทนต่อสภาวะอากาศและให้
ความสวยงาม การทาสีทบั หน้าต้องเป็ นตามรายการสีและ/หรือข้อกําหนด และให้ใช้ผลิตภัณฑ์สดี งั นี้
4.1 งานทาสีภายใน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์สที ผ่ี ลิตขึน้ สําหรับทาภายในอาคาร หรือใช้สที ผ่ี ลิตขึน้ สําหรับทาภายนอก
แทนได้ การพิจารณาว่าส่วนใดเป็ นภายในให้ถอื ส่วนของอาคารหรือสิง่ ก่อสร้างทีอ่ ยู่ดา้ นในของช่องประตู หน้าต่างรอบนอก
ของอาคารเข้าไป
4.2 งานทาสีภายนอก ให้ใช้ผลิตภัณฑ์สที ผ่ี ลิตขึน้ สําหรับทาภายนอกอาคารโดยเฉพาะ การพิจารณาว่าส่วนใด
เป็ นภายนอกให้ถอื ว่าส่วนทีม่ ใิ ช่ภายในเป็ นภายนอกทัง้ หมด ทัง้ นี้สว่ นทีไ่ ด้รบั ความชืน้ อยู่เสมอ เช่น ภายในห้องนํ้า ห้อง
ส้วม ให้ทาด้วยผลิตภัณฑ์สที ผ่ี ลิตขึน้ สําหรับทาภายนอกอาคาร โดยเฉพาะการทาสีทบั หน้าต้องยึดถือและปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้อง
ตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตสีนนั ้ ๆ อย่างเคร่งครัด โดยทัวไปการทาสี
่ ทบั หน้าต้องทาไม่น้อยกว่า 2 ครัง้ (ไม่นบั สีรองพืน้ ) หรือ
ตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต การทาแต่ละครัง้ ต้องทิง้ ระยะให้สที ท่ี าในครัง้ ก่อนแห้งสนิทเสียก่อนจึงสามารถทาครัง้ ต่อไปได้ เมื่อ
ทาสีเสร็จเรียบร้อยแล้วต้องไม่เห็นสีของพืน้ ผิวเดิม หรือสีรองพืน้ ไม่มรี อยแปรง และ/หรือรอยด่าง ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องใช้ชนิด
ของสีตามรูปแบบและรายการละเอียด ส่วนเฉดของสีให้เป็ นไปตามรายการทีส่ ถาปนิกกําหนด ในกรณีทอ่ี าคาร สิง่ ก่อสร้าง
ใดมิได้มกี ารกําหนดชนิดของสีให้ผรู้ บั จ้างใช้ชนิดของสีตามข้อกําหนดในรายการประกอบแบบ
4.3 เฉดสี คณะกรรมการตรวจการจ้างจะเป็ นผูก้ าํ หนด
4.4 งานผิวปูนฉาบ ปูนสลัด คอนกรีต ยิบซัมบอร์ ่ ด กระเบือ้ งแผ่นเรียบ GRC ให้ทาด้วยสีน้ําชนิด ACRYLIC
100%
4.5 งานผิวไม้
- งานผิวไม้ภายนอกให้ทาด้วยสีน้ําอะครีลคิ 100%
- งานผิวไม้ภายในให้ทาด้วยสีน้ําอะครีลคิ 100% หรือนํ้ามันวานิช (VARNISH) หรือแลคเกอร์
(LACQUER)
4.6 งานผิวโลหะทีเ่ ป็ นเหล็กหรือทีม่ สี ว่ นผสมของเหล็ก ให้ทาด้วยสีน้ํามัน หรือสีโพลียรู เี ทน
4.7 งานผิวเหล็กอาบสังกะสี หรือ โลหะผสม อลูมเิ นียม ทองแดง ให้ทาด้วยสีน้ํามัน หรือสีโพลียรู เี ทน
4.8 งานผิวกรวดล้างหินล้าง คอนกรีตเปลือย อิฐโชว์ ทัง้ ภายนอกและภายในอาคารให้เคลือบสารกันตะไคร่น้ํา
และเชือ้ รา

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 251 of 521

4.9 งานเครื่องหมายจราจรบนผิวถนน และขอบทางให้ทาด้วยสี CHLORINATED RUBBER ชนิดสะท้อนแสง


โดยไม่ตอ้ งทาสีรองพืน้
4.10 งานผิวพลาสติก ท่อ PVC ให้ทาด้วยสีน้ํามันอะคริลกิ (ACRYLIC SOLVENT) โดยทาสีรองพืน้ ด้วย สีรองพืน้
อีพ๊อกซีโ่ มดิฟายด์ ชนิดฟิลม์ หนา ทีท่ าทับบนพืน้ ผิวโลหะผสมได้
4.11 งานผิวทีเ่ ป็ นไฟเบอร์กลาส ให้ทาด้วยสีโพลียรู เี ทน (POLYURETHANE) โดยทาสีรองพืน้ ด้วย สีรองพืน้ อีพ๊
อกซีโ่ มดิฟายด์ ชนิดฟิลม์ หนา ทีท่ าทับบนพืน้ ผิวโลหะผสมได้
4.12 งานไฟเบอร์ซเี มนต์ ไม้ฝาและสมาร์ทวู๊ด ทาด้วยสีน้ําอะครีลคิ 100% สําหรับไฟเบอร์ซเี มนต์โดยเฉพาะ

ระบบงานสีสาหรับผิวเหล็กโครงสร้างหลัก (Primary Structure)


สําหรับผิวโครงสร้างเหล็กทีร่ ะบุให้มกี ารใช้ระบบสี System -1 หรือ S-01 ให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการต่อไปนี้
- ขัน้ ตอนที่ 1 เตรียมพืน้ ผิวเหล็ก ให้ผรู้ บั จ้างขัดสนิมเหล็กออกทัง้ หมดด้วยเครื่องพ่นทรายตามมาตรฐาน SA 2.5 ตาม
รายละเอียดต่อไปนี้
o มาตรฐาน SA 2.5 : พืน้ ผิวต้องถูกทําความสะอาดอย่างละเอียด เมื่อทําความสะอาดหรือเตรียมผิวเสร็จ
แล้วให้ตรวจสอบด้วยการมองด้วยตาเปล่า ต้องสามารถสังเกตได้ว่าผิวนัน้ ปราศจาก นํ้ามัน ฝุน่ จารบี
คราบสะเก็ดสกปรก สนิม สี หรือวัตถุแปลกปลอมอื่นๆ ผิวทีผ่ ่านการพ่นทรายแล้วจะเห็นเป็ นสีเกือบขาว
หรือสีเทาขรุขระเล็กน้อย สิง่ ทีย่ งั หลงเหลือติดทีผ่ วิ ควรเป็ นเพียงคราบเปื้ อนบางๆในรูปของจุดหรือแถบ
เท่านัน้

ภาพประกอบผิวทีผ่ ่านการพ่นทรายมาตรฐาน SA 2.5

- ขัน้ ตอนที่ 2 หลังจากเตรียมพืน้ ผิวตามขัน้ ตอนที่ 1 แล้วนัน้ ให้ผรู้ บั จ้างทําการพ่นสีรองพืน้ กันสนิมประเภท Inorganic
Zinc Silicate ทันทีทค่ี วามหนา 60-75 ไมครอน
PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 252 of 521

- ขัน้ ตอนที่ 3 เมื่อผูร้ บั จ้างทําการประกอบเชื่อมต่อโครงสร้างเหล็กเสร็จแล้วให้ผรู้ บั จ้างทําการทาหรือพ่นสีประเภท


Polyamide Epoxy Tie Coat ความหนา 30-35 ไมครอน
- ขัน้ ตอนที่ 4 ต่อจากนัน้ ให้ผรู้ บั จ้างทําการทาหรือพ่นสีประเภท Epoxy Mastic ความหนา 125-150 ไมครอน
- ขัน้ ตอนที่ 5 สุดท้ายให้ผรู้ บั จ้างทําการทาหรือพ่นสีประเภท Aliphatic acrylic Polyurethane ความหนา 35-50
ไมครอน เฉดสีผวู้ ่าจ้างเลือกระหว่างดําเนินการก่อสร้าง

ผลิตภัณฑ์สตี ามทีร่ ะบุในขัน้ ตอนที่ 2-5 กําหนดให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ TOA, Jotun, International, Dimet, Carboline หรือ
เทียบเท่า โดยผูร้ บั จ้างต้องนําเสนอชนิดและรุ่นพร้อมทัง้ เอกสารคุณสมบัตขิ องสีประกอบเพื่อขออนุมตั ใิ ช้งานก่อน
ดําเนินการ

จบหมวดที่ 39

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 253 of 521

หมวดที่ 40
งานระบบกันซึม

1. ขอบเขต
ในงานนี้จะกล่าวถึงวัสดุทท่ี าํ หน้าทีก่ นั นํ้าหรือของเหลวรัวซึ
่ มเข้าไปในอาคาร ทีผ่ วิ ด้านนอกของอาคารทัง้ แนวนอน
และแนวตัง้ หากมีกาํ หนดไว้ในรูปแบบและรายการละเอียด

2. ข้อปฏิบตั ทิ วไป
ั่
ผูร้ บั จ้างต้องสังซื
่ อ้ วัสดุกนั ซึมโดยตรงจากบริษทั ผูผ้ ลิต หรือตัวแทนจําหน่ายของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยต้องมีใบรับรองจาก
บริษทั แจ้งปริมาณทีส่ งมาเพื
ั่ ่องานนี้จริง
2.1 ผูต้ ดิ ตัง้ ระบบกันซึมต้องเป็ นตัวแทนทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตหรือเป็ นผูผ้ ลิตวัสดุ
2.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการตรวจสอบรูปแบบและรายการละเอียดของงานระบบกันซึมและเสนอวิธกี ารติดตัง้ ระบบ
กันซึมให้แก่คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาก่อนทําการติดตัง้
2.3 การติดตัง้ ไม่ว่าจะเป็ นระบบกันซึมชนิดใดก็ตาม ต้องดําเนินการโดยช่างผูช้ าํ นาญการ เพื่อทีจ่ ะทําให้เป็ น
ระบบกันซึมทีส่ มบูรณ์แบบและถูกต้องตามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิต

3. การเตรียมผิววัสดุทจ่ี ะติดตัง้ ระบบกันซึม


3.1 งานผิวปูนฉาบใหม่ หรือคอนกรีตใหม่ ต้องบ่มตัวได้ทแ่ี ละแห้งสนิท
3.2 ผิวทีจ่ ะทําระบบกันซึมต้องสะอาดไม่มขี ป้ี นู ฝุน่ คราบนํ้ามัน และ/หรือสิง่ แปลกปลอม
3.3 ผิวพืน้ คอนกรีตทีจ่ ะติดตัง้ ระบบกันซึมต้องเรียบ ได้ระดับไม่หยาบขรุขระโดยไม่ตอ้ งขัดมัน และต้องเอียงลาด
ลงสูจ่ ุดระบายนํ้า

4. การติดตัง้ ระบบกันซึม
4.1 ส่วนประกอบของวัสดุกนั ซึม ต้องมีคุณภาพสมบูรณ์พร้อมทีจ่ ะใช้งานได้ดี
4.2 ให้ปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนต่างๆ ในการติดตัง้ ระบบกันซึม ตลอดจนระยะเวลาในการติดตัง้ อย่างเคร่งครัด ตาม
มาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิตและติดตัง้ เพื่อทีจ่ ะได้ระบบกันซึมทีม่ ปี ระสิทธิภาพสมบูรณ์
4.3 ให้ตรวจสอบขัน้ ตอนในการทํางานของระบบงานอื่นๆ และต้องประสานงานกับงานระบบอื่นทีเ่ กี่ยวข้องกับ
งานระบบกันซึม เพื่อป้องกันความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ กับระบบกันซึม
4.4 ให้ผรู้ บั จ้างเสนอวิธกี ารติดตัง้ ตลอดจนต้องจัดทํารูปแบบขยายระยะรายละเอียดขณะก่อสร้าง (Shop
Drawing) ในส่วนทีเ่ สีย่ งต่อการรัวซึ
่ ม เช่นการจบของแผ่นกันซึมกับผนังและรูระบายนํ้า ส่วนทีม่ งี านระบบอื่นกีดขวาง เช่น
ตําแหน่งทีต่ งั ้ เครื่องระบายความร้อนของระบบปรับอากาศ เป็ นต้น
4.5 วัสดุกนั ซึมทีใ่ ช้กบั หลังคา ดาดฟ้า หรือถังเก็บนํ้าหากแบบและรายการละเอียด กําหนดให้มวี สั ดุกนั ซึมกับ
หลังคา หรือดาดฟ้าทีต่ อ้ งการรองนํ้าฝนไว้ใช้ หรือภายในถังหรือบ่อเก็บนํ้า สระว่ายนํ้า หรืออ่างเลีย้ งปลา ต้องเป็ นวัสดุท่ี
ปราศจากสารพิษเจือปน ไม่เป็ นอันตรายต่อสิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดล้อม (Non toxic) โดยมีหนังสือรับรองความปลอดภัยของ
ผลิตภัณฑ์จากกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 254 of 521

5. ประเภท การจัดทํากันซึม
5.1 หลังคาคอนกรีต ระบบกันซึมดาดฟ้า (Roof Slab Water Proofing)
(1) ขอบข่าย
หลังคาคอนกรีตตามระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมดและดําเนินการตามมาตรฐานผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทําแบบ Shop Drawing รายละเอียดในส่วนต่างๆ ในการติดตัง้ ตามแบบ
ก่อสร้างและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบเพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบ
(2) วัสดุ
เป็ นวัสดุประเภท Acrylic Polymer โดยเสริมแรงด้วย Fiber Glass Chopped Stand Mat 300 G/M2
ชนิดสาน เป็ นเส้นใยทีม่ คี วามยืดหยุ่นได้ทุกทิศทาง สามารถทนแรงฉีกขาดได้ดี เพื่อเพิม่ ความ
แข็งแรง เป็ นระบบทา 5 ชัน้ มีคณ ุ สมบัตใิ นการทน UV Resistance 2000 Hrs. ตามมาตรฐาน Astm
G 53 สามารถทนแรงดึงได้ไม่น้อยกว่า 16.8 N/mm2 และชัน้ Top Coat ผสม Sand โดยมีค่าความ
แข็งไม่น้อยกว่า 86.7 N/mm2 ตามมาตรฐาน ASTM ความหนาไม่น้อยกว่า 800 ไมครอน รับประกัน
คุณภาพป้องกันการรัวซึ ่ มเป็ นระยะเวลา 10 ปี ให้เป็ นไปตามมาตรฐานกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิตหรือ
ตัวแทนจําหน่าย ผลิตภัณฑ์ ของ Deckard, Pro-Act Traffigard, Formak ของ บ. Louis
Tleonowents , หรือคุณภาพเทียบเท่า
(3) ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุ ทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด และอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงนํ้ายากันซึมไม่น้อยกว่า
2 ตัวอย่าง และส่งให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบเห็นชอบตามความต้องการทีจ่ ะนําไปใช้งานถ้าไม่ชดั เจน
ในรายละเอียดของวัสดุให้ปรึกษาผูอ้ อกแบบก่อนขออนุมตั ใิ ช้งาน
(4) การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาผูด้ าํ เนินการหรือช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชานาญในการติดตัง้ มีประสบการณ์ในการ
ติดตัง้ และได้รบั การอนุมตั หิ รือแต่งตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตโดยตรง เป็ นผูด้ าํ าเนินการให้เป็ นไปตามแบบ
ขยาย Shop Drawing ทัง้ นี้การติดตัง้ อุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้อง ต้องถูกต้องสมบูรณ์ตามกรรมวิธแี ละ
คําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องได้ระดับเรียบแนบสนิทเป็ นแนว
เรียบร้อย ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกับ ผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อกําหนดตําแหน่งและพิจารณา
ส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ และตรวจสอบสถานทีท่ จ่ี ะดําเนินการทุกแห่งให้สมบูรณ์เรียบร้อย
ถ้ามีขอ้ บกพร่องใดๆ ให้มกี ารแก้ไขให้ถูกต้องก่อนจะมีการติดตัง้
(5) การเตรียมผิวงาน
พืน้ หลังคาจะต้องขัดฉาบผิวเรียบให้ได้ระดับลงท่อระบายนํ้าทิง้ กรณีมรี อยแตกร้าว น้อยกว่า 1 มม.
ซ่อมรอยร้าวด้วยนํ้ายา Super Roofcote ทีม่ คี วามยืดหยุ่น 1000% และกรณีมรี อยร้าวเกินกว่า 1 มม.
สกัดรอยร้าวเป็ นรูปตัว V และซ่อมด้วย Non Shrink Grout
(6) การดําเนินการติดตัง้
ชัน้ ที่ 1 ทานํ้ายา Acrylic Polymer ด้วยลูกกลิง้ และทิง้ ไว้ให้แห้งอย่างน้อยชัน้ ละประมาณ 1-2 ชัวโมง ่
ชัน้ ที่ 2 ทานํ้ายา Acrylic Polymer ด้วยลูกกลิง้ อีกครัง้
ชัน้ ที่ 3 ปู Fiber Glass Chopped Stand Mat 300 g/m2 ขณะทีช่ นั ้ ที่ 2 ยังเปี ยกอยู่ โดยรีบปูแผ่น
Fiber Glass Chopped Stand Mat และทานํ้ายาทับบน Fiber Glass จนเปี ยกโชก และรีด
ผ้าให้เรียบจนไม่มรี อยย่นของผ้า แล้วทิง้ ไว้ให้แห้ง
ชัน้ ที่ 4 ทานํ้ายา Acrylic Polymer ด้วยลูกกลิง้ อีกครัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 255 of 521

ชัน้ ที่ 5 ทานํ้ายา Acrylic Polymer เป็ นชัน้ สุดท้าย ทีม่ สี ว่ นผสมของ Sand เคลือบผิวแกร่งเพื่อป้องกันแรงขีดข่วน และทิง้ ไว้
ให้แห้งประมาณ 1-2 สัปดาห์ (ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั สภาพภูมอิ ากาศด้วย)
5.2 งานระบบกันซึม และยางยาแนว (Water Proofing, Sealant Caulking)
ระบบกันซึม (Water Proofing System)
 ขอบข่าย
ระบบกันซึมบนผิว ค.ส.ล และการติดตัง้ ตามระบุไว้ในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดเตรียมทาแบบ Shop
Drawing ของรายละเอียดต่างๆ เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบ
 วัสดุ
การทําระบบนํ้ายากันซึมและขัน้ ตอนการป้องกันนํ้าในชัน้ ใต้ดนิ (Basement Waterproofing) ให้เป็ นไปตาม
มาตรฐานกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิต หรือตัวแทนจาหน่าย Pro-Act, Radcon, Fosroc หรือคุณภาพเทียบเท่า การรับประกัน
ให้ทาํ เอกสารรับประกันคุณภาพป้องกันการรัวซึ ่ มเป็ นระยะเวลา 10 ปี (รวมค่าวัสดุและแรงงาน) โดยมีรายละเอียดการ
ติดตัง้ ระบบกันซึมดังนี้
(1) ระบบกันซึมสําหรับติดตัง้ บริเวณพืน้ และผนังโครงสร้างใต้ดนิ
ใช้ระบบกันซึมแบบโทไนท์ จีโอเท็กไทล์เมนเบรน ซึง่ ประกอบด้วยเบนโทไนท์ ปริมาณ 5.37
kg./sq.m. ด้านหลังแผ่นทีจ่ ะต้องสัมผัสน้าติดด้วยแผ่น HDPE วัสดุทใ่ี ช้ คือ Velclay Voltex DS หรือเทียบเท่า โดย
มาตรฐาน Peel Adhesion to Concrete ASTM D 903 Mod. 25 kN/m Min Hydrostatic Pressure Resistance ASTM
D5385 100 PSI (70 M) Permeability ASTM D5084 1x 10-11 cm/sec Grab Tensile Strength ASTM D 4632 422 N
Puncture Resistance ASTM D4833 445 N วัสดุประกอบติดตัง้ Accessory Waterproofing Products
(1.1) Volclay Bentenseal : เบนโทไนท์คอมปาวด์ สําหรับใช้เกรียงฉาบในบริเวณทีแ่ ผ่นถูกเจาะผ่าน
รูยดึ แบบบริเวณมุม และบริเวณจบปลายแผ่น
(1.2) Volclay Waterstoppage : เกล็ดเบนโทไนท์สาํ หรับใช้โรยรอยฟุตติง้ และบริเวณทีม่ กี ารเจาะ
ทะลุ
(2) รอยต่อกับข้อต่อ (Cold Joint)
ทัง้ หมดของโครงสร้างคอนกรีตต้องเชื่อมกันให้ตรงและมิดชิดทัง้ ยังตัง้ แผ่นยางกันซึม PVC คัน่
รอยต่อในส่วนโครงสร้างทีต่ อ้ งรับแรงดันของนํ้า เช่น ผนังและพืน้ ห้องใต้ดนิ ถังเก็บนํ้าทุกตําแหน่ งทีม่ กี ารหยุดเท
คอนกรีตตามคําสังผู่ ค้ วบคุมงาน การต่อแผ่นยางกันซึม PVC ให้ใช้วธิ กี ารเชื่อมด้วยความร้อน ห้ามใช้วธิ ที าบ ก่อนเท
คอนกรีตต้องยึดแผ่นกันซึม PVC ให้ได้แนวและยึดด้วยลวดทีร่ ตู าไก่ทต่ี อกไว้ทุกระยะ 20 ซม. เพื่อการเคลื่อนตัวของ
คอนกรีตทีเ่ ทตามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิต
(3) วิธปี ้ องกันนํ้าซึมบนหลังคาดาดฟ้า (Roof Slab Waterproofing)
(3.1) ระบบกันซึมสําหรับหรับดาดฟ้า Slab คสล. พืน้ หรือส่วนที่ “แบบ” ระบุ ให้ทาํ ระบบกันซึมแบบ
Self Adhesive ให้ใช้ระบบปูดว้ ยแผ่นกันซึม การติดตัง้ ตามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิต แผ่นกันซึมใช้ Bitustick หรือเทียบเท่า
หรือผลิตภัณฑ์ตามทีร่ ะบุใน “แบบ” ถ้าในแบบระบุให้ทาํ Finishing บนดาดฟ้า Slab คสล. หรือส่วนทีร่ ะบุ ในแบบให้ทาํ
ระบบกันซึม ให้เท Topping โดยใช้คอนกรีต Class B (หินเกล็ด เสริมด้วยตะแกรงเหล็ก (Wire Mesh)) ขนาด 10 ซม.
ทับบนแผ่นปูกนั ซึม และให้ทาํ รอยต่อทุกพืน้ ที่ 4 ตารางเมตร อุดรอยต่อด้วย Joint Sealant กรรมวิธกี ารทําข้างต้นให้
ปรึกษา ผูผ้ ลิตแผ่นกันซึมทีไ่ ด้รบั อนุมตั ทิ ุกขัน้ ตอน
(4) ถังเก็บนํ้า สระนํ้า บ่อนํ้าพุ กระบะปลูกต้นไม้
(4.1) คอนกรีตทีใ่ ช้ตอ้ งจํากัดปริมาณการใช้วสั ดุทส่ี ามารถแทนซีเมนต์ได้เป็ นต้นว่าขีเ้ ถ้า ลอย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 256 of 521

(Fly Ash) ไม่ให้เกิน 25% และห้ามใส่น้ํายากันซึมในคอนกรีตผสมเสร็จ โดยให้ใช้ซเี มนต์


ปอร์ตแลนด์ธรรมดา และการเตรียมพืน้ ผิวหน้าคอนกรีตให้ขดั หยาบหรือขัดเรียบ แต่หา้ มขัดมัน
(4.2) รอยต่อกับข้อต่อ(Cold Joint) ทัง้ หมดของโครงสร้างคอนกรีต ต้องเชื่อมกันให้ตรงและ
มิดชิดทัง้ ยังต้องติดตัง้ ตัวกันนํ้า (Waterstop) ทีใ่ ช้ยางผสมดินเหนียวเบนโทไนท์ (Bentonite-Buty Rubber) ตัวอย่างเช่น
Radcon Waterstop, Volclayrx, Swellstop หรือคุณภาพเทียบเท่า ทีเ่ ชื่อมผนึกกันด้วยสารผนึก(Adhesive Primer) ห้าม
ใช้เพียงตะปูยดึ
(4.3) จุดสิน้ สุดของพืน้ ทีค่ อนกรีตขอบของแผ่นหลังคาและผนังรอบๆ ทุกทีท่ ถ่ี ูกเจาะหรือเป็ น
ช่องเปิ ดจะต้องหล่อคอนกรีตทําเป็ นขอบ (Kicker) คอนกรีตสูงไม่น้อยกว่า 40 ซม. ห้ามใช้วธิ กี ารก่ออิฐ
(4.4) บริเวณรอบท่อนํ้าทิง้ (Floor Drain) และท่อนํ้าต่างๆ ทัง้ หมดจะต้องทาการติดตัง้ ตัวกัน
นํ้า (Waterstop) และต้องหล่อเข้าเป็ นเนื้อเดียวกันกับโครงสร้างคอนกรีต หรือยึดด้วยตัวคอนกรีตทีไ่ ม่หดตัว (Non Shrink
Grout)
(3) ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุ ทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด และอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง นํ้ายากันซึมไม่
น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบเห็นชอบตามความต้องการทีจ่ ะนําไปใช้งานถ้าไม่ชดั เจนใน
รายละเอียดของวัสดุให้ปรึกษาผูอ้ อกแบบก่อนขออนุมตั ใิ ช้งาน
(4) การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝีมอื ดีมคี วามชานาญในการติดตัง้ ทุกๆ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้ว ต้องได้
มาตรฐานกรรมวิธกี ารติดตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตด้วยความประณีตเรียบร้อย และได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบผิว
คอนกรีตก่อนการติดตัง้ จะต้องเป็ นผิวเรียบไม่เป็ นคลื่น หรือแอ่งแห้งสะอาด ปราศจากสิง่ สกปรกต่างๆ และเอียงลาดสูท่ ่อ
ระบายนํ้าทีพ่ น้ื
(5) การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทําความสะอาดทุกแห่งทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ ด้วยความประณีตเรียบร้อย
ก่อนขออนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบ และส่งมอบงาน
(6) การรับรอง
ผูร้ บั จ้างรับประกันคุณภาพการรัวซึ ่ มของพืน้ ผนัง และหลังคาทีท่ าํ ระบบกันซึม ในระยะ 10 ปี
หากเกิดรอยร้าว แตก หรือรัวไหล ่ เกิดขึน้ ภายในระยะเวลา 10 ปี ภายหลังส่งมอบงานแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องมาจัดทาใหม่
หรือซ่อมแซมให้อยูใ่ นสภาพดี โดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้
5.3 ยางยาแนว (Sealant, Caulking)
(1) ขอบข่าย
บทนี้จะกล่าวถึงงานยางยาแนว (Sealant, Caulking) รอยต่อตามทีร่ ะบุไว้ในแบบก่อสร้างและ
รายการประกอบแบบก่อสร้าง รวมถึงภาคต่างๆ ทัง้ หมดถ้าได้กล่าวถึงในภาคอื่นๆ แล้วให้ใช้บทนี้ประกอบด้วย ผูร้ บั จ้าง
จะต้องจัดเตรียมแบบ ประกอบการติดตัง้ (Shop Drawing) รวมถึงส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ โดย
ละเอียด สําหรับรอยต่อทุกแบบทีม่ เี พื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบพิจารณาจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้
(2) วัสดุ
(1) ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดหาวัสดุทเ่ี หมาะสมกับการยาแนวตามแบบทีก่ าหนด รวมทัง้ รอยต่อใดที่
ต้องยาแนวแต่มไิ ด้กาหนดในแบบ ผูร้ บั จ้าง จะต้องยาแนวรอยต่อนัน้ ให้เรียบร้อยด้วย
(2) วัสดุทใ่ี ช้จะต้องบรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์ทแ่ี ข็งแรงเพียงพอต่อการขนส่ง อยู่ในสภาพเรียบร้อย
โดยมีรายละเอียด ชื่อสินค้า ชนิดผลิตภัณฑ์ รุ่น หมายเลขการผลิต และอื่นๆ อย่างสมบูรณ์ชดั เจน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 257 of 521

(3) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเก็บวัสดุตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต


(4) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําระบบบันทึกการหมุนเวียนของวัสดุดงั นี้
(4.1) วันทีท่ ร่ี บั ของ
(4.2) ชื่อสินค้าและหมายเลขผลิตภัณฑ์
(4.3) หมายเลขการผลิต
(4.4) บันทึกใบรับประกันคุณภาพ หรือ COA (Certificate of Analysis) จากผูผ้ ลิตในทุก
หมายเลขการผลิต
(4.5) วันทีเ่ บิกของไปใช้
(4.6) จํานวนของทีเ่ บิกไปใช้
(4.7) ชื่องานทีน่ ําไปใช้
(5) วัสดุทใ่ี ช้ตอ้ งเป็ นวัสดุชนิดทีเ่ หมาะสมกับวัสดุและประเภทของงานนัน้ ๆ โดยเฉพาะตาม
มาตรฐานของ GE, Dow Corning Corporation, Sika Wacker หรือ Tremco และวัสดุจะต้องได้รบั มาตรฐานดังนี้
(5.1) สําหรับรอยต่อประเภท Curtainwall (4-Sided และ 2-Sided)
(5.1.1) Structural Glazing Sealant ให้ใช้
(5.1.1.1) GE, Dow Corning 995, SSG4000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
(5.1.1.2) วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for
Elastomeric Joint Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, M,
G, A
(5.1.1.3) วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C1184 Standard Specification for
Structural
(5.1.1.4) Silicone Sealants
(5.1.1.5) สามารถรองรับแรงดึงอย่างน้อย 135 PSI เมื่อทดสอบตามมาตรฐาน ASTM
C1135
(5.1.2) Weatherproofing Sealant ให้ใช้
(5.1.2.1) Dow Corning, GE Scs9000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
(5.1.2.2) วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for
Elastomeric Joint Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, G,
A, M, O
(5.1.2.3) วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อย
กว่า ±50%
(5.1.2.4) วัสดุยาแนวต้องไม่มกี ารไหลออกมาของ Plasticizer (Fluid
Migration or Fluid Bleeding)
(5.1.2.5) วัสดุยาแนวต้องมีสารปรับสภาพผิว (Surface Modifier) ช่วยลดการ
สะสมของสิง่ สกปรกบนผิวของซิลโิ คนยาแนว
(5.2) สาหรับงานกระจกเปลือย (Float, Plate, Tinted, Tempered) ให้ใช้
(5.2.1) Dow Corning 999-A, GE SCS1200 หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 258 of 521

(5.2.2) วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification


for Elastomeric Joint Sealants, Type S, Grade NS, Class 25, use
NT, G, A
(5.2.3) วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่
น้อยกว่า ±25%

จบหมวดที่ 40

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 259 of 521

หมวดที่ 41
งานแผ่น ALUMINIUM COMPOSITE

1. ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือทีจ่ าํ เป็ น พร้อมทัง้ ช่างฝีมอื ดี มีความชํานาญงานเพื่อดําเนินการ
ติดตัง้ ประกอบขึน้ แผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต (Aluminium Composite panel) และโครงเคร่า รวมทัง้ อุปกรณ์อ่นื ๆ ทีใ่ ช้
ประกอบติดตัง้ วัสดุยาแนวเพื่อเป็ นการป้องกันการรัว้ ซึมของนํ้าในพืน้ ทีท่ ก่ี าํ หนดตามระบุในแบบก่อสร้างให้เสร็จสมบูรณ์
และตรงตามมาตรฐานวิธกี ารติดตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด โดยทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ จะต้องได้ระนาบทัง้ แนวตัง้ และ
แนวนอน แนวรอยต่อแผ่นจะต้องเป็ นเส้นตรงได้ฉาก มีความปราณีตตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนด ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างจะต้องจัดทํา
SHOP DRAWING แสดงรายละเอียดการติดตัง้ ไม่น้อยกว่า 3 ชุด ส่งให้แก่ผคู้ วบคุมงาน เพื่อทําการตรวจสอบรูปแบบ
และคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์เพือ่ ทําการขออนุมตั กิ ่อนทีจ่ ะนําไปติดตัง้ จริงอย่างน้อย 60 วัน

2. วัสดุ
2.1 ตัวแผ่นผนังอลูมเิ นียมคอมโพสิต
(1) ค่าการนําความร้อน ทัง้ รุ่นธรรมดา และรุ่นกันไฟ 0.3387 W/m.C
(2) ผิวมีความเรียบ ทําความสะอาดฝุน่ ละอองและคราบเขม่าได้ง่ายโดยใช้น้ําและผงซักฟอก ถูออกด้วย
ฟองนํ้า อัตรา การโก่งไม่เกิน 5% ของความยาว หรือหน้ากว้าง
(3) ค่า Acoustic Insulation ตาม ASTM E413
(4) ผนังอลูมเิ นียมคอมโพสิต (Aluminum Composite Panel) ต้องมีความหนารวมไม่น้อยกว่า 4
มม.ผิวอลูมเิ นียมหนา 0.5 มิลลิเมตร ทัง้ 2 ด้าน ทําจากวัสดุอลูมเิ นียมผสมเกรด 3105 H16 มี
ผลทดสอบแรงดึงตาม ASTM E8M-90a
(5) นํ้าหนัก (ทีค่ วามหนา 4 มิลลิเมตร) ไม่น้อยกว่า 5.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร ขนาดมิตนิ อกเหนือจาก
มาตรฐาน กําหนดให้ใช้ตามมาตรฐานการอ้างอิงของบริษทั ผูผ้ ลิตรายนัน้ โดยตรง
2.2 แกนกลางของแผ่นผนังอลูมเิ นียมคอมโพสิต
(1) แกนกลาง PE สําหรับรุ่นธรรมดาผลิตจาก PE ชนิดความหนาแน่นตํ่า Low Density Polyethylene
(LDPE 5310)
(2) แกนกลาง FR สําหรับกันไฟผลิตจาก Polyolefin 28% Magnesium Hydroxide 70% (สารทีท่ าํ ให้ไม่
ลามไฟ) ผ่านการทดสอบตาม ASTM E119 ทนไฟได้นาน 60 นาที
2.3 วัสดุประสานระหว่างชัน้ ผิวอลูเนียม
วัสดุประสานระหว่างชัน้ ผิวอลูมเิ นียมทีป่ ระกอบเข้ากับแกนกลางนัน้ ต้องใช้วสั ดุประสานเป็ นแผ่นกาวทีม่ คี ุณภาพสูง
เพื่อป้องกันการบวมพองของชัน้ ผิวอลูมเิ นียมกับแกนกลาง
2.4 ระบบสี
(1) ผิวด้านนอกเคลือบด้วยสี PVDF (Polyvinylidene Fluoride) ชนิด KYNER 500 เคลือบหนา 25
ไมครอน มีผลทดสอบการเปลีย่ นแปลงของสีไม่น้อยกว่า 15 ปี
(2) ผิวอลูมเิ นียมทีป่ ระกอบด้านหลัง แผ่นต้องมีการเคลือบสีดว้ ยระบบ Polyester Costing หรืออินาเมล
เพื่อป้องกันการสึกกร่อนจากปฏิกริ ยิ า กัดกร่อนจากนํ้าปูน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 260 of 521

(3) แผ่นฟิลม์ ป้องกันความเสียหาย (Protective film) แผ่นผนังอลูมเิ นียมโพสิตทุกแผ่น จะต้องมีฟิลม์ ปิ ด


ทับทีผ่ วิ ด้านหน้าของแผ่นเพื่อป้องกันการเกิดการเสียหายต่อผิวหน้าแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิตใน
ระหว่างการติดตัง้ หรือระหว่างขนส่งแผ่นฟิลม์ ป้องกันการเสียหายต้องไม่หลุดลอกมาก่อนกําหนดส่ง
มอบงาน แผ่นฟิลม์ ต้องทนต่อแสง UV และไม่ทง้ิ คราบขาวหลังการลอกทิง้
2.5 วัสดุสาํ หรับการยาแนว
กําหนดให้ยาแนวด้วยซิลโิ คนชนิดทีไ่ ม่ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับอากาศหรือรังสี UV หรือความร้อนภายนอกจนทําให้เกิดคราบ
ดําทีผ่ วิ แผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต (Non Oil Stain Silicone) โดยผ่านการทดสอบ Non stain ASTM C1284
2.6 ผลิตภัณฑ์ของ ALCOPANEL, ALCOTOP, ALPOLIC, SEVEN, หรือคุณภาพเทียบเท่า

3. การติดตัง้ ประกอบขึน้ แผ่น


3.1 โครงเคร่าสําหรับการติดตัง้ แผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต จะต้องได้รบั การอนุมตั ิ จากผูค้ วบคุมงานก่อนทําการ
ติดตัง้ ทัง้ นี้โครงเคร่าทีใ่ ช้กาํ หนดให้มคี ุณภาพเทียบเท่าหรือดีกว่าเหล็กกล่องขึน้ รูปเย็น ทาสีกนั สนิม Red Lead อย่างน้อย
2 ชัน้ ขนาดทีใ่ ช้ไม่น้อยกว่า 1”x2” ความหนาไม่น้อยกว่า 1.5-1.8 มิลลิเมตร สําหรับอาคารสูงไม่เกิน 5 ชัน้ และขนาดเหล็ก
กล่องรูปพรรณ ทีใ่ ช้ไม่น้อยกว่า 2”x2” ความหนาไม่น้อยกว่า 2.3 มิลลิเมตร สําหรับอาคารสูงเกิน 5 ชัน้ หรือให้วศิ วกร
ตัวแทนผูร้ บั จ้างคํานวณการรับแรง เพื่อขอใช้งานก่อนดําเนินการ และเพิม่ ความระมัดระวังในจุดทีเ่ ป็ นรอยต่อหรือมีการ
เชื่อม
3.2 หากต้องมีการเสริมหนุนโครงโลหะ เพื่อรับแรงลมกลางแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต จะต้องได้รบั การคํานวณที่
ถูกต้องตามหลักวิชาการ และได้รบั อนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อนทุกครัง้
3.3 การตัด พับ ติดตัง้ หน้างาน จะต้องทําบนโครงเหล็กทีม่ คี วามแข็งแรงเพียงพอกับการรับนํ้าหนักของแผ่น และ
การรับแรงลม
3.4 SHOP DRAWING และรายการคํานวณโครงเคร่าก่อนทีจ่ ะเริม่ ทําการประกอบชิน้ งานจริง ผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดทํา SHOP DRAWING และรายการคํานวณโครงสร้างเสนอต่อผูค้ วบคุมเพื่อทําการตรวจสอบและพิจารณาอนุมตั กิ ่อนทํา
การติดตัง้ โดย SHOP DRAWING และรายการคํานวนจะต้องแสดงค่าสําหรับรายการดังต่อไปนี้ดว้ ย
(1) ขนาดของวัสดุทใ่ี ช้ทาํ ตัวรองรับ แสดงวิธกี ารเชื่อมต่อและระยะความห่างของตัวรองรับโครงเคร่า
(2) ขนาดของโครงเคร่า (Spam) แสดงวิธกี ารเชื่อมต่อ ระยะห่างของโครงเคร่าเพื่อป้องกันการแอ่นตัว
(3) SHOP DRAWING ต้องแสดงขนาดการพับขอบแผ่น ระยะหรือความถีก่ ารติดฉากตามทีผ่ ผู้ ลิตแผ่นอลูมเิ นียมคอม
โพสิตได้แนะนําเพื่อให้สอดคล้องกับข้อมูลแรงลมและขนาดปี กแผ่นว่าต้องมีขนาดพับเท่าใด
(4) ขนาดของตัวคํ้ายันทีเ่ สริมด้านในแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิต (ในกรณีทต่ี อ้ งใช้)

4. ขัน้ ตอนการติ ดตัง้ แผ่นวัสดุอลูมิเนี ยมคอมโพสิ ท Aluminum Composite


 ให้ตดิ ตัง้ ตามมาตรฐานทีผ่ ผู้ ลิตกําหนด และติดตัง้ โดยช่างผูช้ าํ นาญ
 พิจารณาแบบทําการสํารวจ และวัดระยะจากหน้างานจริง
 ทําการตีเส้นแบ่งแนวแผ่นในบริเวณทีจ่ ะทําการติดตัง้ ในแนวดิง่ และแนวระดับ เพื่อหาระยะทีแ่ ท้จริงในการติดตัง้
ตามแบบ ทําการกําหนดระยะติดตัง้
 การตัดและติดตัง้ โครงคร่าวเหล็ก ต้องติดตัง้ โดยช่างผูช้ าํ นาญ โดยหลังจากทําการตัดโครงคร่าวเหล็กให้ทาํ การ
เชื่อมรอยต่อให้สนิทเรียบร้อย และทําการพ่นหรือทาทับด้วยสีกนั สนิมทุกครัง้ บริเวณรอยต่อโครงคร่าวเหล็กทีท่ าํ
การตัดหรือเชื่อมต่อ เมื่อประกอบโครงคร่าวเหล็กเรียบร้อยแล้วและพร้อมสําหรับให้แผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทมา
ยึด จะต้องพ่นหรือทาสีกนั สนิมให้ทวถึ
ั ่ งทุกพืน้ ทีผ่ วิ ของโครงคร่าวเหล็ก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 261 of 521

 เริม่ ทําการตัดแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทตามขนาด ด้วยใบเลื่อยไฟฟ้า และโต๊ะรองเลื่อยทีใ่ ช้ในงานไม้ หรือ


สามารถตัดแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทด้วยเครื่องจักรทันสมัยจากโรงงานผูผ้ ลิตหากทราบถึงขนาดแผ่นและระยะที่
ใช้ในการติดตัง้ เพื่อให้เกิดความเรียบสนิทบริเวณขอบแผ่น ลดการสูญเสีย สามารถดําเนินการติดตัง้ ได้อย่าง
เรียบร้อย รวดเร็ว
 เพื่อเตรียมแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทก่อนการติดตัง้ ต้องทําการนําแผ่นมาเซาะร่องด้วยใบเลื่อยหรือใบเซาะร่อง
ด้วยใบเลื่อยตัดโลหะแบบพิเศษ โดยเซาะร่องเป็ นรูปตัววี การเซาะร่องเพื่อเตรียมพับแผ่นตามขนาดทีใ่ ช้ในการ
ติดตัง้ 950 x 950 มม. ในขัน้ ตอนการพับแผ่นควรจัดทําบนพืน้ ผิวทีเ่ รียบสนิท และปูดว้ ยวัสดุนุ่มเพื่อลดแรงเสียด
สีผวิ หน้าแผ่นขณะทํางาน
 การพับขอบแผ่นก่อนติดบนโครงยึด เพื่อป้องกันนํ้าเข้าบริเวณรอยต่อ ควรพับขอบของแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิท
ขึน้ มาไม่น้อยกว่าหรือเท่ากับ 18 มม. ขณะทําการพับขอบแผ่นขึน้ ก่อนติดตัง้ ฉากยึด บริเวณมุมทัง้ 4 ควรทําการ
อุด หรือยามุมรอยต่อด้วยซิลโิ คน ทุกมุมก่อนทําการติดฉากยึด และยึดฉากด้วยสกรูเกลียวปล่อยหรืออลูมเิ นียมริ
เว็ท ทีม่ คี วามยาวไม่น้อยกว่าความหนาของแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิทรวมกับฉากยึดมุม ให้แข็งแรง เพื่อป้องกัน
การถอนตัวของวัสดุยดึ
 ขัน้ ตอนการติดแผ่นทีป่ ระกอบแล้วเข้ากับโครงผนัง ให้สาํ รวจตีเส้นขึงรากระยะแนวดิง่ หรือระดับอ้างอิงมาตรฐาน
ตามแบบ ทําการติดตัง้ ตามผัง โดยใช้ฉากยึดทําจากอลูมเิ นียมทีม่ คี วามแข็งแรง ขนาดไม่น้อยกว่า 1x1นิ้ว ความ
หนาไม่น้อยกว่า 1.5 มิลลิเมตร เป็ นฉากยึดรับแผ่นคอมโพสิทประกอบเข้ากับโครงยึดหลักซึง่ ทําจากเหล็กไลท์เกจ
(LG) โดยการยิงรีเวจหรือสกรูเจาะยึดแผ่นเข้ากับ โครงเหล็กไลท์เกจ (LG) มีขนาดไม่น้อยกว่า 50x50 มิลลิเมตร
หรือ 2x2 นิ้ว มีความหนาไม่น้อยกว่า 2.3 มิลลิเมตร ชุปกัลวาไนท์
 เมื่อติดตัง้ แผ่นแล้วก่อนทําการยาแนวร่องรอยต่อด้วยซิลโิ คนคุณภาพสูง ควรลอกสติก๊ เกอร์พวี ซี บี ริเวณขอบแผ่น
ออก และทําความสะอาดด้วยผ้าสะอาด ปิ ดกระดาษกาวบริเวณทีจ่ ะทําการปาดซิลโิ คนยาแนว เมื่อทําการปาด
ซิลโิ คนยาแนวแล้วจึงทําการลอกกระดาษกาวออก และเก็บลงถุงขยะเพื่อป้องกันไม่ให้ซลิ โิ คนเปื้ อนหน้าแผ่น
อลูมเิ นียมคอมโพสิทเป็ นคราบในภายหลัง การยาแนวซิลโิ คนในบริเวณทีเ่ ป็ นร่องลึกควรอุดด้วยโฟมอุด หรือ
BACK-UP ROD เพื่อไม่ให้สน้ิ เปลืองซิลโิ คนมากจนเกินไป
 ลอกแผ่นพีวซี ปี ้ องกันผิวหน้าออกทัง้ หมดและตรวจสอบร่องการปาดซิลโิ คนยาแนวก่อนทําการส่งมอบงานติดตัง้

5. หลักเกณฑ์ที่ต้องใช้ในการออกแบบ (Design Criteria)


ระบบผนังอลูมเิ นียมจะต้องถูกออกแบบให้ตรงกับความต้องการทีร่ ะบุไว้ตามสภาพภูมอิ ากาศ คือ
(1) แรงลมทีก่ ระทําต่อโครงสร้าง
- 0.50 กิโลนิวตัน/ตารางเมตร (+-) สําหรับอาคารทีม่ คี วามสูงไม่เกิน 10 เมตร จากพืน้ ดิน
- 0.80 กิโลนิวตัน/ตารางเมตร (+-) สําหรับอาคารทีม่ คี วามสูงเกิน 10 เมตร แต่ไม่เกิน 20 เมตร จาก
พืน้ ดิน
- 1.20 กิโลนิวตัน/ตารางเมตร (+-) สําหรับอาคารทีม่ คี วามสูงเกิน 20 เมตร แต่ไม่เกิน 40 เมตร จาก
พืน้ ดิน
- 1.60 กิโลนิวตัน/ตารางเมตร (+-) สําหรับอาคารทีม่ คี วามสูงเกิน 40 เมตร แต่ไม่เกิน 80 เมตร จาก
พืน้ ดิน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 262 of 521

- 2.00 กิโลนิวตัน/ตารางเมตร (+-) สําหรับอาคารทีม่ คี วามสูงเกิน 80 เมตร จากพืน้ ดิน โดยจะต้องไม่มี


ผนังอลูมเิ นียมส่วนใดทีเ่ กิดการบิด งอ เสียรูปร่างภายใต้แรงลมทีม่ ากระทบผนัง 1.3 เท่าของแรงลมที่
กําหนดไว้ในแต่ละระดับความสูง
(2) การแอ่นตัว
การแอ่นตัวทีย่ อมให้ได้สาํ หรับโครงเคร่าอลูมเิ นียมจะต้องไม่เกิน 1/150 ของช่วงสแปน เมื่อ L คือความยาว
ของ Member
(3) รายการคํานวณโครงสร้าง
ก่อนทีจ่ ะเริม่ ทาการประกอบชิน้ งานจริง ผูร้ บั จ้างจะต้องทํารายการคํานวณโครงสร้างเพื่อแสดงต่อผูค้ วบคุม
งาน โดยให้ใช้ขอ้ มูลแรงลมทีก่ าหนดไว้ตามข้อ 3.1 หรือ 3.2 อย่างใดอย่างหนึ่งหรือให้ใช้ตามข้อบัญญัตกิ รุงเทพมหานคร
และพระราชบัญญัตคิ วบคุมอาคารเฉพาะพืน้ ทีก่ ่อสร้างนัน้ บังคับใช้ เรื่อง การควบคุมอาคาร (ฉบับล่าสุด) หากตัวเลข
อย่างไหนมากกว่า ให้ผรู้ บั จ้างใช้ตวั เลขนัน้ เสนอต่อผูค้ วบคุมงาน เพื่อทําการตรวจสอบและพิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ
ติดตัง้ โดยรายการคํานวณจะต้องแสดงค่าสําหรับรายการดังต่อไปนี้ดว้ ย
- ขนาดของตัวรองรับ หรือ Wall Bracket แสดงวิธกี ารเชื่อมต่อและระยะความห่างของตัวรองรับ
- ขนาดของโครงเคร่าอลูมเิ นียม สแปน แสดงวิธกี ารเชื่อมต่อระยะความห่างของโครงและการแอ่นตัว
- ขนาดปี กทีพ่ บั เข้าด้านในของแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิท สแปน และแสดงวิธกี ารเชื่อมต่อ
- ขนาดของตัวคํ้ายันทีเ่ สริมด้านในของแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิท หรือ Stiffener (ในกรณีทต่ี อ้ งใช้)
สแปน แสดงวิธกี ารเชื่อมต่อ และการแอ่นตัว
- ขนาดของสกรู น๊อต พุก รีเวท สําหรับการเชื่อมต่อต่าง ๆ ระยะความห่าง ตําแหน่งของ ทุก Member
- ขนาดแผ่นอลูมเิ นียมคอมโพสิททีผ่ รู้ บั จ้างต้องการใช้ และได้แสดงเอาไว้ในรายการคํานวณจะต้อง
ได้รบั การยืนยันจากผูผ้ ลิตด้วยว่าผูร้ บั จ้างสามารถใช้ขนาดแผ่นดังกล่าวได้
(4) การขยายตัวอันเนื่องมาจากอุณหภูมิ (Thermal Movement)
ระบบผนังอลูมเิ นียมทีใ่ ช้จะต้องไม่เกิดเสียงเวลาทีผ่ นังมีการหดหรือขยายตัวอันเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลง
ของอุณหภูมทิ งั ้ ในระหว่างกลางวันและกลางคืน ตัง้ แต่ 10 ถึง 70 องศาเซลเซียส โดยผนังจะต้องไม่บดิ งอ และแนวรอยต่อ
แผ่นจะต้องไม่เปิ ดหรือปริออก อันเนื่องมาจากแรงดึงของระบบโครงเคร่าและจุดยึดต่างๆ และเมือ่ ผนังเกิดการหดหรือ
ขยายตัวจะต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายใดๆ ทัง้ สิน้
(5) ความเรียบ (Flatness)
ด้วยความเงาระดับสีปกติท่ี 30% ตามมาตรฐาน Gardner Scale สีของผนังอลูมเิ นียมคอมโพสิทแต่ละชิน้ ไม่
ควรจะเกิดความผิดปกติต่างๆ เช่น มองเห็นคราบนํ้ามันบนแผ่น (Oil Canning) หรือมองเห็นเป็นคลื่น โค้งบิดงอ เมื่อมอง
จากตําแหน่งต่าง ๆ โดยแต่ละตําแหน่งทีม่ องจะต้องทามุมไม่น้อยกว่า 15 ดีกรี ของตําแหน่งผนังอลูมเิ นียม (True Plane of
the Panel) ภายใต้แสงแดดธรรมชาติ

6. การส่งตัวอย่างแผ่นวัสดุอลูมิเนี ยมคอมโพสิ ท Aluminum Composite


ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด ซึง่ แสดงถึงผิวและสี ขนาด19x13 ซม.จํานวนไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง พร้อม
เอกสารประกอบ ดังนี้
1) แคทตาล๊อคผลิตภัณฑ์แผ่นวัสดุอลูมเิ นียมคอมโพสิท Aluminum Composite
2) รายละเอียดคุณสมบัตขิ องวัสดุ (Standard composition or Technical data)
3) หนังสือรับรองคุณภาพการทดสอบมาตรฐานการกันไฟจากผูผ้ ลิต (Test report)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 263 of 521

4) หากจัดซือ้ วัสดุจากผูแ้ ทนหรือตัวแทนจําหน่ายในประเทศ ต้องมีหนังสือแต่งตัง้ ตัวแทนจําหน่ายจาก


โรงงานผูผ้ ลิตให้กบั ผูแ้ ทนหรือตัวแทนจําหน่ายสําหรับการจําหน่ายวัสดุในโครงการและจัดส่งให้
คณะกรรมการตรวจการจ้างอนุมตั วิ สั ดุก่อนดําเนินการ
5) Shop Drawing การติดตัง้ ทัง้ หมด

7. การส่งตัวอย่างวัสดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานติ ดตัง้ แผ่นวัสดุอลูมิเนี ยมคอมโพสิ ท Aluminum Composite


ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างทีจ่ ะใช้แต่ละชนิด เช่น โครงเหล็ก , สกรู , ซิลโิ คนยาแนว ,ฉากยึดอลูมเิ นียม ฯ จํานวน
2 ชุด พร้อมเอกสารประกอบ ดังนี้
1) แคทตาล๊อคผลิตภัณฑ์ของวัสดุชนิดต่าง ๆ
2) รายละเอียดคุณสมบัตขิ องวัสดุ (Technical data)
3) หนังสือรับรองคุณภาพหรือผลการทดสอบจากผูผ้ ลิต (ถ้ามี)
4) วัสดุทุกชนิดต้องจัดส่งให้คณะกรรมการตรวจการจ้างอนุมตั วิ สั ดุก่อนดําเนินการ

8. การรับประกัน
8.1 รับประกันคุณภาพวัสดุ เช่น การบวมของผิวอลูมเิ นียมและสีเคลือบ สีลอกล่อน สีด่าง หรือสีแตกลายงา การ
หลุดล่อนของผิวอลูมเิ นียม เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 10 ปี
8.2 รับประกันคุณภาพงานติดตัง้ เช่น การกันนํ้า การยึดแน่นของแผ่น วัสดุยาแนว และโครงสร้าง เป็นเวลาไม่
น้อยกว่า 2 ปี

จบหมวดที่ 41

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 264 of 521

หมวดที่ 42
งานระบบป้ องกันความร้อนสาหรับอาคาร

1 งานผนังภายนอกป้ องกันความร้อน ระบบ EIFS


1.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงานและอุปกรณ์ ในการติดตัง้ ผนังภายนอก ป้องกันความร้อนระบบ Exterior
Insulation and Finish System ตามระบุในรายการทัวไป ่
1.2 วัสดุ
(1) โครงเคร่าโลหะอาบสังกะสีขนาด 15 x 45 x 75 มม. หนา 2.3 มม. ติดตัง้ Metal Stud (เคร่าตัง้ ) ทีร่ ะยะ
@ 0.60 ม. หรือระยะตามผูต้ ดิ ตัง้ แนะนํา และใช้ Track (เคร่านอน) ทัง้ บนและล่าง ขนาด 92 x 33 x 1 มม. เช่นกัน
รวมทัง้ โครงสร้างเสริมพิเศษ
(2) ติดแผ่นแมกนิเซียมคอมเปานด์บอร์ดภายนอก (Magnesium Compound Board) ขนาด 1.20 ม. x 2.40
ม. หนา 9 มม ติดตัง้ ด้วย S”Screw
(3) ติดแผ่น Insulation (Polystyrene Foam) ชนิดกันไฟลาม ความหนาแน่น 16 กก./ลบ.ม. ความหนาไม่
น้อยกว่า 4” ขนาด 0.60 X 1.20 ม. ด้วยกาวซีเมนต์ (Base Coat) บน Board โดยสลับแผ่น Insulation แบบก่ออิฐ
ในแนวนอน
(4) ติดตาข่ายกันร้าว และเพื่อเพิม่ ความแข็งแรง (Fiberglass Mesh-Blue) ชนิดกันไฟลามมีคา่ แรงดึง
(Tensile Strength) ไม่น้อยกว่า 66 kg และมีจาํ นวนเส้น (Yarn Count) ไม่น้อยกว่า 6 เส้น/นิ้ว ของ Vinsulator, นัน
ทวิจติ ร, NCL กรุ๊ป หรือคุณภาพเทียบเท่า ติดบนแผ่น Insulation ด้วย Base Coat แล้วฉาบ Base Coat ซ่อนตา
ข่ายหนาประมาณ 2 มม. ฉาบให้เรียบ เมื่อแห้งดีแล้วขัดผิวรอยเกรียงด้วยกระดาษทราย
(5) ฉาบสี Finish Coat ชนิด 100% Acrylic ผสมทรายละเอียดตามมาตรฐานผูผ้ ลิต โดย Base Coatและ
Finish Coat ให้ใช้ตามมาตรฐานของ บริษทั ฮอทฮิวมิด เอ็นเนอร์ยี แมททีเรียล จํากัดบริษทั จิฟ โปรดักซ์ เซ็นเตอร์
จํากัด, 3d Interproducts Co., Ltd. หรือคุณภาพเทียบเท่า
(6) ติดตัง้ แมกนิเซียมคอมเปานด์บอร์ด (แผ่นภายใน) ขนาด 1.20 x 2.40 ม. หนา 9 มม. พร้อมฉาบรอยต่อ
เรียบ
(7) แผ่นแมกนิเซียมคอมเปานด์บอร์ด ให้ใช้ขนาดความหนาตามระบุ โดยใช้แผ่น Mag-Lite ของบริษทั
เหรียญกรุ๊ป บิลดิง้ แมททีเรียล เทคโนโลยี จํากัด, Nine Dragonของบริษทั แมทเทค จากัด, ULEX ของบริษทั คอน
เอด เอเชีย จํากัด คุณภาพเทียบเท่า
1.3 การติ ดตัง้
(1) การติดตัง้ ผนังแมกนิเซียมคอมเปานด์บอร์ดเคร่าโลหะทีใ่ ช้ ให้ปฏิบตั ติ ามแบบขยายแบบก่อสร้าง หากไม่
ระบุให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแบบขยายให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้ เคร่าส่วนทีต่ ดิ ผนัง หรือฝ้าเพดานฉาบปูน
จะต้องหลังจากการฉาบปูนส่วนนัน้ ๆ เรียบร้อยแล้ว จึงติดตัง้ โครงเคร่าได้ การยึดจะต้องเหมาะกับโครงเคร่า และ
แข็งแรงเรียบร้อยพร้อมทีจ่ ะทําการตกแต่งงานอื่นได้ทนั ที
(2) การติดตัง้ ผนังเบาอื่น ๆ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพร้อมรายละเอียดในการติดตัง้ ให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั กิ ่อนการส่งวัสดุมายังหน่วยงาน
(3) งานโครงสร้างผนัง EIFS หรือส่วนประกอบอาคารทุกประเภททีเ่ ป็ นส่วน เสริมจากงานโครงสร้างหลัก
และส่วนทีร่ บั นํ้าหนัก เช่น ระเบียงทางเดิน Parapet ผนังสูง เพดานภายนอก/ภายใน ให้ผกู้ ่อสร้างจัดเสนอ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 265 of 521

รายละเอียด Shop Drawing การเสริมโครงสร้างพิเศษการติดตัง้ และรายการคํานวณในบางพืน้ ทีท่ จ่ี าํ เป็ น และ


รับรองโดยสามัญวิศวกร ทุกพืน้ ที่
1.4 การทาาความสะอาด
ผนังทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนได้ฉากกับพืน้ ผนังห้อง และจะต้องทําความสะอาดให้
เรียบร้อย

2 ระบบป้ องกันความร้อนหลังคา และพืน้


2.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นในการก่อสร้าง งานป้องกันความร้อนหลังคา และพืน้
อาคารตามทีร่ ะบุในแบบ กรณีทไ่ี ม่ได้ระบุในรูปแบบให้ถอื ว่าจะต้องมีการป้องกันความร้อนในชัน้ บนสุดของอาคาร
เหนือฝ้าเพดานและใต้ทอ้ งพืน้ อาคารส่วนทีส่ มั ผัสกับอากาศภายนอกโดยตรง
2.2 วัสดุกนั ความร้อน
(1) ฉนวนใต้หลังคาของอาคารให้ใช้เป็ นฉนวนใยแก้ว ความหนาไม่น้อยกว่า 3” มีความหนาแน่นไม่ต่ากว่า
24 กก./ลบ.ม. ชนิดห่อหุม้ ด้วยอลูมเิ นียมฟอยด์ทงั ้ 4 ด้าน และมีวสั ดุกนั ความชืน้ ทุกด้าน มีค่าต้านทานความร้อน
(R) ไม่น้อยกว่า 23 hr.sq.ft.f/BTU. รอยต่อทุกแนวปิ ดด้วยเทปฟอล์ย กว้าง 2” โดยตลอดการติดตัง้ แผ่นให้ตดิ ตัง้
ด้วยหมุดอลูมเิ นียม (Spindle Pin) ใต้หลังคาทุกระยะ 0.30 x 0.30 ม. โดยใช้กาวประเภท Synthetic Rubber
Cement เป็ นตัวยึดติดพืน้ ผิวใต้หลังคาเป็ นแนวตรงกันตลอด เมื่อติดตัง้ ฉนวนใยแก้วแล้ว ให้ใช้ Spring Washer
ชนิดล็อคแผ่นได้ในตัวดันยึดแผ่นฉนวนไว้ให้เรียบร้อย รายละเอียดอื่น ๆ ให้ปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิต การ
ติดตัง้ ฉนวนใยแก้วทีก่ าํ หนดให้ตดิ ตัง้ ใยแก้วหนา 3” 3 ชัน้ ให้หมุ้ ฉนวนใยแก้ว 2 ชัน้ บนด้วยอลูมนิ มฟอยด์
ั่ ชัน้ ล่างห่อ
ด้วยแผ่นผ้าใยแก้ว ผลิตภัณฑ์ของบริษทั สยามไฟเบอร์กลาส จํากัด บริษทั ไมโครไฟเบอร์ จากัด 3d Interproducts
Co., Ltd. หรือคุณภาพ เทียบเท่า
(2) ฉนวนติดตัง้ สําหรับพืน้ ชัน้ ที่ 1และหลังคา ค.ส.ล. ทีเ่ ป็ นพืน้ ทีป่ รับอากาศของทุกอาคาร รวมถึงพืน้ ชัน้
อื่นๆ ของพืน้ ทีป่ รับอากาศทีใ่ ต้ทอ้ งพืน้ สัมผัสอากาศภายนอกโดยตรง ให้ตดิ ตัง้ ฉนวนโฟม PU (Polyurethane)
ความหนา 2 นิ้ว ความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 40 กก./ลบ.ม.ของ Vinsulator, NCL, TSS, 3D Interproducts Co.,
Ltd. หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ทียบเท่าและได้รบั อนุมตั จิ ากสถาปนิก ติดตัง้ บนพืน้ โครงสร้างด้วยวิธกี ารพ่น ให้มี
ความหนาสมํ่าเสมอตลอดทัง้ พืน้ ที่ จากนัน้ จึงนําคอนกรีตทับหน้าก่อนทีจ่ ะติดตัง้ วัสดุปผู วิ ให้เรียบร้อย ขัน้ ตอนการ
ติดตัง้ ทัง้ หมดจะต้องได้รบั อนุมตั จิ ากสถาปนิกก่อนการก่อสร้าง หากมีการก่อสร้างก่อนได้รบั อนุมตั ิ ถ้ามีการ
ผิดพลาดหรือเสียหายจะต้องเป็นความรับผิดชอบของ ผูร้ บั จ้าง ทัง้ หมด และถือเป็ นเหตุให้เกิดความล่าช้าแก่การ
ก่อสร้างไม่ได้ ในกรณีทส่ี ว่ นใดของอาคารเป็ นพืน้ ทีป่ รับอากาศ หากแบบก่อสร้างหรือรายละเอียดประกอบแบบ มิได้
ระบุเป็ นอย่างอื่นให้ถอื ข้อปฏิบตั ดิ งั นี้
(2.1) การบุฉนวน
ให้ทาํ อย่างต่อเนื่องรอบตัวอาคาร ดังนี้ ใต้หลังคาทุกพืน้ ที่ ผนังโดยรอบอาคารทีม่ ใิ ช่กระจกทุกพืน้ ที่
ใต้พน้ื อาคารทีย่ กลอยจากดิน เพื่อหลีกเลีย่ งรอยรัวของความร้
่ อน หรือหาทางติดตัง้ เพื่อลดปญั หาสะพานความร้อน
(Thermal Break) ซึง่ โดยปกติแล้วส่วนของอาคารทีเ่ ป็ นใต้ทอ้ งพืน้ หรือไม่ได้รบั อิทธิพลจากแสงแดด ต้องมีฉนวน
หนาไม่ต่ํากว่า 2” ส่วนเปลือกอาคารในแนวตัง้ หรือผนังภายนอก ต้องมีฉนวนหนาไม่ต่าํ กว่า 3” และส่วนใต้หลังคา
หรือฝ้า เพดานชัน้ บนสุดของอาคารทีต่ ดิ ตัง้ ระบบปรับอากาศ ต้องมีฉนวนหนาไม่น้อยกว่า 6”
(2.2) การป้องกันรังสีอลั ตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ฉนวนทุกชนิดเมื่อติดตัง้ แล้วต้องไม่ได้รบั อิทธิพลจาก
รังสีอลั ตร้าไวโอเลตทัง้ ทางตรงและทางอ้อม หากเป็ นฉนวนประเภทโฟมจะต้องมีการฉาบป้องกันผิวนอกอย่างถูกวิธี

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 266 of 521

(2.3) การติดตัง้ ฉนวนจะต้องคํานึงถึงปญั หาการเกิดการควบแน่นของไอนํ้าทีผ่ วิ ฉนวนมิให้เกิดขึน้ โดย


คํานึงถึงเทคนิคการติดทีถ่ ูกวิธี
(2.4) การติดตัง้ พืน้ ผนัง ฝ้าเพดาน หน้าต่าง ประตู หรืออุปกรณ์ใดๆ ทีต่ ่อเนื่องกับภายนอกอาคาร
ทัง้ หมด ให้ตดิ ตัง้ โดยมี Thermal Break ป้องกันมิให้มกี ารนําความร้อนเข้าสูอ่ าคารในส่วนนัน้ ๆ ได้

3 ฉนวนป้ องกันไฟโครงเหล็ก
3.1 ขอบข่าย
บทนี้จะกล่าวถึงฉนวนป้องกันไฟโครงเหล็ก ซึง่ เป็ นส่วนโครงสร้างหลักของอาคารทัง้ หมดทีม่ ไิ ด้ห่อหุม้ ด้วย
คอนกรีต (Exposed Steel Structure) จะต้องหุม้ ด้วยฉนวนป้องกันไฟตามมาตรฐานข้อกาหนดในเทศบัญญัติ
สําหรับกรณีทม่ี ไิ ด้ระบุให้ใช้ฉนวนป้องกันไฟอย่างอื่นในแบบให้ใช้ฉนวนป้องกันไฟดังต่อไปนี้
3.2 ฉนวนป้ องกันไฟ ระบบยิปซัมทนไฟ หุ้มโครงสร้างเหล็ก
(1) วัสดุ
(1.1) แผ่นฝ้ายิปซัมป้องกันไฟ (Fire Bloc) มีสารใยแก้วผสมในเนื้อยิปซัม ซึง่ เป็ นฉนวนกันความร้อน
ได้มากกว่าแผ่นยิปซัมทัวไป ่ มีอตั ราการป้องกันไฟสูง ขนาดมาตรฐาน 1200 x 2400 มม. หนา 15.9 มม. เลือกใช้
แบบขอบเรียบ (Square Edge) ใช้ผลิตภัณฑ์ของ บ.สยามอุตสาหกรรมยิปซัม, บ.บีพบี ี ไทยยิปซัม หรือเทียบเท่า
(1.2) โครงคร่าวผนังไม่รบั นํ้าหนัก ( Non-Load Bearing Metal Stud Wall)
(1.3) โครงคร่าวผนังต้องแข็งแรงเพียงพอทีจ่ ะรับนํ้าหนักของแผ่นยิปซัมบอร์ด ได้มาตรฐาน
มอก.863-2532 โดยผลิตจากกรรมวิธเี หล็กรีดร้อนชุบสังกะสี ไม่น้อยกว่า 220 กรัม/ ตร.ม. กันสนิมได้มาตรฐาน
มอก. 50-2538 รวมทัง้ เหล็กเข้ามุมโดยโครงคร่าว นอนตัว U ขนาดไม่เล็กกว่า 32 x 76 มม. หนาไม่น้อยกว่า 0.5
มม. โครงคร่าวตัง้ ตัว C ขนาดไม่เล็กกว่า 35 x 75 มม. หนาไม่น้อยกว่า 0.5 มม. ใช้ผลิตภัณฑ์ของ บ.สยาม
อุตสาหกรรมยิปซัม, บ.บีพบี ี ไทยยิปซัม หรือเทียบเท่า
(1.4) สกรูทใ่ี ช้ยดึ แผ่นยิปซัมกับโครงคร่าว ใช้สกรูเกลียวปล่อย
(1.5) ปูนปลาสเตอร์และผ้าเทป ใช้สาํ หรับฉาบรอยต่อ ใช้ผลิตภัณฑ์ของ บ.สยามอุตสาหกรรมยิปซัม,
บ.บีพบี ี ไทยยิปซัม หรือ เทียบเท่า
(2) การติดตัง้
ผูร้ บั จ้าง ต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญหรือได้ใบรับรองมาตรฐานการติดตัง้ จากบริษทั ผูผ้ ลิต
ก่อนการติดตัง้ ให้มกี ารประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อตรวจสอบบริเวณสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องให้สมบูรณ์ การติดตัง้
ทัง้ ระบบต้องผ่านมาตรฐานการป้องกันไฟ 3 ชัวโมง ่ ตาม ASTM E-119 จากสถาบันทีม่ ชี ่อื เสียง หรือได้ใบยืนยัน
รับรองจากวุฒวิ ศิ วกรทีเ่ ชื่อถือได้มรี ายละเอียดการติดตัง้ ดังนี้
(2.1) วัดระยะห่างของมุมทัง้ 2 ด้านของโครงสร้าง วางโครงคร่าว C75 ตามระยะห่างทีว่ ดั ได้
(2.2) ตัดโครงคร่าว U 76 ยาวตามระยะห่างทีว่ ดั ได้ ติดโครงคร่าว U76 เข้ากับโครง C75 ทุกระยะ
40 ซม. โดยใช้สกรูยดึ โครง
(2.3) ทําเช่นเดียวกันนี้อกี หนึ่งครัง้ แล้วนําแผงโครงทัง้ 2 ประกบเข้ากับโครงสร้าง จากนัน้ ตัดโครง
U76 ยาวตามระยะห่างของแผงโครงทัง้ 2 แผง แล้วติดเข้าไปบนโครงทัง้ 2 แผง เพื่อหุม้ โครงสร้างทุกระยะ 40 ซม.
โดยใช้สกรูยดึ โครง
(2.4) ติดแผ่นยิปซัมชนิดทนไฟ หนา 15.9 มม. เข้ากับโครงทีห่ มุ้ โครงสร้าง โดยชัน้ แรกใช้สกรูดา 25
มม. ติดทุกระยะ 20 ซม. ส่วนการติดแผ่นชัน้ ทีส่ อง ใช้สกรูดา 38 มม. ติดทุกระยะ 20 ซม. โดยรอยต่อแผ่นชัน้ ใน
และชัน้ นอกต้องไม่ตรงกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 267 of 521

(2.5) บริเวณมุมต่อชนแผ่นทัง้ 4 ให้ซอ้ นทับและสลับแนวแผ่นกัน และเสริมความแข็งแรงบริเวณมุมภายนอก


ทัง้ 4 ด้วยเหล็ก เข้ามุม
(2.6) ฉาบปิ ดรอยต่อแผ่น รอยหัวสกรู และบริเวณมุมทัง้ 4 ด้วยปูนฉาบ
(3) ข้อกําหนดในการติดตัง้
(3.1) ระยะห่างระหว่างโครงตัว U ไม่ควรเกิน 40 ซม.
(3.2) ระยะห่างในการยิงสกรู ไม่ควรเกิน 20 ซม.
(3.3) รอยต่อแผ่นยิปซัมชัน้ ในและชัน้ นอกต้องไม่ตรงกัน และบริเวณมุมต่อชนแผ่นทัง้ 4 ให้ซอ้ นทับและสลับ
แนวแผ่นกัน
(3.4) เสริมความแข็งแรงทีม่ ุมภายนอก ด้วยเหล็กเข้ามุม (Corner Bead) หรือใช้ฉนวนป้องกันไฟ (Spray –
On Fireproofing)

4 ฉนวนป้ องกันไฟ ระบบซีเมนต์พ่นกันไฟโครงสร้างเหล็ก ( Spray – On Fireproofing )


(1) วัสดุ
(1.1) ฉนวนป้องกันไฟ ( Spray – On Fireproofing ) ให้ใช้ “Firecut”, Pyrolite, Cafco หรือคุณภาพ
เทียบเท่า ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
(1.1.1) “Firecut” Type F-1 , Pyrolite Type 15 หรือ Cafco 400 สําหรับบริเวณหรือพืน้ ทีภ่ ายในหรือ
กึง่ ภายนอกอาคาร
(1.1.2) “Firecut” Type F-100, Pyrocrete 204 หรือ Cafco 800 สําหรับบริเวณหรือพืน้ ทีภ่ ายนอก
อาคาร
(1.2) ฉนวนป้องกันไฟ ต้องปราศจากสาร Asbestos และ Mineral Wool
(1.3) ความหนา และ Resistance ของฉนวนป้องกันไฟ (Fireproofing) ทีใ่ ช้กบั โครงเหล็กก่อสร้างต้องได้
มาตรฐานสากลกฎข้อบังคับควบคุมอาคารก่อสร้าง หรือได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นแต่ทงั ้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบ และการ
อนุมตั จิ ากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้
(1.4) ฉนวนป้องกันไฟต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐานสากล เช่น UL Fire Resistance Directory (โดย
สถาบัน Underwriter’s Labratories Inc.) และมาตรฐานการทดสอบของ ASTM E119 หรือเทียบเท่า Spray-On
Fireproofing ต้องผ่านการทดสอบดังต่อไปนี้
(1.4.1) Dry Density : ความหนาแน่นโดยเฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 27 PCF ตามมาตรฐาน ASTM E605
หรือมาตรฐานเทียบเท่า
(1.4.2) Deflection : ฉนวนกันไฟต้องไม่แตกร้าวหรือหลุดร่อนจากผิวของ วัสดุทต่ี ดิ ตัง้ ไว้ตาม
มาตรฐาน ASTM E759 หรือมาตรฐานเทียบเท่า
(1.4.3) Bond Impact : ฉนวนกันไฟต้องไม่แตกร้าวหรือแยกชัน้ จากผิวของ วัสดุทต่ี ดิ ตัง้ ไว้ตาม
มาตรฐาน ASTM E760 หรือมาตรฐานเทียบเท่า
(1.4.4) Bond Strength : ค่าโดยเฉลีย่ 2000 PSF ทดสอบผ่านตามมาตรฐาน ASTM E736
(1.4.5) Air Erosion : ผ่านค่าทดสอบตามมาตรฐาน ASTM E859 ค่า Maximum Weight Loss ของ
ฉนวนป้องกันไฟทีย่ อมให้ 0.005 gm./Square Feet
(1.4.6) Compressive Strength : ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM E761 โดยทีฉ่ นวนป้องกัน
ไฟเมื่อรับ Compressive Force ต้องไม่เปลีย่ นแปลงรูปลักษณะเกิน 10 Percent

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 268 of 521

(1.4.7) Corrosion Resistance : เหล็กทีจ่ ะใช้ฉนวนป้องกันไฟได้ตามมาตรฐาน ASTM E937 และ


ต้องไม่เป็ นสนิม
(1.4.8) Surface Burning : ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM E84
(1.4.9) Frame Spread
(1.4.10) Smoke Development
(1.4.11) นํ้าทีใ่ ช้ผสมวัสดุ ต้องเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาด ปราศจากสิง่ เจือปนจาพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง
และสารอินทรียต์ ่างๆ
(2) ตัวอย่างวัสดุพร้อมหนังสือรับรอง
ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดหารายละเอียดวัสดุของ Fireproofing (Manufacture’s Specification) โดยแสดง
ถึงการทดสอบคุณภาพของวัสดุ และตัวอย่างทีจ่ ะใช้ในแต่ละชนิดไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง รวมทัง้ มีหนังสือรับรองมาตรฐาน
การป้องกันไฟตามทีก่ าหนดในเทศบัญญัตเิ พื่อการขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูค้ วบคุมงานก่อนทีจ่ ะ
นําไปติดตัง้
(3) การติดตัง้
ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ ี มีความชํานาญในการติดตัง้ โดยทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้องได้
ระดับทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อยถูกต้องตามกรรมวิธี และมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่าง
เคร่งครัด ตามหลักวิชาการก่อสร้างทีด่ ี
(3.1) ผูร้ บั จ้าง ต้องตรวจสอบสถานทีท่ จ่ี ะติดตัง้ วัสดุป้องกันไฟให้ถูกต้องเรียบร้อยก่อนการติดตัง้ ถ้า
หากพบข้อบกพร่องต่างๆ ให้แก้ไขให้เรียบร้อย และให้ได้มาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
(3.2) สถานทีท่ จ่ี ะติดตัง้ จะต้องมีการระบายอากาศทีด่ ี
(3.3) วัสดุทใ่ี ช้ในการก่อสร้างทัง้ หมดต้องมีช่อื บริษทั ผูผ้ ลิต เครื่องหมายการค้า และเลขหมายต่าง ๆ
ติดอยู่ครบถ้วนสมบูรณ์
(3.4) วัสดุตอ้ งเก็บไว้ในสถานทีท่ ม่ี สี งิ่ ปกคลุม โดยปราศจากความชืน้ หากวัสดุมคี วาม เปี ยกชืน้ ห้าม
นํามาใช้ตดิ ตัง้ เป็ นอันขาด
(3.5) ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการรับประกันวัสดุป้องกันไฟเป็ นระยะเวลา 10 ปี โดยเป็ นไปตามมาตรฐาน
ของบริษทั ผูผ้ ลิตโดยได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบและผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง
5. การทาาความสะอาด
ผูร้ บั จ้าง จะต้องทําความสะอาดในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ เรียบร้อยแล้วให้สะอาดร้อย และขนย้าย
วัสดุทเ่ี หลือใช้ เศษวัสดุทต่ี กหล่นและซากวัสดุทท่ี บั ถมอยูใ่ ห้เรียบร้อย หากมีขอ้ บกพร่องดังกล่าวเกิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้อง
แก้ไขให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อนการอนุมตั ติ รวจสอบจากผูค้ วบคุมงาน

จบหมวดที่ 42

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 269 of 521

หมวดที่ 43
งานป้ าย - เครือ่ งหมายทัวไป

1. ลักษณะตัวอักษร (FONT)
ให้ใช้มาตรฐานตัวอักษร (FONT) ตามทีม่ กี าํ หนดเป็ นตัวอย่างในแบบก่อสร้างหรือรายการก่อสร้างแล้วแต่กรณี
ยกเว้นทีส่ ถาปนิกจะกําหนดให้เป็ นอย่างอื่นเป็ นพิเศษเฉพาะจุดในขณะก่อสร้าง หากมิได้มกี าํ หนดลักษณะตัวอักษรไว้ใน
แบบหรือรายการก่อสร้าง ให้ผรู้ บั จ้างเสนอสถาปนิกอนุมตั ิ
2. ตําแหน่งติดตัง้
ให้ผรู้ บั จ้างทําแบบขยายรายละเอียด (SHOP DRAWINGS) แสดงตําแหน่งทีต่ อ้ งติดตัง้ ป้ายตามหัวข้อนี้ให้สถาปนิก
พิจารณาและอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร เมื่อสถาปนิกแก้ไขให้เป็ นไปอย่างใดแล้วผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้
เป็ นไปตามนัน้
3. แผ่นป้ายโลหะชัวคราว ่
ก่อนลงมือก่อสร้างให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแผ่นป้ายโลหะทีเ่ ห็นได้ชดั เจนทีด่ า้ นหน้าของสถานทีก่ ่อสร้าง โดยระบุช่อื อาคาร
เจ้าของอาคาร สถาปนิก วิศวกรผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน ผูร้ บั จ้าง ระยะเวลาก่อสร้าง วันทีก่ ่อสร้างแล้วเสร็จ และวงเงินค่า
ก่อสร้างตามรูปแบบและรายละเอียดทีส่ ถาปนิกจะกําหนดให้ ให้จดั ทําแผ่นป้ายโลหะนี้จาํ นวน 1 ป้าย หากกฎหมาย
กําหนดให้ตอ้ งระบุรายละเอียดใดเพิม่ เติมหรือมีขอ้ กําหนดใดเป็นพิเศษ ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําให้สอดคล้องตามทีก่ ฎหมาย
กําหนดนัน้ ด้วย
4. ป้ายชื่อโครงการหรือชื่ออาคารถาวร
หากในแบบมิได้กาํ หนดเอาไว้ ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําป้ายชื่อและป้ายสัญลักษณ์โครงการหรืออาคาร ติดตัง้ ในสถานที่
ก่อสร้างบริเวณทีม่ องเห็นจากทางสาธารณะได้ชดั เจน หรือติดตัง้ ทีต่ วั อาคาร หรือในตําแหน่งทีส่ ถาปนิกจะกําหนดให้
ภายหลังตามขนาด สี วัสดุ และรูปแบบทีส่ ถาปนิกจะกําหนดรายละเอียดต่อไป ให้จดั ทําแผ่นป้ายโครงการเหล่านี้จาํ นวน 1
ชุด
5. ป้ายเครื่องหมายห้องนํ้า
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําป้ายสัญลักษณ์ “ชาย” และ “หญิง” ติดหน้าห้องนํ้ารวมชายและหญิงทุกห้อง โดยป้ายจะต้องเป็ นส
เตนเลส ขนาด 0.12x0.20 เมตร ติดสูงจากพืน้ หน้าห้อง 1.50 เมตร ให้ผรู้ บั จ้างเสนอสัญลักษณ์ให้สถาปนิกอนุมตั กิ ่อนสังทํ ่ า
6. เสาธง
ให้ผรู้ บั จ้างจัดหาและติดตัง้ เสาธงและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ รวมทัง้ ผืนธงในตําแหน่งทีร่ ะบุในแบบก่อสร้าง เสาธง
เป็ นเสาสูงปลายเรียว ผลิตจากเหล็กอาบสังกะสีดว้ ยวิธี HOT DIP GALVANIZED มีความแข็งแรง สามารถทนแรงลมได้ดี
ลักษณะการติดตัง้ ปราศจากการยึดด้วยสลิง ระบบขึน้ -ลงใช้แบบมือหมุน ให้ใช้เสาธงสําเร็จรูปผลิตภัณฑ์ CCH. หรือ
เทียบเท่า โครงสร้างรับตัวเสาและฐานรอบเสาหากในแบบไม่ได้ระบุรายละเอียด ให้ผรู้ บั จ้างทําแบบขยายรายละเอียด
(SHOP DRAWINGS) เสนอผูอ้ อกแบบพิจารณาอนุมตั กิ ่อนดําเนินการ

จบหมวดที่ 43

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 270 of 521

หมวดที่ 44
งานเครือ่ งหมายอุปกรณ์จราจร

1. ลักษณะตัวอักษร - สัญลักษณ์
ให้ใช้มาตรฐานตัวอักษร (FONT) และสัญลักษณ์ ตามทีม่ กี าํ หนดเป็ นตัวอย่างในแบบก่อสร้างหรือรายการก่อสร้าง
แล้วแต่กรณี ยกเว้นทีส่ ถาปนิกจะกําหนดให้เป็ นอย่างอื่นเป็ นพิเศษเฉพาะจุดในขณะก่อสร้าง หากมิได้มกี าํ หนดลักษณะ
ตัวอักษรไว้ในแบบหรือรายการก่อสร้าง ให้ผรู้ บั จ้างเสนอผูอ้ อกแบบพิจารณาความเห็นเบือ้ งต้นและนําเสนอผูค้ วบคุมงาน
และกรรมการตรวจการจ้างฯ พิจารณาอนุมตั ิ
2. ตําแหน่งติดตัง้
ให้ผรู้ บั จ้างทําแบบขยายรายละเอียด (SHOP DRAWINGS) แสดงตําแหน่งทีต่ อ้ งติดป้ายตามหัวข้อนี้ ให้ผอู้ อกแบบ
พิจารณาและนําส่งผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร เมื่อผูค้ วบคุมงานและกรรมการ
ตรวจการจ้างฯ พิจารณาแก้ไขให้เป็ นไปอย่างใดแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้เป็ นไปตามนัน้
3. เส้นแนวถนน แนวช่องแบ่งทีจ่ อดรถ และลูกศรชีท้ ศิ เดินรถ
ให้ผรู้ บั จ้างตีเส้นแบ่งแนวช่องถนนและเส้นแบ่งช่องจอดรถบนพืน้ ตามแนวทีแ่ สดงในแบบ โดยภายในอาคารให้ใช้สี
จราจรสีขาว ส่วนภายนอกอาคารให้ใช้เทอร์โมพลาสติกขนาดเส้นกว้างไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร และให้ผรู้ บั จ้างตี
เครื่องหมายลูกศรชีท้ ศิ ทางเดินรถลงบนพืน้ ถนนและสัญญลักษณ์ทจ่ี อดรถผูพ้ กิ าร รูปแบบของลูกศรและสัญญลักษณ์ให้ใช้
ตามมาตรฐานของกรมทางหลวงและ Universal Design สําหรับทิศทางลูกศร ขนาดลูกศร และตําแหน่งทีต่ อ้ งเขียนลูกศร
ตลอดจนแนวทางข้าม และพืน้ ทีห่ า้ มจอด สถาปนิกหรือผูว้ ่าจ้างจะกําหนดให้ภายหลัง จํานวนเครื่องหมายทัง้ หมดตามความ
เหมาะสม
4. ป้ายเครื่องหมายจราจร
ให้ผรู้ บั จ้างทําป้ายเครื่องหมายกํากับจราจรพร้อมเสา โดยป้ายทําด้วยโลหะสีเ่ หลีย่ มหรือวงกลมขนาด 1 ตารางฟุต
ยึดติดกับเสาเหล็กกลมเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 1/2 นิ้ว หนาไม่น้อยกว่า 4 มิลลิเมตร เสาปกั ฝงั ลงในดินโดยมีฐานคอนกรีต
ขนาด 0.25 x 0.25 x 0.50 เมตร หลังฐานอยู่ทร่ี ะดับ 0.30 เมตร เหนือทางเท้า รูปแบบของป้ายให้ใช้ตามมาตรฐานของกรม
ทางหลวง เครื่องหมายบนป้ายและตําแหน่งติดตัง้ ป้าย ผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าํ หนดภายหลัง สีทใ่ี ช้เขียน/ทา/พ่น เครื่องหมาย
เป็ นสีสะท้อนแสงทีท่ นแดดทนฝน ทัง้ นี้ให้เป็ นไปตามรูปแบบกําหนดให้ดาํ เนินการ
5. รายละเอียดคุณสมบัตวิ สั ดุ
งานเครื่องหมายจราจรบนผิวทาง (Pavement Markings)ลักษณะของงาน งานนี้ประกอบด้วยการทาสีทาํ
เครื่องหมายจราจรพืน้ ผิว ซึง่ ประกอบด้วย
ก. การตีเส้นเครื่องหมายจราจรแบบเส้นทึบ เส้นประ ทางคนข้าม เส้นหยุด เส้นแนวการจอดรถ ลูกศร ข้อความ หรือ
เครื่องหมายต่าง ๆ บนผิวถนน คันหินและลานจอดรถ ตามทีแ่ สดงในแบบรายละเอียด และหรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงานและ
กรรมการตรวจการจ้างฯ เห็นสมควรให้แก้ไขเพิม่ เติม
ข. การตีเส้นทําเครื่องหมายจราจรบนพืน้ อาคารทีจ่ อดรถตามทีแ่ สดงในแบบรายละเอียด และหรือตามทีผ่ คู้ วบคุมงาน
และกรรมการตรวจการจ้างฯ เห็นสมควรให้แก้ไขเพิม่ เติม
วัสดุ สีสาหรับเครือ่ งหมายจราจรบนผิวทางแบบถาวรทัง้ หมด ต้องเป็ นสีเทอร์โมพลาสติก ชนิดทาร้อน ส่วนเครือ่ งหมาย
จราจรบนคันหิน เป็ นสีเทอร์โมพลาสติก ชนิดทาเย็น
ก. สีเทอร์โมพลาสติ กชนิ ดทาร้อน สีเทอร์โมพลาสติกต้องเป็ นสีผสมสําเร็จรูปทีโ่ รงงาน จากผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั การ
เห็นชอบ และต้องเหมาะสมกับประเภท และสถานทีข่ องการใช้งาน สีตอ้ งมีคุณสมบัตเิ ป็ นสารเทอร์โมพลาสติกในสภาวะ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 271 of 521

อากาศต่าง ๆ ณ บริเวณทีใ่ ช้งานตลอดเวลา คุณสมบัตดิ งั กล่าวได้แก่ ความต้านทานต่อการยืดออกภายใต้การจราจรขณะที่


พืน้ ผิวถนนมีอุณหภูมสิ งู สุด และการคงความยืดหยุ่นได้ขณะถนนมีอุณหภูมติ ่ําสุด และจะต้องให้เครื่องหมายจราจรซึง่ อยู่
คงทนเป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 24 เดือน ภายใต้สภาพการจราจรปกติจะต้องระบุอตั ราส่วนตํ่าสุด และสูงสุด และชัน้ ของ
ส่วนประกอบของสี ปริมาณกรดของตัวประสาน อุณหภูมริ ะหว่างผสม และใช้ทา การแข็งตัว จุดหลอมตัว (๐ C) และจุดติดไฟ
(๐C) สีจะต้องใส่ในภาชนะทีไ่ ม่ทาํ ให้สว ่ นผสมของสีสกปรก และทีป่ ้ องกันไม่ให้สว่ นผสมของสีเจือปนกับวัสดุอ่นื การเก็บ
รักษาสีจะต้องเป็ นไปตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต
ข. สีเทอร์โมพลาสติ กชนิ ดทาเย็น สีเทอร์โมพลาสติ กชนิ ดทาเย็น
เหมาะกับการทาด้วยวิธใี ช้แปรง หรือเครื่องพ่นสี ให้ระบุรายละเอียดของสีทจ่ี ะใช้ทาดังต่อไปนี้
- ส่วนประกอบของสี (โดยนํ้าหนัก)
- การใช้ทา (ชนิดทาเย็น)
- ชนิดและปริมาณสูงสุดของนํ้ามันทินเนอร์
- ระยะเวลาการแห้งตัว (สัมผัสได้)
- ระยะเวลาการแข็งตัว (เพื่อทาทับ)
- พืน้ ทีท่ ท่ี าได้ (จ้านวนลิตรหรือแกลลอน ต่อระยะ 1 กิโลเมตรของเส้นกว้าง 10 เซนติเมตร)
- ความต้านทานต่อสภาพความร้อน เช่น อุณหภูมสิ งู สุดของพืน้ ผิวถนน
- รายละเอียดของสีรองพืน้ ต่าง ๆ Primer, Undercoat หรือ Tack Coat ทีก่ าํ หนดให้ใช้ สีทจ่ี ดั ส่งให้จะต้องใหม่และพร้อมที่
จะใช้งาน บรรจุในภาชนะทีป่ ิ ดสนิทการเก็บรักษาสีจะต้องเป็ นไปตามค้าแนะน้าของผูผ้ ลิต สีมที งั ้ ชนิดสะท้อน
แสงและไม่สะท้อนแสง
1) สีทาถนนชนิ ดไม่สะท้อนแสง สีชนิดไม่สะท้อนแสงจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี คู้ วบคุมงานและกรรมการตรวจ
การจ้างฯ เห็นชอบ ผสมสําเร็จรูปจากโรงงานและเหมาะสมทีจ่ ะใช้ได้กบั ผิวคอนกรีต เมื่อทาแล้วไม่มรี อยย่นและแตก
เป็ นริว้ เนื้อสีไม่เยิม้ ให้ความหนาทีเ่ สมอกัน ไม่เป็ นเงาเมื่อทาสีเสร็จ กําหนดให้ใช้สาํ หรับพืน้ อาคารทีจ่ อดรถ
2) สีทาถนนชนิ ดสะท้อนแสง สีชนิดสะท้อนแสงจะต้องเป็ นสีชนิดเดียวกันกับข้อ (1) ทีร่ ะบุขา้ งต้น เว้นแต่ให้
ผสมลูกแก้วสะท้อนแสงในสีขณะผลิตสี ปริมาณของลูกแก้วสะท้อนแสงทีผ่ สมจะต้องอยู่ระหว่าง 300-500 กรัมต่อลิตร
(4-6 ปอนด์ต่อ ยู.เอส แกลลอนของสี) ลูกแก้วสะท้อนแสงทัง้ หมดจะต้องผ่านตะแกรงเบอร์ 12 และผ่านตะแกรงเบอร์ 100
ไม่มากกว่าร้อยละ 5 ลูกแก้วสะท้อนแสงจะต้องไม่มเี หลีย่ มแหลมคม และอย่างน้อยร้อยละ 80 ของลูกแก้วสะท้อนแสง
จะ ต้องเป็ นแก้วทีโ่ ปร่งแสงเม็ดลักษณะกลมและไม่มตี ําหนิ กําหนดให้ใช้สาํ หรับพืน้ ผิวถนนคอนกรีต ลานจอดรถและ
คันหิน
6. วิ ธีการก่อสร้าง
สีเทอร์โมพลาสติ ก (ชนิ ดทาร้อน)
ก. การจัดเตรียมผิว ให้ทาสีบนพืน้ ผิวทีส่ ะอาดและแห้งเท่านัน้ ห้ามทาสีบนพืน้ ทีซ่ ง่ึ มีเศษหิน ทราย กรวดที่
เกาะตัวอยู่ รอยเปื้ อน โคลน หรือสิง่ แปลกปลอมอื่น หรือทาทับเครื่องหมายซึง่ เป็ นสีเก่าทีท่ าติดผิวไว้แล้ว หรือทาทับ
เครื่องหมายทีเ่ ป็ นเทอร์โมพลาสติกเก่าซึง่ ทาไว้ผดิ พลาด ในกรณีทผ่ี วิ บนมีลกั ษณะเป็ นมันเรียบอย่างเช่น ผิว
คอนกรีตเรียบหรือผิวราดยางทีม่ กี ารใช้งานมาก่อนซึง่ หินมีลกั ษณะเป็ นมันเรียบ และ/หรือตามกําหนดวิธกี ารใช้ หรือ
ตามทีก่ ารท่าเรือฯ ประสงค์ให้ทารองพืน้ ด้วย Tack Coat บนผิวนัน้ ก่อน การทาสีจะต้องใช้ Tack Coat ตามคําแนะนําของ
ผูผ้ ลิตสีเทอร์โมพลาสติก และอยู่ภายใต้การเห็นชอบของผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ เครื่องหมายสี
เทอร์โมพลาสติกทีห่ มดอายุ หรือทําผิดพลาดจะต้องขจัดออกหากผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ
ประสงค์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 272 of 521

ในกรณีทพ่ี น้ื ผิวเดิมมีสหี รือเครื่องหมายจราจรทาไว้แล้วจําเป็ นต้องลบออก หรือเปลีย่ นแปลงแก้ไขจะต้องลบออก


หรือทาทับด้วยวิธกี ารอันเหมาะสม และผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ เห็นชอบ
ข. การจัดเตรียมสีเทอร์โมพลาสติ ก จะต้องต้มสีเทอร์โมพลาสติกให้ละลาย ตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตใน
เครื่องต้มทีม่ เี ครื่องกวนเพื่อให้สเี ข้ากันและร้อนทัวถึ ่ ง อุณหภูมขิ องการต้มให้ทาํ ตามทีผ่ ผู้ ลิตระบุและห้ามเกิน
อุณหภูมสิ งู สุดทีผ่ ผู้ ลิตกําหนด สีทล่ี ะลายแล้วจะต้องรีบใช้ทนั ที และสําหรับวัสดุเทอร์โมพลาสติกทีม่ ตี วั ประสานเป็ น
ยางธรรมชาติ หรือว่ามีความไวต่อการต้มไว้นาน ๆ ห้ามต้มสีนนั ้ นานเกินกว่า 4 ชัวโมง ่
ค. การทาสีเทอร์โมพลาสติ ก - ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอรายการอุปกรณ์ และผลิตภัณฑ์ทน่ี ้ามาใช้งานพร้อมทัง้
หลักฐานแสดง การรับรองคุณภาพการทดสอบของกรมทางหลวง ทางหลวงชนบท หรือหน่วยงานราชการอื่น หรือ
องค์การของรัฐบาลไทยหรือองค์การต่างประเทศทีเ่ ชื่อถือได้ต่อผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ เพื่อขอ
อนุมตั เิ บือ้ งต้นก่อนนํามาใช้งานอย่างน้อยหนึ่งเดือน – เครื่องมือทีน่ ํามาใช้งานจะต้องเป็ นเครื่องมือทีไ่ ด้รบั การ
เห็นชอบและจะต้องทาตามแนวทีก่ าํ หนด สําหรับเครื่องหมายอืน่ ๆ อาจทาด้วยวิธรี ่อนด้วยมือ ใช้แปรง เครื่องพ่น
เครื่องตีเส้นขับเคลื่อนด้วยแรงคน หรือเครื่องตีเส้นทีข่ บั เคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ตามทีผ่ คู้ วบคุมงานและกรรมการ
ตรวจการจ้างฯ เห็นชอบหรือแนะนํา หลังจากเทสีทต่ี ม้ ลงในอุปกรณ์ตเี ส้นแล้วต้องรักษาสีให้อยู่ภายในช่วงอุณหภูมทิ ่ี
ผูผ้ ลิตระบุ และกวนสีให้เข้ากันอยู่เสมอ – ต้องทาสีให้ได้ความหนาไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร และไม่มากกว่า 5
มิลลิเมตร นอกจากว่าผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ เห็นด้วยเป็ นพิเศษเพื่อต้องการทาสีทบั เครื่องหมาย
เดิม ผิวทีท่ าสีแล้วต้องเสมอกันปราศจากฟองอากาศหรือมีรอยย่น - จะต้องทาสีเส้นเครื่องหมาย และตัวอักษรอย่าง
ระมัดระวัง เพื่อให้ได้แนว ระยะ ขนาดทีถ่ ูกต้องตามแบบแปลน และ/หรือ SHOP DRAWING และต้องใช้บรรทัดตรงและ
แบบวัดถ้าผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ แนะนํา - หลังจากงานในแต่ละวันแล้วเสร็จ สีทม่ี เี หลืออยู่ใน
เครื่องต้มและ/หรือภาชนะทีใ่ ช้ทาสีให้ขจัดออกไปและห้ามนํามาใช้ใหม่
สีทา (ชนิ ดทาเย็น)
ก. การจัดเตรียมผิว -ให้ทาสีบนพืน้ ผิวทีส่ ะอาดและแห้งเท่านัน้ ห้ามทาสีบนพืน้ ทีซ่ ง่ึ มีเศษหิน ทราย กรวด ที่
เกาะตัวอยู่ รอยเปื้ อนโคลน หรือสิง่ แปลกปลอมอื่น หรือทาทับเครื่องหมายจราจรทีเ่ ป็ นสีเทอร์โมพลาสติก หรือทาทับ
เครื่องหมายจราจรทีเ่ ป็ นสีเก่า ซึง่ ทาไว้ผดิ พลาดหรือไม่ตรงตามชนิดของสีทใ่ี ห้ทา - ถ้าจ้าเป็ นต้องใช้ Primer หรือ
Undercoat แล้วให้ใช้ชนิดทีใ่ ห้การเกาะยึดระหว่างสีทาเครื่องหมายจราจรกับผิวถนน โดยไม่ทาํ ให้ไหลเยิม้ หรือสี
จางลงPrimer หรือ Undercoat จะต้องสอดคล้องกับสีทาเครื่องหมายจราจร และ ผิวพืน้ ทุกประการ และให้ใช้ตาม
อัตราทีผ่ คู้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ แนะนํา
ข. การจัดเตรียมสี - จะต้องผสมสีชนิดทาเย็นทัง้ หมดในสนามทุกครัง้ ก่อนการทาเพื่อให้เม็ดสีมกี ารลอยตัว
เสมอกัน ห้ามใช้น้ํามันทินเนอร์ หรือสารผสมเพิม่ นอกเสียจากว่าได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและกรรมการ
ตรวจการจ้างฯ
ค. การทาสี
- ให้ตเี ส้นแบ่งทิศทางการจราจร เส้นแบ่งช่องจราจรและเส้นขอบทางด้วยเครื่องมือทีไ่ ด้รบ ั ความ
เห็นชอบ และจะต้องทาตามแนวทีก่ าํ หนด สําหรับเส้นชนิดอื่นให้ทาด้วยวิธใี ช้แปรง เครื่องพ่นรอยด้วยมือ เครื่องตี
เส้นทีข่ บั เคลื่อนทีด่ ว้ ยแรงคน หรือเครื่องตีเส้นทีข่ บั เคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ ตามรูปร่างเครื่องหมายจราจรและชนิดของ
สีทอ่ี นุมตั ใิ ห้ใช้ ตามทีผ่ คู้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ ประสงค์ อัตราการใช้ของสีแต่ละชัน้ ต้องเป็ นไป
ตามทีผ่ ผู้ ลิตแนะนํา นอกเสียจากผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างฯ จะกําหนดเป็ นอย่างอื่น เมื่อต้องทาสีเกิน
กว่าหนึ่งชัน้ ก่อนทาสีชนั ้ ต่อไป ต้องรอให้สชี นั ้ แรกแข็งตัวเต็มทีเ่ สียก่อน
ง. การป้ องกันเครือ่ งหมายที่ทา - ต้องป้องกันเครื่องหมายทีท่ าไว้ทงั ้ หมดไม่ให้จราจรผ่าน จนกว่าสีแห้งสนิท
เสียก่อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 273 of 521

7. ระบบควบคุมการเข้า-ออกรถยนต์ ( Car Parking Barrier Control System )


ความต้องการทัวไป ่
ข้อกําหนดนี้ครอบคลุมรายละเอียดการจัดหา และติดตัง้ อุปกรณ์รกั ษาความปลอดภัยตามทีแ่ สดงไว้ในแบบและ
ข้อกําหนดนี้ให้สามารถใช้งานได้สมบูรณ์ตามความต้องการ โดยระบบต่าง ๆ ประกอบด้วย
- ระบบควบคุมการผ่านเข้าออกของรถยนต์ ( Car Parking Barrier Control System )
- อุปกรณ์ประกอบ ( Accessories Device )
ความต้องการทางด้านเทคนิ ค
การทํางานโดยทัวไป
่ ของชุดควบคุมประตูแต่ละชุด ต้องสามารถทํางาน, บันทึกเหตุการณ์, และประมวลผลได้
ด้วยตัวเอง ( Stand Alone ) โดยมีการควบคุมระดับการอนุมตั ใิ ห้ผ่าน และแสดงผลรวมด้วยชุด Network Controller
ระบบต้องสามารถควบคุมผ่านชุดคอมพิวเตอร์ จากตําแหน่งอื่นๆ นอกเหนือจากชุดควบคุมหลัก โดยผ่านระบบ LAN /
WAN ได้ และสามารถกําหนดระดับการควบคุมของผูค้ วบคุมระบบได้ ไม่น้อยกว่า 5 ระดับ
ระบบ Parking Barrier Control System ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั มาตรฐาน และสามารถเชื่อมต่อเพื่อรับ
สัญญาณจากอุปกรณ์ในระบบ Intrusion Alarm ได้ ระบบ ต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ดงั ต่อไปนี้เป็ นอย่างน้อย
- ชุดควบคุมส่วนกลาง ( Security Control Center )
- โปรแกรมควบคุมระบบ ( System Software )
- ชุดควบคุมประตู ( Security Door Controller )
- ชุดอ่านบัตร ( Proximity Card Reader )
- Electrical Door Strike
- Door Sensor
- บัตร ( Proximity Card )
- Accessories / Tools
- Power Supply
- Key Pad
- Parking Barrier

ส่วนประกอบของระบบ
3.1 ชุดควบคุมส่วนกลาง
ระบบ Parking Barrier Control System ต้องสามารถควบคุม ตรวจสอบหรือแจ้งเตือน ( Alarm ) หรือสังการ

หรือรับรูแ้ ละบันทึกเหตุการณ์ได้ท่ี Security Control Room โดยประกอบด้วย ( Minimum Requirement )

Intel Core i3 3.0GHz หรือ


- Processor :
ดีกว่า
- Memory : 8 GB DDR3 / Up to 16 GB
SATA 500GB หรือสูง
- Harddisk :
กว่า
- DVD-ROM : Internal SATA DVD-RW
- Expandable : 6 USB ( 2 front, 4 rear )
- Network Interface : 10/100 Mbps Ethernet LAN

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 274 of 521

Adapter
- Monitor :
LCD 20" หรือดีกว่า
- Graphics :
PCI-Express หรือดีกว่า
- Keyboard :
มาตรฐาน ไทย/อังกฤษ
- Mouse :
Wheel Mouse Optical or Laser Mouse
- Software :
Window 7 หรือดีกว่า
- Printer :
Laser Color, A4 Paper Size
Power Supply :
220 VAC, 50Hz
3.2 โปรแกรมควบคุม ( System Software )
ต้องเป็ นโปรแกรมทีจ่ ดั ทําขึน้ เพือ่ ใช้กบั ระบบ Parking Barrier Control System โดยเฉพาะ มีลกั ษณะการ
ติดต่อกับผูใ้ ช้งานแบบ GUI ( Graphic User Interface ) ทํางานบนระบบปฏิบตั กิ าร Windows, XP, 7 ปี ล่าสุด
การแก้ไขปรับปรุงหรือการป้องกันข้อมูลต้องสามารถทําได้ท่ี Security Control Room มีการจัดเก็บข้อมูลแบบ
Microsoft Access Database หรือ SQL โปรแกรมจัดการระบบดังกล่าวอย่างน้อยจะต้องสามารถจัดทํา
รายการต่างๆ ได้ดงั นี้
การตัง้ ระบบ ( Set Up ) กําหนดรหัสของระบบ สามารถแบ่งระดับความสําคัญของผูใ้ ช้เครื่อง
-
ได้ไม่น้อยกว่า3 ระดับ โดยแต่ละระดับสามารถตัง้ รหัสได้ดว้ ย โดยประกอบด้วยตัวเลขหรือ
ตัวอักษรต่างๆ กันไม่น้อยกว่า 8 หลัก
การโปรแกรมชุดอ่านบัตร ต้องสามารถกําหนด ชื่อรูปถ่าย หมายเลข ชนิด เวลาทีเ่ ปิ ดประตู
- และเวลาแจ้งเหตุหรือระดับความปลอดภัย พร้อมทัง้ สามารถเลือกทีจ่ ะให้ขอ้ มูลแสดงที่
เครื่องพิมพ์ เก็บไว้ในแฟ้มทะเบียนบัตรได้
สามารถกําหนดการใช้งานระบบ (Operator) ได้สงู สุดไม่น้อยกว่า 10 Operator และสามารถ
-
Log On พร้อมกันได้ไม่น้อยกว่า 5 User ในเวลาเดียวกัน
- สามารถกําหนดวันและเวลา หมดอายุของบัตรแต่ละใบได้ ( Card Expired Date )
ต้องสามารถโปรแกรมการแจ้งเหตุ Alarm รูปแบบต่างๆ ตามความต้องการได้ และสัญญาณ
-
Alarm จะมีการเก็บไว้ใน Log และสามารถพิมพ์เป็ นรายงานได้
- สามารถสังเปิ่ ด-ปิ ดประตู ( Remote Door Control ) ได้จากทาง PC
การรายงานต้องสามารถแสดงผลทางหน้าจอ หรือพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ โดย
-
แสดง
หมายเลขบัตร วัน เวลา ทีผ่ ่านเข้า
·
ออกตามปกติ
วัน เวลา ตําแหน่งประตูทเ่ี ปลีย่ น
·
สถานะ
สถานะของของอุปกรณ์
·
Sensor)
แจ้งเหตุ เมื่อเกิดการเข้าออกบริเวณ
·
ทีไ่ ม่อนุญาต
- โปรแกรมสามารถบันทึกข้อมูลการเข้า-ออกของพนักงาน ทุกครัง้ ทีผ่ ่านการเข้า-ออก
Zone ต่างๆ และสามารถจัดการข้อมูลให้เรียกออกมาดูได้ในลักษณะต่างๆ เช่น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 275 of 521

เรียงตามลําดับชื่อและรายละเอียด
·
เฉพาะบุคคล
· แผนกงาน
· ช่วงเวลา
- โปรแกรมสามารถเลือกเจาะจงเวลาในการเข้าออกของผูถ้ อื บัตรในแต่ละ Zone ได้
- โปรแกรมสามารถรับข้อมูลติดต่อกับระบบ Alarm หรือ Detector ของระบบ Fire Door
Monitor และ Close Circuit TV ( CCTV ) เพื่อการบันทึก หรือ ตรวจสอบ หรือ Alarm
และ แจ้งผ่าน Monitor ของ Security
- Control Room
- โปรแกรมสามารถพิมพ์ Transaction Event ทีเ่ กิดขึน้ ออกทางเครื่องพิมพ์ได้
- การแสดงผลเมื่อมีการแจ้ง Alarm ให้จอภาพแสดงตําแหน่งประตูเกิดเหตุ เป็ นแผนภาพ
ของ อาคารแบบ
- Dynamic Graphic ซึง่ สามารถ Input เข้ามาจากไฟล์รปู ภาพ JPG หรือ BMP File และ
แจ้ง Report ทางเครื่องพิมพ์ โดยมีรายละเอียดของวัน เวลา ตําแหน่ง ชนิด เหตุการณ์
โดยอัตโนมัติ และนอกจากนี้ยงั สังการโดยอั
่ ตโนมัตใิ ห้ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ดบันทึกภาพ
เหตุการณ์ ( ไม่น้อยกว่า 16 กล้อง ) กรณี Alarm ทีป่ ระตูควบคุม
- อันเนื่องจากมีผพู้ ยายามบุกรุกเข้าประตูดงั กล่าวโดยไมได้รบั อนุญาต
- สามารถส่งสัญญาณเตือน (Alarm) ตามเวลาทีก่ าํ หนด ในกรณีทป่ี ระตูคา้ งทิง้ ไว้ นานเกิน
กว่าทีก่ าํ หนด
- มีระบบป้องกันการจีบ้ งั คับ ( Duress Button )
- สามารถแสดงสถานะการ Online และ Offline ของเครือ่ งควบคุม
- สามารถกําหนดได้ว่า เมื่อมีการใช้บตั รแล้ว ให้ PC แสดงกราฟฟิกเป็ นรูปภาพของ
พนักงานทีเ่ ข้า-ออก ประตูนนั ้ โดยทันทีประกอบด้วยฟงั ก์ชนต่
ั ่ างๆ อย่างน้อย ดังนี้
- Anti Pass Back ป้องกันการใช้บตั รซํ้าในเวลาจํากัด
- สามารถทําการยกเลิกบัตรเดิมได้ เมื่อผูใ้ ช้บตั รเปลีย่ นบัตรใหม่ หรือสูญหาย
- Time Schedule กําหนดเวลาเข้า-ออก ของแต่ละทางเข้าออกให้กบั ผูถ้ อื บัตรได้อย่าง
อิสระ
- Group Access ระบบจะอนุญาตให้เฉพาะกลุ่มทีไ่ ด้รบั อนุมตั มิ กี ารเข้าออก
- Door Monitoring ระบบสามารถตรวจสอบสถานะของประตูได้
- ระบบจะต้องมีการสํารองข้อมูลกรณีมคี วามผิดพลาดใด ๆ เกิดขึน้ โดยข้อมูลต่างๆ จะต้อง
ถ่ายโอนและทํางานได้ปกติเมื่อระบบกลับสูส่ ภาพเดิมแล้วในส่วนของ Hardware จะต้อมี
คุณสมบัตอิ ย่างน้อยดังนี้
- จุดเชื่อมโยงสัญญาณโดยใช้จุดต่อในลักษณะ TCP/IP, หรือ RS485 ได้
- Multi-site capable : stand alone controller, multiple site networking
- ใน 1 ชุดควบคุม ให้สามารถครอบคลุมการทํางานของประตูได้มากทีส่ ดุ ไม่เกิน 8
- ในกรณีระบบรักษาความปลอดภัยได้รบั สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ประตูทถ่ี ูกควบคุมด้วย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 276 of 521

Access Contrlo ทุกจุดต้องถูกปลดล็อก ( Failed Safe ) เพื่อความปลอดภัยทางด้านชีวติ


- สามารถควบคุม Lift ได้ โดยต้องสามารถกําหนดสิทธิในการเข้าแต่ละชัน้ ของแต่ละบัตรได้
.
3.3 ชุดควบคุมการเข้าออก ( Security Controller )
ชุดควบคุมการเข้าออก ( Security Controller ) เป็ นอุปกรณ์ Micro Processor ทีท่ าํ หน้าที่
สือ่ สารข้อมูลระหว่าง Card Reader ของแต่ละทางเข้าออก และ Security Control Room
ต้องสามารถทํางานใน ลักษณะ Network Operation Mode ได้ โดยการเชื่อมโยงกับ
Security Control Room ได้โดยผ่าน TCP/IP Ethernet หรือสายสัญญาณแบบ RS485 ได้
- และในกรณีทข่ี าดการติดต่อระบบจะต้องสามารถทํางานในลักษณะ Full Stand Alone ได้โดย
ใช้ความจําและข้อมูลในตูค้ วบคุมนัน้ เมื่อกลับสูส่ ภาวะปกติหรือสามารถติดต่อกับ Security
Control Center ได้แล้ว ระบบจะต้องสามารถถ่ายเทข้อมูลระหว่างทีข่ าดการติดต่อ เพื่อเก็บ
บันทึกไว้ในหน่วยความจําของ Security Control Center ได้โดยอัตโนมัติ และชุดควบคุมนี้
จะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
- ต้องสามารถทํางานแบบ Real Time
- ต้องสามารถรับเทคโนโลยีของเครื่องอ่านบัตรอย่างอื่นได้ในอนาคต โดยไม่ตอ้ ง
เพิม่ เติมอุปกรณ์อ่นื ๆ
- ต้องสามารถเปลีย่ นแปลงแก้ไขโปรแกรมได้ และสามารถเก็บรักษาข้อมูลเมื่อไม่มี
ไฟฟ้า และเมื่อไฟฟ้ากลับสูส่ ภาพปกติ สามารถทํางานได้ทนั ที
ตูค้ วบคุมต้องสามารถบันทึกรายละเอียดต่าง ๆ ใน Transaction Record ได้อย่างน้อย
-
ดังต่อไปนี้
· วันที่ / เดือน
· เวลา
· รหัสประจําตัวผูถ้ อื บัตร
Transaction Event เพื่อแสดง
·
เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้
ตําแหน่ง
·
ทางเข้าออก
- Transaction Event ต้องมีรายละเอียดอย่างน้อยดังต่อไปนี้
· Valid/Invalid Area
· Invalid Card
Invalid Personal Identification
·
Number
· Invalid Time Zone
Break Glass Switch
·
Alarm
· Antipassback
- ต้องมีไฟแสดงการทํางานต่าง ๆ ของระบบดังนี้
· ไฟแสดงการทํางานของแผง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 277 of 521

ควบคุม
ไฟแสดงการทํางานระบบไฟฟ้า
·
แผงควบคุม
· ไฟแสดงการรับข้อมูล
- ระบบนี้จะต้องได้รบั การออกแบบสําหรับ card reader ในแต่ละส่วนของระบบรักษาความปลอดภัย
โดยการอนุญาตผ่านเข้าออกได้ในบางพืน้ ทีเ่ ฉพาะบุคคล และกําหนดเวลาในการผ่านเข้าออกในบาง
พืน้ ที่
- มีอุปกรณ์ Audible Alarm อยู่ในแผงชุดควบคุม สําหรับส่งเสียงเมื่อเกิด Alarm ต่าง ๆ
- ต้องสามารถจัดเก็บ Offline Transaction Event กรณีการเชื่อมต่อกับ Security Control Room
ขัดข้องได้ไม่น้อยกว่า 10,000 Event
- มีระบบนาฬิกาในตัวเองและจะทําการตัง้ เวลาให้ตรงกับ Server และโปรแกรมควบคุมโดยอัตโนมัติ
- ต้องสามารถรองรับอุปกรณ์รบั สัญญาณและอุปกรณ์ควบคุม ตามแบบทีก่ าํ หนดและสามารถขยาย
เพิม่ ได้สามารถเก็บข้อมูลบัตรผ่านได้ไม่น้อยกว่า20,000 บัตร
- ระบบนี้ตอ้ งสามารถบันทึกการแก้ไข Program ในลักษณะของ ; วันเดือนปี , เวลา และ รายชื่อผูท้ าํ
การแก้ไข
- ระบบนี้ตอ้ งมร Software สําหรับเรียกแฟ้มข้อมูล เพื่อรายงานผลได้ และต้องมีการบันทึกการลง
เวลา การใช้งานจากบัตร / ระบบต่าง ๆ สามารถตรวจสอบได้
- ระบบต้องสามารถทํางานแบบ stand alone ได้พร้อมกับการบันทึกข้อมูล ถึงแม้ว่าจะเกิดการทํางาน
ผิดพลาดของส่วนกลาง ( central computer failure )
- ส่งสัญญาณเตือนไปยัง CCTV เมื่อมีการพยายามบุกรุก / พังประตูหรือเปิ ดประตูนานผิดปกติ

3.4 ชุดอ่านบัตร ( Card and Readers )


3.4.1 คุณสมบัตขิ อง Proximity Card
ก..Proximity access card อย่างน้อย 26 bits
ข. ลักษณะจะต้องบาง สะดวก ทีจ่ ะพกพาในกระเป๋าได้
ค. รับประกันอายุการใช้งานเป็ นเวลา 1 ปี
ง. ขนาด 2.125" x 3.375" , 0.070" max
จ. ภาพติดบัตรควรมีสสี นั ต่างๆ
ฉ. จํานวนบัตรทีผ่ รู้ บั จ้างต้องจัดเตรียม มีจาํ นวน 2,000 ใบ
3.4.2 ชุดอ่านบัตร สําหรับใช้กบั Proximity card มีคุณสมบัตดิ งั นี้
ก) สามารถใช้งานได้ทงั ้ ภายในและภายนอก
ข) ใช้กบั ไฟฟ้า 5-16 V-dc
ค) ระยะอ่านบัตร อยู่ในช่วง 5 - 10 เซนติเมตร จากบัตร
ง) มีไฟสัญญาณแสดงสถานะการทํางาน
3.5 อุปกรณ์ Alarm
ให้จดั หาและติดตัง้ อุปกรณ์ Alarm ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ ไม่ว่าจะเป็ น Siren / Buzzer / Strobe
Lamp
3.6 System Configuration

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 278 of 521

3.6.1 Entrance :
- Entrance Control Box (Including Controllers, Card Box, LED
Display, Sound)
- Vechicle Detector, Loop
3.6.2 Exit :
- Exit Control Box (Including Controllers, Card Box, LED Display,
Sound)
- Vechicle Detector, Loop
Guard House / Monitoring
3.6.3
Center :
- Guard House
- Computer, Printer and UPS Power
supply
- Parking Managrment Software
- Intercom
- Video card
- Protocol Converter
3.6.4 Picture Capture
- Video card
- Camera & Lens
- Bracket, Camera House, Power
supply
3.7 ชุดอุปกรณ์ไม้กนั ้ รถยนต์ (Parking Barrier)
เป็ นอุปกรณ์ทท่ี าํ หน้าทีค่ วบคุมการเข้า-ออกของรถยนต์ โดยทํางานพร้อมกับเครื่องอ่านบัตร และการ
บันทึกภาพด้านหน้า ตัวรถ พร้อมป้ายทะเบียนรถ ของกล้องฌทรทัศน์วงจรปิ ด เมื่อระบบอ่านบัตรถูกต้องและ
ผูถ้ อื บัตรมีสทิ ธิ เข้าพืน้ ทีไ่ ด้ระบบจะทําการเปิ ดไม้กนั ้ ให้เข้าพืน้ ที่ และเมื่อรถยนต์ผ่านไปแล้ว ไม้กนั ้ จะปิ ดลง
เองโดยอัตโนมัติ อุปกรณ์การควบคุมการเข้า-ออกนี้จะต้องมีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
- เครื่องอ่านบัตรต้องมีระยะอ่านบัตร ไม่น้อยกว่า 50 cm. สามารถทนแดดทนฝนได้
- ใช้ระบบ Motor แบบกระแสสลับหรือกระแสตรงก็ได้
- สามารถเชื่อมต่อกับเครื่องอ่านบัตรได้
- มี Power Consumption ตํ่าจะต้องมีขนาด แรงบิด ไม่น้อยกว่า150 Nm
- มีระยะเวลาในการเปิ ด-ปิ ด Flap ได้ไม่เกิน 3.5 วินาที
- แขนกัน้ ต้องมีตวั ถังครอบทีม่ ดิ ชิด และสามารถเปิ ดเพื่อปรับตัง้ หรือซ่อมบํารุงได้ง่าย
- วัสดุเป็ นอลูมเิ นียมหรือดีกว่าความยาว 3 เมตร (หรือตามความเหมาะสมของถนน)
- แขนกัน้ เป็ นชนิดกลมหรือเหลีย่ ม สามารถพับได้ ถ้าติดตัง้ ทีม่ เี พดานตํ่า
- สามารถยกขึน้ เองโดยอัตโนมัติ ในกรณีทก่ี าํ ลังปิ ดลงมากระทบรถยนต์ หรือสิง่ กีดขวางตัดผ่าน
- กรณีไฟฟ้าดับ สามารถปลดแผนกัน้ ให้ยกขึน้ ได้โดยอิสระ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 279 of 521

สายไฟฟ้ า
4.1 สายสัญญาณต้องเป็ นแบบ multicore หรือได้รบั การแนะนําจากโรงงานผูผ้ ลิต ส่วนขนาดของสายเคเบิล้
ให้เป็ นไปตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
4.2 สาย Power Supply ให้มขี นาดเหมาะสมทีจ่ ะจ่าย Load ได้ ตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตและต้องสอดคล้อง
กับมาตรฐานของระบบไฟฟ้ากําลังด้วย
การติ ดตัง้
5.1 การติดตัง้ และเดินสายสําหรับระบบรักษความปลอดภับ ให้เดินด้วยระบบเดินในท่อร้อยสายไฟฟ้าตาม
ปรากฎในแบบ
5.2 อุปกรณ์ต่างๆ จะต้องได้รบั การป้องกันความเสียหาย
5.3 หากมีอุปกรณ์ใดทีต่ อ้ งติดตัง้ ภายนอก จะต้องเป็ นชนิดกันนํ้า (Weather Proof Type) หรือดีกว่า
การทดสอบและการฝึ กอบรม
6.1 ผูร้ บั จ้างภายใต้สญั ญานี้จะต้องจัดบริการเกีย่ วกับการฝึกอบรมโดยตัวแทนจากผูผ้ ลิต เพื่อทีจ่ ะเป็ นการให้
คําแนะนําในการติดตัง้ และติดตามผลของอุปกรณ์นนั ้ ๆ รวมถึงการทดสอบเพื่อจะมันใจได้
่ ว่าระบบนัน้
ทํางานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และตรงตามกับมาตรฐานและกฎระเบียบต่าง ๆ
6.2 การตจัดการฝึกอบรมควรจัดสําหรับ 4 คน อย่างน้อย 5 วัน สําหรับการจัดการระบบม เทคนิค และการ
ใช้งานในทุกขัน้ ตอน

จบหมวดที่ 44

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 280 of 521

หมวดที่ 45
งานเครือ่ งหมายหนี ไฟ - ดับเพลิ ง

1. ขอบเขตของงาน
แม้มไิ ด้แสดงไว้ในแบบก่อสร้างก็ตาม ให้ถอื ว่างานในข้อนี้ทุกข้อย่อยเป็ นงานในขอบเขตตามสัญญาของผูร้ บั จ้างที่
จะต้องจัดทําจัดหาวัสดุอุปกรณ์และแรงงานติดตัง้ ให้เสร็จสิน้ สมบูรณ์และครบถ้วน ตามทีร่ ะบุทงั ้ ในรายการก่อสร้างและแบบ
ก่อสร้าง (ถ้ามีระบุ) อย่างเรียบร้อยและใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนดูแลรักษาให้คงสภาพดีจนถึงส่งงานงวด
สุดท้าย
2. ลักษณะตัวอักษร - สัญลักษณ์
ให้ใช้มาตรฐานตัวอักษร (FONT) และสัญลักษณ์ตามทีม่ กี าํ หนดเป็ นตัวอย่างในรูปแบบก่อสร้าง ยกเว้นทีส่ ถาปนิกจะ
กําหนดให้เป็ นอย่างอื่นเป็ นพิเศษเฉพาะจุดในขณะก่อสร้าง หากมิได้มกี าํ หนดลักษณะตัวอักษรไว้ในรูปแบบ ให้ผรู้ บั จ้าง
เสนอสถาปนิกเพื่อขออนุมตั ิ
3. ตําแหน่งติดตัง้

นอกเหนือจากตําแหน่งทีม่ รี ะบุในรูปแบบก่อสร้างทัง้ แบบสถาปตยกรรมและแบบวิ ศวกรรมแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทํา
รูปแบบขยายรายละเอียด (SHOP DRAWING) เสนอให้อนุมตั อิ กี ครัง้ ให้ถูกต้องตามเกณฑ์ทก่ี าํ หนดในรายการประกอบ
แบบนี้ดว้ ย โดยแบบขยายรายละเอียดจะต้องแสดงรายละเอียดดังนี้
3.1 ตําแหน่งทีต่ ดิ ตัง้
3.2 ตําแหน่งความสูงทีต่ ดิ ตัง้ แสดงการยึดจากผนังหรือเพดาน
3.3 แสดงทิศชีข้ องลูกศรของแต่ละป้ายทุกป้าย (ถ้าเป็ นป้ายชนิดทีต่ อ้ งมีลกู ศร)
3.4 อักษรและสัญลักษณ์บนป้าย
3.5 ชนิดของไฟฟ้าทีใ่ ช้กบั ป้ายชนิดแสงสว่างและอุปกรณ์ทุกชิน้
เมื่อสถาปนิกพิจารณาแก้ไขและอนุมตั เิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรเป็ นอย่างใดแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการก่อสร้างให้
เป็ นไปตามนัน้
4. กล่องป้ายทางออกฉุกเฉิน
แม้ไม่ได้ระบุในแบบ ให้ถอื ว่าอยูใ่ นขอบเขตทีผ่ รู้ บั จ้างจะต้องจัดทําให้เสร็จสมบูรณ์ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยให้ผรู้ บั จ้างทํากล่องป้ายไฟแสงสว่างบอกทางออกฉุกเฉินเหนือประตูหนีไฟทุกบาน ในตําแหน่ งซึง่ สามารถเห็นได้ชดั เจน
ตามตําแหน่งทีไ่ ด้แสดงไว้ในรูปแบบ หรือตําแหน่งทีส่ ามารถมองเห็นได้จากทางเดินหรือพืน้ ทีส่ ญ ั จรส่วนกลาง นอกจากนี้ให้
ติดกล่องป้ายไฟทางออกฉุกเฉินนี้กระจายทัวไปในบริ ่ เวณทางเดินและพืน้ ทีส่ ญ ั จรส่วนกลางทุกชัน้ ตลอดทัวทั ่ ง้ อาคารใน
ปริมาณมากพอทีส่ ามารถให้ผใู้ ช้อาคารมองเห็นได้จากทุกจุดเมื่อเกิดอัคคีภยั และชีน้ ําไปสูท่ างหนีไฟได้อย่างถูกต้อง ป้าย
จะต้องเขียนข้อความ “EXIT” หรือ “ทางออก” พร้อมรูปหัวลูกศรสามเหลีย่ มชีไ้ ปทางประตูทางออกหนีไฟ ขนาดตัวอักษรสูง
ไม่น้อยกว่า 80 มิลลิเมตร ภายในกล่องป้ายมีหลอดไฟให้แสงสว่างตลอดเวลา ในภาวะปกติให้ทาํ งานด้วยไฟฟ้าจากระบบ
ไฟฟ้าอาคาร และเมื่อเกิดเพลิงไหม้ซง่ึ ไฟฟ้าอาคารถูกตัด ให้ทาํ งานอัตโนมัตดิ ว้ ยแบตเตอรีส่ าํ รองในตัวทีช่ าร์จไฟได้เมื่อใช้
ยามปกติ ให้ผรู้ บั จ้างทํา SHOP DRAWINGS แสดงตําแหน่งทีต่ อ้ งติดตัง้ กล่องป้ายทางออกฉุกเฉินนี้ ให้สถาปนิกอนุมตั เิ ป็ น
ลายลักษณ์อกั ษรก่อนจึงเริม่ ดําเนินการติดตัง้ สถาปนิกมีสทิ ธิกํ์ าหนดตําแหน่งติดตัง้ เพิม่ เติมหากเห็นว่ายังไม่ครอบคลุมมาก
พอ และผูร้ บั จ้างต้องจัดทําตามทีส่ ถาปนิกกําหนด ผูร้ บั จ้างต้องเสนอตัวอย่างกล่องป้ายทางออกฉุกเฉินนี้ให้สถาปนิก
พิจารณาก่อนสังซื ่ อ้ สัญลักษณ์ทงั ้ หมดให้ใช้สเี ขียว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 281 of 521

5. ป้ายเลขชัน้
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําป้ายเลขชัน้ ติดตรงตําแหน่งทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ และตําแหน่งในรายการดังต่อไปนี้
5.1 ผนังบันไดหนีไฟทุกชัน้ ทุกจุด
5.2 ผนังในโถงหน้าลิฟต์ดบั เพลิงทุกชัน้
ป้ายเป็ นแผ่นกระจกใสหรืออครีลคิ 0.30x0.30 เมตร หนาอย่างตํ่า 4 หุน ด้านหลังพ่นสีสะท้อนแสงสีเหลืองเป็ นรูป
ตัวเลขชัน้ ขนาดสูง 0.20 เมตร กลับข้างเพื่อให้อ่านได้จากทางด้านหน้า แล้วพ่นสีทบั ด้านหลังด้วยสีขาวเป็ นสีพน้ื ให้ตดิ ตัง้
ป้ายนี้ดว้ ยตะปูเกลียวสเตนเลส 4 ตัว ทะลุแผ่นกระจกใกล้มุมทัง้ 4 ของแผ่นป้าย มีแหวนรองหนุนด้านหลัง ให้ป้ายลอยออก
จากผนังประมาณ 10 มิลลิเมตร ผูว้ ่าจ้างจะเป็ นผูก้ าํ หนดตัวเลขหรือตัวอักษรให้ขณะก่อสร้าง
6. กล่องป้ายทางเข้าลิฟต์ดบั เพลิง
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทํากล่องป้ายทางเข้าลิฟต์ดบั เพลิงชนิดเดียวกับกล่องป้ายทางออกฉุกเฉิน แต่เปลีย่ นสัญลักษณ์และ
ตัวอักษรเป็ นข้อความ “ลิฟต์ดบั เพลิง” และลูกศรแทน ให้ใช้ไฟสีแดงแทนสีเขียว ให้ตดิ ตัง้ กล่องป้ายนี้ทท่ี างเข้าจากภายนอก
อาคารสูล่ ฟิ ต์ดบั เพลิงจากภายนอกอาคารทุกตัวทีช่ นั ้ 1
7. แผนผังอาคาร
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําผังอาคารเพื่อใช้ในขณะเกิดเพลิงไหม้ดงั นี้
7.1 แผนผังแต่ละชัน้
ให้ผรู้ บั จ้างติดรูปผังอาคารบนผนังภายในโถงหน้าลิฟต์ดบั เพลิงแต่ละชัน้ ทุกชัน้ โดยในโถงลิฟต์ของชัน้ ใดก็ให้ตดิ ผัง
ของชัน้ นัน้ ผังทีต่ ดิ จะต้องใช้มาตราส่วนไม่เล็กกว่า 1 : 250 ให้ตดิ รูปแผนผังนี้ทร่ี ะดับสายตา โดยให้ใช้สสี ะท้อนแสงตาม
โทนสีดงั นี้ (ยกเว้นโทนสีดาํ ไม่ตอ้ งใช้สสี ะท้อนแสง)
7.1.1 พืน้ ทีท่ างสัญจร ใช้สขี าว
7.1.2 พืน้ ทีบ่ นั ไดหนีไฟ ลิฟต์ดบั เพลิง โถงลิฟต์ดบั เพลิง โถงทางผ่านหนีไฟ สายดับเพลิงใช้สเี ขียว เฉพาะ
ตําแหน่งสายดับเพลิงให้เขียนอักษร “FH” ด้วยสีดาํ
7.1.3 พืน้ ทีใ่ ช้สอยอื่นๆ ทีเ่ หลือใช้สแี ดง
7.1.4 ผนัง ค.ส.ล. ผนังก่ออิฐเต็มแผ่น ใช้เส้นสีดาํ กว้าง 10 มิลลิเมตร
7.1.5 ผนังก่ออิฐครึง่ แผ่น ผนังเบาใช้เส้นสีดาํ กว้าง 5 มิลลิเมตร
7.1.6 ผนังเตีย้ แบ่งห้องย่อย ไม่ตอ้ งแสดง
7.1.7 ประตูเหล็กปิ ดกันไฟลามเข้าโถงหน้าลิฟต์ ใช้เส้นประสีเขียว กว้าง 0.30 มิลลิเมตร
7.1.8 ประตูเหล็กกันไฟ ใช้เส้นทึบสีเขียว กว้าง 0.2 มิลลิเมตร และแสดงเส้นแนวทิศทางเปิ ดประตู
7.1.9 ประตูหน้าต่างอื่นๆ ไม่ตอ้ งแสดง
7.2 แผนผังของทุกชัน้
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแผนผังอาคารย่อส่วนลงในกระดาษขนาด A4 ผัง 1 ชัน้ ต่อ 1 แผ่น ให้ครบทุกชัน้ รวมถึงแผนผังชัน้
ดาดฟ้าและลานจอดเฮลิคอปเตอร์ (ถ้ามี) แผนผังแต่ละชัน้ ให้เคลือบด้วยพลาสติกชนิดเดียวกับทีใ่ ช้เคลือบทัวไป ่ และให้
รวบรวมเข้าเล่มแผนผังทุกชัน้ นี้เข้าเป็ นชุด ให้วางชุดแผนผังนี้ในตําแหน่งต่อไปนี้
7.2.1 ในตูเ้ ก็บอุปกรณ์ดบั เพลิงในโถงหน้าลิฟต์ดบั เพลิงทุกชัน้ ทุกจุด
7.2.2 ในตูส้ ายฉีดนํ้าดับเพลิงทุกชัน้ ทุกจุด
รูปแบบรายละเอียด ชนิดสี โทนสี ให้ใช้เหมือนทีก่ าํ หนดในข้อ “แผนผังแต่ละชัน้ ” แต่ขนาดความกว้างของเส้นให้ย่อลงตาม
สัดส่วนและยังให้ใช้สสี ะท้อนแสงเช่นเดียวกันด้วย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 282 of 521

