You are on page 1of 172

โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A

หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 1 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป 4
หมวดที่ 2 รายการประกอบแบบงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน 17
2.1 งานผนัง 18
งานฉาบปูน 19
งานผนังเบา 21
งานผนังห้องนา้ สาเร็จรูป ANTI-BACTERIA 23
งานผนัง – บุหินแกรนิต 25
งานผนัง-บุกระเบือ้ ง 26
งานผนังตกแต่ง - โครงคร่าวไม้ 28
งานผนังฉนวนกันความร้อน (PIR) 31
2.2 งานพืน้ - ปูกระเบือ้ ง 32
งานพืน้ ปูกระเบือ้ งไวนิล ( Vinyl Composition Tile) ชนิดแผ่น หรือชนิดม้วน 33
งานพืน้ ผิวซีเมนต์ขดั มัน/ขัดมันผสมสี 36
งานหินขัด ( Terrazzo ) 37
งานพืน้ กรวดล้าง 38
งานพืน้ ไม้ WOOD FLOORING WORK 39
งานพืน้ พรม 43
2.3 งานฝ้าเพดาน 46
งานฝ้าเพดานฉาบเรียบ, ฝ้าเพดานโครงคร่าว T-BAR 47
งานฝ้าโลหะ (Metal Ceilings) 50
2.4 งานหลังคาเหล็ก (Metal Sheet) 52
2.5 การใช้วสั ดุหลังคาสาหรับงานโรงเรือน (GREEN HOUSES) 54
2.6 งานประตู-หน้าต่างไม้ และกระจก 55
งานประตู-หน้าต่างโลหะ 57
งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน และภายนอก (ALUMINIUM DOOR AND WINDOW) 58
งานหน้าต่างภายนอก 66
งานประตูเหล็กทั่วไป (STEEL DOORS AND FRAMES) 71
งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง DOOR AND WINDOW HARDWARE 73
งาน HARDWARE ประตู-หน้าต่าง 79
งานแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท (ALUMINIUM COMPOSITE CLADDING) 80
งานกระจก (GLASS AND GLAZING) 82
งานกระจกเพื่อการตกแต่ง 88
งานกาวซีเมนต์ และ ยาแนว (Cementitious Adhessive and Grout Work) 90
งานวัสดุอดุ ยาแนว ( SEALANT ) 93
2.7 งานไม้ 96
2.8 งานโลหะ 99
2.9 งานทาสี 102
2.10 งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์ 110
2.11 งานระบบวัสดุกนั ซึม และงานปิ ดรอยต่ออาคาร 111
งานสารบัญ 2/172
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

สารบัญ
หน้า
งานระบบป้องกันความชืน้ และนา้ ซึมผ่าน (WATERPROOFING SYSTEM) 112
2.12 งานระบบป้องกันความร้อน และระบบป้องกันไฟ 121
2.13 งานระบบเคลือบพืน้ ผิว Epoxy Self-Leveling 122
2.14 งานพืน้ เคลือบทาให้ผิวแกร่ง (LIQUID FLOOR HARDENER) 124
2.15 งานระบบเคลือบพืน้ ผิวโพลียรู ีเทนสกรีด 125
2.16 งานพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร (Entrance Matting System) 127
2.17 งานป้องกันและกาจัดปลวก (PIPE TREATMENT SYSTEM) 129
2.18 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก 131
พืน้ ฐานการออกแบบโครงการ 131
รูปแบบอาคาร 132
วัสดุคลุมหลังคา 133
ระบบพรางแสงภายนอก 134
ระบบพรางแสงภายใน 135
ระบบพรางแสงแบบ Black out shading 135
ระบบแสงอาทิตย์เทียม 136
ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Climate Automatic Control System) 136
2.19 งานเฟอร์นิเจอร์ 140
งานสีและการทาผิวเฟอร์นิเจอร์ 144
งานอุปกรณ์สาหรับงานเฟอร์นิเจอร์ 146
2.20 งานหนังเทียมและผ้าบุ 147
2.21 งานวอลเปเปอร์ 149
หมวดที่ 3 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์ 150
งานผนัง 151
งานพืน้ 153
งานฝ้าเพดาน (ใต้หลังคา) 155
งานหลังคา 156
งานกระจก (GLAZING) 157
งานประตู 158
งานสี (PAINTING) 165
งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์ 166
งานป้องกันความชืน้ และงานปิ ดรอยต่ออาคาร 167
โรงเรือนทดลองมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพ (Mulit-Span Glasshouse) 169
รายละเอียดงานอื่น ๆ 170

งานสารบัญ 3/172
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

หมวดที่ 1
ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป

หมวดที่ 1 4/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ข้อกาหนด และการดาเนินการทั่วไป
1. คาจากัดความ และความหมาย
คาต่าง ๆ ที่จะมีปรากฏในเอกสารสัญญานีร้ วมถึงเอกสารประกอบสัญญาทุกฉบับให้มีความหมายตามที่กาหนดไว้ดงั นี ้
1.1 “เจ้าของหรือผูว้ า่ จ้าง” หมายถึง สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ หรือ ตัวแทนผูว้ า่ จ้าง
1.2 “สถานที่ก่อสร้าง” หมายถึง โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A ตาบลป่ ายุบใน อาเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
1.3 “ตัวแทนผูว้ า่ จ้าง” หมายถึง ผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมายจากผูว้ า่ จ้างในการประสานงานให้ควบคุมดูแลงานก่อสร้าง
1.4 “งาน” หมายถึง งานก่อสร้างตามขอบเขตของงานตามสัญญา ซึ่งรวมถึงแรงงานหรือวัสดุหรือทัง้ สองอย่าง
อุปกรณ์เครื่องมือ การขนส่ง และสิ่งอานวยความสะดวกอื่น ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการดาเนินงานให้เสร็จเรียบร้อย
ตามสัญญา
1.5 สถาปนิกผูอ้ อกแบบ หมายถึง บริษัท ดีไซน์+ดีเวลลอป จากัด
ผูอ้ อกแบบงานวิศวกรโครงสร้าง หมายถึง บริษัท ซี เอ คอนซัลแตนท์ จากัด
ผูอ้ อกแบบงานวิศวกรงานระบบ และสาธารณูปโภค หมายถึง บริษัท ดับเบิล้ ยู อี พี เอ็นจิเนียริ่ง พาร์ทเนอร์ส จากัด
1.6 มัณฑนากรผูอ้ อกแบบ หมายถึง บริษัท ดีไซน์+ดีเวลลอป จากัด
1.7 “ผูค้ วบคุมงาน” หมายถึง บริษัท ควบคุมงาน บุคคลหรือคณะบุคคลที่ได้รบั การแต่งตัง้ จากผูว้ า่ จ้างเป็ น
ลายลักษณ์อกั ษร
1.8 “ผูร้ บั จ้าง” หมายถึง นิติบคุ คล หรือตัวแทนนิติบคุ คล ที่ปรากฏชื่อเป็ นคูส่ ญ
ั ญากับผูว้ า่ จ้าง
1.9 “คณะกรรมการตรวจการจ้าง” หมายถึง คณะกรรมการที่ผวู้ า่ จ้างแต่งตัง้ ขึน้ ในคราวเดียวหรือเป็ นครัง้ คราว ให้
เป็ นผูแ้ ทนควบคุมดูแลในขณะระหว่างการทาการก่อสร้าง ให้การก่อสร้างดาเนินไปตามเงื่อนไขแห่งสัญญาแทนผู้
ว่าจ้าง
1.10 “อนุมตั ิ” หมายถึง การอนุมตั ิเป็ นลายลักษณ์อกั ษร จากตัวแทนผูว้ า่ จ้าง
1.11 “คาสั่ง” หมายถึง การสั่งการให้ปฏิบตั ิตามจุดประสงค์ท่ตี อ้ งการของผูว้ า่ จ้างที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร และให้รวม
ความถึงคาบอกกล่าวที่เป็ นวาจา ซึง่ มีผลบังคับใช้แทนคาสั่ง โดยจะเป็ นลายลักษณ์อกั ษรตามมาในภายหลัง
บุคคลผูม้ ีอานาจในการออกคาสั่ง ตามลาดับดังนี ้
- เจ้าของงานหรือผูว้ า่ จ้าง หรือตัวแทนผูว้ า่ จ้าง
- คณะกรรมการตรวจการจ้าง
- เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ / สถาปนิกโครงการ
- สถาปนิก / วิศวกร ผูอ้ อกแบบ
- ผูค้ วบคุมงาน
1.12 “แบบรูป” หรือ “รูปแบบ” หรือ “แบบก่อสร้าง” หมายถึง แบบที่รวมอยู่ในเอกสาร ประกอบสัญญา และ ให้
รวมความ หมายถึงแบบแปลนที่ออกเพิ่มเติมโดยผูว้ า่ จ้าง
1.13 รายละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง หรือรายละเอียดประกอบแบบ หรือรายการประกอบ แบบ หรือ
“Specification” หมายถึง ข้อกาหนดรายละเอียดเกี่ยวกับงานก่อสร้างถือว่า เป็ นส่วนหนึ่งของสัญญา
1.14 “คุณภาพเทียบเท่า หรือเทียบเท่า” หมายถึง การอนุญาตให้ใช้วสั ดุหรืออุปกรณ์ในงานก่อสร้างนอกเหนือจาก
รายชื่อวัสดุอปุ กรณ์ท่ไี ด้กาหนดไว้ในรายการประกอบแบบ หรือในแบบรูป การเทียบเท่าให้เทียบเท่าโดยยึดถือ

หมวดที่ 1 5/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

คุณภาพเท่ากัน หรือดีกว่า ในราคาเท่ากันหรือสูงกว่า แต่ทงั้ นีจ้ ะต้องได้รบั อนุมตั ิจากคณะกรรมการกาหนด


คุณภาพเทียบเท่าจากตัวแทนผูว้ ่าจ้าง
1.15 “สัญญา” หมายถึง เอกสารต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็ นสัญญา อันได้แก่
- เอกสารสัญญาว่าจ้าง
- เอกสารประกวดราคา
- รายการประกอบแบบ (Specifications)
- รูปแบบ
- เงื่อนไขข้อกาหนดต่าง ๆ
- เอกสารเพิ่มเติมอื่น ๆ (ถ้ามี)
1.16 “ผูแ้ ทนที่มีอานาจเต็ม” หมายถึง ผูแ้ ทนที่ได้รบั มอบหมายให้กระทาการใด ๆ แทนโดยมีหลักฐานการ
มอบอานาจอย่างถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้
1.17 คาว่า “จะต้อง” ให้หมายถึง คาสั่งให้ปฏิบตั ิตามจุดประสงค์ท่ีตอ้ งการของผูว้ า่ จ้างคาว่า “ควร” ให้หมายถึง
คาแนะนาวิธีปฏิบตั ิของผูว้ า่ จ้าง
1.18 ราคางานก่อสร้าง ให้รวมความถึง
- งานเตรียมการ เตรียมสถานที่จะลงก่อสร้างได้ , ที่พกั คนงาน
- ค่าดาเนินการขอมิเตอร์นา้ ประปา , ไฟฟ้าชั่วคราว
- ค่านา้ -ค่าไฟ ตลอดจนโครงการก่อสร้างแล้วเสร็จ และมีการรับมอบอาคารจากผูว้ ่าจ้าง
- ค่าวัสดุ, แรงงาน, เครื่องมือ, ค่าขนส่ง, ค่าติดตัง้ และค่าทาความสะอาดก่อนส่งมอบอาคาร
- ค่าประสานงานกับส่วนอื่น ๆ
- ค่ารือ้ ถอน พร้อมขนย้ายวัสดุ และเตรียมพืน้ ที่ในการก่อสร้าง อาคารที่อยู่ในบริเวณก่อสร้างทัง้ หมด ทัง้ นีว้ สั ดุ-
อุปกรณ์ และครุภณ ั ฑ์ ในอาคารที่รอื ้ ถอนผูร้ บั จ้างต้องจัดนาส่งผูว้ า่ จ้าง เพื่อดาเนินการต่อไป
- ค่าดาเนินการเกี่ยวกับเทคนิคการก่อสร้าง การป้องกันความเสียหายที่จะเกิดแก่บคุ คลและทรัพย์สิน ทัง้ ในและ
นอกสถานที่ก่อสร้างตลอดจนค่าดาเนินการอานวยความสะดวกต่าง ๆ ที่ผรู้ บั จ้างต้องกระทาเพื่อให้ได้งานที่
สาเร็จสมบูรณ์
- ค่ากาไร
- ภาษีอากรต่าง ๆ ที่ผรู้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ิให้ถกู ต้องตามกฎหมาย และเทศบัญญัติโดยไม่มีขอ้ ยกเว้น
- ค่าประกันภัยตามสัญญา
- ค่าก่อสร้างสานักงานสนาม พร้อมอุปกรณ์ครุภณ ั ฑ์ของผูร้ บั จ้าง ผูว้ า่ จ้าง และผูค้ วบคุมงาน
- การดาเนินงานด้านเอกสาร อาทิเช่น การจัดทา Shop Drawing, As Built Drawing เอกสารรายงาน
ประจาเดือน เป็ นต้น
- ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ตามเงื่อนไขและข้อกาหนดในสัญญา
- ค่าทดสอบวัสดุตา่ ง ๆ ตาม Specifications และเมื่อกรรมการตรวจการจ้าง มีความประสงค์ให้ทดลองวัสดุ
นอกเหนือจาก Specifications
- ค่าใช้จ่ายในการจัดหาและการติดตัง้ มิเตอร์ไฟฟ้าและมิเตอร์ประปา ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
ทัง้ หมด

หมวดที่ 1 6/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2. ความคลาดเคลื่อนหรือขาดตกบกพร่อง ในรู ปแบบหรือรายการ


2.1 งานส่วนทั่วไป และส่วนประกอบของงาน ซึง่ มิได้ระบุและเป็ นส่วนที่จะทาให้การก่อสร้างสาเร็จสมบูรณ์
ตามหลักวิชาช่างที่ดี ให้อยู่ในความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
2.2 สิ่งใดที่ปรากฏในแบบรูป หรือรายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้างขัดแย้งกัน หรือมิได้ระบุลงให้แน่นอน ให้ถือ
ตามคาวินิจฉัยของผูค้ วบคุมงานหากมีขอ้ ขัดแย้งที่ไม่สามารถตัดสินใจได้ให้ถือคาวินิจฉัยของผูอ้ อกแบบ เป็ นอัน
สิน้ สุด
2.3 การอ่านแบบ
การอ่านแบบให้ถือความสาคัญลาดับต่อไปนี ้
- แบบรูป
- ระยะที่เป็ นตัวเลข
- อักษรที่ปรากฏอยู่ในแบบรูป
- แบบขยาย และแบบขยายที่เพิ่มเติม
- แบบขยายที่ได้รบั การอนุมตั ิ
หากผูร้ บั จ้างยังความสงสัยอยู่ จะต้องแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานทราบก่อนลงมือทาการก่อสร้างห้ามทาไปโดยพลการ
3. ลาดับสาคัญของเอกสารสัญญาว่าจ้าง
เว้นแต่มีการระบุเป็ นอย่างอื่นลาดับความสาคัญของเอกสารสัญญาให้ถือตามรายการที่กาหนด ดังต่อไปนี ้
3.1 สัญญาว่าจ้าง ซึ่งได้ลงนามระหว่างผูว้ า่ จ้างกับผูร้ บั จ้าง โดยมีพยานรับรูท้ งั้ นีร้ วมถึง เอกสารแนบท้ายสัญญาทุกฉบับ
3.2 รายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้างที่ได้ยอมรับในขัน้ เซ็นสัญญา และเอกสารรายการเปลี่ยนแปลง ตลอด
ระยะเวลาการก่อสร้าง ทัง้ นีข้ นึ ้ อยู่กบั การเปลี่ยนแปลงแต่ละครัง้ ได้รบั ความเห็นชอบจากคู่สญ ั ญาเป็ นคราว ๆ ไป
3.3 แบบรูปและรายการเปลี่ยนแปลงแบบรูปตลอดโครงการ
แบบรูปทั่ว ๆ ไป
แบบรูปที่มีระยะเป็ นตัวเลข และอักษรกากับ
แบบรูปที่เป็ นแบบขยาย
แบบรูปที่ได้ตกลง โดยได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน
3.4 ราคาค่าก่อสร้าง และรายการละเอียดเกี่ยวกับราคาที่เป็ นที่ยอมรับของผูว้ า่ จ้างและผูร้ บั จ้าง
3.5 ข้อตกลงระหว่างผูว้ า่ จ้าง และผูร้ บั จ้างอื่น ๆ ในภายหลัง (ถ้ามี)
3.6 บรรดาคาสั่งของสถาปนิกและหรือวิศวกร ที่ออกโดยผูว้ า่ จ้าง ให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ิตาม
4. วัตถุสิ่งของหรือของมีค่าอื่น ๆ ในบริเวณงานก่อสร้าง
4.1 บรรดาทรัพย์สินต่าง ๆ บนผิวดิน ผูว้ า่ จ้างจะเป็ นผูก้ าหนดให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ิตาม เช่น การอนุรกั ษ์ หรือการ
เคลื่อนย้ายเพื่ออนุรกั ษ์บรรดาทรัพย์สินเหล่านัน้ ไปยังจุดหนึ่งหรือเคลื่อนย้ายออกนอกบริเวณโดยถือว่า
บรรดาทรัพย์สินเหล่านัน้ เป็ นของผูว้ า่ จ้าง
4.2 บรรดาทรัพย์สินของมีคา่ ต่าง ๆ ในดินบริเวณงานก่อสร้างได้รบั ความเห็นชอบ ในกรณีท่ผี รู้ บั จ้างขุดดินบริเวณ
ก่อสร้างพบวัตถุโบราณ หรือบรรดาของมีคา่ อื่น ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งให้ผู้ ควบคุมงานและผูว้ า่ จ้างทราบ
ตามลาดับโดยไม่ทาการขุดต่อ โดยถือว่าบรรดาทรัพย์สินเหล่า นัน้ เป็ นของผูว้ า่ จ้าง

หมวดที่ 1 7/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

5. การประสานงาน
เพื่อให้การดาเนินการก่อสร้างเป็ นไปด้วยดี งานก่อสร้าง นอกจากระบุเป็ นอย่างอื่นในสัญญาให้ถือว่า ผูร้ บั จ้าง
ก่อสร้างจะต้องเป็ น
ผูป้ ระสานงานกับส่วนอื่น ๆ ทัง้ หมดให้หมายรวมถึงการประสานงานขัน้ วางแผนขัน้ การดาเนินการ และขัน้ บารุงรักษา
ผูร้ บั จ้างงานโครงสร้างจะต้องเป็ นตัวแทนแต่เพียงผูเ้ ดียวกับผูว้ า่ จ้างความผิดพลาดที่เกิดขึน้ ทัง้ หมดจากการดาเนินงาน
ในส่วนที่งานแขนงอื่น ๆ มาประกอบหรือใช้ส่วนใดส่วนหนึ่งของงานก่อสร้าง ไม่วา่ จะเกิดจากงานแขนงใด ๆ ก็ตาม
ผูร้ บั จ้างงานก่อสร้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงเปลี่ยนใหม่ เพื่อให้ได้ผลงาน
ที่ดีจนเป็ นที่พอใจของผูว้ า่ จ้าง และสถาปนิก / วิศวกรผูอ้ อกแบบ
6. ข้อกาหนดทั่วไป
ให้ผรู้ บั จ้างปฏิบตั ิตามข้อกาหนดทั่วไปในแต่ละหมวดที่ระบุไว้ในเอกสารรายการละเอียดประกอบแบบก่อสร้างหากมี
ความขัดแย้งกัน ให้ถือเอาส่วนที่มีเนือ้ หาครอบคลุมการปฏิบตั ิงานที่ดีกว่า โดยถือเอาคาตัดสินของสถาปนิก /วิศวกร
เป็ นอันสิน้ สุด
7. สิ่งอานวยความสะดวกชั่วคราว
7.1 สานักงานชั่วคราว
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดสร้างสานักงานชั่วคราว ในบริเวณที่ก่อสร้างสาหรับเป็ นที่ทางานของฝ่ ายผูร้ บั จ้างและของตัวแทนฝ่ ายผู้
ว่าจ้างหรือผูค้ วบคุมงานก่อสร้าง โดยจัดแยกเป็ นสัดส่วน โดยจะต้องมีเนือ้ ที่ท่เี หมาะสมในการตัง้ โต๊ะทางานมีหอ้ งนา้
เฟอร์นิเจอร์ สิ่งอานวยความสะดวกที่จาเป็ นพร้อมติดตัง้ โทรศัพท์,FAX,COMPUTER และ PRINTER
7.2 นา้ ใช้ระหว่างการก่อสร้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนินการขออนุญาตติดตัง้ มิเตอร์นา้ ใช้ช่วั คราวค่าใช้จ่ายต่างๆ ตลอดจนค่าใช้นา้ ประจาเดือน
ตัง้ แต่เริ่มดาเนินการก่อสร้างจนแล้วเสร็จเป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
7.3 ไฟฟ้าชั่วคราวระหว่างก่อสร้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนินการขออนุญาตติดตัง้ มิเตอร์ไฟฟ้าชั่วคราว ให้มีขนาดเพียงพอกับการใช้งาน ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ
ตลอดจนค่าไฟฟ้าประจาเดือนตัง้ แต่เริ่มดาเนินการจนแล้วเสร็จเป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้ ห้องนา้ – ส้วม ชั่วคราว ผูร้ บั
จ้างจะต้องสร้างห้องนา้ ชั่วคราวสาหรับคนงานและเจ้าหน้าที่ให้พอเพียง ห้องนา้ -ส้วม ชั่วคราว จะต้องถูกต้อง
สุขลักษณะตาแหน่งที่ตงั้ จะต้องขออนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานเสียก่อน จึงจะทาการก่อสร้างได้ ห้องนา้ – ส้วม สาหรับ
สานักงานชั่วคราว ผูร้ บั จ้างจะต้องดูแลรักษาห้องนา้ – ห้องส้วมทัง้ หมดให้สะอาดอยู่เสมอ
8. อานาจหน้าที่ และความรับผิดชอบ
8.1 ผูค้ วบคุมงาน
มีหน้าที่ควบคุมและตรวจสอบ ทาการทดสอบและวิเคราะห์ผลการทางานของผูร้ บั จ้าง
8.1.1 ผูค้ วบคุมงานมีอานาจออกคาสั่ง คาแนะนา หรือการอนุมตั ิเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยถือว่าเป็ นข้อ
ผูกมัดผูร้ บั จ้างเหมือนคาสั่งของสถาปนิก / วิศวกร เอง
8.1.2 ผูค้ วบคุมงานไม่มีอานาจที่จะยกเว้นความรับผิดชอบใด ๆ ของผูร้ บั จ้างตามสัญญา และไม่มีอานาจ
เกี่ยวกับการเพิ่มราคาค่าก่อสร้าง หรือทาให้งานเปลี่ยนรูป
8.1.3 การที่ผคู้ วบคุมงานไม่คดั ค้านการทางานใด ๆ ที่ผรู้ บั จ้างกระทาไปโดยพลการไม่อาจ ลบล้าง อานาจของผู้
ว่าจ้างหรือสถาปนิก / วิศวกรที่ไม่เห็นชอบกับงานหรือสิ่งของนัน้ ๆ ได้

หมวดที่ 1 8/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

8.2 สถาปนิก / วิศวกร


8.2.1 สถาปนิก / วิศวกร มีอานาจที่ออกคาสั่งเพิ่มเติมได้อีก ในระหว่างงานกาลังดาเนินอยู่ ในเมื่อสถาปนิก /
วิศวกร เห็นสมควร เช่น วิธีการใช้วสั ดุท่ถี กู ต้อง หรือการดาเนินการส่วนใดควรจะทาก่อนหรือหลัง
เพื่อมิให้เกิดการเสียหายกับงานส่วนอื่น ๆ (ทัง้ นีไ้ ม่หมายถึงการทาให้ราคาเพิ่มหรือต่าลง) ในขณะ
ก่อสร้างหรือภายหลัง ได้ผรู้ บั จ้างจะต้องทาตาม และยอมรับคาสั่งนัน้ ๆ ในขณะก่อสร้าง
8.2.2 สถาปนิก/วิศวกร หรือผูใ้ ดที่ได้รบั มอบอานาจจากผูว้ า่ จ้าง มีสิทธิเข้าไปในบริเวณหน่วยงาน/โรงงานทุก ๆ
แห่งที่มีการเตรียมงาน หรือแหล่งผลิตเก็บรักษาวัสดุสิ่งของที่จะนามาใช้ในการก่อสร้างผูร้ บั จ้างมีหน้าที่
คอยให้ความสะดวกในการนาเข้าไปในสถานที่ต่าง ๆ เหล่านัน้
8.2.3 สถาปนิก / วิศวกร มีอานาจในการเปลี่ยนแปลงแบบรูป และรายการละเอียดประกอบแบบตาม
ความเห็นชอบของผูว้ า่ จ้างเพื่อที่จะให้ความมั่นคงแข็งแรงหรือทาประโยชน์ในการใช้สอยดีขนึ ้ โดยไม่ทา
ให้ราคาค่าก่อสร้างเพิ่มขึน้ หรือลดลง ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ิตาม
8.3 ผูร้ บั จ้าง
8.3.1 หากผูร้ บั จ้างไม่เข้าใจในแบบ หรือรายการก่อสร้าง หรือจะเป็ นวัสดุท่ใี ช้ หรือวิธีการทาก็ตามผูร้ บั จ้างต้อง
แจ้งให้สถาปนิก / วิศวกรทราบแต่เนิ่น ๆ สถาปนิก / วิศวกรจะเป็ นผูช้ ีแ้ จงข้อสงสัยนัน้ ๆ เป็ นลายลักษณ์
อักษร หรือให้รายละเอียดเป็ นแบบเพิ่มเติม ห้ามมิให้ผรู้ บั จ้างตัดสินใจทาอย่างหนึ่งอย่างใดเอง ผลเสีย
ที่เกิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบทัง้ หมด
8.3.2 ผูร้ บั จ้าง จะต้องแต่งตัง้ ตัวแทนที่เป็ นสถาปนิก หรือวิศวกรที่มีประสบการณ์เหมาะสมกับงานก่อสร้าง
และมีอานาจเต็มประจาสถานที่ก่อสร้างอย่างน้อย 1 คน หรือตามที่ผวู้ า่ จ้างระบุ ทัง้ นี ้ จะต้องทาหนังสือ
แต่งตัง้ ประวัติการทางานพร้อมรูปถ่ายจานวน 2 ใบ ต่อหนึ่งคน ขอรับรองจากผูว้ า่ จ้างเสียก่อนครบถ้วน
ตามข้อกาหนด และผูร้ บั จ้างจะต้องแต่งตัง้ ผูค้ วบคุมงานตามวุฒิ และจานวนตามระเบียบ กฎหมายและ
เทศบัญญัติ ระบุ แจ้งต่อหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องด้วย
8.3.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องว่าจ้างช่างฝี มือแต่ละประเภทของงาน ผูว้ า่ จ้างมีอานาจที่จะให้ผรู้ บั จ้างถอนผูห้ นึ่งผูใ้ ดที่
ผูร้ บั จ้างจ้าง ออกจากงานทันทีในเมื่อผูว้ า่ จ้างเห็นว่า ผูน้ นั้ ประพฤติมิชอบหรือไร้สมรรถภาพ หรือปล่อย
ปละละเลยและทิง้ งานผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาผูม้ ีความสามารถมาเปลี่ยนโดยทันที
8.3.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบในการจัดวางผังการก่อสร้างให้ถกู ต้องตามแบบรูป ตลอดจนการแก้ไขที่ตงั้
ระดับ ขนาด และแนวต่าง ๆ ของงาน จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์และแรงงานให้เพียงพอ หากมีการวาง
ผังผิดพลาด จะต้องแก้ไขใหม่ให้เป็ นที่เรียบร้อย ผูร้ บั จ้างจะต้องบารุงรักษาหลักฐานแนวหมุด
เครื่องหมายต่าง ๆ ที่ใช้ในการวางผังให้คงสภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ
8.3.5 ให้ถือว่าผูร้ บั จ้างเป็ นผูช้ านาญการก่อสร้างและฝี มือดี โดยวิศวกรคอยควบคุมอยู่อย่างใกล้ชิด ฉะนัน้
ความผิดพลาดต่าง ๆ ที่วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงานตรวจแบบอาจจะพบช้าหรือเร็วก็ตามมิได้หมายความ
ว่า วิศวกรหรือผูค้ วบคุมงานบกพร่องในหน้าที่ และหากมีการผิดพลาดเกิดขึน้ เนื่องจากกรณีใดก็ตาม
เวลาที่ตอ้ งเสียไปโดยเปล่าประโยชน์ ผูร้ บั จ้างจะนาเป็ นข้ออ้างให้รว่ มรับผิดชอบมิได้เป็ นอันขนาด
8.3.6 ผูร้ บั จ้างจะต้องบารุงรักษาซ่อมแซมถนน หรือสะพาน หรือเขื่อนที่ใช้ผ่านไปยังสถานที่ก่อสร้างเพื่อ
หลีกเลี่ยงผลเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องเลือกเส้นทางที่เหมาะสมกับยานพาหนะที่จะต้องผ่าน เมื่อมีขอ้
กล่าวหาว่าผูร้ บั จ้างทาสะพาน หรือถนน หรือเขื่อนเสียหาย ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการซ่อมแซมแก่ไข หรือ
ทาใหม่ให้อยู่ในสภาพเดิมทันที
หมวดที่ 1 9/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

8.3.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติแรงงานทุกประการ ตลอดจนกฎข้อบังคับต่าง ๆ ของท้องที่


8.3.8 บรรดาวัสดุสิ่งของที่ใช้ในการก่อสร้างทุกชนิดที่ปรากฏในแบบรูปและรายการละเอียดประกอบแบบ
ก่อสร้าง หรือไม่ได้ระบุแต่จาเป็ นต้องนามาประกอบงานก่อสร้าง จะมีในท้องตลาดหรือขาดตลาด หรือมี
ไม่พอเป็ นหน้าที่ของผูร้ บั จ้าง จะต้องเตรียมการเอาไว้ล่วงหน้า ทัง้ วัสดุท่มี ีช่ือระบุในแบบรูป และรายการ
ละเอียดประกอบแบบก่อสร้าง หรือวัสดุเทียบเท่าเพื่ออนุมตั ิ ผูร้ บั จ้างจะอ้างว่า ไม่มีในท้องตลาด หรือ
ขาดตลาดหรือต้องสั่งจากต่างประเทศ หรือต้องสั่งทา หรือต้องรอให้ครบอายุการใช้งาน และนาเหตุผล
เหล่านัน้ ไปเป็ นเหตุให้การก่อสร้างต้องชะงัก หรือล่าช้าไม่ทนั กาหนดสัญญา และขอต่ออายุสญ ั ญาไม่ได้
เป็ นหน้าที่โดยตรงของผูร้ บั จ้างที่จะวางแผนงานให้รอบคอบก่อนลงมือดาเนินการก่อสร้าง
8.3.9 ผูร้ บั จ้างต้องรับผิดชอบในการจัดส่งตัวอย่าง เพื่ออนุมตั ิและสั่งซือ้ เวลาอันเหมาะสม
8.3.10 ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูด้ าเนินการทดสอบคุณภาพวัสดุสิ่งของ เพื่อให้ได้คณ ุ ภาพตามที่ระบุในรายการ
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นของผูร้ บั จ้าง
8.3.11 วัสดุสิ่งของทัง้ หมดที่ผรู้ บั จ้างสั่งเข้ามายังหน่วยงาน จะต้องเป็ นของใหม่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน
ต้องบรรจุลงในหีบห่อเรียบร้อยจากโรงงาน หรือมีใบส่งของจากโรงงานกากับและจะต้องเป็ นวัสดุสิ่งของ
ที่มีคณ ุ ภาพ ชัน้ 1 ถูกต้อง และมีจานวนเพียงพอ วัสดุสิ่งของที่ไม่ได้คณ ุ ภาพมาตรฐาน ผูร้ บั จ้างจะต้อง
นาออกนอกบริเวณงานทันที
8.3.12 ผูร้ บั จ้างต้องดาเนินการฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ควบคุม และบารุงรักษาเครื่องจักรกลของโครงการ ฯ ให้มี
ความรู ้ ความสามารถในการใช้งาน และการบารุงรักษาเครื่องเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน ติดต่อกัน
ภายหลังส่งมอบงาน หรือจนกว่าเจ้าหน้าที่ควบคุมเครื่องของโครงการ ฯ สามารถใช้เครื่องได้ดว้ ยตนเอง
8.3.13 ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมช่างผูช้ านาญไว้สาหรับตรวจสอบ ซ่อมแซม และบารุงรักษาเครื่องจักรกล ให้
อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี หลังจากรับมอบงานแล้วทุก ๆ 3 เดือน เป็ นระยะเวลา 1 ปี แล้วจัดทารายงานผล
การตรวจสอบเสนอผูว้ า่ จ้างภายใน 7 วัน นับจากวันตรวจสอบทุกครัง้
8.3.14 เพื่อให้การดาเนินการก่อสร้างบรรลุเป้าหมายโดยเรียบร้อยและปลอดภัย ผูร้ บั จ้างจะต้องปฏิบตั ิตาม
กฎกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทางานก่อสร้างและคาสั่งของผูค้ วบคุมงานโดยไม่มี
เงื่อนไขหรือข้อเรียกร้องอื่นใด
8.3.15 ผูร้ บั จ้างต้องจัดสถาปนิก และวิศวกร เพื่อเซ็นเป็ นผูค้ วบคุมงานตามระเบียบและข้อบังคับของ
กรุงเทพมหานครฯ ของเทศบาลเมืองฯ หรือของสุขาภิบาลอาเภอ ฯลฯ
8.3.16 การทางานนอกเวลาทาการปกติ ค่าควบคุมงานนอกเหนือเวลาปกติ และหลังจากหมดสัญญา หากผู้
รับจ้างมีความประสงค์ท่จี ะทางานในช่วงเวลาทางานที่เกินเวลา 8 ชั่วโมงในวันเวลาทางานปกติและ
ทางานล่วงเวลาในวันอาทิตย์ วันนักขัตฤกษ์ หรือวันที่ทางราชการกาหนดให้เป็ นวันหยุดราชการ ผูร้ บั
จ้างต้องแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน เพื่อขออนุมตั ิทางานล่วงเวลา โดยผูค้ วบคุม
งานจะพิจารณาอนุมตั ิตามความเหมาะสม ในกรณีท่กี ารทางานนัน้ จาเป็ นต้องมีผคู้ วบคุมงานอยู่
ควบคุม ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูร้ บั ภาระออกค่าใช้จ่ายในการทางานล่วงเวลาของผูค้ วบคุมงาน หากมิได้ระบุ
ไว้เป็ นอย่างอื่นในกรณีปฏิบตั ิงานล่วงเวลาหรือก่อนเวลาปกติ หากจาเป็ นต้องมีผคู้ วบคุมงาน ผูร้ บั จ้าง
จ่ายค่าล่วงเวลาของผูค้ วบคุมงานในอัตราดังนี ้ (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิ่ม)
สถาปนิก/วิศวกร 500 บาท/ชั่วโมง/คน
ช่างเทคนิค 350 บาท/ชั่วโมง/คน
หมวดที่ 1 10/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

เวลาปฏิบตั ิงานปกติของผูค้ วบคุมงาน 8.00 – 17.00 น. วันจันทร์ – วันเสาร์ ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์


ตามประกาศกฏหมายแรงงานจานวนผูค้ วบคุมงานขึน้ อยู่กบั ความจาเป็ นของงานนัน้ ๆ
ส่วนกรณีปฏิบตั ิงานหลังจากหมดสัญญา ผูร้ บั จ้างจะต้องจ่ายเป็ นรายเดือนในอัตราเดียวกันกับที่บริษัทฯ
ผูค้ วบคุมงานได้รบั จากผูว้ า่ จ้างทุกสิน้ เดือน เท่านัน้
9. การจัดทาและการอนุมัติแบบ SHOPDRAWINGSและแบบ AS BUILT DRAWINGS
9.1 การจัดทา SHOP DRAWING และ AS BUILT DRAWINGS ผูร้ บั จ้างจะต้องจัด ทา SHOP DRAWINGS
เสนอผูค้ วบคุมงานเพื่อตรวจสอบและเสนอขออนุมตั ิต่อคณะ กรรมการตรวจการจ้างตลอดระยะเวลาก่อสร้าง
แบบ SHOP DRAWINGS ที่ได้รบั อนุมตั ิแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเขียนแบบ AS BUILT DRAWINGS ใน ทุก ๆ
จุด ให้เขียนลงกระดาษไข จานวน 1 ชุด ตามขนาดที่สถาปนิกสั่ง พร้อมพิมพ์สาเนา (พิมพ์เขียว) จานวน 4
ชุด ผูร้ บั จ้างจะต้องรวบรวมต้นฉบับแบบ SHOP DRAWINGS, AS BUILT DRAWINGS ทัง้ หมด ส่งมอบ
ให้แก่ผวู้ า่ จ้างโดยจัดทาเป็ นรูปเล่มใน วันสุดท้ายของการรับมอบงาน
9.2 การอนุมตั ิแบบ SHOP DRAWINGS, AS BUILT DRAWINGS ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งแบบ SHOP
DRAWINGS และแบบ AS BUILT DRAWINGS ในระยะเวลาที่เหมาะสม ที่ผคู้ วบคุมงานและ / หรือ
สถาปนิก / วิศวกร จะตรวจสอบและเสนอขออนุมตั ิต่อคณะกรรมการตรวจการจ้างได้ทนั ต่อการดาเนินการ โดย
อย่างต่าไม่นอ้ ยกว่า 15 วัน การที่ผรู้ บั จ้างจัดทาแบบ SHOP DRAWINGS ล่าช้าและ/ หรือมีระยะเวลา
ตรวจสอบไม่เพียงพอจะถือเอาเป็ นสาเหตุในการเรียกร้องเวลาโดยอ้างว่าเป็ นปั ญหาความล่าช้าในการก่อสร้าง
ไม่ได้ การอนุมตั ิ SHOP DRAWINGS ไม่ได้หมายถึงว่าผูร้ บั จ้างได้รบั การยกเว้น ความรับผิดชอบในการ
ก่อสร้างส่วนนัน้ ๆ ผูร้ บั จ้างยังคงต้องรับผิดชอบการก่อสร้างในส่วนนัน้ ๆ ในกรณีท่มี ีปัญหาและจะต้อง
รับผิดชอบในการแก้ไขให้เรียบร้อยสมบูรณ์
10. การจัดส่งตัวอย่างวัสดุอุปกรณ์ ในการอนุมัติ
10.1 วัสดุขนาดของตัวอย่าง
หินขัด หรือกรวดล้าง หรือทรายล้างตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
กระเบือ้ งปูพนื ้ ทุกชนิด ขนาดแผ่นมาตรฐานตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
กระเบือ้ งบุผนังทุกชนิด ขนาดแผ่นมาตรฐานตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
กระจกทุกชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
ประตู-หน้าต่างไม้ตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
ประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียมตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
อุปกรณ์ประตู-หน้าต่างทุกชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
ฝ้าเพดานและแผ่นกันความร้อนตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
โครงเคร่า / ผนังโลหะตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
เครื่องสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ทกุ ชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
หินอ่อนขนาดแผ่นมาตรฐานตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
จมูกบันได , เส้นทองเหลือง หรือ PVC ตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
แบ่งหินขัดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
วัสดุกนั ซึมทุกชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
เหล็กเสริมคอนกรีตทุกชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน

หมวดที่ 1 11/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

เหล็กรูปพรรณอื่น ๆ ตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน


อุปกรณ์ระบบไฟฟ้าและสื่อสารทุกชนิดตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
อุปกรณ์ระบบสุขาภิบาลตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
อุปกรณ์ระบบป้องกันเพลิงไหม้ตามคาสั่งผูค้ วบคุมงาน
ทัง้ นีเ้ พื่อนาเสนอขออนุมตั ิ ต่อคณะกรรมการตรวจการจ้าง
10.2 การจัดส่งตัวอย่าง
10.2.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งวัสดุและอุปกรณ์ท่รี ะบุในแบบรูปรายการประกอบ แบบให้ผคู้ วบคุมงานเสนอเพื่อ
ออกคาสั่งอนุมตั ิก่อนจึงจะทาการสั่งซือ้ หรือนาเข้าไปในบริเวณงานก่อสร้างได้ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่ง
ตัวอย่างเหล่านัน้ ขออนุมตั ิก่อนการใช้งานจริง 30 วัน
10.2.2 วัสดุอปุ กรณ์ตวั อย่างที่จดั ส่งขออนุมตั ิจะต้องอยู่ในสภาพเรียบร้อยได้คณ ุ ภาพมาตรฐานตรงตามที่ระบุ
ไว้ในแบบรูป และ รายละเอียดประกอบแบบ
10.2.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่าง เพื่ออนุมตั ิในเวลาอันสมควรจะอ้างเหตุผลในการอนุมตั ิตวั อย่างในการต่อ
สัญญาก่อสร้างไม่ได้
10.2.4 ตัวอย่างวัสดุอปุ กรณ์ทกุ ชนิดต้องติดแผ่นป้ายบอกชื่อวัสดุ และอุปกรณ์ วัน เดือน ปี ที่ส่งและข้อมูล
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
10.2.5 ในกรณีท่รี ายการละเอียดระบุวิธีใช้ และกรรมวิธีในการปฏิบตั ิตลอดจนคุณสมบัติของวัสดุจาก
บริษัทผูผ้ ลิต ผูร้ บั จ้างจะต้องแนบรายละเอียดของวัสดุอปุ กรณ์และบริษัทผูผ้ ลิตไปด้วยทุกครัง้
10.2.6 ผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายในการจัดส่งตัวอย่างเพื่อขออนุมตั ิ
10.2.7 วัสดุและอุปกรณ์ท่ไี ม่ได้กาหนดไว้ในตารางข้างต้น แต่ระบุไว้ในแบบรูป หรือในรายการละเอียด
ประกอบให้ผรู้ บั จ้างจัดส่งตัวอย่างเพื่ออนุมตั ิดว้ ยหรือเมื่อสถาปนิก/วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงานร้องขอ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างให้พิจารณาอนุมตั ิทกุ รายการ
10.2.8 วัสดุและอุปกรณ์ตวั อย่างทีได้รบั การอนุมตั ิ ผูค้ วบคุมควรจะเก็บไว้เพื่อเป็ นหลักฐานเปรียบเทียบกับ
วัสดุ อุปกรณ์ท่ตี ิดตัง้ ใช้งานจริง
10.2.9 การตรวจสอบวัสดุท่ขี ออนุมตั ินนั้ สถาปนิก /วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงานจะตรวจสอบเฉพาะเท่าที่จาเป็ น
ส่วนที่เหลือที่ไม่สามารถตรวจสอบได้ให้ถือว่าผูร้ บั จ้างรับผิดชอบเสนอสิ่งที่ถกู ต้องเหมาะสม หาก
ปรากฏภายหลังว่ารายละเอียดดังกล่าวมีปัญหาในการใช้งาน ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบ
11.การเทียบเท่าวัสดุ / อุปกรณ์
11.1 การขอเทียบเท่าวัสดุ
ผูร้ บั จ้างมีสิทธิขอเทียบเท่าวัสดุเพื่ออนุมตั ิเลือกใช้วสั ดุท่มี ีช่ือแตกต่างจากที่ระบุไว้ในแบบรูปหรือ รายละเอียด
ประกอบแบบได้ในหลักคุณภาพเท่ากันหรือดีกว่า และราคาเท่ากันหรือแพงกว่า ผูร้ บั จ้างจะขอเทียบเท่าได้ใน
กรณีดงั ต่อไปนี ้
11.1.1 วัสดุในท้องตลาดมีไม่พอ หรือขาดตลาด หรือบริษัทผูผ้ ลิตเลิกผลิต หรือผลิตไม่ทนั ทัง้ นี ้ ผูว้ า่ จ้างขอ
สงวนสิทธิในการอนุมตั ิวสั ดุรายการเทียบเท่า
11.1.2 มีระบุในรายละเอียดประกอบแบบว่า “หรือคุณภาพเทียบเท่า” หรือ “หรือเทียบเท่า”
11.2 การจัดส่งตัวอย่างขอเทียบเท่า
11.2.1 ผูร้ บั จ้างต้องปฏิบตั ิตามระเบียบการจัดส่งวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อขออนุมตั ิ
หมวดที่ 1 12/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