7.3 แผนผังละเอียด
ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแผนผังละเอียดตามแบบแสดงการก่อสร้างจริง (ASBUILT DRAWINGS) โดยใช้มาตราส่วนไม่เล็ก
กว่า 1:200 ลงในกระดาษขาว ขนาด A1 ผัง 1 ชัน้ ต่อ 1 แผ่น โดยไม่แบ่งเป็ นส่วนๆ และให้มแี บบครบตามรายการดังนี้
7.3.1 แบบสถาปตั ยกรรมแปลนทุกชัน้
7.3.2 แบบสถาปตั ยกรรมรูปตัด 2 รูป
7.3.3 แบบวิศวกรรมแปลนทุกชัน้
7.3.4 แบบวิศวกรรมขยายเสริมเหล็กและขนาดโครงสร้างทุกแผ่น
7.3.5 แบบวิศวกรรมสุขาภิบาลแปลนทุกชัน้
7.3.6 แบบวิศวกรรมสุขาภิบาลไดอะแกรมทุกชุด
7.3.7 แบบวิศวกรรมไฟฟ้าแปลนแสงสว่างและกําลังทุกชัน้
7.3.8 แบบวิศวกรรมไฟฟ้าไดอะแกรมทุกชุด
7.3.9 แบบวิศวกรรมปรับอากาศทุกชัน้
7.3.10 แบบวิศวกรรมปรับอากาศไดอะแกรมทุกชุด
แบบทัง้ หมดให้เคลือบเต็มทัง้ ด้านหน้าและด้านหลังด้วยพลาสติกใส แล้วเย็บเล่มรวมกันไว้ให้เปิดใช้ได้อย่างสะดวก
ให้จดั ทําแผนผังละเอียดจํานวน 2 ชุด เก็บไว้ทห่ี อ้ งควบคุมระบบอาคารและโถงหน้าลิฟต์ดบั เพลิงทีช่ นั ้ 1 ตําแหน่งละ 1 ชุด
และให้สาํ เนา SOFT COPY FILE เป็ น CAD FILE ส่งมอบเป็ น CD จํานวน 2 ชุด

จบหมวดที่ 45

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 283 of 521

หมวดที่ 46
สิ่ งอานวยความสะดวกในอาคารสาหรับผูพ้ ิ การหรือทุพพลภาพ และคนชรา

1. ขอบเขตของงาน
รายละเอียดเกีย่ วกับสิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา ซึง่ มิได้ระบุใน
รูปแบบและรายการประกอบแบบนี้ ให้ถอื ปฏิบตั ติ ามกฎกระทรวง กําหนดสิง่ อํานวยความสะดวกในอาคารสําหรับผูพ้ กิ าร
หรือทุพพลภาพ และคนชรา พ.ศ.2548

2. คําจํากัดความ
2.1 สิง่ อํานวยความสะดวกสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา หมายความว่า ส่วนของอาคารทีส่ ร้างขึน้
และอุปกรณ์อนั เป็ นส่วนประกอบของอาคารทีต่ ดิ หรือตัง้ อยู่ภายในและภายนอกอาคาร เพื่ออํานวยความสะดวกในการใช้
อาคารสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา
2.2 ลิฟต์ หมายความว่า อุปกรณ์ทใ่ี ช้สาํ หรับนําคนขึน้ ลงระหว่างพืน้ ของอาคารทีต่ ่างระดับกัน แต่ไม่ใช่บนั ได
เลื่อนหรือทางเลื่อน
2.3 พืน้ ผิวต่างสัมผัส หมายความว่า พืน้ ผิวทีม่ ผี วิ สัมผัสและสีซง่ึ มีความแตกต่างไปจากพืน้ ผิวและสีในบริเวณ
ข้างเคียงซึง่ คนพิการทางการมองเห็นสามารถสัมผัสได้
2.4 ความกว้างสุทธิ หมายความว่า ความกว้างทีว่ ดั จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งโดยปราศจากสิง่ ใดๆ กีดขวาง

3. ป้ายแสดงสิง่ อํานวยความสะดวก
3.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มปี ้ ายแสดงสิง่ อํานวยความสะดวกสําหรับผูพ้ กิ าร หรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามสมควร
โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1.1 สัญลักษณ์รปู ผูพ้ กิ าร
3.1.2 เครื่องหมายแสดงทางไปสูส่ งิ่ อํานวยความสะดวกสําหรับผูพ้ กิ าร หรือทุพพลภาพ และคนชรา
3.1.3 สัญลักษณ์ หรือตัวอักษรแสดงประเภทของสิง่ อํานวยความสะดวก สําหรับผูพ้ กิ าร หรือทุพพลภาพ
และคนชรา
3.2 สัญลักษณ์หรือตัวอักษรตามทีร่ ปู แบบรายการกําหนด โดยให้เป็นสีขาวโดยพืน้ เป็ นสีน้ําเงิน หรือเป็ นสีน้ําเงิน
โดยพืน้ เป็ นสีขาว
3.3 ป้ายต้องมีความชัดเจน มองเห็นได้ง่าย ติดอยูใ่ นตําแหน่งทีไ่ ม่ทาํ ให้สบั สน และต้องจัดให้มแี สงส่องสว่างเป็ น
พิเศษทัง้ กลางวันและกลางคืน

4. ทางลาดและลิฟต์
4.1 หากระดับพืน้ ภายในอาคาร หรือระดับพืน้ ภายในอาคารกับภายนอกอาคาร หรือระดับพืน้ ทางเดินภายนอก
อาคารมีความต่างระดับกันเกิน 200 มิลลิเมตร ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มที างลาดหรือลิฟต์ระหว่างพืน้ ทีต่ ่างระดับกัน แต่ถา้ มี
ความต่างระดับไม่เกิน 200 มิลลิเมตร จะต้องปาดมุมพืน้ ส่วนทีต่ ่างระดับกันไม่เกิน 45 องศา
4.2 ทางลาดกําหนดให้มลี กั ษณะ ดังต่อไปนี้
4.2.1 พืน้ ผิวทางลาดต้องเป็ นลักษณะทีไ่ ม่ล่นื
4.2.2 พืน้ ผิวของจุดต่อเนื่องระหว่างพืน้ กับทางลาดต้องเรียบไม่สะดุด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 284 of 521

4.2.3 กําหนดให้มคี วามกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ในกรณีทท่ี างลาดมีความยาวของทุกช่วง


รวมกันตัง้ แต่ 6,000 มิลลิเมตร ขึน้ ไป ความกว้างสุทธิตอ้ งไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
4.2.4 ต้องมีพน้ื ทีห่ น้าทางลาดเป็ นทีว่ ่างยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
4.2.5 ทางลาดตรวจสอบแล้วต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวช่วงละไม่เกิน 6,000
มิลลิเมตร ในกรณีทท่ี างลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตร ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มชี านพักยาวไม่น้อยกว่า
1,500 มิลลิเมตร คันระหว่
่ างแต่ละช่วงของทางลาด
4.2.6 ทางลาดด้านทีไ่ ม่มผี นังกัน้ ให้ผรู้ บั จ้างยกขอบสูงจากพืน้ ผิวของทางลาดไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร
และมีราวกันตก
4.2.7 ทางลาดทีม่ คี วามยาวตัง้ แต่ 2,500 มิลลิเมตร ขึน้ ไป ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มรี าวจับทัง้ สองด้านโดยมี
ลักษณะ ดังต่อไปนี้
(1) ทําด้วยวัสดุเรียบ มีความมันคงแข็ ่ งแรง ไม่เป็ นอันตรายในการจับและไม่ล่นื
(2) มีลกั ษณะกลม ต้องมีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 40 มิลลิเมตร
(3) ต้องมีความสูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร
(4) ราวจับด้านทีอ่ ยู่ตดิ ผนัง กําหนดให้มรี ะยะห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 50 มิลลิเมตร มีความสูงจากจุดยึดไม่น้อย
กว่า 120 มิลลิเมตร และผนังบริเวณราวจับต้องเป็ นผนังเรียบ
(5) ราวจับต้องยาวต่อเนื่อง และส่วนทีย่ ดึ ติดกับผนังจะต้องไม่กดี ขวางหรือเป็ นอุปสรรคต่อการใช้ของคนพิการ
ทางการมองเห็น
(6) ปลายของราวจับจะต้องยื่นเลยจากจุดเริม่ ต้น และจุดสิน้ สุดของทางลาด ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร
4.2.8 กําหนดให้มปี ้ ายแสดงทิศทาง ตําแหน่ง หรือหมายเลขชัน้ ของอาคารทีค่ นพิการทางการมองเห็นและ
คนชราสามารถทราบความหมายได้ ตัง้ อยูบ่ ริเวณทางขึน้ และทางลงของทางลาดทีเ่ ชื่อมระหว่างชัน้
ของอาคาร หรือตามทีร่ ปู แบบรายการกําหนด
4.2.9 กําหนดให้มสี ญ ั ลักษณ์รปู ผูพ้ กิ ารติดไว้ในบริเวณทางลาด ทีจ่ ดั ไว้ให้แก่ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และ
คนชรา
4.3 อาคารทีม่ จี าํ นวนชัน้ ตัง้ แต่สองชัน้ ขึน้ ไป ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มลี ฟิ ต์หรือทางลาดทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ
และคนชราใช้ได้ระหว่างชัน้ ของอาคาร โดยทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราจะต้องใช้ขน้ึ ลงได้ทุกชัน้ และต้องมีระบบ
ควบคุมลิฟต์ทผ่ี พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถควบคุมได้เอง ใช้งานได้อย่างปลอดภัย และจัดไว้ในบริเวณทีผ่ ู้
พิการ หรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้ได้สะดวก ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องจัดให้มสี ญ ั ลักษณ์รปู ผูพ้ กิ ารติดไว้ทช่ี ่องประตูดา้ น
นอกของลิฟต์ทจ่ี ดั ไว้ให้ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้
4.4 ลิฟต์ทผ่ี พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ทม่ี ลี กั ษณะเป็ นห้องลิฟต์ตอ้ งมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
4.4.1 ขนาดห้องลิฟต์ ต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1,100 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,400 มิลลิเมตร
4.4.2 ช่องประตูลฟิ ต์ ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และต้องมีระบบแสงเพื่อป้องกัน
ไม่ให้ประตูลฟิ ต์หนีบผูโ้ ดยสาร
4.4.3 ต้องมีพน้ื ผิวต่างสัมผัสบนพืน้ บริเวณหน้าประตูลฟิ ต์ ขนาดกว้าง 300 มิลลิเมตร และยาว 900
มิลลิเมตร ซึง่ อยูห่ ่างจากประตูลฟิ ต์ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร
4.4.4 ปุม่ กดเรียกลิฟต์ ปุม่ บังคับลิฟต์ และปุม่ สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(1) ปุม่ ล่างสุดอยู่สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ปุม่ บนสุดอยูส่ งู จากพืน้ ไม่เกินกว่า 1,200 มิลลิเมตร และ
ห่างจากมุมภายในห้องลิฟต์ไม่น้อยกว่า 400 มิลลิเมตร ในกรณีทห่ี อ้ งลิฟต์มขี นาดกว้างและยาวน้อยกว่า
1,500 มิลลิเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 285 of 521

(2) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร มีอกั ษรเบรลล์กาํ กับไว้ทุกปุม่ เมื่อกดปุม่ จะต้องมีเสียง


ดังและมีแสง
(3) ไม่มสี งิ่ กีดขวางบริเวณทีก่ ดปุม่ ลิฟต์
4.4.5 ต้องมีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์ โดยราวมีลกั ษณะตามทีก่ าํ หนดในข้อ 4.2.7 (1) (2) (3) และ (4)
4.4.6 ต้องมีตวั เลขและเสียงบอกตําแหน่งชัน้ ต่างๆ เมื่อลิฟต์หยุด และขึน้ หรือลง
4.4.7 ต้องมีป้ายแสดงหมายเลขชัน้ และแสดงทิศทางบริเวณโถงหน้าประตูลฟิ ต์และติดอยูใ่ นตําแหน่งทีเ่ ห็น
ได้ชดั เจน
4.4.8 ในกรณีทล่ี ฟิ ต์ขดั ข้อง ต้องมีทงั ้ เสียงและแสงไฟเตือนภัยเป็ นไฟกระพริบสีแดง เพื่อให้คนพิการ
ทางการมองเห็นและคนพิการทางการได้ยนิ ทราบ และต้องมีไฟกระพริบสีเขียวเป็ นสัญญาณให้คน
พิการทางการได้ยนิ ได้ทราบว่าผูท้ อ่ี ยู่ขา้ งนอกรับทราบแล้วว่าลิฟต์ขดั ข้องและกําลังให้ความช่วยเหลือ
อยู่
4.4.9 ต้องมีโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉินภายในลิฟต์ซง่ึ สามารถติดต่อกับภายนอกได้ โดยต้องอยู่สงู จากพืน้ ไม่
น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร
4.4.10 ต้องมีระบบการทํางานทีท่ าํ ให้ลฟิ ต์เลื่อนมาอยู่ตรงทีจ่ อดชัน้ ระดับพืน้ ดินและประตูลฟิ ต์ตอ้ งเปิ ดโดย
อัตโนมัตเิ มื่อไฟฟ้าดับ

5. บันได
ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มบี นั ไดทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้อย่างน้อยชัน้ ละ 1 แห่ง โดยกําหนดให้มี
ลักษณะ ดังต่อไปนี้
5.1 ต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
5.2 ต้องมีชานพักทุกระยะในแนวดิง่ ไม่เกิน 2,000 มิลลิเมตร
5.3 ต้องมีราวบันไดทัง้ สองข้าง โดยให้ราวมีลกั ษณะตามทีก่ าํ หนดในข้อ 4.2.7
5.4 ความสูงของลูกตัง้ ต้องไม่เกิน 150 มิลลิเมตร และความกว้างของลูกนอนเมื่อหักส่วนทีข่ นั ้ บันไดเหลื่อมกัน
ออกแล้วต้องเหลือไม่น้อยกว่า 280 มิลลิเมตร และมีขนาดสมํ่าเสมอตลอดช่วงบันได ในกรณีทข่ี นั ้ บันไดเหลื่อมกัน หรือมี
จมูกบันไดจะต้องมีระยะเหลื่อมกันได้ไม่เกิน 20 มิลลิเมตร
5.5 พืน้ ผิวของบันไดต้องใช้วสั ดุทไ่ี ม่ล่นื
5.6 ลูกตัง้ บันไดห้ามเปิ ดเป็ นช่องโล่ง
5.7 ต้องมีป้ายแสดงทิศทาง ตําแหน่ง หรือหมายเลขชัน้ ของอาคารทีค่ นพิการทางการมองเห็นและคนชรา
สามารถทราบความหมายได้ ตัง้ อยู่บริเวณทางขึน้ และทางลงของบันไดทีเ่ ชื่อมระหว่างชัน้ ของอาคาร หรือตามทีร่ ปู แบบ
รายการกําหนด

6. ทีจ่ อดรถ
6.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มที จ่ี อดรถสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราอย่างน้อยตามอัตราส่วน ดังนี้
6.1.1 ถ้าจํานวนทีจ่ อดรถตัง้ แต่ 10 คัน แต่ไม่เกิน 50 คัน ให้มที จ่ี อดรถสําหรับผูพ้ กิ าร หรือทุพพลภาพ และ
คนชราอย่างน้อย 1 คัน
6.1.2 ถ้าจํานวนทีจ่ อดรถตัง้ แต่ 51 คัน แต่ไม่เกิน 100 คัน ให้มที จ่ี อดรถสําหรับผูพ้ กิ าร หรือทุพพลภาพ
และคนชราอย่างน้อย 2 คัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 286 of 521

6.1.3 ถ้าจํานวนทีจ่ อดรถตัง้ แต่ 101 คัน ขึน้ ไป ให้มที จ่ี อดรถสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา
อย่างน้อย 2 คัน และเพิม่ ขึน้ อีก 1 คัน สําหรับทุกๆ จํานวนรถ 100 คันทีเ่ พิม่ ขึน้ เศษของ 100 คัน ถ้าเกินกว่า 50 คัน ให้
คิดเป็ น 100 คัน
6.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทีจ่ อดรถสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราให้อยู่ใกล้ทางเข้าออกอาคารมากทีส่ ดุ
โดยมีลกั ษณะไม่ขนานกับทางเดินรถ มีพน้ื ผิวเรียบ มีระดับเสมอกัน และมีสญ ั ลักษณ์รปู ผูพ้ กิ ารนังเก้
่ าอีล้ อ้ อยู่บนพืน้ ของที่
จอดรถด้านทีต่ ดิ กับทางเดินรถ มีขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และมีป้าย
ขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร ติดอยู่สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 2,000 มิลลิเมตร ใน
ตําแหน่งทีเ่ ห็นได้ชดั เจน
6.3 ทีจ่ อดรถสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราต้องเป็ นพืน้ ทีส่ เ่ี หลีย่ มผืนผ้า กว้างไม่น้อยกว่า 2,400
มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 6,000 มิลลิเมตร และต้องจัดให้มที ว่ี ่างข้างทีจ่ อดรถกว้างไม่น้อยกว่า 1,000 มิลลิเมตร ตลอด
ความยาวของทีจ่ อดรถ โดยทีว่ ่างดังกล่าวต้องมีลกั ษณะพืน้ ผิวเรียบและมีระดับเสมอกับทีจ่ อดรถ

7. ทางเข้าอาคาร ทางเดินระหว่างอาคาร และทางเชื่อมระหว่างอาคาร


7.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มที างเข้าอาคารเพื่อให้ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้โดยมีลกั ษณะ
ดังต่อไปนี้
7.1.1 ต้องเป็ นพืน้ ผิวเรียบเสมอกัน ไม่ล่นื ไม่มสี งิ่ กีดขวาง หรือส่วนของอาคารยื่นลํ้าออกมาเป็ นอุปสรรค
หรืออาจทําให้เกิดอันตรายต่อผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา
7.1.2 ต้องอยู่ในระดับเดียวกับพืน้ ถนนภายนอกอาคารหรือพืน้ ลานจอดรถ ในกรณีทอ่ี ยู่ต่างระดับจะต้องมี
ทางลาดทีส่ ามารถขึน้ ลงได้สะดวก และทางลาดนี้ตอ้ งอยูใ่ กล้ทจ่ี อดรถ
7.2 ในกรณีทม่ี อี าคารหลายอาคารอยู่ภายในบริเวณเดียวกันทีม่ กี ารใช้อาคารร่วมกัน จะมีรวั ้ ล้อมหรือไม่กต็ าม
ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มที างเดินระหว่างอาคารนัน้ และจากอาคารแต่ละอาคารนัน้ ไปสูท่ างสาธารณะ ลานจอดรถหรืออาคารที่
จอดรถโดยมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
7.2.1 พืน้ ทางเดินจะต้องเรียบ ไม่ล่นื และมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
7.2.2 หากมีท่อระบายนํ้าหรือรางระบายนํ้าบนพืน้ จะต้องมีฝาปิ ดสนิท ถ้าฝาเป็ นแบบตะแกรงหรือแบบรู
จะต้องมีขนาดของช่องตะแกรงหรือเส้นผ่านศูนย์กลางของรูกว้างไม่เกิน 13 มิลลิเมตร แนวร่องหรือแนวของรางจะต้องขวาง
กับแนวทางเดิน
7.2.3 ในบริเวณทีเ่ ป็ นทางแยกหรือทางเลีย้ ว ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มพี น้ื ผิวต่างสัมผัส
7.2.4 ในกรณีทม่ี สี งิ่ กีดขวางทีจ่ าํ เป็ นบนทางเดิน จะต้องจัดให้อยูใ่ นแนวเดียวกัน โดยไม่กดี ขวางทางเดิน
และต้องมีพน้ื ผิวต่างสัมผัสหรือมีการกัน้ เพื่อให้ทราบก่อนถึงสิง่ กีดขวาง และอยู่ห่างสิง่ กีดขวางไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร
7.2.5 ป้ายหรือสิง่ อื่นใดทีแ่ ขวนอยู่เหนือทางเดิน จะต้องมีความสูงจากพืน้ ทางเดินไม่น้อยกว่า 2,000
มิลลิเมตร
7.2.6 ในกรณีทพ่ี น้ื ทางเดินกับพืน้ ถนนมีระดับต่างกัน ตรวจสอบแล้วต้องมีความลาดชันไม่เกิน 1:10
7.3 อาคารทีม่ ที างเชื่อมระหว่างอาคาร ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มผี นังหรือราวกันตกทัง้ สองด้าน โดยมีราวจับซึง่ มี
ลักษณะตามข้อ 4.2.7 (1), (2), (3), (4) และ (5) ทีผ่ นังหรือราวกันตกนัน้ และมีทางเดินซึง่ มีลกั ษณะตามข้อ 7.2

8. ประตู
8.1 ประตูของอาคารต้องมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
8.1.1 เปิ ดปิ ดได้ง่าย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 287 of 521

8.1.2 หากรูปแบบระบุให้มธี รณีประตู ความสูงของธรณีประตูตอ้ งไม่เกินกว่า 20 มิลลิเมตร และขอบทัง้ สอง


ด้านจะต้องมีความลาดเอียงไม่เกิน 45 องศา เพื่อให้เก้าอีล้ อ้ หรือผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราทีใ่ ช้อุปกรณ์ชว่ ยเดิน
สามารถข้ามได้สะดวก
8.1.3 ช่องประตูจะต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร
8.1.4 ในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้ประตูเป็นแบบบานเปิ ดผลักเข้าออก เมื่อเปิ ดออกสูท่ างเดินหรือระเบียงต้องมี
พืน้ ทีว่ ่างขนาดกว้างไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
8.1.5 ในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้ประตูเป็นแบบบานเลื่อนหรือแบบบานเปิ ด จะต้องมีมอื จับทีม่ ขี นาดเท่ากับ
ราวจับตามข้อ 4.2.7 (2) ในแนวดิง่ ทัง้ ด้านในและด้านนอกของประตู ซึง่ มีปลายด้านบนสูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 1,000
มิลลิเมตร และปลายด้านล่างไม่เกิน 800 มิลลิเมตร ในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้เป็ นประตูบานเปิ ดออกจะต้องมีราวจับตาม
แนวนอนด้านในประตู และในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้เป็ นประตูบานเปิ ดเข้าจะต้องมีราวจับตามแนวนอนด้านนอกประตู ราว
จับดังกล่าวให้สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร ยาวไปตามความกว้างของประตู
8.1.6 ในกรณีทร่ี ปู แบบระบุใช้ประตูเป็นกระจกหรือลูกฟกั เป็ นกระจก จะต้องติดเครื่องหมายหรือแถบสีท่ี
สังเกตเห็นได้ชดั
8.1.7 อุปกรณ์เปิ ดปิ ดประตูจะต้องเป็ นชนิดก้านบิดหรือแกนผลัก กําหนดให้สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 1,000
มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร
ประตูตามวรรคหนึ่งจะต้องไม่ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ชนิดทีบ่ งั คับให้บานประตูปิดได้เองทีอ่ าจทําให้ประตูหนีบหรือกระแทกผูพ้ กิ าร
หรือทุพพลภาพ และคนชรา
8.2 ข้อกําหนดตามข้อ 8.1 ไม่ใช้บงั คับกับประตูหนีไฟและประตูเปิ ดปิ ดโดยใช้ระบบอัตโนมัติ

9. ห้องส้วม
9.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มหี อ้ งส้วมสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้อย่างน้อย 1 ห้อง หรือ
ตามรูปแบบกําหนด ในห้องส้วมสําหรับบุคคลทัวไป ่ หรือจะจัดแยกออกมาอยูใ่ นบริเวณเดียวกันกับห้องส้วมสําหรับบุคคล
ทัวไปก็
่ ได้
9.2 ห้องส้วมสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา จะต้องมีลกั ษณะดังต่อไปนี้
9.2.1 ต้องมีพน้ื ทีว่ ่างภายในห้องส้วม เพื่อให้เก้าอีล้ อ้ สามารถหมุนตัวกลับได้ ซึง่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อย
กว่า 1,500 มิลลิเมตร
9.2.2 ประตูของห้องทีต่ งั ้ โถส้วมจะต้องเป็ นแบบบานเปิ ดออกสูภ่ ายนอก โดยจะต้องเปิ ดค้างได้ไม่น้อยกว่า
90 องศา หรือเป็ นแบบบานเลื่อน ตามทีร่ ะบุในรูปแบบรายการ และมีสญ ั ลักษณ์รปู ผูพ้ กิ ารติดไว้ทป่ี ระตูดา้ นหน้าห้องส้วม
ลักษณะของประตูนอกจากทีก่ ล่าวมาข้างต้น ให้เป็ นไปตามทีก่ าํ หนดในข้อ 8.
9.2.3 พืน้ ห้องส้วมจะต้องมีระดับเสมอกับพืน้ ภายนอก ถ้าเป็ นพืน้ ต่างระดับจะต้องมีลกั ษณะเป็ นทางลาด
ตามข้อ 4. วัสดุทป่ี พู น้ื ห้องส้วมจะต้องไม่ล่นื
9.2.4 พืน้ ห้องส้วมตรวจสอบแล้วต้องมีความลาดเอียงเพียงพอไปยังช่องระบายนํ้าทิง้ เพื่อทีจ่ ะไม่ให้มนี ้ําขัง
บนพืน้
9.2.5 ต้องมีโถส้วมชนิดนังราบ ่ สูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตร และต้องมี
พนักพิงหลังทีใ่ ห้ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราทีไ่ ม่สามารถนังทรงตั ่ วได้เองใช้พงิ ได้ และทีป่ ล่อยนํ้าต้องเป็ นชนิดคัน
โยก ปุม่ กดขนาดใหญ่หรือชนิดอื่นทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้ได้อย่างสะดวก ด้านข้างด้านหนึ่งของโถ
ส้วมจะต้องอยูช่ ดิ ผนังโดยมีระยะห่างวัดจากกึง่ กลางโถส้วมถึงผนังไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตร
ต้องมีราวจับทีผ่ นัง ส่วนด้านทีไ่ ม่ชดิ ผนังให้มที ว่ี ่างมากพอทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราทีน่ งเก้ ั ่ าอีล้ อ้ สามารถเข้าไป

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 288 of 521

ใช้โถส้วมได้โดยสะดวก ในกรณีทด่ี า้ นข้างของโถส้วมทัง้ สองด้านอยู่ห่างจากผนังเกิน 500 มิลลิเมตร จะต้องมีราวจับทีม่ ี


ลักษณะตามข้อ 9.2.7
9.2.6 ต้องมีราวจับบริเวณด้านทีช่ ดิ ผนังเพื่อช่วยในการพยุงตัว ราวจับในแนวนอนและแนวดิง่ กําหนดให้มี
ลักษณะดังต่อไปนี้
(1) ราวจับในแนวนอนต้องมีความสูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 650 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 700 มิลลิเมตร และต้องยื่นลํ้าออกมา
จากด้านหน้าโถส้วมอีกไม่น้อยกว่า 250 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 300 มิลลิเมตร
(2) ราวจับในแนวดิง่ ต่อจากปลายของราวจับในแนวนอนด้านหน้าโถส้วม ต้องมีความยาววัดจากปลายของราวจับใน
แนวนอนขึน้ ไปอย่างน้อย 600 มิลลิเมตร
9.2.7 ด้านข้างโถส้วมด้านทีไ่ ม่ชดิ ผนังต้องมีราวจับติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบ เมื่อกางออกต้องมี
ระบบ ล็อกทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถปลดล็อกเองได้ง่าย ต้องมีระยะห่างจากขอบของโถส้วมไม่น้อยกว่า
150 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 200 มิลลิเมตร และต้องมีความยาวไม่น้อยกว่า 550 มิลลิเมตร
9.2.8 นอกเหนือจากราวจับตามข้อ 9.2.6 และ 9.2.7 ต้องมีราวจับเพื่อนําไปสูส่ ขุ ภัณฑ์อ่นื ๆ ภายในห้อง
ส้วม ต้องมีความสูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 800 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร
9.2.9 จะต้องติดตัง้ ระบบสัญญาณเสียงให้ผทู้ อ่ี ยู่ภายนอกแจ้งภัยแก่ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา
และระบบสัญญาณแสงและสัญญาณเสียงให้ผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถแจ้งเหตุหรือเรียกหาผูช้ ว่ ยในกรณีท่ี
เกิดเหตุฉุกเฉินไว้ในห้องส้วม โดยต้องมีปมุ่ กดหรือปุม่ สัมผัสให้สญ ั ญาณทํางานซึง่ ติดตัง้ อยูใ่ นตําแหน่งทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพล
ภาพ และคนชราสามารถใช้งานได้สะดวก
9.2.10 ต้องมีอ่างล้างมือโดยกําหนดให้มลี กั ษณะ ดังต่อไปนี้
(1) ใต้อ่างล้างมือด้านทีต่ ดิ ผนังไปจนถึงขอบอ่างต้องเป็ นทีว่ ่าง เพื่อให้เก้าอีล้ อ้ สามารถสอดเข้าไปได้ โดยขอบอ่างต้อง
อยู่ห่างจากผนังไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร และต้องอยูใ่ นตําแหน่งทีผ่ พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราเข้าประชิด
ได้โดยไม่มสี งิ่ กีดขวาง
(2) ต้องมีความสูงจากพืน้ ถึงขอบบนของอ่างไม้น้อยกว่า 750 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 800 มิลลิเมตร และต้องมีราวจับใน
แนวนอนแบบพับเก็บได้ในแนวดิง่ ทัง้ สองข้างของอ่าง
(3) ก๊อกนํ้าจะต้องเป็ นชนิดก้านโยกหรือก้านกดหรือก้านหมุนหรือระบบอัตโนมัตหิ รือตามทีร่ ะบุในรูปแบบ

9.3 ในกรณีทห่ี อ้ งส้วมสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราอยูภ่ ายในห้องส้วมทีจ่ ดั ไว้สาํ หรับบุคคลทัวไป ่


และมีทางเข้าก่อนถึงตัวห้องส้วม จะต้องจัดให้หอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราอยู่ในตําแหน่งทีผ่ พู้ กิ าร
หรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก
ห้องส้วมสําหรับบุคคลทัวไป ่ หากได้จดั สําหรับผูช้ ายและผูห้ ญิงต่างหากจากกันจะต้องมีอกั ษรเบรลล์แสดงให้รวู้ ่าเป็ นห้อง
ส้วมชายหรือหญิงติดไว้ทผ่ี นังข้างทางเข้าในตําแหน่งทีส่ ามารถสัมผัสได้
9.4 ในกรณีทเ่ี ป็ นห้องส้วมสําหรับผูช้ ายทีม่ ใิ ช่หอ้ งส้วมสําหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราตามข้อ 9.1
และข้อ 9.2 จะต้องมีทถ่ี ่ายปสั สาวะทีม่ รี ะดับเสมอพืน้ อย่างน้อย 1 ที่ โดยต้องมีราวจับในแนวนอนอยู่ดา้ นบนของทีถ่ ่าย
ปสั สาวะยาวไม่น้อยกว่า 500 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร ต้องมีความสูงจากพืน้ ไม่น้อยกว่า 1,200 มิลลิเมตร แต่ไม่
เกิน 1,300 มิลลิเมตร และต้องมีราวจับด้านข้างของทีถ่ ่ายปสั สาวะทัง้ สองข้าง ความสูงจากพืน้ ต้องไม่น้อยกว่า 800
มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 มิลลิเมตร ซึง่ ยื่นออกมาจากผนังไม่น้อยกว่า 550 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร
9.5 ราวจับห้องส้วมต้องมีลกั ษณะตามทีก่ าํ หนดในข้อ 4.2.7 (1) และ (2)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 289 of 521

10. พืน้ ผิวต่างสัมผัส


ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มพี น้ื ผิวต่างสัมผัสสําหรับคนพิการทางการมองเห็นทีพ่ น้ื บริเวณต่างระดับทีม่ รี ะดับต่างกันเกิน
200 มิลลิเมตร ทีท่ างขึน้ และทางลงของทางลาด หรือบันไดทีพ่ น้ื ด้านหน้าและด้านหลังประตูทางเข้าอาคาร และทีพ่ น้ื
ด้านหน้าของประตูหอ้ งส้วม โดยกําหนดให้มคี วามกว้าง 300 มิลลิเมตร และมีความยาวเท่ากับและขนานไปกับความกว้าง
ของช่องทางเดินของพืน้ ทีต่ ่างระดับ ทางลาด บันได หรือประตู และกําหนดให้ขอบของพืน้ ผิวต่างสัมผัสอยู่ห่างจาก
จุดเริม่ ต้นของทางขึน้ หรือทางลงของพืน้ ต่างระดับ ทางลาด บันได หรือประตูไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 350
มิลลิเมตร
วัสดุ
- ภายในอาคารใช้วสั ดุพน้ื ผิวต่างสัมผัสชนิดแผ่น PVC
- ภายนอกอาคารใช้วสั ดุพน้ื ผิวต่างสัมผัสชนิดแผ่นคอนกรีต

จบหมวดที่ 46

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 290 of 521

หมวดที่ 47
งานสลิ ง สเตนเลส ราวกันตก

1. ขอบเขตของงาน
งานสลิงราวกันตก ราวบันได ชนิดสําเร็จรูป ทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์
แรงงาน การประสานงานกับผูร้ บั เหมาช่วง และการจัดเตรียมทําแบบแปลนแสดงตําแหน่งการติดตัง้ โครงสร้างยึดโยงหลัก
และโครงสร้างรอง ตลอดจนแบบ SHOP DRAWING แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ การยึด ระยะต่าง ๆ และต้องเป็ นไปตาม
แบบและขนาดซึง่ กําหนดไว้ในแบบก่อสร้างเพื่อขอตรวจสอบพิจารณาเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้าง
ตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ

2. วัสดุ
2.1 วัสดุทใ่ี ช้ในการสร้างนี้จะต้องเป็นวัสดุใหม่ มีสภาพเรียบร้อยจากบริษทั ผูผ้ ลิต มีเครื่องหมายรายละเอียด
ต่างๆ แสดงรุ่นและชื่อผูผ้ ลิตอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
2.2 สลิงสเตนเลสเกรด 316 เป็ นสเตนเลสเกรดสําหรับงานทะเล โดยนําสเตนเลสแต่ละเส้นมารวมเป็ นสลิง Ø5
มม. (Cable Stand 1x19) พร้อมด้วยอุปกรณ์ยดึ สลิง (Rod) ชนิดสเตนเลส AISI 316-DIN 1.4401 เพื่อติดตัง้
เข้ากับโครงสร้างหลักของราวกันตกสเตนเลส อุปกรณ์กรรมวิธตี ามแบบมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
ผลิตภัณฑ์ของ STRUDYNA,HPI หรือเทียบเท่า

3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุแต่ละชนิดทีใ่ ช้ ให้ผคู้ วบคุมงานได้ตรวจสอบให้เป็ นไปตามความต้องการ ของ
ผูอ้ อกแบบ และให้ความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง
3.1 โครงหลักราวสเตนเลส
3.2 ลวดสลิง
3.3 อุปกรณ์ยดึ สลิง (Rod)
3.4 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’s SPECIFCATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณสมบัตขิ อง
วัสดุ และส่วนอุปกรณ์ยดึ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

4. การติดตัง้
4.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในการติดตัง้ ทุก ๆ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ และจะต้องมันคงแข็
่ งแรง ได้
ระดับในแนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อย จะต้องปฏิบติตามแบบมาตรฐานกรรมวิธกี ารติดตัง้ ของ
บริษทั ผูผ้ ลิตและต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกันกับผูจ้ า้ งหลัก เพื่อกําหนดตําแหน่งทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ ทัง้ หมด
และตรวจสอบสถานทีท่ ุกแห่งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อนจะมีการติดตัง้
4.3 สลิงสเตนเลสทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคงแข็่ งแรง
4.4 สลิงสเตนเลสสําเร็จรูปรวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องยึดแน่นแข็งแรงกับผนังหรือโครงสร้างอื่น ๆ
ได้ระยะขนาดที่ ถูกต้องตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 291 of 521

4.5 การทดสอบ เมื่อทําการติดตัง้ เรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ บั จ้างทําการตรวจสอบการใช้งานสลิงสเตนเลสและอุปกรณ์


ยึด ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ให้อยูใ่ นสภาพการใช้งานทีด่ ี ในกรณีทต่ี รวจสอบแล้วไม่แข็งแรง อาจทําให้ใช้งานขัดข้องให้
ผูร้ บั จ้างดําเนินการแก้ไขให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน ในกรณีเช่นนี้ผรู้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมมิได้

5. การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดแผงกันแดดสําเร็จรูป และอุปกรณ์ยดึ โยงทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจาก
รอยแตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด รอยด่าง หรือมีตําหนิ สีหลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน หากเกิดความเสียหายดังกล่าว
จะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน

6. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องระวังมิให้มกี ารชํารุดเสียหาย
หรือมีตําหนิก่อนส่งมอบงาน หากอุปกรณ์ใดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเกิดชํารุดเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไข
ให้อยูใ่ นสภาพดี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 47

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 292 of 521

หมวดที่ 48
งานอุปกรณ์ยึดกระจก (SPYDER STANLESS)

1. ขอบเขตของงาน
งานยึดกระจกด้วยระบบ SPYDER ชนิดสําเร็จรูป ทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ
อุปกรณ์แรงงาน การประสานงานกับผูร้ บั เหมาช่วง และการจัดเตรียมทําแบบแปลนแสดงตําแหน่งการติดตัง้
โครงสร้างยึดโยงหลัก และโครงสร้างรอง ตลอดจนแบบ SHOP DRAWING แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ การยึด ระยะ
ต่าง ๆ และต้องเป็ นไปตามแบบและขนาดซึง่ กําหนดไว้ในแบบก่อสร้างเพื่อขอตรวจสอบพิจารณาเห็นชอบจากผู้
ควบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้างตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ

2. วัสดุ
2.1 วัสดุทใ่ี ช้ในการสร้างนี้จะต้องเป็นวัสดุใหม่ มีสภาพเรียบร้อยจากบริษทั ผูผ้ ลิต มีเครื่องหมายรายละเอียด
ต่างๆ แสดงรุ่นและชื่อผูผ้ ลิตอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
2.2 SPYDER STANLESS เป็ นสเตนเลสเกรด 316 เป็ นสเตนเลสเกรดสําหรับงานทะเล ตามมาตรฐาน AISI
316-DIN 1.4401 พร้อมอุปกรณ์ครบชุดตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ของ STRUDYNA,HPI
หรือเทียบเท่า

3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุแต่ละชนิดทีใ่ ช้ ให้ผคู้ วบคุมงานได้ตรวจสอบให้เป็ นไปตามความต้องการ ของ
ผูอ้ อกแบบ และให้ความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึง
3.1 โครงหลัก
3.2 โครงรอง
3.3 อุปกรณ์ยดึ (Rod)
3.4 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’s SPECIFCATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณสมบัตขิ อง
วัสดุ และส่วนอุปกรณ์ยดึ ต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง

4. การติดตัง้
4.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องหาช่างฝีมอื ทีด่ มี คี วามชํานาญในการติดตัง้ ทุก ๆ ส่วนทีต่ ดิ ตัง้ และจะต้องมันคงแข็
่ งแรง ได้
ระดับในแนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อย จะต้องปฏิบติตามแบบมาตรฐานกรรมวิธกี ารติดตัง้ ของ
บริษทั ผูผ้ ลิตและต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานร่วมกันกับผูจ้ า้ งหลัก เพื่อกําหนดตําแหน่งทีเ่ กีย่ วข้องในการติดตัง้ ทัง้ หมด
และตรวจสอบสถานทีท่ ุกแห่งในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องทีจ่ ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อนจะมีการติดตัง้
4.3 สลิงสเตนเลสทีต่ ดิ ตัง้ แล้วต้องมีความมันคงแข็่ งแรง
4.4 สลิงสเตนเลสสําเร็จรูปรวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องจะต้องยึดแน่นแข็งแรงกับผนังหรือโครงสร้างอื่น ๆ
ได้ระยะขนาดที่ ถูกต้องตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 293 of 521

4.5 การทดสอบ เมื่อทําการติดตัง้ เรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ บั จ้างทําการตรวจสอบการใช้งานสลิงสเตนเลสและอุปกรณ์


ยึด ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด ให้อยูใ่ นสภาพการใช้งานทีด่ ี ในกรณีทต่ี รวจสอบแล้วไม่แข็งแรง อาจทําให้ใช้งานขัดข้องให้
ผูร้ บั จ้างดําเนินการแก้ไขให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน ในกรณีเช่นนี้ผรู้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมมิได้

5. การทําความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดแผงกันแดดสําเร็จรูป และอุปกรณ์ยดึ โยงทีเ่ กีย่ วข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจาก
รอยแตกร้าว แตกบิน่ รอยขูดขีด รอยด่าง หรือมีตําหนิ สีหลุดล่อน และต้องไม่เปรอะเปื้ อน หากเกิดความเสียหายดังกล่าว
จะต้องแก้ไขหรือเปลีย่ นแปลงให้ใหม่ก่อนขอความเห็นชอบในการตรวจสอบและก่อนส่งมอบงานจากผูค้ วบคุมงาน

6. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุและการติดตัง้ เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องระวังมิให้มกี ารชํารุดเสียหาย
หรือมีตําหนิก่อนส่งมอบงาน หากอุปกรณ์ใดทีต่ ดิ ตัง้ แล้วเกิดชํารุดเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลีย่ นใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไข
ให้อยูใ่ นสภาพดี ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 48

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 294 of 521

หมวดที่ 49
งานระบบป้ องกันความร้อนชื้น THERMAL PROTECTION

1. ขอบข่าย
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ทจี าํ เป็ นในการก่อสร้างงานป้องกันความร้อนหลังคา ผนังและพืน้
อาคารตามทีระบุในแบบ กรณีทไี ม่ได้ระบุในรูปแบบให้ถอื ว่าจะต้องมีการป้องกันความร้อน สําหรับหลังคาหรือดาดฟ้าของ
อาคาร ผนังเปลือกนอกอาคาร และใต้ทอ้ งพืน้ อาคารสําหรับบริเวณทีเป็ นพืน้ ทีป่ รับอากาศในส่วนทีส่ มั ผัสกับอากาศ
ภายนอกโดยตรง

2. วัสดุ
2.1 ฉนวนกันความร้อนประเภทใยแก้ว (Fiber Glass)
2.1.1 ฉนวนใยแก้วสําหรับติดตัง ในผนังให้ใช้ชนิดหนา 3” มีความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 24 กก/ลบ.ม. ติด
โดยมี PIN เกียวแขวนไว้กบั ผนัง
2.1.2 สําหรับฉนวนใต้หลังคาของอาคารทีใช้วสั ดุมุงให้ใช้เป็ นฉนวนใยแก้ว ความหนาไม่น้อยกว่า 3” มีความ
หนาแน่นไม่ต่ํากว่า 24 กก./ลบ.ม. ชนิดห่อหุม้ ด้วยอลูมเิ นียมฟอยด์ทงั 4 ด้านและมีวสั ดุกนั ความชืน้ ทุกด้าน มีค่าต้านทาน
ความร้อน ( R ) ไม่น้อยกว่า 23 hr.sq.ft.F/Btu.รอยต่อทุกแนวปิดด้วยเทปฟอยด์ กว้าง 2” โดยตลอด การติดตัง ฉนวนใย
แก้วทีก่ าํ หนดให้ตดิ ตัง ใยแก้วหนา 3” 3 ชัน้ ความหนารวม 9” ให้ตดิ ตัง ตามกรรมวิธขี องผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ของบริษทั
สยามไฟเบอร์กลาส จํากัด ,บริษทั ไมโครไฟเบอร์ จํากัด 3D INTERPRODUCTSCO.,LTD. หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.2 ฉนวน PU FOAM
พืน้ ดาดฟ้า ค.ส.ล. เหนือพืน้ ทีป่ รับอากาศของอาคารรวมถึงพืน้ ชัน้ อื่นๆ ของพืน้ ทีป่ รับอากาศทีใ่ ต้ทอ้ งพืน้ สัมผัส
อากาศภายนอกโดยตรง ให้ตดิ ตัง้ ฉนวนโฟม PU (POLYURETHANE) ความหนา 2 นิ้ว ความหนาแน่นไม่น้อยกว่า 40
กก./ลบ.ม. รับนํ้าหนัก 500 kg/m2 ของ VINSULATOR,NCL, TSS, 3D INTERPRODUCTS CO., LTD. หรือวัสดุอ่นื ทีม่ ี
คุณสมบัตเิ ทียบเท่าและได้รบั อนุมตั จิ ากสถาปนิกติดตัง้ บนพืน้ โครงสร้าง ค.ส.ล. ด้วยวิธกี ารพ่นให้มคี วามหนาสมํ่าเสมอ
ตลอดทัง้ พืน้ ทีจ่ ากนัน้ จึงคอนกรีตเสริมเหล็กทับหน้าก่อนทีจ่ ะติดตัง้ วัสดุปผู วิ ให้เรียบร้อย ขัน้ ตอนการติดตัง้ ทัง้ หมดจะต้อง
ได้รบั อนุมตั จิ ากสถาปนิกก่อนการก่อสร้าง หากมีการก่อสร้างก่อนได้รบั อนุมตั ิ ถ้ามีการผิดพลาดหรือเสียหายจะต้องเป็ น
ความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ หมด และถือเป็ นเหตุให้เกิดความล่าช้าแก่การก่อสร้างไม่ได้
2.3 ในกรณีทส่ี ว่ นใดของอาคารเป็ นพืน้ ทีป่ รับอากาศ หากแบบก่อสร้างหรือรายละเอียดประกอบแบบมิได้
ระบุเป็ นอย่างอื่นให้ถอื ปฏิบตั ดิ งั นี้
2.3.1 การบุฉนวน
ให้ทาํ อย่างต่อเนื่องรอบตัวอาคาร ดังนี้ใต้หลังคาทุกพืน้ ที,่ ผนังโดยรอบอาคารทีม่ ใิ ช่กระจกทุกพืน้ ที,่ ใต้พน้ื อาคาร
ทีย่ กลอยจากดิน เพื่อหลีกเลีย่ งรอยรัวของความร้
่ อน หรือหาทางติดตัง้ เพื่อลดปญั หาสะพานความร้อน (THERMAL
BREAK) ซึง่ โดยปกติแล้วส่วนของอาคารทีเ่ ป็ นใต้ทอ้ งพืน้ หรือไม่ได้รบั อิทธิพลจากแสงแดด ต้องมีฉนวนหนาไม่ต่ํากว่า 2”
ส่วนเปลือกอาคารในแนวตัง้ หรือผนังภายนอก ต้องมีฉนวนหนาไม่ต่ํากว่า 3” และส่วนใต้หลังคาหรือฝ้าเพดานชัน้ บนสุดของ
อาคารที่ ติดตัง้ ระบบปรับอากาศ ต้องมีฉนวนหนาไม่น้อยกว่า 6”
2.3.2 การป้องกันรังสีอุลตราไวโอเลตจากแสงอาทิตย์ ฉนวนทุกชนิด เมื่อติดตัง้ แล้วต้องไม่ได้รบั อิทธิพลจาก
รังสีอุลตราไวโอเลตทัง้ ทางตรงและทางอ้อม หากเป็ นฉนวนประเภทโฟมจะต้องมีการฉาบป้องกันผิวนอกอย่างถูกวิธี
2.3.3 การติดตัง้ ฉนวน จะต้องคํานึงถึงปญั หาการเกิดการควบแน่นของไอนํ้าทีผ่ วิ ฉนวนมิให้เกิดขึน้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 295 of 521

โดยคํานึงถึงเทคนิคการติดทีถ่ ูกวิธี
2.3.4 การติดตัง้ พืน้ , ผนัง, ฝ้าเพดาน, หน้าต่าง, ประตู หรืออุปกรณ์ใด ๆ ทีต่ ่อเนื่องกับภายนอกอาคาร
ทัง้ หมด ให้ตดิ ตัง้ โดยมี THERMAL BREAK ป้องกันมิให้มกี ารนําความร้อนเข้าสูอ่ าคารในส่วนนัน้ ๆ ได้

จบหมวดที่ 49

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 296 of 521

หมวดที่ 50
งานวัสดุกนั ไฟและควัน (FIRESTOP SYSTEM)

1. ขอบข่าย
งานวัสดุเพื่อ ใช้ในการป้องกันการลามของไฟด้านในบริเวณช่อง Shaft หรือรอยต่อ ระหว่างกําแพงหรือพืน้ ในแบบ
ก่อสร้างทัง้ หมดหรือในบริเวณทีร่ ะบุ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมแบบประกอบการติดตัง้ (Shop Drawing) รวมถึงส่วนต่างๆ ที่
เกีย่ วข้อง แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ โดยละเอียดทีผ่ ่านการอนุมตั แิ ล้วจากUnderwriters Laboratories, Inc. (UL)
สําหรับรอยต่อทุกแบบทีม่ เี พื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบพิจารณาจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้

2. วัสดุ
1. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุทเ่ี หมาะสมกับการยาแนวเพื่อการกันไฟลามตามแบบทีก่ าํ หนด รวมทัง้
รอยต่อใดทีตอ้ งยาแนวแต่มไิ ด้กาํ หนดในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องยาแนวรอยต่อนัน้ ให้เรียบร้อยด้วย
2. วัสดุทใ่ี ช้จะต้องบรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์ทแ่ี ข็งแรงเพียงพอต่อการขนส่งอยู่ในสภาพเรียบร้อย โดยมี
รายละเอียดชื่อสินค้าชนิดผลิตภัณฑ์ รุ่น หมายเลขการผลิตและอื่นๆอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
3. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเก็บวัสดุตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต
4. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําระบบบันทึกการหมุนเวียนของวัสดุดงั นี้
- วันทีท่ ร่ี บั ของ
- ชื่อสินค้าและหมายเลขผลิตภัณฑ์
- หมายเลขการผลิต
- บันทึกใบรับประกันคุณภาพ หรือ COA (Certificate of Analysis) จากผูผ้ ลิตในทุกหมายเลข
การผลิต
- วันทีเ่ บิกของไปใช้
- จํานวนของทีเ่ บิกไปใช้
- ชื่องานทีน่ ําไปใช้
5. วัสดุทใ่ี ช้ตอ้ งเป็ นวัสดุชนิดทีเ่ หมาะสมกับวัสดุและประเภทของงานนัน้ ๆโดยเฉพาะ ตามมาตรฐาน
ของ TREMCO INCORPORATED หรือ 3M หรือคุณภาพเทียบเท่า

6. วัสดุจะต้องผ่านวิธกี ารทดสอบของ UL หรือ ASTM ดังนี้


- สําหรับงานยาแนวกันไฟลามรอยต่อทัวไป
่ วัสดุจะต้องผ่านวิธกี ารทดสอบ UL 263
(ASTM E119) Standard Test Method for Fire Tests of Building Construction and Materials
- สําหรับรอยต่อประเภท Through Penetration วัสดุจะต้องผ่านวิธกี ารทดสอบ UL 1479
(ASTME814) Standard Test Method for Fire Tests of Through-Penetration Fire Stops

3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้ไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผอู้ อกแบบเพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบ
ตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 297 of 521

4. การติ ดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาผูด้ าํ เนินการหรือช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญมีประสบการณ์ในการติดตัง้ โดยปฏิบตั ิ
ตามกรรมวิธแี ละคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด โดย
4.1 การเตรียมผิวงาน ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานทีใ่ ห้เรียบร้อย แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆให้เรียบร้อยก่อน
ดําเนินการ ทําความสะอาดผิวงานให้สะอาด แห้ง ปราศจากฝุน่ ผง คราบนํ้ามัน สนิม ด้วยสารละลายทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตแนะนํา
ผ้าทีใ่ ช้ตอ้ งเป็ นผ้าฝ้ายขาว 100% ใช้ผา้ ผืนแรกชุบสารละลายเช็ดทีผ่ วิ งานแล้วใช้ผา้ ผืนทีส่ องเช็ดตามเพื่อเป็ นการดูดซับสิง่
สกปรก และไขมันทันทีก่อนทีสารละลายจะระเหย สําหรับพืน้ ผิวคอนกรีตให้ใช้แปรงขัดทําความสะอาด แล้วเปา่ ด้วยลมจาก
เครื่องอัดแรงดันสูง ทาสารรองพืน้ (ถ้าจําเป็ น) เพียงบางๆ ทิง้ ไว้ให้แห้ง 20-30 นาทีโดยประมาณ
4.2 ติดเทปโฟม (Spacer) ยางหนุน (Setting Block) โฟมหนุน (Backer Rod) แถบกันการยึดติด (Bond Breaker)
และอื่นๆตามแบบทีกกําหนด
4.3 ทัง้ นี้กรรมวิธใี นการติดตัง้ ต้องเป็ นไปตามรายละเอียดการติดตัง้ ทีผ่ ่านการอนุมตั แิ ล้วจาก Underwriters
Laboratories, Inc. (UL)

5. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดบริเวณทํางานทุกแห่งหลังจากติดตัง้ ระบบกันไฟลามแล้วด้วยความ
ประณีตเรียบร้อยก่อนการอนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบ และก่อนส่งมอบงาน

6. การรับรอง
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัตขิ องวัสดุ และการติดตัง้ ตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต เมื่อติดตัง้ แล้ว
ต้องไม่มกี ารหลุดร่อน หรือมีขอ้ บกพร่องใดๆ หากเกิดการดังกล่าว ผูร้ บั จ้างต้องทําการซ่อมแซม
ให้อยูใ่ นสภาพดีโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆทัง้ สิน้

จบหมวดที่ 50

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 298 of 521

หมวดที่ 51
งานฉนวนซีเมนต์ป้องกันไฟโครงเหล็ก CEMENTITIOUS FIREPROOFING

1. ขอบข่าย
ฉนวนป้องกันไฟโครงเหล็ก ซึง่ เป็ นส่วนโครงสร้างหลักของอาคารทัง้ หมดทีม่ ไิ ด้ห่อหุม้ ด้วยคอนกรีต
(EXPOSED STEEL STRUCTURE) จะต้องหุม้ ด้วยฉนวนป้องกันไฟตามมาตรฐานข้อกําหนด ในเทศบัญญัติ สําหรับ
กรณีทม่ี ไิ ด้ระบุให้ใช้ฉนวนป้องกันไฟอย่างอื่นในแบบให้ใช้ฉนวนป้องกันไฟดังต่อไปนี้

2. วัสดุ
2.1 ฉนวนป้องกันไฟ (SPRAY-ON FIREPROOFING) ให้ใช้ “MONOKOTE” ,PYROLITE,FIRECUT หรือ
คุณภาพเทียบเท่า ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
- “MONOKOTE” TYPE Z-106, หรือ FIRECUT TYPE F – 1 สําหรับบริเวณหรือพืน้ ทีภ่ ายในหรือกึง่
ภายนอกอาคาร
- “MONOKOTE” TYPE Z-146, หรือ FIRECUT TYPE F – 100สําหรับบริเวณหรือพืน้ ทีภ่ ายนอกอาคาร
2.2 ฉนวนป้องกันไฟ ต้องปราศจาก ASBESTOS และ MINERAL WOOL
2.3 ความหนา และ RESISTANCE ของฉนวนป้องกันไฟ (FIREPROOFING) ทีใ่ ช้กบั โครงเหล็กก่อสร้าง
ต้องได้มาตรฐานสากล กฎข้อบังคับควบคุมอาคารก่อสร้าง หรือได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นแต่ทงั ้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบ และ
อนุมตั จิ ากผูอ้ อกแบบก่อนนําไปใช้
2.4 ฉนวนป้องกันไฟต้องผ่านการทดสอบได้มาตรฐานสากล เช่น U.L (UNDERWRITER’S
LABORATORIES INC.) และมาตรฐานการทดสอบของ ASTM E119 หรือเทียบเท่า SPRAY-ON FIREPROOFING ต้อง
ผ่านการทดสอบดังต่อไปนี้
- DRY DENSITY : ต้องได้มาตรฐาน ASTM E605 โดยเฉลีย่ มีความหนาแน่นไม่น้อยกว่า22 pcf หรือ
มาตรฐานเทียบเท่า
- DEFLECTION : ฉนวนป้องกันไฟจะต้องไม่รา้ ว หลุด ออกจากผิวของวัสดุทต่ี ดิ ตัง้ ได้มาตรฐาน ASTM
E759 หรือเทียบเท่า
- BOND IMPACT : ต้องได้มาตรฐาน ASTM E760 หรือเทียบเท่า
- BOND STRENGTH : เมื่อผ่านการทดสอบได้มาตรฐาน ASTM E736 แล้ว จะต้องได้BOND STRENGTH
1000 PSF
- AIR EROSION : เมื่อผ่านการทดสอบได้มาตรฐาน ASTM E859 แล้ว MAXIMUMWEIGHT LOSS ของ

ฉนวนปองกันไฟทีย่ อมให้ 0.005 GM./SQUARE FEET
- COMPRESSIVE STRENGTH : เมื่อผ่านการทดสอบมาตรฐาน ASTM E761 แล้วฉนวนป้องกันไฟเมื่อรับ
COMPRESSIVE FORCE จะต้องไม่เปลีย่ นแปลงรูปลักษณะเกิน 10 PERCENT
- CORROSION RESISTANCE : เหล็กทีจ่ ะใช้ฉนวนป้องกันไฟจะต้องได้มาตรฐาน ASTME937 และต้องไม่
เป็ นสนิม
- SURFACE BURNING : เมื่อผ่านการทดสอบ ASTM E84FLAME SPREAD ................. 0
- นํ้าทีใ่ ช้ผสมวัสดุตอ้ งเป็ นนํ้าจืดทีส่ ะอาด ปราศจากสิง่ เจือปนจําพวกแร่ธาตุ กรด ด่าง และสารอินทรียต์ ่าง ๆ
2.5 ตัวอย่างวัสดุพร้อมหนังสือรับรอง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 299 of 521

ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหารายละเอียดวัสดุของ FIREPROOFING (MANUFACTURE’S


SPECIFICATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณภาพของวัสดุ และตัวอย่างทีจ่ ะใช้แต่ละชนิดไม่น้อย กว่า 2
ตัวอย่าง และหนังสือรับรองมาตรฐานการป้องกันไฟตามทีก่ าํ หนดในเทศบัญญัติ เพื่อขออนุมตั ิ ตรวจสอบตามความ
ต้องการของผูค้ วบคุมงานก่อนทีน่ ําไปติดตัง้
2.6 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝีมอื ทีด่ ี มีความชํานาญในการติดตัง้ ทุกส่วนทีต่ ดิ ตัง้ แล้วจะต้องได้ ระดับใน
แนวตัง้ และแนวนอนด้วยความประณีตเรียบร้อยถูกต้องตามกรรมวิธมี าตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต อย่างเคร่งครัด และตาม
หลักวิชาการก่อสร้างทีด่ ี
2.6.1 ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานที่ ทีจ่ ะติดตัง้ ให้ถูกต้องเรียบร้อยก่อนการติดตัง้ ถ้าหากพบ ข้อบกพร่องต่าง ๆ
ให้แก้ไขให้เรียบร้อยก่อนการติดตัง้ และให้ได้มาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต FIREPROOFING
2.6.2 สถานที่ ทีจ่ ะติดตัง้ จะต้องมีการระบายอากาศทีด่ ี
2.6.3 วัสดุทใ่ี ช้ในการก่อสร้างทัง้ หมดต้องมีช่อื บริษทั ผูผ้ ลิต เครื่องหมายการค้า และเลขหมายต่าง ๆ
ติดอยู่อย่างสมบูรณ์
2.6.4 วัสดุตอ้ งเก็บไว้ในสถานที่ ทีม่ สี งิ่ ปกคลุม โดยปราศจากความชื่นถ้าวัสดุมคี วาม เปียกชืน้ ห้ามนํามาใช้ตดิ ตัง้
เป็ นอันขาด
2.6.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการรับประกันเป็ นระยะเวลา 10 ปี โดยเป็ นไปตามมาตรฐานของผูผ้ ลิตโดยได้รบั การ
เห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ และผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง

3. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดหลังจากการติดตัง้ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องให้สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อยโดยปราศจากสิง่
สกปรก เปรอะเปื้ อนและรอยด่างต่าง ๆ ถ้าหากมีขอ้ บกพร่องดังกล่าวเกิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขให้สมบูรณ์เรียบร้อยก่อน
การอนุมตั ติ รวจสอบจากควบคุมงาน

จบหมวดที่ 51

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 300 of 521

หมวดที่ 52
งานสีป้องกันไฟ INTUMESCENT MASTIC FIRE PROOFING

1. ขอบเขต
1.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ เครื่องมือและเครื่องจักรทีใ่ ช้ในการปฏิบตั งิ านและติดตัง้ ทีม่ คี ุณภาพ
แรงงานทีม่ ฝี ีมอื และความชํานาญ มีระบบคุณภาพทีด่ สี าํ หรับงานทาสีป้องกันไฟ ตามทีร่ ะบุในแบบและรายการประกอบ
แบบ พร้อมการรับประกันคุณภาพ
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างสีป้องกันไฟ สีรองพืน้ และอุปกรณ์อ่นื ๆทีเ่ กีย่ วข้อง ให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั ิ
ตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบก่อนการสัง่ ซือ้ โดยจะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด ให้ดาํ เนินการ
ภายใต้การแนะนํา การตรวจสอบ และการเก็บตัวอย่างของ ผูเ้ ชียวชาญจากผูผ้ ลิตสีป้องกันไฟ
1.3 สีทน่ี ํามาใช้จะต้องบรรจุอยูใ่ นสภาพสมบรูณ์ไม่มรี ่องรอยการเปิ ดบรรจุภณ ั ฑ์ ถังหรือภาชนะทีป่ ิ ดสนิทเรียบร้อย

มาจากโรงงาน ต้องมีปายแสดงชนิดของสินค้าและชื่อผูผ้ ลิตอย่างชัดเจนโดยมีใบส่งของและรับรองคุณภาพจากโรงงาน
ผูผ้ ลิตทีส่ ามารถตรวจสอบได้
1.4 ทุกขัน้ ตอนงานทาสีป้องกันไฟ จะต้องปฏิบตั ติ ามวิธกี ารของผูผ้ ลิตสีอย่างเคร่งครัด โดยได้รบั อนุมตั จิ ากผู้
ควบคุมงาน
1.5 งานทาสีป้องกันไฟทัง้ หมด จะต้องเรียบร้อยสมํ่าเสมอ ไม่มรี อยแปรง รอยหยดสี หรือข้อบกพร่องอื่นใดและ
จะต้องทําความสะอาดรอยสีเปื้ อนส่วนอื่นๆ ของอาคารทีไ่ ม่เกีย่ วข้อง เช่น พืน้ ผนัง กระจก
อุปกรณ์ต่างๆ เป็ นต้น
1.6 คุณสมบัตขิ องผูต้ ดิ ตัง้ จะต้องมีผลงานทีเ่ คยติดตัง้ ระบบวัสดุเดียวกันนี้ และมีประสบการณ์การติดตัง้ ไม่น้อย
กว่า 5 ปี
1.7 การรับประกันผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกใช้วสั ดุสปี ้ องกันไฟและขันตอนการทาหรื
้ อพ่นสีทด่ี ี สามารถรับประกัน
คุณภาพโดยบริษทั ผูผ้ ลิตและบริษทั ผูร้ บั จ้างพ่นสีเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 2 ปี
1.8 ใช้วสั ดุกนั ไฟแต่ละรุ่นทีผ่ ลิตจากโรงงานเดียวกันทีไ่ ด้มาตรฐาน
1.9 ผลิตภัณฑ์การติดตัง้ และความหนาของวัสดุกนั ไฟจะต้องเป็นไปตามข้อกําหนดเกีย่ วกับอัตราการทนไฟ ให้
เป็ นไปตามกฎข้อบังคับของกฎกระทรวงเกีย่ วกับอัตราการทนไฟ โดยส่งใบรับรองของวัสดุป้องกันไฟทีม่ กี ารรับรอง ให้ผู้
ควบคุมงานพิจารณาอนุมตั กิ ่อนการสังซื ่ อ้
1.10 ผูต้ ดิ ตัง้ ให้สง่ ข้อมูลวัสดุป้องกันไฟโครงสร้างเหล็กอย่างละเอียดและให้สง่ ใบรับรองว่าสินค้านัน้ ๆ มีคุณสมบัติ
ถูกต้องตามความต้องการหรือสูงกว่าความต้องการทีไ่ ด้ระบุไว้ ผูต้ ดิ ตัง้ ต้องเข้านําเสนอวิธกี ารติดตัง้ ก่อนการติดตัง้ เพื่อตรวจ
รับวัสดุ การติดตัง้ ความหนา กระบวนการติดตัง้ และหัวข้ออื่นๆ

2. วัสดุ
2.1 วัสดุป้องกันไฟโครงสร้างเหล็กเป็ นวัสดุประเภท Solvent – Based Intumescent Coating มีอตั ราทนไฟตาม
กฎกระทรวง ติดตัง้ ด้วยวิธกี ารพ่นหรือทาบนโครงสร้างเหล็ก
2.2 เป็ นวัสดุป้องกันไฟโครงสร้างเหล็กทีไ่ ด้มาตรฐานตามการทดสอบมาตรฐาน ASTM E119
2.3 ส่วนประกอบ
- วัสดุป้องกันไฟ เป็ นวัสดุประเภท Solvent – Based Intumescent ต้องไม่มสี าร asbestos

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 301 of 521

- วัสดุป้องกันไฟ เป็ นแผ่นฟิลม์ บางผิวขรุขระไม่ต่ํากว่า 500 ไมครอน เมื่อโดนเปลวไฟจะขยายตัวเพิม่ ขึน้


เพื่อกันความร้อนและป้องกันการยุบตัวของโครงสร้างเหล็ก

2.4 คุณสมบัตดิ า้ นกายภาพ: เนื่องจากต้องการให้วสั ดุเมื่อแห้งแล้วมีความทนทานและยึดติดกับโครงสร้าง


ได้เหมาะสมตามรายละเอียดดังต่อไปนี้ :
2.4.1 เนื้อสี (%Solid by Volume) : 78+3%
2.4.2 ความหนาแน่น (Dry Density) : 1.42 (DIN)
2.4.3 จุดวาบไฟ (Flash Point) : 50 °C
2.4.4 ความแข็งแรง (Hardness) : 30 - 40 (Shore D)
2.4.5 สี (Color) : White – Grey
2.4.6 ระยะเวลาแห้งตัว (Drying Time) : สัมผัสได้ 30 นาที หลังพ่นหรือทาทาทับได้ 2 ชัวโมง
่ หลังพ่นหรือ
ทาใช้งานได้จริง 10 ชัวโมง่ หลังพ่นหรือทาขึน้ อยู่กบั ความหนาของวัสดุกนั ไฟ
2.5 งานโครงสร้างเหล็กต้องปฏิบตั ติ ามกฎหมาย เรื่องการป้องกันไฟให้ใช้สที าหรือพ่นกันไฟของ BITEC
ENTERPRISE หรือ FIRETEX หรือ INTERCHAR หรือคุณภาพเทียบเท่า โดยมีเอกสารรับรองการทนไฟได้ไม่น้อยกว่า 3
ชัวโมง
่ จากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ หรือ มีวฒ ุ วิ ศิ วกรลงนามรับรอง
2.6 งานโครงสร้างเหล็กจะต้องทําระบบกันสนิมตามมาตรฐานงานทาสีป้องกันไฟ โดยต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของ
ผูผ้ ลิตสีอย่างเคร่งครัด

3. การดาเนิ นการ
3.1 การตรวจสอบ
3.1.1 ตรวจสอบว่าพืน้ ผิวเหล็กพร้อมได้รบั การติดตัง้
3.1.2 ตรวจสอบว่าท่อลม ท่อ และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึง่ อาจเป็นอุปสรรคในการติดตัง้ วัสดุกนั ไฟซึง่ ยังไม่ได้รบั การ
ติดตัง้ จนกว่าจะติดตัง้ วัสดุกนั ไฟเสร็จ
3.1.3 ตรวจสอบว่ามีการเติมช่องหรือรอยแตกต่าง ๆ ให้เต็ม และจัดเก็บวัสดุต่าง ๆ ทีย่ ่นื ออกมาในบริเวณทีจ่ ะมีการ
พ่นวัสดุป้องกันไฟให้เรียบร้อย
3.1.4 ให้มกี ารส่งมอบพืน้ ทีก่ ่อนการติดตัง้
3.2 การเตรียมพืน้ ผิว
3.2.1 ทําความสะอาดผิวเหล็กให้ปราศจากไขมัน นํ้ามัน เศษวัสดุทต่ี ดิ อยู่ หรือวัสดุอ่นื ๆ ซึง่ อาจมี
ผลต่อการยึดเกาะของสารกับเนื้อเหล็ก
3.2.2 ให้ทาหรือพ่นสีกนั สนิม
3.3 การป้องกัน
3.3.1 ติดตัง้ วัสดุป้องกันบริเวณข้างเคียงและอุปกรณ์ต่าง ๆ จากการฟุ้งในกรณีทม่ี กี ารพ่น
3.3.2 ป้องกันวัสดุป้องกันไฟไม่ให้โดนฝนขณะทําการติดตัง้
3.3.3 ติดตัง้ สีทบั หน้า (Topcoat) เพื่อป้องกันสภาพอากาศชืน้ และตบแต่งผิวให้สวย โดยสีทบั หน้าที่
แนะนํา ได้แก่ อะคริลคิ สีอพี ๊อกซี่ สีเอ็นโพลียรู เี ทน
3.4 การติดตัง้
3.4.1 โดยการทา
- ทาสีกนั ไฟแต่ละชัน้ ทีค่ วามหนา 250 -500 ไมครอน และสามารถทาได้มากกว่า 1 ชัน้ เพื่อให้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 302 of 521

ได้ความหนา ตามทีร่ ะบุ


3.4.2 โดยการพ่น
- พ่นสีกนั ไฟแต่ละขัน้ ทีความหนา 250 -700 ไมครอน แต่ถา้ เป็ นพืน้ ผิวทีไ่ ม่ทรุดตัวสามารถพ่นได้ถงึ 1000 ไมครอน
- ใน 1 วัน สามารถพ่นหรือทาได้สงู สุด 2 ชัน้ โดยความหนามากทีส่ ดุ ไม่เกิน 900 ไมครอน พลังไฟฟ้าทีจาํ เป็ นต้อง
ใช้ คือ 220V, 60Hz, 75A
- หลีกเลีย่ งสัมผัสโดยตรง อันจะทําให้สารพ่นกันไฟเกิดการหลุดร่วงและเกิดความเสียหาย ใน
ระหว่างการติดตัง้ และคณะทีป่ ล่อยให้วสั ดุแห้ง
- หลีกเลีย่ งการติดตัง้ ท่อลม ท่อ และวัสดุอ่นื ๆ ทีอ่ าจเป็ นอุปสรรคในการติดตัง้ วัสดุพ่นกันไฟ
จนกว่าจะติดตัง้ วัสดุพ่นกันไฟเสร็จ
- ห้ามติดตัง้ วัสดุอุปกรณ์ทม่ี าปิ ดบัง จนกว่าจะทําการติดตัง้ ตรวจตรา ทดสอบ และแก้ไข
ข้อบกพร่องของพ่นกันไฟ เสร็จเรียบร้อย
3.5 การควบคุมคุณภาพ
3.5.1 ควรมีการทดสอบและตรวจสอบก่อนการใช้งาน
3.5.2 การตรวจสอบทีส่ มบูรณ์ทาํ ขึน้ เพื่อให้แน่ใจว่าตรงกับความถูกต้องในการใช้งาน
3.5.3 ตรวจสอบให้สมบูรณ์ก่อนทีจ่ ะมีการติดตัง้ วัสดุทม่ี าปิ ดบังการแก้ไขหรือการตรวจสอบซํ้า
3.5.4 แก้ไขในกรณีทต่ี ดิ ตัง้ ไม่สมบูรณ์ตามทีร่ ะบุไว้และตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้
3.5.5 จัดให้มกี ารระบายอากาศในบริเวณพืน้ ที่ ทีก่ าํ หนดติดตัง้ ในระหว่าง และภายหลังการติดตัง้ 24 ชัวโมง ่
เพื่อให้วสั ดุแห้ง
3.5.6 ก่อนจะเริม่ งานพ่นกันไฟ ควรตรวจสอบสภาพอากาศ ไม่ควรมีลมแรงและฝนตกหนัก
3.6 การรับรองคุณภาพ
3.6.1 ใช้วสั ดุกนั ไฟแต่ละรุ่นทีผ่ ลิตจากโรงงานเดียวกันทีไ่ ด้มาตรฐาน
3.6.2 ผลิตภัณฑ์, การติดตัง้ และความหนาของวัสดุกนั ไฟจะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดเกีย่ วกับ
อัตราการทนไฟ
3.6.3 ผูต้ ดิ ตัง้ วัสดุป้องกันไฟต้องเข้านําเสนอวิธกี ารติดตัง้ ก่อนการติดตัง้ เพื่อตรวจรับวัสดุ,การติดตัง้ ,ความหนา,
กระบวนการติดตัง้ และหัวข้ออืน่ ๆ
3.7 การจัดเก็บและการจัดการ
3.7.1 จัดเก็บวัสดุพ่นกันไฟให้อยู่เหนือพืน้ ดินและมีหลังคาปกคลุม และอยู่ในบรรจุภณ ั ฑ์ก่อนการ
ใช้งาน เคลื่อนย้ายวัสดุออกจากหน้างานเมื่อเสร็จสิน้ งาน และจัดเก็บส่วนทีเ่ หลือใช้
3.7.2 จัดเตรียมทีเ่ ก็บวัสดุชวคราวเพื
ั่ ่อป้องกันไม่ให้สารพ่นกันไฟทีจ่ ะนํามาใช้งานไม่เหมาะสมต่อการ
ใช้งานพ่น อันเนื่องจากสภาพอากาศทีแ่ ปรปรวน
3.7.3 วัสดุป้องกันไฟมีอายุการใช้งาน 12 เดือน เก็บไว้ในทีแ่ ห้งและภาชนะปิ ดสนิท อุปกรณ์ที
นํามาใช้ควบคู่กบั วัสดุป้องกันไฟต้องเป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าํ หนด
3.8 การทําความสะอาด
3.8.1 ทําความสะอาดและขนย้ายวัสดุทเ่ี หลือใช้ เศษวัสดุทต่ี กหล่น และซากวัสดุทท่ี บั ถมอยู่
ให้เรียบร้อย
3.8.2 แยกและเคลื่อนย้ายวัสดุกนั ไฟและอุปกรณ์การติดตัง้ ออกจากวัสดุชนิดอื่น ๆ
จบหมวดที่ 52

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 303 of 521

หมวดที่ 53
ยางยาแนว SEALANT, CAULKING

1. ขอบข่าย
งานยางยาแนว (SEALANT, CAULKING) รอยต่อ ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบก่อสร้าง และรายการประกอบแบบก่อสร้าง
รวมถึงภาคต่างๆทัง้ หมดถ้าได้กล่าวถึงในภาคอื่นๆแล้วให้ใช้บทนี้ประกอบด้วย ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมแบบประกอบการ
ติดตัง้ (Shop Drawing) รวมถึงส่วนต่างๆทีเ่ กียวข้อง แสดงถึงรายละเอียดการติดตัง้ โดยละเอียดสําหรับรอยต่อทุกแบบทีม่ ี
เพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบพิจารณาจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้

2. วัสดุ
2.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุทเ่ี หมาะสมกับการยาแนวตามแบบทีก่ าํ หนด รวมทัง้ รอยต่อใดทีต่ อ้ งยาแนวแต่มไิ ด้
กําหนดในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องยาแนวรอยต่อนัน้ ให้เรียบร้อยด้วย
2.2 วัสดุทใ่ี ช้จะต้องบรรจุในบรรจุภณ ั ฑ์ทแ่ี ข็งแรงเพียงพอต่อการขนส่งอยู่ในสภาพเรียบร้อยโดยมี
รายละเอียด ชื่อสินค้า ชนิดผลิตภัณฑ์ รุ่น หมายเลขการผลิต และอื่นๆอย่างสมบูรณ์ชดั เจน
2.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเก็บวัสดุตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต
2.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําระบบบันทึกการหมุนเวียนของวัสดุดงั นี้
- วันทีท่ ร่ี บั ของ
- ชื่อสินค้าและหมายเลขผลิตภัณฑ์
- หมายเลขการผลิต
- บันทึกใบรับประกันคุณภาพ หรือ COA (Certificate of Analysis) จากผูผ้ ลิตในทุกหมายเลขการผลิต
- วันทีเ่ บิกของไปใช้
- จํานวนของทีเ่ บิกไปใช้
- ชื่องานทีน่ ําไปใช้
2.5 วัสดุยางยาแนวทีใ่ ช้ตอ้ งเป็ นวัสดุชนิดทีเ่ หมาะสมกับวัสดุและประเภทของงานนัน้ ๆโดยเฉพาะ
ตามมาตรฐานของ Dow Corning Corporation, GE, SIKA WACKER หรือ Tremco หรือเทียบเท่า มี
รายละเอียดดังนี้
2.5.1 สําหรับรอยต่อประเภท Curtainwall (4-sided และ 2-sided)
2.5.1.1 Structural Glazing Sealant ให้ใช้ชนิด TWO PART เพื่อติดตัง้ กระจกในโรงงาน โดย จะต้องมี
การทดสอบ CompatibilityTest และ Deglazing Test ตามข้อกําหนดของผูผ้ ลิต โดยจะต้องส่ง รายงาน การทดสอบให้
รับรองโดยใช้ผลิตภัณฑ์ Dow Corning 983, GE ULTRA GLAZE SSG 4400 สําหรับ ONE PART อนุโลมให้ใช้
เฉพาะงานซ่อมแซมเท่านัน้
2.5.1.2 Weatherproofing Sealant ให้ใช้
- Dow Corning 791, GE SCS2900 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for
Elastomeric Joint Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, G, A, M,
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า
±50%

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 304 of 521

2.5.2 สําหรับงานกระจกเปลือย Float, Plate, Tinted, Tempered ให้ใช้


- Dow Corning 999-A, GE SCS1200 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 25, Use NT, G, A
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±25%
2.5.3 สําหรับงานกระจกเปลือย Laminated, Insulated, Reflective ให้ใช้
- Dow Corning 791, GS SCS2900 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, M, G, A
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
2.5.4 สําหรับงานยาแนวแผ่นหินแกรนิตให้ใช้
- Dow Corning 991, GE SCS9000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, G, A, M, O
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
- วัสดุยาแนวต้องไม่มกี ารไหลออกมาของ plasticizer (fluid migration or fluidbleeding)
- วัสดุยาแนวต้องมีสารปรับสภาพผิว (surface modifier) ช่วยลดการสะสมของสิง่ สกปรกบนผิวของ
ซิลโิ คนยาแนว
2.5.5 สําหรับงานยาแนวแผ่น Aluminum Composite ให้ใช้
- Dow Corning 991, GE SCS9000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, G, A, M, O
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
- วัสดุยาแนวต้องไม่มกี ารไหลออกมาของ plasticizer (fluid migration or fluid bleeding)
- วัสดุยาแนวต้องมีสารปรับสภาพผิว (surface modifier) ช่วยลดการสะสมของสิง่ สกปรกบนผิวของ
ซิลโิ คนยาแนว
2.5.6 สําหรับงาน Precasted Concrete ให้ใช้ยาแนวตามทีร่ ะบุในแบบดังนี้
2.5.6.1 ใช้ Silicone ยาแนว ดังนี้
- Dow Corning 991, GE SCS9000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, G, A, M, O
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
- วัสดุยาแนวต้องไม่มกี ารไหลออกมาของ plasticizer (fluid migration or fluid bleeding)
- วัสดุยาแนวต้องมีสารปรับสภาพผิว (surface modifier) ช่วยลดการสะสมของสิง่ สกปรกบนผิวของ
ซิลโิ คนยาแนว
2.5.6.2 ใช้โพลียรู เี ทนยาแนว ชนิดทาสีทบั ของ Tremco Dymonic, Tremco Vulkem
116, Sonneborn NP-1 หรือ คุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 305 of 521

- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint


Sealants, Type S, Grade NS, Class 25, Use NT,M,A,O
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า 25%
2.5.7 สําหรับงานยาแนววงกบ/ปูนให้ใช้
- Dow Corning 791, GE SCS2900 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, M, G, A
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
2.5.8 สําหรับงานยาแนวกระจก/กรอบบานให้ใช้
- Dow Corning 791, GE SCS2900 หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องได้รบั มาตรฐาน ASTM C920 Standard Specification for Elastomeric Joint
Sealants, Type S, Grade NS, Class 50, Use NT, M, G, A
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±50%
2.5.9 สําหรับงานยาแนวสุขภัณฑ์กบั กระเบือ้ งเคลือบหรือหินแกรนิตในห้องนํ้าให้ใช้
- Dow Corning Sanitary & Tile Silicone Sealant, GE TOSSEAL 83 หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
- วัสดุยาแนวต้องมีความสามารถในการรับการเคลื่อนไหวของรอยต่อไม่น้อยกว่า ±25%

3. ตัวอย่างวัสดุ
สถาปนิก ผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าํ หนดสีของยาแนวทีใ่ ช้ให้สอดคล้องกับพืน้ ผิววัสดุ
3.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุทจ่ี ะใช้ทุกอย่างทีเ่ กีย่ วข้องไม่น้อยกว่า 2 ตัวอย่างต่อรายการ และส่งให้
ผูอ้ อกแบบเพื่อขออนุมตั แิ ละตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทีจ่ ะนําไปใช้งาน
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องนําส่งรายละเอียดสินค้า (Product Manufacturer’s Specification) จากบริษทั ผูผ้ ลิต
3.3 สําหรับซิลโิ คนยาแนวผูร้ บั จ้างต้องส่งผลการทดสอบซิลโิ คนยาแนวกับวัสดุทจ่ี ะยาแนวจาก
ห้องปฏิบตั กิ ารของผูผ้ ลิตซิลโิ คนยาแนวทีส่ ถาปนิกรับรองก่อนทีจ่ ะลงมือทํางาน ผลการทดสอบขัน้ ตํ่าทีต่ อ้ งการ
ประกอบด้วย
3.3.1 การทดสอบการยึดเกาะของวัสดุกบั ยาแนว (Adhesion-In-Peel Test) ตามมาตรฐานการทดสอบ
ASTM C794
3.3.2 การทดสอบการเข้ากันได้กบั วัสดุทงั ้ หมดทีใ่ ช้รว่ มกัน (Compatibility Test) กับซิลโิ คนยาแนวทีใ่ ช้ ตาม
มาตรฐานการทดสอบ ASTM C1087
3.3.3 การทดสอบการเกิดคราบในวัสดุจากซิลโิ คนยาแนว (Stain Test) ตามมาตรฐานการทดสอบ ASTM
C1248
3.3.4 สําหรับซิลโิ คนยาแนวงานโครงสร้าง (Structural Glazing Sealant) ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายงานการ
ควบคุมคุณภาพ ได้แก่ เอกสารการทดสอบการยึดติดทีส่ ถานทีก่ ่อสร้าง (Site Adhesion Test) หรือเอกสารการตรวจสอบ
การยึดติดโดยการรือ้ ยาแนว (Deglazing)
3.3.5 ข้อแนะนําจากห้องปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับความจําเป็ นในการใช้สารรองพืน้ (Primer) ชนิดของสารรองพืน้
และข้อแนะนําชนิดของสารละลายในการทําความสะอาด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 306 of 521

3.4 สําหรับซิลโิ คนยาแนวผูร้ บั จ้างจะต้องส่งผลการตรวจสอบแบบรอยต่อ (Print Review) จากฝา่ ยเทคนิคของผูผ้ ลิต


ซิลโิ คนยาแนวทีส่ ถาปนิกรับรองก่อนทีจ่ ะลงมือทํางาน

4. การติ ดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาผูด้ าํ เนินการหรือช่างฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญมีประสบการณ์ในการติดตัง้ โดยปฏิบตั ติ ามกรรมวิธี
และคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด โดย
4.1 การเตรียมผิวงาน ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานทีใ่ ห้เรียบร้อย แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆให้เรียบร้อยก่อน
ดําเนินการ
4.2 ผูร้ บั จ้างทําความสะอาดผิวงานให้สะอาด แห้ง ปราศจากฝุน่ ผง คราบ นํ้ามัน สนิม ด้วยสารละลายที่
บริษทั ผูผ้ ลิตแนะนํา ผ้าทีใ่ ช้ตอ้ งเป็ นผ้าฝ้ายขาว 100% ใช้ผา้ ผืนแรกชุบสารละลายเช็ดทีผ่ วิ งานแล้วใช้ผา้ ผืนทีส่ องเช็ดตาม
เพื่อเป็ นการดูดซับสิง่ สกปรก และไขมันทันทีก่อนทีส่ ารละลายจะระเหย
4.3 สําหรับพืน้ ผิวคอนกรีตให้ใช้แปรงขัดทําความสะอาด แล้วเปา่ ด้วยลมจากเครื่องอัดแรงดันสูง
4.4 สําหรับพืน้ ผิวโลหะ เช่นอลูมเิ นียม ต้องทําความสะอาดพืน้ ที่ ทีจ่ ะยาแนวให้สะอาด โดยปราศจากสนิมคราบ
ไขมัน คราบนํ้ามัน เทป รอยเปรอะเปื้ อนต่างๆ เช็ดให้สะอาด และทิง้ ให้แห้งก่อนยาแนว
4.5 ทาสารรองพืน้ (ถ้าจําเป็ น) เพียงบางๆ ทิง้ ไว้ให้แห้ง 20-30 นาทีโดยประมาณ
4.6 ติดเทปโฟม (Spacer) ยางหนุน (Setting Block) โฟมหนุน (Backer Rod) แถบกันการยึดติด (Bond Breaker)
และอื่นๆ ตามมาตรฐานของผูผ้ ลิตยางยาแนว หรือตามแบบทีก่ าํ หนด
4.7 สัดส่วนความลึกและความกว้างของรอยต่อของยางยาแนวต้องปฏิบตั ติ ามกรรมวิธขี องบริษทั ผูผ้ ลิตอย่าง
เคร่งครัดหรือตามทีผ่ อู้ อกแบบกําหนดและมีความประณีต ไม่มฟี องอากาศในยาแนว ปาดตบแต่งผิวของยาแนวด้วยแท่ง
ปาดให้สะอาดเรียบร้อย

5. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดบริเวณทํางานทุกแห่งหลังจากติดตัง้ ระบบกันไฟลามแล้วด้วยความปราณีเรียบร้อย
ก่อนการอนุมตั ติ รวจสอบจากผูอ้ อกแบบ และก่อนส่งมอบงาน

6. การรับรอง
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพ คุณสมบัตขิ องวัสดุ และการติดตัง้ ตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต
เมื่อติดตัง้ แล้วจะต้องไม่มกี ารหลุดร่อน หรือมีตําหนิใด ๆ หากเกิดการดังกล่าว ผูร้ บั จ้างจะต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี
ด้วยความประณีตเรียบร้อย โดยไม่คดิ มูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้ ตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิตและความเห็นชอบของผูอ้ อกแบบ
ในระยะเวลาการรับประกันไม่น้อยกว่า 10 ปี

จบหมวดที่ 53

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 307 of 521

งานผังบริเวณ
หมวดที่ 54
งานผังบริเวณและงานดิ นถม

1. งานดินถม
1.1 ประเภทของวัสดุทใ่ี ช้
1.1.1 วัสดุประเภท ทราย ต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) ปราศจากก้อนดินเหนียว รากไม้ หรือวัชพืช หรือวัสดุอ่นื ๆ
(2) อินทรียป์ นอยู่อนั อาจจะทําให้เกิดการยุบตัวเสียหายในอนาคต
(3) มีความหนาแน่นแห้งสูงสุด (Maximum dry density) ไม่น้อยกว่า 1,700 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
(4) มีค่าการพองตัวไม่มากกว่าร้อยละ 4
(5) ขนาดผ่านตะแกรงเบอร์ 200 ไม่มากกว่าร้อยละ 20 โดยนํ้าหนัก
1.1.2 วัสดุ ประเภท Soil Aggregate ทีไ่ ม่ใช่ทราย ต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) ปราศจากก้อนดินเหนียว รากไม้ หรือวัชพืช หรือวัสดุอนิ ทรียป์ นอยู่อนั อาจจะทําให้เกิดการยุบตัว เสียหายในอนาคต
(2) ขนาดวัสดุผ่านตะแกรงเบอร์ 200 ไม่มากกว่าร้อยละ 25 โดยนํ้าหนัก
(3) ค่าขีดเหลวไม่มากกว่า 40
(4) ขนาดวัสดุใหญ่ทส่ี ดุ ไม่โตกว่า 5 เซนติเมตร
(5) ค่าดัชนีความเป็ นพลาสติก (Plasticity Index) ไม่มากกว่า 20
(6) ค่าการพองตัวไม่มากกว่าร้อยละ 3
(7) มีความหนาแน่นแห้งสูงสุดไม่น้อยกว่า 1,800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
1.2 วิธกี ารก่อสร้าง
1.2.1 บริเวณทีจ่ ะถมดินให้ถางปา่ ขุดตอไม้ รากไม้ออกแล้วนําไปทิง้ ทีผ่ คู้ วบคุมงานเห็นสมควร หลังจากนัน้
ให้ปรับแต่งพืน้ ทีใ่ ห้สมํ่าเสมอ พรมนํ้าแล้วทําการบดอัดให้มคี วามแน่นตามทีผ่ คู้ วบคุมงานกําหนด
1.2.2 ดําเนินการถมโดยให้ถมเป็ นชัน้ ๆ ชัน้ หนึ่งๆ หนาไม่เกิน 30 เซนติเมตร ทุกชัน้ ต้องบดอัดแน่นไม่
น้อยกว่าร้อยละ 85 Standard Proctor Density (สําหรับในเขตพืน้ ทีอ่ าคาร สามารถใช้ทรายถมได้)
1.2.3 ในส่วนทีท่ าํ ถนน คสล. หรือราดยาง กําหนดให้ ใช้ดนิ ลูกรัง บดอัดแน่นไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
Standard Proctor Density
1.2.4 บริเวณลาดไหล่ดนิ ถมให้ลง TOP SOIL ปลูกหญ้าพืน้ เมือง เป็ นแถวระยะห่างแถวละ 20 เซนติเมตร
1.2.5 บริเวณทีป่ ลูกหญ้าให้เตรียม TOP SOIL ลงหนาไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร

2. งานถนนและลานจอดรถ คสล.
ขนาดความกว้างถนนตามรูปแบบถนนและลานจอดรถ คสล. สามารถปรับลดขนาดได้ตามความเหมาะสมและสภาพการใช้
งาน แต่ทงั ้ นี้พน้ื ทีร่ วมทัง้ หมดต้องไม่น้อยกว่าทีร่ ะบุในแบบแปลน คอนกรีต และเหล็กเสริม เป็นไปตาม มาตรฐานงาน
อาคาร ตามทีร่ ะบุในแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 308 of 521

3. งานปลูกต้นไม้
3.1 การปลูกต้นไม้กาํ หนดให้ผรู้ บั จ้างจัดหาให้ได้ขนาดตามทีร่ ะบุในรูปแบบ สําหรับพันธุไ์ ม้ให้เป็ นไปตามรูปแบบ
กําหนด แต่สามารถปรับเปลีย่ นพันธุไ์ ม้ทเ่ี หมาะสมกับสภาพการเจริญเติบโต และภูมอิ ากาศทีเ่ หมาะสมได้ ตามดุลยพินจิ
ของคณะกรรมการตรวจการจ้าง ทัง้ นี้เพื่อประโยชน์ของราชการเป็ นสําคัญ
3.2 การปลูกต้นไม้ กําหนดให้ผรู้ บั จ้างจัดเตรียมกรรมวิธกี ารปลูก และไม้ค้าํ ตามทีร่ ปู แบบภูมทิ ศั น์ระบุ

จบหมวดที่ 54

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 309 of 521

หมวดที่ 55
งานภูมิสถาปัตยกรรม

1. งาน HARDSCAPE (งานภูมทิ ศั น์ดาดแข็ง)


1.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
การก่อสร้างจะต้องเป็ นไปตามแบบก่อสร้างและรายการก่อสร้างซึง่ ถือว่าเป็ นส่วนหนึ่งของสัญญาก่อนเสนอราคาผู้
รับจ้างจะต้องตรวจดูแบบก่อสร้างและรายการก่อสร้างโดยถีถ่ ว้ นแล้วจะต้องทําความเข้าใจความหมายโดยแจ่มแจ้งทุก
ประการ ในกรณีทแ่ี บบและรายการขัดแย้งกันให้ถอื เอาส่วนทีม่ คี วามต้องการสูงกว่าเป็ นเกณฑ์ทุกครัง้ ถ้อยคําใดๆ ในแบบ
และรายการก่อสร้างทีเ่ กิดปญั หาขึน้ ภูมสิ ถาปนิกและวิศวกรจะเป็ นผูต้ ดั สินโดยถือเอาความถูกต้องในวิชาช่างและความ
เหมาะสม การอ่านแบบให้ถอื เอาระยะตัวเลขทีร่ ะบุไว้เป็ นสําคัญเว้นแต่ภมู สิ ถาปนิกและวิศวกรวินิจฉัยเป็ นอย่างอื่นในขณะที่
ผูร้ บั จ้างกําลังทําการก่อสร้าง ถ้าปรากฏว่าแบบหรือรายการก่อสร้างส่วนหนึ่งส่วนใดมีความคลาดเคลื่อนผูร้ บั จ้างจะต้องทํา
การแก้ไขโดยไม่คดิ ราคาเพิม่ หากแก้ การแก้ไขนัน้ มิได้ผดิ ไปจากรายการสําคัญในแบบและในรายการก่อสร้าง อนึ่งหากมี
งานส่วนทีม่ ไิ ด้แสดงไว้ในแบบและรายการก่อสร้างแต่เป็ นส่วนทีจ่ าํ เป็ นต้องทํางานนัน้ ๆ ให้เสร็จเรียบร้อยจะต้องกระทําโดย
ไม่คดิ ราคาเพิม่ จากทีต่ กลงไว้เว้นแต่เป็ นรายการสําคัญ ซึง่ จะได้ตกลงกับผูร้ บั จ้างเป็ นการเฉพาะต่างหาก ผูว้ ่าจ้างสงวนสิทธิ ์
ทีจะเพิม่ หรือลดงานหรือเปลีย่ นแปลงวัสดุก่อสร้างตามสมควรภายในขอบเขตของสัญญาโดยจะแจ้งให้ผรู้ บั จ้างทราบในเวลา
อันสมควร ทัง้ นี้จะได้ตกลงราคาก่อสร้างและกําหนดราคาแล้วเสร็จใหม่กบั ผูร้ บั จ้างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนทุกครัง้

1.2 การดําเนินการก่อสร้าง
(1) ค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคในระหว่างดําเนินงาน เช่น ประปา ไฟฟ้า การกําจัดขยะมูลฝอย และการทดสอบอื่นๆ เช่น
การทดสอบคุณภาพของไม้ หิน ทราย เหล็ก คอนกรีต เป็ นต้น เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องออกค่าใช้จ่ายทัง้ สิน้
(2) ผูร้ บั จ้างจะต้องแต่ตงั ้ ผูแ้ ทนทีม่ อี าํ นาจเต็มทีซ่ ง่ึ สามารถจะรับผิดชอบ และแก้ไขเหตุการณ์ต่างๆ แทนผูร้ บั จ้างมา
ประจําสถานทีก่ ่อสร้างไม่น้อยกว่า 1 นาย เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบตั งิ าน
(3) ผูว้ ่าจ้างมีสทิ ธิทจ่ี ะแต่งตัง้ ผูห้ นึ่งผูใ้ ดเป็ นผูค้ วบคุมงาน ซึง่ ผูร้ บั จ้างจะต้องให้ความสะดวกและความร่วมมือในการ
ปฏิบตั งิ านตามหน้าที่ ในกรณีทผ่ี คู้ วบคุมงานพบสิง่ ใดบกพร่องหรือพบการกระทําทีอ่ าจจะเป็ นในทางฝา่ ฝืนสัญญา
หรือไม่สมกับสภาพอันควรแก่การทํางานทีถ่ ูกต้อง ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการแก้ไขภายในกําหนดเวลาอันสมควร อนึ่ง
ถ้าผูค้ วบคุมงานเห็นว่าลูกจ้างหรือช่างคนใดของผูร้ บั จ้างขาดความเข้าใจงานหรือประพฤติตนไม่ดี หรือฝีมอื ไม่ดี
หรือ ทํางานหยาบสะเพร่า ผูว้ ่าจ้างและผูค้ วบคุมงานมีสทิ ธิขอให้ผรู้ บั จ้างเปลีย่ นลูกจ้าง หรือช่างผูน้ นั ้ ได้ในกรณีน้ผี ู้
รับจ้างจะต้องรับจัดหามาแทนภายใน 7 วัน
(4) ผูว้ ่าจ้างสงวนสิทธิในการสั
์ งหยุ
่ ดงานชัวคราวได้ ่ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างไม่ปฏิบตั งิ านให้ถูกต้องตามรูปแบบหรือ
รายการก่อสร้างข้อหนึ่งข้อใด และผูร้ บั จ้างไม่มสี ทิ ธิที์ จ่ ะนําไปเป็นข้ออ้างในการต่อเวลาในสัญญา
(5) ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้หอ้ งนํ้า – ส้วม สําหรับเจ้าหน้าทีแ่ ละคนงานในบริเวณทีเ่ จ้าของโครงการกําหนดให้เท่านัน้ รวมทัง้
ทําการรักษาความสะอาดพืน้ ทีก่ อ่ สร้างตลอดระยะการปฏิบตั งิ าน ในกรณีเกิดมีการถ่ายอุจจาระหรือปสั สาวะใน
บริเวณก่อสร้างนอกห้องส้วมทีจ่ ดั ไว้ให้ หรือมีขยะทิง้ สกปรกรุงรังในพืน้ ทีก่ ่อสร้าง ผูว้ ่าจ้างและผูค้ วบคุมงานมีสทิ ธิสั์ ง่
หยุดงานได้จนกว่าผูร้ บั จ้างจะทําความสะอาดให้เรียบร้อย
(6) การส่งมอบงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องทําความสะอาดส่วนต่างๆ ของอาคารและบริเวณให้เรียบร้อยพร้อมทัง้ ถมดินปรับ
ระดับให้เรียบร้อยตามระบุในแบบ อุปกรณ์ต่างๆ จะต้องอยูใ่ นสภาพเรียบร้อยใช้งานได้ทนั ที

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 310 of 521

1.3 การเตรียมวัสดุก่อสร้างใช้งานได้ทนั ที
(1) สิง่ ของทีป่ รากฏอยู่ในแบบและรายการก่อสร้างก็ดี หรือทีม่ ไิ ด้ปรากฏในแบบและรายการก่อสร้างก็ดี อันเป็ นส่วนหนึ่ง
หรือเครื่องประกอบการก่อสร้างนี้ให้เป็ นไปตามหลักวิชาช่างนัน้ ผู้รบั จ้างจะต้องจัดหามารวมอยูใ่ นงานก่อสร้างนี้
ทัง้ สิน้
(2) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุก่อสร้างทีม่ คี ุณภาพดีให้ครบตามแบบทุกประการ และให้ทนั เวลาวัสดุทจ่ี าํ เป็ นจะต้องสัง่
จากต่างประเทศ ผูร้ บั จ้างจะต้องรีบสังทั ่ นทีเพื่อให้ทนั กับระยะทีจ่ ะต้องใช้ในการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะมาอ้างภายหลัง
ว่าวัสดุนนั ้ ไม่มจี าํ หน่ายในท้องตลาดไม่ได้
(3) วัสดุและอุปกรณ์ทใ่ี ช้จะต้องเป็ นของใหม่ คุณภาพดีไม่เคยใช้งานมาก่อนและถูกต้องตามแบบและรายการก่อสร้าง
วัสดุและอุปกรณ์ทจ่ี ะใช้ทุกชนิด ผูร้ บั จ้างจะต้องนําตัวอย่างมาให้ภูมสิ ถาปนิกและเจ้าของโครงการพิจารณารับรอง
ก่อนจึงจะทําการสังซื ่ อ้ หรือติดตัง้ ได้

1.4 ความเสียหายและอุปทวเหตุ ั
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบโดยตรงต่อความเสียหายใดๆ อันเกิดแก่อาคารใกล้เคียงและอุปทั วเหตุทเ่ี กิดแก่
ทรัพย์สนิ หรือบุคคลใดๆ เนื่องจากงานก่อสร้างนี้ทงั ้ สิน้
(2) ผูร้ บั จ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการทํารัว้ ป้องกันอันตราย การติดโคมแสงสว่างและการเฝ้าดูแลสถานทีก่ ่อสร้างตลอดจน
การว่าจ้างยามเพื่อป้องกันรักษาในกรณีทจ่ี าํ เป็ น

1.5 การขัดแย้งในรูปแบบและรายการการว่าจ้าง
หากมีขอ้ ขัดแย้งไม่ตรงกันในรูปแบบหรือกับรายละเอียดประกอบการก่อสร้าง ทัง้ ในด้านงานสถาปตั ยกรรม งาน
โครงการ งานระบบประกอบการก่อสร้าง ให้ผรู้ บั จ้างแจ้งให้ผวู้ ่าจ้าง ผูค้ วบคุมงาน สถาปนิกและวิศวกรทราบ เป็ นลาย
ลักษณ์อกั ษรโดยทันที เพื่อจะได้พจิ ารณาวินจิ ฉัยว่าจะถือตามข้อกําหนดใดเป็ นเกณฑ์ในการปฏิบตั จิ ริง การวินิจฉัยของภูมิ
สถาปนิก และวิศวกรถือเป็ นยุติ

1.6 การขยายเวลา
ให้ผรู้ บั จ้างส่งคําบอกกล่าวเป็ นลายลักษณ์อกั ษร แจ้งถึงสาเหตุแห่งความล่าช้าแก่ผวู้ ่าจ้างและผูค้ วบคุมงาน ภายใน
7 วัน หลังจากเกิดสาเหตุนนั ้ ๆ และให้ชแ้ี จงว่าเป็ นเหตุโดยอย่างใดเพื่อให้ผวู้ ่าจ้างและผูค้ วบคุมงานพิจารณาตามความเป็ น
จริง

1.7 ตารางแสดงความก้าวหน้าของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตารางแสดงความก้าวหน้าของงาน ให้ผวู้ ่าจ้างพร้อมกับการขอเบิกเงินงวดค่าก่อสร้างทุกงวดตาม
ความก้าวหน้าของการก่อสร้างตามจริง

1.8 แบบรายละเอียด ณ ทีก่ ่อสร้าง


ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอแบบ SHOP DRAWINGS สําหรับงานทีม่ คี วามจําเป็ น ให้ภมู สิ ถาปนิกวิศวกรและผูว้ ่าจ้าง
พิจารณาอนุมตั อิ ย่างน้อย 7 วันทําการ ก่อนเริม่ ดําเนินงานนัน้ ๆ และจะต้องพิมพ์แบบดังกล่าวจํานวน 3 ชุด เพื่อใช้ในการ
ตรวจควบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 311 of 521

1.9 เส้นทางการขนส่งวัสดุก่อสร้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องบํารุงรักษาเส้นทางเพื่อใช้สาํ หรับการขนส่งวัสดุก่อสร้างให้อยูใ่ นสภาพเดิมตลอดระยะการก่อสร้าง
หากเกิดชํารุดเสียหายเนื่องจากการใช้สอยของผูร้ บั จ้างจะต้องรับซ่อมแซมให้เหมือนเดิมโดยไม่เรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิม่ เติม
จากผูว้ ่าจ้าง

1.10 การกองเก็บวัสดุก่อสร้าง
ห้ามใช้พน้ื ทีภ่ ายใต้พุ่มใบของต้นไม้เป็ นทีก่ องเก็บวัสดุก่อสร้างหรือเตรียมงานก่อสร้าง ห้ามใช้สว่ นของต้นไม้ในพืน้ ที่
ก่อสร้างในการตอกหรือยึดโยงเพื่อรองรับการทํางานก่อสร้าง

1.11 การจัดสร้างโรงงาน เรือนเพาะชํา หรือทีพ่ กั คนงานชัวคราว่


ในบริเวณสถานทีก่ ่อสร้างจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ ่าจ้างเสียก่อน และต้องจัดสร้างให้ถูกสุขลักษณะ ผูร้ บั
จ้างจะต้องจัดหาห้องทํางานให้กบั ผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้างตามคําร้องขอโดยให้มขี นาดพอเหมาะ มีกระดานคําสังงานที่ ต่ ดิ
แบบ โต๊ะทํางานพร้อมเก้าอี้ และห้องสุขาโดยจะจัดรวมอยูใ่ กล้ทท่ี าํ งานของผูร้ บั จ้างก็ได้เพื่อประโยชน์รว่ มกัน

1.12 การจําลองระบบการทํางานของงานระบบ
ในการตรวจรับงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดลองงานระบบหรือแสดงให้เห็นถึงการทํางานทีไ่ ด้ประสิทธิภาพและ
คุณภาพตามแบบและรายการ ได้แก่
(1) ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง
(2) ระบบสูบนํ้า ระบบรดนํ้าต้นไม้
(3) ระบบอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ น

1.13 การเสนอแบบทีท่ าํ การก่อสร้างจริง (AS-BUILT DRAWINGS)


ก่อนการส่งมอบงาน HARDSCAPE ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการส่งมอบแบบทีแ่ สดงงานต่างๆ ทีท่ าํ การก่อสร้างจริง (AS-
BUILT DRAWINGS) ให้กบั ผูว้ า่ จ้างและภูมสิ ถาปนิกฝา่ ยละ 1 ชุด รวมทัง้ รายละเอียดหรือคู่มอื การควบคุมการทํางานของ
อุปกรณ์ ระบบและการบํารุงดูแลรักษาด้วย

1.14 การเสนอคู่มอื ดูแลรักษางาน SOFTSCAPE


ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําคู่มอื เพื่อให้เจ้าหน้าทีข่ องผูว้ ่าจ้างสามารถใช้เป็ นแนวทางในการดูแลรักษาภายหลังสิน้ สุดงานใน
สัญญา โดยมีเนื้อหาได้แก่
(1) แรงงาน จํานวน และระดับ
(2) การดูแลรักษา ปรับปรุงสภาพดิน/เครื่องปลูก
(3) การรดนํ้า ปริมาณ ระยะเวลา ช่วงเวลา และวิธกี าร
(4) การตัดแต่งต้นไม้ และงานอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ น

1.15 งานเตรียมพืน้ ที่


(1) การเตรียมบริเวณ
ให้ผรู้ บั จ้างรือ้ ถอนตอไม้ พุ่มไม้ เศษวัสดุ วัชพืชและสิง่ ไม่พงึ ประสงค์อ่นื ในบริเวณทีจ่ ะทําการก่อสร้างและให้นําไปทิง้
ภายนอกบริเวณทีจ่ ะก่อสร้าง สํารับไม้ยนื ต้นอนุญาตให้ตดั ถอนได้เฉพาะต้นทีก่ าํ หนดให้เท่านัน้ ส่วนต้นอื่นๆ ทีอ่ ยู่ใกล้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 312 of 521

บริเวณก่อสร้างให้ทาํ การป้องกันมิให้เกิดความเสียหาย การตัดถอนต้นไม้จะต้องได้รบั อนุญาตจาภูมสิ ถาปนิกเสียก่อนจึงทํา


การตัดถอนได้ ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการรือ้ ถอนและโยกย้ายเป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องทําทัง้ สิน้
(2) การปกั ผัง
ผูร้ บั จ้างจะต้องปกั ผังและตรวจสอบการปกั ผังให้ถูกต้อง และจะต้องให้ภูมสิ ถาปนิกและวิศวกรอนุมตั กิ ารปกั ผังว่า
ถูกต้องเป็ นอันดีแล้วจึงเริม่ งานขันต่ ้ อไปได้
(3) ระดับพืน้ ต่างๆ
ระดับทีแ่ สดงในแบบก่อสร้างเป็นระดับเดียวกับแบบทางสถาปตั ยกรรมดังนัน้ จึงให้ถอื ระดับเดียวกับงาน
สถาปตั ยกรรมเป็ นเกณฑ์ การปกผั ั งการถ่ายระดับผูร้ บั จ้างจะต้องควบคุมให้ถูกต้องและเป็ นไปตามแบบและรายการโดย
เคร่งครัด โดยต้องได้รบั การตรวจสอบระดับอ้างอิงและอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานก่อนดําเนินการต่อไป
(4) งานทําความสะอาดและการส่งมอบงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการขนย้ายสิง่ ของอุปกรณ์ และเศษวัสดุออกจากบริเวณงานให้หมดสิน้ ก่อนวันส่งมอบงาน
- ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างได้ทาํ การปลูกสร้างอาคารและรัว้ ชัวคราวในบริ
่ เวณทีก่ ่อสร้างผูร้ บั จ้างจะต้องทําการ
รือ้ ถอนออกและกลบส่วนทีข่ ดุ ให้เรียบร้อยและถมกลับปรับระดับทัวไปให้ ่ ได้ระดับตามทีก่ าํ หนดในแบบก่อสร้าง

1.16 งานก่ออิฐและฉาบปูน
(1) การจัดหา ผูร้ บั เหมาเป็ นผูจ้ ดั หาวัสดุ อุปกรณ์ มาทําการก่อสร้างทัง้ หมด
(2) วัสดุ
- อิฐโดยทัวไปให้
่ ใช้อฐิ เผาสุกทัวไป
่ มีเสียงเคาะก้องและแกร่ง ไม่หกั บิน่
- ให้ใช้ปนู ตราเสือของบริษทั ปูนซีเมนต์ไทย หรือทีม่ คี ุณภาพเทียบเท่า โดยต้องได้รบั การรับรองจาก
คณะกรรมการตรวจการจ้าง สถาปนิกและวิศวกรเป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อน
(3) ส่วนผสมของปูนก่อและปูนฉาบ
- ส่วนผสมของปูนก่อให้ใช้ดงั นี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทรายหยาบ 4 ส่วน
- ส่วนผสมของปูนฉาบให้ใช้ดงั นี้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทรายหยาบ 5 ส่วน
(4) กรรมวิธใี นการปฏิบตั งิ านก่อสร้าง
- ก่อนการก่อสร้างจะต้องราดนํ้าให้อฐิ หรือบล็อกชุม่ นํ้าเสียก่อน อิฐทีก่ ่อจะต้องให้ได้แนวทัง้ ทางตัง้ และทางนอน
และจะต้องเรียงโดยการขึงเชือก รอยต่อโดยรอบแผ่นอิฐต้องมีไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร และจะต้องใส่ปนู ก่อให้เต็มรอยต่อ
โดยรอบแผ่นอิฐ ปลายอิฐทีก่ ่อชนเสาหรือเสาเอ็นจะต้องเสียบเหล็กเดือยขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 6 มิลลิเมตร ทีเ่ สาไว้ทุก
ระยะไม่เกิน 60 เซนติเมตร และจะต้องรดนํ้าคอนกรีตให้เปียกก่อนทําการก่อ
- ในกรณีทผ่ี วิ ปูนแตกร้าวหรือผิวปูนไม่จบั กับผนังภายหลังการฉาบ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการซ่อมแซมโดยการ
สกัดปูนฉาบออกเป็ นบริเวณกว้างไม่ต่ํากว่า 10 เซนติเมตร ทําผิวกําแพงให้ขรุขระ ล้างนํ้าให้สะอาดแล้วจึงทําการฉาบใหม่
ได้ ผิวปูนฉาบใหม่จะต้องเรียบสนิทเป็ นเนื้อเดียวกับผิวปูนฉาบเดิม
- ในกรณีทก่ี าํ แพงยาวเกินกว่า 3.00 เมตร ต้องมีเสาเอ็นขนาด 0.10x0.10 ยาวตลอดความสูงกําแพง เสริม
เหล็ก 2-Ø 6 มิลลิเมตร เหล็กปลอก Ø 6 มิลลิเมตร @ 0.20

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 313 of 521

- มุมกําแพงทุกมุมและกําแพงหยุดลอยโดยไม่ตดิ ต่อกับเสา ค.ส.ล. หรือเป็ นกําแพงทีก่ ่อติดกับโครงวัสดุอ่นื ๆ


จะต้องมีเสาเอ็นตามข้อ 4.3

1.17 งานคอนกรีตเสริมเหล็ก
(1) การปฏิบตั โิ ดยทัวไปที
่ ไ่ ม่ได้ระบุในรายการนี้ให้ถอื ตามมาตรฐานสําหรับงาน ค.ส.ล เอกสาร ว.ส.ท.1001-14
(2) คอนกรีตทีใ่ ช้ให้มกี าํ ลังอัดไม่ต่ํากว่า 240 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร เมื่อทดสอบด้วยตัวอย่าง ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร สูง 30 เซนติเมตร เมื่ออายุ 28 วัน
(3) ปูนซีเมนต์ใช้ปอร์ตแลนด์ซเี มนต์ เช่น ตราช้าง ตราพญานาค หรือตราเพชร
(4) ทรายให้ใช้ทรายนํ้าจืดตามธรรมชาติตอ้ งมีเม็ดหยาบคมสะอาดและแกร่ง ปราศจากสิง่ เจือปน
(5) หิน ต้องเป็ นวัสดุทแ่ี ข็ง เหนียว ไม่ผุ เช่น หินราชบุรี สระบุรี ก่อนนํามาใช้ตอ้ งทําการล้างให้สะอาดปราศจากวัสดุเจือ
ปน
(6) นํ้าต้องสะอาดสามารถใช้ด่มื ได้
(7) เหล็กเสริมต้องปราศจากรอยร้าว สนิมขุม และนํ้ามัน มีตรารับรอง มอก.
(8) ห้ามนําคอนกรีตทีผ่ สมแล้วนานกว่า 30 นาที มาใช้เป็ นอันขาด
(9) ก่อนทําการเทคอนกรีตต้องให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบความแข็งแรงของไม้แบบและขนาดส่วนประกอบ ต่างๆ และ
ได้รบั อนุมตั ิ
(10) การถอดไม้แบบ สําหรับคอนกรีตทีใ่ ช้ปอร์ตแลนด์ซเี มนต์
- แบบข้างและผนัง 2 วัน
- เสา 3 วัน
- ท้องคาน 21 วัน
- ท้องพืน้ ทีม่ คี านรับ 24 วัน

1.18 งานไม้
(1) ผูร้ บั จ้าง เป็ นผูจ้ ดั หาวัสดุ อุปกรณ์ แรงงาน มาทําการก่อสร้างทัง้ หมด
(2) ชนิดของไม้ ใช้ไม้ตามระบุในแบบก่อสร้าง ความชืน้ ไม่เกิน 21% ชนิดคัดพิเศษ
(3) เกณฑ์ทวไปสํ ั ่ าหรับเนื้อไม้
- ขนาดทีร่ ะบุในแบบก่อสร้างเป็ นขนาดทีท่ าํ การไสแต่งแล้ว
- ห้ามใช้ไม้ทม่ี นี ้ําหนักเบากว่าปกติเมื่อเทียบกับไม้ทม่ี ชี นิดเดียวกันทีม่ ขี นาดเท่ากัน
- ไม้ท่อนใดทีเ่ นื้อไม้เป็ นกระพี้ แตกร้าว มีตา หรือผุ เพราะเหตุใดๆ ก็ตาม ห้ามนํามาใช้ทาํ การก่อสร้าง
(4) การเข้าไม้
รอยบากไม้รบั กันและหน้าไม้ทป่ี ระกบกัน ต้องขีดเส้นฉากวัดมุมให้ถูกต้องแล้วเลื่อย เจาะใส ให้ประกบกันแน่นสนิท
เต็มหน้าทีป่ ระกบกัน
(5) การยึดตะปูควงและตะปู
- ขนาดตะปูควงจะต้องโตกว่าเบอร์ 8 และยาวไม่น้อยกว่า 2 เท่า ของความหนาของไม้ทถ่ี ูกยึดสําหรับตะปู
ต้องยาวไม่น้อยกว่า 2.50 เท่า ของความหนาของไม้ทถ่ี ูกยึด
- หากจําเป็ นต้องเจาะรูนําเพื่อมิให้ไม้แตก ให้เจาะรู โตไม่เกิน 0.9 เท่าของขนาดตะปูควง และโตไม่เกิน 0.8
เท่า ของขนาดตะปูธรรมดา
(6) การตีตะปู

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 314 of 521

- ไม้กระดานไม่เข้าลิน้ กว้างไม่เกิน 7 นิ้ว ยึดด้วยตะปู 2 ตัว ตีห่างจากขอบไม้ไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร และ


ไม่มากกว่า 2 เซนติเมตร ถ้ากว้างเกิน 7 นิ้ว เพิม่ ตรงกลางแผ่นอีก 1 ตัว และฝงั หัวตะปูให้เรียบ
- ไม้กระดานเข้าลิน้ กว้างไม่เกิน 8 นิ้ว ยึดตะปูตวั เดียว ถ้ากว้างเกินกว่า 8 นิ้ว เพิม่ ตรงกลางแผ่นอีก 1 ตัว
และฝงั หัวตะปูให้เรียบร้อย
(7) การยึดด้วยน๊อตหรือสลักเกลียว
- รูเจาะต้องพอดี ตอกน๊อตหรือสลักเกลียวเข้าได้ง่าย และไม่โตกว่าขนาดน๊อตเกิน 6%
- น๊อตทุกตัวจะต้องมีแหวนรองมาตรฐาน หรือแหวนนี้แสดงในแบบขยายใต้เป็ นเกลียวทุกตัว
- ระยะห่างของรูน๊อตเมื่อใช้รบั แรงดึงต้องห่างไม่น้อยกว่า 7 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางน๊อต เมื่อใช้รบั แรงอัด
ต้องไม่น้อยกว่า 4 เท่า ตามแนวยาว และ 1.5 เท่า ของเส้นผ่านศูนย์กลางน๊อต
- น๊อตหรือสลักเกลียว ใช้เหล็กอาบสังกะสี การยึดให้ฝงั หัวน๊อตหรือสลักเกลียวเรียบเสมอผิว
(8) การยึดไม้กบั โครงสร้าง คสล.
ให้ยดึ ด้วยเหล็กปะกบขนาดตามแบบ หรือความเหมาะสมทีว่ ศิ วกรเห็นชอบ ก่อนการติดตัง้ ให้ทาสีกนั สนิม 2 ครัง้
และทาทับหน้าด้วยสีน้ํามันให้กลมกลืนกับวัสดุตกแต่งอื่นๆ ตามคําสังสถาปนิ ่ ก
(9) การทาสีไม้
- ตรวจให้แน่ว่าพืน้ ไม้ทจ่ี ะทานัน้ แห้งสนิท
- ซ่อมและอุดรูต่างๆ
- ขัดเรียบด้วยกระดาษทราย
- ปดั ฝุน่ ต่างๆ ออกให้หมด
- ถ้าไม้นนั ้ เปรอะนํ้ามันหรือมีความดูดซึมมากเป็ นพิเศษ ให้ทาทับหน้าด้วยแชลคก่อน 1 ครัง้
- ให้นําสีและภาชนะบรรจุทก่ี าํ หนดให้ใช้เท่านัน้ เข้ามาในบริเวณก่อสร้าง สีและภาชนะบรรจุอ่นื ๆ ห้ามนํามาใช้
ในบริเวณก่อสร้างโดยเด็ดขาด
- การนําสีมาใช้แต่ละงวดจะต้องให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง สถาปนิกหรือผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง
ตรวจสอบก่อนว่าเป็ นสีทก่ี าํ หนดให้ใช้
- รายละเอียดอื่นๆ เช่น ความอ่อนแก่ของสีให้ผรู้ บั จ้างเสนอขอรับรายละเอียดต่อผูอ้ อกแบบในเวลาอันสมควร
- ในการทาสี ผูร้ บั จ้างจะต้องยึดถือปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตสีอย่างเคร่งครัด เช่นการผสมสี สีพลาสติก
อิมลั ชัน่ นํ้าทีผ่ สมจะต้องสะอาดและได้สดั ส่วนตามทีผ่ ผู้ ลิตกําหนด
- ไม้ไม่ทาสี ให้ใช้น้ํายารักษาเนื้อไม้ โชลิคนัม หรือ ICI คิวปริโนล เดกกิง้ สโตน รุ่น x80 ทาอย่างน้อย 3 ครัง้
นอกเสียจากระบุเป็ นอย่างอื่น โดยสถาปนิก

1.19 งานพืน้ และผิวพืน้ กระบะต้นไม้


(1) การจัดหา ผูร้ บั เหมาเป็ นผูจ้ ดั หาวัสดุอุปกรณ์และแรงงานมาทําการก่อสร้างให้เรียบร้อยตามแบบ
(2) ผิวทรายล้าง,กรวดล้าง
- วัสดุ เม็ดทราย กรวด ทีใ่ ช้ทงั ้ หมดจะต้องมีขนาดใกล้เคียงกัน และต้องล้างให้สะอาดปราศจากแร่ เกลือ และ
สารเจือปน ผูร้ บั จ้างต้องทําตัวอย่างพืน้ ผิวขนาด 20x20 เซนติเมตร อย่างน้อย 3 ตัวอย่าง และให้ภูมสิ ถาปนิกตรวจรับรอง
ก่อนจึงจะลงมือทําการก่อสร้างได้
- กรรมวิธกี ารทําผิวทรายล้าง,กรวดล้าง ผูร้ บั จ้างต้องทําการฉาบปูนด้วยทรายหยาบก่อน 1 ครัง้ โดยต้อง
ตรวจสอบระดับความลาดเอียงของผิวพืน้ ให้ได้ตามระบุในแบบ แล้วจึงฉาบด้วยผิวทรายล้าง กรวดล้าง ซึง่ มีสว่ นผสมของ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 315 of 521

ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน : ทราย หรือกรวด 3 ส่วน ฉาบและตบด้วยเกรียงให้เรียบและแน่น ทิง้ ไว้ระยะหนึ่งให้แห้งพอประมาณ


แล้วจึงล้างปูนทีจ่ บั เม็ดทรายออก
- ฝีมอื ผิวทรายล้าง กรวดล้าง ทีท่ าํ เสร็จแล้วจะต้องมีเม็ดทรายเรียบ และแน่นสมํ่าเสมอกัน ผิวส่วนใดไม่เรียบ
หรือเม็ดทราย กรวด ไม่แน่นสมํ่าเสมอกันแลดูไม่สวยงาม และบริเวณใดทีไ่ ด้ตรวจสอบแล้วมีความลาดเอียงไม่เพียงพอทํา
ให้มนี ้ําขังจะต้องกะเทาะออกและทําใหม่ทงั ้ แผ่น
(3) พืน้ ผิวคอนกรีตฉาบเรียบขัดมัน
การเทคอนกรีต ต้องปรับพืน้ ผิวให้เรียบ และความลาดเอียงตามทีร่ ะบุในแบบก่อสร้าง ด้วยปูนทรายส่วนผสม ปูนซีเมนต์ 1
ส่วน : ทราย 1 ส่วน
(4) ผิว INTERLOCKING BLOCK (ถ้ามี)
- วัสดุ ลวดลายและสีเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบก่อสร้าง นอกเสียจากมีการเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะแจ้งให้ผู้
รับจ้างทราบก่อน
- กรรมวิธกี ารปู ให้เป็ นไปตามมาตรฐานของผูผ้ ลิต และต้องตรวจสอบระดับความลาดเอียงของผิวให้ได้ตาม
ระบุในแบบ
- ฝีมอื พืน้ ทีป่ จู ะต้องเรียบได้ระดับ การตัดต่อจะต้องทําอย่างประณีต หากเห็นว่าไม่เหมาะสมกับผูร้ บั จ้าง
จะต้องทําการปูใหม่โดยไม่คดิ ค่าใช้จ่าย
(5) งานผิวถนน พืน้ แอสฟลั ท์
ขัน้ ตอนและวิธกี ารติดตัง้ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
(6) การตรวจสอบระดับความลาดและฝีมอื การปู
ในกรณีทก่ี ารก่อสร้างพืน้ ผิวทุกชนิด มีระดับผิดไปจากแบบหรือความลาดเอียงไม่เพียงพอทําให้เกิดนํ้าขัง หรือปูไม่เรียบ
ไม่ได้แนว แลดูไม่สวยงามผูร้ บั จ้างต้องทําการรือ้ ส่วนนัน้ ออกและทําการก่อสร้างใหม่โดยไม่คดิ ค่าใช้จ่าย

2. งาน SOFTSCAPE (งานภูมทิ ศั น์ดาดอ่อน)


2.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
(1) การส่งตัวอย่างวัสดุและส่งผลทดสอบ
- ตัวอย่างดินถุงละ ½ กิโลกรัม 1 ถุง ระบุแหล่งทีม่ าของดินแก่ภมู สิ ถาปนิก เมื่อได้รบั อนุมตั แิ ล้วจึงนําดินเข้า
บริเวณได้ ภูมสิ ถาปนิกหรือเจ้าของงานจะทําการตรวจสอบดินอีกครัง้ หนึ่ง หากไม่เป็ นไปตามตัวอย่างทีอ่ นุมตั ิ ผูร้ บั จ้างต้อง
ขนดินออกไปด้วย ค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างเอง
- ปุ๋ย ถุงละ 250 กรัม ชนิดละ ½ ถุง
- ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรียแ์ ละปุ๋ยหมัก ถุงละ ½ กิโลกรัม ชนิดละ 1 ถุง
- วัสดุปรุงดิน ถุงละ ½ กิโลกรัม สําหรับเปลือกถัว่ หินเบอร์ 2 ถุงละ ¼ กิโลกรัม
- การติดชื่อ ผูร้ บั จ้างต้องติดชื่อของวัสดุและแหล่งทีม่ า และวันทีท่ ไ่ี ด้รบั มาโดยชัดเจนทัง้ ในถุงและในรายการ
ส่งวัสดุตวั อย่าง ควรใช้ถุงพลาสติกใสชนิดหนา หากตัวอย่างวัสดุไม่ได้คุณสมบัตติ ามเกณฑ์ หมวดที่ 2 และหรือไม่ได้รบั การ
อนุมตั จิ ากภูมสิ ถาปนิกและเจ้าของโครงการแล้ว ห้ามมิให้ผรู้ บั จ้างนําวัสดุดงั กล่าวไปใช้ในโครงการโดยเด็ดขาด
(2) การรับประกันงานและคุณภาพวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันผลงานเป็ นเวลา 180 วัน หลังจากส่งมอบงานขัน้ สุดท้ายแล้ว ให้มคี ุณสมบัตขิ องงานดังนี้
- ปาล์ม ไม้ยนื ต้น ไม้พมุ่ และไม้คลุมดิน ต้องมีการเจริญเติบโตและสมบูรณ์แข็งแรงตามสภาพธรรมชาติ และ
ในระหว่างเวลาทีไ่ ด้ดแู ลรักษาต้องไม่มอี าการ ใบไม้แห้งเฉา ใบร่วงหมดหรือเกือบหมดต้น กิง่ แห้งดํา ถูกทําลายหรือติดเชือ้
โรคและแมลงตาย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 316 of 521

- สนามหญ้า ต้องมีลกั ษณะสมบูรณ์ใบเขียวขจี ราบเรียบเป็ นผืนเดียวกัน ไม่เป็ นหลุมเป็ นบ่อ ไม่มบี ริเวณใดที่
เหลือง ตาย และไม่มวี ชั พืชขึน้ ปะปน
- วัสดุอ่นื ๆ ทีใ่ ช้ประกอบในงานส่วนนี้ตอ้ งยังคงอยูใ่ นสภาพดี ไม่ผุกร่อน หรือเสือ่ มสลายไปจนทําให้งาน
ก่อสร้างไม่เป็ นไปตามแบบก่อสร้าง หรือตามความเห็นของภูมสิ ถาปนิกและหรือเจ้าของโครงการ

2.2 งานปรับระดับผิวดิน
(1) ขอบเขตของงาน
การปรับแต่งให้เป็ นไปตามแบบผังระดับไม่มคี วามลาดเอียงตามทีร่ ะบุ ดินทีน่ ํามาถมปรับระดับในส่วนบน 30-40
เซนติเมตร ของบริเวณทีจ่ ะมีการปลูกต้นไม้และสนามหญ้าจะต้องเป็ นหน้าดินทีไ่ ด้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานและ/หรือ
ภูมสิ ถาปนิก ระดับอ้างอิงให้ยดึ ถือระดับพืน้ อาคารเป็ นเกณฑ์ในการทํางาน
(2) การบดอัด
ในส่วนทีจ่ ะเป็ นพืน้ ผิวแข็งจะต้องทําการบดอัดให้ได้ความหนาแน่นตามรายละเอียดและกรรมวิธที ร่ี ะบุโดยวิศวกร
ส่วนทีจ่ ะเป็ นแปลงปลูกต้นไม้หรือสนามหญ้า ให้ใช้วธิ บี ดอัดด้วยรถแทรกเตอร์หรืออุปกรณ์อ่นื ให้มคี วามหนาแน่น
พอประมาณ มิให้เกิดการพังทลาย แต่สามารถให้น้ําซึมผ่านได้สะดวก

2.3 ดินและเครื่องปลูก
(1) ดินบน (Top soil)
หมายถึงดินดีทน่ี ํามาจากแหล่งภายนอกบริเวณ โดยจะต้องเป็ นดินผิวส่วนบนจากท้องนา สวน หรือเชิงเขาต้องเป็ น
ดินร่วนไม่เหนียวจัด ไม่มเี กลือหรือสารเคมีอ่นื ใดเจือปน ปราศจากเศษวัชพืช เศษอิฐ หิน คอนกรีต เหล็ก ไม้ แก้วแตก
พลาสติก ถุงพลาสติกโลหะ ตลอดจนวัชพืชใดๆ เจือปน มีความชืน้ พอเหมาะไม่เหลวเละหรือแห้งสนิทหรือปน่ เป็ นผง ผูร้ บั
จ้างจะต้องแจ้งแหล่งดินว่าได้มาจากทีใ่ ดเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และต้องได้รบั การอนุมตั จิ ากภูมสิ ถาปนิกเสียก่อนจึงจะนําดิน
เข้าในบริเวณได้

2.4 การเตรียมดินปลูก
(1) การเตรียมแปลงปลูก
- ในบริเวณทีเ่ ป็ นแปลงปลูกต้นไม้พุ่มและไม้คลุมดิน ให้ทาํ การสับดินเพื่อทําการเก็บเศษวัสดุและรากหญ้าออก
ให้หมดก่อนทําการหว่านปุ๋ย กทม.901 และเปลือกถัวในอั ่ ตราอย่างละ 30 ลิตรต่อตารางเมตร สําหรับไม้พุ่ม และ 20 ลิตรต่อ
ตารางเมตร สําหรับไม้คลุมดิน เมื่อหว่านปุ๋ยและเปลือกถัวครบตามอั
่ ตราส่วนแล้ว ให้ทาํ การไถพรวนหรือใช้จอบสับดินเป็ น
การคลุกเคล้าปุ๋ยให้เข้ากับดินลึก 0.40 เมตร โดยให้ดนิ มีขนาดก้อนไม่โตกว่า 5 เซนติเมตร แล้วจึงเกลีย่ ให้เรียบได้รปู แบบ
- ส่วนของแปลงปลูกทีต่ ดิ กับสนามหญ้าจะต้องทําร่องดินสับรูปตัววีกว้างประมาณ 15 เซนติเมตร และลึก 10
เซนติเมตร เพื่อเป็ นการแยกสนามกับแปลงปลูก เพื่อความสะดวกในการตัดหญ้าและรักษาแนวไม้คลุมดินให้เรียบอยู่เสมอ
(2) การเตรียมดินปลูกหญ้า
- การเตรียมดินปลูกหญ้านวลน้อย
ให้เตรียมโดยการไถพรวนหรือขุดด้วยจอบลึก 15 เซนติเมตร พร้อมทัง้ เก็บเศษวัสดุขยะมูลฝอยรวมทัง้ วัชพืช
ออกให้หมดก่อนทําการใส่ป๋ ยอิ
ุ นทรียใ์ นอัตรา 20 ลิตรต่อตารางเมตร หรือใช้ป๋ ยุ ก.ท.ม. เบอร์ 2 ใน
อัตราส่วน 5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร พรวนให้ละเอียดและคลุกเคล้าปุ๋ยให้ทวั ่ ก่อนทําการบดอัดด้วยลูกกลิง้
ให้ได้ความแน่นระหว่าง 50-60% STANDARD PROCTOR การปรับระดับสนามอาจใช้ทรายละเอียดโรย
เป็ นการปรับให้เรียบ แต่ไม่ควรหนาเกิน 2 เซนติเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 317 of 521

- การเตรียมดินปลูกหญ้าพืน้ เมือง
ให้เตรียมพืน้ ทีเ่ หมือนการปลูกหญ้านวลน้อย แต่ในการใส่ป๋ ยก่
ุ อนปลูกนัน้ ให้ใช้ป๋ ยุ กทม. เบอร์ 2 รองพืน้
ก่อนปลูกหญ้า ในอัตรา 0.5 กิโลกรัมต่อตารางเมตร หลังจากการปลูกแล้วรอให้หญ้าเจริญเติบโตแข็งแรงดี
จึงทําการตัดและบดอัดด้วยลูกกลิง้ เพื่อให้เรียบ
(3) การเตรียมดินปลูกนอกสถานที่
ผูร้ บั จ้างอาจเตรียมดินปลูกจากนอกสถานทีไ่ ด้หากสะดวกกว่า โดยเฉพาะกรณีทม่ี ฝี นตกหนักหรือในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้าง
มีอุปกณ์การผสมดินพร้อมอยู่นอกสถานที่ ในกรณีเช่นนี้ ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งแก่ภูมสิ ถาปนิกเป็นลายลักษณ์ อกั ษร พร้อมทัง้
ส่งตัวอย่างดินทีผ่ สมเสร็จแล้วตามสูตรทีก่ าํ หนดให้ 3 ถุงๆ ละ 500 กรัม หากปรากฏในภายหลังว่าการผสมดินดังกล่าวไม่
เป็ นไปตามสูตร ผูร้ บั จ้างจะต้องขนดินออกจากบริเวณโดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง ส่วนผสมพิเศษ ในกรณีทต่ี น้ ไม้แต่ละชนิด
ต้องการเครื่องปลูกหญ้าทีแ่ ตกต่างกัน การเพิม่ ส่วนของอินทรีย์ ปุ๋ย วัสดุปรับปรุงดิน ให้ผรู้ บั จ้างทําเฉพาะดินปลูกชัน้ บน
โดยการแจ้งให้ภมู สิ ถาปนิกรับทราบ หรือได้รบั การอนุมตั จิ ากผูค้ วบคุมงานเสียก่อน

2.5 วัสดุพชื พรรณ


(1) ปริมาณและขนาด
ปริมาณ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาต้นไม้ให้ได้ครบพอเพียงแก่งาน ปริมาณของต้นไม้ทแ่ี สดงในตารางต้นไม้เป็ นแต่เพียง
ตัวเลขสังเขปทีเ่ ตรียมขึน้ เพื่อความสะดวกของผูร้ บั จ้างเท่านัน้ จํานวนต้นไม้ในแปลนต้นไม้ให้ถอื ว่าถูกต้องเหนือกว่าจํานวน
ทีบ่ อกไว้ในตารางต้นไม้
(2) ขนาดต้นไม้
- ไม้ใหญ่ ถือขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางลําต้นเป็ นสําคัญ ขนาดความสูงอาจผันแปรได้ตามความเหมาะสม
แต่ไม่น้อยหรือมากกว่าทีก่ าํ หนดไว้ในตารางต้นไม้เกินกว่า 10% ขนาดของต้นไม้พุ่ม
- ไม้พมุ่ ถือความสูงและระยะแผ่ รวมทัง้ จํานวนกิง่ สาขาตํ่าสุด ไม้เลือ้ ยต้องมีความยาวเมื่อยึดแล้วไม่น้อยกว่า
2.00 เมตร หรือตามทีร่ ะบุในรายการต้นไม้ ขนาดของต้นไม้ต่ําสุดจะวัดหลังจากได้ทาํ การ ตัดแต่งก่อนทําการปลูก
- ไม้เลือ้ ย จะวัดเส้นผ่านศูนย์กลางลําต้นทีร่ ะดับ 30 เซนติเมตร จากโคนต้น ความสูงวัดจากโคนต้นถึงยอดที่
ย้อยลงตามแรงดึงดูดของโลกในภาวะทีไ่ ม่เปี ยกฝนหรือนํ้า เส้นผ่านศูนย์กลางทรงพุม่ วัดโดยค่าเฉลีย่
(3) ชื่อของต้นไม้
- ถือตามชื่อทางวิทยาศาสตร์เป็ นสําคัญชื่อสามัญถือตามทะเบียนพรรณไม้ประดับของสมาคมไม้
ประดับแห่งประเทศไทย และ/หรือ ชื่อพรรณไม้ในเมืองไทย พ.ศ. 2525 โดย ดร.สะอาด บุญเกิด และคณะ หากการค้านกับ
ชื่อมีขน้ึ กับผูร้ บั จ้างจะต้องปรึกษาหารือกับภูมสิ ถาปนิกจนได้ขอ้ ยุตเิ ป็ นลายลักษณ์อกั ษรก่อนจึงนํามาปลูกได้
- การตรวจชนิดของพรรณไม้ อาจทําภายหลังการปลูกและก่อนการตรวจรับงาน หากตรวจพบว่าผูร้ บั จ้างนํา
ต้นไม้ผดิ ชนิดมาปลูกจะต้องขนย้ายออก และนําชนิดทีถ่ ูกต้องมาปลูกใหม่โดยค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้าง
(4) เงื่อนไขอื่นๆ
- ต้นไม้ใหญ่ ไม้พุ่ม ไม้เลือ้ ย และไม้คลุมดินทุกชนิด จะต้องงามแข็งแรง และขึน้ ตามสภาวะธรรมชาติ
ปราศจากแมลงและโรค
- การวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ จะวัดจากโคนหรือระดับดินธรรมชาติ 30 เซนติเมตร
- ต้นไม้ทว่ี ดั ได้ขนาดตามกําหนด แต่มรี ปู ร่างไม่สมดุลระหว่างระยะแผ่นและความสูง หรือบิดงอ น่าเกลียด
หรือแตกกิง่ เป็ นมุมแหลมจะถูกคัดออก
- ต้นไม้ทม่ี ขี นาดใหญ่กว่ากําหนดในแบบอาจนํามาใช้ได้ แต่ผรู้ บั จ้างจะคิดราคาเพิม่ ขึน้ จากทีเ่ สนอไว้เดิมไม่ได้
- ผูร้ บั จ้างจะถือเอาความสูงทีเ่ กินกําหนด มาชดเชยกับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่เล็กว่ามิได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 318 of 521

- ต้นไม้ทน่ี ํามาปลูกจะต้องเจริญงอกงามในกระถางหรือภาชนะเท่าทีก่ าํ หนดไว้ในแบบโดยมีระบบราก


เจริญเต็มกระถางแล้ว ห้ามมิให้ใช้ตน้ ไม้ขนาดเล็กเปลีย่ นใส่กระถางใหญ่ โดยทีร่ ากยังไม่เจริญเต็มในดินใหม่
- ขนาดของตุม้ ดินของต้นไม้ทข่ี ดุ ย้าย จะต้องมีขนาดใหญ่เป็ น 6(หก) เท่าของขนาดลําต้นและความสูงของตุม้
ดินจะต้องเป็ นสองในสามของความกว้าง ต้นไม้ทย่ี า้ ยมาโดยมีขนาดตุม้ ดินเล็กกว่ากําหนดหรือตุม้ ดินแตกรากได้รบั ความ
เสียหายจะถูกคัดออก
- ต้นไม้หรือไม้พมุ่ ทีไ่ ม่แข็งแรง โอนเอนยืนต้นโดยปราศจากไม้ค้าํ ยันไม่ได้จะถูกคัดออก ต้นไม้ใหญ่จะต้องมีลาํ
ต้นตรง มีรปู ทรงงามปราศจากความเสียหายจากการหักของกิง่ ก้าน ยอด (Leader) ต้องไม่หกั ยอดทีม่ อี ยูจ่ ะต้องเป็ นยอด
เดีย่ ว เว้นแต่จะกําหนดให้มหี ลายยอดได้ ต้นไม้ทเ่ี ปลือกฉีกขาด เป็ นปุม่ ปมมีรอยถูเสียดสี หรือมีกงิ่ หักทีไ่ ม่ได้รบั การตัดแต่ง
และทาสีหรือเปลือกหุม้ มิดแล้วจะถูกตัดออก
- ต้นไม้ทข่ี ยายพันธุโ์ ดยการปกั ชํา จะต้องงามมีรากเจริญงอกงามดีแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งข้อ
- ต้นไม้ทน่ี ํามาปลูกทุกชนิดต้องได้รบั การ “ฝึก” ให้คนุ้ กับสภาวะของแสงมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 สัปดาห์ ต้นไม้ท่ี
นํามาปลูกในร่ม หากทิง้ ใบหรือต้นไม้ทน่ี ําไปปลูกกลางแจ้งแล้วใบแห้งเฉาจะถูกคัดออก
- การเปลีย่ นแปลงต้นไม้ทไ่ี ม่ได้ขนาดหรือรูปทรงตามทีร่ ะบุในแบบแปลน ควรกระทําใน 15 วัน หลังจากทีผ่ ู้
รับจ้างได้รบั แจ้งจากเจ้าของหรือภูมสิ ถาปนิก ไม้พมุ่ และไม้คลุมดินควรเปลีย่ นภายใน 7 วัน หลังจากได้รบั แจ้ง

2.6 งานทําสนามหญ้า
(1) การปลูกหญ้า
- ชนิดของหญ้าทีใ่ ช้ปลูกในบริเวณให้เป็ นไปตามกําหนดในแบบแปลน
- การปู ใช้วธิ ปี เู ป็ นแผ่น แผ่นหญ้าจะต้องมีขนาด 50x100 เซนติเมตร หญ้ามีความเขียวสดชุม่ ชื่นไม่ขาดริม
โหว่กลาง ดินทีต่ ดิ มากับหญ้าจะต้องมีความสมํ่าเสมอ หญ้าทีเ่ หลือง แห้ง หรือไม่สมบูรณ์ ขาด แหว่ง จะถูกคัดออก ผูร้ บั จ้าง
ควรเตรียมดินสนามให้พร้อมทีจ่ ะปูได้ จึงนําหญ้าเข้ามาในบริเวณ หญ้าทีน่ ํามากองไว้เกิน 3 วัน จะถูกคัดออก ก่อนทําการปู
จะต้องปรับผิวดินให้เรียบ และรดนํ้าให้ ชุ่มชื่นแต่ไม่เละ ผิวดินทีเ่ สียหายหรือถูกชะโดยฝน หรือนํ้าจะต้องได้รบั การปรับ
ผิวหน้าใหม่เสียก่อน การปูหญ้าจะต้องปูให้รอยขอบต่อแผ่นชิดสนิทและเรียบเสมอกับขอบเข้ามุมหรือโค้งให้เรียบร้อยด้วย
คมมีดหรือกรรไกรทีเ่ หมาะสม เมื่อปูเสร็จแล้วให้รดนํ้าให้ชุ่ม แล้วใช้ลกู กลิง้ บดให้แผ่นหญ้าแนบแน่นกับผิวดิน
- การดูแลรักษาสนามหญ้าในระหว่างความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลรักษาสนามหญ้า
หลังจากส่งมอบงานแล้วขัน้ สุดท้ายเป็ นเวลา 120 วัน
- การรดนํ้า หลังจากทําการปูหญ้าไปแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องรดนํ้าสนามในปริมาณทีเ่ หมาะสม วันละ 2 เวลา เป็ น
เวลา 1 สัปดาห์ หลังจาก 1 สัปดาห์ไปแล้วให้รดนํ้าในเวลาเช้าหรือเย็นให้ชมุ่ วันละ 1 ครัง้ เป็นเวลาอีก 1 สัปดาห์ เมื่อครบ
กําหนดแล้วให้หยุดรดนํ้า 2 วัน ทําการตัดหญ้าใส่ป๋ ยแล้ ุ วจึงเริม่ ทําการรดนํ้าต่อไป ในสัปดาห์ท่ี 3 ให้รดนํ้าให้ชมุ่ โชก 2 วัน
ต่อครัง้ จนถึงวันส่งงาน การรดนํ้า จะต้องรดนํ้าด้วยหัวฉีดฝอย ไม่รดนํ้ามากและเร็วจนนํ้าไหลไปตามผิวดิน ควรใช้หวั ฉีดนํ้า
แบบฝอย หมุนด้วยแรงนํ้า
(2) การถอนวัชพืช ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการถอนวัชพืชออกทันทีตลอดเวลาทีท่ าํ การดูแลรักษาทีก่ าํ หนดไว้ในสัญญา
(3) การบดสนาม หลังจากการบดด้วยลูกกลิง้ ครัง้ แรกแล้วเป็ นเวลา 2 สัปดาห์ ผูร้ บั จ้างต้องนําลูกกลิง้ มากลิง้ บดสนามที่
ไม่เรียบให้เรียบร้อยอีกครัง้ หลังจากนัน้ ให้ทาํ การบดสนามทุกๆ 30 วัน จนกว่าจะหมดสัญญาการดูแลรักษา การบดควรรด
นํ้าให้ดนิ ฟูเสียก่อน
(4) การแต่งผิว ในกรณีทม่ี กี ารยุบของดินเกิดขึน้ และไม่สามารถแก้ไขได้ดว้ ยการบดลูกกลิง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ป๋ ยุ กทม.
901 ผสมกับทรายละเอียด อัตราส่วน 1:1 ร่อนผ่านตระแกรงมุง้ ลวด แล้วนํามาโรยตามรอยยุบของสนามทุกครัง้ ทีท่ าํ การตัด
หญ้าและบดลูกกลิง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 319 of 521

2.7 การปลูกต้นไม้ใหญ่ ปาล์ม มะพร้าว และต้นไม้เล็ก


(1) การปลูกต้นไม้ใหญ่ ปาล์ม มะพร้าว และต้นไม้เล็ก
1.1) หลุมปลูก
ผูร้ บั จ้างต้องทําการขุดหลุมปลูกต้นไม้ใหญ่ให้ได้ขนาดหลุมตามกําหนดในแบบแปลน โดยให้
ทําการขุดหลุมหลังจากปรับระดับต้นไม้แล้ว ดินทีน่ ําขึน้ มาจากส่วนบนของหลุมทีเ่ ป็ นดินดีให้
กองไว้ทป่ี ากหลุมได้ ดินก้นหลุมทีป่ ะปนเศษวัสดุก่อสร้างให้ขนไปทิง้ นอกบริเวณ
1.2) ดินปลูกและการปลูก
- ดินปลูกให้ใช้ดนิ ผสมตามสูตรข้างล่าง ตามจํานวนทีก่ าํ หนดในรายละเอียดผสมกับดิน
ทีข่ ดุ มา
- ส่วนผสม ใช้สตู รผสมดิน ดังนี้
ดินบน (pH 6.5) 3 ส่วน
ปุ๋ย กทม.901 หรือมูลวัว 1 ส่วน
เปลือกถัว่ หรือแกลบไม่เผา 1 ส่วน
ให้ใช้ทรายหยาบผสม 1 ส่วน ในกรณีทด่ี นิ บนเป็ นดินเหนียว
- การปลูก ผูร้ บั จ้างจะต้องระมัดระวังอย่างสูงในการยกต้นไม้ออกจากกระถาง ภาชนะ
หรือทีป่ ลูกชนิดอื่นๆ เช่น เข่ง ลังไม้ เพื่อมิให้ระบบรากของต้นไม้เสียหาย การแกะ
กระสอบหุม้ ตุม้ ดิน จะต้องกระทําด้วยความระมัดระวังอย่างยิง่ ทีจ่ ะมิให้ดนิ หลุดจากตุม้
ผูร้ บั จ้างควรวัดความสูงของตุม้ ดินก่อนทําการเตรียมความลึกของก้นหลุมให้พอดีกบั
ขนาดของตุม้ ดินแล้ว จึงทําการยกต้นไม้ลงหลุมตัง้ ให้ตน้ ไม้ตรงได้แนวใช้มอื หรือเท้า
กดพอแน่นแล้วจึงเติมดินลงไปอีก ครัง้ ละ 15 เซนติเมตร เมื่อถึงระดับทีก่ าํ หนดแล้วให้
รดนํ้าให้ชมุ่ โชกและทิง้ ไว้ ไม่รดนํ้า เป็ นเวลา 3 วัน
- การแต่งผิวหน้าหลุมปลูก หลังจากการปลูกแล้วผูร้ บั จ้างจะต้องทําการเก็บกวาดสิง่
สกปรก ดิน ปลูก เศษวัสดุหมุ้ ตุม้ ดิน เชือกกระทง ฯลฯ ออกไปให้หมดเมื่อรดนํ้าทิง้ ไว้
ครบ 3 วันแล้ว ให้ทาํ การแต่งพรวนหรือเสริมผิวหน้าของหลุมปลูก
1.3) การคํ้าต้นไม้
จะต้องกระทําทันทีหลังการปลูก และหลังจากการใส่ไม้ค้าํ แล้ว ต้นไม้จะต้องตัง้ ตรง แผ่กงิ่ ก้านได้ตามปกติไม้
คํ้าจะต้องเรียบแข็งไม่ผุกร่อน ขนาดของไม้ และกรรมวิธกี ารในการจัดปกั ไม้ค้าํ ต้องเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดใน
แบบแปลนทุกประการ
(2) การปลูกไม้พุ่มและไม้คลุมดิน
- การปลูกไม้พุ่มและไม้เลือ้ ย ให้กระทําตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบทุกประการ และให้มขี นั ้ ตอนเช่นเดียวกับการ
ปลูกต้นไม้ใหญ่ ในแปลงปลูกให้ใช้ดนิ ผสม หรือทําการพรวนดินใส่ป๋ ยหนา ุ 30 เซนติเมตร มีการยกแปลงให้สงู จากระดับ
ทัวไปประมาณ
่ 10 เซนติเมตร มีร่องกว้าง 20 เซนติเมตร โดยรวม
- การปลูกไม้คลุมดิน ไม้กระถาง ให้ปลูกตามกําหนดในแบบ หากเป็ นการปกั ชําลงในแปลงปลูกผูร้ บั จ้างจะต้อง
หาวัสดุคลุมป้องกันแดดให้ดว้ ย การปลูกในกระถางให้ใช้ดนิ เบาตามสูตรทีก่ าํ หนด
- การบังแดดและลม สําหรับต้นไม้บางประเภททีต่ อ้ งการบังแสงแดดและลมในช่องปลูกใหม่ ให้ผรู้ บั จ้างดําเนินการหา
วัสดุอุปกณ์มาคลุมจนกว่าต้นไม้จะแข็งแรงสมบูรณ์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 320 of 521

2.8 การดูแลและรักษางานภูมทิ ศั น์
(1) ขอบเขตงานและความรับผิดชอบ
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการดูแลรักษางานภูมทิ ศั น์ตามสัญญาต่อไป เป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน (เก้าสิบ) หรือ
ตามระยะเวลาทีร่ ะบุในสัญญาหลังจากคณะกรรมการได้ตรวจรับงานงวดสุดท้ายในระหว่างเวลาแห่งสัญญานี้ ผูร้ บั จ้างต้อง
รับผิดชอบในงานต่างๆ ดังต่อไปนี้
(2) การดูแลต้นไม้พมุ่
- รดนํ้าตามระยะเวลาทีส่ มควรตามขนาดและชนิดของต้นไม้
- ตัดแต่งให้ป๋ ยตามคํ
ุ าสังของผู
่ ค้ วบคุมงาน
- บําบัดรักษาให้ยาฆ่าแมลงและโรคทีเ่ กิดแก่ตน้ ไม้
- เปลีย่ นต้นไม้ทต่ี ายหรือไม่เจริญ
- ปรับปรุงซ่อมแซมการคํ้าจุนต้นไม้ ถอนวัชพืชโคนต้นไม้
(3) การดูแลต้นไม้ใหญ่
- รดนํ้าและให้ป๋ ยุ ตามระยะเวลาทีเ่ หมาะสม
- ตัดแต่งและรักษาโรคแมลงตามความจําเป็ น
- เปลีย่ นต้นไม้ทต่ี ายหรือไม่เจริญ
- ปรับปรุงซ่อมแซมการคํ้าจุนต้นไม้ พรวนดิน ถอนวัชพืช แต่งขอบ
(4) การดูแลสนามหญ้า
สนามหญ้า จะต้องให้ดเู ขียวปราศจากวัชพืชและตัดเรียบตลอดเวลา
- การรดนํ้า ให้รดเปี ยกให้ชุ่มโชกวันละครัง้ ในกรณีทฝ่ี นตกชุกอาจเว้นได้นานขึน้ แต่ควรรดเมื่อสนาม แห้ง
- การตัดหญ้า ก่อนทําการตัดให้งดการรดนํ้าเป็ นเวลา 2 วัน และให้ทาํ การตัดหญ้าด้วยเครื่องตัดหญ้าชนิดโร
ตารีท่ ม่ี ใี บมีดคม การตัดควรกระทําทุก 1-2 สัปดาห์ ขึน้ อยู่กบั สภาพของหญ้าว่ายาวช้าหรือเร็ว เพียงใด แต่ควรตัดทันที
เมื่อหญ้าสูงเกิน 6 เซนติเมตร หรือถ้าเป็ นพืน้ ทีห่ ญ้าทีต่ อ้ งตัดสัน้ ก็ให้ทาํ การตัดทันทีทส่ี มควร และหลังตัดให้กวาดเศษหญ้า
ออกให้หมด
- การแต่งผิวหน้า ในกรณีทม่ี กี ารยุบของดินเกิดขึน้ และไม่สามารถแก้ไขด้วยการบดลูกกลิง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้
ปุ๋ย กทม.901 ผสมกับทรายละเอียดในอัตราส่วน 1:1 ร่อนผ่านตะแกรงมุง้ ลวด แล้วนํามาโรยตามรอยยุบสนามครัง้ ละหนา
ไม่เกิน 2 เซนติเมตร เมื่อหญ้าแทงขึน้ ดีแล้วจึงโรยใหม่จนกว่าจะได้ระดับปกติ
- การใส่ป๋ ยุ ให้ใช้ป๋ ยยู
ุ เรีย 46% ผสมนํ้าในอัตรา 1 ช้อนโต๊ะต่อนํ้า 20 ลิตร ฉีดหรือรดในอัตราส่วน 1 ลิตรต่อ
ตารางเมตร หรือ 1 ปี บต่อ 20 ตารางเมตร ทุกสองสัปดาห์สาํ หรับปุ๋ยอื่นให้ใช้ป๋ ยคอก ุ โรยบางๆ ในอัตราส่วน 1 ลิตรต่อ
ตารางเมตร ทุกสามเดือน และรดนํ้าให้ชมุ่ จนปุ๋ยแทรกซึมลงไปอยู่ บนดิน โดยมิให้มหี ลงเหลืออยู่บนใบหญ้า ซึง่ จะทําให้
หญ้าเน่าตายและทุกเดือนจะต้องให้ป๋ ยุ สูตร 15-15-15 โรยบางๆ ก่อนการรดนํ้าให้ซมึ ลงในดิน
- การบดสนาม ในช่วงเดือนแรกหลังการปลูกหญ้าจะต้องบดทุกๆ 3 วัน หรือทําการบดอัดเมื่อมีการแต่ง
ผิวหน้าทุกครัง้ ก่อนการบดทุกครัง้ ควรรดนํ้าให้ดนิ ชุม่ เสียก่อน
- การกําจัดวัชพืช ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการถอนวัชพืชออกทันทีตลอดเวลาทีท่ าํ การดูแลรักษาไว้ในสัญญา
(5) การทําความสะอาดบริเวณทัวไป ่
- ผูร้ บั จ้างมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบต่อเศษหญ้า ใบไม้ กิง่ ไม้ ถุงพลาสติก หรือภาชนะ เศษดิน ฯลฯ ทีเ่ กิดจากงาน
ดูแลรักษาดังกล่าว โดยคนของผูร้ บั จ้างเฉพาะในวันทีผ่ รู้ บั จ้างทําการ การทําความสะอาดถนนและสนามประจําวันไม่อยูใ่ น
ความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 321 of 521

- ผูร้ บั จ้างเป็ นผูจ้ ดั หาอุปกรณ์และกําลังคนมาดูแลรักษาบริเวณและภูมทิ ศั น์ให้เหมาะสม กับข้อกําหนดใน


สัญญาเจ้าของงานและภูมสิ ถาปนิกมีสทิ ธิสั์ งให้ ่ ผรู้ บั จ้างเพิม่ อุปกรณ์และคนงานได้ และหากเห็นว่าผูร้ บั จ้างขาดประสิทธิภาพ
ในการทํางาน ทําการละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา เจ้าของงานมีสทิ ธิในการริ ์ บเงินงวดสุดท้ายของผูร้ บั จ้าง และนําไปว่าจ้าง
บุคคลอื่นมาทําการแทนได้
(6) อุปกรณ์และการดูแลรักษา
ผูร้ บั จ้างเป็ นผูจ้ ดั หาอุปกรณ์และกําลังคนมาดูแลรักษาบริเวณ และภูมทิ ศั น์ให้เหมาะสมกับข้อกําหนดสัญญา เจ้าของ
งานและภูมสิ ถาปนิกมีสทิ ธิสั์ งให้ ่ ผรู้ บั จ้างเพิม่ อุปกรณ์และคนงานได้ และหากเห็นว่าผูร้ บั จ้างขาดประสิทธิภาพในการทํางาน
หากผูร้ บั จ้างละเลยไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญา เจ้าของงานมีสทิ ธิในการริ ์ บเงินงวดสุดท้ายของผูร้ บั จ้าง และนําไปว่าจ้างบุคคลอื่น
มาทําการแทนได้
เครื่องมือทีผ่ รู้ บั จ้างควรมีนอกเหนือจากเครื่องมือและวัสดุธรรมดา มีดงั นี้
- รถตัดหญ้าแบบโรตารีใ่ บมีดคม เสียงค่อย
- เครื่องพ่นปุ๋ยและยาขนาด 18 ลิตร เครื่องยนต์เบนซิน
- เครื่องตัดหญ้าชนิดด้ามยาวสะพายบ่า
- เครื่องมือตัดแต่งต้นไม้ครบชุดพร้อมสีทาแผลต้นไม้
การดูแลรักษาหลังจากส่งมอบงานแล้ว ผูร้ บั จ้างไม่ตอ้ งจ่ายค่านํ้า และค่าไฟ ฟ้าส่วนค่านํ้ามันเชือ้ เพลิงรถ ตัดหญ้า
และเครื่องพ่นยาเป็ นของผูร้ บั จ้าง ผูร้ บั จ้างพึงกําชับคนในบังคับของผูร้ บั จ้างมิให้สง่ เสียงดัง แต่งกายไม่สภุ าพ หรือแสดง
กิรยิ าไม่ดใี นระหว่างปฏิบตั งิ าน
การจัดทําคูม่ อื การดูแลรักษา ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําคูม่ อื ในการดูแลรักษาสําหรับเจ้าหน้าทีข่ องผูว้ ่าจ้างดําเนินการเอง โดยให้
เสนอมายังภูมสิ ถาปนิกตรวจสอบและอนุมตั กิ ่อนเสนอฉบับสมบูรณ์มายังผูว้ ่าจ้าง โดยคูม่ อื ฯ นี้ถอื เป็ นเนื้อหาสําคัญในการ
สิน้ สุดงานดูแลรักษาของผูร้ บั จ้าง

จบหมวดที่ 55

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 322 of 521

หมวดงานประปา สุขาภิ บาลและดับเพลิ ง


หมวดที่ 56
รายการทัวไป

1. วัตถุประสงค์
ผูร้ บั จ้างทําการก่อสร้าง จัดหา ติดตัง้ ทดสอบเครื่องจักรกล วัสดุ อุปกรณ์ ด้านสุขาภิบาล ตามรูปแบบและ
รายการ รวมถึงงานทีเ่ กีย่ วข้องซึง่ อาจไม่แสดงไว้ แต่จาํ เป็ นต้องทําเพื่อให้งานระบบสุขาภิบาลและดับเพลิงสามารถใช้การ
ได้ดตี ามหลักวิชาการและมาตรฐานต่างๆ โดยรายการและข้อกําหนด ในเอกสารนี้ จะใช้เมื่อในแบบรูปและรายการไม่มี
ข้อกําหนดเป็ นอย่างอื่น
2. ขอบเขตของงาน
2.1 ระบบประปา
2.2 ระบบระบายนํ้าฝนและระบบระบายนํ้าทิง้
2.3 ระบบป้องกันอัคคีภยั
2.4 ระบบบําบัดนํ้าเสีย
2.5 ระบบไฟฟ้าทีเ่ กีย่ วข้องกับงานสุขาภิบาล
2.6 การทดสอบและการฝึกอบรม
3. มาตรฐาน พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ เทศบัญญัติ
ข้อบัญญัติ ระเบียบ คําสัง่ ข้อกําหนด คําแนะนํา หลักเกณฑ์ หนังสือ กฎหมาย ทีเ่ กีย่ วข้องหรือบังคับใช้ ให้ยดึ ถือ
และปฏิบตั ติ าม โดยให้ใช้ฉบับล่าสุดเป็ นหลัก มีดงั นี้
3.1 มาตรฐานการเดินท่อภายในองค์การ ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
3.2 มาตรฐานการป้องกันอัคคีภยั ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
3.3 สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (มอก.)
3.4 การประปานครหลวง (กปน.)
3.5 การประปาภูมภิ าค (กปภ.)
4. มาตรฐานการติดตัง้
4.1 การต่อท่อ
การต่อท่อทุกชนิดทีต่ ่อเข้าด้วยกันรอยต่อจะต้องมีความแน่นหนาแข็งแรงพอทีจ่ ะรับนํ้าหนักหรือแรงดันของนํ้า หรือ
แก๊สภายในท่อได้โดยปลอดภัยและไม่รวไหล ั่ ลักษณะการต่อท่อแบบต่างๆ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานดังนี้
การต่อท่อ PVC ถ้ามิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นข้อต่อท่อ PVC ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตํ่ากว่า 100 มิลลิเมตร จะต้องเป็ นแบบ
ใช้น้ํายาซีเมนต์ ในการเชื่อมเข้ากับท่อรับความดัน โดยข้อต่อต้องมีคุณสมบัติ และความแข็งแรงเท่ากับท่อส่วนข้อต่อท่อ
PVC ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตัง้ แต่ 100 มิลลิเมตร ขึน้ ไป จะต้องเป็ นแบบ Socket Type มีคณ ุ สมบัตเิ ป็ นไปตาม
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก.1131 “ข้อต่อท่อ PVC แข็ง สําหรับใช้กบั ท่อรับ ความดัน” พร้อมทัง้ มีแหวนยางกัน
ซึมแบบวงแหวน คุณสมบัตขิ องแหวนยางกันซึมจะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก.237 “แหวนยาง
สําหรับท่อนี้ชนิดทนความดัน” ให้ดาํ เนินตามมาตรฐานผูผ้ ลิตและตามทีร่ ะบุในแบบ
4.2 การวางปลอกท่อ การสกัด การตกแต่ง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 323 of 521

4.2.1 ในกรณีทแ่ี บบรูปและรายละเอียดระบุไว้หรือมีความจําเป็ นต้องเดินท่อผ่านคาน เสาหรือพืน้ คอนกรีต


เสริมเหล็ก ก่อนการเดินท่อผ่านโครงสร้างดังกล่าว จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกรโยธา กองแบบแผนและก่อนเท
คอนกรีตทุกครัง้ จะต้องแจ้งให้เจ้าหน้าทีผ่ คู้ วบคุมงานทราบล่วงหน้าเพื่อตรวจสอบให้ถูกต้องเสียก่อน
4.2.2 ห้ามผูร้ บั จ้างสกัดหรือตกแต่งโครงสร้างอาคารเพื่อการติดตัง้ วางท่อเว้นแต่จะได้รบั ความเห็นชอบจาก
คณะกรรมการตรวจการจ้างหรือวิศวกร ปลอกรองท่อ (SLEEVE) ต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายในของปลอกรอบท่อ
โตกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อทีจ่ ะลอดผ่านประมาณไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตร
4.2.3 ปลอกท่อทีม่ ขี นาดเกิน Ø 6” ให้ใช้เหล็กเหนียวทีม่ คี วามหนาไม่น้อยกว่าความหนาของท่อทีจ่ ะฝงั
ฝงั ได้โดยต้องดําเนินการเสริมเหล็กคานตามทีค่ ณะกรรมการกําหนดให้ โดยห้ามมิให้ใช้ท่อ PVC ฝงั ในโครงสร้างเด็ดขาด
4.2.4 การฝงั ท่อลอดคานทีม่ คี วามจําเป็ นต้องฝงั จํานวนมากกว่า 3 ท่อนต่อ 1 ช่วงคาน ผูร้ บั จ้างจะต้องขอ
ความเห็นชอบจากวิศวกรโยธาหรือแสดงรายการคํานวณโครงสร้างตามส่วนนัน้ ให้คณะกรรมการพิจารณาก่อนดําเนินการ
4.3 เครื่องยึดเหนี่ยว และเครื่องรองรับ
4.3.1 ขนาดเหล็กทีแ่ ขวนรองรับ หากมิได้กาํ หนดรายละเอียดไว้ในแบบแปลนให้ทาํ ตามแบบขยายแนบท้าย
4.3.2 ท่อทีต่ ดิ ตัง้ ในแนวดิง่ หรือแนวตัง้ จะต้องยึดหรือรัดท่อให้แน่นและแข็งแรง และสามารถรักษาแนวแกน
ของท่อไว้ได้ฃโดยตลอด และจะต้องมีฐานทีแ่ ข็งแรงรองรับท่อทีพ่ น้ื ข้างล่างด้วย โดยมีขอ้ กําหนดตามประเภทของท่อดังนี้
(1) ท่อเหล็กหล่อจะต้องมีทย่ี ดึ หรือแขวนทุกๆ ชัน้ ของอาคาร หรือไม่น้อยกว่าทุกช่วงของความยาวท่อแต่ละท่อนและ
ตรงฐานล่าง
(2) ท่อเหล็กอาบสังกะสีหรือท่อเหล็กเหนียว ทีม่ ขี นาดตัง้ แต่ Ø 3” ขึน้ ไป ซึง่ ต่อกันด้วยเกลียวทุกๆ ระยะครึง่ หนึ่งของ
ความยาวแต่ละท่อน
(3) ท่อเหล็กอาบสังกะสี หรือท่อเหล็กเหนียว ทีม่ ขี นาดตัง้ แต่ Ø 2 1/2” ลงมา ต่อกันด้วยเกลียว จะต้องมีทย่ี ดึ หรือ
แขวนทุกๆ ระยะไม่เกินกว่า 1.20 เมตร
4.3.3 ท่อทีต่ ดิ ตัง้ ในแนวราบ จะต้องมีทย่ี ดึ หรือรัดท่อหรือแขวนท่อในระยะทีส่ ามารถยึดหรือรัดท่อให้อยู่ใน
แนวหรือระดับทีต่ อ้ งการได้โดยตลอด โดยมีขอ้ กําหนดตามประเภทของท่อดังนี้
(1) ท่อซีเมนต์ – ใยหินหรือท่อดินเผาซึง่ ต่อกันด้วยปากแตรยาด้วยซีเมนต์ปลาสเตอร์ หรืออัดด้วยแหวนยาง หรือต่อ
กันด้วยปลอกอัดด้วยแหวนยางทุกๆ ระยะความยาวของท่อแต่ละท่อน จะต้องมีทย่ี ดึ หรือแขวนอย่างน้อยหนึ่งแห่ง
(2) ท่อพีบี (Polybutylene : PB) ท่อเอชดีพอี ี (High DensityPolyethylene : HDPE) และท่อPVC (Polyvinylchloride :
PVC) สําหรับขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 1/2” ขึน้ ไปทุกระยะ 2 เมตร และทุกๆ รอยต่อ
(3) ท่อตะกัว่ หรือท่ออ่อนชนิดอื่นใด จะต้องมีทร่ี องรับทีแ่ ข็งแรงมันคงตลอดแนวและความยาวของท่
่ อ
4.3.4 ท่อทุกชนิดทีว่ างอยูใ่ นดินหรือติดพืน้ ดิน กรณีทต่ี อ้ งมีการยึดแขวนท่อกับพืน้ หรือโครงสร้างถ้ายึด
แขวนด้วยโลหะจะต้องหล่อหุม้ ด้วยคอนกรีตอีกชัน้ โดยรอบอุปกรณ์ยดึ แขวนนัน้ การหุม้ ให้หมุ้ โดยรอบไม่น้อยกว่า 0.05
เมตร
4.3.5 อุปกรณ์แขวนท่อทีเ่ ป็ นโลหะทุกชนิดจะต้องชุบด้วยสังกะสี หรือทาด้วยสีชนิด Epoxy Resin ชนิด
Heavy Duty โดยขัน้ ตอนการทาดังนี้
(1) ขัดทําความสะอาดจนปราศจากสนิมและคราบนํ้ามัน
(2) ทาด้วยสีรองพืน้ ชนิด Lead Oxide หรือ Red Lead
(3) ทาด้วยสี Epoxy Resin หรือ Heavy Duty
(4) การยึดแขวนท่อกับคานหรือพืน้ ให้ใช้วธิ ฝี งั Insert ในคอนกรีต หรือใช้ Expansion Bolt ยกเว้นกรณีทเ่ี ป็ นแผ่นพืน้
สําเร็จ จะต้องทําตามมาตรฐานของบริษทั ผูผ้ ลิต และต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานของทางราชการ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 324 of 521

4.3.6 การทาสีของท่อ
ในช่องเดินท่อ ทีม่ ชี ่องเปิ ดของช่องเดินท่อ ให้ทาสีท่อทุกประเภทตามสีทก่ี าํ หนดให้ทงั ้ หมด ตลอดความสูงของช่องเปิ ด
พร้อมทัง้ อักษรย่อชนิดท่อและทิศทางการไหลเป็ นสีต่างๆ ดังนี้
ท่อประปา ทาสี นํ้าเงิน
ท่อระบายนํ้าทิง้ ทาสี นํ้าตาล
ท่อส้วม ทาสี ดํา
ท่อระบายอากาศ ทาสี ขาว
ท่อดับเพลิง ทาสี แดง
ท่อระบายนํ้าฝน ทาสี เขียว

5. ข้อกําหนดทัวไป

5.1 การติดตัง้ ทัวไป่
ถ้าหากยังไม่มกี ารวางท่อ หรือเลิกงานแล้วแต่ละวันผูร้ บั จ้างจะต้องอุดปลายท่อให้เรียบร้อยเพื่อป้องกันสิง่ สกปรก
หรือสิง่ หนึ่งสิง่ ใดเข้าไปอุดอยูใ่ นท่อ และก่อนทีจ่ ะมีการเริม่ ทําการวางท่อต่อไป จะต้องตรวจสอบภายในท่อทีไ่ ด้วางไว้แล้ว
เสียก่อนว่าไม่มวี สั ดุอ่นื ใดอยูใ่ นนัน้ ห้ามวางท่อประปาหรือท่อนํ้าฝงั ดินใดๆ ก็ตามไว้ดว้ ยกันกับท่อระบายนํ้าเว้นแต่จะได้
ดําเนินการดังต่อไปนี้
5.1.1 จุดตํ่าสุดของท่อประปาอยู่สงู กว่าจุดสูงสุดของท่อระบายนํ้าไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร
5.1.2 วางท่อประปาไว้ดา้ นใดด้านหนึ่งของร่องสําหรับวางท่อ
5.1.3 จํานวนรอยต่อของท่อประปามีน้อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมีได้ และการต่อท่อทัง้ ของท่อประปาและท่อระบาย
นํ้าซึมผ่านไม่ได้ รอยต่อระหว่างเครื่องสุขภัณฑ์กบั กําแพงหรือพืน้ จะต้องแนบสนิทนํ้าซึมผ่านไม่ได้
5.2 คุณภาพวัสดุ และการเทียบเท่า
5.2.1 วัสดุและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการติดตัง้ ต้องเป็ นของใหม่ และผลิตโดยผูผ้ ลิตทีเ่ ป็ นทีเ่ ชื่อถือได้ อุปกรณ์ท่ี
บกพร่องหรืออุปกรณ์ทเ่ี สียหาย ในขณะติดตัง้ หรือขณะทดสอบ จะต้องเปลีย่ นใหม่และหรือแก้ไขซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพทีด่ ี
ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้าง
5.2.2 รายละเอียด คุณลักษณะของท่อและอุปกรณ์ ให้ยดึ ถือและปฏิบตั ดิ งั นี้
(1) ท่อนํ้าโสโครก ใช้ท่อ PVC 8.5 ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17-2532 และ มอก.1131-2535 ความลาดใน
แนวนอนไม่น้อยกว่า 1:75
(2) ท่อระบายอากาศ ใช้ท่อ PVC 8.5 ตามมาตรฐาน มอก.17-2532 และ มอก.1131-2535 มีท่อระบายอากาศ จากบ่อ
เกรอะ ศก. 2” ต่อแนบอาคารสูงจากพืน้ ถึงชัน้ ดาดฟ้า
(3) ท่อประปาใช้ท่อ PVC 13.5 ตามาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17-2532 และ มอก.1131-2535
(4) ท่อระบายนํ้าทิง้ ใช้ท่อ PVC 8.5 ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.17-2532 และ มอก.1131-2535ความลาดใน
แนวนอนไม่น้อยกว่า 1:75
(5) ฝาตะแกรงนํ้าทิง้ ทีพ่ น้ื ต้องมีทด่ี กั กลิน่ ชนิด พี แทรป แยกออกต่างหากจากตะแกรงดักขยะ
(6) ฝาปิ ดตะแกรงดักขยะของท่อนํ้าทิง้ ทีพ่ น้ื ใช้ชนิดทองเหลืองชุบโครเมีย่ มชนิดถอดออกได้
(7) GATE VALVE คุณภาพตามมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.431-2529
(8) ให้ตดิ ตัง้ STOP VALVE ก่อนต่อท่อประปาแยกเข้าสุขภัณฑ์ ส้วมอ่างล้างมือ อ่างล้างจาน
(9) ให้ตดิ ตัง้ ถังดับเพลิงยกหิว้ ขนาด 4 กิโลกรัม ชนิดผงเคมีแห้ง แบบมือถือแบบคาร์ออน (ตําแหน่งติดตัง้ ให้เสนอ
กรรมการตรวจการจ้างพิจารณา)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 325 of 521

(10) ให้ตดิ ตัง้ ตูด้ บั เพลิงตามแบบทีไ่ ด้กาํ หนดเอาไว้ในแบบก่อสร้าง (ตําแหน่งติดตัง้ ให้เสนอกรรมการตรวจการจ้าง


พิจารณา)
(11) ให้ตดิ ตัง้ ข้อต่ออ่อนชนิดยางสังเคราะห์บริเวณจุดเชื่อมต่อท่อภายในและภายนอกอาคาร
(12) รายละเอียดหรือคุณลักษณะวัสดุหรืออุปกรณ์ในแบบหรือในรายการประกอบแบบทัง้ ทีไ่ ด้ระบุหรือมิได้ระบุ หากมี
ประกาศกําหนดมาตรฐานอุตสาหกรรมแล้วให้เป็ นไปตามมาตรฐานอุตสาหกรรมนัน้
5.3 แบบรูปขยายรายละเอียดขณะก่อสร้าง (Shop Drawing) และแบบก่อสร้างจริง (As-Built Drawing)
5.3.1 แบบรูปขยายรายละเอียดขณะก่อสร้าง (Shop Drawing) ได้แก่แบบรูปขยายต่างๆ ทีจ่ ดั ทําขณะ
ก่อสร้าง เช่น ผังการเดินท่อต่างๆ ของระบบสุขาภิบาล ให้ถอื เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างจะต้องทําภาพขยายรายละเอียดขึน้
โดยมีวศิ วกรทีม่ ใี บอนุญาตจากคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม พร้อมสําเนาใบอนุญาตดังกล่าว เซ็นชื่อ
รับรองในแบบพิมพ์เขียวของผูร้ บั จ้างเสนอให้คณะกรรมการตรวจการจ้างตรวจสอบและเห็นชอบเสียก่อน จึงจะนําไปใช้ทาํ
การก่อสร้างในส่วนนัน้ ๆ ได้ ซึง่ แบบรูปรายการดังกล่าวจะต้องทําเป็ นแบบรูปรายละเอียด โดยส่งเป็ นแบบพิมพ์เขียวจํานวน
2 ชุด
5.3.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแบบรูปทีแ่ สดงรายละเอียดการวางท่อ การรองรับท่อและขนาดของท่อทีต่ ดิ ตัง้
ไปจริง (As-Built Drawing) ซึง่ แบบรูปรายละเอียดนี้จะต้องเขียนให้ได้มาตรฐาน โดยส่งแบบกระดาษไขต้นฉบับ 1 ชุด และ
แบบสําเนาอีก 2 ชุด รวมเป็ น 3 ชุด ให้แก่คณะกรรมการตรวจการจ้าง ก่อนส่งมอบงานงวดสุดท้าย 7 วัน เพื่อมอบแบบ
สําเนาให้ หรือหน่วยราชการเจ้าของอาคารเก็บไว้เพื่อดําเนินการบํารุงรักษา
5.4 ปญั หา อุปสรรค และการเปลีย่ นแปลงแบบ แบบรายละเอียด และคําแนะนํา
5.4.1 หากในรูปแบบและรายการละเอียดไม่ได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ถอื ปฏิบตั ดิ งั นี้ คือ การเดินท่อให้
เดินท่อใต้พน้ื หรือในกล่องซ่อนท่อหรือฝงั ในผนัง ให้พยายามหลีกเลีย่ งการฝงั ในพืน้ หรือคาน ท่อทีเ่ ดินใต้พน้ื ให้ใช้เครื่องยึด
เหนี่ยวและเครื่องรองรับ การเดินท่อจะต้องจัดเรียงแนวท่อให้เรียบร้อยพร้อมทัง้ การหุ้มซ่อนท่อและการเปิ ดช่องสําหรับ
ตรวจซ่อมได้กบั ให้บานประตูตดิ บานพับปิ ดเปิ ดได้ตามความเหมาะสมถึงแม้ในแบบรูปจะไม่ระบุไว้
5.4.2 อุปกรณ์อ่นื ๆ เช่น ประตูน้ําข้อต่อ ข้องอ ประตูน้ํากันนํ้าย้อนกลับหรืออื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ นต้องใช้ในการ
ติดต่อ เพื่อใช้งานดีขน้ึ และถูกต้องตามหลักวิชาการ แม้มไิ ด้ระบุไว้ในแบบรูปผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาและการติดตัง้ ให้โดยไม่
คิดราคาเพิม่
5.4.3 ถ้าไม่สามารถเดินท่อต่างๆ ตามแบบรูปและรายการละเอียด เนื่องจากอุปสรรคทางด้านต่างๆ ผูร้ บั
จ้างสามารถจะเดินท่อต่างไปจากแบบรูปและรายการละเอียดได้ ทัง้ นี้ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการ
จ้างและไม่ถอื ว่าเป็ นการเปลีย่ นแปลงรายการ
5.4.4 ถ้าแบบรูปและรายการละเอียดการเดินท่อไม่แสดงแนวท่อและขนาดท่อของสุขภัณฑ์ใดหรือแนวท่อ
และขนาดท่อไม่
ชัดเจน ให้ถอื แนวท่อและขนาดท่อของสุขภัณฑ์นนั ้ ตามรายการทัวไปประกอบแบบก่
่ อสร้างนี้
5.4.5 บ่อเกรอะ บ่อซึม ถังคอนกรีตเก็บนํ้า รางระบายนํ้า แนวท่อและอื่นๆ ทีม่ ลี กั ษณะทํานองเดียวกัน
ให้ถอื ว่าตําแหน่งทีป่ รากฏในแบบรูปรายการละเอียดเป็ นเพียงสังเขปเท่านัน้ คณะกรรมการตรวจการจ้างจะเป็ นผูก้ าํ หนด
ตําแหน่งทีแ่ น่นอนให้ในขณะก่อสร้าง

จบหมวดที่ 56

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 326 of 521

หมวดที่ 57
ระบบประปา

1. ขอบเขตของงาน
1.1 ท่อประปา หากแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นให้ถอื ปฏิบตั ดิ งั นี้ เดินท่อประปาสาย
ประธานมายังตัวอาคาร
1.2 หากแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้ ให้ใช้ท่อประปาสําหรับสุขภัณฑ์ มีขนาดดังนี้

ระบบถัง ขนาดของท่อ (นิ้ว) สุขภัณฑ์ไม่เกิน


3/4 4 ที่
สําหรับระบบถังนํ้าล้าง
1 6 ที่
(Flush Tank)
1 1/2 28 ที่
1 1 ที่
สําหรับระบบประตูน้ําล้าง
1 1/2 10 ที่
(Flush Valve)
2 15 ที่

2. การติดตัง้ ท่อและอุปกรณ์ประกอบ
2.1 การวางท่อประปาเป็ นแนวตรง ถ้าหักเป็ นมุมหรือขนานไปตามแนวผนังจะต้องได้สดั ส่วน ประณีตท่อขึน้
จะต้องได้ดงิ่ และตรง
2.2 สายไฟฟ้าระบบกําลังและระบบควบคุมสําหรับเครื่องสูบนํ้าการต่อประปา และมาตรวัดนํ้าเข้ากับท่อประปา
ประธานให้ถอื ตามข้อกําหนดบังคับของการไฟฟ้า หรือประปาในท้องทีท่ ม่ี กี ารก่อสร้างอาคารนัน้ ๆ แล้วแต่กรณี
2.3 ในกรณีทร่ี ปู แบบไม่ระบุ
ประตูน้ําขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง ½” – 2” ให้ใช้ประตูน้ําแบบ Ball Valve ชนิดทนแรงดันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 150 ปอนด์
ต่อตารางนิ้ว และสําหรับขนาดโตกว่าเส้นผ่านศูนย์กลาง 2” ให้ใช้ประตูน้ําแบบ Butterfly Valve หรือ Gate Valve ชนิด
ทนแรงดันใช้งานได้ไม่น้อยกว่า 150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว และการเดินท่อให้ใส่ประตูน้ํารวมและประตูน้ําแยก พร้อมข้อต่อ
ยูเนียนแต่ละชัน้ หรือแต่ละส่วน เพื่อสะดวกในการซ่อมแซมแก้ไขหรือติดตัง้ เพิม่ เติมในอนาคตได้
2.4 การต่อท่อของระบบประปาทัง้ หมด ทีเ่ ป็ นท่อเหล็กอาบสังกะสีให้ทารอยต่อ Joint Compound หรือใช้เทป
สําหรับการต่อท่อจํานวนเหมาะสม และทําความสะอาดให้เรียบร้อย
2.5 ในกรณีทม่ี ถี งั เก็บนํ้าเป็ นแบบอาศัยความต่างระดับและได้รบั นํ้าจากท่อประปาสาธารณะหรือจากท่อจ่าย
นํ้าประปาอื่นภายใต้ความดัน จะต้องมีลน้ิ อัตโนมัตสิ าํ หรับปิ ดเปิ ดนํ้าเพื่อป้องกันการไหลล้น
2.6 วัสดุตวั อย่าง เอกสารรายละเอียดวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งมอบวัสดุตวั อย่างเพื่อใช้เป็ นมาตรฐานในการเปรียบเทียบกับของทีต่ ดิ ตัง้ ดังนี้
2.6.1 โลหะทีใ่ ช้ในการรองรับหรือรัดท่อ
2.6.2 ประตูน้ําชนิดต่างๆ
2.6.3 อุปกรณ์ทต่ี อ้ งได้รบั รองคุณภาพจากผูผ้ ลิต หรือสถาบันทางราชการทีเ่ ชื่อถือได้ ตามความต้องการ
ของคณะกรรมการตรวจการจ้างคือ
2.6.4 ข้อต่อ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 327 of 521

2.6.5 อุปกรณ์เกีย่ วกับการระบายนํ้า ได้แก่ ช่องระบายนํ้าทีพ่ น้ื ช่องระบายนํ้าฝน ทีห่ ลังคาช่องสําหรับทํา


ความสะอาดท่อทีพ่ น้ื ฯลฯ

3. มาตรฐานวาล์วและอุปกรณ์ประกอบ
แผนผัง ผูร้ บั จ้างจะต้องทําแผนทีแ่ สดงถึงจํานวน ตําแหน่งและหน้าทีข่ องประตูน้ําแต่ละตัวรวม ทัง้ ท่อทีป่ ระสานกันด้วย ใส่
กรอบกระจกขนาดตามความเหมาะสม (รายการข้อนี้จะใช้ประกอบเฉพาะอาคารทีไ่ ด้ระบุไว้ในแบบรูปและรายการละเอียด
เท่านัน้ )
3.1 ความต้องการโดยทัวไป ่
3.1.1 จัดหาและติดตัง้ วาล์วในระบบสุขาภิบาลทีม่ คี ณ ุ สมบัติ และลักษณะทีถ่ ูกต้องทางด้าน
เทคนิคและข้อกําหนดให้เป็ นไปตามแบบและรายการจนสามารถใช้การได้ดแี ละสมบูรณ์ตามที่
ต้องการ
3.1.2 วาล์วทีใ่ ช้สาํ หรับปิ ด หรือ เปิ ด ทีม่ ไิ ด้แสดงไว้ในแบบ แต่มคี วามจําเป็ น และทําให้ระบบสมบูรณ์
ยิง่ ขึน้ จะต้องจัดหาและติดตัง้ ให้ดว้ ยโดยไม่คดิ ค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิม่ ขึน้
3.1.3 วาล์วจะต้องมีลกั ษณะและคุณสมบัตทิ เ่ี หมาะสม ทีใ่ ช้กบั ของเหลวในระบบ
3.1.4 วาล์วจะต้องสามารถทนแรงดันใช้งาน ( WORING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 ปอนด์ต่อ
ตารางนิ้ว ( 200 PSI )
3.1.5 พวงมาลัยหมุนวาล์วจะต้องใหญ่พอทีจ่ ะสามรถปิ ด-เปิ ดวาล์วได้สนิทด้วยมือ
3.1.6 วาล์วทีต่ ดิ ตัง้ ในทีส่ งู เหนือศีรษะ ไม่สามารถทีจ่ ะใช้มอื หมุนได้ จะต้องติดตัง้ โซ่ทพ่ี วงมาลัย (
CHAIN OPERATED HANDWHEEL ) พร้อมห่วงกันโซ่หลุด และโซ่น้จี ะต้องไม่เป็ นสนิม
ปลายโซ่จะห้อยลงมาสูงจากพืน้ ประมาณ 1 เมตร พร้อมทีค่ ล้องโซ่ในตําแหน่งทีเ่ หมาะสม
3.2 GATE VALVE และ GLOBE VALVE
3.2.1 GATE VALVE และ GLOBE VALVE ทีม่ ขี นาด 15 มิลลิเมตร ( ½ นิ้ว ) จนถึงขนาด 50
มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) ตัววาล์วทําด้วย BRONZE ชนิด NON-RISING STEM ยึดข้อต่อโดย
ใช้เกลียว ( SCREWED ENDS ) ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า
200 PSI
3.2.2 GATE VALVE และ GLOBE VALVE ทีม่ ขี นาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และ
ใหญ่กว่าตัววาล์วทําด้วย CAST IRON หรือ DUCTILE IRON ชนิด RISING STEM หรือ
NON-RISING STEM ยึดข้อต่อโดยใช้หน้าแปลน ( FLANGED ENDS ) ทนแรงดันใช้งาน (
WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI
3.2.3 GATE VALVE สําหรับระบบระบายนํ้าเสีย ( WASTE WATER SYSTEM ) ขนาด 50
มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) และใหญ่กว่าตัววาล์วทําด้วย CAST IRON หรือ DUCTILE IRON ชนิด
NON-RISING STEM, RESILIENT DISC ออกแบบมาสําหรับระบบระบายนํ้าเสีย ( WASTE
WATER SYSTEM ) ยึดข้อต่อโดยใช้หน้าแปลน ( FLANGED ENDS ) ทนแรงดันใช้งาน (
WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 10 BAR ( 145 PSI )
3.3 BUTTERFLY VALVE
3.3.1 วาล์วเป็ นแบบ WAFER TYPE โดยมี ALIGNMENT HOLES สําหรับเล็งยึดหน้าแปลน
3.3.2 ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และใหญ่กว่า ตัววาล์วทําด้วย CAST IRON หรือ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 328 of 521

DUCTILE IRON , DISC ทําด้วย ALUMINUM BRONZE หรือ STAINLESS


STEEL , SEAT ทําด้วย BUNA-N หรือ EPDM, STEM ทําด้วย STAINLESS STEEL
เป็ นชนิดชิน้ เดียวยาวตลอดตัววาล์ว ( ONE PIECE THROUGH STEM SHAFT ) ทน
แรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI
3.3.3 ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 1/2 นิ้ว ) จนถึงขนาด 125 มิลลิเมตร ( 5 นิ้ว ) เป็ นแบบ เปิด –
ปิ ด ด้วยด้ามโยก ( LEVER OPERATED ) ขนาด 150 มิลลิเมตร ( 6 นิ้ว ) และใหญ่กว่า
เป็ นแบบ เปิ ด – ปิ ด ด้วยพวงมาลัย ( GEAR OPERATED )
3.4 CHECK VALVE จะต้องเป็ น แบบ NON- SLAMMING CHECK VALVE หรือ SPRING LOADED
SILENT CHECK VALVE
3.4.1 ขนาด 15 มิลลิเมตร ( ½ นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) เป็ นชนิด SINGLE
DISC ตัววาล์วทําด้วย BRONZE , DISC ทําด้วย BRONZE, SEAT ทําด้วย TEFLON
หรือ SYNTHETIC RUBBER , SPRING ทําด้วย STAINLESS STEEL ยึดข้อต่อโดย
ใช้เกลียว ( SCREWED ENDS ) ทนแรงดันใช้งาน ( WORING PRESSURE ) ได้ไม่น้อย
กว่า 200 PSI
3.4.2 ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 1/2 นิ้ว ) และใหญ่กว่า ตัววาล์วทําด้วย CAST IRON, DISC
ทําด้วย GUNMETAL หรือ ALUMINUM BRONZE, SEAT ทําด้วย NITRILE หรือ
EPDM, SPRING ทําด้วย STAINLESS STEEL เป็ นชนิด DUO PLATE DISC,
WAFER TYPE ทนแรงดันใช้งาน ( WORING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI
3.4.3 CHECK VALVE สําหรับระบบระบายนํ้าเสีย ( WASTE WATER SYSTEM ) ขนาด 50
มิลลิเมตร (2 นิ้ว) และใหญ่กว่า ตัววาล์วทําด้วย CAST IRON หรือ DUCTILE IRON
ชนิด SWING TYPE ยึดข้อต่อโดยใช้ หน้าแปลน ( FLANGED ENDS ) ทนแรงดันใช้
งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 10 BAR ( 145 PSI )
3.5 AUTOMATIC AIR VENT
3.5.1 AUTOMATIC AIR VENT เป็ นแบบ DIRECT ACTING FLOAT TYPE
3.5.2 ลูกลอยและส่วนประกอบภายในทําด้วย STAINLESS STEEL
3.5.3 BODY AND COVER ทําด้วย CAST IRON
3.5.4 ขนาดไม่เล็กกว่า 15 มิลลิเมตร ( ½ นิ้ว ) ติดตัง้ ในตําแหน่ง ทีแ่ สดงไว้ในแบบ
3.5.5 ก่อนต่อเข้า AUTOMATIC AIR VENT จะต้องมี SHUT OFF VALVE ประกอบอยู่ดว้ ย
ส่วนทางด้าน อากาศออกจะต้องต่อท่อ ไปทิง้ ไว้ ณ จุดหัวรับนํ้าทิง้ ( FLOOR DRAIN ) ที่
ใกล้ทส่ี ดุ
3.5.6 AUTOMATIC AIR VENT จะต้องติดตัง้ ทีจ่ ุดสูงสุดของท่อนํ้า และในตําแหน่งทีม่ อี ากาศ
สะสมอยู่ในระบบท่อหรือตามทีร่ ะบุในแบบ
3.6 STRAINER
3.6.1 STRAINER ใช้สาํ หรับต่อด้านนํ้าเข้าเครื่องสูบนํ้า และทีอ่ ่นื ๆ ตามทีแ่ สดงในแบบ ตัวส
เทรนเนอร์ เป็ นแบบ Y-PATTERN
3.6.2 STRAINER ขนาด 15 มิลลิเมตร ( ½ นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) ตัววาล์วทํา
ด้วย GUNMETAL หรือ BRONZE, SCREEN ทําด้วย STAINLESS STEEL ขนาดรู
ตะแกรงไม่เกิน 40 MESH ยึดข้อต่อโดยใช้เกลียว ( SCREWED ENDS ) ทนแรงดันใช้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 329 of 521

งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI


3.6.3 STRAINER ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และใหญ่กว่าตัววาล์วทําด้วย CAST
IRON หรือ DUCTILE IRON, SCREEN ทําด้วย STAINLESS STEEL ขนาด
D.E.O ไม่เกิน 0.036 ยึดข้อ ต่อโดยใช้หน้าแปลน ( FLANGE ENDS ) ทน
แรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI
3.6.4 สามารถถอดล้างตะแกรงได้ โดยไม่ตอ้ งถอด STRAINER ออกจากระบบท่อนํ้า
3.7 BALL VALVE
3.7.1 BALL VALVE ขนาด 15 มิลลิเมตร ( 1/2 นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2
นิ้ว ) ตัววาล์วทํา ด้วย BRONZE , BALL ทําด้วย BRASS CHROME
PLATED, SEAL ทําด้วย TEFLON ยึด ข้อต่อโดยใช้เกลียว (
SCREWED ENDS ) ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อย
กว่า 200 PSI
3.8 PRESSURE GAUGE
3.8.1 PRESSURE GAUGE เป็ นแบบ BOURDON TYPE สําหรับวัดความดันของนํ้า
ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
3.8.2 ตัวเรือนทําด้วย STAINLESS STEEL หน้าปดั กลม เส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า
100 มิลลิเมตร ( 4 นิ้ว ) มีสเกลบนหน้าปดั อยู่ในช่วง 1.5 ถึง 2 เท่า ของความดันที่
ใช้งานปกติ ACCURACY + 1% ของสเกลบนหน้าปดั
3.8.3 PRESSURE GAUGE ทุกชุดจะต้องมี SHUT – OFF NEEDLE VALVE และ
PRESSURE SNUBBER สําหรับการติดตัง้ ในตําแหน่งทีม่ คี วามสะเทือนสูงเช่น
เครื่องสูบนํ้า ให้มรี ายละเอียดดังต่อไปนี้
TYPE - เป็ นแบบ LIQUID FILLED ( GLYCERINE ) หน้าปดั กลมขนาด
4” หรือใหญ่กว่า
CASE - 304 STAINLESS STEEL
RING - 304 STAINLESS STEEL, CRIMPED TYPE
WINDOW - GRILAMID
BOURDON TUBE - BRONZE TUBE
MOVEMENT - BRASS
SOCKET - BRASS
CONNECTION - ¼” NPT
SCALE RANGE - ต้องเลือกSCALERANGEให้เหมาะสมกับการใช้งานทีต่ ําแหน่งต่าง ๆ
หรือประมาณ 1.5 ถึง 2 เท่า ของความดันใช้งานปกติ
ACCURACY - ไม่เกิน + 1.5 % ของเสกลบนหน้าปดั
ACCESSORIES - PRESSURE GAUGE ทุกชุดจะต้องมี NEEDLE VALVE
สําหรับ SERVICE พร้อม PRESSURE SNUBBER ทําด้วย BRASS, CONNECTION
1/4" NPT
3.9 FLEXIBLE CONNECTOR
3.9.1 เพื่อป้องกันและลดการสันสะเทื่ อนและเสียงดัง สําหรับต่อด้านนํ้า เข้า – ออก จาก

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 330 of 521

เครื่องสูบนํ้า และตามตําแหน่งทีแ่ สดงไว้ในแบบ


3.9.2 เป็ นชนิด REINFORCED RUBBER FLEXIBLE CONNECTOR, ลอนคู่ (TWIN
SPHERE ) ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200
PSI
3.9.3 ขนาด 15 มิลลิเมตร ( 1/2 นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) ยึดข้อต่อโดย
ใช้เกลียว ( SCREWED UNION )
3.9.4 ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และใหญ่กว่ายึดข้อต่อโดยใช้หน้าแปลน (FLANGED
ENDS )
3.10 AUTOMATIC HYDRAULIC CONTROL VALVE
เป็ นชนิด MODULATING HYDRAULICCALLY OPERATED, DIAPHRAGM ACTUATED
ซึง่ ประกอบด้วยตัววาล์วหลัก ( BASIC VALVE ) และวาล์วควบคุม ( PILOT VALVE ) ซึง่ PILOT VALVE จะ
แตกต่าง กันตามลักษณะหน้าทีก่ ารทํางานของวาล์ว
ตัววาล์วหลัก ( BASIC VALVE ) เป็ นแบบ GLOBE PATTERN, FULL PORT โดยมีแผ่น
DIAPHRAGM ยึดติดกับชุดลิน้ วาล์ว ( SPOOL) เพื่อควบคุมการทํางานของลิน้ วาล์ว
วัสดุของวาล์วหลัก ( BASIC VALVE ) ตัววาล์วทําด้วย CAST IRON หรือ DUCTILE IRON
เคลือบด้วย EPOXY COATED, TRIM PARTS ทําด้วย STAINLESS STEEL, DIAPHRAGM ทําด้วย
REINFORCED NATURAL RUBBER ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 200 PSI
ขนาด 15 มิลลิเมตร ( ½ นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) ยึดข้อต่อโดยใช้เกลียว ( SCREWED ENDS
) ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และใหญ่กว่า ยึดข้อต่อโดยใช้หน้าแปลน ( FLANGED ENDS )
3.10.1 FLOAT CONTROL VALVE
เป็ นชนิด MODULATING REMOTE CONTROL PILOT ประกอบด้วย วาล์วหลัก ( BASIC
VALVE ) ตามคุณลักษณะทีก่ ล่าวไว้เบือ้ งต้น และชุดลูกลอย ( FLOAT PILOT ) ซึง่ เป็ นตัวควบคุมการทํางานของ
วาล์วหลัก ชุดลูกลอยทําด้วย BRONZE หรือ BRASS
3.10.2 PRESSURE REDUCING VALVE
ประกอบด้วย PRESSURE REDUCING VALVE ชนิด MODULATING TYPE และต่อขนาน
ด้วย PRESSURE REDUCING VALVE ชนิด DIRECT ACTING TYPE เพื่อป้องกันปญหา ั LOW FLOW
CHATTERING
PRESSURE REDUCING VALVE ชนิด MODULATING TYPE
ประกอบด้วยวาล์วหลัก ( BASIC VALVE ) และวาล์วควบคุม ( PILOT VALVE ) ซึง่ สามารถ
ปรับตัง้ ได้เพื่อควบคุมให้วาล์วหลักหรีใ่ ห้ได้ความดันขาออกคงทีเ่ สมอ แม้ว่าความดันด้านขาเข้าหรือปริมาณนํ้าทีผ่ ่านวาล์ว
จะเปลีย่ นแปลงไป การเลือกขนาดของวาล์ว ( SIZING ) จะต้องเลือกขนาดให้เหมาะสมกับอัตราการไหลทีก่ าํ หนด ณ
แต่ละจุดการใช้งานโดยจะต้องมีความเร็วของนํ้าไหลผ่านวาล์วไม่เกิน 20 ft / sec. และจะต้องทําการคํานวณค่า
MINIMUM FLOW ของวาล์วหลัก เพื่อใช้ในการเลือกขนาดของ PRESSURE REDUCING VALVE ชนิด DIRECT
ACTING ให้เหมาะสมต่อไป
PRESSURE REDUCING VALVE แบบ DIRECT ACTING TYPE
เป็ นวาล์วลดความดันชนิดทีส่ ามารถตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงอัตราการไหลผ่านวาล์วได้อย่างรวดเร็ว
เพื่อป้องกันมิให้เกิดปญั หา LOW FLOW CHATTERING การเลือกขนาดของวาล์วให้นําค่า MINIMUM FLOW ของ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 331 of 521

PRESSURE REDUCING VALVE MODULATING TYPE มาเป็ นค่า FLOW RATE ทีจ่ ะใช้ในการเลือกขนาดของ
วาล์วโดยกําหนดให้มคี ่า FALL - OFF ประมาณ 5 PSI
วัสดุของ PRESSURE REDUCING VALVE DIRECT ACTING TYPE
BODY - BRONZE
SEAT - STAINLESS STEEL
DIAPHRAGM - NYLON REINFORCED BUNA-N
3.11 WATER HAMMER ARRESTOR
ตัววาล์วทําด้วย COPPER, PISTON ทําด้วย ACETAL PISTON WITH BUNA-NORING
ยึดข้อต่อโดยใช้เกลียว ( SCREWED END ) ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 150 PSI
การเลือกขนาด WATTER HAMMER ARRESTOR ให้พจิ ารณาตามค่า FIXTURE UNITS ทีใ่ ช้งาน
โดยต้องส่งรายละเอียดการเลือกขนาดมาให้ผวู้ ่าจ้างอนุมตั กิ ่อนการติดตัง้
3.12 FOOT VALVE
3.12.1 ใช้สาํ หรับต่อด้านนํ้าเข้าเครื่องสูบนํ้า หรือตามทีแ่ สดงในแบบ
3.12.2 ขนาด 40 มิลลิเมตร ( 1 ½ นิ้ว ) จนถึงขนาด 50 มิลลิเมตร ( 2 นิ้ว ) ตัววาล์วทําด้วย BRASS
ตะแกรงดักผงทําด้วย POLYETHYLENE ยึดข้อต่อโดยใช้เกลียว ( SCREWED END ) ทนแรงดันใช้งาน
(WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 150 PSI
3.12.3 ขนาด 65 มิลลิเมตร ( 2 ½ นิ้ว ) และใหญ่กว่า ตัววาล์วทําด้วย CAST IRON , ตะแกรงดักผงทํา
ด้วย POLYETHYLENE หรือ GALVANISED STEEL ยึดข้อต่อโดยใช้หน้า แปลน ( FLANGED END ) ทนแรงดัน
ใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 150 PSI

4. การติดตัง้ เครื่องสูบนํ้าและอุปกรณ์
4.1 ในกรณีทแ่ี บบระบุมเี ครื่องสูบนํ้า จะต้องมีเครื่องควบคุมการทํางานของเครื่องสูบนํ้าแบบอัตโนมัตสิ าํ หรับการ
เริม่ ทํางานของเครื่องสูบนํ้าขึน้ อยู่กบั ระดับนํ้าในถังเก็บนํ้าซึง่ จะกําหนดให้ขณะติดตัง้ ถ้ากําหนดให้มเี ครื่องสูบนํ้ามากกว่า 1
เครื่อง เครื่องสูบนํ้าทุกๆ เครื่องต้องสามารถสับเปลีย่ นกันทํางานได้
4.2 การส่งมอบงานทีม่ เี ครื่องสูบนํ้าอยู่ดว้ ย ผูจ้ บั จ้างต้องเขียนผังแสดงวงจรชุดควบคุมเครื่องสูบนํ้าทีใ่ ช้ตดิ ไว้ในตู้
พร้อมส่งมอบกับคณะกรรมการตรวจการจ้าง จํานวน 2 ชุด และสาธิตวิธกี ารควบคุมแก่เจ้าหน้าทีข่ องทางราชการเป็ นที่
เข้าใจโดยไม่คดิ มูลค่าใดๆ ทัง้ สิน้
4.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องยื่นข้อกําหนดของเครื่องสูบนํ้าและตารางแสดงความสามารถในการทํางาน (Performance
Curve) ของเครื่องสูบนํ้าให้แก่คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณาตรวจสอบก่อนทําการติดตัง้

5. เครื่องสูบนํ้าประปา (COLD WATER PUMP)


เป็ นเครื่องสูบนํ้าชนิด NON-OVERLOADING, END SUCTION CENTRIFUGAL SINGLE STAGE PUMP, FLEXIBLE
COUPLING TYPE สามารถสูบนํ้าได้ 5.83 L/S ทีแ่ รงดัน 30 M เครื่องสูบนํ้ามีความเร็วรอบ 2900 RPM
5.1 ตัวเรือน (CASING) ทําด้วย CAST IRON
5.2 ใบพัด (IMPELLER) ทําด้วย BRONZE ได้รบั การตรวจสอบและปรับแต่งให้มคี วามสมดุล ทัง้ ทางด้าน
DYNAMIC และ STATIC มาจากโรงงาน
5.3 เพลา (SHAFT) ทําด้วย STAINLESS STEEL
5.4 SEAL เป็ นชนิด MECHANICAL SEAL

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 332 of 521

5.5 มอเตอร์เป็ นชนิด TEFC ระบายความร้อนด้วยอากาศ, INSULATION CLASS F ขนาดมอเตอร์ 4 kW


ความเร็วรอบ 2900 รอบต่อนาที

6. CONTROLLER
6.1 ตูค้ วบคุมต้องสามารถควบคุมให้เครื่องสูบนํ้าทัง้ 2 ชุด ทํางานสลับกันหรือช่วยกันทํางานพร้อมกันโดย
อัตโนมัตติ าม สภาวะใช้น้ํามากน้อย
6.2 ตูค้ วบคุมต้องสามารถเลือกการใช้งานได้ทงั ้ แบบอัตโนมัติ (AUTO) และแบบมือสตาร์ท(MANUAL)
6.3 ตูค้ วบคุมจะควบคุมการทํางานโดยรับสัญญาณจากชุด ELECTRODE ของถังนํ้าดาดฟ้าและใต้ดนิ
6.4 ตูค้ วบคุมจะต้องมีระบบแสดงสัญญาณเตือนเมื่อระดับนํ้าในถังเก็บสูงหรือตํ่ากว่าระดับทีก่ าํ หนด

จบหมวดที่ 57

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 333 of 521

หมวดที่ 58
ระบบระบายน้าฝนและระบบระบายน้าทิ้ ง

1. ขอบเขตของงาน
งานติดตัง้ อุปกรณ์และการเดินท่อระบายนํ้าทิง้ จากอาคาร

2. มาตรฐานการติดตัง้
2.1 ท่อระบายนํ้าทิง้ และท่อนํ้าฝนทีจ่ ะต้องเปลีย่ นทิศทางหรือการต่อท่อบรรจบแนวนอนกับแนวตัง้ ให้ต่อท่อด้วย
ข้อต่อ ตัว “วาย” หรือข้อโค้งรัศมีกว้างห้ามใช้ขอ้ งอฉากโดยเด็ดขาด
2.2 รอยต่อทีห่ ลังคาหรือรอบท่อระบายอากาศ จะต้องทําให้ไม่มกี ารรัวซึ ่ มได้โดยใช้แผ่นทองแดง หรือแผ่นเหล็ก
สแตนเลส หรือวัสดุทไ่ี ด้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้าง
2.3 ช่องทําความสะอาดท่อ ให้ตดิ ตัง้ ในกรณีต่อไปนี้
2.3.1 ตรงจุดเชื่อมระหว่างท่อระบายนํ้าจากอาคารกับท่อระบายนํ้ารอบอาคาร
2.3.2 ทุกๆ ระยะไม่เกิน 15 เมตร
2.3.3 ทีโ่ คนของท่อระบายในแนวดิง่
2.4 กรณีแบบไม่ระบุช่องระบายนํ้าทิง้ ทีพ่ น้ื ให้ใช้แบบตัวเรือนทําด้วยเหล็กหล่อ ฝาตะแกรงทําด้วยทองเหลือง
ชุบโครเมีย่ ม สามารถถอดเปิ ดได้ขนาดพืน้ ทีร่ ะบายนํ้าไม่ต่ํากว่า 120% ของพืน้ ทีห่ น้าตัดท่อทางออกของรูระบายนํ้า ตัว
เรือนมีครีบกันนํ้ากว้างไม่น้อยกว่า 40 มิลลิเมตร ต่อเนื่องกันโดยรอบฝาตะแกรงจะต้องสามารถปรับระดับได้ตดิ ตัง้ ประกอบ
กับทีด่ กั กลิน่ แบบ P-Trap ชนิดทําด้วยเหล็กหล่อสําหรับในพืน้ ชัน้ ล่างหรือชัน้ อื่นๆ ทีไ่ ม่สะดวกทีจ่ ะทําการบํารุงรักษาจาก
ด้านล่างให้ใช้แบบ Bell Trap
2.5 หากแบบไม่ระบุเป็ นอย่างอื่นให้ดาํ เนินการดังนี้ นํ้าทิง้ จากโรงครัว โรงอาหารจะต้องมีทด่ี กั ขยะ–ไขมัน
2.6 กรณีแบบไม่ระบุทด่ี กั กลิน่ ของอ่างล้างหน้าทีเ่ ป็ นอ่างเคลือบให้ใช้คอห่านแบบ P-Trap ทําด้วยทองเหลือง
ชุบโครเมีย่ ม สําหรับทีด่ กั กลิน่ ของอ่างสแตนเลส เช่น อ่างครัว หรือ Pantry ใช้ทด่ี กั กลิน่ แบบ Bottle Trap ประกอบกับ
ตะกร้าดักขยะแบบใหญ่ ทําด้วย PVC หรือ PE สําหรับทีด่ กั กลิน่ ของอ่างของห้องทดลองให้ทด่ี กั กลิน่ ของอ่างของ
ห้องทดลองใช้ทด่ี กั กลิน่ แบบ Bottle Trap ทําด้วย พี.พี. (Poly Propylene)
2.7 ฐานของท่อในแนวดิง่ ท่อส้วม ท่อนํ้าฝนและท่อนํ้าทิง้ จะต้องมีฐานรองรับท่อทีเ่ ดินในแนวดิง่ ด้วยคอนกรีต
และก่ออิฐ หรือด้วยเหล็กยึดติดกับอาคาร หรือด้วยวิธอี ่นื ๆ ทีค่ ณะกรรมการตรวจจ้างเห็นชอบ
2.8 ท่อระบายนํ้าในแนวระดับจะต้องวางโดยมีความลาดเอียงไม่น้อยกว่า 1 : 200 ในกรณีทไ่ี ม่อาจปฏิบตั ิ
ดังกล่าวได้ จะต้องวางท่อโดยมีความลาดเอียงพอทีน่ ้ําจะไหลด้วยความเร็วไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรต่อวินาที
2.9 ท่อส้วม ท่อนํ้าทิง้ และท่อระบายอากาศ หากแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ถอื
ปฏิบตั ดิ งั นี้
2.9.1 ท่อส้วม ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) รับส้วมได้ไม่เกิน 6 ทีน่ งั ่ ถ้ารับส้วมเกิน
กว่า 6 ทีน่ งให้
ั ่ ใช้ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว)
2.9.2 ท่อปสั สาวะ ท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 65 มิลลิเมตร (2 ½”) รับทีป่ สั สาวะไม่เกิน 3 ที่
2.9.3 ท่อนํ้าทิง้ ท่อทัวไปแต่
่ ละจุดทีเ่ ดินใต้พน้ื ห้องนํ้า ใช้ท่อขนาดดังต่อไปนี้
(1) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 50 มิลลิเมตร (2”) รับอ่างนํ้าทิง้ หรือรูระบายนํ้าทิง้ ทีพ่ น้ื ไม่เกิน 2 ที่
(2) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 80 มิลลิเมตร (3”) รับอ่างนํ้าทิง้ หรือรูระบายนํ้าทิง้ พืน้ ทีไ่ ม่เกิน 12 ที่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 334 of 521

(3) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 100 มิลลิเมตร (4”) รับอ่างนํ้าทิง้ หรือรูระบายนํ้าทิง้ พืน้ ทีไ่ ม่เกิน 25 ที่
2.9.4 ท่อระบายอากาศทีต่ ่อจากท่อส้วมขนาด Ø6” ต้องมีขนาดท่อระบายอากาศไม่เล็กกว่า 2 ½ ”
2.9.5 ท่อระบายอากาศทีต่ ่อจากท่อส้วมขนาด Ø 4” ต้องมีขนาดท่อระบายอากาศไม่เล็กกว่า 2”
2.9.6 ท่อระบายอากาศทีต่ ่อกับส้วม หรือท่อนํ้าทิง้ จะต้องต่อเข้ากับส่วนบนของท่อเหนือระดับนํ้าสูงสุดของ
เครื่องสุขภัณฑ์ทร่ี ะบายนํ้าลงสูท่ อ่ ดังกล่าว เป็ นท่ออากาศแนวดิง่ ไม่น้อยกว่า 100 มิลลิเมตร ก่อนทีจ่ ะเป็ นทิศทางของท่อ
อากาศเป็ นแนวระดับหรือก่อนทีจ่ ะต่อเข้ากับท่อระบายอากาศรวม
2.9.7 ในกรณีทห่ี ลังคานัน้ ต้องการใช้เพื่อวัตถุประสงค์อย่างอื่นด้วย ท่อระบายอากาศจะต้องโผล่เหนือ
หลังคาไม่น้อยกว่า 1 เมตร
2.9.8 ท่อระบายอากาศทีโ่ ผล่เหนือหลังคานัน้ จะต้องไม่ทาํ ให้หลังคารัวซึ ่ มได้ และปลายของท่อจะต้องไม่
ระบายอากาศเข้าสูอ่ าคารหรือใกล้ประตู หน้าต่างหรือช่องลมของอาคารนัน้ หรืออาคารอื่น
2.9.9 ท่อระบายอากาศต้องต่อให้ออกไปนอกอาคาร ปลายโผล่พน้ ชายคาลักษณะเป็ นข้อต่อสามทางและมี
ข้องอควํ่า เพื่อกันฝนพร้อมติดตะแกรงตาถีก่ นั แมลง
2.10 ท่อระบายนํ้าฝนหากรูปแบบและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น ให้ต่อท่อระบายนํ้าฝนจากราง
ระบาย นํ้าฝนของอาคารลงบ่อพัก ค.ส.ล. ขนาดภายใน 0.60x0.60 เมตร ชัน้ พืน้ ดินแล้วระบายออกไปทีร่ างระบายนํ้า
ภายนอกอาคาร
2.11 หากแบบรูปและรายการละเอียดมิได้ระบุไว้เป็ นอย่างอื่นให้ต่อท่อระบายนํ้าฝนจากรางระบายนํ้าฝนของ
อาคารลงบ่อ
พัก ค.ส.ล. ขนาดภายใน 0.60x0.60 เมตร แล้วระบายออกไปทีร่ างระบายนํ้ารอบอาคารด้วยท่อ Cement เส้นผ่านศูนย์กลาง
0.30 เมตร
2.12 หากแบบแปลนมิได้กาํ หนดขนาดรางระบายนํ้ารอบอาคารไว้เป็นแบบแปลนหรือรายละเอียดอื่นๆ ให้ผรู้ บั
จ้างทํารางระบายนํ้ารอบอาคารเป็ น ค.ส.ล. กว้างภายใน 0.25 เมตร ลึก 0.30 เมตร ฝาปิ ด ค.ส.ล. หรือตะแกรงเหล็ก
โดยรอบอาคารและต่อท่อระบายนํ้าลงบ่อพักท่อระบายนํ้า ตําแหน่งทีอ่ ยู่ใกล้อาคารและเหมาะสมทีส่ ดุ ทีค่ ณะกรรมการ
กําหนดให้
2.13 การฝงั ท่อและตําแหน่งข้อต่อสําหรับอ่างล้างมือ โถปสั สาวะ โถส้วม ต้องได้ระดับ

จบหมวดที่ 58

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 335 of 521

หมวดที่ 59
ระบบบาบัดน้าเสีย

รายละเอียดระบบบําบัดนํ้าเสีย
1. ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการติดตัง้ ระบบบําบัดนํ้าเสียให้ใช้งานได้อย่างสมบูรณ์แบบตามรูปแบบรายการทีก่ าํ หนดไว้
2. ถังบําบัดนํ้าเสียทีต่ ดิ ตัง้ ต้องได้มาตรฐานผูผ้ ลิต
3. ถังเก็บนํ้าพลาสติกเสริมใยแก้ว (มอก.435-2548) HT-70 UG/ A-5000
4. ถังเก็บนํ้าพลาสติก (มอก.1379-2551)
การติดตัง้ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานและคําแนะนําของผูผ้ ลิต ผลิตภัณฑ์ของPREMIER PRODUCTS หรือ กะรัต หรือ
ไฮเคลียร์ หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. ระบบบําบัดนํ้าเสีย
งานถังบําบัดนํ้าเสีย
ถังบําบัดนํ้าเสียรุ่น PREMIER PRODUCTS AMC-40
หรือ บําบัดนํ้าเสียรุ่น กะรัต
หรือ บําบัดนํ้าเสียรุ่น ไฮเคลียร์
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. ระบบถังดักไขมันGREASE TRAP ผลิตภัณฑ์พรีเมียร์หรือเทียบเท่า AMX -18-3-1200

จบหมวดที่ 59

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 336 of 521

หมวดที่ 60
ระบบกาจัดขยะ

จัดให้มพี น้ื ทีว่ างถังขยะ จํานวน 2 ถัง บริเวณภายนอกอาคาร โดยต้องให้ง่ายต่อการจัดเก็บและไม่มกี ลิน่ รบกวน

จบหมวดที่ 60

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 337 of 521

งานระบบน้าร้อน
หมวดที่ 61

รายละเอียดข้อกาหนดทางด้านเทคนิ ค เครื่องทาน้าร้อนสาหรับโรงแรม
AIR TO WATER HEAT PUMP
1. เครื่องทํานํ้าร้อน แบบ AIR TO WATER HEAT PUMP ผลิตนํ้าร้อน ทีอ่ ุณหภูมิ 60-650C ใช้ R-134a เป็ น
สารทําความเย็นไม่ทาํ ลายโอโซน และ นําเอาอากาศเย็นจากพัดลมไปใช้งานในห้องเครื่องต่างๆ ภายในเครื่อง
ประกอบด้วยอุปกรณ์หลัก COMPRESSOR , ชุดพัดลมและมอเตอร์, EVAPORATOR COIL , HOT WATER HEAT
EXCHANGER พร้อมทัง้ อุปกรณ์วาวล์ต่างๆ และ ชุด THEMOSTAT ควบคุมอุณหภูมิ นํ้าร้อน
2. สภาวะการใช้งานเครื่อง HOT WATER UNIT (HEAT PUMP)
- อุณหภูมนิ ้ําร้อน เข้า/ออก เครื่อง 30/60 OC
- อุณหภูมอิ ากาศเข้าเครื่อง 15-45 OC
- อุณหภูมนิ ้ําร้อนปรับตัง้ ค่าได้ถงึ 60-65 OC
- อุณหภูมอิ ากาศเข้าเครื่องสูงสุด โดยเครื่องยังสามารถใช้งานได้ตามปกติ 45 OC
- อุณหภูมอิ ากาศเข้าเครื่องตํ่าสุด โดยเครื่องยังสามารถใช้งานได้ตามปกติ 15 OC
3. โครงสร้างของเครื่อง โครงเครื่องและผนังใช้ เหล็กกล้า เคลือบด้วยสีฝ่นุ หรือ STAINLESS STEEL
4. คอมเพรสเซอร์ (COMPRESSOR) เป็ นแบบ SCROLL HERMETIC TYPE COMPRESSOR ใช้กบั สาร
ทําความเย็น R-134a
5. คอยล์เย็น (EVAPORATOR COIL) ทําจากท่อทองแดงแบบไร้ตะเข็บ (SEAMLESS COPPER TUBE) ยึด
ติดกับครีบอลูมเิ นียม (ALUMINIUM FINS) และเคลือบสารกันการกัดกร่อน
6. เครื่องแลกเปลีย่ นนํ้าร้อน (HOT WATER HEAT EXCHANGER) เป็ นแบบ PLATE STAINLESS GRADE
316S ทีท่ นต่อการกัดกร่อนหรือตะกรัน และมีประสิทธิภาพสูงในการแลกเปลีย่ นความร้อนสูง
7. วงจรนํ้ายา (REFRIGERANT CIRCUIT) สามารถใช้งานได้ช่วงอุณหภูมอิ ากาศเข้าเครื่อง 15OC - 45 OC
และสามารถทําอุณหภูมนิ ้ําร้อนออกจากเครื่องได้อุณหภูมสิ งู สุดที่ 60-65OC โดยการทํางานของเครื่องจะถูกควบคุมจาก
THERMOSTAT สารทําความเย็นทีใ่ ช้ในเครื่องเป็ นนํ้ายา R-134a ซึง่ เหมาะต่อการใช้งานกับเครื่อง HOT WATER UNIT
(HEAT PUMP) เพื่อผลิตนํ้าร้อน และไม่ทาํ ลายโอโซน อุปกรณ์ในวงจรนํ้ายาประกอบด้วย SIGHT GLASS, FITER
DRYER, EXPANSION VALVE และ RECEIVER TANK , มี DEFROST STAT เพื่อป้องกันไม่ให้ EVAPORATOR
COIL เป็ นนํ้าแข็งช่วงอุณหภูมภิ ายนอกเครื่องตํ่าๆ
8. ใบพัดลม (FAN BLADE) พัดลมเป่าลม เป็ นแบบ PROPELLER or CENTRIFUGAL FAN ติดตัง้ มาพร้อม
กับ MOTOR , CLESS F IP 44 (IP55 OPTION)
9. ถังเก็บความร้อน
HOT WATER TANK TANK 3,000 Liter
(1) Outer casing
Dimensions 1.2x2.2m
Water Capacity 2500 liter

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 338 of 521

Sus 304#,thickness 0.5mm


Rock Wool/PU Foam Thickness 50mm
Steel SS400 Epoxy Coating #,thickness 0.6mm
To be smaller than 2-3 kg
1” PT B thread inlet/outlet
HOT WATER TANK 3,000 Liter
DIMENSIONS : 1.2 x 2.7 m.
WATER CAPACITY : 3,000 Liter
OUTER CASING : Sus 304#,thickness 0.5mm
INSULATING : Rock Wool/PU Foam Thickness 50mm
INNER TANK MATERIAL : Steel SS400 Epoxy Coating #,thickness 0.6mm
PIPING DIAMETER : 1 1/2” PT B thread inlet/outlet
MAX OPERATIONS PRESSURE : 6 kg/cm²
TEST PRESSURE : 10 kg/cm²
COLD WATER INLET PRESSURE : To be smaller than 2-3 kg/cm²
SAFT VALVE PRESSURE : 10 kg/cm²

ข้อมูลทีก่ าหนด
UNIT NO. HP1 – HP2
HEAT PUMP CAPACITY kW 30
STORAGE TANK L 3,000
ELECTRICAL POWER kW 7-8.5

10. เครื่องสูบนํ้าร้อนหมุนเวียน (HWRP 1-2) เป็ นชนิดใช้กบั นํ้าร้อน ตัวเรือนและใบพัดเป็ นสแตนเลส สามารถ
สูบส่งนํ้าได้ 120 ลิตร / นาที ทีค่ วามสูง 10 เมตร
11. ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียดพร้อมรายการคํานวณส่งขออนุมตั กิ ่อนการติดตัง้

จบหมวดที่ 61

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 339 of 521

งานระบบปรับอากาศ
หมวดที่ 62
ข้อกาหนดทัวไป

1. บทนํา
1.1 ผูว้ ่าจ้างมีความประสงค์จะว่าจ้างจัดหาพร้อมติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ สําหรับงานวิศวกรรมระบบประกอบ
อาคาร ตลอดจนระบบงานอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ นสําหรับการใช้งานของโครงการก่อสร้างอาคารให้แล้วเสร็จอย่างสมบูรณ์ตาม
รายละเอียดทีร่ ะบุ หรือแสดงไว้ในแบบและรายละเอียดประกอบแบบนี้ทุกประการ
1.2 วัสดุและอุปกรณ์ตลอดจนการติดตัง้ ระบบต่างๆ ตามข้อกําหนด ต้องมีความเหมาะสมกับการใช้งานภายใต้
สภาพภูมอิ ากาศดังต่อไปนี้
(1) ความสูงใกล้เคียงระดับนํ้าทะเลปานกลาง
(2) อุณหภูมสิ งู สุดเฉลีย่ 96 องศาฟาเรนไฮท์
(3) อุณหภูมเิ ฉลีย่ ต่อปี 86 องศาฟาเรนไฮท์
(4) ความชืน้ สัมพัทธ์สงู สุดเฉลีย่ 79 เปอร์เซ็นต์
(5) ความชืน้ สัมพัทธ์เฉลีย่ ต่อปี 55 เปอร์เซ็นต์
ถ้ามิได้กาํ หนดเป็ นอย่างอื่น สภาวะทีใ่ ช้เป็ นข้อมูลในการออกแบบทางงานวิศวกรรมระบบปรับอากาศมีดงั ต่อไปนี้
(1) อุณหภูมอิ ากาศภายนอก 90°db/83°Fwb
(2) อุณหภูมภิ ายในห้องปรับอากาศโดยทัวไป ่ 75±2°F
(3) ความชืน้ สัมพันธ์ในห้องปรับอากาศโดยทัวไป ่ 55±5°F
1.3 การทดสอบเครื่องและระบบ
1.3.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําตารางแผนแสดงกําหนดการทดสอบเครื่องและระบบ รวมทัง้ จัดเตรียมเอกสาร
แนะนําจากผูผ้ ลิตในการทดสอบ (OPERATION MANUAL) เสนอผูค้ วบคุมงานก่อนทําการทดสอบ
1.3.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการทดสอบเครื่องและระบบตามหลักวิชาและข้อกําหนด โดยมีผแู้ ทน เจ้าของ
โครงการอยู่ร่วมขณะทดสอบด้วย
1.3.3 ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการโดยทันทีทไ่ี ด้รบั แจ้งจากเจ้าของโครงการให้เปลีย่ น หรือแก้ไขเครื่องอุปกรณ์
ตามสัญญารับประกัน มิฉะนัน้ เจ้าของโครงการสงวนสิทธิ ์ ทีจ่ ะจัดหาผูอ้ ่นื มาดําเนินการ โดยค่าใช้จ่ายทัง้ สิน้ ผูร้ บั จ้างต้องเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบ

2. การบริการ
2.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมช่างผูช้ าํ นาญในแต่ละระบบไว้สาํ หรับตรวจสอบซ่อมแซม และบํารุงรักษาอุปกรณ์ ให้
อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี เป็ นประจําทุกเดือน เป็ นระยะเวลา 1 ปี โดยผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารายงานผลการตรวจสอบเครื่อง
อุปกรณ์ระบบ และการบํารุงรักษา เสนอเจ้าของโครงการภายใน 7 วันนับจากวันตรวจสอบทุกครัง้
2.2 หลังจากทีอ่ าคารได้เปิ ดดําเนินการแล้วเป็ นเวลา 3 เดือน ผูร้ บั จ้างต้องจัดเจ้าหน้าทีเ่ ข้ามาทําการปรับแต่ง
ระบบนํ้าเย็น (CHILLED WATER) และระบบส่งลมเย็นทัง้ หมด เพื่อให้อยู่ในสภาพทีเ่ หมาะสมกับการใช้งาน และความ
ต้องการของผูใ้ ช้งาน โดยค่าใช้จา่ ยต่างๆ ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
จบหมวดที่ 62

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 340 of 521

หมวดที่ 63
เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกส่วน (SPLIT TYPE SYSTEM)

1. เครือ่ งปรับอากาศแบบแยกส่วน (SPLIT TYPE SYSTEM)


1. ความต้องการทัวไป ่
1.1 เครื่องปรับอากาศชุดหนึ่งๆ ประกอบด้วยเครื่องระบายความร้อน (CONDENSING UNIT) ซึง่ ใช้ค่กู นั
กับเครื่องเปา่ ลมเย็น (FAN COIL UNIT) ทัง้ ชุดประกอบมาเสร็จเรียบร้อยจากโรงงาน โดยทีเ่ ครือ่ งระบายความร้อนเป็ นแบบ
ระบายความร้อนด้วยอากาศ (AIR COOLED CONDENSING UNIT) ซึง่ เมื่อใช้ค่กู บั เครื่องเปา่ ลมเย็นตามทีผ่ ผู้ ลิตแนะนํา
และมีหลักฐานยืนยันแล้ว จะต้องสามารถทําความเย็นรวม (MATCHING CAPACITY) ได้ตามข้อกําหนดในรายการอุปกรณ์
ทีส่ ภาวะอากาศก่อนเข้าคอยล์เย็น (COOLING COIL) 80°Fdb, 67°FwB และอากาศก่อนเข้าคอยล์รอ้ น (CONDENSER
COIL) ทีอ่ ุณหภูมิ 95°Fdb, 83°Fwb อุณหภูมนิ ้ํายาทางด้านดูดกลับ (SATURATED SUCTION TEMPERATURE) ไม่เกิน
45°F ระบบไฟฟ้า 380V./3 PH/50 HZ. หรือ 220 V./1 PH/50 HZ ตามทีก่ าํ หนดในแบบ
1.2 ต้องใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้การรับรองคุณภาพตามมาตรฐานเครื่องปรับอากาศสําหรับห้อง แบบแยกส่วน
ระบายความร้อนด้วยอากาศ (มอก.1155-2536) และ/หรือข้อกําหนดฉลากเขียวสําหรับเครื่องปรับอากาศ (TGL-7-R1-03)
2. เครื่องระบายความร้อน (CONDENSING UNIT)
เป็ นแบบเปา่ ลมร้อนขึน้ ด้านบนหรือด้านข้าง ประกอบด้วย COMPRESSOR เป็ นแบบ WELDED SHELL HERMETIC
TYPE, SEMI-HERMETIC TYPE, ROTARY TYPE หรือ SCROLL TYPE SINGLE OF DUAL DIRCUITS OF
REFRIGERATION ใช้กบั ระบบนํ้ายา REFRIGERANT-22 ใช้กบั ระบบไฟฟ้า 380 โวลต์ 3 เฟส 50 เฮิรต์ หรือ 220 โวลต์
1 เฟส 50 เฮิรต์ ตามทีก่ าํ หนดในแบบ โดยห้ามกําหนดการดัดแปลงหรือใช้หม้อแปลง แปลงแรงดันไฟฟ้าอีกทีหนึ่ง
รายละเอียดอื่นๆ มีดงั นี้
2.1 COMPRESSOR แต่ละชุดต้องติดตัง้ อยู่บนฐานทีแ่ ข็งแรง และมีลกู ยางกันกระแทกรองรับ
สําหรับเครื่องปรับอากาศชนิด VRF คอมเพรสเซอร์ตอ้ งมีชุด Inverter ควบคุมการเปลีย่ นความเร็วรอบของมอเตอร์
หรือแบบใช้วาล์วปรับปริมาณนํ้ายาของระบบ ระบายความร้อนด้วยนํ้ายา และทีม่ อเตอร์มอี ุปกรณ์ป้องกันในกรณีท่ี
เกิดความร้อนสูงเกินเกณฑ์ ในกรณีทค่ี อนเดนซิง่ ยูนิต ชนิด VRF มีขนาดทําความเย็นเกินกว่า 72,000 Btu/Hr ให้มี
จํานวนคอมเพรสเซอร์ตงั ้ แต่ 2 ชุดขึน้ ไป
2.2 ตัวถังเครื่องระบายความร้อน ทําด้วยเหล็กอาบสังกะสีหรือเหล็กดํา พ่นสีกนั สนิม และสีภายนอกอย่าง
ดี ซึง่ ทนทานต่อสภาพแวดล้อมภายนอกอาคาร
2.3 พัดลมระบายความร้อนเป็ นแบบ PROPELLER TYPE หรือ CENTRIFUGAL ขับด้วยมอเตอร์ชนิด
WEATHER PROOF ใช้กบั ระบบไฟ 220 โวลต์ 1 เฟส 50 เฮิรต์
2.4 แผงระบายความร้อน (CONDENSER COIL) ทําด้วยท่อทองแดง มีครีบระบายความร้อนทําด้วย
ALUMINUM ชนิด PLATE FIN TYPE อัดติดแน่นกับท่อด้วยวิธกี ล จํานวนครีบระบายความร้อนไม่น้อยกว่า 13 ครีบต่อนิ้ว
(13 FIN/INCH)
2.5 อุปกรณ์อ่นื ๆ ในเครื่องระบายความร้อนมีดงั นี้
(1) THERMAL OVERLOAD PROTECTION FOR COMPRESSOR
(2) OVER LOAD PROTECTION FOR FAN MOTER
(3) COMPRESSOR CONTACTOR
(4) HIGH PRESSURE SWITCH

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 341 of 521

(5) LOW PRESSURE SWITCH


(6) REFRIGERANT FILTER DRIER
(7) SIGHT GLASS
(8) SUCTION LINE SHUT-OFF VALVES
(9) LIQUID LINE SHUT-OFF VALVES
(10) HOT GAS LINE SHUT-OFF VALVE (สําหรับเครื่องขนาดตัง้ แต่ 3 ตันความเย็นขึน้ ไป)
(11) REFRIGERANT CHARGING PORT
(12) TIME DELAY RELAY
(13) CRANKCASE HEATER (สําหรับเครื่องขนาดตัง้ แต่ 3 ตันความเย็นขึน้ ไป)
3. เครื่องเปา่ ลมเย็น (FAN COIL UNIT)
3.1 เครื่องเปา่ ลมเย็นแต่ละชุด สามารถส่งลมเย็นได้ไม่น้อยกว่าจํานวนลมทีร่ ะบุไว้ในแบบ และรายการ
อุปกรณ์
3.2 พัดลมเปา่ ลมเย็นเป็ นแบบ CENTRIFUGAL BLOWER ลมเข้าได้ 2 ทาง (DWDI) พัดลมตัวเดียว
หรือสองตัวตัง้ อยู่บนชาฟท์เดียวกัน มอเตอร์ขบั พัดลมทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า 1 แรงม้าขึน้ ไป ต้องมีเครื่องช่วยสตาร์ทแบบ
DIRECT-ON-LINE STARTER หรือตามทีก่ าํ หนดในแบบ
3.3 มอเตอร์ขบั พัดลมแบบ DIRECT-DRIVE หรือผ่านสายพาน มู่เลย์ ตัวขับเป็ นแบบปรับความเร็ว
สายพานได้ตวั พัดลม จะต้องได้รบั การตรวจหรือปรับทางด้าน STATICALLY และDYNAMICALLY BALANCED มาแล้ว
จากโรงงานผูผ้ ลิต
3.4 ตัวถังเครื่องเปา่ ลมเย็น ทําด้วยเหล็กอาบสังกะสี หรือเหล็กดําพ่นสีกนั สนิม และสีภายนอกอย่างดี
ภายในตัวเครื่องบุดว้ ยฉนวน NEOPRENE COATED FIBER-GLASS ถาดรองนํ้าทิง้ บุดว้ ยฉนวนกันความร้อน ประกอบมา
พร้อมเรียบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิต
3.5 แผงคอยล์เย็นเป็ นแบบ DIRECT EXPANSION COIL ทําด้วยท่อทองแดง มีครีบระบายความร้อน
ทําด้วยอลูมเิ นียม PLATE FIN TYPE อัดติดแน่นกับท่อด้วยวิธกี ล และแผงคอยล์เย็นแต่ละชุด จะต้องสามารถจ่ายความ
เย็นได้ตามขนาดของเครื่องระบายความร้อนแต่ละชุดตามข้อตกลง
3.6 อุปกรณ์ประกอบของเครื่องเปา่ ลมเย็นมีดงั ต่อไปนี้
(1) THERMOSTATIC EXPANSION VALVE SOLENOID VALVE (เฉพาะสําหรับเครื่องขนาดตัง้ แต่ 3 ตันความเย็น
ขึน้ ไป)
(2) CAPILLARY TUBE (อาจใช้สาํ หรับเครื่องขนาดตัง้ แต่ 3 ตันความเย็นลงมา)
(3) OVERLOAD PROTECTION FOR FAN MOTOR
(4) DRAIN AND DRAIN PAN
(5) INCH THICK CLEANABLE TYPE AIR FILTER (ALUMINIUM TYPE)
4. การติดตัง้ ระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน (SPLIT TYPE SYSTEM)
4.1 การติดตัง้ ระบบปรับอากาศให้เป็นไปตามแบบ สํารับเครื่องเปา่ ลมเย็น การติดตัง้ อาจเคลื่อนย้ายจุด
ติดตัง้ ได้ตามความเหมาะสม และความเห็นชอบของผูค้ มุ งาน การติดตัง้ เครื่องระบายความร้อน ให้รองรับทุกเครื่องด้วย ขา
เหล็กมีลกู ยางกันกระเทือนรองรับ ชิน้ ส่วนทีเ่ ป็ นเหล็กให้ทาสีกนั สนิม และทาสีภายนอกอีกชัน้ หนึ่ง
4.2 การติดตัง้ สวิทซ์ปิด-เปิ ด และเครื่องควบคุมอุณหภูมิ (THERMOSTAT) ให้ตดิ ตามจุดทีก่ าํ หนดให้ใน
แบบหรือรายการ ในกรณีทม่ี อี ุปสรรคเกีย่ วกับโครงสร้างของอาคาร ทําให้ไม่สามารถติดตัง้ ได้ตามจุดทีก่ าํ หนดในแบบ ผูค้ ุม
งานจะเป็ นผูก้ าํ หนดให้ใหม่เวลาทําการติดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 342 of 521

4.3 การติดตัง้ เครื่องลมเย็นให้มี VIBRATION INSULATORS รองรับเพื่อป้องกันการสันสะเทื ่ อน การ


ติดตัง้ ระบบปรับอากาศ ให้คาํ นึงถึงเรื่องเสียงเป็ นสําคัญด้วย โดยเมื่อเดินเครื่องปรับอากาศจะต้องมีเสียงดังน้อยทีส่ ดุ
5. ระบบท่อนํ้ายา (REFRIGERANT SYSTEM)
5.1 ระบบท่อนํ้ายาใช้ท่อทองแดง (COPPER TUBE HARD DRAWN TYPE L) ท่อ SUCTION หุม้
ฉนวน CLOSED CELL FOAM PLASTIC หนาไม่ต่าํ กว่า 20 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว) หรือตามทีร่ ะบุในแบบ ท่อนํ้ายา
SUCTION และ LIQUID ให้เดินแยกจากกันโดยมี CLAMP รัดทุกๆ ระยะทีห่ ่างกันไม่เกิน 2.5 เมตร ฉนวนหุม้ ท่อส่วนทีร่ ดั
CLAMP ให้สอดแผ่นสังกะสีกว้างไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร (4 นิ้ว) หุม้ รอบฉนวนก่อนรัด CLAMP
5.2 การเดินท่อนํ้ายาจะต้องเดินขนานหรือตัง้ ฉากกับอาคาร ท่อส่วนทีเ่ จาะทะลุตวั อาคารให้ใส่ PIPE
SLEEVES ทุกแห่ง และอุดช่องว่างด้วยวัสดุกนั นํ้า ท่อนํ้ายา และท่อสายไฟทีเ่ ดินทะลุขน้ึ ไปบนดาดฟ้า ให้ทาํ ฝาครอบ หรือ
ก่ออิฐ ช่องทีท่ ่อทะลุขน้ึ ไปเพื่อกันฝน ท่อทัง้ หมดทีเ่ ดินบนดาดฟ้า ให้รองรับด้วยเหล็กตัว C ขนาด 75x45x15x2.3 มิลลิเมตร
โดยเหล็กรับดังกล่าวต้องอยูห่ ่างกันไม่เกิน 2.5 เมตร ความยาวของเหล็กรองรับต้องมากพอทีจ่ ะรับ CLAMP ยึดท่อทัง้ หมด
ได้
6. ระบบควบคุม (CONTROL SYSTEM)
6.1 สวิทช์ปิด-เปิ ด เครื่องปรับอากาศขนาดเกิน 5 ตัน แต่ละชุดให้ใช้เป็ นแบบ PUSH BUTTON
SWITCH พร้อมด้วยหลอดสัญญาณ (PILOT LAMP) ชนิด NEON TYPE แต่ละหลอดเพื่อแสดงเมื่อมอเตอร์ของเครื่องเปา่
ลมเย็นทํางาน และเครื่องระบายความร้อนทํางาน ตามลําดับ ส่วนเครื่องปรับอากาศขนาด 5 ตัน และตํ่ากว่าการปิ ด-เปิ ด
เครื่องปรับอากาศให้ปิด-เปิ ด โดยใช้สวิทซ์ทต่ี ดิ ตัง้ มากับเครื่องทีม่ าจากโรงงาน
6.2 ระบบควบคุมใช้ระบบไฟฟ้า 24 โวลต์ รายละเอียดเป็ นไปตามทีบ่ ริษทั ผูผ้ ลิตเครื่องปรับอากาศ
กําหนด เครื่องควบคุมอุณหภูมิ (THERMOSTAT) จะต้องมีสว่ นทีต่ งั ้ อุณหภูมซิ ง่ึ ล็อคได้พร้อมกับ THERMOMETER แสดง
อุณหภูมอิ ยูใ่ นตัวเครื่องเย็นเดียวกัน ติดตัง้ ตามจุดทีก่ าํ หนดระบบปรับอากาศ ต้องมีระบบควบคุมเชื่อมโยงกัน
(INTERLOCKING SYSTEM) ระหว่างเครื่องระบายความร้อน และเครื่องเปา่ ลมเย็น เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องระบายความ
ร้อนทํางาน เมื่อมอเตอร์พดั ลมเปา่ ลมเย็นไม่ทาํ งาน หรือเครื่องระบายความร้อนทํางานก่อนเครื่องเปา่ ลมเย็นในวงจรควบคุม
จะต้องมีการใส่ฟิวส์ไว้ดว้ ย
7. ท่อนํ้าทิง้ (CONENSATE DRAIN PIPING)
7.1 ท่อนํ้าทิง้ จากเครื่องปรับอากาศ ให้ใช้ท่อ PVC CLASS 8.5 ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม
มอก.17-2532 อุปกรณ์ขอ้ ต่อท่อจะต้องใช้ชนิดทีม่ คี วามหนาตามประเภทท่ออื่นทีใ่ ช้ และใช้น้ํายาต่อท่อตาม คําแนะนําของ
ผูผ้ ลิต
7.2 ท่อระบายนํ้าทิง้ จากเครื่องปรับอากาศต้องมี TRAP และลาดเอียงไปทางปลายทาง ไม่น้อยกว่า 1 ต่อ
100
7.3 ท่อนํ้าทิง้ ซึง่ ติดตัง้ อยูใ่ นห้องปรับอากาศไม่ตอ้ งหุม้ ฉนวน ส่วนท่อนํ้าทิง้ ซึง่ ติดตัง้ ในส่วนอื่น ซึง่ ไม่ใช่
บริเวณปรับอากาศ ให้หมุ้ ฉนวนทัง้ หมดทัง้ แนวดิง่ และแนวนอน ฉนวนทีใ่ ช้ให้ใช้ชนิดเดียวกับฉนวนท่อนํ้ายา โดยมีความ
หนาของฉนวนไม่น้อยกว่า 1/2 นิ้ว

1. เครือ่ งปรับอากาศระบายความร้อนแบบรวมศูนย์ ชนิ ดปรับปริมาณน้ายาอัตโนมัติ


VARIABLE REFRIGFRIGERANT FLOW (VRF)
2.1 ข้อกําหนดทัวไป

1.1 ผูร้ บั จ้าง ต้องจัดหาเครื่องปรับอากาศพร้อมติดตัง้ เครื่องปรับอากาศ Condensing Unit 1ชุด ใช้งาน
ร่วมกับ Fan Coil Unit ได้หลายชุด ตามทีแ่ สดงในแบบหรือข้อกําหนด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 343 of 521

1.2 เครื่องปรับอากาศ ออกแบบใช้งานกับระบบไฟฟ้า 50 Hz สารทําความเย็น R410A


1.3 เครื่องปรับอากาศทีเ่ สนอมีขนาดทําความเย็นไม่น้อยกว่าตามทีร่ ะบุในแบบ หรือข้อกําหนด
1.4 เครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนชนิดระบายความร้อนด้วยอากาศแบบรวมศูนย์ เป็ นผลิตภัณฑ์ของ
สหรัฐอเมริกา หรือญีป่ นุ่ หรือ ยุโรป ทีป่ ระกอบจากโรงงานภายในประเทศภายใต้ลขิ สิทธิ ์ (License)
ของผลิตภัณฑ์ต่างประเทศนัน้ ๆ ซึง่ จะต้องมีเอกสารมาแสดงและจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ยห่ี อ้ เดียวกัน
ทัง้ งาน
1.5 เครื่องปรับอากาศทีเ่ สนอต้องมีFUNCTION COOLING และ HEATING MODE
1.6 สภาวะอากาศเข้าคอยส์เย็น (Cooling Coil) ปริมาณตามทีก่ าํ หนดที่ 27 ° ,19.5 ° อากาศก่อนเข้า
คอยส์รอ้ น (Condenser Coil) ทีอ่ ุณหภูมิ 35 °
2.2 เครื่องระบายความร้อน (Condenser Unit)
แต่ละชุดต้องประกอบและทดสอบเรียบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิต มีขนาดทําความเย็นในการเป็ นแบบชุด
เดียว หรือหลายชุดทีส่ ามารถเพิม่ ขนาดทําความเย็นโดยการเชื่อมต่อติดตัง้ หรือท่อสารทําความเย็น ทังนี้
เครื่องระบายความร้อนแต่ละชุด มีคุณสมบัตไิ ม่ต่ํากว่ามาตรฐานกําหนดดังต่อไปนี้
2.2.1 Casing ทําด้วยเหล็กอาบสังกะสี หรือโลหะอื่นๆทีส่ ามารถป้องกันสนิมตามมาตรฐานของโรงงาน
ผูผ้ ลิต มีความแข็งแรงพอทีจ่ ะรับนํ้าหนัก และแรงสันสะเทื
่ อนจากการทํางานของคอมเพรสเซอร์
คอยล์ระบายความร้อน และพัดลม
2.2.2 Compressor แต่ละ Condensing Unit เป็ นแบบ DIGITAL Scroll Compressor และทุกๆชุด ต้องมี
Spring Isolatorหรือ Rubber Isolator เพื่อลดการสะเทือน โดยในแต่ละตู้ Condensing Unit ต้อง
ออกแบบให้มกี ารใช้งาน Compressor ชนิด Digital Scroll อย่างน้อย 1 ชุด และทําโหลดได้ตงั ้ แต่
10% - 100%เพื่อประหยัดพลังงานตลอดช่วงของภาระการทําความเย็นต่างๆกัน ต้องไม่ก่อให้เกิด
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า EMC (ELECTROMAGNETIC COMPATIBILITY )
2.2.3 Condenser Coil เป็ นแบบระบายความร้อนด้วยอากาศ ทําด้วยทองแดง ไม่ต่ํากว่า 2แถว เพิม่ พืน้ ที่
การแลกเปลีย่ นความร้อน และครีบระบายความร้อนทําด้วยอลูมเิ นียมเคลือบ Blue Fin ตามมาตรฐาน
ของผูผ้ ลิต
2.2.4 Fan-motor พัดลมเป็ นแบบ Propeller ชนิด Dual Turbo Fan ใบพัด แบบเปา่ ขึน้ ด้านบน พัดลม
จะต้องได้รบั การปรับแต่งจากโรงงาน (Static and Dynamic Balancing)เพื่อมิให้มกี ารสันสะเทื
่ อน
ขณะใช้งาน มอเตอร์ตอ้ งเป็ นชนิด Weather Proof เหมาะกับการใช้งานกลางแจ้ง มีปริมาณลมระบาย
ความร้อนสูงและมีเสียงรบกวนน้อย
2.2.5 ระบบนํ้ายาสําหรับ Condensing Unit เป็ นแบบทีไ่ ด้รบั การปรับสมดุล Oil, Gas,Pressure และ
Distribution เรียบร้อยจากโรงงานผูผ้ ลิตหรือแบบทีส่ ามารถเชื่อมต่อท่อสารทําความเย็น Oil Gas แต่
ละเครื่องเข้าด้วยกันเพื่อเพิม่ ขนาดทําความเย็น
2.2.6 ระดับเสียงไม่เกิน 65 dB(A)
2.2.7 สามารถออกแบบให้Condensing Unit 1 ชุด ใช้งานได้ร่วมกับ Fan Coil Unit ได้สงู สุดไม่น้อยกว่า 64 เครื่อง

3. เครือ่ งเป่ าลมเย็น (Fan Coil Unit)


เป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกับ Condensing Unit ออกแบบให้ใช้งานร่วมกันโดยให้มชี นิดสมรรถนะการทําความเย็น
และจํานวนตามทีร่ ะบุในแบบหรือข้อกําหนด ทังนี้เครื่องเปา่ ลมเย็นแต่ละชุด มีคุณสมบัตไิ ม่ต่ํากว่ามาตรฐาน
กําหนดดังต่อไปนี้คอยล์เย็น (Evaporator Coil) ทําด้วยท่อทองแดงไร้ตะเข็บผิวเรียบมีครีบระบายความร้อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 344 of 521

แบบอัลลอยด์อดั ติดแน่นกับท่อทองแดงด้วยวิธกี ลและจะต้องผ่านการทดสอบการรัวจากโรงงานผู


่ ผ้ ลิตพัดลม
ส่งลมเย็น ใช้กบั มอเตอร์แบบขับโดยตรงแบบหล่อลื่นถาวร สามารถปรับความเร็วได้อย่างน้อย 3 ระดับ ใช้
กับระบบไฟฟ้า 220V/1Ph/50Hz เครื่องควบคุมอุณหภูมRิ oom Thermostat ชนิดไร้สาย หรือ ชนิดมีสาย
Expansion Valve เป็ นแบบ Electronic Expansion Valveเป็ นผลิตภัณฑ์ยห่ี อ้ เดียวกับเครื่องระบายความ
ร้อน (Condensing Unit)ระดับเสียงรบกวนไม่เกิน 48 dB(A)
4. การรับประกัน
4.1 รับประกันคอมเพรสเซอร์อุปกรณ์อ่นื ๆภายในตัวเครื่องปรับอากาศเป็ นระยะเวลา 2 ปี
4.2 ผูร้ บั จ้างต้องมีเอกสารรับรองการมีอะไหล่สาํ รองเป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 5 ปี โดยนับจากวันทีส่ ง่ มอบงาน
เป็ นเอกสารฉบับจริง จากบริษทั ฯ เจ้าของผลิตภัณฑ์ระบุถงึ เจ้าของโคงการโดยตรงแนบมาพร้อมกับเอกสาร
ขออนุมตั ใิ ช้วสั ดุอุปกรณ์
4.3 เครื่องปรับอากาศทีเ่ สนอจะต้องมีศนู ย์บริการของเจ้าของผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆอยู่ในพืน้ ทีเ่ พื่อประโยชน์ของ
เจ้าของโคงการในการบริการหลังการติดตัง้

5. ระบบท่อสารทาความเย็น (Refrigerant Piping System)


ท่อทีใ่ ช้กบั สารทําความเย็น เป็ นท่อทองแดง โดยทีเ่ ครื่องปรับอากาศขนาดทําความเย็นตัง้ แต่ 12,000 -60,000 บีที
ยู/ชัวโมง
่ ให้ใช้ท่อท่อแดงชนิดม้วนหนาเบอร์ 22เครื่องปรับอากาศทีม่ ขี นาดมากกว่า 60,000 บีทยี /ู ชัวโมง
่ ให้ใช้ท่อ
ทองแดงชนิดแข็งหนา L (Copper tube hard drawn type L) สําหรับโดยท่อด้านดูดของคอมเพรสเซอร์(Suction
lines) จะต้องหุม้ ด้วย ฉนวนกันความร้อน ซึง่ มีความหนาไม่น้อยกว่า 1/2 นิ้วท่อทัง้ สองประเภทจะต้องถูกยึดด้วย
อุปกรณ์ยดึ ท่อ (Clamps) ติดกับตัวอาคารทุกความยาวท่อ 2.5 เมตร และในส่วนทีม่ องเห็นให้เดินในราง PVC สีครีม
ขนาดเหมาะสมกับท่อทองแดง แนวการเดินท่อสารทําความเย็น (Refrigerant lines) จะต้องเดินให้แนวท่อขนาน
หรือ ตัง้ ฉากกับตัวอาคาร บริเวณทีท่ ่อของสารทําความเย็นทีเ่ ดินในพืน้ หรือฝาผนังจะต้องมีการฝงั ปลอก (Sleeves)
ไว้ในพืน้ หรือผนัง เพื่อทีจ่ ะเดินท่อลอดผ่านปลอก ส่วนช่องว่าง (Gaps) ทีเ่ หลือในปลอก จะต้องเติมด้วยวัสดุทม่ี ี
ความทนทานกับสภาวะอากาศ(Weather proof materials)
6. ผูร้ บั จ้างต้องขออนุมตั วิ สั ดุ-อุปกรณ์ทร่ี ะบุในรูปแบบและ/หรือรายการประกอบแบบกําหนดก่อนการดําเนินงาน ใดๆ โดย
ส่ง SHOP DRAWING แสดงรูปแบบขนาดตันความเย็น,ตําแหน่งติดตัง้ , ท่อ, วัสดุฉนวน,แคตตาล็อกและอื่นทีเ่ สนอมา เพื่อ
ใช้สาํ หรับติดตัง้ เสนอต่อผูว้ ่าจ้างและผูอ้ อกแบบเพื่อพิจจารณาสรุป ให้ดาํ เนินการติดตัง้ พร้อมวิศวกรควบคุมลงนามรับรอง
และลงวันทีก่ าํ กับบนแบบ SHOP DRAWING ทีเ่ สนอขออนุมตั ทิ ุกแผ่นด้วย

จบหมวดที่ 63

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 345 of 521

หมวดที่ 64
ท่อน้า (PIPLING)

1. การติดตัง้
1.1 การเดินท่อต่างๆ ทีแ่ สดงไว้ในแบบเป็ นเพียงแนวทางในการออกแบบเท่านัน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการ
ตรวจสอบแนวการเดินท่อ วิธกี ารติดตัง้ ระบบท่อให้เหมาะสมกับสภาพการก่อสร้างทีเ่ ป็ นจริง สะดวกและง่ายต่อการเข้าถึง
ในการติดตัง้ และซ่อมบํารุง พร้อมทัง้ ต้องตรวจสอบแบบสถาปนิกโครงสร้างอื่นๆ แล้วจัดหลบหลีกแนวท่อตามทีจ่ าํ เป็ น หาก
เป็ นไปได้ตามแนวท่อจะต้องจัดเดินให้อยูใ่ นแนวขนาน หรือตัง้ ฉากกับกําแพงเนื่องจากเป็ นความประสงค์ของแบบทีไ่ ม่
ต้องการแสดงรายละเอียดการติดตัง้ ไว้ทุกประการจํานวนข้อต่อ การทําจุดยึดหิว้ หรือวาล์วต่างๆ ทีต่ อ้ งทําเพิม่ เติมจากการ
จัดหลบแนวท่อ เพื่อให้ได้ระบบการเดินท่อทีถ่ ูกต้องสมบูรณ์ ตามทีร่ ะบุไว้ในข้อกําหนดอื่นๆ และในแบบไม่เป็ นปญหากั ั บ
งานอื่นๆ เป็ นส่วนของผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบและไม่สามารถคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมจากเจ้าของโครงการได้
1.2 การติดตัง้ ท่อนํ้าจะต้องเป็ นไปโดยถูกต้องโดยการวัดขนาดความยาวแท้จริง ณ สถานทีต่ ดิ ตัง้ เมื่อติดตัง้ ท่อ
แล้วจะต้องไม่เกิดแรงเครียด (STRESS) ภายในท่อ อันอาจจะทําให้ระบบท่อหรืออาคารเสียหายได้
1.3 การติดตัง้ ระบบท่อนํ้า จะต้องปล่อยให้มกี ารยึดและหดตัว โดยไม่เกิดความเสียหายต่อข้อต่อต่างๆ โดยให้
จัดทํา OFFSETS และ LOOPS ตามความเหมาะสมเพื่อใช้รบั การขยายตัวของท่อ
1.4 การต่อท่อเข้ากับอุปกรณ์ต่างๆ และวาล์วต้องเป็ น UNION หรือ FLANGE
1.5 จะต้องไม่มแี นวท่อนํ้าเดินอยู่เหนือแผงไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า หรืออุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์โดยเด็ดขาด
1.6 ผงตะไบ ฝุน่ ต่างๆ จะต้องกวาดออกจากภายในท่อ ผิวภายนอกของท่อเหล็กดําและชิน้ ส่วนทีเ่ ป็นเหล็ก
ทัง้ หมด ต้องทาสีตามรายละเอียดในหมวดการทาสีป้องกันการผุกร่อน และรหัสสี
1.7 การเปลีย่ นแนวทางเดินท่อ เปลีย่ นขนาดต้องใช้ขอ้ ต่อขนาดมาตรฐานเสมอ ท่อแยก (BRANCH) ทีต่ ่อออก
จากท่อเมน (MAIN) ให้ใช้ TEE มาตรฐาน นอกจากท่อแบบเชื่อมขนาด 8 นิ้วและใหญ่กว่า หากท่อแยกมีขนาดไม่เกิน
ครึง่ หนึ่งของท่อเมน ยอมให้ใช้ WELD-O-LET ได้
1.8 ข้องอ (ELBOW) ต้องเป็ นแบบรัศมีกว้าง (LONG RADIUS ELBOW)
1.9 ในกรณีทใ่ี ช้ขอ้ ลด สําหรับท่อในแนวนอน (HORIZONTAL) ให้ใช้ขอ้ ลดเบีย้ ว (ECCENTRIC REDUCER)
โดยติดตัง้ ให้ดา้ นหลังท่ออยู่ในระดับเดียวกัน ด้านลดขนาดอยู่ดา้ นล่างทัง้ ท่อนํ้าส่งและนํ้ากลับ เพื่อไม่ให้อากาศค้างอยู่
ภายใน
1.10 ข้อลดของท่อแบบเกลียว ห้ามใช้แบบลดเหลีย่ ม (BUSHING) ต้องใช้ขอ้ ลดมาตรฐานเท่านัน้
1.11 ติดตัง้ AUTOMATIC AIR VENT พร้อม GATE VALNT และต่อท่อจาก AIR VENT ไปยังจุดนํ้าทิง้ ทีใ่ กล้
ทีส่ ดุ สําหรับบริเวณต่อไปนี้คอื
(1) MAIN HEADER ในห้องทํานํ้าเย็น
(2) จุดบนสุดของท่อ CHILLED WATER RISERS
(3) อื่นๆ ตามทีร่ ะบุในแบบ และทีจ่ าํ เป็ น
1.12 จุดยึดท่อ (CLAMP) ในแนวดิง่ (VERTICAL RISER) และข้อต่อไม่ควรอยู่สงู กว่า 1.50 เมตรจากพืน้ ของแต่
ละชัน้
1.13 จุดตํ่าสุดของท่อแนวดิง่ (RISER) ทุกท่อต้องทํา DIRT PACKET และติดตัง้ DRAIN VALVE ไว้ถ่ายนํ้าทิง้
และ จากวาล์วต่อท่อสัน้ ๆ ขนาดเท่าวาล์วพร้อมมี CAP ปิ ดปลายขนาดของวาล์วถ่ายนํ้าทิง้ ถ้าไม่ได้ระบุในแบบให้ เป็ นดัง
ตาราง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 346 of 521

ขนาดท่อแนวดิง่ ขนาดวาล์วถ่ายนํ้าทิง้
มิลลิเมตร (นิ้ว) มิลลิเมตร (นิ้ว)
เล็กกว่า 100 (4) 20 (3/4)
150-200 (6-8) 25 (1)
250-300 (9-12) 40 ( 1 ½ )
350-400 (13-16) 50 (2)
ใหญ่กว่า 400 (16) 65 (2 ½ )

1.14 ท่อในแนวตรงต้องต่อท่อให้มขี อ้ ต่อน้อยทีส่ ดุ ห้ามใช้เศษท่อต่อกัน


1.15 ท่อระบายนํ้าทิง้ จากเครื่องปรับอากาศต้องมี TRAP และลาดเอียงไปทางปลายทางไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร
(1 นิ้ว) ต่อความยาว 3 เมตร (10 ฟุต) หรือ SLOPE ประมาณ 1 ต่อ 100 หาก SLOPE น้อยกว่า 1 ต่อ 100 ให้เลือก
ขนาดท่อใหญ่ขน้ึ ถัดไป ขนาดท่อทีใ่ ช้ ถ้าไม่ได้ระบุในแบบให้ใช้ขนาดตาม ตารางดังนี้

ขนาดท่อระบายนํ้าทิง้ ขนาดเครื่องปรับอากาศ, ตันความเย็น


มิลลิเมตร (นิ้ว) (ท่อแนวนอน) (ท่อแนวตัง้ )
22 (3/4) 0-2 0–3
25 (1) 2–5 3–8
32 (1 1/4) 5 – 30 8 – 50
40 (1 ½ 30 – 50 50 – 75
50 (2) 50 – 170 75 –250
75 (3) 170 – 300 250 – 400
100 (4) 300 – 430 400 – 600
125 (5) 430 – 600 600 – 900

2. ทีแ่ ขวนและรองรับนํ้าหนักท่อ (HANGER AND SUPPORT)


2.1 ชนิด รูปร่าง วิธกี ารยึดและช่วงระยะระหว่างทีแ่ ขวนหรือรองรับนํ้าหนักท่อ ให้เป็ นไปตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
และรายการ
2.2 การแขวน ยึดท่อ ต้องคํานึงถึงลักษณะการใช้งาน สถานทีต่ ดิ ตัง้ และนํ้าหนักของท่อ นํ้าในท่อรวมทัง้ อุปกรณ์
ทีต่ ดิ ตัง้ บนท่อเป็ นหลักในการพิจารณาเลือกชนิด และขนาดของ HANGER และSUPPORT การยึดกับคอนกรีตเสริมเหล็ก
ให้ใช้ EXPANSION BOLT ห้ามใช้ปืนยิงตะปูยดึ (POWER ACTUATED PIN)
2.3 ท่อในแนวนอนหักงอขึน้ แนวดิง่ ต้องมี SUPPORT รับนํ้าหนักท่อใกล้ขอ้ งอทัง้ ท่อในแนวนอนและแนวดิง่
2.4 ห้ามใช้ SLEEVE เป็ นตัวรองรับนํ้าหนักท่อโดยเด็ดขาด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 347 of 521

2.5 เหล็กแขวน (HANGER ROD) ต้องเป็ นเหล็กเต็มขนาดตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ และรายการอาจเป็นเหล็กเหนียวหรือ