11.2.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่ง CATALOG พร้อมทัง้ รายการละเอียดรับรองคุณภาพหลักฐานจากหน่วยงาน


ตรวจสอบที่ได้รบั อนุมตั ิ
11.2.3 หากจาเป็ น ผูร้ บั จ้างจะต้องอานวยความสะดวกต่อผูว้ า่ จ้างหรือตัวแทนผูว้ า่ จ้าง หรือสถาปนิก/วิศวกร
หรือผูค้ วบคุมงาน ในการตรวจสอบโรงงานผูผ้ ลิตวัสดุอปุ กรณ์ขอเทียบเท่า โดยค่าใช้จ่ายเป็ นของผูร้ บั จ้าง
12. หน่วยงานตรวจสอบทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับ
12.1 มอก. กระทรวงอุตสาหกรรม
12.2 สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์ประยุกต์
12.3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
12.5 คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตธนบุรคี ณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
12.6 กรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม
12.7 สานักงานโยธาจังหวัด ฯ
12.8 หน่วยงานที่รบั รองโดย ผูว้ า่ จ้าง
12.9 หน่วยงานเอกชนที่รฐั บาลรับรอง
มาตรฐานทีน่ ามาใช้
วิศวกรรมโครงสร้างและโยธา
1. ASTM AMERICAN SOCIETY FOR TESTING MATERIAL, 1961, BSJIS, DIN, ISO, AAMA, AUSTRALIAN
STANDARD
2. มอก. มาตรฐานสินค้าผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม ของสานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมประเทศไทย
3. มาตรฐานของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
งานระบบปรับอากาศ
1. ARIAir – Conditioning and Refrigeration Institute
2. ASA American Standard Association
3. ASHRAEAmerican Society of Heating, Refrigerating and Air – Conditioning Engineers
4. SMACNASheet Metal and air-conditioning Contractors National Association Inc.
5. NEMA National Electrical Manufacturer Association
6. UL Underwriters’ Laboratories Inc.
7. ASTM American Society of Testing Material
8. MEA Metropolitan Electricity Authority
9. TIS Thai Industrial Standard
10. NEC National Electrical Code
11. IEC International Electromechanical Commission
12. API American Petroleum Industry
13. AWS American Welding Society
14. BS British Standard
15. ANSI American National Standard Institute
งานระบบป้ องกันเพลิงไหม้
1. กฎข้อบังคับของกองดับเพลิง กรมตารวจ
2. NFPANational Fire Protection Association
หมวดที่ 1 13/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3. UL Underwriter Laboratory
4. FM 200

งานระบบปรับปรุ งคุณภาพน้า , ประปา , และสุขาภิบาล


1. ของการประปานครหลวง
2. พระราชบัญญัติควบคุมอาคารและกฎกระทรวง
3. ASPEThe American Society of Plumbing Engineers
4. ASSEAmerican Society of Sanitary Engineering
5. BOCABuilding Officials & Code Administrators
6. International Inc.Plumbing code
งานระบบพลังแสงอาทิตย์
1. ASHRAEAmerican Society of Heating , Refrigerating and Air –Conditioning Engineer
งานระบบไฟฟ้ าและสื่อสาร
1. MEA Metropolitan Electriity Authority
2. EIT The Engineering Institute of Thailand
3. TISI Thai Industrial Standard Institute
4. NEC National Electrical Code
5. NESC National Electrical Safety Code
6. UL Underwriters’ Laboratories Inc.
7. NEMA National Electrical Manufacturer Association
8. NFPA National Fire Protection Association
9. พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรกั ษ์พลังงาน พ.ศ. 2535
หมายเหตุ
มาตรฐานและข้อบังคับต่าง ๆ ที่อา้ งถึงครอบคลุมถึงฉบับล่าสุดที่ปรากฏให้มีผลบังคับใช้จนถึงวันที่ทาการติดตัง้ ด้วย
โดยผูว้ า่ จ้างจะต้องจัดหาเอกสารนัน้ ๆ ประกอบเพื่อเสนอเรื่องให้พิจารณาต่อผูค้ วบคุมงานหรือผูว้ า่ จ้าง
13. การประชุม
หมายถึง การพบปะปรึกษาหารือระหว่างผูร้ บั จ้าง กับผูค้ วบคุมงานหรือผูร้ บั จ้างกับผูค้ วบคุมงาน สถาปนิก/วิศวกร
และผูแ้ ทนผูว้ า่ จ้าง เพื่อให้การทางานก่อสร้างดาเนินไปตามแบบรูปและรายการ และให้การทางานทันกาหนดเวลา
ขัน้ ตอนที่ได้วางไว้ โดยผูร้ บั จ้างจะต้องจัดผูแ้ ทนผูม้ ีอานาจเต็มเข้าร่วมประชุมด้วยทุกครัง้ การกาหนดระยะเวลาใน การ
จัดประชุม
13.1 ประชุมทุก 7 วัน ระหว่างผูแ้ ทนผูว้ า่ จ้าง ผูค้ วบคุมงานและผูร้ บั จ้างตลอดระยะเวลาทาการก่อสร้าง
13.2 ประชุมทุก 30 วัน ระหว่างผูแ้ ทนผูว้ า่ จ้าง สถาปนิก/วิศวกร ผูค้ วบคุมงาน และผูร้ บั จ้างตลอดระยะเวลาการก่อสร้าง
13.3 เมื่อผูค้ วบคุมงานหรือผูร้ บั จ้างเห็นสมควร
13.4 เมื่อสถาปนิก / วิศวกร เห็นสมควร
14. การรายงาน
เพื่อตรวจสอบวิธีการและความก้าวหน้าของการทางาน เป็ นหลักฐานประกอบการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่ง
เอกสารตามกาหนดเวลาที่ผรู้ บั จ้าง หรือสถาปนิก / วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงานเป็ นผูก้ าหนด
14.1 ตารางแสดงขัน้ ตอนการก่อสร้างภายในกาหนดเวลา 7 วัน ภายหลังจากวันเซ็นสัญญา
14.2 รายงานแสดงความก้าวหน้าของงาน (PROGRESSIVE REPORT) จัดส่งทุก 15 วัน
14.3 รูปถ่าย (CONSTRUCTION PHOTOGRAPHYS)แสดงให้เห็นผลงานและความคืบหน้าทุก ๆ 15 วัน
หมวดที่ 1 14/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

14.4 จัดทารายงานประจาเดือนสรุปการดาเนินงาน และผลความคืบหน้าในการก่อ สร้างในรอบเดือน เปรียบเทียบ


กับแผนที่วางไว้พร้อมรูปถ่ายเสนอต่อผูว้ า่ จ้าง ภายใน 15 วัน ของเดือนถัดไปตามจานวนชุดซึง่ ผูว้ า่ จ้างกาหนด
14.5 รายงานอื่น ๆ ตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ
15. การคา้ ประกัน
การคา้ ประกันผลงานก่อสร้างผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันผลงานเป็ นเวลา 24 เดือน นับจากวันที่ผวู้ า่ จ้างตรวจรับมอบ
งานงวดสุดท้ายแล้ว กรณีท่ีผวู้ ่าจ้างเข้าครอบครองทาประโยชน์บางส่วนหรือทัง้ หมดของงาน ซึง่ อยู่ในระยะเวลาของ
การคา้ ประกันระยะเวลาของการคา้ ประกันงานก่อสร้างจะแยกย่อยตามส่วนนัน้ ๆ เช่นเดียวกัน หากมีการเสียหาย
เกิดขึน้ แก่สว่ นใดส่วนหนึ่งของสิ่งก่อสร้าง ในระยะเวลาของการคา้ ประกัน ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งวัสดุอปุ กรณ์
ตลอดจนช่างฝี มือมาดาเนินการซ่อมแซมเปลี่ยนแปลงแก้ไขสร้างใหม่ หากผูร้ บั จ้างไม่มาดาเนินการตามที่ผวู้ า่ จ้างแจ้ง
ให้ผรู้ บั จ้างทราบตามกาหนด ผูว้ า่ จ้างมีสิทธิจะหารือจัดหาบุคคลอื่นมาดาเนินการแทน ผูร้ บั จ้างยินดีท่จี ะให้ผวู้ า่ จ้าง
หักเงินจากยอดเงินคา้ ประกันผลงานเพื่อใช้จ่ายในกิจการนัน้ ๆ ตามความเห็นชอบของผูว้ า่ จ้างโดยไม่มีขอ้ แม้ใด ๆ
ทัง้ สิน้ การซ่อมแซมงานที่อยู่ในระยะเวลาคา้ ประกันเป็ นงานที่เกิดจากความเสียหายที่เกิดขึน้ จากความบกพร่อง หรือ
ความประมาทเลินเล่อในการก่อสร้างของผูร้ บั จ้างเป็ นผูก้ ระทา โดยถือคาวินิจฉัยของสถาปนิก / วิศวกรผูอ้ อกแบบเป็ น
อันสิน้ สุด เมื่อสิน้ สุดระยะเวลาคา้ ประกัน สถาปนิก/วิศวกร ผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูอ้ อกหนังสือรับรองผลงานให้แก่ผรู้ บั จ้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องนาหลักฐานใบรับรองผลงานนีแ้ สดงต่อผูว้ า่ จ้างเพื่อขอหนังสือคา้ ประกันผลงานก่อสร้างจากผูว้ า่ จ้าง
16. การจัดเบิกจ่ายเงินงวด
รับจ้างจะต้องหาตารางการเบิกเงินงวด โดยระบุปริมาณงานและกาหนดระยะแต่ละงวดพร้อมจานวนเงินเสนอให้ผวู้ า่
จ้างอนุมตั ิก่อนลงนามในสัญญา ผูว้ า่ จ้างมีสิทธิในการตรวจสอบและแก้ไขตารางการเบิกเงินงวดเพื่อความเหมาะสม
การแก้ไข ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเงินงวดใหม่ ผูว้ า่ จ้างมีสิทธิท่จี ะไม่จ่ายเงินงวดในเมื่อผูว้ า่ จ้าง เห็นว่าหากมี
16.1 ปริมาณและคุณภาพงานไม่เป็ นไปตามที่ได้ระบุไว้ในราคาเบิกเงินงวด
16.2 ระยะการเบิกเงินงวดไม่ตรงกับที่ได้ระบุไว้ในงวดตารางเบิกยกเว้นกรณีท่ไี ด้มีการตกลงกันระหว่างผูร้ บั จ้างกับ
ผูว้ า่ จ้างเป็ นลายลักษณ์อกั ษรหลักฐานต่าง ๆ ที่ผรู้ บั จ้างจะต้องแนบมาพร้อมกับเอกสารเบิกเงินงวด
16.3 ตารางการเบิกเงินงวดที่ได้รบั อนุมตั ิพร้อมแสดงเครื่องหมายงวดงานที่ตอ้ งการเบิก พร้อมตารางแสดงผลงานที่ทาได้
16.4 หลักฐานอื่นที่ผคู้ วบคุมงานกาหนด
16.5 หลักฐานเพิ่มเติมอื่น ๆ ที่ผวู้ า่ จ้างร้องขอ
ระยะเวลาการเบิกจ่าย เป็ นไปตามเอกสารการประกวดราคา
17. การส่งมอบงาน ให้เป็ นไปตามเอกสารการประกวดราคา
17.1 การส่งมอบอุปกรณ์และรายการเอกสารผูร้ บั จ้างจะต้องส่งมอบอุปกรณ์และรายการ ดังต่อไปนี ้
17.1.1 กุญแจทัง้ หมดที่ใช้ในอาคารชุดละ 5 ดอก หรือตามสถาปนิกกาหนด
17.1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนิ1นการจัดหาวิทยากร ผูช้ านาญงานของบริษัทผูผ้ ลิตอุปกรณ์ท่นี ามาติดตัง้ อาคาร
มาอบรม หรือแนะนาให้บคุ ลากรของอาคาร ซึง่ ได้รบั มอบหมายรับทราบเกี่ยวกับการดูแลรักษา การ
ใช้งาน หรือการซ่อมบารุงเบือ้ งต้นจนกว่าจะมีความเข้าใจสามารถปฏิบตั ิงานได้
17.1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องมอบเครื่องมือและชิน้ ส่วนอะไหล่ท่มี ีมากับอุปกรณ์ให้กบั เจ้าของอาคารเก็บรักษาทัง้ หมด
17.1.4 แบบก่อสร้างจริง (AS BUILT DRAWINGS) จัดเป็ นรูปเล่ม รวมต้นฉบับกระดาษไข 1 ชุด และแบบ
ก่อสร้างจริง พิมพ์เขียว จานวน 5 ชุด แบบก่อสร้างจริงจะต้องมีขนาดเท่ากับแบบก่อสร้าง และใช้
มาตราส่วนเดียวกันในการเขียนแบบแสดงส่วนที่ เปลี่ยนแปลงไปจากแบบก่อสร้างเดิมอย่างชัดเจo

หมวดที่ 1 15/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

17.1.5 หนังสือรับประกันคุณภาพจากบริษัทผูผ้ ลิต หรือตัวแทน หรือผูต้ ิดตัง้ สาหรับเครื่องกลและอุปกรณ์ทกุ


ชนิดโดยมีกาหนดระยะเวลารับประกันอย่างน้อยเท่ากับระยะเวลาบารุงรักษาตามสัญญาก่อสร้าง
17.1.6 คูม่ ือสาหรับการดูแลรักษา ผูร้ บั จ้างจะต้องรวบรวมคูม่ ือและข้อแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตสาหรับวัสดุ
และอุปกรณ์ทกุ ชนิดที่นามาติดตัง้ ในอาคารนี ้
17.1.7 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมวัสดุ และหรืออุปกรณ์งานตกแต่งสถาปั ตยกรรมเพื่อสารองในการบารุงรักษา
อาคารหลังการรับมอบงานภายในปริมาณที่เหมาะสม ตามรายการที่ผวู้ า่ จ้างกาหนด พร้อมกับการ
ส่งมอบอาคาร ทัง้ นี ้ รวมถึงตามข้อกาหนดเฉพาะงานในแต่ละระบบด้วย ในส่วนของงาน
สถาปั ตยกรรมให้สารองวัสดุตามรายการต่าง ๆ ดังนี ้
วัสดุจานวนร้อยละของปริมาณวัสดุทงั้ หมด,ปั ดเศษขึน้
กระเบือ้ งในประเทศ 2%
กระเบือ้ งต่างประเทศ 2%
18. การนาเข้าวัสดุอุปกรณ์ต่างประเทศ
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูด้ าเนินการเกี่ยวกับการนาเข้าวัสดุจากต่างประเทศ ในกรณีท่จี าเป็ นต้องสั่งวัสดุอปุ กรณ์ โดยให้
ปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าวัสดุอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ โดยไม่มีการยกเว้น ถ้าวัสดุอปุ กรณ์หรือ
สิ่งของใด ๆ ที่ผรู้ บั จ้างนามาเพื่อประกอบหรือผลิต หรือเป็ นของสาหรับใช้สอยหรืออานวยความสะดวกแก่การทางาน
จะต้องสั่งหรือนาเข้ามาจากต่างประเทศ และสิ่งของต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นนัน้ ต้องนาเข้ามาโดยทางเรือในเส้นทางที่มี
เรือไทย หรือเรื่อที่มีสิทธิเช่นเดียวกับ เรือไทยเดินอยู่และสามารถให้บริการรับขนได้ตามที่รฐั มนตรีวา่ การกระทรวง
คมนาคมประกาศกาหนด ผูร้ บั จ้างต้องจัดการให้สิ่งของต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้นบรรทุกโดยเรือไทย หรือเรือที่มีสิทธิ
เช่นเดียวกับเรือไทยจากต่างประเทศมายังประเทศไทย เว้นแต่ได้รบั อนุญาตจากสานักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการ
พาณิชย์นาวีก่อนบรรทุกสิ่งของต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น ลงเรืออื่นที่มิใช่เรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย หรือ
สิ่งของดังกล่าวข้างต้นได้รบั การยกเว้นโดยประกาศของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคมให้บรรทุกโดยเรืออื่นได้ ทัง้ นี ้
ไม่วา่ การสั่งสิ่งของดังกล่าวข้างต้นจากต่างประเทศจะเป็ นแบบ เอฟ.โอ.บี/ซี แอนด์ เอฟ หรือ ซี.ไอ.เอฟ ในการส่งมอบ
งานให้แก่ผวู้ า่ จ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งมอบใบตราส่ง (Bill of Landing) หรือสาเนาใบตราส่งสาหรับสิ่งของต่าง ๆ ซึง่
แสดงว่าได้บรรทุกโดยเรือไทย หรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทยให้กบั ผูว้ า่ จ้าง พร้อมกับการส่งมอบงานด้วย ในกรณี
ที่สิ่งของดังกล่าวข้างต้น ไม่ได้บรรทุกจากต่างประเทศมายังประเทศไทย โดยเรือไทยหรือเรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย
ผูร้ บั จ้างต้องส่งมอบหลักฐานแสดงว่า ได้รบั อนุญาตจากสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมพาณิชย์นาวีให้บรรทุกโดย
เรืออื่นได้หรือหลักฐานซึง่ แสดงว่าได้ชาระค่าธรรมเนียมพิเศษ เนื่องจากการไม่บรรทุกสิ่งของดังกล่าว โดยเรือไทยหรือ
เรือที่มีสิทธิเช่นเดียวกับเรือไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการพาณิชย์นาวี แล้วอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผวู้ า่ จ้าง
ด้วย ในกรณีท่ีผรู้ บั จ้างมอบหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผวู้ ่าจ้างด้วย ในกรณีท่ผี รู้ บั จ้างมอบหลักฐานอย่างใดอย่าง
หนึ่งดังกล่าวในสองวรรคข้างต้นให้แก่ผวู้ า่ จ้างแต่อาจส่งมอบงานให้แก่ผวู้ า่ จ้างก่อน โดยยังไม่รบั ชาระค่าจ้างผูว้ า่ จ้างมี
สิทธิรบั มอบงานดังกล่าวไว้ก่อน และจะชาระเงินค่างานให้แก่ผรู้ บั จ้าง เมื่อผูร้ บั จ้างได้ปฏิบตั ิถกู ต้องครบถ้วนดังกล่าว
แล้วหลักฐานต่าง ๆ ที่ผรู้ บั จ้างต้องการจากผูว้ า่ จ้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนินการเสียแต่เนิ่น ๆ ผูร้ บั จ้างไม่มีสิทธิท่จี ะอ้าง
เหตุผลใด ๆ ในการต่อสัญญาการก่อสร้างออกไป หากการนาเข้าวัสดุอปุ กรณ์เหล่านัน้ ล่าช้าไม่ทนั กาหนดระยะเวลา
ในการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบต่อผลเสียหายที่เกิดขึน้ ทัง้ หมด ผูว้ า่ จ้างจะถือว่าวัสดุอปุ กรณ์ท่สี ่งมายัง
หน่วยงานจะต้องอยู่ในสภาพดีสามารถติดตัง้ และใช้สอยได้ทนั ที

หมวดที่ 1 16/172 ข้อกาหนดและการดาเนินการทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

หมวดที่ 2
รายการประกอบแบบงานสถาปั ตยกรรม
สถาปั ตยกรรมภายใน

หมวดที่ 2 17/1172 รายการประกอบแบบงานสถาปัตยกรรม


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.1 งานผนัง

งานอิฐสาหรับก่อผนัง (WALL BLOCK)


ขอบเขตของงาน
งานก่อผนังตามที่ระบุไว้ในแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทาแบบ SHOP DRAWING หรือแผงตัวอย่างในส่วนต่าง ๆ
เพื่อขออนุมตั ิและตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนทาการติดตัง้ อิฐโปรบล็อก (PROBLOCK) หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
คุณสมบัติ
- ประกอบด้วยวัสดุรไี ซเคิลที่มาจากเถ้าลอย ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงของแข็งเพิ่มเป็ นวัตถุดิบในการผลิตอิฐ
และผสมผสานด้านเทคโนโลยีออโตเครฟ ทาให้คณ ุ ภาพของอิฐมีความแข็งแรงสูง ประหยัดพลังงาน เมื่อเทียบกับอิฐ
มอญ
- ใช้เถ้าลอยเป็ นวัสดุเหลือ ทัง้ จากการเผาไหม้เชือ้ เพลิงของแข็ง โดยใช้เถ้าลอยได้มากคือ ระหว่างร้อยละ 40-70
- แข็งแรงกว่าอิฐทั่วไป มีคา่ กาลังอัดสูงถึง 7-12 MPa
- กันความร้อน โดยค่าการนาความร้อนที่ 0.34 w/m.k
- กันเสียงได้สงู โดยมีคา่ อัตราการกันเสียงที่ 43 STC
- มีอตั ราการทนไฟ (FIRE RATING) 4 ชั่วโมง
- ตัด เจาะ กรีดง่าย ก่อได้เร็ว ใช้ปนู น้อยกว่าครึง่ หนึ่ง เมื่อเทียบกับอิฐมอญ
- ปูนก่อ ปูนฉาบ รายละเอียดกาหนดตามมาตรฐานผูผ้ ลิต

หมวดที่ 2 18/172 งานอิฐสาหรับก่อผนัง (WALL BLOCK)


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานฉาบปูน

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นในการก่อสร้างงานฉาบปูนให้ถกู ต้องตามระบุในแบบและ
รายการ งานฉาบปูน หากไม่ระบุในแบบ ส่วนที่เป็ นผนัง คาน เสา และเพดาน ค.ส.ล. และทุกส่วนที่มองเห็นด้วยตา
จากภายนอกให้ตกแต่งผิวด้วยปูนฉาบ
วัสดุ
- ปูนซีเมนต์ให้ใช้ปนู ซีเมนต์ตราเสือ มอก.1776-2542 ของบริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือตรา
นกอินทรีย ์ ของ บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จากัด (มหาชน) หรือตรางูเห่า ของ บริษัท ชลประทานซีเมนต์ จากัด
(มหาชน) หรือ ตราทีพีไอ ของ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จากัด (มหาชน) หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ทรายจะต้องเป็ นทรายนา้ จืดที่สะอาด คมและแข็ง ปราศจากวัสดุอ่นื เจือปน โดยมีคณ ุ สมบัติดงั นี ้
ผ่านตะแกรงร่อน เบอร์ 4 100%
ผ่านตะแกรงร่อน เบอร์ 16 60 - 90%
ผ่านตะแกรงร่อน เบอร์ 50 10 - 30%
ผ่านตะแกรงร่อน เบอร์ 100 0 - 10%
- ปูนขาวหรือนา้ ยาผสมปูนฉาบ ให้ใช้ปนู ขาวหรือนา้ ยาผสมปูนฉาบ ตามคาแนะนาของผูค้ วบคุมงาน
กรรมวิธีฉาบ
ก่อนทาการฉาบปูนตกแต่งผูร้ บั จ้างจะต้องจับเซีย้ มจับปุ่ มให้ท่วั บริเวณที่จะฉาบทิง้ ไว้ให้แห้งแล้วรดนา้ ให้ช่มุ พอประมาณ
จึงลงมือฉาบปูนตกแต่งได้ การฉาบปูนให้แบ่งกรรมวิธีการฉาบเป็ น 2 ช่วง คือฉาบรองพืน้ และทิง้ ให้ปนู ฉาบรองพืน้
เริ่มแข็งตัวจึงลงมือฉาบตกแต่งได้ สาหรับผิวปูนฉาบธรรมดาให้ตกแต่งผิวด้วยฟองนา้ แล้วใช้ไม้กวาดดอกหญ้าแต่งผิวอีกครัง้
สาหรับผิวซีเมนต์ขดั มันผิวจะต้องขูดให้ขรุขระหลังจากแต่งผิวแล้ว เตรียมสาหรับฉาบขัดมันหรือจะฉาบขัดมันพร้อมกันเลย
ขณะผิวปูนฉาบยังไม่แห้งก็ได้ สาหรับผิวบุผนังกระเบือ้ งหรือผนังบุผิวด้วยสีพ่นเม็ดทราย หรือสีพ่นระเบิด เมื่อฉาบได้ระดับแล้ว
ไม่ตอ้ งแต่งผิวขัน้ ละเอียด ผิวของปูนฉาบต้องหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.5 ซม. สาหรับผิวปูนฉาบที่จาเป็ นต้องฉาบปูนหนากว่า 4 ซม.
จะต้องแบ่งฉาบปูนทรายรองพืน้ เป็ นสองครัง้ ครัง้ แรกเริ่มแข็งตัวจะต้องกรุดว้ ยลวดกรงไก่ แล้วฉาบรองพืน้ ครัง้ ที่สอง การฉาบ
ตกแต่งให้ถือตามกรรมวิธีขา้ งต้น การฉาบปูนส่วนที่ผนังติดกับโครงสร้าง ค.ส.ล. ให้ปอ้ งกันการแตกร้าว โดยใช้แผ่นลวดกรงไก่
ขนาด #3/4" กว้างประมาณ 30 ซม. ยืดยาวตลอดรอยต่อ แล้วจึงฉาบรองพืน้ ได้
ส่วนผสมของปูนฉาบ
- ปูนฉาบ ให้ใช้ส่วนผสมดังนี ้
ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน
ทราย 3 ส่วน
ปูนขาวหรือนา้ ยาผสมปูนฉาบ ตามคาแนะนาของผูค้ วบคุมงาน
การเตรียมพืน้ ผิว
สาหรับผนังอิฐก่อจะต้องทาความสะอาดสิ่งสกปรกและคราบนา้ มันให้หมดเสียก่อน รดนา้ ให้ช่มุ พอประมาณสาหรับ
ผิวคอนกรีตเสริมเหล็กก่อนฉาบปูนจะต้องทาผิวสลัดปูนเสียก่อน ทิง้ ให้ปนู สลัดยึดเกาะกับผนังก่อนฉาบต้องรดนา้ ให้ท่วั บริเวณ
จึงฉาบปูนทับผิวได้

หมวดที่ 2 19/172 งานฉาบปูน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การทาความสะอาดและบารุ งรักษา
หลังจากฉาบปูนตกแต่งแล้วทิง้ ไว้อย่างน้อย 24 ชั่วโมง ผูร้ บั จ้างต้องบ่มผิวปูนฉาบติดต่อกันอย่างน้อย 3 วัน โดยฉีด
นา้ ให้ท่วั หรือคลุมด้วยกระสอบป่ าน รอยสกปรกที่เกิดจากเศษปูน ต้องทิง้ ให้ผิวปูนฉาบแห้งสนิทก่อน จึงขูดออกได้
การซ่อมแซม
ผิวปูนฉาบจะต้องแน่นตลอดผิว ที่ใดมีเสียงเคาะดังโปร่งหรือมีรอยแตกร้าว จะต้องทาการซ่อมแซม โดยสกัดออกเป็ น
บริเวณรอบรอยร้าว หรือบริเวณดังโปร่งนัน้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ซม. ทาความสะอาดด้วยนา้ พอประมาณ แล้วจึงฉาบซ่อมแซม โดย
ผสมนา้ ยาประเภท BONDING AGENT ผิวของปูนฉาบใหม่กบั ปูนฉาบเก่าจะต้องเป็ นเนือ้ เดียวกัน ในกรณีท่มี ีการซ่อมแซม
งานคอนกรีตเกี่ยวกับโครงสร้างโดยวิธีฉาบ ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการซ่อมแซมส่วนนัน้ ตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงานหรือวิศวกร
ผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงาน หรือวิศวกรผูอ้ อกแบบจะเป็ นผูก้ าหนดกรรมวิธีตลอดจนการเลือกใช้วสั ดุ ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ น
ผูร้ บั ผิดชอบเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมทัง้ หมด
การกองเก็บ
จะต้องกองเก็บไว้ภายใต้หลังคาหรือสิ่งปกคลุมให้พน้ ฝน ควรกองเก็บในพืน้ ที่เรียบแห้งและไม่มีความเปี ยกชืน้ แข็งแรง
พอที่จะรับนา้ หนักปูนซีเมนต์ได้ โดยใช้ไม่เนือ้ แข็งขนาดไม่ต่ากว่า 1 ½” x3” จานวน 2 ท่อน วางรองรับหัวท้ายปูนซีเมนต์
ลึกจากปลายข้างละประมาณ 10 ซม. อายุการเก็บประมาณ 2 เดือน

หมวดที่ 2 20/172 งานฉาบปูน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนังเบา

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ในการติดตัง้ ผนังเบา ตามระบุในรายการทั่วไป
วัสดุ
- แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด
ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า มอก.1427-2540 หรือบริษัท กระเบือ้ งกระดาษไทย จากัด หรือ บริษัท วิบลู ย์
วัฒนอุตสาหกรรม จากัด หรือ บริษัท คอนวูด จากัด ขนาดประมาณ 1.20 x 2.40 ม. ความหนาไม่นอ้ ยกว่า
8 มม. ขอบลาด 2 ด้าน หรือตามที่ระบุในแบบ
- เคร่าโลหะ
ให้ใช้โครงเคร่าเหล็ก ชุบสังกะสี (เบอร์ 24) หนาไม่นอ้ ยกว่า 0.50 มม. หรือคุณภาพเทียบเท่า โดยระยะห่าง
โครงเคร่าหลักห่างไม่เกิน 0.60 ม. ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างเคร่าโลหะอุปกรณ์เสนอ และกรรมวิธีการติดตัง้
ตามกรรมวิธีผผู้ ลิต ให้ผคู้ วบคุมงาน อนุมตั ิก่อนการเลือกใช้ โครงเคร่าจะต้องแข็งแรง ยึดติดกับโครงสร้าง และ
ส่วนอื่น ๆ ของโครงสร้างด้วยความประณีตผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า บริษัท สยามอุตสาหกรรม ยิปซั่ม
(สระบุร)ี จากัด หรือ บริษัท ไทยผลิตภัณฑ์ ยิปซั่ม จากัด หรือ Arcontype หรือ KNAUF
- สกรูเกลียวปล่อย
เป็ นสกรูหวั เตเปอร์ เกลียวหยาบ ไม่เป็ นสนิมความยาวพอเหมาะ โครงเคร่าเหล็กควรให้ปลายโผล่ออกจาก
โครง ½”-1” การติดตัง้ ต้องเจาะรูนาที่แผ่นก่อนขันสกรูยดึ ในกรณีท่จี ะฝังหัวให้เจาะรูขยายหัวที่แผ่นแล้วอุดรู
ด้วยวัสดุอดุ รู
การติดตัง้
- การติดตัง้ ผนังแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด เคร่าโลหะที่ใช้จะต้องแข็งแรงและยึดติดกับโครงสร้างด้วยความประณีต
ส่วนที่ระบุให้ใช้รอยต่อของแผ่นแบบเว้นร่องรอยต่อของเคร่าจะต้องสนิทและเรียบร้อย เว้นร่องระหว่างแผ่นไม่
น้อยกว่า 3-5 มม. รอยต่อของแผ่นกับผนังหรือเสาหรือตรงส่วนที่เปลี่ยนระดับให้ปฏิบตั ิตามแบบขยายแบบ
ก่อสร้าง หากไม่ระบุให้จดั ทาแบบขยายให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อนการติดตัง้ เคร่าส่วนที่ติดผนังหรือฝ้าเพดาน
ฉาบปูน จะต้องดาเนินการฉาบปูนส่วนนัน้ ๆ เรียบร้อยแล้วจึงติดตัง้ โครงเคร่าได้การยึดจะต้องเหมาะกับโครง
เคร่าและแข็งแรงเรียบร้อยพร้อมที่จะทาการตกแต่งงานอื่นได้ทนั ทีเศษของแผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์บอร์ด ในห้อง
จะต้องเท่ากันทัง้ 2 ด้าน
- ก่อนการตกแต่งผิวควรทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อยโดยใช้กระดาษทรายเบอร์ 60-80 ลูบแล้วเช็ดด้วย
ผ้าสะอาดการทาสีให้ใช้สีนา้ อะคริลิค โดยต้องรองพืน้ ปูนก่อน โดยใช้ลกู กลิง้ แปรงทาสี หรือเครื่องพ่นสี
หากใช้สีนา้ มัน สีเมทาลิค สีอีพ๊อกซี่ ต้องปฏิบตั ิการกรรมวิธีของผูผ้ ลิต การเคลือบผิวสีพนื ้ ให้ใช้โพลียรู เี ทน
ชนิดใสผิวมันหรือผิวด้าน แลคเกอร์ใส อีพ๊อกซี่ใส และระหว่างการติดตัง้ ควรระมัดระวังความสะอาด อย่าให้
สิ่งสกปรกเปื ้อนผิวแผ่น
- ผนังป้องกันเสียง ผนังกรุยิปซั่มบอร์ด หนา 12 มม. ฉาบเรียบทาสีภายใน ติดตัง้ โครงเคร่าภายใน โครงกรุแผ่น
ผนังอะคูสติกขนาด 0.60x1.20 ความหนาแผ่นอะคูสติกไม่นอ้ ยกว่า 60 มม. ติดตัง้ ตามกรรมวิธีผผู้ ลิต หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
- การติดตัง้ ผนังเบาอื่น ๆ

หมวดที่ 2 21/172 งานผนังเบา


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพร้อมรายละเอียดในการติดตัง้ ให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อนการส่งวัสดุมายัง


หน่วยงาน
การทาความสะอาด
ผนังที่ติดตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนได้ฉากกับพืน้ ผนังห้องและจะต้องทาความสะอาดให้เรียบร้อย

หมวดที่ 2 22/172 งานผนังเบา


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป ANTI-BACTERIA

ผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป (Melamine Face Foamboard)


คือ แผ่น HPL (High Pressure Laminates) ความหนา 0.7 มม. มาประกบกันทาการฉีด PU FOAM (Polyurethane Foam)
เข้าไปในเนือ้ ระหว่างกลางแผ่น HPL ด้วยความหนาแน่น 285 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร แต่ไม่เกิน 350 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
ซึง่ เนือ้ โฟมจะแข็งเป็ นพิเศษเหมือนไม้เทียม ไม่เป็ นสื่อลามไฟ และไม่นาไฟฟ้า ด้วยระบบ Sandwich System เนือ้ โฟมที่ใช้เป็ น
ชนิดปราศจากสาร Chlorofluorocarbons (CFC) บานพับใช้แกนหมุนฝังลงในตัวบานประตูดา้ นบนและด้านล่าง ชุดกลอนเป็ น
รูปทรงวงรี เคลือบสาร ป้องกันแบคทีเรีย (Anti-Bacteria Bolt) แผ่นผนังไม่มีรอยต่อระหว่างแผ่นกัน้ กลาง ขอบปิ ดทับด้วย PVC
เกรด A ความหนา 2 มม. ทัง้ 4 ด้านด้วยระบบกาวร้อน Hotmelt ที่ 220 องศาเซลเซียส ขาตัง้ Stainless Coating เพื่อป้องกัน
สนิม กรด ด่างและสารเคมีตา่ ง ๆ เคลือบสี อบ 3 ชัน้ ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 40 ไมครอน อุปกรณ์ทงั้ หมดเป็ น Stainless มี
ความหนารวมของแผ่น 30 มม. และควบคุมการผลิตและวัสดุทกุ ขัน้ ตอน ด้วยมาตรฐาน ISO 9001:2000 SERIES 61 หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
คุณสมบัตพ ิ เิ ศษของแผ่น MFF
• ไม่บวมนา้
• นา้ หนักเบา
• กันกรด-ด่าง สารเคมีทกุ ชนิด
ผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป Anti-Bacteria : แผ่นเสา แผ่นประตู และแผงกัน้ ทาจากแผ่น MFF (Melamine Face Foamboard)
โดยนาแผ่น HPL High Pressure Laminates ความหนา 0.7 มม. มาประกบกันทาการฉีด PU FOAM (Polyurethane Foam)
เข้าไปในเนือ้ ระหว่างกลางแผ่น HPL ด้วยความหนาแน่น 285 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร แต่ไม่เกิน 350 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
เนือ้ โฟมที่ใช้เป็ นชนิดปราศจากสาร Chlorofluorocarbons การฉีดโฟมจะกระทาไปพร้อม ๆ กับการประกบแผ่น HPL โดยไม่ใช้
กาวใด ๆ ในการผลิต ความหนาทัง้ สิน้ 30 มม. บานพับใช้แกนหมุนฝังลงในตัวบานประตูดา้ นบนและด้านล่าง สามารถเปิ ด-
ปิ ดได้ไม่ต่ากว่า 200,000 ครัง้ ขาตัง้ Stainless Coating เพื่อป้องกันสนิม กรด ด่างและสารเคมีตา่ ง ๆ เคลือบสี อบ 3 ชัน้
ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 40 ไมครอน ขอบแผ่นผนังปิ ดทับด้วย PVC 2 มม. ทัง้ สี่ดา้ น ด้วยระบบกาวร้อนที่ 220 องศาเซลเซียส
ชุดกลอน เคลือบสาร ป้ องกันแบคทีเรีย (Anti-Bacteria) แผ่นผนังห้องนา้ สาเร็จรูปสามารถกันนา้ ได้ และสามารถกันกรด–
ด่างได้เป็ นอย่างดี ไม่เป็ นสื่อลามไฟ และไม่เป็ นสื่อนาไฟฟ้า แผ่นเสา แผ่นประตู และแผ่นกัน้ ต้องไม่ติดไฟ ไม่บวมนา้ ไม่ผกุ ร่อน
จากความชืน้ ไม่เป็ นที่เพาะเชือ้ โรค แมลงและปลวกไม่กดั กิน ผนังห้องนา้ สาเร็จรูป อุปกรณ์เป็ น Stainless และต้องไม่มี
รอยต่อระหว่างแผ่นกัน้ กลาง สีของประตู เสา และแผ่นกัน้ ต้องเป็ นสีเดียวกัน และควบคุมการผลิตและวัสดุทกุ ขัน้ ตอน ด้วย
มาตรฐาน ISO 9001:2000 หรือคุณภาพเทียบเท่า
อุปกรณ์ยดึ จับผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป Anti-Bacteria
• บาร์บนยึดอยู่ดา้ นบนสุดระหว่างแผ่นเสาทาจากอลูมิเนียมรีดขึน้ เป็ นรูปทรงรี เส้นผ่าศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 3 ซม. หนา
ไม่นอ้ ยกว่า 1.5 มม. ชุบอโนไดซ์ ปลายบาร์บนปิ ดด้วย CAP พลาสติกชนิด ABS สีดา
• มีสกั หลาดติดด้านข้างประตูทงั้ 2 ด้าน และมีตวั กันกระแทกจานวน 1 ตัว
• บานพับทาจาก Stainless Steel SUS 304 เป็ นแกนตัง้ องศาด้านบนยึดติดกับบาร์บน โดยฝังแกนบานพับตัง้ องศาลง
ในบานประตู แกนบานพับตัง้ องศาด้านล่างยึดติดกับเสาข้างและฝังแกนบานพับที่บานประตู ต้องผ่านการทดสอบ
สามารถเปิ ด-ปิ ดได้ไม่ต่ากว่า 200,000 ครัง้

หมวดที่ 2 23/172 งานผนังห้องนา้ สาเร็จรูป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

• กลอนประตู ทาจาก Stainless Steel SUS 304 มีแผ่น Stainless เคลือบผิดด้วย Power coat ประกบกับตัวกลอน
ด้านหน้าเป็ นรูปทรงวงรี เคลือบสาร ป้ องกันแบคทีเรีย (Anti-Bacteria) ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มม. ไว้แสดง
สัญลักษณ์การใช้งานห้องนา้ ด้วยสีแดง ด้านหน้าเป็ นผิวเรียบ ไม่สามารถขันน๊อตสกรูจากด้านหน้าได้
• ขาตัง้ เป็ นแบบ Stainless Coating เพื่อป้องกันสนิม กรด ด่างและสารเคมีตา่ ง ๆ
เคลือบสี อบ 3 ชัน้ ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 40 ไมครอน
• น๊อตและสกรู ที่ใช้สาหรับการติดตัง้ ทุกชิน้ ต้องเป็ น Stainless Steel SUS 304
• หรือคุณภาพเทียบเท่า
ขนาดมาตรฐานของผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป
• แผ่นเสา ขนาดกว้าง 40 x สูง 180 ซม.
• แผ่นประตูขนาดกว้าง 60 x สูง 178 ซม.
• แผ่นกัน้ ขนาดกว้าง 143-150 x สูง 180 ซม. (ไม่มีรอยต่อแผ่น)
• หรือคุณภาพเทียบเท่า
อุปกรณ์มาตรฐานของผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป
1) บานพับ Stainless Steel SUS 304 เป็ นแกนตัง้ องศาด้านบนยึดติดกับบาร์บน
โดยฝังแกนบานพับตัง้ องศาลงในบานประตู แกนบานพับตัง้ องศาด้านล่างยึดติด
กับเสาข้างและฝังแกนบานพับที่บานประตูจานวน 1 ชุด
2) กลอนประตู ทาจาก Stainless Steel SUS 304เคลือบสาร ป้องกันแบคทีเรีย (Anti-Bacterial)
มีแผ่น Stainless ประกบกับตัวกลอนด้านหน้าเป็ นทรงวงรีแสดงสัญลักษณ์การใช้งาน
ห้องนา้ ด้วยสีเขียว – แดง ด้านหน้าเป็ นผิวเรียบ จานวน 1 ชิน้
3) ขอแขวนผ้าพร้อมที่กนั กระแทก จานวน 1 ชิน้
4) ขาตัง้ Stainless Coating เพื่อป้องกันสนิม กรด ด่างและสารเคมีตา่ ง ๆ
เคลือบสี อบ 3 ชัน้ ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 40 ไมครอน จานวน 1 ชุด
5) มีสกั หลาดติดด้านข้างประตูทงั้ 2 ด้าน และมีตวั กันกระแทก จานวน 1 ชุด
6) ที่ใส่กระดาษชาระทาจาก Stainless Steel SUS 304 จานวน 1 ชิน้
7) บาร์บนยึดอยู่ดา้ นบนสุดระหว่างแผ่นเสาทาจากอลูมิเนียมรีดขึน้ เป็ นรูปทรงรี
การรับประกันคุณภาพของผนังห้องนา้ สาเร็จรู ป
• ผนังห้องนา้ สาเร็จรูป รับประกันการบวมนา้ เป็ นเวลา 2 ปี โดยผูผ้ ลิต
• ผนังห้องนา้ สาเร็จรูป รับประกันการผุกร่อนจากการใช้งานปกติเป็ นเวลา 2 ปี โดยผูผ้ ลิต
• การออกใบรับประกัน จะออกใบรับประกันให้แก่โครงการหรือผูใ้ ช้หรือผูจ้ ดั การฝ่ ายอาคารสถานที่เท่านัน้ โดยจะออก
ให้เมื่อวันตรวจรับงานแล้วเสร็จไม่เกิน 7 วัน