เหล็กชุบสังกะสีกไ็ ด้ การทําเกลียวต้องยาวพอให้ปรับระดับสูง-ตํ่าของท่อได้ โดยมีเกลียวเหลือจากการขันน๊อตปรับระดับ
แล้วไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร (3/4 นิ้ว) และไม่ยาวเกินกว่าระดับตํ่าสุดของ SUPPORT
2.6 หลังจากการติดตัง้ ระบบท่อทัง้ หมด และเติมนํ้าเข้าจนเต็มแล้ว ต้องทําการตรวจสอบและปรับระดับให้ท่ออยู่ในระดับ
ทีถ่ ูกต้อง
3. ปลอกท่อลอด และแผ่นปิ ด (SLEEVE AND ESCUTCHEON)
3.1 ผูร้ บั จ้างต้องติดตัง้ ปลอกท่อลอด (SLEEVE) ก่อนการเทพืน้ คาน และผนังคอนกรีตเสริมเหล็ก รวมทัง้ ผนังก่ออิฐ
ก่อนการติดตัง้ ให้ร่วมปรึกษากับผูค้ วบคุมงานและวิศวกรโครงสร้าง
3.2 ท่อทีต่ ดิ ตัง้ ก่อนทําผนังหรือหล่อคอนกรีต ต้องสวม SLEEVE ไว้ก่อนเสมอ
3.3 ขนาดภายในของ SLEEVE ต้องโตกว่าขนาดท่อและฉนวนหุม้ ท่อทีล่ อดผ่านไม่น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร (1 นิ้ว) ขอบ
ทัง้ สองด้านต้องตัดขอบเรียบ ได้ฉากกับผนังและความยาวเท่ากับความหนาของผนัง
3.4 ช่องว่างระหว่าง SLEEVE กับท่อและฉนวนทีต่ ดิ ตัง้ ภายในอาคาร ต้องอุดให้แน่นด้วยฉนวน MINERAL WOOL
แผ่นปิ ด (ESCUTCHEON) ทัง้ สองด้านทําด้วยแผ่นอลูมเิ นียม
3.5 ขนาดของแผ่นปิ ดมีดงั นี้
(1) ท่อขนาด 15 มิลลิเมตร (1/2 นิ้ว) ถึง 100 มิลลิเมตร (4 นิ้ว) ความหนาของแผ่นปิ ด 2 มิลลิเมตร ความกว้างโดยรอบ
ท่อ 5 เซนติเมตร (2 นิ้ว)
(2) ท่อขนาด 125 มิลลิเมตร (5 นิ้ว) และใหญ่กว่า ความหนาของแผ่นปิ ด 2 มิลลิเมตร ความกว้างโดยรอบท่อ 10
เซนติเมตร (4 นิ้ว)
4. ท่อทีต่ ดิ ตัง้ ผ่านผนังออกสูภ่ ายนอกอาคาร (EXTERIOR WALL)
4.1 SLEEVE ทําด้วยแผ่นเหล็กเหนียว ม้วนและเชื่อมภายนอกตลอดแนว ความหนาของแผ่นเหล็กไม่น้อยกว่า 5
มิลลิเมตร (3/16 นิ้ว) หรือท่อเหล็กดํา STANDARD WEIGHT STOR เชื่อมติดกับ SLEEVE ตลอดแนว ความหนาของ
แผ่นเหล็ก ไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร (1/8 นิ้ว) อุดช่องว่างด้วยเชือกปอดิบ อัดแน่น และสารอุดกันซึมพร้อมแผ่นปิ ดทัง้ สอง
ด้าน
4.2 ท่อทีต่ ดิ ตัง้ และผ่านคอนกรีตเสริมเหล็ก SLEEVEทําด้วยแผ่นเหล็กเหนียว ม้วนและเชื่อมตลอดแนว ความหนาของ
เหล็กไม่น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร (1/8 นิ้ว) หรือท่อเหล็กดํา STANDARD WEIGHT สําหรับ SLEEVE ทีพ่ น้ื ให้ตดิ ตัง้ ยาวสูง
พ้นพืน้ หลังจากแต่งผิวแล้ว (FINISH FLOOR) 10 เซนติเมตร (4 นิ้ว) อุดช่องว่างด้วย MINERAL WOOL แล้วอุดช่วงหัว-
ท้ายด้วย SEALANT หรือ CAULKING COMPOIND
5. การต่อท่อ
5.1 ท่อแบบเกลียว (THREADED JOINT)
(1) เกลียวท่อโดยทัวไปใช้่ แบบ PARALLEL THREAD เว้นแต่ท่อส่วนทีร่ ะบุให้สามารถทนความดันเกินกว่า 10
กิโลกรัมต่อตารางเซนติดเมตร (150 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) เกลียวต้องเป็ นแบบ TAPER THREAD ตามมาตรฐาน
อุตสาหกรรม มอก. 281 หรือ BS 21:1973
(2) ปลายท่อทีต่ ดั ทําเกลียวเสร็จแล้ว จะต้องคว้านปาดเอาเศษทีต่ ดิ อยู่โดยรอบทิง้ ออกให้หมด
(3) ใช้ PIPE JOINT COMPOUND หรือ TEFLON TAPE พันเฉพาะเกลียวตัวผูเ้ มื่อขันเกลียวแน่นแล้วเกลียวจะต้อง
เหลือให้เห็นได้ไม่เกิน 2 เกลียวเต็ม
5.2 การต่อแบบเชื่อม (WELDED JOINT)
(1) ก่อนการเชื่อม จะต้องทําความสะอาดส่วนปลายทีจ่ ะนํามาเชื่อม ตัง้ ปลายท่อทีจ่ ะนํามาเชื่อมให้ได้แนวตรงกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 348 of 521

(2) ท่อทีจ่ ะนํามาเชื่อมให้ลบปลายเป็ นมุม (BEVEL) ประมาณ 20–40 องศา โดยการกลึงหรือให้หวั เชื่อมตัด แต่ตอ้ งใช้
ค้อนเคาะออกไซด์ และสะเก็ดโลหะออก พร้อมตะไบให้เรียบร้อยก่อนการเชื่อม
(3) การเชื่อมท่อโดยทัวไปเป็่ นแบบ BUTT-WELDING ใช้วธิ กี ารเชื่อมด้วยไฟฟ้า (ARC WELDING) รอยเชื่อมจะต้อง
เป็ นไปอย่างสมํ่าเสมอ ตลอดแนวเชื่อมโลหะทีน่ ําเชื่อมละลายเข้ากันได้อย่างทัวถึ
่ ง
5.3 การต่อแบบหน้าแปลน (FLANGED JOINT)
(1) เลือกมาตรฐานขนาดหน้าแปลน และการเจาะให้เหมาะสมกับมาตรฐานท่อ (OUT-SIDE DIAMETER) ทีเ่ ลือกใช้งาน
และหน้าแปลนทีต่ ดิ ประกอบมากับอุปกรณ์ต่างๆ หน้าแปลนทีใ่ ช้ประกอบกับท่อโดยทัวไปจะต้
่ องเป็ นแบบเชื่อม
(2) การยึดจับหน้าแปลน จะต้องจัดให้หน้าสัมผัส (FACING FLANGE) ได้แนวขนานกันและตัง้ ฉากกับท่อ การเชื่อม
หน้าแปลนกับท่อ ให้เชื่อมอย่างน้อย 2 รอย ทับกัน
(3) สลักเกลียว (BOLT) และน๊อต (NUT) ทีใ่ ช้กบั หน้าแปลนโดยทัวไปเป็่ นแบ บCARBON STEEL ยกเว้นทีใ่ ช้กบั ระบบ
ท่อชุบสังกะสีจะต้องใช้แบบ GALVANIZED OR CADMIUM PLATED BOLT AND NUT และทีใ่ ช้กบั ระบบท่อฝงั ดิน
จะต้องทําด้วย STAINLESS STEEL สลักเกลียวจะต้องมีความยาวพอเหมาะกับการยึดหน้าแปลน เมื่อขันเกลียวต่อแล้ว
จะต้องมีปลายโผล่จากแป้นเกลียวไม่น้อยกว่า 1/4 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของสลักเกลียว
5.4 การต่อแบบบัดกรี (SOLDERED JOINTS)
(1) ปลายท่อทองแดงทีจ่ ะนํามาต่อเชื่อมจะต้องตัดให้ได้ฉาก ลบเศษคมออกให้หมด ทําความสะอาดปลายท่อภายนอก
และภายใน
(2) ใช้แปรงทา SOLDER FLUX ทีป่ ลายท่อและ FITTING สวมต่อท่อแล้วทําการเชื่อมประสานอุณหภูมกิ ารเผาและ
ปริมาณ FLUX ทีใ่ ช้จะต้องเป็ นไปตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด โดยเฉพาะการใช้ SOLDER แบบ SILVER
BRAZING นํ้าบัดกรี ส่วนเกินจะต้องเช็คออกให้หมดก่อนจะปล่อยให้เย็นตัวลง
6. ท่อนํ้าและอุปกรณ์
6.1 ท่อนํ้าเย็น (CHILLED WATER PIPE) ท่อนํ้าเย็นทัง้ หมด ถ้าไม่ได้ระบุเป็ นอย่างอื่น จะต้องใช้ท่อเหล็กดํา (BLACK
STEEL PIPE) ชนิด ERW SEAMED PIPE มีคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน AP1-5L หรือ ASTM A-53 ความหนาไม่น้อยกว่า
SCHEDULE 40 ท่อทุกท่อจะต้องทําปลายท่อแบบ BEVEL END และพิมพ์รหัสเครื่องหมายมาตรฐานท่อ และขนาด ระบุ
ลงบนตัวท่อสําหรับท่อทีม่ ขี นาดเกินเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร
6.2 อุปกรณ์ประกอบท่อเหล็ก (PIPE FITTING) ใช้ STANDARD WEIGHT FITTING แบบเชื่อมหรือแบบต่อด้วย
เกลียว หน้าแปลนใช้ FORGED-STEEL แบบ SLIP-ON, WELDING-NECK หรือ SOCKET WELDING มาตรฐาน BS 10
TALBE F หรือ CLASS 150 lb, มาตรฐาน ANSI b 16.5 (BS 1560) ประเก็นใช้ NATURAL RUBBER หรือ ASBESTOS
อุปกรณ์ ประกอบท่อแบบ UNION ใช้แบบ GROUND JOINT BRONZE OR BRASS TO IRON SEAT
6.3 ท่อนํ้าคอนเดนเซอร์ (CONDENSER WATER PIPE) ท่อนํ้าคอนเดนเซอร์ทงั ้ หมด ถ้าไม่ได้ระบุเป็ นอย่างอื่น จะต้อง
ใช้ท่อดํา (BLACK STEEL PIPE) ชนิด ERW SEAMED PIPE มีคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน AP1-5L หรือ ASTM A-53
ความหนาไม่น้อยกว่า SCHEDULE 40 ท่อทุกท่านจะต้องทําปลายท่อแบบ BEVEL END และพิมพ์รหัสเครื่องหมาย
มาตรฐานท่อและขนาดระบุลงบนตัวท่อสําหรับท่อทีม่ ขี นาดเกินเส้นผ่านศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร
6.4 ท่อนํ้าเติม (MAKE UP WATER PIPING) และท่อนํ้าทิง้ จากหอผึง่ นํ้า (COOLING TOWER DRAIN) วัสดุทใ่ี ช้
ประกอบระบบท่อนํ้าเติม และนํ้าทิง้ จากจุดต่อของระบบประปาของอาคารจนถึง หอผึง่ นํ้าให้ใช้ทอ่ เหล็กอาบสังกะสี
(GALVANIZED STEEL PIPE) ทีผ่ ลิตขึน้ ตามมาตรฐาน BS 1387 : 1967, CLASS MEDIUM อุปกรณ์ประกอบด้วยท่อ
(PIPE FITTING) ใช้แบบมีเกลียวทําด้วย MALLEABLE IRON หรือ MILD STEEL

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 349 of 521

6.5 ท่อนํ้าทิง้ จาก CONDENSATE DRAIN ของเครื่องปรับอากาศใช้ท่อ PVC. CLASS 8.5 ตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก. 17-2532 อุปกรณ์ขอ้ ต่อท่อ จะต้องใช้ชนิดทีม่ คี วามหนาตามประเภทท่อทีใ่ ช้ และใช้น้ํายาต่อ
ท่อตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต
6.6 ท่อทองแดงทีใ่ ช้สาํ หรับต่อเข้าเครื่องเปา่ ลมเย็นขนาดเล็ก (FAN COIL UNIT) ในส่วนทีต่ ่อจาก HALF UNION ต้อง
ใช้ท่อทองแดงชนิด HARD DRAWN, TYPE L ตามมาตรฐาน ASTM B-88 หรือใช้ชนิดตาม TABLE “Y” มาตรฐาน BA
2871 PART 1 อุปกรณ์ประกอบแท่นท่อทองแดง (PIP FITTING) WROUGHT COPPER WELD FITTING หรือ WELD
SOCKET รอยต่อเชื่อมใช้ SILVER BRAZING หรือ WELDING RING ตัว HALF UNION ใช้วสั ดุทองแดง

จบหมวดที่ 64

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 350 of 521

งานระบบไฟฟ้ า
หมวดที่ 65
ระบบไฟฟ้ า

1. ขอบเขตของงานและเงื่อนไขโดยทัวไป ่
1.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอุปกรณ์สาํ หรับระบบไฟฟ้า ตลอดจนอุปกรณ์อ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบนี้ มาทําการติดตัง้ ตามแบบ
และรายการนี้ให้ครบถ้วน พร้อมทัง้ ทดลองจนเสร็จเรียบร้อยใช้งานได้ดี
1.2 กฎข้อบังคับ
วัสดุและอุปกรณ์ตลอดจนการติดตัง้ ระบบไฟฟ้า ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้ในแบบหรือทีห่ นึ่งทีใ่ ด จะต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดของ
มาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่งต่อไปนี้
(1) Local Code and Regulation
(2) E.I.T STANDARD 2001-56 (มาตรฐาน ว.ส.ท.)
(3) TGL (Green Label : Thailand)
(4) DIN (German Industrial Standard)
(5) IEC (International Electrotechnical Committee)
(6) NEC (National Electrical Code)
(7) NEMA (National Electrical Manufacturers Association)
(8) NFC (National Fire Codes of National Fire Protection Association)
(9) TIS (Thai Industrial Standard)
(10) UL (Underwriter's Laboratories Inc.)
1.3 รายละเอียดวัสดุและอุปกรณ์
ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งรายละเอียดของวัสดุและอุปกรณ์ทุกชนิดทีใ่ ช้ในงานติดตัง้ ในโครงการนี้แก่วศิ วกรเพื่อขออนุมตั คิ วาม
เห็นชอบก่อนทีจ่ ะดําเนินการใดๆ หากผูร้ บั จ้างไม่แจ้งหรือระบุรายละเอียดของวัสดุหรืออุปกรณ์ไว้ให้ถอื เป็ นสิทธิโดยถู
์ กต้อง
ของวิศวกรทีจ่ ะเลือกใช้วสั ดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามทีเ่ ป็ นไปโดยถูกต้องตรงตามแบบ และ/หรือรายการประกอบแบบ และ
ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการให้เป็นไปตามความประสงค์นนั ้ รายละเอียดของวัสดุหรืออุปกรณ์อย่างน้อยจะต้องประกอบด้วย
ชื่อบริษทั ผูผ้ ลิต ชื่อบริษทั ตัวแทนจําหน่ายทีไ่ ด้รบั สิทธิโดยถู
์ กต้องจากผูผ้ ลิต สมุดคําอธิบายทีแ่ สดงรายละเอียดข้อมูลทาง
เทคนิคของวัสดุหรืออุปกรณ์นนั ้ ๆ
1.4 ตัวอย่างวัสดุและอุปกรณ์
วัสดุและอุปกรณ์ทุกชนิดทีร่ ะบุไว้ในแบบและรายการประกอบแบบนี้ จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกรเป็ นลายลักษณ์
อักษรก่อนทีจ่ ะทําการติดตัง้ โดยผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างวัสดุหรืออุปกรณ์พร้อมรายละเอียดคุณสมบัตทิ ส่ี มบูรณ์ ให้
วิศวกรตรวจสอบก่อนทีจ่ ะดําเนินการติดตัง้ หากผูร้ บั จ้างนําวัสดุหรืออุปกรณ์ไปใช้งานโดยมิได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกร
แล้วปรากฏว่าวัสดุหรืออุปกรณ์นนั ้ ไม่ถูกต้องตามแบบและรายละเอียดข้อกําหนด ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบค่าเสียหายใน
การรือ้ ถอน ถอดเปลีย่ นวัสดุหรืออุปกรณ์นนั ้ เอง
1.5 วัสดุอุปกรณ์และการดําเนินงาน
1.5.1 วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ ทีน่ ํามาติดตัง้ จะต้องเป็ นของใหม่ไม่บุบสลาย หรือผ่านการใช้งานมาก่อน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 351 of 521

1.5.2 การติดตัง้ จะต้องดําเนินการโดยช่างผูม้ คี วามชํานาญและมีฝีมอื ดีในงานแต่ละส่วนเป็ นผูต้ ดิ ตัง้ การ


ติดตัง้ จะต้องใช้หลักวิชาการทางวิศวกรรมเทคนิค และวิธกี ารสมัยใหม่ และเป็ นไปตามกฎและมาตรฐานต่างๆ ทีใ่ ช้กนั อยู่
ทัวไปหรื
่ อตามทีก่ าํ หนดให้ใช้เพือ่ ให้ได้ผลงานทีเ่ รียบร้อยทีส่ ดุ
1.5.3 วัสดุและอุปกรณ์ปลีกย่อยบางอย่างถึงแม้ว่าจะไม่ได้ระบุไว้ในแบบ หรือรายการประกอบแบบก็
ตามแต่เพื่อให้งานนี้ดาํ เนินไปโดยถูกต้องเรียบร้อยและปลอดภัย ผูร้ บั จ้างมีหน้าทีจ่ ะต้องดําเนินการให้ครบถ้วนทุกประการ
โดยจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมอีกไม่ได้
1.5.4 วัสดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามทีจ่ ะต้องใช้เวลาในการผลิต ขนส่ง ให้ถอื เป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้างทีจ่ ะต้อง
จัดทําตารางแสดงกําหนดการในการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์นนั ้ ๆ เพื่อขออนุมตั คิ วามเห็นชอบจากวิศวกร และผูร้ บั จ้าง
จะต้องดําเนินการให้เป็ นไปตามตารางกําหนดการนัน้ ถ้าหากการดําเนินการของผูร้ บั จ้างไม่เป็ นไปตามกําหนดการ ไม่ว่าจะ
ด้วยเหตุผลใดๆ ก็ตามให้ถอื เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทีจ่ ะต้องมีต่อผลเสียหายใดๆ ทัง้ สิน้ ทีเ่ กิดขึน้ อันเป็ นผลให้ผู้
รับจ้างไม่สามารถดําเนินการได้ตามทีก่ าํ หนดไว้ในสัญญา ตารางแสดงกําหนดการในการจัดหาวัสดุและอุปกรณ์อย่างน้อย
จะต้องประกอบด้วยกําหนดการจัดส่งรายละเอียดทางเทคนิคของวัสดุหรืออุปกรณ์ เพื่อขออนุมตั คิ วามเห็นชอบ
กําหนดเวลาการนําเข้ากําหนดเวลาวัสดุหรืออุปกรณ์ถงึ ท่าเรือ กําหนดเวลาวัสดุหรืออุปกรณ์ถงึ หน่วยงานกําหนดเวลาทีใ่ ช้
ในการติดตัง้
1.5.5 การจัดหาวัสดุหรืออุปกรณ์ใดๆ ก็ตามของผูร้ บั จ้างจากผูจ้ าํ หน่าย ถ้าหากพิจารณาแล้วว่าจะมีผลทํา
ให้เกิดความบกพร่องต่อการบริการหลังจากการขายของผูจ้ าํ หน่ายนัน้ ๆ ให้ถอื เป็ นสิทธิของผู ์ ว้ ่าจ้างทีจ่ ะเลือกให้ผรู้ บั จ้าง
จัดหาวัสดุหรืออุปกรณ์นนั ้ ๆ จากตัวแทนจําหน่ายทีไ่ ด้รบั สิทธิ ์ โดยถูกต้องจากผูผ้ ลิต และมีขดี ความสามารถในการให้บริการ
หลังการขายเป็ นไปด้วยดี
1.5.6 การรับผิดชอบตามสัญญาหลังการก่อสร้างแล้วเสร็จให้ถอื กฎเกณฑ์ ต่อไปนี้เป็ นสําคัญ
(1) ความพร้อมในการบริการด้านอะไหล่ทช่ี าํ รุดจากการใช้งาน
(2) ความพร้อมในการบริการให้คาํ ปรึกษา
(3) ความพร้อมในการบริการด้านการบํารุงรักษา
1.6 แบบก่อสร้าง (Shop Drawing)
ก่อนทีผ่ รู้ บั จ้างจะดําเนินการติดตัง้ วัสดุและอุปกรณ์ใดๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแบบก่อสร้างทีแ่ สดงรายละเอียดการติดตัง้ วัสดุ
และ/หรืออุปกรณ์นนั ้ ๆ เสนอต่อวิศวกรเพื่อขอรับความเห็นชอบก่อนทีจ่ ะดําเนินการติดตัง้ การดําเนินการติดตัง้ โดยทีไ่ ม่มี
แบบก่อสร้างทีอ่ นุมตั ใิ ห้ใช้งานได้ หากปรากฏว่าการติดตัง้ นัน้ ไม่ถูกต้อง ไม่เหมาะสมหรือบกพร่อง ผูร้ บั จ้างจะต้อง
รับผิดชอบในการแก้ไขเปลีย่ นแปลงสิง่ ทีต่ ดิ ตัง้ ไปนัน้ ให้ถูกต้องเหมาะสม โดยทีจ่ ะคิดค่าใช้จ่ายใดๆ เพิม่ เติมไม่ได้ แบบ
ก่อสร้างทีจ่ ะเสนอเพื่อขออนุมตั อิ ย่างน้อยจะต้องจัดส่ง 3 ชุด และก่อนทีจ่ ะดําเนินการติดตัง้ 30 วัน
1.7 แบบสร้างจริง (As Built Drawing)
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งแบบสร้างจริงให้แก่ผวู้ ่าจ้างในวันส่งมอบงานงวดสุดท้าย โดยแบบสร้างจริงทีส่ ง่ มอบดังกล่าว จะต้อง
เป็ น AUTOCAD DRAWING เขียนลงบนแผ่น CD-ROM ขนาด 80MIN, 700MB (1 ชุด) และจะต้องเป็ นแบบทีถ่ ่ายจาก
แบบต้นฉบับของผูร้ บั จ้างลงในกระดาษไข จํานวน 1ชุด พร้อมแบบทีถ่ ่ายเป็ นกระดาษพิมพ์เขียว จํานวน 2 ชุด
1.8 ผูค้ วบคุมการติดตัง้ ของผูร้ บั จ้าง
1.8.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มวี ศิ วกรไฟฟ้าทีม่ ใี บอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เป็ นผูค้ วบคุมการ
ติดตัง้ อยู่ประจํา ณ สถานทีท่ ท่ี าํ การติดตัง้ หรือทีท่ าํ การ ของผูร้ บั จ้างเพื่อทีว่ ศิ วกรจะได้ตดิ ต่อได้ตลอดเวลา ผูร้ บั จ้างต้องแจ้ง
รายชื่อวิศวกรพร้อมทัง้ เลขทะเบียนใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตามข้อกําหนดเงื่อนไขทัวไป ่
1.8.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มโี ฟร์แมนทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์การติดตัง้ งานไฟฟ้าเป็ นอย่างดีมอี าํ นาจใน
การตัดสินใจอยู่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 352 of 521

ประจํา ณ สถานทีท่ ท่ี าํ การติดตัง้ ตลอดเวลาทีม่ กี ารติดตัง้ งานไฟฟ้า เพื่อทีว่ ศิ วกรจะได้ตดิ ต่อได้ตลอดเวลา ผูร้ บั จ้างต้องแจ้ง
รายชื่อโฟร์แมนพร้อมทัง้ ประสบการณ์ต่อวิศวกรเพื่อขอรับความเห็นชอบ
1.9 การตรวจสอบ
ในกรณีทจ่ี าํ เป็ นต้องให้การไฟฟ้าฯ มาตรวจสอบการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างมีหน้าทีร่ บั ผิดชอบให้การตรวจสอบเป็ นไปโดยเรียบร้อย
และเป็ นผูช้ าํ ระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบทีก่ ารไฟฟ้าฯ เรียกเก็บทัง้ สิน้
1.10 ป้ายชื่อ
ตูท้ ุกตูต้ อ้ งมีป้ายเพื่อแสดงชื่อของอุปกรณ์และการใช้งาน โดยใช้ภาษาไทย (หรือภาษาอังกฤษ) และ/หรือตามทีก่ าํ หนดใน
แบบ หลอดไฟสัญญาณ สวิตซ์ต่างๆ เครื่องวัดและอื่นๆ ต้องมีป้ายชื่อให้ครบ ป้ายชื่อให้ทาํ ด้วยพลาสติกแกะสลักซึง่ เห็น
ตัวอักษรชัด ยึดติดกับตูอ้ ย่างถาวร
1.11 การเคลื่อนย้ายวัสดุและอุปกรณ์
ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรืออุปกรณ์ต่างๆ ไปยังตําแหน่งทีจ่ ะติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการเคลื่อนย้ายดังกล่าว
ไม่ให้เกิดความเสียหายแก่วสั ดุหรืออุปกรณ์นนั ้ ๆ หรืองานในระบบอื่นๆ หากเกิดความเสียหายขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้อง
รับผิดชอบในการเปลีย่ นหรือซ่อมแซมแก้ไขความเสียหายดังกล่าวโดยจะคิดค่าใช้จ่ายเพิม่ เติมอีกไม่ได้
1.12 การตรวจสอบแบบและรายการประกอบแบบ
1.12.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องศึกษาแบบระบบไฟฟ้า รายการประกอบแบบระบบไฟฟ้าตลอดจนแบบของระบบอื่นๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องให้เป็ นทีเ่ ข้าใจโดยแจ้งชัด ถ้าหากผูร้ บั จ้างดําเนินการใดๆ ไปโดยทีไ่ ม่เข้าใจในแบบและรายการประกอบแบบ
โดยแจ้งชัดแล้วก่อให้เกิดความผิดพลาด หรือความเสียหายต่องานไฟฟ้า หรืองานในระบบอื่นๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ทัง้ สิน้ ทีเ่ กิดจากความผิดพลาดและความเสียหายดังกล่าว
1.12.2 ในกรณีทแ่ี บบและ/หรือรายการประกอบแบบมีความขัดแย้งกันถือว่าการตีความใดๆ ทีก่ ่อให้เกิด
ประโยชน์กว่า ถูกต้องกว่า และดีกว่าเป็ นความถูกต้อง ถ้าหากผูร้ บั จ้างดําเนินการใดๆ โดยไม่ยดึ ถือกฎเกณฑ์ดงั กล่าว ผูร้ บั
จ้างจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทัง้ สิน้ ในการทําให้เกิดประโยชน์กว่าถูกต้องกว่าและดีกว่าสิง่ ทีด่ าํ เนินการไปแล้ว
1.13 การเปลีย่ นแปลงแก้ไขแบบและวัสดุอุปกรณ์
1.13.1 การเปลีย่ นแปลงแก้ไขแบบไม่วา่ จะเป็ นเพราะสาเหตุใดๆ ก็ตามต้องดําเนินการไปโดยความ เห็นชอบ
ของวิศวกรผูอ้ อกแบบและจะต้องเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยการเปลีย่ นแปลงแก้ไขใดๆ ทีด่ าํ เนินการไปโดยพละการ ถ้า
หากเกิดความผิดพลาด ความไม่เหมาะสม ความเสียหายและความไม่ถูกต้อง ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบความเสียหายต่างๆ
ทัง้ สิน้ ทีเ่ กิดขึน้ ตลอดจนค่าใช้จ่ายต่างๆ ทัง้ สิน้ ทีเ่ กิดขึน้ ในการเปลีย่ นแปลงแก้ไขสิง่ ทีด่ าํ เนินการไปแล้วให้เกิดความ
เหมาะสมและถูกต้อง
1.13.2 ข้อกําหนดคุณสมบัตวิ สั ดุและอุปกรณ์ต่างๆ ทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ และ/หรือรายการประกอบนี้ให้ถอื
เป็ นนัยสําคัญทีผ่ รู้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ติ ามถ้าหากวัสดุและอุปกรณ์ทน่ี ํามาติดตัง้ ไม่เป็ นตาม ข้อกําหนดให้ถอื เป็ นความ
รับผิดชอบของผูร้ บั จ้างต่อค่าใช้จ่ายใดๆ ก็ตามในการเปลีย่ นแปลงวัสดุและอุปกรณ์นนั ้ ๆ ให้ถูกต้องตามแบบและรายการ
ประกอบแบบ
1.14 การทดสอบ
ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการทดสอบการทํางานของอุปกรณ์ต่างๆ และระบบต่างๆ ทีต่ ดิ ตัง้ ภายในโครงการนี้ทงั ้ หมด โดยผูร้ บั จ้าง
จะต้องจัดเตรียมบุคคลากรทีเ่ หมาะสมสําหรับทดสอบอุปกรณ์และระบบนัน้ ๆ และจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายต่างๆ ทัง้ สิน้
ตลอดจนความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากการทดสอบนัน้ ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทํารายละเอียดแสดงวิธกี ารทดสอบเพื่อขออนุมตั ิ
ความเห็นชอบต่อวิศวกรก่อนการดําเนินการทดสอบจริง อย่างน้อย 15 วัน และรายงานผลการทดสอบให้ผวู้ ่าจ้างทราบและ
เห็นชอบ
1.15 ขอบเขตของรายการประกอบแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 353 of 521

รายการประกอบแบบนี้ ให้มผี ลบังคับครอบคลุมถึงวัสดุอุปกรณ์ใดๆ ทีต่ ดิ ตัง้ เพิม่ เติมนอกเหนือจากแบบด้วย

2. ข้อกําหนดรายละเอียดวัสดุ และอุปกรณ์
2.1 แผงสวิตซ์จ่ายไฟแรงตํ่าเมน
รายการประกอบแบบ 2.1 นี้ถอื ว่ามีผลบังคับใช้กบั แผงสวิตช์จ่ายไฟอื่นทีค่ ล้ายคลึงกันด้วยโดยแผงสวิตซ์จะประกอบด้วย
2.1.1 ตูโ้ ลหะ
(1) ให้ใช้ตูโ้ ลหะทีผ่ ลิตในประเทศไทย โดยถ้าไม่มกี าํ หนดไว้เป็ นอย่างหนึ่งอย่างใด ต้องผลิตให้เป็ นไปตามมาตรฐานของ
NEC, VDE หรือ IEC สําหรับระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย 50 เฮิรต์ ซ์
(2) ต้องเป็ นชนิดด้านปิ ด (Dead Front) ขนาดตามทีแ่ สดงไว้ในแบบหรืออาจเป็ นขนาดอื่นทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบจากการ
ไฟฟ้าฯ
(3) ทนแรงดันไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 500 โวลท์ และทนกระแสลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่าค่าสูงสุดทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ จุดนัน้
(4) โครงตูแ้ ต่ละตูใ้ ห้ใช้เหล็กแผ่นขนาดความหนาไม่น้อยกว่า 3.00 มิลลิเมตรพับขึน้ รูปและเชื่อมติดกันเป็ นโครงตู้
(5) ฝาปิ ดรอบนอกของตูท้ งั ้ หมดให้ใช้เหล็กแผ่นขนาดความหนาไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตรโดยฝาปิ ดด้านหน้าด้านหลัง
ด้านข้าง และด้านบนของตูใ้ ห้เป็นแบบพับขอบ
(6) ฝาปิ ดด้านหลัง ด้านข้าง และด้านบนของตูต้ อ้ งเป็ นแบบทีส่ ามารถถอดออกได้ โดยยึดติดกับโครงตูด้ ว้ ยสลักเกลียว
(7) ฝาปิ ดด้านหน้าให้เป็ นแบบถอดและเปิ ดปิ ดได้ โดยยึดติดกับโครงตูด้ ว้ ยบานพับชนิดซ่อน และเปิ ดปิ ดโดยใช้ กลอน
กุญแจแบบมือหมุนทีส่ ามารถล๊อคได้หรืออาจเป็ นชนิดอื่นทีท่ าํ ให้เปิ ดปิ ดฝาได้ง่าย ทัง้ นี้จะต้องได้รบั ความเห็นชอบ
จากวิศวกรก่อน
(8) ด้านล่างและด้านบนของฝาข้างให้ทาํ ช่องระบายอากาศชนิดกันหยดนํ้าได้ (Drip Proof) ขนาดของช่องระบายอากาศ
ต้องพอเพียงสําหรับระบายความร้อนภายในตูไ้ ด้ดี ช่องระบายอากาศต้องมีแผ่นกันฝุน่ และแมลง
(9) ชิน้ ส่วนทีเ่ ป็ นเหล็กทัง้ หมดต้องพ่นสีรองพืน้ ด้วย Zinc Phosphate และอบอย่างน้อยหนึ่งครัง้ ทีอ่ ุณหภูมแิ ละเวลาที่
เหมาะสมก่อนทีจ่ ะพ่นสีรองพืน้ ต้องขัดผิวเหล็กให้เรียบ และทําความสะอาดจนปราศจากสนิม ไข และนํ้ามัน
(10) สีชนั ้ นอกให้พ่นด้วยสีอย่างน้อยสองชัน้ โดยแต่ละชัน้ ให้อบเช่นเดียวกับสีรองพืน้
(11) ฝาหลังของตูท้ บ่ี รรจุคะแปซิเตอร์ ต้องเป็ นแผ่นเหล็กเจาะรูพรุน ขนาดพอเหมาะสม
(12) ตูท้ ต่ี งั ้ ชิดกับตูบ้ รรจุคะแปซิเตอร์ ต้องมีฝาข้างทีป่ ิ ดมิดชิด
(13) กรณีทแ่ี ผงสวิตช์จ่ายไฟแรงตํ่าเมนตัง้ ชิดกับหม้อแปลง ต้องมีแผ่นเหล็กกัน้ ระหว่างแผงสวิตช์จา่ ยไฟแรงตํ่าและตู้
หม้อแปลง
(14) ด้านหน้าของแผงสวิตช์ตอ้ งมี Mimic Diagram แสดงการแจกจ่ายไฟฟ้าทัง้ หมด Mimic Diagram ให้ทาํ ด้วยแผ่น
พลาสติกสีดาํ ขนาดหนาไม่น้อยกว่า 1 มิลลิเมตรและกว้าง 1.45 - 2.0 เซนติเมตร
(15) แผงสวิตช์ ต้องติดตัง้ บนแท่นคอนกรีตขนาดตามแบบ
(16) แผงสวิตช์ ไม่อนุญาตให้ใช้แผงแบบ KNOCK DOWN
2.1.2 บัสบาร์
(1) บัสบาร์ให้ใช้ทองแดงทีผ่ ลิตสําหรับใช้งานไฟฟ้าเฉพาะ ขนาดตามแบบ บัสบาร์ เส้นศูนย์และเส้นเฟสให้ตดิ ตัง้ บน
ฉนวน Cast Resin ทีท่ นกระแสลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่าค่าสูงสุดทีอ่ าจเกิดขึน้ ณ จุดนัน้ บัสบาร์เส้นดินให้ยดึ ติดกับ
โครงตู้
(2) กรณีทเ่ี ส้นเฟสต้องใช้บสั บาร์มากกว่าหนึ่งเส้น ให้วางบัสบาร์ขนานกัน และห่างกันเท่าความหนาของ บัสบาร์
(3) บัสบาร์เส้นศูนย์และเส้นดินจะต้องมีความยาวตลอดแนวตู้
(4) บัสบาร์ทงั ้ หมดให้พ่นด้วยสีทนความร้อน โดย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 354 of 521

- สีน้ําตาล สําหรับ เฟส - A


- สีดาํ สําหรับ เฟส - B
- สีเทา สําหรับ เฟส - C
- สีฟ้สา สําหรับ เส้นศูนย์- N
- สีเขียวแถบเหลือง สําหรับ เส้นดิน - G
(5) ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น บัสบาร์เส้นดินให้ต่อลงดินทีห่ ลักดิน (Ground Rod) ไม่น้อยกว่าสองจุดด้วยขนาดสาย
ทองแดงตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ บัสบาร์เส้นศูนย์ให้ต่อกับบัสบาร์เส้นดิน
(6) บัสบาร์เส้นเฟส ทีต่ ดิ ตัง้ ตามแนวระดับให้ตดิ ตัง้ ทีด่ า้ นบนของตู้ บัสบาร์เส้นศูนย์และเส้นดินให้ตดิ ตัง้ ทีด่ า้ นล่าง
(7) บัสบาร์ตอ้ งมีขนาดใหญ่พอทีท่ าํ ให้อุณหภูมภิ ายในตูเ้ พิม่ ขึน้ ไม่เกิน 50°C เมื่อเทียบกับอุณหภูมแิ วดล้อม 40°C
(8) ค่าพิกดั กระแสของบัสบาร์ทแ่ี สดงไว้ในแบบ ให้ถอื เป็ นค่าพิกดั ทีอ่ ุณหภูมแิ วดล้อม 50°C และคิดค่าตัวคูณลด 0.8
สําหรับบัสบาร์เส้นเฟสไม่เกิน 6 เส้นและ 0.7 สําหรับบัสบาร์เส้นเฟส ระหว่าง 7-24 เส้น
(9) การต่อระหว่างบัสบาร์ทองแดง กับ บัสบาร์ทองแดงหรือขัว้ ต่อสายทองแดง ให้ต่อกันได้ดว้ ยสลักและแป้นเกลียว
พร้อมแหวนสปริง โดยก่อนต่อต้องทําความสะอาดผิวทีจ่ ะแตะกัน
(10) การต่อระหว่างบัสบาร์ทองแดงกับขัว้ ต่อสายอลูมเิ นียมให้ต่อกันได้ดว้ ยสลักและแป้นเกลียวพร้อมแหวนสปริง โดย
ก่อนต่อต้องทําความสะอาดผิวทีจ่ ะแตะกันและทาด้วยนํ้ายาทีใ่ ช้สาํ หรับการต่อทองแดงกับอลูมเิ นียม
(11) การต่อบัสบาร์จากบัสบาร์เมน มายังอุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้ อยู่ดา้ นหน้าของ แผงสวิตช์ในกรณีทพ่ี จิ ารณาแล้วเห็นว่าอาจ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคล ผูร้ บั จ้างต้องใช้บสั บาร์ชนิดหุม้ ด้วยฉนวนทีท่ นอุณหภูมไิ ม่น้อยกว่า 75°C และทน
แรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 600 โวลท์
2.1.3 อุปกรณ์ประกอบ
(1) สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ (Circuit Breaker)
สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ จะต้องเป็ นชนิดทีผ่ ลิตสําหรับใช้กนั ระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์หรือ 400/230 โวลท์
50 เฮิรต์ ซ์ และเป็ นชนิด tropicalized สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตติ อ้ งเป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตได้ตามมาตรฐานของ
IEC หรือ VDE และต้องมีคุณสมบัตแิ ละลักษณะดังต่อไปนี้
1.1) สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตเิ มน เป็ นชนิด molded case หรือ open frame แบบสับเข้าและ
ออกด้วยมือสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตเิ มนต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้
- จํานวนโพล ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
- พิกดั กระแสที่ 40°C ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
- พิกดั แรงดันไฟฟ้า ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
- ขนาดทนกระแสลัดวงจร ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ (Breaking Capacity’ic)
สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตเิ มนต้องมีอุปกรณ์ประกอบดังนี้
- มี Auxiliary Contact และ Trip Indicating Contact จํานวนพอเพียงสําหรับ
การใช้งานตามแบบ
- มี Thermal Overcurrent Releases แบบปรับได้ทุกโพลตามแบบ
- มี Instantaneous Overcurrent Release แบบปรับได้ ทุกโพลตามแบบ
- มี Undervoltage Release ทีม่ พี กิ ดั แรงดันไฟฟ้าตามแบบ
- มีกลไกทําให้การสับเข้าและสับออก เป็ นไปโดยรวดเร็วไม่ขน้ึ อยูก่ บั ความเร็ว
ของคันสับ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 355 of 521

- ทีค่ นั สับของสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตติ อ้ งมีสว่ นประกอบทีท่ าํ ให้สามารถปิ ดล๊อค


กุญแจได้เมื่อสวิตช์อยูท่ ต่ี ่ําแหน่งเปิ ดวงจร
1.2) สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตยิ ่อย เป็ นชนิด molded case Circuit Breaker แบบสับเข้าและ
ออกด้วยมือสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตยิ ่อย จะต้องมีอปุ กรณ์ประกอบดังนี้
- มี Auxiliary Contact จํานวนพอเพียงสําหรับการใช้งานตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
- มี Thermal Overcurrent Releases แบบค่าคงทีห่ รือปรับได้ทุกโพลตามแบบ
- มี Instantaneous Overcurrent Release แบบค่าคงทีห่ รือปรับได้ทุกโพลตาม
แบบ
- สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตยิ ่อย ต้องมีค่าระบุต่างๆ ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ
- สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตยิ ่อยต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกันสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ
เมน
(2) Ammeter
ให้เป็ นชนิด direct connection หรือเป็ นชนิดใช้ต่อกับ current transformers ชนิด 5
แอมแปร์ secondary rated current, accuracy class 1.5 หรือดีกว่า
(3) Ammeter Selector Switch
เป็ นแบบ 3 position + 1 off position (O-R-S-T) ทนกระแสไฟฟ้าได้ไม่ต่าํ กว่า 10 แอมแปร์
สําหรับใช้เลือกวัดกระแสไฟฟ้าในแต่ละเฟส และสําหรับใช้กบั ammeter แบบใช้ current
transformer
(4) Voltmeter
เป็ นชนิดต่อตรง มีสเกลอ่านได้ 0-500 โวลท์ หรือตามแบบ accuracy class 1.5 หรือดีกว่า
(5) Voltmeter Selector Switch
เป็ นแบบ 6 position + 1 off position ใช้สาํ หรับอ่านค่าแรงดันไฟฟ้าดังนี้ RS-ST-TR-O-RO-
SO-TO
(6) Indicator Lamp
ใช้สาํ หรับแสดงการทํางานของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
(7) Control Fuses
ให้ใช้ฟิวส์ชนิด Cartridge ขนาดตามทีก่ าํ หนดในแบ
(8) อุปกรณ์ประกอบอื่นๆ
อุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ถึงแม้ว่าจะไม่มกี าํ หนดไว้ หากวิศวกรพิจารณาแล้ว เห็นว่าจะทําให้การ
ประกอบแผงสวิตช์มคี วามเรียบร้อย แข็งแรง และสวยงาม ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและติดตัง้ ให้
เป็ นไปตามกําหนดของวิศวกร
2.2 แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย
2.2.1 ตูโ้ ลหะ
(1) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยต้องเป็ นชนิดด้านปิ ด (Dead-Front) ทีถ่ ูกออกแบบสําหรับใช้กบั สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ
(Circuit Breaker) และระบบไฟฟ้า 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สายเป็ นแบบ 1 เฟส หรือ 3 เฟส ตามแบบแผงสวิตช์ จ่ายไฟ
ย่อยและอุปกรณ์ภายในต้องทนแรงดันไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 240 โวลท์ สําหรับ 1 เฟส และ 415 โวลท์ สําหรับ 3 เฟส
(2) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยให้ใช้ตูท้ ผ่ี ลิตในประเทศไทยทําด้วยเหล็กแผ่น ขนาดความหนาไม่น้อยกว่า 1.5 มิลลิเมตรพับ
ขึน้ รูปเป็ นตัวตู้ ขัดและทําความสะอาดผิวเหล็กจนปราศจากสนิม ไข และนํ้ามัน พ่นสีรองพืน้ ด้วย Zinc Phosphate และอบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 356 of 521

ทีอ่ ุณหภูมิ และเวลาทีเ่ หมาะสม สีชนั ้ นอกให้พ่นด้วยสีไม่น้อยกว่าสองครัง้ และอบเช่นเดียวกัน ด้านข้างของตูใ้ ห้ทาํ ช่อง
ระบายอากาศแบบกันหยดนํ้าได้ (Drip Proof) ช่องระบายอากาศต้องมีแผ่นกันฝุน่ และแมลง
(3) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยทีต่ ดิ ตัง้ ภายนอกอาคารหรือบริเวณเปี ยกชืน้ ตัวตูต้ อ้ งเป็ นชนิดกันนํ้าและตูท้ ต่ี ดิ ตัง้ ภายนอก
อาคารต้องทําด้วยเหล็กอาบสังกะสีแล้วพ่นสีดว้ ยกรรมวิธที เ่ี หมาะสม
(4) แผงรองรับอุปกรณ์ภายในตูต้ อ้ งเป็ นแผ่นเหล็กพับขอบไม่น้อยกว่า 1 เซนติเมตรและต้องสามารถถอดได้
(5) ทีด่ า้ นในฝาหน้าของแผงสวิตช์จา่ ยไฟย่อย ต้องมีแผ่นป้ายบอกบริเวณชื่อห้อง หรือชื่ออุปกรณ์ทส่ี วิตช์ตดั ตอน
อัตโนมัตแิ ต่ละตัวจ่ายไฟให้ และสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตยิ ่อยทุกตัวต้องระบุช่อื วงจร โดยใช้แผ่นป้ายบอกชื่อวงจรทีท่ าํ
ด้วยพลาสติกสีดาํ แกะสลักและทาร่องตัวเลขด้วยสีขาว
(6) แผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย ต้องเป็ นแบบติดฝงั ผนังหรือติดลอยบนผนังตามแบบ โดยหากไม่มกี าํ หนดระดับความสูงใน
แบบให้ตดิ ตัง้ ทีร่ ะดับ 1.50 เมตรจัดจากพืน้ ถึงกลางตู้ และแผงสวิตช์จ่ายไฟย่อยทีต่ งั ้ ติดกันต้องจัดให้สว่ นบนของแผง
สวิตช์อยูใ่ นระดับเดียวกัน
2.2.2 บัสบาร์
(1) การต่อเชื่อมพลังงานไฟฟ้าระหว่างสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตเิ มนและสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตสิ าํ หรับวงจรย่อยให้
ใช้บสั บาร์ทองแดงหรืออลูมเิ นียมทีท่ าํ สําหรับใช้กบั งานไฟฟ้าโดยเฉพาะโดยขนาดของบัสบาร์เมนให้เป็ นไปตามแบบ
และขนาดของบัสบาร์ย่อย ต้องมีขนาดทนกระแสได้ไม่น้อยกว่า 125% ของพิกดั กระแสของสวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ
(2) เมนบัสบาร์หรือขัวต่ ้ อสายสําหรับสายดินและสายศูนย์ทแ่ี ยกจากกัน โดยกรณีทใ่ี ช้แบบขัวต่ ้ อสายต้องมีจาํ นวนขัว้ ต่อ
สายพอเพียงสําหรับสายดินและสายศูนย์ทงั ้ หมด แผงสวิตช์ให้ต่อลงดินทีบ่ สั บาร์หรือขัว้ ต่อสายเส้นดิน
(3) บัสบาร์ทงั ้ หมด (ยกเว้นบัสบาร์สาํ หรับสายศูนย์และสายดิน) ภายในแผงสวิตซ์จ่ายไฟย่อยต้องห่อหุม้ ด้วยฉนวนโพลี
วีนีลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) ทีม่ พี กิ ดั ทนแรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกดั อุณหภูมใิ ช้งานสูงสุด
ไม่น้อยกว่า 75°C
2.2.3 อุปกรณ์ประกอบ
(1) สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัตสิ าํ หรับแผงสวิตช์จ่ายไฟย่อย ต้องเป็ นชนิด molded case มีกลไกสําหรับทําให้การสับเข้าและ
ออกเป็ นไปโดยรวดเร็ว มี thermal overcurrent และinstantaneous short circuit release สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ
ชนิด 3 โพล ต้องมีกลไกภายในเป็ นแบบ common trip
(2) สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ สําหรับวงจรย่อยต้องทนกระแสลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่า 5 KA ที่ 380โวลท์ สําหรับชนิด 3
โพล และที่ 220 โวลท์ สําหรับชนิด 1 โพล
2.3 ท่อร้อยสายไฟ (Conduit)
ท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ตลอดจนการติดตัง้ ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้ในแบบหรือทีห่ นึ่งทีใ่ ดจะต้องเป็ นไป
ตามข้อกําหนดต่อไปนี้
2.3.1 ท่อร้อยสายชนิดหนา (Rigid Steel Conduit) และ ชนิดกลาง (Intermediate Metal Conduit) ต้อง
เป็ นท่อเหล็กอาบสังกะสีทม่ี เี ส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 1/2 นิ้ว ใช้สาํ หรับการเดินท่อฝงั ในดิน ฝงั ผ่านถนน บริเวณทีเ่ ปียก
ชืน้ และเดินลอยภายนอกอาคาร
2.3.2 ท่อร้อยสายชนิดบาง (Electrical Metallic Tubing) ต้องเป็ นท่อเหล็กอาบสังกะสีทม่ี เี ส้นผ่านศูนย์กลาง
เล็กทีส่ ดุ 1/2 นิ้ว ใช้สาํ หรับการเดินท่อลอยเกาะผนัง เดินลอยเกาะเพดาน ภายในอาคาร
2.3.3 ท่อร้อยสายชนิดโลหะอ่อน (Flexible Metal Conduit) ใช้สาํ หรับเดินสายไฟฟ้าช่วงสัน้ ๆ เข้าดวงโคม
มอเตอร์หรืออุปกรณ์ไฟฟ้าอื่นๆ
2.3.4 การเลีย้ วเป็ นมุม 90 องศา ของท่อร้อยสายไฟขนาดตัง้ แต่ 1 1/2 นิ้ว ขึน้ ไป ต้องใช้ขอ้ ต่อโค้ง (Elbow)
2.3.5 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนาและชนิดกลางให้ใช้ขอ้ ต่อแบบเกลียว

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 357 of 521

2.3.6 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนาหรือชนิดกลางกับกล่องพักสาย หรือแผงสวิตช์ให้ใช้


Locknuts สองตัว ปลายท่อร้อยสายไฟทุกเส้นต้องไม่มคี มและมี Bushing ติดอยู่
2.3.7 การต่อระหว่างท่อร้อยสายไฟชนิดบางกับกล่องพักสาย หรือแผงสวิตช์ให้ใช้ขอ้ ต่อชนิดทีใ่ ช้แรงอัด
ด้วยวงแหวนสปริงทีอ่ ยูภ่ ายในข้อต่อและ Locknut
2.3.8 ท่อร้อยสายไฟชนิดโลหะทีฝ่ งั ในดินไม่ผ่านพืน้ หรือถนนคอนกรีต ต้องทาด้วย Coal-Tar Epoxy อย่าง
น้อยสองชัน้ และวางตํ่ากว่าผิวดินไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรรองรับด้วยทรายไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตรกลบด้วยดินทีไ่ ม่มี
สารหรือวัสดุทม่ี คี ุณสมบัตทิ าํ ให้ท่อเป็ นสนิมหรือเกิดความเสียหายได้ กรณีทเ่ี ป็ นท่อฝงั ผ่านถนนหรือพืน้ คอนกรีต ให้ฝงตํ
ั ่า
กว่าถนนไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตรและเทคอนกรีตหุม้ ตลอดแนวท่อ
2.3.9 ท่อร้อยสายไฟทีฝ่ งั ในดินต้องมีบอ่ พักสายคอนกรีต ทีเ่ ป็ นไปตามมาตรฐานของการไฟฟ้าทุกๆ ระยะ
0.30 เมตร
2.3.10 ท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดอ่อนให้ยดึ ด้วยเข็มขัดรัดท่อทุกๆ ระยะ ไม่เกิน 1.35เมตรและให้ยดึ ด้วยเข็มขัด
รัดท่อห่างจากกล่องพักสายหรือแผงสวิตซ์ไม่เกิน0.30 เมตร
2.3.11 ท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดหนา ชนิดกลาง และชนิดบางให้ยดึ ด้วยเข็มขัดรัดท่อทุกๆ ระยะไม่เกิน 1.20
เมตรและให้ยดึ ด้วยเข็มขัดรัดท่อห่างจากกล่องพักสาย หรือแผงสวิตซ์ไม่เกิน 0.30 เมตร
2.3.12 ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ ในแนวดิง่ ภายในช่องท่อให้รองรับด้วยเหล็กตัว C ชนิดอาบสังกะสี และยึด
ท่อติดกับเหล็กตัว C ทุกๆ ระยะ 2.40 เมตร
2.3.13 ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีเ่ ดินลอยซ่อนในฝ้า หรือภายนอกฝ้า ต้องติดตัง้ ให้ได้แนวขนานหรือตัง้ ฉากกับผนัง
หรือคาน
2.3.14 ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีเ่ ดินลอยซ่อนในฝ้า หรือภายนอกฝ้า กรณีทต่ี อ้ งเดินผ่านคานหรือผนังคอนกรีต
เมื่อพิจารณาแล้วว่าไม่มผี ลทําให้ความแข็งแรงของคานหรือผนังเสียไป ต้องเดินทะลุเป็ นแนวเส้นตรงสวมด้วยท่อสลิฟทีเ่ ป็ น
และกรณีทผ่ี นังเป็ นผนังทีม่ ไี ว้เพือ่ ป้องกันไฟหรือควันลาม สลิฟดังกล่าวต้องอุดด้วยสารทนไฟ
2.3.15 ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีเ่ ดินผ่านทะลุพน้ื จะต้องเดินผ่านทะลุดว้ ยท่อสลิฟ และอุดด้วยสารทนไฟ
2.3.16 เข็มขัดรัดท่อทุกอันต้องทาสีให้ทราบว่าเป็ นท่อร้อยสายไฟของระบบใด โดยให้ใช้สสี ม้ สําหรับระบบ
ไฟฟ้าสีเขียวสําหรับระบบโทรศัพท์สแี ดงสําหรับระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้สเี หลืองสําหรับระบบเสาอากาศทีวรี วม
และทีววี งจรปิ ด และสีฟ้าสําหรับระบบเสียง
2.3.17 ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้อุปกรณ์อ่นื ๆ สําหรับการติดตัง้ ท่อร้อยสายไฟ เช่น สกรู น๊อต และอื่นๆ ต้องเป็ น
เหล็กอาบสังกะสี
2.3.18 ท่อร้อยสายไฟและอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ
2.4 กล่องอุปกรณ์และกล่องต่อสาย
2.4.1 กล่องสวิตช์หรือเต้ารับ ต้องเป็ นกล่องเหล็กอาบสังกะสีขนาดหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตรสําหรับ

การ ติดตัง้ ฝงในคอนกรี ตหรือผนัง และต้องเป็ นแบบเหล็กหล่อสําหรับติดลอย
2.4.2 กล่องสวิตซ์ กล่องเต้ารับ และกล่องต่อสายต่างๆ ต้องมีขนาดใหญ่พอทีท่ าํ ให้สามารถใส่ Bushing ที่
ปลายท่อทุกท่อทีต่ ่อกับกล่องนัน้
2.4.3 กล่องสวิตซ์ กล่องเต้ารับ หรือกล่องต่อสายใดๆ ก็ตามทีฝ่ งในผนั ั งหรือคอนกรีต ต้องทําความสะอาด
ภายในกล่องจนปราศจากคอนกรีต คราบนํ้าปูนและสนิม
2.4.4 กล่องพักสายหรือกล่องต่อสายทีใ่ ช้ประกอบในการเดินท่อร้อยสายไฟ โดยทัวไปให้ ่ ใช้กล่องเหล็กอาบ
สังกะสีแบบแปดเหลีย่ มทีม่ เี ส้นทแยงมุม 4” หรือแบบสีเ่ หลีย่ มขนาด 4”x 4” ทีม่ คี วามหนาไม่น้อยกว่า 1.2 มิลลิเมตรกล่องต่อ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 358 of 521

สายหรือกล่องพักสายทีม่ ขี นาดเกิน 4 นิ้ว ให้ใช้กล่องเหล็กทีท่ าํ ด้วยเหล็กแผ่นทีห่ นาไม่น้อยกว่า 1.4 มิลลิเมตรพ่นสีรองพืน้


ด้วย Zinc Phosphate และพ่นทับด้วยสีน้ํามันอย่างน้อยหนึ่งชัน้
2.4.5 กล่องอุปกรณ์ กล่องพักสาย และกล่องต่อสายทีต่ ดิ ตัง้ ภายนอก และภายในอาคารต้องเป็ นกล่อง
เหล็กหล่อ
2.4.6 กล่องทุกกล่องทีม่ กี ารต่อสายไฟฟ้าต้องติดตัง้ ทีต่ าํ แหน่งสามารถเข้าถึงได้
2.4.7 กล่องอุปกรณ์ กล่องพักสาย และกล่องต่อสายทุกกล่องต้องยึดติดกับโครงสร้างของอาคารด้วยตัวเอง
ไม่ใช้ท่อร้อยสายไฟเป็ นตัวรองรับท่อ
2.5 สายไฟฟ้าแรงตํ่า
ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้ สายไฟฟ้าสําหรับระบบทีม่ แี รงดันไฟฟ้าไม่เกิน 415 โวลท์ ตลอดจนการติดตัง้ ต้องเป็ นไปตามข้อกําหนด
ต่อไปนี้
2.5.1 นอกเหนือจากทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ การเดินสายไฟฟ้าให้ใช้วธิ เี ดินในท่อร้อยสายไฟทีเ่ ดินเกาะผนัง
หรือเกาะเพดาน
2.5.2 สายไฟสําหรับเดินในท่อร้อยสายไฟทีเ่ ดินเกาะเพดาน แนบผนัง ให้ใช้สายไฟฟ้าชนิดแกนเดียว แบบ
แกนทองแดงหุม้ ด้วยฉนวนโพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) ทีม่ พี กิ ดั แรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกดั
อุณหภูมใิ ช้งานสูงสุดไม่น้อยกว่า 70°C(60227 IEC 01) หรือตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ
2.5.3 สายไฟฟ้าสําหรับเดินในท่อร้อยสายไฟทีฝ่ งั ไว้ในดิน หรือ สายไฟฟ้าทีเ่ ดินฝงั ไว้ในดินโดยตรงให้ใช้
สายไฟฟ้าชนิดแกนเดีย่ วหรือหลายแกน แบบทองแดงหุม้ ด้วยฉนวน และเปลือกนอกโพลีไวนิลคลอไรด์ (Polyvinyl
Chloride) ทีม่ พี กิ ดั แรงดันไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 750 โวลท์ และพิกดั อุณหภูมใิ ช้งานสูงสุดไม่น้อย 90°C(NYY) หรือตามที่
กําหนดไว้ในแบบ
2.5.4 สายไฟฟ้าสําหรับวงจรระบบไฟฟ้าทีไ่ ม่ใช่วงจรควบคุม (สายไฟฟ้าสําหรับเปิ ดปิ ดดวงโคมไฟฟ้า พัด
ลม หรืออื่นๆ ไม่ถอื ว่าเป็ นสายไฟฟ้าสําหรับวงจรควบคุม) ต้องมีพน้ื ทีห่ น้าตัดของสายไฟฟ้าไม่เล็กกว่า 1.5 ตารางมิลลิเมตร
2.5.5 สายไฟฟ้าสําหรับวงจรย่อย เช่น วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง หรือเต้ารับไฟฟ้าหรืออื่นๆ อนุญาตให้เดินใน
ท่อร้อยสายไฟฟ้าเดียวกันได้ท่อละไม่เกิน 24 เส้น แต่ทงั ้ นี้จะต้องเพิม่ ขนาดสายให้เพียงพอสําหรับ Current Capacity ที่
ลดลงด้วย
2.5.6 สายไฟฟ้าสําหรับวงจรย่อยทีไ่ ม่ได้ออกจากแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อยเดียวกันไม่อนุญาตให้เดินรวมอยู่
ในท่อร้อยสายไฟฟ้าเดียวกัน
2.5.7 วงจรสายป้อนต่างๆ ไม่อนุญาตให้เดินรวมอยูใ่ นท่อร้อยสายไฟเดียวกัน
2.5.8 สายไฟฟ้าทีเ่ ป็ นเส้นทีม่ กี ระแสไฟฟ้าไหลผ่านทีข่ นาดต่างกันมากกว่า 2 ขนาดเช่นสายไฟฟ้าขนาด
2.5 ตารางมิลลิเมตรและ 6 ตารางมิลลิเมตรไม่อนุญาตให้เดินรวมอยู่ในท่อร้อยสายไฟเดียวกัน (ยกเว้นสําหรับ
สายไฟฟ้าเส้นทีเ่ ล็กกว่าเป็ นเส้นดินและเส้นศูนย์)
2.5.9 สายไฟฟ้าสําหรับระบบไฟฟ้า หรือสายโทรศัพท์ของระบบโทรศัพท์หรือสายอื่นๆ ของระบบอื่นๆ ต้อง
เดินในท่อร้อยสายทีแ่ ยกจากกัน ห้ามเดินในท่อร้อยสายไฟเดียวกัน
2.5.10 สายไฟฟ้าทีม่ ขี นาดตัง้ แต่ 6 ตารางมิลลิเมตรต้องเป็ นสายไฟฟ้าชนิดตีเกลียว
2.5.11 สีของสายไฟฟ้าในระบบ 380/220 โวลท์ 3 เฟส 4 สาย ต้องเป็นดังนี้
(1) เฟส A สีน้ําตาล
(2) เฟส B สีดาํ
(3) เฟส C สีเทา
(4) สายศูนย์ N สีฟ้า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 359 of 521

(5) สายดิน G สีเขียวหรือเขียวคาดเหลือง


ในกรณีทส่ี ายไฟฟาเป็ นชนิดทีม่ เี ฉพาะสีดาํ ให้แสดงสีของสายไฟฟ้าด้วยปลอกสีหางปลา

2.5.12 สายไฟฟ้าทีเ่ ดินฝงั ไว้ในดินโดยตรง ไม่ผ่านพืน้ คอนกรีต ถนนหรือบริเวณทีอ่ าจมีสงิ่ ทําให้เกิดความ
เสียหายต่อสายไฟฟ้าได้ ให้ฝงตํ ั ่ากว่าระดับดินไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตรรองรับด้วยทรายหนาไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร
และกลบด้วยทรายหรือดินทีไ่ ม่มวี สั ดุทอ่ี าจทําให้เกิดความเสียหาย แก่สายไฟฟ้าหนาไม่ น้อยกว่า 10 เซนติเมตรแล้วปิ ดทับ
ด้วยแผ่นคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 2 นิ้ว ตลอดแนว
2.5.13 สายไฟฟ้าทีเ่ ดินฝงั ไว้ในดิน กรณีทต่ี อ้ งผ่านพืน้ คอนกรีตถนนหรือบริเวณทีอ่ าจมีสงิ่ ทําให้เกิดความ
เสียหายต่อสายไฟฟ้าได้ ให้เดินในท่อร้อยสายไฟ
2.5.14 การต่อสายไฟฟ้าให้ทาํ ได้เฉพาะในกล่องต่อสาย กล่องพักสาย กล่องสวิตช์ หรือกล่องเต้ารับ และต้อง
เหลือปลายสายไว้ไม่น้อยกว่า 15 เซนติเมตร
2.5.15 การต่อสายไฟฟ้าเข้ากับอุปกรณ์ หรือดวงโคมไฟฟ้าแบบใดๆ ก็ตามต้องทํา ในกล่องต่อสายของ
อุปกรณ์ หรือภายในดวงโคมเท่านัน้
2.5.16 จุดต่อสายขนาดตัง้ แต่ 6 Sq.mm. ลงมาให้ใช้ Wire Nut และต้องพันด้วยเทปพันสายทับ
2.5.17 การต่อสายไฟฟ้าทีฝ่ งั ไว้ในดินให้ต่อกันด้วยสลิฟต่อสายพันทับด้วยเทปพันสายและหุม้ ด้วยสารที่
สามารถกันความชืน้ และนํ้าได้อย่างสมบูรณ์
2.5.18 ไม่อนุญาตให้ต่อสายไฟฟ้าในท่อร้อยสายไฟ และในรางเดินสายไฟฟ้าทุกชนิด
2.5.19 ผูร้ บั จ้างต้องตรวจวัดค่าความต้านทานของฉนวนของสายไฟฟ้าทัง้ หมดเมื่อวัดเทียบกับสายดินและ
ระหว่างสายไฟฟ้าด้วยกัน แล้วทํารายงานสรุปผลการตรวจวัดเสนอต่อวิศวกรเพื่อให้ความเห็นชอบ ค่าความต้านทานของ
ฉนวนของสายไฟฟ้าเมื่อวัดเทียบกับสายดิน และระหว่างสายไฟฟ้าด้วยกันต้องมีค่าไม่น้อยกว่า 0.5 เมกกะโอห์ม ที่ 500
โวลท์
2.5.20 ผูร้ บั จ้างต้องวัดค่ากระแสทีไ่ หลในวงจรไฟฟ้าแสงสว่างทุกวงจร เมื่อดวงโคม หรืออุปกรณ์อ่นื ๆ ใน
วงจรนัน้ ๆ เปิ ดให้ทาํ งานหมด แล้วทํารายงานสรุปผลการตรวจวัดดังกล่าวให้แก่วศิ วกร ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการตรวจวัด
รวมถึงค่าไฟฟ้า ต้องเป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ หมด
2.6 สวิทซ์
ต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบ และ/หรือข้อกําหนดต่อไปนี้
2.6.1 ทนกระแสไฟฟ้าสลับได้ไม่น้อยกว่า 15 แอมแปร์ ทีแ่ รงดันไฟฟ้า 250 โวลท์หรือสูงกว่า
2.6.2 ก้านสวิตช์เป็ นกลไกแบบกดเปิ ดปิ ดโดยวิธกี ระดก (rocker operated) และทําด้วยพลาสติกแข็ง
2.6.3 ขัว้ ต่อสายไฟฟ้าเป็ นชนิดมีรเู สียบสายอัดด้วยสปริง หรือรูเสียบสายอัดด้วยสกรูทส่ี ามารถกันการแตะ
ต้องขัว้ ทีเ่ ป็ นโลหะได้หา้ มใช้ชนิดทีย่ ดึ สายไฟฟ้าโดยการพันสายใต้สกรูโดยตรง
2.6.4 ฝาครอบสวิตช์ให้ใช้ฝาครอบแบบอลูมเิ นียมอะโนไดซ์ ตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ และต้องเป็ นแบบขัน
สกรู
2.6.5 สวิตช์ทต่ี ดิ ตัง้ บริเวณทีเ่ ปี ยกชืน้ หรือด้านนอกอาคารให้ใช้ฝาครอบแบบกันนํ้า
2.6.6 สวิตช์ทอ่ี ยู่ในตําแหน่งเดียวกันให้ใช้ฝาครอบเดียวกันได้อย่างมากไม่เกิน 3 สวิตช์ ต่อ 1 ฝาครอบและ
6 สวิตซ์ ต่อ 1 ฝาครอบ
2.6.7 สวิตช์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกับเต้ารับไฟฟ้า
2.7 เต้ารับไฟฟ้า
ต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบและ/หรือข้อกําหนดต่อไปนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 360 of 521

2.7.1 เป็ นชนิดมีขวต่


ั ้ อสายดิน (Grounding Type) ทีส่ ามารถรับเต้าเสียบชนิดสองขาได้ทงั ้ แบบขากลม และ
ขาแบน
2.7.2 ทนกระแสไฟฟ้าสลับได้ไม่น้อยกว่า 15 แอมแปร์ ทีแ่ รงดันไฟฟ้า 250 โวลท์หรือสูงกว่า
2.7.3 ขัว้ ต่อสายเป็ นชนิดมีรเู สียบสายอัดด้วยสปริง หรืออัดด้วยสกรูทส่ี ามารถกัน การแตะต้องขัว้ ทีเ่ ป็น
โลหะได้
2.7.4 ฝาครอบเต้ารับไฟฟ้าให้ใช้ฝาครอบแบบอลูมเิ นียมอะโนไดซ์ ตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ และต้องเป็ น
แบบขันสกรู
2.7.5 เต้ารับไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ บริเวณเปี ยกชืน้ หรือด้านนอกอาคารให้ใช้ฝาครอบชนิดกันนํ้า
2.7.6 เต้ารับไฟฟ้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกับสวิตช์
2.7.7 เต้ารับไฟฟ้าอื่นๆให้เป็ นไปตามแบบ
2.8 ดวงโคมไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ
ดวงโคมไฟฟ้าและอุปกรณ์ประกอบ ต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบ และ/หรือข้อกําหนดต่อไปนี้
2.8.1 หลอดไฟ
(1) หลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ถ้าไม่กาํ หนดไว้ในแบบ หรือทีห่ นึ่งทีใ่ ดให้ใช้หลอดชนิดทีใ่ ห้แสง
Daylight
(2) หลอดใช้ก๊าซ (Gas-Discharge Lamp) ต้องเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบและต้องเป็ นชนิด Color Corrected
(3) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตตามมาตรฐานหลอดฟลูออเรสเซนซ์ขวั ้ คู่ (มอก.236-2548) และ/หรือข้อกํา หนดฉลากเขียว
สําหรับหลอดฟลูออเรสเซนซ์ (TGL-2-R2-02)
(4) ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตตามมาตรฐานหลอดแอลอีดี LED (มอก.1955-2551) และผลิตจากโรงงานภายในประเทศที่
ได้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO9001, ISO14001, และ OHAS18001
2.8.2 บัลลาสต์
(1) บัลลาสต์สาํ หรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ ต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดต่อไปนี้
- เป็ นแบบ ชนิดโลว์วตั ต์ลอสหรือ ชนิดอิเล็กทรอนิกส์ทม่ี คี ุณสมบัตเิ ทียบเท่า
- พิกดั อุณหภูมใิ ช้งานสูงสุด (Rated Maximum Operating-Temperature) ของขดลวดไม่น้อยกว่า
120°C
- พิกดั อุณหภูมทิ เ่ี พิม่ ขึน้ (Rated Temperature Rise) ของขดลวดไม่เกิน 70°C
(2) บัลลาสต์สาํ หรับหลอดใช้ก๊าซ ให้ใช้บลั ลาสต์แบบ Inductive ชนิดเพาเวอร์แฟกเตอร์สงู
2.8.3 สตาร์ทเตอร์
(1) สตาร์ทเตอร์สาํ หรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตตามข้อกําหนดของมอก.
(2) ขัว้ รับหลอดฟลูออเรสเซนต์และขัว้ รับสตาร์เตอร์
(3) ขัว้ รับหลอดฟลูออเรสเซนต์ให้ใช้ชนิด Spring, Type, Rotary Type หรือ Heavy Duty Type ทีผ่ ลิตตามข้อกําหนด
ของ มอก.
(4) ขัว้ รับสตาร์เตอร์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตตามข้อกําหนด มอก.344
2.8.4 คาปาซิเตอร์ CAPACITOR
คาปาซิเตอร์ทุกตัวต้องมีตวั ต้านทานต่อคร่อมไว้เพื่อเป็ นตัวคายประจุ
2.8.5 ดวงโคมไฟฟ้า
(1) ดวงโคมฟลูออเรสเซนต์ ต้องเป็นไปตามข้อกําหนดในแบบ และ/หรือข้อกําหนดต่อไปนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 361 of 521

- เป็ นผลิตภัณฑ์ภายในประเทศทีผ่ ลิตโดยโรงงาน ทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน ISO9001, ISO 14001,


OHAS 18001 และ วิศวกรให้ความเห็นชอบและอนุมตั ใิ ห้ใช้ดวงโคมจากโรงงานนัน้ ได้
- ดวงโคมต้องผ่านกรรมวิธปี ้ องกันสนิม และทําความสะอาดผิวเหล็กจนปราศจากไขและนํ้ามัน แล้วพ่น
ทับด้วยสีแล้วอบด้วยกรรมวิธที เ่ี หมาะสม
(2) ดวงโคมสําหรับหลอดใช้ก๊าซ ให้เป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ และต้องมีทว่ี ่างภายในดวงโคมสําหรับต่อสายไฟฟ้า
(3) แผ่นกรองแสง แผ่นกรองแสงสําหรับดวงโคมฟลูออเรสเซนต์ ทัง้ หมดต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบ ในกรณีท่ี
แผ่นกรองแสงเป็ นแบบพลาสติก หรือชนิดอื่นทีม่ ลี กั ษณะ คล้ายคลึงกันจะต้องมีความหนาไม่น้อยกว่า 2.5
มิลลิเมตร
2.8.6 การติดตัง้ ดวงโคม
การติดตัง้ ดวงโคมต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบและ/หรือข้อกําหนดต่อไปนี้
(1) ดวงโคมฟลูออเรสเซนต์ทต่ี ดิ ลอยบนเพดาน ให้ทาํ การติดตัง้ แบบติดลอยใต้แผ่นพืน้ โดยการยึดหัวระเบิดชนิดโลหะ
(2) ดวงโคมฟลูออเรสเซนต์ทต่ี ดิ ฝงั เสมอเรียบผิวฝ้าเพดานหรือติดซ่อนไว้ ในฝ้าเพดานห้ามใช้วธิ กี ารติดตัง้ โดยใช้โครง
เคร่าของฝ้าเพดานเป็ นตัวรับนํ้าหนักของดวงโคมโดยตรง ให้ใช้วธิ กี ารติดตัง้ โดยห้อยดวงโคมจากพืน้ เพดานด้วย
ก้านโลหะทีไ่ ม่เป็ นสนิมและสามารถปรับสูงตํ่าได้โดยง่าย
(3) ดวงโคมฟลูออเรสเซนต์แบบติดห้อยจากฝ้าเพดาน ให้ตดิ ห้อยจากฝ้าเพดานด้วยท่อร้อยสายไฟฟ้าชนิดบางขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว
(4) ดวงโคมอินแคนเดสเซนต์หรืออืน่ ๆ แบบติดลอยบนเพดาน
(5) การติดตัง้ ดวงโคมชนิดอื่นๆ นอกเหนือจากทีร่ ะบุไว้แล้ว ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแบบแสดงรายละเอียดการติดตัง้ เสนอต่อ
วิศวกรเพื่อให้ความเห็นชอบ
(6) การติดตัง้ ดวงโคมทัง้ หมดต้องทําให้ได้แนวทัง้ แนวดิง่ และแนวระดับ
(7) การต่อสายไฟฟ้าเข้าดวงโคมทุกแบบ ต้องทําภายในดวงโคมหรือภายในกล่องต่อสายทีย่ ดึ ติดกับดวงโคมเท่านัน้
(8) ตําแหน่งดวงโคมทีก่ าํ หนดไว้ในแบบบางตําแหน่งอาจทําให้ขดั ขวาง หรือถูกขัดขวางจากงานติดตัง้ ของงานในระบบ
อื่น ดังนัน้ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบประสานงานกับผูร้ บั จ้างระบบอื่นเพื่อแก้ปญั หาดังกล่าว และถ้าจําเป็ นต้องโยกย้าย
ตําแหน่งดวงโคม การดําเนินการดังกล่าวต้องได้รบั ความเห็นชอบและอนุมตั จิ ากวิศวกรก่อน
(9) น๊อต สกรู และสลักเกลียวทีใ่ ช้ในการติดตัง้ ดวงโคมต้องเป็ นชนิดเหล็กอาบสังกะสี และพุกทีใ่ ช้ให้ใช้ชนิดพลาสติก
ขนาดไม่เล็กกว่า S7

3. ระบบแสงสว่างฉุกเฉินอัตโนมัติ
3.1 ทัวไป่
ระบบแสงสว่างฉุกเฉินอัตโนมัติ ต้องเป็ นดวงโคมแบบมีแบตเตอรีพ่ ร้อมชุดควบคุมบรรจุอยู่ภายในดวงโคมเอง หรือ
เป็ นแบบมีแบตเตอรีแ่ ละชุดควบคุมรวมศูนย์ทแ่ี ผงควบคุมตามทีแ่ สดงไว้ในแบบตัวโคมทําจาก extrude aluminum เพื่อ
ความคงทน แข็งแรง
3.2 ข้อกําหนดทางเทคนิค
ดวงโคมแสงสว่างฉุกเฉิน และ/หรือแผงควบคุมของระบบแสงสว่างฉุกเฉินต้องเป็ นไปตามข้อกําหนดในแบบและ
ข้อกําหนดต่อไปนี้
3.2.1 แบตเตอรี่
แบตเตอรีต่ อ้ งเป็ นแบบ Sealed Lead-Acid หรือเป็ นแบบ Sealed Lead Calcium ทีม่ พี กิ ดั แรงดันไฟฟ้า
กระแสตรง 12 โวลท์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 362 of 521

3.2.2 การอัดประจุ
วงจรอัดประจุแบตเตอรี่ (Battery Charging Circuit) ต้องเป็ นวงจรแบบอีเลคโทรนิคชนิดอัดประจุโดยวิธจี าํ กัดกระแส
และแรงดันทีจ่ ุดสูงสุด (Maximum Constant Voltage and Maximum Constant Current Limited Charging Circuit) ที่
สามารถควบคุมให้การอัดประจุเข้าแบตเตอรีเ่ ป็ นไปโดยอัตโนมัตติ ามสภาพของแบตเตอรี กล่าวคือ ต้องเป็ นวงจรที่
สามารถตัดการอัดประจุเข้าแบตเตอรีอ่ อกทันทีเมื่อแบตเตอรีถ่ ูกอัดประจุเต็มขนาดความจุ และต้องเป็ นวงจรทีส่ ามารถรักษา
แบตเตอรีใ่ ห้เต็มขนาดความจุได้ตลอดเวลาทีย่ งั ไม่มกี ารจ่ายโหลด รวมทัง้ ต้องเป็ นวงจรทีส่ ามารถป้องกันการจ่าย
กระแสไฟฟ้าจนเกินพิกดั ของแบตเตอรี่
3.2.3 การทํางาน
ในภาวะปกติแบตเตอรีต่ อ้ งถูกอัดประจุ ให้เต็มขนาดความจุพร้อมทีจ่ ะจ่ายกระแสไฟฟ้าให้แก่โหลดได้ตลอดเวลา
เมื่อไฟฟ้าปกติเกิดบกพร่องตัวเครื่องจะหน่วงเวลาไว้ราว 1 วินาที (เพื่อป้องกันในกรณีเกิดไฟกระพริบ) แบตเตอรีจ่ งึ จ่าย
กระแสไฟฟ้าให้แก่หลอดไฟทัง้ หมด ถ้าระดับแรงดันของแบตเตอรีท่ จ่ี ่ายให้หลอดไฟลดลงตํ่ากว่า 7.5 โวลท์ จะต้องมีวงจร
ตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าหลอดไฟออกทันที และเมื่อไฟฟ้าปกติกลับคืนสูส่ ภาพทีส่ ามารถใช้งานได้ การจ่ายกระแสไฟฟ้า
ให้แก่หลอดไฟทัง้ หมดของแบตเตอรีต่ อ้ งถูกตัดออก และแบตเตอรีต่ อ้ งถูกอัดประจุให้เต็มขนาดความจุพร้อมทีจ่ ะจ่ายโหลด
ได้อกี การทํางานทัง้ หมดดังกล่าวต้องเป็ นไปโดยอัตโนมัตสิ าํ หรับระบบแสงสว่างฉุกเฉินแบบดวงโคม ทีม่ แี บตเตอรีพ่ ร้อมชุด
ควบคุมอยู่ภายใน ดวงโคมนัน้ ต้องสามารถทดสอบ (Test) ดูการทํางานของระบบและสภาพระดับแรงดันของแบตเตอรีไ่ ด้
โดยปุม่ กด (Test) ทีต่ วั ดวงโคมเองและโดยใช้ Remote Test ชนิดไร้สาย ระบบแสงสว่างฉุกเฉินแบบดวงโคมทีม่ แี บตเตอรี่
และชุดควบคุมอยูภ่ ายในดวงโคม และแบบใช้แผงควบคุมรวมต้องมีวงจรทางด้านเข้าทีส่ ามารถใช้งานได้กบั ระบบไฟฟ้า
แบบ 1 ph 220 โวลท์ 50 เฮิรต์ ซ์
3.2.4 อุปกรณ์ป้องกันและชีบ้ อก
อุปกรณ์ป้องกันและชีบ้ อกสําหรับระบบแสงสว่างฉุกเฉินต้องเป็ นไปตามแบบ และข้อกําหนด ต่อไปนี้ระบบแสงสว่าง
ฉุกเฉินแบบใช้ดวงโคมทีม่ แี บตเตอรี่ พร้อมชุดควบคุมอยูใ่ นดวงโคมเองบนด้านหน้าของดวงโคมอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
อุปกรณ์ต่อไปนี้
(1) ฟิวส์ สําหรับป้องกันการลัดวงจรของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับทางด้านเข้า
(2) หลอดไฟสําหรับแสดงสภาพของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับด้านทางเข้าและหลอดไฟแสดงสภาวะระดับแรงดัน
ของแบตเตอรี่
(3) สวิตซ์แบบปุม่ กดสําหรับทดสอบการทํางานของระบบ และสวิตซ์เปิ ด/ปิ ดวงจรทางด้านออกระบบแสงสว่างฉุกเฉิน
แบบใช้แผงควบคุมรวม อย่างน้อยต้องประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ตามทีร่ ะบุไว้ก่อนหน้านี้และต่อไปนี้
(4) โวลท์มเิ ตอร์สาํ หรับวัดค่าแรงดันไฟฟ้าของแบตเตอรี่
(5) แอมมิเตอร์สาํ หรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าอัดประจุ
(6) ฟิวส์หรือสวิตซ์อตั โนมัติ (Circuit Breaker) สําหรับป้องกันการลัดวงจรของวงจรทางด้านออกหลอดไฟฟ้าหรือดวง
โคม
(7) หลอดไฟสําหรับดวงโคมแบบมีแบตเตอรี่ และชุดควบคุมอยู่ภายในตัวให้ใช้หลอดฮาโลเจน (Halogen Lamp) หรือส
ปอตไลท์ (Spot Light) ขนาด 35 วัตต์ ชนิดกระจายแสงและมีคา่ พิกดั ไฟฟ้าเป็ นไปตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ หรือเป็ น
ตามพิกดั แรงดันของแบตเตอรี่ หลอดไฟ และดวงโคมไฟฟ้าสําหรับระบบแสงสว่างฉุกเฉินแบบมีแผงควบคุมรวมให้
เป็ นไปตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ

4. ระบบการต่อลงดิน (Grounding System)


4.1 ทัวไป

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 363 of 521

การต่อลงดินของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ทีเ่ ป็ นโลหะทีไ่ ม่มกี ระแสไฟฟ้าผ่านหรืออุปกรณ์ทเ่ี ป็ นโลหะและอาจมีกระแสไฟฟ้าไหล


ผ่านได้ของระบบอื่นๆ เช่น โครงเหล็กลิฟต์ ท่อนํ้า เป็ นต้น ต้องต่อลงดิน การต่อลงดินต้องเป็ นไปตามแบบ และ/หรือ ตาม
ข้อกําหนดต่อไปนี้
4.2 ข้อกําหนด
4.2.1 ถ้าไม่มกี าํ หนดไว้ในแบบ สายดินทีเ่ ดินเชื่อมระหว่างอุปกรณ์ไฟฟ้าและแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อยหรือ
แผงควบคุมอื่นๆ ต้องมีขนาดเป็นไปตามตาราง 250-95 ของ National Electrical Code และต้องมีขนาดไม่เล็กกว่า 1.5
ตารางมิลลิเมตรสายดินทีเ่ ดินเชือ่ มระหว่างแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าเมนกับแผงสวิตช์จ่ายไฟฟ้าย่อยหรือแผงควบคุมอื่นๆ ต้องมี
ขนาดเป็ นไป ตามตาราง 250-94 ของ National Electrical Code
4.2.2 สายไฟฟ้าทีเ่ ป็ นเส้นดินและเส้นศูนย์ตอ้ งไม่ใช้สายไฟฟ้าเส้นเดียวกัน
4.2.3 กรอบโลหะของอุปกรณ์ไฟฟ้า จะต้องมีการต่อลงดิน
4.2.4 ขนาดของสายดิน ต้องไม่เล็กกว่าครึง่ หนึ่งของสายเฟส
4.2.5 สายต่อหลักดินทีม่ ขี นาดตัง้ แต่ 25 Sqmm. ขึน้ ไป ถ้าติดตัง้ ในทีอ่ าจถูกกระทบกระแทกได้ง่าย ต้องมี
การป้องกันทางกายภาพ
4.2.6 ถ้าไม่มกี าํ หนดเป็ นอย่างอื่น วิธเี ชื่อมต่อระหว่างสายต่อหลักดินกับหลักดินให้ใช้วธิ ี Exothermic
Welding
4.2.7 หลักดิน (Ground Rod) ให้ใช้แบบเหล็กหุม้ ด้วยทองแดง (Copper Clad Steel) ทีม่ เี ส้นผ่าน
ศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 5/8 นิ้ว ยาวไม่น้อยกว่า 10 ฟุต ส่วนบนสุดของแท่งสายดินต้องฝงอยู ั ใ่ นดินทีร่ ะดับไม่น้อยกว่า 50
เซนติเมตรจากระดับดิน
4.2.8 ความต้านทานของระบบเมื่อเทียบกับความต้านทานของดิน ต้องมีค่าไม่เกิน 5 โอห์ม กรณีให้ความ
ต้านทานของระบบมีค่าเกิน 5 โอห์ม ผูร้ บั จ้างต้องแก้ไข โดยเพิม่ แท่งสายดินจนทําให้ความต้านทานของระบบมีค่าไม่เกิน 5
โอห์มยกเว้น พืน้ ทีท่ ย่ี ากในการปฏิบตั แิ ละการไฟฟ้าฯ เห็นชอบยอมให้ค่าความต้านทานขอบหลักดินกับดิน ต้องไม่เกิน 25
โอห์ม หากทําการวัดแล้วยังมีค่าเกินให้ปกั หลักดินเพิม่ อีก 1 แท่ง
4.3 การทดสอบ
ผูร้ บั จ้างต้องทดสอบความต้านทานของระบบต่อหน้าวิศวกร

5. ระบบสายอากาศลงดินและลดอันตรายจากฟ้าผ่า
5.1 ข้อกําหนดทัวไป ่
ผูร้ บั จ้างไฟฟ้าต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบและสายอากาศกับระบบล่อฟ้า ถึงแม้บางส่วนจะให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างรายอื่นดําเนินการก็
ตาม
5.2 ขอบเขต
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาและติดตัง้ อุปกรณ์ของระบบสายอากาศ (CONDUCTOR) สายลงดิน (DOWN, CONDUCTOR) ระบบ
ลากสายดิน (GROUND CONDUCTOR AND GROUND ROD) ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบและระบุในข้อกําหนดทุกประการ
5.3 มาตรฐาน
อุปกรณ์และการติดตัง้ ให้เป็ นตาม
5.3.1 มาตรฐานเพื่อความปลอดภัยของไฟฟ้า ของสํานักงานพลังงานแห่งชาติ เรื่องมาตรฐานการติดตัง้
ระบบล่อฟ้า
5.3.2 NATIONAL FIRE PROTECTION ASSOCIATION No.78
5.3.3 มาตรฐาน ว.ส.ท.

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 364 of 521

6. การติดตัง้
6.1 ความทัวไป

6.1.1 วัสดุอุปกรณ์ทงั ้ หมดจะต้องส่งถึงสถานทีต่ ดิ ตัง้ ในสภาพดีเยีย่ ม และติดตัง้ เข้าทีใ่ นตําแหน่งทีแ่ สดงไว้
ในแบบแปลน ผูต้ ดิ ตัง้ จะเป็ นผูป้ ระกอบติดตัง้ ต่อเข้ากับระบบตรวจสอบ และทดสอบการใช้งานตามข้อกําหนดทีจ่ ะกล่าว
ต่อไปนี้ และตามข้อกําหนดของโรงงานผูผ้ ลิตและตามหลักมาตรฐานสากลทางด้านวิศวกรรม
6.1.2 ผูต้ ดิ ตัง้ จะต้องประสานงานกับผูต้ ดิ ตัง้ งานระบบอื่นๆ เพื่อให้งานระบบเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ ผูร้ บั
จ้างจะต้องจัดทํารายละเอียดของแบบแปลน อุปกรณ์ ตําแหน่งของ SLEEVE และอุปกรณ์ยดึ โยงต่างๆ ให้กบั ผูเ้ กีย่ วข้อง
โดยประชุมปรึกษาหารือกับผูเ้ กีย่ วข้องจนเป็ นทีเ่ รียบร้อยแล้ว แต่ทงั ้ นี้ไม่ถอื เป็ นการปลดภาระความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
ในการจัดวางตําแหน่งของอุปกรณ์ต่างๆ ให้สอดคล้องกับระบบงานทีเ่ กีย่ วข้อง
6.2 งานระบบไฟฟ้าแสงสว่างและเต้ารับไฟฟ้า
6.2.1 ตําแหน่งของดวงโคมไฟฟ้า เต้ารับไฟฟ้าทีแ่ สดงในแบบเป็ นตําแหน่งโดยประมาณเท่านัน้ ตําแหน่ง
แน่นอนให้ตรวจสอบกับสถาปนิกหรือแบบตกแต่งภายในหรือแบบใช้งานซึง่ ผ่านความเห็นชอบของวิศวกรเป็ นทีเ่ ข้าใจว่า
ตําแหน่งของดวงโคมไฟฟ้า สวิทซ์ไฟฟ้า และเต้ารับไฟฟ้าสามารถเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม
6.2.2 แผงสวิทซ์ไฟฟ้ากําลังและแสงสว่างจะต้องติดตัง้ ณ ตําแหน่งทีแ่ สดงไว้ในแบบแปลนสูง 2.00 เมตร
1.80เมตร1.50 เมตร จากพืน้ ตามระบุ
6.2.3 สวิทซ์ดวงโคมไฟฟ้า ติดตัง้ สูงจากพืน้ 1.20 เมตร
6.2.4 เต้ารับไฟฟ้า และเต้ารับอื่นๆ ติดตัง้ สูงจากพืน้ 0.30 เมตร
6.3 ท่อร้อยสายไฟฟ้า
6.3.1 ท่อร้อยสายไฟฟ้าจะต้องติดตัง้ ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบแปลน ท่อทีฝ่ งั ในพืน้ คอนกรีตใช้ท่อ IMC ส่วนที่
เดินลอย แนบผนัง หรือแนบเพดานให้ใช้ท่อ EMT
6.3.2 ท่อร้อยสายไฟฟ้า จะต้องมีความยาวทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะรับกับตูห้ รือกล่องต่อสาย หรือกล่องเอ๊าเลตใน
กรณีทต่ี ่อเข้ากับกล่องต่อสายหรือตู้ CABINET ท่อทุกท่อจะต้องได้ระดับและมีความยาวของปลายท่อเท่ากัน ทีป่ ลายท่อ
จะต้องมีปลักอุ ๊ ดป้องกันการอุดตันของปูนหรือเศษผงต่างๆ สําหรับปลายท่อต่อเข้ากับเครื่องยนต์ไฟฟ้าจะต้องใช้อุปกรณ์ท่ี
เหมาะสมสําหรับแตะละกรณี
6.3.3 ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีผ่ ่านการใช้งานแล้ว จะนํามาใช้งานใหม่อกี ไม่ได้
6.3.4 ปลายท่อจะต้องทําการลบคมท่อทุกครัง้ ก่อนการติดตัง้ ท่อทีต่ อ้ งทําเกลียวจะต้องทําเกลียวและทํา
ความสะอาดก่อนทีจ่ ะลบคมท่อ
6.3.5 ท่อจะต้องยึดแน่นกับกล่องต่อสายหรือกล่อง OUTLET ต่างๆ ด้วย LOCK NUT และ BUSHING
ตามข้อกําหนด NEC CODE ท่อเดินลอยจะต้องยึดกับทีใ่ ห้มนคงทุ ั่ กระยะ 2 เมตร และจะต้องยึดบริเวณข้องอปลายท่อทุก
แห่ง การยึดท่อต่อท่อจะต้องทําให้เสร็จเรียบร้อยก่อนทีจ่ ะทําการดึงสาย
6.3.6 ภายในท่อจะต้องสะอาดเรียบร้อยไม่มสี งิ่ สกปรก หากไม่สามารถทําความสะอาดได้จะต้องทําการ
เปลีย่ นท่อเสียใหม่
6.4 การติดตัง้ เคเบิล้ สายไฟ
6.4.1 ก่อนการติดตัง้ สายเคเบิล้ หรือสายไฟจะต้องตรวจสอบและแน่ใจว่างานระบบท่อได้ตดิ ตัง้ เรียบร้อยโดย
ไม่มสี งิ่ กีดขวางใดๆ ทีจ่ ะทําความเสียหายให้กบั สายไฟได้
6.4.2 ในการดึงสาย ห้ามใช้จารบีหรือนํ้ามันหล่อลื่นใดๆ นอกจาก COMPOUND ซึง่ ผลิตสําหรับการดึงสาย
โดยเฉพาะเท่านัน้ การต่อสายจะต้องทําทีก่ ล่องเอ๊าเลตหรือกล่องต่อสายเท่านัน้ โดยใช้ตวั ต่อแบบบีบรัด และพันด้วยฉนวน
มีคุณสมบัตเิ ปรียบเทียบดับฉนวนของสายไฟฟ้า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 365 of 521

6.4.3 ในระหว่างการติดตัง้ หากปรากฏว่าท่อร้อยสายไฟฟ้ามีขนาดเล็กเกินไปไม่เหมาะสมในการติดตัง้


สายไฟฟ้าแล้ว ผูต้ ดิ ตัง้ ต้องปรึกษาวิศวกรเพื่อเปลีย่ นแปลงแก้ไขในทันที
6.4.4 สายไฟฟ้าจะต้องผ่านการตรวจสอบทัง้ ขนาดและความยาวก่อนทําการลากสาย สายไฟฟ้าทีม่ คี วาม
ยาวสัน้ เกินไป จะต้องทําการเปลีย่ นใหม่สายไฟฟ้าทีผ่ ่านการใช้ลากสายมาแล้วจะนํากลับมาใช้งานใหม่ไม่ได้ นอกจากจะ
ได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานเสียก่อน
6.5 การต่อลงดิน
6.5.1 ปลายแท่นหลักดินจะต้องติดตัง้ ณ ตําแหน่งทีแ่ สดงไว้ในแบบแปลนและติดตัง้ ในดินอย่างน้อย 60
เซนติเมตร ใต้ผวิ ดิน
6.5.2 สายทองแดงต่อลงดิน จะต้องจัดวางอย่างเรียบร้อย และฝงั ลึกไปในดินอย่างน้อย 50 เซนติเมตร จาก
ผิวดิน
6.5.3 จุดต่อของสายดินทุกจุดจะต้องทําความสะอาดก่อนและจะต้องยึดแน่นทุกจุด อุปกรณ์ไฟฟ้าทุกชนิด
ท่อร้อยสายไฟ และส่วนทีเ่ ป็ นโลหะของอุปกรณ์ต่างๆ จะต้องต่อลงดินเข้ากับระบบสายดินโดยใช้หวั ต่อทีเ่ หมาะสม

7. รายการอุปกรณ์วสั ดุ และอุปกรณ์ทอ่ี นุมตั ใิ ห้ใช้


รายการวัสดุ และอุปกรณ์ทอ่ี นุมตั ใิ ห้ใช้ตามหัวข้อข้างล่างนี้เป็ นเพียงแนวทางประกอบการเลือกวัสดุและอุปกรณ์ของ
ระบบไฟฟ้า ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอวัสดุและอุปกรณ์อ่นื ๆ ตามทีร่ ะบุในหัวข้อข้างล่างนี้ได้โดยจะต้องเป็ นตามข้อกําหนดของ
ระบบไฟฟ้านี้ และจะต้องส่งรายละเอียดทางเทคนิค แคตตาล็อคพร้อมทัง้ ระบุรุ่น และขนาดของอุปกรณ์นนั ้ ให้ชดั เจนใน
ระหว่างการเสนอราคา และจะต้องเสนอขออนุมตั กิ ่อนการดําเนินการจัดซือ้
7.1 LIGHTING LUMINAIRE PHILIPS, TEI, DELIGHT, HILIGHT, VCK
7.2 LAMP HOLDER BJB, VS, SIRIJAYA,หรือเทียบเท่า
7.3 BALLAST & LOW LOSS BALLAST PHILIPS, MK, BOVO, VOSSLOH, VCK
7.4 LAMP STARTER PHILIPS, OSRAM, SYLVANIA
7.5 LUMINAIRE : LAMP CAPACITOR PHILIPS, Electronicon, ATCO
7.6 LUMINAIRE : LAMP PHILIPS, OSLAM, SYLVNIA, VCK
7.7 CONDUIT MITSUSHITA, TAS, PAT
7.8 CABLE PHELPS DODGE, THAI YAZAKI,BANGKOKCABLE, MCI
7.9 365EMERGENCY LIGHT HITIGHT,TEI, VCK

จบหมวดที่ 65

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 366 of 521

หมวดที่ 66
หม้อแปลงไฟฟ้ า

1. หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้ง
1.1 ความต้องการทัวไป ่
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งต้องทําและทดสอบตามมาตรฐานฉบับล่าสุดทีเ่ กีย่ วข้องของ IEC Standard และต้องได้รบั
การรับรองโดยสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องเป็ นชนิดแห้ง สําหรับใช้ภายในอาคารในทีม่ คี วามชืน้ สูงฉนวนชนิด Cast-Resin Under
Vacuum, Insulation Class F or H สําหรับ HV หรือ LV winding.
(3) ผูผ้ ลิตต้องรับประกันคุณภาพของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้งไม่ต่าํ กว่า 5 ปี หากมีการเสียหายผูผ้ ลิตจะต้องทําการ
เปลีย่ นหม้อแปลงไฟฟ้าลูกใหม่ให้ โดยไม่มคี ่าใช้จ่าย
1.2 พิกดั ของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดแห้ง
(1) ขดลวดแรงสูง 24kV หรือ 33KV หรือตามทีร่ ะบุในแบบ (Delta–Connection) 3 เฟส 50 Hz ขดลวดต้องมี off-load
tap changer, หรือ -4x2.5% ตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง โดยมีค่า Dielectric Test Voltage ไม่น้อยกว่า
มาตรฐานทีก่ ารไฟฟ้านครหลวงกําหนด
(2) ขดลวดแรงตํ่า 416/240 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย 50 Hz (Y-Connection) ตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง และ
เส้นศูนย์ตอ้ งทนกระแสไฟได้เท่าเส้นเฟส
(3) Vector Group ต้องเป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ ารไฟฟ้านครหลวงกําหนด
(4) ขดลวด เป็ นชนิดอลูมเิ นียม หรือทองแดง
(5) ความสูญเสีย (Loss) ความสูญเสียต้องมีค่าตํ่าทัง้ ขณะทีไ่ ม่มโี หลด และขณะมีโหลดเต็มที่ ค่าความสูญเสียรวมต้อง
ไม่เกิน 1% ทีเ่ ต็มพิกดั และ PF = 1
(6) Impedance Voltage ประมาณระหว่าง 5.6 - 8% at rated KVA
(7) หม้อแปลงต้องสามารถรับโหลดเต็มทีต่ ่อเนื่องกันได้ทอ่ี ุณหภูมโิ ดยรอบ 40ºC โดยไม่ตอ้ งใช้พดั ลมเปา่
(8) อุณหภูมทิ เ่ี พิม่ ขึน้ สูงสุดขณะใช้โหลดเต็มทีต่ อ้ งไม่สงู เกิน 100 K (100ºC วัดจากอุณหภูมโิ ดยรอบ 40ºC)
(9) ระดับเสียงรบกวนต้องตํ่าและมีคา่ ไม่เกินกว่าทีก่ าํ หนดไว้ใน NEMA or IEC Standard ให้ระบุค่าด้วยในการเสนอ
ราคา
(10) ขนาดหม้อแปลงทีต่ ดิ ตัง้ ในตูห้ ม้อแปลงตามทีก่ าํ หนดในแบบหรือข้อกําหนดต้องสามารถรับโหลดต่อเนื่อง
เพิม่ ขึน้ ได้อกี 40% ของขนาดมาตรฐาน เมื่อมีการติดตัง้ พัดลมเปา่ หม้อแปลงโดยอัตโนมัตติ ามมาตรฐานของผูผ้ ลิต
1.3 โครงสร้างของหม้อแปลง
(1) ตัวขดลวดหม้อแปลงต้องติดตัง้ บนโครงเหล็กโดยมีชน้ิ ส่วนป้องกันความสันสะเทื ่ อนรองรับ (Vibration Damper) และ
ต้องมีห่วงยกตามทีจ่ าํ เป็ น
(2) ขัว้ ต่อสายแรงสูง ให้เป็ นแบบทําสําหรับต่อกับสายเคเบิล้ แรงสูง ตามมาตรฐานของการไฟฟ้านครหลวง
(3) ขัว้ ต่อสายแรงตํ่า ต้องทําสําหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ ขัวต่ ้ อสายศูนย์ตอ้ งทนกระแสไฟฟ้าได้เท่าขัวต่
้ อสายเฟส
(4) ขัว้ ต่อสายดิน ต้องมีให้ทงั ้ ทีโ่ ครงหม้อแปลงและทีต่ วั ถังปิ ดหม้อแปลง
(5) ตัวต่อกลางอ่อน (Flexible connector) ทีข่ วต่ ั ้ อสายแรงสูงและแรงตํ่าทุกอันต้องติดตัง้ ตัวต่อกลางอ่อนทําด้วย
ทองแดง ทนกระแสไฟฟ้าได้ไม่น้อยกว่า 125% ของกระแสไฟสูงสุดทีร่ ะบุสาํ หรับกรณีใช้พดั ลมเปา่ ให้ต่อระหว่าง
ขัว้ ต่อสายของหม้อแปลงกับบัสบาร์ทต่ี ่อเข้าแผงสวิตช์ เพื่อลดความสันสะเทื ่ อนและรับการขยายตัวของบัสบาร์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 367 of 521

(6) ข้างตัวหม้อแปลงต้องมีทว่ี ่างเตรียมไว้ให้พร้อมทีจ่ ะติดตัง้ พัดลมเปา่ หม้อแปลง เพื่อเพิม่ พิกดั ขึน้ ได้
(7) ตัวขดลวดแรงตํ่า ต้องสามารถติดตัง้ อุปกรณ์วดั อุณหภูมิ (Temperature Sensor) เพิม่ ขึน้ ได้ทุกเมื่อ เพื่อวัดอุณหภูมิ
ของขดลวดแรงตํ่า
(8) ตัวหม้อแปลงต้องมีตวั ถังครอบมิดชิดเป็ นแบบนิรภัยรอบด้าน (Safety Deadfront) ชนิด Class IP21, หรือตามที่
กําหนดในแบบ ตัวถังให้ทาํ ในประเทศไทยได้ และได้รบั การรับรองจากโรงงานผูผ้ ลิตหม้อแปลงแหล่งกําเนิด โดยมี
ลักษณะทัวไปดั
่ งนี้คอื เหล็กทีใ่ ช้ทาํ ตัวถัง หนาไม่น้อยกว่า 2 มม. ชิน้ ส่วนทีเ่ ป็ นเหล็กต้องขัดสนิม ล้างสนิ มและไขมัน
ออกด้วยนํ้ายา พ่นสีกนั สนิมชนิด Zinc Phosphate พ่นสีรองพืน้ (Primer) พ่นสีชนั ้ สุดท้ายอย่างน้อยสองชัน้ โดยใช้สี
ชนิด Stoved enamel สีเหมือนตูแ้ ผงสวิตซ์ หรือสีตามทีก่ าํ หนดให้ ระหว่างการพ่นสีแต่ละชัน้ ต้องผ่านการอบด้วย
ความร้อนสูง
1.4 อุปกรณ์ประกอบ
(1) เครื่องกันฟ้า (Lightning or surge arrester) จํานวนสามอัน ติดตัง้ ทางด้านแรงสูง เป็ นแบบทีท่ าํ สําหรับป้องกันหม้อ
แปลงชนิดนี้โดยเฉพาะ ต้องเป็ นเครื่องกันฟ้าทีท่ าํ ตามมาตรฐาน ANSI หรือ IEC ผ่านการทดสอบและรับรอง
คุณภาพโดยสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
(2) เทอร์โมมิเตอร์แบบมีเข็มชี้ (Dial type) สเกลประมาณ 45ºC-200ºC หรือแบบแสดงผลเป็ นตัวเลข (Digital Type)

สําหรับวัดอุณหภูมสิ งู สุดของขดลวดแรงตํ่าทัง้ สามชุด โดยใช้อุปกรณ์วดั อุณหภูมฝิ งในขดลวดทั ง้ สามชุด
(3) ติดตัง้ Thermister สําหรับวัดอุณหภูมทิ ข่ี ดลวดแรงตํ่า ณ จุด HOTEST SPOT ทีข่ ดลวดแรงตํ่าทัง้ 3 ชุด ณ.ระดับ
อุณหภูมติ ่าง ๆ ดังนี้
- ระดับอุณหภูมิ 100ºC ส่งสัญญาณบังคับให้พดั ลมเปา่ หม้อแปลงทํางาน
- ระดับอุณหภูมิ 130ºC ส่งสัญญาณให้สญ ั ญาณอันตรายทํางาน
- ระดับอุณหภูมิ 150ºC ส่งสัญญาณให้อุปกรณ์ป้องกันตัดไฟทัง้ ด้านแรงสูงและแรงตํ่า
(4) พัดลมเปา่ หม้อแปลง
- พัดลมเปา่ หม้อแปลง ต้องประกอบด้วยสวิตซ์ตดั ตอนอัตโนมัติ คอนแทคเตอร์ หลอดไฟสัญญาณ สายไฟหุม้
ฉนวนและเปลือกนอก มอเตอร์ชนิดหุม้ มิดพร้อมพัดลมประกอบกันเป็ นชุด ทําโดยเฉพาะสําหรับใช้กบั หม้อแปลงตาม
ข้อกําหนดนี้สามารถเปา่ ลมได้ปริมาณเพียงพอทีจ่ ะเพิม่ พิกดั หม้อแปลงได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 หรือตามทีร่ ะบุทอ่ี ุณหภูมิ
โดยรอบ 40ºC โดยรายละเอียดของพัดลมเปา่ หม้อแปลงและช่องอากาศเข้าจากตัวถัง จะต้องทําตามคําแนะนําของโรงงาน
ผูผ้ ลิตตัวหม้อแปลง
- พัดลมเปา่ หม้อแปลงต้องเป็ นแบบ CROSS FLOW FAN โดยเปา่ ลมจากใต้ขดลวดหม้อแปลงขึน้ ไปด้านบน
(5) ชุดสัญญาณอันตราย ต้องประกอบด้วยออดหรือกริง่ ไฟฟ้า หลอดไฟสัญญาณ คอนแทคเตอร์ ปุม่ กดดับ
สัญญาณเสียง และมีขวั ้ ต่อสายสําหรับต่อชุดสัญญาณอันตรายระยะไกลไปยังห้องควบคุมกลาง ได้อกี 1 ชุดด้วย
1.5 การติดตัง้ หม้อแปลงไฟฟ้า
(1) โครงของหม้อแปลงไฟฟ้าต้องต่อลงดินทีจ่ ุดทีอ่ ยูใ่ กล้ทส่ี ดุ สายทีใ่ ช้ต่อลงดินให้ใช้ขนาดตามทีก่ าํ หนดในแบบ
(2) พืน้ ทีร่ องรับหม้อแปลงไฟฟ้าต้องมันคงแข็ ่ งแรง ระหว่างหม้อแปลงและพืน้ ทีร่ องรับให้รองด้วยวัสดุทช่ี ่วยลดการ
สันสะเทื
่ อน (Vibration Isolator)
(3) ในการเข้าสาย หรือบัสบาร์ทห่ี ม้อแปลงไฟฟ้า ต้องทําความสะอาดขัว้ ต่อของหม้อแปลงไฟฟ้าก่อน หลังจากต่อสาย
หรือบัสบาร์เข้า/ออกแล้ว ต้องฉาบจุดทีต่ ่อโดยใช้ Lacquer หรือวิธอี ่นื ทีอ่ นุมตั ิ
(4) ก่อนจ่ายไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้า ต้องทดสอบก่อนว่าค่าทางไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้าถูกต้องตามทีผ่ ผู้ ลิตแนะนํา
หรือแจ้งไว้ ลักษณะการต่อสายเข้าและออกถูกต้องตามความต้องการของข้อกําหนดทางไฟฟ้า ในกรณีของหม้อ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 368 of 521

แปลงไฟฟ้าทีก่ ารไฟฟ้าท้องถิน่ จะต้องเป็ นผูต้ รวจอนุมตั ใิ ห้ใช้ ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูต้ ดิ ต่อประสานงานให้การไฟฟ้า
ท้องถิน่ ตรวจและอนุมตั กิ ่อน จึงจะจ่ายไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้าได้
(5) เมื่อจ่ายไฟเข้าหม้อแปลงไฟฟ้าแล้ว ผูร้ บั จ้างต้องตรวจและทดสอบว่าแรงดันด้านแรงตํ่ามีค่าตามทีก่ าํ หนด ถ้ายัง
ไม่ได้ตามทีก่ าํ หนดต้องเปลีย่ น Tap เพื่อปรับแรงดันให้ได้ก่อน จึงจะจ่ายไฟไปสูว่ งจรภายนอกได้ นอกจากนี้จะต้อง
ทดสอบระบบควบคุมและระบบสัญญาณอันตรายเตือนตามทีก่ าํ หนดไว้ว่าใช้งานได้
1.6 การทดสอบ
(1) หม้อแปลงต้องผ่านการทดสอบทีโ่ รงงานผูผ้ ลิตตัวหม้อแปลง (มิใช่โรงงานผูป้ ระกอบตัวถัง) ตามทีก่ าํ หนดใน
มาตรฐาน โดยต้องมีหนังสือรับรองผลการทดสอบระบุ SERIAL NUMBER ออกโดยโรงงานดังกล่าว แสดง
รายละเอียดผลการทดสอบ และตรวจพินิจครบถ้วน ให้สง่ หนังสือรับรองดังกล่าว จํานวน 3 ชุด
(2) หม้อแปลงจะต้องผ่านการทดสอบจากสถาบันมาตรฐานตาม IEC 76-5 โดยรวมถึง
- Partial Discharge Measurement
- Noise Level Measurement
- Impulse Test, Heat Run Test และ Ability withstand short circuit (สามารถใช้ Type Test ได้)
(3) เมื่อหม้อแปลงส่งไปถึงสถานทีต่ ดิ ตัง้ แล้ว ผูร้ บั จ้างต้องจัดให้มกี ารทดสอบโดยการไฟฟ้าท้องถิน่ ก่อนจ่ายไฟ ผูร้ บั จ้าง
ต้องเป็ นผูเ้ สียค่าใช้จ่ายในการทดสอบทัง้ สิน้ หากการไฟฟ้าท้องถิน่ ไม่ยอมให้ใช้หม้อแปลงทีส่ ง่ มอบ ผูร้ บั จ้างจะต้อง
นําหม้อแปลงใหม่ทถ่ี ูกต้องมาเปลีย่ นให้ โดยไม่คดิ ค่าใช้จ่ายใดๆ เพิม่ ขึน้ ทัง้ สิน้
(4) ผูว้ ่าจ้างขอสงวนสิทธิในการที
์ จ่ ะขอทดสอบหม้อแปลงตามวิธกี ารทีผ่ วู้ ่าจ้างจะกําหนดให้ภายหลัง เพื่อทดสอบ
หม้อแปลงในรายละเอียดต่างๆของข้อกําหนดรวมทัง้ การทดสอบที่ full load และเกิน full load อีกร้อยละ 40 โดย
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายทัง้ สิน้
(5) ผูร้ บั จ้างต้องส่งหนังสือคู่มอื ในการติดตัง้ การใช้ และการบํารุงรักษา พร้อมทัง้ แบบการติดตัง้ แปลเป็ นภาษาไทย ใช้
หน่วย "เอสไอ" แสดงขนาดมิตโิ ดยละเอียด วงจรการต่อสายและรายการอะไหล่ จํานวนรวม 3 ชุด

2. หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดนํ้ามัน
2.1 ความต้องการทัวไป ่
(1) หม้อแปลงไฟฟ้ากําลัง (Power Transformer) ต้องเป็ นชนิดขดลวดจุ่มอยู่ในนํ้ามัน (Oil immersed) สําหรับใช้งาน
ภายนอกอาคาร
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผลิตและทดสอบ ตามมาตรฐานของ TIS, ANIS หรือ IEC ฉบับล่าสุด และต้องเป็ นไปตามกฎ
และระเบียบของการไฟฟ้า
(3) การแสดงพิกดั ต่างๆ ของหม้อแปลงไฟฟ้าจะต้องอ้างอิงทีอ่ ุณหภูมิ 40ºC ความชืน้ สัมพัทธ์ 50%
(4) หม้อแปลงไฟฟ้า ต้องมีคุณสมบัติ และสมรรถนะ ดังนี้
- Rated Primary Voltage : ตามทีก่ าํ หนดในแบบ
- Rated Frequency : 50 H z
- Number of Phase : 3
- Rated Power Output : ตามทีก่ าํ หนดในแบบ
- Vector Group : Dyn 11
- HV. No-Load Tap Changer : - 4x2.5% (MEA)
: + 2x2.5% (PEA)
- Total loss at P F.1 : ไม่เกิน 1.5% ที่ Full load

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 369 of 521

(5) ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายละเอียดหม้อแปลงให้วศิ วกรของผูว้ ่าจ้าง หรือตัวแทนของผูว้ ่าจ้าง และการไฟฟ้าท้องถิน่


พิจารณา ให้ความเห็นชอบก่อนการสังซื ่ อ้ หม้อแปลงโดยในรายละเอียดต้องแสดงข้อมูลให้พจิ ารณาอย่างน้อยดังนี้
- รายละเอียดของวัสดุ, Rated Voltage และ Current ของขดลวดแรงสูง และแรงตํ่า
- Rated Frequency
- Number of Phase
- No Load Loss และ Rated Load Loss
- Tap Changer
- Rated Rasic Impulse Level
- Impedance Voltage
- Impedance Voltage
- Vector Group
- Noise Level
- Percent Efficiency
- Percent Regulation at 100% PF
- ขนาดมิติ และนํ้าหนัก
2.2 ส่วนประกอบของหม้อแปลงไฟฟ้า
(1) แกนเหล็กIron Core สร้างขึน้ ด้วย High Grade Nonaging Silicon Steel Lamination ซึง่ มี Magnetic
Permeability สูงและให้ค่า Hysteresis และ Eddy Current Loss ตํ่า
(2) ขดลวดและฉนวนHigh Voltage และ Low Voltage Winding โลหะตัวนําทําด้วยทองแดงหุม้ ด้วยฉนวน Class A
(3) Tap Changerที่ High Voltage Winding ต้องมี Off - Load Tap Changer ตามทีก่ าํ หนดด้ามหมุนของ Tap
Changer ต้องสามารถแสดงให้ทราบได้ว่าในขณะนัน้ อยูใ่ นตําแหน่งของ Tap ใด
(4) ขัว้ ต่อสาย ขัว้ ต่อสายแรงสูงต้องทําให้เหมาะสมสําหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ หรือต่อกับสายเคเบิล้ แรงสูง (โดยให้
พิจารณาจากแบบ) เพื่อต่อกับสวิตซ์แรงสูงอย่างเหมาะสมขัว้ ต่อสายแรงตํ่าทําด้วยทองแดง เคลือบทับด้วย High
Conductivity Bronze หรือ Hot-Tin dipped จะต้องเหมาะสมสําหรับใช้ต่อกับบัสบาร์ หรือต่อกับสายเคเบิล้ (โดยให้
พิจารณาจากแบบ)Bolts, Nuts และ Lock washers ทีใ่ ช้กบั ขัวต่้ อสายต้องทําด้วย Stainless Steel
(5) ตูห้ ม้อแปลง ทําด้วยโลหะมีความแข็งแรงทนทานต่อสภาพการใช้งาน และการเคลื่อนย้ายสีทาภายในตูเ้ ป็ นชนิดที่
เหมาะสมสําหรับการใช้บรรจุน้ํามัน สีทาภายนอกตูท้ ารองพืน้ ด้วย Primer Coat และทาสีทบั อย่างน้อย 2 ชัน้ ซึง่
เป็ นชนิดทีท่ นต่อสภาวะการใช้งานนอกอาคาร
2.3 อุปกรณ์ประกอบหม้อแปลง
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าทุกขนาดจะต้องมีอุปกรณ์ประกอบอย่างน้อยทีส่ ดุ ดังนี้
- Drain Valve, Sampling
- Lifting Lugs
- Earthing Terminal
- Oil Level Gauge
- Off Load Tap Changer
- Thermometer Pocket
- Pressure relief device
- Conservator Tank

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 370 of 521

(2) สําหรับหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดตัง้ แต่ 1000-2500 KVA จะต้องมีอุปกรณ์ประกอบเพิม่ เติมดังนี้


- Dial Type Thermometer with adjustable contact
- Buchholz Relay
2.4 การติดตัง้ หม้อแปลง
(1) ให้ตดิ ตัง้ ตามลักษณะและตามตําแหน่งทีร่ ะบุในแบบ หรืออาจเปลีย่ นแปลงได้เพื่อความเหมาะสม โดยความ
เห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน แต่ทงั ้ นี้ตอ้ งไม่ขดั ต่อระเบียบของการไฟฟ้าท้องถิน่
(2) การเคลื่อนย้ายหม้อแปลงจะต้องทําด้วยความระมัดระวัง เพื่อมิให้เกิดความเสียหายต่อหม้อแปลง
2.5 การทดสอบหม้อแปลงไฟฟ้า
(1) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่านการผ่าน Routine Test จากโรงงานผูผ้ ลิตโดยมีเอกสารแสดงผลการทดสอบ ใน
รายละเอียดต่างๆ ดังนี้
- Measurement of Winding Resistance
- Measurement of Impedance Voltage
- Measurement of Load Loss
- Measurement of no Load Loss
- Measurement of Insulation Resistance
- Measurement of Voltage Ratio
- Check of Polarity and Vector Group
- Induced Voltage Test
- Applied Voltage Test
(2) หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่าน Type test จากสถาบันทีผ่ วู้ ่าจ้างเชื่อถือ โดยมีเอกสารแสดงผลการทดสอบ ในรายละเอียด
ดังนี้
- Temperature Rise Test
- หม้อแปลงไฟฟ้าต้องผ่านการตรวจสอบและได้รบั รองให้ใช้จากการไฟฟ้าท้องถิน่
- เมื่อติดตัง้ ในสถานทีใ่ ช้งานแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการวัดค่าความต้านทานของฉนวนทีข่ วต่
ั ้ างๆ อย่าง
ครบถ้วน และทําการตรวจทดสอบการทํางานของอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ แล้วทํารายงานส่งผูว้ ่าจ้างหรือตัวแทนผูว้ ่าจ้าง
- ผูร้ บั จ้างต้องส่งหนังสือคู่มอื การใช้งาน และการบํารุงรักษา เป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษ จํานวน 3 ชุด
ต่อผูว้ ่าจ้าง

3. การรับประกัน
3.1 ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันว่า หม้อแปลงไฟฟ้าทีจ่ ะนํามาใช้เป็ นของใหม่ทผ่ี ลิตจากโรงงาน และยังไม่เคยติดตัง้ ใช้
งานทีใ่ ด หากไม่ถูกต้องผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการเปลีย่ นให้
3.2 ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันหม้อแปลงไฟฟ้าทีม่ กี ารเสียหาย เนื่องจากข้อผิดพลาดในการผลิตการขนส่ง และการ
ติดตัง้ โดยต้องรับซ่อมหรือเปลีย่ นใหม่ภายในระยะเวลา 1 ปี นับแต่วนั ทีเ่ ริม่ ใช้งานหรือวันรับมอบงานทัง้ ระบบ
3.3 เมื่อครบกําหนดการรับประกัน ผูร้ บั จ้างต้องตรวจ ทําความสะอาด และทําการขันรอยต่อทุกจุด

จบหมวดที่ 66

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 371 of 521

หมวดที่ 67
เครือ่ งกาเนิ ดไฟฟ้ าสารอง

1. ความต้องการทัวไป ่
1.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาติดตัง้ เครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารอง พร้อมระบบควบคุมอัตโนมัตแิ ละอุปกรณ์ต่างๆ ทีจ่ าํ เป็ น
เพื่อให้เครื่องกําเนิดไฟฟ้าดังกล่าวทํางานโดยสมบูรณ์ตามทีแ่ สดงในแบบและระบุในข้อกําหนดนี้ทุกประการ
1.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินให้กาํ ลังไฟฟ้าเป็ นแบบ Prime (Prime Rating) โดยมีขนาด kVA. ไม่น้อยกว่าที่
แสดงไว้ในแบบทีเ่ พาเวอร์แฟกเตอร์ 0.8 380/220 V. 3 เฟส4 สาย 50 Hz ทีค่ วามเร็วรอบ 1500 รอบ/นาที
1.3 เครื่องยนต์ เครื่องกําเนิดไฟฟ้า และ Radiator ตัง้ อยูบ่ นฐานเดียวกัน ซึง่ ทําด้วยเหล็กประกอบสําเร็จรูปและ
Coupling มาจากโรงงานผูผ้ ลิตและต้องส่ง Test Report ของเครื่องนัน้ ๆ มาให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาด้วย
1.4 แผงควบคุมชุดเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ต้องเป็ นแผงควบคุมทีป่ ระกอบสําเร็จรูป โดยบริษทั ผูผ้ ลิตชุดเครื่องกําเนิด
ไฟฟ้า
1.5 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําการทดสอบด้วยโหลดเทียมทีส่ ถานทีต่ ดิ ตัง้ หรือทีโ่ รงงานผูจ้ ดั จําหน่ายตามรายการ
ทดสอบระบบ

2. เครือ่ งยนต์
2.1 เป็ นเครื่องยนต์ทใ่ี ช้น้ํามันดีเซลเป็ นเชือ้ เพลิงชนิดสีจ่ งั หวะ ทํางานทีพ่ กิ ดั ความเร็ว 1,500 รอบต่อนาที ขนาด
กําลังของเครื่องยนต์จะต้องเป็ นขนาดทีเ่ หมาะสมกับขนาดพิกดั ของ Generator เป็ นเครื่องยนต์ชนิด Low Emissions ได้
มาตรฐานเทียบเท่า TA-Luft หรือ TIER-I
2.2 ระบบควบคุมความเร็วรอบใช้ Solid State Synchronous Governor เพื่อให้ความถีข่ องกระแสไฟฟ้าทีจ่ ่าย
ออกอยู่ระหว่าง 50 Hz 0.25%
2.3 ระบบจ่ายนํ้ามันเชือ้ เพลิงเป็ น แบบ Direct Injection นํ้ามันเชือ้ เพลิงก่อนเข้า Fuel injector ต้องผ่านเครื่อง
กรองนํ้ามันชนิดทีส่ ามารถเปลีย่ นไส้ได้ซง่ึ ติดตัง้ ในตําแหน่งทีส่ ามารถเข้าบํารุงรักษาได้สะดวก
2.4 ระบบนํ้ามันหล่อลื่นเป็ นแบบ Gear type lubricating oil pump
2.5 ไส้กรองของนํ้ามันหล่อลื่นใช้แบบ Double หรือ Triple Paper Element และมีเครื่องกรองนํ้ามันพร้อม
Bypass Valve ซึง่ ทํางานด้วยสปริงเพื่อให้น้ํามันสามารถไหลผ่านได้ในกรณีทไ่ี ส้กรองอุดตัน
2.6 การระบายความร้อน จะต้องมีระบบระบายความร้อนซึง่ จัดมาพร้อมเสร็จกับเครื่องยนต์โดยมีขนาดพอทีจ่ ะไม่
ทําให้เครื่องยนต์รอ้ นเกินกําหนดในขณะทํางาน เป็ นแบบระบบปิ ดประกอบด้วยปมนํ ั ๊ ้าซึง่ รับแรงขับจากเครื่องยนต์ในกรณีท่ี
ใช้ระบบระบายความร้อนด้วยนํ้า หม้อนํ้าและพัดลมอาจจะเป็ นแบบทีต่ ดิ อยู่กบั เครื่องหรือติดตัง้ แยกกันก็ได้ ซึง่ ขึน้ อยู่กบั
สภาพและสถานทีต่ ดิ ตัง้ ซึง่ ถ้าติดตัง้ แยกกันแล้วจะต้องจัดหาเครื่องสูบนํ้าทีม่ ขี นาดเพียงพอทีจ่ ะระบายความร้อนสําหรับ
เครื่องยนต์นนั ้ ๆ ด้วยโดยค่าใช้จา่ ยอยู่ในส่วนรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้ ระบบจ่ายนํ้าสําหรับระบายความร้อนต้องอิสระ
และให้ผเู้ สนอเครื่องยนต์กาํ หนดหรือแนะนํานํ้ายาทีใ่ ช้เติมในนํ้าระบายความร้อนเพื่อป้องกันการผุกร่อนมาด้วย
2.7 ระบบกรองอากาศใช้เครื่องกรองอากาศชนิดแห้ง (Dry type air filter paper element)
2.8 ระบบระบายความร้อนใช้ Radiator with fan guards รับแรงขับจากเครื่องยนต์ผ่านสายพาน ปริมาณ Air
Flow และ Air Flow Restriction ต้องเพียงพอกับสภาพการติดตัง้ ตามแบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 372 of 521

2.9 สตาร์ทเครื่องยนต์ดว้ ย 24 VDC Starting Motor โดยใช้กระแสไฟฟ้าจาก Lead-Acid Battery ซึง่ มีความจุ
ไฟฟ้าพอทีจ่ ะสตาร์ทเครื่องยนต์ตดิ ต่อกันได้อย่างน้อย 4 ครัง้ พร้อมกันนัน้ ยังสามารถใช้ได้กบั ระบบอัตโนมัติ ระบบควบคุม
ระบบเตือนหรือระบบอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ นอย่างเพียงพอ
2.10 การประจุแบตเตอรีต่ อ้ งเป็ นระบบ Solid State ซึง่ จะประจุไฟโดยอัตโนมัตดิ ว้ ยแรงดันคงทีส่ ามารถประจุให้
แบตเตอรีเ่ ต็มโดยเร็วตามสมควรแต่ไม่เกิน 12 ชัวโมง่ และจะต้องมีไฟสัญญาณแสดงภาวะ การทํางานของเครื่องประจุ
แบตเตอรี่
2.11 ระบบไอเสียให้มอี ุปกรณ์ระงับเสียง (Exhaust Silencer) ชนิด Residential หรือดีกว่าและท่ออ่อน (Flexible
Exhaust Pipe) เพื่อลดเสียงดังลงมา การติดตัง้ ท่อไอเสียจะต้องยึดด้วย Vibration Absorber ชนิดสปริงและจะต้องไม่เกิด
ความเสียหายเนื่องจากความร้อนทีเ่ กิดขึน้ โดยท่อไอเสียให้ใช้เหล็กดํา Schedule 40 หรือดีกว่า และติดตัง้ Flexible
Exhaust Pipe ความยาวท่อไม่น้อยกว่า 60 ซม. ท่อไอเสียทีเ่ ดินภายในอาคารจะต้องหุม้ ด้วยฉนวนความร้อน (Calcium
Silicate) และแผ่นอลูมเิ นียมความหนาไม่น้อยกว่า 0.6 มม. อีกชัน้ หนึ่ง
2.12 จัดให้มรี ะบบป้องกันเสียง (Sound Attenuator with Aluminium Grill Fixed Type) ทีบ่ ริเวณช่องลมเข้าและ
ช่องระบายลมหน้าหม้อนํ้าทีต่ ําแหน่งห้องเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
2.13 แผงควบคุมเครื่องยนต์ตอ้ งมีอุปกรณ์และเครื่องวัดทีอ่ ่านค่าแบบดิจติ อนได้อย่างน้อยดังนี้
(1) โวลท์มเิ ตอร์ และแอมป์มเิ ตอร์
(2) เครื่องวัดอุณหภูมนิ ้ําหล่อเย็น
(3) เครื่องวัดอุณหภูมแิ ละเครื่องวัดความดันของนํ้ามันหล่อลื่น
(4) เครื่องวัดความเร็วรอบของเครื่องยนต์
(5) Over speed and Under speed
(6) นาฬิกาจับเวลาการทํางานของเครื่องยนต์
(7) สัญญาณแจ้งเตือนการทํางานผิดพลาดพร้อมสัญญาณเสียง และหน้าสัมผัส (Normally Open
Contact)
(8) ปุม่ ทดสอบสัญญาณแสง
(9) สวิตช์ Auto – Off –Manual สําหรับระบบสังสตาร์่ ทเครื่องยนต์
(10) Emergency Stop Switch และ Key switch
2.14 แผงควบคุมเครื่องยนต์ จะต้องมีไฟเตือนทีแ่ ผงควบคุมหรือทําให้เกิดเสียงเตือนหรือเพื่อดับเครื่องยนต์ใน
กรณีทเ่ี ครื่องยนต์ทาํ งานผิดปกติอย่างน้อยดังนี้
(1) แรงดันนํ้ามันเครื่องตํ่า
(2) อุณหภูมขิ องนํ้าระบายความร้อนสูงเกิน หรือปริมาณนํ้าระบายความร้อนน้อยกว่าปกติ หรือสายพานพัดลมระบาย
ความร้อนขาด
(3) อุณหภูมนิ ้ํามันหล่อลื่นสูงกว่าปกติ
(4) ความเร็วสูงผิดปกติ
(5) ระดับนํ้ามันเชือ้ เพลิงตํ่ากว่าทีก่ าํ หนด
(6) เครื่องยนต์เกิด Overcrank
2.15 ฐานเครื่องและส่วนทีย่ ดึ กับอาคาร ต้องมีฐานเป็ นโครงเหล็กและมีทร่ี องป้องกันการสันสะเทื
่ อนเป็ นแบบสปริง
หรือดีกว่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 373 of 521

3. ชุดเครือ่ งจ่ายไฟฟ้ า
3.1 ต้องมีพกิ ดั กําลังตามทีร่ ะบุ เป็ นเครื่องจ่ายไฟระบบ 380/220 V. 3 เฟส 4 สาย 50 Hz PF = 0.8 เป็ นแบบ 4
POLE เป็ นแบบ Brushless Rotating Diode, Full Wave Rectifier ต่อโดยตรงเข้ากับเครื่องยนต์ตน้ กําลังโดยผ่าน Flexible
Coupling และต้องติดตัง้ บนฐานเหล็กอันเดียวกัน
3.2 ฉนวนของขดลวดทัง้ Rotor และ Stator ให้มคี วามทนทานต่อ Temperature Rise ตาม NEMA ,IEC,ISO
8528 Standard Class F หรือดีกว่า
3.3 Excitation System เป็ นแบบ Self Excited (กระตุน้ ด้วยตัวเองโดยไม่ตอ้ งใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้าจากภายนอก )
3.4 เครื่องจ่ายไฟต้องมี Protective Thermister Relay เพื่อหยุดการทํางานของเครื่องกรณีความร้อนในขดลวด
สูงเกินปกติ
3.5 การควบคุมแรงดันไฟฟ้าต้องใช้ Solid State Automatic Voltage Regulator ซึง่ สามารถควบคุม
แรงดันไฟฟ้าให้อยู่ในเกณฑ์ดงั นี้
(1) Voltage Regulation ไม่เกิน 1% ของ Rated Voltage จาก no load ถึง full load
(2) Voltage Stability ไม่เกิน 0.5% ของ Rated Voltage ที่ steady state
(3) Voltage Dip ไม่เกิน 20% ของ Rated Voltage เมื่อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าทันที 90% ของ rated load และ
recovery time ไม่เกิน 3 วินาที
(4) มี Rheostat สําหรับปรับแรงดันไฟฟ้าได้ 5% ของ Rated voltage
(5) สามารถรับ Automatic Thyristor Load ได้ไม่ต่ํากว่า 70% ของ Output Rating และมี Distortion ของ Waveform
น้อยทีส่ ดุ ทีย่ อมรับได้

4. ระบบควบคุม
ระบบควบคุมจะทําหน้าทีค่ วบคุมการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ้าดังนี้
4.1 ควบคุมการสตาร์ทเครื่องยนต์ เมื่อได้รบั สัญญาณจาก Automatic Transfer Switch หรือ ระบบ Fire Alarm
หรือ Manual Start ระบบควบคุมจะส่งสัญญาณให้เครื่องยนต์สตาร์ทหากเครื่องยนต์สตาร์ทไม่ตดิ ในครัง้ แรก ระบบ
ควบคุมจะส่งสัญญาณให้เครื่องยนต์ สตาร์ทใหม่ตดิ ต่อกันได้อกี 2 ครัง้ เมื่อสตาร์ทครบ 3 ครัง้ แล้ว เครื่องยนต์ยงั ไม่ตดิ
เครื่องยนต์จะหยุดทํางานและส่งสัญญาณ over-crank ให้ทราบ เครื่องยนต์จะสตาร์ทใหม่ได้เมื่อได้รบั การแก้ไขเหตุขดั ข้อง
และ reset เสียก่อน
4.2 หยุดการทํางานของเครื่องยนต์เมื่อเกิด High Coolant Temperature, Low Oil Pressure หรือ Over Speed
พร้อมทัง้ ส่งสัญญาณแจ้งให้ทราบ
4.3 ควบคุมการทํางานของระบบเพือ่ ให้ได้ Frequency Regulation, Voltage Regulation, Voltage Stability
ตามทีไ่ ด้กาํ หนดไว้ขา้ งต้น
4.4 ควบคุมให้เครื่องยนต์เดินต่ออีก 5 นาที (ปรับได้ตงั ้ แต่ 5-10 นาที) ในช่วง Cool Down Period หลังจากที่
Transfer Switch ได้สบั เปลีย่ น Load ไปรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายไฟปกติ
4.5 ตรวจสอบการทํางานของระบบต่างๆ พร้อมทัง้ มีสญ ั ญาณเตือนเมื่อระบบชํารุด เช่น ระบบประจุแบตเตอรีไ่ ม่
ทํางาน อุปกรณ์สาํ หรับสตาร์ทขัดข้อง เป็ นต้น โดยสัญญาณเตือนเหล่านี้จะต้องมีทงั ้ สัญญาณเสียงและสัญญาณไฟ
4.6 แผงควบคุม Generator เป็ นแบบดิจติ อลแสดงค่าเป็ นตัวเลขและตัวอักษร โดยทีส่ ามารถแสดงเป็ นตัวอักษร
ภาษาไทยได้ และมี EVENT LOG ได้ถงึ 250 ค่าและได้รบั มาตรฐาน ISO 9001และ UL ต้องประกอบด้วย
อุปกรณ์อย่างน้อยดังต่อไปนี้
(1) AC แอมมิเตอร์วดั กระแสได้ 3 เฟส

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 374 of 521

(2) AC โวลท์มเิ ตอร์สาํ หรับวัดแรงดัน L to L, L to N


(3) Frequency Meter,Over and Underfrequency
(4) อ่านค่ากําลังไฟฟ้า Kw , Kva , Pf , KVarh , KVah
(5) ตัง้ ค่าเตือนการช่อมบํารุงได้
(6) Molded Case Circuit Breaker
4.7 จะต้องมีระบบ Automatic Weekly Exercise โดยมีช่วงเวลา Exercise ในแต่ละสัปดาห์ตามคําแนะนําของ
บริษทั ผูผ้ ลิต
4.8 ในกรณีทม่ี ี Standby Generator มากกว่า 1 ชุด และระบุว่าให้มกี ารเดินจ่ายไฟขนานกันจะต้องมีระบบ
Automatic Synchronizing ด้วย

5. ถังน้ามันเชื้อเพลิ งและท่อน้ามันเชื้อเพลิ ง
5.1 ถังนํ้ามันจะต้องมีปริมาตรเพียงพอ ทีจ่ ะบรรจุน้ํามันเชือ้ เพลิงสําหรับเดินเครื่องกําเนิดไฟฟ้าสํารองได้ไม่น้อย
กว่า 12 ชัวโมง
่ ที่ full load
5.2 ถังนํ้ามันจะต้องทําด้วยเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 3 มม. ทาสีรองพืน้ ด้วยสีกนั สนิม 2 ชัน้ และทาสีทบั ด้วยสี
Epoxy ทัง้ ด้านในและด้านนอก
5.3 ถังนํ้ามันจะต้องมีอุปกรณ์สาํ หรับตรวจระดับนํ้ามันในถังได้สะดวก กรณีทอ่ี ุปกรณ์ตรวจสอบระดับนํ้ามันเป็ น
แบบ Sight Tube ต้องมี Protective Guard และ วาล์วสําหรับเปิดหรือปิ ดนํ้ามันทีเ่ ข้าในท่อ และจะต้องมีอุปกรณ์เตือนใน
กรณีทร่ี ะดับของนํ้ามันตํ่ากว่าระดับทีก่ าํ หนด
5.4 ระดับของท่อนํ้ามันทีจ่ ่ายออกจากถังต้องอยู่สงู กว่าระดับปลายท่อทีเ่ ติมนํ้ามันเข้าถัง
5.5 จัดให้มที ่อระบายอากาศขนาดไม่เล็กกว่า 30 มม. ปลายท่อระบายอากาศต้องสูงกว่าตําแหน่งบนสุดของถังไม่
น้อยกว่า 150 มม. ปลายท่อทําเป็ น U-Bend และมีตระแกรงลวดปิ ด
5.6 ก่อนทําการทาสีถงั ต้องทํา Hydrostatic Test โดยเติมนํ้าเต็มถังและต่อปลายท่อสูงเกินระดับถัง 1 เมตร ทํา
การทดสอบไม่น้อยกว่า 24 ชัวโมง ่
5.7 ท่อนํ้ามันเชือ้ เพลิง ใช้ท่อเหล็กดํา ด้านนอกทาสีกนั สนิม
5.8 ส่วนของถังนํ้ามันเชือ้ เพลิงทีเ่ ป็นโลหะจะต้องต่อลงดิน
5.8.1 ติดตัง้ ท่อนํ้ามันจากถังนํ้ามันไปทีเ่ ครื่องกําเนิดไฟฟ้าและ ติดตัง้ มอเตอร์ปมนํ
ั ้ ้ามันและ ปมแบบมื
ั้ อ
หมุนสําหรับเติมนํ้ามันเข้าถังพร้อมชุดควบคุมระบบป้องกันอาร์คทีต่ ู้ ATS ติดตัง้ ระบบป้องกันอาร์ค
(Arc Guard System) ภายในตู้ ATS เพื่อป้องกันความเสียหายเมื่อเกิดอาร์ค ผลิตตามมาตรฐาน
IEC 61508 และ IEC 62061 โดยจะต้องมีความสามารถ ในการสังทริ ่ ป ATS ทัง้ สองด้าน หรือ
Circuit Breaker (ด้าน Main) โดยทันทีทนั ใด ภายในเวลาไม่เกิน 0.1 วินาที มีเซนเซอร์จบั อาร์ค
(Lens) และเป็ นสายชนิดแก้วนําแสง (Fiber Optic Cable) เพื่อหลีกเลีย่ งการรบกวนจาก
สนามแม่เหล็กติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ (Surge Protective Device) Type I) สําหรับป้องกันระบบ
ไฟฟ้ากําลัง (Power Supply) ของตูเ้ มนแผงสวิทซ์ไฟฟ้าแรงตํ่า (ATS) โดยเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับ
Circuit Breaker มีคุณสมบัตดิ งั ต่อไปนี้
Max. Continuous ac voltage UC 255 V
Impulse current Limp (10/350µs) Iimp 25 kA / Pole
Voltage protection level Up ≤ 2.5 kV
Follow current extinguishing capability a.c. I fi 50 kArms

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 375 of 521

TOV voltage UT 400 V / 5 sec.


อุปกรณ์ปองกันเสิรจ์ (Surge Protective Device) Type II )เพื่อป้องกันเสิรจ์ อันเนื่องมาจากเกิด

ฟ้าผ่าหรือเกิดเสิรจ์ อื่นๆ ทีจ่ ะเข้ามาทางด้านเมนไฟฟ้าทีต่ ่อกับชุดควบคุมเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
โดยมีคุณสมบัตทิ างเทคนิค ดังนี้
Poles : ชนิด 4Pole
Nominal Voltage : 230 V
Max. Cont. Operating Voltage : 275 V
Max. Discharge Current (8/20) : 40 kA
Voltage Protection Level : <1.5 kV
TOV Withstand : 334 V/5sec
Short Circuit Withstand : 50 kA rms
State Indicator : Included

6. ห้องเครือ่ งกาเนิ ดไฟฟ้ า


6.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําระบบป้องกันเสียงรบกวน( SOUNDPROOF SYSTEM )โดยค่าระดับเสีย รบกวน (
NOISE ) จากภายในห้อง สามารถผ่านผนังและช่องเปิ ดทุกด้านมายังภายนอกทีร่ ะยะห่าง 1.00 เมตร จากผนังห้องและ
ช่องเปิ ดใดๆ ต้องมีค่า ไม่เกิน 75 เดซิเบล A โดยมีรายละเอียดดังนี้
6.1.1 โดรงสร้างโดยรอบผนังเป็นเหล็กกล่องสีเ่ หลีย่ ม ขนาด 2x4 นิ้ว หนาไม่น้อยกว่า 2 มม. บุผนังด้วย
วัสดุซบั เสียง ชนิด ROCK WOOL มีความหนาแน่น ( NORMAL DENSITY ) ไม่ต่ํากว่า 80 กิโลกรัม ต่อลูกบาศก์เมตร
และบุหนาไม่น้อยกว่า 4 นิ้ว ( 100 มม. ) ปิ ดทับด้วย GLASS FIBER MAT สีดาํ และ WIRE MESH ขนาด # ½ x ½
นิ้ว ยึดติดผนังด้วย PIN LOCK และสามารถให้อากาศไหลผ่านได้ดว้ ยความเร็ว 300 เมตรต่อนาที หรือ 5 เมตรต่อวินาที
โดยไม่เกิดความเสียหาย
6.1.2ติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันเสียงรบกวน ( SONUD ATTENUATOR ) ทีช่ ่องอากาศเข้า ( AIR INLET )
และช่องอากาศออก ( AIR OUTLET ) โดยใช้ ROCK WOOL ชนิดเดียวกันทีบ่ ผุ นังและห่อหุม้ ด้วยเหล็กแผ่นเจาะรู (
PERFORATE GALVANIZED STEELL ) ขนาดและจํานวนของแผง SONUD ATTENUATOR ผูร้ บั จ้างจะต้อง
ออกแบบให้เหมาะสมกับขนาดของเครื่องยนต์ฯ
6.2 ขนาดช่องลมออกของห้องเครื่องจะต้องมีขนาดไม่น้อยกว่า 1.2 เท่า ของขนาดพืน้ ทีห่ น้าหม้อนํ้าของเครื่องยนต์

7. การทดสอบ
ผูร้ บั จ้างต้องทดสอบเครื่องกําเนิดไฟฟ้าฉุกเฉินก่อนส่งมอบงานดังนี้
7.1 ทดสอบเดินเครื่องในลักษณะ Step Load Test
7.2 ทดสอบเดินเครื่องเต็มพิกดั โหลดติดต่อกันเป็ นเวลา 2 ชัวโมง ่ ทําการวัดค่าของกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้า
เพาเวอร์แฟกเตอร์ ความเร็วรอบ ปริมาณเชือ้ เพลิงทีใ่ ช้ในทุกครึง่ ชัวโมง
่ และเปรียบเทียบกับข้อกําหนดจากโรงงานผูผ้ ลิต
7.3 ทดสอบการเดินเครื่อง Overload 10% เป็ นเวลา 1 ชัวโมง ่
7.4 ทดสอบการทํางานของออโตเมติคทรานสเฟอร์สวิทซ์ทุกขัน้ ตอนและทดสอบ Weekly Exercise
7.5 ทําการวัดระบบการต่อลงดินของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
7.6 Alarm Trouble Test

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 376 of 521

8. การบริการและการรับประกัน
8.1 ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันความเสียหายทีเ่ กิดกับเครื่องกําเนิดไฟฟ้า เป็ นระยะเวลา 1 ปี ในกรณีทเ่ี กิดความ
บกพร่องจากการประกอบหรือของชิน้ ส่วน ผูร้ บั จ้างต้องนําชิน้ ส่วนมาเปลีย่ นหรือซ่อมแซมให้ใช้งานได้ตลอดระยะเวลา
รับประกัน
8.2 บริษทั ผูจ้ าํ หน่ายเครื่องกําเนิดไฟฟ้า ต้องเป็ นผูแ้ ทนจําหน่ายทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในประเทศไทย มีช่างบริการ
ของบริษทั เองทีส่ ามารถจะตรวจเช็คการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ้าทุกระยะ 3 เดือน นับจากวันส่งมอบงานเป็ น
ระยะเวลา 1 ปี และบริษทั ผูจ้ าํ หน่ายต้องเปิ ดหลักสูตรอบรมช่างผูด้ แู ลเครื่องกําเนิดไฟฟ้าให้สามารถใช้และบํารุงรักษาเครื่อง
กําเนิดไฟฟ้า
8.2.1 บริษทั ทีเ่ สนอราคาต้องแนบผลงานติดตัง้ พร้อมสัญญาซือ้ ขายกับหน่วยงานภาครัฐหรือบริษทั
มหาชนทีม่ าจาก
รัฐวิสาหกิจทีม่ มี ลู ค่างานไม่น้อยกว่ามูลค่าทีเ่ สนอราคา
8.3 การฝึกอบรม ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งผูเ้ ชีย่ วชาญมาฝึกอบรมช่างเทคนิคและผูเ้ กีย่ วข้อง ให้สามารถใช้และ
บํารุงรักษาเครื่องได้อย่างถูกต้อง
8.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหนังสือคู่มอื การบํารุงรักษาเครื่อง ให้แก่ผวู้ ่าจ้างเป็ นภาษาไทยอย่างน้อย 2 ชุด
8.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมอะไหล่ ในวันส่งมอบงานให้ผวู้ ่าจ้างเก็บไว้ดงั นี้
(1) 2 ชุด ไส้กรองอากาศ ต่อหนึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
(2) 2 ชุด ไส้กรองนํ้ามันเครื่อง ต่อหนึ่งเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้า
(3) 2 ชุด ไส้กรองบายพาส ต่อหนึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
(4) 2 ชุด ไส้กรองกรองนํ้ามันเชือ้ เพลิงต่อหนึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟ้า
(5) 2 ชุด Corrosion Resistor ต่อหนึ่งเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้า

จบหมวดที่ 67

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 377 of 521

หมวดที่ 68
ตู้สวิ ตซ์อตั โนมัติเมน (MDB)

1. ตู้สวิ ตซ์อตั โนมัติเมน (MDB) ขนาดไม่เล็กกว่าทีก่ าํ หนดในแบบผลิตตามมาตรฐาน ANSI ,IEC มาตรฐานการ


ประกอบและทดสอบตูส้ วิทช์บอร์ดตาม IEC 60439-1 แบบ Type Test Assemblies และ Partial Type Assemblies
2. ตัวผูผ้ ลิ ตภายในประเทศโดยมีลกั ษณะดังนี้
2.1 โครงตูท้ าํ ด้วยเหล็กฉากขนาดไม่ต่ํากว่า 50x50x4 มิลลิเมตรยึดติดกันด้วยน๊อตและสกรูหรือเชื่อมติดกันตู้
ทีต่ งั ้ ติดกันให้ยดึ ถึงกันด้วยน๊อตและสกรู
2.2 เหล็กแผ่นประกอบตัวตูห้ นาไม่น้อยกว่า 1.5 มิลลิเมตรส่วนทีเ่ ป็ นแผ่นปิ ดด้านหน้าด้านหลังและด้านข้างให้ทาํ
เป็ นแบบพับขอบและมีร่องสําหรับยึดยางกันฝุน่ ด้านบนให้ใช้แบบแผ่นเรียบยึดด้วยสกรู
2.3 บานประตูของช่องใส่อุปกรณ์เป็ นแบบเปิ ดได้ใช้บานพับชนิดซ่อน เปิ ด-ปิ ดโดยใช้กญ ุ แจสามารถถอดบาน
ประตูออกได้โดยเปิ ดกว้างแล้วยกขึน้
2.4 ฝาปิ ดช่องล่างด้านหน้าฝาปิ ดด้านหลังทัง้ หมดและฝาด้านข้างเปิด-ปิ ดโดยใช้สกรูและให้เจาะช่องระบาย
อากาศโดยมีมงุ้ ลวดด้านในตามความเหมาะสม
2.5 เหล็กแผ่นทีใ่ ช้ป้องกันอันตรายภายในตูเ้ ช่นป้องกันอ๊าร์คระหว่างอุปกรณ์หรือระหว่างตูห้ นาไม่น้อยกว่า 1.2
มิลลิเมตร
2.6 ตัวตูท้ งั ้ หมดทีเ่ ป็ นโลหะ ต้องทําความสะอาดและ/หรือผ่านกรรมวิธกี ารป้องกันสนิมและพ่นทับด้วยสีฝนุ่ แบบ
อีพ๊อกซี่ - โพลีเอสเตอรทัง้ ภายในภายนอกและอบแห้ง
2.7 ฐานของตัวตูต้ อ้ งยึดติดบนฐานคอนกรีตด้วยสกรูขยาย
3. บัสบาร์ตอ้ งเป็ นทองแดงขนาดตามทีก่ าํ หนดผลิตขึน้ เพื่อใช้กบั งานไฟฟ้าโดยเฉพาะบัสบาร์ตอ้ งยึดติดกับโครงตูด้ ว้ ย
ฉนวนยึดบัสบาร์ให้แข็งแรงทนกระแสลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่า 50 kA หรือตามทีก่ าํ หนดในแบบ หากมิได้กาํ หนดไว้
เป็ นอย่างอื่นบัสบาร์ช่วงต่อกับหม้อแปลงจะต้องมีสว่ นที่ เป็ นบัสบาร์ชนิดบิดงอได้เพื่อลดแรงบิดและแรงดึงบัสบาร์
ต้องพ่นสีทนความร้อนโดยใช้รหัสสีเหมือนสายไฟฟ้าขนาดกระแสของบัสบาร์ทองแดงต้องเป็ นไปตามตารางที่
กําหนด
4. สวิ ตซ์อตั โนมัติ (CIRCUIT BREAKER) ผลิตตามมาตรฐาน ANSI หรือ IEC ขนาดตามทีก่ าํ หนดเป็ นแบบติดตัง้
ถาวรเปิ ด-ปิ ดด้วยมือมี THERMAL และ MAGNETIC TRIP ติดอยู่แต่ละ POLE ของสวิตซ์อตั โนมัตมิ ี TRIP UNIT
อื่นๆตามทีก่ าํ หนดในแบบสามารถทนกระแส ลัดวงจรไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนด หรือตามความเหมาะสม
5. PROTECTION RELAY
5.1 UNDER VOTAGE RELAY ต้องเป็ นชนิด SOLID STATE CONTROLLED ต่อโดยตรงเข้ากับระบบ
สามารถตัดวงจรเมื่อโวลต์ระหว่างเฟสแตกต่างกันตัง้ แต่ 9% ขึน้ ไปหรือโวลต์ทงั ้ 3 เฟส ลดลงตํ่ากว่า 12% หรือเกิดการสลับ
เฟส โดยสามารถหน่วงเวลาก่อนการทํางานประมาณ 2 วินาที
5.2 GROUND FAULT RELAY ต้องเป็ นชนิด SOLID STATE CONTROLLED ทํางานเมื่อมีการลัดวงจรลงดิน
สามารถหน่วงเวลาการทํางานได้ตามต้องการ
6. เครือ่ งวัด (METERING) ที่ใช้ติดตัง้ กับตู้สวิ ตซ์อตั โนมัติเมน (แรงตา่ )ต่างๆ ประกอบด้วย
6.1 โวลต์มเิ ตอร์ตอ้ งเป็ นชนิดต่อตรงกับระบบแรงดันความคลาดเคลื่อน 1.5% หรือดีกว่า
6.2 โวลต์มเิ ตอร์สวิตซ์ตอ้ งเป็ นชนิดเลือกได้ 7 Step คือ Step ปิ ด 1 Step ระหว่างเฟสกับเฟส 3 Step และ
ระหว่างเฟสกับศูนย์ 3 Step

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 378 of 521

6.3 แอมมิเตอร์ตอ้ งเป็ นชนิดต่อตรงกับระบบแรงดันหรือต่อผ่านหม้อแปลงกระแสความคลาดเคลื่อน 1.5% หรือ


ดีกว่า
6.4 แอมมิเตอร์สวิตซ์ ต้องเป็ นชนิดเลือกได้ 4 Step คือ Step ปิ ด 1 Step และเฟส 3 Step
6.5 หม้อแปลงไฟฟ้ากระแสต้องมีกระแสด้านออก 5 AMP และกระแสด้านเข้าตามทีก่ าํ หนดความคลาดเคลื่อน
1.5% หรือดีกว่า
6.6 กิโลวัตต์ และกิโลวัตต์ฮาวมิเตอร์เป็ นชนิด 1 เฟสหรือ 3 เฟสต่อตรงกับระบบแรงดันหรือต่อผ่านหม้อแปลง
ไฟฟ้ากระแสตามทีก่ าํ หนดในแบบความคลาดเคลื่อน 2.5% หรือดีกว่าผ่านการทดสอบจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้
6.7 เพาเวอร์แฟคเตอร์มเิ ตอร์ตอ้ งเป็นแบบใช้กบั ระบบไฟฟ้า 3 เฟสต่อโดยตรงกับระบบแรงดันและหม้อแปลง
ไฟฟ้ากระแสมีระยะพิกดั LEAD 0.5…1….0.5 LAG หรือความคลาดเคลื่อน 1.5% หรือดีกว่า
6.8 ฟรีเควนซีมเิ ตอร์ตอ้ งเป็ นชนิด VIBATING REED มี 13 REEDS ต่อเข้ากับระบบแรงดันมีระยะพิกดั 47-53
Hzความคลาดเคลื่อน 0.5% หรือดีกว่า

7. คะแปซิ เตอร์ และชุดควบคุม


7.1 คะแปซิเตอร์
(1) ขนาดตามทีก่ าํ หนด ผลิตตามมาตรฐานของ VDE หรือ IEC
(2) ต้องเป็ นชนิดแห้งทําด้วย METALLIZED PLASTIC FILM , NON INFLAMMABLE, ENCLOSURE TYPE พลัง
สูญเสีย 0.5 W/kVAr หรือน้อยกว่าและต้องมีDISCHARGE RESISTORS ด้วย
7.2 AUTOMATIC POWER FACTOR CONTROLLER สามารถสับคะแปซิเตอร์เข้าออกได้ไม่น้อยกว่าตามที่
กําหนดในแบบโดยสามารถรักษาระดับค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ทต่ี งั ้ ไว้ได้โดยอัตโนมัตแิ ละควบคุมการทํางานของคอนแทค
เตอร์สาํ หรับคะแปซิเตอร์แบบ CYCLIC OPERATION ด้วย(3) ต้องมี ON - OFF PUSH BUTTION และ PILOT LAMP
สําหรับ MANUAL OPERATE ตามจํานวนทีก่ าํ หนดในแบบ
7.3 ต้องมี ON-OFF PUSH BUTTION และ PILOT LAMP สําหรับ MANUAL OPERATE ตามจํานวนทีก่ าํ หนด
ในแบบ
7.4 ฟิวส์ สําหรับป้องกันคะแปซิเตอร์ขนาดตามทีก่ าํ หนดผลิตตามมาตรฐาน VED หรือ IEC ชนิด HRC ทน
กระแสลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่า 100 KV ที่ 380 V
7.5 คอนแทคเตอร์ ขนาดตามทีก่ าํ หนดผลิตตามมาตรฐานของ VDE หรือ IEC ชนิด AC 3 DUTY

8. PILOT LAMP หากมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ชนิ ดหลอดไส้ 1.2 W หรือมากกว่าแรงเคลื่อน 6V-24V มี


หม้อแปลงชนิ ด ISOLATING ลดแรงดันจาก 230V ฝาครอบด้านหน้ าเป็ นเลนส์พลาสติ กขนาดไม่เล็กกว่า 22
มิ ลลิ เมตรสีของเลนส์ตามที่กาหนด
9. PUSH BUTTON หากมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ชนิ ดที่กดปุ่ มมี O-RING โลหะล้อมรอบขนาดไม่เล็ก
กว่า 22 มิ ลลิ เมตรสีของปุ่ มกดตามที่กาหนด
10. MAGNETIC CONTACTOR หากมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ขนาด CURRENT RATING ของ
CONTACT ตาม AC 3 DUTY ตามมาตรฐาน IEC หรือเทียบเท่า
11. MAGNETIC CONTROL RELAY หากมิ ได้กาหนดไว้เป็ นอย่างอื่นขนาด LOAD ของ CONTACT ต้องไม่น้อย
กว่า 10 A ที่ 230 V
12. MIMIC DIAGRAM ต้องติ ด MIMIC DIAGRAM ขนาดกว้าง 10 มิ ลลิ เมตรหนา 1 มิ ลลิ เมตร แสดงผังวงจร
SINGLE LINE DIAGRAM ของตู้ MDB

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 379 of 521

13. แผงสวิ ตซ์อตั โนมัติยอ่ ย (LOAD CENTER)


13.1 ตัวตูต้ ามทีก่ าํ หนดในแบบผลิตตามมาตรฐาน ANSI, NEMA หรือ IEC ชนิด DEAD FRONT เหล็กแผ่น
ประกอบตัวตูห้ นาไม่น้อยกว่า 16 มิลลิเมตรผ่านกรรมวิธปี ้ องกันสนิมแล้วพ่นทับด้วยสีและอบแห้งทัง้ ภายนอกและภายใน
ด้านในของฝาด้านหน้าต้องมียดึ แผ่นตารางแสดงการใช้งานของสวิตซ์อตั โนมัตแิ ต่ละตัวตารางนี้ทาํ ด้วยกระดาษมีขนาด
เหมาะสมบัสบาร์ตอ้ งเป็ นทองแดงสําหรับใช้งานทางไฟฟ้าโดยเฉพาะยึดติดบนฉนวนอย่างแข็งแรง สามารถทนกระแส
ลัดวงจรได้ไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดหรือตามความเหมาะสม
13.2 สวิตซ์อตั โนมัตชิ นิดและขนาดตามทีก่ าํ หนดหากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นขนาดIC RATING ของวงจรย่อย
ต้องไม่น้อยกว่า 4.5 kA 240 V และสวิตซ์อตั โนมัตเิ มนต้องไม่น้อยกว่า14 kA 415 V การวางเรียงสวิตซ์อตั โนมัตติ อ้ ง
สามารถถอดเปลีย่ นได้โดยไม่หยุดการทํางานของสวิตซ์อตั โนมัตติ วั อื่นๆการติดตัง้ เป็ นแบบ PLUG IN หรือ BOLT ON
13.3 การต่อสายเข้ากับ BUSBAR ของตูส้ วิตซ์อตั โนมัตเิ มนและหรือสวิตซ์อตั โนมัติ (CIRCUIT -BREAKER) ที่
เป็ นลักษณะ BOLT ON ให้ใช้หางปลาทีม่ ลี กั ษณะเป็ นแบบท่อทองแดงไม่มตี ะเข็บ (COPPER TUBE- LUGS TERMINAL)
ชนิดหนาขึน้ รูปผ่านการ ELECTROLYTIC และชุบด้วยดีบุกหุม้ ด้วยฉนวนตามรหัสสีของสาย

14. สวิ ตซ์ตดั ตอน


สวิตซ์ไม่อตั โนมัติ (SAFETY SWITCH, DISCONNECTING SWITCH, LOAD BREAK SWITCH- OR
ISOLATION SWITCH) ชนิดและขนาดตามทีก่ าํ หนดในแบบผลิตตามมาตรฐานของ ANSI, NEMA, UL, IEC, BS หรือ
VDE

15. ท่อร้อยสายไฟฟ้ า (CONDUIT)


15.1 ท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีสาํ หรับใช้รอ้ ยสายไฟฟ้าให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมายมอก.
ประเภทของท่อเหล็กเคลือบสังกะสี
(1) ประเภทที่ 1 ผนังท่อบาง ชื่อย่อว่า EMT (ELECTRICAL METALLIC TUBING)
(2) ประเภทที่ 2 ผนังท่อหนาปานกลาง ชื่อย่อว่า IMC (INTERMEDIATE METAL CONDUIT)
(3) ประเภทที่ 3 ผนังท่อหนา ชื่อย่อว่า RSC (RIGID STEEL CONDUIT)
15.2 PVC แข็งสําหรับใช้รอ้ ยสายไฟฟ้าหรือสายโทรศัพท์ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.
15.3 ท่อพีอใี ห้ใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.
15.4 ท่อเอสดีพบี ใี ห้ใช้ผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.
15.5 ท่อโลหะอ่อน ซึง่ ย่อว่า FMC (FIEXIBLE METAL CONDUIT) เป็ นท่อโลหะทีโ่ ค้งงอทีไ่ ด้ง่าย ผิวภายใน
ปราศจากคมในกรณีทร่ี ะบุเป็ นชนิดกันนํ้าท่อโลหะอ่อนต้องมีปลอกพลาสติกหุม้ ภายนอกอีกชัน้ หนึ่ง
15.6 การติดตัง้ ท่อร้อยสายไฟฟ้า
(1) ต้องทําความสะอาดทัง้ ภายนอกและภายในท่อก่อนนํามาติดตัง้
(2) การดัดงอท่อแข็งต้องใช้เครื่องมือสําหรับดัดท่อโดยเฉพาะและต้องไม่ทาํ ให้ท่อชํารุดหรือตีบรัศมีความโค้งของ
ท่อต้องไม่น้อยกว่า 6 เท่าของเส้นผ่านศูนย์กลางท่อ
(3) การยึดท่อแข็งติดกับโครงสร้างต้องยึดทุกระยะไม่เกิน 3 เมตรและต้องยึดท่อในระยะไม่เกิน0.90 เมตรจากกล่องต่อ
สายกล่องดึงสายและแผงสวิตซ์
(4) การยึดท่ออ่อนติดกับโครงสร้างต้องยึดทุกระยะไม่เกิน 1.30 เมตร และต้องยึดท่อในระยะไม่เกิน0.30 เมตรจาก
กล่องต่อสายกล่องดึงสายและแผงสวิตซ์
(5) ปลายท่อ ต้องลบคมออกให้หมด โดยใช้ CONDUIT REAMER หรือเครื่องมืออื่นทีเ่ หมาะสม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 380 of 521

(6) ท่อทีว่ างลอดใต้ถนนต้องฝงั ลึกไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร


(7) ท่อโลหะทีฝ่ งั ดินต้องทาฟลิน้ โค้ตภายนอกอย่างน้อย 2 ชัน้
(8) ท่อ EMT หรือ FMC ทีย่ ดึ กับกล่องต่อสายกล่องดึงสาย หรือแผงสวิตซ์ตอ้ งใช้ CONECTOR และ BUSHING
ประกอบปลายท่อ
(9) ท่อ IMC หรือ RSC ทีย่ ดึ กับกล่องต่อสายกล่องดึงสาย หรือแผงสวิตซ์ตอ้ งใช้ LOCK NUT และ BUSHINGประกอบ
ปลายท่อ
(10) กล่องต่อสายกล่องดึงสาย ให้ทาสีทก่ี ล่องดังนี้
- ระบบไฟฟ้าแสงสว่าง, เต้ารับ สีสม้
- ระบบไฟฟ้าเครื่องปรับอากาศ สีเหลือง
- ระบบโทรศัพท์ สีเขียว
- ระบบโทรสือ่ สาร สีขาว
- ระบบโทรทัศน์วงจรรวม สีน้ําเงิน
- ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด สีฟ้า
- ระบบภาพ เสียง สีดาํ
- ระบบสัญญาณแจ้งเพลิงไหม้ สีแดง
- ระบบอื่นๆตามความเหมาะสม
15.7 การเลือกใช้ท่อร้อยสายไฟฟ้า
(1) ท่อทุกชนิดทีใ่ ช้รอ้ ยสายไฟฟ้าต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่เล็กกว่า 1/2"
(2) ท่อร้อยสายไฟฟ้าทีต่ ่อกับอุปกรณ์ทส่ี นสะเทืั่ อนขณะใช้งานปกติตอ้ งใช้ท่อ FMC ในกรณีทอ่ี ยู่นอกอาคารหรือบริเวณ
ทีเ่ ปี ยกชืน้ ให้ใช้ท่อ FMC ชนิดกันนํ้า
(3) ในกรณีทม่ี ไิ ด้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีทฝ่ี งั ในคอนกรีตต้องใช้ท่อ IMC หรือ RSC
(4) ในกรณีทม่ี ไิ ด้กาํ หนดชนิดของท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีทซ่ี ่อนไว้เหนือฝ้าเพดานหรือเดินท่อลอยเกาะ
เพดานหรือฝงั ในผนังทีม่ ใิ ช่คอนกรีตให้ใช้ท่อ EMT ในบริเวณดังกล่าวได้
(5) ในกรณีทก่ี าํ หนดให้ใช้ท่อ EMT หากท่อทีใ่ ช้มขี นาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 2 นิ้วให้
ใช้ท่อ IMC แทนท่อ EMT ทีก่ าํ หนด
(6)
16. กล่องต่อสายและกล่องดึงสาย (JUNCTION, OUTLET AND PULL BOXES)
16.1 กล่องต่อสายและกล่องดึงสายต้องเป็ นชนิดเหล็กหล่อสําหรับใช้ภายในและภายนอกอาคารหรือตามทีก่ าํ หนด
ในแบบ
16.2 กล่องดึงสายต้องมีฝาปิ ด-เปิ ดยึดด้วยสกรู
16.3 กล่องต่อสายและกล่องดึงสายติดซ้อนไว้ในฝ้าเพดาน ฝงเรี ั ยบผนังฝงั เรียบเพดานหรือติดตัง้ ลอยตามลักษณะ
ของการใช้งานต้องสามารถเข้าไปตรวจซ่อมได้ง่าย
16.4 รูของกล่องทีไ่ ม่ได้ใช้งานต้องปิ ดให้เรียบร้อยกล่องทุกกล่องต้องมีฝาปิ ด

17. รางเดิ นสาย (WIRE WAY)


17.1 รางเดินสายพร้อมฝาครอบรางชนิดกดล็อคหรือยึดด้วยสกรู (เฉพาะรางเดินสายในแนวตัง้ ฝาครอบต้องเป็ น
ชนิดยึดด้วยสกรู)ทําด้วยเหล็กแผ่นขนาดตามทีก่ าํ หนดเหล็กแผ่นหนาไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดดังนี้
(1) รางเดินสายกว้างตัง้ แต่ 6 นิ้วลงมา 1.0 มิลลิเมตร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 381 of 521

(2) รางเดินสายกว้างตัง้ แต่ 6 นิ้วขึน้ ไป 1.5 มิลลิเมตร


17.2 รางเดินสายและอุปกรณ์ประกอบทัง้ หมดทีเ่ ป็ นโลหะต้องผ่านกรรมวิธปี ้ องกันสนิมแล้วพ่นทับด้วยสีฝนุ่ และ
อบแห้งทัง้ ภายนอกและภายใน
17.3 รางเดินสายต้องติดตัง้ ในทีเ่ ปิ ดโล่งสามารถเข้าไปตรวจซ่อมได้โดยง่าย การติดตัง้ จะต้องแขวนหรือยึดติดกับ
โครงสร้างด้วยเหล็กฉากทุกระยะ 1.50 เมตรในแนวราบและ 2.40 เมตรในแนวตัง้ หรือทุกระยะทีไ่ ด้จากการคํานวณการรับ
นํ้าหนักของรางเดินสายและสายไฟฟ้ารวมกัน
17.4 พืน้ ทีห่ น้าตัดของสายไฟทุกเส้น (รวมฉนวนด้วย)ในรางเดินสายรวมกันแล้วต้องไม่เกิน 20% ของ
พืน้ ทีห่ น้าตัดของรางเดินสายและจํานวนสายไฟในแต่ละรางต้องไม่เกิน 30 เส้นทัง้ นี้ไม่นบั สายควบคุมและสายดินและ
ข้อยกเว้นตาม NEC
17.5 รางเดินสายในแนวตัง้ ต้องมีขนั ้ บันไดทุกระยะไม่เกิน 2.40 เมตรสําหรับยึดและรับนํ้าหนักสายไฟฟ้า

18. สายไฟฟ้ า
18.1 สายไฟฟ้าทัง้ หมดให้ใช้สายทองแดงหุม้ ฉนวนทีไ่ ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมาย มอก.11-2553
18.2 การเลือกใช้สายไฟฟ้า
(1) เครื่องหมายประจําสายไฟฟ้าให้ใช้สขี องฉนวนสายไฟฟ้าหรือผ้าเทปสีมว้ นสายหรืออักษรกํากับสายดังนี้
- สายดิน : G สีเขียวหรือสีเขียวแถบเหลือง
- สายศูนย์ : N สีฟ้า
- สายเฟส A : R สีน้ําตาล
- สายเฟส B : Y สีดาํ
- สายเฟส C : B สีเทา
(2) ชนิดของสายไฟฟ้าหากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ดงั นี้
- วงจรไฟฟ้าระบบ 1 เฟสให้ใช้สายไฟฟ้าแรงดัน 300 V
- วงจรไฟฟ้าระบบ 3 เฟสให้ใช้สายไฟฟ้าแรงดัน 750 V
- สายไฟฟ้าเดินลอยให้ใช้ TYPE - B (VAF)
- สายไฟฟ้าเดินลอยสําหรับเต้ารับให้ใช้ TYPE B - G (VAF-GROUND)
- สายไฟฟ้าร้อยท่อในรางเดินสายให้ใช้ TYPE - A (THW)
- สายไฟฟ้าใต้ดนิ ร้อยท่อหรือฝงั ดินโดยตรงให้ใช้ TYPE-CS หรือTYPE - D (NYY)
(3) ขนาดของสายไฟฟ้าหากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นให้ใช้ขนาดไม่ต่าํ กว่าทีก่ าํ หนดดังต่อไปนี้
- สายวงจรย่อย 2.5 ตารางมิลลิเมตร
- สายวงจรย่อย 4 ตารางมิลลิเมตร
- สายวงจรย่อย 6 ตารางมิลลิเมตร
ในกรณีรอ้ ยท่อสายแยกจากวงจรย่อยเข้าเต้ารับดวงโคมไฟฟ้าและพัดลมให้ใช้สายไฟฟ้าขนาด 2.5 ตารางมิลลิเมตร TYPE -
A ในกรณีเดินสายลอยสายแยกจากวงจรย่อยเข้าเต้ารับดวงโคมไฟฟ้าและพัดลมให้ใช้สายไฟฟ้าขนาด 1.5 ตารางมิลลิเมตร
TYPE – B
18.3 การเดินสาย
(1) การร้อยสายในท่อต้องทําหลังจากการติดตัง้ ท่อหรือรางเดินสายเสร็จเรียบร้อยแล้ว
(2) การตัดต่อสายต้องทําในกล่องต่อสายกล่องสวิตซ์กล่องเต้ารับกล่องดวงโคมหรือรางเดินสายเท่านัน้ ตําแหน่ง
ทีท่ าํ การตัดต่อสายต้องอยูใ่ นตําแหน่งทีส่ ามารถทําการตรวจสอบหรือซ่อมบํารุงได้โดยง่าย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 382 of 521

(3) การเชื่อมต่อสายขนาด 6 ตารางมิลลิเมตรหรือเล็กกว่าให้ใช้ WIRE NUT หรือ SCOTT LOCK และการเชื่อมต่อ


สายขนาด 10 ตารางมิลลิเมตรหรือใหญ่กว่าให้ใช้ SPLIT BOLT หรือ SLEEVE พันด้วยเทปไฟฟ้าให้มฉี นวนเทียบเท่า
ฉนวนของสายไฟฟ้า
(4) การดึงสายหากมีความจําเป็ นอาจใช้สารบางชนิดช่วยลดความฝืดของท่อได้แต่สารชนิดนัน้ ต้องไม่ทาํ ปฏิกริ ยิ ากับ
ฉนวนหุม้ สายไฟฟ้า
(5) สายทีร่ อ้ ยในท่อต้องมีอปุ กรณ์ยดึ รับนํ้าหนักสายตามระยะทีก่ าํ หนด
(6) สายทีร่ อ้ ยในรางเดินสายในแนวตัง้ ต้องยึดกับขัน้ บันได
(7) การเดินสายลอยเกาะผิวอาคารต้องยึดด้วยเข็มขัดรัดสายทุกระยะห่างไม่เกิน 0.10 เมตร
(8) การเดินสายใต้ดนิ
8.1) ข้อกําหนดขัน้ ตํ่าสุดของการปิ ดทับสายไฟฟ้าชนิดฝงั ดินโดยตรงท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่องเดินสายไฟฟ้า
อย่างอื่นทีไ่ ด้รองรับเพื่อจุดประสงค์นนั ้ แล้วต้องติดตัง้ ให้เป็ นไปตามตารางที่ 1 ยกเว้นในกรณีต่อไปนี้
- เมื่อใช้แผ่นคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตรปิ ดทับตลอดความยาวและยื่นคลุมเลย
ด้านข้างไม่น้อยกว่า 0.15 เมตรให้ลดค่าได้อกี 0.15 เมตร
- ท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่องเดินสายไฟฟ้าอย่างอื่นทีอ่ ยูใ่ ต้อาคารหรือใต้แผ่นคอนกรีต
ภายนอกอาคารทีห่ นาไม่น้อยกว่า 0.10 เมตรและยื่นคลุมท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่อง
เดินสายไฟฟ้าเลยด้านข้างไม่น้อยกว่า 0.15 เมตร
- บริเวณทีม่ รี ถยนต์วงิ่ ผ่าน ไม่ว่าเดินสายไฟฟ้าด้วยวิธใี ดๆต้องมีความลึกตํ่าสุดไม่น้อย
กว่า 0.60 เมตร (จากผิวจราจร)
- ในกรณีทเ่ี ป็ นวงจรย่อยสําหรับทีอ่ ยู่อาศัยซึง่ มีแรงดันไม่เกิน 300 โวลท์และมีเครื่อง
ป้องกันกระแสเกินขนาดไม่เกิน 30 แอมแปร์ให้มคี วามลึกตํ่าสุด 0.30 เมตรได้
- ทางวิง่ ในสนามรวมทัง้ บริเวณหวงห้ามข้างเคียงทางวิง่ ให้มคี วามลึกตํ่าสุดไม่น้อยกว่า
0.45 เมตรโดยไม่ตอ้ งใช้ช่องเดินสายไฟฟ้าหรือหุม้ คอนกรีต
- ช่องเดินสายไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ ในหินแข็งให้มคี วามลึกน้อยกว่าทีก่ าํ หนดได้ถา้ ปิ ดทับด้วย
คอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตรและคอนกรีตดังกล่าวต้องเทถึงผิวหินข้างล่าง
8.2) ส่วนทีเ่ ป็ นโลหะหุม้ สายไฟฟ้าได้แก่ปลอกเปลือกนอกและช่องเดินสายไฟฟ้าทีเ่ ป็ นโลหะต้องต่อเนื่องทาง
ไฟฟ้าถึงกันเป็ นอย่างดีและต่อลงดินทีต่ น้ ทางและปลายทาง
8.3) สายไฟฟ้าใต้ดนิ ทีต่ ดิ ตัง้ ใต้อาคารต้องอยู่ในช่องเดินสายไฟฟ้าหากร้อยสายไฟฟ้าไปยังภายนอกอาคารช่อง
เดินสายไฟฟ้าต้องยื่นออกให้พน้ แนวผนังด้านนอกของอาคารออกไปยังตําแหน่งทีเ่ หมาะสมหรือตําแหน่งทีค่ ณะกรรมการฯ
กําหนด
8.4) ตัวนําทีโ่ ผล่พน้ ดินต้องอยูใ่ นทีล่ อ้ มหรือในช่องเดินสายไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การป้องกันเพื่อจุดประสงค์นนั ้ สําหรับ
ช่องเดินสายไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ กับเสาไฟฟ้าต้องมีความแข็งแรงไม่น้อยกว่าท่อโลหะหนาปานกลางและต้องโผล่เหนือดินถึง
ระดับสูง ไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร
8.5) สายไฟฟ้าใต้ดนิ อนุญาตให้ต่อสายต่อแยกสายในรางเดินสายหรือบ่อพักสายโดยไม่ตอ้ งมีกล่องต่อสายได้เมื่อ
การต่อหรือการต่อแยกนัน้ ดําเนินการตามกรรมวิธแี ละใช้อุปกรณ์การต่อแยกทีไ่ ด้รบั การป้องกัน
8.6) การกลบวัดสุทจ่ี ะใช้กลบต้องง่ายต่อการบดอัดและต้องไม่มสี งิ่ ทีน่ ําความเสียหายต่อท่อร้อยสายหรือ
สายไฟฟ้า
8.7) ช่องเดินสายไฟฟ้าทีค่ วามชืน้ อาจเข้าไปสัมผัสส่วนซึง่ ไม่มฉี นวนหุม้ ต้องปิ ดผนึกทีป่ ลายทัง้ สอง
8.8) เมื่อสายไฟฟ้าออกจากท่อร้อยสายไฟฟ้าไปฝงั ดินโดยตรงทีป่ ลายท่อต้องมีปลอกป้องกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 383 of 521

8.9) สายแกนเดียวของวงจรเดียวกันรวมทัง้ สายดิน (ถ้ามี)ต้องติดตัง้ ในช่องเดินสายไฟฟ้าเดียวกันหรือเมื่อฝงั ดิน


โดยตรงต้องวางชิดกันในร่องเดินสายเดียวกัน
(9) จํานวนสูงสุดของสายไฟฟ้า 60227 IEC01 (THW)ในท่อร้อยสาย
(10) สายไฟฟ้าสําหรับวงจรย่อยจากตูจ้ ่ายไฟย่อย (LOAD CENTER) ไปยังอุปกรณ์ดวงโคมหรือเต้ารับไฟฟ้าอนุญาตให้
เดินสายไฟฟ้าในท่อเดียวกันได้ไม่เกิน 3 วงจร (ต่างเฟสกัน)โดยใช้สายไฟฟ้า60227 IEC01 (THW)ในท่อร้อยสายซึง่
ถือว่าไม่เป็ นการเปลีย่ นแปลงรายการ
(11) สายไฟฟ้าสําหรับวงจรไฟฟ้ากําลัง เช่นเครื่องปรับอากาศตูด้ ดู ควัน (HOOD) เต้ารับไฟฟ้ากําลังโคมไฟผ่าตัดเครื่อง
คอมพิวเตอร์ให้เดินสายไฟฟ้าร้อยท่อ CONDUIT แยกเฉพาะแต่ละวงจรเพื่อสะดวกในการใช้งานและซ่อมบํารุง
(12) แผงจ่ายไฟวงจรย่อย (LOAD CENTER, PANEL BOARD) ให้ตดิ ตัง้ ลอยหรือฝงั ในผนังตามรูปแบบและรายละเอียด
หรือตามความเหมาะสมโดยสูงจากพืน้ ประมาณ 1.80 เมตร
(13) การต่อเชื่อมสายเมนไฟฟ้าของอาคารทีท่ าํ การก่อสร้างกับสายเมนไฟฟ้าแรงตํ่าภายนอกอาคาร ให้ปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้
13.1) กรณีท่ี 1 กรณีสายเมนภายนอกอาคารอยู่ห่างจากทีท่ าํ การก่อสร้างไม่เกิน 30 เมตร (โดยสายเมนนี้ตอ้ งมี
ขนาดเพียงพอ)ให้ผรู้ บั จ้างเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการต่อเชื่อม (ยกเว้นแบบรูปและรายการละเอียดระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
13.2) กรณีท่ี 2 กรณีสายเมนอยู่ห่างจากอาคารทีก่ าํ ลังก่อสร้างเกินกว่า 30 เมตร ให้ผรู้ บั จ้างจัดเตรียมสายเมน
ไฟฟ้าไว้สาํ หรับต่อเชื่อมในอนาคตความยาวไม่ต่าํ กว่า 30 เมตรและให้ผรู้ บั จ้างจัดหาไฟฟ้าสํารองชัวคราวมาต่่ อเชื่อมทําการ
ทดสอบสําหรับค่าใช้จ่ายเป็ นหน้าทีข่ องผูร้ บั จ้าง(ยกเว้นแบบรูปและรายการละเอียดระบุไว้เป็ นอย่างอื่น)
13.3) สายเมนไฟฟ้าควรป้อนเข้าทางด้านหลังหรือด้านข้างอาคารยกเว้นกรณีทจ่ี ะโผล่ไปทางด้านหน้าควรร้อยท่อ
IMC และทาทับด้วย FLINT COAT ฝงั จากอาคารไปโผล่ยงั เสาไฟฟ้าทีเ่ หมาะสมตามมาตรฐานการไฟฟ้าฯ หรือตามรูปแบบ
กําหนด
18.4 สําหรับอาคารดังต่อไปนี้ (ทีไ่ ม่มรี ายละเอียดระบบไฟฟ้าระบุไว้)
(1) โรงรถ อาคารพัสดุ ทางเดินเชื่อม รัว้ ป้อมยาม โรงสูบนํ้า
(2) โรงไฟฟ้า โรงเก็บศพ โรงครัว โรงซักฟอก
(3) หรืออาคารทีม่ จี าํ นวนการติดตัง้ ดวงโคมและเต้ารับไม่เกิน 20 จุดให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์และเดินสายไฟตามมาตรฐานของ
การไฟฟ้าส่วนท้องถิน่ โดยต้องปฏิบตั ติ ามรายการกําหนดวัสดุอุปกรณ์ในแบบรูปและรายการทัวไปประกอบแบบก่ ่ อสร้าง
อาคารของกองแบบแผนกระทรวงสาธารณสุข
18.5 ให้ผรู้ บั จ้างติดตัง้ มิเตอร์ไฟฟ้าทีเ่ สาใกล้ทส่ี ดุ หรือในตําแหน่งทีเ่ หมาะสมสําหรับอาคารบ้านพักระดับ1-2, 3-4
และเรือนแถวให้ตดิ ตัง้ มิเตอร์ขนาด5 (15 A) ทุกยูนิตอาคารบ้านพักระดับ 5 - 6 สถานีอนามัย และสํานักงานผดุงครรภ์
ติดตัง้ มิเตอร์ขนาด 10 (30 A) หรือตามทีร่ ะบุไว้ในแบบโดยมิเตอร์ตอ้ งผ่านการตรวจสอบจากหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบและ
สายไฟฟ้าเข้ามิเตอร์ให้ใช้ตามมาตรฐานการไฟฟ้าท้องถิน่
ตารางที่ 1 ค่าความลึกตํ่าสุดสําหรับแรงดันระบุไม่เกิน 600 โวลท์

วิธกี ารเดินสายไฟฟ้า ค่าความลึกตํ่าสุด (เมตร)


สายไฟฟ้าชนิดฝงดิ
ั นโดยตรง 0.60
ท่อโลหะหนา 0.15
ท่อโลหะหนาปานกลาง 0.15
ท่อโลหะหนาซึง่ รับรองให้ฝงั ดินโดยตรงได้โดยไม่ตอ้ งมีคอนกรีตหุม้ 0.45

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 384 of 521

ช่องเดินสายไฟฟ้าอื่นๆ ซึง่ ได้รบั การรับรองแล้ว 0.45


หมายเหตุ
(1) ช่องเดินสายไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การรับรองให้ฝงั ดินได้โดยมีคอนกรีตหุม้ ต้องหุม้ ด้วยคอนกรีตหนาไม่น้อยกว่า 0.05 เมตร
(2) ค่าความลึกตํ่าสุดวัดจากระดับผิวดินถึงระดับผิวบนของสายไฟฟ้าชนิดฝงั ดินโดยตรงหรือท่อร้อยสายไฟฟ้าหรือช่อง
เดินสายไฟฟ้า

18.6 บัสบาร์ทาํ ด้วยอลูมเิ นียมหรือทองแดง และต้อง ELECTROLYTICALLY PLATEDการต่อบัสบาร์ใช้สลักและ


แป้นเกลียวซึง่ เป็ นของผูผ้ ลิตตลอดความยาวของบัสบาร์แต่ละอันต้องมีฉนวนหุม้ โดยตลอดอุณหภูมทิ เ่ี พิม่ ขึน้ แต่ละจุดของ
บัสบาร์ตอ้ งไม่เกิน 55ºC จากอุณหภูมแิ วดล้อมเมื่อรับโหลดเต็มที่
18.7 PLUG IN UNIT ต้องมีระบบ SAFETY DEVICES คือเมื่อสวิตซ์หรือเมื่อเซอร์กติ เบรกเกอร์อยู่ในตําแหน่ง
ON จะไม่สามารถเปิ ดฝา PLUG IN UNIT ได้และไม่สามารถ ON สวิตซ์หรือเซอร์กติ เบรคเกอร์ได้ถา้ ฝา PLUG IN UNIT
เปิ ดอยู่
18.8 บัสดักจะต้องยึดหรือแขวนกับโครงสร้างทุกระยะ 2.50 เมตรในแนวราบและทุกชัน้ ของโครงสร้างหรือไม่เกิน
5.0เมตรในแนวตัง้
18.9 โวลต์ตกระหว่างเฟสไม่เกิน 3.4 โวลต์ต่อความยาว 30 เมตรที่ RATE CURRENT และ POWER FACTOR
ไม่ต่ํากว่า 0.8
18.10 อุปกรณ์ประกอบบัสดักเช่น FLANGE END, END COVER, ELBOW เป็ นต้น ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกัน
กับบัสดัก
18.11 อุปกรณ์ประกอบการจับยึดบัสดักต้องแข็งแรงชิน้ ส่วนทีเ่ ป็ นโลหะต้องไม่เป็ นสนิมหรือผ่านกรรมวิธปี ้ องกัน
สนิมและเป็ นไปตามมาตรฐานผูผ้ ลิต

19. การป้ องกันไฟและควันลาม


บริเวณพืน้ หรือกําแพงทีเ่ ปิ ดช่องไว้เป็ นทางผ่านของท่อร้อยสายไฟรางเดินสายบริเวณช่อง SHAFT จะต้องอุดด้วยวัสดุ
ป้องกันไฟและควันลามซึง่ สามารถป้องกันไฟและควันลามได้ไม่น้อยกว่า 2 ชัวโมง ่

20. โคมไฟฟ้ าและอุปกรณ์


20.1 โคมไฟฟ้าและอุปกรณ์
(1) โคมไฟฟ้าต้องเป็ นไปตามทีก่ าํ หนดไว้ในแบบ
(2) ขัว้ รับหลอดชนิดเกลียวเป็ นผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐานของ IEC หรือ VDE
(3) หลอดใช้งานทีแ่ รงดัน 220 - 230 V เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั เครื่องหมายมอก.
(4) สายในโคมไฟฟ้าชนิดสายอ่อนขนาดไม่เล็กกว่า 10 ตารางมิลลิเมตร อุณหภูมฉิ นวนไม่น้อยกว่า 70°C
20.2 โคมไฟฟ้าฟลูออเรสเซนต์
(1) ขัว้ รับหลอดและขัว้ รับสตาร์เตอร์เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั เครื่องหมายมอก.
(2) บัลลาสต์ให้ใช้ชนิด LOW LOSS HIGH POWER FACTOR หรือ ELECTRONIC สามารถแก้คาํ POWER
FACTOR ให้ได้ไม่ต่ํากว่า 0.85 ทัง้ นี้ให้ใช้บลั ลาสต์ 1ตัวต่อ 1 หลอด
(3) หลอดเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั เครือ่ งหมายมอก.ชนิดให้แสง WHITE, COOL WHITE หรือตามทีก่ าํ หนดในแบบ
(4) สตาร์เตอร์เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั เครื่องหมายมอก.
(5) สายในโคมไฟฟ้าขนาดไม่เล็กกว่า 1.0 ตารางมิลลิเมตรอุณหภูมฉิ นวนไม่น้อยกว่า 70°C

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 385 of 521

(6) โคมไฟฟ้าต้องติดตัง้ ให้มนคงแข็


ั่ งแรง โคมไฟฟ้าทีฝ่ งั ในฝ้าเพดานต้องยึดกับโครงสร้างด้วยเส้นลวดขนาด 1/8 นิ้ว
จํานวน 4 มุมพร้อมอุปกรณ์ปรับความสูงตํ่าของโคมไฟฟ้าหรือแขวนด้วยโซ่โลหะ(ยึดด้วย EXPANSION BOLT
ชนิดโลหะห้ามใช้ชนิดพลาสติก)
(7) ตัวโคมไฟต้องเป็ นแผ่นเหล็กหนาไม่น้อยกว่า 0.6 มิลลิเมตรผ่านกรรมวิธพี ่นสีป้องกันสนิมอย่างดีแล้วพ่นสีอบความ
ร้อน
20.3 โคมไฟฟ้าก๊าซดิสชาร์จ
(1) โคมไฟฟ้าทําด้วยโลหะโลหะหล่อ DI - CAST ALUMINUM หรือไฟเบอร์กลาสตามมาตรฐานผูผ้ ลิตชนิดและขนาด
ตามทีก่ าํ หนดในแบบ
(2) อุปกรณ์ประกอบดวงโคมเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับผูผ้ ลิตดวงโคมหรือตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตบัลลาสต์เป็ น
ชนิด HIGH POWER FACTOR (BUILT IN CAPACITOR) ให้คา่ POWER FACTOR ไม่ต่ํา กว่า 0.85
20.4 โคมไฟฟ้าฉุกเฉินใช้แบตเตอรี่
(1) โคมไฟฟ้าต้องติดสว่างโดยอัตโนมัตเิ มื่อไฟเมนดับและจะดับเองเมื่อไฟเมนเป็ นปกติ
(2) เครื่องประจุแบตเตอรีเ่ ป็ นแบบอัตโนมัติ
(3) แบตเตอรีช่ นิด SEALED LEAD ACID 12 V. DC
(4) หลอดไฟตามทีก่ าํ หนดในแบบ
(5) แบตเตอรีใ่ ช้งานได้ไม่น้อยกว่า3 ชัวโมงเมื
่ ่อโหลดเต็มทีห่ รือตามทีก่ าํ หนดในแบบ
(6) การควบคุมวงจรเป็ นแบบ SOLID STATE ทัง้ หมด

21. สวิ ตซ์และเต้ารับ


21.1 สวิตซ์ให้ตดิ ตัง้ สูงจากพืน้ ประมาณ 1.20 เมตร
21.2 เต้ารับ ให้ตดิ สูงจากพืน้ ประมาณ 30 เซนติเมตรยกเว้นบริเวณทีม่ โี ต๊ะ เคาน์เตอร์ หิง้ เฟอร์นิเจอร์ กระจก
หรืออื่นๆให้ตดิ อยู่เหนือเฟอร์นิเจอร์นนั ้ ประมาณ 5 - 10 เซนติเมตรหรือตามตําแหน่งทีเ่ หมาะสมโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการตรวจการจ้าง
เต้ารับในห้องผ่าตัดและห้องคลอดหรือห้องทีอ่ าจเกิดการระเบิดได้ง่ายให้เดินสายร้อยท่อโลหะเกาะผนังโดยติดสูงระดับ
เดียวกับสวิตซ์
21.3 หากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่นขนาดของสวิตซ์และเต้ารับ ต้องทนกระแสได้ไม่ต่ํากว่า 15 แอมแปร์และทน
แรงดันไฟฟ้าได้ไม่ต่าํ กว่า 250 V.
21.4 รูเสียบของเต้ารับต้องใช้ได้กบั ทัง้ ชนิดขากลมและขาแบนพร้อมสายดิน
21.5 เต้ารับต้องมีขวั ้ ดิน ต้องต่อขัว้ ดินเข้ากับสายดินขนาดของสายดินต้องไม่เล็กกว่าดังต่อไปนี้ (หากแบบมิได้
กําหนดไว้)
(1) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 20 แอมแปร์สายดินขนาด 4 ตารางมิลลิเมตร
(2) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 40 แอมแปร์สายดินขนาด 10 ตารางมิลลิเมตร
(3) ขนาดเครื่องป้องกันวงจรไม่เกิน 50 แอมแปร์สายดินขนาด 16 ตารางมิลลิเมตร

22. การต่อลงดิ น
22.1 ชิน้ ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าทีเ่ ป็ นโลหะซึง่ ไม่ใช่เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้าและอยู่สงู จากระดับพืน้ อาคารแต่ละ
ชัน้ ตํ่ากว่า 2.50 เมตรซึง่ คนสัมผัสได้ต้องต่อลงดินทัง้ หมดยกเว้นชิน้ ส่วนโลหะดังกล่าวอยู่ในตําแหน่งทีส่ มั ผัสไม่ถงึ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 386 of 521

(ระยะห่างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตรในแนวราบ)รายละเอียดอื่นให้เป็ นไปตามมาตรฐานเพื่อความปลอดภัยทางไฟฟ้าเรื่องการ


ต่อลงดินของสํานักงานพลังงานแห่งชาติหรือ NEC
22.2 หลักสายดิน (GROUND ROD) ต้องใช้ชนิดทองแดงหรือทองแดงหุม้ เหล็กขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว
ยาว 3.0 เมตรและหลักสายดินต้องมีจาํ นวนเพียงพอทีจ่ ะทําให้ระบบดินมีความต้านทานไม่เกิน 5 โอห์ม ในในสภาวะดิน
แห้ง
22.3 สายดินต้องใช้ชนิดสายทองแดงหากมิได้กาํ หนดไว้ในแบบขนาดของสายดินให้เป็ นไปตามตารางที่ 1 และ
ตารางที่ 2 ในหมวดงานระบบป้องกันฟ้าผ่า
22.4 การต่อสายดินเข้ากับหลักสายดินให้ใช้สายดินเชื่อมกับหลักสายดินโดยวิธหี ลอมละลาย (EXOTHERMIC
WELDIND) หรือเชื่อมด้วยความร้อนวิธอี ่นื ทีเ่ หมาะสม

จบหมวดที่ 68

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 387 of 521

หมวดที่ 69
ระบบป้ องกันฟ้ าผ่า

1. กฎข้อบังคับ
ถ้าไม่ได้มกี าํ หนดไว้ในแบบหรือทีห่ นึ่งทีใ่ ด วัสดุอุปกรณ์และการติดตัง้ ระบบป้องกันฟ้าผ่าต้องเป็นไปตามกฎ
ข้อบังคับของมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง ต่อไปนี้ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานอ้างอิงต่อไปนี้ ประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยเกีย่ วกับ ไฟฟ้า หมวด 7 การติดตัง้ สายล่อฟ้า มาตรฐานเพื่อความ
ปลอดภัยทางไฟฟ้า สํานักงานพลังงานแห่งชาติ TEST 12 - 1980 มาตรฐานระบบป้องกันฟ้าผ่า สําหรับอาคารและ
สิง่ ปลูกสร้างประกอบอาคาร National Fire Protection Assocciation No.78

2. ขอบเขต
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหา และติดตัง้ ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าชนิด EARLY STREAMER EMISSION
SYSTEM รัศมีมกี ารป้องกันไม่น้อยกว่าระบุในแบบ ระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าต้องสามารถรับประจุทเ่ี กิดจาก
ฟ้าผ่า แล้วนําสูพ่ น้ื ดินอย่างรวดเร็ว และจะต้องไม่ใช้แหล่งจ่ายไฟใด ๆ เกิดจากภายนอกทัง้ สิน้ ผลิตภัณฑ์ตอ้ งเป็ นไป
ตามมาตรฐาน FRENCH STANDARD NFC 17 102 โดย หัวล่อฟ้า (AIR TERMINAL) เป็ นชนิดทีส่ ามารถเก็บ
พลังงานจากแสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และมีอุปกรณ์สะสมพลังงานไว้ใช้ได้ตลอดเวลาอยู่ภายในและจะปล่อย
พลังงานทีส่ ะสมออกมาในรูปประจุ เพื่อล่อและนํากระแสไฟฟ้าผ่านลงดิน

3. หัวล่อฟ้ ามีส่วนประกอบที่สาคัญ คือ


- Solar Cell System มีหน้าที่ สร้างพลังงานจากแสงแดด
- Impulse Device ทําหน้าที่ สะสมพลังงานและปล่อยประจุเพื่อล่อและนําลําฟ้าผ่าลงดิน
- Dimensioned Flange มีหน้าทีป่ ้ องกันนํ้าฝนเข้าไปทําความเสียหายให้อุปกรณ์
- เสา (ELEVATION ROD) ทําด้วย GALVANIZED STEEL ความสูงของเสา 6 เมตร
- สายนําลงดิน (DOWN CONDUCTOR) เป็น XLPE สายทีใ่ ช้กบั ไฟฟ้าแรงดันสูง มีขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อย
กว่า 70 มม. สายนําลงดินจะต้องไม่มรี อยต่อใด ๆ หรือเป็ นไปตามทีแ่ บบกําหนด
- ระบบสายดิน (GROUNDING SYSTEM) ใช้ COPPER CLAD STEEL ROD ขนาด 5/8"x10” อย่างน้อย 3
แท่ง ปกั ลึกลงในดินอย่างน้อย 50 ซม. ตามตําแหน่งทีก่ าํ หนดในแบบ
- DISCHARGE COUNTER สําหรับตรวจสอบจํานวนครัง้ ทีเ่ กิดฟ้าผ่า โดยจะมีตวั เลขบอกจํานวนครัง้ ซึง่ ไม่
สามารถ RESET ได้และต้องไม่ใช้แหล่งพลังงานจากแหล่งจ่ายใด ๆ ทัง้ สิน้
- มี Remote Control ไร้สายสําหรับการ Test สถานะความพร้อมการใช้งานของหัวล่อฟ้าได้ในระยะไม่น้อย
กว่า 90 เมตร

4. ส่วนประกอบสาคัญและคุณสมบัติ
3.1 หัวล่อฟ้า (AIR TERMINAL) เป็ นชนิดทีส่ ามารถเก็บพลังงานจากแสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน และมี
อุปกรณ์สะสมพลังงานไว้ใช้ได้ตลอดเวลาอยู่ภายใน และจะปล่อยพลังงานทีส่ ะสมออกมาในรูปประจุ เพื่อล่อ
และนําลําฟ้าผ่าลงดินต้องมีแหล่งเก็บสะสมพลังงานไม่น้อยกว่า 2 แหล่ง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 388 of 521

หัวล่อฟ้ามีสว่ นประกอบทีส่ าํ คัญ คือ


- มีวงจร Sensor สังงานให้
่ ่ ปล่อยประจุไปนําลําฟ้าผ่าถ่ายเทลงดินขณะ
เก็บประจุขณะปกติและสังให้
เกิดฟ้าผ่า
- Solar และ Wind มีหน้าที่ สร้างพลังงานจากแสงแดด และ ลม
- Impulse Device ทําหน้าที่ สะสมพลังงาน และ ปล่อยประจุเพื่อล่อและนําลําฟ้าผ่าลงดิน
- Dimensioned Flange มีหน้าทีป่ ้ องกันนํ้าฝน เข้าไปทําความเสียหายให้อุปกรณ์
3.2 เสา (ELEVATION ROD) ทําด้วย GALVANIZED STEEL ความสูงของเสากว่า 6 เมตร
3.3 สายนําลงดิน (DOWN CONDUCTOR) เป็ น BARE COPPER สายทีใ่ ช้กบั ไฟฟ้าแรงดันสูง มีขนาด
พืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 70 มม. สายนําลงดินจะต้องไม่มรี อยต่อใด ๆ หรือเป็ นไปตามทีแ่ บบ
กําหนด
3.4 ระบบสายดิน (GROUNDING SYSTEM) ใช้ COPPER CHARM STEEL ROD ขนาด 5/8"x10’อย่าง
น้อย 3 แท่ง ปกั ลึกลงในดินอย่างน้อย 50 ซม. ตามตําแหน่งทีก่ าํ หนดในแบบ
3.5 DISCHARGE COUNTER สําหรับตรวจสอบจํานวนครัง้ ทีเ่ กิดฟ้าผ่า โดยจะมีตวั เลขบอกจํานวนครัง้
ซึง่ ไม่สามารถ RESET ได้ และต้องไม่ใช้แหล่งพลังงานจากแหล่งจ่ายใด ๆ ทัง้ สิน้
3.6 มี Remote Control ไร้สายสําหรับการ Testสถานะความพร้อมการใช้งานของ หัวล่อฟ้าได้ในระยะไม่
น้อยกว่า 90 เมตร
3.7 สถาบัน Test laboratory BAZET (CEB) in compliance with the NFC 17 – 102 standard,
and is subject of tests campaign in situ.เป็ นผู้ Test
5. มาตรฐาน
อุปกรณ์และการติดตัง้ ให้เป็ นตามข้อกําหนดของสถาบัน Test laboratory BAZET (CEB) in compliance with
the NFC 17 – 102 standard, and is subject of tests campaign in situ เป็ นผู้ Test
6. ผลิ ตภัณฑ์มาตรฐาน
อุปกรณ์ป้องกันฟ้าฝา่ FRANKLIN FRANCE , PREVECTRONZ,FOREND,LPI หรือคุณภาพเทียบเท่า

ตารางที่ 1 ขนาดของตัวนาสาหรับต่อลงดิ นของระบบไฟฟ้ า


ขนาดของตัวนา (ทองแดง) ประธานเข้าอาคาร ขนาดสายดิ นทองแดง
(ตารางมิ ลลิ เมตร) (ตารางมิ ลลิ เมตร)
ไม่เกิน 35 10
เกิน 35 แต่ไม่เกิน 50 16
เกิน 50 แต่ไม่เกิน 95 25
เกิน 95 แต่ไม่เกิน 185 35
เกิน 185 แต่ไม่เกิน 300 50
เกิน 300 แต่ไม่เกิน 500 70
มากกว่า 500 95

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 389 of 521

ตารางที่ 2 ขนาดของตัวนาสาหรับต่อลงดิ นของอุปกรณ์ไฟฟ้ า


พิ กดั หรือขนาดปรับตัง้ ของอุปกรณ์
ขนาดสายดิ นทองแดง
ป้ องกันกระแสเกิ นอัตโนมัติ ด้านต้นทางของอุปกรณ์
(ตารางมิ ลลิ เมตร)
(แอมแปร์)
16 1.5
20 2.5
40 4
70 6
100 10
200 16
400 25
500 35
800 35
1000 50
1250 70
2000 70
2500 120
4000 150
6000 185

ตารางที่ 3 จานวนสูงสุดของสายไฟฟ้ า ขนาดเดียวกันในท่อร้อยสาย


จานวนสูงสุดของสายไฟฟ้ า ขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 ตารางที่ 4 ที่ใช้ในท่อร้อยโลหะตาม มอก.770-2533
ขนาดระบุของท่อ
ขนาด
มิ ลลิ เมตร (นิ้ ว)
สายไฟ
(ตาราง 15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150
มิ ลลิ เมตร) (1/2) (3/4) (1) (1 1/4) (1 1/2) (2) (2 1/2) (3) (3 1/2) (4) (5) (6)
1 7 13 20 33 - - - - - -
1.5 6 11 17 28 44 - - - - -
2.5 4 8 13 22 34 - - - - -
4 3 5 9 15 23 36 - - - -

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 390 of 521

6 2 4 7 12 19 29 - - - -
10 1 3 4 7 12 19 32 - - -
16 1 1 3 5 9 14 23 36 - -
25 1 1 1 3 5 9 15 23 29 -
35 - 1 1 3 4 7 12 19 24 30
50 - - 1 1 3 5 9 14 17 21 34
70 - - 1 1 2 4 7 10 13 16 26 37
95 - - - 1 1 3 5 7 10 12 19 27
120 - - - 1 1 2 4 6 8 10 16 23
150 - - - - 1 1 3 5 7 8 13 19
185 - - - - 1 1 2 4 5 6 10 15
240 - - - - - 1 1 3 4 5 8 12
300 - - - - - 1 1 2 3 4 6 10
400 - - - - - 1 1 1 2 3 5 8
500 - - - - - 1 1 1 2 2 4 6
ตารางที่ 4 จานวนสูงสุดของสายไฟฟ้ า ขนาดเดียวกันในท่อร้อยสาย
จานวนสูงสุดของสายไฟฟ้ า ขนาดเดียวกัน มอก.11-2553 ตารางที่ 6 ที่ใช้ในท่อร้อยโลหะตาม มอก.770-2533
ขนาดระบุของท่อ
ขนาด
มิ ลลิ เมตร (นิ้ ว)
สายไฟ
(ตาราง 15 20 25 32 40 50 65 80 90 100 125 150
มิ ลลิ เมตร) (1/2) (3/4) (1) (1 1/4) (1 1/2) (2) (2 1/2) (3) (3 1/2) (4) (5) (6)
1 1 1 3 5 8 12 21 33 - - - -
1.5 1 1 2 4 7 11 19 30 - - - -
2.5 1 1 2 4 7 10 17 26 33 - - -
4 1 1 1 3 6 9 15 23 29 36 - -
6 - 1 1 3 5 8 13 21 26 33 - -
10 - 1 1 2 4 6 11 17 22 27 - -
16 - 1 1 1 3 5 10 15 19 23 36 -
25 - 1 1 1 3 4 8 12 15 19 29 -
35 - - 1 1 1 3 6 10 12 15 24 35

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 391 of 521

50 - - 1 1 1 3 5 8 11 13 21 31
70 - - - 1 1 2 4 7 8 11 17 24
95 - - - 1 1 1 3 5 7 8 13 19
120 - - - 1 1 1 3 4 6 7 11 17
150 - - - - 1 1 1 3 4 5 9 13
185 - - - - 1 1 1 3 4 5 7 11
240 - - - - - 1 1 2 3 4 6 9
300 - - - - - 1 1 1 2 3 5 7
400 - - - - - - 1 1 1 2 4 6
500 - - - - - - 1 1 1 1 3 4

จบหมวดที่ 69

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 392 of 521

หมวดที่ 70
ระบบผลิ ตไฟฟ้ าด้วยเซลล์แสงอาทิ ตย์

1. รายการ ระบบผลิ ตไฟฟ้ าด้วยเซลล์แสงอาทิ ตย์

2. วัตถุประสงค์
ต้องการก่อสร้างพร้อมติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์และติดตัง้ ระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
สํานักงาน ขนาดกําลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.(วัตต์) เพื่อผลิตไฟฟ้าสําหรับสนับสนุน กิจกรรมการในอาคาร

3. เป้ าหมาย
ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมาย ดังต่อไปนี้
ดําเนินการก่อสร้างพร้อมติดตัง้ ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.วัตต์
จํานวน 1 ระบบ ซึง่ มีไดอะแกรมลักษณะของระบบฯ ดังแสดงในรูปที่ 1 และติดตัง้ พร้อมเชื่อมต่อระบบไฟฟ้าภายในอาคาร
สํานักงาน และอื่นๆ โดยใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงเพื่อการประหยัดพลังงานให้กบั อาคาร

4. ลักษณะระบบผลิ ตไฟฟ้ าด้วยเซลล์แสงอาทิ ตย์


ระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ซง่ึ ทําหน้าทีผ่ ลิตไฟฟ้า
กระแสตรงและจ่ายพลังงานไฟฟ้าผ่านชุดควบคุมการประจุฯ เพื่อประจุแบตเตอรี่ และจ่ายพลังงานไฟฟ้ากระแสตรงผ่าน
อินเวอร์เตอร์แบบ Stand Alone Inverter เปลีย่ นเป็ นระบบไฟฟ้ากระแสสลับชนิด 1 Phase 220 Va.c. ,50 Hz. ก่อนจ่าย
ให้กบั ภาระไฟฟ้าต่อไป ดังไดอะแกรมแสดงลักษณะของระบบฯในรูปที่ 1

DC

SSW
MCCB.

PV CC. INV.

MLC

Note;
BATT.
PV = Photovoltaic array
SSW. = Safety switch Etc.
CC. = Charger& controller
BATT = Battery bank
INV. = Stand alone inverter BLD.2
MCCB = Molded case circuit breaker
MLC = Main load center BLD.1
BLD1,2 = Building 1 , 2

รูปที่ 1. ไดอะแกรม ลักษณะของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 393 of 521

รายละเอียดคุณสมบัติวสั ดุ
1. รายละเอียดเฉพาะของอุปกรณ์ระบบผลิ ตไฟฟ้ าด้วยเซลล์แสงอาทิ ตย์ มีรายละเอียดดังนี้
1.1 แผงเซลล์แสงอาทิ ตย์ จานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีขนาดกําลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 3,000 Wp. ต่อ
ระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
1. แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทุกแผง ต้องมีเครื่องหมายการค้า รุ่น และค่าพิกดั กําลังไฟฟ้าสูงสุดทีเ่ หมือนกัน
และขนาดกําลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ ต่อระบบ หลังจากการทดสอบรวมกันต้องมีขนาด
กําลังไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 2,000 Wp.
2. คุณสมบัตทิ างไฟฟ้าทีส่ ภาวะ Standard Test Condition (STC.) ค่าแรงดันไฟฟ้าวงจรเปิ ด Voc. ของ
แผงเซลล์ฯ ไม่น้อยกว่า 20 V.แรงดันไฟฟ้าทีก่ าํ ลังไฟฟ้าสูงสุด Vmp.ไม่น้อยกว่า 17.0 V.
3. Maximum system voltage ไม่น้อยกว่า 600 Vdc. และ Temperature Coefficient of Power ไม่เกิน
– (0.5) % / ๐ C หรือ Temperature coefficient of Voc ไม่เกิน - 0.15 V/๐C
4. ต้องมีกรอบ (Frame) แผงเซลล์ฯ ทีแ่ ข็งแรง ไม่เป็ นสนิมและทนทานต่อการกัดกร่อนของสภาพแวดล้อม
และสภาพภูมอิ ากาศได้ดี
5. ด้านหลังของแผงเซลล์ฯ ติดตัง้ กล่องต่อสายไฟฟ้า (Junction Box) หรือขัว้ ต่อสาย (Terminal Box) ทีม่ ี
การปิ ดผนึกหรือมีฝาทีป่ ิ ดล็อคได้อย่างมันคง
่ สามารถทนต่อสภาพอากาศและสภาวะแวดล้อมได้ดี และ
ต้องมีวสั ดุป้องกันนํ้าซึมเข้า ภายในกล่องรวมสายไฟต้องมีขอ้ ต่อสายไฟทีม่ นคงแข็
ั่ งแรง ทนทานต่อ
สภาวะการใช้งานภายนอกอาคารได้และมีอายุการใช้งานเทียบเท่าแผงเซลล์ฯ
6. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกด้วยสารกันความชืน้ Ethylene Vinyl Acetate (EVA) หรือวัสดุอ่นื ที่
เทียบเท่าหรือดีกว่า ด้านหน้าแผงเซลล์ฯ ปิ ดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ทียบเท่าหรือ
ดีกว่า วัสดุ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ยดึ ชุดแผงเซลล์ฯ ต้องเป็ นวัสดุทท่ี าํ จากสแตนเลส
7. แผงเซลล์ฯ ทุกแผง ต้องแสดงชือ่ ผูว้ ่าจ้าง โดยการสลักตัวอักษรชื่อไว้บนกรอบของแผงเซลล์ฯ หรือ
จัดพิมพ์ช่อื หน่วยงานไว้บนแผ่น Sticker ทีท่ นแสงแดดและทนความร้อน ปิ ดทับบนช่องว่างของชัน้
เซลล์แสงอาทิตย์ ก่อนปิ ดทับด้วยแผ่นกระจกใสหรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ทียบเท่าหรือดีกว่า โดย
ขนาดของตัวอักษรต้องมีความเหมาะสมสามารถมองเห็นและอ่านได้ชดั เจน

1.2 กรณี แผงเซลล์แสงอาทิ ตย์เป็ นชนิ ด Crystalline Silicon


1. มีขนาดกําลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่าํ กว่า 50 วัตต์ ต่อแผงฯ ทีค่ ่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W./m2
อุณหภูมแิ ผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็ นแผงเซลล์ฯ ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61215 Crystalline Silicon terrestrial
photovoltaic (PV) modules Design qualification and type approval
3. แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์เป็ นแบบ Square Cell หรือ Pseudo Square Cell หรือ Rectangular Cell หรือ
ถ้าเป็ นแบบ Round Cell จะต้องมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของแต่ละเซลล์ไม่น้อยกว่า 12 เซนติเมตร
4. แผ่นเซลล์แสงอาทิตย์ทน่ี ํามาประกอบภายในแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทุกเซลล์ฯ จะต้องไม่มตี ําหนิอนั
เนื่องมาจากความบกพร่องในการผลิต
5. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกด้วยสารกันความชืน้ Ethylene Vinyl Acetate ( EVA) ด้านหน้า
แผงเซลล์ ปิ ดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตทิ ด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า ด้านหลังผนึกด้วยแผ่น
โพลีเมอร์ทม่ี คี ุณสมบัตเิ หนียวยากต่อการฉีกขาด โดยผ่านการเคลือบให้เป็ นชิน้ เดียวกัน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 394 of 521

6. ต้องมี Integrated Bypass Diode ต่ออยู่ภายในกล่องต่อสายไฟ (Junction Box) หรือขัว้ ต่อสาย


(Terminal Box) หรือติดตัง้ อยูใ่ นแผงเซลล์ฯ โดยระบุขอ้ มูลใน Catalogue หรือมีเอกสารรับรองจาก
ผูผ้ ลิตอย่างชัดเจน

1.3 กรณี แผงเซลล์แสงอาทิ ตย์เป็ นชนิ ด Amorphous Silicon


1. มีขนาดกําลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่าํ กว่า 40 วัตต์ ต่อแผงฯ ทีค่ ่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W./m2
อุณหภูมแิ ผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็ นแผงเซลล์ฯ ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61646 Thin-film terrestrial photovoltaic
(PV) modules Design qualification and type approval
3. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกด้วยสารกันความชืน้ Ethylene Vinyl Acetate ( EVA)
หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตทิ ด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า ด้านหน้าแผงเซลล์ ปิ ดทับด้วยกระจกใส หรือวัสดุอ่นื
ทีม่ คี ุณสมบัตทิ ด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า

1.4 กรณี แผงเซลล์แสงอาทิ ตย์เป็ นชนิ ด Hybrid Thin Film หรือ Thin film (ทีไ่ ม่ใช่ Amorphous Silicon)
1. มีขนาดกําลังผลิตไฟฟ้าสูงสุดไม่ต่ํากว่า 30 วัตต์ ต่อแผงฯ ทีค่ ่าความเข้มแสงอาทิตย์ 1,000 W/m2
อุณหภูมแิ ผงเซลล์ฯ 25 oC, Air mass 1.5
2. เป็ นแผงเซลล์ฯ ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ป็นไปตามมาตรฐาน IEC 61646 Thin-film terrestrial photovoltaic
(PV) modules Design qualification and type approval
3. ภายในแผงเซลล์ฯ จะต้องมีการผนึกด้วยสารกันความชืน้ Ethylene Vinyl Acetate ( EVA)
หรือเทียบเท่าหรือเป็ นวัสดุชนิดอื่นทีด่ กี ว่า ด้านหน้าแผงเซลล์ปิดด้วยกระจกใส หรือวัสดุอ่นื ทีม่ ี
คุณสมบัตทิ ด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า

2. โครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิ ตย์ จานวน 1 ชุด ต่อระบบ


ต้องจัดทํารายละเอียดแบบของชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ พร้อมรายการคํานวณตาม
รายละเอียด ข้อ 2.5 และมีวศิ วกรสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับ
ภาคีวศิ วกรขึน้ ไป ลงนามรับรอง พร้อมผูเ้ ขียนและผูต้ รวจสอบลงนามใน Title Block (หัวแบบ)ขนาด 9.5 X 5.5 เซนติเมตร
ด้านล่างมุมขวามือของแบบทุกแผ่น ในกระดาษขนาด A.3 (เอ.3) อย่างไรก็ตาม ผูอ้ อกแบบระบบและผูว้ ่าจ้าง ขอสงวน
สิทธิในการปรั
์ บปรุงรูปแบบและรายละเอียด หรืออาจเลือกใช้รปู แบบและรายละเอียดตามทีผ่ ู้ว่าจ้างกําหนด ก็ได้ รูปแบบชุด
โครงสร้างฯ มีรายละเอียดดังนี้
2.1 วัสดุทใ่ี ช้ทาํ โครงสร้างต้องเป็ นเหล็กไร้สนิม หรือเหล็กเคลือบสังกะสีอย่างหนา (Galvanized Steel)
หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี วามมันคงแข็
่ งแรงเทียบเท่า
2.2 เสาของชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ เป็ นท่อเหล็กอย่างหนาเคลือบสังกะสี มีขนาดเส้น
ผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 10 เซนติเมตร
2.3 ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ สามารถถอดออกเป็ นชิน้ ส่วนย่อยๆ และประกอบได้อย่างสะดวก และ
กําหนดให้ชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์วางทํามุมกับแนวระนาบ เป็นมุมเอียงประมาณ 20 องศา
2.4 วัสดุ อุปกรณ์ ทีใ่ ช้ยดึ แผงเซลล์แสงอาทิตย์และใช้ยดึ ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ ทุกตัวจะต้อง
มีขนาดทีเ่ หมาะสมและเป็ นวัสดุทท่ี าํ จากสแตนเลส

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 395 of 521

2.5 จัดทํารายละเอียดโครงสร้างเชิงวิศวกรรม กําหนดให้โครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ มีความแข็งแรง


สามารถทนต่อแรงลมทีม่ คี วามเร็วไม่ต่ํากว่า 20 เมตร ต่อวินาที

3. อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ จานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้


3.1 มีระบบป้องกันการเกิด Over Charge และ Over Discharge
3.2 มีระบบป้องกัน Lightning Surge
3.3 มีพกิ ดั แรงดันไฟฟ้าและกระแสด้านขาเข้า (Input) ทีส่ ามารถรับแรงดันไฟฟ้าสูงสุด (Vmp) และกระแส
จ่ายออกสูงสุด (Imp) ของชุดแผงเซลล์ฯ ทีส่ ภาวะ STC.
3.4 สามารถป้องกันไฟฟ้าย้อนกลับจากชุดแบตเตอรีห่ รือมีอุปกรณ์ตดั วงจรไฟฟ้าย้อนกลับจากชุดแบตเตอรี่
เมื่อด้าน Input อยู่ในสถานะเปิ ดวงจร (Open circuit)
3.5 แรงดันไฟฟ้าขาออก (Output Voltage) สามารถประจุไฟฟ้าเข้าชุดแบตเตอรีไ่ ด้ และมีค่าสอดคล้องกับ
Nominal Input Voltage ของอินเวอร์เตอร์
3.6 มีหลอดสัญญาณ LED หรือจอ LCD แสดงสถานภาพการทํางานของอุปกรณ์
3.7 มีระบบปรับการประจุได้ ตามสถานะค่าความจุจริงของแบตเตอรี่ เช่น Boost Charge, Float Charge
3.8 มีหน้าจอแบบ LCD หรือแบบอื่นทีส่ ามารถค่าแบบตัวเลข ประกอบด้วย ค่าพลังงานไฟฟ้ากระแสตรง
แบบสะสม (DC kWh) ค่าชัวขณะของกระแสและแรงดั
่ นไฟฟ้ากระแสตรง (DC Volt, DC Amp.) ในขณะประจุแบตเตอรี่
หากอุปกรณ์ควบคุมฯ ไม่สามารถแสดงค่าทางไฟฟ้าดังกล่าว ผูเ้ สนอราคาต้องจัดหาเครื่องมือแสดง
ข้อมูลดังกล่าวทีม่ คี ุณภาพดีและเสนอรูปแบบการติดตัง้ ให้ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน. พิจารณาให้
ความเห็นชอบ ก่อนนําไปติดตัง้ ประกอบกับอุปกรณ์ควบคุมฯ ให้สามารถแสดงค่าได้จริง

4. อิ นเวอร์เตอร์ จานวน 1 เครือ่ ง ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้


4.1 เป็ นชนิดอิสระ Stand Alone Inverter, 1 Phase 2 wires
4.2 แรงดันไฟฟ้า Nominal Input Voltage เป็ นชนิด 24 Vd.c. หรือ 48 Vd.c.
4.3 แรงดันไฟฟ้า Nominal Out put Voltage 220 Va.c. 50 Hz (+/- 2%)
4.4 Output Voltage Regulation ไม่เกิน 5% ที่ Steady State Load
4.5 Total Harmonic Distortion (THD) ไม่เกิน 4% เมื่อจ่ายภาระไฟฟ้าที่ 0.8 Lagging Power Factor
4.6 ขนาดพิกดั กําลังไฟฟ้าต่อเนื่อง ไม่น้อยกว่า 2.0 kVA หรือไม่น้อยกว่า 2.0 kW. (ที่ Unity Power
Factor)
4.7 Maximum Surge Power ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของพิกดั กําลังไฟฟ้าต่อเนื่อง
4.8 รูปคลื่นสัญญาณแรงดันไฟฟ้า Out put เป็ นแบบ Real Sine wave
4.9 ประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า 90 % ทีพ่ กิ ดั กําลังไฟฟ้าสูงสุด และประสิทธิภาพไม่น้อยกว่า 90 %เมื่อ
จ่ายไฟฟ้าที่ 25% ของพิกดั กําลังไฟฟ้าสูงสุด ทีภ่ าระไฟฟ้าเป็ นUnity Power Factor (Pf. = 1)
4.10 มีระบบป้องกัน Over Load, Short circuit, Over input voltage และ Under input voltage

5. อุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ ากระโชก (Surge Protector) จํานวน 1 เครื่อง ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้


5.1 เป็ นชนิดทีใ่ ช้กบั ระบบไฟฟ้ากระแสสลับ Single phase 220 Va.c. , 50 Hz.
5.2 พิกดั แรงดันไฟฟ้าใช้งานระหว่าง 190-260 Va.c. หรือดีกว่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 396 of 521

5.3 สามารถป้องกันเนื่องจากคลื่นไฟฟ้ากระโชกแบบ Transient และแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนําในสายตัว


นําเนื่องจากฟ้าผ่า ทีก่ ระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 15 kA ทีร่ ปู คลื่นมาตรฐาน 8/20 µSec.
5.4 ระดับการป้องกัน อย่างน้อยต้องสามารถป้องกัน L-N, L-G และ N-G
5.5 Response time ไม่เกิน 50 nSec.
5.6 มีหลอดไฟสัญญาณ LED หรือจอ LCD แสดงสถานภาพการทํางานของอุปกรณ์
5.7 เป็ นผลิตภัณฑ์สาํ เร็จ ทีไ่ ด้รบั การรับรองผลิตภัณฑ์ตามมาตรฐาน IEEE หรือ ANSI หรือเทียบเท่า
6. แบตเตอรี่ จานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
6.1 เป็ นแบบ Stationary Vented Lead Acid ชนิด OPzS และ Nominal Voltage 2 V/Cell
6.2 มีขนาดความจุพลังงานไฟฟ้ารวม ไม่น้อยกว่า 20 kWh ณ อัตราการคายประจุ 100 ชัวโมง ่
(Capacity at C100)
6.3 ทดสอบค่าความจุแบตเตอรีต่ ามข้อ 6.2 ทีอ่ ตั ราการคายประจุไฟฟ้าคงที่ 100 ชัวโมง ่
o ้
(Discharge current at 100 hrs.) ตามรุ่นแบตเตอรี่ ทีส่ ภาวะอุณหภูมนิ ้ํากรด 20 C โดยทีแ่ รงดันไฟฟาสุดท้ายไม่น้อย
กว่า 1.80 V/Cell (ตามมาตรฐาน BS EN 60896-11:2003 หรือมาตรฐานอื่นทีเ่ ทียบเท่า)
6.4 แผ่น Plate ทีข่ วบวกเป็
ั้ นแบบ Tubular
6.5 Cycle life ไม่น้อยกว่า 4,000 ครัง้ ทีค่ ่า DOD 20 %
6.6 Self Discharge Rate ไม่เกิน 3 % ต่อเดือน ทีอ่ ุณหภูมแิ วดล้อม 20 oC หรือไม่เกิน 5 % ต่อ
เดือน ทีอ่ ุณหภูมแิ วดล้อม 30 oC
6.7 ตัวถังแบตเตอรี่ (Container) ผลิตจากวัสดุโปร่งแสงทีท่ นทานต่อการกระแทก และทนสภาพ
กรด (High grade acid resistance ) เช่น SAN เป็ นต้น สามารถมองเห็นระดับนํ้ากรดทีอ่ ยู่ภายในแบตเตอรีไ่ ด้ชดั เจน
6.8 มีเครื่องหมายบอกระดับนํ้ากรดทีร่ ะดับสูงสุด (Max.) และระดับตํ่าสุด (Min.) มีช่องเติม นํ้า
่ ดตัง้ Vent plug ทีม่ คี ุณสมบัติ Proof flame arrestor สามารถระบายอากาศได้ดแี ละสามารถป้องกันฝุน่ ละอองสิง่
กลันติ
แปลกปลอมเข้าภายในแบตเตอรีไ่ ด้
6.9 มีอุปกรณ์ตรวจวัดค่าความถ่วงจําเพาะนํ้ากรด 2 ชุด (Hydrometer) และนํ้ากลันสํ ่ าหรับเติม
แบตเตอรี่ จํานวนไม่น้อยกว่า 20 ลิตร
6.10 มีชุดขาตัง้ รองรับชุดแบตเตอรีท่ ท่ี าํ ด้วยวัสดุทท่ี นทานต่อสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็ นกรด มีความ
แข็งแรงสามารถรับนํ้าหนักชุดแบตเตอรีไ่ ด้อย่างปลอดภัย

7. ชุดโคมไฟฟ้ าแสงสว่าง จานวน ตามระบุในรูปแบบ ต่อระบบ


มีสว่ นประกอบและรายละเอียดดังนี้
7.1 โคมไฟฟ้ า มีรายละเอียด ดังนี้
7.1.1 ใช้กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 วัตต์ จํานวน 1 หลอด
7.1.2 มีแผ่นสะท้อนแสงทีม่ คี ่าสัมประสิทธิการสะท้
์ อนแสงรวม (Total reflectance) ไม่น้อยกว่า
95 % ตามมาตรฐาน DIN 5036-3 หรือมาตรฐานอื่นทีเ่ ทียบเท่า
7.1.3 มีขายึดหลอดเป็ นแบบสปริงกดมีคุณสมบัตไิ ด้รบั การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. 344-
2530
7.1.4 ติดตัง้ สตาร์ทเตอร์ (Starter) ทีเ่ ป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก.
183-2528 หรือ มอก. 183-2547 เพื่อใช้กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์
7.1.5 โครงขาหลอดเป็ นวัสดุทผ่ี ลิตจากโลหะ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 397 of 521

7.2 หลอดไฟฟ้ า มีรายละเอียดดังนี้


7.2.1 เป็ นหลอดฟลูออเรสเซนต์ ชนิด Day light ขนาด 36 W. 220 Va.c., 50 Hz.
7.2.2 เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม มอก.236-2533 และได้รบั การ
รับรองมาตรฐานด้านความปลอดภัย มอก. 956-2533
7.3 Low Loss Ballast มีรายละเอียดดังนี้
7.3.1 เป็ น Low Loss Ballast ทีเ่ ป็ นผลิตภัณฑ์ได้รบั การรับรองตาม มอก. 23 -2521
7.3.2 บนตัวถัง Ballast แสดงเครื่องหมายการค้า เครื่องหมายทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และค่ากําลังไฟฟ้าเป็ นวัตต์ อย่างชัดเจน
7.3.3 สามารถใช้ได้กบั หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขนาด 36 W. 220 Va.c 50 Hz. จํานวน 1 หลอด
7.3.4 มีค่าความสูญเสียกําลังไฟฟ้าไม่เกิน 6 วัตต์ ทีอ่ ุณหภูมิ 20 oC
7.4 สวิ ทช์ มีรายละเอียดดังนี้
7.4.1 เป็ นชนิดสวิทซ์เดีย่ ว ขนาดไม่เกิน 10 A. 220 Va.c. 50 Hz
7.4.2 เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ มอก. 824-2531
7.4.3 ใช้ตดิ ตัง้ กับกล่องพลาสติกทีม่ ฝี าปิ ดแบบ 1 ช่อง ทีใ่ ช้สาํ หรับติดตัง้ สวิทช์หรือเต้ารับ

8. อุปกรณ์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้ าของแบตเตอรี่ จานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้


8.1 ต้องสามารถตัดวงจรการจ่ายภาระไฟฟ้าออกจากระบบโดยอัตโนมัตเิ มื่อแบตเตอรีจ่ ่ายพลังงานไฟฟ้า จน
ค่า DOD ของแบตเตอรีล่ ดลงถึง 30 % หรือเมื่อแรงดันขัวแบตเตอรี ้ ล่ ดลงถึง 1.95-1.97 V/cell
8.2 ระบบตัดวงจรต้องสามารถปรับตัง้ ค่า DOD หรือปรับตัง้ การตัดวงจรจ่ายกระแสไฟฟ้าได้อย่างสะดวก
หลังจากติดตัง้ ใช้งานแล้ว โดยใช้ระดับค่าแรงดันไฟฟ้าขัว้ แบตเตอรีเ่ ป็ นสัญญาณทํางานได้
8.3 เป็ นอุปกรณ์ทอ่ี าจติดตัง้ อยูภ่ ายในอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ หรือติดตัง้ อยู่ภายในอินเวอร์เตอร์
ซึง่ มีอยูจ่ ริงและสามารถปรับตัง้ การทํางานได้จริง
8.4 ในกรณีอุปกรณ์ควบคุมการจ่ายไฟฟ้า ติดตัง้ รวมอยู่ภายในอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรีห่ รือ
ติดตัง้ ภายในอินเวอร์เตอร์ ต้องระบุขอ้ มูลดังกล่าวใน Catalogue และแสดงวิธกี ารปรับตัง้ ค่า DOD หรือปรับค่าระดับแรงดัน
ขัว้ แบตเตอรีส่ าํ หรับควบคุมการจ่ายกระแสไฟฟ้าของแบตเตอรีไ่ ด้อย่างสะดวก

9. อุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้ า จานวน 1 ชุด ต่อระบบ แบ่งออกเป็ น 4 รายการ มีรายละเอียดดังนี้


9.1 Safety Switch เป็ นชนิดมีฟิวส์ (Fusible type) โดยมีขนาดพิกดั กระแสไฟฟ้าไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของ
พิกดั กระแสสูงสุด (Imp) ของชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ไหลผ่านวงจร ใช้สาํ หรับการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้ากระแสตรงระหว่างชุด
แผงเซลล์แสงอาทิตย์กบั อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่
9.2 Main Circuit Breaker ชนิด Molded Case Circuit Breaker, MCCB. ทีม่ คี ุณสมบัตติ ามมาตรฐาน
IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการทํางานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B
ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็ นชนิด 2 Poles 220 V. 50 Hz มีพกิ ดั กระแส Icu ไม่น้อยกว่า 10
kA.มีพกิ ดั กระแส Ampere Frame, AFไม่น้อยกว่า 50 A. และมีพกิ ดั กระแส Ampere Trip, AT ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของ
พิกดั กระแสสูงสุดจ่ายออกของอินเวอร์เตอร์ ใช้สาํ หรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับระหว่างอินเวอร์เตอร์กบั ภาระไฟฟ้า
ทัง้ หมด
9.3 แผงควบคุมไฟฟ้ าหลัก (Main Load Center หรือ Consumer unit) เป็ นกล่องทําด้วยโลหะ ใช้ตดิ ตัง้
อุปกรณ์เครื่องตัด-ต่อวงจรกระแสไฟฟ้า ประกอบด้วย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 398 of 521

9.3.1 Miniature circuit breaker , MCB. ทีม่ คี ุณสมบัตติ ามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มี
คุณลักษณะการทํางานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898
หรือ BS EN 60898:1991 เป็ นชนิด 1 pole หรือ 2 poles, 220-240 V.50 Hz มีพกิ ดั กระแส Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA. มีพกิ ดั
กระแส AF ไม่น้อยกว่า 50 A. และมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้า AT ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่าของพิกดั กระแสสูงสุดจ่ายออกของ
อินเวอร์เตอร์ใช้สาํ หรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้าทัง้ หมดทุกอาคาร
9.3.3 Miniature circuit breaker, MCBs. ทีม่ คี ุณสมบัตติ ามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการทํางานตัด
วงจร Thermal magnetic Tripping characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็ นชนิด 1 pole หรือ 2 poles,
220-240 V. 50 Hz มีพกิ ดั กระแส Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA. มีพกิ ดั กระแส AF. ไม่น้อยกว่า 30 A. และมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้า AT ไม่น้อยกว่า 1.25
เท่าของพิกดั กระแสโหลดรวมของแต่ละอาคาร ใช้สาํ หรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้าเฉพาะของ แต่ละอาคาร ทีร่ ะบบจ่ายกระแสไฟฟ้า
9.4 แผงควบคุมระบบไฟฟ้ าอาคาร (Load center) ของแต่ละอาคารทุกหลัง (ยกเว้น อาคารทีต่ ดิ ตัง้
Main Load center ใช้อุปกรณ์ขอ้ 9.3.2) เป็ นกล่องทําด้วยโลหะหรือพลาสติกแข็ง ใช้ตดิ ตัง้ Miniature Circuit Breaker,
MCB. ทีม่ คี ุณสมบัตติ ามมาตรฐาน IEC 947-2: 1989 มีคุณลักษณะการทํางานตัดวงจร Thermal magnetic Tripping
characteristic curve แบบ Type B ตามมาตรฐาน IEC 898 หรือ BS EN 60898:1991 เป็ นชนิด 2 poles, 220-240 V. 50
Hz, Icu ไม่น้อยกว่า 5 kA, AF ไม่น้อยกว่า 30 A. และมีพกิ ดั กระแสไฟฟ้า AT ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า ของพิกดั กระแส
โหลดแสงสว่างและกระแสไฟฟ้าวงจรเต้ารับทัง้ หมด ใช้สาํ หรับตัด-ต่อวงจรไฟฟ้าทัง้ หมดของอาคารทีต่ ดิ ตัง้
10. ตู้แสดงค่าทางไฟฟ้ า จานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
10.1 เป็ นตูโ้ ลหะขนาด 50x60 เซนติเมตร ทําจากแผ่นโลหะความหนาไม่น้อยกว่า 2 มิลลิเมตร ทาสีกนั
สนิมและพ่นสีพน้ื เป็ นสีเทาหรือสีโทนสีอ่อน ด้านหลังตูเ้ ป็ นโครงเหล็กเจาะรูสาํ หรับใช้ยดึ ติดตัง้ กับผนัง
10.2 ด้านหน้าตูโ้ ลหะเป็ นฝาเปิด – ปิ ดด้านเดียว มีตวั ล๊อคฝาปิดเป็ นแบบกดปุม่ พืน้ ฝาตูต้ ดั เป็นช่องทีม่ ี
สัดส่วนเหมาะสมสําหรับติดตัง้ เครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า โดยติดกรอบยางหรือวัสดุอ่นื ๆทีม่ คี ณ ุ ภาพดีกว่าหรือเทียบเท่าที่
ขอบช่องสําหรับติดตัง้ เครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า พร้อมแสดงชื่อของเครื่องมือนัน้ ๆ โดยพิมพ์ช่อื ลงบน Sticker อย่างหนา
ทีท่ นต่อการฉีกขาด ติดในบริเวณใต้เครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้าอย่างครบถ้วน
10.3 ติดตัง้ เครื่องมือแสดงค่าทางไฟฟ้า บนฝาตูแ้ ละเดินสายวงจรไฟฟ้าภายในตูเ้ ป็ นระเบียบแข็งแรงและ
ปลอดภัย โดยมีเครื่องมือดังนี้
10.3.1 DC Volt meter, DC Amp meter แสดงค่ากระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงชัวขณะที ่ อ่ อก
จากชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์แต่ละชุด
10.3.2 AC Volt meter, AC Amp meter แสดงค่ากระแสและแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับค่าชัวขณะที ่ ่
ออกจากอินเวอร์เตอร์
10.3.3 Frequency meter or Hertz meter แสดงค่าความถีไ่ ฟฟ้าที่ Output อินเวอร์เตอร์
10.3.4 Power factor meter แสดงค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ท่ี Output อินเวอร์เตอร์
10.3.5 AC Watt meter แสดงค่ากําลังไฟฟ้าจ่ายออกค่าชัวขณะที ่ ่ Output อินเวอร์เตอร์
10.3.6 AC kWh meter แสดงค่าพลังงานไฟฟ้ากระแสสลับสะสม ทีอ่ นิ เวอร์เตอร์จ่ายให้แก่ภาระไฟฟ้า
ทัง้ หมด
10.4 เครื่องมือทีใ่ ช้แสดงค่าทางไฟฟ้าตามข้อ 10.3 กําหนดให้มี Accuracy class ไม่เกิน 2.5 มีพกิ ดั ทาง
ไฟฟ้าและช่อง Scale ทีเ่ หมาะสมกับขนาดทางไฟฟ้าทีต่ รวจวัด เป็ นอุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพได้รบั การรับรองหรือผลิตตาม
มาตรฐาน DIN หรือ JIS หรือ IEC หรือ IEEE เป็ นต้น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 399 of 521

11. ส่วนควบคุมระบบและเก็บแบตเตอรี่ จานวน 1 แห่งต่อระบบ


ต้องจัดทํารายละเอียดแบบของพืน้ ทีห่ อ้ งหรือส่วนควบคุมระบบฯและเก็บแบตเตอรีท่ ต่ี อ้ งก่อสร้าง
พร้อมรายการคํานวณโครงสร้าง และมีวศิ วกรสาขาทีเ่ กีย่ วข้อง ซึง่ เป็ นผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวศิ วกรขึน้ ไป ลงนามรับรอง พร้อมผูเ้ ขียนและผูต้ รวจสอบลงนาม ในไตเติล๊ บล๊อค(หัว
แบบ)ขนาด 9.5 X 5.5 ซม ด้านล่างมุมขวามือของแบบทุกแผ่น ในกระดาษขนาด เอ.3 เสนอให้คณะกรรมการตรวจ
การจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนดําเนินการก่อสร้าง อย่างไรก็ตาม ผูว้ ่าจ้าง ขอสงวนสิทธิในการปรั ์ บปรุง
รูปแบบและรายละเอียด หรืออาจเลือกใช้รปู แบบและรายละเอียดตามทีผ่ วู้ ่าจ้างกําหนดภายหลังก็ได้ รูปแบบชุด
โครงสร้างฯ มีรายละเอียดดังนี้
- ขนาดของอาคารมีเนื้อทีใ่ ช้สอยไม่น้อยกว่า 7.5 ตารางเมตร
- โครงสร้างของอาคารเป็ นคอนกรีตเสริมเหล็ก
- ผนังคอนกรีตบล็อกพร้อมฉาบภายในและภายนอกและทาสี
- โครงหลังคาเหล็กทาสีกนั สนิมและทาทับด้วยสีน้ํามัน 2 ครัง้ มุงด้วยกระเบือ้ งลอนคู่
ขนาด 0.50 x 1.20 ม.หนา 5 มม. มาตรฐาน มอก ...................
12. แผ่นป้ าย จานวน 3 รายการ ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
12.1 แผ่นป้ ายชื่อโครงการพร้อมเสาป้ าย จํานวน 2 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
12.1.1 แผ่นป้ายทําด้วยเหล็กแผ่นเรียบ ขนาด 120 x 240 เซนติเมตร ความหนาไม่
น้อยกว่า 2.0 มิลลิเมตร
12.1.2 ขัดพืน้ และพ่นสีกนั สนิมคุณภาพดี 2 ครัง้ ก่อนพ่นสีพน้ื เป็ นสีเขียว ชนิดทีม่ คี ุณภาพสูงใช้
งานกลางแจ้ง สามารถทนแดดและฝนอย่างน้อย 2 ครัง้
12.1.3 ขนาดตัวอักษรในแต่ละป้ายชื่อโครงการให้ มีความเหมาะสมกับขนาดของแผ่นป้าย โดยมี
ข้อความตามตัวอย่างในรูปที่ 2 ซึง่ ตัวอักษรเป็ น Sticker สีขาวชนิดใช้งานกลางแจ้ง มีความทนทานต่อแดดและ
ฝนได้นาน ไม่น้อยกว่า 2 ปี
12.1.4 ด้านหลังของป้ายเชื่อมติดกับโครงเหล็กสีเ่ หลีย่ มขนาด 1x1 นิ้ว ความหนา 2.3 มิลลิเมตร
พ่นสีกนั สนิมคุณภาพดี 2 ชัน้ ก่อนพ่นสีพน้ื เป็ นสีเขียวอย่างน้อย 2 ครัง้ มีลกั ษณะเป็ นไปตามแบบในรูปที่ 3
12.1.5 เสาป้าย จํานวน 2 ต้น ทําด้วยท่อเหล็กอาบสังกะสีชนิดหนา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3
นิ้ว ยาวท่อนละ 3.50 เมตร พ่นหรือทาด้วยสีขาวทีม่ คี ุณสมบัตใิ ช้งานกลางแจ้งสามารถทนต่อแดดและฝน จํานวน
อย่างน้อย 3 ชัน้ หัวเสาด้านบนสวมด้วยไม้กลึง หรือวัสดุอ่นื ทีม่ คี ุณสมบัตเิ ทียบเท่าหรือดีกว่า ตามแบบรูปที่ 3 ทา
ด้วยสีขาวยึดด้วยตะปูเกลียว
12.1.6 วัสดุ อุปกรณ์ สําหรับยึดเสาป้ายและแผ่นป้ายเป็ นวัสดุทาํ จากสแตนเลส

12.2 แผ่นป้ ายอธิ บายข้อมูลทางเทคนิ ค พร้อมเสาป้ าย จํานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้
12.2.1 แผ่นป้ายทําด้วยเหล็กแผ่นเรียบ ขนาดไม่น้อยกว่า 80x120 เซนติเมตร ความหนาไม่น้อย
กว่า 2.0 มิลลิเมตร ขัดพืน้ ก่อนพ่นสีกนั สนิมคุณภาพดี 2 ครัง้ และพ่นสีพน้ื เป็ นสีเขียวอย่างน้อย 2 ครัง้ ชนิด
คุณสมบัตใิ ช้งานกลางแจ้ง สามารถทนต่อแดดและฝน
12.2.2 ข้อความอธิบายข้อมูลทางเทคนิคของระบบฯ อย่างน้อยต้องระบุ ขนาดกําลังไฟฟ้าสูงสุด
ของชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ข้อมูลทางเทคนิคของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ลักษณะการต่อวงจรชุดแผงเซลล์
แสงอาทิตย์ และอื่นๆ เป็ นต้น

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 400 of 521

12.2.3 ขนาดตัวอักษรต้องมีความเหมาะสม สามารถมองเห็นได้ชดั เจนทีร่ ะยะห่างไม่ต่ํากว่า 5


เมตร ตัวอักษรและลายเส้นเป็ น Sticker สีขาวชนิดใช้งานกลางแจ้ง สามารถทนแดดและฝนได้
12.2.4 แผ่นป้ายติดตัง้ บนเสาท่อเหล็กอาบสังกะสีทาสีขาว เชื่อมปิ ดปลายหัวเสาจํานวน 2 ต้น
โดยความสูงของเสาและแผ่นป้ายอยู่ในระดับสายตา กําหนดตําแหน่งติดตัง้ โดยผูค้ วบคุมงานหรือกรรมการตรวจการจ้าง
12.2.5 วัสดุ อุปกรณ์สาํ หรับยึดเสาและแผ่นป้ายเป็ นวัสดุทาํ จากสแตนเลส

12.3 แผ่นป้ ายแสดงขัน้ ตอนการใช้งาน จํานวน 1 ชุด ต่อระบบ มีรายละเอียด ดังนี้


12.3.1 แผ่นป้าย มีขนาดไม่น้อยกว่า 30x40 เซนติเมตร ทําจากแผ่นพลาสติกแข็งมีความหนาไม่
น้อยกว่า 3 มิลลิเมตร หรือวัสดุอน่ื ทีด่ กี ว่าหรือเทียบเท่า ใช้ตดิ ตัง้ ในตําแหน่งทีเ่ หมาะสมภายในโรงคลุมอุปกรณ์
12.3.2 ข้อความบนแผ่นป้าย ประกอบด้วย ขัน้ ตอนการใช้งานเปิ ด-ปิ ดเครื่อง การดูแล
บํารุงรักษาระบบและอุปกรณ์ ข้อควรระวังและการแก้ไขปญั หาเบือ้ งต้นทีส่ าํ คัญ และอื่นๆ โดยมีขอ้ ความอธิบายและ
รูปภาพแสดงประกอบ
13. อุปกรณ์อื่นๆ จานวน 1 ชุด มีรายละเอียดดังนี้
13.1 อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับข้อกําหนด ก. ข้อ 3 จํานวน 2
เครื่อง
13.2 อินเวอร์เตอร์ มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับ ข้อกําหนด ก. ข้อ 4 จํานวน 2 เครื่อง
13.3 อุปกรณ์ป้องกันคลื่นไฟฟ้ากระโชก มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับข้อกําหนด ก. ข้อ 5 จํานวน 2
เครื่อง
13.4 Safety Switch มีคุณลักษณะเช่นเดียวกับข้อกําหนด ก. ข้อ. 9.1 จํานวน 2 ตัว
14. ชุดอุปกรณ์ซ่อมบารุงรักษาระบบฯ แบบกระเป๋าหิ้ ว (Tool Kit) จานวน 1 ชุดต่อระบบ มีรายละเอียดดังนี้
14.1 มีอุปกรณ์และเครื่องมือซ่อมบํารุงทางไฟฟ้าทีม่ คี ุณภาพสูงอย่างครบถ้วน ดังนี้
14.1.1 คีมผลิตจากเหล็ก Carbon Steel หรือดีกว่านัน้ ประกอบด้วยคีมอเนกประสงค์
ขนาดไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว คีมปอกสายไฟ ขนาดไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว คีมปากแหลม ขนาดไม่น้อยกว่า 6 นิ้ว
14.1.2 ไขควงงานช่าง ผลิตจากเหล็กคุณภาพสูง Chrome Vanadium Molybdenum
Alloy Steel ประกอบด้วย ไขควงสลับด้ามชนิดปลายแบนและปลายแฉก มีความยาวไม่น้อยกว่า 8 นิ้ว จํานวน 1 ชุด
14.1.3 ไขควงงานไฟฟ้า ประกอบด้วย ไขควงทดสอบไฟฟ้า มีพกิ ดั แรงดันทดสอบ
ไม่น้อยกว่า 600 Va.c. ไขควงแบบปลายแฉก ขนาด 8นิ้ว และขนาด 10 นิ้ว และแบบปลายแบน ขนาด 8 นิ้ว และขนาด10
นิ้ว จํานวนแบบละ 1 ชุด และค้อนช่างไฟฟ้า ขนาดนํ้าหนักหัวค้อนไม่น้อยกว่า 300 กรัม
14.1.4 ประแจปากตาย ผลิตจากเหล็ก Chrome Vanadium Steel หรือดีกว่านัน้
ประกอบด้วยประแจขนาดตัง้ แต่ 6 - 19 มิลลิเมตร จํานวน 1 ชุด หรือไม่น้อยกว่า 6 ตัว ต่อชุด
14.2 มีเครื่องมือวัดไฟฟ้า Digital Multimeter อย่างน้อยต้องมีคณ ุ สมบัติ ประกอบด้วย
14.2.1 พิกดั วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600 V.
14.2.2 พิกดั วัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงสูงสุด ไม่น้อยกว่า 600 V.
14.2.3 พิกดั วัดค่ากระแสไฟฟ้าสลับ ไม่น้อยกว่า 10 A.
14.2.4 พิกดั วัดค่ากระแสไฟฟ้ากระแสตรง ไม่น้อยกว่า 10 A.
14.2.5 พิกดั วัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า ไม่น้อยกว่า 30 เมกกะโอห์ม (M ohm)
14.2.6 พิกดั วัดความถีไ่ ฟฟ้าสูงสุด ไม่น้อยกว่า 100 กิโลเฮิรท์ (100 kHz)
14.2.7 มีสวิทช์ปิด – เปิ ดเครื่อง และใช้พลังงานจากแบตเตอรี่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 401 of 521

14.3 มีกระเป๋าหรือกล่องสําหรับใส่อุปกรณ์ซ่อมบํารุงทัง้ หมดได้อย่างเป็ นระเบียบ และมีความ


แข็งแรง ทนทานยากต่อการฉีกขาด
15. อุปกรณ์บนั ทึกและประมวลผลข้อมูล จานวน 1 ชุด ประกอบด้วย
15.1 อุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลอัตโนมัติ มีรายละเอียดดังนี้
15.1.1 เป็ นอุปกรณ์บนั ทึกและประมวลผลข้อมูลทางด้านวิศวกรรมทีเ่ ป็ นผลิตภัณฑ์
สําเร็จรูปจากผูผ้ ลิตทีม่ เี ครื่องหมายการค้าจดทะเบียน และเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี เี ครื่องหมายการค้า รุ่น (Model) ซึง่ มีจาํ หน่าย
ในท้องตลาด
15.1.2 มีหน้าจอชนิด TFT Color Liquid Crystal Displays ขนาดไม่น้อยกว่า 8.5 นิ้ว
แสดงผลข้อมูลเป็ นภาพสี สามารถแสดงผลการปรับตัง้ การตรวจวัดข้อมูลต่าง ๆ
15.1.3 เป็ นเครื่องบันทึกข้อมูลทีร่ บั สัญญาณ Analog มีช่อง Universal Input ไม่น้อย
กว่า 12 Channels
15.1.4 มีหน่วยความจําภายใน Internal Memory ไม่น้อยกว่า 50 MB พร้อม
Recycling Mode
15.1.5 มีช่องบันทึกข้อมูล Removable Storage Media เช่น Compact Flash ขนาด
100 MB หรือดีกว่า สามารถบันทึกผลข้อมูลได้ทนั ทีหรือบันทึกจาก Internal Memory อย่างต่อเนื่องโดยอัตโนมัติ
15.1.6 สามารถบันทึกข้อมูลเก็บภายในเครื่องโดยไม่สญ ู หายหากไฟฟ้าดับ
15.1.7 มี Standard Software เฉพาะรุ่นของอุปกรณ์บนั ทึกฯ สําหรับบันทึกและ
ประมวลผลข้อมูล มีฟงั ค์ชนการคํ ั่ านวณ และสามารถแสดงผลในรูปแบบต่างๆ เช่น ข้อมูลแบบตัวเลข รูปกราฟแบบต่างๆ
และสามารถใช้ Standard Software เฉพาะของอุปกรณ์บนั ทึกฯ ติดตัง้ บน Personal Computer สําหรับการประมวลผล
และแสดงผลข้อมูลได้
15.1.8 มีฟงั ก์ชนที
ั ่ ส่ ามารถกําหนดบันทึกข้อมูลเป็ นค่าเฉลีย่ ทีอ่ า่ นจากค่าชัวขณะ
่ ในช่วงเวลา
ต้องการได้อย่างต่อเนื่อง ตามทีผ่ ใู้ ช้งานกําหนด
15.1.9 เป็ นอุปกรณ์ทม่ี มี าตรฐานความปลอดภัยตาม EN Standard และ Front panel
สามารถป้องกันสิง่ รบกวนจากภายนอก ตามมาตรฐาน IEC 529 ที่ Index of Protection, IP 65 หรือดีกว่า
15.1.10 มีอุปกรณ์สาํ รองประกอบด้วย สือ่ บันทึกข้อมูล Removable Storage Media ขนาด
ไม่น้อยกว่า 100 MB จํานวน 2 ชุด และอุปกรณ์ในการต่อเชื่อม Port ถ่ายโอนข้อมูลเข้า Personal Computer ครบถ้วน
15.1.11 มีระบบพลังงานสํารอง (UPS) ขนาดไม่น้อยกว่า 1,000 วัตต์ ทํางานอย่างอัตโนมัติ
กรณีระบบไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ขดั ข้อง โดยสามารถ Back up การทํางานอุปกรณ์บนั ทึกและประมวลผลและไพรานอ
มิเตอร์ได้
15.2 อุปกรณ์รบั และแปลงสัญญาณ (Sensor & Transducer) ประกอบด้วย
15.2.1 ตัวรับสัญญาณวัดค่าความเข้มแสงอาทิตย์ (Pyranometer) เป็ นเครื่องวัดพร้อมสาย
นําสัญญาณ สําหรับตรวจวัดค่าความเข้มแสงอาทิตย์บนแผงเซลล์ฯ จํานวน 1 จุด มีรายละเอียดดังนี้
1) เป็ นชนิด Thermopile ทีม่ ี Thermocouple Sensor เคลือบฝงั บน Thick film
substrate ไม่น้อยกว่า 100 ตัว
2) ด้านบนครอบด้วยโดมแก้ว 2 ชัน้
3) สามารถวัดค่า Solar Irradiance ได้ในช่วง 0-1400 W/m2
4) มี Flat Response ต่อสเปกตรัม ในช่วง 310-2800 nm. หรือดีกว่า
5) มีค่า Sensitivity ไม่น้อยกว่า 4 V/W-m-2

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 402 of 521

15.2.2 Ambient temperature sensor & transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ


สําหรับตรวจวัดอุณหภูมแิ วดล้อม จํานวน 1 จุด
15.2.3 Front PV panel temperature sensor & transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนํา
สัญญาณ สําหรับตรวจวัดอุณหภูมผิ วิ ด้านหน้าแผงเซลล์ฯ จํานวน 1 จุด
15.2.4 Back PV panel temperature sensor & transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนํา
สัญญาณ สําหรับตรวจวัดอุณหภูมผิ วิ ด้านหลังแผงเซลล์ฯ จํานวน 1 จุด
15.2.5 DC Current transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ สําหรับตรวจวัด
กระแสไฟฟ้าทีจ่ ่ายออกจากชุดแผงเซลล์ฯ จํานวน 1 จุด และกระแสไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ จํานวน 1 จุด
15.2.6 DC Voltage transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ สําหรับตรวจวัด
แรงดันไฟฟาทีจ่ ่ายออกจากชุดแผงเซลล์ฯ จํานวน 1 จุด และแรงดันไฟฟ้าประจุแบตเตอรี่ จํานวน 1 จุด

15.2.7 AC Current transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ สําหรับตรวจวัด
กระแสไฟฟ้าทีจ่ ่ายออกจากอินเวอร์เตอร์ จํานวน 1 จุด
15.2.8 AC Voltage transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ สําหรับตรวจวัด
แรงดันไฟฟ้าทีจ่ ่ายออกจากอินเวอร์เตอร์ จํานวน 1 จุด
15.2.9 Power Factor transducer เป็ นเครื่องวัดพร้อมสายนําสัญญาณ สําหรับตรวจวัดค่า
Power factor ด้านจ่ายออกของอินเวอร์เตอร์ จํานวน 1 จุด
15.2.10 อุปกรณ์ตามข้อ 15.2.2 – 15.2.9 เป็ นชนิดทีส่ ามารถแปลงสัญญาณตรวจวัดและส่ง
สัญญาณ Output เป็ นชนิดกระแสมาตรฐาน 4-20 mA
15.2.11 เป็ นอุปกรณ์ทส่ี ามารถส่งสัญญาณ Output เพื่อบันทึกและประมวลผลในอุปกรณ์
ตามข้อ 15.1 ได้
15.3 มีไดอะแกรมทีแ่ สดงรายละเอียดวงจรการติดตัง้ อุปกรณ์ ข้อ 15.1 และข้อ 15.2 ทีถ่ ูกต้องสมบูรณ์
รายการข้อกําหนดประกอบการก่อสร้างอื่น
1. ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายชื่อผูจ้ ดั การโครงการ จํานวน 1 คน ต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี ุณวุฒกิ ารศึกษาด้าน
วิศวกรรมศาสตร์ มีประสบการณ์เคยผ่านงานบริหารโครงการในลักษณะเดียวกันหรือใกล้เคียงกับโครงการนี้ ไม่น้อยกว่า 3
ปี เป็ นเจ้าหน้าทีป่ ระจําของผูร้ บั จ้าง เสนอให้ผวู้ ่าจ้าง พิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยแนบประวัตกิ ารศึกษาพร้อมสําเนา
รายงานผลการศึกษา รายละเอียดผลงานประสบการณ์ และหนังสือยืนยันรับเป็ นผูจ้ ดั การโครงการ เพื่อปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นผู้
กํากับ ดูแลการดําเนินงานโครงการและประสานงานกับผูว้ ่าจ้าง
2. ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายชื่อวิศวกรควบคุมโครงการ ต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี ุณวุฒกิ ารศึกษาระดับปริญญาตรีขน้ึ ไป
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน และสาขาวิศวกรรมโยธา อย่างน้อย 1 คน และเป็ น ผูท้ ไ่ี ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผู้
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวศิ วกรขึน้ ไป เป็ นเจ้าหน้าทีป่ ระจําของ ผูร้ บั จ้าง เสนอให้ผวู้ ่าจ้าง พิจารณาให้
ความเห็นชอบ โดยแนบประวัตกิ ารศึกษาพร้อมสําเนารายงานผลการศึกษา สําเนาใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และหนังสือ
ยืนยันรับเป็ น วิศวกรควบคุมโครงการ เพื่อปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการควบคุมการดําเนินโครงการให้เป็ นไปตามแบบ รูปแบบและ
รายการข้อกําหนดของสัญญา
3. ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายชื่อช่างควบคุมงาน ต้องเป็ นผูท้ ม่ี คี ุณวุฒกิ ารศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ปวส.) ขึน้ ไป สาขาช่างไฟฟ้า อย่างน้อย 1 คน และสาขาช่างโยธา อย่างน้อย 1 คน กําหนดให้รบั ผิดชอบควบคุมงาน เสนอ
ให้ผวู้ ่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยจัดทําตารางแสดงรายละเอียดระบุช่อื ช่างควบคุมงาน พร้อมแนบสําเนาใบ
รายงานผลการศึกษา หนังสือยืนยันรับเป็ น ผูค้ วบคุมงาน เพื่อปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ป็ นผูค้ วบคุมงานฝา่ ยผูร้ บั จ้าง และจัดทําสรุป

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 403 of 521

รายงานความก้าวหน้าการดําเนินงาน ปญั หาและอุปสรรค (ถ้ามี) พร้อมแนวทางแก้ไขเสนอต่อผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้างทุก


สัปดาห์ ตัง้ แต่เริม่ ดําเนินงานก่อสร้างติดตัง้ ระบบฯ จนแล้วเสร็จพร้อมส่งมอบ
4. ผูร้ บั จ้างต้องเสนอรายละเอียดด้านการติดตัง้ ให้ครบถ้วนก่อนการดําเนินการ
5. ผูร้ บั จ้างต้องมอบหมายวิศวกรโยธาทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคี
วิศวกรขึน้ ไป ตรวจสอบสภาพพืน้ ที่ ทีจ่ ะทําการก่อสร้างพื้นทีห่ อ้ งหรือส่วนควบคุมระบบฯและเก็บแบตเตอรี่ พร้อมทัง้ ออก
หนังสือรับรองการรับนํ้าหนักของพืน้ ทีแ่ ละต้องเสนอแนวทางปรับปรุง แก้ไขพืน้ ทีก่ ่อสร้างให้สามารถรองรับนํ้าหนักของ
สิง่ ก่อสร้างได้อย่างปลอดภัย ในกรณีพน้ื ทีไ่ ม่สามารถรับนํ้าหนักการก่อสร้างได้อย่างปลอดภัย เสนอต่อผูว้ ่าจ้าง พิจารณา
ให้ความเห็นชอบ ก่อนดําเนินการก่อสร้างทุกแห่ง กรณีมขี อ้ สงสัยทีอ่ าจเข้าใจคลาดเคลื่อนในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างต้องแจ้ง
ให้ผคู้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้างหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง ผูว้ ่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นและข้อแนะนําก่อนดําเนินการ
ก่อสร้าง
6. ผูร้ บั จ้างไม่สามารถดําเนินการก่อสร้างและติดตัง้ ระบบฯ ก่อนได้รบั ความเห็นชอบในรายงานผลการ
สํารวจพืน้ ทีต่ ามข้อกําหนด ข. ข้อ 3 และก่อนได้รบั อนุมตั ใิ นแผนปฏิบตั งิ านตามข้อกําหนด ข. ข้อ 5 จากผูว้ ่าจ้าง มิฉะนัน้ ผู้
รับจ้างต้องรับผิดชอบในการแก้ไขหรือรือ้ ถอน เปลีย่ นแปลงวัสดุ อุปกรณ์ทก่ี ่อสร้างและติดตัง้ ไปแล้วทัง้ หมด โดยทีผ่ รู้ บั จ้าง
ไม่สามารถเรียกร้องค่าชดเชยจากกรมแต่อย่างใด
7. ผูร้ บั จ้างต้องเสนอให้ผคู้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง หรือ ผูไ้ ด้รบั มอบหมายจากผูค้ วบคุมงานของกรม เป็ น
ผูก้ าํ หนดตําแหน่งและแผนผังการก่อสร้างและติดตัง้ ระบบฯ ในพืน้ ทีจ่ ริงแต่ละแห่ง และเป็ นผูก้ าํ หนดรูปแบบการปรับปรุง
สภาพพืน้ ที่ เพื่อความเหมาะสมในการก่อสร้างและติดตัง้ ระบบฯ
8. ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการทดสอบอุปกรณ์หลัก จํานวน 4 รายการ ประกอบด้วย 1) แผงเซลล์แสงอาทิตย์ 2)
อินเวอร์เตอร์ 3) แบตเตอรี่ 4) ชุดควบคุมการประจุแบตเตอรี่ โดยผูร้ บั จ้างต้องแจ้งต่อผูว้ ่าจ้าง เพื่อมอบหมายเจ้าหน้าทีผ่ ู้
ว่าจ้าง ดําเนินการสุม่ ตัวอย่างอุปกรณ์ จานวนร้อยละ 3 ของแต่ละชนิดอุปกรณ์ (ยกเว้น แผงเซลล์แสงอาทิตย์ กําหนดตาม
ข้อกําหนด ข.ข้อ16)
9. ผูร้ บั จ้างต้องติดต่อจัดหาหน่วยงานทีจ่ ะทดสอบอุปกรณ์หลัก โดยต้องเป็ นมหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานใน
กํากับมหาวิทยาลัยของรัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ทีม่ หี อ้ งทดสอบอุปกรณ์ทางไฟฟ้า และมีเครื่องมือ อุปกรณ์ตรวจวัดข้อมูลที่
มีความพร้อมสามารถดําเนินการทดสอบอุปกรณ์ได้ โดยให้เสนอรายชื่อหน่วยงานจะทดสอบอุปกรณ์ดงั กล่าวพร้อมแสดง
รายละเอียดการทดสอบ ประกอบด้วย 1) เครื่องมือและอุปกรณ์ทใ่ี ช้ทดสอบ 2) วิธกี ารและขัน้ ตอนการทดสอบตรวจวัด
คุณสมบัตอิ ุปกรณ์ตามระบุในข้อกําหนด 3) มาตรฐานอ้างอิง (ถ้ามี) 4) ข้อมูลทีแ่ สดงในรายงานผลทดสอบ เสนอให้ผวู้ ่า
จ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ ภายใน 15 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา และผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบในการจัดส่ง
อุปกรณ์ทส่ี มุ่ ตัวอย่างแล้วตามข้อกําหนด ข. ข้อ 13 ให้หน่วยงานทดสอบดําเนินการตามรายละเอียดการทดสอบทีไ่ ด้รบั
ความเห็นชอบ และให้หน่วยงานทดสอบรายงานผลการทดสอบ ซึง่ ลงนามรับรองโดยผูม้ อี าํ นาจลงนามของหน่วยงาน แจ้ง
ต่อผูว้ ่าจ้างโดยตรง
10. การพิจารณาผลการทดสอบอุปกรณ์หลัก (ยกเว้นแผงเซลล์แสงอาทิตย์ กําหนดตามข้อกําหนด ข.ข้อ ) มี
เงื่อนไขประกอบด้วยกัน ดังนี้
10.1 อุปกรณ์หลักทีส่ มุ่ ตัวอย่างตามเงื่อนไขกําหนด ข. ข้อ 13 จะต้องมีผลการทดสอบ
คุณสมบัตเิ ฉพาะของอุปกรณ์แต่ละรายการ ถูกต้องครบถ้วนและเป็ นไปตามเงื่อนไขกําหนดทุกข้อ
10.2 กรณีผลการทดสอบอุปกรณ์หลักรายการใด มีคุณสมบัตเิ ฉพาะไม่เป็ นไปตามเงื่อนไขกําหนดข้อใด
ข้อหนึ่ง จะถือว่าอุปกรณ์รายการนัน้ มีคุณสมบัตไิ ม่ผ่านเกณฑ์และไม่เป็ นไปตามข้อกําหนด ให้ผรู้ บั จ้างต้องจัดหาอุปกรณ์
ชุดใหม่ ซึง่ เป็ นชนิดและรุ่นเดียวกันพร้อมทัง้ แจ้งผูว้ ่าจ้างดําเนินการสุม่ ตัวอย่าง เพื่อทดสอบโดยหน่วยงานและวิธกี ารตาม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 404 of 521

เงื่อนไขเดิมจนผ่านเกณฑ์กาํ หนด โดยผูร้ บั จ้างไม่สามารถใช้ระยะเวลาทีส่ ญ ู เสียเนื่องจากการจัดหาและทดสอบอุปกรณ์ชุด


ใหม่เป็ นข้ออ้างในการขอขยายอายุสญ ั ญา
กรณีอุปกรณ์หลักรายการใด มีผลการทดสอบคุณสมบัตไิ ม่ผ่านเกณฑ์และไม่เป็ นไปตาม
ข้อกําหนดในครัง้ ที่ 2 ผูร้ บั จ้างสามารถเปลีย่ นยีห่ อ้ รุ่น อุปกรณ์โดยเสนอให้กรมพิจารณาให้ความเห็นชอบ แต่ทงั ้ นี้ ผูร้ บั
จ้างต้องได้รบั ความเห็นชอบในคุณสมบัตเิ บือ้ งต้นอุปกรณ์ทข่ี อเปลีย่ นใหม่ และต้องดําเนินการทดสอบคุณสมบัติ ตาม
ข้อกําหนด ข. ข้อ 13 และข้อ 14 เช่นกัน และกําหนดเกณฑ์พจิ ารณาผลการทดสอบเช่นเดียวกับข้อกําหนด ข. ข้อ 15.1
และข้อ 15.3 โดยผูร้ บั จ้างไม่สามารถอ้างเอาระยะเวลาทีส่ ญ ู เสียไปเนื่องจากการจัดหาอุปกรณ์ยห่ี อ้ ใหม่ รุ่นใหม่และการ
ดําเนินการทดสอบ เป็ นเหตุในการขอขยายอายุสญ ั ญา
10.3 ผูร้ บั จ้างสามารถนําอุปกรณ์หลักทีต่ อ้ งทดสอบคุณสมบัตเิ ฉพาะและอยู่ระหว่างการพิจารณาผลการ
ทดสอบ นําไปติดตัง้ ในพืน้ ทีเ่ ป้าหมายได้หากประสงค์จะดําเนินการ แต่ทงั ้ นี้ หากผลการทดสอบอุปกรณ์ใดทีน่ ําไปติดตัง้ แล้ว
มีคุณสมบัตไิ ม่ผ่านเกณฑ์ตามข้อกําหนดข้อใดข้อหนึ่ง ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดําเนินงานเปลีย่ นและติดตัง้
อุปกรณ์ชุดใหม่ทไ่ี ด้รบั ความเห็นชอบในผลการทดสอบแล้ว โดยทีผ่ รู้ บั จ้างไม่สามารถเรียกร้องค่าใช้จ่ายใดๆ ทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก
การดําเนินงานดังกล่าวจากผูว้ ่าจ้างได้
11. ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการทดสอบคุณสมบัตแิ ผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยหน่วยงานทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบตาม
ข้อกําหนด ข.ข้อ 14 และดําเนินการสุม่ ตัวอย่างแผงเซลล์แสงอาทิตย์ตามข้อกําหนด ข.ข้อ 13 จานวนไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 5 ของจํานวนแผงเซลล์ฯ ทัง้ หมดของโครงการ โดยผูว้ ่าจ้าง กําหนดให้ดาํ เนินการทดสอบและกําหนดเกณฑ์พจิ ารณา
ผลการทดสอบ ทุกข้อประกอบด้วยกัน ดังนี้
11.1 การทดสอบหาค่ากําลังไฟฟ้าสูงสุด (Maximum power determination) ตามมาตรฐาน IEC
61215 ข้อ 10.2 หรือ IEC 61646 (กรณีเป็ นแผงเซลล์ฯ ประเภทฟิลม์ บาง ชนิด Amorphous silicon หรือฟิลม์ บางชนิดอื่น
ทีม่ ใิ ช่ Amorphous silicon) โดยมีเกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
11.1.1 ค่ากําลังไฟฟ้าสูงสุดทีไ่ ด้จากการทดสอบแผงเซลล์ฯ ทีส่ มุ่ ตัวอย่างแต่ละแผง กําหนดให้
มีค่าตํ่ากว่าทีก่ าํ หนดไว้ในรายละเอียดผลิตภัณฑ์ ไม่เกิ นร้อยละ 10 หากพบว่าแผงทีส่ มุ่ ตัวอย่างแผงใดแผงหนึ่ง ทดสอบ
แล้วแสดงค่ากําลังไฟฟ้าสูงสุดตํ่ากว่าร้อยละ 10 กําหนดให้ผรู้ บั จ้างต้องดําเนินการทดสอบแผงเซลล์ฯ ของโครงการทุกแผง
และคัดเลือกเอาเฉพาะแผงเซลล์ ฯ ทีผ่ ่านตามเงื่อนไขทีก่ าํ หนดนี้เท่านัน้ จนครบจํานวนทีต่ อ้ งการ
11.1.2 ค่าเฉลีย่ กําลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ ทีไ่ ด้จากผลการทดสอบตัวอย่างแผงเซลล์ฯ
กําหนดเป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาค่ากําลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์ฯ ชนิดและรุ่นนัน้ ๆ เฉพาะในโครงการนี้เท่านัน้ เช่น
ผูร้ บั จ้างเสนอแผงเซลล์ฯ ขนาดกําลังไฟฟ้าสูงสุด 100 วัตต์ แต่ผลจากการทดสอบค่ากําลังไฟฟ้าสูงสุดแผงเซลล์ฯ ทีส่ มุ่
ตัวอย่างจํานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 พบว่า มีค่าเฉลีย่ กําลังไฟฟ้าสูงสุดเพียง 95 วัตต์ (ลดลงร้อยละ 5) กรมจะกําหนดให้
แผงเซลล์ฯ ทีผ่ รู้ บั จ้างเสนอมีกาํ ลังไฟฟ้าสูงสุด 95 วัตต์ เท่านัน้ มิใช่ 100 วัตต์ ตามทีผ่ รู้ บั จ้างเสนอ
11.1.3 ในกรณีค่าเฉลีย่ กําลังไฟฟ้าสูงสุดของตัวอย่างแผงเซลล์ฯ ทีไ่ ด้จากการทดสอบนี้ มีผลให้ค่า
กําลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบฯ ตามข้อกําหนด ก. ข้อ 1.1 ลดลง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหา แผงเซลล์ฯ ทีเ่ ป็ นชนิดและรุ่น
เดียวกันติดตัง้ เพิม่ เติมให้กาํ ลังไฟฟ้าสูงสุดของระบบฯ ทุกระบบไม่น้อยกว่าข้อกําหนดดังกล่าว พร้อมทัง้ ต่อวงจรอนุกรมชุด
แผงเซลล์ฯ ทุกสาขา (String) ให้ครบถ้วน ถูกต้องตามหลักวิชาการ ทัง้ นี้ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน
ดังกล่าว โดยไม่สามารถเรียกร้องเอาจากกรมและไม่สามารถอ้างเอาระยะเวลาทีส่ ญ ู เสียไปในการจัดหาแผงเซลล์ฯ เพิม่ เติม
มาเป็ นข้ออ้างในการขอขยายอายุสญ ั ญา ผูว้ า่ จ้างจะถือเอาค่าเฉลี่ยกาลังไฟฟ้ าสูงสุดที่ได้จากผลการทดสอบตัวอย่าง
แผงเซลล์ฯ เป็ นค่ากาลังไฟฟ้ าสูงสุดแผงเซลล์ฯ สาหรับการคานวณขนาดกาลังไฟฟ้ าสูงสุดของระบบฯ ตาม
ข้อกาหนดในการติ ดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 405 of 521