หมวดที่ 2 24/172 งานผนังห้องนา้ สาเร็จรูป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนัง – บุหนิ แกรนิต

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหา วัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่ีจาเป็ นในการบุ และปูผนังตามระบุในแบบ และรายการ
วัสดุ
ให้ใช้หินแกรนิต ขนาดตามที่ระบุในแบบรูป ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.8 ซม. หรือตามระบุในแบบผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดส่งตัวอย่างของหินแกรนิต ขนาดเท่าของจริง ให้ผวู้ า่ จ้างอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
กรรมวิธีในการติดตัง้
- ส่วนที่เป็ นพืน้ ให้ใช้ปนู ทราย
- ส่วนที่เป็ นผนังภายในขนาดสูงไม่เกิน 2.40 ม. ให้ใช้ปนู ทรายให้ผรู้ บั จ้างเสนอให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อน
การติดตัง้
- ส่วนที่เป็ นผนังภายนอกและผนังภายในที่สงู เกิน 2.40 ม. ต้องใช้หมุด หรือฉากสแตนเลสยึดกับหินด้วย
กาวอีพ๊อกซี และยึดติดส่วนที่เป็ นโครงสร้างด้วย EXPANSION BOLT ชนิดสแตนเเลส ขนาดของหมุดฉาก
และ EXPANSION BOLT ให้เสนอผูค้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อนการติดตัง้ รอยต่อของหินให้ยาแนวด้วย
SILICONE ชนิด NON STAINING กว้าง 6 มม. (ใช้ BACKER ROD รองก่อนการยาแนว) หรือตาม
สถาปนิกกาหนด
- ผูร้ บั จ้างต้องเสนอแบบการติดตัง้ การต่อลาย การเข้ามุม ให้ผคู้ วบคุมงานหรือผูว้ า่ จ้างอนุมตั ิ เมื่อปูแล้ว
เสร็จรอยต่อของแผ่นหิน ต้องไม่กระเดิด หรือ บิด โก่ง ถ้ารอยต่อไม่ดีผรู้ บั จ้างต้องนาเครื่องเข้าขัดให้ได้ระดับ
และลงเคลือบผิวใหม่โดยจะคิดราคาเพิ่มเติมไม่ได้
- ก่อนการบุหินแกรนิต , แผ่นหินแกรนิต ที่ได้ตดั เข้ารูปกับขนาดที่จะปู จะต้องได้รบั การเคลือบโดยรอบ
ทัง้ 6 ด้าน ด้วยนา้ ยาเคลือบผิวเพื่อป้องกันรอยชา้ นา้ และคราบขาวตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต/ผูจ้ าหน่าย
ผลิตภัณฑ์ดงั กล่าว
การทาความสะอาด
เมื่อทาการติดตัง้ บุผนังหรือปูพนื ้ แล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องขัดผิวตกแต่ง และทาความสะอาดผิวหน้าของหินแกรนิตให้
คงสภาพมันเงาตลอดเวลาจนกว่าจะรับมอบงาน ห้ามใช้เป็ นที่สญ
ั จรไปมา และจะต้องมีมาตรการในการป้องกันผิวของ
หินแกรนิต โดยการปูแผ่นไม้อดั หรือกระดาษอัดให้เต็มทั่วบริเวณ จนกว่าจะถึงวันส่งงาน

หมวดที่ 2 25/172 งานผนังบุหินแกรนิต


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนัง-บุกระเบือ้ ง

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์อ่นื ๆ ที่จาเป็ นในการปูกระเบือ้ ง ตามระบุในแบบรูปและรายกายรวมถึงการทา
ความสะอาดป้องกันมิให้ส่วนที่ทาการตกแต่งแล้วชารุดเสียหาย
วัสดุ
- กระเบื ้อ งเคลื อ บ เกรด A ขนาดและสี ต ามระบุ ใ นแบบก่ อ สร้า ง ผู้รับ จ้า งจะต้อ งจั ด ส่ ง ตั ว อย่ า งให้
ผูค้ วบคุมงาน อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งโมเสค เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงาน
อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งเซรามิค เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุม
งานอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งแกรนิต (Granito) เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้างผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง ให้ผู้
ควบคุมงานอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง กระเบือ้ งเคลือบ กระเบือ้ งโมเสค กระเบือ้ งเซรามิค และกระเบือ้ งแกรนิต (GRANITO)
ให้ผคู้ วบคุมงานคัดเลือกคุณภาพ และ สีก่อนจึงจะทาการสั่งซือ้ ได้
การบุ
- การปู
- การบุภายในอาคาร
ผูร้ บั จ้างจะต้องฉาบปูนทรายหยาบ อัตราส่วน 1: 2 ให้ได้ระดับเสียก่อน เมื่อผิวปูนฉาบเริ่ม SET ตัว ให้บุ
กระเบือ้ งได้เลย การบุให้บทุ ่ีละแผ่น แผ่นกระเบือ้ งจะต้องแน่น ไม่เป็ นโพรงเมื่อบุเสร็จเรียบร้อยแล้ว ใน
กรณีท่เี ป็ นโพรงจะต้องรือ้ ออกและทาการบุใหม่กระเบือ้ งที่บเุ สร็จแล้วจะต้องเรียบได้แนวและระดับส่วนที่
ชนกับผนังหรือขอบ ต่าง ๆ จะต้องตัดให้เรียบร้อยสม่าเสมอพืน้ ที่ท่บี กุ ระเบือ้ งแล้ว จะต้องทิง้ ให้แห้งโดย
ไม่ถกู กระทบกระเทือนเป็ นเวลา 48 ซม. จึงล้างทาความสะอาดและอุดรอยต่อของกระเบือ้ งด้วยวัสดุ
สาหรับยาแนวกระเบือ้ งชนิดสาเร็จรูปให้ใช้ยาแนวที่มีคณ ุ สมบัติดดู ซึม นา้ ต่าหรือผสมสารที่ช่วยป้องกัน
เชือ้ รา หรือตะไคร่นา้ หรือตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงาน
- การบุภายนอกอาคาร
ผูร้ บั จ้างจะต้องฉาบปูนทรายผนังที่จะบุกระเบือ้ งภายนอกอาคารเสร็จแล้วไม่ต่ากว่า 48 ชั่วโมง ทา
ความสะอาดผิวให้ปราศจากฝุ่ น นามัน สารอื่น ๆ การบุกระเบือ้ งให้ใช้สารสาหรับยึดแผ่นกระเบือ้ ง
โดยเฉพาะ การใช้ตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิต ภายใต้การควบคุมงานของผูค้ วบคุมงาน แล้วปล่อย
ทิง้ ไว้เป็ นเวลา 48 ชั่วโมง จึงล้างทาความสะอาด และอุดรอยต่อของกระเบือ้ งด้วยวัสดุสาหรับยาแนว
กระเบือ้ งชนิดสาเร็จรูป หรือตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงาน

หมวดที่ 2 26/172 งานผนังบุกระเบือ้ ง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ส่วนประกอบของกระเบือ้ ง
ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ กระเบือ้ งบัวคว่า บัวหงาย และหูชา้ ง ในส่วนที่ผนังบุกระเบือ้ งเคลือบชนกันเป็ นมุมฉาก หรือ
ส่วนของเคาน์เตอร์ หรือแท่นโถส้วมนั่งยอง ในทุก ๆ ตาแหน่ง
การทาความสะอาด
ภายหลังบุกระเบือ้ ง ปูกระเบือ้ งเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทาความสะอาดคราบปูนที่ติดบนแผ่นกระเบือ้ งให้หมดแล้ว
ขัดด้วย WAX 2 ครัง้

หมายเหตุ : การทาปูนทรายบนผนังส่วนที่บกุ ระเบือ้ งหรือโมเสคภายนอกอาคารให้ทาการกรุลวดตาข่ายขนาดตาราง


ประมาณ 1/2" x 1/2" ตลอดพืน้ ที่ก่อนฉาบปูน

หมวดที่ 2 27/172 งานผนังบุกระเบือ้ ง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนังตกแต่ง - โครงคร่าวไม้

1. ข้อกาหนดทั่วไป
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายพร้อมจัดหาวัสดุ แรงงานที่ชานาญงานโดยเฉพาะ และอุปกรณ์ท่ีจาเป็ นในการ
ทาผนังตกแต่งต่าง ๆ ของอาคารส่วนประกอบ หรือโครงสร้างตามที่ระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนาการติดตัง้ และ
ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้าของตนตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการเพื่อพิจารณาตรวจสอบ
1.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบโดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
1.3.1 แบบแปลน หรือรูปด้านของผนัง แสดงตาแหน่งของโครงเคร่าทุกจุด
1.3.2 แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ จุดจบ การชนมุมผนังของผนังตกแต่ง
1.3.3 แบบรายละเอียดการยึดยัน ห้อยแขวนกับโครงสร้างอาคาร หรือผนังส่วนต่าง ๆ
1.3.4 แบบขยายอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ นตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ อาทิ ตาแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบที่
เกี่ยวข้อง เช่น สวิทช์ ปลั๊ก หรือ ช่องซ่อมบารุงต่าง ๆ เป็ นต้น
1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบแบบก่อสร้างงานระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานผนัง
ตกแต่ง เพื่ อ เตรีย มโครงสร้างส าหรับ ระบบต่าง ๆ และประสานงานกับ งานส่ วนอื่ น ๆ ให้ท างานไปด้ว ยความ
เรียบร้อย
2. วิธีการดาเนินงาน/รายละเอียดวัสดุ
2.1 โครงเคร่าไม้
โครงภายในหรือส่วนที่มองไม่เห็นจากภายนอกให้ใช้ไม้ยางไทย หรือไม้ยมหิน อบและอาบนา้ ยากันปลวก CCA ของ
อ.อ.ป. (องค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้แห่งประเทศไทย) และต้องเป็ นไม้ท่ีอบแห้งสนิท ไม่ บิด งอ โค้ง หรือแตกร้าว
ขนาดไม้ 1 ” x 2 ” ตามที่ระบุในแบบ การติดตัง้ ให้ตีโครงคร่าวระยะ # @ 0.60 ม. x 0.60 ม.
2.2 กรุแผ่นยิปซั่มบอร์ด
2.2.1 การติดตัง้ แผ่นยิปซั่มบอร์ดจะต้องส่งหัวตะปูให้จมลงในแผ่น แล้วฉาบอุดรอยหัวตะปู ติดผ้าเทป ฉาบแนว
รอยต่อแผ่นให้เรียบร้อย ตกแต่งผิวตามรายการ
2.2.2 แผ่นยิปซั่มบอร์ด ให้ใช้ขนาด 1.20 x 2.40 ม. หนาไม่ต่ากว่า 12 มม. ขอบลาด มีคุณสมบัติตาม มอก. 219
ผลิตภัณฑ์ตราช้าง หรือตราบ้าน หรือเทียบเท่า พร้อมอุปกรณ์ประกอบสาหรับฉาบเรียบทัง้ หมด
2.3 กรุแผ่นMDF
2.3.1 การติดตัง้ แผ่น MDF Board ให้ยึดด้วยตะปูเกลียวยึดติดกับโครงคร่าวไม้ ระยะไม่เกิน 25 ซม. โดยขันส่งหัว
ตะปูเกลียวให้จมลงในแผ่นเล็กน้อย เมื่อกรุเสร็จเรียบร้อยให้ทาการอุดรอยหัวตะปูให้เรียบร้อยก่อนทาสีตาม
ตัวอย่าง
2.3.2 แผ่น MDF Board รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.3.3 แผ่น MDF Board ที่นามากรุตอ้ งไม่โค้งงอ หรือมีรอยชารุดเสียหาย
2.4 กรุไม้เนือ้ แข็ง
2.4.1 การติดตัง้ ไม้เนือ้ แข็ง ใช้ตะปูยึดติดกับโครงคร่าวไม้ ส่งหัวตะปูเข้าไปในเนือ้ ไม้ไม่ให้เห็นหัวตะปูจากภายนอก
อุด รอยตะปู ขัดแต่งผิวทาความสะอาดผิวไม้ให้เรียบร้อยก่อนทาสียอ้ มตามตัวอย่าง
2.4.2 ไม้จริง รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.4.3 ไม้จริงที่นามากรุจะต้องเป็ นไม้จริงเกรดเอ คัดลายคุณภาพได้มาตรฐาน มอก. 178-2519
หมวดที่ 2 28/172 งานผนังตกแต่ง-โครงคร่าวไม้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.5 กรุไม้อดั สัก


2.5.1 การติ ดตั้งแผ่นไม้อัดสัก ใช้ตะปูยึดติดกับโครงคร่าวไม้ ส่งหัวตะปูเข้าไปในเนื อ้ ไม้ไม่ให้เห็น หัวตะปูจาก
ภายนอก อุดรอยตะปู ขัดแต่งผิวทาความสะอาดผิวไม้ให้เรียบร้อยก่อนก่อนย้อมสีทบั หน้า ตามตัวอย่าง
2.5.2 แผ่นไม้อดั สักรายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.6 กรุไม้อดั ปิ ดผิววีเนียร์
2.6.1 การติดตัง้ แผ่นไม้อดั ปิ ดผิววีเนียร์ ใช้ตะปูยึดติดกับโครงคร่าวไม้ ส่งหัวตะปูเข้าไปในเนือ้ ไม้ไม่ให้เห็นหัวตะปู
จากภายนอก อุด รอยตะปู ขัด แต่ งผิ วท าความสะอาดผิ วไม้ให้ เรีย บร้อ ยก่ อนก่ อนย้อ มสี ทับ หน้า ตาม
ตัวอย่าง
2.6.2 แผ่นไม้อดั ปิ ดผิววีเนียร์ รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.6.3 แผ่นไม้อดั ปิ ดผิววีเนียร์ ต้องมีผิวเรียบตลอดทัง้ แผ่นไม่แตกลายงาไม่ว่าจะเป็ นบริเวณสันขอบมุมไม่ปิดโค้ง
งอ หรือมีรอยชารุดเสียหาย
2.7 กรุแผ่นพลาสติกลามิเนต
2.7.1 กรุไม้อดั ยางหนา 6 มม. หรือตามที่ระบุในแบบ.โดยใช้ตะปูเป็ นตัวยึด ส่งหัวตะปูให้จมลงไปในเนือ้ ไม้ แนว
รอยต่อแผ่นไม้อดั ยาง (ถ้ามี) จะต้องเรียบสนิท ปิ ดโครงเคร่าไม้ให้เรียบร้อย ผนังที่กรุไม้อดั แล้วจะต้องเรียบได้
ดิ่งตลอดแนว ก่อนกรุแผ่นพลาสติกลามิเนต ให้ทาความสะอาดผนังไม้อดั ให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผง และสิ่ง
สกปรกอื่น ๆ
2.7.2 การกรุให้ใช้กาวยางเป็ นตัวยึดเกาะ แผ่นพลาสติกลามิเนต ที่จะนามากรุตอ้ งตัดแต่งให้ได้ขนาด การติดให้
อัดติดแน่น อย่าให้มีฟองอากาศหรือเป็ นคลื่น หลังจากนัน้ ให้ทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อย
2.7.3 แผ่นพลาสติกลามิเนต รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.8 กรุแผ่นสแตนเลส
2.8.1 กรุไม้อดั ยางหนา 6 มม. หรือตามที่ระบุในแบบโดยใช้ตะปูเป็ นตัวยึด ส่งหัวตะปูให้จมลงไปในเนือ้ ไม้ แนว
รอยต่อแผ่นไม้อดั ยาง (ถ้ามี) จะต้องเรียบสนิท ปิ ดโครงเคร่าไม้ให้เรียบร้อย ผนังที่กรุไม้อดั แล้วจะต้องเรียบ
ได้ด่ิงตลอดแนว ก่อนกรุ แผ่นสแตนเลสให้ทาความสะอาดผนังไม้อัดให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผง และสิ่ง
สกปรกอื่น ๆ
2.8.2 การกรุ ให้ใช้กาวแดงเป็ นตัวยึดเกาะ เมื่อกรุ เสร็จแล้วผิวของแผ่นสแตนเลสจะต้องเรียบ ไม่มีรอยบุบใด ๆ
ทัง้ สิน้ หลังจากนัน้ ให้ทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อย
2.8.3 แผ่นสแตนเลสให้ใช้ความหนาไม่ต่ากว่า 1.2 มม. หรือ รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความหนา สี และลวดลาย
ตามที่ระบุในแบบ
2.9 กรุกระจกเงา
2.9.1 กรุ ไม้อัดยางหนา 6 มม.หรือตามที่ระบุในแบบโดยใช้ตะปูเป็ นตัวยึด ส่งหัวตะปูให้จมลงไปในเนือ้ ไม้แนว
รอยต่อแผ่นไม้อัดยาง (ถ้ามี) จะต้องเรียบสนิท ผนังที่กรุ ไม้อัดแล้วจะต้องเรียบได้ด่ิงตลอดแนว ก่อนกรุ
กระจกเงาให้ทาความสะอาดผนังไม้อดั ให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผง และสิ่งสกปรกอื่น ๆ
2.9.2 การติดตัง้ กระจกเงาให้ใช้กาว Epoxy ชนิดไม่ทาอันตรายต่อสารเคลือบกระจกเงาเป็ นตัวยึด เช่น ผลิตภัณฑ์
Tilement เมื่อติดตั้งกระจกเสร็จแล้วจะต้องทาความสะอาด และยาแนวในส่วนรอยต่อระหว่างวัสดุดว้ ย
ซิลิโคนตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิต หรือเทียบเท่าให้เรียบร้อยและจะต้องไม่มีรอยขูดขีด บิ่น หรือร้าว

หมวดที่ 2 29/172 งานผนังตกแต่ง-โครงคร่าวไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.9.3 กระจกเงาให้ใช้ความหนาไม่ต่ากว่า 6 มม. ผลิตภัณฑ์ของ บริษัทกระจกไทยอาซาฮี หรือคุณภาพเทียบเท่า


หรือรายละเอียด รูปแบบ ชนิด สี ความหนา และลวดลายตามที่ระบุในแบบ
2.10 กรุผา้ หรือหนัง
2.10.1 กรุไม้อดั ยางหนา 6 มม. หรือตามที่ระบุในแบบโดยใช้ตะปูเป็ นตัวยึด ส่งหัวตะปูให้จมลงไปในเนือ้ ไม้แนว
รอยต่อแผ่นไม้อดั ยาง (ถ้ามี) จะต้องเรียบสนิท ผนังที่กรุไม้อดั แล้วจะต้องเรียบได้ด่ิงตลอดแนว ก่อนกรุ
ผ้าให้ทาความสะอาดผนังไม้อดั ให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผง และสิ่งสกปรกอื่น ๆ
2.10.2 ให้บุฟองนา้ อย่างดีหนา 2 นิว้ หรือตามระบุในแบบบนไม้อดั ยาง 6 มม. แล้วหุม้ ด้วยผ้าด้ายดิบ หุม้ ผ้าบุ
ตามรายการ โดยจะต้องดึงให้เรียบตึงไม่มีรอยย่น ถ้าเป็ นผ้าที่มีลวดลายจะต้องต่อลวดลายผ้าแต่ละ
แผ่นให้ตอ่ เนื่องดูเป็ นผืนเดียวกัน
2.10.3 ก่อนทาการบุจริงต้องเสนอตัวอย่างผ้าให้ผอู้ อกแบบอนุมตั ิก่อน เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วจะต้องเคลือบผิวด้วย
นา้ รักษาเนือ้ ผ้าแล้วใช้พลาสติกปิ ดคลุมไว้จนกว่าจะส่งมอบงาน
2.10.4 ถ้ามีคราบสกปรก หรือรอยตาหนิเกิดขึน้ ก่อนการส่งมอบงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการเปลี่ยนผ้าบุใหม่ โดย
เป็ นค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างเองทัง้ สิน้
2.10.5 ผ้าบุรายละเอียด รูปแบบ ชนิด สี ความหนา และลวดลายตามที่ระบุในแบบ

หมวดที่ 2 30/172 งานผนังตกแต่ง-โครงคร่าวไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานผนังฉนวนกันความร้อน (PIR)

คุณสมบัติท่วั ไป
ระบบ Zip-Lock เทคโนโลยีประเทศเยอรมันนี หรือคุณภาพเทียบเท่า ที่ใช้เหล็กยาวถึง 9 cm. สาหรับระบบ lock
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพที่แข็งแรงมากยิ่งขึน้
ฉนวนไส้กลางเป็ นฉนวนป้องกันความร้อน Polyisocyanurate Foam (PIR) ความหนาแน่นเฉลี่ยของฉนวนไม่ต่า
กว่า 250 ปอนด์/ลบ.ฟ (40 กก./ลบ.ม) หรือคุณภาพเทียบเท่า ชนิดไม่เป็ นเชือ้ ไฟ ปลอดภัยในเรื่องของการลุกลามของไฟที่
ไหม้ สัมประสิทธิ์การนาความร้อน 0.0210 W/mk คา Index มากกว่า 300
ผิวเหล็ก เหล็กเคลือบสังกะสี (Z27) มวลชัน้ เคลือบรวมทัง้ 2 ด้านไม่ต่ากว่า 275 กรัมต่อตารางเมตร มาตรฐาน JIS
G3302 หรือ/และ เหล็กชุบสังกะสี ผสมแบบจุ่มร้อน (CRP Anti-Bacterial SD) เกรด G300 หรือคุณภาพเทียบเท่า เคลือบ
สังกะสีอลูมิเนียม ชนิดแผ่นลอน ความหนา ก่อนเคลือบ 0.40 มม. (BMT)

หมวดที่ 2 31/172 งานผนังฉนวนกันความร้อน (PIR)


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.2 งานพืน้

งานพืน้ - ปูกระเบือ้ ง
ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์อ่นื ๆ ที่จาเป็ นในการปูกระเบือ้ ง ตามระบุในแบบรูป และรายการรวมถึงการทา
ความสะอาดป้องกันมิให้ส่วน ที่ทาการตกแต่งแล้วชารุดเสียหาย
วัสดุ
- กระเบือ้ งเคลือบ เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงาน
อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งโมเสค เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงาน
อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งเซรามิค เกรด A ขนาดและสีตามระบุในแบบก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงาน
อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- กระเบือ้ งแกรนิต (Granito) เกรด A (เปอร์เซ็นต์การดูดซึมนา้ ไม่เกิน 0.5% ) ขนาดและสีตามระบุในแบบ
ก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างให้ผคู้ วบคุมงานอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง กระเบือ้ งเคลือบ กระเบือ้ งโมเสค กระเบือ้ งเซรามิค และกระเบือ้ งแกรนิต ให้ผคู้ วบคุมงาน
คัดเลือกคุณภาพและสีก่อนจึงจะทาการสั่งซือ้ ได้
การปู
ก่อนปู ผูร้ บั จ้างจะต้องทาระดับปูนทรายเสียก่อน การทาระดับจะต้องให้มีความลาดเอียงตาม ระบุในแบบปูนทราย
ที่ใช้ทาระดับ จะต้องมีส่วนผสมของซีเมนต์ 1 ส่วนต่อทรายหยาบ 2 ส่วน ภายหลังปูนเริ่ม SET ตัว ให้ปกู ระเบือ้ ง กระเบือ้ งที่
ใช้ปจู ะต้องแช่นา้ ให้อ่มิ ตัวเสียก่อน ปูนทรายที่ทาระดับ จะต้องหนาไม่นอ้ ยกว่า 2 ซม. ในกรณีท่เี ป็ นโพรงเคาะมีเสียง จะต้อง
ทาการรือ้ ออกและทาการปูใหม่ กระเบือ้ งที่ปเู สร็จแล้ว จะต้องเรียบได้แนวและระดับ และมีความลาดเอียงตามระบุไว้ในแบบ
กระเบือ้ งที่ชนกับผนัง ฝาครอบท่อระบายนา้ หรือขอบต่าง ๆ จะต้องตัดให้เรียบสม่าเสมอ พืน้ ที่ปเู รียบร้อยแล้วจะต้องทิง้ ให้
แห้ง โดยไม่ถกู กระทบกระเทือนหรือรับนา้ หนักเป็ นเวลา 48 ชั่วโมง จึงล้างทาความสะอาด และอุดรอยต่อของกระเบือ้ งด้วย
วัสดุสาหรับยาแนวกระเบือ้ งชนิดสาเร็จรูปหรือตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงาน
ส่วนประกอบของกระเบือ้ ง
ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ กระเบือ้ งบัวคว่า บัวหงาย และหูชา้ ง ในส่วนที่ผนังบุกระเบือ้ งเคลือบชนกัน เป็ นมุมฉากหรือส่วนของ
เคาน์เตอร์ หรือแท่นโถส้วมนั่งยอง ในทุก ๆ ตาแหน่ง
การทาความสะอาด
ภายหลังบุกระเบือ้ ง ปูกระเบือ้ งเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องทาความสะอาดคราบปูนที่ติดบนแผ่นกระเบือ้ งให้หมดแล้วขัดด้วย
WAX 2 ครัง้

หมายเหตุ : การทาปูนทรายบนผนังส่วนที่บกุ ระเบือ้ งหรือโมเสคภายนอกอาคาร ให้ทาการกรุลวดตาข่ายขนาดตาราง


ประมาณ 1" x 1" ตลอดพืน้ ที่ก่อนฉาบปูน

หมวดที่ 2 32/172 งานพืน้ ปูกระเบือ้ ง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานพืน้ ปูกระเบือ้ งไวนิล ( Vinyl Composition Tile) ชนิดแผ่น หรือชนิดม้วน

1. ขอบเขตของงาน
กระเบือ้ งยางชนิดแผ่นหรือชนิดม้วน ตามที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมทาแบบ SHOP
DRAWING รายละเอียดต่าง ๆ ในการติดตัง้ ตามแบบก่อสร้างและวัตถุประสงค์ของสถาปนิก เพื่อขออนุมตั ิและ
ตรวจสอบจากทาง
2. วัสดุ
2.1 กระเบือ้ งไวนิลที่ใช้ในการก่อสร้างอาคาร จะต้องเป็ นวัสดุใหม่อยู่ในหีบห่อเรียบร้อย จากบริษัทผูผ้ ลิต โดยมีฉลาก
แสดงชื่อผูผ้ ลิต ขนาด รุน่ สี อย่างชัดเจน ให้ใช้กระเบือ้ งไวนิลที่ไม่มีส่วนผสมของแอสเบสทอส (Non-Asbestos) หาก
ในกรณีท่ไี ม่ได้ระบุในแบบ ให้ใช้ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มม. แบบมีลวดลายทะลุแผ่น (Through – pattern) เป็ นเนือ้
เดียวกันตลอดความหนา โดยมีส่วนผสมของ แคลเซียมซิ -ลิเกต และ Limestone เป็ นส่วนผสมเพื่อลดปั ญหาการยืด
หดตัวของเนือ้ กระเบือ้ ง (VINYL COMPOSITION TILE) และ สามารถดูดซับเสียงได้ ไม่นอ้ ยกว่า 2 เดซิเบล เฉดสี และ
ลายสถาปนิกกาหนดขณะก่อสร้าง
2.2 กาวติดกระเบือ้ งยางจะต้องทนต่อความชืน้ ได้หลังจากการติดตัง้ กระเบือ้ งยางแล้วเป็ นกาวประเภท Water Base ที่
ไม่มีส่วนผสมของสารทาลายประเภททินเนอร์ มีคา่ ph.6.5-7.5 เมื่อแห้งแล้วใส ไม่มีส่วนผสมของแป้ง ตามคาแนะนา
ของบริษัทผลิตกระเบือ้ งยาง หรือตามสถาปนิกกาหนด และต้องได้อนุมตั ิจากสถาปนิกก่อนนาไปใช้
2.3 บัวเชิงผนัง หากไม่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น บัวเชิงผนังจะต้องเป็ นวัสดุ P.V.C. หนาไม่นอ้ ยกว่า 1.5 มม. สูง 10 ซม.
ลวดลาย และเฉดสี สถาปนิกกาหนดขณะก่อสร้าง
3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุท่จี ะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้สถาปนิกเห็นชอบก่อน จึงจะนาไปใช้
งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่จาเป็ นต้องใช้ดว้ ย เช่น ขอบคิว้ หรือมุมต่าง ๆ เป็ นต้น
4. การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างต้องส่งแบบการติดตัง้ แนวปูกระเบือ้ งและทา Pattern เศษสูญเสีย จัดหาช่างฝี มือที่ดี มีความชานาญในการปู
โดยการปูตามแนวราบ แนวตัง้ และแนวนอน จะต้องได้ฉากแนวระดับเท่ากันสม่าเสมอหรือลวดลายตามที่สถาปนิก
กาหนดให้ดว้ ยความประณีตเรียบร้อย
4.1 การเตรียมพืน้ ผิว
ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งแบบ (Show Drawing) การติดตัง้ แนวปูกระเบือ้ งเพื่อขออนุมตั ิก่อนปูและ จัดหาช่างฝี มือดีท่ีมี
ความชานาญในการปู
4.1.1 พืน้ คอนกรีต
พืน้ ที่จะติดตัง้ ด้วยกระเบือ้ งยางชนิดแผ่น จะต้องเป็ นพืน้ ที่ได้ระดับและผิวขัดมัน เรียบ ผิวของ พืน้ ที่จะปู
จะต้องไม่เป็ นคลื่นโดยเด็ดขาดและปราศจากเศษปูน นา้ มัน เศษฝุ่ น ต่าง ๆ ตลอดจนไม่มีปัญหาเรื่อง
ความชืน้
4.1.2 พืน้ ไม้
จะต้องเป็ นพืน้ ที่เรียบ รอยต่อต้องสนิท และสม่าเสมอกันต้องสะอาดปราศจากความชืน้ แห้งสนิท ไม่มี
ปั ญหาเรื่องการหลุดร่อน
4.1.3 ในกรณีท่พี นื ้ ไม่เรียบจะต้องทาการปรับพืน้ ด้วยปูนปรับระดับ

หมวดที่ 2 33/172 งานพืน้ ปูกระเบือ้ งไวนิลชนิดแผ่น


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

4.2 การปรับพืน้ ด้วยปูนปรับระดับ


4.2.1 วัสดุจะต้องมีคา่ Compressive Strength ที่ 28วัน ไม่ต่ากว่า 30 N/mm2 ตามมาตรฐาน DIN1164
4.2.2 ปูนปรับระดับ1ถุง (25kg) ทางานได้ไม่ต่ากว่า 5.55 ตร.ม. ที่ความหนา 3 มม.
4.2.3 ให้ใช้ ปูนปรับระดับให้เรียบร้อยก่อนทาการปู
4.2.4 รองพืน้ ด้วยนา้ ยาประสานคอนกรีต ชนิด Acrylic Latex Bonding Agent ที่มีปริมาณเนือ้ สาร 46±2%
4.2.5 ผสมปูนปรับระดับ 25 กิโลกรัม : นา้ 6 ลิตร ปั่ นให้เข้ากันด้วยสว่าน ที่ความเร็ว 750 รอบ/นาที
4.2.6 เทส่วนผสมลงบนพืน้ แล้วใช้เกรียงขัดมันปาดเพื่อให้ Self-Leveling กระจายตัวอย่าง สม่าเสมอ แล้วกลิง้
ทับด้วยลูกกลิง้ หนามเพื่อไล่ฟองอากาศ
4.2.7 ทิง้ ไว้ 24 ชั่วโมงจึงสามารถติดตัง้ กระเบือ้ งยางได้
4.3 การติดตัง้ กระเบือ้ งยาง จะต้องติดตัง้ ภายหลังงานอื่นที่อาจจะมีผลเสียหายต่อกระเบือ้ งยาง ผูร้ บั จ้างควรจะ
จัดเตรียมกระเบือ้ งยางสารองให้แก่เจ้าของงานทุกสีและลวดลายของการใช้ในอัตราส่วน 1% ของปริมาณกระเบือ้ ง
ยางที่ติดตัง้
4.3.1 กาวที่ใช้ในการติดตัง้ กระเบือ้ งยางจะต้องทนความชืน้ ได้หลังการติดตัง้ แล้วเสร็จ ซึง่ เป็ น กาว Water Base
กลุม่ อะคริลิค ไม่มีส่วนผสมของสารทาลายประเภททินเนอร์ มีค่า ph 6.5-7.5 เมื่อแห้งแล้วต้องใส และ
จะต้องได้รบั การอนุมตั ิจากสถาปนิกก่อน
4.3.2 การทาจะต้องจัดหาเกรียงปาดกาวที่ได้มาตรฐาน ร่องฟั นเกรียงต้องเป็ นไปตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
4.3.3 จะต้องทาความสะอาดพืน้ ผิวด้วยการกวาดและเช็ดผิวพืน้ ด้วยนา้ รอจนแห้งและมั่นใจ ว่าสะอาดก่อนการ
ปาดกาว ระยะเวลาที่ยอมให้ปกู ระเบือ้ ง จะต้องแห้ง ตามเวลาที่ผูผ้ ลิต กาหนด คือไม่เกิน 30 นาที
ก่อนปู หากกาวไม่แห้งตามกาหนดให้แจ้งผูค้ วบคุมงานเพราะสันนิษฐานว่าพืน้ มีความชืน้
4.3.4 การปูผรู้ บั จ้างจะต้องปูตามแนวที่กาหนดในแบบก่อสร้าง หรือตามอนุมตั ิใน SHOP DRAWING ทัง้ นี ้ การปู
จะต้องชิดสนิทกัน และทาการเชี่อมรอยต่อด้วยเส้น PVC ที่ใช้ กรรมวิธีเชื่อมร้อน
4.3.5 การปูจะต้องมีอปุ กรณ์ ลูกกลิง้ นา้ หนักประมาณ 50 กิโลกรัม บดทับกลิง้ ทันที หลังปู และลงกาวใหม่ ๆ
ภายใน 1 ชั่วโมง เพื่อไม่ให้เกิดรอยฟั นเกียง และให้กระเบือ้ งยางติดกับพืน้
4.4 การจัดหาวัสดุและช่างติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุจากโรงงานผูผ้ ลิตหรือตัวแทนผูน้ าเข้า เท่านัน้ และ
ประกอบธุรกิจ หรือเป็ นตัวแทนจาหน่าย และไม่ เคยเป็ นผูล้ ะทิง้ งาน หรือถูกเพิกถอนจากหน่วยงานของผูว้ า่ จ้าง
4.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหารายชื่อหน่วยงาน หรือผลงานพร้อมรูปถ่ายจากหน่วยงานประเภทเดียวกันกับผูว้ า่ จ้างเพื่อ
ใช้ประกอบพิจารณาในการว่าจ้าง
5. การป้ องกันพืน้ ผิวหลังการติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาด ด้วยนา้ ยาทาความสะอาดกระเบือ้ งยางหลังการติดตัง้ ทันที ผิวบนของกระเบือ้ งยาง
จะต้องปราศจากคราบของกาวที่ซมึ ขึน้ มา ไม่มีรอยร้าวแตกบิ่นหรือมีตาหนิหลุดล่อนใด ๆ ทาเคลือบด้วย Wax ที่มี
Solid Content ประมาณ 23% จานวน 1 เที่ยว ให้ใช้ เทียบเท่า Wax Imagine ของวิสแพค หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. การทาความสะอาดหลังการติดตัง้ เพือ่ ส่งมอบพืน้ ที่
6.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมอุปกรณ์ และเครื่องมือ ได้แก่ ไม้กวาด ไม้ม็อบเก็บฝุ่ น รวมถึงผ้าม็อบ ถังบีบม็อบ
เครื่องขัดพืน้ เกรียง ป้ายเตือน และผลิตภัณฑ์ลา้ งลอกแว็กซ์ให้เรียบร้อย
6.2 ทาการลอก Wax ที่เคลือบผิวหลังการติดตัง้ เพื่อกันฝุ่ นออกด้วยนา้ ยา Stripper (นา้ ยาลอก Wax) ตาม
มาตรฐานการทาความสะอาดพืน้ กระเบือ้ งยาง

หมวดที่ 2 34/172 งานพืน้ ปูกระเบือ้ งไวนิลชนิดแผ่น


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

6.3 หลังจากนัน้ รองพืน้ ด้วย Sealer (นา้ ยารองพืน้ ก่อนการเคลือบเงา) โดยไม่ตอ้ งผสมนา้ โดยกวาดม็อบเป็ นรูป
เลขแปดแนวนอน  ขณะกวาดม็อบ โดยกวาดทับแนวเดิมครึง่ หนึ่งออกมาจากด้านใน
6.4 ทิง้ นา้ ยาไว้ 30 นาที (ในสภาพอากาศถ่ายเทได้ดี) แล้วลง Wax ที่มี Solid Content 23% ไม่นอ้ ยกว่า 3 เที่ยว
โดยทิง้ ระยะเวลาให้ Wax ที่ลงแต่ละครัง้ แห้งสนิท
7. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องออกหนังสือรับประกันวัสดุและรับประกันการติดตัง้ คุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ จากผูผ้ ลิต หรือตัวแทน
ผูน้ าเข้าในประเทศไทย เป็ นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี หลังจากการติดตัง้ แล้วต้องแข็งแรงมั่นคงปราศจากตาหนิตา่ ง ๆ
หากเกิดตาหนิต่าง ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลี่ยนให้ใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไขให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของ
สถาปนิกโดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 35/172 งานพืน้ ปูกระเบือ้ งไวนิลชนิดแผ่น


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานพืน้ ผิวซีเมนต์ขัดมัน/ขัดมันผสมสี

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูจ้ ดั หา วัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ในการก่อสร้างซีเมนต์ขดั มัน/ขัดมันผสมสี
วัสดุ
- ปูนซีเมนต์ให้ใช้ปนู ซีเมนต์ขาว มอก.133-2518 ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า ปูนซีเมนต์ตราเสือ ของบริษัท
ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) หรือ ตรานกอินทรีย ์ ของบริษัท นครหลวง จากัด (มหาชน) หรือตรางูเห่า
ของบริษัทชลประทานซีเมนต์ จากัด (มหาชน) หรือ ตรา ทีพีไอ ของบริษัท ทีพีไอ โพลีน จากัด (มหาชน)
- สี ใช้สีฝนุ่ ผสมสีอย่างดี ผสมไม่เกิน 8% โดยปริมาตร
- ผูร้ บั จ้างจะต้องทาแผ่นตัวอย่างการทาผิวขัดมันขนาด 1 ตารางฟุต ให้สถาปนิกตรวจสอบก่อนลงมือทางาน
กรรมวิธีทา
พืน้ ที่ท่จี ะทาผิวซีเมนต์ขดั มันจะต้องปรับผิวให้เรียบร้อยด้วยปูนทรายส่วนผสมปูน 1 ส่วนต่อทราย 3 ส่วน แล้วขัดผิวให้มนั
เรียบด้วยปูนซีเมนต์ดงั กล่าวข้างต้น ในกรณีท่ีระบุให้เป็ นผิวซีเมนต์ขดั มันผสมสี ให้ผสมสีฝนุ่ ลงขณะผสมซีเมนต์ซง่ึ จะต้องทา
ตัวอย่างให้สถาปนิกเห็นชอบเสียก่อน
การทาความสะอาด
ภายหลังจากขัดมันพืน้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จะต้องป้องกันคน สัตว์ หรือสิ่งอื่น ๆ ที่จะทาให้ผิวขัดมันสกปรก หรือเสียหาย
จนกว่าจะแห้งสนิทและหลังจากแห้งสนิทแล้วจะต้องทาความสะอาดฝุ่ นละออง ด้วยนา้ สะอาดแล้วทิง้ ให้แห้ง

หมวดที่ 2 36/172 งานพืน้ ผิวซีเมนต์ขดั มัน/ขัดมันผสมสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานหินขัด ( Terrazzo )

วัสดุ
- ปูนซีเมนต์ขาว ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 ตราช้างเผือก
- หินเกล็ดขนาดต่าง ๆ
- สีฝนุ่ (ถ้ามี)
วิธีการทางาน
การเตรียมพืน้ ที่
- สกัดพืน้ เดิมให้มีผิวขรุขระ เพิ่มพืน้ ที่ในการยึดเกาะกับปูนทราย
- วางเส้นแบ่งกัน้ พืน้ ที่โดยระยะห่างที่สดุ ไม่เกิน 2.5 เมตร วางแนวหลังเส้นให้ได้ระดับที่ตอ้ งการ ยึดด้วยปูนทราย
อัตราส่วน 1 : 1 ทิง้ ไว้ให้แห้งอย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนการเทปรับพืน้
- ทาการเทปรับพืน้ ด้วยปูนทรายอัตราส่วน 1 : 3 ให้ต่ากว่าเส้นแบ่งกัน้ พืน้ ที่ประมาณ 1.5–2 เซนติเมตร แล้วทาการขูด
หน้าลายด้วยไม้กวาดทางมะพร้าวให้มีผิวหยาบ เพื่อการยึดเกาะที่ดีขนึ ้ อาจใช้กาวซีเมนต์ฉาบด้วยเกรียงหวีขนาด
ร่อง 5 มิลลิเมตร หลังจากนัน้ ทิง้ ไว้ให้ปนู แห้งตัวอย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนการเทผิวหน้า
การเทผิวหน้า
- ผสมปูนซีเมนต์ขาวปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 ตราช้างเผือก กับสีฝนุ่ ตามต้องการ ผสมให้เข้ากัน แล้วจึงผสมหินเกล็ด
ในอัตราส่วน 1 : 4 เติมนา้ ผสมให้เข้ากันและได้ความข้นเหลวเหมาะสาหรับการเท (อาจระบุให้ผสมนา้ ยาช่วย
ประสาน เช่น FAC77 หรือของ Sika ตามความเหมาะสม)
- นาส่วนผสมต่าง ๆ เทลงบนพืน้ ปาดแต่งด้วยสามเหลี่ยมและเกรียงจนได้ระดับสูงกว่าเส้นแบ่งกัน้ พืน้ ที่ ประมาณ 1
มิลลิเมตรทิง้ ไว้ให้ปนู แห้งตัวประมาณ 7 วัน ก่อนการขัด ในระหว่าง 7 วัน ให้ทาการบ่มด้วยนา้ สะอาด
- ทาการขัดด้วยหินขัดเบอร์ 30, 60 ตามลาดับ หลังจากนัน้ ทาการฉาบปิ ดรอยฟองอากาศแล้วทิง้ ไว้ 7 วัน ก่อนการขัด
ครัง้ ที่ 2
- ทาการขัดครัง้ ที่ 2 ด้วยหินขัดละเอียด (หินเขียว) และหินลื่นตามลาดับ
- ล้างคราบนา้ ปูนด้วยเงาซัว และทิง้ ไห้พนื ้ แห้งสนิทก่อนการลงนา้ มันเคลือบผิว
- ลงนา้ มันเคลือบผิว (WAX) ปั่ นด้วยใยมะพร้าวและผ้านุ่มตามลาดับ
- อาจทานา้ ยาเคลือบผิวประเภท Stone Coat ได้
การบารุ งรักษา
- ควรทาความสะอาดด้วยสารเคมีท่มี ีฤทธิ์เป็ นด่าง เช่น นา้ สบู่ ,ผงซักฟอก เป็ นต้น เป็ นประจาทุกสัปดาห์
- ควรลงนา้ มันเคลือบผิว (WAX) อย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ เพื่อความมันเงาสวยงาม
- ถ้าพืน้ มีคราบฝังแน่นจากการใช้งานเป็ นเวลานาน สามารถขัดลอกผิวหน้าใหม่ได้

หมวดที่ 2 37/172 งานหินขัด ( Terrazzo )


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานพืน้ กรวดล้าง
ขอบเขตของาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหา วัสดุ อุปกรณ์ และแรงงานที่จาเป็ นในการก่อสร้างงานกรวดล้าง ตามที่ระบุในแบบรูป
รายการทั่วไป
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเตรียมงานล่วงหน้า ให้มีระยะเวลาจัดทาที่เหมาะสม ระหว่างการจัดทางานกรวดล้าง จะต้อง
ป้องกันและระมัดระวังมิให้เปรอะเปื ้อนผนัง และส่วนของอาคารอื่น ๆ ตลอดจนการทาให้ ท่อรางนา้ ทางระบายนา้
ต่าง ๆ อุดตัน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาแผ่นตัวอย่างขนาด 1 ตารางฟุต กรวดล้าง ให้สถาปนิกอนุมตั ิก่อนดาเนินการ
- ในกรณีท่เี กิดมีรอยด่าง แตกร้าว หรือเม็ดหิน-ทรายกระจายตัวไม่สม่าเสมอกัน ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขโดยทุบออกและ
ทาให้ใหม่ทงั้ ช่อง
วัสดุ
- กรวด
ใช้กรวดทะเล หรือระบุเป็ นอย่างอื่น หรือได้รบั อนุมตั ิจากสถาปนิก เม็ดกรวดจะต้องมีขนาดเท่ากัน โดยผ่านตะแกรง
ร่อน กรวดจะต้องเป็ นกรวดคัด สีเทา เม็ดกลมไม่มีเหลี่ยม ไม่มีเปลือกหอยหรือเศษวัสดุ อื่น เจือปน
- ปูนซีเมนต์
ใช้ปนู ซีเมนต์ขาวเทียบเท่า ตรากิเลน หรือตราช้างเผือก สาหรับงานหินล้าง และปูนซีเมนต์เทียบเท่า ตราเสือ หรือ
ตรานกอินทรีย ์ หรือ ตรางูเห่า ตราทีพีไอ สาหรับงานกรวดล้าง
- สีผสม
ต้องใช้สีฝนุ่ สาหรับผสมกับปูนซีเมนต์ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาตามตัวอย่างกรวดล้าง ที่ได้รบั อนุมตั ิ การผสมสีตอ้ งชั่ง
หรือตวงทุกครัง้
- การแบ่งช่อง
งานกรวดล้าง ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผูค้ วบคุมงาน หรือที่ระบุในแบบรูปถ้าไม่ได้ระบุให้ใช้ PVC แบ่งแนวรูปคาง
หมู ขนาด 0.5 x 1 ซม. เป็ นเส้นแบ่งแนวจานวนตาราง ให้ส่ง SHOP DRAWING ก่อนทางาน
กรรมวิธีการทา
- ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดพืน้ ผิว บริเวณที่จะทากรวดล้าง ให้เรียบร้อยปราศจากเศษปูน ฝุ่ นละออง
- จัดวางแนวเส้นแบ่งขนาดช่องด้วยไม้ ขนาดตามที่ได้รบั อนุญาต พร้อมจัดทาปุ่ มระดับทั่วบริเวณทิง้ ไว้ให้แห้ง
1 วัน เป็ นอย่างน้อย
- ก่อนฉาบผิว หรือเทผิว ผูร้ บั จ้างจะต้องรดนา้ ทั่วบริเวณให้ช่มุ แล้วสลัด หรือเทด้วยนา้ ปูนซีเมนต์ประสานก่อน จึงฉาบ
หรือเทผิว
- ปรับระดับผิวหน้าให้ได้ระดับทั่วบริเวณ แล้วปล่อยทิง้ ไว้ให้ปนู เริ่มแข็งตัว ใช้แปรงขนอ่อนชุบนา้ หมาด ๆ ในการทาผิว
กรวดล้าง
- การทา ให้ทาทีละช่องพอเหมาะกับเวลา และคนงานช่างฝี มือ เม็ดกรวด หรือหินต้องแน่นสม่าเสมอกันตลอด
- การล้างต้องล้างผิวให้เกลีย้ งจนเม็ดกรวด หรือหินใสสะอาดไม่มีฝา้ นา้ ปูนจับ
การบารุ งรักษา
ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้คนหรือสิ่งอื่น ๆ เข้าไปในบริเวณ อันอาจจะก่อผลเสียหายเกิดขึน้ แก่งานได้ หลังจาก
ผิวแห้งสนิทแล้ว หากเกิดการชารุดเสียหายขึน้ จาก กรณีใด ๆ ก็ตาม ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการซ่อมแซม หรือจัดทาให้ใหม่
โดยค่าใช้จ่าย ทัง้ หมดเป็ นของผูร้ บั จ้าง
หมวดที่ 2 38/172 งานพืน้ กรวดล้าง
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานพืน้ ไม้ WOOD FLOORING WORK

1.ข้อกาหนดทั่วไป
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนาการติดตัง้
และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้าของตนตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการเพื่อพิจารณาตรวจสอบ
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการวัดและตรวจสอบสถานที่จริงบริเวณที่จะติดตัง้ พืน้ ไม้ก่อน เพื่อความถูกต้องของขนาดและ
ระยะตามความเป็ นจริง
1.3 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบโดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
1.3.1 แปลน ของการปูไม้ทงั้ หมด ลายหรือรอยต่อของแผ่นไม้เมื่อปูเสร็จแล้วทัง้ หมด ระบุสีของไม้แต่ละสี หรือ
ชนิดให้ชดั เจน
1.3.2 แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ จุดจบ และ/หรือ แนวบรรจบของวัสดุใกล้เคียง, ตาแหน่งของ
รอยต่อ อุปกรณ์ประกอบในการติดตัง้ และ เศษของไม้ทกุ ส่วน
1.3.3 แบบขยายอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ นตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ อาทิ ตาแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบที่
เกี่ยวข้อง เช่น ช่องซ่อมบารุง ต่าง ๆ เป็ นต้น
1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุแรงงานและอุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่จาเป็ นในการบุ ปูพืน้ ไม้ ตามระบุในแบบรู ปและรายการ
รวมถึงการทาความสะอาดป้องกันมิให้ส่วนที่ทาการตกแต่งแล้วชารุดเสียหาย
1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างไม้ตามชนิด สี และลายที่กาหนด ติดบนไม้อดั ขนาด 1.00 x 1.00 ม. ซึ่งแสดงให้เห็น
ถึงชนิด ลวดลาย และผิวสีของไม้ท่ีจะใช้ รวมทัง้ อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องรวมทัง้ กาวติดไม้และนา้ ยาเคลือบผิวไม่
น้อยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้ผูผ้ คู้ วบคุมงานและออกแบบเพื่อขออนุมัติและตรวจสอบจากทางของผูอ้ อกแบบ
ก่อนจึงจะทาการสั่งซือ้ และนาไปใช้งานได้ ตัวอย่างดังกล่าวให้รวมถึงวัสดุประกอบอย่างอื่นที่ จาเป็ นต้องใช้ดว้ ย
เช่น ขอบคิว้ หรือมุมต่าง ๆ เป็ นต้น
2. วิธีการดาเนินงาน
2.1 การเตรียมผิว
2.1.1. ทาความสะอาดพืน้ ผิวให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผงคราบไขมัน และสกัดเศษปูนทรายที่เกาะอยู่ออกให้หมด
ล้างทาความสะอาดด้วยนา้
2.1.2 เทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพืน้ เพื่อปรับระดับให้ได้ด่ิง ได้ฉาก ได้แนว และปาดผิวให้เรียบสนิท ไม่มีคลื่น
ก่อนการใช้กาว และถ้าเป็ นพืน้ ไม้ให้ตรวจสอบความแข็งแรงและความเรียบของพืน้ ถ้าไม้หลุดหรืองอให้ยา้
ด้วยตะปู และขัดให้เรียบ
2.1.3 หลังจากเทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพืน้ แล้ว 24 ชั่วโมง ให้ทาการบ่มตลอด 3 วัน ทิง้ ไว้ให้แห้งสนิทอย่าง
น้อย 15 วัน และปราศจากความชืน้ แล้วจึงเริ่มดาเนินการปูไม้
2.1.4 การตรวจสอบความชืน้ ของพืน้ โดยใช้เครื่องมือวัดความชืน้ หรือตรวจสอบโดยใช้พลาสติกแผ่นบาง ๆ
ชนิดใสคลุมบนพืน้ ที่ท่ีจะทาการติดตัง้ และติดเทปที่ขอบของพลาสติกกับพืน้ ที่เดิม โดยไม่ให้อากาศรั่วเข้า
ออกได้ และปล่อยทิง้ ไว้ในระยะพอสมควร ถ้าปรากฏว่ามีหยดนา้ เกาะอยู่ท่ใี ต้แผ่นพลาสติกแสดงว่าพืน้ ยัง
เปี ยกเกินไป ให้รอจนพืน้ แห้งสนิทก่อนที่จะทาการปูไม้
2.1.5 ปูดว้ ยแผ่น Closed-Cell Polyethelene Sheet เต็มตลอดพืน้ ที่ ที่จุดซ้อน ให้มีการซ้อนบริเวณขอบอย่าง
น้อย 200 มม. รอยต่อแผ่นปิ ดด้วย Closed-Cell Polyethelene Self-Adhesive ให้เรียบร้อย ที่บริเวณขอบ
ของผนังให้พบั แผ่นขึน้ ตามแนวขอบของผนังสูงประมาณ 50 มม. ตลอดแนวและซ่อนใต้ควิ ้ หรือผนังบัว
หมวดที่ 2 39/172 งานพืน้ ไม้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.1.6 ก่อนดาเนินการปูไม้ ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดเรียงแผ่นไม้ท่ีจะปูในบริเวณนัน้ ๆ เพื่อให้สถาปนิกและผูค้ วบคุม


งาน ได้พิจารณาคัดเลือกสีไม้และลายไม้ ก่อนดาเนินการติดตัง้ แผ่นไม้ทุกแผ่นจะต้องไสเรียบและเป็ น
แนวตรงไม่บิดงอ หรือโก่ง ไม่มีตาไม้
2.2 การปูไม้
2.2.1 ทาการหาแนวการปู และเศษแผ่นตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน หรือตามที่ระบุไว้ในแบบ
2.2.2 ทาการหาแนวไม้ กาหนดจานวนแผ่น และเศษแผ่นตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน
2.2.3 เศษของแผ่นไม้จะต้องเหลือให้เท่า ๆ กันทั้ง 2 ด้านของพืน้ เว้นแต่จะระบุไว้เป็ นอย่างอื่น การเข้ามุมไม้
จะต้องดาเนินการตามรายละเอียดที่ระบุในแบบก่อสร้างเว้นแต่ในแบบไม่ได้ ระบุไว้ ให้ใช้วิธีตดั ขอบ 45
องศาเข้ามุม ให้ผรู้ บั จ้างนาเสนอ Shop Drawing ให้สถาปนิกพิจารณาอนุมตั ิก่อนดาเนินการ
2.2.4 พืน้ ไม้ปเู ข้าลิน้ ชนชิด
ให้ใช้วิธีวางตงไม้เนือ้ แข็งขนาด 1 1/2” x 3” อบหรือทานา้ ยากันปลวก @ 500 มม. ยึดกับพืน้ โครงสร้าง
โดยปรับให้ได้ระดับหลังตงเรียบเสมอกัน และเทปูนทรายปรับระดับ ทาผิว ขัดมันเสมอผิวตงไม้ แล้วจึง
ดาเนินการปูพืน้ ไม้ โดยยึดกับตงที่วางไว้ ตงไม้เนือ้ แข็งที่ใช้จะต้องเป็ นไม้ใหม่ ห้ามใช้ไม้ท่ีเคยใช้ทาไม้แบบ
โครงสร้าง โดยเด็ดขาด
2.2.5 พืน้ ไม้ปเู ว้นร่อง
ให้ใช้วิธีวางตงไม้เนือ้ แข็งขนาด1 1/2” x 3” อบหรือทานา้ ยากันปลวก @ 500 มม. ยึดกับลูกปูนหรือฐาน
ปูนที่หนุนลอยเหนือพืน้ โครงสร้าง และเทปูนทรายปรับระดับเอียงลาดตามแบบ ทาผิวขัดมัน โดยให้ได้
ระดับท้องตงลอยเหนือผิวปูนทรายอย่างน้อย 50 มม. แล้วจึงดาเนินการปูพนื ้ ไม้โดยยึดกับตงที่วางไว้
2.2.6 พืน้ ไม้ปาร์เก้
ให้ใช้วิธีเทปูนทรายปรับระดับ ทาผิวขัดมัน แล้วจึงดาเนินการปูพนื ้ ไม้ดว้ ยกาวโพลียรู เี ทน
2.2.7 พืน้ ไม้สาเร็จรูป
ให้ใช้วิธีเทปูนทรายปรับระดับ ทาผิวขัดมัน หรือเทปูนทรายปรับระดับ ทาผิวขัดมันและปูทบั ด้วยไม้อดั ยาง
หนา 10 มม. ชนิดใช้ภายนอก แผ่นไม้อดั ที่ปแู ต่ละแผ่นให้เว้นระหว่างแผ่นห่าง 5 มม. และยึดแผ่นไม้อดั กับ
พืน้ ผิวเดิมด้วยตะปูเป็ นระยะ 60 ซม. ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนปรับระดับให้เรียบเสมอกัน ตามแต่ระบุใน
แบบ แล้วจึงดาเนินการปูพนื ้ ไม้ดว้ ยกาวโพลียรู เี ทน หรือปูดว้ ยระบบลิน้ ล็อคตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
2.2.8 ติดตัง้ พืน้ ไม้ขนาดตามแบบ เข้าลิน้ ยึดติดกับคร่าวไม้ดว้ ยตะปู ซ่อนหัวตะปูไว้ท่รี างลิน้ แนวระหว่างแผ่นทุก
แผ่น จะต้องอัด ให้ส นิ ท ด้วยแม่ แ รงอัด พื น้ รอยต่อ ของแผ่น ไม้จะต้องสลับ กัน และมี ค ร่าวรองรับ เสมอ
บริเวณพืน้ ไม้ท่ชี นผนังให้เว้นร่องไว้ประมาณ 8 มิลลิเมตร
2.2.9 การปูแผ่นไม้ปาร์เก้ให้เริ่ มต้นปูจากผนังด้านที่ เรียบ โดยหันร่องในแผ่นไม้เข้าหาผนัง และให้เว้นระยะ
ช่องว่างระหว่างไม้กับผนังห้อง ขนาดที่เหมาะสมโดยการใช้ลิ่มไม้ เพื่อเว้นระยะและให้เริ่มแถวที่เหลือ
ต่อไป โดยแนวขอบของไม้ตอ้ งติดด้วยกาวตลอดแนวในร่องของไม้ และให้ตอกไม้ปาร์เก้ให้เข้าในแนวที่
กาหนด โดยใช้ไม้ยาวประมาณ 600 มม. โดยการตอกเบา ๆ ถ้ามี กาวถูกบีบออกมาบนผิวไม้ให้ใช้ผ้า
หมาด ๆ เช็ดออกทันที
2.2.10 การปูแผ่นไม้ปาร์เก้ จะต้องปูตามแนวที่กาหนดไว้ในแบบก่อสร้าง หรือตามอนุมตั ิใน Shop Drawing หรือ
ตามที่ผอู้ อกแบบกาหนดให้ ทัง้ นีก้ ารปูจะต้องชิดสนิทกันและได้ฉากขอบหรือรอยต่อของไม้จะต้องเรียบ

หมวดที่ 2 40/172 งานพืน้ ไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

สนิท มีช่องว่างได้ไม่เกิน 1 มิลลิเมตร ยกเว้นในกรณี ท่ีระบุเป็ นพืน้ ไม้ตีเว้นร่อง จะต้องได้ขนาดของร่อง


ตามที่ระบุในแบบ และมีขนาดเท่ากันโดยตลอด
2.2.11 หากไม่มีระบุเป็ นอย่างอื่น การใช้แผ่นไม้บนั ไดจะต้องเป็ นแผ่นเดียวตลอดไร้รอยต่อ ความหนาของลูก
นอนไม่ต่ากว่า 2 นิว้ และโค้งมนบริเวณจมูกบันไดให้เรียบร้อย ความหนาลูกตัง้ ตามแบบ คุณสมบัติของ
ไม้และการติดตัง้ ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในหมวดงานไม้
2.2.12 ราวบันไดไม้ ต้องไสปรับแต่งให้ได้ขนาดและรู ปร่างตามแบบก่อสร้าง หากไม่มีระบุเป็ นอย่างอื่น ไม้ท่ีใช้
ต้องเป็ นไม้สกั คัดลายไม้ให้สวยงามดูกลมกลืนกัน รอยต่อจะต้องแน่นสนิท การยึดน็ อต หรือตะปูเกลียว
ทัง้ หมด จะต้องฝั งในเนือ้ ไม้และอุดซ่อนหัวให้เรียบร้อย ขัดแต่งให้เรียบแล้วจึงทาการ ทาทับด้วยนา้ มัน
เคลือบแข็ง ตามที่รายละเอียดที่ระบุในหมวดงานสี
การติดตัง้ บัวเชิงผนังโดยโดยทาการฝั งพุกไม้ 2 ตัว หรือตามความเหมาะสมทุกระยะไม่เกิน 500 มม.ใช้
กาวยาง และตะปูเกลียวซ่อนหัว มุมบัวเชิงผนังให้ใช้วิธีเข้ามุมปากประกบ 45 องศา ห้ามใช้วิธีตดั ชนเป็ น
อันขาด เมื่อติดตัง้ เสร็จแล้วให้ทงิ ้ ไว้โดย ห้ามเหยียบย่าอย่างน้อย 15 วัน จึงทาการขัดผิว
2.2.15 ขัดผิวพืน้ ให้เรียบเสมอกันทั่วพืน้ ที่ดว้ ยเครื่องขัด อุดรู ร่องที่ไม่เรียบร้อยต่าง ๆ แล้วจึงทาทับด้วยนา้ มัน
เคลือบแข็งตามรายละเอียดในหมวดงานสี โดยให้ทาครัง้ แรกทันทีเมื่อทาการขัดพืน้ และแต่งเรียบ ทาความ
สะอาดดีแล้ว
ผิวไม้ทงั้ หมดเมื่อปูเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องได้ด่ิง ได้แนว ได้ระดับ เรียบสม่าเสมอ ไม่เป็ นโพรง ความไม่
เรียบร้อยใด ๆ ที่เกิดขึน้ ตามความเห็นของสถาปนิก ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนินการแก้ไขโดยเป็ นค่าใช้จ่ายของ
ผูร้ บั จ้างทัง้ หมด
3. การทาสีพนื้ ไม้
3.1 งานพืน้ ไม้ทาสีธรรมชาติ
งานพืน้ ไม้ภายใน ให้ทาเคลือบด้วยนา้ ยาเคลือบแข็งประเภท Polyurethane จานวน 3 เที่ยว
งานพืน้ ไม้ภายนอก ให้ทาเคลือบด้วย Decking Stain ชนิดใส จานวน 3 เที่ยว
3.2 งานพืน้ ไม้ยอ้ มสี
สาหรับงานพืน้ ไม้ภายในและภายนอก ให้ทาด้วยสียอ้ มไม้ Wood Stain จานวน 3 เที่ยว
3.3 งานพืน้ ไม้ทาสีนา้ มัน
สาหรับงานพืน้ ไม้ภายในและภายนอก ให้ทาด้วยสีรองพืน้ ประเภท Aluminium Wood Primer 1 เที่ยว และทาทับ
หน้าด้วยสีนา้ มันประเภท Alkyd Enamel อย่างน้อย 2 เที่ยว
3.4 การทาสีงานพืน้ ไม้และบัวเชิงผนังไม้
ให้ดูรายละเอียดที่กาหนดในแบบและรายการประกอบแบบในหมวดงานไม้ และในหมวดงานสี ประกอ บการ
ดาเนินงาน โดยให้ถือปฏิบตั ิตามที่ระบุในรายละเอียดผลิตภัณฑ์ และดาเนินการตามมาตรฐานผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
4. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดทุกแห่ง หลังจากการติดตัง้ โดยการกวาดดูดฝุ่ นหรือเช็ดด้วยผ้าหมาด ๆ ผิวของวัสดุ ต้อง
ปราศจากรอยร้าว แตกบิ่ น รอยขูดขีด หรือมี ตาหนิ หลุดล่อน และต้องไม่ เปรอะเปื ้ อน ก่อนทาการขออนุมัติจากทาง
ผูอ้ อกแบบและก่อนส่งมอบงาน
5. การป้ องกันแผ่นไม้
ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่ให้มีนา้ หนักกดทับลงบนแผ่นมากเกินไป และที่กองเก็บในที่ก่อสร้าง จะต้องมีหมอนไม้รองแผ่น หรือวัสดุ
อื่น ๆ ปกคลุม โดยให้มีอ ากาศถ่ายเทได้สะดวก ห้ามมีการเดินผ่าน หรือบรรทุกนา้ หนักในขณะที่ ปูเสร็จใหม่ ๆ และ
หมวดที่ 2 41/172 งานพืน้ ไม้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ในขณะก่อ สร้างบริเวณใดที่ จาเป็ น จะต้องมี การสัญ จร จะต้อ งมี การป้ องกัน ผิ วไม้มิ ให้เป็ น รอย ในกรณี เกิ ด ความไม่
เรียบร้อยใด ๆ หรือผิวหน้าไม้เกิดริว้ รอยขูดขีดปรากฏให้เห็น หรือแผ่นไม้ไม่เรียบ ไม่สม่าเสมอ ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการขัดผิว
เพื่อแก้ไขตามกรรมวิธีการขัดผิวของแผ่นไม้ท่ผี คู้ วบคุมงานกาหนดให้ โดยเป็ นความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง
6. รายละเอียดวัสดุ
6.1 วัสดุวสั ดุท่ีนามาใช้งาน ต้องเป็ นวัสดุใหม่ได้มาตรฐานของผูผ้ ลิต และต้องได้รบั อนุมัติจากผูอ้ อกแบบ ปราศจาก
รอยแตกร้าว หรือตาหนิใด ๆ
6.2 รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ความกว้าง ความยาว ความหนา ลวดลาย สี ชนิด และลวดลายของไม้ปาร์เก้ ตามแบบ
ที่ระบุไว้ในแบบ
6.3 หากไม่มีระบุในแบบ งานพืน้ ไม้สกั ทัง้ หมด ให้ใช้ไม้สกั ทองเกรด AA
6.4 ไม้เนือ้ แข็งทัง้ หมด ให้ใช้ไม้คดั เกรด โดยผ่านการอบ และผึ่งตามมาตรฐาน ก่อนนามาใช้งาน
6.5 กาวที่จะใช้ในการติดไม้ตอ้ งเป็ นกาว Latex ชนิดคุณภาพสูง หรือตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิต ทั้งนีต้ อ้ งได้รบั
อนุมตั ิจากผูอ้ อกแบบก่อนนาไปใช้งาน มีความคงทนต่อความชืน้ มีคณ ุ สมบัติในการติดยึดแน่นแข็งแรงไม่หลุดแยก
ออกจากกัน หลังจากการติดตัง้
6.6 บัวเชิงผนัง หากมิได้ระบุให้ใช้ไม้ชนิดเดียวกับไม้พนื ้ หรือไม้มะค่า ขนาด 1” x 4”
6.7 ไม้ควิ ้ ปิ ดขอบปาร์เก้ ต้องเป็ นชนิดเดียวกับไม้พนื ้ ปาร์เก้ ขนาดตามที่ผอู้ อกแบบกาหนดให้
6.8 นา้ มันเคลือบแข็ง ให้ใช้ประเภทโพลี่ยรู ีเทนสาหรับใช้งานภายใน ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ เคมเกรซ หรือยูรเิ ทน หรือตรา
เครื่องบิน
6.9 สียอ้ มพืน้ ไม้และรักษาเนือ้ ไม้ Deck Stain ชนิดใส สาหรับใช้งานภายนอก
6.10 สียอ้ มไม้ Wood Stain สาหรับใช้งานภายในและภายนอก
6.11 สีนา้ มัน สาหรับใช้งานภายในและภายนอก ให้ดรู ายละเอียดในหมวด งานสี
6.12 การปูพนื ้ ไม้ ให้ใช้ กาวโพลียรู เี ทน
6.13 ข้อกาหนดและรายละเอียดคุณสมบัติของไม้ ให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในหมวดงานไม้
6.14 แผ่น Closed-Cell Polyethelene Sheet ให้ใช้หนาไม่ต่ากว่า 3.0 มม.

หมวดที่ 2 42/172 งานพืน้ ไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานพืน้ พรม

1. ข้อกาหนดทั่วไป
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ีใช้ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนาการติดตัง้
และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับสินค้าของตนตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการเพื่อพิจารณาตรวจสอบ
1.2 ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบโดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
1.2.1. แปลนของการปูพรมทัง้ หมด ระบุรุน่ ของพรมแต่ละรุน่ ให้ชดั เจน
1.2.2. แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ จุดจบ ตาแหน่งของรอยต่อและเศษของพรมทุกส่วน
1.2.3. แบบขยายอื่นที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ นตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ อาทิ ตาแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบที
เกี่ยวข้อง เช่น ช่องซ่อมบารุงต่าง ๆ เป็ นต้น
1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุแรงงานและอุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่จาเป็ นในการบุ ปูพรม ตามระบุในแบบรู ปและรายการ
รวมถึงการทาความสะอาดป้องกันมิให้ส่วนที่ทาการตกแต่งแล้วชารุดเสียหาย
1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพรมตามชนิด สี และลายที่กาหนด ไปให้ผคู้ วบคุมงานและผูอ้ อกแบบอนุมตั ิก่อน จึง
จะทาการสั่งซือ้ ได้
1.5 ผูร้ บั จ้างต้องปูตวั อย่างในพืน้ ที่ประมาณ 4 ตารางเมตร ให้ผอู้ อกแบบพิจารณา
1.6 ผูร้ บั จ้างต้องเสนอวิธีการติดตัง้ และจัดเก็บพรมเมื่อไม่ได้ใช้งาน ตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต โดยไม่ให้ขนึ ้ รา มีกลิ่นอับ
ชืน้ เส้นใยของพรมไม่ถกู กระแทกหรือทับซ้อนกันจนเสียหาย
2. วิธีการดาเนินงาน
การเตรียมผิว
2.1 ทาความสะอาดพืน้ ผิวที่จะปูพรมให้สะอาด ปราศจากฝุ่ นผง คราบไขมัน และสกัดเศษปูนทรายที่เกาะอยู่ออกให้
หมด
2.2 เทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพืน้ เพื่อปรับระดับให้ได้ระดับ และขัดเรียบ
2.3 หลังจากเทปูนทรายหรือฉาบปูน รองพื น้ แล้ว 24 ชั่วโมง ให้ท าการบ่ม ตลอด 3 วัน ทิ ง้ ไว้ให้แ ห้งและปราศจาก
ความชืน้ แล้วจึงเริ่มดาเนินการปูพรม
2.4 พรมม้วนก่อนติดตัง้ จะม้วนยาวเป็ นชิน้ ๆ ไม่ควรหักงอ เมื่อเก็บให้วางเป็ นชิน้ ยาวตามที่มว้ นและไม่กองซ้อนทับมาก
เกินไป แต่ถา้ เป็ นการรอการติดตั้งชั่วขณะให้ทาได้ สถานที่เก็บแห้งสะอาด ไม่ เ ป็ นทางเดิ น ผ่ า นของช่ า งอื่ น ๆ
และฝนสาดไปไม่ถึง
2.5 การปูพรม
2.5.1 พรมม้วน (Wall to Wall)
- ทาการหาแนวการปู และเศษแผ่นตามความเห็นชอบของผูค้ วบคุมงาน หรือตามที่ระบุไว้ในแบบ
- ขอบโดยรอบของพืน้ ปูพรมโดยทั่วไป ให้ใช้ไม้หนามติดตัง้ ตามขอบของพรม ถ้าทางเดินหน้าห้องหรือ
ห้องถัดไปไม่ใช้พรม ให้ใช้ Nap-Lock อลูมิเนียมคาดทับเป็ นตัวหยุดพรม
- หลังจากนัน้ ให้ปยู างรองพรมให้ท่ วั บริเวณแล้วจึงคลี่พรมออก โดยใช้เครื่องยืดพรมด้วยเข่ายืดพรมทุก
ด้านเข้าหาไม้หนาม ส่วนเกินของพรมให้ตดั ออกพร้อมเก็บปลายเข้าหลังไม้หนาม
- หากไม่กาหนดเป็ นอย่างอื่น ให้ปูแบบ Wall to Wall การปูพรมจะต้องขึงให้ตึงและยึดติดกับไม้หนาม
โดยรอบพืน้ ที่การต่อพรมจะต้องเย็บรอยต่อให้เรียบร้อยไม่เห็นรอย

หมวดที่ 2 43/172 งานพืน้ พรม


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ผิวพรมทัง้ หมดเมื่อปูเสร็จเรียบร้อยแล้วจะต้องได้แนว ได้ระดับ เรียบสม่าเสมอ ปราศจากตาหนิ ต่าง ๆ


และต้องดูดฝุ่ นทาความสะอาดขนพรมให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน ความไม่เรียบร้อยใด ๆ ที่เกิดขึน้
ตามความเห็นของผูอ้ อกแบบ ผูร้ บั จ้างจะต้องดาเนินการแก้ไขโดยเป็ นค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างทัง้ หมด
2.5.2 พรมแผ่น (Carpet Tile)
- ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการตีเส้นวางแนวสาหรับติดตัง้ พรม จุดตัดของแนวเส้นจะต้องได้มมุ 90 องศา การติดตัง้
ให้ใช้กาวเฉพาะบริเวณที่มีการใช้งานหนัก เช่น ทางเดิน หรือบริเวณรอยต่อเศษ ขอบมุมต่าง ๆ
- กาวที่ใช้จะต้องเป็ นกาวชนิดที่เมื่อยกแผ่นพรมออกแล้วสามารถปิ ดกลับใหม่ได้ โดยคุณสมบัติในการยืด
ของกาวยังคงใช้ได้ดี กาวที่ใช้ยืดแผ่นพรมให้ใช้กาวสังเคราะห์ชนิดเหลวแบบแห้งไว
- การติดตัง้ แผ่นพรม ควรติดตัง้ หลังจากที่กาวแห้งเสียก่อน การวางแผ่นพรมจะต้องวางให้รอยต่อชิดกัน
- กรณี ปูพรมชนกับวัสดุปูพืน้ อื่น ต้องมีตวั เก็บขอบพรม Type ของตัวเก็บแผ่นพรมให้เรียบร้อย เมื่อติดตัง้
เสร็จแล้วจะต้องทาความสะอาดให้เรียบร้อย แล้วใช้พลาสติกคลุมผิวพรมไว้จนกว่าจะตรวจรับมอบงาน
- หากเกิดการหลุดล่อน ผูร้ บั จ้างจะต้องรือ้ ออกและทาการปูใหม่ให้เรียบร้อย โดยค่าใช้จ่ายเป็ นของผูร้ บั จ้าง
2.6 การบารุงรักษา
พรมใยสังเคราะห์เป็ นพรมที่เกิดคราบถาวรได้ง่าย เพราะจะดูดซึมเร็ว จึงควรดูดฝุ่ นทาความสะอาดขนพรมหลังใช้
งานแล้ว ที่สาคัญเมื่อมีของเหลว หรือเศษอาหารตกหล่น จะต้องรีบเช็ดออกด้วยผ้าใบชุบนา้ อุ่นทันที แล้วใช้โฟมทา
ความสะอาดพรมเช็ดออกอีกครัง้
2.7 การซ่อมแซม
พรมม้วนหลังการติดตัง้ อาจฉีกขาดเนื่องจากของมีคม แก้ไขโดยการเย็บต่อด้วยไหมโดยใช้มือเย็บก็ได้ หากเกิดรอย
เปื ้อนมากอาจต้องตัดทิง้ และเปลี่ยนใหม่เฉพาะจุด ซึ่งอาจมีปัญหาสีไม่เหมือนกัน เมื่อพรมมีการย่นเพราะลากของ
หนักผ่าน หรือมีการใช้งานมาก สามารถใช้เครื่องยืดด้วยเข่า ยืดพรมให้ถึงได้
3. รายละเอียดวัสดุ
3.1 วัสดุท่นี ามาใช้ตอ้ งเป็ นวัสดุใหม่ท่ไี ด้มาตรฐานของผูผ้ ลิต ปราศจากรอยร้าว หรือตาหนิใด ๆ
3.2 รายละเอียด รูปแบบ ชนิด ขนาด ความหนา สี และลวดลาย ตามที่ระบุในแบบ
3.3 หากไม่กาหนดเป็ นอย่างอื่น
3.3.1 พรมม้วนให้ใช้ ตามคุณสมบัติ ดังนี ้
- การผลิตชนิดเป็ นพรมทอเครื่อง Machine Tufted Carpet
- คุณภาพเส้นใยเทียบเท่า Axminster Wool 80%, Nylon Polymer 20% ชนิด Solution Dyed คุณภาพ
ไม่ลามไฟและไม่เกิดควันพิษเมื่อติดไฟ สามารถทนทานต่อความเสียหายจากการใช้งานและสิ่งสกปรก
ต่าง ๆ ได้ดี
- มีการป้องกันการเกิดเชือ้ ราของเส้นใยและใต้ผืนพรมด้วยการผสมสาร Microban
- ขนาดเข็มทอ 1/8 นิว้ หรือ 1/10 นิว้
- ลักษณะของเส้นพรมเป็ นชนิด Loop Pile หรือ Cut Pile ตามผูอ้ อกแบบกาหนด
- ความหนาแน่นของพรมไม่นอ้ ยกว่า 2.5 ปอนด์ ต่อลูกบาศก์ฟตุ (หรือ 24 ออนซ์/ตารางหลา)
- แผ่นรองพืน้ พรมเป็ นแผ่นฟองนา้ ยางธรรมชาติ หนาไม่นอ้ ยกว่า 8 มม. ที่มีคุณสมบัติยืดหยุ่น ไม่แตก
หรือกรอบแห้งแข็ง เมื่อม้วนเก็บหลาย ๆ ครัง้

หมวดที่ 2 44/172 งานพืน้ พรม


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3.3.2 พรมแผ่นให้ใช้ ตามคุณสมบัติ ดังนี ้


3.3.2.1 พืน้ ปูพรมแผ่นสาเร็จรูปป้องกันไฟฟ้าสถิต
3.3.2.2 โครงสร้างพรม พรมทอขนห่วงต่างระดับมีลวดลาย
3.3.2.3 ชนิดของเส้นใย ทาจากเส้นใย Nylon 100%
3.3.2.4 ขนาด 0.50x0.50ม.แบบขนห่วง Backing เป็ นยางสีดาหรือวัสดุสงั เคราะห์ 100%
3.3.2.5 นา้ หนักเส้นใย ไม่ต่ากว่า 22 ออนซ์/ตารางเมตร
3.3.2.6 ความสูงขนพรม 2.7 มม.+-0.5 มม.
3.3.2.7 ความหนาทัง้ หมด 7.1 มม.+- 0.5 มม.
3.3.2.8 อัตราการทอ 1 นิว้ /12 เข็ม
3.3.2.9 ทดสอบไฟฟ้าสถิตผ่านมาตรฐาน AATCC 134<3kv
3.3.3 พรมต่างประเทศให้เป็ นไปตามที่แสดงในแบบ

หมวดที่ 2 45/172 งานพืน้ พรม


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.3 งานฝ้ าเพดาน

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงานและอุปกรณ์ในการทาฝ้าเพดาน ตามระบุในแบบรูป และรายการ
รายการทั่วไป
- ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบแบบก่อสร้าง งานระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน
ฝ้าเพดาน เพื่อเตรียมโครงสร้างสาหรับยึดดวงโคม หัวจ่ายระบบปรับอากาศและประสานงานกับงานส่วนอื่น ๆ
ให้ทางานไปด้วยความเรียบร้อย
- ในกรณีท่จี าเป็ นต้องเตรียมช่องสาหรับเปิ ดฝ้าเพดาน สาหรับซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของอาคารที่ซอ่ นในฝ้าเพดาน
ในภายหลัง ผูร้ บั จ้างจะต้องทาช่องสาเร็จรูปสาหรับเปิ ดด้วยแผ่นยิปซั่มทนชืน้ สาหรับช่องเซอร์วิส ขนาดไม่เล็ก
กว่า 60 x 60 ซม. ให้แข็งแรง และเรียบร้อยตามกาหนด ในแบบก่อสร้างหรือเสนอแบบ SHOP DRAWING
ให้สถาปนิกอนุมตั ิ ค่าใช้จ่ายสาหรับช่องเปิ ดที่จาเป็ นนี ้ ให้รวมอยู่ในราคาของการทาฝ้า เพดาน ผูร้ บั เหมาจะ
เรียกร้องค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมจากผูว้ า่ จ้างมิได้
- ความสูงของฝ้าเพดานให้ถือตามระบุในแบบ แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อยตามคาแนะนาของสถาปนิก
วัสดุ หากมิได้ระบุในแบบให้ใช้ฝา้ เพดานฉาบรอยต่อเรียบ
- โลหะ
- โครงเคร่าโลหะสาหรับฝ้าเพดานแบบฉาบรอยต่อผลิตภัณฑ์ยิปซั่ม มอก.863-2532 หรือคุณภาพเทียบเท่า หาก
ในแบบรูปไม่ได้ระบุ ให้ติดตัง้ โครงเคร่าโลหะขนาด ตาราง @ 0.60 x 0.60 ม. โดยตลอด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่ง
ตัวอย่างพร้อมอุปกรณ์ในการยึดเหนี่ยวและติดตัง้ พร้อม SHOP DRAWING ให้สถาปนิกผูอ้ อกแบบอนุมตั ิ
- เส้นลวดยึดให้ใช้ชนิดปรับระดับได้ โดยกรรมวิธีปรับน๊อตสกรูหา้ มยึดลวดกับส่วนที่ไม่ใช่โครงสร้าง เช่น ท่อนา้
หรือ SUPPORT ของท่อแอร์ ในกรณีท่ใี ช้ปืนยิงพุกคอนกรีตต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงานก่อน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพร้อมกรรมวิธีการติดตัง้ ให้สถาปนิกอนุมตั ิและ ตรวจสอบก่อน การนาวัสดุเข้า
มายังหน่วยงาน
- แผ่นไฟเบอร์ซีเมนต์
ในส่วนที่ระบุให้ใช้ ขนาดประมาณ 1.20 x 2.40 ม. ความหนา 9 มม. หรือตามระบุในแบบก่อสร้างฉาบรอยต่อ
เรียบด้วยปูนฉาบ ตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิตแนะนา
- วัสดุอ่นื ๆ ที่ระบุในแบบ
การติดตัง้
- การติดตัง้ โครงเคร่าโลหะชุบสังกะสีจะต้องได้แนวและระดับ ก่อนวางแผ่นฝ้าจะต้องตรวจสอบความแข็งแรง และ
ความเรียบร้อยเสียก่อน หลังจากวาง แผ่นฝ้าเพดานแล้ว ฝ้าเพดานจะต้องได้ระดับความสูงตามที่ระบุในแบบ
- ฝ้าเพดานที่ติดตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับและความสูงระบุในแบบ รอยต่อจะต้องได้แนวได้ฉาก และได้ระดับและ
เรียบร้อยแล้ว

การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่าง พร้อมรายละเอียดในการติดตัง้ เพื่อขออนุมตั ิจากสถาปนิกก่อนการสั่งวัสดุ


เข้ามายังหน่วยงาน

หมวดที่ 2 46/172 งานฝ้าเพดาน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานฝ้ าเพดานฉาบเรียบ, ฝ้ าเพดานโครงคร่าว T-BAR

1. ขอบเขตของงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอปุ กรณ์ท่มี ีคณ
ุ ภาพ แรงงานที่มีฝีมือและความชานาญ มีระบบควบคุมคุณภาพที่ดี ใน
การติดตัง้ งานยิปซั่มบอร์ดตามระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
- ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจสอบแบบก่อสร้างและประสานงานกับผูต้ ิดตัง้ งานระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบ
อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานฝ้าเพดานยิปซั่มบอร์ด เช่น งานเตรียม โครงเหล็กในฝ้าสาหรับยึดลวดแขวนโครงเคร่าฝ้า
เพดาน, ยึดดวงโคม, ยึดท่อลมของระบบปรับอากาศ เป็ นต้น เพื่อให้งานยิปซั่มบอร์ดแข็งแรง และเรียบร้อย
สวยงาม
- ในกรณีท่จี าเป็ นต้องเตรียมช่องสาหรับเปิ ดฝ้าเพดาน ให้ใช้แผ่นยิปซั่มสาเร็จรูป สาหรับช่องเซอร์วิสแผ่นยิปซั่ม
ชนิดทนชืน้ ขนาดช่องประมาณ 600x600 มม. ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 9 มม. สาหรับซ่อมแซมงานระบบต่าง ๆ
ของอาคารหรือซ่อมแซมหลังคาในภายหลัง ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ให้แข็งแรงและเรียบร้อย ตามที่กาหนดในแบบ
หรือตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบ
- ระดับความสูงของฝ้าเพดาน ให้ถือตามระบุในแบบ แต่อาจเปลี่ยนแปลงได้เล็กน้อย ตามความเห็นชอบของผู้
ควบคุมงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งตัวอย่างพร้อมรายละเอียด วัสดุ และขัน้ ตอนการติดตัง้ งานยิปซั่มบอร์ด เช่น แผ่นยิปซั่ม โครง
เคร่าฝ้าเพดาน พร้อมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สถาปนิกพิจารณาอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา Shop Drawing เพื่อให้สถาปนิกพิจารณาอนุมตั ิก่อนการติดตัง้ ดังนี ้
- แบบแปลน, รูปด้าน, รูปตัด ของฝ้าเพดาน แสดงแนวโครงเคร่าระยะและตาแหน่ง ปลั๊ก ดวงโคม หัวจ่ายลม
หัวดับเพลิงและอื่น ๆ ให้ครบถ้วนทุกระบบ
- แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ การชนผนังและโครงสร้างของอาคาร
- แบบรายละเอียดการยึด ห้อยแขวนกับโครงสร้างอาคาร หรือโครงหลังคา
- แบบขยายอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ น เช่น การติดตัง้ ท่อร้อยสายไฟ ท่อนา้ ทิง้ ของระบบปรับอากาศ สวิทช์
ปลั๊กช่องซ่อมบารุง เป็ นต้น
วัสดุ
- แผ่นยิปซั่มหนาประมาณ 9 มิลลิเมตร หรือประมาณ 12 มิลลิเมตร หรือตามระบุในแบบ ชนิดธรรมดา, ทนชืน้ ,
บุฟอยล์ปอ้ งกันความร้อน หรือทนไฟดัดโค้ง ตามระบุในแบบ ขนาดประมาณ 1.20x2.40 เมตร แบบขอบลาด
สาหรับผนังหรือฝ้าฉาบเรียบรอยต่อ และขอบเรียบสาหรับฝ้า T-Bar
- โครงเคร่าฝ้าเพดานฉาบเรียบรอยต่อ ให้ใช้เหล็กชุบสังกะสี ขนาดไม่เล็กกว่า 14x37 มิลลิเมตร ความหนาของ
แผ่นเหล็กไม่ต่ากว่า 0.50 มิลลิเมตร ระยะห่างของโครงเคร่าหลัก (วางตัง้ ) ทุกระยะ 1.00 เมตร โครงเคร่ารอง
(วางนอน) ทุกระยะ 400 มิลลิเมตร ลวดแขวนขนาด Dia. 4 มิลลิเมตร ทุกระยะ 1.00x1.20 เมตร พร้อมสปริง
ปรับระดับทาด้วยสแตนเลสรูปปี กผีเสือ้ หรือ มอก.50-2538 ฉบับล่าสุด ให้ใช้เทียบเท่า โปร-ลายน์ ตราช้าง
หรือ Casoline Gyproc หรือ KNAUF หรือคุณภาพเทียบเท่า
- โครงเคร่าฝ้าเพดาน T-Bar ให้ใช้เหล็กชุบสังกะสีเคลือบสี ความหนาของแผ่นเหล็กไม่ต่ากว่า 0.35 มิลลิเมตร พับ
ขึน้ รูป 2 ชัน้ โครงเคร่าหลักสูงไม่นอ้ ยกว่า 38 มิลลิเมตร ระยะห่างทุก 600 มิลลิเมตร โครงเคร่าซอยสูงไม่นอ้ ย

หมวดที่ 2 47/172 งานฝ้าฉาบเรียบ, ฝ้าเพดานโครงเคร่า T-BAR


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

กว่า 28 มิลลิเมตร ระยะห่างทุก 1.20 เมตร ลวดแขวนขนาด Dia. 4 มิลลิเมตร ทุกระยะ 1.20x1.20 เมตร พร้อม
สปริงปรับระดับทาด้วยสแตนเลส ให้ใช้ ตราช้าง หรือ Gyproc หรือ KNAUF หรือคุณภาพเทียบเท่า
- คิว้ เข้ามุมต่าง ๆ สาหรับผนังและฝ้าเพดานยิปซั่ม ให้ใช้ควิ ้ สาเร็จรูป เทียบเท่า ตราช้าง หรือ Gyproc หรือ
KNAUF หรือคุณภาพเทียบเท่า
แผ่นฝ้ าเพดานอะคูสติกส์ชนิดเจาะรู
- ชนิด : ฝ้าเพดานลดเสียงสะท้อน
- ความหนา:10-12.5 มม.
- ขนาด:1.20x2.40 ม.
- ชนิดขอบ:ขอบลาด
- ฉลุ:ฉลุวงกลม 8 กลุ่ม/แผ่น
- พืน้ ที่ฉลุ : 11%
- ลดเสียงสะท้อน:NRC 0.40-0.65
- นา้ หนัก 12 มม.:1200x2400x12มม. นา้ หนัก 24 กก./ผ. (ขอบเรียบ ขอบลาด)
- เส้นผ่าศูนย์กลางฉลุ :เส้นผ่าศูนย์กลางรูฉลุ 1.5 ซม.
- แผ่นดูดซับเสียง:ลายเส้นกรุดว้ ยแผ่นดูดซับเสียงกลาซแมท Glass Mat ด้านหลังแผ่น
- การป้องกันไฟ:เป็ นฉนวนป้องกันไฟ เพราะผลิตขึน้ จากแร่ยิปซั่ม ซึง่ ไม่ลามไฟ
- การป้องกันเสียง:สามารถออกแบบให้เป็ นระบบป้องกันเสียง 35-60 เดซิเบล
- การตกแต่ง:ผิวเรียบ สวยเนียน เพียงแค่ฉาบรอยต่อด้วย ปูนฉาบอีซ่พี ลาส แล้วสามารถตกแต่งด้วย วอลล์เป
เปอร์ หรือทาสีทบั
- การติดตัง้ :ติดตัง้ ง่าย สะดวก รวดเร็ว ไม่เลอะเทอะ เพราะเป็ นระบบแห้ง
- การรีไซเคิล:สามารถนามารีไซเคิลได้ จึงปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
- ทนต่อปลวก มอด:แข็งแรง ทนทาน ใช้งานได้นานทนต่อปลวก มอด แมลง
การติดตัง้
- การติดตัง้ โครงเคร่าฝ้ าฉาบเรียบรอยต่อและแผ่นยิปซั่ม
- ยึดฉากริมฝ้าฉาบเรียบกับผนังโดยรอบให้ม่นั คงแข็งแรง ได้แนวและระดับที่ตอ้ งการ ยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับใต้ทอ้ ง
พืน้ อาคารชัน้ ถัดไปที่ระยะ 1.00x1.20 เมตร ด้วยพุกเหล็ก 6 มิลลิเมตร (1.00 เมตร คือระยะห่างของโครงเคร่าหลัก)
ให้เสริมโครงเคร่าหลักชุดแรกห่างจากผนัง 150 มิลลิเมตร
- วัดระยะความสูงจากฉากริมถึงท้องพืน้ ชัน้ ถัดไป เพื่อตัดลวด 4 มิลลิเมตร และประกอบชุดหิว้ โครง โดยใช้สปริงปรับ
ระดับ และงอปลายด้านหนึ่งของลวด 4 มิลลิเมตร เป็ นขอไว้ (หรืออาจใช้ฉากริมแทน ในกรณีมีช่องว่างระหว่างฝ้า
เพดานและใต้ทอ้ งพืน้ น้อยกว่า 200 มิลลิเมตร)
- นาชุดหิว้ โครงที่ประกอบไว้ขนึ ้ แขวนกับฉากเหล็ก 2 รู ที่ติดตัง้ ไว้ทงั้ หมด
- นาโครงเคร่าหลักขึน้ วางลงในขอของชุดหิว้ โครงจนเต็มพืน้ ที่ติดตัง้ จะได้โครงเคร่าหลักทุกระยะห่าง 1.00 เมตร
- นาโครงเคร่าซอยขึน้ ยึดติดกับโครงเคร่าหลัก โดยใช้ตวั ล็อคโครง ติดตัง้ โครงเคร่าซอยทุกระยะ 400 มิลลิเมตร
- ปรับระดับโครงเคร่าทัง้ หมดอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ ก่อนยกแผ่นยิปซั่มขึน้ ติดตัง้
หมวดที่ 2 48/172 งานฝ้าฉาบเรียบ, ฝ้าเพดานโครงเคร่า T-BAR
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- นาแผ่นยิปซั่มขอบลาดขึน้ ติดตัง้ กับโครงเคร่าซอย ให้ดา้ นยาว (2.40 เมตร) ตัง้ ฉากกับแนวโครงเคร่าซอย ปลายของ
แผ่นด้าน 1.20 เมตร จะต้องสลับแนวกัน 1.20 เมตร ยึดโดยใช้สกรูยิปซั่ม ขนาด 25 มิลลิเมตร ควรเริ่มยิงสกรูจาก
หัวหรือท้ายแผ่น ไล่ไปด้านที่เหลือ ให้ห่างจากขอบแผ่นประมาณ 10 มิลลิเมตร การยึดสกรูให้ยดึ ตามแนวโครงเคร่า
ซอยห่าง 240 มิลลิเมตร และยึดบริเวณขอบแผ่นด้าน 1.20 เมตร ห่าง 150 มิลลิเมตร
- ติดตัง้ คิว้ เข้ามุม สาหรับทุกขอบ ทุกมุม เพื่อความเรียบร้อยและสวยงาม
- ใช้เกรียงโป๊ วฉาบปูนลงบนรอยต่อและคิว้ เข้ามุมของแผ่นยิปซั่ม นาเทปปิ ดทับกึ่งกลางแนวรอยต่อ แล้วฉาบปูนทับ
ให้เป็ นเนือ้ เดียวกัน เมื่อปูนแห้งสนิท ใช้เกรียงฉาบ ฉาบปูนทับด้วยปูนฉาบรอยต่อตามแนวเดิมอีกครัง้ ปาดให้เรียบ
ทิง้ ไว้ให้แห้ง หลังจากนัน้ ใช้กระดาษทรายเบอร์ 4 ขัดแต่งให้เรียบ ให้ได้ระดับและฉากด้วยอุปกรณ์วดั ระดับและฉาก
ใช้ปนู ฉาบทับหัวสกรู และขัดแต่งด้วยกระดาษทรายอีกครัง้ ให้เรียบร้อย ก่อนทาสีหรือตกแต่งฝ้ายิปซั่มต่อไป
- การติดตัง้ โครงเคร่าฝ้ า T-Bar และแผ่นยิปซั่ม
- ยึดฉากริม T-Bar กับผนังโดยรอบให้ได้ระดับที่ตอ้ งการ และยึดฉากเหล็ก 2 รู เข้ากับใต้ทอ้ งพืน้ อาคารชัน้ ถัดไป ที่
ระยะ 1.20x1.20 เมตร ด้วยพุกเหล็ก 6 มิลลิเมตร
- วัดระยะความสูงจากฉากริม T-Bar ถึงท้องพืน้ ชัน้ ถัดไป เพื่อตัดลวด 4 มิลลิเมตร และประกอบเข้ากับขอหิว้ T-Bar
โดยใช้สปริงปรับระดับทาด้วยสแตนเลสรูปปี กผีเสือ้ งอปลายด้านหนึ่งของลวด 4 มิลลิเมตร เป็ นขอไว้
- นาชุดแขวนที่ประกอบไว้ขนึ ้ แขวนกับฉากเหล็ก 2 รู ที่เตรียมไว้ทงั้ หมด
- นาโครงเคร่าหลักขึน้ เกี่ยวกับชุดแขวนที่เตรียมไว้ โดยเกี่ยวขอหิว้ เข้าในรูบนสันของโครงเคร่าหลักจนเต็มพืน้ ที่ติดตัง้
ให้ได้โครงเคร่าหลักทุกระยะห่าง 1.20 เมตร ให้ขนานหรือตัง้ ฉากกับผนังห้อง
- สอดโครงเคร่าซอย 1.20 เมตร เข้าในรูเจาะของโครงเคร่าหลักทุกระยะ 600 มิลลิเมตร โดยวางให้ได้ฉากกับโครง
เคร่าหลัก วางโครงเคร่าขนาด 0.60x1.20 เมตร หากต้องการขนาดโครงเคร่า 0.60x0.60 เมตร ให้เพิ่มโครงเคร่าซอย
600 มิลลิเมตร เสียบลงในช่องระหว่างกลางของโครงเคร่าซอย 1.20 เมตร
- ปรับระดับโครงเคร่าทัง้ หมดอย่างละเอียดที่สปริงปรับระดับ ก่อนวางแผ่นฝ้าเพดานที่ทาสีหรือตกแต่งเรียบร้อยแล้ว
ขนาด 595x595 มิลลิเมตร หรือ 595x1195 มิลลิเมตร ตามต้องการ
การบารุ งรักษา
งานยิปซั่มบอร์ดฉาบเรียบที่ติดตัง้ เสร็จแล้ว จะต้องได้แนวระดับและแนวฉากที่เรียบร้อยสวยงาม งานฝ้าเพดาน T-Bar
จะต้องได้แนวของ T-Bar ที่ตรง ไม่คดเคีย้ ว ได้แนวระดับและแนวฉากที่เรียบร้อยสวยงาม งานทาสีให้ปฏิบตั ิตามที่ระบุไว้ใน
หมวดงานทาสี ผูร้ บั จ้างจะต้องป้องกันไม่ให้งานยิปซั่มบอร์ดสกปรกหรือเสียหายตลอดระยะเวลาก่อสร้า

หมวดที่ 2 49/172 งานฝ้าฉาบเรียบ, ฝ้าเพดานโครงเคร่า T-BAR


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานฝ้ าโลหะ (Metal Ceilings)

ความต้องการทั่วไป
1. ขอบเขตงาน (Product Summary)
1.1 รายละเอียดที่กาหนดไว้ในแบบ, บทกาหนดต่าง ๆ ของรายการประกอบแบบและเอกสารสัญญาต่าง ๆ ของ
โครงการนี ้ ให้นามาใช้กบั รายละเอียดที่กาหนดไว้ในบทนีด้ ว้ ย
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายและจัดหาวัสดุ แรงงานที่ชานาญงานโดยเฉพาะ และสิ่งประกอบอื่น ๆ ที่
จาเป็ นสาหรับการก่อสร้างงานฝ้าโลหะ ตามที่กาหนดในแบบและรายการประกอบแบบให้แล้วเสร็จสมบูรณ์
ตามมาตรฐานบริษัทผูผ้ ลิต
2. การอนุมตั ิใช้ (Submittals)
2.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนด คุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ ข้อมูลทางเทคนิคข้อแนะนาการติดตัง้
และข้อมูลประกอบอื่น ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการก่อสร้าง ตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ เพื่อยื่นเสนอให้ผอู้ อกแบบ
พิจารณาอนุมตั ิ
2.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาแบบเพื่อการก่อสร้าง (Shop Drawign) เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานพิจารณาอนุมตั ิก่อน
ดาเนินการติดตัง้ โดยในแบบจะต้องแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
2.2.1 ตาแหน่งการติดตัง้ ฝ้าโลหะในแต่ละส่วนของงาน
2.2.2 แบบขยายการติดตัง้ ฝ้าโลหะในแต่ละส่วน โดยเฉพาะบริเวณที่ติดกับวัสดุอ่นื ๆ
2.2.3 แบบขยายรอยต่อโคมไฟแสงสว่าง ระบบปรับอากาศ และระบบป้องกันอัคคีภยั
2.2.4 แบบขยายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ
3. การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
3.1 ผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ฝา้ โลหะ จะต้องเป็ นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ดา้ นการผลิตผลิตภัณฑ์ฝา้
โลหะ ได้รบั การรับรองกระบวนการผลิตตามมาตราฐานผูผ้ ลิต
3.2 ผูต้ ิดตัง้ ฝ้าโลหะ จะต้องเป็ นบริษัทที่มีความชานาญในการติดตัง้ ฝ้าโลหะ ที่ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ นผูต้ ิดตัง้ ฝ้า
โลหะ อย่างเป็ นทางการจากบริษัทผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ฝา้ โลหะที่ได้รบั การอนุมตั ิให้ใช้ในโครงการ หรือ เป็ นผูท้ ่มี ี
ผลงานการติดตัง้ ฝ้าโลหะที่มีลกั ษณะเช่นเดียวกันกับที่ระบุให้ใช้ในโครงการ
3.3 แผงตัวอย่าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาแผงตัวอย่างรูปแบบและรายละเอียดตรงกับที่จะทาการติดตัง้ จริงเพื่อให้ผู้
ควบคุมงานพิจารณาอนุมตั ิ พร้อมทัง้ เก็บรักษาแผงตัวอย่างให้อยู่ในสภาพดีจนกว่างานติดตัง้ จะแล้วเสร็จ
ทัง้ หมด
4. การขน การจัดเก็บ และการควบคุม (Delivery, Storage and Handling)
4.1 การจัดส่งผลิตภัณฑ์ฝา้ เพดาน เข้าสูโ่ ครงการ จะต้องส่งโดยบริษัทผูผ้ ลิต หรือ บรรจุหีบห่อจากบริษัทผูผ้ ลิต โดย
ที่หีบห่อจะต้องมีระบุช่ือผลิตภัณฑ์ ชื่อผูผ้ ลิต ยี่หอ้ และ เลขระบุครัง้ ที่ผลิต
4.2 การเก็บรักษา ผลิตภัณฑ์ฝา้ เพดาน จะต้องบรรจุอยู่ในหีบห่อที่มาจากบริษัทผูผ้ ลิต เก็บในที่ร่มป้องกัน แดดและ
ฝน , ความชืน้ , สิ่งสกปรก , และ อุนหภูมิสงู
5. การรับประกัน (Special Warranty)
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพการติดตัง้ เป็ นเวลา 2 ปี และ รับประกันคุณภาพสินค้าเป็ นระยะเวลา 2 ปี โดย
ออกเป็ นเอกสารรับประกันสินค้าจากผูผ้ ลิตให้กบั ทางเจ้าของโครงการโดยตรง

หมวดที่ 2 50/172 งานฝ้าโลหะ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

วัสดุ (Products)
รายละเอียดวัสดุ (Materials)
Grille ฝ้าระแนงอลูมิเนียม แบบกล่อง ผลิตจากอลูมิเนียมแผ่น เกรด AA3105 H16 หนา 0.5 มม. รีดขึน้ รูป รูปตัว U
ขนาด 5 x 15 ซม. ตัวแผ่นเคลือบสีโพลีเอสเตอร์ดว้ ยระบบ Coil Coating ความหนาสีไม่ต่ากว่า 20 ไมครอน หรือ
เคลือบสีโพลีเอสเตอร์ดว้ ยระบบ Electrostatically Stove Enamel ความหนาสีไม่ต่ากว่า 30 ไมครอน ความเงาสีไม่
เกิน 14 % หรือคุณภาพเทียบเท่า ติดตัง้ บนโครงเคร่าเหล็กชุปสังกะสี ที่ผลิตตามมาตราฐาน ผูผ้ ลิต หนา 0.5 มม.
ขึน้ รูป รูปตัว C ขนาด 2.4 x 2.4 ซม. พร้อมบากเป็ นช่องสาหรับยึดแผ่นฝ้า ทุกระยะ 30 ซม. สาหรับขนาด 5 x 15 ซม.
เคลือบสีดา
การติดตัง้ (Execution)
1. การตรวจสอบสถานที่ติดตัง้ (Examination)
ดาเนินการตรวจสอบพืน้ ที่บริเวณที่จะทาการติดตัง้ ตรวจสอบโครงสร้าง งานระบบและผนังที่จะเชื่อมต่อกับงานฝ้า
โลหะ รวมทัง้ ตรวจสอบระดับและความดิ่งของผนังและงานระบบต่าง ๆ หากพบปั ญหาที่คาดว่าจะเป็ นอุปสรรคต่อ
การติดตัง้ ฝ้าโลหะ ให้แจ้งผูค้ วบคุมงานทราบเป็ นลายลักษณ์อกั ษร
2. การเตรียมพืน้ ที่ (Preparation)
ดาเนินการทาความสะอาดพืน้ ที่บริเวณที่จะทาการติดตัง้ ฝ้าโลหะ ขนย้ายสิ่งกีดขวางต่าง ๆ ออกจากบริเวณ
จัดเตรียมอุปกรณ์และนั่งร้านไว้ให้พร้อม
3. การติดตัง้ (Erection)
งานฝ้าโลหะทัง้ หมด จะต้องติดตัง้ โดยช่างผูช้ านาญงาน ให้เป็ นไปตามแบบขยาย และรายละเอียด ต่าง ๆ ตาม
มาตรฐานของผูผ้ ลิต หรือ ตาม SHOP DRAWING ที่ได้รบั การอนุมตั ิจากทางผูอ้ อกแบบแล้วเท่านัน้
ติดตัง้ โดยผูต้ ิดตัง้ ที่ได้รบั การแต่งตัง้ จากผูผ้ ลิตผลิตภัณฑ์โดยตรง
4. การทาความสะอาด (Cleaning)
หลังจากตรวจสอบความถูกต้องเรียบร้อยแล้วผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาด เก็บกวาดทั่วบริเวณ หลังจากการติดตัง้
ผิวของวัสดุฝา้ โลหะจะต้องปราศจากรอยร้าว ด่าง รอยขูดขีด หรือมีตาหนิ ต้องไม่เปรอะเปื ้อน ก่อนขอความเห็นชอบ
ในการตรวจสอบ และ การส่งมอบงานกับผูค้ วบคุมงาน

หมวดที่ 2 51/172 งานฝ้าโลหะ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.4 งานหลังคาเหล็ก (Metal Sheet)

ขอบเขตของงาน
ขอบเขตของงานในส่วนนี ้ ได้แก่ การจัดซือ้ การขนส่ง และการติดตัง้ หลังคาเหล็ก (Metal Sheet) และอุปกรณ์ประกอบ
ทัง้ หมดตามที่ระบุในแบบก่อสร้างและรายการ
ทั่วไป
- ผูร้ บั จ้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ช่างควบคุมงาน และแรงงานฝี มือเพื่อจัดทาหลังคาโลหะ ตามแบบและ
รายละเอียดในการติดตัง้ ต้องปฏิบตั ิตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
- แบบจากบริษัทผูผ้ ลิต
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาแบบรายละเอียดในการติดตัง้ ซึง่ แสดงวิธีการติดตัง้ อุปกรณ์ และรายละเอียดอื่น ๆ ซึง่
บริษัทผูผ้ ลิตได้ทาไว้เป็ นจานวน 2 ชุด มาเสนอแก่สถาปนิกเพื่อพิจารณาก่อนการติดตัง้
- ตัวอย่าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุและอุปกรณ์ในการติดตัง้ มาเสนอแก่สถาปนิกเพื่อพิจารณาเห็นชอบก่อนการ
ติดตัง้ ในการตรวจรับมอบงานจะยอมรับรองเฉพาะวัสดุท่มี ีมาตรฐานเท่ากับตัวอย่างที่ได้นาเสนอไว้แล้วเท่านัน้
วัสดุ
เป็ นแผ่นเหล็กชุบโลหะผสมอลูมิเนียม – สังกะสี หรือแผ่นเหล็กชุบโลหะผสมอลูมิเนียม – สังกะสีเคลือบสี มีรูปลอนที่
แข็งแรง และความต่อเนื่องตลอดช่องหลังคาได้คณ ุ ภาพมาตรฐาน JIS 3312, มอก.2753-2559, มอก.2228-2559
(Zincalume) หรือคุณภาพเทียบเท่า
- เป็ นผลิตภัณฑ์ชนั้ ที่ 2 (Class 2 ) เพื่อการใช้ทาหลังคา (SCG 2-R)
- ความหนาของแผ่นเหล็กก่อนเคลือบผิว (Standard Nominal Thickness)
0.4 มม. 0.5 มม. ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน – 0.06 มม.
0.6 มม. 0.8 มม. ความคลาดเคลื่อนไม่เกิน – 0.09 มม.
- ปริมาณโลหะผสมอลูมิเนียม – สังกะสีท่เี คลือบ 150 กรัม/ตารางเมตร (AZ 150)
- ประสิทธิภาพต้านทานการกัดกร่อนผิวบน ผ่านข้อกาหนดทดสอบพ่นนา้ เกลือแบบต่อเนื่อง (Continuous Salt
Spark Test) ตาม JIS Z 2371 ไม่ต่ากว่า 500 ซม. ผิวล่างไม่ต่ากว่า 150 ซม.
- คุณสมบัติดา้ นกายภาพ (Physical Properties) และกลสมบัติ (Mechanical Properties) อื่น ๆ ได้ตาม
มาตรฐานกาหนดของ มอก. 2228-2559 (Zincalume)
- มาตรฐาน ระยะกว้างของแผ่นวัสดุก่อนขึน้ ล่อนไม่ต่ากว่า 700 มม.
- ผลิตภัณฑ์ถา้ ไม่ได้ระบุในแบบรูปให้ใช้ ผลิตภัณฑ์ บริษัท บลูสโคปไลสาจท์ (ประเทศไทย) หรือ
บริษัท ไทยซินคอน แอนด์ ซัพพลาย จากัด หรือบริษัท สยามสตีล เซอร์วิสเซ็นเตอร์ จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า
การติดตัง้
- ความยาวแผ่น
ความยาวของแผ่นหลังคาที่นาขึน้ ติดตัง้ จะต้องยาวตลอดตัง้ แต่มมุ จั่วจนถึงชายคา (ตามแบบ) ให้เกิด
รอยต่อน้อยที่สดุ หรือไม่มีรอยต่อเพื่อป้องกันการรั่วซึมของรอยต่อ
- การติดตัง้
- การติดตัง้ จะต้องใช้อปุ กรณ์และเครื่องมือติดตัง้ ตามที่ผผู้ ลิตกาหนด
หมวดที่ 2 52/172 งานหลังคาเหล็ก (Metal Sheet)
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ส่วนประกอบของการยึดมุง จะต้องไม่เป็ นสนิมมีความแข็งแรง และทาให้การขึน้ รูปทรงได้สดั ส่วนที่


เหมาะสม
- ไม่อนุญาตให้มีการต่อแผ่น หากมีความจาเป็ นให้ตอ่ แผ่นตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต และขออนุมตั ิต่อ
ผูอ้ อกแบบก่อนดาเนินงาน
- รายละเอียดของการทางาน (Detail) บางตาแหน่งซึง่ มิได้แสดงไว้ในแบบก่อสร้างผูค้ วบคุมงานมี
สิทธิเรียกผูท้ าการติดตัง้ มาพิจารณาอนุมตั ิก่อนดาเนินการ
- กาหนดให้ติดตัง้ ฉนวนกันความร้อน โดยติดตัง้ ฉนวนกันความร้อน ตามระบุในแบบ ติดตัง้ ตาม
มาตรฐานผูผ้ ลิต ชัน้ บนสุดเพื่อป้องกันความร้อนเข้าสูอ่ าคาร ติดตัง้ ตามกรรมวิธีท่ผี ผู้ ลิตกาหนดส่ง
Shop Dwg. ให้สถาปนิกอนุมตั ิก่อนดาเนินการติดตัง้

หมวดที่ 2 53/172 งานหลังคาเหล็ก (Metal Sheet)


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.5 การใช้วัสดุหลังคาสาหรับงานโรงเรือน (GREEN HOUSES)


- ข้อควรคานึงถึงในการใช้วสั ดุ F-CLEAN หรือคุณภาพเทียบเท่า ให้เหมาะสมกับการติดตัง้ โรงเรือน ที่ควรได้รบั คาแนะนาจาก
ผูเ้ ชี่ยวชาญ มีดงั นี ้ :-
- ระยะห่างระหว่างโค้ง หรือจั่วของหลังคา
- ระยะห่างระหว่างรางนา้ และโครงยึด รวมถึงวัสดุยดึ
- ความเร็วลม (wind loads) ของบริเวณที่จะติดตัง้ โรงเรือน
- ประเภทของวัสดุจบั ยึด (fasteners) ที่เหมาะสมกับวัสดุ เพื่อให้ม่นั ใจว่าฟิ ลม์ นัน้ ถูกยึดอยู่ในตาแหน่งที่เหมาะสม
แน่นหนา แม้มีการใช้งานที่ยาวนาน แต่ไม่ควรใช้วสั ดุจบั ยึด รวมถึงการยึดที่มีลกั ษณะการติดตัง้ แบบเจาะรู
- การขึงวัสดุนนั้ ต้องขึงให้ตงึ และเรียบติดกับกรอบ หรือโครง เพื่อไม่ให้เกิดการกระพือของแผ่นฟิ ลม์
- กรงเล็บและจะงอยปากของนกสามารถสร้างความเสียหายแก่วสั ดุ ได้ โรงเรือนนัน้ ไม่ควรมีพนื ้ ที่วา่ งบนหลังคาให้นกเกาะ ซึง่
การขึงลวดสามารถป้องกันนกเกาะบนหลังคาได้
- วัสดุ อาจเกิดความเสียหายจากการเสียดสีกบั โครงสร้าง (เหล็ก) ได้ ซึง่ สามารถใช้เทปพันกับโครงสร้าง (เหล็ก) ในจุดที่จะขึง
ฟิ ลม์ เพื่องป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึน้ ได้
- วัสดุ ที่ยงั ไม่ได้รบั การติดตัง้ ควรเก็บในที่พน้ แสง แห้ง และมีอาการถ่ายเท
การติดตัง้ วัสดุ
- วัสดุ ต้องบรรจุอยู่ในบรรจุภณ ั ฑ์ท่ปี ิ ดผนึกมิดชิดก่อนนามาติดตัง้ เพื่อป้องกันการฉีกขาดหรือเสียหายระหว่างการเคลื่อนย้าย
วัสดุ
- การติดตัง้ วัสดุ จาเป็ นต้องได้รบั การติดตัง้ จากทีมงานที่เชี่ยวชาญ หรือมีประสบการณ์การติดตัง้ โรงเรือน
- วัสดุ เหมาะสมในการติดตัง้ ช่วงที่สภาพอากาศไม่แปรปรวน และอุณหภูมิไม่ต่ากว่า 10°c ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อการยึดวัสดุ
- ตรวจสอบให้ม่นั ใจว่าบริเวณการติดตัง้ วัสดุ ปราศจากวัตถุมีคม ซึง่ อาจทาให้วสั ดุ เกิดความเสียหายได้
- ด้านหนึ่งของพืน้ ผิววัสดุ ถูกเคลือบด้วยสาร Anti-drip และบ่งชีด้ ว้ ยสัญลักษณ์ “Inside” ต้องมั่นใจว่าการติดตัง้ วัสดุ นัน้ ใช้
ด้านที่ถกู เคลือบสาร Anti-drip ที่มีสญ ั ลักษณ์ “Inside” ยึดไว้ดา้ นในโรงเรือน
- ไม่ควรเหยียบหรือเดินบนวัสดุ ขณะติดตัง้ และควรสวมรองเท้าที่มีพนื ้ สัมผัสนุ่ม เพิ่งป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึน้
ระหว่างการติดตัง้
- ในการติดตัง้ หลังคาโดยวัสดุ มีขนั้ ตอนการติดตัง้ ดังนี ้ :-
- ทางานจากด้านล่างขึน้ บน โดยพาดวัสดุ จากรางนา้ ข้ามหลังคา ระวังไม่ให้วสั ดุ ถูหรือถูกขูดกับโครงที่ใช้ยึด
- วางม้วน ลงในรางนา้ แล้วจึงเตรียมคลายม้วนฟิ ลม์ เพื่อเตรียมติดตัง้
- การเตรียมวัสดุ เพื่อการติดตัง้ อาจจาเป็ นต้องเตรียมวัสดุบนพืน้ ราบ ก่อนใช้อปุ กรณ์/เครื่องช่วยก หรือรถยก ไปวางบน
รางนา้ เพื่อเตรียมขึงกับโครงสร้าง หรือโครงที่ใช้ยึด
- เผื่อการหดตัวและการจับยึด ควรเผื่อวัสดุ ไว้ดา้ นละ 2.50 เซนติเมตร (1 นิว้ ) ก่อนตัดส่วนที่เกินที่เหลือจากการขึงออก

หมวดที่ 2 54/172 งานวัสดุหลังคาสาหรับงานโรงเรือน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.6 งานประตู-หน้าต่างไม้ และกระจก

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหา วัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์สาหรับการติดตัง้ ประตูหน้าต่างไม้ ให้ถกู ต้องตามระบุในแบบและรายการ
ก่อสร้าง
วัสดุ
- วงกบเหล็กผลิตจากเหล็กแผ่นซิงค์ กาววาไนซ์ (ZINC GALVANIZE STEEL) ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.6 ม. ประกอบ
เชื่อมเป็ นวงสาเร็จ โดยวิธีเข้ามุม 45๐ พร้อมฐานบานพับสาเร็จในตัว ตามมาตรฐานโรงงาน ผ่านกระบวนการพ่นสี
ผงอบความร้อน 200 องศาเซลเซียส (POLYESTER POWDER COATING) ไม่มีการไปตัดต่อหรือไปประกอบที่หน้า
งาน ใช้ผลิตภัณฑ์ประกอบในประเทศคุณภาพเทียบเท่า MERCANSTEEL หรือ WINCO หรือ LESCO หรือ
SECCOLOR หรือ A.U.M. หรือ DAIMOND DOOR
- บานประตูไม้และบานหน้าต่างไม้ท่ที าสีโชว์เนือ้ ไม้ จะต้องประกอบขึน้ จากไม้สกั ทอง และจะต้องประกอบมาจาก
โรงงานให้เรียบร้อย การบากและการเข้าไม้จะต้องแน่นและสนิท และมีขนาดตามระบุในแบบ
- ประตูไม้อดั ประตูทกุ บานจะต้องมีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 35 มม. หรือตามระบุในแบบ ประตูไม้อดั ที่ใช้ทงั้ หมดให้ใช้
ประตูไม้อดั ชนิดกันนา้ (MARINE PLYWOOD DOORS) มีคณ ุ สมบัติตาม มอก.192-2549 ฉบับล่าสุด รายละเอียดบาน
ประตูไม้อดั ให้ดใู นแบบก่อสร้าง
- มุง้ ลวด ในกรณีท่รี ะบุให้ติดมุง้ ลวด
- มุง้ ลวดหน้าต่างให้ติดหน้าต่างมุง้ ลวดไฟเบอร์ กรอบอลูมิเนียม หรือระบุในแบบเป็ นอย่างอื่น
- มุง้ ลวดติดตายให้ติดบานมุง้ ลวดไฟเบอร์ ชนิดถอดออกทาความสะอาดได้ หรือระบุในแบบการติดตัง้ มุง้ ลวดต้องได้
ระดับและยึดให้ติดตัง้ 4 ด้าน
การส่ง การเก็บและการรักษาวัสดุ
วัสดุจะต้องส่งมายังสถานที่ก่อสร้างในสภาพแห้ง และต้องเก็บให้คงสภาพอยู่เสมอของทัง้ หมดต้องขนย้ายด้วยความ
ระมัดระวัง ทัง้ ระหว่างการขนส่งและทัง้ ในสถานที่ก่อสร้างจะต้องเก็บไว้ในลักษณะที่ของนัน้ จะไม่ฉีกแตกหักเสียหายได้ไม่วา่
ประการใด ๆ วางประตูในทางตัง้ และเก็บชิน้ ส่วนที่เป็ นไม้ไว้ในที่แห้ง มีสิ่งปกคลุมภายหลังการติดตัง้ ยังต้องป้องกันความ
เสียหายในระหว่างการก่อสร้างด้วย ผูว้ า่ จ้างและผูค้ วบคุมงานจะไม่ยอมรับงานที่เสียหาย ทัง้ นีผ้ รู้ บั จ้างจะต้องทาทดแทนใหม่
ให้เรียบร้อย
การติดตัง้
- การติดตัง้ วงกบ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิตวงกบเหล็ก
- ประตูและวงกบเหล็ก
- ก่อนการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องตรวจดูความเรียบร้อยถูกต้องของวงกบประตูเสียก่อนถ้าเกิดความ
ผิดพลาด เนื่องจากการคดโก่งของวงกบ หรือการชารุดอื่น ๆ ซึ่งอาจเป็ นผลเสียหายแก่ประตู
ภายหลัง ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งให้ผคู้ วบคุมงานทราบ และ/หรือ รายงานต่อผูค้ วบคุมงานทันที เพื่อทา
การแก้ไขซ่อมแซมให้เรียบร้อยแล้วจึงทาการติดตัง้ ประตูตอ่ ไปได้
- การติดตัง้ บาน อาจต้องมีการตัดแต่งบ้างเล็กน้อย เพื่อให้พอดีกบั วงกบประตูและสะดวกในการปิ ด
เปิ ด และสอดคล้องกันกับการทางานของช่างสีผรู้ บั จ้างจะต้องทาด้วยความระมัดระวัง โดยถือระยะ
เหล่านีเ้ ป็ นพืน้ ฐาน คือ
ด้านบนควรจะห่างจากวงกบประมาณ 2 มม.
หมวดที่ 2 55/172 งานประตู-หน้าต่างไม้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ด้านข้างควรจะห่างจากวงกบประมาณ 2 มม.
ด้านล่างควรจะห่างจากวงกบประมาณ 5 มม.
- การติดตัง้ อุปกรณ์ เช่น กุญแจ ลูกบิด ขอรับ ขอสับ ฯลฯ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ TEMPLATE
กาหนดที่ท่จี ะเจาะประตูก่อนแล้วจึงทาการเจาะเพื่อไม่ให้เกิดการผิดพลาดขึน้ ได้ หลังจากการ
ติดตัง้ อุปกรณ์ต่าง ๆ และได้ทดสอบการใช้งานเรียบร้อยแล้ว ให้ถอดอุปกรณ์ต่าง ๆ ออกให้หมด
(ยกเว้นบานพับ) แล้วนาเก็บลงในกล่องบรรจุเดิมทัง้ นี ้ เพื่อให้ช่างทาสีทางานได้โดยสะดวก และ
เมื่อสีท่ที าประตูหรือวงกบแห้งสนิทแล้ว จึงทาการติดตัง้ อุปกรณ์เหล่านัน้ ใหม่และทดสอบจนใช้
การได้ดีดงั เดิม อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น กุญแจ ลูกบิด บานพับ ถ้าปรากฏเป็ นรอย อันเนื่องมาจาก
การติดตัง้ หรือจากการขนส่งอื่น ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลี่ยนใหม่ให้ทนั ที
การทาสี
บานประตูไม้อดั ยาง/ยาง และไม้ปิดเหนือช่องประตู ให้ทาด้วยสีนา้ มันทัง้ หมด หรือระบุเป็ นอย่างอื่นในหมวดงานทาสี
หรือในแบบบานประตูไม้สกั /สัก มะปิ น/มะปิ น และบานประตูไม้อดั สัก ให้ทาเคมเกรซ หรือยูรเี ทน หรือระบุเป็ นอย่างอื่นในแบบ
การทาสีบานประตูไม้อดั ยาง/ยางให้ใช้กระดาษทรายขัดพร้อมลงแป้ง เพื่อไม่ให้เห็นรอยเสีย้ นไม้ให้ผรู้ บั เหมาทา ตัวอย่างเพื่อ
ขออนุมตั ิ

หมวดที่ 2 56/172 งานประตู-หน้าต่างไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานประตู-หน้าต่างโลหะ

ขอบเขตของงาน
งานในส่วนนีห้ มายความถึง งานประตูหน้าต่างโลหะทัง้ หมดที่นอกเหนือจากประตูหน้าต่างอลูมิเนียม ที่ปรากฏในรูปแบบ
ก่อสร้างและรายการ รวมทัง้ ส่วนประกอบต่าง ๆ ที่ประกอบขึน้ เป็ นงานที่ระบุไว้ใน แบบก่อสร้างและกาหนดไว้ในที่นี ้
เหล็ก
ต้องเป็ นเหล็กเหนียวผลิตร้อน มีปริมาณคาร์บอนอยู่ไม่เกินระหว่าง 0.15-0.25 หรือตามข้อกาหนด
ประตูเหล็กกันไฟ
มีใบรับรองและผ่านการทดสอบ การทนไฟไม่นอ้ ยกว่า 2 ชั่วโมงจากสถาบันที่เชื่อถือได้ ประตูเหล็กกันแผ่นพับมีความหนา
ของตัวบานไม่นอ้ ยกว่า 40 มม. แผ่นเหล็กตัวบานเป็ นประตูเหล็ก COLD ROLLED STEEL SHEET เบอร์ 16 ใช้เหล็กหนาไม่
น้อยกว่า 1.6 มม. พร้อมวงกบเหล็กขนาดตามแบบ มีช่องแสงตามระบุในแบบรูป บานประตูจะต้องผ่านกระบวนการป้องกัน
สนิมด้วยวิธีการ ZINC PHOSPHATE COATING และกรุดว้ ยใยหิน (Rock Wool) ซึง่ มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า110 KG/m3
ทนไฟได้ไม่นอ้ ยกว่า 2 ชั่วโมงที่ความร้อน 1,000 องศาเซลเซียส ภายนอกเคลือบด้วยสีผง POLYESTER POWDER
COATING ด้วยความร้อน 200 องศาเซลเซียสสาเร็จจากโรงงาน พร้อมมียางกันควันโดยรอบอุปกรณ์บานพับ สแตนเลส
ขนาดประมาณ 5” x 4” หนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มม. ติดตัง้ 3 ชุด/1บาน ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่ง SHOP DRAWING ให้ผคู้ วบคุมงาน
ตรวจสอบก่อนการติดตัง้ ใช้ผลิตภัณฑ์ประกอบในประเทศคุณภาพเทียบเท่า MERCAN STEEL หรือ WINCO หรือ LESCO
หรือ SECCOLOR หรือ A.U.M. หรือ DIAMOND DOOR อุปกรณ์ประกอบ เช่น บาร์ผลัก, โช๊คอัพ, ลูกบิด ใช้มาตรฐานผูผ้ ลิต
ประตูเหล็ก หรือมาตรฐาน 1288-2538 หรือประตูเหล็กทนไฟ มอก.1220-2541
กุญแจล็อค
กุญแจล็อคทัง้ หมด ให้จดั ทา MASTER KEY , SUB MASTER KEY และ ENGINEERING KEY โดยให้ผรู้ บั จ้างงาน
อลูมิน่มั ประสานงานกับผูร้ บั จ้างงานอาคารและผูค้ วบคุมงาน เพื่อเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ให้ตรงกัน อันจะเป็ นการลดปั ญหาในการ
จัดทา MASTER KEY , SUB MASTER KEY และ ENGINEERING KEY
การรับประกัน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาเอกสารรับประกันคุณภาพวัสดุ อุปกรณ์ท่ีนามาติดตัง้ อย่างน้อย 2 ปี นบั จากวันส่งมอบอาคาร แก่ผู้
ว่าจ้าง

หมวดที่ 2 57/172 งานประตู-หน้าต่างโลหะ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน และภายนอก (ALUMINIUM DOOR AND WINDOW)