11.2 การทดสอบความสามารถรับแรงทางกล (Mechanical load test) กําหนดให้แผงเซลล์ฯ


จํานวน 1 แผง จากจํานวนแผงเซลล์ฯ ทีส่ มุ่ ตัวอย่างทัง้ หมด ต้องดําเนินการทดสอบความสามารถรับแรงทางกล ตาม
เงื่อนไขการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 10.16 และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงานกําหนด
เกณฑ์การพิจารณาผลการทดสอบ โดยแผงเซลล์ฯ ทีท่ ดสอบความสามารถรับแรงทางกล ต้องผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณา
ตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 7 ความชํารุดเสียหายหลักทีส่ งั เกตได้ (Major visual defects) จึงถือว่าแผงเซลล์ฯ ยีห่ อ้
และรุ่น ทีเ่ สนอมีคุณสมบัตติ ามข้อกําหนด
11.3 การทดสอบรับแรงกระแทกลูกเห็บ (Hail Test) กําหนดให้แผงเซลล์ฯ จํานวน 1 แผงจากแผง
เซลล์ฯ ทีส่ มุ่ ตัวอย่างทัง้ หมดและมิใช่แผงเซลล์ฯ ทีท่ ดสอบตามข้อ 16.2 ต้องดําเนินการทดสอบความสามารถรับแรง
กระแทกจากลูกเห็บ ตามเงื่อนไขการทดสอบตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 10.17 และกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรกั ษ์พลังงานกําหนดเกณฑ์การพิจารณาผลการทดสอบ โดยแผงเซลล์ฯ ทีท่ ดสอบความสามารถรับแรงกระแทกลูกเห็บ
ต้องผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณาตามมาตรฐาน IEC 61215 ข้อ 7 ความชํารุดเสียหายหลักทีส่ งั เกตได้ (Major visual
defects) จึงถือว่าแผงเซลล์ฯ ยีห่ อ้ และรุ่น ทีเ่ สนอมีคุณสมบัตติ ามข้อกําหนด
12. ในกรณีทแ่ี ผงเซลล์แสงอาทิตย์มไิ ด้เป็ นชนิด Crystalline Silicon ผูร้ บั จ้างจะต้องนําแผงเซลล์
แสงอาทิตย์ทส่ี มุ่ ตัวอย่างมาทัง้ หมด ให้ผทู้ ดสอบติดตัง้ ไว้กลางแจ้งเป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนดาเนิ นการ
ทดสอบ โดยดําเนินการตามขัน้ ตอนเช่นเดียวกับตามข้อกําหนด ข.ข้อ 16 และใช้เงื่อนไขการพิจารณาคุณสมบัติ
เช่นเดียวกับ ข้อ 16.1 ข้อ 16.2 และข้อ 16.3
13. ชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ ต้องติดตัง้ บนตอม่อคอนกรีตเสริมเหล็กทีม่ คี วามมันคง ่
แข็งแรงและถูกต้องตามหลักวิศวกรรม ขนาดตอม่อ ต้องสอดคล้องกับการรับนํ้าหนักตามรายการคํานวณข้อกําหนด ก. ข้อ
2 และพืน้ บนเสาตอม่อสอดคล้องกับหน้าแปลนล่างของเสารองรับชุดโครงสร้าง
14. การติดตัง้ ชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์ฯ และชุดแผงเซลล์แสงอาทิตย์ กําหนดให้ตดิ ตัง้ หันด้านหน้ารับ
แสงอาทิตย์ทางทิศใต้ และวางเอียงทํามุมกับแนวระนาบทิศเหนือ-ใต้ ประมาณ 15 องศา ตําแหน่งทีต่ ดิ ตัง้ ต้องอยูใ่ นทีโ่ ล่งไม่
เกิดการบังเงาเนื่องจากต้นไม้ อาคารหรือสิง่ กีดขวางอื่นใดบนแผงเซลล์ฯ ตัง้ แต่เช้าจรดเย็น และต้องปรับระดับพืน้ ดิน
บริเวณใต้ชุดแผงเซลล์ฯ ให้เหมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ โดยให้อยู่ในดุลพินจิ ของผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง
15. วัสดุ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ยดึ แผงเซลล์ฯ และทีใ่ ช้ยดึ ชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ จะต้องมีขนาดที่
เหมาะสมและเป็ นวัสดุทท่ี าํ จากสแตนเลส และผูร้ บั จ้างต้องเชื่อมชุดน๊อตทีใ่ ช้สาํ หรับยึดแผงเซลล์ฯ ทุกตัว โดยเชื่อม BOLT
และ NUT ให้ยดึ ติดกัน
16. ทีฐ่ านเสาโลหะของชุดโครงสร้างรองรับชุดแผงเซลล์ฯ แต่ละชุดจะต้องต่อหลักดิน (Grounding
System) โดยใช้ Ground Rod ชนิดแท่งเคลือบทองแดง ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5/8 นิ้ว ยาว 5 ฟุต จํานวน 1 อัน ต่อ 1
ชุดโครงสร้าง ตอกฝงั ดินในแนวดิง่ โดยระยะห่างระหว่างฐานเสากับ Ground Rod กําหนดรัศมีไม่เกิน 1 เมตร และสายไฟที่
ใช้ต่อจาก Ground Rod ไปยังฐานเสา ต้องเป็ นสายทองแดง หุม้ ฉนวน ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 10 ตารางมิลลิเมตร
การยึดขัว้ สายไฟกับฐานเสาและขัว้ หลักสายดินต้องมันคง ่ แข็งแรง
17. อุปกรณ์หลักของระบบฯ ทุกรายการทีม่ สี ว่ นประกอบโครงสร้างเป็ นโลหะ จะต้องต่อ หลักดิน
(Grounding Equipment) ให้ถกู ต้องตามหลักวิชาการ
18. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทํา Single line diagram, Wiring diagram แผนผังการเดินสายไฟฟ้า แผนผังการ
ติดตัง้ อุปกรณ์ระบบภายในโรงคลุมอุปกรณ์ และแผนผังการติดตัง้ ภาระไฟฟ้าภายในอาคารแต่ละหลัง ทีเ่ ป็ นระเบียบ
สวยงาม ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยมีรายละเอียดตามข้อกําหนด ข. ข้อ 30 และจัดส่งให้ผวู้ ่าจ้างพิจารณาให้ความ
เห็นชอบก่อนดําเนินการติดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 406 of 521

19. ผูร้ บั จ้างต้องแสดงรายละเอียดวงจรการเดินสายระบบไฟฟ้าและการคํานวณแรงดันสูญเสียในสายไฟฟ้า


(Voltage drop) เสนอผูว้ ่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการติดตัง้ ระบบฯ โดยกําหนดให้ในระบบไฟฟ้ากระแสตรง
(DC side) มีค่าแรงดันไฟฟ้าสูญเสียในสายรวมตลอดวงจรไม่เกินร้อยละ 2 ทีพ่ กิ ดั กระแสไฟฟ้าสูงสุด (Rated Current หรือ
Peak Power point) ทีผ่ ลิตได้จากการต่อวงจรชุดแผงเซลล์ฯ ใช้งานทัง้ หมด โดยพิจารณาเทียบกับ Operating Voltage ณ
Standard Test Condition ด้านระบบไฟฟ้ากระแสสลับ (AC side) กําหนดให้มแี รงดันไฟฟ้าสูญเสียใน สายรวมของแต่
ละวงจรไม่เกินร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับค่าแรงดันไฟฟ้าด้าน Output ของอินเวอร์เตอร์ขณะจ่ายกระแสไฟฟ้าตามพิกดั
20. การเดินสายต่อวงจรไฟฟ้าระหว่างแผงเซลล์ฯ แต่ละแผง จะต้องต่อวงจรแบบอนุกรมและขนานให้พกิ ดั
แรงดันไฟฟ้า Output และกระแสไฟฟ้ามีค่าเหมาะสมสอดคล้องกับ Nominal input voltage และ Input current ของ
อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ โดยให้ใช้สายไฟฟ้าชนิด THW. แกนเดีย่ ว หุม้ ฉนวน PVC ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อย
กว่า 4 ตารางมิลลิเมตร ซึง่ มีคุณสมบัตใิ ช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐานตาม มอก. 11-2531
โดยต้องแยก Code สีของสายไฟฟ้าให้ถูกต้อง
21. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างชุดแผงเซลล์ฯ กับอุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ กําหนดให้ใช้
สายไฟฟ้าชนิด NYY แกนคู่ หุม้ ฉนวน PVC ซึง่ มีคุณสมบัตใิ ช้งานทีแ่ รงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐาน
ตาม มอก. 11-2531 ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร โดยให้เดินสายภายในท่อพลาสติกอย่างหนาชนิด
สําหรับงานเดินสายไฟฟ้าทีไ่ ด้รบั การรับรองตามมาตรฐาน มอก. 216-2524 ฝงั อยู่ใต้ดนิ มีความลึกไม่น้อยกว่า 50
เซนติเมตร จากผิวดินเดิม จุดต่อสายไฟฟ้าจะต้องต่อบนขัว้ ต่อสายภายในกล่องรวมสายทีต่ ดิ ตัง้ อย่างมันคง
่ แข็งแรงและ
ปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมไฟฟ้า
22. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างอุปกรณ์ประกอบระบบฯ แต่ละชนิดภายในอาคารโรงคลุมอุปกรณ์ ให้ใช้
สายไฟฟ้าชนิด THW หรือ VCT มีขนาดทนพิกดั กระแสได้ไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า ของกระแสสูงสุดผ่านวงจร โดยต้องเดิน
สายไฟฟ้าภายในท่อหรือราง Wire way ชนิดสําหรับเดินสายไฟฟ้าทีม่ ขี นาดเป็ นไปตามหลักวิชาการเดินสายไฟฟ้าในท่อ
หรือรางฝาปิ ด
23. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างโรงคลุมอุปกรณ์กบั อาคารทีต่ ดิ ตัง้ Main Load Center กําหนดให้ใช้
สายไฟฟ้าชนิด NYY แกนคู่ หุม้ ฉนวน PVC มีคุณสมบัตใิ ช้งานทีแ่ รงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐานตาม
มอก. 11-2531 เดินสายภายในท่อพลาสติกอย่างหนาทีไ่ ด้รบั การรับรองมาตรฐาน มอก. 216-2524 โดยฝงอยู ั ใ่ ต้ดนิ มีความ
ลึกไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดินเดิมโดยจัดทําเครื่องหมายทีแ่ ข็งแรง ทนทานระบุแนวท่อสายไฟฟ้าอย่างชัดเจน
การต่อสายไฟฟ้าต้องต่อบนขัว้ ต่อสายภายในกล่องรวมสายทีต่ ดิ ตัง้ อย่างมันคง
่ แข็งแรงและปลอดภัยตามหลัก
วิศวกรรมไฟฟ้า ห้ามต่อสายไฟฟ้าช่วงอยู่ในท่อร้อยสายไฟอย่างเด็ดขาด และเมื่อเดินสายไฟฟ้าเรียบร้อยแล้วต้องปิ ดผนึก
ปลายท่อ PVC ทัง้ สองด้าน ด้วยกาวซิลโิ คนป้องกันนํ้าและสิง่ แปลกปลอมเข้าในท่อร้อยสาย
กรณีพน้ื ระหว่างอาคารโรงคลุมอุปกรณ์และอาคารทีต่ ดิ ตัง้ Main Load Center เป็ นพืน้ เทคอนกรีต
หรือลาดยางแอสฟลั ท์ หรือเป็ นพืน้ หิน ตลอดแนวการเดินสายไฟฟ้า ผูร้ บั จ้างสามารถเดินสายในอากาศแทนการเดินสายฝงั
ดินได้ โดยให้ใช้สายไฟฟ้า THW ชนิดแกนเดีย่ วหุม้ ฉนวน PVC มีคุณสมบัตใิ ช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การ
รับรองมาตรฐานตาม มอก. 11-2531 โดยจุดยึดโยงต้องแข็งแรงและปลอดภัยตามหลักการยึดโยงสายไฟฟ้าระหว่างอาคาร
และต้องมีเสาคอนกรีตหรือเสาโลหะติดตัง้ ลูกถ้วยยึดสายไฟฟ้าทุกระยะ 20 เมตร
24. การเดินสายไฟฟ้าระหว่างอาคารทีต่ ดิ ตัง้ Main Load Center กับอาคารอื่นๆ กําหนดให้ใช้สายไฟฟ้า
THW ชนิดแกนเดีย่ ว หุม้ ฉนวน PVC มีคุณสมบัตใิ ช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐานตาม มอก.
11-2531 เดินสายในอากาศโดยจุดยึดโยงต้องแข็งแรงและปลอดภัยตามหลักการยึดโยงสายไฟฟ้าระหว่างอาคาร และต้องมี
เสาคอนกรีตหรือเสาโลหะติดตัง้ ลูกถ้วยยึดสายไฟฟ้าทุกระยะ 20 เมตร หรือให้ใช้สายไฟฟ้า NYY ชนิดแกนคูห่ มุ้ ฉนวน
PVC มีคุณสมบัตใิ ช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรอง มอก. 11-2531 เดินสายในท่อพลาสติกอย่างหนาที่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 407 of 521

ได้รบั การรับรองมาตรฐาน มอก. 216-2524 และวางท่อร้อยสายฝงั ดินมีความลึกไม่น้อยกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดินเดิม


ตลอดระยะทางระหว่างอาคารและให้จดั ทําเครื่องหมายทีแ่ ข็งแรง ทนทานระบุแนวท่อสายไฟฟ้าอย่างชัดเจน
25. การติดตัง้ ระบบไฟฟ้าและการเดินสายภายในอาคาร มีรายละเอียดดังนี้
25.1 ติดตัง้ แผงควบคุมไฟฟ้าหลัก (Main Load Center) จํานวน 1 จุด เฉพาะอาคารทีก่ าํ หนด
เดินสายจ่ายกระแสไฟฟ้าจากโรงคลุมอุปกรณ์ ประกอบด้วยรายละเอียดตามเงื่อนไขข้อกําหนด ก. ข้อ 9.3
25.2 ติดตัง้ แผงควบคุมไฟฟ้าย่อย (Sub-load center) ทุกอาคาร ยกเว้นอาคารทีต่ ดิ ตัง้ Main Load
Center ประกอบด้วยรายละเอียดตามเงื่อนไขข้อกําหนด ก. ข้อ 9.4
25.3 ติดตัง้ ชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่างพร้อมอุปกรณ์ตามข้อกําหนด ก. ข้อ 6 ให้เป็ นไปตามรูปแบบที่
ได้รบั ความเห็นชอบแล้ว
25.4 ติดตัง้ สวิทช์ 1 ตัว เพื่อควบคุมชุดโคมไฟฟ้าแสงสว่าง จํานวน 1 ชุด
25.5 ติดตัง้ เต้ารับไฟฟ้า จํานวน 10 จุด ต่อระบบ โดยเป็ นชนิดเต้ารับเดีย่ ว ขนาดไม่น้อยกว่า 10 A.
220 Va.c. 50 Hz เป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองมาตรฐาน มอก. 166-2549 กําหนดให้ตดิ ตัง้ กับกล่องพลาสติกพร้อมฝา
ปิ ดแบบ 1 ช่อง กําหนดตําแหน่งติดตัง้ โดยผูค้ วบคุมงานของผูว้ า่ จ้าง
25.6 สายไฟฟ้าประธานภายในอาคารแต่ละอาคาร กําหนดเป็ นสายไฟฟ้าชนิด THW ชนิดแกนเดีย่ ว
ฉนวน PVC มีคุณสมบัตใิ ช้งานแรงดัน 750 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐานตาม มอก. 11-2531 มีขนาด
พืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 4 ตารางมิลลิเมตร
25.7 สายไฟฟ้าทีใ่ ช้ตดิ ตัง้ สําหรับหลอดไฟฟ้าแสงสว่างหรือวงจรเต้ารับภายในห้องแต่ละอาคาร
กําหนดเป็ นสายไฟฟ้าชนิด VAF ชนิด 2 แกน มีคุณสมบัตใิ ช้งานทีแ่ รงดัน 300 V. 70 ๐C และได้รบั การรับรองมาตรฐาน
ตาม มอก. 11-2531 โดยกําหนดให้สายไฟฟ้าทีใ่ ช้กบั ชุดหลอดไฟฟ้าแสงสว่างมีขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 1.0 ตาราง
มิลลิเมตร หรือ 2x1.0 sq.mm สายไฟฟ้าทีใ่ ช้กบั เต้ารับแต่ละจุด ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่า 1.5 ตารางมิลลิเมตร หรือ
2x1.5 sq.mm โดยวิธกี ารติดตัง้ สายไฟฟ้าให้เป็ นไปตามแนวปฏิบตั ใิ นการเดินสายและติดตัง้ อุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2537 ของ
การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค (กฟภ.) หรือมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
หรือถูกต้องเหมาะสมและปลอดภัยตามหลักวิศวกรรมไฟฟ้า
25.8 การเดินสายไฟฟ้าแต่ละวงจรหรือแต่ละช่วงระยะทาง ต้องเป็ นสายไฟฟ้าชนิดทีก่ าํ หนดและมี
ขนาดพืน้ ทีห่ น้าตัดไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดเฉพาะในแต่ละข้อเป็ นสําคัญและต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขข้อกําหนด ข. ข้อ 24
25.9 การติดตัง้ ชุดโคมไฟฟ้าและเต้ารับไฟฟ้าในโรงคลุมอุปกรณ์ ไม่นบั รวมกับชุดโคมไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้
ภายในอาคารต่างๆ
26. ผูร้ บั จ้างต้องเติมนํ้ากรดแบตเตอรีใ่ ห้ถูกต้องเป็ นไปตามเงื่อนไขกําหนดของยีห่ อ้ และรุ่นแบตเตอรีท่ เ่ี สนอ
และต้องดําเนินการประจุแบตเตอรีค่ รัง้ แรกโดยเครื่องประจุแบตเตอรี่ (Battery charger) ตามเงื่อนไขการประจุแบตเตอรีค่ รัง้
แรก จนความจุพลังงานไฟฟ้าเต็มตามพิกดั (Full capacity) ก่อนนําแบตเตอรีไ่ ปติดตัง้ ใช้งานในพืน้ ทีเ่ ป้าหมายแต่ละแห่ง
โดยก่อนดําเนินการ ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งกําหนดการเติมนํ้ากรดและการประจุแบตเตอรีค่ รัง้ แรกให้ประธานกรรมการตรวจการ
จ้างทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 5 วัน ทําการ เพื่อมอบหมายเจ้าหน้าทีข่ องผูว้ ่าจ้างร่วมตรวจสอบและบันทึกข้อมูลการประจุ
แบตเตอรี่
27. ผูร้ บั จ้างต้องติดตัง้ แบตเตอรีบ่ นชุดขาตัง้ หรืออุปกรณ์รองรับชุดแบตเตอรี่ ตามแบบทีไ่ ด้รบั ความ
เห็นชอบ การต่อวงจรระหว่างแบตเตอรีใ่ ห้ใช้แท่งทองแดง (Bus bar) ทีม่ ฉี นวนหุม้ ตลอดแนวหรือสายทองแดงสําเร็จรูปแบบ
Insulated Copper Cables ชนิดเฉพาะต่อเชื่อมขัว้ ของแบตเตอรีเ่ ท่านัน้
28. การติดตัง้ อุปกรณ์ประกอบระบบ เช่น แบตเตอรี่ อุปกรณ์ควบคุมการประจุแบตเตอรี่ อินเวอร์เตอร์ ตู้
แสดงค่าทางไฟฟ้า รวมทัง้ อุปกรณ์ควบคุมการตัด-ต่อวงจรไฟฟ้า ตามข้อกําหนด ก. ข้อ 9.1 Safety switch, ข้อ 9.2 Main

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 408 of 521

circuit breaker ให้ตดิ ตัง้ อยูภ่ ายในบริเวณโรงคลุมอุปกรณ์ ตามรูปแบบทีไ่ ด้รบั ความเห็นชอบและการเดินสายไฟฟ้าให้


เป็ นไปตามข้อกําหนด ข. ข้อ 28
29. ผูร้ บั จ้างต้องจัดทํารูปแบบและข้อความแผ่นป้ายทุกรายการ ตามข้อกําหนด ก. ข้อ 12 เสนอให้ผวู้ ่าจ้าง
พิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนดําเนินการจัดทํา และผูว้ ่าจ้างขอสงวนสิทธิในการแก้ ์ ไข ปรับปรุง เพิม่ เติมรายละเอียด
ข้อความของแต่ละแผ่นป้ายได้ตามความเหมาะสม และการติดตัง้ แผ่นป้ายทุกรายการ กําหนดตําแหน่งติดตัง้ โดยผูค้ วบคุม
งานของผูว้ ่าจ้างหรือคณะกรรมการตรวจการจ้างของผูว้ ่าจ้าง
30. ผูร้ บั จ้างต้องทดสอบการทํางานของอุปกรณ์บนั ทึกข้อมูลและประมวลผลข้อมูลตามข้อกําหนด ก.ข้อ
15 แสดงการตรวจวัดข้อมูล บันทึกผลและประมวลผลข้อมูลให้คณะกรรมการตรวจการจ้างและผูเ้ กีย่ วข้องเห็นว่า สามารถ
ทํางานได้ตามข้อกําหนดก่อนนําเข้าไปติดตัง้ ใช้งานจริงในพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย
การติดตัง้ อุปกรณ์บนั ทึกและประมวลผลข้อมูลในพืน้ ทีก่ ่อสร้างต้องสามารถรถตรวจวัดข้อมูล บันทึก
และประมวลผลข้อมูลการทํางานของระบบฯได้จริง สามารถแสดงการตรวจวัดและแสดงผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลในรูปแบบ
ต่างๆ ได้ตามผูใ้ ช้งานกําหนด โดยผูร้ บั จ้างต้องจัดหาคูม่ อื การใช้งานและเอกสารแสดงรายละเอียดทางเทคนิคของอุปกรณ์
บันทึกข้อมูลอย่างครบถ้วน พร้อมทัง้ ชีแ้ นะและแนะนําขัน้ ตอนการใช้งาน การดูแลบํารุงรักษาแก่ผเู้ กีย่ วข้องจนเข้าใจ
สามารถใช้งานได้จริง สําหรับจุดติดตัง้ ให้อยูใ่ นดุลยพินิจของคณะกรรมการตรวจการจ้างกําหนด
31. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทํารายงานประจําเดือน (Activity report) ทุกเดือน นับตัง้ แต่ลงนามในสัญญาจ้าง
จนกระทังส่ ่ งมอบงานแล้วเสร็จสมบูรณ์ โดยแสดงความก้าวหน้าในการดําเนินงานโครงการ ปญหาและอุ ั ปสรรค (ถ้ามี)
พร้อมแนวทางแก้ไข ให้เสนอรายงานต่อประธานคณะกรรมการตรวจการจ้างผ่านผูค้ วบคุมงานของผูว้ ่าจ้าง
32. ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําร่างเอกสารประกอบการฝึกอบรมทีร่ ะบุถงึ ข้อมูลอุปกรณ์หลัก ขัน้ ตอนการใช้งานเปิ ด-
ปิ ดระบบ การดูแลและบํารุงรักษาระบบ และจัดทําร่างเอกสารคู่มอื ระบบฯ โดยมีรายละเอียดและเนื้อหาตามข้อกําหนด ข.
ข้อ 39 เสนอผูว้ ่าจ้างพิจารณาให้ความเห็นชอบ ก่อนดําเนินการจัดทําฉบับจริงทัง้ สองฉบับ โดยผูว้ ่าจ้างขอสงวนสิทธ์ ใน
การแก้ไข ปรับปรุง เพิม่ เติมข้อความหรือรูปแบบเอกสารได้ตามความเหมาะสม
33. ผูร้ บั จ้างต้องจัดฝึกอบรมการใช้งาน ดูแลและบํารุงรักษาตามเงื่อนไขลักษณะเฉพาะของระบบฯ แก่
เจ้าหน้าทีข่ องสถานีอนามัยผูร้ บั ผิดชอบดูแลระบบฯ โดยมีเอกสารประกอบการฝึกอบรมทีจ่ ดั ทําขึน้ หลังจากได้รบั ความ
เห็นชอบแล้ว จํานวนไม่น้อยกว่า 5 ชุด ต่อแห่ง และมีเจ้าหน้าทีข่ องกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงานร่วม
เป็ นผูส้ งั เกตการณ์
3.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําเอกสารคู่มอื ระบบฯ ทุกหน่วยฯในรูปของสิง่ พิมพ์ และแฟ้มข้อมูลอิเลคทรอนิคส์
(CD ROM) จํานวน 3 ชุด ต่อระบบ ข้อมูลอย่างน้อยประกอบด้วย 1) ข้อมูลพืน้ ฐานพืน้ ทีก่ ่อสร้าง 2) แผนทีแ่ สดง
เส้นทางคมนาคม 3) แผนผังแสดงรายละเอียดบริเวณก่อสร้าง 4) แผนผังแสดงรายละเอียดการติดตัง้ อุปกรณ์ 5) แบบ
การเดินสายไฟของสถานยีอนามัย 6) Wiring Diagram วงจรไฟฟ้าของระบบ 7) รายละเอียดการคํานวณกําหนดขนาด
วัสดุ อุปกรณ์ 8) รายละเอียดของวัสดุทใ่ี ช้ เช่น สายไฟฟ้า ท่อร้อยสายไฟฟ้า สวิทช์ไฟฟ้า เต้ารับไฟฟ้า และอื่นๆ 9)
แบบชุดโครงสร้างรองรับแผงเซลล์ฯ แบบชุดขาตัง้ รองรับแบตเตอรี่ พร้อมรายละเอียดการคํานวณและอื่นๆ 10) ชนิด ยีห่ อ้
รุ่นหมายเลขหรือ Serial Number ของอุปกรณ์แต่ละรายการพร้อม Catalogue 11) ขัน้ ตอนการทํางานของระบบฯ การใช้
งาน การดูแลบํารุงรักษาระบบฯ เป็ นต้น
3.5 ค่าใช้จ่ายต่างๆ ทีต่ อ้ งปฏิบตั ติ ามข้อกําหนดรายละเอียด แต่ไม่ได้กาํ หนดแยกจากรายการในใบ
ตารางแสดงปริมาณงานและราคา อาทิเช่น การสํารวจ การจัดทํารายละเอียดของระบบ การทดสอบอุปกรณ์และระบบผลิต
ไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ฯ โรงเก็บวัสดุอุปกรณ์ชวคราวก่ ั่ อนติดตัง้ เป็ นต้น ให้ถอื รวมอยูใ่ นรายการต่างๆ ทีก่ าํ หนดในการ
เสนอราคาด้วยแล้ว
จบหมวดที่ 70

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 409 of 521

งานระบบสื่อสาร
หมวดที่ 71
ระบบโทรศัพท์และระบบสื่อสารภายใน
(TELEPHONE SYSTEM AND INTERCOM SYSTEM)

1. ระบบโทรศัพท์
1.1 ตูส้ าขาอัตโนมัติ (PRIVATE AUTOMATIC BRANCH EXCHANGE)
1.1.1 ตูส้ าขาอัตโนมัติ จะต้องเป็ นแบบ FULLY DIGITAL STORED PROGRAM CONTROL (SPC)
ควบคุมด้วยระบบบรรจุคาํ สัง่ ตามมาตรฐาน CCITT และมาตรฐานของบริษทั ทศท คอร์ปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) (TOT)
ระบบของสวิตซ์ตูส้ าขาจะต้องสามารถใช้งานในลักษณะเดียวกันทัง้ ระบบ VOICE และ DATA
1.1.2 ตูส้ าขาอัตโนมัตจิ ะต้องสามารถใช้งานได้ ดังนี้
(1) สามารถขยายระบบโดยการเพิม่ แผงวงจร (CARD) เข้าไปในระบบโดยไม่จาํ เป็ นต้องเปลีย่ นโครงสร้างหลักของระบบ
(2) สามารถใช้งานกับเครื่องรับโทรศัพท์ชนิดกดปุม่ ความถีเ่ สียง (DTMF) หรือชนิด DIGITAL
(3) สามารถใช้โทรศัพท์ภายในประชุมพร้อมกันได้ ไม่ต่ํากว่า 4 เครื่อง
(4) ชุดพนักงานรับสายโทรศัพท์ (OPERATOR) สามารถพักสายได้ ทัง้ สายภายใน และสายภายนอก โดยมีเสียง
สัญญาณแจ้งให้ผใู้ ช้งานทราบ
(5) สามารถกําหนดความสามารถในการใช้งานของเครื่องโทรศัพท์ภายในได้ เช่น
- ใช้ตดิ ต่อภายในได้
- ใช้ตดิ ต่อได้ทงั ้ ภายในและภายนอก
- ใช้ตดิ ต่อโทรทางไกลภายในประเทศได้
- ใช้ตดิ ต่อโทรทางไกลต่างประเทศได้ เป็ นต้น
(6) สามารถกําหนดรับสายแทนกันได้ โดยกดรหัสทีก่ าํ หนดและสามารถเรียกสายกลับได้ในกรณีทส่ี ายของผูถ้ ูกเรียกว่าง
ลง
(7) ต้องมีระบบตัดสายออกชัวคราวในกรณี
่ ทส่ี ายโทรศัพท์ลดั วงจรและสามารถกําหนดเวลาไม่ให้ใช้สายนานเกินควรและ
วางหูเครื่องรับไม่สนิท
(8) สามารถบันทึกการใช้งานโทรศัพท์ (BILLING RECORD SYSTEM) ในการต่อออกภายนอกของเครื่องภายใน โดย
พิมพ์ดรู ายละเอียดได้เมื่อต้องการ เช่น
- เป็ นระบบคอมพิวเตอร์พร้อมเครื่องพิมพ์
- วัน เดือน ปี ทีโ่ ทรออก (DATE)
- เลขหมายภายในทีโ่ ทรออก (EXTENSION NUMBER)
- เลขหมายทีโ่ ทรไป (DESTINATION NUMBER)
- ระยะเวลาทีใ่ ช้ (DURATION TIME)
- คํานวณค่าใช้จ่ายของแต่ละเลขหมายทีโ่ ทรออก (EXTENSION EXPENSE)
(9) ต้องมีอุปกรณ์สาํ หรับตอบรับสายโทรศัพท์เข้าโดยอัตโนมัติ (AUTO-ATTENDANT) พร้อมกันได้อย่างน้อย 8 วงจร
โดยมีคุณสมบัตทิ วไปดั
ั ่ งนี้
- เป็ นแบบระบบคอมพิวเตอร์
- โอนสายอัตโนมัตไิ ปยังเลขหมายภายใน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 410 of 521

- ตอบรับได้ทงั ้ ใน และนอกเวลาทําการ หรือตลอด 24 ชัวโมง ่


- มีระบบโอนสายไป OPERATOR โดยอัตโนมัติ
- แจ้งให้ทราบได้ทงั ้ สายไม่ว่างและไม่มผี รู้ บั สาย
- เลือกโอนสายไปยังหมายเลขอื่นๆ ได้ในกรณีเลขหมายทีโ่ อนไปไม่ว่างหรือไม่มผี ู้
รับสาย
(10) สามารถจํากัดเวลาการติดต่อสือ่ สารระหว่างสายภายในกับสายภายนอกได้ เช่น สามารถสนทนาได้ไม่เกินครัง้ ละ 30
นาที หรือไม่เกินกว่าช่วงเวลาทีผ่ วู้ ่าจ้างจะกําหนด
(11) ต้องติดตัง้ อุปกรณ์ SURGE PROTECTION ไว้ในทุกจุดทีต่ อ้ งเชื่อมต่อวงจรกับอุปกรณ์อ่นื ๆ คือ CO. LINE,
EXTENSION LINE, POWER SUPPLY และทุกคู่สายทีเ่ ดินอยูภ่ ายนอกอาคาร
(12) ในกรณีทก่ี ระแสไฟฟ้าขัดข้อง เครื่องรับโทรศัพท์ภายในต้องสามารถติดต่อสายภายนอกได้โดยตรง
(13) ข้อมูลทีถ่ าวร หรือกึง่ ถาวรของตูส้ าขา เช่น โปรแกรมคําสังการทํ ่ างานของระบบหรือข้อมูลต่างๆ เกีย่ วกับเลขหมาย
เครื่องภายในเป็ นต้น จะต้องมีการป้องกันการสูญหายของข้อมูลซึง่ อาจเกิดขึน้ ได้ในกรณีไฟฟ้าดับ โดยตูส้ าขาจะต้อง
ทํางานได้ทนั ทีหลังจากทีม่ ไี ฟฟ้าจ่ายให้ระบบ
(14) มีชุดคอมพิวเตอร์ สําหรับโปรแกรมข้อมูลของระบบหรือแก้ไขการทํางานของระบบได้
(15) สามารถเชื่อมต่อกับระบบ ISDN ของบริษทั ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐานทัง้ แบบ BAI และ PRI ได้
(16) ต้องติดตัง้ อุปกรณ์เพื่อรองรับระบบ VOICE OVER IP แบบ VOICE OVER IP EXTENSION พร้อมทัง้ ต้อง
เชื่อมต่อสายสัญญาณเข้าสู่ PATCH PANEL ของระบบคอมพิวเตอร์ ให้สามารถพร้อมใช้งานได้ทนั ที
(17) สามารถรองรับระบบโทรศัพท์ไร้สายได้ภายในระบบโดยการเพิม่ แผงวงจรเข้าไปในตูส้ าขาและเชือ่ มต่อแผงวงจรเข้า
กับอุปกรณ์รบั -ส่งสัญญาณเท่านัน้
1.1.3 คุณลักษณะของชุดพนักงานโทรศัพท์ (ATTENDANT OR OPERATOR CONSOLE)
ชุดพนักงานรับโทรศัพท์เป็ นระบบคอมพิวเตอร์แต่ละชุดมีอุปกรณ์บงั คับการทํางานในหน้าทีต่ ่างๆ ประกอบด้วย VISUAL
DISPLAY UNIT, KEYBOARD และ HEADSET สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเร็ว และติดตัง้ ห่างจากตูส้ าขาโทรศัพท์ได้ไม่
น้อยกว่า 800 เมตร โดยไม่ตอ้ งเพิม่ อุปกรณ์ใดๆ อีกรวมทัง้ เป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกันกับตูส้ าขาอัตโนมัติ (PABX)
1.1.4 อุปกรณ์จ่ายกําลังไฟฟ้า (POWER SUPPLY)
(1) อุปกรณ์จ่ายกําลังไฟฟ้าประกอบด้วยเครื่องแปลงกระแสและประจุไฟฟ้า (RECTIFIER) ใช้กบั ไฟฟ้ากระแสสลับ 220
โวลท์ แปลงเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง เพื่อจ่ายให้ระบบโทรศัพท์และประจุเข้าแบตเตอรี่
(2) แบตเตอรีเ่ ป็ นแบบ MAINTAINANCE FREE ชนิด SEALED LEAD-ACID ไม่ตอ้ งเติมนํ้ากลัน่ จํานวน 1 ชุด พร้อม
ตูบ้ รรจุ
(3) จัดทําระบบ GROUND ทีด่ ี สามารถป้องกันไฟฟ้ารัว่ ฟ้าผ่า และสัญญาณรบกวน
(4) ขนาดของเครื่องแปลงกระแส ประจุไฟฟ้าและขนาดของแบตเตอรีจ่ ะต้องมีขนาดทีเ่ หมาะกับความต้องการของ
ตูส้ าขาโทรศัพท์และตูส้ าขาโทรศัพท์ สามารถทํางานได้ต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 8 ชัวโมง ่ เมื่อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าฯ ดับ
1.2 ตูก้ ระจายสาย (MAIN DISTRIBUTION FRAME : MDF)
1.2.1 แผงต่อภายในตูก้ ระจายสายต้องใช้แผงชนิด MODULES, DISCONNECTION TYPE ทีส่ ามารถ
เสียบเครื่องมือตรวจสอบสายภายในและภายนอกได้ และต้องสามารถต่อสายเข้าแผงด้วยเครื่องมือเข้าสายโดยเฉพาะ
เท่านัน้
1.2.2 DISCONNECTION MODULES ทีใ่ ช้งานแต่ละชุดสามารถต่อใช้งานได้ชุดละ 10 คู่สาย และจํานวน
MODULES จะต้องติดตัง้ ให้เพียงพอสําหรับจํานวนคู่สายทีต่ ่อเข้า และออกไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนดไว้ในตาราง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 411 of 521

1.2.3 DISCONNECTION MODULES จะต้องติดตัง้ บนฐานรองรับทีม่ คี วามแข็งแรงทนทานในด้านเชิงกล



และไฟฟา โดยทําขึน้ มาสําหรับ MDF โดยเฉพาะเท่านัน้
1.2.4 ชุด DISCONNECTON MODULES จะต้องประทับตราหรือสัญลักษณ์ของผูผ้ ลิต (BRAND NAME)
ให้ชดั เจนเพื่อเป็ นการป้องกันของเทียม หรือทําเลียนแบบ และจะต้องได้รบั การรับรองมาตรฐานจากบริษทั ทศท คอร์
ปอเรชันฯ่ โดยมีเอกสารอ้างอิง
1.2.5 มีอุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกทางคู่สายโทรศัพท์ (SURGE PROTECTOR FOR TELEPHONE
LINE) ติดตัง้ ทีค่ ่สู ายทีเ่ ดินอยู่ภายนอกอาคารทุกคู่สาย โดยทีอ่ ุปกรณ์ป้องกันไฟกระโชกจะต้องต่อลงดินให้ถูกต้อง และมี
คุณสมบัติ ดังนี้
(1) คุณสมบัตทิ วไป ั่
เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้ป้องกันไฟกระโชกทีเ่ หนี่ยวนําเข้ามาทางคู่สายโทรศัพท์ในรูปของ OVER-
VOLTAGE และ OVER-CURRENT โดยทําให้เกิดความปลอดภัยกับอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
ต่างๆ ทีต่ ่ออยู่กบั คู่สายโทรศัพท์นัน้ ๆ และจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตจากโรงงานทีไ่ ด้การ
รับรองระบบคุณภาพ มาตรฐาน ISO 9001 จากสถาบันรับรองระบบงานของต่างประเทศ และ
จากคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการรับรองระบบงาน (NAC)
(2) ลักษณะภายนอกโดยทัวไป ่
- HOUSING หรือ BODY ของตัวอุปกรณ์ป้องกัน ถ้าทําด้วยพลาสติกต้องเป็ นพลาสติก
ชนิดไม่ตดิ ไฟตามมาตรฐาน UL94V-0 (FLAME RESISTANCE PLASTIC) หรือทํา
ด้วยโลหะ
- ตัวอุปกรณ์ป้องกัน 1 ตัวสามารถป้องกันได้ 1 คู่สาย เพื่อสะดวกในการเปลีย่ นหรือ
ซ่อมบํารุงคู่สาย
(3) รายละเอียดทางเทคนิค
- มี DC SPARK-OVER VOLTAGE อยู่ในช่วง 190 ถึง 250 VOLT เมื่อทดสอบด้วย
รูปคลื่น 100 VOLT/SEC
- มี OUTPUT VOLTAGE น้อยกว่า 250 VOLT เมื่อทดสอบด้วยรูปคลื่น 1 kV / µSEC
- มี CAPACITANCE น้อยกว่า 50 pF ทีค่ วามถี่ 1 kHz
- มี OPERATING TEMPERATURE อยู่ในช่วง 0OC ถึง 60 OC
- มี DC RESISTANCE น้อยกว่า 30 
- มี NOMINAL CURRENT น้อยกว่าหรือเท่ากับ 80 mA ทีอ่ ุณหภูมิ 25 OC
- มี TRIP TIME น้อยกว่า 3 SEC ทีก่ ระแส 500 mA, 50 Hz
- มี SURGE CURRENT มากกว่าหรือเท่ากับ 10 kA ทีร่ ปู คลื่นมาตรฐาน 8/20 µSEC
(4) การทดสอบอุปกรณ์
ผูร้ บั จ้างต้องแนบเอกสารผลการทดสอบคุณสมบัตทิ างเทคนิคในข้อที่ 3.1, 3.2 และ 3.7 จาก
โรงงานผูผ้ ลิตหรือจากหน่วยงานของรัฐหรือสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ ซึง่ เอกสารผลการทดสอบนี้
จะต้องทดสอบมาแล้วไม่เกิน 6 เดือนนับจากวันทีเ่ สนอขออนุมตั เิ พื่อประกอบการพิจารณา
- ตูใ้ ส่แผงต่อสาย ต้องทําด้วยเหล็กแผ่นหนาไม่ต่ํากว่า 1.6 MM. ตัวตูต้ อ้ งพ่นด้วยสีกนั
สนิมก่อนพ่นสีทบั และอบให้แห้ง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 412 of 521

- ตูใ้ ส่แผงต่อสายจะต้องมีทย่ี ดึ สายต่างๆ ให้เรียบร้อย มีทต่ี ดิ ม้วนสาย JUMPER มีทต่ี ดิ


เครื่องมือเข้าสาย เครื่องมือเสียบทดสอบสาย และสามารถทีจ่ ะติดตัง้ ระบบ
GROUNDING ได้
- ตูก้ ระจายสายจะต้องต่อลงดินให้ถูกต้อง โดยใช้ TERMINATOR ต่อสายขันด้วยสกรูท่ี
ไม่ขน้ึ สนิมอย่างดี โดยขนาดของสายไฟและแท่งหลักดินทีใ่ ช้มรี ะบุไว้ในแบบ
MDF-1 SCHEDULE
DESCRIPTIONS INCOMING (PAIRS) OUTGOING (PAIRS)
TOT OR TT&T 300 -
MDF 300 -
TC - 260
SPARE - 40
TOTAL 300 300
1.3 TELEPHONE CABINET (TC)
1.3.1 TERMINALS ต่างๆ ทีใ่ ช้งานของระบบโทรศัพท์ จะต้องเป็ นอุปกรณ์ทผ่ี ลิตขึน้ เพื่อใช้งานในระบบ
โทรศัพท์เท่านัน้ โดยเป็ นแบบ MODULES แต่ละชุดสามารถต่อใช้งานกับสายป้อนกลุ่มละ 10 คู่สาย และสําหรับ 10 คู่สาย
นอก ติดตัง้ บนฐานรองรับอยูใ่ นกล่องต่อสายโดยเฉพาะ (ขนาดและจํานวนคู่สายดูรายละเอียดจากแบบ)
1.3.2 ตัวกล่องต่อสายจะต้องเป็ นแบบทีต่ ดิ ตัง้ บนผนัง ในกรณีทก่ี ล่องต่อสายมีขนาดใหญ่จะต้องมี WIRE
RETAINER และ WIRE GUIDE เพื่อจัดหมวดหมูข่ องสายให้เรียบร้อย การต่อสายโทรศัพท์ท่ี TERMINALS จะต้อง
สามารถจัดทําด้วยเครื่องมือต่อสายด้วยวิธเี ชิงกลโดยเฉพาะเท่านัน้
1.3.3 แผง MODULES ทีใ่ ช้กบั ตู้ TC เป็ นชนิด DISCONNECTION TYPE
1.3.4 แผง MODULES จะต้องประทับตราหรือสัญลักษณ์ของผูผ้ ลิต (BRAND NAME) ให้ชดั เจนเพื่อเป็ น
การป้องกันของเทียมหรือทําเลียนแบบ และจะต้องได้รบั การรับรองมาตรฐานจากบริษทั ทศท คอร์ปอเรชันฯ ่ โดยมี
เอกสารอ้างอิง
1.4 TELEPHONE CABLE AND WIRES
สายโทรศัพท์ทใ่ี ช้มขี นาดเส้นผ่าศูนย์กลางไม่ต่ํากว่า 0.65 มม. มีจาํ นวนคู่สายระบุในรูปแบบ การจัดสายโทรศัพท์ทงั ้ หมด
ห้ามมิให้ทาํ การตัดต่อระหว่างทาง และนอกจากระบุเป็ นอย่างอืน่ สายโทรศัพท์ทใ่ี ช้ให้เป็ นไปตามนี้
1.4.1 สายทีใ่ ช้เชื่อมต่อจากสายของบริษทั ผูใ้ ห้บริการโทรศัพท์พน้ื ฐานไปยัง MDF และระหว่าง MDF ให้ใช้
สาย AP : ALPETH SHEATHED CABLE
1.4.2 สายทีใ่ ช้จาก MDF ไปยัง TC ให้ใช้สาย TPEV : POLYETHYLENE INSULATED AND PVC.
SHEATHED TERMINATING CABLE
1.4.3 สายทีใ่ ช้งานกับเต้ารับโทรศัพท์ภายในอาคารให้ใช้สาย TIEV : INSIDE-OUTSIDE STATION
WIRE

2. ระบบสื่อสารภายใน
2.1 ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์และติดตัง้ ระบบสือ่ สารภายใน ตามตําแหน่งทีร่ ะบุไว้ในแบบ ให้สามารถใช้งานได้สมบูรณ์
โดยระบบสือ่ สารภายใน ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 413 of 521

2.1.1 MASTER INTERCOM STATION WITH POWER SUPPLY


2.1.2 INTERCOM SUB STATION
2.1.3 INTERCOM STATION
2.1.4 CABLE AND ACCESORIES
2.2 ข้อกําหนดทางเทคนิค
2.2.1 MASTER INTERCOM STATION เป็ นแบบทีม่ สี ญ ั ญาณไฟแสดงสภาวะการเรียก และหมายเลข
หรือชื่อห้องทีเ่ รียกมา มีลาํ โพง, ไมโครโฟน และชุด HAND SET สําหรับสนทนา รวมทัง้ มีปมุ่ ALL CALL เพื่อประกาศรวม
และสามารถเร่ง-ลด ความดังของเสียงได้
2.2.2 INTERCOM SUB STATION เป็ นแบบทีม่ สี ญ ั ญาณไฟแสดงสภาวะการเรียก มีปมุ่ กดเรียกและมี
ลําโพงพร้อมไมโครโฟนสนทนา
2.2.3 INTERCOM STATION เป็ นแบบทีส่ ามารถติดต่อสือ่ สารกันได้หลายจุด โดยสามารถกดเลือก
STATION ปลายทางได้
2.2.4 CABLE สายทีใ่ ช้ในระบบสือ่ สารภายใน ให้ใช้สายชนิด และขนาดตามทีร่ ะบุในแบบ หรือตามที่
บริษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์สอ่ื สารภายในระบุ
2.3 การทํางานของระบบสือ่ สารภายใน ใช้ไฟกระแสตรง 12 หรือ 24 โวลท์ ด้วยระบบแปลงไฟทีเ่ หมาะสมจาก
ไฟ 220 โวลท์ 1 เฟส การทํางานจะเป็ นดังนี้
2.3.1 เมื่อเจ้าหน้าทีก่ ดปุม่ ที่ SUB STATION จะมีสญ ั ญาณไฟและเสียงที่ MASTER STATION พร้อมกับมี
ไฟสัญญาณที่ SUB STATION
2.3.2 เมื่อเจ้าหน้าทีท่ ่ี MASTER STATION กดปุม่ ตอบรับ และ/หรือ ยกหูจะสามารถพูดโต้ตอบกับ
เจ้าหน้าทีท่ ่ี SUB STATION ได้ โดยเจ้าหน้าทีไ่ ม่ตอ้ งกดปุม่ ใดๆ ทัง้ สิน้
2.3.3 กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่ MASTER STATION สามารถแจ้งให้กบั เจ้าหน้าทีท่ งั ้ หมดได้รบั ทราบ
เพื่อเตรียมรับสถานการณ์ โดยใช้ปมุ่ ALL CALL บน MASTER STATION

จบหมวดที่ 71

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 414 of 521

หมวดที่ 72
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(COMPUTER NETWORK SYSTEM)
1. ความต้องการทัวไป

ข้อกําหนดโดยทัวไปจะครอบคลุ
่ มถึงการจัดจ้าง จัดหา จัดตัง้ และการทดสอบ Data Cabling System ของระบบรวม
ไปถึงวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ทีจ่ ะสามารถใช้งานได้ ทัง้ นี้อุปกรณ์ทงั ้ หมดต้องสามารถทํางานร่วมกับอุปกรณ์เดิมของ
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้อย่างสมบูรณ์ และจะต้องจัดทําคูม่ อื แบบการติดตัง้ AutoCAD file และรายงานการ
ทดสอบ

2. ขอบเขตการทางาน
ขอบเขตการทํางานจะครอบคลุมถึงการจัดจ้าง จัดหา ติดตัง้ และทดสอบอุปกรณ์ต่างๆ ทีแ่ สดงในแบบหรือระบุใน
ทีน่ ้เี พื่อการใช้งานได้อย่างสมบูรณ์
2.1 ผูร้ บั จ้างต้องทําตารางเปรียบเทียบคุณสมบัตติ ่างๆของผลิตภัณฑ์ทเ่ี สนอกับคุณสมบัตทิ างเทคนิคตาม
ข้อกําหนดรายการประกอบแบบ
2.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการติดตัง้ สายเคเบิล สายไฟฟ้า สายดิน รวมทัง้ ระบบพร้อมอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องเข้ากับ
ระบบไฟฟ้า ระบบเคเบิลต่างๆภายในอาคารสถานทีต่ ดิ ตัง้ ระบบและทีเ่ กีย่ วข้องกับการทํางานของระบบทีเ่ สนอ รวมทัง้
อุปกรณ์ทต่ี อ้ งใช้ทงั ้ หมด โดยคํานึงถึงมาตรฐานการเดินสายไฟฟ้า สายเคเบิลและสายดินเป็ นหลัก ทัง้ นี้จะต้องมอบแผนผัง
รายละเอียดการติดตัง้ สายไฟฟ้า สายเคเบิลและสายดิน ให้มหาวิทยาลัยทักษิณด้วย
2.3 ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการฝึกอบรมเจ้าหน้าทีท่ ค่ี วบคุมและบํารุงรักษาเครื่องหรือตัวแทนผูว้ ่างจ้าง/เจ้าของ
โครงการให้สามารถใช้งานและสามารถบํารุงรักษาเครื่องได้อย่างถูกต้อง
2.4 ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพและมาตรฐานการติดตัง้ ทีร่ ะบุในสัญญาเป็ นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 1 ปี หลังจาก
การเริม่ ใช้งานระหว่างเวลารับประกันผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการทันทีทไ่ี ด้รบั แจ้งเมื่ออุปกรณ์ต่างๆชํารุดหรือเสียหาย อุปกรณ์
ไม่ถูกต้องมีคุณภาพตํ่ากว่าข้อกําหนดมาติดตัง้ โดยผูร้ บั จ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ผรู้ บั จ้างจะต้องจัดการ
บริการซ่อมบํารุงในกรณีฉุกเฉินนอกเหนือจากเวลาทํางานปกติดว้ ย

3. ความต้องการด้านเทคนิ ค
3.1 ระบบสายสัญญาณสาหรับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3.1.1 ระบบสายสัญญาณสาหรับเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ในแต่ละชัน้ มีคุณสมบัตขิ องอุปกรณ์ประกอบดังนี้
3.1.1.1 สายสัญญาณระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีคุณสมบัตเิ ป็นสายทองแดงแบบตีเกลียว UTP
Category 6 ชนิด 4 คู่สาย หรือดีกว่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 415 of 521

3.1.1.2 แผงกระจายสัญญาณชนิด Category 6 (UTP CAT6 Patch Panel) ขนาด 48 หรือ 24 พอร์ท
ตามทีร่ ะบุไว้ในแบบ เป็ นอุปกรณ์กระจายสายสัญญาณ CAT6 ชนิดเข้าสายด้านหลัง แผง
ด้านหน้าเป็ นแบบ RJ 45 Modular Jack
3.1.1.3 สายเชื่อมต่อ (CAT6 UTP Patch Cable) เป็ นสายนําสัญญาณชนิด CAT6 แบบสําเร็จรูปทีผ่ ลิต
จากโรงงาน มีปลายทัง้ สองด้านเป็ นหัวต่อแบบ RJ45 Modular Plug
3.1.1.4 เต้ารับสายสัญญาณตัวเมีย (CAT6 RJ45 Modular Jack) เป็ น CAT6 Modular Jack ชนิดเข้า
สายด้านหลัง และมี Code สีเพื่อบอกสัญลักษณ์การเข้าสายสัญญาณทัง้ แบบ TIA-568A และ
TIA-568B สามารถใช้งานได้ทงั ้ สายแบบ Solid และ Stranded Cable
3.1.1.5 หน้ากากสําหรับเต้ารับ (Faceplate Kit) เป็ นหน้ากากสําหรับเต้ารับสัญญาณตัวเมียตาม
ข้อกําหนดในข้อ 3.1.1.4 โดยผูว้ า่ จ้างจะเป็ นผูเ้ ลือกแบบ เพื่อให้เป็ นลักษณะเดียวกันกับเต้ารับ
ไฟฟ้าทีต่ ดิ ตัง้ คู่กนั

ุ สมบัติของอุปกรณ์ประกอบดังนี้
3.1.2 ระบบสายสัญญาณสาหรับเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างอาคาร มีคณ
3.1.2.1 สายใยแก้วนําแสงแบบ Armored Single Mode ชนิดติดตัง้ ภายนอกอาคารแบบแขวนเสา ทีผ่ ่าน
การทดสอบคุณสมบัตติ ามมาตรฐาน ITU G.652D, ISO/IEC 11801 และ ITA/EIA 568B.3, IEC
60793, IEC 60794-1-2 เป็ นอย่างน้อย
3.1.2.2 ติดตัง้ สายใยแก้วนําแสงขนาด 24 แกน เชื่อมต่อจากอาคารสํานักคอมพิวเตอร์ ไปยังอาคารคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
3.1.2.3 ติดตัง้ สายใยแก้วนําแสงขนาด 12 แกน เชื่อมต่อจากอาคารคณะวิศวกรรมศาสตร์ ไปยังอาคาร
วิศวกรรมเฉพาะทาง 1,2 และอาคารปฏิบตั กิ ารวิศวกรรมพืน้ ฐาน กําหนดให้ตดิ ตัง้ แผงกระจาย
สายทีม่ หี วั เชื่อมต่อแบบ Duplex LC ในตู้ Rack ขนาด 19” ทีต่ ดิ ตัง้ ณ. อาคารต่างๆ
3.1.2.4 มีสายเชื่อมต่อใยแก้วนําแสง ชนิด Single Mode มีความยาวไม่น้อยกว่า 3 เมตรใช้เชื่อมต่อ
สัญญาณจากแผงกระจายสายไปยังอุปกรณ์เครือข่าย มีค่า Return Loss ไม่น้อยกว่า 50 dB

ุ สมบัติดงั นี้
3.1.3 ตู้ Rack ชนิ ดวางพืน้ ความสูง 42U มีคณ
3.1.3.1 เป็ นตูใ้ ส่อุปกรณ์ระบบเครือข่ายและสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ ตัวตูม้ คี วามกว้าง 800 มม. ความ
ลึก 800 มม. และมีความสูง 42U สามารถติดตัง้ อุปกรณ์มาตรฐานขนาด 19” ได้
3.1.3.2 ประตูหน้าและหลัง เป็ นชนิดมีรพู รุน เพื่อการระบายอากาศทีด่ ี โดยบานประตูหน้าเป็ นแบบบาน
เดีย่ วส่วนบานประตูหลัง เป็ นแบบบานคู่เพื่อการประหยัดพืน้ ที่
3.1.3.3 มีพดั ลมระบายความร้อน ไม่น้อยกว่า 2 ตัว
3.1.3.4 มีรางไฟซึง่ มีเต้ารับจํานวนไม่น้อยกว่า 20 ช่องพร้อมสายไฟมีความยาวไม่น้อยกว่า 3 เมตร
จํานวน 2 ชุด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 416 of 521

3.1.3.5 มีอุปกรณ์สาํ หรับการจัดสายทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนและอุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ ครบชุด

ุ สมบัติดงั นี้
3.1.4 ตู้ Rack ชนิ ดวางพืน้ ความสูง 36U มีคณ
3.1.4.1 เป็ นตูใ้ ส่อุปกรณ์ระบบเครือข่ายและสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ มีความสูง 36U สามารถติดตัง้
อุปกรณ์มาตรฐานขนาด 19” ได้
3.1.4.2 มีพดั ลมระบายความร้อน ไม่น้อยกว่า 2 ตัว
3.1.4.3 มีรางไฟซึง่ มีเต้ารับจํานวนไม่น้อยกว่า 10 ช่อง พร้อมติดตัง้ สายไฟจาก UPS หลักของอาคาร
3.1.4.4 มีอุปกรณ์สาํ หรับการจัดสายทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนและอุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ ครบชุด

ุ สมบัติดงั นี้
3.1.5 ตู้ Rack ชนิ ดวางพืน้ ความสูง 27U มีคณ
3.1.5.1 เป็ นตูใ้ ส่อุปกรณ์ระบบเครือข่ายและสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ มีความสูง 27U สามารถติดตัง้
อุปกรณ์มาตรฐานขนาด 19” ได้
3.1.5.2 มีพดั ลมระบายความร้อน ไม่น้อยกว่า 2 ตัว
3.1.5.3 มีรางไฟซึง่ มีเต้ารับ จํานวนไม่น้อยกว่า 10 จุด พร้อมติดตัง้ สายไฟจาก UPS หลักของอาคาร
3.1.5.4 มีอุปกรณ์สาํ หรับการจัดสายทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนและอุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ ครบชุด

ุ สมบัติดงั นี้
3.1.6 ตู้ Rack ชนิ ดแขวนผนังขนาด 12U มีคณ
3.1.6.1 เป็ นตูใ้ ส่อุปกรณ์ระบบเครือข่ายและสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ มีความสูง 12U สามารถติดตัง้
อุปกรณ์มาตรฐานขนาด 19” ได้
3.1.6.2 มีพดั ลมระบายความร้อน ไม่น้อยกว่า 2 ตัว
3.1.6.3 มีรางไฟซึง่ มีเต้ารับ จํานวนไม่น้อยกว่า 6 จุด พร้อมติดตัง้ สายไฟจาก UPS หลักของอาคาร
3.1.6.4 มีอุปกรณ์สาํ หรับการจัดสายทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอนและอุปกรณ์ประกอบการติดตัง้ ครบชุด

3.2 รายละเอียดอุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่าย
3.2.1 อุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายแกนหลักของอาคาร (Layer 3 Core Switch 10/100/1000 Mbps)
ุ สมบัติดงั นี้
มีคณ
3.2.1.1 มีขนาดของ Forwarding Bandwidth ไม่น้อยกว่า 176 Gbps
3.2.1.2 มีประสิทธิภาพในการส่งผ่านข้อมูล Forwarding throughput อย่างน้อย 130.95 Mpps
3.2.1.3 รองรับระบบสํารองในเรือ่ งการจ่ายพลังงาน Redundant Power Supply และ fans
3.2.1.4 รองรับทํา Stack โดยมี Throughput อย่างน้อย 480 Gbps

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 417 of 521

3.2.1.5 รองรับการบริหารจัดการ Access Point ได้โดยสามารถใช้หน้าจอเดียวกันกับการบริหารจัดการ


Switch
3.2.1.6 รองรับการสร้างจุดเพื่อให้บริหารเครือข่ายไร้สายได้ไม่รอ้ ยกว่า 64 WLAN
3.2.1.7 มีหน่วยความจําแบบ DRAM ไม่น้อยกว่า 4 GB และ Flash memory ไม่น้อยกว่า 2 GB
3.2.1.8 มีพอร์ท Gigabit Ethernet แบบ แบบ RJ45 จํานวนไม่น้อยกว่า 48 พอร์ท
3.2.1.9 มีพอร์ท Gigabit Ethernet แบบ แบบ SFP ความเร็ว 1 Gbps จํานวนไม่น้อยกว่า 4 พอร์ท
3.2.1.10 สามารถสนับสนุนจํานวน MAC Addresses ไม่น้อยกว่า 32,000 Addresses
3.2.1.11 สามารถทํางานร่วมกับอุปกรณ์อ่นื ๆ ตามมาตรฐาน IEEE802.3ab, IEEE802.3z,
IEEE802.3ad, IEEE802.1w, IEEE802.1s IEEE802.1x และ IEEE802.1q
3.2.1.12 สนับสนุนการทํา IGMP Group ได้ไม่น้อยกว่า 1,000 กลุ่ม
3.2.1.13 สนับสนุนการทํา VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 4,000 VLAN
3.2.1.14 รองรับการทํา IPv6 switching/routing
3.2.1.15 รองรับการทํางาน IP routing ได้แก่ RIPv1, RIPv2, RIPng, OSPF , EIGRP, BGPv4 , IS-ISv4
, IPv6 routing (OSPFv3, EIGRPv6) , PBR , PIM , PIM-SM, PIM-DM ได้
3.2.1.16 สามารถกําหนดคุณภาพการให้บริการ ตามมาตรฐาน 802.1p CoS , DSCP , SRR , WTD ได้
3.2.1.17 รองรับการทํางานแบบกําหนดเงื่อนไขระดับสูงได้แบบ Application Visibility and Control และ
FNF ได้
3.2.1.18 สามารถควบคุมการทํางานแบบ SLAs , AutoQoS , DTP , UDLD , SDM ได้
3.2.1.19 มี Console Port แบบ RJ45 เพื่อกําหนดค่าการทํางานของอุปกรณ์ และสําหรับตรวจสอบระบบ
ได้
3.2.1.20 สนับสนุนระบบ Network Management ตามมาตรฐาน TACACS+, SSH, RMON , SNMPv3,
RSPAN ได้
3.2.1.21 ผ่านการรับรองตามมาตรฐานความปลอดภัย IEC, FCC และ UL

3.2.2 อุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายปลายทางชนิ ด Power over Ethernet (48 port 10/100/1000


ุ สมบัติดงั นี้
Mbps PoE Ethernet Switch) มีคณ
3.2.2.1 เป็ นอุปกรณ์ Ethernet Switch ทีม่ จี าํ นวนพอร์ทไม่น้อยทีม่ พี อร์ท RJ-45 10/100/1000BaseT
POE auto MDI/MDIX จํานวนไม่น้อยกว่า 50 พอร์ท สามารถจ่ายไฟให้กบั อุปกรณ์ปลายทางได้
ไม่น้อยกว่า 740 วัตต์ และมีพอร์ท mini-GBIC จํานวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ท (Combo ports)
3.2.2.2 สนับสนุนมาตรฐาน ได้อย่างน้อยดังนี้
- IEEE802.1d ,IEEE802.1s,IEEE802.1p, IEEE802.1q, IEEEE802.1x, IEEE802.1w

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 418 of 521

- IEEE802.3u,IEEE802.3x, IEEE802.3z, IEEE802.3ab, IEEE802.3ad


3.2.2.3 มี Switching capacity 77.38 mpps และ forwarding rate 104 Gbps เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.4 มี MAC Address Table ไม่น้อยกว่า 16,000 Mac Addresses
3.2.2.5 รองรับการทํา VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 4,096 VLANs
3.2.2.6 สามารถทํา VLAN แบบต่าง ๆ ได้เช่น MAC-based VLAN / Management VLAN / Guest
VLAN / Unauthenticated VLAN เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.7 สามารถรองรับ Jumbo frames Frame ขนาด 9KB
3.2.2.8 สามารถทํา Static route (IPv4) ได้อย่างน้อย 32 เส้นทาง
3.2.2.9 สามารถทํา Link Aggregation ได้ไม่น้อยกว่า 8 กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มสามารถมีจาํ นวนพอร์ทได้
ไม่น้อยกว่า 8 พอร์ท และสามารถมี 16 candidate ports เพื่อทําแบบ Dynamic
3.2.2.10 สามารถทํา Port และ VLAN Mirroring ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.11 สามารถทํา DHCP option เช่น 66, 67, 82, 129, และ 150 เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.12 สามารถทํา IGMP v1/v2/v3 Snooping และ Storm Control ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.13 สามารถทํา SNMP version 1, 2c, 3 และ RMON ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.14 มี Hardware Queues ไม่น้อยกว่า 4 Queues เพื่อสนับสนุนการทํา QoS
3.2.2.15 สามารถทํา Class of Service ได้อย่างน้อยดังนี้
- Port based
- 802.1p VLAN priority based
- IPv4/v6 IP precedence/type of service (ToS)/DSCP based
- Differentiated Services (DiffServ)
- classification and re-marking ACLs
- trusted QoS
3.2.2.16 สามารถทํา Rate limiting แบบ Ingress policer; egress shaping and rate control; per
VLAN, per port, and flow based
3.2.2.17 สามารถรองรับ RADIUS/TACACS+ ได้
3.2.2.18 สามารถทํา DoS prevention
3.2.2.19 สามารถทํา Congestion avoidance
3.2.2.20 สามารถบริหารจัดการตัวอุปกรณ์ผ่านทาง Web Base configuration (HTTP/HTTPS) และ
Telnet ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.2.21 อุปกรณ์สามารถทําได้ดงั นี้ Traceroute; single IP management;SSH; RADIUS; port
mirroring; TFTP upgrade; DHCP client; BOOTP; SNTP; Xmodem upgrade; cable
diagnostics; ping; syslog; Telnet client (SSH secure support)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 419 of 521

3.2.2.22 อุปกรณ์ได้รบั การรับรองมาตรฐาน FCC, CE, UL และCSA เป็ นอย่างน้อย

3.2.3 อุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายปลายทางชนิ ด Power over Ethernet (24 port 10/100/1000


ุ สมบัติดงั นี้
Mbps PoE Ethernet Switch) มีคณ
3.2.3.1 เป็ นอุปกรณ์ Ethernet Switch ทีม่ จี าํ นวนพอร์ทไม่น้อยทีม่ พี อร์ท RJ-45 10/100/1000BaseT
POE auto MDI/MDIX จํานวนไม่น้อยกว่า 24 พอร์ท สามารถจ่ายไฟให้กบั อุปกรณ์ปลายทางได้
ไม่น้อยกว่า 375 วัตต์ และมีพอร์ท mini-GBIC จํานวนไม่น้อยกว่า 2 พอร์ท (Combo ports)
3.2.3.2 สนับสนุนมาตรฐาน ได้อย่างน้อยดังนี้
- IEEE802.1d ,IEEE802.1s,IEEE802.1p, IEEE802.1q, IEEEE802.1x, IEEE802.1w
- IEEE802.3u,IEEE802.3x, IEEE802.3z, IEEE802.3ab, IEEE802.3ad
3.2.3.3 มี Switching capacity 41.67 mpps และ forwarding rate 56.0 Gbps เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.4 มี MAC Address Table ไม่น้อยกว่า 16,000 Mac Addresses
3.2.3.5 รองรับการทํา VLAN ได้ไม่น้อยกว่า 4,096 VLANs
3.2.3.6 สามารถทํา VLAN แบบต่าง ๆ ได้เช่น MAC-based VLAN / Management VLAN / Guest
VLAN / Unauthenticated VLAN เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.7 สามารถรองรับ Jumbo frames Frame ขนาด 9 KB
3.2.3.8 สามารถทํา Static route (IPv4) ได้อย่างน้อย 32 เส้นทาง
3.2.3.9 สามารถทํา Link Aggregation ได้ไม่น้อยกว่า 8 กลุ่ม และในแต่ละกลุ่มสามารถมีจาํ นวนพอร์ทได้
ไม่น้อยกว่า 8 พอร์ท และสามารถมี 16 candidate ports เพื่อทําแบบ Dynamic
3.2.3.10 สามารถทํา Port และ VLAN Mirroring ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.11 สามารถทํา DHCP option เช่น 66, 67, 82, 129, และ 150 เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.12 สามารถทํา IGMP v1/v2/v3 Snooping และ Storm Control ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.13 สามารถทํา SNMP version 1, 2c, 3 และ RMON ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.14 มี Hardware Queues ไม่น้อยกว่า 4 Queues เพื่อสนับสนุนการทํา QoS
3.2.3.15 สามารถทํา Class of Service ได้อย่างน้อยดังนี้
- Port based
- 802.1p VLAN priority based
- IPv4/v6 IP precedence/type of service (ToS)/DSCP based
- Differentiated Services (DiffServ)
- classification and re-marking ACLs
- trusted QoS

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 420 of 521

3.2.3.16 สามารถทํา Rate limiting แบบ Ingress policer; egress shaping and rate control; per
VLAN, per port, and flow based
3.2.3.17 สามารถรองรับ RADIUS/TACACS+ ได้
3.2.3.18 สามารถทํา DoS prevention
3.2.3.19 สามารถทํา Congestion avoidance
3.2.3.20 สามารถบริหารจัดการตัวอุปกรณ์ผ่านทาง Web Base configuration (HTTP/HTTPS) และ
Telnet ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.3.21 อุปกรณ์สามารถทําได้ดงั นี้ Traceroute; single IP management;SSH; RADIUS; port
mirroring; TFTP upgrade; DHCP client; BOOTP; SNTP; Xmodem upgrade; cable
diagnostics; ping; syslog; Telnet client (SSH secure support)
3.2.3.22 อุปกรณ์ได้รบั การรับรองมาตรฐาน FCC, CE, UL และCSA เป็ นอย่างน้อย

ุ สมบัติดงั นี้
3.2.4 อุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณใยแก้วนาแสง ความเร็ว 1 Gbps มีคณ
3.2.4.1 เป็ นอุปกรณ์ mini-GBIC หรือ SFP แบบ 1000BASE-LX
3.2.4.2 สามารถใช้งานร่วมกับครุภณ
ั ฑ์ในรายการ 3.2.1, 3.2.2, 3.2.3 และ 3.2.4 ได้
ุ สมบัติดงั นี้
3.2.5 อุปกรณ์เชื่อมต่อสัญญาณใยแก้วนาแสง ความเร็ว 10 Gbps มีคณ
3.2.5.1 เป็ นอุปกรณ์สาํ หรับติดตัง้ ในช่อง SFP+ ของครุภณ
ั ฑ์ในรายการ 3.2.1 หรือ 3.2.2
3.2.5.2 รองรับการเชื่อมต่อสัญญาณทีค่ วามเร็ว 10 Gbps ไปยังสํานักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ุ สมบัติดงั นี้
3.2.6 อุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายไร้สาย มีคณ
3.2.6.1. เป็ นอุปกรณ์ Access Point ทีส่ ามารถทํางานร่วมกับอุปกรณ์บริหารจัดการระบบเครือข่ายไร้สาย
(Wireless LAN Controller) ทีม่ หาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ใช้งานอยู่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
3.2.6.2. สามารถรับส่งข้อมูลทีย่ ่านความถี่ 2.4 GHz และ 5 GHz ได้
3.2.6.3.รองรับเทคโนโลยี MIMO (Multiple-input Multiple-output) 3x4 เป็ นอย่างน้อย
3.2.6.4. อุปกรณ์ตอ้ งมาพร้อมกับเสาอากาศแบบภายในสําหรับความถี่ 2.4GHz อย่างน้อย 4 dBi และ
สําหรับความถี่ 5 GHz อย่างน้อย 6 dBi แบบ Omnidirectional
3.2.6.5. มีพอร์ท Gigabit Ethernet 10/100/1000 Mbps ทีส่ ามารถรองรับ PoE ตามมาตรฐาน 802.3af
และ 802.3at
3.2.6.6.สนับสนุนการทํางานตามมาตรฐาน IEEE 802.11a/g/n/ac
3.2.6.7. สามารถทํางานแบบ multiple SSID ได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 421 of 521

3.2.6.8. สามารถเลือกส่งสัญญาณในช่องสัญญาณทีม่ กี ารรบกวนน้อยทีส่ ดุ ได้โดยอัตโนมัติ (DFS)


3.2.6.9.สามารถตรวจสอบผูใ้ ช้งานตามมาตรฐานWPA, WPA2, AES, TKIP และ IEEE802.1x แบบ
EAP-TLS, PEAP, EAP-FAST, GTC, SIM และ EAP-TTLS ได้
3.2.6.10. รองรับมาตรฐาน Wi-Fi Multimedia (WMM) เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลประเภท
Voice, Video และ Data ได้
3.2.6.12. สามารถควบคุมอุปกรณ์ผ่านทางพอร์ท Console ได้เป็ นอย่างน้อย
3.2.6.13. มีไฟแสดงสถานะการทํางานของอุปกรณ์
3.2.6.14. ได้รบั การรับรอง Wi-Fi Certification และสอดคล้องข้อกําหนดตามมาตรฐาน UL, IEC, EN
และ FCC ทีเ่ กีย่ วข้อง

4. การติ ดตัง้
4.1 การสารวจสถานที่ก่อสร้าง
ก่อนจะทําการติดตัง้ /เดินสายเคเบิล ผูร้ บั จ้างต้องสํารวจบริเวณทีจ่ ะติดตัง้ เพื่อศึกษาถึงลักษณะและสภาพทัวไป

เพื่อทีจ่ ะไม่มผี ลกระทบในการเดินสายเคเบิลและการจัดการโยกย้ายสิง่ กีดขวางออกเสียก่อน ทัง้ นี้กระบวนการดังกล่าวถือว่า
เป็ นส่วนหนึ่งของขัน้ ตอนการติดตัง้ หรือการดําเนินงานด้วย
4.2 มาตรฐานในการติ ดตัง้
ให้ตดิ ตัง้ สายต่างๆ รวมถึงอุปกรณ์ประกอบไปตามมาตรฐานทีผ่ ผู้ ลิตได้กาํ หนดไว้ โดยคํานึงถึงประโยชน์ใช้สอย
และความปลอดภัยของผูใ้ ช้งานเป็ นหลัก

5. การทดสอบ
5.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องทดสอบคุณสมบัตขิ องสาย UTP ให้เป็ นไปตามมาตรฐาน TIA/EIA-568-B.2-1 สายนําสัญญาณเส้นใด
ไม่ผ่านมาตรฐาน จะต้องดําเนินการซ่อมแซม/ติดตัง้ ใหม่ จนกว่าจะผ่านการทดสอบ
5.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องทดสอบคุณสมบัตขิ องสายใยแก้วนําแสงและจุดเชื่อมต่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน EIA/TIA568 ที่
เกีย่ วข้อง
6. การรับประกัน Cabling System
6.1 อุปกรณ์ทุกชนิดทีม่ กี ารติดตัง้ ต้องได้รบั การรับประกันจากบริษทั ผูผ้ ลิตและได้คุณภาพตามทีก่ าํ หนดไว้
6.2 ผูร้ บั จ้าง/ผูผ้ ลิตต้องรับผิดชอบเมื่อมีการซ่อมแซม เปลีย่ นอุปกรณ์ หรืออุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้ ไม่ได้คุณภาพตามข้อกําหนด
ทัง้ นี้รวมถึงความรับผิดชอบในส่วนของค่าจ้างแรงงานในการถอดเปลีย่ นค่าจัดส่งหรือค่าใช้จ่ายอืน่ ใดทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมด
6.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องแสดงหนังสือรับรอง/รับประกัน ในส่วนของสายนําสัญญาณทีต่ ดิ ตัง้ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์หรือ
ตัวแทนจําหน่ายทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 25 ปี ให้แก่ทางมหาวิทยาลัยทักษิณด้วย

7. การรับประกันอุปกรณ์เครือข่าย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 422 of 521

7.1 ในส่วนของอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆทีต่ ดิ ตัง้ ผูร้ บั จ้าง/ผูผ้ ลิต/เจ้าของผลิตภัณฑ์จะต้องมีการรับประกันอย่างน้อย 1 ปี


7.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องแสดงหนังสือรับรอง/รับประกัน ในส่วนของอุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ ทีต่ ดิ ตัง้ โดยมีระยะเวลาไม่น้อย
กว่า 1 ปี

8. เอกสารประกอบและการฝึ กอบรม
ผูร้ บั จ้าง ต้องจัดหาเอกสารทีเ่ กีย่ วข้องกับโครงสร้างและเป็ นข้อมูลทีถ่ ูกต้องตามหลักวิชโดยข้อมูลต่างๆจะต้องมีความ
น่าเชื่อถือ โดยส่งมอบเอกสารทีอ่ ยู่ในรูปเล่มและไฟล์อเิ ล็คทรอนิกส์ ประกอบด้วย
8.1 รายละเอียดโดยทัวไป
่ เช่น แผนงาน (Layout Plan) ของมาตรฐานวัสดุอุปกรณ์

จบหมวดที่ 72

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 423 of 521

หมวดที่ 73
เครือ่ งสารองไฟฟ้ าฉุกเฉิ น (Uninterruptible Power Supply : UPS)

1. ความต้องการทัวไป

1.1. ข้อกําหนดนี้ครอบคลุมรายละเอียดคุณสมบัตแิ ละการติดตัง้ เครื่องสํารองไฟฟ้าฉุกเฉิน UPS,


อุปกรณ์ควบคุม, Bypass Switch ตลอดจน Battery Backup
1.2. เครื่อง UPS และอุปกรณ์ประกอบต้องผลิตและทดสอบตามมาตรฐานEN, CE, VDE หรือมาตรฐานอื่นที่
เทียบเท่า
1.3. เครื่อง UPS จะต้องทําการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกําหนดณโรงงานผูผ้ ลิตก่อน
การจัดส่งพร้อมด้วยรายงานการทดสอบซึง่ ได้รบั การรับรอง
1.4. เครื่อง UPS ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์จากประเทศสหรัฐอเมริกาหรือกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเท่านัน้
1.5. ผูร้ บั จ้างจําเป็ นต้องดําเนินการจัดหาและติดตัง้ อุปกรณ์ทจ่ี าํ เป็ นถึงแม้ว่าจะไม่ระบุไว้ในแบบหรือ
ข้อกําหนดก็ตามเพื่อให้เครื่อง UPS ทํางานได้สมบูรณ์ตามความต้องการของวิศวกร

2. เครือ่ งสารองไฟฟ้ า(UPS)ขนาด 6 kVAมีคณ ุ สมบัติขนั ้ ตา่ ดังนี้


2.1 ระบบสํารองไฟฟ้าสํารองขนาดไม่น้อยกว่า 6000 VA / 4200 W
2.2 ต้องเป็ นระบบ True On Line UPS ทีม่ ี Efficiency ไม่น้อยกว่า 92%
2.3 มีระบบป้องกัน Surge สําหรับ UPS ทีร่ องรับ Surge Energy Rating ได้ไม่น้อยกว่า 555 Joules และเป็ นไปตาม
มาตรฐาน UL1449
2.4 ต้องเป็ นเครื่องสํารองไฟฟ้าทีส่ ามารถใช้งานได้ทงั ้ ในรูปแบบ Tower และ แบบ Rack ภายในตัวเดียวกัน
2.5 ต้องมีคุณลักษณะไฟฟ้าภาคขาเข้า ดังนี้
2.5.1 เป็ นระบบ Single Phase 220/230/240 Vac.
2.5.2 ระดับแรงดันไฟฟ้า (Input Voltage) เป็ น 160 – 280 Vac
2.5.3 ระดับความถี่ (Input Frequency) 50/60 Hz +/- 5 Hz (auto sensing)
2.5.4 มี Input Connections แบบ Hard Wire 3-wire
2.6 ต้องมีคุณลักษณะไฟฟ้าภาคขาออกดังนี้
2.6.1 ระดับแรงดันกระแสไฟฟ้า (Output Voltage) เป็ น 220/230/240 Vac
2.6.2 ระดับความถีก่ ระแสไฟฟ้า (Output Frequency) เป็ น 50/60 Hz +/- 3 Hz user adjustable +/- 0.1
2.6.3 มี Crest Factor เพื่อรองรับกระแสในช่วง peak ทีม่ ากกว่า 3:1
2.6.4 รูปแบบคลื่นสัญญาณ Sine Wave
2.6.5 รองรับ Overload Capacity ได้ทร่ี ะดับ 105% - Infinite, 125% - 1 Minute และ 150% - 30 Seconds
2.6.6 Output Connections

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 424 of 521

2.6.6.1 (8) IEC 320 C13


2.6.6.2 (2) IEC 320 C19
2.6.6.3 (4) IEC Jumpers
2.7 ต้องมีคุณลักษณะของชุดแบตเตอรีท่ ใ่ี ช้กบั ระบบ UPS ทีเ่ สนอดังนี้
2.7.1 แบตเตอรี่ เป็ นแบบ Maintenance-free Sealed Lead Acid battery with suspended electrolyte :
leakproof
2.7.2 สามารถทําการเปลีย่ นแบตเตอรีไ่ ด้โดยไม่จาํ เป็ นต้องปิ ดระบบ (Hot Swappable)
2.7.3 Typical Recharge Battery ได้ภายในเวลา 2.5 ชม.
2.7.4 มีระบบ Intelligent Battery Management
2.7.5 สามารถสํารองไฟได้ไม่น้อยกว่า 5 นาที ที่ 100% load (full load)
2.8 สามารถต่อพ่วงสําหรับแบตเตอรีภ่ ายนอกได้ไม่ต่ํากว่า 10 ชุด เพื่อให้สามารถสํารองไฟฟ้าทีน่ านยิง่ ขึน้
2.9 สามารถทํางานแบบ Cold Start ได้ และ มีระบบ Bypass แบบ Automatic และ Manual
2.10 มีช่องใส่ Slot หรือต่ออุปกรณ์เพิม่ เติม เพื่อให้สามารถควบคุม UPS และระดับไฟฟ้า และ สนับสนุนอุปกรณ์เสริม
Network Management Card (10/100 BaseT)
2.11 ต้องมีระบบแสดงสภาวะการทํางานของเครื่องด้วย LED เพื่อแสดง
2.11.1 On-line Display
2.11.2 On-Battery Display
2.11.3 Battery Capacity
2.11.4 Load Display
2.11.5 Overload Display พร้อมสัญญาณเสียงเตือนในสภาวะผิดปกติ
2.11.6 Fault Display พร้อมสัญญาณเสียงเตือนในสภาวะผิดปกติ
2.11.7 Bypass Display
2.12 ได้รบั การรับรองความมาตรฐานการผลิต ISO 9001 และ ISO 14001
2.13 ต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน C-tick, CE, CSA, EN 50091-1, EN 50091-2, EN 55022 Class A, EN 60950, EN
61000-3-2, GOST, UL Listed และ VDE
2.14 มี Software PowerChute Business Edition ทีร่ องรับ Window 2003, Window 2008, Window server 2008,
Window server 2011, Window server 2012 เป็ นอย่างน้อย
2.15 ลักษณะและส่วนประกอบของเครื่องต้องเหมาะสมกับสภาพการใช้งานในทุกท้องทีข่ องประเทศไทย ซึง่ จะมี
อุณหภูมภิ ายในอาคารตัง้ แต่ 0 - 40 องศาเซลเซียส และความชืน่ สัมพัทธ์ท่ี 0 - 95%
2.16 ต้องรับประกัน 2ปี รวมทัง้ แบตเตอรี่
2.17 อุปกรณ์ทุกชิน้ ต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็ นอุปกรณ์ทน่ี ํามาปรับปรุงสภาพใหม่ หรือแปรสภาพ
(Reconditioned หรือ Refurbished) โดยต้องมีหนังสือรับรองซึง่ ออกให้สาํ หรับโครงการนี้โดยเฉพาะจากเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์สาขาประเทศไทย ยื่นในขัน้ ตอนการขออนุมตั วิ สั ดุ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 425 of 521

3. เครือ่ งสารองไฟฟ้ า(UPS)ขนาด 2 kVAมีคณ ุ สมบัติขนั ้ ตา่ ดังนี้


3.1 ระบบสํารองไฟฟ้าสํารองขนาดไม่น้อยกว่า 2000 VA / 1400 W
3.2 ต้องเป็ นระบบ True On Line UPS ทีม่ ี Efficiency ไม่น้อยกว่า 90%
3.3 มี Input Power Factor ไม่น้อยกว่า 0.95
3.4 มีระบบป้องกัน Surge สําหรับ UPS ทีร่ องรับ Surge Energy Rating ได้ไม่น้อยกว่า 420 Joules และเป็ นไปตาม
มาตรฐาน IEEE และ UL1449
3.5 ต้องเป็ นเครื่องสํารองไฟฟ้าทีส่ ามารถใช้งานได้ทงั ้ ในรูปแบบ Tower และ แบบ Rack ภายในตัวเดียวกัน
3.6 ต้องมีคุณลักษณะไฟฟ้าภาคขาเข้า ดังนี้
3.6.1 เป็ นระบบ Single Phase 220 / 230 / 240 Vac.
3.6.2 ระดับแรงดันไฟฟ้า (Input Voltage) เป็ น 160 - 280 Vac ที่ full load และ 100 - 280 Vac ที่ half load
3.6.3 ระดับความถี่ (Input Frequency) 50/60 Hz +/- 5 Hz (auto sensing)
3.6.4 มี Input connection แบบ IEC-320 C20
3.7 ต้องมีคุณลักษณะไฟฟ้าภาคขาออกดังนี้
3.7.1 ระดับแรงดันไฟฟ้า (Output Voltage) เป็ น 220 / 230 / 240 Vac
3.7.2 ระดับความถี่ (Output Frequency) เป็ น 50/60 Hz +/- 3 Hz user adjustable +/- 0.1
3.7.3 มี Crest Factor เพื่อรองรับกระแสในช่วง peak ทีม่ ากกว่า 3:1
3.7.4 รูปแบบคลื่นสัญญาณ Sine Wave
3.7.5 รองรับ Overload Capacity ได้ทร่ี ะดับ 105% - Continuous, 125% - 1 Minute และ 150% - 30 Seconds
3.7.6 Output Voltage Regulation (Typical) +/- 1% for Static, +/- 8% for Dynamic
3.7.7 มี Output Connection แบบ IEC 320 C13 อย่างน้อย 6 ช่อง และ IEC Jumpers อย่างน้อย 2 ช่อง
3.8 ต้องมีคุณลักษณะของชุดแบตเตอรีท่ ใ่ี ช้กบั ระบบ UPS ทีเ่ สนอดังนี้
3.8.1 แบตเตอรี่ เป็ นแบบ Maintenance-free Sealed Lead Acid battery with suspended electrolyte :
leakproof
3.8.2 สามารถทําการเปลีย่ นแบตเตอรีไ่ ด้โดยไม่จาํ เป็ นต้องปิ ดระบบ (Hot Swappable)
3.8.3 Typical recharge time 4 ชัวโมง

3.8.4 มีระบบ Intelligent Battery Management
3.8.5 สามารถสํารองไฟได้ไม่น้อยกว่า 4 นาที ที่ Load 1400 Watts และ ไม่น้อยกว่า 14 นาที ที่ Load 700 Watts
โดยไม่ตอ้ งใช้แบตเตอรีภ่ ายนอกต่อพ่วง (External Battery Cabinet)
3.9 มีช่องต่อพ่วงสําหรับแบตเตอรีภ่ ายนอกได้ไม่ต่ํากว่า 10 ชุด เพื่อให้สามารถสํารองไฟฟ้าทีน่ านยิง่ ขึน้
3.10สามารถทํางานแบบ Cold Start ได้ และ มีระบบ Bypass แบบ Automatic
3.11 มี Resettable Circuit Breaker for Overload Recovery
3.12 สามารถรองรับระบบ Emergency Power Off (EPO) เป็ นอุปกรณ์เสริม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 426 of 521

3.13 มี Slot สําหรับต่อเพิม่ อุปกรณ์ Network Management Card (10/100 BaseT) เพื่อให้สามารถควบคุม UPS และ
ระดับไฟฟ้า
3.14 ต้องมีระบบแสดงสภาวะการทํางานของเครื่องด้วย LED เพื่อแสดง
3.14.1 On-line Display
3.14.2 On-Battery Display
3.14.3 Battery Capacity
3.14.4 Load Display
3.14.5 Overload Display
3.14.6 Fault Display
3.14.7 Bypass Display
3.15 ระดับเสียงรบกวนทีเ่ กิดจากเครือ่ ง (Audible Noise) ต้องไม่มากกว่า 50 dBA
3.16 มี Software PowerChute Business Edition ทีร่ องรับ Window 2003, Window 2008, Window server 2008,
Window server 2011, Window server 2012 เป็ นอย่างน้อย
3.17 ได้รบั การรับรองความมาตรฐานการผลิต ISO 9001 และ ISO 14001
3.18 ต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน C-tick, CE, EN 50091-1, EN 50091-2, EN 55022 Class A, EN 60950, EN
61000-3-2, GOST, VDE และ RoSH
3.19 ลักษณะและส่วนประกอบของเครื่องต้องเหมาะสมกับสภาพการใช้งานในทุกท้องทีข่ องประเทศไทย ซึง่ จะมี
อุณหภูมภิ ายในอาคารตัง้ แต่ 0 - 40 องศาเซลเซียส และความชืน่ สัมพัทธ์ท่ี 0 - 95%
3.20 ต้องรับประกัน 2 ปี รวมทัง้ แบตเตอรี่
3.21 อุปกรณ์ทุกชิน้ ต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยใช้งานมาก่อน ไม่เป็ นอุปกรณ์ทน่ี ํามาปรับปรุงสภาพใหม่ หรือแปรสภาพ
(Reconditioned หรือ Refurbished) โดยต้องมีหนังสือรับรองซึง่ ออกให้สาํ หรับโครงการนี้โดยเฉพาะจากเจ้าของ
ผลิตภัณฑ์สาขาประเทศไทย ยื่นในขัน้ ตอนการขออนุมตั วิ สั ดุ

4. การติ ดตัง้
การติดตัง้ เครื่องสํารองไฟฟ้าฉุกเฉินและแบ็ตเตอรีใ่ ห้ตดิ ตัง้ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิตและตามทีร่ ะบุดงั นี้
ก. การเดินสายไฟฟ้าให้เป็ นไปตามมาตรฐานทีร่ ะบุในรายละเอียดประกอบแบบหรือตามมาตรฐานวสท.
ข. ฐานคอนกรีตรองรับเครื่องสํารองไฟฟ้าฉุกเฉินต้องแข็งแรงและเหมาะสมเมื่อนําเครื่องไปวางและ
สะดวกในการบํารุงรักษา
ค. การติดตัง้ ตู้ UPS, แผงควบคุมและแบ็ตเตอรีต่ อ้ งมีระบบปรับอากาศและระบายอากาศอย่างเพียงพอ
และให้มสี ญ
ั ญาณ Alarm กรณีอุณหภูมภิ ายในตูส้ งู เกินทีก่ าํ หนดไว้
ง. ในการติตตัง้ จะต้องประสานงานการทํางานร่วมกับระบบอื่นทีเ่ กีย่ งข้องเพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่าง
สมบูรณ์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 427 of 521

5. การทดสอบ
จะต้องทําการทดสอบรายละเอียดต่างๆของ UPS ตามข้อกําหนดณโรงงานผูผ้ ลิตก่อนการจัดส่งพร้อมด้วยรายงานการ
ทดสอบซึง่ ได้รบั การรับรอง

6. การบริการ
6.1 จัดเตรียมหนังสือคู่มอื การบํารุงรักษาและรายละเอียดของวงจรทีส่ มบูรณ์ (Circuit Diagram) พร้อม
ทัง้ Component จํานวน 3ชุด
6.2 จัดเตรียมชุดบํารุงรักษาแบ็ตเตอรีแ่ ละคู่มอื การบํารุงรักษาแบ็ตเตอรีจ่ าํ นวน 1 ชุด
6.3 จัดส่งผูเ้ ชีย่ วชาญของบริษทั ผูผ้ ลิตมาฝึกอบรมช่างเทคนิคหรือตัวแทนของผูว้ ่าจ้าง/เจ้าของโครงการ
จนสามารถทีจ่ ะทําการตรวจซ่อมและบํารุงรักษาได้อย่างถูกต้อง
6.4 จัดทําแผนการบํารุงรักษาเครื่อง UPS และแบ็ตเตอรีอ่ ย่างต่อเนื่องในระยะเวลา 5 ปี ให้กบั ผูว้ ่าจ้าง/
เจ้าของโครงการเพื่อพิจารณาและถือว่าเป็ นสาระสําคัญของการเสนอราคาและพิจารณา
6.5 จัดส่งรายชื่อและหนังสือรับรองซึง่ แสดงว่าเจ้าหน้าทีผ่ รู้ บั ผิดชอบการบํารุงรักษาได้เคยรับการอบรม
เกีย่ วกับการบํารุงรักษาจากผูผ้ ลิต

จบหมวดที่ 73

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 428 of 521

หมวดที่ 74
ระบบเสียง

1. ระบบเสียง
ข้อกําหนดทางเทคนิค (TECHNICAL SPECIFICATION)
สามารถใช้งานกระจายเสียงให้พร้อมกันหรือเลือก ZONE กระจายเสียงได้ โดยผ่านอุปกรณ์ SOUND SELECTOR
CONTROL ซึง่ มีความสามารถในการกระจายเสียงได้ไม่ต่ํากว่าทีร่ ะบุในแบบและสามารถจัดโปรแกรมการประกาศ
พร้อมเสียงเตือนและเลือก ZONE ได้จากชุดไมโครโฟนประกาศส่วนกลางโดยตรงและสามารถ OVERRIDE ZONE
ย่อยได้ สําหรับรายละเอียดอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ มีดงั นี้คอื
1.1 AMPLIFIER UNIT
1.1.1 POWER AMPLIFIER มีขนาด RATED OUTPUT POWER ดังระบุในแบบ
- เครื่องขยายเสียงจะต้องเป็ นแบบ IC SOLID STATE
- มีวงจรป้องกันอันตรายทีเ่ กิดจาก SHORT CIRCUIT หรือ MIS-LOADING
- สามารถใช้งานร่วมกับ PREAMPLIFIER และระบบ PAGING ได้
- มี VU METER สามารถอ่านค่าระดับสัญญาณ OUTPUT ได้
- ติดตัง้ ใน STANDARD RACK ทีม่ ชี ่องระบายอากาศและพัดลมระบายอากาศถ่ายเทได้สะดวก
มีรายละเอียดทางเทคนิคประกอบดังนี้
- POWER SOURCE 220-250 V. AC. 50 Hz. 24 V. DC.
- OUTPUT VOLTAGE 100 V., 70 V., 50 V., LINE OUTPUT SUITABLE
FOR REDIFFUSION UP TO 3 KM. DISTANCE
- FREQUENCY RESPONSE 100-18,000 Hz.
- S/N RATIO 80 dB หรือดีกว่า
- DISTORTION LESS THAN 2% หรือดีกว่า
1.1.2 MIXING AMPLIFIER
- ขนาด RATED OUTPUT POWER ดังระบุในแบบ
- เป็ นเครื่องผสมสัญญาณขนาดช่องสัญญาณเข้าไม่ต่ํากว่า 7 ช่อง
- OUTPUT VOLTAGE 100 V., 70 V.
- FREQUENCY RESPONSE 100-18,000 Hz.
- S/N RATIO 60 dB หรือดีกว่า
- DISTORTION LESS THAN 2% หรือดีกว่า
1.1.3 PRE- AMPLIFIER
- เป็ นเครื่องผสมสัญญาณขนาดช่องสัญญาณเข้าไม่ต่ํากว่า 7 ช่อง
- FREQUENCY RESPONSE 100-18,000 Hz.
- S/N RATIO 60 dB หรือดีกว่า
- DISTORTION LESS THAN 2% หรือดีกว่า

1.2 MICROPHONE

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 429 of 521

1.2.1 TABLE STAND MICROPHONE WITH MICROPHONE WIRE


- FREQUENCY RESPONSE 100 - 10,000 Hz. หรือดีกว่า
- เป็ นชนิด CONDENSER หรือ DYNAMIC
- มีความต้านทานไม่น้อยกว่า 200 โอห์ม
1.2.2 HAND HELD MICROPHONE WITH STAND AND MICROPHONE WIRE AND HAND HELD
MICROPHONE WITH TRANSMITTER
- FREQUENCY RESPONSE 80 - 12,000 Hz. หรือดีกว่า
- เป็ นชนิด DYNAMIC
- มีความต้านทานไม่น้อยกว่า 200 โอห์ม
1.3 LOUD SPEAKER
1.3.1 แบบติดตัง้ เพดาน เป็ นชนิดทีใ่ ช้ร่วมกับ MACHING TRANSFORMER (100%, 50%, 25% TAP) มี RATED
OUTPUT ไม่ต่ํากว่า 6 W. FREQUENCY RESPONSE อยู่ในช่วง 100-15,000 Hz. โดยลําโพงทุกตัว
จะต้องดังเท่ากัน และต้องทําให้ลาํ โพงทุกตัวทีข่ นานกัน มีค่า IMPEDANCE สมดุลกับค่า OUTPUT
IMPEDANCE
1.3.2 แบบ CABINET เป็ นชนิดทีใ่ ช้รว่ มกับ MACHING TRANSFORMER (100%, 50%, 25% TAP) มี RATED
OUTPUT ไม่ต่ํากว่า 20 W.FREQUENCY RESPONSE อยู่ในช่วง 100 – 18,000 Hz. โดยลําพังทุกตัว
จะต้องดังเท่ากันและต้องทําให้ลาํ โพงทุกตัวทีข่ นานกันมีค่า IMPEDANCE สมดุลกับค่า OUTPUT
IMPEDANCE
1.3.3 แบบ SOUND PROJECTION เป็ นชนิดทีใ่ ช้ร่วมกับ MACHING TRANSFORMER (100%, 50%, 25%
TAP) มี RATED OUTPUT ไม่ต่ํากว่า 10 W. FREQUENCY RESPONSE อยู่ในช่วง 140 – 13,000
Hz. โดยลําพังทุกตัวจะต้องดังเท่ากันและต้องทําให้ลาํ โพงทุกตัวทีข่ นานกันมีค่า IMPEDANCE สมดุล
กับค่า OUTPUT IMPEDANCE
1.3.4 แบบติดตัง้ เพดาน ชนิด MODULAR เป็ นชนิดทีใ่ ช้ร่วมกับ MACHING TRANSFORMER (100%, 50%,
25% TAP) มี RATED OUTPUT ไม่ต่ํากว่า 12 W. FREQUENCY RESPONSE อยู่ในช่วง 60 –
20,000 Hz. โดยลําพังทุกตัวจะต้องดังเท่ากันและต้องทําให้ลาํ โพงทุกตัวทีข่ นานกันมีค่า IMPEDANCE
สมดุลกับค่า OUTPUT IMPEDANCE
1.3.5 แบบ CABINET เป็ นชนิดทีใ่ ช้รว่ มกับ MACHING TRANSFORMER (100%, 50%, 25% TAP) มี
RATED OUTPUT ไม่ต่ํากว่า 100 W. FREQUENCY RESPONSE อยู่ในช่วง 100 – 18,000 Hz.
โดยลําพังทุกตัวจะต้องดังเท่ากันและต้องทําให้ลาํ โพงทุกตัวทีข่ นานกันมีค่า IMPEDANCE สมดุลกับค่า
OUTPUT IMPEDANCE
1.4 COMPACT DISC PLAYER
- เป็ นชนิด DIGITAL ENCODE COMPACT DISC LASER TECHNOLOGY โดยมี CD CHANGER
ชนิด 5 หรือ 3 แผ่น CD FRONT-LOADED มีคุณสมบัตดิ งั ต่อไปนี้
- SAMPLING FREQUENCY มากกว่า 40 KHz.

จบหมวดที่ 74

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 430 of 521

หมวดที่ 75
ระบบเสาอากาศวิ ทยุ – โทรทัศน์รวม (SMATV SYSTEM)

1. ความต้องการทัวไป ่
ระบบเสาอากาศวิทยุ-โทรทัศน์รวม (SATELITE MASTER ANTENNA TELEVISION - SMATV) ผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดหาและติดตัง้ อุปกรณ์ประกอบในระบบทีส่ าํ คัญ ซึง่ เป็ นระบบโทรทัศน์รวมโดยใช้จานรับดาวเทียมเพียง 1 ชุด เพื่อ
รับสัญญาณ FREE TV (จานดาวเทียม) ไทยคมแล้วป้อนให้แก่สมาชิกทีต่ อ้ งการรับชมรายการวิทยุโทรทัศน์ได้เป็ น
จํานวนมากตามทีก่ าํ หนดในแบบ โดยระบบจะประกอบด้วย จานรับดาวเทียม สายอากาศ CHANNEL AMPLIFIER,
TAP-OFF, SPLITTER, DISTRIBUTION, BOX, TV OUTLET และอุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ทีจ่ าํ เป็ นเพื่อให้สญ ั ญาณ
ทีไ่ ด้รบั อยู่ระหว่าง 60-84 DECIBEL MICROVOLT โดยไม่เกิดสัญญาณภาพซ้อนหรือเงาหรือสัญญาณรบกวนในจอ
เครื่องรับทุกเครื่อง และแบบทีแ่ สดงเป็ นเพียงแนวทางในการติดตัง้ เท่านัน้ สามารถเปลีย่ นแปลงหรือแก้ไขแบบตาม
คําแนะนําของผูผ้ ลิตหรือผูม้ คี วามชํานาญเฉพาะด้าน ในกรณีทส่ี ญ ั ญาณทีไ่ ด้รบั มีเงาภาพซ้อนหรือสัญญาณภาพหรือ
เสียงไม่ชดั เจน ผูร้ บั จ้างจะต้องทําการแก้ไขเพื่อให้เป็ นไปตามความประสงค์ของผูว้ ่าจ้างและตามข้อกําหนดนี้โดยไม่
คิดค่าใช้จ่ายใดๆ เพิม่ เติมทัง้ สิน้

2. จานรับสัญญาณดาวเทียม และอุปกรณ์ประกอบ
2.1 จานรับสัญญาณดาวเทียม (ANTENNA DISH)
ผลิตจากอลูมเิ นียมทําหน้าทีร่ บั สัญญาณทีส่ ่งมาจากดาวเทียมโดยใช้หลักการสะท้อนทีพ่ น้ื ผิวรูปโค้งพาราโบ
ลิค แล้วรวมสัญญาณทีจ่ ุดโฟกัส (FOCAL POINT) คุณสมบัตขิ องจานรับสัญญาณดาวเทียมมีดงั ต่อไปนี้
(1) DIAMETER : 10 FT. (3 M.)
(2) F/D RATIO : 0.4
(3) FOCAL LENGTH : 48”
(4) MOUNTING : AS PER MANUFACTURER STANDARD
(5) GAIN : 39.40 dB for C.BAND at FREQ. 4.2 GHz.
: 47.85 dB for KU-BAND at FREQ. 12.75 GHz.
2.2 FEED HORN
เป็ นอุปกรณ์รวบรวมสัญญาณทีส่ ะท้อนจากผิวจานซึง่ จะติดตัง้ อยู่ท่ี FOCAL POINT โดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) FREQUENCY : 3.7 - 4.2 GHz
(2) ISOLATION : > 30 dB
2.3 LOW NOISE BLOCK DOWN CONVERTER (LNB)
เป็ นอุปกรณ์ขยายสัญญาณดาวเทียม ซึง่ ทําหน้าทีแ่ ปลงความถีแ่ ละขยายสัญญาณทีร่ วบรวมได้จาก FEED
HORN ให้สงู ขึน้ เพื่อต่อเข้าเครือ่ งรับสัญญาณดาวเทียมต่อไป โดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) INPUT FREQUENCY : 3.7 - 4.2 GHz
(2) OUTPUT FREQUENCY RANGE : 850 - 1450 MHz
(3) NOISE TEMPERATURE : 17 - 35 K
(4) GAIN : 60 dB (min)
(5) OUUPUT VSWR : 15-24 Vdc

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 431 of 521

(6) POWER SUPPLY : 15-24 Vdc


2.4 SATELLITE TV DEMODULATOR/MODULATOR
ทําหน้าทีร่ บั สัญญาณทีข่ ยายแล้วจาก LNB และปรับหาช่องสัญญาณความถีร่ ายการโทรทัศน์ทต่ี อ้ งการรับชม
และให้สญ
ั ญาณออกมาเป็ นช่องความถีย่ ่าน VHF หรือ UHF โดยมีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) INPUT FREQUENCY : 920-2050 MHz
(2) INPUT LEVEL : 43-80 dB
(3) STATIC THRESHOLD : 6 dB
(4) FORMAT : PAL/SECAM/NTSC
(5) AUDIO SUBCARRIER FREQUENCY : 5.5-9 MHz
(6) OUTPUT LEVEL : 85-95 dB
(7) OUTPUT FREQUENCY : 47-68, 118-350 MHz หรือ 470-862 MHz

3. ชุดขยายสัญญาณ (AMPLIFIER)
3.1 ชุดขยายสัญญาณประกอบด้วย Channel Amplifier และในกรณีทส่ี ญ ั ญาณซึง่ ได้รบั จากเสาอากาศมีกาํ ลัง
อ่อน มีความเพีย้ น และ/หรือมีคลื่นรบกวน อาจมีความจําเป็ นต้องใช้ preamplifier, filter และ/หรือ automatic
gain control (AGC.)
3.2 CHANNEL AMPLIFIER ต้องมีคุณสมบัตดิ งั นี้

DESCRIPTIONS FM BAND 1 BAND III UHF


Frequency Range 88-108 MHz 47-68 MHz 179-230 MHz 470-862 MHz
TV Channel FM 2-4 5-12 21-69
No. of Outputs 1-2 1-2 1-2 1-2
System Gain (min) 35 dB 55 dB 55 dB 55 dB
Auto Gain
Connector (Output) +/- 25 dB +/- 25 dB +/- 25 dB +/- 25 dB
Attemuation - 15 dB - 15 dB -15 dB - 15 dB
Flatness -  1 dB  1 dB  1 dB
Max. output level  118x2 or  118x2or  118x2 or  118x2 or
(dBuV) 120 x 1 120 x 1 120 x 1 120 x 1
Noise Figure  6 dB  6 dB  6 dB  6 dB

3.3 นอกจากนัน้ ให้มี channel converter เพื่อเปลีย่ นช่องสัญญาณโทรทัศน์เป็ นช่องทีเ่ หมาะสม และไม่มี
สัญญาณรบกวนซึง่ กันและกัน (interference) โดย channel converter ของแต่ละช่องสัญญาณต้องมี
คุณสมบัตอิ ย่างน้อยดังนี้
SPECIFICATION OF CHANNEL CONVERTER
(1) Input Frequency Range : One TV Channel

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 432 of 521

(2) Output Frequency Range : One TV Channel


(3) Gain : 15 - 25 dB
(4) Max. Noise Figure : < 6 dB
(5) Min Output level : 85 - 90 dB
(6) Input/Output Impedance : 75 ohms.
3.4 POWER SUPPLY สําหรับชุดขยายสัญญาณและอุปกรณ์ร่วมทีก่ ล่าวแล้วต้องเป็ นอุปกรณ์เฉพาะทีแ่ ปลง
ระบบ ไฟฟ้าจาก main supply 220V, l phase 50 Hz เป็ นระบบไฟฟ้ากระแสตรง 24 - VOLT โดยทีช่ ุด
Power supply นี้ตอ้ งมี Overload protection สมบูรณ์ในตัวเอง
3.5 การติดตัง้ ชุดขยายสัญญาณและอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีก่ ล่าวมาแล้วต้องเป็ นแบบ rack mounting หรือลักษณะ
คล้ายคลึงกันรวมอยูใ่ นตูโ้ ลหะมีฝาปิ ดและมีช่องระบายความร้อนอย่างเพียงพอ

4. ชุดแยกและกระจายสัญญาณ (TAP-OFF AND SPLITTER OR DISTRIBUTION BOX)


ชุดแยกสัญญาณ (TAP-OFF) และชุดกระจายสัญญาณ (SPLITTER OR DISTRIBUTION BOX) เป็ น PASSIVE
EQUIPMENT ทีม่ คี วามสําคัญในระบบ คุณสมบัตขิ องอุปกรณ์เหล่านี้ตอ้ งทําให้ได้สญ
ั ญาณทีจ่ ุดรับต่าง ๆ เป็ นไป
ตามข้อกําหนด

5. เต้ารับสัญญาณ (TV OUTLET)


5.1 โดยทัวไปเป็่ นแบบ Flush Mounting ในกล่องโลหะทีเ่ หมาะสมโดยทีเ่ ต้ารับนี้ตอ้ งมีทงั ้ จุดจ่ายสัญญาณวิทยุ
และจุดจ่ายสัญญาณโทรทัศน์บรรจุในกล่องเดียวกันและมีฝาครอบปิ ด (cover-plate) ชิน้ เดียว
5.2 เต้ารับทีใ่ ช้อาจเป็ นชนิด loop-through network (loop-wired system) หรือ tap-off network ก็ได้ โดยต้อง
ใช้เป็ นชนิดเดียวกันทัง้ โครงการและมีอุปกรณ์ประกอบการใช้เพือ่ ความสมบูรณ์ของระบบอย่างครบถ้วน

6. สายตัวนาสัญญาณ (COAXIAL CABLE)


สายตัวนําสัญญาณต้องเป็ น COAXIAL CABLE ชนิดทีเ่ หมาะสมกับการร้อยในท่อโลหะ มีใช้งานด้วยกัน 2 แบบ
ถ้ามิได้ระบุเป็ นอื่นใดในแบบสายนําสัญญาณจะต้องมีคุณสมบัตอิ ย่างน้อยดังต่อไปนี้
SPECIFICATION OF SMATV CABLE
DESCRIPTIONS MAIN BRANCH
Impedance 75 Ohm 75 Ohm
Attenualtion per 100 m
at 47 - 230 MHz < 7 dB < 17.5 dB
- 700 MHz < 11.6 dB < 17.5 dB
Shield (Double) Foil and Copper / Tinned Copper Braid
Dlelectric Polyethylene
Jacket Cover PVC

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 433 of 521

7. การติ ดตัง้
7.1 จานดาวเทียมและชุดขยายสัญญาณตามตําแหน่งทีก่ าํ หนดในแบบแต่อาจมีการเปลีย่ นแปลงได้เพื่อความ
เหมาะสมทัง้ ทางเทคนิคและทางสถาปตั ยกรรม
7.2 สายสัญญาณโดยทัวไปให้ ่ รอ้ ยในท่อโลหะ การวางสายในรางร้อยสาย (WIREWAY) อาจกระทําได้ถา้ ได้รบั
อนุมตั จิ ากผูค้ ุมงานและเป็ นสถานทีซ่ ง่ึ เข้าถึงรางร้อยสายได้สะดวก
7.3 ชุดแยกและกระจายสัญญาณ ให้บรรจุในกล่องโลหะทีผ่ ่านกรรมวิธปี ้ องกันสนิมอย่างดีโดยเลือกขนาดของ
กล่องให้เหมาะสมและให้ยดึ กล่องนี้กบั โครงสร้างอาคารในตําแหน่งทีก่ าํ หนดในแบบหรือในตําแหน่งทีส่ มควร
7.4 การติดตัง้ อื่นๆ ทีไ่ ม่ได้ระบุไว้ ให้เน้นไปตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตอุปกรณ์นนั ้ ๆ

8. การทดสอบระบบ
ให้ทาํ การตรวจสอบการทํางานของระบบโดยการวัดและบันทึกค่าต่างๆ อย่างน้อยดังต่อไปนี้
8.1 สัญญาณทีไ่ ด้รบั จากเสาอากาศรับสัญญาณ
8.2 สัญญาณทีไ่ ด้รบั จาก ชุดขยายสัญญาณ
8.3 สัญญาณทีจ่ ุดแยก จุดออกจากชุดแยกและกระจายสัญญาณ
8.4 สัญญาณทีเ่ ต้าเสียบจ่ายสัญญาณตามสมควร
8.5 การทดสอบอื่นๆ ทีจ่ าํ เป็ นตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต

จบหมวดที่ 75

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 434 of 521

หมวดที่ 76
ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV SYSTEM)

1. ความเป็ นมา
ผูว้ ่าจ้างประสงค์ทจ่ี ะดําเนินการติดตัง้ ติดตัง้ ระบบเฝ้าระวังและรักษาความปลอดภัยด้วยระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด ณ
อาคารทีก่ ่อสร้างตามรูปแบบรายการ เพื่อบริการแก่เจ้าหน้าทีแ่ ละผูใ้ ช้อาคารอย่างเหมาะสม และครอบคลุม
2. วัตถุประสงค์ของการดาเนิ นงาน
2.1 เพื่อใช้ในอาคารทีก่ ่อสร้างตามรูปแบบและรายการ
2.2 เพื่อการสอดส่อง ควบคุมดูแลความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ บริเวณพืน้ ทีท่ ก่ี าํ หนด
2.3 เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย บริเวณพืน้ ทีท่ ไ่ี ม่มเี จ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัยประจําอยู่
2.4 เพื่อการป้องปรามเหตุการณ์อนั ไม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในรูปแบบต่างๆ
2.5 เพื่อช่วยในการติดตามเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
2.6 เพื่ออํานวยความสะดวกและช่วยในการประชาสัมพันธ์ต่อการปฏิบตั งิ านของเจ้าหน้าทีใ่ นกรณีทม่ี เี หตุการณ์
ต่างๆ เกิดขึน้
2.7 เพื่อนําข้อมูลไปใช้เป็ นพยานหลักฐาน
3. สถานที่ดาเนิ นการ
ติดตัง้ ในอาคารและนอกอาคารตามรูปแบบกําหนด
4. ข้อกาหนดทัวไป ่
4.1 อุปกรณ์ของระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV) จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตใหม่ ยังไม่เคยใช้งานมาก่อน และ
ยังอยู่ในสายงานการผลิต พร้อมทัง้ แนบรายละเอียดคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะนํามาติดตัง้ สําหรับโครงการ
และการทํางานของระบบประกอบการพิจารณาอนุมตั ดิ ว้ ย โดยแนบเอกสารทีร่ ะบุแหล่งผลิตอุปกรณ์ เอกสาร
การนําเข้าสินค้าและมาตรฐานต่างๆทีร่ บั รองคุณภาพของอุปกรณ์นนั ้
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาและติดตัง้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ดพร้อมอุปกรณ์อ่นื ๆ รวมทัง้ Software ต่างๆ ตาม
ข้อกําหนด เพื่อให้ระบบสามารถใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 Software ทีใ่ ช้กบั อุปกรณ์ต่างๆในโครงการนี้จะต้องเป็ น Software ทีม่ ลี ขิ สิทธิถู์ กต้องจากบริษทั ผูผ้ ลิต
4.4 ระบบทีน่ ําเสนอต้องรองรับการเพิม่ ขยายระบบให้ครอบคลุมความต้องการของหน่วยงานในอนาคตได้
4.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องแนบรายละเอียด (Catalog) ของอุปกรณ์ทเ่ี สนอ เพื่อประกอบการพิจารณา โดยจัดทําตาราง
เปรียบเทียบข้อกําหนดรายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละรายการให้พจิ ารณา
4.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแบบการติดตัง้ ระบบให้เป็ นไปตามแบบหรือข้อกําหนด โดยให้คณะกรรมการตรวจการ
จ้างและผูค้ วบคุมงาน เห็นชอบก่อนดําเนินการติดตัง้ กรณีจาํ เป็ นต้องเปลีย่ นแปลงจุดติดตัง้ เพือ่ ความ
เหมาะสมต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อน
4.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันอุปกรณ์เป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ตลอดเวลารับประกัน พร้อมทัง้ ให้การอบรม
การใช้อุปกรณ์ต่างๆ แก่พนักงานผูด้ แู ลรับผิดชอบของโครงการจนสามารถเข้าใจระบบการทํางานต่างๆ ได้ดี
5. ขอบเขตของการดาเนิ นงาน และคุณลักษณะเฉพาะ
5.1 ความต้องการทัวไป ่
(1) ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและติดตัง้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด (CCTV) พร้อมอุปกรณ์ประกอบต่างๆ สําหรับ
ดูแลบันทึกเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในบริเวณต่างๆ และติดตัง้ บน Top-Desk Rack ในห้องรักษาความ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 435 of 521

ปลอดภัยของอาคารตามทีแ่ สดงในแบบ โดยทีว่ สั ดุและอุปกรณ์หลักทีใ่ ช้ในระบบ CCTV ได้แก่ กล้อง


และ CCTV Controller (Digital Video Recorder) ต้องได้รบั การรับรองจาก UL หรือ CE
(2) ระบบ CCTV ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ อย่างน้อยดังนี้
- กล้อง (Camera)
- เลนส์ (Lens)
- จอภาพ (Monitor)
- เครื่องบันทึกภาพแบบดิจติ อล CCTV Controller (Digital Video Recorder, DVR)
- Cabling System
- Storage Backup
- โปรแกรมบริหารจัดการ
5.2 กล้องโทรทัศน์วงจรปิ ด (Camera)
(1) เป็ นอุปกรณ์เปลีย่ นแสงให้เป็ นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อส่งต่อให้อุปกรณ์ปลายทาง โดยทีก่ ารทํางานของ
วงจรภายใน
(2) เป็ นแบบ 960H และมีอายุการใช้งานนาน
(3) เป็ นกล้องโทรทัศน์สี ระบบ PAL มี Imager เป็ นแบบ CMOS ขนาดหน้ากล้อง 1/3 นิ้ว Resolution
up to 720 TVL
(4) ประกอบด้วย Smart IR, High Dynamic Range
(5) เป็ นกล้องชนิด Night Scene ให้ภาพเป็ นระบบสีเมื่อแสงมีระดับสูง และสามารถเปลีย่ นการแสดงภาพ
เป็ น ขาว-ดํา เมื่อระดับแสงลดลง เพื่อให้ได้ภาพทีม่ คี วามชัดเจนในเวลากลางคืน
(6) อัตราส่วนสัญญาณภาพต่อสัญญาณรบกวน (S/N) ไม่ต่ํากว่า 62 dB
(7) ช่วงอุณหภูมใิ ช้งาน -40 ถึง 60ºC หรือดีกว่า
(8) ความไวแสงตํ่าสุดของกล้อง 0.14 Lux สําหรับ Color Mode และความไวแสงตํ่าสุดของกล้อง 0 Lux
สําหรับ Night Scene, IR ON (Monochrome)
(9) ความละเอียดของภาพไม่น้อยกว่า 720 TV-Line Horizontal
(10) Synchronization สามารถใช้ Internal Synchronization ได้
(11) ใช้ระบบไฟฟ้าทีแ่ รงดันสลับ 220 โวลท์ 50 เฮิรท์ หรือ 12 โวลท์ 50 เฮิรท์
(12) หรือมี Housing สําหรับครอบหรือบรรจุกล้องและเลนส์
- Housing ชนิด Mini Dome ใช้ในลิฟต์โดยสาร และลิฟต์บรรทุกของ
- Housing เป็ นแบบ weatherproof ใช้ในบริเวณภายนอกอาคาร หรือบริเวณทีฝ่ นสาดถึง
- Housing ชนิด Dome ใช้ในพืน้ ทีท่ วไป
ั่
5.3 เลนส์ (Lens)
เป็ นอุปกรณ์รบั แสงเพื่อให้ CCD หรือ CMOS ในกล้อง แปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยทีส่ ามารถปรับสภาพ
ช่องรับแสงโดยอัตโนมัติ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้
(1) Fixed Lens - Vari- Focal Length Type
- Format Size 1/3-inch
- Focal Length 2.8-12 mm. (ประมาณ) หรือดีกว่า
- F 1.4 หรือดีกว่า
- Angle of View Horizontal > 30º

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 436 of 521

(2) เลนส์ ทีใ่ ช้ในลิฟต์ ให้ใช้เลนส์ขนาด (ประมาณ) 3.6 mm. หรือดีกว่า เพื่อให้การจับภาพในห้อง
โดยสารลิฟต์เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
5.4 จอภาพ (Monitor)
เป็ นอุปกรณ์แปลงสัญญาณไฟฟ้า ให้เป็ นภาพทีส่ ามารถดูได้
(1) ชนิด LCD (Color Monitor) ขนาดไม่ต่ํากว่า 23 นิ้ว
(2) ภาพทีแ่ สดงออกทางจอภาพ ต้องมีหมายเลขกล้อง วัน และเวลา ฯลฯ เพื่อให้ผคู้ วบคุมทราบ
ตําแหน่งภาพบนจอภาพ
(3) แรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ 220 โวลท์, 50 เฮิรท์
5.5 เครื่องบันทึกภาพแบบดิจติ ลั CCTV Controller (Digital Video Recorder, DVR)
(1) เป็ น Digital Video Recorder และ Multiplex ในเครื่องเดียวกัน
(2) บันทึกภาพเหตุการณ์เป็ นแบบดิจติ อลลงใน Hard Disk ทีอ่ ยู่ภายในตัวเครื่อง โดยสามารถบันทึก
เฉพาะภาพทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงและภาพขณะทีเ่ กิด Alarm ขึน้
(3) สามารถทําการบันทึกภาพของกล้องแต่ละกล้องได้อย่างอิสระทัง้ อัตราการบันทึกภาพและ ความ
ละเอียดของภาพ
(4) สามารถแสดงภาพทีบ่ นั ทึกไว้พร้อม ๆ กับทําการบันทึกภาพปจจุ ั บนั ได้โดยไม่รบกวนกัน
(5) สามารถแสดงภาพทีบ่ นั ทึกไว้ในอดีตได้โดยการกําหนด Time/Date Search หรือ Event Search
หรือ Alarm Search ได้
(6) สามารถแสดงผลของภาพได้ถงึ 400(PAL) fps. ต่อ 16 กล้อง
(7) สามารถแสดงผลการบันทึกภาพได้ถงึ 400(PAL) fps. ต่อ 16 กล้อง
(8) สามารถเชื่อมต่อกับระบบ Network ต่างๆ Standard LAN (Ethernet TCP/IP), ADSL, WAN ได้
(9) สามารถควบคุมการทํางานของกล้อง (หมุน-ส่าย, ก้ม-เงย, การซูมภาพ) จากตัวเครื่อง DVR หรือ
จากระยะไกลโดยผ่านทาง Network ได้
(10) สามารถควบคุมและตัง้ ค่า Configuration ต่างๆ จากอุปกรณ์ควบคุมทีส่ ว่ นกลางได้ เพื่อความสะดวก
ของผูใ้ ช้งาน
(11) สามารถรองรับการแสดงผลบนจอภาพ แบบ 2D/3D
(12) ระดับแรงดันขาเข้าอยู่ระหว่าง 220 – 230 โวลท์กระแสสลับ 50 Hz
(13) ระดับสัญญาณภาพ (Composite Video) ขาเข้า 0.5 Vp-p ถึง 2.0 Vp-p
(14) ขนาดของ Hard Disk ไม่น้อยกว่า 500 GB และรองรับการขยายได้ไม่น้อยกว่า 2000 GB
(15) สามารถเลือกอัตราการบันทึกภาพได้หรือการบันทึกภาพแบบ Real Time
5.6 Cabling System
เป็ นระบบสายสัญญาณทีส่ ง่ สัญญาณจากกล้องไปยัง DVR ทีอ่ ยูห่ ่างออกไป โดยใช้สาย Coaxial Cable หรือ
ตามทีผ่ ผู้ ลิตกําหนด
5.7 Storage Backup
เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้จดั เก็บข้อมูลเพื่อเพิม่ พืน้ ทีใ่ นการจัดเก็บข้อมูล ซึง่ มีพน้ื ทีใ่ นการจัดเก็บข้อมูลไม่ต่ํากว่า 1.6
TB และรองรับการเชื่อมต่อระหว่าง Storage Backup กับเครื่องบันทึกภาพแบบดิจติ ลั
5.8 อุปกรณ์อ่นื ๆ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาพร้อมติดตัง้ แหล่งจ่ายไฟ UPS เพื่อใช้งานสําหรับระบบ CCTV ทีเ่ สนอ ในห้อง Control
Room ทัง้ หมด โดยมีพกิ ดั ขนาดของแบตเตอรีส่ าํ รองไม่น้อยกว่า 15 นาที

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 437 of 521

6. การติ ดตัง้
6.1 หากมิได้กาํ หนดไว้เป็ นอย่างอื่น ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการจัดหาติดตัง้ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้อ่นื ๆ
ทัง้ หมด ให้เป็ นไปตามรูปแบบและรายการข้อกําหนดของสัญญา ตําแหน่งติดตัง้ ตามทีก่ าํ หนดในแบบอาจ
เปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้อาจมีบางจุดทีจ่ าํ เป็ นต้องจัดหาและติดตัง้ เพิม่ เติมเพื่อให้งาน
ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ดและระบบควบคุมการเข้าออกเรียบร้อยสมบูรณ์เป็ นไปตามหลักวิชาการ ผูร้ บั จ้าง
จะต้องดําเนินการโดยค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
6.2 ผูร้ บั จ้างต้องศึกษาแบบและรายละเอียดของงานด้านสถาปตั ยกรรม โครงสร้างอาคาร ระบบปรับอากาศ
ระบบสุขาภิภาล และงานระบบอืน่ ๆ ของเดิม ทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อให้แน่ใจว่าวัสดุและอุปกรณ์สามารถติดตัง้ ได้ใน
แนวหรือพืน้ ทีท่ ก่ี าํ หนดไว้ โดยคํานึงถึงลักษณะการใช้งานของอุปกรณ์แต่ละระบบและสอดคล้องกับงานทาง
สาขาอื่น ซึง่ ตําแหน่งของวัสดุและอุปกรณ์ทป่ี รากฎในแบบเป็ นตําแหน่งโดยประมาณ สามารถเปลีย่ นแปลง
ได้ตามความเหมาะสม โดยความยินยอมจากคณะกรรมการตรวจรับงานจ้าง
6.3 การติดตัง้ ในพืน้ ทีท่ ต่ี อ้ งดําเนินการรือ้ ถอน เปลีย่ นแปลง หรือเคลื่อนย้าย วัสดุอุปกรณ์ของเดิม เช่นผนัง ฝ้า
เพดาน ครุภณ ั ฑ์สาํ นักงาน ฯลฯ ผูร้ บั จ้าง ต้องปฏิบตั งิ านด้วยความระมัดระวังเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหาย
ทัง้ นี้ ภายหลังการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบในการดําเนินการซ่อมแซมผนัง ฝ้า เพดาน สีของผนังและฝ้า
เพดาน รวมถึงวัสดุอุปกรณ์อ่นื ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ หมดให้เรียบร้อยตามความเห็นของผูว้ ่าจ้างหรือตัวแทนผู้
ว่าจ้าง
6.4 ก่อนการดําเนินการ ให้ผรู้ บั จ้างจัดทําแบบทํางานแสดงรายละเอียดการติดตัง้ (Shop Drawing) รายละเอียด
ตามตําแหน่งแนวท่อร้อยสาย วางเดินสาย ชนิด ขนาด จํานวนสายและท่อร้อยสาย และรายละเอียดอื่นๆ ที่
เกีย่ วข้อง พร้อมวิศวกรลงนามเสนอให้ผวู้ ่าจ้างพิจารณาเห็นชอบก่อนดําเนินการติดตัง้ จํานวน 3 ชุด หรือ
จํานวนตามทีผ่ วู้ ่าจ้างกําหนด
6.5 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําแบบแสดงการติดตัง้ จริง (As built Drawing) โดยมีวศิ วกรผูค้ วบคุมการติดตัง้ ของผูข้ ายลง
นามรับรองในแบบประกอบด้วยกระดาษไข 1 ชุด สําเนา 3 ชุด พร้อม CD ส่งมอบผูซ้ อ้ื ก่อนส่งมอบงานงวด
สุดท้าย
6.6 ผูร้ บั จ้างต้องใช้ชา่ งฝีมอื ทีม่ คี วามชํานาญในสาขานี้โดยเฉพาะเป็ นผูท้ าํ การติดตัง้
6.7 ผูร้ บั จ้างต้องมีวศิ วกรควบคุมการติดตัง้ ทีไ่ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ตาม พรบ.
วิศวกร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า แขนงไฟฟ้ากําลัง หรือไฟฟ้าสือ่ สารอย่างน้อย 1 คน
6.8 สายสัญญาณระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด ให้ใช้สายชนิด RG – 6 และ/หรือ UTP Cat 6 หรือดีกว่า ชนิดใช้ภายใน
อาคารหรือชนิดภายนอกอาคารตามลักษณะของงาน เดินร้อยในท่อร้อยสายโลหะ (EMT) และ/หรือ ท่อโลหะ
อ่อน (Flexible Conduit) และหรือรางเดินสาย ท่อร้อยสาย ข้อต่อท่อและกล่องต่อสาย ทีต่ ดิ ตัง้ ภายนอก
อาคารให้ใช้ชนิดกันนํ้า โดยลักษณะการติดตัง้ ให้ยดึ ถือและปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรับ
ประเทศไทยฉบับล่าสุด
6.9 กรณีทม่ี เี หตุสดุ วิสยั มีความจําเป็ นต้องใช้สายสัญญาณอื่นนอกเหนือจากข้อกําหนด เช่น สัญญาณภาพไม่
คมชัด ระยะสายยาวกว่ามาตรฐานของสายสัญญาณทีร่ บั ได้ ให้ผรู้ บั จ้างชีแ้ จงเหตุผลพร้อมแสดงเอกสารการ
เปรียบเทียบเสนอผูซ้ อ้ื เพื่อพิจารณาอนุมตั เิ ป็ นกรณีไป โดยค่าใช้จ่ายในการนี้เป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
6.10 สายไฟฟ้าให้ใช้สาย THW หรือดีกว่า ขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.มม. พร้อมสายดินขนาดไม่เล็กกว่า 2.5 ตร.ม
ม. เดินร้อยในท่อร้อยสายโลหะ (EMT) และ/หรือ ท่อโลหะอ่อน (Flexible Conduit) และหรือรางเดินสาย ท่อ
ร้อยสาย ข้อต่อท่อและกล่องต่อสาย ทีต่ ดิ ตัง้ ภายนอกอาคารให้ใช้ชนิดกันนํ้า โดยลักษณะการติดตัง้ ให้ยดึ ถือ
และปฏิบตั ติ ามมาตรฐานการติดตัง้ ทางไฟฟ้าสําหรับประเทศไทยฉบับล่าสุด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 438 of 521

6.11 สายสัญญาณของระบบควบคุมการเข้าออก (Access Control System) ให้ใช้ตามทีผ่ ผู้ ลิตแนะนํา (ถ้ามี)