1. ข้อกาหนดทั่วไป
วงกบประตู-หน้าต่างอลูมิเนียม จะต้องเป็ นระบบของ ผูร้ บั เหมาติดตัง้ งานอลูมิเนียมกระจก ที่มีรายชื่ออยู่ในรายชื่อ
ผูผ้ ลิตและติดตัง้ (VENDER LISTS) ซึง่ มีหน้าตัด SECTION คล้ายกัน หรือใกล้เคียงกับที่ระบุไว้ในแบบงาน
สถาปั ตยกรรม หรือเป็ นระบบของบริษัทชัน้ นาในต่างประเทศ จากยุโรป อเมริกา ที่ผ่านรับรองจาก ASTM หรือ BS
EN STANDARD และจะต้องได้รบั การรับรองจากสถาปนิกเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเสียก่อน
โดยรายชื่อผูผ้ ลิตและติดตัง้ ที่อนุญาตสาหรับโครงการนี ้ ได้แก่
1. บริษัท โอเรกอน อลูมิเนียม จากัด
2. YHS INTERNATIONAL COMPANY LIMITED
3. บริษัท นวกิจอลูมิน่มั แอนด์ กลาส (2009) จากัด
4. บริษัท กิม้ หยูเส็ง ค้ากระจก จากัด
5. บริษัท บี กริม เอ็มบีเอ็ม เมทัลเวิรค์ ส จากัด
6. บริษัท ปี เตอร์สนั 1990 จากัด
7. บริษัท เอ็ม พลัส จี ฟาซาด จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. วัสดุ
ขนาดความหนา และนา้ หนักของ SECTION ทุกอันจะต้องไม่เล็กหรือบางกว่าที่ระบุเอาไว้ในแบบสถาปั ตยกรรม
สาหรับงานประตูหน้าต่างอลูมิเนียมชนิดภายในและภายนอก โดยรายชื่อผูผ้ ลิตอลูมิเนียมเส้นหน้าตัด มาตรฐานผูผ้ ลิต เช่น
บริษัท เมืองทองอุตสาหกรรมอลูมิเนียม จากัด, บริษัท ซิมเมอร์เมตัล สแตนดาร์ด จากัด, บริษัท เม่นา้ มิทอลซัพพลาย จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า ให้ยึดถืออย่างเคร่งครัด
2.1 ALUMINIUM EXTRUSION
เนือ้ ของอลูมิเนียมจะต้องเป็ น ALLOY ชนิด 6063-T5 หรือ 50S-T5 ซึง่ มีคณุ สมบัติตามมาตรฐาน ม.อ.ก.
หรือ AA STANDARD ดังนี ้
ULTIMATE TENSILE STRENGTH 22,000 PSI (Min.)
YIELD 16,000 PSI (Min.)
SHEAR 9,000 PSI
YOUNG’S MODULUS 10,000,000 PSI
อลูมิเนียมที่ใช้ ทุก Section ต้องถูกตามขนาด รูปร่าง และความหนาตามรายละเอียดประกอบแบบ หรือตามขนาด
มาตรฐานบริษัทผูผ้ ลิตความหนาของอลูมิเนียมจะต้องไม่นอ้ ยกว่าที่กาหนด ดังนี ้
อลูมิเนียมชุดวงกบ หนา 1.6 มม.
กรอบบานเลื่อน หนา 2.0 มม.
อลูมิเนียม ชุดช่องแสงทั่วไป หนา 2.0 มม.
อลูมิเนียม ชุดประตูสวิง หนา 2.3 มม.
อลูมิเนียม ชุดรางแขวน หนา 2.3 มม.
อลูมิเนียม ชุดบานกระทุง้ หนา 2.1 -2.5 มม.
อลูมิเนียมส่วนประกอบทั่วไป หนา 1.1 มม.
หมวดที่ 2 58/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

โดยกรณีท่หี ากจาเป็ นต้องเสริมความแข็งแรง ให้กบั MEMBER ต่าง ๆ เพื่อความเหมาะสมกับการใช้งานในสภาวะที่


แรงลมต่างกันนัน้ ให้ยดึ ถือรายการคานวณเป็ นหลัก โดยจะต้องทารายการคานวณชีแ้ จง และจัดทาแบบแสดงรายละเอียดให้
ถูกต้องชัดเจนก่อนเพื่อขออนุมตั ิก่อนดาเนินการ
2.2 ALUMINIUM SHEET
ความหนาของอลูมิเนียมแผ่น จะต้องหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.5 มม. จะต้องเรียบและ ปราศจากรอยขูดขีดที่เห็นได้
ชัด ความหนาของอลูมิ เนี ย มแผ่ น จะต้อ งเรีย บและปราศจากรอยขูด ขี ด ที่ เห็ น ได้ชัด โดยความหนาที่
กาหนดให้ใช้ ดังนี ้
3 ม.ม. ในส่วนที่รบั นา้ หนัก หรือเป็ น STRUCTURE
2 ม.ม. ในส่วนที่ไม่รบั นา้ หนัก EXPOSED FLASHING, COVER
1.2 ม.ม. ในส่วนที่เป็ น CONSEALED FLASHING
โดยกาหนดให้อลูมิเนียมส่วนที่มองเห็น ทาสีระบบเดียวกันกับวงกบประตู- หน้าต่างและส่วนที่มองไม่เห็นอนุญาตให้
เป็ น MILL FINISHED
3. ผิวของอลูมิเนียม
ใช้ตามที่ระบุไว้ในแบบสถาปั ตยกรรม โดยมีความหนาของฟิ ลม์ หรือชัน้ ของสี ตามรายละเอียดของ ข้อกาหนดในการ
ผลิตในการทาผิวอลูมิเนียมเส้น มีรายละเอียดดังต่อไปนี ้
3.1 กรณีเป็ นระบบเคลือบสี FLUOROCARBON FINISHED ตามที่กาหนดมาตรฐาน AAMA 2605 ผิว
อลูมิเนียมในส่วนที่มองเห็น (EXPOSED SURFACE) ต้องเป็ นสีผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่าระบบ
DURANAR XL 3 COAT SYSTEM ของ PPG INDUSTRIES INC., U.S.A. หรือ DNT ของ DAI NIPPON
TOKYO., JAPAN หรือ AKZO NOBEL หรือเทียบเท่า ส่วนผิวของอลูมิเนียมในส่วนที่มองไม่เห็นให้เป็ น
MILL FINISHED ความหนาของฟิ ลม์ สีตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 35 MICRON การเคลือบและการเตรียมผิวก่อน
เคลือบสี ให้ดาเนินการตามกรรมวิธีท่ไี ด้กาหนดในกาหนดมาตรฐานเลขที่ ASTM D-1730-67, TYPE B,
METHOD 7 และ ASTM B-449-67(1972) ผูเ้ คลือบสีตอ้ งมีเอกสารรับรองมาตรฐานของขบวนการทาสีเป็ น
ลายลักษณ์อกั ษร (Authorized Applicator) จากบริษัทผูผ้ ลิตสีขา้ งต้น และต้องรับประกันคุณภาพของสีวา่
ฟิ ลม์ สีจะไม่หลุดร่อนแตกและชอล์คกิง้ ภายในเวลา 10 ปี นับจากวันเคลือบและรับรองการซีดจางของสีตอ้ ง
ไม่เกิน 5 UNIT (MBS)
3.2 กรณีเป็ นระบบเคลือบสี POWDER COATED FINISHED ตามที่กาหนดมาตรฐาน
AAMA 2603 ผิวอลูมิเนียมส่วนที่มองเห็น ต้องเป็ นสีผลิตภัณฑ์คณ
ุ ภาพเทียบเท่า CORRO-COAT PE-F
ของ JOTUN หรือ SERIES PA ของ CORNEL หรือ AKZO NOBEL ความหนาของฟิ ลม์ จะต้องไม่นอ้ ยกว่า
60-85 ไมครอน การเคลือบและการเตรียมผิวก่อน การเคลือบสี ให้ดาเนินการตามกรรมวิธีของ JOTUN
POWDER COATING หรือ CORNEL POLYMER โรงพ่นสีตอ้ งมีเอกสารรับรองมาตรฐานของขบวนการทา
สีเป็ นลายลักษณ์อกั ษร (Authorized Applicator) เป็ นลายลักษณ์อกั ษร จากผูผ้ ลิตสีขา้ งต้น และรับประกัน
คุณภาพของฟิ ลม์ สีท่จี ะไม่หลุดร่อนแตกร้าว ซีด จาง ภายในระยะเวลา 10 ปี นับจากวันเคลือบ
3.3 กรณีเป็ น ANODIZED FINISHING - ผิวของอลูมิเนียมจะเป็ นสี NATURAL
ANODIZED NA-1 ความหนาของผิวชุบ (ANODIC FILM) จะต้องไม่ต่ากว่า 15 ไมครอน ความคลาด
เคลื่อนที่ยอมให้ (ALLOWABLE TOLERANCE)  2 MICRONS และจะต้องมีหนังสือรับรองความหนา
ของ ANODIC FILM และ ระบบชุบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรจากโรงงานผูผ้ ลิต

หมวดที่ 2 59/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

4. แบบและเอกสารประกอบการพิจารณาประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม
สาหรับประตูและหน้าต่างอลูมิเนียมทั่วไป ผูเ้ สนอราคาจะต้องส่งรายละเอียด ดังนี ้
4.1 แบบประกอบการพิจารณา
ก. แบบรายละเอียดประตู-หน้าต่างทั่วไป
ข. แบบรายละเอียดสาหรับแบบประกอบการเสนอราคาดังกล่าวข้างต้นนัน้ จะต้องแสดงรายละเอียด
ของขนาด SECTION, การยึด (FIXING), ระบบกันนา้ โดยละเอียด
4.2 รายการคานวณขนาด SECTION
ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูค้ านวณออกแบบหน้าตัด และความหนาของงานอลูมิเนียมทัง้ โครงการโดยใช้ขอ้ มูลที่
กาหนดได้ดงั ต่อไปนี ้
4.2.1 ความสามารถในการต้านทานต่อแรงลม ให้ใช้ดงั ต่อไปนี ้
งานอลูมิเนียมสาหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 10 เมตรแรกจากพืน้ เท่ากับ 50 กก/ตรม.
งานอลูมิเนียมสาหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 10 –20 เมตร เท่ากับ 80 กก/ตรม.
งานอลูมิเนียมสาหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 20-40 เมตร เท่ากับ 120 กก/ตรม.
งานอลูมิเนียมสาหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 40-80 เมตร เท่ากับ 160 กก/ตรม.
งานอลูมิเนียมสาหรับความสูงของอาคาร ตัง้ แต่ 80 เมตรขึน้ ไป เท่ากับ 200 กก/ตรม.
4.2.2 ค่า ALLOWABLE DEFLECTION ต้องไม่เกิน L/175 ของความยาวจาก SUPPORT แรกถึง
SUPPORT ถัดไป (เมื่อ L คือความยาวของ MEMBER) ความหนาของอลูมิเนียมที่กาหนดให้ใช้
ในรายการก่อสร้างนีเ้ ป็ นความหนาขัน้ ต่าที่ยอมให้ ในกรณีท่ผี รู้ บั จ้างคานวณแล้วผลการคานวณ
แสดงให้เห็นว่าความหนาของอลูมิเนียมจะต้องหนามากกว่าที่กาหนดให้ใช้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้
ความหนาตามผลการคานวณ หรือในกรณีท่ผี ลการคานวณแสดงให้เห็นว่าความหนาของ
อลูมิเนียมสามารถใช้บางกว่าที่กาหนดให้ได้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนาตามที่กาหนดให้ไว้ใน
รายการก่อสร้างนีโ้ ดยเคร่งครัด
4.2.3 สาหรับประตูหน้าต่างภายในอาคาร (ส่วนที่ไม่ใช่ผนังภายนอกอาคาร) ซึง่ ไม่ตอ้ งรับแรงให้
คานวณโดยใช้แรงขัน้ ต่า 50 กก./ตรม.
5. การรับประกัน
ผูเ้ สนอราคาจะต้องรับประกันความเสียหายที่เกิดขึน้ จากการติดตัง้ และใช้งานปกติของประตู-หน้าต่างอลูมิเนียม
เป็ นระยะเวลา 5 ปี สาหรับระบบ สาหรับอุปกรณ์ขนึ ้ อยู่กบั การรับประกันจากทางผูผ้ ลิต แต่ขนั้ ต่าต้องไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
6. แบบประกอบการติดตัง้ (SHOP DRAWING)
หลังจากที่สถาปนิกตกลงหลักการเบือ้ งต้น ผูท้ ่ีได้รบั เลือกให้เป็ นผูท้ าการติดตัง้ วงกบประตู -หน้าต่างอลูมิเนียมจะต้อง
เขียนแบบประกอบการติดตัง้ (SHOP DRAWING) มาเสนอต่อทางสถาปนิกก่อน จะต้องแสดงรายละเอียดการติดตัง้ แบบ
ประกอบการติดตัง้ (INSTALLATION) การยึด (FIXING) การกันนา้ (WATER TIGHT) และจะต้องแสดงระยะต่าง ๆ ตลอดจน
TOLERANCE โดยละเอียดให้ถกู ต้องตามแบบสถาปั ตยกรรมและการใช้งานที่ดี

หมวดที่ 2 60/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

7. อุปกรณ์ประอุปกรณ์ประตู – หน้าต่างอลูมิเนียมและกระจก
Item Type Specification BRAND
7.1 ช่องแสงติดตายวงกบอลูมิเนียม
ขนาดและความหนาของวงกบขึน้ อยู่กบั รายการ
คานวณหน้าตัดที่เหมาะสมต่อแรงลม ณ บริเวณที่ใช้
งาน การติดตัง้ จะต้องซ่อน สกรูท่ขี นั ยึดติดกับวงกบ
ไม่ให้มองเห็น และจะต้องมีขอบของอลูมิเนียมเพียง
พอที่จะรองรับเส้น POLYETHERENE (โฟมเส้น)
JOINT BACKING และ SILICONE SEALANT ใน
งานส่วนที่แนบติดกับปูนฉาบคอนกรีต ห้ามใช้
RIVET (เม็ดยา้ ) หรือสกรูเหล็กชุบซิงค์ ในการยึด
และประกอบโครงวงกบ และบานอลูมิเนียม โดย
เด็ดขาด
7.2 ประตูอลูมิเนียมบานเปิ ดสองทาง (DOUBLE ACTION)
1. Door Closer ให้ใช้ชนิดซ่อนในวงกบเหนือประตู แบบเปิ ดเข้า-ออก HAFELE, OVERSEA, DORMA ,
ได้สองทาง (DOUBLE ACTION) และจะต้องเป็ น BRITON, FALCON หรือคุณภาพ
ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้ผ่านการทดสอบ และรับรองคุณภาพ เทียบเท่า
จาก UNDERWRITERS LABORATORIES INC.
(UL) ประเทศสหรัฐอเมริกา และผูผ้ ลิตจะต้องได้รบั
ประกันคุณภาพอย่างน้อย 24 เดือน นับจากวันที่ทา
การติดตัง้
2. DEAD LOCK เป็ นชนิด MORTISE DEAD LOCK HAFELE,YALE, DORMA, หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
3. FLUSH BOLT จะต้องเป็ นชนิด ZINC DIECAST แบบ ROUND INTERLOCK, NAKANISHI, GA
FRONT และ EXTENSION ROD ต้องมี หรือคุณภาพเทียบเท่า
เส้นผ่าศูนย์กลางไม่นอ้ ยกว่า 6.00 มม.
4. HANDLE ชนิด STAINLESS STEEL 2 ตัว ต่อ บาน Cenza, GA, VR
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.3 ประตูบานเปิ ดอลูมิเนียมกันนา้ สาหรับเปิ ดสู่ภายนอกอาคาร (SINGLE ACTION)
1. HINGE ติดตัง้ บานพับ HINGE, ที่ทามาก Aluminium DORMA,CENZA,GIESSE
Extrusion หรือ Aluminium Die Cast NEWSTARS หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. DOOR STOP ชนิด BODY เป็ น STAINLESS STEEL HAFELE, CENZA,
GA,GIESSE
หรือคุณภาพเทียบเท่า

หมวดที่ 2 61/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

Item Type Specification BRAND

3. HANDLE เป็ นแบบ LEVER HANDLE HAFELE,DORMA,CENZA,GIESS


E หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. KEY LATCH LOCK W/DEAD BOLT แบบภายนอกใช้ HAFELE, CENZA ,GIESSE,
กุญแจ และภายในใช้กญ
ุ แจ THUMB TURN DORMA, หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. DOOR CLOSER ใช้ CONCEALED DOOR CLOSER แบบฝังซ่อนใน HAFELE HS3000 , DORMA ITS
สันบาน 96, OVERSEA , หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
7.4 ประตูบานเลื่อนอลูมิเนียม
1. ROLLER ชนิด DOUBLE ROLLER โดยอาจต้องเสริมชุดล้อ CENZA. ANTONY BARRING,
รางแขวน ทัง้ นีข้ นึ ้ อยู่กบั รายการคานวณ , HENDERSON
WINDLOAD และนา้ หนักบานเป็ นสาคัญ DAIKEN, หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. FLUSH PULL มือจับฝัง HAFELE, GA,GIEESE
HANDLE W/LOCK ,ADAMSLITE,หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. LOCK SET สาหรับประตูบานเลื่อน ให้ใช้ MORTISE DEAD HAFELE, CENZA, GIEESE ,YALE
LOCK เฉพาะประตูบานเลื่อนอลูมิเนียม ที่ใช้เป็ น หรือคุณภาพเทียบเท่า
ทางเข้า(ENTRANCE) ให้มีระบบล็อคภายนอกใช้
กุญแจ และภายในเป็ น THUMB TURN สาหรับ
ประตูท่เี ป็ นทางเข้าออก เป็ นชนิด FLUSH
LOCKSETS
7.5 ประตูกระจกนิรภัย (TEMPERED GLASS DOOR)
ประตูและกระจกติดตายที่เกี่ยวข้องกันจะต้องเป็ น
กระจกนิรภัยชนิดใส (CLEAR TEMPERED
GLASS) ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 12 มม. ดังรูปแบบ
ที่แสดงในแบบ
1. FLOOR SPRING โช็คอัพชนิดฝังพืน้ HAFFELE,DORMA,AXIM, ASSA
ABLOY, CENZA ,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. PATCH FITTING อุปกรณ์หนีบกระจก สาหรับกระจกหนา 12 mm HAFFELE,DORMA,AXIM , ASSA
ABLOY , KINGLONG,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. CORNER ชุดกุญแจล็อคพืน้ HAFFELE,DORMA,AXIM,ASSA
LOCK+CYLINDER ABLOY, หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. PULL HANDLE มือจับเป็ นชนิด STAINLESS STEEL Cenza, GA, VR,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
Item Type Specification BRAND

หมวดที่ 2 62/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

7.6 หน้าต่างบานเลื่อนอลูมิเนียม
1. ROLLER การใช้ SINGLE OR DOUBLE ROLLER ขึน้ อยู่กบั CENZA. ANTONY BARRING,
รายการคานวณ และนา้ หนักบานบานเป็ นสาคัญ HENDERSON ,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. FLUSH PULL มือจับฝัง HAFELE,
HANDLE W/LOCK GA,GIEESE,ADAMSARITE,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.7 หน้าต่างบานเปิ ดอลูมิเนียม ขนาดประมาณไม่เกิน 0.95 x 1.50m
1. CAM HANDLE INTERLOCK, GU, CENZA,
w/ LOCK หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. 4 BAR HINGES GA , INTERLOCK (NEW
ZEALAND) TRUTH จาก U.S.A.,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.8 หน้าต่างบานเปิ ดขนาดใหญ่ (LARGE SIZE CASEMENT WINDOW) ขนาดประมาณไม่เกิน 0.95 x 2.00m
1. CAM HANDLE INTERLOCK, GU, GIEESE
w/ LOCK หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. 4 BAR HINGES GA , INTERLOCK (NEW
ZEALAND) TRUTH จาก U.S.A.
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.9 หน้าต่างบานกระทุง้ (PROJECT WINDOW หรือ AWNING WINDOW) ขนาดประมาณไม่เกิน 1.20 x 1.50m
1. HINGE บานพับซ่อนในกรอบบานด้านบน EXTRUDED ALUMINIUM ในตัว
หรือ GA , INTERLOCK (NEW
ZEALAND) TRUTH จาก U.S.A.
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. SUPPORTING GA,INTERLOCK, GIESSE ,
ARM W/LIMITED หรือคุณภาพเทียบเท่า
OPENING DEVICE
3. SECURITY CAM GIESSE ,INTERLOCK,
LOCK FERGO, GU, หรือคุณภาพเทียบเท่า

Item Type Specification BRAND

หมวดที่ 2 63/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

7.10 หน้าต่างบานกระทุง้ ขนาดใหญ่ (LARGE SIZE PROJECT WINDOW หรือ AWNING WINDOW) ขนาด
ประมาณไม่เกิน 1.20 x (1.50-2.50m)
1. HINGE บานพับซ่อนในกรอบบานด้านบน (รับนา้ หนักสูงสุด EXTRUDED ALUMINIUM ในตัวหรือ
180kg) HINGE GA , INTERLOCK (NEW
ZEALAND) TRUTH จาก U.S.A.
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. SUPPORTING GA หรือ INTERLOCK, GIESSE ,
ARM W/LIMITED หรือคุณภาพเทียบเท่า
OPENING DEVICE
3. SECURITY CAM GU, INTERLOCK,FERCO,GIESSE,
LOCK หรือคุณภาพเทียบเท่า
กรณีเป็ นหน้าต่างที่มีพนื ้ ที่เกินกว่า 1 SQM. ให้ใช้
ระบบ GEAR MULTI-POINT ของ GU, FERCO
หรือ GIESSE อย่างน้อยบานละ 2 จุด หรือมากกว่า
ตามรายการคานวณที่ปอ้ งกันไม่ให้บานโก่งตัวออก
จากวงกบ หรือเกิดเสียงลมสอดแทรกเข้ามาใน
อาคาร
7.11 หน้าต่างบานหมุน (PIVOT WINDOW)
1. PIVOT HINGE Plate S.S. GA,DORMA, CENZA,VVP,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. FLUSH LOCK มือจับฝัง GA หรือ INTERLOCK, CENZA ,
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.12 หน้าต่างบานเกล็ด หรือผนังเกล็ดตามระบุ
1. บานเกล็ดกระจก
ติดตาย
2. บานเกล็ดกระจก ใช้ขาบานเล็ก พร้อมมือหมุนบานเกล็ด สามศร, บาร์ โก้ หรือ PENTACO,
ปรับมุม หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. บานเกล็ด ใช้ตวั Z ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.3 มม. ไม่ให้เห็นสก
อลูมิเนียม รู หรือ RIVET จากภายนอก มีโครงสร้างอลูมิเนียม
ยึดด้านหลังทุกระยะ SPAN 1.20 เมตร และบาง
รายการต้องติดตัง้ ตะแกรงเหล็กกันนก ขนาดช่อง 1“
x 1” หรือหน้าต่างมุง้ ลวดป้องกันแมลง ตาม
รายละเอียดที่สถาปนิกระบุให้
Item Type Specification BRAND
7.13 กุญแจประตูอลูมิเนียม และกุญแจประตูทงั้ หมดให้ทา MASTER KEY เข้าชุดกับประตูอื่น ๆ ของอาคาร โดย
หมวดที่ 2 64/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

มีรายละเอียดดังนี้ (กรณีทรี่ ะบุไว้ในรายการชุดอุปกรณ์ประตูหน้าต่าง)


กุญแจและลูกบิดประตูทกุ บานให้จดั ทากุญแจเฉพาะ
แต่ละลูกบิดจานวนลูกบิดละ 5 ดอก
กุญแจลูกบิดแต่ละชัน้ ให้ทา SUB MASTER KEY
สาหรับลูกบิดแต่ละชัน้ จานวนชัน้ ละ 3ดอก
กุญแจและลูกบิดประตูทกุ บานให้จดั ทากุญแจ
GRAND MASTER KEY จานวนรวม 1 ดอก

8. การป้ องกันประตูหน้าต่างอลูมิเนียมขณะกาลังก่อสร้าง
เมื่อติดตัง้ วงกบประตู/หน้าต่างเสร็จแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องพ่น STRIPABLE P.V.C. COATING หรือ
ติด PLASTIC TAPE เพื่อป้องกันผิวของวัสดุเอาไว้ให้ปลอดภัยจากนา้ ปูน หรือจากสิ่งอื่นใด อันอาจจะทาการเสียหายกับวงกบ
ประตู/หน้าต่างได้ ห้ามใช้นา้ มันเครื่องหรือนา้ มันอื่น ๆ ทาผิวเพื่อป้องกันนา้ ปูนเป็ นอันขาด
9. การทาความสะอาด (CLEANING)
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดผิวส่วนที่เป็ นอลูมิเนียมของบานประตู /หน้าต่าง ทั้งด้านนอกและด้านในให้สะอาด
ปราศจากคราบปูน สี หรือสิ่งอื่นใด เพื่อให้ดเู รียบร้อยไม่กีดขวางการยาแนวของ SEALANT และการทางานของอุปกรณ์ประตู/
หน้าต่าง ผูร้ บั จ้างต้องไม่ใช้เครื่องมือทาความสะอาดที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สิ่งตกแต่งผิวบานได้
10 การรับประกันผลงานการป้ องกันประตู-หน้าต่างขณะกาลังก่อสร้าง
วงกบและกรอบบานประตู-หน้าต่างอลูมิเนียม เมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จ ผูร้ บั จ้างจะต้องติด PLASTIC TAPE ป้องกันผิวของ
วัสดุเอาไว้ เพื่อให้ปลอดภัยจากนา้ ปูนหรือสิ่งอื่นใดที่อาจจะทาความเสียหายกับวงกบ และกรอบบาน ห้ามใช้นา้ มันเครื่อง หรือ
นา้ มันทาผิวอลูมิเนียม เพื่อป้องกันนา้ ปูนเป็ นอันขาด
11. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของประตู/หน้าต่าง รวมถึงวัสดุตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการติดตัง้ ทัง้ หมดเป็ นเวลา 5 ปี หากเกิด
ข้อบกพร่องต่าง ๆ จากการใช้งานปกติ อันเนื่องมาจากคุณสมบัติของวัสดุและการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องมา
ติดตัง้ ให้ใหม่และซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพที่ดี ด้วยความประณีตเรียบร้อยตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ
ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 65/172 งานประตูอลูมิเนียม-หน้าต่างอลูมิเนียมภายใน


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานหน้าต่างภายนอก

1. ขอบเขตของงาน
ภาคนีจ้ ะกล่าวถึงงานหน้าต่างภายนอก ที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ขอบเขตของผูร้ บั จ้าง
ครอบคลุมการออกแบบ จัดหาวัสดุ แรงงาน อุปกรณ์ท่ีเกี่ยวข้อง และติดตัง้ ให้เป็ นที่เรียบร้อย ตามแบบสถาปั ตยกรรม และ
หลักวิชาการก่อสร้างที่ดี รวมถึงการประสานงานกับผูร้ บั เหมาหลัก และผูร้ บั เหมางานอื่น ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ระบบการติดตัง้
และผลิตภัณฑ์จะต้องเป็ นของบริษัท ผูร้ บั เหมาติดตัง้ งานอลูมิเนียม-กระจก ที่มีความเชี่ยวชาญ ที่มีผลงานการติดตัง้ มาแล้ว
อย่างน้อย 2 โครงการมูลค่าไม่ต่ ากว่าโครงการละ 50 ล้านบาทและมีหนังสือรับรองผลงานจากเจ้าของโครงการ หรือได้แก่
บริษั ท โอเรกอน อลูมิ เนี ยม จากัด , YHS INTERNATIONAL CO.,LTD. บริษั ท นวกิ จอลูมิ น่ ัม แอนด์ กลาส (2009) จากัด ,
บริษัท กิม้ หยูเส็ง ค้ากระจก จากัด , บริษัท บี กริม เอ็มบีเอ็ม เมทัลเวิรค์ ส์ จากัด , บริษัท ปี เตอร์สนั 1990 จากัด , บริษัท เอ็ม
พลัส จี ฟาซาด จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า ทัง้ นีใ้ ห้รวมถึงงานประตูอลูมิเนียมภายในอาคารด้วย
2. แบบก่อสร้าง
ผูร้ บั จ้างต้องจัดเตรียมเขียนแบบประกอบการติดตัง้ พร้อมรายการคานวณ เพื่อเสนออนุมตั ิต่อผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้
ซึง่ แบบก่อสร้างนีจ้ ะต้องแสดงถึงรายละเอียดส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั่วไป รวมถึงรูปด้าน รูปหน้าตัด ความหนาวัสดุ
รายละเอียดการติดตัง้ การยึด ระบบการป้องกันการรั่วซึมของนา้ ระบบ PRESSURE EQUALIZATION และแสดงระยะต่าง ๆ
ตลอดจนความคลาดเคลื่อนโดยละเอียด
3. ข้อกาหนดในการออกแบบ
ระบบหน้าต่างจะต้องเป็ นระบบ ตามแบบรูปรายการ ซึง่ ผลิต ประกอบ ติดตัง้ กระจกและ
แผ่น COMPOSITE พร้อมตรวจเช็คคุณภาพจากโรงงานเป็ นที่เรียบร้อยก่อนการนาส่งไปติดตัง้ ยังหน่วยงาน โดยระบบจะต้อง
ได้รบั การออกแบบจากผูเ้ ชี่ยวชาญที่เชื่อถือได้ เท่านัน้ โดยมีขอ้ กาหนดดังต่อไปนี ้
3.1 การรับแรงลม
ระบบจะต้องรับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่าข้อกาหนดต่อไปนี ้
อาคารที่ระดับ
ความสูงตัง้ แต่ 0 - 10 เมตร รับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่า 50 กก./ตร.ม.
ความสูงตัง้ แต่ 11 - 20 เมตร รับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่า 80 กก./ตร.ม.
ความสูงตัง้ แต่ 20 - 40 เมตร รับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่า 120 กก./ตร.ม.
ความสูงตัง้ แต่ 40 -80 เมตร รับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่า 160 กก./ตร.ม.
ความสูงตัง้ แต่ 80 เมตรขึน้ ไป รับแรงลมได้ไม่นอ้ ยกว่า 200 กก./ตร.ม.
3.2 ความโก่งงอ (ALLOWABLE DEFLECTION)
การโก่งงอของระบบเมื่อทดสอบตาม DESIGN WIND LOAD จะต้องมีคา่ ไม่เกิน ดังนี ้
- อลูมิเนียมและส่วนประกอบโครงสร้าง ไม่มากกว่า L/175 หรือ 20 มม.
- กระจก ไม่มากกว่า L/90 หรือ 20 มม. และจะไม่ทาให้พนื ้ ที่ยดึ กระจก
(GLASS BITE ) ลดลงไปเกินกว่า 25%
3.3 ความเค้น (STRESS)
โครงสร้างและตัวยึดต่าง ๆ ในระบบจะต้องสามารถรับแรงได้ไม่นอ้ ยกว่า 1.5 เท่าของ DESIGN WIND LOAD
โดยไม่เกิด OVER STRESS ค่า STRESS ที่เกิดขึน้ จะต้องอยู่ในขอบเขตที่กาหนดไว้ในมาตรฐานของ ASTM /
AAMA และ ANSI
หมวดที่ 2 66/172 งานหน้าต่างภายนอก
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3.4 รายการคานวณ
ให้เสนอรายการคานวณความสามารถในการรับแรงลม และการรับนา้ หนัก DEAD LOAD ของระบบและจุดยึด
(FIXED BRACKET SYSTEM) ตาม ASTM E 330
3.5 การรับนา้ หนัก LIVE LOADS
ในส่วนที่จะต้องใช้ในการซ่อมบารุงจะต้องรับนา้ หนักได้ไม่นอ้ ยกว่า 0.75 KPA ส่วนจุดยึดหรือแขวนเพื่อเป็ น
SAFETY LINE จะต้องรับนา้ หนักได้ไม่นอ้ ยกว่า 1.50 KN ในทุกทิศ
3.6 AIR INFILTRATION
การรั่วซึมของอากาศสาหรับบานกระจกติดตายจะต้องไม่เกิน 1.0 L/SQ.M./SEC. เมื่อทาการทดสอบด้วย
STATIC PRESSURE ที่ 300 PA
3.7 STATIC WATER PENETRATION
จะต้องไม่มีการรั่วซึมปรากฏเมื่อทดสอบด้วย STATIC PRESSURE ตามมาตรฐาน ASTM E 331 ที่
DIFFERENTIAL TEST PRESSURE เท่ากับ 0.70 KPA สาหรับบานติดตาย หรือ 20% ของ DESIGN WIND
PRESSURE สาหรับบานเปิ ด แต่ตอ้ งไม่นอ้ ยกว่า 0.3 KPA
3.8 การกันไฟระหว่างชัน้
ให้มีระบบกันไฟ (FIRE STOP) ในส่วน INTER FLOOR ในตาแหน่งที่เหมาะสม และสามารถทนไฟได้ 2,000
องศาฟาเรนไฮด์ อัตราการลามของไฟที่ผิวไม่เกิน 0-15 การเกิดควันไฟไม่เกิน 10 และป้องกันไฟได้นาน (FIRE
RATING) 2 ชม. และเป็ นระบบต่อเนื่องที่กนั ความร้อนและไฟเข้ามาในอาคาร หรือลามไปยังชัน้ อื่น ๆ ของอาคาร
3.9 ค่าความคลาดเคลื่อนของโครงสร้าง
ผูร้ บั จ้างจะต้องออกแบบระบบให้สามารถรองรับความคลาดเคลื่อนของงานก่อสร้างจากแบบดังต่อไปนี ้
STRUCTURE
SLAB EGDE ON PLAN 30 mm.
SLAB LEVEL 20 mm.
VERTICALITYH / 500
SIDE FACE OF COLUMN 12.5 mm.
FINISHED FLOOR AND CEILING
LEVEL 5 mm
POSITION FROM GRID 5 mm.
WALL FINISHES
POSITION FROM GRID 20 mm.
EXTERNAL FINISHES
LEVEL 20 mm.
3.10 การป้องกันการสัมผัสของอลูมิเนียมกับโลหะต่างชนิดกัน
เมื่อผิวอลูมิเนียมจะต้องยึดหรือสัมผัสกับโลหะต่างชนิดกันที่ไม่ใช่สเตนเลสหรือเหล็กชุบสังกะสี ให้ปอ้ งกันการ
สัมผัสกันด้วยการทาสี BITUMINIOUS PAINTS หรือวัสดุเคลือบผิวอื่น ๆ ที่สามารถป้องกัน ELECTROLYTIC ได้
3.11 THERMAL BREAKAGE
ระบบที่ผรู้ บั จ้างจัดหาจะต้องเป็ นระบบที่สามารถป้องกันกระจกแตก อันเนื่องมาจาก THERMAL BREAKAGE

หมวดที่ 2 67/172 งานหน้าต่างภายนอก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

และ THERMAL SHOCK


3.12 การรองรับการเคลื่อนตัวและความคลาดเคลื่อน
ระบบจะต้องมี MOVABLE JOINTS ไว้สาหรับรองรับ
ก. ความคลาดเคลื่อนต่าง ๆ ที่เกิดจากการผลิตหรือจากการก่อสร้าง
ข. การขยายตัวของระบบจากความร้อน
ค. การเคลื่อนตัวของพืน้ หรือคานเนื่องจากนา้ หนัก
4. วัสดุ
4.1 อลูมิเนียม EXTRUSION
เนือ้ ของอลูมิเนียมจะต้องเป็ น ALLOY ชนิด 6063-T5 หรือ 50S-T5 ซึง่ มีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐานของ มอก. หรือ
ASTM ดังนี ้
ULTIMATE TENSILE STRENGTH 22,000 PSI (Min)
YIELD 16,000 PSI (Min)
SHEAR 9,000 PSI
ELASTIC MODULUS 10,000,000 PSI
โดยจะต้องผลิตจากโรงงานเทียบเท่า บริษัท ซิมเมอร์ เมตัลสแตนดาร์ด จากัด (SMS) หรือ บริษัท แม่นา้ มิทอล
ซัพพลาย จากัด หรือ บริษัท เมืองทองอุตสาหกรรม อาลูมีเนียม จากัด หรือ บริษัท แอลเมทไทย จากัด หรือ
บริษัท ทอสเท็มไทย จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า หรือ โรงรีดที่ได้มาตรฐาน ISO 9001 และสามารถออกหนังสือ
รับรองการตรวจสอบคุณสมบัติขา้ งต้น
4.2 อลูมิเนียมแผ่น
จะต้องเป็ น ALLOY ชนิด 3003 - H14 หรือ 5005 - H14 โดยมีความหนาอย่างน้อย
3 ม.ม. ในส่วนที่รบั นา้ หนัก หรือเป็ น STRUCTURE
2 ม.ม. ในส่วนที่ไม่รบั นา้ หนัก
1.2 ม.ม. ในส่วนที่เป็ น FLASHING หรือ BACK PAN
4.3 ผิวของอลูมิเนียม (MATERIAL FINISHES)
ผิวของอลูมิเนียมในโครงการจะต้องเป็ นระบบเคลือบสี ชนิด PVDF หรือ Fluorocar Bon ความหนาของผิวจะต้อง
ไม่ต่ากว่า 35 MICRON (3 coated 1 baked) โดยมีความคลาดเคลื่อนที่ยอมได้ +/- 2 MICRON และจะต้องได้
มาตรฐานตามข้อกาหนดของ ASTM D-1730-67 TYPE B, METHOD7 และ ASTM B-449-67(1972)
4.4 SILICONE SEALANT
จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่าวัสดุยาแนวชนิดไม่ก่อให้เกิดคราบ (NON STAINING SILICONE
SEALANT) ของ DOW CORNING หรือ GENERAL ELECTRIC หรือ SIKA หรือ TREMCO โดยมีรายละเอียด
ดังนี ้
4.4.1 STRUCTURAL SILICONE ต้องเป็ นชนิด TWO PART เพื่อติดตัง้ กระจกในโรงงาน โดยจะต้องมีการ
ทดสอบ COMPATIBILITY TEST และ DEGLAZING TEST ตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิตโดยผูร้ บั จ้าง
จะต้องส่งรายงานการตรวจสอบนีใ้ ห้แก่เจ้าของงาน ONE PART SILICONE จะอนุโลมให้ใช้เฉพาะใน
งานซ่อมหรือในกรณีท่มี ีเหตุจาเป็ นเท่านัน้ Two part Silicone ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ
ุ ภาพเทียบเท่า Dow
Corning No.983 หรือ GE Ultra glaze SSG4400 หรือ Sika SG-500 และใช้ One Part Silicone

หมวดที่ 2 68/172 งานหน้าต่างภายนอก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า DC 795 หรือ GE Ultra glass SSG 4000 หรือ SIKA SG-18 หรือ
TREMCO
4.4.2 WEATHER SEAL ต้องเป็ นชนิด LOW หรือ MEDIUM MODULAR ชนิด NON-STAINING โดย
จะต้องมีการทดสอบว่า สามารถใช้รว่ มกับวัสดุต่าง ๆ ที่จะต้องยึดติดให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ
เทียบเท่า Dow Corning No.977, GE Ultraproof II SCS2900 หรือ Sika WS -305 หรือ TREMCO
4.5 ฉนวนกันความร้อน
ให้ใช้ EXPANDED POLYSTYRENE FOAM ชนิดกันไฟลาม CLASS B1-DIN 4102 หนาไม่นอ้ ยกว่า 4 นิว้
ความหนาแน่นอย่างน้อย 16 กก./ลบ.ม. (หากระบุในแบบ)
4.6 ฉนวนกันไฟ
ให้ใช้ชนิด ROCK WOOL หรือ GLASS WOOL ชนิดไม่เป็ น Toxic โดยมีคณ ุ สมบัติปอ้ งกันไฟได้ตามที่กาหนดใน
ข้อกาหนดการออกแบบ (หากระบุในแบบ)
4.7 FIXING BRACKET
ในส่วนที่เป็ นเหล็กจะต้องชุบผิวด้วย HOT DIP GALVANIZED เพื่อป้องกันการเกิดสนิม ในกรณีท่จี ะต้องฝังเข้า
กับโครงสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูจ้ ดั หา BRACKET สลัก หรือตัวยึดต่าง ๆ ให้แก่ผรู้ บั เหมาหลักเป็ นผูต้ ิดตัง้ โดย
ผูร้ บั จ้างอลูมิเนียมจะต้องกาหนดตาแหน่ง รูปแบบ ให้แก่ผรู้ บั เหมาหลักในแบบ
4.8 ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องนาเสนอตัวอย่างต่อไปนีเ้ พื่อขออนุมตั ิก่อนการดาเนินงานหรือติดตัง้ โดยค่าใช้จ่ายต่าง ๆ จะต้อง
รวมไว้ในการเสนอราคา
4.8.1 ตัวอย่างอลูมิเนียมและผิวสียาว 300 มม. แผ่นอลูมิเนียมและแผ่น
COMPOSITE ขนาด 300 x 300 มม. อย่างละ 3 ชุด เพื่อให้สถาปนิกพิจารณาเรื่องสี
4.8.2 ตัวอย่างกระจกทุกชนิดที่ใช้ในอาคารนีข้ นาด 300 x 300 มม. อย่างละ 3 แผ่น
4.8.3 ตัวอย่างอุปกรณ์ตา่ ง ๆ (HARDWARE) รวมถึง SILICONE ฉนวนกันความร้อน ฉนวนกันไฟ ที่ ใช้ใน
อาคารนี ้
4.8.4 สถาปนิกสามารถขอให้ผรู้ บั จ้างจัดทาแผงตัวอย่างจริงที่หน่วยงานเพื่อพิจารณาก่อนการทาการ
ประกอบจริงสาหรับโครงการ
4.9 การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝี มือที่ดี มีความชานาญเฉพาะระบบติดตัง้ เช่น ในการติดตัง้ ให้เป็ นไปตามแบบขยาย
รายละเอียดต่าง ๆ ตาม SHOP DRAWING ซึง่ จัดทาโดยบริษัทผูผ้ ลิต ได้ มาตรฐานทางวิชาการก่อสร้าง และ
สถาปั ตยกรรมที่ดีโดยเคร่งครัด และตามที่ได้รบั อนุมตั ิเห็นชอบจากสถาปนิก
4.9.1 ผูร้ บั จ้างต้องมีการประสานงานร่วมกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อกาหนดตาแหน่งของโครงสร้างต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องในการติดตัง้ CURTAIN WALL เช่น กาหนดตาแหน่งและเตรียมการฝังเหล็กยึดโครงเคร่าของ
CURTAIN WALL ในโครงสร้าง และตรวจสอบสถานที่ท่กี ่อสร้างทุกแห่งที่จะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์
เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องใด ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้องก่อนจะมีการติดตัง้
4.9.2 ก่อนการติดตัง้ CURTAIN WALL ผูร้ บั จ้างจะต้องได้รบั อนุมตั ิเห็นชอบในรายละเอียดของแบบจาก
ผูอ้ อกแบบก่อนดาเนินการติดตัง้

หมวดที่ 2 69/172 งานหน้าต่างภายนอก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

4.9.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่พยายามติดตัง้ หรือแก้ไขระยะของแผงหากพบความผิดพลาดของโครงสร้างเกินกว่าค่า


คลาดเคลื่อนที่ยอมให้ได้ตามที่ระบุในข้อกาหนดจนกว่าจะได้รบั ความยินยอมจากสถาปนิก หรือวิศวกร
ประจาโครงการ
4.9.4 จุดยึดต่าง ๆ ในแผงจะต้องยึดแน่นด้วยน๊อต หรือการเชื่อม หรือวัสดุอ่นื ๆ ที่สามารถป้องกันการคลายตัว
4.10 การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาด CURTAIN WALL และในส่วนที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ทุกแห่ง ทัง้ ด้านนอก และด้าน
ในด้วยความประณีต สะอาดเรียบร้อย ปราศจากรอยขีดข่วน ยางยาแนวและสิ่งเปรอะเปื ้อน ตาหนิตา่ ง ๆ ก่อน
ขออนุมตั ิการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและผูท้ ่เี กี่ยวข้องและส่งมอบงาน
4.11 เอกสารประกอบการยื่นเสนอราคา
ผูร้ บั จ้างจะต้องระบุช่ือบริษัทผูผ้ ลิต ประกอบ และติดตัง้ CURTAIN WALL พร้อมทัง้ จัดเตรียมเอกสารเพื่อ
ประกอบการพิจารณาคุณสมบัติมาพร้อมซองประมูลงานก่อสร้างตามรายการข้างล่างนี ้ รายละเอียดและ
คุณสมบัติจะต้องตรงตามข้อกาหนด ผูช้ นะการประมูลจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงรายละเอียดในภายหลัง ยกเว้น
ในกรณีท่มี ีขอ้ ตกลงในช่วงประมูลงาน หรือการเปลี่ยนแปลงที่ได้รบั ความเห็นชอบจากผูว้ า่ จ้าง สถาปนิก ผู้
ควบคุมงาน และผูเ้ กี่ยวข้องเสียก่อน
4.11.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอแบบขัน้ ต้น (TYPICAL DETAIL) ของระบบที่จะใช้สาหรับส่วนทั่ว ๆ ไปของอาคาร
4.11.2 รายการคานวณเบือ้ งต้นของระบบ
4.11.3 แผนและระยะเวลาในการทางาน
4.11.4 ขัน้ ตอนการทางานซึง่ รวมถึงขัน้ ตอนการประกอบในโรงงาน การติดตัง้ การป้องกัน ความเสียหาย การ
ตรวจสอบคุณภาพ และขัน้ ตอนการป้องกันอุบตั ิเหตุ
4.11.5 ผลงานที่ผ่านมาซึง่ จะต้องมีโครงการภายในประเทศที่มีมลู ค่าไม่ต่ากว่า 50 ล้านบาท รวมอยู่ดว้ ยอย่าง
น้อย 2 โครงการ พร้อมหนังสือรับรองจากเจ้าของโครงการ
4.12 เอกสารที่ตอ้ งนาเสนอหลังจากได้รบั การคัดเลือกแล้วผูร้ บั จ้างจะต้องนาเสนอเอกสารดังต่อไปนีเ้ พื่อ
ประกอบการพิจารณาและอนุมตั ิก่อนการดาเนินการผลิตและติดตัง้
4.12.1 แบบ SHOP DRAWING และ DETAILED DRAWING แสดงรูปแบบ จานวน และ
รายละเอียดของระบบ ซึง่ ประกอบด้วย EXPANSION JOINT, PRESSURE EQUALIZATION
SYSTEM, BRACKET FIXING DETAIL, FIRE STOP SYSTEM ระบบการระบายนา้ การประสานกับ
ระบบอื่น ๆ เช่น รางม่าน ฝ้าเพดาน และระบบพืน้ เป็ นต้น
4.13.2 รายการคานวณการรับแรงลม และแรงกระทาต่าง ๆ โดยละเอียด
4.13.3 หนังสือรับรองรายงานผลการทดสอบของระบบ ที่กล่าวแล้วข้างต้น
4.13.4 ขัน้ ตอนการตรวจสอบระหว่างการติดตัง้
4.13.5 หลังการตรวจรับงาน ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งหนังสือการยินยอม การรับประกันคุณภาพวัสดุ การ
ติดตัง้ และระบบตามที่ระบุไว้ในหมวดการรับประกันคุณภาพ
4.13 การรับประกันคุณภาพ
ผูเ้ สนอราคาจะต้องรับประกันการเสียหายที่เกิดขึน้ จากระบบ เป็ นระยะเวลา 10 ปี

หมวดที่ 2 70/172 งานหน้าต่างภายนอก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานประตูเหล็กทั่วไป (STEEL DOORS AND FRAMES)


ขอบข่าย
บานประตูเหล็กและวงกบเหล็กทั่วไปที่ได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุอปุ กรณ์ แรงงานและ
เตรียมเขียนแบบประกอบการติดตัง้ SHOP DRAWING รวมถึงส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั่ว ๆ ไป ซึง่ จะต้องแสดงรายละเอียดการ
ติดตัง้ (INSTALLATION) การยึดอุปกรณ์ (FIXED) ระยะต่าง ๆ ให้ถกู ต้องตามแบบสถาปั ตยกรรม และหลักวิชาการที่ดี

วัสดุ
ประตูเหล็กและวงกบเหล็กทั่วไป ที่นามาใช้งานจะต้องมีคณ ุ สมบัติดงั ต่อไปนี ้
- ประตูเหล็กจะต้องมีความหนาของบานไม่นอ้ ยกว่า 40 มม. โดยผลิตจากเหล็กแผ่น ZINC ELECTRO
GALVANIZED ความหนาของเหล็กแผ่นไม่นอ้ ยกว่า 1.2 มม. การประกอบตัวบานใช้เหล็กแผ่นพับขึน้ รูป 2 ชิน้
ประกบเชื่อมยึดโดยไม่เห็นรอยเชื่อมจากภายนอกและสันของบานประตูเหล็กปราศจากรอยตะเข็บ (SEAMLESS
EDGE) ภายในบานประตูจะต้องเสริมโครงสร้าง VERTICAL STEEL STIFFENERS ระยะห่างจะต้องไม่เกิน 20 ซม.
จะต้องทาจากเหล็กแผ่น ZINC ELECTRO GALVANIZED จุดรองรับอุปกรณ์ประตูทงั้ หมดเสริมด้วยเหล็กแผ่น
ชุบสังกะสีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 1.6 มม. และภายในตัวบานฉีดด้วยฉนวน POLYURETHANE FOAM เต็มบาน
- วงกบชนิดบังใบเดี่ยวหรือชนิดบังใบคู่ โดยวงกบจะต้องเข้ามุม 45 องศา ผลิตจากเหล็กแผ่น ZINC ELECTRO
GALVANIZED ความหนาของเหล็กแผ่นไม่นอ้ ยกว่า 1.6 มม. ขนาด 2"x4" หรือตามระบุในแบบ
- ประตูเหล็กและวงกบเหล็ก ต้องเคลือบสีผง (POLYESTER POWER COATING) หนา 60 – 80 ไมครอน
เรียบร้อยแล้วจากโรงงานผูผ้ ลิตก่อนนามาที่สถานที่ก่อสร้าง
- ประตูบานเปิ ดเหล็กพร้อมวงกบทั่วไป ให้ใช้อปุ กรณ์และส่วนประกอบต่าง ๆ ครบชุดตามมาตรฐานเทียบเท่า
ของยี่หอ้ “SCL” ของบริษัท เกรทดีล จากัด ยี่หอ้ “BPI” ของบริษัท บี.พี สตีลอุตสาหกรรม จากัด ยี่หอ้ “A.U.M.”
ของบริษัท เอ.ยู.เอ็ม จากัด หรือ SMC หรือ DIAMOND DOOR หรือมาตรฐาน มอก.1288-2538 หรือคุณภาพเทียบเท่า
หรือตามที่ผอู้ อกแบบระบุรายละเอียดในรายการแบบ
- HARDWARE ตามที่ระบุไว้ในแบบก่อสร้าง ต้องเป็ นของใหม่ คุณภาพดี ขนาดเหมาะสมกับการใช้ และติดตัง้
ด้วยความประณีตเรียบร้อย
ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุท่จี ะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั ิ และตรวจสอบตามความ
ต้องการของผูอ้ อกแบบ ก่อนที่จะนาไปติดตัง้ เช่น
- ตัวอย่างของประตูท่จี ะใช้งานก่อสร้าง แสดงถึง สี และ FINISHING
- รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MANUFACTURE’S SPECIFICATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณภาพของ
ประตูและส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์ (HARDWARE) ที่จะใช้มาด้วย เพื่อพิจารณาประกอบการติดตัง้ และได้รบั ความ
เห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ

หมวดที่ 2 71/172 งานประตูเหล็กทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การติดตัง้
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝี มือที่ดี มีความชานาญในการติดตัง้ ให้เป็ นไปตามรายละเอียดของ SHOP
DRAWING และได้มาตรฐานทางวิชาการก่อสร้างที่ดี
- ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานที่ท่ีมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้อง
ก่อนจะมีการติดตัง้
- การติดตัง้ ต้องมีความมั่นคง แข็งแรง เปิ ด-ปิ ดได้สะดวก เมื่อปิ ดจะต้องมีขอยึดหรืออุปกรณ์รองรับ มิให้เกิด
ความเสียหายกับประตูหรือผนัง
- การติดตัง้ วงกบ จะต้องได้ด่งิ และฉาบถูกต้องตามหลักวิชาช่างที่ดี การยึดทุกจุดต้องมั่นคงแข็งแรง
รอยต่อรอบ ๆ วงกบประตูทงั้ ภายในและภายนอก ส่วนที่แนบติดกับปูนฉาบคอนกรีตไม้ หรือวัสดุอ่นื ใด
จะต้องอุดด้วย SILICONE SEALANT “SILPRUF 2000” ของ G.E. หรือ “791-P” ของ DOW CORNIGN
หรือ TREMCO ตามที่ผอู้ อกแบบกาหนด หรือเทียบเท่าด้วยความประณีตเรียบร้อยก่อนทาการอุด จะต้องทา
ความสะอาดรอยต่อให้ปราศจากฝุ่ น คราบนา้ มัน สิ่งเปรอะเปื ้อน สกปรกต่าง ๆ และจะต้องปฏิบตั ิตาม
คาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิต SILICONE SEALANT โดยเคร่งครัด
- การปรับระดับ ภายหลังการติดตัง้ ประตูแล้ว อุปกรณ์ทงั้ หมดจะต้องได้รบั การปรับให้อยู่ในลักษณะที่เปิ ด-ปิ ด
ได้สะดวก
- ช่องเปิ ดสาหรับการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่พยายามใส่บานประตูเข้ากับช่องเปิ ดที่ไม่ได้ฉาก หรือขนาดเล็ก
เกินไป ช่องเปิ ดจะต้องมีระยะเว้นเพื่อการติดตัง้ โดยรอบ ประมาณด้านละ 10 มม. เป็ นอย่างน้อย
การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดในส่วนที่เกี่ยวข้องให้เรียบร้อยทุกแห่ง ผิวส่วนที่เป็ นเหล็กของประตูจะต้องสะอาด ปราศจาก
คราบนา้ ปูน รอยขีดข่วน หรือตาหนิตา่ ง ๆ ก่อนขออนุมตั ิตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบ
การรับรอง
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของประตู รวมถึงวัสดุตา่ ง ๆ ที่ใช้ในการติดตัง้ ทัง้ หมด หากเกิดข้อบกพร่องต่าง ๆ อัน
เนื่องมาจากคุณสมบัติของวัสดุ และการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องมาติดตัง้ ให้ใหม่ และซ่อมแซมให้อยู่ใน
สภาพที่ดี ด้วยความประณีตเรียบร้อย ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 72/172 งานประตูเหล็กทั่วไป


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง DOOR AND WINDOW HARDWARE

ขอบเขตของงาน
อุปกรณ์ประตู ที่ได้ระบุไว้ในแบบก่อสร้างทัง้ หมดและในหมวดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ถ้าได้ระบุไว้ในหมวดอื่น ๆ แล้ว แต่ไม่
สมบูรณ์ให้ใช้หมวดนีป้ ระกอบด้วย ถ้ามีความบกพร่องระหว่างหมวดนีแ้ บบก่อสร้างและหมวดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องผูร้ บั จ้างต้อง
แจ้งให้ผอู้ อกแบบรับรูท้ นั ทีก่อนการติดตัง้
วัสดุ
นอกจากระบุไว้เป็ นอย่างอื่นในแบบก่อสร้างและหมวดอื่น ๆ แล้ว ให้ใช้วสั ดุท่ีมีคณ
ุ สมบัติและคุณภาพตามความมุ่ง
หมายของผูอ้ อกแบบและต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบก่อนการติดตัง้
- บานพับ (BUTT HINGE)
- บานพับประตูบานเปิ ดไม้อดั ทั่วไป เป็ นชนิดวงแหวนลูกปื น (BALL BEARING) ทาจากสเตนเลส เกรด
SUS304 ขนาด 4”x3” ความหนา 2.5 มม. 2BB SS FT จานวน 3 ตัวต่อบานประตู
- บานพับประตูบานเปิ ดเหล็กทั่วไป เป็ นชนิดวงแหวนลูกปื น (BALL BEARING) ทาจากสเตนเลส เกรด
SUS304 ขนาด 4 ½”x4 ½” ความหนา 3.4 มม. 2BB SS FT จานวน 3 ตัวต่อบานประตู
- บานพับประตูบานเปิ ดเหล็กทนไฟให้ใช้ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต โดยกาหนดให้เป็ นชนิดวงแหวนลูกปื น (BALL
BEARING) เกรด SUS304 ขนาด 4 ½”x4 ½” ความหนา 3.4 มม. 2BB SS FT จานวน 3 ตัวต่อบานประตู
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCL, ARCH, HAFELE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กุญแจชนิดก้านโยก (MORTISE LOCK WITH LEVER HANDLE)
- ข้อกาหนดทั่วไป
- เป็ นชนิด MORTISE LOCK ยกเว้นระบุเป็ นอย่างอื่น
- มือจับสเตนเลสแบบก้านโยกหรือเขาควาย (LEVER HANDLE)
- ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน EUROPEAN STANDARD BS EN 12209 and EN 179
- ชุดตัวถังกุญแจ (LOCKCASE)
- เป็ นชนิด HEAVY DUTY MORTISE LOCK
- ผ่านการทดสอบ LATCH DURABILITY – 200,000 CYCLES
- ผ่านการทดสอบ DEADBOLT DURABILITY – 50,000 CYCLES
- ระยะของ BACKSET: 60 มม.
- LATCH ทาจากวัสดุ CHROME PLATED STEEL FOR CORROSION RESISTANCE
- DEADBOLT ทาจากวัสดุ CHROME PLATED STEEL FOR CORROSION RESISTANCE
AND DRILL RESISTANT HEAVY DUTY HARDEENED DEADBOLT
- LOCK FUNCTION: DEADLOCK, SASHLOCK, BATHROOM LOCK, LATCH,
NIGHTLATCH AND ESCPAE LOCK
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ BRITON, CISA, SCHLAGE, YALE, HAFELE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- มือจับก้านโยกหรือเขาควาย (LEVER HANDLE)
- ชนิด TUBE หรือ SOLID และต้องผลิตจากสเตนเลส เกรด SUS304 แป้นกลม (ROSE) มี
กลไกสปริงบังคับให้มือจับอยู่ในแนวนอนเสมอ
- ความยาวของมือจับไม่ต่ากว่า 140 ซม.
หมวดที่ 2 73/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- เส้นผ่าศูนย์กลาง Dia. ของมือจับต้องไม่ต่ากว่า 19 มม.


- เส้นผ่าศูนย์กลาง Dia. ของ ROSE ต้องไม่ต่ากว่า 52 มม.
- แกน SPINDLE: 8 มม.
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCHLAGE, SKULTHAI, YALE, HAFELE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ไส้กญ
ุ แจ (CYLINDER)
- ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน EUROPEAN STANDARD BS EN 1303: 2006
- ไส้กญ ุ แจทาจากวัสดุทองเหลือง
- ขนาดไส้กญ ุ แจ: 68 มม. หรือมากกว่าและต้องเป็ นระบบลูกปื น (PIN) ไม่ต่ากว่า 6 PIN
- ไส้กญ ุ แจมีให้เลือกหลายแบบ เช่น ชนิดไขทางเดียว, ชนิดไข 2 ทาง และชนิดไขด้านนอก
ส่วนด้านในเป็ นหางปลาบิด
- สามารถจัดระบบมาสเตอร์คียไ์ ด้ไม่ต่ากว่า 4 ระดับ
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ CISA, SCHLAGE, YALE, HAFELE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กุญแจลูกบิด (LOCKSET)
- ต้องได้มาตรฐาน ANSI/BHMA A156.2 SERIES 4000 GRADE 2, UL LISTED
- เป็ นชนิด CYLINDRICAL LOCK HOUSING, โครงสร้าง COLD-ROLLED STEEL
- ไส้กญ ุ แจทาจาก SOLID BRASS และต้องเป็ นระบบลูกปื น (PIN) ไม่ต่ากว่า 6 PIN
- ระยะ BACKSET: 60 มม. หรือ 70 มม.
- ลิน้ ของกุญแจ (LATCH) ต้องยื่นออกมา ½” (13 มม.)
- ดอกไขกุญแจต้องทาจาก NICKEL SILVER
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCHLAGE, YALE 5300 SERIES, FALCON หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กุญแจ DEADBOLT
- ต้องได้มาตรฐาน ANSI. A156.5 GRADE 2, UL LISTED
- ไส้กญ ุ แจทาจาก SOLID BRASS และต้องเป็ นระบบลูกปื น (PIN) ไม่ต่ากว่า 6 PIN
- ระยะ BACKSET: 60 มม. หรือ 70 มม. โดยสามารถปรับได้
- ลิน้ ของกุญแจ (LATCH) ต้องยื่นออกมา 1” (25 มม.) และเป็ นแบบ CONCEALED
HARDENED STEEL ROLLER เพื่อป้องกันการตัด หรือเลื่อยลิน้ กุญแจ
- ดอกไขกุญแจต้องทาจาก NICKEL SILVER
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCHLAGE, YALE 3500 SERIES, FALCON หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ลูกกุญแจและระบบมาสเตอร์คีย ์
- กุญแจประตูทกุ บาน ให้จดั ทาดอกไขกุญแจประจาชุดของแต่ละชุด จานวน 3 ดอกต่อชุด
- กุญแจประตูของแต่ละชัน้ ให้จดั ทากุญแจ “ FLOOR MASTER KEY” สาหรับกุญแจในแต่ละชัน้
- กุญแจประตูของแต่ละกลุม่ ให้จดั ทากุญแจ “GROUP MASTER KEY” สาหรับกุญแจที่
ต้องการให้อยู่ในกลุม่ เดียวกัน อาจจะอยู่ในหลายชัน้ ก็ได้
- กุญแจประตูทงั้ หมด (ประตูไม้, ประตูเหล็กทั่วไป, ประตูเหล็กทนไฟ และประตูอลูมิเนียม) ให้
จัดทากุญแจ “GRAND MASTER KEY” สาหรับควบคุมกุญแจทัง้ หมดของแต่ละอาคาร

หมวดที่ 2 74/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- จานวนดอกไขกุญแจของ “FLOOR MASTER KEY” จัดทาให้กบั โครงการ จานวน 3 ดอกไข


ต่อหนึ่งกรุป๊
- จานวนดอกไขกุญแจของ “GROUP MASTER KEY” จัดทาให้กบั โครงการ จานวน 3 ดอกไข
ต่อหนึ่งกรุป๊
- จานวนดอกไขกุญแจของ “GRAND MASTER KEY” จัดทาให้กบั โครงการ จานวน 1 ดอกไข
ต่อหนึ่งกรุป๊
- การส่งมอบดอกไข “FLOOR MASTER KEY, GROUP MASTER KEY และ GRAND
MASTER KEY” กาหนดให้บริษัทผูจ้ ดั ทาระบบมาสเตอร์คียส์ ่งมอบดอกไขดังกล่าวให้กบั ตัว
แทนที่แต่งตัง้ จากเจ้าของโครงการเป็ นผูร้ บั แทนหรือส่งให้กบั เจ้าของโครงการโดยตรง โดยไม่
ต้องผ่านทางผูร้ บั เหมาโครงการ
- กลอน (BOLT)
- กลอนที่ใช้ติดประตูไม้บานเปิ ดคู่ ให้ใช้กลอน STAINLESS STEEL ชนิดฝังเรียบในขอบบาน
ประตู ขนาด 6” สาหรับติดด้านล่างและขนาด 12” สาหรับติดด้านบน เฉพาะบานที่เป็ น
INACTIVE DOOR เท่านัน้
- กลอนที่ใช้ติดประตูเหล็กบานเปิ ดคู่ ให้ใช้กลอน STAINLESS STEEL ชนิดฝังเรียบในขอบ
บานประตู ขนาด 12” สาหรับด้านล่างและด้านบน กรณีบานประตูเหล็กที่มีความสูงเกิน
2.10 เมตร ด้านบนให้ใช้กลอนฝังบาน ขนาด 18”
- ให้ติดอุปกรณ์รบั กลอนฝังบานที่พนื ้ เพื่อป้องกันฝุ่ น (DUST PROOF STRIKE) ที่จะส่งผลต่อ
การทางานของกลอนฝังบาน
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCL, ARCH, RYOBI, BEST หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์เปิ ดประตูฉกุ เฉิน (EXIT DEVICE)
- ต้องได้มาตรฐาน ANSI. A156.3 GRADE 1, UL LISTED
- ลิน้ ของ PANIC DEVICE เป็ นชนิด DEADLOCKING, ¾” (19 มม.) THROW
- ใช้กบั ประตูทนไฟได้เพราะผ่านการรับรองมาตรฐาน UL 3 ชั่วโมง
- กรณีใช้กบั ประตูทนไฟควรเลือกชนิด FIRE EXIT HARDWARE
- สามารถเลือกใช้มือจับภายนอกได้เพื่อใช้เปิ ดผ่านระหว่างชัน้ ได้
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ VON DUPRIN, FALCON, YALE 7000 SERIES หรือคุณภาพ
เทียบเท่า
- โช๊คอัพ (DOOR CLOSER)
- โช๊คอัพชนิดติดผิวบาน (SURFACE MOUNTED)
- ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ANSI.A156.4-2000 GRADE 1 หรือมาตรฐาน BS
EN1154 และผ่านการรับรองมาตรฐาน UL 3 ชั่วโมง
- เป็ นระบบ FULL RACK AND PINION HYDRAULIC ACTION
- ตัวถังทาจากเหล็กหล่อ (CAST IRON CYLINDER) หรืออลูมิเนียมหล่อ (CAST ALUMINIUM)
- ต้องปรับ (ADJUSTABLE SPRING POWER) เบอร์สปริงของโช๊คอัพได้
- ต้องปรับ ADJUSTABLE CLOSING SPEED ได้

หมวดที่ 2 75/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ต้องปรับ ADJUSTABLE LATCHING SPEED ได้


- ต้องปรับ ADJUSTABLE HYDRAULIC BACKCHECK ได้
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ LCN, BRITON, DORMA, GEZE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- โช๊คอัพชนิดซ่อนในวงกบอลูมิเนี่ยม (TRANSOM CONCEALED)
- ตัวถังทาจากเหล็กหล่อ (CAST IRON)
- ปรับสปริงได้ (POWER) เบอร์ 1 – 3 หรือเบอร์ 3 - 5 เพื่อให้เหมาะสมกับความกว้างของประตู
- การติดตัง้ เป็ นลักษณะ SIDELOAD
- ต้องปรับ (ADJUSTABLE SPRING POWER) เบอร์สปริงของโช๊คอัพได้
- ต้องปรับ ADJUSTABLE CLOSING SPEED ได้
- ต้องปรับ ADJUSTABLE LATCHING SPEED ได้
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ FALCON, DORMA, GEZE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- โช๊คอัพชนิดฝังพืน้ (FLOOR DOOR CLOSER)
- ต้องผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน BS EN1154
- ผ่านการทดสอบ – 500,000 CYCLES
- ตัวถังทาจากเหล็กหล่อ (CAST IRON)
- ขนาดของโช๊คอัพ 306 (LENGTH) x 108 (WIDTH) x 40 (HEIGHT) มม.
- ต้องปรับ ADJUSTABLE CLOSING SPEED ได้
- ต้องปรับ ADJUSTABLE LATCHING SPEED ได้
- ตัง้ ค้างที่ 90 องศา
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ BRITON, DORMA, GEZE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ดงึ ประตูระบบแม่เหล็กไฟฟ้า (ELETROMAGNETIC DOOR HOLDER)
- ผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ANSI.A156.15-2006 และ UL RATED หรือ BS EN 1155
และ CE MARKED
- ติดตัง้ กับประตูกนั ไฟหรือกันควัน ที่ระบุในแบบ กาหนดให้เปิ ดตัง้ ค้างและดึงด้วยระบบ
แม่เหล็กไฟฟ้า
- อุปกรณ์ประกอบด้วย แม่เหล็กและแป้นจับ (MAGNET AND DOOR ARMATURE)
- แป้นจับ (DOOR ARMATURE) สามารถปรับมุมได้
- เชื่อมกับระบบตรวจจับไฟ (FIRE ALARM SYSTEM), ระบบตรวจจับควัน (SMOKE
DETECTOR SYSTEM) และจะตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ ในกรณีท่เี กิดเหตุเพลิงไหม้
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ LCN, BRITON, DORMA หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ประสานปิ ดประตูก่อน-หลัง (CO-ORDINATOR)
- สาหรับประตูบานเปิ ดคู่ ที่มีบงั ใบและติดตัง้ โช๊คอัพทัง้ 2 บาน กาหนดให้ใช้อปุ กรณ์ประสาน
การปิ ดประตูก่อน-หลัง เป็ นชนิด BAR โดยติดตัง้ ที่ใต้วงกบด้านบน (TOP JAMB)
- กรณีท่ใี ช้อปุ กรณ์ประสานการปิ ดประตูก่อน-หลังกับประตูเหล็กทนไฟ จะต้องผ่านการ
ทดสอบการทนไฟด้วย
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ IVES, SKULTHAI, DORMA หรือคุณภาพเทียบเท่า

หมวดที่ 2 76/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- อุปกรณ์กนั กระแทกประตูและผนัง (DOOR AND WALL BUMPER)


- ประตูบานเปิ ดทุกบานกาหนดให้ติดตัง้ ที่กนั กระแทก (DOOR BUMPER) ทาด้วยยางกัน
กระแทกและกรอบสเตนเลส โดยติดตัง้ ที่พนื ้ หรือผนัง
- ประตูบานเปิ ดสาหรับห้องส้วมในห้องนา้ รวม (PUBLIC TOILET ROOM) หรือห้องนา้ เดี่ยว
ให้ติดตัง้ กันกระแทกชนิดมีตะขอแขวนในตัว ทาจากสเตนเลสพร้อมยางกันกระแทก
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCL, ARCH, RYOBI หรือคุณภาพเทียบเท่า
- มือจับและแป้นผลัก (HANDLE AND PUSH & PULL PLATE)
- สาหรับประตูท่ไี ม่ได้ติดตัง้ กุญแจลูกบิดหรือกุญแจชนิดก้านโยก
- มือจับประตู ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 19 มม. ยาวไม่ต่ากว่า 200 มม. พร้อมแป้น
STAINLESS STEEL เกรด SUS304 ขนาดไม่ต่ากว่า 100x300x1.5 มม.
- แป้นผลักประตู (PUSH PLATE) ทาจาก STAINLESS STEEL เกรด SUS304 ขนาดไม่ต่า
กว่า 100x300x1.5 มม.
- มือจับฝังเรียบ ทาจาก STAINLESS STEEL เกรด SUS304 ขนาดไม่ต่ากว่า 80x125 มม.
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCL, ARCH, HAFELE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์รางเลื่อน (SLIDING DOOR ACCESSORIES)
- อุปกรณ์รางเลื่อนเป็ นชนิดรางอลูมิเนี่ยม (ALUMINIUM) หรือเหล็กกาวาไนซ์ (galvanized
Steel) แขวนบนพร้อมอุปกรณ์ยึดราง ไม่มีรอ่ งหรือธรณีประตู (ยกเว้นประตูบานเลื่อนที่ติดตัง้
ออกสูภ่ ายนอกอาคารหรือที่ตอ้ งรับนา้ หนักมาก ให้มีธรณีพร้อมระบบป้องกันนา้ ซึมผ่าน)
- อุปกรณ์ลกู ล้อ เป็ นชนิด NYLON มีแกนลูกปื น, ตัวหยุดบาน (STOPPER), ไกด์ล่าง
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ HENDERSON, HAWA, DORMA หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ขอรับ-ขอสับ
- ทาจากวัสดุเหล็กหรือ BRASS และ ZINC DIECAST ชุบทาสีโครเมี่ยมด้าน, ทองเหลืองรม
ดาและทองแดงรมดา ขนาด 4”, 6” หรือ 8”
- สาหรับบานหน้าต่างที่ติดตัง้ บานพับธรรมดา (BUTT HINGE)
- ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของ SCL, ARCH, BEST หรือคุณภาพเทียบเท่า
การดาเนินงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องหาวัสดุท่จี ะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั ิและตรวจสอบ ตามความต้องการของ
ผูอ้ อกแบบ ก่อนที่จะนาไปติดตัง้ เช่น
- ตัวอย่างของ HARDWARE ที่จะใช้ในงานก่อสร้างแสดงถึง ขนาด ลวดลาย สี และ
FINISHING
- รายละเอียดประกอบตัวอย่างของ HARDWARE แสดงถึง ระบบกุญแจ (KEY SYSTEM),
FUNCTION และ SPECIFICATION แสดงถึงคุณสมบัติและข้อแนะนาในการติดตัง้ จาก
บริษัทผูผ้ ลิต
- ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายละเอียดแสดงระยะ ตาแหน่ง การติดตัง้ ของ HARDWARE ให้ผอู้ อกแบบ
ได้รบั รูแ้ ละอนุมตั ิก่อนการติดตัง้ HARDWARE

หมวดที่ 2 77/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาช่างฝี มือที่ดีมีความชานาญในการติดตัง้ ทุกส่วนที่ติดตัง้ แล้วจะต้องได้ระดับในแนวตัง้ และ


แนวนอน ด้วยความประณีตเรียบร้อยถูกต้องตามหลักวิชาช่างที่ดี
- ผูร้ บั จ้างต้องมีการประสานงานร่วมกับผูร้ บั เหมาหลัก เพื่อกาหนดตาแหน่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการติดตัง้
HARDWARE รวมถึงงานประตู-หน้าต่าง ที่จะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องใด ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้องก่อนจะ
มีการติดตัง้
- HARDWARE ที่ติดตัง้ แล้วจะต้องมีความมั่นคงแข็งแรง มีอายุใช้ เปิ ด-ปิ ดได้สะดวก เมื่อเปิ ดปิ ดจะต้องมีอปุ กรณ์
รองรับมิให้เกิดความเสียหายกับประตู-หน้าต่างหรือผนัง และสิ่งเกี่ยวข้องต่าง ๆ
- ตะปูควง หรือตะปูเกลียว ทุกตัวที่ขนั ติดกับไม้ ที่เป็ นโลหะ ผนัง ค.ส.ล. กาแพงก่ออิฐฉาบปูน จะต้องใช้รว่ มกับพุก
พลาสติกที่แข็งแรง ทาด้วย NYLON หรือคุณภาพเทียบเท่า และใช้ถกู ต้องตามหลักวิชาช่างที่ดีการยึดทุกจุดต้องมั่นคงแข็งแรง
ประณีตเรียบร้อย ตะปูควงหรือตะปูเกลียวที่แสดงหัวให้ใช้แบบหัวฝังเรียบ (PHILIPS HEAD) ทัง้ หมด
- จะต้องเตรียมกุญแจ MASTER KEY, GRAND MASTER KEY ต้องได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบและนายจ้าง
หรือระบุเป็ นอย่างอื่น
- จะต้องมีกญ ุ แจที่ใช้ระหว่างการก่อสร้าง (CONSTRUCTION LOCKS) เป็ นกุญแจชั่วคราวเท่านัน้ และให้ยกเลิก
กุญแจชั่วคราวหลังจากโครงการได้เสร็จเรียบร้อยแล้ว และให้ใช้กญ ุ แจจริง จานวนกุญแจจริง ต้องได้รบั ความเห็นชอบจาก
ผูอ้ อกแบบหรือผูว้ า่ จ้าง
- ผูร้ บั จ้างต้องทาความสะอาดทุกแห่งที่เกี่ยวข้องหลังจากการติดตัง้ โดยปราศจากรอยขูดขีดหรือมีตาหนิตา่ ง ๆ และ
ต้องไม่เปรอะเปื ้อน ก่อนขออนุมตั ิการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและส่งมอบงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัติของวัสดุและการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้ แล้วต้องแข็งแรงปราศจาก
ตาหนิตา่ ง ๆ หากเกิดตาหนิตา่ ง ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลี่ยนให้ใหม่หรือซ่อมแซมแก้ไขให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ ตามจุดประสงค์ของ
ผูอ้ อกแบบ โดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 78/172 งานอุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งาน HARDWARE ประตู-หน้าต่าง


- ผูร้ บั จ้างต้องส่งรายละเอียดและตัวอย่างของอุปกรณ์ประตูหน้าต่างทัง้ หมดในคราวเดียวกันให้สถาปนิกพิจารณา
อนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้ โดยจะต้องเผื่อระยะเวลาในการใช้ของและสั่งของล่วงหน้า เพื่อให้ทนั ต่อเวลาใช้งานโดยเป็ น
ค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างทัง้ หมด ผูร้ บั จ้างจะถือเป็ นข้ออ้างในการสั่งของไม่ทนั เพื่อเป็ นประโยชน์ใด ๆ ของตนมิได้
- อุปกรณ์ประตู หน้าต่าง รายการใดที่มิได้ระบุผิวสาเร็จไว้ ให้ใช้ผิวสาเร็จเช่นเดียวกับอุปกรณ์ประตู-หน้าต่างที่ใช้
ใกล้เคียง หรือ ตามที่สถาปนิกพิจารณาอนุมตั ิ โดยไม่ถือเป็ นค่าใช้จ่ายเพิ่ม
- อุปกรณ์ประตู หน้าต่าง รายการใดก็ตาม เมื่อติดตัง้ แล้วไม่เหมาะสมกับการใช้งาน เช่น กลอนอยู่สงู กว่าจะเอือ้ มถึงเป็ น
ต้น ให้ผรู้ บั จ้างรับผิดชอบในการดัดแปลงเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน โดยต้องปรึกษาผูค้ วบคุมงานก่อนดาเนินการ
ติดตัง้ การดัดแปลงอุปกรณ์ประตู หน้าต่างจะต้องยึดหลักความแข็งแรงสวยงาม และเป็ นค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างทัง้ หมด
- กุญแจล็อคทัง้ หมดให้จดั ทาโดยให้ผรู้ บั จ้างงานประตูประสานงานกับผูร้ บั จ้างงานอาคารและผูค้ วบคุมงาน เพื่อเลือกใช้
ผลิตภัณฑ์ให้ตรงกันอันจะเป็ นการลดปั ญหาในการจัดทากุญแจ
- ผูร้ บั จ้างจะต้องมีกญ ุ แจชั่วคราวที่ใช้ระหว่างการก่อสร้าง (CONSTRUCTION LOCKSET) โดยให้เปลี่ยนกุญแจ
ชั่วคราวเป็ นกุญแจจริง ให้ถกู ต้องเรียบร้อยก่อนส่งมอบงานงวดสุดท้าย
- กุญแจล็อคทัง้ หมด ให้จดั ทา MASTER KEY ดังนี ้
- กุญแจประตูไม้, ประตูเหล็ก, ประตูอลูมิเนียม และกุญแจประตูทงั้ หมดให้จดั ทาแผนผัง MASTER KEY ให้กบั
ผูอ้ อกแบบอนุมตั ิก่อนนาไปใช้งานกับประตูอ่นื ๆ ของอาคาร โดยมีรายละเอียดดังนี ้
- กุญแจประตูทกุ บานให้จดั ทาดอกไขกุญแจประจาชุด จานวน 3 ดอกไขต่อหนึ่งชุด
- กุญแจประตูทกุ บานแต่ละชัน้ ให้จดั ทา MASTER KEY สาหรับแต่ละชัน้ จานวน 3 ดอกต่อชัน้
- กุญแจประตูทกุ บานให้จดั ทากุญแจ GRAND MASTER KEY จานวน 1 ดอกต่ออาคาร
- กรณีตอ้ งตัดดอกไขเพิ่มตามรายการกุญแจ จะต้องมีหนังสือจากผูม้ ีอานาจไม่นอ้ ยกว่า 2 ท่านเซ็นอนุมตั ิ
เป็ นลายลักษณ์อกั ษร
- MASTER KEY จานวน 3 ดอก
- SUB GROUP MASTER KEY จานวน 5 ดอก และมี KEY ALIKED ตามความประสงค์ของเจ้าของอาคาร ทัง้ นี ้
ให้ส่งแผนผังการควบคุมของการใช้ MASTER KEY SYSTEM เพื่อขออนุมตั ิกบั สถาปนิกวัสดุ
- อุปกรณ์ Lock Set จะต้องถูกติดตัง้ ที่ตู้ หรือ ลิน้ ชักต่าง ๆ หรือตามรายละเอียดตามแบบ
- บานพับต้องถูกติดตัง้ ที่ตู้ หรือ ลิน้ ชักต่างหรือตามรายละเอียดตามแบบ
- Floor Springs ต้องถูกติดตัง้ ให้เสมอกับพืน้ , Door Stopper ต้องถูกติดตัง้ ทุกประตูกนั กระแทก
- ลูกบิดประตู หรือ Lever Spindle ต้องถูกติดตัง้ ที่คานสูง 900 mm. จากพืน้ ถึงจุดกึ่งกลางของลูกบิด หรือ Lever
Spindle หรือตามรายละเอียดตามแบบ
- การติดตัง้ จานวนบานพับ ต้องได้ตามมาตรฐานที่ 3 บานพับ ต่อประตูขนาด 2040 x 820 mm. นา้ หนัก 30 kg.