6.12 สายสัญญาณและสายไฟฟ้า ของระบบโทรทัศน์วงจรปิ ดและระบบควบคุมการเข้าออก ห้ามเดินรวมในท้อ
ร้อยสายและรางเดินสายเดียวกัน
6.13 ผูข้ ายต้องจัดทํา WIRE MARKER ในการต่อเชื่อมสายกับอุปกรณ์ทต่ี ูแ้ ร๊คทัง้ หมด พร้อมรัดสายให้เรียบร้อย
ตามความเห็นของผูว้ ่าจ้าง
7. การทดสอบ
หลังจากการติดตัง้ แล้วเสร็จผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการทดสอบการทํางานของระบบทัง้ หมดต่อหน้าผูว้ ่าจ้างหรือตัวแทน
ของผูว้ ่าจ้างตามวิธกี ารและรายละเอียดทีผ่ วู้ ่าจ้างกําหนด ทัง้ นี้ผรู้ บั จ้างต้องเสียค่าใช้จ่ายในการทดสอบและแก้ไข
วัสดุและอุปกรณ์กรณีทเ่ี กิดความเสียหายจากการทดสอบทัง้ หมดเอง
8. หนังสือคู่มือและการฝึ กอบรมการใช้งาน
8.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทําหนังสือคูม่ อื ในการใช้งานและการบํารุงรักษาวัสดุอุปกรณ์เป็ นภาษาไทยพร้อมกับฝึกอบรม
ให้ผซู้ อ้ื มีความสามารถในการใช้และบํารุงรักษาอย่างถูกต้อง
8.2 ผูร้ บั จ้างต้องทําการฝึกอบรมผูด้ แู ลระบบ (Admin) จํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน เพื่อดูแลปรับปรุงแก้ไขระบบ
รวมทัง้ เครื่องมืออุปกรณ์เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
8.3 ผูร้ บั จ้างต้องทําการฝึกอบรมการใช้งานแก่ผใู้ ช้ระบบจํานวนไม่น้อยกว่า 2 คน ให้สามารถใช้งานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
9. การจัดทาเอกสารและป้ ายชื่อก่อนส่งมอบงาน
9.1 จัดทํารายละเอียดวัสดุอุปกรณ์ รหัส หมายเลขเครื่อง รุ่น ผลิตภัณฑ์ จํานวน ผลการทดสอบ ส่งมอบผูว้ ่าจ้าง
ก่อนส่งมอบงาน โดยรหัสหมายเลขเครื่องให้แสดงในแบบ As built drawing ด้วย
9.2 รวบรวมและจัดทําเอกสารแสดงการนําเข้าของสินค้าและเสียภาษีอย่างถูกต้องรายชื่อตัวแทนจําหน่ายใน
ประเทศ และอื่นๆ ตามทีผ่ ซู้ อ้ื กําหนด
9.3 ทําป้ายชื่อติดแสดงทีต่ วั อุปกรณ์หลัก ภายในห้องควบคุมทัง้ หมด

10. ข้อขัดแย้ง
10.1 หากรูปแบบ และ/หรือ รายการประกอบแบบมีขอ้ ขัดแย้งกัน การตีความในข้อขัดแย้งใดๆ จะตีความไปใน
แนวทางวัสดุ และ/หรืออุปกรณ์ทม่ี คี ุณภาพดีกว่า และ/หรือมีจาํ นวนสมบูรณ์ครบถ้วนกว่า ตามข้อวินิจฉัยของ
ผูซ้ อ้ื เป็ นข้อยุติ
10.2 การเสนอราคาและเอกสารเป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง กรณีภายหลังพบว่าผูร้ บั จ้างเสนอวัสดุอุปกรณ์
จํานวนไม่ครบถ้วนตามรูปแบบและรายการ ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและติดตัง้ ให้ครบถ้วนโดยไม่มเี งือ่ นไข

จบหมวดที่ 76

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 439 of 521

หมวดที่ 77
ระบบควบคุมการเข้าออก (ACCESS CONTROL SYSTEM)

1. ความต้องการทัวไป

ข้อกําหนดโดยทัวไปจะครอบคลุ
่ มถึงการจัดหา, การติดตัง้ , การทดสอบอุปกรณ์และสายสัญญาณของ
ระบบรวมไปถึงวัสดุอุปกรณ์ต่างๆทีจ่ ะสามารถใช้งานได้อย่างสมบูรณ์นอกจากนี้ยงั รวมถึงคู่มอื , Auto CAD
File, แบบและรายงานการทดสอบ
2. ขอบเขตการทางาน

ขอบเขตการทํางานจะครอบคลุมถึงการจัดหาติดตัง้ ทดสอบและจัดจ้างของอุปกรณ์ต่างๆทีแ่ สดงในแบบหรือ


ระบุในทีน่ ้เี พื่อการใช้งานได้อย่างสมบูรณ์
1. ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ อุปกรณ์และสายสัญญาณระบบDigital Signageโดยผูต้ ดิ ตัง้ ทีม่ ปี ระสบการณ์และทําการ
ทดสอบเพื่อให้ระบบDigital Signageทีต่ ดิ ตัง้ ตามโครงการนี้สามารถทํางานได้โดยไม่มปี ญหาใด ั ๆ
2. ผูร้ บั จ้างต้องทําตารางเปรียบเทียบคุณสมบัตติ ่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ทเ่ี สนอกับคุณสมบัตทิ างเทคนิคตาม
ข้อกําหนดรายการประกอบแบบ
3. ผูร้ บั จ้างจะต้องดําเนินการติดตัง้ สายเคเบิล สายไฟฟ้า สายดิน รวมทัง้ ระบบพร้อมอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องเข้ากับ
ระบบไฟฟ้า ระบบเคเบิลต่างๆ ภายในอาคารสถานทีต่ ดิ ตัง้ ระบบและทีเ่ กีย่ วข้องกับการทํางานของระบบที่
เสนอรวมทัง้ อุปกรณ์ทต่ี อ้ งใช้ทงั ้ หมด โดยคํานึงถึงมาตรฐานการเดินสายไฟฟ้าสายเคเบิลและสายดินเป็ นหลัก
ทัง้ นี้จะต้องมอบแผนผังรายละเอียดการติดตัง้ สายไฟฟ้า สายเคเบิล สายดิน ให้แก่ตวั แทนผูว้ ่าจ้าง/เจ้าของ
โครงการด้วย
4. ผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการฝึกอบรมเจ้าหน้าทีท่ ค่ี วบคุมและบํารุงรักษาเครื่องหรือตัวแทนผูว้ ่าจ้าง/เจ้าของ
โครงการให้สามารถใช้งานและสามารถบํารุงรักษาเครื่องได้อย่างถูกต้อง
5. ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพและมาตรฐานการติดตัง้ ทีร่ ะบุในสัญญาเป็ นระยะเวลา 2 ปี หลังจาก
การเริม่ ใช้งานระหว่างเวลารับประกันผูร้ บั จ้างต้องดําเนินการทันทีทไ่ี ด้รบั แจ้งเมื่ออุปกรณ์ต่างๆชํารุดหรือ
เสียหายอุปกรณ์ไม่ถูกต้องมีคุณภาพตํ่ากว่าข้อกําหนดโดยผูร้ บั จ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดการบริการซ่อมบํารุงในกรณีฉุกเฉินนอกเหนือจากเวลาทํางานปกติดว้ ย

3. ความต้องการทางด้านเทคนิ ค

อุปกรณ์ Access Control Finger Scan and RFID

1.1 คุณสมบัติเฉพาะและข้อกาหนดทางด้านเทคนิ ค อุปกรณ์ ควบคุมการเข้า-ออก(Access Control) แต่ละจุดมี


คุณสมบัตไิ ม่น้อยกว่าดังต่อไปนี้
1.1.1 จะต้องเป็ นเครื่องควบคุมการผ่านเข้า-ออก และ บันทึกเวลา ด้วยลายนิ้วมือและหรือไอดีการ์ดชนิด
Mifare ได้ (RFID)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 440 of 521

1.1.2 รองรับผูใ้ ช้งานได้ไม่น้อยกว่า 1,000 คน และ บันทึกลายนิ้วมือได้ 2,000 ลายนิ้วมือ


1.1.3 ใช้เซนเซอร์อ่านลายนิ้วมือ แบบ Optical ความละเอียดไม่น้อยกว่า500 dpi
1.1.4 บันทึกข้อมูลการเข้า-ออกได้ 10,000 รายการ ในตัวเครื่อง
1.1.5 รองรับการระบุตวั ตนด้วย ลายนิ้วมือ, บัตรสมาร์ทการ์ด หรือ รหัสส่วนตัว
1.1.6 สามารถตัง้ ค่าให้ระบุตวั ตน ด้วยบัตรคู่กบั ลายนิ้วมือ หรือ บัตรคูก่ บั รหัสส่วนตัว ได้
1.1.7 มีหน่วยความจําสําหรับเก็บข้อมูลอยู่ภายในเครื่อง
1.1.8 รองรับการสังงานผ่
่ านอินเทอร์เน็ตในรูปแบบของหน้าเว็ปไซต์
1.1.9 รองรับ Static / Dynamic IP
1.1.10 ใช้ Network Protocol แบบ HTTP, TCP/IP
1.1.11 Network Interface: Fast Ethernet (100 Base-T)
1.1.12 เครื่องอ่านลายนิ้วแต่ละเครื่องสามารถต่อเชื่อมกันเป็ นเครือข่าย และส่งผ่านข้อมูลถึงกันได้อตั โนมัติ
1.1.13 สามารถกําหนดสิทธิการผ่์ านเข้า-ออก, เพิม่ , ระงับ หรือ ยกเลิกผูใ้ ช้ ผ่านอินเทอร์เน็ตโดยไม่ตอ้ งใช้
โปรแกรมเสริม
1.1.14 สามารถทํางานบนระบบปฏิบตั กิ าร Macintosh, Window 95/98/NT/ME/XP, Linux
1.1.15 สามารถ ควบคุม กลอนไฟฟ้า, สวิทช์เปิ ดประตู, เซนเซอร์ตรวจสถานะประตู และ สัญญาณเตือนภัย
ได้
1.1.16 มีแบตเตอรีส่ าํ รองสามารถสํารองไฟฟ้าได้อย่างน้อย 24 ชัวโมง ่
1.1.17 นาฬิกาภายในเครื่องสามารถทํางานนานได้ถงึ 48 ชัวโมง ่ ในกรณีไฟดับ
1.1.18 จอแสดงผลแบบแอลซีดี แสดงผลได้ 2 บรรทัดๆ ละ 16 ตัวอักษร
1.1.19 คุณสมบัตทิ างเทคนิคเฉพาะดังนี้
1.1.19.1 Fingerprint scan area: 12 x 15 mm.
1.1.19.2 Image Capture time: < 1 sec.
1.1.19.3 Verification time: < 1 sec.
1.1.19.4 False Rejection Rate: < 1%
1.1.19.5 False Acceptance Rate: 0.01%
1.1.19.6 มี Wiegand output
1.1.20 ได้รบั มาตรฐาน CE, FC

1.2 การติ ดตัง้ และการใช้งาน


1.2.1 ติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าห้องจํานวน12จุดและสามารถรองรับผูใ้ ช้งานได้ไม่น้อยกว่า 20,000 คน พร้อมๆ
กัน และใช้ฐานข้อมูลผูใ้ ช้งานตัวเดียวกัน
1.2.2 ติดตัง้ อุปกรณ์จบั ล็อคประตูดว้ ยสนามแม่เหล็ก (Electromagnetic Lock) โดยจะต้องทนแรงดึงได้ไม่
น้อยกว่า 600 lbs. (ปอนด์)
1.2.3 กรณีมปี ระตูมี 2 บาน อาจจะต้องติดอุปกรณ์จบั ล็อคประตูดว้ ยสนามแม่เหล็ก (Electromagnetic Lock)
ไว้ทงั ้ 2 บาน ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ความเหมาะสมในการใช้งาน และดุลยพินิจของกรรมการตรวจรับพัสดุ
1.2.4 กรณีทป่ี ระตูไม่มอี ุปกรณ์บงั คับประตูให้ปิด (โช๊คอัพประตู) จะต้องติดตัง้ อุปกรณ์บงั คับประตูให้ปิดด้วย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 441 of 521

1.2.5 จะต้องทําการติดตัง้ Exit Push Button ไว้ดา้ นในห้อง ของแต่ละประตูๆ อย่างน้อย 1 ชุด หรือ 2 ชุดก็
ได้ทงั ้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ความเหมาะสมในการใช้งาน และดุลยพินจิ ของกรรมการตรวจรับพัสดุ
1.2.6 จะต้องทําการติดตัง้ Break glass call point สีแดง ไว้ดา้ นนอกห้อง ของแต่ละประตูๆ 1 ชุด
1.2.7 จะต้องทําการติดตัง้ พร้อมเดินสายสัญญาณต่าง ๆ ให้ ระบบสามารถใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์
1.2.8 การเดินสายสัญญาณทุกชนิดจะต้องเดินในท่อร้อยสายเป็ นไปตามมาตรฐานและตามหลักวิศวกรรม
1.2.9 จะต้องทําการติดตัง้ Access Control เข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.2.10 ติดตัง้ โปรแกรมควบคุมสําหรับการบริหารจัดการการระบบควบคุมการเข้าห้อง

จบหมวดที่ 77

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 442 of 521

หมวดที่ 78
ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ (BUILDING AUTOMATION SYSTEM)

1. ขอบเขตงาน
1.1 ผูว้ ่าจ้างจะต้องจัดหาและจัดทําแบบรายละเอียด ติดตัง้ และทดสอบเครื่องอุปกรณ์ระบบควบคุมอาคาร
อัตโนมัตแิ ละอื่นๆ ซึง่ ติดตัง้ ทัง้ ภายนอกและภายในอาคารดังแสดงไว้ในแบบและข้อกําหนด เพื่อให้ใช้งานได้
สมบูรณ์และถูกต้องตามความประสงค์ของเจ้าของโครงการ
1.2 ผูร้ บั จ้างต้องติดตัง้ และจัดหาระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ ให้ทาํ งานได้ตามทีร่ ะบุในข้อกําหนดทัวไปทุ
่ ก
ประการ
1.3 ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัตติ อ้ งติดต่อสือ่ สารโดยใช้ Protocol แบบเปิ ด (Open Protocol) ได้แก่
LonTalkTM หรือ BACnet เพื่อสังงาน ่ และตรวจสอบระบบดังนี้
(1) ระบบปรับอากาศ และระบบระบายอากาศ ควบคุม และ/หรือ ตรวจสอบการทํางานของ Heat
rejection plant, Chilled water plant, General air condition unit, Exhaust system และ
Ventilation system
(2) ระบบไฟฟ้าและสือ่ สาร ควบคุม และ/หรือ ตรวจสอบการทํางานของ Standby generator system
และ Power distribution system
(3) ระบบสุขาภิบาลและดับเพลิง ตรวจสอบสภาวะ และ/หรือ สังงาน ่ Main water supply, Fire
protection system, Waste treatment plant, Drainage sump
(4) ระบบแจ้งเหตุและเตือนภัยเพลิงไหม้ ตรวจสอบสภาวะของ ALARM
(5) ระบบ Environmental conditions ตรวจสอบ และ/หรือ สังงาน ่ โดยการอ่านค่าของอุณหภูมคิ วามชืน้
แล้วสังงานอุ
่ ปกรณ์อ่นื ๆ เพื่อคงสภาวะแวดล้อมทีเ่ หมาะสมกับการทํางานต่อไป
1.4 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและประสานงานกับระบบไฟฟ้า เพื่อให้ได้พลังงานไฟฟ้าตามขนาด, ชนิด และตําแหน่งที่
ระบุในแบบ หรือตามความต้องการของอุปกรณ์นนั ้ ๆ เพื่อให้ระบบทํางานอยูต่ ลอด 24 ชัวโมง ่
1.5 การทํางานเชื่อมโยงกับระบบอื่นๆ ทีเ่ กีย่ วข้องในกรณีทต่ี ดิ ต่อด้วย Low level interface (AI, AO, DI, DO)
ให้ตดั ความรับผิดชอบของการติดตัง้ ตามทีร่ ะบุใน Summation BAS point schedule
1.6 การปรับแต่งและ Test ระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ จัดปรับแต่ง และทดสอบตามเอกสารข้อกําหนด
2. รายละเอียดการเสนอราคา
2.1 ผูเ้ สนอราคาต้องเสนอราคา โดยชีแ้ จงแสดงรายละเอียดอุปกรณ์ลงใน Technical Data และระบุบริษทั ผูผ้ ลิต
วัสดุอุปกรณ์ทุกประเภทและประเทศผูผ้ ลิต ให้เสนออุปกรณ์มากทีส่ ดุ ไม่เกิน 3 ผลิตภัณฑ์
2.2 ผูเ้ สนอราคาต้องเสนอ Catalog หรือ Brochure ประกอบกับใบเสนอราคาในวันเสนอราคา
2.3 ผูเ้ สนอราคาต้องส่งประวัตผิ ลงานการติดตัง้ และวัสดุอุปกรณ์ทเ่ี คยติดตัง้ ไว้ ณ สถานทีใ่ ดแล้วบ้าง
2.4 ผูเ้ สนอราคาจะต้อง จัดส่งรายละเอียดแสดงระบบการทํางานเป็ นขัน้ ตอนของอุปกรณ์ แต่ละชนิดมี
รายละเอียดการบํารุงรักษา
2.5 ผูเ้ สนอราคาจะต้องเสนอประเภท และจํานวนของอุปกรณ์ อะไหล่ (Spare parts) เครื่องมือ (Tool) และเครื่อง
ทดสอบทีจ่ าํ เป็ นตามข้อแนะนําของโรงงานผูผ้ ลิต

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 443 of 521

3. ข้อกาหนดทัวไป ่
ข้อความทีร่ ะบุในหัวข้อนี้เป็ นข้อความสรุปความต้องการขัน้ ตํ่าของระบบหากจะต้องเปลีย่ นแปลงรูปแบบของระบบ
หรือเพิม่ เติมอุปกรณ์อ่นื ใด เพื่อให้เป็ นไปตามรายละเอียดข้างล่างนี้ ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งให้ผอู้ อกแบบทราบล่วงหน้า
ก่อนทีจ่ ะดําเนินการ ซึง่ หากไม่มกี ารแจ้งให้ทราบ ให้ถอื ว่ารายละเอียดต่อไปนี้ เป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
โดยไม่อาจคิดค่าใช้จ่ายจากผูว้ า่ จ้างได้
3.1 GENERAL
(1) ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ทีจ่ าํ เป็ นในระบบ BAS ซึง่ จะต้องประกอบไปด้วย Direct
Digital Controller (DDC) ทีส่ ามารถติดต่อสือ่ สารกับอุปกรณ์อน่ื ๆ ด้วยความเร็วสูงแบบ Peer-to-
peer, Network Controller และ Workstation with Graphical User Interface (GUI) ทีส่ ามารถ
แสดงผลไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ลกู ข่ายอื่นๆ โดยเครือข่าย LAN
(2) BAS. มีหน้าทีร่ ายงานผลและควบคุมระบบทางวิศวกรรมต่างๆ ของอาคารทีถ่ ูกระบุให้ทาํ การรายงาน
ผลและควบคุม
(3) การติดต่อสือ่ สารในระดับอุปกรณ์ DDC จะต้องเป็ นระบบเปิ ด (Open Protocol) ตามมาตรฐาน EIA
standard 709.1, LonTalkTM protocol หรือมาตรฐาน ANSI/ASHRAETM standard 135-1995,
BACnet minimum level 3 compliance โดยทีร่ ะบบจะต้องสามารถสือ่ สารกับทัง้ สองมาตรฐานได้
เพื่อความสะดวกในการ Integrate กับระบบอื่นๆ
(4) Local Area Network (LAN) ในระบบ BAS จะต้องเป็ นระบบ Ethernet ทีม่ คี วามเร็วไม่ต่ํากว่า
10/100 Mbps และ สนับสนุน BACnet, HTTP, HTML และ XML เพื่อความสะดวกในการ
ติดต่อสือ่ สารกับ Controller และเครื่องคอมพิวเตอร์อ่นื ๆ ทีเ่ ชื่อมต่อกับระบบ โดยไม่ตอ้ งเพิม่ อุปกรณ์
เฉพาะทีเ่ ป็ น Proprietary Gateway
(5) PC Workstation ประกอบด้วย CPU, Monitor, Keyboard, Disk-drive และ Printer ติดตัง้ อยู่ท่ี
Control room และให้มี Portable Operator’s Terminal ใช้ตดิ ต่อกับ DDC และ NC ต่างๆ ได้
(6) การแสดงผลบนจอภาพและเครือ่ งพิมพ์ สามารถแสดงได้ทงั ้ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
(7) การรับรูส้ ถานการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เมื่อมีการแจ้ง Alarm ให้กระทําผ่าน Keyboard ได้
(8) ระบบจะต้องยินยอมให้ ผูค้ วบคุมระบบสามารถเปลีย่ นแปลงสูตรคํานวณต่างๆ ได้จาก PC
Workstation หรือ Portable Operator’s Terminal (POT)
(9) ผูใ้ ช้ตอ้ งสามารถเข้าสูร่ ะบบได้โดยใช้ Internet Browser ทีม่ มี ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ทวไป ั ่ โดยไม่
ต้องใช้โปรแกรมอื่นเข้ามาเสริม
(10) การเก็บข้อมูลต่างๆ จะต้องถูกจัดเก็บในรูปมาตรฐานเท่านัน้ ได้แก่ Open Database Connectivity
(ODBC) หรือ Structure Query Language (SQL)
3.2 OPERATOR PRIVILEGE
ระบบจะต้องแยกระดับความสําคัญ ขอบเขตการเข้าถึงระบบในระดับต่างๆ กันดังนี้
(1) ระบุ เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใดทีอ่ นุญาตให้สามารถเรียกหรือสังงานระบบได้

(2) แบ่งแยกระดับของผูค้ วบคุม เพือ่ ระบุขอบเขตของอุปกรณ์ทส่ี ามารถสังงานและตรวจสอบรายงานได้

(3) Function ใดบ้าง ของระบบทีผ่ คู้ วบคุมสามารถสังงานได้ ่
(4) แก้ไขระดับของผูค้ วบคุม หรือยกเลิกได้
3.3 MONITORING SYSTEM
การแสดงผลและรายงานของ BAS จะต้องแสดงรายละเอียด ดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 444 of 521

(1) สถานะของอุปกรณ์ต่างๆ
(2) แสดงชนิด ประเภทของปญหาขั ั ดข้องทีเ่ กิดขึน้ ขณะ Alarm
(3) แสดงตําแหน่งของเหตุการณ์โดยละเอียด เป็ นตัวอักษร (แสดงห้อง พิกดั ตําแหน่ง) หรือรูปภาพ
แผนภูมิ ตามทีร่ ะบุในแต่ละระบบ ขณะทีเ่ กิด Alarm
(4) แนะนํา ขัน้ ตอน วิธปี ฏิบตั เิ พื่อแก้ไขปญั หาทีเ่ กิดขึน้
3.4 GENERAL AIR CONDITONING UNITS
(1) FCU., AHU., Split-type ทุกตัว ต้องถูกควบคุมหรือตรวจสอบสถานะโดย BAS.
(2) การปรับตัง้ ค่าอุณหภูมิ SET POINT ของเครื่อง FCU., AHU., (ส่วนกลาง) ให้ทาํ ได้ท่ี Keyboard
ของ Workstation
(3) BAS. สามารถสังเปิ ่ ด/ปิ ดอุปกรณ์ตามตารางเวลา (Time schedule)
(4) ในบางห้อง เช่น ห้องประชุม ให้ตดิ ตัง้ อุปกรณ์ Manual On/Off เพื่อ คําสังจากระบบ
่ BAS.
3.5 EXHAUST AND VENTILATION SYSTEM
BAS. ทําหน้าทีแ่ สดงสถานะเปิ ด/ปิ ด และ Alarm
3.6 STANDBY GENERATOR SYSTEM
BAS ต้องสามารถรับทราบสัญญาณทีส่ ง่ มาจาก GENERATOR ดังนี้
(1) Generator ไม่สามารถ Start ได้ (Over crank)
(2) สถานะของ Generator
(3) สัญญาณ General alarm
(4) นํ้ามันใน Dry tank ระดับตํ่ากว่ากําหนด
(5) แสดงค่า Voltage ทุก Phase ในแต่ละเครื่อง (Generator)
(6) แสดงค่า AMP. ทุก Phase ในแต่ละเครื่อง
(7) แสดงค่า ความถีข่ องทุกเครื่อง
(8) แสดงค่า Power factor ของทุกเครื่อง
3.7 POWER DISTRIBUTION SYSTEM
BAS. จะต้องรายงานสถานะของ Circuit Breaker ทุก Main Switchboard
3.8 MAIN WATER SUPPLY
(1) ตรวจสอบระดับและปริมาตรของ Storage tank
(2) ตรวจสอบสภาวะของ Pump นํ้า
3.9 SYSTEM OPERATION
3.10 ACKNOWLEDGABLE EVENTS
เมื่อมีการรับรู้ Alarm แล้ว สิง่ ที่ BAS.จะต้องรายงานและเก็บบันทึกให้ทราบคือ
(1) ชนิดของเหตุการณ์
(2) ตําแหน่งเกิดเหตุ
(3) บันทึกชื่อของคนทีร่ บั ทราบเหตุการณ์
(4) บันทึกเวลาทีผ่ ใู้ ช้งานรับทราบเหตุทเ่ี กิดขึน้ โดยอัตโนมัติ

3.11 HISTORICAL ARCHIVES

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 445 of 521

ข้อมูลทีบ่ นั ทึกไว้ของ BAS จะต้องจัดทําได้ทงั ้ แบบทีเ่ รียกได้จาก PC.(เก็บใน DISK) และทัง้ แบบทีเ่ ป็ น
เอกสาร (โดย Printer)
3.12 ALARM PRIORITIES
เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ก่อน ต้องมีระดับความสําคัญทีจ่ ะต้องยังคงแสดงบนจอภาพก่อนเสมอ
3.13 UNATTENDED ALARM ANNUNCIATION
เมื่อเหตุการณ์เกิดขึน้ และ BAS แจ้งให้ Operator ทราบ แต่ BAS ไม่ได้รบั การรับรูเ้ หตุการณ์ภายใน
ระยะเวลาทีก่ าํ หนดให้ BAS สังให้่ ระบบเสียงสัญญาณเตือน, แสงไฟสัญลักษณ์ในบริเวณ Console ทํางาน
จนกว่าจะมีการรับรูเ้ หตุการณ์
3.14 BAS COMPONENT
ผูป้ ระมูลจะต้องจัดหาและติดตัง้ ระบบ BAS โดยมีสว่ นประกอบของระบบและคุณสมบัตอิ ย่างน้อยดังนี้
(1) PC Workstation 1 เครื่อง ติดตัง้ อยู่ใน Control Room ประกอบด้วย CPU, Monitor, Mouse,
Keyboard และ Printer 2 ชุด ได้แก่ Alarm Printer และ Logging data Printer
(2) Uninterrupted Power Supply (UPS) 1 ชุด สําหรับสํารองไฟของคอมพิวเตอร์
(3) Graphical User Interface (GUI) Software 1 ชุด
(4) Portable Operator’s Terminal (POT) 1 ชุด
(5) Direct Digital Controller (DDC) ติดตัง้ ตามตําแหน่งของอุปกรณ์ ทีจ่ ะทําการควบคุม และต้องได้รบั
มาตรฐาน UL-916 Energy Management Systems
(6) Network Controller (NC) สําหรับ การเชื่อมโยงระบบ LAN ของ PC Workstation กับ BAS
communication BUS และต้องได้รบั มาตรฐาน UL-916 Energy Management Systems
- สายสัญญาณทีใ่ ช้ตดิ ต่อ สือ่ สาร ระหว่าง DDC และ NC
- สายสัญญาณจากเซนเซอร์ต่างๆ
- อุปกรณ์ ในการติดตัง้ อื่นๆ เช่น ท่อ สายไฟ ตูค้ อนโทรล
- การรับประกัน อุปกรณ์ ของระบบ BAS ทัง้ หมดเป็ นเวลา 1 ปี หลังจากการติดตัง้ รวมถึงการ
ตรวจเช็คการทํางานของอุปกรณ์ สมํ่าเสมอตามความเหมาะสม ในช่วงระยะเวลาการประกัน
3.15 PC WORKSTATION
ผูป้ ระมูลต้องจัดหาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ สังงาน ่ แสดงผล เก็บค่า ที่ Control room คอมพิวเตอร์ทใ่ี ช้ตอ้ งเป็ น
ของ IBM หรือ Compaq และต้องมีคุณสมบัตขิ นั ้ ตํ่าดังนี้
(1) Processor: Intel Pentium IV, 2.4 GHz., or faster
(2) Random-Access Memory (RAM): 1 GB (min)
(3) Memory: 256 KB
(4) Graphics: Super video graphic adapter (SVGA), minimum 1024x768 pixels, 32 MB video
memory
(5) Monitor LCD : 19 inches, color, high resolutions, control of contrast, brightness, etc
(6) Keyboard: 101/102 key with Thai input
(7) Floppy-Disk Drive: 1.44 MB
(8) Hard-Disk Drive: 40.0 GB., minimum
(9) CD-ROM Drive: 50x, minimum
(10) Mouse: 2 button with wheel

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 446 of 521

(11) Backup: 8x CD writer, minimum


(12) Operating System: Microsoft Windows 2000/XP or later
(13) Color, ink-jet type, Print Header: 1440 x 1440 dpi photo-quality color resolution for logging
data
(14) Dot-matrix Printer 9 x 11 quality print character of an Alarm message
3.16 GRAPHICAL USER INTERFACE (GUI)
GUI Software จะต้องสามารถแสดงค่าและควบคุม ระบบ BAS ทัง้ หมดได้ ซึง่ แต่ละจุดทีแ่ สดงผล จะต้องมี
ชื่อ และคําอธิบายชัดเจน เพื่อทีผ่ ใู้ ช้จะสามารถเข้าใจได้ง่าย โดยไม่จาํ เป็ นต้องมีความรูค้ วามเข้าใจ ทางด้าน
Hardware และตําแหน่ง ของตัวอุปกรณ์ทต่ี ดิ ตัง้
(1) GUI ต้องสามารถทํางานได้บน ระบบปฏิบตั กิ าร Microsoft Windows NT/2000/XP
(2) GUI ต้องถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย เช่น ควรจะมี Tree view (คล้ายกับ Windows Explorer),
Menu-pull down และ Toolbars เพื่อสะดวกในการค้นหาและเข้าถึงอุปกรณ์ต่างๆ
(3) GUI ต้องแสดงผลเป็ นแบบ Real-Time Display โดยไม่จาํ เป็ นต้อง คลิก Update/Refresh
(4) รูปภาพทีน่ ํามาใช้ในการแสดงผล ต้องเป็ นชนิด GIF, BMP หรือ JPG เท่านัน้ ไม่อนุญาตให้ใช้
รูปแบบอื่น ๆ เพื่อความสะดวกในการแก้ไขเปลีย่ นแปลงรูปภายหลัง
(5) หน้าจอแสดงผลต้องแสดงในรูปแบบ HTML หรือ XML ผูใ้ ช้สามารถเข้าสูร่ ะบบได้โดยใช้ โปรแกรม
Web Browser ทีม่ มี ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ทวไปั ่ เช่น Internet Explorer (IE), Netscape Navigator
หรือ Opera Browser
(6) การเข้าสูร่ ะบบจะต้องสามารถเข้าได้จากทุกๆ คอมพิวเตอร์ทอ่ี ยูบ่ น LAN เดียวกันกับ PC
Workstation โดยจะต้องมี Username และ Password เพื่อจํากัดระดับการใช้งาน
(7) การเก็บข้อมูล Database ของ GUI ต้องสามารถเก็บให้อยูใ่ นรูปแบบมาตรฐาน เช่น ODBC, SQL
เท่านัน้ เพื่อให้มี ความสามารถในการเรียกดูค่าได้จากผูใ้ ช้หลายคนพร้อมกัน
(8) ในสภาวะทีเ่ กิด Alarm หน้าจอทีแ่ สดงสภาวะ Alarm จะต้องถูกเปิ ดขึน้ มา เป็ นอีกหนึ่งหน้าต่างแยก
จากหน้าจอปกติ และสามารถส่งผ่านการเตือน Alarm ไปยังคอมพิวเตอร์ลกู ข่ายทีร่ ะบุไว้อ่นื ๆ ได้
(9) PC workstations ต้องสามารถแก้ไขและ Download โปรแกรมของ DDC ใน Network ได้เหมือนกับ
การ Download จากอุปกรณ์ POT ทีห่ น้าตู้ DDC
(10) Alarm pop-up สามารถส่งไปยังเครื่อง BAS Operator Workstation และ PC ลูกข่ายทีก่ าํ หนดได้
(11) เมื่อเกิด Alarm ระบบต้องส่ง Email ไปยังเจ้าหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้อง เพื่อให้เจ้าหน้าทีๆ่ เกีย่ วข้องได้ทราบ
ถึงปญั หาและหาวิเคราะห์ปญั หาเพื่อหาวิธแี ก้ปญั หาต่อไป
3.17 PORTABLE OPERATOR’S TERMINAL (POT)
ผูป้ ระมูลจะต้องจัดหา Portable Operator’s Terminal (POT) เพื่อใช้ในการ Upload และ Download
โปรแกรมของ DDC ในกรณีท่ี Network ของ BAS Offline POT จะต้องสามารถเรียกดูคา่ พารามิเตอร์ต่างๆ
ของอุปกรณ์ รวมทัง้ ต้องสามารถแก้ไข และ Override ค่าพารามิเตอร์ทจ่ี าํ เป็ นได้ เช่น ค่า Set Point

3.18 DIRECT DIGITAL CONTROLLER (DDC)


DDC จะต้องสามารถ รับค่าและสังงานของทุ
่ ก point ทีจ่ าํ เป็ นในการควบคุม โดย DDC 1 ชุด จะต้องสามารถ
ควบคุม AHU หรือระบบ HVAC อื่นๆ ได้อย่างน้อย 1 ตัว โดยมีขอ้ กําหนดดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 447 of 521

(1) DDC จะต้องสามารถทํางานได้ถูกต้องแม่นยําในช่วง 0ºC ถึง 5ºC และ 5 ถึง 95 %RH


(2) DDC แต่ละตัวต้องมี หน่วยความจําแบบ EPROM/EEPROM เพื่อใช้เก็บโปรแกรมการทํางาน โดยที่
ไม่สญู หายในกรณีท่ี ไฟดับ
(3) อุปกรณ์ DDC ทุกตัว ต้องสามารถปรับเปลีย่ นโปรแกรมลอจิกในตัวได้ (Freely programmable)
(4) DDC ต้องสามารถประมวลผล สังงาน ่ ได้ทงั ้ แบบ On/Off Control และแบบ PID Control
(5) DDC ต้องมีฟงั ก์ชนั การทํางานในโหมดของ Energy Management เช่น Enthalpy, Optimize
Start/Stop ได้ โดยสามารถโปรแกรมได้ทต่ี วั DDC ดังนัน้ DDC จะยังสามารถทํางาน Energy
Management Function ได้ในกรณีท่ี Network Fail
(6) DDC ต้องสามารถตัง้ Time schedule เพื่อควบคุมการปิ ดเปิ ด ของอุปกรณ์ได้
(7) ในกรณีท่ี Network offline และไม่มสี ญ ั ญาณจาก NC และ PC DDC ต้องสามารถรับค่า ประมวลผล
และสังงานได้
่ ดว้ ยตัวเอง (Stand alone)
(8) การติดต่อสือ่ สาร ระหว่าง DDC ด้วยกัน ต้องเป็ นแบบ peer-to-peer
(9) Protocol ทีใ่ ช้ในการติดต่อสือ่ สาร ระหว่าง DDC ต้องเป็ นแบบเปิ ด (Open Protocol) เช่น
LonWorkTM, BACnet
(10) DDC ต้องได้รบั การรับรองมาตรฐาน UL-916 Energy management systems
3.19 NETWORK CONTROLLER (NC)
NC มีหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลางเชื่อมต่อระหว่าง Ethernet LAN ของ PC กับ field device (DDC) เพื่อให้ ผูใ้ ช้
สามารถทีจ่ ะควบคุมอุปกรณ์ BAS ผ่านทางคอมพิวเตอร์ ได้ โดยมีขอ้ กําหนดดังนี้
(1) NC ต้องมีพอร์ตกับต่อเชื่อมต่อกับ Ethernet LAN อย่างน้อย 1 พอร์ต และต้องมีพอร์ตสําหรับต่อกับ
BAS Open Protocol Bus อีกอย่างน้อย 1 พอร์ต โดยไม่จาํ เป็ นต้องผ่านอุปกรณ์เฉพาะทีเ่ ป็ น
Proprietary Gateway
(2) คุณสมบัตสิ าํ คัญของชุดควบคุม จะต้องไม่ต่ํากว่าข้อกําหนดดังต่อไปนี้
- CPU ความเร็วต้องไม่ต่ํากว่า 200 MHz
- RAM ต้องไม่ต่ํากว่า 128 MB
- MAIN MEMORY ขนาดไม่ต่ํากว่า 40 MB เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลต่างๆ
(3) NC จะต้องสามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์ เครื่องอื่นๆ ได้โดยตรงผ่านทาง Ethernet LAN
(4) NC 1 ตัวจะต้อง สามารถติดต่อกับอุปกรณ์ DDC ได้อย่างน้อย 60 ตัว
(5) NC จะต้องมี Battery Backup และ Flash memory สําหรับเก็บโปรแกรม ในกรณีทไ่ี ฟฟ้าดับเป็ น
เวลานาน
(6) NC จะต้องมีฟงั ก์ชนเกี ั ่ ย่ วกับ ปฏิทนิ และการตัง้ เวลา โดยมี Real-time Clock
(7) NC จะต้องมีฟงั ก์ชนการจั ั่ ดการ Alarm
(8) NC ต้องสามารถสนับสนุน LonTalk, HTTP, HTML, XML และ BACnet โดยไม่ตอ้ งต่อ Module
อื่นๆ เพิม่ เติม
(9) NC ต้องสามารถประมวลผลเพือ่ ทําการ แลกเปลีย่ นข้อมูล ระหว่าง Protocol ในตัวเองได้
(10) NC ต้องสามารถเก็บข้อมูลต่างๆ ให้อยูใ่ นรูปแบบมาตรฐาน เช่น OBDC หรือ SQL และสามารถ
นําเสนอในรูปแบบของ HTTP และ XML
(11) NC จะต้องมีระบบป้องกันการเข้าถึง โดยใช้ Password
(12) ไม่จาํ เป็ นต้องใช้ Software อื่นๆ เพิม่ เติม ในการเพิม่ อุปกรณ์ Lonwork

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 448 of 521

(13) NC ต้องได้รบั การรับรองมาตรฐาน UL-916 Energy management systems

4. TRANSMISSION CABLE
4.1 สายเคเบิลทีใ่ ช้เชื่อมต่อระหว่าง คอมพิวเตอร์, NC และ HUB ควรจะใช้สายชนิด UTP-8 wire, category 5
ยกเว้นใน กรณีทก่ี าํ หนดในแบบให้เป็ นสายประเภท Fiber optic
4.2 สายเคเบิลทีใ่ ช้เชื่อมต่อระหว่าง NC ไปยัง DDC ควรจะใช้สายชนิด Twisted pair with shield ขนาดไม่เล็ก
กว่า 18 AWG
(1) สายเคเบิลทีใ่ ช้เชื่อมต่อระหว่าง DDC ไปยัง Sensor/Actuator ควรจะใช้สายชนิด Twisted pair with
shield ขนาดไม่เล็กกว่า18 AWG
(2) สายเคเบิลทีใ่ ช้เชื่อมต่อระหว่าง DDC ไปยัง Relay/Voltage Free Contact ควรจะใช้สาย ขนาดไม่
เล็กกว่า 1.0 Sq.mm.
5. SENSORS AND TRANSMITTERS
ผูป้ ระมูลจะต้องจัดหา Sensor, Transmitters และ Relay ทัง้ หมดทีจ่ าํ เป็ น รวมทัง้ วัสดุอ่นื ๆ เช่น ท่อ สายไฟ ตู้ โดย
มีขอ้ กําหนดดังนี้
5.1 Temperature Sensor: ต้องเป็ นชนิด Thermistor, Platium หรือ Balco, มี accuracy บวกหรือลบ 0.2% ที่
calibration point
5.2 Humidity Sensor: ต้องเป็ นชนิด Thin-film polymer capacitive, มี accuracy 3%, ให้ค่า Output ออกมา
เป็ น Linear และมีช่วงการวัดอยูท่ ่ี 0-100%RH
Static-Pressure Transmitter: ต้องเป็ นแบบ Nondirectional sensor, มีค่า accuracy 2% of full scale, ให้
ค่า Output เป็ น 4-20 mA และมีช่วงการทํางานอยู่ท่ี 0 -5 Inch WC.
5.3 Filter Clog Sensor : ต้องเป็ นแบบ Differential Pressure Switch โดยเลือกใช้ Normally Open Contact
Output ซึง่ หน้าสัมผัสของสวิทช์จะต่อ เมื่อ Sensor ตรวจวัดค่าความดันตกคร่อม Filter ได้ สูงกว่าค่าทีไ่ ด้ตงั ้
ไว้ ในช่วง 0-1000 Pa
5.4 Air-Flow Status Sensor : ต้องเป็ นแบบ Differential Pressure Switch โดยเลือกใช้ Normally Open
Contact Output ซึง่ หน้าสัมผัสของสวิทช์จะต่อ เมื่อ Sensor ตรวจวัดค่าความดันตกคร่อม พัดลม ได้ สูงกว่า
ค่าทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้ ในช่วง 0-1000 Pa
5.5 Water Flow Status Sensor : ต้องเป็ นแบบ Differential Pressure Switch, NEMA4 Enclosure Standard
โดยเลือกใช้ Normally Open Contact Output ซึง่ หน้าสัมผัสของสวิทช์จะต่อ เมื่อ Sensor ตรวจวัดค่าความ
ดันตกคร่อม pump ได้สงู กว่าค่าทีไ่ ด้ตงั ้ ไว้ ในช่วง 0-250 Psi
5.6 Carbon-Monoxide Sensor: ต้องเป็ นแบบ Single หรือ multi-channel ชนิด metal oxide semiconductor ที่
มีอายุการใช้งานไม่ต่ํากว่า 5 ปี ทํางานได้ดใี นช่วงอุณหภูมิ 0ºC - 50ºC สามารถวัดค่าได้ในช่วง 0 – 200
ppm และส่งค่า output เป็ น 4-20 mA
5.7 Carbon-Dioxide Sensor: ต้องเป็ นแบบ Single หรือ multi-channel ชนิด non dispersive infrared ทีม่ อี ายุ
การใช้งานไม่ต่ํากว่า 5 ปี ทํางานได้ดใี นช่วงอุณหภูมิ 0ºC - 50ºC สามารถวัดค่าได้ในช่วง 0 – 2000 ppm
และส่งค่า output เป็ น 4-20 mA
5.8 Electrical Power Meter : สําหรับ วัดค่า KW, Current, Voltage ต้องให้สญ ั ญาณ ออกมาในรูปแบบ
มาตรฐาน ทีส่ ามารถติดต่อกับ ระบบ BAS โดย MODBUS หรือ LonTalk Protocol

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 449 of 521

6. PROGRAM DESCRIPTION
โปรแกรมต่อไปนี้เป็ นความต้องการขัน้ ตํ่าทีร่ ะบบ BAS ต้องทําได้ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
6.1 DL : DEMAND LIMITING
เป็ นการเก็บค่าการใช้พลังงานขณะนัน้ ๆ และประมาณการในช่วงต่อไป ถ้าหากค่าประมาณการมีค่าสูงกว่า
่ ดอุปกรณ์ไฟฟ้าทีไ่ ม่มคี วามจําเป็ นใช้ ณ ขณะนัน้ เช่น PUMP นํ้า หรือ พัดลมบาง
ค่าทีก่ าํ หนด จะมีคาํ สังปิ
ตัว
6.2 TP : TIME PROGRAM
เปิ ด-ปิ ด อุปกรณ์ภายในอาคารตามช่วงเวลาทีก่ าํ หนดให้ โดยให้สามารถกําหนดรายละเอียดในแต่ละวันของ
สัปดาห์ใน 1 ปี
6.3 LC : LOAD CYCLING
เพื่อเป็ นการประหยัดพลังงานของอาคาร อุปกรณ์บางชนิด เช่น AHU., FCU. สามารถปิ ดเป็ นช่วงได้โดยที่
ไม่ทาํ ให้อุณหภูมิ ความชืน้ หรือค่าอื่นเปลีย่ นแปลงมากกว่าค่าทีท่ าํ ให้เกิด ความสะดวกสบายแก่ผใู้ ช้งาน
6.4 RT : RUN TIME TOTALIZED
เป็ นการบันทึกชัวโมงการทํ
่ างานของอุปกรณ์ทก่ี าํ หนดเพื่อประโยชน์ในการจัดการบํารุงรักษาและบันทึก
ชัวโมงทํ
่ างานในช่วงเวลาทีก่ าํ หนดเพื่อประโยชน์ในการคิดค่าใช้จ่ายในช่วงเวลานัน้ ได้
6.5 AL : ANALOG ALARM LIMIT
เป็ นการรับข้อมูลจากอุปกรณ์รบั สัญญาณ ANALOG และเมื่อค่าดังกล่าวมีค่าสูงกว่าค่าทีก่ าํ หนดให้แจ้ง
สัญญาณ ALARM แก่ผปู้ ฏิบตั กิ ารตามระดับความสําคัญทีโ่ ปรแกรมไว้
6.6 HD : HISTORICAL DATA REPORT
เก็บรวบรวมข้อมูลเหตุการณ์และค่าทีก่ าํ หนด เพื่อเป็ นข้อมูลในการบํารุงรักษาและใช้สาํ หรับเป็นแนวทางใน
การแก้ปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ซํ้าในอนาคต
6.7 MP : MAINTENANCE PROGRAM
ทําตารางแสดงระยะเวลา ส่งสัญญาณเตือนรวมถึงแนะนําขัน้ ตอน การบํารุงรักษาอุปกรณ์แต่ละตัวในอาคาร
เมื่อถึงเวลาต้องตรวจสอบ หรือเมื่อเกิดความเสียหาย โดยการรับข้อมูลจาก RUN TIME TOTALIZED และ
สัญญาณ ALARM ต่างๆ
6.8 GM : GRAPHIC MONITORING
แสดงเหตุการณ์และจุดเกิดเหตุการณ์ต่างๆ ในรูปแบบแผนภาพ บนจอภาพ
6.9 AP : AUTOMATIC PROGRAM CONTROL
เก็บรวบรวมข้อมูลจาก SENSOR ต่างๆ เปรียบเทียบกับ SET POINT ทีต่ งั ้ ไว้เพื่อคํานวณและ ประมวลผล
สังการ
่ ตามความสัมพันธ์ทโ่ี ปรแกรมไว้ รวมถึงการจัดการเรียงลําดับการเปิ ด-ปิ ด อุปกรณ์เพื่อเฉลีย่ เวลาการ
ทํางานด้วย
6.10 AR : ALARM REPORT
เมื่ออุปกรณ์ต่างๆ ส่งสัญญาณ ALARM แก่ระบบ ให้จดั การแจ้งเหตุไปยังอุปกรณ์ทก่ี าํ หนด เช่น เครื่องพิมพ์
ลําโพง หรือดวงไฟฉุกเฉิน รวมถึงบันทึกเหตุการณ์, ตําแหน่งเกิดเหตุ รวมถึงชื่อผูป้ ฏิบตั งิ านลงในรายงาน
ด้วย
6.11 OS : OPTIMUM START/STOP
อุปกรณ์ปรับอากาศทุกชนิดต้องเปิ ด-ปิ ด ระบบอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 450 of 521

(1) การเปิ ดระบบในช่วงเช้า ให้อาศัยข้อมูลอุณหภูมแิ ตกต่างภายในและภายนอกเพื่อให้เปิ ดระบบก่อน


เวลาเริม่ งาน โดยเวลาทีเ่ ปิ ดก่อนพอดีทจ่ี ะทําให้อุณหภูมิ ความชืน้ ถึงค่าที่ SET POINT
(2) การปิ ดระบบ เนื่องจากอุณหภูมแิ ละความชืน้ มีคุณสมบัตไิ ม่เปลีย่ นแปลงทันทีทนั ใด ฉะนัน้ โปรแกรม
สามารถตรวจสอบค่าอุณหภูมแิ ตกต่างภายนอกและภายในเพื่อปิ ดระบบก่อนเวลา โดยทีอ่ ุณหภูมไิ ด้
ตาม SET POINT จน

จบหมวดที่ 78

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 451 of 521

หมวดที่ 79
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิ รจ์ SPD (Surge Protection Device)

1. ข้อกาหนดทัวไป

1.1 ติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ เพื่อป้องกันความเสียหายเนื่องจากแรงดันเสิรจ์ ทีเ่ กิดขึน้ กับอุปกรณ์ไฟฟ้า
ทีต่ เู้ มนไฟฟ้าของอาคาร (MDB)
1.2 อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ (Surge Protection Device ) มีคุณสมบัตติ ามมาตรฐานใดมาตรฐานหนึ่ง
ดังต่อไปนี้ IEC, DIN, UL, VDE หรือ ANSI (IEEE)
1.3 อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์เดียวกันเพื่อการทํางานทีป่ ระสานสัมพันธ์กนั
1.4 การดําเนินการติดตัง้ ให้เป็ นไปตามมาตรฐานการติดตัง้ ระบบไฟฟ้าของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
(วสท.)
1.5 อุปกรณ์ทน่ี ํามาติดตัง้ ต้องเป็ นของใหม่ 100% ไม่เคยใช้งานมาก่อน
1.6 การติดตัง้ ชุดอุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ (Surge Protection Device) เป็ นการติดตัง้ แบบขนาน ซึง่ จะไม่มี
ผลกระทบต่อการใช้กระแสไฟฟ้าในระบบ (Load)

2. ข้อกาหนดทางเทคนิ ค
2.1 SPD1
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ (Surge Protection Device) Class I+II / B+C สําหรับเมนไฟฟ้าทีจ่ า่ ยให้กบั อาคารโดยติดตัง้ ที่
ตู้ MDB มีคุณสมบัตดิ งั นี้
(1) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ Class I/B เป็ นสปาร์กแก็ป สามารถรับกระแสอิมพัลส์ของฟ้าผ่า (Lighting Impulse
Current) ได้ไม่น้อยกว่า 50kA ต่อเฟส ทีร่ ปู คลื่นทดสอบ 10/350 us สําหรับการติดตัง้ ระหว่าง L-N และสามารถรับ
กระแสอิมพัลส์ของฟ้าผ่า (Lightning Impulse Current) ได้ไม่น้อยกว่า 100 kA ต่อเฟส ทีร่ ปู คลื่นทดสอบ 10/350 us
สําหรับการติดตัง้ ระหว่าง N-PE
(2) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ Class II/C เป็ น MOV สามารถดิสชาร์จกระแสฟ้าผ่าสูงสุด (Maximum Discharge
Current) ได้ไม่น้อยกว่า 40kA ต่อเฟส ทีร่ ปู คลื่นทดสอบ 8/20 us สําหรับการติดตัง้ ระหว่าง L-N
(3) อุปกรณ์ทงั ้ 2 Class ต้องสามารถถอด-เปลีย่ น แยกออกจากกันได้ทลี ะเฟส เพื่อความสะดวกในการบํารุงรักษา
(4) มีแรงดันตกคร่อมรวมหลังจากอุปกรณ์เสิรจ์ ทํางาน (Voltage Protection Level) ไม่เกิน 900V(L-N) /1500V (N-PE)
(5) สามารถทนแรงดัน (Arrester Rated Voltage Uc) ได้ไม่ต่ํากว่า 275V สําหรับอุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ ระหว่าง L-
N เพื่อป้องกันอุปกรณ์เสิรจ์ เสียหายกรณีเกิดแรงดันเกินในระบบ
(6) ติดตัง้ ฟิวส์ขนาด 125A หรือขนาดตามแบบ ทีห่ น้าอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ โดยฟิวส์ทใ่ี ช้เป็ นชนิดทีม่ ฝี าครอบปิ ดตัว
ฟิวส์อย่างมิดชิด หรือติดตัง้ สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ
(7) การติดตัง้ อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ ให้ต่อระบบสายดิน (กราวนด์) ของระบบ หากบริเวณนัน้ ๆ ไม่มรี ะบบสายดิน
ให้ทาํ การติดตัง้ ใหม่เพื่อให้อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ สามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.2 SPD2
อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ (Surge Protection Device) Class II/C สําหรับเมนไฟฟ้าย่อยทีจ่ ่ายให้กบั อาคารโดยติดตัง้ ทีต่ ู้
DB มีคุณสมบัตดิ งั นี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 452 of 521

(1) อุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ Class II/C เป็ น MOV สามารถดิสชาร์จกระแสฟ้าผ่าสูงสุด (Maximum Discharge


Current) ได้ไม่น้อยกว่า 40kA ต่อเฟส ทีร่ ปู คลื่นทดสอบ 8/20 us สําหรับการติดตัง้ ระหว่าง L-N
(2) อุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ ต้องสามารถถอด-เปลีย่ นแยกออกจากกันได้ทลี ะเฟส เพื่อความสะดวกในการบํารุงรักษา
(3) แรงดันตกคร่อมรวมหลังจากอุปกรณ์เสิรจ์ ทํางาน (Voltage Protection Level) ไม่เกิน 1500V(L-N)/1500V (N-PE)
(4) สามารถทนแรงดัน (Arrester Rated Voltage Uc) ได้ไม่ต่ํากว่า 275V สําหรับอุปกรณ์ป้องกันแรงดันเสิรจ์ ระหว่าง L-
N เพื่อป้องกันอุปกรณ์เสิรจ์ เสียหายกรณีเกิดแรงดันเกินในระบบ
(5) ติดตัง้ ฟิวส์ขนาด 125A หรือขนาดตามแบบ ทีห่ น้าอุปกรณ์ป้องกันเสิรจ์ โดยฟิวส์ทใ่ี ช้เป็ นชนิดทีม่ ฝี าครอบปิ ดตัว
ฟิวส์อย่างมิดชิด หรือติดตัง้ สวิตช์ตดั ตอนอัตโนมัติ

3. โครงสร้างและการติ ดตัง้
3.1 อุปกรณ์ป้องกันนี้จะต้องประกอบกันอยู่ภายในกล่องทีแ่ ข็งแรงและมีฝาปิ ด-เปิ ดทีแ่ ข็งแรง พร้อมทีล่ อ็ คฝาหรือ
อาจติดตัง้ ภายใน MDB หรือ DB ทีม่ อี ยู่
3.2 กรณีตดิ ตัง้ ในกล่อง ตัวกล่องทีบ่ รรจุอุปกรณ์ป้องกันนี้ ต้องมีขนาดทีเ่ หมาะสมไม่เล็กหรือใหญ่เกินไปสามารถ
นําไปติดตัง้ ทีผ่ นังหรือตัง้ พืน้ ได้โดยสะดวก
3.3 การต่อวงจรไฟฟ้าของอุปกรณ์ป้องกันเข้ากับระบบไฟฟ้านัน้ ต้องต่ออยู่หลัง Main Circuit Breaker ในตูจ้ ่าย
ไฟฟ้า MDB
3.4 Housing หรือ Body ของตัวอุปกรณ์ป้องกันต้องทําด้วยพลาสติกชนิดไม่ตดิ ไฟตามาตรฐาน UL94V-0
(Flame Resistance Plastic)

จบหมวดที79

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 453 of 521

หมวดที่ 80
ระบบชุดกุญแจ อัจฉริยะ (SMART ELECTRONIC DOOR LOCK SYSTEM)

1. ความเป็ นมา
ผูว้ ่าจ้างประสงค์ทจ่ี ะดําเนินการติดตัง้ ติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าออก ประตูหอ้ งพัก ตามรูปแบบรายการ เพื่อ
บริการด้านความปลอดภัยให้แก่ผใู้ ช้อาคารอย่างครอบคลุม และสูงสุด
2. วัตถุประสงค์ของการดาเนิ นงาน
2.1 เพื่อใช้ในอาคารทีก่ ่อสร้างตามรูปแบบและรายการ
2.2 เพื่อการสอดส่อง ควบคุมดูแลความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ บริเวณพืน้ ทีท่ ก่ี าํ หนด
2.3 เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการรักษาความปลอดภัย
2.4 เพื่อการป้องปรามเหตุการณ์อนั ไม่พงึ ประสงค์ทอ่ี าจเกิดขึน้ ในรูปแบบต่างๆ
2.5 เพื่อช่วยในการติดตามเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
3. สถานที่ดาเนิ นการ
ติดตัง้ ตําแหน่งประตูหลักของห้องพัก ภายในอาคารตามรูปแบบกําหนด
4. ข้อกาหนดทัวไป ่
4.1 อุปกรณ์ของระบบควบคุมการเข้าห้องพัก จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตใหม่ ยังไม่เคยใช้งานมาก่อน และยัง
อยู่ในสายงานการผลิต พร้อมทัง้ แนบรายละเอียดคุณสมบัตขิ องผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะนํามาติดตัง้ สําหรับโครงการ
และการทํางานของระบบประกอบการพิจารณาอนุมตั ดิ ว้ ย โดยแนบเอกสารทีร่ ะบุแหล่งผลิตอุปกรณ์ เอกสาร
การนําเข้าสินค้าและมาตรฐานต่างๆ ทีร่ บั รองคุณภาพของอุปกรณ์นนั ้
4.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาและติดตัง้ ระบบควบคุมการเข้าห้องพัก พร้อมอุปกรณ์อ่นื ๆ รวมทัง้ Software ต่างๆ
ตามข้อกําหนด เพื่อให้ระบบสามารถใช้งานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 Software ทีใ่ ช้กบั อุปกรณ์ต่างๆ ในโครงการนี้จะต้องเป็ น Software ทีม่ ลี ขิ สิทธิถู์ กต้องจากบริษทั ผูผ้ ลิต
4.4 ระบบทีน่ ําเสนอต้องรองรับการเพิม่ ขยายระบบให้ครอบคลุมความต้องการของหน่วยงานในอนาคตได้
4.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องแนบรายละเอียด (Catalog) ของอุปกรณ์ทเ่ี สนอ เพื่อประกอบการพิจารณา โดยจัดทําตาราง
เปรียบเทียบข้อกําหนดรายละเอียดและคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละรายการให้พจิ ารณา
4.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทําแบบการติดตัง้ ระบบให้เป็ นไปตามแบบหรือข้อกําหนด โดยให้คณะกรรมการตรวจการ
จ้างและผูค้ วบคุมงาน เห็นชอบก่อนดําเนินการติดตัง้ กรณีจาํ เป็ นต้องเปลีย่ นแปลงจุดติดตัง้ เพือ่ ความ
เหมาะสมต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อน
4.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันอุปกรณ์เป็ นระยะเวลาอย่างน้อย 2 ปี ตลอดเวลารับประกัน พร้อมทัง้ ให้การอบรม
การใช้อุปกรณ์ต่างๆ แก่พนักงานผูด้ แู ลรับผิดชอบของโครงการจนสามารถเข้าใจระบบการทํางานต่างๆ ได้ดี
5. ขอบเขตของการดาเนิ นงาน และคุณลักษณะเฉพาะ
ระบบควบคุมการเข้าห้องพัก Smart Electronic Door Lock
5.1 ข้อมูลทัวไป ่
ระบบการผ่านเข้าออกประตูจะเป็ นการปิ ดล๊อคแบบอิเล็กโทรนิกไร้สาย (WIRELESS ELECTRONIC
LOCK)ซึง่ จะควบคุมการผ่านเข้าออกในบริเวณพืน้ ทีท่ ถ่ี ูกกําหนดไว้ เพื่อให้มนใจว่
ั ่ าสามารถไว้วางใจได้อย่าง
สูงสุด และ FRONT DESK UNIT(FDU) สําหรับการลงและอ่านรหัสบัตรก็จะสามารถใช้งานร่วม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 454 of 521

(INTERFACE) กับระบบ PROPERTY MANAGEMENT SYSTEM (PMS) ของระบบคอมพิวเตอร์ของ


โรงแรมได้
ระบบจะประกอบไปด้วยสิง่ ต่าง ๆ เหล่านี้เป็ นอย่างน้อย
o CARD AND ELECTRONIC DOOR LOCK
o FRONT DESK UNIT
5.2 CARD AND ELECTRONIC DOOR LOCK
(1) CARD บัตรจะเป็ นชนิดส่งคลื่นความถีต่ รงตาม ISO/IEC14443 Type A Standardโครงสร้างของบัตร
จะเป็ นโพลีเอสเตอร์เคลือบด้วยไวนิลและมีวงจรภายในทีม่ กี าํ ลังสูงหรือมีแรงบีบบังคับสูงซึง่ จะปฏิเสธ
การแก้ไขดัดแปลงหรือลบข้อมูลทีไ่ ด้ทาํ การบันทึกไว้ซง่ึ อาจจะเกิดขึน้ ได้ ขนาดของบัตรจะเป็ นขนาด
มาตรฐานเดียวกันกับบัตรเครดิต และจะมีเครื่องอ่านและเขียนสําหรับบัตรแต่ละบัตร
(2) ELECTRONIC DOOR LOCK ล๊อคประตูอเิ ล็กโทรนิกจะใช้กบั บัตรส่งคลื่นความถี่ ซึง่ จะทําการอ่าน
โดยการทาบบัตร (Mifare RF Card) โดยจะมี LED ACCESS INDICATOR เป็ นชุดอ่านข้อมูลจาก
บัตร ประตูอเิ ล็กโทรนิกนี้จะทํางานประสานกับ DOOR STRIKE หรือ TURNSTILE
รายละเอียดของล๊อคประตูอิเล็กโทรนิ กมีดงั นี้
Door thickness 40-50 mm.
Backset 65 mm
Power supply 4 alkaline batteries
Alarm voltage DC 4.2V+-0.2V
Working temperature -10'C~55'C
Working humidity 20%~93%+-2RH
Features :
- Classic shape and fashion
- Reaching the requirement of GB374-2001 for material thickness,new double complex structure is
applied It is firm and resists corrosion.
- Stainless steel handle with reasonable structure,good holding and durable.
- Us standard lock case with reasonablestructure and security.
- Don't disturb function ,when guest turn on the dead bolt the LED flash and red light indicate"do
not disturb"
- Rotary structure makes the handle feel more comfortable for using.
Surface finishing:
- Brushed stainless steel
- PVD Brushed Zirconium
5.3 FRONT DESK UNIT (FDU)
FRONT DESK UNIT (FDU) สําหรับการลง และอ่านรหัสบัตรจะเป็ นระบบทีต่ งั ้ อยู่เดีย่ ว ๆ และสามารถใช้
งานร่วมกับระบบ PROPERTY MANAGEMENT SYSTEM (PMS) ของระบบคอมพิวเตอร์ของโรงแรมได้
สําหรับ อุปกรณ์ Access Controls ,Lift Controller,Energy Saving Switch สามารถใช้ Software ร่วมกันได้
รายละเอียดของ FRONT DESK UNIT (FD8) มีดงั นี้
Features :

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 455 of 521

- MULTI TRACK ENCODING AND READING


- DROP AND SWIPE READER TRACK WITH ALIGNMENT GUIDE
- MENU DRIVEN SOFTWARE
- COMPUTER FEEL KEYPAD
- ADJUSTABLE AUDIBLE FEEDBACK LEVEL
- LOW BATTERY ALARM
- COMPATIBLE WITH PARALLEL (DB25) AND SERIAL PRINTERS (DB9)
- COMPATIBLE WITH PC (DIRECT LINK TO PC FOR SOFTWARE &
CONFIGURATION UPGRADE)
- 2 SERIAL COMMUNICATION PORTS, ONE DB9-MALE, ONE DB9-FEMALE, FOR
CONNECTION TO : LOCK, SERIAL PRINTER, ANOTHER FDU OR A PC)
- MOLDED TRANSPARENT DISPLAY LENS
- CASING OF IMPACT RESISTANT,INFECTION MOLDED,BLACK PLASTIC WITH
ANTI-SLIP PAD
- LOW COERCIVITY KEYCARD ENCODING
- REAL TIME CLOCK
FUNCTIONS:
- ENCODES, READS AND VERIFIES KEYCARDS
- SYSTEM TIME KEEPING
- LOCK / FDU AUDIT VIEWING AND PRINTING
- AUDIT MEMORY OF LAST 4,000 TRANSACTIONS
- 15 ACCESS LEVEL KEYCARDS FROM GUEST TO EMERGENCY
- 10 SPECIAL PURPOSE KEYCARDS
- LOCK PROGRAMMING
- PMS COMPATIBLE
- POS COMPATIBLE
- MULTILINGUAL SOFTWARE (ENGLISH, CHINA)
- SUPPORTS 8 GUESTS AND 16 STAFFS COMMON AREAS
- ACCOMMODATE UP TO 99,999 GUEST ROOMS
POWER:
- AC POWERED (240V.)
- 8 HOUR BATTERY BACK UP
- EASY TO ACCESS RECHARGEABLE BATTERY
- POWER SUPPLIES AVAILABLE FOR THE US AND CANADA, AUSTRALIA, UNITED
KINGDOM AND EUROPE
- SUPPORTS 8 GUESTS AND 16 STAFFS COMMON AREAS
- ACCOMMODATE UP TO 99,999 GUEST ROOMS

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 456 of 521

5.4 การติดตัง้
ให้เป็ นไปตามคําแนะนําของโรงงานผูผ้ ลิตและตามกําหนดในแบบ
5.5 การทดสอบ
ต้องทดสอบอุปกรณ์ตามหน้าทีข่ องแต่ละระบบ เพื่อให้แน่ใจได้ว่าระบบทํางานได้อย่างสมบูรณ์ตาม
ความต้องการ

จบหมวดที่ 80

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 457 of 521

งานระบบลิ ฟต์โดยสาร
หมวดที่ 81
ระบบลิ ฟต์โดยสาร

1. ข้อกาหนดทัวไป ่
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ให้สามารถใช้การได้ดตี ามรูปแบบรายการและเป็ นไป
ตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องเตรียมช่องลิฟต์ บ่อลิฟต์ และห้องเครื่องลิฟต์ให้ถูกต้องและสอดคล้องตามขนาดลิฟต์และ
อุปกรณ์ประกอบต่างๆ
1.3 ลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ จะต้องผลิตตามมาตรฐาน JIS, ISO, TIS หรือ EN 81
1.4 ลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ใช้ผลิตภัณฑ์ของ MITSUBISHI, SCHINDLER ,OTIS, SIEMENS หรือ
เทียบเท่า
1.5 ลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ทีน่ ํามาติดตัง้ ต้องเป็ นของใหม่ทไ่ี ม่เคยใช้งานมาก่อน และต้องเป็ นรุ่น
ใหม่ล่าสุดของผลิตภัณฑ์ยห่ี อ้ นัน้ โดยทําเอกสารยืนยันเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
1.6 อุปกรณ์ขบั เคลื่อน ระบบควบคุม และอุปกรณ์มาตรฐานอื่นๆ จะต้องผลิตสําเร็จจากโรงงานของผูผ้ ลิตจาก
ประเทศญีป่ นุ่ เยอรมัน สหรัฐอเมริกา ฟินแลนด์ สวิตซ์เซอร์แลน หรืออิตาลี อุปกรณ์นอกเหนือจากทีร่ ะบุขา้ งต้นให้ใช้
ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศได้
1.7 ในกรณีทข่ี อเทียบเท่าลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ ให้ผรู้ บั จ้างทํารายการเปรียบเทียบรายละเอียดลิฟต์
และคุณสมบัตริ ะหว่างลิฟต์ตามรูปแบบรายการกําหนดและลิฟต์ทข่ี ออนุมตั ใิ ช้ โดยเปรียบเทียบทุกๆ รายการถึงข้อแตกต่าง

2. คุณสมบัติของผูร้ บั จ้างติ ดตัง้ ลิ ฟต์


2.1 จะต้องเป็ นผูผ้ ลิตโดยตรงหรือตัวแทนจําหน่ายทีถ่ ูกต้องตามกฎหมาย และมีผลงานการติดตัง้ ลิฟต์มาแล้วไม่
น้อยกว่า 3 ปี นับจากวันพิจารณาผล พร้อมทัง้ มีผลงานการติดตัง้ และบํารุงรักษาลิฟต์ของหน่วยงานราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
มาแล้วอย่างน้อย 500 ชุด ทัง้ นี้จะต้องแนบรายชื่อลูกค้ามาแสดงในวันส่งเอกสารขออนุมตั ดิ ว้ ย
2.2 ผูผ้ ลิตจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองระบบจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม อย่างใด
อย่างหนึ่งจากมาตรฐานต่อไปนี้
(1) ISO-9001 ระบบบริหารงานคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี สนอต้องได้รบั มาตรฐานทัง้ การ DESIGN และการผลิต
(2) ISO-9002 ระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพในการผลิต การติดตัง้ และการบริการ
(3) ISO-14001 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม

3. รายละเอียดวัสดุลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ
3.1 ลิฟต์เป็ นโครงเหล็กแข็งแรง ผลิตจากโรงงานผูผ้ ลิตลิฟต์อย่างเรียบร้อย ขนาดภายในไม่เล็กกว่ามาตรฐาน
ของ JIS, ANSI, ISO, TIS หรือ EN-81
3.2 ประตูลฟิ ต์เป็ นชนิดบานเลื่อนเปิด-ปิ ด โดยอัตโนมัตใิ ช้ระบบ AC-MOTOR ขับเคลื่อนชุดประตูมรี ะบบ
SAFETY RAY ซึง่ เป็ นแสงอินฟาเรด จะทํางานเมื่อมีผโู้ ดยสารหรือมีสงิ่ กีดขวางแนวลําแสงเพื่อป้องกันประตูหนีบผูโ้ ดยสาร
3.3 ประตูและผนังของตัวลิฟต์ทาํ ด้วยแผ่นเหล็กพ่นสีอย่างดี (เลือกสีโดยสถาปนิกผูอ้ อกแบบ)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 458 of 521

3.4 ฝ้าเพดานทําด้วยเหล็ก SITE SHEET IN BLACK (CENTER) WITH ANODIZED ALUMINIUM TRIM
BLACK AND STAINLESS STEEL HAIRLINE (BOTH SIDES) พร้อมด้วยทางออกฉุกเฉิน และช่องระบายอากาศ
รายละเอียดตามรูปแบบกําหนด
3.5 พืน้ ปูดว้ ยหินแกรนิตหรือตามทีร่ ปู แบบระบุ ตรงจุดทีช่ นกับผนังให้ตดิ ตัง้ แผ่นกันเท้ากระแทก (KICK PLATE)
3.6 ติดตัง้ พัดลมเพื่อดูดอากาศทีช่ ่องดูดอากาศของเพดานห้องโดยสารลิฟต์และมีระบบซึง่ สามารถตัดการทํางาน
ของพัดลมดูดอากาศได้ เมื่อลิฟต์หยุดวิง่ เกินกว่าเวลาทีก่ าํ หนด
3.7 ติดตัง้ ไฟแสงสว่างแบบ FLUORESCENT หรือหลอดประหยัดไฟ ให้มสี ว่างเหมาะสมและมีระบบดับไฟแสง
สว่างอัตโนมัตเิ มื่อลิฟต์หยุดวิง่ เกินกว่าเวลาทีก่ าํ หนด
3.8 ติดตัง้ แสงสว่างฉุกเฉินซึง่ ทํางานโดยแบตเตอรีท่ ส่ี ามารถชาร์จไฟได้ดว้ ยตนเอง และจะทํางานทันทีท่ี
กระแสไฟฟ้าขัดข้อง
3.9 แผงควบคุมในตัวลิฟต์สว่ นหน้าของแผงเป็ น STIANLESS STEEL HAIRLINE FINISH ปุม่ กดเป็ นแบบ
MICRO STROKE BUTTON โดยประกอบด้วยอุปกรณ์ ดังต่อไปนี้
(1) ปุม่ กดไปตามชัน้ ต่างๆ พร้อมเลขและไฟแสดงสถานะ ตามจํานวนชัน้
(2) ปุม่ กดให้ประตูเปิ ด (DOOR OPEN) 1 ปุม่
(3) ปุม่ กดให้ประตูปิด (DOOR CLOSE) 1 ปุม่
(4) ปุม่ กดให้ลฟิ ต์หยุดฉุกเฉิน (EMERGENCY STOP) 1 ปุม่
(5) ปุม่ กดแจ้งเหตุ (EMERGENCY ALARM) 1 ปุม่
(6) ปุม่ กดปิ ด-เปิ ดพัดลมดูดอากาศ 1 ปุม่
(7) ปุม่ กดปิ ด-เปิ ดไฟแสงสว่าง 1 ปุม่
(8) โทรศัพท์ภายในหรือระบบติดต่อภายใน 1 ปุม่
(9) ไฟแสดงทิศทางการทํางานของลิฟต์ 1 ปุม่
(10) ไฟแสดงตําแหน่งลิฟต์ทงั ้ หมดเป็ นแบบ DOT MATRIX DIGITAL DISPLAY แสดงตําแหน่งของลิฟต์และมองเห็นได้
อย่างชัดเจน

4. ระบบควบคุมความปลอดภัยป้ องกันเครือ่ งลิ ฟต์


4.1 มีอุปกรณ์และระบบตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อกระแสไฟฟ้าเกิน ป้องกันมอเตอร์เสียหาย (OVERLOAD CURRENT
RELAY)
4.2 มีระบบป้องกันไฟฟ้าผิดเฟส หรือแรงดันไฟฟ้าไม่ครบวงจรไฟฟ้า (REVERSE PHASE RELAY)
4.3 มีระบบป้องกันมอเตอร์เสียหายจากอุณหภูมสิ งู เนื่องจากมอเตอร์หมุนเกินกําลัง
4.4 ไฟฟ้าระบบลิฟต์ 380 โวลต์ 3 เฟส 4 สาย 50 ไซเคิล
4.5 ไฟฟ้าระบบแสงสว่าง 220 โวลต์ เฟส 50 ไซเคิล
4.6 มีระบบ SECRET CALL SERVICE สามารถล็อกชัน้ การกดเรียกภายในตัวลิฟต์ได้ 3 ชัน้ โดยการกด
CODE 3 ตัวเลข บนแผงปุม่ กดก่อนถึงจะกดเรียกชัน้ ทีล่ อ็ กได้ ซึง่ สามารถเปลีย่ น CODE ได้ตลอดเวลาโดยผูใ้ ช้งานทีท่ ราบ
ระบบ
4.7 มีระบบช่วยเหลือฉุกเฉินเมื่อไฟฟ้าขัดข้อง ARD (AUTOMATIC RESCUE DEVICE)
4.7.1 ระบบช่วยเหลือฉุกเฉินในกรณีทร่ี ะบบไฟฟ้าเกิดขัดข้อง ระบบจะขับลิฟต์ไปชัน้ ทีใ่ กล้ทส่ี ดุ โดยใช้
ความเร็วตํ่า และช่วยเปิ ดประตูลฟิ ต์ให้ผโู้ ดยสารออกมาได้โดยปลอดภัย ทําให้ลฟิ ต์ไม่ตดิ ค้างระหว่างชัน้ โดยระบบสํารอง
ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ และลิฟต์จะทํางานต่อโดยอัตโนมัตเิ มื่อระบบไฟฟ้าเป็ นปกติ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 459 of 521

4.7.2 ระบบชาร์จไฟเข้าเองโดยอัตโนมัติ โดยใช้ SEALED LEAD–ACID BATTERY ไม่ตอ้ งเติมนํ้ากลัน่

5. ระบบช่วยการวิ่ ง
5.1 นํ้าหนักถ่วง (COUNTERWEIGHT) เป็ นเหล็กหล่อติดตัง้ ซ้อนกันในโครงเหล็กแข็งแรงให้ได้น้ําหนัก
เหมาะสม เพื่อช่วยให้ลฟิ ต์วงิ่ ได้นุ่มนวลการเคลื่อนขึน้ ลงจะต้องมี SLIDING GUIDES บังคับในรางเหล็กแข็งแรงให้ได้
นํ้าหนักเหมาะสมทีจ่ ะช่วยให้ลฟิ ต์วงิ่ ได้นุ่มนวลการเคลื่อนขึน้ ลงจะต้องมี SLIDING GUIDES บังคับในรางเหล็ก
5.2 รางลิฟต์ใช้รางเหล็กผิวหน้าใสเรียบผลิตจากโรงงานลิฟต์ให้มขี นาดปลอดภัยทีจ่ ะรับนํ้าหนักของตัวลิฟต์
พร้อมนํ้าหนักบรรทุกตามความเร็วทีก่ าํ หนด
5.3 การหล่อลื่นรางลิฟต์ และรางลูกถ่วงจะต้องหล่อลื่นได้ตลอดเวลาจากส่วนเก็บนํ้ามันหล่อลื่นทีต่ ดิ กับตัวลิฟต์
ลวดสลิงทีจ่ ะใช้จะต้องเป็ นลวดสลิงสําหรับลิฟต์โดยเฉพาะมี SPRING BUFFER รองรับการกระแทกของตัวลิฟต์และลูกถ่วง
นํ้าหนักทีก่ น้ บ่อลิฟต์

6. ระบบพิ เศษ
6.1 เหล็กส่วนทีไ่ ม่ได้พ่นสี จะต้องมีระบบป้องกันสนิมอย่างดี
6.2 มีกระจกเงาติดตัง้ ผนังด้านในของตัวลิฟต์ขนาดไม่น้อยกว่า 1000x1100 มิลลิเมตร
6.3 ปุม่ กดเป็ นแบบ MICRO STROKE BUTTON พร้อมเสียงและอักษรเบรลล์
6.4 ปุม่ กดชัน้ ต่างๆ ตามจํานวนชัน้ ทีจ่ อด ชนิดกดแล้วมีแสงแสดงการตอบรับคําสัง่
6.5 มีตวั เลขและเสียงบอกตําแหน่งชัน้ ต่างๆ เมื่อลิฟต์หยุดและขึน้ หรือลง
6.6 ราวมือจับโดยรอบภายในตัวลิฟต์ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 30 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 40
มิลลิเมตร สูงจากพืน้ ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร

7. ความเร็วลิ ฟต์
ความเร็วลิฟต์ไม่น้อยกว่า 60 เมตรต่อนาที ปรับความเร็วอัตโนมัติ หรือความเร็วตามรูปแบบกําหนด

8. ระบบขับเคลื่อน
ระบบขับเคลื่อนแบบ TRACTION DRIVE (ROPE DRIVE) ใช้เครื่องขับลิฟต์ชนิดไม่มเี กียร์ (GEARLESS)

9. ฟังก์ชนการท
ั่ างานของโปรแกรม ประกอบด้วย
9.1 เครื่องอ่านบัตรแบบมีปมุ่ กด
9.2 เครื่องอ่านบัตรแบบไม่มปี มุ่ กด
9.3 เครื่องอ่านบัตรสําหรับลิฟต์
9.4 เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
9.5 รายละเอียดของระบบ
- จํานวนผูถ้ อื บัตรสูงสุด 5,000 คน/ระบบ
- จํานวนลายนิ้วมือสูงสุด 2,000 ลายนิ้วมือ/ระบบ
- จํานวนตูค้ วบคุมระบบสูงสุด 20 ตู/้ ระบบ
- จํานวนประตูสงู สุด 4 ประตู/ตูค้ วบคุม
- จํานวนคอมพิวเตอร์จดั การระบบสูงสุด 5 เครื่อง/ระบบ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 460 of 521

- จํานวนบันทึกการใช้งานสูงสุด 20,000 เหตุการณ์/ตูค้ วบคุม/1,000,000 เหตุการณ์/ระบบ


- จํานวนบันททึกการแจ้งเตือนสูงสุด 1,000 เหตุการณ์/ตูค้ วบคุม/100,000 เหตุการณ์/ระบบ

10. เงื่อนไขพิ เศษสาหรับ ทีจ่ ดั ไว้สาํ หรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพและคนชรา ตามกฎกระทรวงฯ 2548


ลิฟต์ทผ่ี พู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราใช้ได้ทม่ี ลี กั ษณะเป็ นห้องลิฟต์ตอ้ งมีลกั ษณะ ดังต่อไปนี้
(1) ขนาดของห้องลิฟต์ตอ้ งมีความกว้างไม่น้อยกว่า 1,100 มิลลิเมตร และยาวไม่น้อยกว่า 1,400 มิลลิเมตร
(2) ช่องประตูลฟิ ต์ตอ้ งมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และต้องมีระบบแสงเพื่อป้องกันไม่ให้
ประตูลฟิ ต์หนีบผูโ้ ดยสาร
(3) มีพน้ื ผิวต่างสัมผัสบนพืน้ บริเวณหน้าประตูลฟิ ต์กว้าง 300 มิลลิเมตร และยาว 900 มิลลิเมตร ซึง่ อยู่ห่าง
จากประตูลฟิ ต์ไม่น้อยกว่า 300 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 600 มิลลิเมตร
(4) ปุม่ กดเรียกลิฟต์ ปุม่ บังคับลิฟต์ และปุม่ สัญญาณแจ้งเหตุฉุกเฉินต้องมีลกั ษณะ
ดังต่อไปนี้
(ก) ปุม่ ล่างสุดอยู่สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร ปุม่ บนสุดอยู่สงู จากพืน้ ไม่เกินกว่า 1,200
มิลลิเมตร และห่างจากมุมภายในห้องลิฟต์ไม่น้อยกว่า 400 มิลลิเมตร ในกรณีทห่ี อ้ งลิฟต์มขี นาดกว้างและ
ยาวน้อยกว่า 1,500 มิลลิเมตร
(ข) มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร มีอกั ษรเบรลล์กาํ กับไว้ทุกปุม่ เมื่อกดปุม่
จะต้องมีเสียงดังและมีแสง
(ค) ไม่มสี งิ่ กีดขวางบริเวณทีก่ ดปุม่ ลิฟต์
(5) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์ โดยราวมีลกั ษณะตามทีก่ าํ หนดในข้อ 8 (๗) (ก) (ข) (ค) และ (ง)
(6) มีตวั เลขและเสียงบอกตําแหน่งชัน้ ต่าง ๆ เมื่อลิฟต์หยุด และขึน้ หรือลง
(7) มีป้ายแสดงหมายเลขชัน้ และแสดงทิศทางบริเวณโถงหน้าประตูลฟิ ต์และติดอยูใ่ นตําแหน่งทีเ่ ห็นได้
ชัดเจน
(8) ในกรณีทล่ี ฟิ ต์ขดั ข้องให้มที งั ้ เสียงและแสงไฟเตือนภัยเป็ นไฟกะพริบสีแดง เพื่อให้คนพิการทางการ
มองเห็นและคนพิการทางการได้ยนิ ทราบ และให้มไี ฟกะพริบสีเขียวเป็ นสัญญาณให้คนพิการทางการได้ยนิ
ได้ทราบว่าผูท้ อ่ี ยู่ขา้ งนอกรับทราบแล้วว่าลิฟต์ขดั ข้องและกําลังให้ความช่วยเหลืออยู่
(9) มีโทรศัพท์แจ้งเหตุฉุกเฉินภายในลิฟต์ซง่ึ สามารถติดต่อกับภายนอกได้ โดยต้องอยู่สงู จากพืน้ ไม่น้อยกว่า
900 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,200 มิลลิเมตร
(10) มีระบบการทํางานทีท่ าํ ให้ลฟิ ต์เลื่อนมาอยู่ตรงทีจ่ อดชัน้ ระดับพืน้ ดินและประตูลฟิ ต์ตอ้ งเปิ ดโดยอัตโนมัติ
เมื่อไฟฟ้าดับ

11. การรับประกันและบารุงรักษา
11.1 เพื่อให้การรับประกันและบํารุงรักษาลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ มีคุณภาพดีตลอดไปผูร้ บั จ้างต้องจัดซือ้
จัดหาลิฟต์ทม่ี คี ุณภาพ บริษทั ผูผ้ ลิตหรือผูแ้ ทนจําหน่ายทีม่ คี ุณภาพดีเชื่อถือได้
11.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดซือ้ จัดหาจากผูแ้ ทนจําหน่ายโดยตรง และบริการในประเทศไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี
11.3 ผูร้ บั จ้างหรือบริษทั ผูผ้ ลิตหรือตัวแทนจําหน่ายทีถ่ ูกต้องจะต้องรับประกันลิฟต์และอุปกรณ์ประกอบต่างๆ เป็ น
เวลา 2 ปี นับตัง้ แต่วนั รับมอบงาน ถ้าอุปกรณ์สว่ นหนึ่งส่วนใดเกิดชํารุดเสียหายจากการทํางานของผูข้ ายจะต้องเปลีย่ นให้
ใหม่โดยจะคิดเงินเพิม่ ไม่ได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 461 of 521

11.4 ผูร้ บั จ้างหรือบริษทั ผูผ้ ลิตหรือตัวแทนจําหน่ายทีถ่ ูกต้องจะต้องให้บริการดูแลบํารุงรักษาความสะอาดและ


ซ่อมแซม
การเสียหายต่างๆ โดยไม่คดิ ค่าบริการเป็ นเวลา 2 ปี นับตัง้ แต่วนั ส่งมอบงานอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้ และจะต้องมีช่าง
พร้อมตลอด 24 ชัวโมง่

จบหมวดที่ 81

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 462 of 521

งานระบบป้ องกันเพลิ งไหม้


หมวดที่ 82
ระบบดับเพลิ ง

1. เครือ่ งสูบน้าดับเพลิ ง (FIRE PUMP)


ใช้สบู นํ้าส่งไปยังตูด้ บั เพลิงสายฉีด (FHC) และระบบดับเพลิงชนิดโปรยนํ้าฝอย (SPRINKLER) เครื่องสูบนํ้าชนิดขับ
ด้วยเครื่องยนต์ดเี ซล มีแผงควบคุม (CONTROL PANEL) แยกออกเป็ นเอกเทศของตัวเองชนิด และขนาดความสามารถ
ของเครื่องสูบนํ้า รายละเอียดข้อกําหนดของเครื่องสูบนํ้ามีดงั นี้
1.1 รายละเอียดทัวไป ่
(1) จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐาน NFPA 20-STANDARD FOR THE INSTALLATION OF CENTRIFUGAL FIRE
PUMP
(2) เครื่องสูบนํ้าต้องเป็ นชนิด HORIZONTAL SPLIT CASE CENTRIFUGAL PUMP
(3) เครื่องสูบนํ้าดับเพลิงจะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์จากยุโรปหรืออเมริกา
(4) เครื่องสูบนํ้าดับเพลิงจะต้องผลิตได้มาตรฐาน UL และ/หรือ FM ของสหรัฐอเมริกา
1.2 ลักษณะโครงสร้างของเครื่องสูบนํ้าดับเพลิง (FIRE PUMP)
(1) เครื่องสูบนํ้า (CASING) ทําด้วยเหล็กหล่อ (ASTM A48) สามารถทนแรงดันใช้งานปกติ (WORKING PRESSURE)
ได้ไม่ต่ํากว่า 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว
(2) ใบพัด (IMPELLER) ต้องเป็ นโลหะชิน้ เดียวทําด้วย BRONZE
(3) CASING WEARING RING ต้องเป็ นชนิดทีเ่ หมาะสมกับสภาพการใช้งานทําด้วย BRONZE สอดผ่าน (ASTM
B145)
(4) เพลา (SHAFT) ทําด้วย HIGH TENSILE STEEL หรือ STAINLESS STEEL พร้อมด้วย SLEEVES ทําด้วย
BRONZE สอดผ่าน STUFFING BOXES
(5) ปลอกหุม้ เพลา (SHAFT SLEEVES) ยึดติดกับเพลาด้วยสลัก และมีความยาวยื่นออกพ้นนอกซีล มีโอริง ปะเก็นตรง
ระหว่างใบพัดกับปลายปลอกหุม้ เพลา เพื่อกันนํ้าเข้าระหว่างเพลากับปลอกหุม้ เพลา
(6) BEARING ต้องเป็ นชนิด HEAVY DUTY BALL BEARING เป็ น DUST SEAL ในตัวสามารถถอดออกซ่อมโดยง่าย
ออกแบบให้ใช้งานตามทีก่ าํ หนดได้ไม่ต่ํากว่า 100,000 ชัวโมง่
(7) SEAL เป็ นชนิด PACKING SEAL ทําจาก GRAPHITE ASBESTOS
(8) เครื่องสูบนํ้า มีขนาดของหน้าแปลนตามมาตรฐาน ANSI 250 PSI
1.3 เครื่องยนต์ดเี ซล
เครื่องยนต์ทน่ี ํามาใช้ในการขับเคลื่องสูบนํ้าดับเพลิงจะต้องมีกาํ ลังขับเคลื่อน ไม่ต่ํากว่าทีร่ ะบุไว้โดยวัดที่
STANDARD SEA CONDITIONS ทีร่ ะดับ 152.5 เมตร เหนือระดับนํ้าทะเล (29.4 องศาเซลเซียส) กําลังขับเคลื่อน
(BRAKE HORSE POWER) ของเครื่องยนต์จะต้องสูงกว่ากําลังขับเคลื่อนทีเ่ ครื่องสูบนํ้าต้องการสูงสุด ไม่ต่ํากว่า 20%
ข้อกําหนดและอุปกรณ์ประกอบอื่นๆ ของชุดเครื่องยนต์ดเี ซลมีดงั นี้
(1) การต่อเครื่องยนต์กบั เครื่องสูบนํ้าใช้เป็ นไปตามมาตรฐาน UL/FM
(2) GOVERNOR สําหรับปรับรอบของเครื่องยนต์ให้เปลีย่ นแปลงไม่เกิน 10% ทุกสภาวะการทํางานของเครื่องสูบนํ้า
และจะต้องสามารถช่วยคงความเร็วรอบของเครื่องยนต์ให้ได้ท่ี RATED SPEED เมื่อเครื่องสูบนํ้าใช้กาํ ลังสูงสุด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 463 of 521

(3) OVER SPEED SHUT-DOWN DEVICE สําหรับหยุดเครื่องยนต์ เมื่อระบบของเครื่องยนต์เกิน 20% ของ RATED
SPEED
(4) TACHOMETER พร้อมหน้าปทม์ ั เพื่อแสดงรอบของเครื่องยนต์
(5) HOUR METER สําหรับบันทึกชัวโมงการทํ
่ างานของเครื่องยนต์
(6) OIL PRESSURE GAUGE สําหรับแสดงความดันของนํ้ามันหล่อลื่น
(7) TEMPERATURE GAUGE สําหรับแสดงอุณหภูมขิ องนํ้าในหม้อนํ้า
(8) แผงควบคุมเครื่องยนต์ (ENGINE PANEL) ติดตัง้ ตําแหน่งทีเ่ หมาะสมของเครื่องยนต์ประกอบด้วยแผงสําหรับติดตัง้
เกจ์ต่างๆ หลอดสัญญาณและชุดสตาร์ทเครื่องยนต์ โดยอัตโนมัตกิ ารเดินสายภายในแผงควบคุมจะต้องทําสําเร็จมา
จากโรงงานผูผ้ ลิต
(9) BATTERIES AND BATTERY CHARGER สําหรับสตาร์ทเครื่องยนต์ แบตเตอรีจ่ ะประกอบด้วยแบตเตอรีจ่ ริง 1
ชุด และแบตเตอรีส่ าํ รอง 1 ชุด มีกาํ ลังพอทีจ่ ะหมุนเพลาข้อเหวีย่ งให้ได้รอบทีผ่ ผู้ ลิตแนะนําเป็ นเวลานาน 6 นาที ที่
40°C
(10) ระบบระบายความร้อนของเครื่องยนต์ เป็ นแบบระบายความร้อนด้วยนํ้าแบบ CLOSED CIRCUIT TYPE
ประกอบด้วยปมนํ ั ้ ้าระบายความร้อนขับด้วยเครื่องยนต์เอง และ HEAT EXCHANGER พร้อม COOLING PIPING
ซึง่ ประกอบด้วย STRAINER, REGULATOR, SOLENOID VALVE, BY PASS VALVE และ SERVICE VALVE
(11) ท่อ EXHAUST ต้องเป็ นแบบ MUFFLERS สําหรับ RESIDENTIAL SILENCING และ FLEXIBLE
EXHAUST FITTING พร้อม INSULATION
(12) ถังนํ้ามันดีเซลมีขนาดความจุพอทีจ่ ะเก็บนํ้ามันสําหรับใช้ในการเดินเครื่องยนต์ดเี ซลได้ 8 ชัวโมง ่ ติดตัง้ อยู่เหนือดิน
ใกล้กบั เครื่องยนต์ มีอุปกรณ์ประกอบครบชุด เช่น ทางเติมนํ้ามัน ทางจ่ายนํ้ามัน ทางนํ้ามันล้นกลับ ทางระบาย
อากาศ ทางเครน ช่องทําความสะอาดถัง และ SIGHT GLASS ดูระดับนํ้ามัน

2. เครือ่ งสูบน้ารักษาแรงดัน (JOCKEY PUMP)


ใช้สาํ หรับรักษาแรงดันในเส้นท่อระบบนํ้าดับเพลิง มีแผงควบคุม (CONTROL PANEL) แยกออกเป็ นเอกเทศของ
ตัวเองชนิด และขนาดความสามารถของเครื่องสูบนํ้า ซึง่ มีรายละเอียดข้อกําหนดของเครื่องสูบนํ้ามีดงั นี้
2.1 เครื่องสูบนํ้าต้องเป็ นชนิด NON-OVERLOADING HORIZONTAL GENERATIVE TURBINE หรือ MULTI
STAGE IN LINE CENTRIFUGAL PUMP ขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าประกอบสําเร็จรูปจากโรงงานเดียวกัน
2.2 CASING ทําด้วยเหล็กหล่อ หรือ STAINLESS STEEL ใบพัดทําด้วยบรอนซ์ หรือ STAINLESS STEEL
เพลาทําด้วย STAINLESS STEEL
2.3 ตัวเรือนเครื่องสูบนํ้าสามารถใช้งานปกติทแ่ี รงดันสูงสุด (MAX.WORKING PRESSURE) ได้300 PSI
2.4 เครื่องสูบนํ้าจะต้องมี RELIEF VALVE เพื่อระบายความดันของนํ้า
2.5 มอเตอร์ขบั เป็ นชนิดปกปิ ดมิดชิด TOTALLY ENCLOSED FAN COOLED (TEFC) TYPE ใช้ไฟ 3
PHASE/50 Hz/380 V.
2.6 เครื่องสูบนํ้าพร้อมมอเตอร์ จะต้องประกอบจากโรงงานผูผ้ ลิตเครื่องสูบนํ้า

3. อุปกรณ์ประกอบเครือ่ งสูบดับเพลิ งและเครือ่ งสูบรักษาความดัน


3.1 ECCENTRIC REDUCER
3.2 MAIN RELIEF VALVE (UL OR FM LABELED)
3.3 ENCLOSED WASTE CONE

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 464 of 521

3.4 AIR VENT ต่อเครื่องสูบทุกชุด (FM LABELED)


3.5 SUCTION & DISCHARGE PRESSURE GAUGE (UL OR FM LABELED)

4. อุปกรณ์ระบบดับเพลิ ง
4.1 ตูเ้ ก็บสายฉีดนํ้าดับเพลิง ( FIRE HOSE CABINET ) สามารถผลิตและประกอบภายในประเทศได้
อุปกรณ์โดยทัวไปในระบบที
่ ไ่ ม่ได้ระบุเป็ นอย่างอื่นต้องสามารถทนแรงดันขณะใช้งาน (WORKING PRESSURE)
ได้ไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของแรงดันสูงสุดในระบบ ตูเ้ ก็บสายฉีดนํ้าดับเพลิง เป็ นตูเ้ หล็ก หรือ แสตนเลสพ่นสี
แดง ต้องมีความหนาไม่ต่ํากว่า 1.6 ม.ม. และเมื่อพ่นสีจริงแล้วจะต้องนําไปอบสีจริงทีอ่ ุณหภูมทิ ่เี หมาะสมเพื่อให้สมี ี
ความทนทานต่อการขีดข่วน ประตูตจู้ ะต้องสามารถเปิ ดได้ 180๐ การติดตัง้ จะเป็ นชนิดลอย ชนิดฝงั หรือตัง้ พืน้
ตามทีแ่ สดงไว้ในแบบ อุปกรณ์ประกอบตู้ มีดงั นี้คอื
- ทีล่ อ็ กประตูชนิดกดแล้วเด้ง พร้อมกุญแจ
- บานพับประตูแบบซ่อนในยาวตลอดความยาวประตู
- กระจกเป็ นแบบนิรภัยชนิดแตกเป็ นเมล็ดข้าวโพด ( CLEAR SAFETY GLASS ) หนาไม่น้อยกว่า 4 มม.
- ตูด้ บั เพลิงต้องมีขนาด กว้าง x สูง x ลึก เท่ากับขนาดทีร่ ะบุในแบบ
- เป็ นผลิตภัณฑ์ประกอบภายในประเทศ
4.2 กงล้อสายฉีดนํ้าดับเพลิง ( HOSE REEL ) ประกอบด้วยอุปกรณ์มาตรฐานดังนี้
- เป็ นชนิด AUTOMATIC SWING HOSE REEL ถูกรับรองโดยมาตรฐาน BRITISH STANDARD
( EUROPEAN STANDARD ) BS EN 671-1
- ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางสาย 1 นิ้ว ยาว 100 ฟุต ( 30 เมตร ) ทนแรงดันทดสอบ ( PROOF PRESSURE
) ได้ไม่น้อยกว่า 24 BAR ( 348 PSI ), ทนแรงดันระเบิด ( BURSTED PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า
42 BAR ( 600 PSI ) และทนแรงดันขณะใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 12
BAR ( 174 PSI )
- วาล์วควบคุมแบบ อัตโนมัติ เมื่อดึงสายออกประมาณ 3 รอบวาล์วสามารถเปิ ดให้น้ําไหลออกมายังหัวฉีด
ได้และปิ ดเมื่อสายถูกม้วนกลับ
- สายทําด้วย RUBBER IN RED COLOR เป็ นชนิด THREE PLY WITH TWO SYNTHETIC
RUBBER LAYERS AND TEXTILE REINFORCEMENT ผลิตตามมาตรฐาน EN 694
- BALL VALVE & NIPPLE ขนาด 25 มิลลิเมตร ( 1นิ้ว ) ทําด้วย BRASS
- หัวฉีดเป็ นชนิดปรับฝอยได้ ( ADJUSTABLE FOG NOZZLE ) เป็ นชนิดทีท่ าํ ด้วยทองเหลืองชุบโครเมีย่ ม
หรือ RIGID PLASTIC FAST OPENING
4.3 แองเกิล้ โฮสวาล์ว ( ANGLE HOSE VALVE )
- ทําด้วยทองเหลือง ( BRASS ) ขนาด 2 ½ นิ้ว ได้รบั รองมาตรฐานโดย UL หรือ FM พร้อมข้อต่อ, ฝาปิ ด
และโซ่
- ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 300 PSI
4.4 บอลล์วาล์ว ( BALL VALVE )
- ทําด้วยบรอนซ์ ( BRONZE ) ขนาด 1 นิ้ว ยึดข้อต่อโดยใช้เกลียว ( SCREWED ENDS )
- ทนแรงดันใช้งาน ( WORKING PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 500 PSI
4.5 เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ ( PORTABLE FIRE EXTINGUISHER )

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 465 of 521

- เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ABC ได้รบั รองมาตรฐานโดย มอก. 332 - 2537 ( TIS. 332-1994 )


ขนาด 10 ปอนด์ (4.5กิโลกรัม) ความสามารถดับไฟไม่น้อยกว่าระดับ 6A : 10B
- ทนแรงดันทดสอบ ( TESTED PRESSURE ) ได้ไม่ต่ํากว่า 500 PSI
4.6 สายฉีดนํ้าดับเพลิง ( SYNTHETIC FIRE HOSE ) สําหรับ HOSE VALVE ขนาด 65 มิลลิเมตร (
2 ½ นิ้ว ) เป็ นสายทีถ่ กั จากเส้นใย HIGHT TENACITY SYNTHETIC YARN เคลือบด้วย RED ELASTOMERIC
สีแดง สวมอยู่บนท่อยางสังเคราะห์ ( EPDM RUBBER LINED ) ขนาด 64 มิลลิเมตร( 2 ½ นิ้ว ) ความยาว
30 เมตร ( 100 ฟุต ) ทนแรงดันขณะใช้งาน ( WORKING PRESSSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 260 PSI ทนแรงดัน
ระเบิด ( BURSTED PRESSURE ) ได้ไม่น้อยกว่า 550 PSI ได้รบั รองมาตรฐานโดย UL หรือ FM หรือ LLOYD’S
REGISTER , ผลิตตาม BS : 6391 TYPE 2 มีขอ้ ต่อพร้อมมากับสาย การมัดสายกับข้อต่อให้ใช้ลวดทีม่ คี วามแข็งแรง
เป็ นเครื่องมัด หัวฉีดขนาด 2 ½ นิ้ว เป็ นชนิดปรับฝอยได้ ( ADJUSTABLE FOG NOZZLE ) เป็ นชนิดทีท่ าํ
ด้วยทองเหลือง
4.7 ถุงมือทนความร้อน สามารถทนความร้อนได้ไม่ต่ํากว่า 200°C ขนาด 10 นิ้ว
4.8 ขวาญผจญเพลิง ขนาด 6 ปอนด์ ยาว 36 นิ้ว ทาสีแดง

5. เครือ่ งดับเพลิ งชนิ ดมือถือ ( PORTABLE FIRE EXTINGUISHER )


5.1 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ABC ได้รบั รองมาตรฐานโดย มอก. 332 - 2537 ( TIS. 332-1994 )
ขนาด 10 ปอนด์ (4.5กิโลกรัม) ความสามารถดับไฟไม่น้อยกว่าระดับ 6A : 10B
5.2 ทนแรงดันทดสอบ ( TESTED PRESSURE ) ได้ไม่ต่ํากว่า 500 PSI
5.3 ไม่มสี ารทีเ่ ป็ นอันตรายตกค้างอยู่หลังจากใช้งาน

6. ระบบดับเพลิ งแบบโปรยน้าฝอย (SPRINKLER SYSTEM)


6.1 ทัวไป ่
ระบบโปรยนํ้าฝอยทํางานร่วมกับเครื่องสูบนํ้าดับเพลิงและเครื่องสูบนํ้ารักษาแรงดันภายในท่อเพลิง (WETSTAND
PIPE) ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ หัว SPRINKLER พร้อมทัง้ ตรวจสอบและปรับแต่งให้ระบบทํางานได้โดยอัตโนมัติ ให้ครอบคลุม
พืน้ ทีท่ งั ้ หมดของอาคารตามแบบ โดยอิงมาตรฐาน NFPA 13, UL LISTED และ FM
6.2 รายละเอียดอุปกรณ์ประกอบ
(1) ชุด CONTROL VALVE และ ALARM DEVICE ติดตัง้ ตําแหน่งตามแบบตัว CONTROL VALVE ประกอบด้วย
STOP, ALARM, DRAIN และ TEST VALVE RETARDING CHAMBER, WATER MOTOR ALARM,
PRESSURE GAUGE และอุปกรณ์อ่นื ๆ ในการตรวจสอบและการทํางานของระบบอย่างสมบูรณ์ ALARM VALVE
จะต้องเป็ นชนิด FULL GATE TYPE ทําด้วยเหล็กหล่อชนิดหน้าแปลน NON RISING SPINDLE RUBBER
FACED CLAPPER ติดตัง้ ในแนวตัง้ หรือแนวนอนของท่อเมน
(2) PRESSURE SWITCHES ควบคุมความดันในการทํางานของระบบเมื่อความดันตก
(3) FLOW SWITCH ทํางานด้วยระบบไฟ DC เพื่อแสดงการไหลของนํ้า
(4) TEST VALVE ขนาด 1 นิ้ว และ SIGHT GLASS สําหรับ FLOW SWITCH (WATER FLOW INDICATOR) ของ
แต่ละตัวตามตําแหน่งทีแ่ สดงในแบบ
(5) PRESSURE GAGES จํานวน 3 ตัว ติดตัง้ เหนือ ALARM VALVE เพื่ออ่านค่าความดันในระบบหนึ่งตัวติดตัง้ ที่
MANIFOLD หนึ่งตัว และที่ END TEST อีกหนึ่งตัวเพื่ออ่านค่าแรงดันทางด้านจ่ายตัว PRESSURE GUAGE
จะต้องมีขนาดทีเ่ หมาะสมโดยต้องขออนุมตั กิ ่อนทําการติดตัง้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 466 of 521

(6) SPRINKLERS เป็ นชนิดมาตรฐาน โดยทัวไปติ ่ ดตัง้ ตามตําแหน่งในแบบหัว SPRINKLER เป็ นชนิดกระเปาะแก้ว
โดยมีอตั ราการทํางานทีอ่ ุณหภูมิ 68°C สําหรับพืน้ ทีท่ วไป
ั ่ และมีอตั ราการทํางานทีอ่ ุณหภูมิ 79 °C สําหรับติดตัง้ ใน
ครัว และห้องเตรียมอาหาร ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งหัว SPRINKLER เป็ นตัวอย่างและ CATALOGE เพื่อขออนุมตั กิ ่อน
ดําเนินการติดตัง้
- UPRIGHT SPRINKLER
ใช้สาํ หรับติดตัง้ ในบริเวณห้องเครื่อง, บริเวณทีไ่ ม่มฝี ้ าและทีอ่ ่นื ๆ ตามทีร่ ะบุในแบบ
มีรายละเอียดดังนี้
- FRANGIBLE BULB TYPE
- ½” DIA. NOMINAL ORIFICE
- ทําด้วยทองเหลืองชุบโครเมีย่ มทัง้ ชุด
- อุณหภูมใิ ช้งาน 68๐ C ( 155 ๐F )
- PENDENT SPRINKER
ใช้สาํ หรับติดตัง้ ในส่วนงานสํานักงาน, ทางเดิน และทีอ่ ่นื ๆ ตามทีร่ ะบุในแบบ มีรายละเอียด
ดังนี้
- FRANGIBLE BULB TYPE
- ½” DIA. NOMINAL ORIFICE
- ทําด้วยทองเหลืองชุบโครเมีย่ มทัง้ ชุด
- อุณหภูมใิ ช้งาน 68๐ C ( 155 ๐F )
- CEILING PLATE FINISHED
(7) END TEST ติดตัง้ TEST VALVE ขนาด 1 นิ้วพร้อม SIGHT GLASS ของแต่ละ END TEST ตามตําแหน่งทีแ่ สดง
ในแบบ
(8) GRAPHIC ANNUNCIATOR แสดงสภานการณ์ทาํ งานของวาล์วและ FLOW SWITCH พร้อม RESET เป็ นตูเ้ หล็ก
แผ่นหรืออลูมเิ นียม ขนาดเหมาะสมกับอาคาร ติดตัง้ ตําแหน่งตามแบบ เดินสายสัญญาณด้วยสาย THW ขนาด 2.5
SQ.MM. ในท่อ EMT. ส่งขออนุมตั ริ ปู แบบก่อนการติดตัง้
(9) TESTING และ COMMISSIONING ภายหลังการติดตัง้ ระบบ หรือระหว่างการติดตัง้ จะต้องทําการตรวจสอบรอยรัว่
ของท่อด้วยความดัน 300 PSI เป็ นเวลา 24 ชัวโมง ่ โดยปราศจากการรัว่ ทัง้ นี้ค่าใช้จ่ายในการทดสอบทัง้ หมด โดย
ผูร้ บั จ้างเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ

จบหมวดที่ 82

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 467 of 521

หมวดที่ 83
ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิ งไหม้

1. ความต้องการทัวไป

1.1 ทัวไป
่ ระบบสัญญานแจ้งเหตุเพลิงไหม้ตอ้ งเป็ นระบบPRESIGNAL,NON -CODED CLOSED POOP
SYSTEM ตามมาตราฐาน NFPA โดยทีว่ สั ดุ และอุปกรณ์ทใ่ี ช้ในระบบ ได้รบั การรับรองคุณภาพจาก ULหรือ LPCB
1.2 ขอบเขต ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาและติดตัง้ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้และอุปกรณ์ประกอบตามทีแ่ สดงใน
แบบ และระบุในข้อกําหนดนี้ทุกประการ

2. ความต้องการทางด้านเทคนิ ค
2.1 อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ (INITIATING DEVICES) ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างน้อยดังนี้
ก แผงควบคุมรวม(Fire Alarm Control Panel, FCP) ทําด้วยแผ่นเหล็กหนา ประกอบสําเร็จรูปจากโรงงานผูผ้ ลิต มีความ
แข็งแรงไม่ผุกร่อน หรือเป็ นสนิมได้ง่าย ซึง่ ประกอบด้วยโซนต่างๆของระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ภายในแผงควบคุม
ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิคส์ชนิด Modular Unit ต่างๆซึง่ ควบคุมการทํางานด้วยไมโครโปรเซสเซอร์และทํางานด้วย
ไฟตรง 24V โดยแปลงไฟฟ้ามาจากวงจรไฟสลับ 220 V 50 Hz ซึง่ ชุดควบคุม 1loop ต่อ อุปกรณ์ทเ่ี ป็ น Smoke Address / Heat
Address / Manual Address หรือ Module ได้ 230 Address พร้อมทัง้ มีอุปกรณ์ต่างๆอย่างน้อยดังนี้
1 หลอดไฟสัญญาณ (Led Type) แสดงให้รวู้ ่ามีไฟ (AC Power On) หลอดแสดงการเกิดเพลิงไหม้(Alarm) หลอด
แสดงเหตุขดั ข้อง (Trouble) หรือหลอดแสดงสาเหตุของการขัดข้อง เช่นไฟเมนเสีย(AC Power Failure) แรงดันของแบตเตอรี่
ตํ่า (Low Battery Voltage) วงจรรัวลงดิ
่ น (Ground Fault)ฯลฯ
2 สวิต๊ ซ์ควบคุม (Control Switch) สําหรับตัดเสียงสัญญาณ (Alarm-Silence/Acknowledge)สวิต๊ ซ์
ยกเลิกสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้(System Reset Switch) เมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม้ (General Alarm)สวิต๊ ซ์ทดสอบหลอดไฟ
สัญญาณ (Lamp Test Switch)ฯลฯ
ข การแสดงสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Annuciator) โดยใช้หลอดไฟสัญญาณแสดงตําแหน่งของโซนทีเ่ กิดเหตุเพลิง
ไหม้ ทีไ่ ด้แบ่งไว้ตามแผนผังของอาคาร (Graphic Annunciator)มอนิเตอร์จอสี(Color Monitor) เครื่องบันทึกข้อมูล
(Printer)มีการแสดงสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ระยะไกล(Remote Annunciator)ซึง่ ติดตัง้ ทีห่ อ้ งยามตามทีไ่ ด้แสดงไว้ในแบบ
(ถ้าในแบบกําหนดให้ตดิ ตัง้ )
ค เครื่องอัดแบตเตอรี่ และแบตเตอรี่ (Battery Charger and Battery) เครื่องอัดแบตเตอรีต่ อ้ งเป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ช้กบั
แรงดันไฟสลับ 220V Hz และแปลงเป็ นแรงดันไฟตรง 24V ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิคส์ต่างๆโวลต์มเิ ตอร์แอมมิเตอร์
หลอดไฟสัญญาณแสดงการทํางานในสภาวะปกติ เป็ นต้น พร้อมทัง้ มีระบบ ป้องกันต่างๆ เช่นกระแสเกิน การลัดวงจรฯลฯ
เป็ นต้น แบตเตอรีเ่ ป็ นชนิดกรดกํามะถัน-ตะกัว(Seal
่ Lead Acid)หรือนิเกิน-แคดเมีย่ ม ซึง่ มีกาํ ลังพอใช้งานขณะไฟเมนดับได้
ไม่น้อยกว่า 24 ชัวโมงและมี
่ กาํ ลังพอใช้งานขณะไฟเมนดับได้ 24 ชัวโมงโดยที
่ เ่ ครื่องอัดแบตเตอรีต่ อ้ งมีขนาดทีเ่ หมาะสมกับ
การใช้งานดังกล่าวด้วย
ง อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้(Initiating Devices) ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่างๆ ซึง่ ได้แสดงในแบบอย่างน้อยดังนี้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 468 of 521

1 ดีเทคเตอร์จบั ความร้อน(Heat Detector) เป็ นแบบผสมของอัตราการเพิม่ ของอุณหภูมิ และอุณหภูมใิ นห้องสูง


เกินกําหนดมากกว่า 15 F ต่อนาที และ 135F ตามลําดับและมีหลอดไฟสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในอาคารสามารถใช้ฐาน
เดียวกับดีเทคเตอร์จบั ควันซึง่ สามารถต่อ Remote Indicating Lamp ได้
2 ดีเทคเตอร์จบั ควัน(Smoke Detector) เป็ นแบบ Photo Eleetric ซึง่ สามารถตรวจจับควันได้ไม่น้อยกว่า80 ตร.ม.
ในพืน้ ทีส่ งู 6-12 ม. และมีหลอดไฟสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในตัว
3 สวิทซ์แจ้งสัญญาณเพลิงไหม้ (Manual Call Point) เป็ นชนิดติดผนัง แบบดึงหรือกด โดยมีแท่งแก้ว หรือ
กระจกป้องกันการดึง หรือกดในสภาวะปกติ มีป้าย"FIRE" หรือสัญลักษณ์ ไฟไหม้ให้ เห็นได้ชดั เจนและมีสวิทซ์กุญแจ
สําหรับไขเพื่อส่ง General Alarm
5 Addressible Smoke และ Heat Sensors สําหรับอุปกรณ์แจ้งเหตุ ทีส่ ามารถแสดงAddress ของบริเวณทีแ่ จ้งเหตุ
เพลิงไหม้ได้
จ อุปกรณ์สง่ เสียงสัญญาณ(Alarm Indicating Device) เป็ นระฆัง (Bell) ขนาดสันผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้วใช้ได้ทงั ้ ภายในและ
ภายนอกอาคาร ทํางานด้วยไฟตรง 24 V และเป็ นชนิดติดลอย
ฉ มอนิเตอร์จอสี (Color Monitor) มีขนาดไม่น้อยกว่า 14 นิ้ว ความระเอียด 800 x 600 ชนิด Low Glare สามารถแสดง
ข้อมูลบนจอได้ไม่น้อยกว่า 24 บรรทัด และ 80 ตัวอักษรต่อบรรทัด และสามารถแสดงภาพกราฟฟิค (Graphic) แสดงแบบ
แปลนของแต่ละชัน้ ของอาคารได้ดว้ ย
ช เครื่องบันทึกข้อมูล (Printer) ซึง่ ใช้ในการพิมพ์สภาวะการทํางานของระบบโดยอัตโนมัตใิ ช้กระดาษ หน้ากว้าง
9 นิ้ว สามารถส่งข้อมูลได้ไม่น้อยกว่า 1200 บิตต่อวินาที (Baud) และอัตราการพิมพ์ไม่น้อยกว่า 150 ตัวอักษรต่อวินาที
ซ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ กําหนดให้มรี ะบบโทรศัพท์ สําหรับพนักงานติดต่อกับห้องควบคุมโดยเตรียม
Handset ไว้อย่างน้อย 2 ชุด (Fire Man Phone) พร้อมอุปกรณ์ประกอบ Built-in อยู่ภายใน FCP และ Fire Man Phone Outlet
ในแต่ละแผงย่อยประจําชัน้ ของอาคาร รวมทัง้ สามารถจัดลําดับ (Priority) การแจ้งเหตุ (Alarm) ของสัญญาณจาก Sensor
ต่างๆ เช่น Manual Station, Smoke & Heat Detector, และMagnetic Door Switch ได้
ฌ Remote Terminal Uniy (RTU) หรือโมดูล (Module) ติดตัง้ ในกล่องทําหน้าที่ Supervise และ Control อุปกรณ์แจ้งเหตุ
เพลิงไหม้ต่างๆตามทีโ่ ปรแกรมไว้ และต้องสามารถต่อไฟ 24 VDC โดยตรง2.2 ระบบการเดินสายของระบบแจ้งเหตุ
เพลิงไหม้ต่างๆ จํานวนและชนิดตามทีร่ ะบุในแบบ ทีป่ ลายสายมีความต้านทานต่อไว้ ซึง่ สามารถตรวจสอบ (Supervised)
สภาวะต่างๆ ในวงจรของระบบสัญญาณแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ได้ เช่น สายขาด หรือ สายรัวลงดิ ่ น เป็ นต้น สําหรับระบบ
การเดินสายสัญญาณจากแผงควบคุมรวมไปยังแผงประจําชัน้ ต่างๆ ให้ใช้สาย Twisted Pair พร้อม Shield ตามมาตรฐานของ
บริษทั ผูผ้ ลิต
2.3 การทํางานของระบบ เมื่อเกิดสัญญาณของโซนจะติดหรือกระพริบ พร้อมทัง้ มีเสียงสัญญาณเฉพาะทีแ่ ผง
ควบคุมรวมจนกว่าผูค้ วบคุมจะกดสวิทซ์ตดั เสียง (Acknowledge) แต่หลอดไฟสัญญาณยังคงติดอยู่จนกว่าระบบฯจะกลับสู่
เหตุการณ์ปกติ แต่ถา้ หากไม่มผี ใู้ ดกดสวิทซ์ตดั เสียง ภายในระยะเวลาทีต่ งั ้ ไว้ (0-5 นาที) ระบบจะส่งเสียงสัญญาณไปยัง
โซนหรืออชัน้ ทีเ่ กิดเพลิงไหม้ และชัน้ อื่นทีอ่ ยูช่ นั ้ บน และชัน้ ล่างลงมาจํานวน 1 ชัน้ รวมเป็ นสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้
ทัง้ หมด 3 ชัน้ และเวลาถัดไปอีก 5- 10 นาที ซึง่ สามารถตัง้ ได้ภายหลังให้สง่ เสียงสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทวทั ั ่ ง้ อาคาร
(Genaral Alarm)
2.4 ให้มกี ารเดินสายควบคุม พร้อมรีเลย์พเิ ศษไปยังอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใช้ งานในขณะเพลิงไหม้ต่างๆดังนี้

ก รีเลย์ควบคุมให้ลฟิ ท์ทุกตัวลงมาชัน้ ล่างสุดของอาคาร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 469 of 521

ข รีเลย์ควบคุมเครื่อง AHU (Air Handling Unit) ทัง้ หมดหยุดทํางาน


ค รีเลย์ควบคุมให้ PRESSURIZING FAN ทัง้ หมดทํางาน
2.5 การเดินสายและท่อ สายไฟฟ้าต่างๆให้มขี นาดไม่เล็กกว่า 1.5 ตร.มม. หรือตามคําแนะนําของบริษทั ผูผ้ ลิต
ส่วนการเดินท่อให้เป็ นไปตามข้อกําหนดของท่อร้อยสายไฟฟ้า

3 การติ ดตัง้
ให้ตดิ ตัง้ แผงควบคุมกลาง ทีผ่ นังในห้องควบคุมของอาคาร ให้ลอยบนผนังตามตําแหน่งทีแ่ สดงในแบบและการติดตัง้
ให้เป็ นไปตามกฎของการไฟฟ้าฯ ตลอดจน NFPA

4 การทดสอบ
ให้ทดสอบการทํางานของระบบฯ ตามมาตรฐานของ NFPA และ UL และตามทีผ่ วู้ ่าจ้างเห็นสมควร โดยมีผแู้ ทนของ
ผูว้ ่าจ้างเข้าร่วมทดสอบด้วย

5 การฝึ กอบรม
ผูร้ บั จ้างต้องจัดฝึกอบรมพนักงานของผูว้ ่าจ้างให้รถู้ งึ วิธกี ารใช้งานระบบฯ และวิธกี ารบํารุงรักษาระบบฯ ด้วย

จบหมวดที่ 83

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 470 of 521

หมวดที่ 84
การอุดช่องเพื่อป้ องกันไฟลาม

1. วัสดุป้องกันไฟลาม
เป็ นผลิตภัณฑ์สาํ เร็จจากต่างประเทศ ทีไ่ ด้รบั การรับรองจากสถาบันทีเ่ ชื่อถือได้ทวไปเช่
ั่ น UL โดยส่งเอกสารขอ
อนุมตั จิ ากตัวแทนผูว้ า่ จ้าง โดยมีคุณสมบัตดิ งั ต่อไปนี้
1.1 ขยายตัวได้อย่างรวดเร็วเมื่อได้รบั ความร้อนสูง
1.2 เกาะยึดได้ดกี บั คอนกรีต โลหะ ไม้ พลาสติก และฉนวนหุม้ สายไฟฟ้า
1.3 สามารถตัดออกได้ง่ายเมื่อแห้งตัว ทนการสันสะเทื ่ อนได้ดี
1.4 สามารถขยายตัวแทนทีฉ่ นวนหุม้ ท่อ ฉนวนหุม้ สายไฟฟ้าและท่อต่าง ๆ ได้เมื่อเกิดเพลิงไหม้เพือ่ ป้องกันไฟ
ลามและควันลามได้
1.5 สามารถขยายทนความร้อนได้ถงึ 1000 องศาเซลเซียส ได้ไม่น้อยกว่า 3 ชัวโมง ่
1.6 ไม่มไี อระเหยทีเ่ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ ทัง้ ในขณะปกติและขณะเกิดเพลิงไหม้
1.7 สามารถถอดประกอบใหม่ เพื่อง่ายต่อการเพิม่ ท่อต่าง ๆ และสายไฟได้ โดยไม่ทาํ ให้ประสิทธิภาพการทนไฟ
เปลีย่ นไป
1.8 สามารถทนทานต่อสภาพความชืน้ สูง มีคุณสมบัตใิ นการยึดเกาะพืน้ ผิวได้ดแี ละสามารถทีจ่ ะทนต่อแรงดันนํ้า
ในสายฉีดนํ้าดับเพลิงได้ โดยจะต้องไม่มกี ารหลุดร่อนหรือเปลีย่ นสภาพคุณสมบัตกิ ารทนไฟและควันลามหลังจากฉีดนํ้า
ดับเพลิงแล้ว

2. การติ ดตัง้ วัสดุป้องกันไฟลาม


ต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด ความเสียหายใด ๆ ทีเ่ กิดจากความผิดพลาดของผูร้ บั จ้าง และ/หรือ ไม่ได้
ทําตามคําแนะนําของผูผ้ ลิต ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขให้ถูกต้องโดยไม่คดิ ค่าใช้จ่ายใด ๆ เพิม่ เติม

3. สถานที่ติดตัง้ วัสดุป้องกันไฟลาม
3.1 ใช้อุดรอบท่อนํ้า ท่อลมและภายในท่อร้อยสาย รางร้อยสาย รางวางสาย สายเดินลอย บัสดักท์ของช่องท่อ
ต่าง ๆ ช่วงทีเ่ ดินทะลุพน้ื ผนังระหว่างชัน้ ทัง้ หมด ตามความเห็นชอบของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน
3.2 ช่องเปิ ดทีเ่ ปิ ดไว้สาํ หรับท่อนํ้า ท่อลม สายไฟ ราง และท่อร้อยในอนาคต ให้อุดช่องดังกล่าวเพื่อป้องกัน
ไฟลามด้วย
3.3 ช่องเปิ ดบริเวณตูไ้ ฟฟ้า
3.4 ช่องว่างทีเ่ กิดจากการเจาะผ่านผนังหรือกําแพงกันไฟ เช่นผนังบันไดหนีไฟ , ผนังลิฟท์ดบั เพลิง เป็ นต้น

จบหมวดที่ 84

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 471 of 521

งานระบบมาตรการป้ องกันและควบคุมอุบตั ิ เหตุ


หมวดที่ 85
มาตรการป้ องกันและควบคุมอุบตั ิ เหตุในงานก่อสร้างของรัฐ (SAFETY)

ตามทีค่ ณะรัฐมนตรีอนุมตั ใิ นหลักการมาตรการป้องกันและควบคุมอุบตั เิ หตุในงานก่อสร้างของรัฐ และให้หน่วยงาน


ของรัฐถือปฏิบตั ติ ่อไป ตามทีก่ ระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมเสนอ โดยให้รบั ความเห็นของสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสํานักงบประมาณ เกีย่ วกับแนวทางในการดําเนินการและค่าใช้จ่ายในการ
จัดระบบความปลอดภัยไปพิจารณาดําเนินการด้วย นอกจากนี้ให้ประเมินผลหลังจากดําเนินการตามมาตรการดังกล่าวแล้ว
ประมาณ 1 ปี เพื่อนําไปใช้ในการพิจารณาปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน และรายงานให้คณะรัฐมนตรีทราบด้วย ดังนี้
1. อนุมตั หิ ลักการให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจกําหนดให้มคี ่าใช้จ่ายเกีย่ วกับระบบการจัดการความ
ปลอดภัยในการทํางานก่อสร้างในโครงการก่อสร้างของรัฐ เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในการทํางานแก่
ลูกจ้างทีป่ ฏิบตั งิ านในโครงการของรัฐ โดยมอบหมายให้สาํ นักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีไปพิจารณาดําเนินการในส่วนที่
เกีย่ วข้องต่อไป
2. กําหนดให้ผรู้ บั เหมาก่อสร้างทีจ่ ะยื่นซองประกวดราคา จัดทําเอกสารแนบท้าย เอกสารประกวดราคาเกีย่ วกับ
"ระบบการจัดการความปลอดภัยในการทํางานก่อสร้าง" ตามข้อ 1 เพื่อป้องกันและควบคุมอุบตั เิ หตุทจ่ี ะเกิดขึน้ ตาม
มาตรฐานความปลอดภัยฯ ของกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม และกฎหมายอื่นฯ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยให้กาํ หนดเฉพาะ
ประเภทของงานก่อสร้าง คือ
 งานอาคารขนาดใหญ่ทม่ี พี น้ื ทีอ่ าคารรวมทุกชัน้ หรือชัน้ หนึ่งชัน้ ใดในหลังเดียวกันเกิน 2,000 ตารางเมตร
หรืออาคารทีม่ คี วามสูงตัง้ แต่ 15.00 เมตร ขึน้ ไป และมีพน้ื ทีอ่ าคารรวมกันทุกชัน้ หรือชัน้ หนึ่งชัน้ ใดในหลัง
เดียวกันเกิน 1,000 ตารางเมตร แต่ไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร
 งานสะพานทีม่ คี วามยาวช่วงเกิน 30.00 เมตร หรืองานสะพานข้ามทางแยกหรือทางยกระดับ หรือสะพาน
กลับรถยนต์ หรือทางแยกต่างระดับ
 งานขุด หรือซ่อมแซม หรือรือ้ ถอนระบบสาธารณูปโภคทีล่ กึ เกิน 3.00 เมตร
 งานอุโมงค์ หรือทางลอด
 งานก่อสร้างทีม่ งี บประมาณค่าก่อสร้างเกิน 300 ล้านบาท
3. กําหนดให้ผรู้ บั จ้าง หรือ ผูร้ บั เหมาก่อสร้าง ทีไ่ ด้รบั การคัดเลือกให้เป็ นผูร้ บั จ้างงานก่อสร้าง ตามข้อ 2 จัดทํา
แผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยในการทํางานอย่างละเอียดและชัดเจนให้สอดคล้องกับระบบการจัดการความปลอดภัยในการ
ทํางานก่อสร้าง แล้วยื่นต่อผูว้ ่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการฯ ก่อนการดําเนินการก่อสร้างภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทําสัญญา
ว่าจ้าง
4. กําหนดให้ผคู้ มุ งานของผูว้ ่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการฯ เป็ นผูค้ วบคุมดูแลและตรวจสอบการปฏิบตั งิ านใน
หน่วยงานก่อสร้าง โดยให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ติ ามแผนปฏิบตั งิ านความปลอดภัยฯ ตามข้อ 3 หรือผูว้ า่ จ้างสามารถดําเนินการ
ว่าจ้างทีป่ รึกษาทีม่ คี วามสามารถ ควบคุม ดูแลรับผิดชอบงานความปลอดภัยฯ ในการทํางานก่อสร้างโดยตรง
5. กําหนดให้ผรู้ บั จ้าง หรือผูร้ บั เหมาก่อสร้างต้องปฏิบตั งิ านตามแผนปฏิบตั งิ านดังกล่าว ตามข้อ 3 อย่างเคร่งครัด
และสอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบทีก่ าํ หนดไว้ พร้อมรายงานผลการดําเนินงานตามแผนการปฏิบตั งิ านความปลอดภัย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 472 of 521

ดังกล่าว ให้ผวู้ ่าจ้าง หรือเจ้าของโครงการฯ รับทราบอย่างน้อยเดือนละ 1 ครัง้

กฏระเบียบความปลอดภัยในการทางาน

1. กฏทัวไปเกี
่ ่ยวกับความปลอดภัย

1.1 ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนต้องปฏิบตั ติ ามระเบียบ คําแนะนําต่างๆ อย่างเคร่งครัด อย่าฉวยโอกาสหรือละเว้นถ้าไม่


ทราบไม่เข้าใจให้ถามเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย หรือหัวหน้างาน
1.2 ผูป้ ฏิบตั งิ านทุกคนเมื่อพบเห็นสภาพการทํางานทีไ่ ม่ปลอดภัย หรือพบว่าเครื่องมือเครื่องใช้ชาํ รุดไม่อยูใ่ น
สภาพทีป่ ลอดภัย ถ้าแก้ไขด้วยตนเองได้ให้ดาํ เนินการแก้ไขทันที ถ้าแก้ไขไม่ได้ให้รายงานให้
ผูบ้ งั คับบัญชาทราบโดยเร็ว
1.3 สังเกตและปฏิบตั ติ ามป้ายห้ามป้ายเตือนอย่างเคร่งครัด
1.4 ห้ามบุคคลทีไ่ ม่เกีย่ วข้องเข้าไปบริเวณทํางานทีต่ นไม่มหี น้าทีเ่ กีย่ วข้อง
1.5 อย่าทํางานในทีล่ บั ตาผูค้ นเพียงคนเดียว โดยไม่มใี ครทราบโดยเฉพาะการทํางานหลังเวลาทํางานปกติ
1.6 ต้องแต่งกายให้เรียบร้อยรัดกุม ไม่ขาดรุ่งริง่ ห้ามมีสว่ นยื่นห้อย และห้ามถอดเสือ้ ในขณะทีป่ ฏิบตั งิ าน
ตามปกติ
1.7 ต้องใส่หมวกนิรภัยตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติทส่ี ามารถใส่ได้
1.8 ห้ามใส่รองเท้าแตะ และต้องใส่รองเท้าหุม้ ส้นตลอดเวลาทํางานในสภาพปกติทส่ี ามารถใส่ได้
1.9 ห้ามหยอกล้อเล่นกันในขณะปฏิบตั งิ าน
1.10 ห้ามเสพของมึนเมา และเข้ามาในสถานทีป่ ฏิบตั งิ านในลักษณะมึนเมาโดยเด็ดขาด
1.11 ห้ามปรับแต่ง หรือซ่อมแซมเครื่องจักรกลต่างๆ ทีต่ วั เองไม่มหี น้าทีห่ รือไม่ได้รบั อนุญาต
1.12 ให้ใช้อุปกรณ์ป้องกันต่างๆ และรักษาอุปกรณ์เหล่านัน้ ให้อยูใ่ นสภาพทีด่ อี ยู่เสมอ
1.13 ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ ทางไฟฟ้า ต้องให้ช่างไฟฟ้าหรือผูท้ ร่ี วู้ ธิ กี ารเท่านัน้ ปฏิบตั หิ น้าทีน่ ้ี
1.14 เมื่อได้รบั บาดเจ็บไม่ว่าจะเล็กน้อยเพียงใดก็ตาม ต้องรายงานให้หวั หน้างานและเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัย
ทราบ เพื่อสอบถามสาเหตุหาวิธปี ้ องกันและแจ้งให้ผปู้ ฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทราบเพื่อจะได้รแู้ ละหาวิธกี ารทีด่ กี ว่า
และรับการปฐมพยาบาลเพราะหากปล่อยไว้อาจเกิดอันตรายในภายหลัง
1.15 ถ้าหัวหน้างานเห็นว่าผูใ้ ต้บงั คับบัญชาไม่อยู่ในสภาพทีจ่ ะทํางานได้อย่างปลอดภัย ต้องสังให้ ่ หยุดพัก
ทํางานทันที

2. การรักษาความสะอาด และการจัดเก็บวัสดุในบริเวณสถานที่ทางาน / การจัดการวัสดุก่อสร้าง

2.1 ผ้าทีเ่ ปื้ อนนํ้ามันต้องเก็บลงถังขยะทีท่ าํ ด้วยโลหะทีม่ ฝี าปิ ดมิดชิดเพื่อป้องกันการติดไฟ


2.2 ห้ามจัดวางวัสดุทง่ี ่ายต่อการลุกไหม้ใกล้กบั จุดติดตัง้ หลอดไฟ หรือวัสดุทม่ี คี วามร้อน / มีประกายไฟ ขยะใน
บริเวณทีท่ าํ งานจะต้องเก็บกวาดให้สะอาดอย่างสมํ่าเสมอ เพื่อความเป็ นระเบียบเรียบร้อย และลดการเกิด
อุบตั เิ หตุ เป็ นการป้องกันอุบตั ภิ ยั ได้
2.3 ให้มผี ดู้ แู ลการจัดการวัสดุ ซึง่ จะทําหน้าทีค่ วบคุมดูแลวัสดุก่อสร้างทุกชนิดทีเ่ ข้ามาทีห่ น้างานให้มปี ริมาณ
เพียงพอในการใช้งาน และคงไว้ซง่ึ คุณภาพทีด่ ตี ลอดไปเมื่อจะมีการเคลื่อนย้ายวัสดุก่อสร้างจะต้องมันใจว่ ่ า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 473 of 521

ไม่กดี ขวางการทํางานก่อสร้างและไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการจราจร 2.4 ไฟแสงสว่างในพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ


วัสดุก่อสร้าง จะต้องจัดเตรียมไว้ให้เพียงพอ เพื่อให้การปฏิบตั งิ านต่างๆ เป็ นไปอย่างสะดวกและปลอดภัย
2.4 อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการยก จัดเก็บ และขนย้ายวัสดุก่อสร้าง จะใช้ให้เหมาะสม และดูแลรักษาให้อยูใ่ นสภาพดี
ตลอดระยะเวลาทํางาน
2.5 การขนถ่ายวัสดุอนั ตราย จะต้องกระทําตามคําแนะนําของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด

3. การป้ องกันอัคคีภยั และเครือ่ งดับเพลิ ง

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง การป้องกันและระงับอัคคีภยั ในสถานประกอบการเพือ่ ความปลอดภัยใน การ


ทางานสาหรับลูกจ้าง ลงวันที ่ 21 พฤศจิกายน 2534 )

3.1 ปฏิบตั ติ ามแผนป้องกันอัคคีภยั


3.2 การทํางานทีม่ ปี ระกายไฟและความร้อนใกล้กบั วัสดุทอ่ี าจติดไฟได้ตอ้ งจัดเตรียมเครื่องดับเพลิงตามจํานวน และ
ชนิดทีเ่ หมาะสมทีจ่ ะสามารถดับเพลิงได้ทนั ท่วงที
3.3 ห้ามสูบบุหรีใ่ นบริเวณทีม่ ปี ้ ายห้ามสูบและบริเวณพืน้ ทีก่ ่อสร้างทีไ่ ม่มปี ้ ายอนุญาตให้สบู บุหรี่ และเก็บขยะต่างๆ
เช่น เศษผ้า , เศษกระดาษ หรือขยะอื่นๆ ทีต่ ดิ ไฟได้ง่ายลงทีท่ จ่ี ดั ไว้ให้เรียบร้อย
3.4 ห้ามเทนํ้ามันเชือ้ เพลิงหรือของเหลวไวไฟลงไปในท่อนํ้าหรือท่อระบายสิง่ โสโครกอื่นๆ
3.5 ห้ามทําให้เกิดประกายไฟในบริเวณทีเ่ ก็บวัตถุไวไฟ
3.6 ก่อนใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าต้องตรวจบริเวณรอยต่อ หรือข้อต่อต่างๆ ว่าแน่นหนาดีหรือไม่ ถ้าหลวมอาจเกิดประกายไฟ
หรือความร้อนซึง่ จะเป็ นสาเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ได้
3.7 ก่อนเลิกงานจะต้องตัดสวิทซ์ไฟฟ้าสําหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าทีไ่ ม่ได้ใช้งานทุกจุด
3.8 เมื่อเกิดเพลิงไหม้ ให้ผทู้ ป่ี ระสบเหตุระงับหรือดับไฟโดยอุปกรณ์ดบั เพลิงทีม่ อี ยู่ ถ้าไม่สามารถดับด้วยตนเองได้ให้
แจ้งผูบ้ งั คับบัญชาทราบโดยเร็ว และปฏิบตั ติ ามแผนการดับเพลิง ( ตามรายละเอียดเอกสารแนบ 29 )ต้องจัดให้มี
เครื่องดับเพลิงตามลักษณะของเพลิงอันเนื่องมาจากวัตถุหรือของเหลวทีม่ ใี ช้งานอยู่เช่นเครื่องดับเพลิงชนิด ABC,
DRY POWDER CHEMICAL หนัก 5-7 กิโลกรัม เป็ นต้น โดยมีจาํ นวนตามทีก่ าํ หนดในประกาศอ้างถึง จัดให้มี
การฝึกอบรมดับเพลิง โดยเชิญวิทยากรจากกองดับเพลิง หน่วยบรรเทาสาธารณภัย

4.อุปกรณ์ค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

4.1 ต้องใส่หมวกนิรภัยตลอดเวลาทีป่ ฏิบตั งิ านตามสภาพงานทีส่ ามารถสวมใส่ได้


4.2 ต้องใส่รองเท้าหุม้ ส้นในขณะทํางานตลอดเวลาในสภาพงานทีส่ ามารถใส่ได้ ห้ามใส่รองเท้าแตะ
4.3 ควรใช้ถุงมือทีเ่ หมาะสมกับงานแต่ละชนิด
4.4 ต้องใช้เครื่องมือป้องกันหู หรือทีอ่ ุดหู ถ้าจําเป็ นต้องทํางานในสภาพซึง่ มีเสียงดังกว่าปกติ
4.5 ผูร้ บั จ้าง / ผูร้ บั งานช่วง ต้องจัดหาให้ผปู้ ฏิบตั งิ านตามข้อกําหนดของกฎหมาย ตามสภาพข้อกําหนดของสภาพ
การ ปฏิบตั งิ านโดยทัวไป ่ บนดิน ใต้ดนิ ใต้น้ํา บนทีส่ งู และบนภูเขา
4.6 หมวกนิรภัย รองเท้า ถุงมือ เครือ่ งป้องกันเสียง เครื่องป้องกันฝุน่ เครื่องป้องกันสายตา และอุปกรณ์ฉุกเฉิน
สําหรับการค้นหาได้ง่ายในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุโดยมิได้คาดหมาย

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 474 of 521

5.ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับเครือ่ งมือ เครือ่ งจักร

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับเครือ่ งจักร ลงวันที ่ 23 กรกฎาคม 2519)

5.1 ต้องมีตระแกรงเหล็กเหนียว ครอบส่วนทีห่ มุน และส่วนส่งถ่ายกําลังให้มดิ ชิด


5.2 จัดทําทีค่ รอบป้องกันอันตรายจากเครื่องจักร และติดตัง้ สายดินเพื่อป้องกันกระแสไฟฟ้ารัว่
5.3 ผูท้ ท่ี าํ งานกับเครื่องจักรต้องสวมใส่เครื่องป้องกันอันตรายทีเ่ หมาะสมตามสภาพและลักษณะงานอย่างเคร่งครัด
5.4 มีทป่ี ิ ดบังประกายไฟของเครื่องจักร
5.5 เมื่อซ่อมแซมต้องติดป้าย “ กําลังซ่อมห้ามเปิ ดสวิทซ์ ”
5.6 ห้ามใช้เครื่องมือ เครื่องจักรผิดประเภท
5.7 ห้ามถือเครื่องมือโดยหิว้ ทีส่ ายไฟ และถอดปลักโดยการดึ
๊ งทีส่ ายไฟ
5.8 เมื่อพบเครื่องมือเครื่องจักรชํารุดต้องหยุดการใช้ ตัดสวิทซ์จ่ายพลังงานแขวนป้าย ” ชํารุดห้ามใช้ ” และส่งซ่อม
ทันที
5.9 ห้ามโดยสารไปกับรถ หรือเครื่องจักรกลทีไ่ ม่ได้ทาํ ไว้เพื่อการโดยสาร

6. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับภาวะแวดล้อม ลงวันที ่ 12 พฤศจิกายน 2519)

6.1 บริเวณทํางานต้องมีแสงสว่างเพียงพอโดยสามารถมองเห็นได้ชดั เจนในระยะ ๒๐ ม .


6.2 ทางเดินต้องมีแสงสว่างเพียงพอ และมีตลอดเส้นทาง
6.3 หากเสียงดังขนาดยืนห่างกัน ๑ ม . แล้วต้องตะโกนพูดกัน ต้องใช้เครื่องอุดหู หรือครอบหูลดเสียง
6.4 การทํางานทีม่ แี สงจ้า และรังสีจะต้องใส่แว่นตาป้องกันแสง และรังสี
6.5 การทํางานในบริเวณทีม่ คี วามร้อนสูงเกินกว่า 38 องศาเซลเซียสจะต้องมีการระบายความร้อน หรือสวมใส่อุปกรณ์
ป้องกันความร้อนทีเ่ หมาะสม
6.6 การทํางานเกีย่ วกับสารเคมีทม่ี ี กลิน่ ฝุน่ ละออง แก๊ส ไอระเหย จะต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันทีเ่ หมาะสม

7. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับวัสดุอนั ตราย

7.1 การจัดเก็บวัสดุไวไฟประเภทของเหล็ก จะต้องจัดเก็บวัสดุอนั ตรายอยู่ในภาชนะทีม่ ฝี าปิ ดสนิทแยกจากวัตถุไวไฟ


ประเภทอื่น โดยต้องติดตัง้ ป้ายเตือนให้เห็นอย่างชัดเจน
7.2 ต้องมีการป้องกันเหตุการณ์ทอ่ี าจนําไปสูก่ ารเกิดเพลิงไหม้ ในบริเวณจัดเก็บวัสดุไวไฟ โดยต้องติดตัง้ ป้ายห้ามสูบ
บุหรีใ่ ห้เห็นอย่างชัดเจน
7.3 อุปกรณ์ดบั เพลิง ผูร้ บั จ้างจะจัดเตรียมให้มอี ย่างพอเพียง และอยู่ในสภาพทีพ่ ร้อมใช้งานตลอดเวลา
7.4 ผูร้ บั จ้างจะจัดให้มกี ารระบายอากาศในบริเวณทีจ่ ดั เก็บอย่างเพียงพอ
7.5 ผูท้ ส่ี ามารถเข้าสูพ่ น้ื ทีจ่ ดั เก็บวัตถุไวไฟ ต้องเป็ นผูท้ ไ่ี ด้รบั อนุญาตเท่านัน้
7.6 ผูร้ บั จ้างจะจัดให้มมี าตรการป้องกันภาชนะบรรจุก๊าซจากอุณหภูมิ ทีจ่ ะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างพอเพียง
7.7 สารเคมีอนั ตราย (ถ้ามี) ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ติ ามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทํางาน
เกีย่ วกับภาวะแวดล้อม (ถ้ามี) ดูเอกสารแนบ 35 แบบแจ้งรายละเอียดของสารเคมีอนั ตรายในสถานประกอบ
กิจการ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 475 of 521

8. ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งตัด ดัดเหล็ก

8.1 ผูค้ วบคุมเครื่อง และผูป้ ้ อนเหล็กจะต้องเป็ นผูท้ ช่ี าํ นาญงาน และทําหน้าทีน่ ้ปี ระจําเท่านัน้
8.2 ผูค้ วบคุมเครื่อง และผูป้ ้ อนเหล็กต้องติดบัตรผูค้ วบคุมเครื่อง และผูป้ ้ อนเหล็กไว้ให้เห็นได้ชดั ตลอดเวลาทีท่ าํ หน้าที่
8.3 ห้ามตัด หรือดัดเหล็กในขณะทีผ่ ปู้ ้ อนเหล็กยังจับเหล็ก หรือตัวคน หรืออวัยวะของร่างกายอยูใ่ นบริเวณทีเ่ หล็ก
หรือเครื่องจักรอาจบีบ , ชน , กระแทกได้ 8.4 การแบกหามเหล็ก เข้าเครื่องตัดหรือดัดจะต้องเป็นไปในทิศทางไป
ด้านเดียวเท่านัน้ ไม่มกี ารเดินสวนกันเพราะปลายเหล็กอาจทิม่ แทงกันได้
8.4 เศษเหล็กทีใ่ ช้ไม่ได้แล้วจะต้องแยกขนาด และนําออกวันต่อวันไปเก็บไว้ในทีท่ ง้ิ เศษเหล็ก

9. ความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างว่าด้วยเขตก่อสร้าง ลงวันที ่ 10 กันยายน


2528)

9.1 บริเวณเขตก่อสร้างต้องจัดทํารัว้ หรือคอกกัน้ พร้อมปิ ดป้ายประกาศบริเวณเขตก่อสร้างโดยรอบบริเวณทีท่ าํ การ


ก่อสร้าง “ เขตก่อสร้าง บุคคลภายนอกห้ามเข้า ”
9.2 บริเวณเขตอันตรายต้องจัดทํารัว้ หรือคอกกัน้ พร้อมปิ ดป้ายประกาศบริเวณเขตอันตราย “ เขตอันตรายในการ
ก่อสร้าง ” และมีไฟสัญญาณสีแดงแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนในเวลากลางคืน
9.3 ไม่อนุญาตให้ผทู้ ไ่ี ม่เกีย่ วข้อง หรือหมดหน้าทีเ่ ข้าไปในเขตก่อสร้าง และเขตอันตรายในการก่อสร้าง ยกเว้นแต่
ได้รบั อนุญาตจากนายจ้างหรือตัวแทน 9.4 ห้ามผูป้ ฏิบตั งิ านพักอาศัยในบริเวณเขตก่อสร้าง

10. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับปัน้ จัน่

ั ้ น่ ลงวันที ่ 17 เมษายน 2530 )


( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับปนจั

10.1 ต้องปฏิบตั ติ ามคู่มอื การใช้ของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด


10.2 ต้องมีการแสดงพิกดั การยก คําเตือน และสัญญาณอันตราย
10.3 ในขณะปฏิบตั งิ านต้องมีผใู้ ห้สญั ญาณเพียงคนเดียวต่อปนจั ั ้ นหนึ
่ ่งตัว และผูใ้ ห้สญ ั ้ น่
ั ญาณ กับผูค้ วบคุมปนจั
จะต้อง เข้าใจสัญญาณกันเป็ นอย่างดี
10.4 ต้องตรวจสอบปนจั ั ้ นทุ
่ ก ๓ เดือนโดยวิศวกรซึง่ ได้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิ ชาชีพวิ ศวกรรมควบคุม ตาม
แบบ ตรวจสอบของทางราชการ ( แบบ คป . ๑ , คป . ๒ ) และเก็บแบบตรวจสอบไว้พร้อมเรียกตรวจ
10.5 การปฏิบตั งิ านจะต้องมีระยะห่างจากสายไฟฟ้า และเสาโทรคมนาคมตามมาตรฐานกําหนดดังนี้ ( แรงดันไฟฟ้า
๕๐ กิโลโวลท์มรี ะยะห่าง ๓ เมตร และเพิม่ ระยะห่าง ๑ ซม . ทุก ๑ กิโลโวลท์ แรงดันไฟฟ้าเกิน ๓๔๕ กิโลโวลท์
แต่ไม่เกิน ๗๕๐ กิโลโวลท์ระยะห่างไม่น้อยกว่า ๕ เมตร )
10.6 ต้องมีราวกันตก และเข็มขัดนิรภัยถ้าทํางานบนแขนปนจั ั ้ น่
10.7 อุปกรณ์การยกจะต้องรับนํ้าหนักได้อย่างปลอดภัย
10.8 มุมการยก และการผูกมัดจะต้องถูกต้องปลอดภัย
10.9 ต้องสวมใส่อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 476 of 521

11. ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับการตอกเสาเข็ม

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานเกีย่ วกับการตอกเสาเข็ม ลงวันที ่ 21 ธันวาคม 2531)

11.1 ต้องจัดทําเขตอันตรายบริเวณทีท่ าํ การตอกเสาเข็ม และทําการตรวจอุปกรณ์ต่างๆ ก่อนการตอกเสาเข็ม พร้อม


จัดเก็บบันทึกไว้เป็ นหลักฐาน
11.2 กรณีมแี นวสายไฟฟ้าอยูใ่ กล้เคียงจุดตอกเสาเข็ม ต้องจัดให้มรี ะยะห่างระหว่างแนวสายไฟฟ้ากับโครงเครื่องตอก
เสาเข็มตามทีก่ าํ หนด หรือประสานกับการไฟฟ้าเพื่อติดตัง้ ฉนวนหุม้ สายไฟฟ้า
11.3 อุปกรณ์การยกจะต้องรับนํ้าหนักได้อย่างปลอดภัย
11.4 การผูกมัด และมุมการยกต้องถูกต้องปลอดภัย
11.5 ต้องปิ ดรูเสาเข็มหากรูมเี ส้นผ่าศูนย์กลางกว้างเกิน ๑๕ ซม .
11.6 การตัดเสาเข็มหากหัวเสาเข็มอยู่ต่ํากว่าระดับผิวดินมากกว่า ๘๐ ซม . และหัวเสาเข็มมีเหล็กเส้นทีม่ ขี นาดหน้า
ตัดน้อยกว่า ๓๐ มม . โผล่ขน้ึ มาสูงกว่า ๘ ซม . จะต้องจัดทําทีค่ รอบหัวเสาเข็มเพื่อป้องกันคนพลาดตกลงไปถูก
เหล็กเส้นทิม่ แทง

12. ความปลอดภัยในการทางานในสถานที่มีอนั ตรายจากการตกจากที่สูง วัสดุกระเด็น ตกหล่น และการพังทลาย

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานในสถานทีมี่ อนั ตรายจากการตกจากทีส่ งู วัสดุกระเด็น


ตกหล่น และการพังทลาย ลงวันที ่ 18 ตุลาคม 2534)

12.1 งานทีส่ งู / ตํ่ากว่า ๒ เมตรจากพืน้ ดินต้องมีบนั ไดขึน้ ลงพร้อมราวจับอย่างน้อย ๑ ข้าง


12.2 ช่องเปิ ดหรือปล่องต่างๆ ต้องจัดทําฝาปิ ดหรือรัว้ กัน้ ทีม่ คี วามสูงไม่น้อยกว่า 90 เซนติเมตรเพื่อป้องกันการตก
หล่น
่ าน ตาข่ายป้องกันมิให้ผทู้ ป่ี ฏิบตั งิ านตกหล่นลงมาจากทีส่ งู
12.3 ต้องมีการปิ ดกัน้ ด้วยนังร้
12.4 พืน้ ทีล่ าดชันระหว่าง ๑๕ – ๓๐ องศานายจ้างจะต้องจัดการป้องกันมิให้ลกู จ้างตกหล่น
12.5 ต้องมีการป้องกันการพังทลาย และวัสดุกระเด็นตกจากทีส่ งู โดยทําผนังคํ้ายัน ทําผ้าใบปิ ดกัน หรือทําทีร่ องรับ
12.6 ต้องสวมหมวกแข็งป้องกันศรีษะ รวมทัง้ อุปกรณ์อ่นื ๆตามความเหมาะสมในระหว่างทํางานในทีส่ งู

13. ความปลอดภัยในงานเชื่อม

13.1 เมื่อเลิกงานให้ดบั สวิทซ์ไฟฟ้าทีจ่ ่ายไปยังตูเ้ ชื่อม


13.2 ถ้าจําเป็ นต้องเชื่อมภาชนะทีม่ สี ารไวไฟอยู่ภายใน เช่น ถังนํ้ามัน จะต้องล้างทําความสะอาดเสียก่อน และก่อน
เชื่อมจะต้องแน่ใจว่าไม่มไี อระเหยของสารไวไฟตกค้างอยู่
13.3 ก่อนจะเชื่อมจะต้องแน่ใจว่าไม่มวี สั ดุตดิ ไฟอยู่ใกล้กบั บริเวณทีจ่ ะทําการเชื่อม ถ้ามีตอ้ งทําการปิ ดป้องกันด้วยวัสดุ
ทีเ่ ป็ นฉนวนให้มดิ ชิด
13.4 ให้ระมัดระวังควันจากการเชื่อม โดยเฉพาะการเชื่อมตะกัว่ โลหะอาบสังกะสี เพราะควันจากการเชื่อมมีอนั ตราย
มาก
13.5 ในกรณีทต่ี อ้ งเชื่อมในทีเ่ ปี ยกชืน้ ต้องสวมรองเท้ายาง และหาวัสดุทเ่ี ป็ นฉนวนไฟฟ้ารองพืน้ ตรงจุดทีท่ าํ การเชื่อม
13.6 การต่อสายดินต้องต่อให้แน่น จุดต่อต้องอยูใ่ นสภาพดี และให้ใกล้ชน้ิ งานเชื่อมมากทีส่ ดุ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 477 of 521

14. ความปลอดภัยในงานตัดด้วยแก๊ส

14.1 ก่อนเคลื่อนย้ายถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องถอดหัวปรับความดันออก และขณะเคลื่อนย้ายต้องปิ ดฝาครอบหัวถัง


ด้วยทุกครัง้ ห้ามกลิง้ ถัง
14.2 เมื่อต้องวางสายอ๊อกซิเจน / แก๊ส ข้ามผ่านทางต้องใช้วสั ดุวางกัน้ ทัง้ สองข้างหรือฝงั กองดินทับเพื่อกันรถทับ
14.3 ตรวจสาย และถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส เสมอๆ และทุกครัง้ ก่อนนําออกใช้ สายต้องไม่รวแตก ั่ ข้อต่อต้องไม่หลวม /
รัว่ และห้ามใช้สายทีม่ รี อยไหม้
14.4 หัวตัดต้องมีวาล์วกันไฟย้อนกลับ (CHECK VALVE)
14.5 หัวตัดแก๊ส หัวปรับความดัน ถ้าเกิดบกพร่องต้องแจ้งหัวหน้าเพือ่ เปลีย่ นหรือซ่อม
14.6 การต่อท่ออ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องใช้เข็มขัดรัดท่อ ห้ามใช้ลวดผูก
14.7 ถังอ๊อกซิเจน / แก๊ส ต้องวางตัง้ และหาเชือกหรือโซ่ผกู ให้มนคงกั
ั ่ นล้ม

15. ความปลอดภัยในงานเจียร์

15.1 ก่อนทํางานเจียร์ทุกครัง้ ต้องสวมแว่นตานิรภัย


15.2 ตรวจสอบเครื่องมือให้อยูใ่ นสภาพทีป่ ลอดภัย เครื่องเจียร์ตอ้ งมีกาํ บังใบกันใบแตกกระเด็นโดนผูใ้ ช้
15.3 การเปลีย่ นใบเจียร์ทุกครัง้ ต้องดับสวิทซ์ และดึงปลักไฟออก

15.4 เวลายกเครื่องเจียร์ให้จบั ทีต่ วั เครื่อง อย่าหิว้ สายไฟโดยเด็ดขาด

16. ความปลอดภัยในการทางานบนที่สูง

16.1 พืน้ ทีส่ งู ทีม่ ชี ่องเปิ ดต่างๆ รวมทัง้ ราวบันได ต้องทําราวกันตกทีม่ นคงแข็
ั่ งแรง
16.2 พืน้ รองรับขาตัง้ และข้อต่อต่างๆ ของนังร้ ่ านจะต้องอยูใ่ นสภาพดีและมันคงและไม่
่ สนคลอนในขณะทํ
ั่ างาน
16.3 พืน้ ไม้หรือเหล็กจะต้องยึดวางอย่างมันคงกั ่ บโครงสร้างของนังร้ ่ าน
16.4 โครงสร้างของนัง่ ร้านทีเ่ ป็ นเสาคํา้ ยันจะต้องให้ได้ฉากกับแนวระดับ ชิน้ ส่วนของนังร้ ่ านทีเ่ สียหายห้ามนํามาใช้
งานเด็ดขาด
16.5 ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชนิดทีเ่ กีย่ วกับข้องกับการใช้งาน เช่น รถเครน , ลวดสลิง , เชือก , ตะขอ , สะเก็น ว่าอยู่
ในสภาพดีทุกครัง้ ก่อนเริม่ ทํางาน หากชํารุดห้ามนํามาใช้
16.6 ผูป้ ฏิบตั งิ านบนทีส่ งู เกิน 4 เมตร ในทีโ่ ดดเดีย่ วเปิ ดโล่งต้องสวมเข็มขัดนิรภัยและคล้องเมื่ออยู่ในสภาพทีค่ ล้องได้
16.7 ขณะทีม่ พี ายุหรือฝนตก ผูป้ ฏิบตั งิ านบนทีส่ งู ต้องหยุดทํางานและลงมาข้างล่าง
16.8 ในกรณีทพ่ี น้ื นังร้ ่ านลื่นชํารุดหรือเป็ นช่อง ต้องทําการแก้ไขโดยทันทีและห้ามใช้ไม้ทช่ี าํ รุดผุกร่อนมาทําพืน้ นัง่
เรียบ นังร้ ่ านทีส่ งู กว่า 2 เมตร ต้องมีราวกันตก สูง 90 ซม . แต่ไม่เกิน 1.10 เมตร

17. ความปลอดภัยในการใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้ า

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยเกีย่ วกับไฟฟ้า ลงวันที ่ 8 มีนาคม 2522)

17.1 จัดทําแผนผังวงจรไฟฟ้าชัวคราวที
่ ใ่ ช้ในระหว่างก่อสร้าง พร้อมปรับปรุงข้อมูลในกรณีทม่ี กี ารแก้ไขเปลีย่ นแปลง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 478 of 521

17.2 จัดทําป้ายเตือนอันตรายติดตัง้ ไว้ในบริเวณจุดติดตัง้ แผงควบคุมและหม้อแปลงไฟฟ้า เมื่อเกิดไฟฟ้าลัดวงจร หรือ


มีผปู้ ระสบอันตรายเนื่องจากกระแสไฟฟ้า ต้องทําการตัดกระแสไฟทันที ด้วยการปิ ดสวิทซ์ทใ่ี กล้ทส่ี ดุ โดยเร็ว
ทีส่ ดุ
17.3 ถ้าพบอุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุดต้องเลิกใช้และรีบแจ้งผูร้ บั ผิอชอบทําการแก้ไขทันที
17.4 การต่อเชื่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดต่อทีเ่ หมาะสม รอยต่อสายไฟทุกแห่งต้องใช้เทปพันสายไฟพัน
หุม้ ลวดทองแดง ให้มดิ ชิด และแน่นหนาจนแน่ใจว่าจะไม่หลุด
17.5 หลอดไฟฟ้า และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดทีจ่ ะทําให้เกิดความร้อนได้ไม่ควรให้อยู่ตดิ กับผ้าหรือเชือ้ เพลิงอื่นๆ ที่
อาจทําให้เกิดการลุกไหม้ได้ง่าย
17.6 ห้ามต่อสายไฟฟ้าโดยไม่ผ่านอุปกรณ์ตดั - จ่ายกระแสไฟ และห้ามใช้ตวั นําอื่นๆ แทนฟิวส์
17.7 ห้ามใช้สายไฟชนิดฉนวนชัน้ เดียว (THW.) ให้ใช้สายไฟชนิดฉนวน 2 ชัน้ (VCT.) (NYY.) ซึง่ ทนทานทีจ่ ะใช้ใน
งานก่อสร้าง
17.8 การช่วยผูป้ ระสบอันตรายให้หลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้า อย่าเอามือเปล่าจับ จงใช้ผา้ ไม้ เชือก สายยาง ที่
แห้งสนิทดึงผูป้ ระสบอันตรายให้หลุดออกมา และถ้าผูป้ ระสบอันตรายหมดสติให้รบี ให้การปฐมพยาบาล
โดยการเปา่ ลมทางปากและการนวดหัวใจ
17.9 ต่อสายดินกับโลหะทีค่ รอบเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเพื่อป้องกันอันตรายเมื่อไฟฟ้ารัว่

18. ความปลอดภัยในการยกเคลื่อนย้ายของหนักด้วยมือ

18.1 ต้องสวมถุงมือชนิดต่างๆ ให้เหมาะสมกับวัสดุทจ่ี ะทําการยก


18.2 ถ้าของหนักเกินกว่าจะยกคนเดียวได้ให้เรียกคนมาช่วยมากพอทีจ่ ะยกได้โดยไม่ตอ้ งฝืนออกแรงมากจน
เกินกําลัง งอเข่าและคูล้ งตํ่าใกล้ของให้ลาํ ตัวชิดของ ให้หลังตรงเกือบเป็ นแนวดิง่ แล้วยืนขาทัง้ สองขึน้ ให้
ใช้ขายก อย่าใช้หลัง ยก เมื่อจะวางของให้ทาํ วิธยี อ้ นกลับตามวิธเี ดิม

19. ความปลอดภัยในการใช้เครือ่ งกลหนักและขนย้ายสิ่ งของด้วยรถเครน

19.1 จัดให้มผี ใู้ ห้สญ


ั ญาณทีช่ าํ นาญเพียงคนเดียว ห้ามผูท้ ไ่ี ม่มหี น้าทีใ่ ห้สญ
ั ญาณในการยกมาร่วมให้สญ
ั ญาณ
เป็ นอันขาด
19.2 อย่าเข้าใกล้สว่ นทีเ่ ครื่องจักรทีจ่ ะต้องหมุนเหวีย่ ง
19.3 ในกรณีทม่ี กี ารขุด ต้องกัน้ อาณาบริเวณไว้โดยรอบ
19.4 ห้ามเข้าไปอยูใ่ ต้วสั ดุทก่ี าํ ลังยกโดยเด็ดขาด
19.5 ในกรณีทท่ี าํ งานในหลุมหรือเกีย่ วกับรถตักหรือขุด ต้องระวังการตัง้ ตําแหน่งของเครื่องจักรเหล่านี้ให้ห่าง
จากขอบบ่อ โดยกะระยะให้ปลอดภัยเพียงพอ เพื่อป้องกันการพังทลายของขอบบ่อ

20. ความปลอดภัยในสานักงานโครงการ

20.1 เก้าอี้ โต๊ะ และเฟอร์นิเจอร์ จะต้องไม่หลวม , คลอน , โยก จนเกิดอันตราย ต้องอยู่ในสภาพดีและใช้งาน


ได้อย่างปลอดภัย
20.2 การปี นขึน้ ไปเอาเอกสารในกรณีทต่ี อ้ งใช้บนั ได ขาบันไดต้องไม่ลน่ื
20.3 การเดินตามทางเดิน ห้ามวิง่ การเดินลงบันไดต้องจับราวบันได

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 479 of 521

20.4 อย่ายืนหรือคุยกันหน้าประตู อาจจะมีบุคคลอื่นเปิ ดเข้ามา


20.5 ขณะกําลังเดิน ห้ามอ่านหนังสือ เอกสาร นังให้ ่ เรียบร้อยเสียก่อน
20.6 อย่ายืนเกะกะกีดขวางทางเดินและบันได
20.7 ให้ระมัดระวังสายโทรศัพท์ทอ่ี ยูท่ พ่ี น้ื สํานักงาน อาจจะสะดุดได้
20.8 ประตู ตูเ้ ก็บเอกสารปิ ดให้เรียบร้อย
20.9 ลิน้ ชักทีด่ งึ ออกมาอย่าค้างไว้ เมื่อใช้แล้วดันเก็บเข้าทีเ่ ดิม
20.10 ให้ตรวจสอบ ตู้ โต๊ะ เฟอร์นิเจอร์ ทีใ่ ช้สกรูต่างๆ อาจจะหลวม
20.11 เก็บมีดตัดกระดาษและของมีคมทีน่ ํามาใช้ให้เรียบร้อย
20.12 ต้องแน่ใจว่าเครื่องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์วางอยู่บนโต๊ะทีแ่ ข็งแรง
20.13 ขณะทีอ่ ุปกรณ์สาํ นักงาน กําลังทํางาน ห้ามปรับ - แต่งหรือซ่อมแซม
20.14 อย่าซ่อมไฟฟ้าในสํานักงานด้วยตนเองให้เรียกช่างไฟฟ้า
20.15 ปฏิบตั โิ ดยเคร่งครัดในกรณีบางพืน้ ทีห่ า้ มสูบบุหรี่

21. ตรวจความปลอดภัยของตะขอ (HOOK) , เสกน ( Shackle) , ลวดสลิ ง , โซ่ยก , สลิ งยก , ตะขอ ( HOOK)

21.1 ห่วงตะขอ ( Eye) ยึดติดกับสลิงในแนวดิง่ การใช้งานเกิดการเสียดสีกบั ส่วนของสลิงจนทําให้ความโต หรือ


เส้นผ่าศูนย์กลางของเหล็กทีใ่ ช้ทาํ ห่วงสึกหรอไป ถ้าการสึกหรอนัน้ ยังไม่เกิน 10 % จากมาตรฐานเดิม ถือว่ายัง
ไม่ได้
21.2 ตัวล็อคสลิง ( Safety Latches) ชุดล็อคป้องกันสลิงหลุดจากตะขอ ต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่ายังอยู่ในสภาพทีด่ ี
เมื่อนําสลิงใส่กบั ตะขอแล้ว สปริงตัวล็อคต้องดันกลับไม่ให้สลิงหลุด
21.3 ท้องตะขอ คือจุดยกวัสดุโดยมีสลิงคล้องยกในแนวดิง่ หรือทํามุมยกจากแนวดิง่ ไม่เกินข้างละ 45 ? เมื่อใช้งาน
จะเกิดการเสียดสีกบั ห่วงโซ่ยก หรือสลิงยก ถ้า การสึกหรอนัน้ ยังไม่เกิน 10 % จากมาตรฐานเดิม ถือว่ายังอยู่
ใน สภาพทีด่ ี
21.4 คอตะขอ ( throat) คือส่วนทีม่ คี วามแคบสุดของช่องเปิ ดของตัวตะขอ เมื่อใช้งานไปนานๆ ส่วนนี้( throat
opening) จะอ้าออก ถ้า ส่วนทีอ่ า้ ออกนี้ ยังไม่เกิน 15 % ของความอ้าปกติ ถือว่าตะขอนี้ยงั มีสภาพดีใช้ได้
21.5 ตัวตะขอ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของตะขอ ต้องไม่มรี อยร้าว
21.6 ปลายแหลมของตะขอ หรือ ปากตะขอ ต้องไม่บดิ ตัวไปเกินกว่า 10 ? จากแนวดิง่ เสกน ( Shackle) เป็ นห่วง
ใส่สลัก ใช้เป็ นจุดยึดต่อระหว่างสลิงหรือโซ่กบั ตะขอ เพื่อใช้ในงานยก
21.7 ห้ามใช้ BOLT หรือ SCREW ใส่แทนสลักเกลียว ( Shackle Pin) เพราะจะไม่แข็งแรงเพียงพอ
21.8 ห้ามยกโดยเสกนเอียงเป็ นมุม ซึง่ จะเป็ นเหตุให้ขาเสกนอ้าถ่างออก
21.9 อย่าใช้ลวดสลิง หรือสลิงยกสัมผัสกับสลักเกลียวโดยตรง การเลื่อนของลวดสลิงจะหมุนสลักเกลียวคลายตัว
หลุดได้ ลวดสลิ ง (Wire Rope) ลวดสลิง จะต้องมีการตรวจเมือ่ มีการติดตัง้ ใช้งานทุกครัง้ โดยหัวหน้างาน
ั ้ น่ จะมีการตรวจโดยผูบ้ งั คับเครนก่อนเริม่ ปฏิบตั งิ านทุก
และผูป้ ฏิบตั งิ านสําหรับลวดสลิงทัง้ ชนิดวิง่ ของรถปนจั
วัน และมีการตรวจประจําเดือนโดยฝา่ ยความปลอดภัยร่วมกับหัวหน้างานทุกเดือน ตามแบบฟอร์มในเอกสาร
แนบ
21.10 ทีค่ วามยาว 8 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง ถ้ามองเห็นมีเส้นลวดขาดหรือแตกเกิน10 % ของเส้นลวดทัง้ หมด ถือ
ว่าหมดอายุใช้งาน
21.11 ทีม่ แี ผล , หักงอ , หรือถูกกัดกร่อน ต้องห้ามใช้งาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 480 of 521

21.12 สําหรับลวดวิง่ ถ้าพบมีเส้นลวดขาด 6 เส้นใน 1 รอบของการตีเกลียว หรือลวดขาด 3 เส้นใน 1 แสตรนด์ อย่าง


ใดอย่างหนึ่งหรือทัง้ สองอย่าง ถือว่าหมดอายุใช้งาน
21.13 มีรอยการถูกไฟไหม้ ต้องห้ามใช้
21.14 เมื่อลวดสลิงเกิดการสึกหรอจนเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กลงกว่า 7 % จากมาตรฐานเดิม ห้ามนํากลับมาใช้งาน โซ่
ยก (Chain sling)
21.15 ห้ามใช้โซ่ยก ทีม่ รี อยแตกร้าว ตัวโซ่คดงอผิดรูป
21.16 ตรวจสอบการสึกหรอ ทีจ่ ุดใดๆ ของโซ่ยก ด้วยตารางข้างล่างนี้

ขนาดโซ่ (นิ้ว) สึกหรอได้สงู สุด (นิ้ว) ขนาดโซ่ (นิ้ว) สึกหรอได้สงู สุด (นิ้ว)
1/4 3/16 1 3/16

3/8 5/64 1 1/8 7/32

1/2 7/64 1 1/4 1/4

5/8 9/64 1 3/8 9/32

3/4 5/32 1 1/2 5/16

7/8 11/64 1 3/4 11/32

21.17 สลิงยกทีม่ เี ส้นลวดขาด 6 เส้นใน 1 รอบของการตีเกลียว (1 rope lay) หรือมีเส้นลวดขาด 3 เส้นใน 1 แสตรนด์
ถือว่าหมดอายุใช้งาน สลิ งยก ( Wire Rope Sling)
21.18 สลิงทีม่ กี ารสึกหรอมากกว่า 1 ใน 3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางเดิม ถือว่าหมดอายุการใช้งาน
21.19 การหักงอ หรือแตกออกเป็ นรูปกรงนก หมดอายุใช้งาน
21.20 สลิงยกทีม่ รี อยถูกไฟไหม้ หมดอายุการใช้งาน
21.21 สลิงทีม่ รี อยแตกร้าวทีป่ ลาย Fittings ทัง้ สองข้าง หรือมีการกร่อนทีล่ วดสลิง ห้ามใช้งาน

22. ความปลอดภัยรถเครน

รถเครนทุกคันรวมทัง้ เครนชนิดอยู่กบั ที่ จะต้องได้รบั การตรวจสอบทุก 3 เดือน ตามแบบฟอร์ม คป .2 ของกระทรวงแรงงาน


และลงนามโดยวิศวกรเครื่องกล จึงจะอนุญาตให้ปฏิบตั งิ านในโครงการได้

22.1 พนักงานควบคุมเครนจะต้องปฏิบตั งิ านใช้เครนและซ่อมบํารุงตามทีผ่ สู้ ร้างได้กาํ หนดมาตรฐานไว้เท่านัน้


22.2 ก่อนใช้เครนปฏิบตั งิ านของพนักงานแต่ละผลัดจะต้องตรวจสอบสภาพของเครนก่อนปฏิบตั งิ านทุกวัน
22.3 พิกดั การยกนํ้าหนัก และมุมของบูมจะต้องเป็ นไปตามตารางของเครนทีผ่ สู้ ร้างได้กาํ หนดไว้
22.4 ห้ามซ่อมบํารุงเครนขณะทีเ่ ครนกําลังทํางาน
22.5 ใช้สญั ญาณมาตรฐานสากลเท่านัน้ ในการให้สญ ั ญาณ
22.6 ปิ ดกันบริเวณทีเ่ ครนหมุนตัว ห้ามบุคคลอื่นเข้าไปในบริเวณนัน้
22.7 ห้ามเกาะทีข่ อเครนโดยเด็ดขาด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 481 of 521

22.8 มีเครื่องดับเพลิงชนิด ABC, 5 กก . เคมีผงติดตัง้ ทีเ่ ครนพร้อมใช้ได้ตลอดเวลา


22.9 กระเดื่องทีต่ ะขอของเครนต้องมีและใช้ได้ตลอดเวลา เพื่อป้องกันสลิงหลุดออกจากตะขอ
22.10 ต้องมีลกู ศรชีม้ มุ ของบูมแสดงองศาตลอดเวลา
22.11 การปฏิบตั งิ านใกล้กบั สายไฟฟ้า ให้ปฏิบตั ติ ามบทกําหนดของประกาศกระทรวงแรงงานโดยเคร่งครัด

23. ความปลอดภัยว่าด้วยบันได

23.1 การใช้บนั ไดจะต้องปฏิบตั ติ ามคําแนะนําของผูผ้ ลิตบันไดโดยเคร่งครัด


23.2 ควรใช้บนั ไดทีผ่ ลิตจากโรงงานชนิดบันไดใช้กบั งานหนัก (Heavy duty)
23.3 บันไดทีช่ าํ รุด แตก หัก ห้ามใช้และควรติดป้าย “ ห้ามใช้งาน
23.4 ห้ามนําบันได 2 อันมามัดต่อกันเพื่อให้ยาวขึน้
23.5 บันไดชนิดตรงเมื่อพาดใช้งานจุดใดควรมัดติดให้แข็งแรงด้วย
23.6 อย่าตัง้ บันไดบริเวณทีล่ ่นื มีขยะ
23.7 ตีนบันไดจะต้องตัง้ ห่างจากฝาทีต่ งั ้ เป็ นอัตรา 1 ต่อ 4 ของความสูงบันได
23.8 ปลายของบันไดต้องเกินจากจุดทีพ่ าดผ่าน 3 ฟุต
23.9 บันไดทีใ่ ช้อยู่ใกล้บริเวณทางเดิน ประตู ควรมีสงิ่ กีดขวางไว้ เช่น เชือกขาว - แดง แผงป้องกันปิ ดกัน้ ไว้
23.10 การขึน้ ลงบันไดให้หนั หน้าเข้าหาบันได
23.11 ห้ามยกของแบกของขึน้ ทางบันได
23.12 ห้ามใช้บนั ไดโลหะกับงานไฟฟ้าโดยเด็ดขาด

24. ความปลอดภัยว่าด้วยนัง่ ร้าน

(ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างว่าด้วยนังร้


่ าน ลงวันที ่ 30 มิถุนายน 2525)

24.1 ทํางานในทีส่ งู เกินกว่า 2.00 เมตร ต้องทํานังร้


่ าน
24.2 นังร้
่ านเสาเรียงเดีย่ วสูงเกิน 7 เมตร หรือนังร้
่ านสูงเกิน 21 เมตร ต้องมีวศิ วกรรับรองตามแบบฟอร์มของ
กระทรวงแรงงาน
24.3 นังร้
่ านสร้างด้วยโลหะต้องรับนํ้าหนักบรรทุกได้ไม่น้อยกว่า 4 เท่า ของนํ้าหนักการใช้งาน
่ านต้องมีการยึดโยงคํ้ายัน เพื่อป้องกันมิให้เซหรือล้ม และในกรณีทต่ี อ้ งทํางานใกล้แนวสายไฟทีไ่ ม่มี
24.4 โครงนังร้
ฉนวนต้องมีระยะห่างไม่น้อยกว่าทีก่ าํ หนด หรือติดต่อการไฟฟ้ามาทําการติดตัง้ ฉนวนครอบสายไฟชัวคราว ่
24.5 มีราวกันตกสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม . และสูงไม่เกิน 1.10 เมตร ยกเว้นเฉพาะช่วงทีจ่ ะขนถ่ายสิง่ ของ
24.6 ถ้าพบนังร้
่ านชํารุดห้ามใช้งานทันทีจนกว่าจะได้ทาํ การซ่อมแซมแก้ไขให้สภาพดีเหมือนเดิม
24.7 ถ้ามีการทํางานซ้อนกัน ต้องมีสงิ่ ป้องกันของตกมิให้เป็ นอันตรายแก่ผปู้ ฏิบตั งิ านอยูข่ า้ งล่าง
24.8 การทํางานอยู่บนนังร้ ่ านสูงเกินกว่า 4 เมตร ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องสวมเข็มขัดนิรภัย

25. ความปลอดภัยรถยนต์และเครือ่ งมือหนักและการจราจร

25.1 เมื่อรถจอดต้องดึงเบรคมือล็อคล้อรถทุกครัง้
25.2 เครือ่ งมือหนักทุกชนิดห้ามโดยสาร
25.3 ห้ามเข้าไปนังอยู
่ ข่ า้ งล่างใบมีด ลูกล้อ หรือไปนอนในบุง้ กี๋ แทรค หรือส่วนใดของเครื่องจักร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 482 of 521

25.4 อุปกรณ์ไฮดรอลิคจะต้องเอาลงหมดเมื่อเครื่องจักรจอด เช่น ใบมีด บุง้ กี๋ ริปเปอร์


25.5 ถ้ามีการซ่อมแซมอุปกรณ์ยกไฮดรอลิคของเครื่องจักรต้องมีเหล็กคํ้ายัน (Safety Bar) กันตกขณะซ่อมแซม
25.6 มองหลังทุกครัง้ ทีถ่ อยรถหรือเครื่องจักร
25.7 ดับเครื่องยนต์ขณะเติมนํ้ามันเชือ้ เพลิง
25.8 ควรมีกระบังหน้าเมื่อเติมนํ้ากลันแบตเตอรี
่ ่ หรือขณะต่อสายแบตเตอรี่
25.9 ความเร็วในบริเวณก่อสร้าง 20 กม ./ ชม . และต้องปฏิบตั ติ ามเครื่องหมายจราจรอย่างเคร่งครัด

26. ป้ ายเตือนความปลอดภัย

26.1 จัดหาป้ายเตือนตามมาตรฐานสากลติดบริเวณทีท่ าํ งานก่อสร้าง


26.2 ติดป้ายห้ามสูบบุหรีบ่ ริเวณทีเ่ ก็บเชือ้ เพลิง เก็บอ๊อกซิเจน อะซิเทลีน และห้องเก็บสีหรือสารไวไฟ

27. การปฐมพยาบาล

27.1 จัดให้มหี อ้ งปฐมพยาบาลในโครงการ


27.2 จัดหายาตามทีร่ ะบุในประกาศกระทรวงแรงงานแจ้งไว้
27.3 จัดฝึกการปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นโดยคัดเลือกพนักงานเข้ามาอบรม

28. ความปลอดภัยงานขุดขนดิ น

28.1 การขุดดินกรณีทข่ี ดุ ติดกับทางสาธารณะต้องติดต่อเจ้าหน้าทีไ่ ฟฟ้า ประปา องค์การโทรศัพท์เพือ่ ชีจ้ ุดที่


จะขุด
28.2 ถ้าขุดใกล้สายไฟใต้ดนิ จะต้องมีป้ายบอก และตัดสะพานไฟ
28.3 การขุดใกล้สายไฟให้ขดุ ด้วยมือ เมื่อตรวจพบแล้วจึงจะเริม่ ขุดด้วยรถแบ็คโฮ (Backhoe)
28.4 มีเชือกกัน้ แบ่งเขตทีข่ ดุ และติดป้ายบอก ในเวลากลางคืนต้องติดไฟส่องสว่างให้เห็นได้ชดั เจน
28.5 ถ้าต้องขุดลึกถึง 4 ฟุต ต้องปรับดินให้ราบเป็ นมุม 45 องศา หรือมีผนังกันดินถล่ม พร้อมทัง้ จัดบันไดไว้
ขึน้ ลงได้ โดยสะดวก
28.6 ถนนทีเ่ ป็ นทางผ่านเข้า - ออกไปขุดดิน จะต้องสะอาดและมีแผงกัน้ ตลอดเวลา
28.7 ห้ามวางวัสดุไว้บนปากบ่อทีข่ ดุ ในระยะ 4 ฟุต จากปากบ่อ
28.8 คนงานขุดดินต้องสวมหมวกแข็งและรองเท้าพืน้ ยางหุม้ ส้น
28.9 มีป้ายติดตัง้ “ ระวังวัสดุหล่นมีคนทํางานอยู่ขา้ งล่าง ” อยู่ดา้ นบน

29. ความปลอดภัยลิ ฟต์ขนส่งวัสดุ

( ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ งความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างว่าด้วยลิฟต์ขนส่งวัสดุชวคราว


ั่ ลง
วันที ่ 29 มกราคม 2524)

29.1 ลิฟต์ทม่ี คี วามสูงเกิน 9.00 เมตร จะต้องมีเอกสารรับรองการออกแบบและคํานวณโครงสร้างลิฟต์ โดยใช้


แบบฟอร์มของกระทรวงแรงงาน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 483 of 521

29.2 หอลิฟต์สามารถรับนํ้าหนักได้ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของนํ้าหนักแห่งการใช้งาน (Working Load) มีสว่ น


ความปลอดภัยไม่น้อยกว่า 5 (Safety Factor)
29.3 หอลิฟต์ทส่ี ร้างด้วยโลหะจะต้องมีจุดคราก (Yield Point) ไม่น้อยกว่า 2,400 Kg/Cm2 และมีสว่ นความ
ปลอดภัยไม่น้อยกว่า 2 (Safety Factor = 2)
29.4 ตัวลิฟต์ตอ้ งรับนํ้าหนักได้ไม่น้อยกว่า 5 เท่าของนํ้าหนักแห่งการใช้งาน
29.5 หอลิฟต์จะต้องโยงยึดกับอาคารอย่างแข็งแรง รวมถึงติดตัง้ ราวกันตกความสูงระหว่าง 90 – 110
เซนติเมตร บนทางเชื่อมระหว่างหอลิฟต์กบั สิง่ ปลูกสร้าง 29.6 ต้องปิ ดกัน้ บริเวณทีล่ ฟิ ต์ขน้ึ ลงมิให้คนเข้า
ไป
29.6 ผูบ้ งั คับลิฟต์จะต้องได้รบั การอบรมการบังคับลิฟต์อย่างปลอดภัย
29.7 มีป้ายติดไว้ดา้ นหน้า ซึง่ จะแจ้งถึงข้อบังคับการใช้ลฟิ ต์
29.8 มีการตรวจสอบลิฟต์ทุกวัน
29.9 เมื่อเกิดการชํารุด หรืออยูใ่ นระหว่างซ่อมแซม ห้ามใช้ลฟิ ต์โดยเด็ดขาดจนกว่าจะซ่อมแซมแล้วเสร็จ
29.10 มีป้ายแจ้งพิกดั นํ้าหนักอย่างชัดเจน

30. การควบคุมยาเสพติ ดและแอลกอฮอล์

30.1 เป็ นนโยบายบริษทั จะไม่ให้มกี ารขายยาเสพติดในบริเวณเขตก่อสร้าง โดยจะประสานงานกับตํารวจ


ท้องทีต่ ลอดเวลา
30.2 ห้ามขายสุรายาบ้าและเครื่องดื่มทีผ่ สมแอลกอฮอล์ในเขตก่อสร้างของบริษทั โดยเด็ดขาด
30.3 จะมีการสุม่ ตรวจสอบคนงานทีม่ พี ฤติกรรมน่าสงสัย โดยส่งตรวจปสั สาวะหาสารเสพติด ถ้าตรวจพบจะ
เลิกจ้างทันทีและส่งตัวเข้ารับการรักษา
30.4 ในกรณีทเ่ี กิดอุบตั เิ หตุในเขตก่อสร้าง จะตรวจสอบว่าส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากยาเสพติดและเครื่องดื่มทีม่ ี
แอลกอฮอล์ผสมหรือไม่

ตามทีก่ ระทรวงแรงงานได้มกี ารออกกฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ


ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึง่ มีผลใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ที่ ๒๑ มิถุนายน ๒๕๔๙
ประเภทกิจการหรือสถานประกอบกิจการทีอ่ ยูใ่ นข่ายบังคับ กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหารและ
การจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทํางาน พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้แก่ กิจการหรือสถาน
ประกอบกิจการตามข้อ 3 คือการก่อสร้าง ต่อเติม ติดตัง้ ซ่อม ซ่อมบํารุง ดัดแปลง หรือรือ้ ถอนอาคาร สนามบิน ทางรถไฟ
ทางรถราง ทางรถใต้ดนิ ท่าเรือ อู่เ รือ สะพานเทียบเรือทางนํ้า ถนน เขือ่ น อุโมงค์ สะพาน ท่อระบาย ท่อนํ้า โทรเลข
โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิง่ ก่อสร้างอื่น ๆ รวมทัง้ การเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง ซึง่ ผูร้ บั จ้างต้อง
จัดเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยไว้ 1 คน โดยให้นําเสนอรายชื่อผ่านผูค้ วบคุมงานก่อนดําเนินการก่อสร้าง
31 หน้ าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้ างาน
(๑) กํากับ ดูแล ให้ลกู จ้างในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบปฏิบตั ติ ามข้อบังคับและคู่มอื ว่าด้วยความปลอดภัยในการ
ทํางาน
(๒) วิเคราะห์งานในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบเพื่อค้นหาความเสีย่ งหรืออันตรายเบือ้ งต้น โดยอาจร่วม
ดําเนินการกับเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ
(๓) สอนวิธกี ารปฏิบตั งิ านทีถ่ ูกต้องแก่ลกู จ้างในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบเพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการ
ปฏิบตั งิ าน

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 484 of 521

(๔) ตรวจสอบสภาพการทํางาน เครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพทีป่ ลอดภัยก่อนลงมือ


ปฏิบตั งิ านประจําวัน
(๕) กํากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ
(๖) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บปว่ ย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญอันเนื่องจากการทํางานของ
ลูกจ้างต่อนายจ้าง และแจ้งต่อเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขันสู ้ ง หรือระดับวิชาชีพ
สําหรับสถานประกอบกิจการทีม่ หี น่วยงานความปลอดภัยให้แจ้งต่อหน่วยงานความปลอดภัยทันทีทเ่ี กิดเหตุ
(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บปว่ ย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรําคาญอันเนื่องจากการ
ทํางานของลูกจ้างร่วมกับเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขัน้ สูง หรือระดับวิชาชีพ
และรายงานผล รวมทัง้ เสนอแนะแนวทางแก้ไขปญั หาต่อนายจ้างโดยไม่ชกั ช้า
(๘) ส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภัยในการทํางาน
(๙) ปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทํางานอืน่ ตามทีเ่ จ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
มอบหมาย

32 หน้ าที่ตามกฎหมายของเจ้าหน้ าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร


(๑) กํากับ ดูแล เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางานทุกระดับซึง่ อยูใ่ นบังคับบัญชาของเจ้าหน้าทีค่ วาม
ปลอดภัยในการทํางานระดับบริหาร
(๒) เสนอแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการทํางานในหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบต่อนายจ้าง
(๓) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดําเนินงานเกีย่ วกับความปลอดภัยในการทํางานให้เป็ นไปตาม
แผนงานโครงการเพื่อให้มกี ารจัดการด้านความปลอดภัยในการทํางานทีเ่ หมาะสมกับสถานประกอบกิจการ
(๔) กํากับ ดูแล และติดตามให้มกี ารแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของลูกจ้างตามทีไ่ ด้รบั รายงานหรือ
ตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทํางาน คณะกรรมการหรือหน่วยงานความปลอดภัย

จบหมวดที่ 85

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 485 of 521

ภาคผนวก ก.
รายการวัสดุเทียบเท่าตามมาตรฐานผลิ ตภัณฑ์อตุ สาหกรรม

คู่มอื ผูซ้ อ้ื


ตามทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมได้รบั มอบหมายตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ให้จดั ทํา
คู่มอื ผูซ้ อ้ื ขึน้ เพื่อเผยแพร่ให้หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานของรัฐทีเ่ รียกชื่ออย่างอื่น ได้ทราบถึงรายชื่อ
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ซึง่ กระทรวงอุตสาหกรรมได้ประกาศกําหนดรายชื่อผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาต ให้แสดง
เครื่องหมายมาตรฐานรายชื่อผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การจดทะเบียน และรายชื่อผูไ้ ด้รบั การรับรองระบบคุณภาพ เพื่อจะได้
นําไปใช้ปฏิบตั ใิ ห้สอดคล้องกับระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีตามนโยบายสนับสนุนการใช้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
และการใช้ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณภาพได้มาตรฐานซึง่ ผลิตในประเทศ ซึง่ เป็ นกรณีทร่ี ายการประกอบแบบฉบับนี้ให้สทิ ธิผู์ ร้ บั จ้าง
เทียบเท่าได้
“เทียบเท่า” หมายถึง การอนุญาตให้ใช้วสั ดุก่อสร้างนอกเหนือจากทีก
่ าํ หนดไว้ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างไม่สามารถจัดหา
วัสดุนนั ้ ๆได้ ทัง้ นี้ตอ้ งเทียบเท่าโดยคุณภาพ ปริมาณ และราคา และต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ ่าจ้างแล้วเท่านัน้

ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างมีความประสงค์จะขอใช้วสั ดุทด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า กับสิง่ ของที่ระบุในสัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอเรื่อง ขอ


ใช้วสั ดุเทียบเท่าต่อผูว้ ่าจ้างก่อนทีจ่ ะถึงกําหนดใช้วสั ดุนนั ้ เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน โดยผูร้ บั จ้างต้องแสดงเหตุผลความ
จําเป็ นทีไ่ ม่สามารถใช้วสั ดุทร่ี ะบุในรายการได้ และทําตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ คุณลักษณะ มาตรฐาน และราคา ตาม
วัตถุประสงค์ของรูปแบบทีก่ าํ หนดให้ใช้วสั ดุนนั ้ ตามสัญญา ไม่น้อยกว่า 2 ผลิตภัณฑ์ทร่ี ะบุไว้ (ยีห่ อ้ ) โดยเปรียบเทียบกับ
วัสดุทข่ี อใช้เทียบเท่าให้ครบถ้วน พร้อมระบุและแสดงวิธที ดสอบหรือพิสจู น์ ซึง่ ทางผูว้ ่าจ้างจะทําการแต่งตัง้ กรรมการ
ผูท้ รงคุณวุฒไิ ม่น้อยกว่า 3 คน ขึน้ พิจารณาการเทียบเท่าอย่างละเอียด โดยการตัดสินของคณะกรรมการพิจารณาเทียบเท่า
วัสดุทแ่ี ต่งตัง้ ขึน้ ให้ถอื เป็ นทีส่ ดุ เฉพาะคราวนัน้ (ตามนัย โดยปฎิบตั ติ ามหลักเกณฑ์ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย
การพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 16 และมติคณะรัฐมนตรีแจ้งโดยหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีท่ี สร.0203/ว.52 ลงวันที่ 28
มีนาคม 2520)

คู่มอื การตรวจสอบ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม


“ผลิตภัณฑ์ทุกชนิดทีไ่ ด้รบั อนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือโรงงานทีไ่ ด้รบั การ
รับรองระบบคุณภาพแล้ว หากผูค้ วบคุมงานหรือคณะกรรมการตรวจการจ้าง สงสัยหรือต้องการหลักฐานเพื่อยืนยันความ
ถูกต้อง ผูร้ บั จ้างจะต้องนํามาแสดงได้โดยไม่มเี งื่อนไข” ทัง้ นี้ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้
1. ถ้าเป็ นผลิตภัณฑ์ทย่ี งั ไม่มปี ระกาศกกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม แต่มผี ไู้ ด้รบั การจดทะเบียนไว้
กับกระทรวงอุตสาหกรรมแล้ว ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทม่ี คี ุณลักษณะเฉพาะหรือรายการในการก่อสร้าง ให้สอดคล้องกับ
รายละเอียด หรือคุณลักษณะเฉพาะทีร่ ะบุไว้ในคูม่ อื ผูซ้ อ้ื หรือใบแทรกคู่มอื ผูซ้ อ้ื ทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมจัดทําขึน้
2. ถ้าเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี ผี ไู้ ด้รบั ใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกันตัง้ แต่
สามรายขึน้ ไป ให้ใช้เฉพาะผลิตภัณฑ์ทท่ี าํ ในประเทศไทยซึง่ แสดงเครื่องหมายมาตรฐานเท่านัน้
3. ถ้าเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี ผี ไู้ ด้รบั อนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน และเป็ น
ผลิตภัณฑ์ทผ่ี ลิตจากโรงงานทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบคุณภาพ ตัง้ แต่สามรายขึน้ ไป ให้ใช้เฉพาะผลิตภัณฑ์ทท่ี าํ ในประเทศ
ไทย ซึง่ แสดงเครื่องหมายมาตรฐานและผลิตจากโรงงานทีไ่ ด้รบั การรับรองระบบคุณภาพเท่านัน้
4. ถ้าเป็ นผลิตภัณฑ์ทม่ี ผี ไู้ ด้รบั ใบอนุญาตแสดงเครื่องหมายมาตรฐาน ประเภท ชนิด หรือขนาดเดียวกัน น้อย
กว่าสามราย ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทท่ี าํ ในประเทศไทยซึง่ แสดงเครื่องหมายมาตรฐาน หรือผลิตจากโรงงานทีไ่ ด้รบั การรับรอง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 486 of 521

ระบบคุณภาพให้ผรู้ บั จ้างตรวจสอบผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ทีจ่ ะนํามาใช้ให้ตรงตามรายชื่อ


ทีป่ รากฏอยู่ในบัญชีค่มู อื ผูซ้ อ้ื หรือใบแทรกคู่มอื ผูซ้ อ้ื ทีก่ ระทรวงอุตสาหกรรมจัดทําขึน้ ถึงเดือนก่อนหน้าเดือนทีป่ ระกาศ
จัดซือ้ จัดจ้าง

หมายเหตุ
1. วัสดุผลิตภัณฑ์ตามข้อ (2), (3), (4) จะต้องมีเครื่องหมายการค้าหรือชื่อบริษทั หรือโรงงานผูผ้ ลิตทีไ่ ด้รบั
อนุญาตให้แสดงเครื่องหมายพร้อมทัง้ เครื่องหมายมาตรฐานอุตสาหกรรมและหมายเลข มอก. กํากับไว้ชดั เจน ถ้าไม่
สามารถแสดงบนผลิตภัณฑ์ได้ ก็ให้แสดงบนหีบห่อ หรือมีแผ่นป้ายแสดงให้ชดั เจน สําหรับผลิตภัณฑ์ทย่ี งั มิได้มกี ารประกาศ
กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ทก่ี าํ หนดไว้ในแบบรูป หรือรายละเอียด ประกอบแบบก่อสร้าง
กําหนดไว้
2. กรณีวสั ดุอุปกรณ์ทไ่ี ด้กาํ หนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้วและต่อมากระทรวงอุตสาหกรรม ได้
กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพิม่ เติม หรือแก้ไขปรับปรุงขึน้ ใหม่ ก็ให้ถอื มาตรฐานอุตสาหกรรมทีไ่ ด้ประกาศ
เพิม่ เติมได้
3. วัสดุ-อุปกรณ์ ประกอบอาคารทุกชนิดทีจ่ ะใช้ในการก่อสร้างให้ผรู้ บั จ้างนําตัวอย่าง หรือเอกสารประกอบ
อาคารทุกชนิดซึง่ สามารถตรวจพิสจู น์ได้ว่าถูกต้องตามแบบรูปรายการ ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมและตาม
ระเบียบพัสดุมอบให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง หรือผูร้ บั ผิดชอบซึง่ มีอาํ นาจรับรองตามมติ ครม. ซึง่ หมายถึงสถาปนิ ก-
วิศวกร หรือผูช้ าํ นาญการ พิจารณาผ่านคณะกรรมการตรวจการจ้างก่อนอนุญาตให้ตดิ ตัง้ หากผูร้ บั จ้างดําเนินการไปโดย
ไม่ได้รบั การอนุมตั แิ ละพิสจู น์ทราบได้ว่าได้ทาํ ผิดไปจากแบบรูปรายการ ผูร้ บั จ้างต้องรือ้ ถอนแก้ไขทันที และผูร้ บั จ้างไม่
สามารถเรียกค่าเสียหายใดๆ ทัง้ สิน้ .
4. อํานาจ และสิทธิ การเลือก ใช้เป็นของผูว้ ่าจ้าง ในการทีจ่ ะเลือกใช้และอนุมตั ิ

รายชื่อผลิตภัณฑ์ทใ่ี ช้ในการก่อสร้าง ตามหนังสือคู่มอื ผูซ้ อ้ื


ลําดับ ชื่อผลิตภัณฑ์ หมายเลข มอก.
1 กระจกโฟลตใส 880-2547
2 กระจกสําหรับอาคาร : กระจกนิรภัยเทมเปอร์ 965-2537
3 กระจกสําหรับอาคาร : กระจกนิรภัยหลายชัน้ 1222-2539
4 กระเบือ้ งคอนกรีตปูพน้ื 378-2531
5 กระเบือ้ งคอนกรีตมุงหลังคา 535-2540
6 กระเบือ้ งซีเมนต์ปพู น้ื 826-2531
7 กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินแผ่นเรียบ 12-2530
8 กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินแผ่นลอน : ลอนคู่ 79-2529
9 กระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินแผ่นลอน: ลอนลูกฟูก 18-2529
10 กระเบือ้ งดินเผาเคลือบบุผนังภายใน 613-2529
11 กระเบือ้ งดินเผาบุผนังภายนอก 614-2529

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 487 of 521

12 กระเบือ้ งดินเผาปูพน้ื 37-2529


13 กระเบือ้ งดินเผามุงหลังคา 158-2518
14 กระเบือ้ งดินเผาโมเสก 38-2531
15 กระเบือ้ งหินขัดปูพน้ื 379-2543
16 กลอน : ทองเหลืองและอะลูมเิ นียมชนิดอัดรีด 596-2531
17 ก๊อกนํ้าสําหรับอ่างล้างหน้า-ล้างมือ 1278-2547
18 กุญแจลูกบิด 756-2535
19 โกลว์สตาร์สเตอร์สาํ หรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ 183-2547
20 ข้อต่อซีเมนต์ใยหินชนิดทนความดัน 126-2548
21 ข้อต่อซีเมนต์ใยหินสําหรับงานระบายนํ้าภายในอาคาร 125-2529
22 ข้อต่อท่อพีวซี แี ข็งสําหรับใช้กบั ท่อรับความดัน 1131-2535
23 ขัว้ รับหลอดฟูออเรสเซนต์และขัว้ รับสตาร์ตเตอร์ 344-2549
24 คอนกรีตบล็อกกลวงสําหรับพืน้ คอนกรีตสําเร็จรูป 455-2530
25 คอนกรีตบล็อกประสานปูพน้ื 827-2531
26 คอนกรีตบล็อกไม่รบั นํ้าหนัก 58-2533
27 คอนกรีตบล็อกรับนํ้าหนัก 57-2533
28 คอนกรีตผสมเสร็จ 213-2520
29 เครื่องดับเพลิงยกหิว้ : โฟม 882-2532
30 เครื่องดับเพลิงยกหิว้ ชนิดผงเคมีแห้ง 332-2537
31 เครื่องปรับอากาศสําหรับห้อง แบบแยกส่วน ระบายความร้อนด้วยอากาศ 1155-2536
32 เครื่องเรือนสําหรับสํานักงาน : โต๊ะทํางานเหล็กกล้า 1183-2536
33 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : ถังพักนํ้าและฝาปิ ด 793-2531
34 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : โถชําระล้าง 796-2544
35 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : โถปสั สาวะชาย 795-2544
36 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : โถส้วมนังยอง
่ 794-2544
37 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : โถส้วมนังราบ
่ 792-2544
38 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : อ่างล่างหน้า-ล้างมือ 791-2544
39 เครื่องสุขภัณฑ์วเิ ทรียสไชนา : อุปกรณ์หอ้ งนํ้า 797-2544
40 โคมไฟฟ้าฉุกเฉินชุดเบ็ดเสร็จ 1102-2538

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 488 of 521

41 โครงเคร่าเหล็กกล้าสําหรับยึดแผ่นฝ้าและแผ่นผนัง 863-2532
42 ชิน้ ส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จสําหรับระบบพืน้ ประกอบ 828-2546
43 ดวงโคมไฟฟ้าติดประจําทีส่ าํ หรับจุดประสงค์ทวไป
ั่ 902-2532
44 ดวงโคมไฟฟ้าฝงั 903-2532
45 ตะแกรงลวดเหล็กกล้าข้ออ้อยเชือ่ มติดเสริมคอนกรีต 926-2533
46 ตะแกรงเหล็กกล้าเชื่อมติดเสริมคอนกรีต 737-2549
47 ถังเก็บนํ้าพลาสติก 1379-2551
48 ถังเก็บนํ้าพลาสติกเสริมใยแก้ว 435-2548
49 ถังนํ้าเหล็กอาบสังกะสี 238-2520
50 ถังเหล็กกล้าไร้สนิมสําหรับเก็บนํ้า 989-2533
51 ท่อคอนกรีตไม่เสริมเหล็กสําหรับงานระบายนํ้า 224-2533
52 ท่อคอนกรีตเสริมเหล็กสําหรับงานระบายนํ้า 128-2549
53 ท่อคอนกรีตเสริมเหล็กหล่อสําเร็จรูปสีเ่ หลีย่ มสําหรับงานระบายนํ้าใต้ทางเท้า 1164-2536
54 ท่อซีเมนต์ใยหินชนิดทนความดัน 81-2548
55 ท่อซีเมนต์ใยหินสําหรับงานระบายนํ้าทัวไป
่ 622-2529
56 ท่อซีเมนต์ใยหินสําหรับงานระบายนํ้าภายในอาคาร 621-2529
57 ท่อพีวซี แี ข็งสําหรับใช้เป็ นท่อนํ้าดื่ม 17-2532
58 ท่อพีวซี แี ข็งสําหรับใช้รอ้ ยสายไฟฟ้าและสายโทรศัพท์ 216-2524
59 ท่อพอลิเอทิลนี สําหรับนํ้าดื่ม 982-2548
60 ท่อโพลิบวิ ทิลนี สําหรับใช้เป็ นท่อนํ้าดื่ม 910-2532
61 ท่อเหล็กกล้า 276-2532
62 ท่อเหล็กกล้าเคลือบสังกะสีสาํ หรับใช้รอ้ ยสายไฟฟ้า 770-2533
63 ท่อเหล็กกล้าเชื่อมด้วยไฟฟ้าสําหรับส่งนํ้า 427-2531
64 ท่อเหล็กกล้าไร้สนิมออสเทไนต์ 1006-2535
65 ท่อเหล็กกล้าอาบสังกะสี 277-2532
66 นํ้ายาประสานท่อพีวซี แี ข็งและข้อต่อท่อพีวซี แี ข็ง 1032-2534
67 นํ้ายารองพืน้ สําหรับปูน อิฐ หิน ทีส่ ที าไว้เดิมขึน้ ฝุน่ (นํ้ายารองพืน้ ทับสีเก่า) 1177-2536
68 บัลลาสต์สาํ หรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ 23-2521
69 บัลลาสต์อเิ ล็กทรอนิกส์ใช้กบั ไฟฟ้ากระแสสลับ 885-2551

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 489 of 521

สําหรับหลอดฟลูออเรสเซนต์ เฉพาะด้านความลอดภัย
70 บานประตูแผ่นไม้ประกอบ 192-2549
71 บานพับสําหรับประตูและหน้าต่าง : บานพับสองปี ก 759-2531
72 บานพับสําหรับหน้าต่าง : บานพับปรับมุมชนิดฝืด 862-2532
73 ประตูเหล็กม้วนแบบทึบชนิดใช้มอื ดึง 593-2530
74 ปูนซีเมนต์ขาว 133-2518
75 ปูนซีเมนต์ปอร์ดแลนด์ เล่ม 1 ข้อกําหนดเกณฑ์คุณภาพ 15 เล่ม 1-2547
76 ปูนซีเมนต์ปอร์ดแลนด์ปอซโซลาน 849-2532
77 ปูนซีเมนต์ผสม 80-2550
78 ปูนยิปซัมผสม 1057-2549
79 ปูนยิปซัมสําหรับการก่อสร้าง 188-2547
80 แผ่นคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จสําหรับระบบพืน้ คอนกรีต 576-2546
81 แผ่นชิน้ ไม้อดั ซีเมนต์ : ความหนาแน่นสูง 878-2537
82 แผ่นพอลิเอสเตอร์เสริมใยแก้ว 612-2549
83 แผ่นไม้อดั 178-2549
84 แผ่นไม้อดั เคลือบพลาสติกสําหรับแบบหล่อคอนกรีต 1107-2535
85 แผ่นยิปซัม 219-2524
86 แผ่นใยแก้ว 487-2526
87 แผ่นใยไม้อดั แข็ง 180-2532
88 แผ่นเหล็กมุงหลังคา 1128-2535
89 ฝกั บัวอาบนํ้า 1187-2547
90 พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับ เฉพาะด้านความปลอดภัย 934-2533
91 พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับชนิดแขวนเพดาน 205-2530
92 พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับชนิดตัง้ โต๊ะและติดผนัง 92-2536
93 พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับชนิดตัง้ พืน้ 127-2536
94 พัดลมไฟฟ้ากระแสสลับชนิดส่ายรอบตัว 572-2528
95 มาตรวัดนํ้าต่อด้วยเกลียวชนิดใบพัด 1021-2534
96 มาตรวัดนํ้าต่อด้วยเกลียวชนิดลูกสูบ 1271-2538
97 มุง้ ลวดอลูมเิ นียมกันแมลง 313-2531

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 490 of 521

98 ลวดเชื่อมมีสารพอกหุม้ ใช้เชื่อมเหล็กกล้าละมุนด้วยอาร์ก 49-2528


99 ลวดเหล็กกล้าดึงเย็นเสริมคอนกรีต 747-2531
100 ลวดเหล็กกล้าตีเกลียวสําหรับคอนกรีตอัดแรง 420-2540
101 ลวดเหล็กกล้าสําหรับงานคอนกรีตอัดแรง 95-2540
102 ลวดเหล็กเคลือบสังกะสี 71-2532
103 สายไฟฟ้าทองแดงหุม้ ด้วยโพลิไวนิลคลอไรด์ 11-2553
104 สายไฟฟ้าทองแดงหุม้ ด้วยยาง : สายอ่อนถัก 955-2533
105 สายไฟฟ้าอะลูมเิ นียมหุม้ ด้วยฉนวนโพลิไวนิลคลอไรด์ 293-2541
106 สีเคลือบกึง่ เงา 1005-2548
107 สีเคลือบเงา 327-2538
108 สีจราจร 415-2548
109 สีรองพืน้ ซิงก์โครเมต 401-2534
110 สีรองพืน้ ตะกัวแดงสํ
่ าหรับพืน้ ผิวเหล็กและเหล็กกล้า 389-2524
มอก.389-2524 แก้ไขครัง้ ที่ 1,
180 วัน นับแต่ 24 ก.ย. 2531
มอก.389-2531 ยกเลิก นับแต่
วันทีป่ ระกาศราชกิจจานุเบกษา
111 สีรองพืน้ (สีชนั ้ ล่าง) สําหรับงานไม้ 357-2540
112 สีรองพืน้ สําหรับงานปูน 1123-2539
113 สีอะคริลกิ เคลือบกระเบือ้ งซีเมนต์ใยหินมุงหลังคา 1097-2535
114 สีอะลูมเิ นียม 390-2552
115 สีอะลูมเิ นียมรองพืน้ สําหรับงานไม้ 328-2551
116 สีอมิ ลั ชันใช้งานทัวไป
่ 272-2549
117 สีอพี อกซีสาํ หรับงานทัวไป
่ 691-2547
118 เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงโดยใช้แรงเหวีย่ ง 398-2537
119 เสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ 396-2549
120 เสารัว้ คอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสําเร็จ 971-2533
121 หลอดฟลูออเรสเซนซ์ขวั ้ คู่ 236-2548
122 หลอดฟลูออเรสเซนต์ขวั ้ คู่ เฉพาะด้านความปลอดภัย 956-2548
123 หลอดไฟฟ้า 4 เล่ม 1-2529

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 491 of 521

124 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณกลวง 107-2533


125 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึน้ รูปเย็น 1228-2549
126 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน 1227-2539
127 เหล็กแผ่นรีดเย็นเคลือบสังกะสีโดยกรรมวิธจี มุ่ ร้อน แผ่นม้วน แผ่นตัด และ 50-2548
แผ่นลูกฟูก
128 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กข้ออ้อย 24-2548
129 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กรีดซํ้า 211-2527
130 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กเส้นกลม 20-2543
131 อ่างเหล็กกล้าไร้สนิมสําหรับล้างชาม 854-2536
132 อิฐกลวงก่อแผงไม่รบั นํ้าหนัก 153-2540
133 อิฐก่อสร้างสามัญ 77-2545
134 อิฐคอนกรีต 59-2516
135 อิฐทนไฟอะลูมนิ าสูง 548-2541
136 อิฐประดับ 168-2546
137 อิฐประดับคัลเซียมซิลเิ กตหรืออิฐปูนขาวทราย 167-2528
138 อุปกรณ์ประกอบถังพักนํ้าสําหรับโถส้วม 1014-2542
หมายเหตุ กรณีทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงหมายเลขเพิม่ เติม ให้ผรู้ บั จ้างนําเสนอต่อกรรมการตรวจการจ้างได้

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 492 of 521

ภาคผนวก ข.
ตัวอย่างมาตรฐานวัสดุอปุ กรณ์

วัตถุประสงค์
1. รายละเอียดในหมวดนี้ได้แจ้งถึงรายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ วัสดุ และอุปกรณ์ทถ่ี อื ว่าได้รบั การยอมรับ ทัง้ นี้
คุณสมบัตขิ องอุปกรณ์นนั ้ ๆ ต้องไม่ขดั ต่อรายละเอียดเฉพาะทีก่ าํ หนดไว้ การเสนอผลิตภัณฑ์นอกเหนือจากชื่อที่
ให้ไว้ทใ่ี ห้ไว้น้ี ต้องแสดงเอกสาร รายละเอียด และหลักฐานอ้างอิงอย่างเพียงพอ เพื่อการพิจารณาอนุมตั ใิ ห้ใช้งาน
โดยมีคุณภาพเทียบเท่า
2. “เทียบเท่า” หมายถึง การอนุญาตให้ใช้วสั ดุก่อสร้างนอกเหนือจากทีก่ าํ หนดไว้ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างไม่สามารถจัดหา
วัสดุนนั ้ ๆได้ ทัง้ นี้ตอ้ งเทียบเท่าโดยคุณภาพ ปริมาณ และราคา และต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ ่าจ้างแล้ว
เท่านัน้ ในกรณีทผ่ี รู้ บั จ้างมีความประสงค์จะขอใช้วสั ดุทด่ี กี ว่าหรือเทียบเท่า กับสิง่ ของทีร่ ะบุในสัญญา ผูร้ บั จ้าง
จะต้องเสนอเรื่อง ขอใช้วสั ดุเทียบเท่าต่อผูว้ ่าจ้างก่อนทีจ่ ะถึงกําหนดใช้วสั ดุนัน้ เป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 60 วัน โดย
ผูร้ บั จ้างต้องแสดงเหตุผลความจําเป็ นทีไ่ ม่สามารถใช้วสั ดุทร่ี ะบุในรายการได้ และทําตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติ
คุณลักษณะ มาตรฐาน และราคา ตามวัตถุประสงค์ของรูปแบบทีก่ าํ หนดให้ใช้วสั ดุนนั ้ ตามสัญญา ไม่น้อยกว่า 2
ผลิตภัณฑ์ทร่ี ะบุไว้ (ยีห่ อ้ ) โดยเปรียบเทียบกับวัสดุทข่ี อใช้เทียบเท่าให้ครบถ้วน พร้อมระบุและแสดงวิธที ดสอบ
หรือพิสจู น์ ซึง่ ทางผูว้ ่าจ้างจะทําการแต่งตัง้ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒไิ ม่น้อยกว่า 3 คน ขึน้ พิจารณาการเทียบเท่า
อย่างละเอียด โดยการตัดสินของคณะกรรมการพิจารณาเทียบเท่าวัสดุทแ่ี ต่งตัง้ ขึน้ ให้ถอื เป็ นทีส่ ดุ เฉพาะคราวนัน้
(ตามนัย โดยปฎิบตั ต ิ ามหลักเกณฑ์ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 ข้อ 16 อํานาจการ
อนุมตั ขิ องผูค้ วบคุมงานและกรรมการตรวจการจ้าง ตาม ข้อ 72-73 และมติคณะรัฐมนตรีแจ้งโดยหนังสือสํานัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรีท่ี สร.0203/ว.52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520)
3. ประเทศผูผ้ ลิตวัสดุและอุปกรณ์ตามทีไ่ ด้ระบุไว้ เป็ นเพียงประเทศต้นสังกัดของวัสดุและอุปกรณ์นนั ้ ๆ การนําเสนอ
รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ (MATERIAL APPROVE) และผลิตภัณฑ์นนั ้ ๆ ไม่ได้ผลิตภายในประเทศต้นสังกัด
ผูร้ บั จ้างจะต้องแสดงหลังฐานการนําเข้าผลิตภัณฑ์ทม่ี าจากประเทศผูผ้ ลิตจริง เพื่อการพิจารณาอนุมตั ิ ตามความ
เห็นชอบของเจ้าของโครงการ วิศวกรผูอ้ อกแบบ หรือวิศวกรผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 493 of 521

รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุและอุปกรณ์มาตรฐาน
1. รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มาตรฐานงานสถาปตั ยกรรม

ลําดับ รายการ รายชื่อผูผ้ ลิต


1.1 คอนกรีตบล็อกประสานปูถนน - CPAC ของบจก. สยามซีแพคบล็อค
INTERLOCKING CONCRETE ROAD - โอฬาร ของบจก. กระเบือ้ งโอฬาร
PAVING BLOCK - เคทีที ของบจก. เคทีที
- C-CON ของบจก. ชัยสวิสดิ ์ คอนสตรัคชัน่
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.2 สีผสมซีเมนต์ขดั มัน COLOURED CEMENT - สีฝนุ่ ของ BAYER CO.,LTD.
STEEL TROWELING - FOSROC CO.,LTD.
- CERA C- CURE CO., LTD.
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.3 วัสดุแผ่น LAMINATED - FORMICA
- PERSTORP ของ RERSTORP CO.,LTD.
- WILSON ART ของ WILSONART (THAILAND)
CO.,LTD.
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.4 ระบบกันซึม POLYESTER ชนิดใยแก้ว - ผลิตภัณฑ์ ของ Deckard
- ผลิตภัณฑ์ ของ DURACRETE
- ผลิตภัณฑ์ Elastodeck S ของ บจก. บรีเกด
เทคโนโลยี
- หรือคุณภาพเทียบเท่า มอก.

1.5 ระบบกันซึมใต้ดนิ - PREPRUFE ของ WR. GRACE CO.,LTD.


(พืน้ -ผนังห้องนํ้าทีม่ กี ารใช้งาน) - MARLEYSEAL ของ UNION ASSOCIATES
CO.,LTD.
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.6 ระบบกันซึมชนิดทา/ฉาบ ระบบกันซึมชนิดส่วนผสมซีเมนต์
FLUID APPLIED WATERPROOFING - THOROSEAL ของ MASTER BUILDERS
- UNASEAL ของ UNION ASSOCIATES CO., LTD.
- BRUSHBOND ของ FOSROC (THAILAND)
- HYDRO SEAL ของ DURACRETE
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
ระบบกันซึมชนิดอะครีลคิ
- HYDROLASTIC ของ L’QUATECH CO.,LTD.

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 494 of 521

- UNAROOFDEX ของ UNION ASSOCIATES CO.,


LTD.
- NITOPROOF RS ของ FOSROC (THAILAND)
- VIBOND LASTIC URETHANE ของ VISPACK
CO.,LTD.
- DURAFLEX ของ DURACRETE
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.7 ระบบกันซึมชนิดนํ้ายาประสานคอนกรีต
CEMENTITIOUS WATERPROOFING
- นํ้ายาผสมในคอนกรีตกันซึมและรับ - HYDRATITE ของ W.R. GRACE CO.,LTD.
แรงดัน - COLEMANOID NO.1 ของ UNION ASSOCIATES
ของนํ้า CO.,LTD.
- CONPLAST 211 ของ FOSROC (THAILAND)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้ สระว่ายนํ้า บ่อลิฟต์ อุโมงค์ ถังนํ้าใต้ดนิ
คสล.
- แผ่นยางกันซึม PVC คันรอยต่
่ อใน - UA WATERSTOP ของ UNION ASSOCIATES CO.,
โครงสร้าง LTD.
- SIKA JOINT RIBBON ของ SIKA (THAILAND)
LIMITED
- SUPERCAST WATERSTOP ของ FOSROC
(THAILAND)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุคนรอยต่
ั่ อและวัสดุเชื่อมรอยต่อ JOINT FILLER : เป็ นวัสดุประเภทใยพืชอัดแน่น
สําหรับงานถนนทางเดิน ค.ส.ล. - UNA FIBER FILL ของ UNION ASSOCIATES
CO.,LTD.
- CELOTEX ของ PAL N. CHARTER
- FLEXCELL ของ FOSROC (THAILAND)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
JOINT SEALANT : ยางหยอดรอยต่อถนน
- COR – TON 99 ของ UNION ASSOCIATES
CO.,LTD.
- NITOSEAL 777 ของ FOSROC (THAILAND)
- HOTSEAL 1990 ของ L’AQUATECH
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุคนรอยต่
ั่ อและวัสดุเชื่อมรอยต่อ สําหรับรอยต่อ
โครงสร้างอาคาร

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 495 of 521

JOINT FILLER : เป็ นผลิตภัณฑ์ประเภท


POLYETHYLENE FOAM
- COMPRESS-CELL ของ UNION ASSOCIATES
CO.,LTD.
- FILLER ROD ของ L’AQUATECH
- EXPANCELL ของ FOSROC (THAILAND)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
JOINT SEALANT : เป็ นผลิตภัณฑ์ประเภท
POLYSULPHIDE 2 PART
- ARBOKL หรือ UNION ASSOCIATES CO.,LTD.
- THIOFLEX ของ FOSROC (THAILAND)
- OPTISEAL ของ APT.
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุซ่อมรอยรัวซึ
่ ม - UA PLUG ของ UNION ASSOCIATES CO.,LTD.
- RENDEROC PLUG ของ FOSROC (THAILAND)
- WATERPLUG ของ L’AQUATECH
- หรือคุณภาพเทียบเท่า

1.8 นํ้ายาซิลโิ คนเคลือบผิว - SILICONE R211 MASONRY WATER REPELLENT


SILICONE WATER REPELLENT ของบจก. ไอ ซี ไอ (ประเทศไทย)
COATING - TOA WATER REPELLENT WB ของบจก. ทีโอเอ
เพ้นท์ (ประเทศไทย)
- SIKAGARD – 701 W ของบจก. ซิกา้ (ประเทศไทย)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ทาจํานวน 2 เทีย่ ว
1.9 ฉนวนป้องกันความร้อน ชนิดใยแก้ว - SFG ฉนวนตราช้าง ของบจก. สยามไฟเบอร์กลาส
- MICROFIBER ของบจก. ไมโครไฟเบอร์อุตสาหกรรม
- วินซูเลเตอร์ ของบจก. วินซูเลเตอร์
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.10 ฉนวนป้องกันความร้อน ชนิดแผ่นสะท้อน - ของบจก. กระเบือ้ งหลังคาซีแพค
ความร้อน - วินซูเลเตอร์ PF 550 ของบจก. วินซูเลเตอร์
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.11 ฉนวนป้องกันความร้อน ชนิดเยือ่ กระดาษกัน - CELLUMAX ของบจก. เซลลูแมกซ์ อินเตอร์เนชันแนล

ความร้อน - COOLCELL ของบจก. เนเซอรัล อินซูเลชัน่ (ประเทศ
ไทย) หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.12 ฉนวนป้องกันความร้อน ชนิด - บจก. บิลดิง้ คอนสตรัคชัน่ ซัพพลาย
RIGID POLYURETANE FOAM - บจก. สกาย อินซูเลท
PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 496 of 521

- บจก. P.U. โฟมอินซูเลชันแอนด์


่ เทรดดิง้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.13 ฉนวนป้องกันความร้อน ชนิด - บจก. มิคเซล
POLYEHTYLENE FOAM - บจก. กรีนเวย์ สตีล โปรดักส์
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.14 ฉนวนป้องกันไฟชนิดพ่น - MONOKOTE ของบจก. W.R. GRACE
CEMENTITOUS SPRAYED – ON - CAFCO ของ REPAX CO.,LTD.
FIREPROOFING - FIRECUT ของ บจก. ไบเทค โฮลดิง้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า

1.15 หลังคาโลหะ ผนังโลหะ และผนังเกล็ดระบาย - BLUESCOPE LYSAGHT ของ บจก. บลูสโคป ไล


อากาศโลหะ สาจท์ (ประเทศไทย)
(METAL ROOF, METAL SIDING AND - บมจ. ล๊อกซ์เล่ย์
LOUVER BLADE) - SANKO ของบจก. พรีเมียร์ โพรดักส์
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ให้สง่ ตัวอย่างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา
เลือกสีและเห็นชอบก่อนดําเนินการ
- SEVEN ของ อินเตอร์ควอลิต้ี เซ็นเตอร์ จํากัด
1.16 แผ่นผนังอลูมเิ นียมชนิดมีฉนวน - ALPOLIC ของ B.F.M. CO.,LTD.
(ALUMINIUM COMPOSITE PANEL) - ALUCOBOND ของ PROCOMMERCE CO.,LTD.
- PLAMETAL ของ M.V.P. FOUR STAR CO.,LTD.
- KNAUF ของ บจก. เมทอลแฟบ
- หรือคุณภาพเเทียบเท่า
- ให้สง่ ตัวอย่างให้คณะกรรมการตรวจการจ้างพิจารณา
เลือกสีและเห็นชอบก่อนดําเนินการ
1.17 วัสดุยาแนว (JOINT SEALANTS)
- SILCONE SEALANT - DOW CORNING ของ DOW CORNING
(THAILAND) CO.,LTD.
- GE ของ GECONS (THAILAND) CO.,LTD.
- WACKER ELASTOSIL ของ SAENG CHAROEN
PATANA ENTERPRISE CO.,LTD.,
- หรือคุณภาพเทียบเท่า

- POLYSULPHIDE SEALANT - TREMCO ของ NGERNMA BUSINESS CO.,LTD.


- SONNEBORN ของ GECONS (THAILAND)
CO.,LTD.
- WACKER ELASTOSIL ของ SAENG CHAROEN

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 497 of 521

PATANA ENTERPRISE CO.,LTD.


- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.18 งานประตูและวงกบเหล็ก - ABEC ของ บจก. เมสัน อาคูสติกส์
STEEL DOORS & FRAMES - DIAMOND DOOR ของ หจก. ประตูเหล็กไทย
- SMC ของ บจก. ซันเม็ททัล
- OPA ของ บจก. โอปนายิกุล
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.19 วัสดุวงกบ กรอบบานประตูและหน้าต่าง - SMS SCHIMMER ของ บจก.ซิมเมอร์ เมตัล
อลูมเิ นียม เจือหน้าตัด สแตนดาร์ด
(ALUMINIUM DOOR AND WINDOW) - มหานครมิทอล
- ไทยเม็ททอล
- หรือคุณภาพเเทียบเท่า
1.20 งานประตูบานม้วน (COILING DOORS) - BSP ของ บจก. บี.เอส.พี. โปรดักซ์
- TOYO SHUTTERS ของ บจก. โตโยชัตเตอร์ส
- SMC ของ บจก. ซันเท็ททัล
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.21 อุปกรณ์ประตู – หน้าต่าง
(DOOR & WINDOW HARDWARES)
ขอให้เสนอราคาโดยใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกันใน
ทุกวัสดุอุปกรณ์ย่อยทีส่ มั พันธ์กนั
- บานพับ (HINGE) - YANK, GLORY, DENSEI ของ หจก. ธนาชล
- INTER LOCK ของ ALUMEX THAI CO.,LTD.
- MARZ, STAINLEY ของบจก. ฮาคอน
- ANDERBERG ของบจก. เอ๊กซ์เซล กลาเซอร์
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ช่วยปิ ดประตู (DOOR CLOSER) - LOCK WOOD ของบจก. อัสซ่า อะบลอย (ประเทศ
ไทย)
- AXIM ของบจก. ฮาคอน
- DORMA ของบจก. ฟินเลย์ อินเตอร์ เนชันแนล

- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 498 of 521

- กุญแจติดตาย (DEAD BOLT SET) - SHOWA ของ หจก. ธนาชล


- LOCK WOOD ของบจก. อัสซ่า อะบลอย (ประเทศ
ไทย)
- BOYD, LOCKMANN ของบจก. ฮาคอน
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์เปิ ดประตูฉุกเฉิน - SHOWA ของ หจก. ธนาชล
(EXIT DEVICES) - LOCK WOOD ของบจก. อัสซ่าอะบลอย (ประเทศ
ไทย)
- BOYD, LOCKMANN ของบจก. ฮาคอน
- สกุลไทย, VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์กนั กระแทกประตูและผนัง - GLORY ของ หจก. ธนาชล
(DOOR AND WALL BUMPER) - YALE ของ บจก. ไทตันโค อินเตอร์ เนชันแนล ่
- AXIM ของบจก. ฮาคอน
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้ สกุลไทย
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กลอน (BOLT) - LOCK WOOD ของบจก. อัสซ่า อะบลอย (ประเทศ
ไทย)
- HAFELE ของ บจก. เฮเฟเล่ (ประเทศไทย)
- MARZของ บจก.ฮาคอน ,VVP ของ บจก.วีวพี มี าร์เก็ต
ติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่ า
- มือจับและแป้นผลัก - RYOBI JAPAN ของบจก. เอ๊กซ์เซล กลาเซอร์
(HANDLE AND PUSH PLATE) - MARZ ของบจก. ฮาคอน
- LOCK WOOD ของบจก. อัสซ่า อะบลอย (ประเทศ
ไทย)
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้ ,สกุลไทย
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ (LOCK SET) - GLORY ของ หจก.ธนาชล
- TRUSH ของบจก. เอ๊กซ์เซล กลาเซอร์

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 499 of 521

- INTERLOCK ของบจก. ALUMEX THAI


- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้ ,สกุลไทย
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์รางเลื่อน - HEDERSON ของ บจก. หลุยส์ ตี. เลียวโนเวนส์
(SLIDNG DOOR EQUIPMENTS) (ประเทศไทย)
- HAFELE ของ บจก. เฮเฟเล่ (ประเทศไทย)
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์บานเกล็ดปรับมุม - SHOWA ของ หจก. ธนาชล
(ADJUSTABLE LOUVER) - YALE บจก. ไทตันโค อินเตอร์เนชันแนล ่
- INERTLOCK ของ บจก. ALUMEX THAI
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- ขอรับ – ขอสับ (HOOK SET) - YALE ของบจก. ไทตันโค อินเตอร์เนชันแนล ่
- SHOWA ของ หจก. ธนาชล
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ยดึ ประตูระบบแม่เหล็กไฟฟ้า - EFF-EFF ของ บจก. อัสซ่า อะบลอย (ประเทศไทย)
(ELECTROMAGNETIC HOLDER) - YALE ของ บจก. ไทตันโค อินเตอร์เนชันแนล ่
- DORMA บจก. ฟินด์เลย์อนิ เตอร์เนชันแนล่
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ประสานเปิ ดประตูก่อน – หลัง - GLYNN ของบจก. ฮาคอน
(DOOR CO – ORDINATOR) - SHOWA ของ หจก. ธนาชล
- DORMA บจก. ฟินด์เลย์ อินเตอร์เนชันแนล ่
- VVP ของ บจก. วีวพี ี มาร์เก็ตติง้
- Hefale ของ บริษทั เฮเฟเล่ ประเทศไทย จํากัด
- สกุลไทยหรือคุณภาพเทียบเท่า

1.22 กระจก (GLAZING)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 500 of 521

- กระจกใส (CLEAR GLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี


- การ์เดียน ของบจก. การ์เดียน อินดัสทรีส์
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
เทียบเท่า
- กระจกฝ้า (OPAQUEGLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- PMC ของ บจก. พีเอ็มเค- เซ็นทรัล
- SPG ของบจก. กระจกลายสยาม หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
- กระจกเงา (MIRROR) - การ์เดียน ของบจก. การร์เดียนอินดัสทรีส์
- อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกเสริมลวด (WIRED GLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- HEAT-STRENGTHNED GLASS - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- PMC บจก. กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัล
- บจก. กลาส เวย์
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด),หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกสีตดั แสง (TINTED GLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- PMC บจก. กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัล
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกฉนวน (INSULATED GLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- PMC บจก. กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัล
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกทนแรงอัด (TEMPERED GLASS) - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
- TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- PMC บจก. กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัล
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 501 of 521

คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกอัดแผ่นฟิลม์ - VMC ของบจก. สยาม วี. เอ็ม. ซี. กระจกนิรภัย
(LAMINATED GLASS) - TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส
- PMC บจก. กระจกพีเอ็มเค – เซ็นทรัล
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- กระจกสะท้อนแสง - อาซาฮี ของบจก. กระจกไทย – อาซาฮี
(REFLECTIVE GLASS) - TGSG ของบจก. ไทย-เยอรมัน สเปเซียลตีก้ ลาส
- Taiwan Glass Ind.Corp.(บ.กระจกคุณค่า จํากัด)หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
1.23 งานผนังกระจก - ASIA ALUMINUM AND GLASS CO.,LTD.
GLAZED CURTAIN WALL/SPIDER - OREGON ALUMINIUM CO., LTD.
GLAZING SYSTEM - YHS INTERNATIONAL CO., LTD.
- ASIA ASIATIC (THAILAND) CO.,LTD.,
- S ONE ALUMINIUM CO.,LTD.
- TOSTEM THAI CO.,LTD.หรือคุณภาพเทียบเท่า

1.24 อุปกรณ์ประกอบประตู – หน้าต่าง - TOSTEM THAI CO.,LTD.


(CURTAIN WALL)
- หน้าต่างบานเปิ ดอลูมเิ นียม - TRUTH หรือ METAL CHIMEX
CAM HANDLE W/LOCK - หรือคุณภาพเทียบเท่า
- บานพับ
- ANDERBERG, TRUTH หรือ METALCHIMEX
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- หน้าต่างบานเลื่อนอลูมเิ นียม ROLLER - DELMAR # D- 7000 หรือ Y.door # Y-7000
- หรือคุณภาพเทียบเท่า

- หน้าต่างบานหมุน (PIVOT WINDOW) - Y.door หรือคุณภาพเทียบเท่า มอก. FLUSH LOCK


- METAL CHIMEX หรือ TRUTH
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.25 แผ่นพลาสติก POLYCARBONATE - LEXAN ของ GE
- TWINLITE ของบจก. อินเตอร์ ควอลิต้ี เซ็นเตอร์
- CARBORON ของบจก. ธ.พัฒนกิจ
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.26 โครงเคร่าโลหะผนังเบา - GYPROC ไทยยิปชัม่ ของบจก. ไทยผลิตภัณฑ์ยปิ ชัม่
(NON-LOAD BEARING WALL METAL - ช้าง ของบจก. สยามอุตสาหกรรมยิปชัม่
FRAMING)

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 502 of 521

- ARCON TYPE ของบจก. อาร์คอ่ น เอ็นจิเนียริง่


- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.27 โครงเคร่าโลหะฝ้าเพดาน - GYPROC ของบจก. ไทยผลิตภัณฑ์ยปิ ชัม่
(CEILING SUSPENSION SYSTEMS) - ช้าง CMC ของบจก. สยาม อุตสาหกรรมยิปชัม่
- ARCON TYPE ของบจก. อาร์คอ่ น เอ็นจิเนียริง่
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.28 แผ่นยิปชัมบอร์
่ ด (GYPSUMBOARD) - GYPROC ไทยยิปชัม่ ของ บจก. ไทยผลิตภัณฑ์ยปิ ชัม่
- ช้าง ของ บจก. สยามอุตสาหกรรมยิปชัม่
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.29 กระเบือ้ งปูพน้ื -ผนัง - บริษทั เคนไซ ซีรามิคส์ อินดัสตรี้ จํากัด
- วัสดุทใ่ี ช้ กระเบือ้ งแกรนิตชนิดไฟสูง - แกรนิตโต้ STD TILES
แกรนิตโต้ (300x600,600x600) - COTTO ของ บจก. เซรามิค อุตสาหกรรมไทย
- UMI ของ บจก. สหโมเสกอินดัสตรี้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุทใ่ี ช้ กระเบือ้ งโมเสดคละสี - แกรนิตโต้ STD TILES
- COTTO ของ บจก. เซรามิค อุตสาหกรรมไทย
- UMI ของ บจก. สหโมเสกอินดัสตรี้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุทใ่ี ช้ กระเบือ้ งดินเผาชนิดไม่เคลือบสี - KERA ของ บจก. เคร่าไทล์
- อ.ป.ก. ของ บจก. อ.ป.ก. ดาวคู่ (1990)
- L-THAI ของ บจก. กระเบือ้ งดินเผา ลําปาง – ไทย
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- วัสดุทใ่ี ช้กระเบือ้ งดินเผาชนิดเคลือบสีไฟ - KERA ของบจก. เคร่าไทล์
สูง - อ.ป.ก. ของบจก. อ.ป.ก. ดาวคู่ (1990)
- บริษทั เคนไซ ซีรามิคส์ อินดัสตรี้ จํากัด หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
- วัสดุทใ่ี ช้ กระเบือ้ งเซรามิค - COTTO ของบจก. เซรามิค อุตสาหกรรมไทย
- RCI ของบมจ. โรแยลซีรามิค อุตสาหกรรม
- คัมพานา ของบมจ. ไทย – เยอรมันเซรามิค อันดัสทรี้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.30 กระเบือ้ งยางชนิดแผ่นหรือม้วน - DYNOFLEX PREMIUM ของบจก. ผลิตอุปกรณ์
วัสดุทใ่ี ช้กระเบือ้ งยาง Asbestos Free ก่อสร้าง
(ปราศจากใยหิน) หนา 3.2 มม. - STARFLOR ของบจก. ยูเนี่ยนปรอพเปอร์ต้ี
- ARMSTRONG IMPERIAL ของ บจก. วิสแพค
- GARBOของบ.CMCหรือคุณภาพเทียบเท่ า
1.31 กระเบือ้ งแผ่นเรียบ (ASBESTOS) - ช้าง ของบจก. สยามอุตสาหกรรมยิปซัม่

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 503 of 521

- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.32 แผ่นไฟเบอร์ซเี มนต์บอร์ด (ปราศจากใยหิน) - สมาร์ดบอร์ด ตราช้าง ของบจก. สยามอุตสาหกรรมยิป
ซัม่
- ต้นไม้ (ไม้ระแนงเฌอร่า,ฝ้าเฌอร่าแฟล็กซีบ่ อร์ด,ไม้เฌอ
ร่า
- ROCK WOOD
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.33 ฝ้าเพดานตะแกรงอลูมเิ นียมกล่องอบสี - CN ของบจก. ซี เอ็น โปรเกรส อินเตอร์ กรุ๊ป
- ผลิตภัณฑ์ของ บจก. โอเวอร์ซี อลูมนิ มั ่
- ผลิตภัณฑ์ของบจก. อัลท็อป
1.34 กระเบือ้ งหินขัดปูพน้ื มอก. 379-2543 - TRG ของบจก. สระบุรรี ชั ต์
- MARBLEX ของบจก. กรุงเทพหินอ่อนเทียม
- STONIC ของบจก. เคหะภัณฑ์ มาร์เก็ตติง้
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.35 แผ่นฝ้าเพดานกันเสียง
(ACOUSTICAL CEILINGS)
- แผ่นฝ้าเพดานกันเสียง - ARMSTRONG ของบจก. สยามอุตสาหกรรมยิปชัม่
ACOUSTICAL BOARD (สระบุร)ี
- CELOTEX ของบจก. ไทยผลิตภัณฑ์ยปิ ชัม่
- USG ของบจก. ธ.พัฒนกิจ
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- โครงเคร่าโลหะ - CMC ของบจก. สยามอุตสาหกรรมยิปชัม่ (สระบุร)ี
- GYPROC ไทยยิปชัม่ ของบจก. ไทยผลิตภัณฑ์ยปิ ชัม่
- ARCON
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.36 หินอ่อน (MARBLE FLOORING) - บจก. อาณาจักรสุโขทัยหินอ่อนและแกรนิต
- บจก. เอเชียแกรนิต
- บจก. เอ็มไพร์แกรนิต
- บจก. MAPEI
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.37 หินแกรนิต (GRANITE FLOORING) - บจก. อาณาจักรสุโขทัยหินอ่อนและแกรนิต
- บจก. เอเชียแกรนิต
- บจก. เอ็มไพร์แกรนิต
- บจก. MAPEI
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.38 คอนกรีตบล็อกประสานปูพน้ื - CPAC ของบจก. สยามซีแพคบล็อค

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 504 of 521

(INTERLOCKING CONCRETE PAVING - โอฬาร ของบจก. กระเบือ้ งโอฬาร


BLOCK) - เคทีที ของบจก. เคทีที
- C-CON ของบจก. ชัยสวัสดิฯ์ หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.39 คอนกรีตบล็อกปูพน้ื สําหรับปลูกหญ้า - CPAC ของบจก. สยามซีแพค บล็อก
(TURF STONE CONCRETE BLOCK) - โอฬาร ของบจก. กระเบือ้ งโอฬาร
- เคทีที ของบจก. เคทีที
- C-CON ของบจก. ชัยสวัสดิฯ์
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.40 พรมทอชนิดแผ่น (CARPET) - CARPET INTER ของบมจ. เคร์เปท อินเตอร์เนชัน่
แนล (ประเทศไทย)
- ไทปิ ง ของบมจ. อุตสาหกรรมพรมไทย
- INTERFACE ของบมจ. โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.41 วัสดุผสมพืน้ ทําผิวแกร่ง - VISPACK CO.,LTD
- เคมิครีต ของบจก. ยูเนียน แอสโซซิเอท
- FOSROC ของบจก. ฟอสร็อค (ประเทศไทย)
- ไทคอนท็อป มิเนอราล ของบจก. เรพแพค คอน
สตรัคชัน่
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.42 งานสี (PAINTING) - CAPTAIN ของ บจก. กับตัน อินดัสทรี้
- RPS ของบจก. อาร์ พี เอส ซี อินเตอร์เทรด
- TOA ของบจก. ทีโอเอ เพนท์ (ประเทศไทย)
- บจก. สีเดลต้า หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.43 สีทาถนน/สีจราจร (TRAFFIC PAINTING) - บจก. กัปตัน เพ้นท์ (ประเทศไทย)
- บจก. เจ.บี.พี.อินเตอร์เนชันแนล
่ เพ็นท์
- บจก. ทีโอเอเพ้นท์ (ประเทศไทย)
- บจก. นิปปอนเพนต์ (ประเทศไทย)
- บจก. โจตัน (ประเทศไทย) จํากัด
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.44 นํ้ามันเคลือบแข็งโพลียรู เี ทน - CHEMGLAZE ของบจก. พรีซสี ชันเอ็ ่ นยีเนียริง่
- PAMMASTIC ของ บจก. บริตชิ เพ้นท์ส
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.45 พืน้ ยกสําเร็จรูป (ACCESS FLOORING) - CROSSTRACK ของเตียงฮงสีลม
- MERO ของ FRANK MODERN SYSTEM CO,.LTD.
- DONN ของ ROCKWORTH
- TAKO ของบริษทั ทาโก้ ประเทศไทย จํากัด

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 505 of 521

- TATE ของ GRANDBUILT หรือคุณภาพเทียบเท่า


- EXTRA ของโปรแอท มาเก็ตติง้ กรุ๊ป
1.46 ผนังห้องนํ้าสําเร็จรูป (TOILET PARTITION) - WILLY ของบจก. เวลด์คราฟท์ (ประเทศไทย)
- PERSTORP ของบจก. สยามพีเอสเอ็ม
- KOREX
- กรณีพมิ พ์ลาย แผ่นลามิเนตของ Winsonart
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.47 งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์ - AMERICAN STANDARD ของบมจ. เครื่องสุขภัณฑ์
(TOILET AND BATH ACCESSORIES) อเมริกนั สแตนดาร์ด (ประเทศไทย)
- Nahm บริษทั นามสุขภัณฑ์ จํากัด
- Kholer ของบริษทั โคห์เลอร์ (ประเทศไทย) จํากัด
- อุปกรณ์อตั โนมัติ Sana ของบริษทั Sanmart co.,ltd
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.48 แผ่นผนังคอนกรีตเสริมใยแก้ว - GEL ของบมจ. เยนเนอรัล เอนยิเนียริง่
(GLASSFIBRE REINFORCED CONRETE - PCM ของบมจ. แผ่นพืน้ สําเร็จรูป พีซเี อ็ม
WALL PANEL) - หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.49 งานผนังภายในแบบเลื่อน/พับเก็บ - HUFCOR ของบจก. หลุยส์.ตี.เสียวโนเวนส์
(OPERABLE PARTITION) - ADR ของบจก. วรรธนะ
- HUPPE VARIFLEX ของบจก. เจเอ็นวี อินเตอร์เนชัน่
แนล ซัพพลาย
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.50 งานป้องกันและกําจัดปลวก - บจก. ภักดี เคมีภณ ั ฑ์
- บจก. 12 เพสท์ คอนโทรล เซอร์วสิ
- บจก. แอ็ดวานซ์ เซอร์วสิ (ประเทศไทย)
- บจก. โอภาเซอร์วสิ (ประเทศไทย)
- หรือคุณภาพเทียบเท่า
- และต้องเป็ นเคมีป้องกันปลวกทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ
ได้รบั รองจาก อย. หรือหน่วยงานข้าราชการทีเ่ ชื่อถือได้
1.51 งานชิน้ ส่วนคอนกรีตสําเร็จรูป - GEL CO,.LTD.
(PRECAST CONCRETE) - CPAC PRODUCTS CO,.LTD.
- PBL GROUP CO,.LTD.
- POSTTEN CO.,LTD.
- C-POST CO,.LTD. หรือคุณภาพเทียบเท่า
1.52 งานลู่วงิ่ ยางสังเคราะห์ SYNTHETIC - PORPLASTIC ของ บ.CMC หรือคุณภาพเทียบเท่า

2. รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มาตรฐานงานไฟฟ้า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 506 of 521

ลําดับที่ ชื่อผลิตภัณฑ์ รายชื่อผูผ้ ลิต


2.1 TRANSFORMER : OIL IMMERSED TYPE EKARAT
CHAREON CHAI
CC TRANSFORMER
QTC,MAX WELL
หรือคุณภาพเทียบเท่า

2.2 GENERATOR CAT TERAILLAR


SENIX
CUMMINS
VOLVO
KOKLER
PERKINS
IMO INZA
DOOSAN By Winbridge
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.3 LOW VOLTAGE SWITCHGEAR SQUARE-D
AND AUTOMATIC TRANSFER SWITCH GE
SIEMENS,PMK
MERLIN GERIN, ABB
MOELLER หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.4 LV MAIN AND DISTRIBUTION BOARD TIC,PMK
MANUFACTURER PROTECTIVE RELAY, MANUFACTURER
METERING AND ASSOCIATED SWITCHBOARD (SMD)
EQUIPMENTS ABB,TELEMECANIQUE
CROMPTONหรือคุณภาพเทียบเท่า
2.5 BATTERY AND BATTERY CHARGER EXIDE
CHLORIDE
NIFE
YUSA
GS
Delight หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.6 PANELBOARD SQUARE-D
GE
PMK
ABB
หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 507 of 521

2.7 CONTACTOR AND CONTROL RELAY SIEMENS


ABB,TELEMECANIQUE
MITSUBISHI
OMRON
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.8 POWER CAPACITOR AND REACTIVE ABB
POWER CONTROL RELAY NOKIAN
MERLIN GERLIN,MKS TECHNOLOGY
SIEMENS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.9 SWITCH AND OUTLET BTICINO,PANASONIC
CLIPSAL
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.10 POWER OUTLET LEGRAND, ABB , CLIPSAL หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.11 LUMINAIRE (LOCAL) DELIGHT,LUSO
OPTEX
PHILIPS,LIGMAN
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.12 LAMPS GE
OSRAM
PHILIPS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.13 LAMP HOLDER BJB
VOSSLOH
GE, PHILIPS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.14 BALLAST & STARTER PHILIPS,ECONOWATT
TOSHIBA,OSRAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.15 ELECTRONIC BALLAST ECONN-WATD
PNILLIP
OSRAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 508 of 521

2.16 LAMPS CAPACITOR THORN EMI


BOSCH
ABB
NOKIA
PHILIPS
ELECTRONICON
ATCOหรือคุณภาพเทียบเท่า
2.17 CABLE TRAY, CABLE LADDER, TIC
WIREWAY B-LINE
BETTER MAN
PMK
ESI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.18 CONDUIT PANASONIC
RSI
DAIWA
ARROW PIPEหรือคุณภาพเทียบเท่า
2.19 NON-METALLIC CONDUIT CLIPSAL ,TAP
ARR, BTC
UNVOLT หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.20 CABLE PHELPS DODGE, THAI YAZAKI
BANGKOK CABLE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.21 FIRE RESISTANCE CABLE PIRLLI,PHELPS DODGE
STUDER
MCI DRAKA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.22 MATV SYSTEM HIRSCHMANN
PHILIPS
WISI
PSI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.23 TV/FM OUTLET HIRSCHMANN
PHILIPS
WISI
NATIONAL
หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 509 of 521

2.24 MATV COAXIAL CABLE HIRSCHMANN


COMSCOPE
WISI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.25 SOUND SYSTEM TEAC
SONY
AEX
PANASONIC หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.26 FIRE ALARM SYSTEM SYSTEM SENSOR
HONEYWELLS,EDWARDS,NOTIFIRE
WILL UI หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.27 BUS DUCT POWER DUCT
CUTLER HAMMER
GE
SQUARED
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.28 COMPUTER CABLE FRANKLIN FRANCE
PREVECTRONZ
Forend,LPI
หรือคุณภาพเทียบเท่า

2.29 สายสัญญาณระบบเครือข่าย AMP, PANDUIT, SYSTIMAX, หรือคุณภาพเทียบเท่า


คอมพิวเตอร์
2.30 แผงกระจายสายสัญญาณ AMP, PANDUIT, SYSTIMAX ,หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.31 สายเชื่อมต่อสําหรับแผงกระจาย AMP, PANDUIT, SYSTIMAX ,หรือคุณภาพเทียบเท่า
สายสัญญาณ

2.32 ระบบบริหาร และจัดการสายสัญญาณ AMP, PANDUIT, SYSTIMAX ,หรือคุณภาพเทียบเท่า


อัตโนมัติ
2.33 สายเชื่อมต่อ (CAT 6 UTP Patch Cord) AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.34 เต้ารับสายสัญญาณตัวเมีย (RJ 45 AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า
MODULAR JACK CAT 6)
2.35 หน้ากากสําหรับเต้ารับ (Faceplate Kit) AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 510 of 521

2.36 สายใยแก้วนําแสง FIBER OPTIC CABLE AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า

2.37 แผงกระจายสาย FIBER OPTIC PATCH AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า


PANEL
2.38 หัวเชื่อมต่อสายใยแก้วนําแสงชนิด AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า
SNAP-IN ADAPTER PLATE มีคุณสมบัติ
ดังนี้
2.39 สายเชื่อมต่อ ใยแก้วนําแสง FIBER AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า
OPTIC PATCH CORD มีคุณสมบัตดิ งั นี้
2.40 ตู้ Rack AMP, PANDUIT, SYSTIMAX,หรือคุณภาพเทียบเท่า

2.41 อุปกรณ์สลับสัญญาณสารสนเทศแกน CISCO, HP, JUNIPER,หรือคุณภาพเทียบเท่า


หลัก (Core Switch) แบบ
10/100/1000Mbps
2.42 อุปกรณ์สลับสัญญาณกระจายสัญญาณ CISCO, HP, JUNIPER,หรือคุณภาพเทียบเท่า
ในชัน้ (Distribution Switch)
2.43 อุปกรณ์สลับสัญญาณกระจายสัญญาณ CISCO, HP, JUNIPER,หรือคุณภาพเทียบเท่า

2.44 อุปกรณ์บริหารจัดการ Access Point ARUBA, CISCO, HP, JUNIPER,หรือคุณภาพ


(Wireless Controller) เทียบเท่า
2.45 อุปกรณ์กระจายสัญญาณเครือข่ายไร้ ARUBA, CISCO, HP, JUNIPER,หรือคุณภาพ
สายชนิด 802.11n เทียบเท่า
2.46 เครือ่ งโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพี (IP- CISCO, AVAYA, GRANDSTREAM,หรือคุณภาพ
Phone) พร้อมซอฟต์แวร์ไลเซนส์ เทียบเท่า
2.47 อุปกรณ์สาํ หรับเชื่อมต่อเครือ่ งโทรสาร
ผ่านเครือข่ายไอพีพร้อมซอฟต์แวร์ CISCO, AVAYA, GRANDSTREAM,หรือคุณภาพ
ไลเซนส์ เทียบเท่า
2.48 เครือ่ งแม่ขา่ ยสําหรับติดตัง้ ระบบ CISCO, DELL, HP, IBM,หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.49 CISCO, AVAYA, GRANDSTREAM,หรือคุณภาพ
ระบบโทรศัพท์ผ่านเครือข่ายไอพี เทียบเท่า
2.50 กล้องโทรทัศน์วงจรปิ ดผ่านเครือข่าวไอ
พีชนิด ชนิดเลนส์ 90° -180° Fixed AXIS, BOSCH, MOBOTIX, PELCO,หรือคุณภาพ
TypeIP CCTV Camera เทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 511 of 521

2.51 กล้องโทรทัศน์วงจรปิดผ่านเครือข่ายไอ
พี ชนิดเลนส์ 360° (Fixed Type Fish AXIS, BOSCH, MOBOTIX, PELCO,หรือคุณภาพ
Eye Lens CCTV Camera) เทียบเท่า
2.52 อุปกรณ์บนั ทึกสัญญาณภาพ และเสียง DELL, HP, IBM, QNAP, SYNOLOGY,หรือ
สําหรับกล้องวงจรปิดผ่านเครือข่ายไอพี คุณภาพเทียบเท่า
2.53 เครือ่ งคอมพิวเตอร์สาํ หรับมอนิเตอร์
ระบบ DELL, HP, IBM,หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.54 LG, PHILIPS, TOSHIBA, SAMSUNG, SONY,
จอแสดงภาพ หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.55 ระบบบริหารจัดการกล้องโทรทัศน์วงจร MILESTONE, NUUO, LEVEL1,หรือคุณภาพ
ปิดพร้อมซอฟท์แวร์ เทียบเท่า
2.56 APC, EMERSON, MGE, POWERWARE,หรือ
เครือ่ งสํารองไฟฟ้าฉุ กเฉิน คุณภาพเทียบเท่า]
(Uninterruptible Power Supply : UPS)
ขนาด 20 kVA
2.57 อุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้ากระโชก (Surge EMERSON, SQUARE D, STABIL,หรือคุณภาพ
Protector Device) เทียบเท่า
2.58 สื่อประชาสัมพันธ์แบบดิจติ อล(Digital
Signage) CISCO, LG, SAMSUNG,หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.59 ระบบ Access Control (Finger Scan + iGuard, KEYKING, BOSCH,หรือคุณภาพ
RFID) เทียบเท่า

3. รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มาตรฐานงานระบบปรับอากาศ


ลาดับที่ ชื่อผลิ ตภัณฑ์ รายชื่อผูผ้ ลิ ต
AIR CONDITIONING UNIT
3.1 ระบบ VRF. - SAMSUNG
- LG,
- TOSHIBA,
- MITSUBISHI,
- DAIKIN หรือเทียบเท่า

3.2. ระบบ SPLIT TYPE - CARRIER


- TRANE

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 512 of 521

- MITSUBISHI
- YORK หรือเทียบเท่า
- SAMSUNG
3.3. VENTILATING FAN (PROPELLER,
CEILING MOUNTED) PANASONIC, JAPAN
- MITSUBISHI, JAPAN
- GREENHECK, USA

3.4 VENTILATING FAN (CENTRIFUGAL,


ROOF VENTILATOR, AXIAL) - PANASONIC, JAPAN
- GREENHECK, USA
- ACME, USA
- KRUGER, SWITZERLAND

3.5 FLEXIBLE PIPE CONNECTION - TOZEN, JAPAN


- METRAFLEX, USA
- MASON, USA
- PROCO, USA

3.6. SPRIN VIBRATION ISOLATOR - MASON, USA


- TOZEN, JAPAN

3.7. AIR FILTER - AMERICAN AIR FILTER, USA


- AIR GUARD, USA

3.8 GALVANIZED STEEL SHEET - B.S.I. , THAILAND

3.9 DIFFUSERS, GRILLES LOUVERS - WATERLOO (LICENSING), THAILAND


- KOMFORT FLOW, THAILAND
- FLOTHRU, THAILAND
- ESCOFLOW, THAILAND

3.10. FIBERGLASS INSULATION - MICRO-FIBER, THAILAND


- SFG INSULATION, THAILAND
3.11. AIR DUCT FASTENER - TILEMENT (KIATTHANAVAT), JAPAN

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 513 of 521

3.12. INSULATION ADHESIVE - NEO-BOND, JAPAN


- AEROSEAL, THAILAND
- MAXGLUE, THAILAND

3.13. AUTOMATIC CONTROL EQUIPMENT - JOHNSON CONTROL, USA


- INVENSYS, USA
- TOUR & ANDERSSON, SWEDEN
- DANFOSS, DENMARK

3.14. CLOSED CELL EPDM MLASTOMERIC - AEROFLEX, THAILAND


INSULATION - MAXFLEX, THAILAND

3.14. MOTOR STARTER - AEG, W. GERMANY


- SIEMENS, W. GERMANY
- ABB, EUROPE
- MERLIN GERIN, FRANCE
3.18 FLEXIBLE ROUND DUCT - S-FLEX, THAILAND
- AERODUCT, THAILAND
- DEC, THAILAND
- WINFLEX, THAILAND

3.18 FLEXIBLE ROUND DUCT - S-FLEX, THAILAND


- AERODUCT, THAILAND
- DEC, THAILAND
- WINFLEX, THAILAND

3.19 ELECTRIC MOTOR (GENERAL) - BROOK CROMPTON, UK


- AEG, GERMANY
- MITSUBISHI, JAPAN
- SIEMENS, GERMANY
- KEMBLA, AUSTRALIA
3.20 REFRIGERANT PIPE (ASTM B-88 HARD - CAMBRIDGE-LEE, ENGLAND
DRAWN TYPL) - YORKSHIRE, ENGLAND

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 514 of 521

4. รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มาตรฐานงานระบบสุขาภิบาลและระบบป้องกันอัคคีภยั


ลาดับที่ ชื่อผลิ ตภัณฑ์ รายชื่อผูผ้ ลิ ต
งานระบบสุขาภิบาล
4.1 ท่อเหล็กอาบสังกะสี - SAHA THIA STEEL PIPE, THAILAND
- THAI UNION STEEL PIPE, THAILAND
- THAI STEEL PIPE, THAILAND

4.2 ท่อเหล็กหล่อ - TCP, THAILAND


- WENCO, THAILAND
- SIAM SYNDICATE, THAILAND
- KNACK, THAILAND

4.3 ท่อ พีวซี ี - THAI PIPE, THAILAND


- D-PLAST, THAILAND
- BANGKOK PAIBOON PIPE, THAILAND
-
4.4 GATE VALVE, BALL VALVE - HATTERSLEY, UK
- WATTS, USA
- MIYAIRI, JAPAN
- KITAZAWA, JAPAN
- NIBCO, USA
- TOYO, JAPAN
- HOFFER, THAILAND
4.5 BUTTERFLY VALVE - HATTERSLEY, UK
- KENNEDY, USA
- NIBCO, USA
- WATTS REGULATOR, USA
- CRANE, USA
- HOFFER, THAILAND

4.6 CHECK VALVE (SILENT TYPE) - HATTERSLEY, UK


- METRAFLEX, USA
- CHECK RITE, CANADA
- VAL-MATIC, USA

4.7 WATER STRAINER, UNION - HATTERSLEY, UK


- TOYO, JAPAN
- METRAFLEX, USA

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 515 of 521

- ITT-HOFFMAN, USA
- KITAZAWA, JAPAN
- HOFFER, THAILAND

4.8 FLEXIBLE CONNECTION (RUBBER & - TOZEN, JAPAN


STAINLESS),VIBRATION ISOLATOR - MASON, USA
- METRAFLEX, USA ,HOFFER, THAILAND
4.9 PRESSURE GUAGE - TRERICE, USA
- WEISS, USA
- WIKA, W.GERMANY
- JUMO, W.GERMANY

4.10 ROOF DRAIN, FLOOR DRAIN, FLOOR - CHESS, THAILAND


CLEANOUT, PLANTING DRAIN - KNACK, THAILAND
- TCP, THAILAND
- OR CAST AS JOSAM, THAILAND
4.11 HDPE PIPE - THAI ASIA PE PIPE, THAILAND
- WIIK & HUGLAND, THAILAND
- PBP, THAILAND
4.12 CONSTANT PRESSURE BOOSTER - SPP, UK
PUMP SET AND WATER PUMP - AMERICAN-MARSH, USA
- PEERLESS, USA
- GRUNDFOS, DENMARK
- AURORA, USA
- KAWAMOTO, JAPAN
4.13 ELECTRIC MOTOR - BROOK CROMPTON, UK
- WAT, AUSTRIA
- SIEMENS, W.GERMANY
- ABB, SWEDEN
4.14 FLOATLESS SWITCH AND FLOAT - OMRON, JAPAN
SWITCH - NATIONAL, JAPAN
- KASUGA, JAPAN
4.15 ELECTRICAL CABLE - THAI YAZAKI, THAILAND
- PHELPSDODGE, THAILAND
- BANGKOK CABLE, THAILAND
4.16 ELECTRICAL CONDUIT - MATSUSHITA, JAPAN
- MARUICHI, JAPAN
- TSP, THAILAND,TAS, THAILAND

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 516 of 521

4.17 SWITCHGEAR - SIEMENS, W.GERMANY


- SQUARE-D, USA
- ITE, USA,BBC, W.GERMANY
4.18 SUBMERSIBLE AERATOR, ELECTOR,
- AMERICAN-MARSH, USA
SUBMERSIBLE PUMP - WASSER, GERMANY
- TZURUMI, JAPAN
- SHINMAYWA, JAPAN
- GOMAN-RUPP, USA
4.19 CHLORINE FEED PUMP - CHEMTECH, USA
- CFG PROMENENT, W.GERMANY
- GRONEL, USA

4.20 WATER HAMMER ARRESTOR - P.P.P., USA


- JOSAM, USA
- ZURN, USA

4.21 GAS REGULATOR - FISHER, USA

4.22 GAS LEAK DETECTOR - TOKA, JAPAN

4.23 PIGTAIL FLEXIBLE HOSE - BRIDGE STONE, USA

4.24 GAS METER - SCHLUMBERGER, GERMANY


- EMAIL, AUSTRALIA

4.25 PROGRAMABLE LOGIC CONTROLLER - MITSUBISHI, JAPAN


- OMRON, JAPAN
- SIEMENS, GERMAN
4.26 AIR BLOWER - SHINMAYWA, JAPAN
- DRESSER ROOTS, USA
- ROBUSHI, ITALY

4.27 DIFFUSER HEAD - NOPON, SWEDEN


- FMC, USA

4.28 HELIXOR DIFFUSER - POLCON, USA

4.29 FILTER PRESS - DIEMME, ITALY

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 517 of 521

- SCHENK, USA

4.30 FOOT VALVE - FIVALCO, USA


- SOCLA, FRANCE
- VALMATIC, USA
4.31 FLOAT VALVE - MUESCO, USA
- CLAYTON, USA
- OCV, USA
- WATTS, USA
4.32 PRESSURE REGULATING VALVE - MUESCO, USA
- CLAYTON, USA
- WATTS ACV., USA
- OCV, USA
4.33 MODULATING CHECK VALVE - SINGER, CANADA
- WATTS ACV., USA
- ZURN, USA
- OCV, USA
4.34 PACKAGE WASTEWATER - PREMIER PRODUCTS
TREATMENT TANK - DOUBLE R PRODUCTS
- ENTECH
- AQUA
ระบบป้ องกันอัคคีภยั
4.35 FIRE PUMP AND JOCKEY PUMP - SPP, UK
- AMERICAN-MARSH, USA
- PATTERSON, USA
- FAIRBANKS MORSE, USA
- PEERLESS, USA
- ARMSTRONG, USA
4.36 FIRE PUMP JOCKEY PUMP - TORNATECH, CANADA
CONTROLLER - MASTER, USA
- FIRETROL, USA
- GE, USA
4.37 ELECTRIC MOTOR - BROOK CROMPTION, UK
- ABB, SWEDEN
- US. MOTOR, USA
- SIEMENS, GERMANY
4.38 BLACK STEEL PIPE AND GALVANIZED - THAI STEEL PIPE, THAILAND
STEEL PIPE - SIAM STEEL PIPE, THAILAND

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 518 of 521

- HIGH PRESSURE STEEL PIPE, THAILAND


- THAI UNION STEEL PIPE, THAILAND
4.39 HIGH DENSITY POLYETHYLENE - WLLK & HOEGLUND, LOCAL
PIPE& FITTINGS - THAI ASIA PE. PIPE, LOCAL
- PE PIPE, LOCAL

4.40 GATE VALVE, CHECK VALVE AND - FIVALCO, USA


BUTTERFLY VALVE (UL,FM) - KENNEDY, USA
- STOCKHAM, USA
- NIBCO, USA
4.41 FLOW METER, SENSOR (FM - EAGLE EYE&ANNUBAR, USA
APPROVED) - GERAND, USA
- MERIAM INSTRUMENT, USA
- GLOBAL VISION, USA
4.42 AUTOMTIC AIR VENT - FIVALCO, USA
- METRAFLEX, USA
- HOFF MAN, USA
- VAL-MATIC, USA
- APCO, USA

- TRERICE, USA
4.43 PRESSURE GAUGE - MARSHAL TOWN, USA
- WEISS, USA
- DRESSER, USA

- TYCO, USA
4.44 ALARM VALVE - CENTRAL, USA
- VICTAULIC, USA
- TUNA, USA

- GIACOMINI, ITALY
- CENTRAL, USA
4.45 FIRE DER ARTMENT CONNECTION, - STAND PIPE, USA
ROOF MANIFOLD, FIRE HOSE VALVE, - AUTO.SPK, USA
HYDRANT
4.46 RELIEF VALVE - CLAYTON, USA
- MUESCO, USA
- WATTS ACV, USA, GEM, USA

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 519 of 521

4.47 SPRINKLER HEAD - VIKING, USA


- TYCO, USA
- TUNA, USA
4.48 FIRE HOSE RACK, FIRE HOSE REEL, - POTTER ROEMER, USA
HOSE VALVE, PRESSURE - GIACOMINI USA
RESTRICTOR - CENTRAL, USA
- MOYNE, USA
- MACRON, UK
- AUGUS, MALAYSIA
- KIDDE, USA
- FIRE BLOCK, THAILAND
4.49 PORTABLE FIRE EXTINGUISHER - ANTI-FIRE, THAILAND
- WINSTON, THAILAND

- FIRE BLOCK, THAILAND


- ANTI FIRE, THAILAND
4.50 PORTABLE DRY CHEMCIAL FIRE - FIRE BLOCK, THAILAND
EXTINGUISHER - WINSTON, THAILAND
- NIPPON, THAILAND

- GEM, USA
- VIKING, USA
4.51 FLOW SWITCH, SURERVISORY - POTTER ELECTRIC, USA
SWITCH - SYETEM SENSOR, USA

- GE, USA
- SIEMENS, W. GERMANY
4.52 SWITCHGEAR AND STARTER - AEG, W.GERMANY
- ITE, USA
4.53 CONDUIT - MATSUSHITA, JAPAN
- MERUTCHI, JAPAN
- TAS, LOEAL
4.54 CABLE - THAI YAZAKI, THAILAND
- PHELPSDODGE, THAILAND
- BANGKOK CABLE, THAILAND

4.55 FM-200 SYSTEM - SIEMENS, GERMAN


- CHEMITRON, USA

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 520 of 521

- HYGOOD, UK

4.56 GROOVE COUPLING & FITTING - VICTAULIC, USA


- ANVIL, USA
- NATIONAL FITTING, USA
- TYCO, USA
4.57 เครื่องทาน้าร้อน (HEAT PUMP) HOT - TRIPLE E, COLMAC, , QUANTUM
4.58 WATE RETURN PUMP - GROUNDFOS, WILO
4.59 ท่อ PP-R80 - อนุมตั ติ ามมาตรฐาน DIN 8077/8078
4.60 ท่อทองแดง TYPE L - อนุมตั ิ ASTM B - 88
4.61 GATE VALVE (GV) CLASS 125 BALL - HONEYWELL, KITZ, VALTEC
4.62 VALVE (BV) CLASS 125 - HONEYWELL, KITZ, VALTEC
4.63 CHECK VALVE (CV) CLASS 125 - HONEYWELL, KITZ, VALTEC
4.64 FAUCET, HOSE BIBB 125 PSI - AZUMA, FIV, RIV, SUNWA
4.65 FLEXIBLE CONNECTION - MATRAFLEX, MASON, TOZEN
4.66 STRAINER - CRANE, HONEYWELL, KENNEDY, NIBCO,
VALTEC

4.67 WATER METER - AICHI, AICO, ASAHI, KENT


4.68 FOOT VALVE - VAL-MATIC, SOCLA
4.69 CONTROL VALVE - CLA-VAL, VAL-MATIC, WATTS
4.70 วัสดุอุปกรณ์ป้องกันควันและไฟลามระบบ - 3 M, ABESCO, HILTI
4.71 น้าอ่อน - PROTREAT CHEMICAL, SIAM-
4.72 อุปกรณ์ระบบไฟฟ้า CHEMIETECH, WATER DOCTOR
4.73 สายไฟ - CUTLER-HAMMER, GE, SQ-D
- BANGKOK CABLE, CHAROONG THAI, MCI,
4.74 คอนดุท PHELPS DODGE, THAI YAZAKI
- PANASONIC, TAS, TSP

5. รายชื่อผูผ้ ลิตและผลิตภัณฑ์ของวัสดุ และอุปกรณ์มาตรฐานงานระบบลิฟต์


5.1 ต้องเป็ นผลิตภัณฑ์ทไ่ี ด้รบั การรับรองระบบจากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม(ถ้ามี) หรือ
มาตรฐาน อย่างใดอย่างหนึ่งจากมาตรฐานต่อไปนี้
(1) ISO-9001 ระบบบริหารงานคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ทเ่ี สนอต้องได้รบั มาตรฐานทัง้ การ DESIGN และการผลิต
(2) ISO-9002 ระบบคุณภาพแบบการประกันคุณภาพในการผลิต การติดตัง้ และการบริการ
(3) ISO-14001 ระบบการจัดการสิง่ แวดล้อม

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Page 521 of 521

5.2 รายชื่อผูผ้ ลิต


(1) MITSUBISHI
(2) OTIS
(3) SCHINDLER
(4) SIEMENS
(5) หรือคุณภาพเทียบเท่า

PMC CODE : 002_2016 โครงการออกแบบอาคารเรียนอเนกประสงค์และปฏิ บตั ิ การวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


มหาวิ ทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

You might also like