หมวดที่ 2 79/172 งาน HARDWARE ประตู-หน้าต่าง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท (ALUMINIUM COMPOSITE CLADDING)

ขอบเขตของงาน
งานในส่วนนี ้ หมายถึง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงานเครื่องมือและอุปกรณ์ท่จี าเป็ น เพื่อดาเนินการติดตัง้ ประกอบขึ น้ แผ่น
ผนังอลูมิเนียม (ALUMINUM COMPOSITE PANEL) พร้อมด้วยโครงเคร่าที่กาหนดในรายละเอียดของแบบและ หรือ รายการ
ประกอบแบบ เพื่อการยึด ติดตัง้ แผ่นอลูมิเนียม รวมทัง้ อุปกรณ์อ่นื ๆ และวัสดุยาแนว ชนิด ไม่ก่อให้เกิดคราบ ( NON
STAINING SILICONE SEALANT) เพื่อเป็ นการป้องกันการรั่วซึมของนา้ และแรงลม ในพืน้ ที่กาหนดตามระบุไว้ในแบบ
ก่อสร้างให้เสร็จสมบูรณ์และตรงตามมาตรฐานวิธีการติดตัง้ โดยตรงจากบริษัทผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
รายละเอียดคุณสมบัตวิ ัสดุ
: แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท (Aluminium Composite Material : ACM)
1. ขนาดมิติ (Dimensions)
- ความหนาของแผ่นมาตรฐาน 4 มม.
- ความกว้างของแผ่นมาตรฐาน 965, 1270, 1575 มม.
- ความยาวของแผ่นมาตรฐาน 2489 และ 3099 มม.
- นา้ หนัก (ที่ความหนา 4 มม.) 7.6 กก./ตรม.
** ขนาดมิติท่นี อกเหนือจากมาตรฐาน กาหนดให้ใช้ตามมาตรฐานการอ้างอิงของบริษัทผูผ้ ลิตรายนัน้ หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. พืน้ ผิวของแผ่นอลูมิเนียม
- ผลิตขึน้ ตามมาตรฐานของบริษัทผูผ้ ลิตโดยตรง โดยอลูมิเนียมอัลลอยชนิด (Alloy 3105-H14) มีความหนา 0.5 มม.
ประกบอยู่ทงั้ 2 ด้าน ตามผูอ้ อกแบบกาหนด หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ด้านหน้าเคลือบสี
- ด้านหลังแผ่นต้องมี Service Coating เคลือบสีดว้ ยระบบ Polyester Coating เพื่อป้องกันการสึกกร่อนจาก
ปฏิกิรยิ า Oxidation ตามผูอ้ อกแบบกาหนด หรือคุณภาพเทียบเท่า
- การ Coating ผิวหน้าแผ่นอลูมิเนียมส่วนที่สมั ผัสกับแกนกลางหรือติดกับแกนกลาง ต้องมีการใช้สีปอ้ งกันสนิม
(Rust Preventing Paint) ด้วย ตามผูอ้ อกแบบกาหนด
3. คุณสมบัติของอลูมิเนียมอัลลอย (AA : 3105-H14) หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. สารไส้กลางระหว่างแผ่นอลูมิเนียม
- ประกอบด้วยวัสดุประเภททนไฟ (Non-Combustible Core) ไม่ลามไฟ และไม่ก่อเกิดสารพิษ
ผ่านทดสอบ โดยมีเอกสารผลทดสอบยืนยันรับรอง หรือคุณภาพเทียบเท่า ตามมาตรฐาน
5. แผ่นฟิ ล์มป้องกันความเสียหาย (Protective Film) บนแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท
- ต้องพิสจู น์ได้วา่ จะคงสภาพอยู่บนแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท ไม่หลุดลอกออกมา ก่อนกาหนดเปิ ดใช้งานแผ่น เพื่อ
ป้องกันการเกิดคราบเหนียวจากกาวแผ่นฟิ ลม์ การเกิดความเสียหาย หรือรบกวนทาลาย ต่อผิวหน้าของแผ่น
อลูมิเนียมคอมโพสิท ในระหว่างการติดตัง้
6. วัสดุสาหรับการยาแนว กาหนดให้เป็ น ซิลิโคนยาแนว ชนิด ไม่ก่อให้เกิดคราบ (Non Staining Sealant)
7. สกรูหรือสลักเกลียวและแหวน ต้องเป็ นไปตามที่แบบก่อสร้างกาหนด และ หรือ ตามรายการประกอบแบบ

หมวดที่ 2 80/172 งานแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

8. วัสดุงานประกอบขึน้ แผ่นอลูมิเนียม
กาหนดให้ใช้ผลิตภัณฑ์
- ALTEX (fr) บริษัท เฟมไลน์ โปรดักส์ จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- MEENABOND (fr) บริษัท แม่นา้ มิทอลซัลฟลาย จากัด
- Reynobond-FR รุน่ กันไฟ (FR) บริษัท แสงเจริญพัฒนาเอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุท่จี ะใช้แต่ละชนิด รวมถึงอุปกรณ์อ่นื ๆ ที่เกี่ยวข้อง พร้อมทัง้ แบบ Shop Drawing ของ Details การ
ติดตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง และส่งให้กบั ผูอ้ อกแบบเพื่อขออนุมตั ิและตรวจสอบตามความต้องการของผูอ้ อกแบบก่อนที่จะ
นาไปติดตัง้
การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างติดตัง้ ฝี มือดี มีความชานาญในการติดตัง้ แผ่นผนังอลูมิเนียม ทุกส่วนที่ติดตัง้ จะต้องได้ระดับและและ
เส้นแนวตรงเรียบร้อยหรือลวดลายได้ฉาก ตามที่ผอู้ อกแบบกาหนดด้วยความประณีตเรียบร้อย
1. ผูร้ บั จ้างจะต้องมีการประสานงานกับผูร้ บั จ้างหลัก เพื่อกาหนดตาแหน่งของโครงสร้างต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการติดตัง้ เพื่อ
กาหนดตาแหน่งโครงเคร่า และตรวจสอบสถานที่ก่อสร้างทุกแห่งที่จะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่อง ใด ๆ
ให้แก้ปัญหาให้ถกู ต้องก่อนที่จะมีการติดตัง้
2. ผูร้ บั จ้างต้องติดตัง้ แผ่นผนังอลูมิเนียม ตามแบบ Shop Drawing ที่ทางผูอ้ อกแบบอนุมตั ิให้ได้แนวและระนาบ
3. ระยะรอยต่อของแผ่น แต่ละแผ่นต้องได้แนวเท่ากันตลอด และต้องเสริมโฟม (Backer Rod) ก่อนยาแนวด้วยซิลิโคนที่
กาหนด
4. กรณีท่ตี ิดตัง้ แผ่นผนังอลูมิเนียมเป็ นผนังโค้ง แผ่นอลูมิเนียมนัน้ จะต้องดัดโค้ง โดยใช้แท่นลูกกลิง้ และให้ทาในขณะที่มี
แผ่นฟิ ลม์ ป้องกันความเสียหาย ติดตัง้ อยู่เท่านัน้
การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ ผิวของวัสดุตอ้ งปราศจากรอย ขูดขีด หรือรอยแตกร้าวของสี รอยด่าง
หรือมีตาหนิ และต้องไม่เปรอะเปื ้อน ก่อนการอนุมตั ิตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและก่อนการส่งมอบงาน
การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของแผ่นผนังอลูมิเนียม คอมโพสิทจากบริษัทผูผ้ ลิตในเรื่องการรับประกันคุณภาพสีเป็ นเวลา
20 ปี , การรับประกันเรื่องแผ่นเกิดแยกออกจากกัน แตกหรือหลุดล่อน เป็ นเวลา 10 ปี และการติดตัง้ เป็ นเวลา 5 ปี หากเกิด
ความชารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัติของวัสดุและ หรือ การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องติดตัง้ ให้ใหม่หรือซ่อมแซมให้อยู่ใน
สภาพที่ดีตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ

หมวดที่ 2 81/172 งานแผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิท


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานกระจก (GLASS AND GLAZING)

1. ข้อกาหนดทั่วไป
กระจกทัง้ หมดที่กาหนดชนิดและความหนาไว้ จะต้องได้รบั การตรวจสอบ หรือคานวณจนพิสจู น์ทราบได้วา่ สามารถทน
ต่อแรงภายนอกที่กระทา และมีคา่ DEFLECTION ไม่เกิน L/90 และต้องไม่เกิน 20 มม. และไม่ส่นั ไหวจนน่ากลัวเมื่อใช้
งาน หากมีความเสี่ยงทางวิชาการที่กระจกจะแตกเกินกว่าค่ามาตรฐาน ระหว่างประเทศที่ยอมรับได้เนื่องจากการรับภาระ
กรรมจากแรงลม หรือความร้อน หรือ SHADING ให้เพิ่มความหนา หรือ HEAT TREAT กระจก จนสามารถพิสจู น์ความ
ปลอดภัยได้แน่ชดั ทางวิชาการ
- กระจกที่ไม่มีขอบหรือวงกบจะต้องดาเนินการอบ (Tempered glass) ให้ได้มาตรฐาน
ก่อนประกอบ หรือ ตามรายละเอียดในแบบ
- ต้องนาเสนอตัวอย่างกระจก ขออนุมตั ิดาเนินการก่อนดาเนินการเสมอ
- ขอบกระจกต้องถูกลบความคมก่อนดาเนินการเสมอ
- ขอบกระจกต้องถูกลบความคมก่อนเพื่อป้องกันอันตรายในการใช้สอย
- แบบกระจกตัดแสงสีเขียว กระจกใสติดตัง้ ภายนอกอาคาร ต้องเป็ นกระจกอินซูเลท หรือกระจกลามิเนท โลว์อี
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. วัสดุ
2.1 กระจกโฟลตใส (FLOAT GLASS) ต้องได้มาตรฐาน มอก. 880-2547 ฉบับล่าสุด และเข้ากันได้กบั
มาตรฐาน JIS R3202 ความหนาเป็ นไปตามรายการคานวณหรือตามที่ระบุไว้ในแบบสถาปั ตยกรรม แต่
ไม่นอ้ ยกว่า 6 มม. สาหรับภายนอกอาคาร
2.2 กระจกโฟลตสีตดั แสง (TINTED GLASS) ให้ใช้กระจกชนิด Green Tinted ที่ได้มาตรฐาน มอก. 1344-
2541 ฉบับล่าสุด และเข้ากันได้กบั มาตรฐาน JIS R3202 ความหนาเป็ นไปตามรายการคานวณหรือที่
ระบุไว้ในแบบสถาปั ตยกรรม
2.3 กระจกนิรภัยเทมเปอร์ (TEMPERED GLASS) ให้มีความหนาตามรายการคานวณ หรือตามที่ระบุในแบบ
สถาปั ตยกรรม แต่ถา้ ใช้สาหรับประตูหรือผนังเปลือยให้มีความหนาไม่นอ้ ยกว่า 12 มม. ซึ่งจะต้องได้
มาตรฐาน มอก. 965-2537 ฉบับล่าสุด และเข้ากันได้เข้ากับมาตรฐาน JIS R3206 ซึง่ กระจกนิรภัยเทม
เปอร์ ต้องผ่านกระบวนการอบด้วยความร้อน ทาให้ทนแรงอัดได้มากกว่ากระจกธรรมดาประมาณ 3-5
เท่า ซึง่ จะใช้กบั บานประตูกระจกเปลือย หรือส่วนต่าง ๆ ที่ตอ้ งการความแข็งแรงและปลอดภัย เป็ น
ผลิตภัณฑ์ของ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จากัด หรือ บริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตี ้ กลาส จากัด หรือ
บริษัท กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.4 กระจกนิรภัยหลายชัน้ (LAMINATED GLASS) ให้ใช้กระจก 2 ชัน้ ที่ได้มาตรฐาน มอก. 1222-2539 ฉบับ
ล่าสุด และเข้ากันได้กบั มาตรฐาน JIS R3205 ถ้าไม่ระบุรายละเอียดไว้ในแบบให้ใช้ความหนาของกระจก
ประกอบขัน้ ต่าให้ทาดังต่อไปนี ้
2.4.1 กระจกแผ่นแรกด้านนอกอาคารต้องมีความหนาเท่ากับกระจกทั่วไปที่ใช้ภายนอกอาคาร
รวมถึงสีของกระจกด้วย
2.4.2 ความหนาของกระจกแผ่นหลังขึน้ อยู่กบั รายการคานวณตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับ
ข้อกาหนดทั่วไปและเทศบัญญัติเป็ นกระจกนิรภัยที่ประกอบด้วยกระจกตัง้ แต่ 2 ชิน้ ขึน้ ไป ยึด
ติดด้วยฟิ ล์มชนิด POLYVINYL BUTYRAL (PVB) อัดด้วยความดันและความร้อนสูง
หมวดที่ 2 82/172 งานกระจก
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ความหนา และจานวนชัน้ ของกระจก ถ้าไม่ได้ระบุในแบบให้ใช้เป็ นผลิตภัณฑ์ของ บริษัท


กระจกไทยอาซาฮี จากัด หรือบริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส จากัด หรือ บริษัท
กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.5 ในส่วนที่ใช้ติดตัง้ บนแผงที่ยดึ กระจก โดยระบบ STRUCTURAL SILICONE GLAZING นัน้ SEALANT
ที่ยดึ กระจกแผ่นนอกและในจะต้องเป็ น STRUCTURAL SEALANT ซึง่ ผ่านการตรวจสอบแล้วว่า
COMPATIBLE กับ SILICONE ของระบบอลูมิเนียม
2.6 กระจกสะท้อนแสง (REFLECTIVE GLASS)
REFLECTIVE GLASS กาหนดให้ผลิตโดยวิธี MAGNETIC SPUTTERING
เคลือบกระจกด้านใน (SOFT COAT) บนกระจกสีตดั แสง เป็ นกระจกประเภท HEAT
STRENGTHENED REFLECTIVE GLASS ทัง้ หมด ความหนาตามรายการคานวณ แต่ไม่ต่ากว่า 6 มม.
อัตราการสะท้อนไม่เกินที่กฎหมายกาหนด สีให้เป็ นไปตามที่สถาปนิกเลือกไว้ ต้องเข้ากันได้กบั
มาตรฐาน JIS R3221 และเป็ นผลิตภัณฑ์ของ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จากัด หรือ บริษัท ไทย-เยอรมัน
สเปเชียลตี ้ กลาส จากัด หรือ บริษัท กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.7 HEAT-STRENGTHENED GLASS
เป็ นกระจกที่มีความแข็งเป็ น 2 เท่าของกระจกธรรมดา (FLOAT GLASS) ต้องเข้ากันได้กบั มาตรฐาน JIS
R3222 หากมิได้ระบุในแบบกระจกสาหรับงานภายนอกอาคาร ให้ยดึ ถือค่า HEAT ABSORBTANT รวม
ของกระจก เป็ นหลักในการพิจารณา โดยหากเกินกว่า 70% ให้ใช้เป็ นชนิด HEAT-STRENGTHENED
GLASS แทน เป็ นผลิตภัณฑ์ของบริษัท กระจกไทย อาซาฮี จากัด หรือ บริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตี ้
กลาส จากัด หรือ บริษัท กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า และให้ส่งรายการคานวณ
ความ สามารถการรับแรงลม ให้ผอู้ อกแบบประกอบการพิจารณาอนุมตั ิ
2.8 SPANDREL GLASS
กรณีแบบมิได้ระบุในแบบ กระจกที่ปิดบริเวณหน้าคาน ( SPANDREL GLASS) ให้เป็ นชนิด LAMINATE
HEAT-STRENGTHENED GLASS ที่ได้มาตรฐาน มอก. 1222-2539 ฉบับล่าสุด และเข้ากันได้กบั
มาตรฐาน JIS R3205และJIS R3222 โดยที่จะต้องมีความทึบแสง (LIGHT TRANSMISSION VALUE
น้อยกว่า 10%) ถ้ายืนห่างระยะประมาณ 3 เมตร จะต้องมองไม่เห็นความไม่เรียบของสี และความ
สม่าเสมอของแสงที่ผ่านเข้ามา
2.9 กระจก Coating Glass กระจกเคลือบสี (Coating Glass) หากมิได้ระบุในแบบให้ใช้กระจก Clear Float
Glass ชนิดของสีตอ้ งเป็ นโพลียลู ีเทน ผสมสารเกาะกระจก กระจกติดฟิ ล์มฝ้า หากมิได้ระบุในแบบชนิด
ของกระจกให้ใช้กระจก Clear Float Glass ฟิ ลม์ ที่ใช้ติดรับประกัน 10 ปี ลายและรูปแบบสถาปนิก
กาหนดขณะก่อสร้าง
- กระจกเคลือบสี
- ชนิดของสีตอ้ งมีคณ ุ สมบัติเป็ นสีชนิดโพลียรู เี ทน ผสมสารเกาะกระจก โดยผ่านกรรมวิธีการเคลือบที่
ได้มาตรฐาน
- ความหนาของสีประมาณ 40-80 ไมครอน มีความแข็งแรงไม่นอ้ ยกว่า 2H (Astm D3363) และผ่าน
มาตรฐานการทดสอบการยึดเกาะของสี Cross cut test (BS3900)

หมวดที่ 2 83/172 งานกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.10 กระจกฝ้าด้านที่เคลือบสีตอ้ งมีคณ ุ สมบัติทนทานต่อความชืน้ และสามารถทนต่อรังสียวู ีใน บรรยากาศ


ในกรณีท่รี ะบุให้ใช้กระจกฝ้า ของบริษัท กระจกไทยอาซาฮี จากัด หรือ บริษัท กระจกสยามการ์เดียน
จากัด หรือคุณภาพเทียบเท่า ขนาดและความหนาตามที่ระบุในรูปแบบ
2.11 กระจกเงา (MIRROR)
กระจกเงา ให้ทามาจากกระจกโฟลทใส โดยมีความหนาไม่ต่ากว่า 6 มิลลิเมตร ทาเป็ นกระจกเงาโดยการ
เคลือบ 4 ชัน้ คือ เคลือบวัสดุเงิน เคลือบวัสดุทองแดงบริสทุ ธิ์ และเคลือบสีโดยเฉพาะอีก 2 ชัน้ ให้ใช้
ผลิตภัณฑ์ MIRROTAG หรือ GUARDIAN หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.12 กระจกเสริมลวด (WIRE GLASS)
กระจกเสริมลวด (WIRE GLASS) ให้ใช้หนาไม่ต่ากว่า 6 มม. ขนาดช่องของเส้นลวดลายในกระจกห่าง
กันไม่เกิน 18 x 18 มม. ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ของกระจก THAI-ASAHI หรือ PILKINGTON หรือ
GLAVERBEL หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.13 กระจกฉนวน (INSULATED GLASS)
กระจกฉนวน (INSULATING GLASS UNIT) ต้องเข้ากันได้กบั มาตรฐาน JIS R3209 ชนิดของกระจกที่
นามาประกอบให้เป็ นไปตามแบบ และมีคณ ุ สมบัติตามที่ระบุในรายการประกอบแบบนี ้ ความหนาของ
กระจกให้เป็ นไปตามรายการคานวณ แต่ไม่นอ้ ยกว่าที่ระบุในแบบ / AIR SPACE 12 มม. อุดยาขอบ
โดยรอบด้วย STRUCTURAL SILICONE SEALANT เป็ นผลิตภัณฑ์ของ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จากัด
หรือ บริษัท ไทย-เยอรมัน สเปเชียลตีก้ ลาส จากัด หรือ บริษัท กระจกพีเอ็มเค-เซ็นทรัล จากัด หรือ
คุณภาพเทียบเท่า
2.14 กระจกป้องกันไฟ
กระจกป้องกันไฟ จะต้องมีคณ ุ สมบัติเทียบเท่ามาตรฐาน CLASS A BS6206 และ BS476 PART 22 เป็ น
กระจกนิรภัย สามารถทนไฟฟ้าไม่ต่ากว่า 120 นาที ความหนาของกระจกให้เป็ นไปตามรายการคานวณ
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ SCHOTT PYRAN หรือ PMC หรือ PYROBEL หรือ TGSG หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.15 กระจกพ่นเซรามิค (CERAMIC COATED GLASS)
3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุขนาด 30 x 30 ซม. ที่จะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั ิตรวจสอบตาม
ความต้องการของผูอ้ อกแบบ ก่อนที่จะนาติดตัง้ เช่น
3.1 ตัวอย่างกระจกแต่ละชนิด, GASKET, SEALANT ที่จะใช้ในงานก่อสร้าง แสดงถึง
ลวดลาย สี และ FINISHING
3.2 รายละเอียดประกอบตัวอย่างกระจกจากบริษัทผูผ้ ลิตกระจก (MANUFACTURE’S
SPECIFICATIONS) แสดงถึงการทดสอบคุณภาพของกระจกแต่ละชนิด รวมถึงการทดสอบของยางอัด
กระจก (GASKET), ยางรองรับกระจก, SEALANT
3.3 รายการคานวณแสดงความสามารถในการรับแรงลม กรณีท่ใี ช้ในอาคารสูงหรือขนาดของกระจกใหญ่กว่า
20 ตารางฟุต ค่า DEFLECTION ของแผ่นกระจกไม่เกินกว่า L/180 หรือเกินกว่าความหนาของแผ่นกระจก
เมื่อรับแรงลม 80 กก./ต.ร.ม. และ/หรือตามบัญญัติ RESISTANCE FACTOR ของกระจก ANNEAL ตาม
FEDERAL SPECIFICATION DD –6-00451 เท่ากับ 2.5 กระจกชนิดอื่นให้ใช้ตาม RELATIVE
RESISTANCE FACTOR ความหนา ชนิดกระจกและ THERMAL SAFETY ของกระจกจะต้องวิเคราะห์เชิง

หมวดที่ 2 84/172 งานกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

คานวณ โดยใช้ผลการทดสอบข้อมูลจากบริษัทผูผ้ ลิตหรือจากมาตรฐานอื่น ๆ ที่ผอู้ อกแบบยอมรับในกรณีท่ี


ผูร้ บั จ้างคานวณแล้ว ผลการคานวณแสดงให้เห็นว่าความหนาของกระจกจาเป็ นต้องหนากว่าที่กาหนดให้
ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนาตามที่คานวณได้ หรือในกรณีท่ผี ลการคานวณแสดงให้เห็นว่า ความหนาของ
กระจกสามารถใช้บางกว่าที่กาหนดได้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนาตามที่กาหนดให้ไว้ในรายการประกอบ
แบบอย่างเคร่งครัด (ยกเว้นระบุในแบบก่อสร้างให้เป็ นอย่างอื่น) ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เพิ่มขึน้ จากการ
เปลี่ยนแปลงความหนา ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบแต่เพียงผูเ้ ดียว และจะถือเป็ นข้ออ้างในการขอต่อเวลา
ตามสัญญาไม่ได้
3.4 SHOP DRAWING
ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา SHOP DRAWING อย่างน้อย 5 ชุด เพื่อตรวจสอบและพิจารณาอนุมตั ิ โดยแสดง
รายละเอียดดังต่อไปนี ้
- การแบ่งขนาดช่องของกระจก
- การประกอบกระจกเข้ากับกรอบบาน
- การป้องกันนา้
- กรรมวิธีในการติดตัง้ กระจกและจุดยึดต่าง ๆ
- การยาแนวรอยต่อต่าง ๆ
- การหนุนยางรองกระจก
- รายละเอียดอื่น ๆ ที่ผคู้ วบคุมงาน และสถาปนิกผูอ้ อกแบบต้องการ
4. การติดตัง้
4.1 ให้ยดึ ถือระบบติดตัง้ ที่ระบุไว้ในรายละเอียดของแบบประกอบในแบบสถาปั ตยกรรม
เป็ นหลักรวมถึงขนาดพิกดั ที่ระบุไว้อย่างเคร่งครัด โดยผูอ้ อกแบบสามารถขอตรวจสอบรายการคานวณของ
ระบบในทุกส่วนที่นามาใช้เป็ นโครงรับกระจกได้ โดยหากพบว่ามีความแข็งแรงและปลอดภัยไม่พียงพอ
ผูร้ บั จะต้องเสนอแบบรายละเอียดในการติดตัง้ รวมถึงอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียดเสนอให้
ผูอ้ อกแบบ และได้รบั อนุมตั ิก่อนทาการติดตัง้
4.2 รายละเอียดการติดตัง้ อื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง ให้ปฏิบตั ิตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต และคูม่ ือ
การติดตัง้ กระจก FGMA-GLAZING MANUAL ซึง่ ได้รบั การพิจารณาอนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานแล้ว
4.2.1 ให้มีการประสานงานร่วมกันระหว่างผูร้ บั จ้างหลักกับบริษัทผูต้ ิดตัง้ หน้าต่างระบบ ALUMINIUM
CURTAIN WALL เพื่อดาเนินการเตรียมงานก่อสร้างในส่วนที่เกี่ยวข้องทัง้ หมด
4.2.2 ตรวจสอบสถานที่ท่จี ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้อง
ก่อนจะมีการติดตัง้ เช่น ทาความสะอาดร่องวงกบ โดยปราศจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ
4.2.3 การติดตัง้ กระจกต้องติดแน่นไม่ส่นั สะเทือน ป้องกันมิให้นา้ ไหลซึมเข้าไปภายในได้
- กรอบอลูมิเนียม ใช้ยางรองรับกระจก (NEOPRENE) ค่าความแข็งแรง (HARDNESS) 80+5
DUROMETER หรือได้ระบุไว้อย่างอื่นจากผูอ้ อกแบบ
- กรอบเหล็กยึดด้วยคลิปอลูมิเนียม และยาแนวด้วยความประณีต
4.2.4 ช่องเว้นสาหรับการติดตัง้

หมวดที่ 2 85/172 งานกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ต้องเป็ นไปตามข้อกาหนดของบริษัทผูผ้ ลิต การติดตัง้ จะต้องแน่น ไม่ส่นั สะเทือนกันนา้ มิให้ไหลซึม


เข้าไปภายในได้การตัดกระจก ต้องเป็ นลักษณะตัดแล้วได้ขนาดเลย ไม่อนุญาตให้มีการใช้คีมหนีบ
เป็ นฟั นเลื่อย เพราะจะทาให้กระจกเสียคุณภาพ
4.2.5 ขอบกระจก
ทัง้ หมดต้องขัดเรียบ จะมีส่วนแหลมคมอยู่ไม่ได้ เพราะจะเป็ นสาเหตุให้เกิดแรงกดรวมกันที่ขอบส่วน
นัน้ ทาให้กระจกแตกในที่สดุ
4.2.6 ร่องใส่กระจก
ร่องใส่กระจกจะต้องแห้งสะอาดปราศจากสิ่งสกปรก ผงเศษวัสดุท่หี ลุดออก กาว สนิม นา้ มัน หรือ
คราบ สาหรับกรอบอลูมิเนียมต้องมียางอัดกระจก (GASKET) ชนิด EPDM หรือ SILICONE
SEALANT วัสดุรองกระจก (GLASS SETTING BLOCK) ชนิด EPDM ที่ระยะ 2/4 ของความกว้าง
กระจก แต่ตอ้ งห่างจากมุมไม่นอ้ ยกว่า 150 มม.
4.2.7 ยางอัดกระจก ต้องได้มาตรฐานกรรมวิธีจากบริษัทผูผ้ ลิต
HARDNESS : (SHOREA) 50+ 5 DUROMETER
TENSILE STRENGTH: 800 PSI (MIN)
ELONGATION: 300 % MIN
TEAR, DIE B: 65 PSI (MIN)
โดยใช้ยางอัดกระจกของ DORDAN หรือ KING WAI หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.2.8 การป้องกันการรั่วซึม เมื่อประกอบและติดตัง้ เสร็จแล้วจะต้องสามารถกันนา้ ฝนรั่วซึมเข้ามาในตัว
อาคารได้เป็ นอย่างดี
การอุดรอยรั่ว (SEALANT)
ก. ระหว่างกระจกกับโครงสร้างอลูมิเนียมใช้ SEALANT ขอบ DOW CORNING หรือ G.E. หรือ
ELASTOSIL หรือ SIKA หรือ TREMPO (TREMFLEX 25) หรือคุณภาพเทียบเท่า
ข. ระหว่างโครงสร้างอลูมิเนียมกับคอนกรีต ชนิด POLYURETHANE SEALANT สามารถทาสี
ทับได้ ใช้ METAL SEALANT ของ DOW CORNING หรือ G.E. หรือ ELASTOSIL หรือ
SIKA หรือ TREMPO (TREMFLEX 25) หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.2.9 กระจกทุกแผ่นที่นามาติดตัง้ จะต้องมีฉลากชื่อพิมพ์ติดมาจากโรงงาน ระบุถึงบริษัทผูผ้ ลิต ชนิด
ของกระจก และความหนา อีกทัง้ จะต้องติดไว้ท่กี ระจกจนกระทั่งติดตัง้ กระจกเสร็จเรียบร้อย และ
ได้รบั การอนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงาน
4.2.10 การตัดกระจก ลบมุมขอบกระจก ยาแนว รวมถึงกรรมวิธีทดสอบควบคุมคุณภาพ ต้องเป็ นไปตาม
กรรมวิธีมาตรฐานของบริษัทผูผ้ ลิตกระจก และได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
4.2.11 กระจกที่ติดตัง้ แล้ว ห้ามทาให้เกิดการสะเทือน หรือโยกย้ายส่วนที่ติดกระจกแล้ว รวมทัง้ ห้ามเปิ ด
บานประตูหน้าต่างที่เป็ นบานเปิ ดจนกว่าวัสดุยดึ กระจกจะแห้งดีแล้ว
4.2.12 งานกระจกที่ไม่สมบูรณ์ กระจกที่ติดตัง้ แล้วหากมีรอยแตกร้าวหรือมีรอยขูดขีด ผูร้ บั จ้างจะต้อง
จัดการเปลี่ยนให้ใหม่โดยไม่คิดมูลค่า ผูร้ บั จ้างต้องทาความสะอาดและปิ ดกระจกให้เรียบร้อยทัง้
สองด้าน

หมวดที่ 2 86/172 งานกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

5. การเสนอรายละเอียด
รายการผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบในการออกแบบ และคานวณความหนาของกระจกทุกชนิด โดยสอดคล้องกับความ
ต้องการที่แสดงในแบบก่อสร้าง โดยใช้ขอ้ มูลการคานวณตามที่ระบุไว้ ความหนาของกระจกที่กาหนดไว้ทงั้ ในแบบและ
รายการประกอบแบบเป็ นความหนาขัน้ ต่าที่ยอมให้ ในกรณีท่ีผรู้ บั จ้างคานวณแล้วผลการคานวณแสดงให้เห็นว่าความ
หนาของกระจกจาเป็ นต้องหนากว่าที่กาหนดให้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนาตามที่คานวณได้ หรือในกรณีท่ผี ลการ
คานวณแสดงให้เห็นว่าความหนาของกระจกสามารถใช้บางกว่าที่กาหนดไว้ ผูร้ บั จ้างจะต้องใช้ความหนาตามที่กาหนด
ให้ไว้ในรายการก่อสร้างอย่างเคร่งครัด ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เพิ่มขึน้ จาการเปลี่ยนแปลงความหนา ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิด
ชอบแต่เพียงผูเ้ ดียวและจะถือว่าเป็ นข้ออ้างในการขอต่อเวลาในสัญญาไม่ได้
6. การติดตัง้
6.1 กระจกทุกชนิดก่อนนามาติดตัง้ จะต้องได้รบั การแต่งขอบให้ปราศจากความคม และมีความเรียบสม่าเสมอ
6.2 การประกอบกระจกเข้ากรอบบาน จะต้องฝังลึกเข้าไปในกรอบงาน/วงกบ ไม่นอ้ ยกว่า
ความหนาของกระจก และจะต้องมียางรองรับกระจกเสมอ อย่างน้อย 2 ก้อน โดยใช้ยางดันประเภทนีโอพรีน
ความแข็งประมาณ 80-90 Shore A และจัดวางโดยมีระยะ L/4 (เมื่อ L คือความกว้างกระจก) ทัง้ 2 มุม แต่
จะต้องห่างจากมุมไม่นอ้ ยกว่า 50 มม.
6.3 ตรวจสอบสถานที่ท่จี ะมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไข
ให้ถกู ต้องก่อนจะมีการติดตัง้ เช่น ทาความสะอาดร่องวงกบ โดยปราศจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ
6.4 ห้ามถอดป้าย เครื่องหมาย แสดงชนิดของกระจกออกจากผิวของกระจก จนกว่าจะ
ได้รบั อนุมตั ิจากผูอ้ อกแบบ
6.5 ตรวจสอบคุณภาพของกระจกทุกแผ่นก่อนเริ่มการติดตัง้ ทุกครัง้ ห้ามติดตัง้ กระจกขอบ
กระจกร้าว แตก หรือมีรอยขีดข่วน ถ้าพบสิ่งบกพร่องต่าง ๆ ต้องแก้ไขก่อนการติดตัง้
6.6 รายละเอียดการติดตัง้ อื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง ให้ปฏิบตั ิตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต ซึง่ ได้รบั การ
พิจารณาอนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงานแล้ว
7. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาด และขัดกระจกให้สะอาดเรียบร้อยทุกแห่งผิวของกระจกและวงกบต้องปราศจากรอย
ขีดข่วน หรือมีตาหนิ ก่อนขออนุมตั ิการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและส่งมอบงาน
8. การรับรอง
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพของกระจกในระยะเวลา 5 ปี หากเกิดการแตกร้าว อันเนื่องมาจากคุณสมบัติของ
วัสดุ และการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องมาติดตัง้ ให้ใหม่หรือซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบ โดยไม่
คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้
9. MOCK UP (กรณีระบุไว้ในทาการทดสอบ)
ให้ทาการทดสอบ MOCK UP ร่วมกับระบบการติดตัง้ ของอลูมิเนียม (ALUMINIUM FRAME)

หมวดที่ 2 87/172 งานกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานกระจกเพือ่ การตกแต่ง

กระจกอัดแผ่นฟี ล์ม LAMINATED GLASS


เป็ นกระจกที่ประกอบด้วยกระจกตัง้ แต่ 2 ชิน้ ขึน้ ไป ตัวกระจกให้ใช้กระจกชนิด LID (LOW-ORON) ซึง่ เป็ นชนิดใสพิเศษยึดติด
ด้วยแผ่น POLYVINYL BUTYRAL(PVB) อักด้วยความดันและความร้อนสูง ความหนา และจานวนชัน้ ของกระจก โดยชัน้ ของ
กระจกจะต้องได้มาตรฐาน AS 2208 ASTM C1172 ANSI Z 79.1 ISO/TS16949 By RWTUV และ ISO 9001:2000/EN
ISO ISO9001:2000 By RWTUV หรือคุณภาพเทียบเท่า
กรณีกระจก, ผนังกระจกภายในอาคาร กาหนดค่าของแรงที่กระทาต่อกระจกไม่ต่ากว่า 2 กิโลกรัม ต่อตารางเมตร
กาหนดค่าความโก่งตัวที่ยอมให้ได้ ไม่เกินกว่า 10 มิลลิเมตรต่อความยาวกระจก
หากมิได้กาหนดความหนาของกระจกในแบบก่อสร้าง ให้ใช้ความหนาของกระจกตามรายการ ดังนี ้
- ลูกฟั กบานหน้าต่างโดยทั่วไปหนา6 มม.
- ลูกฟั กบานประตูโดยทั่วไปหนา6 มม.
- กระจกติดตายไม่ใหญ่กว่า 10 ตรฟ.หนา 6 มม.
หรือความกว้าง/ความสูงไม่เกิน 4 ฟุต
กระจกใส CLEAR GLASS
ให้ใช้กระจกใสที่มีความหนา ตามที่ระบุไว้ในรูปแบบหรือรายการก่อสร้าง มีผิวเรียบสม่าเสมอ สีใสไม่เป็ นฟองอากาศคลื่น ไม่
แตกร้าวหรือเป็ นรอยขูดขีดเปรอะเปื ้อนชนิดของกระจก
ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุขนาด 30x30 ซม. ที่จะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั ิตรวจสอบก่อนที่จะนาติดตัง้ เช่น
1. ตัวอย่างกระจกแต่ละชนิด
2. GASKET, SEALANT ที่จะใช้ในงานก่อสร้าง
3. ตัวอย่างที่แสดงลวดลาย และ FINSHING
4. รายละเอียดตัวอย่างประกอบกระจกจากบริษัทผูผ้ ลิตกระจก (MANUFACTURE SPECICATIONS)
5. แสดงรายละเอียดการทดสอบคุณภาพกระจกแต่ละชนิด รวมถึงการทดสอบของยางอัดกระจก (GASKET) และยาง
รองรับกระจก SEALANT
6. กรอบอลูมิเนียมใช้ยางรอบรับกระจก (NEOPRENE) ค่าความแรง (HARDNESS)80+5 DUROMETER หรือได้ระบุไว้
อย่างอื่นในแบบ
7. กรอบเหล็กยึดด้วยคลิปอลูมิเนียม และยาแนวด้วยความประณีต
SHOP DRAWING
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทา SHOP DRAWING อย่างน้อย 5 ชุด เพื่อตรวจสอบและพิจารณาอนุมตั ิ โดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
- การแบ่งขนาดของกระจก
- กระประกอบกระจกเข้ากับกรอบงาน
- การป้องกันนา้
- กรรมวิธีในการติดตัง้ กระจกและจุดยึดต่าง ๆ
- การยาแนวรอยต่อต่าง ๆ
- การหนุนยางรองกระจก
- รายละเอียดอื่น ๆ ที่ผวู้ า่ จ้างต้องการ
หมวดที่ 2 88/172 งานกระจกเพื่อการตกแต่ง
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การติดตัง้
การติดตัง้ กระจกแยกออกเป็ น 2 ระบบ
ระบบการติดตัง้ แบบ CONVENTION SYSTEM
ระบบการติดตัง้ แบบ STRUCTURAL SILICONE SYSTEM
- ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอแบบรายละเอียดในการติดตัง้ รวมถึงอุปกรณ์ตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียดเพื่อขออนุมตั ิก่อนการ
ติดตัง้
- รายละเอียดการติดตัง้ อื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง ให้ปฏิบตั ิตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต และคูม่ ือการติดตัง้ กระจก FGMA –
GLAZING MANUAL ซึง่ ได้รบั การพิจารณาอนุมตั ิแล้ว
- ให้มีการประสานงานร่วมกันระหว่างผูร้ บั จ้างหลักกับบริษัทผูต้ ิดตัง้ หน้าต่าง ระบบ ALUMINIUM เพื่อดาเนินการ
เตรียมงานก่อสร้างในส่วนที่เกี่ยวทัง้ หมด
- ตรวจสอบสถานที่ท่มี ีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้อง ก่อนจะมีการติดตัง้
เช่น ทาความสะอาดร่องวงกบ โดยปราศจากสิ่งสกปรกต่าง ๆ
- การติดตัง้ กระจกต้องแน่นไม่ส่นั สะเทือน ป้องกันมิให้นา้ ไหลซึมเข้าภายในได้
- ช่องเว้นสาหรับการติดตัง้ ต้องเป็ นไปตามกาหนดของบริษัทผูผ้ ลิตการติดตัง้ จะต้องแน่นไม่ส่นั สะเทือนกันนา้ มิให้ไหล
ซึมเข้าไปภายในได้
- การตัดกระจก ต้องเป็ นลักษณะตัดแล้วได้ขนาดเลย ไม่อนุญาตให้ใช้คีมหนีบเป็ นฟั นเลื่อย เพราะจะทาให้กระจกเสีย
คุณภาพ ขอบกระจกทัง้ หมดต้องขัดเรียบ จะมีส่วนแหลมคมอยู่ไม่ได้ เพราะจะเป็ นสาเหตุให้เกิดแรงกดรวมกันที่ขอบ
ส่วนนัน้ ทาให้กระจกแตกในที่สดุ
ร่องใส่กระจก
ร่องกระจกต้องแห้งปราศจากสิ่งสกปรก ผงเศษวัสดุท่หี ลุดออก กาว สนิม นา้ มัน หรือ คราบ สาหรับกรอบอลูมิเนียมต้องมียาง
อัดกระจก (GASKET) ชนิด EPDM หรือ SILICONE SEALANT วัสดุรองกระจก (GLASS SETTING BLOCK) ชนิด EPDM ที่
ระยะ 2/4 ของความกว้างกระจก แต่ตอ้ งห่างจากมุมไม่นอ้ ยกว่า 150 มม.
ยางอัดกระจก ต้องได้มาตรฐานกรรมวิธีจากบริษัทผู้ผลิต
HARDNESS:(SHOREA)50+5 DUROMETER
TENSILE STRENG TH:800 PSI (MIN)
ELONGATION:300% MIN
TEAR, DIE B:65 PSI (MIN)
โดยใช้ยาอัดกระจกของ DORDAN หรือ KING WAI หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กระจกทุกแผ่นที่นามาติดตัง้ จะต้องมีฉลากชื่อพิมพ์ติดมาจากโรงงาน ระบุถึงบริษัทผูผ้ ลิตชนิดของกระจก และความ
หนาอีกทัง้ จะต้องติดไว้ท่กี ระจกจนกระทั่งติดตัง้ กระจกเรียบร้อย และได้รบั อนุญาตจากผูว้ า่ จ้างแล้ว
- การตัดกระจก ลบมุมกระจก ยาแนว รวมถึงกรรมวิธีทดสอบควบคุมคุณภาพ ต้องเป็ นไปตามกรรมวิธีมาตรฐานของ
บริษัทผูผ้ ลิตและได้รบั ความเห็บชอบจากผูว้ า่ จ้างแล้ว
- กระจกที่ติดตัง้ แล้ว ห้ามทาให้เกิดการสะเทือน หรือโยกย้ายส่วนที่ติดกระจกแล้ว รวมทัง้ ห้ามเปิ ดประตูหน้าต่าง ที่เป็ น
บานเปิ ด จนกว่าวัสดุยดึ กระจกจะแห้งดีแล้ว
งานกระจกที่ไม่สมบูรณ์ กระจกที่ติดตัง้ แล้วหากมีรอยแตกร้าวหรือมีรอยขูดขีด ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดการเปลี่ยนให้ใหม่โดยไม่คิด
มูลค่าและผูร้ บั จ้างต้องทาความสะอาดและปิ ดกระจกให้เรียบร้อยทัง้ สองด้าน

หมวดที่ 2 89/172 งานกระจกเพื่อการตกแต่ง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานกาวซีเมนต์ และ ยาแนว (Cementitious Adhessive and Grout Work)

ข้อกาหนดทั่วไป
- ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนาการติดตัง้
และ ข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการเพื่อพิจารณาตรวจสอบ
- ผูร้ บั จ้างต้องจัดทาการวัด และตรวจสอบสถานที่จริงบริเวณที่จะบุ/ปูกระเบือ้ งก่อน เพื่อความถูกต้องของขนาด
และระยะตามจริง
- ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา Shop Drawing เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบโดยแสดงรายละเอียดดังต่อไปนี ้
- แปลนและรูปด้านของการปูกระเบือ้ งทัง้ หมด ระบุรุน่ ของกระเบือ้ งแต่ละรุน่ ให้ชดั เจน
- แบบขยายการติดตัง้ บริเวณ ขอบ มุม รอยต่อ จุดจบ ตาแหน่งของเส้นแบ่งแนว หรือ เส้นขอบ PVC และเศษ
ของ กระเบือ้ งทุกส่วน
- อัตราความลาดเอียงและทิศทางการไหลของนา้ ของพืน้ แต่ละส่วน
- แบบขยายอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ นตามที่ควบคุมงานต้องการ อาทิ ตาแหน่งติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบที่
เกี่ยวข้อง เช่น สวิทซ์ ปลั๊ก ท่อระบายนา้ ที่พนื ้ หรือ ช่องซ่อมบารุงต่าง ๆ เป็ นต้น
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างกระเบือ้ งตามชนิดสี และลายที่กาหนด ขนาดเท่ากับวัสดุจริงไม่นอ้ ยกว่า 2
ตัวอย่าง เพื่อควบคุมงานและผูอ้ อกแบบอนุมตั ิก่อนการสั่งซือ้
- ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายและจัดหาวัสดุ แรงฝี มือดี อุปกรณ์เครื่องมือ และสิ่งอานวยความสะดวก
ต่าง ๆ ที่จาเป็ น รวมถึงการจัดหา กาว/วัสดุยาแนวทัง้ หลาย
วัสดุ
- วัสดุท่นี ามาใช้ ต้องเป็ นวัสดุใหม่ท่ไี ด้มาตรฐานนานาชาติ EN 12004 : 2001 และ ISO 13007
- กรณีปกู ระเบือ้ งภายในห้องนา้ หรือบริเวณที่ตอ้ งแช่นา้ มีนา้ ไหลผ่านตลอด ให้ทาระบบกันซึมก่อนทาการปู
กระเบือ้ ง
- สาหรับกระเบือ้ งทั่วไป ที่มีอตั ราการดูดซึมนา้ ปกติ เช่น กระเบือ้ งเซรามิค, ดินเผา จะต้องมีแรงยึดติดไม่ต่า
กว่า 0.5 N/mm2 ทัง้ ในที่แห้งและที่เปี ยก ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า Weber, Mapei, Wraker ,
Crocodile, Davco
- สาหรับกระเบือ้ งขนาดใหญ่ ที่มีอตั ราการดูดซึมนา้ ต่า เช่น กระเบือ้ งแกรนิต ,พอร์ชเลน, หินอ่อน หรือ แกรนิต
เป็ นต้น จะต้องมีแรงยึดติดไม่ต่ากว่า 1 N/mm2 ทัง้ ในที่แห้งและที่เปี ยก ให้ใช้ผลิตภัณฑ์กาวซีเมนต์คณ ุ ภาพสูง
ติดกระเบือ้ ง Weber, Mapei, Wraker, Davco ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า
- กรณีปกู ระเบือ้ งภายนอกอาคาร พืน้ /ผนัง ให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์กาวซีเมนต์คณ ุ ภาพสูงชนิดยืดหยุ่นติดกระเบือ้ ง
ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า Weber, Mapei, Wraker , Crocodile, Davco
- วัสดุเพื่อการยาแนว ประเภทกันเชือ้ รา ตามมาตรฐานนานาชาติ EN 13888 : 2002 และ ISO 13007
ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า Weber, Maper, Wraker Crocodile, Davco กรณีเว้นร่องยาแนว ตัง้ แต่ 1-6 มม. ให้ใช้
ยาแนวป้องกันราดาและคราบสกปรก กรณีเว้นร่องยาแนว ตัง้ แต่ 6 มม. ขึน้ ไป ให้ใช้ยาแนวร่องกว้าง กรณีใช้ใน
ห้องปฏิบตั ิการทางเคมี หรือ งานสระว่ายนา้ ให้ใช้ยาแนวที่มีคณ ุ สมบัติทนต่อสารเคมี ,กรดเข้มข้นสูง และทนต่อ
อุณหภูมิสงู และต่าได้ ประเภทกลุม่ Reaction Resin

หมวดที่ 2 90/172 งานกาวซีเมนต์ และยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- วัสดุกนั ความชืน้ ชนิด Cement Base ชนิดตกผลึกกรณีปกู ระเบือ้ ง บริเวณที่อาจมี ความชืน้ ซึมผ่านพืน้ ผนัง เช่น
ภายในห้องนา้ และระเบียง ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณุ ภาพเทียบเท่า Weber, Trepax , Radcon, Crocodile, Sika

วิธีการดาเนินงาน
การเตรียมผิว
- ทาความสะอาดพืน้ ผิวที่จะปูกระเบือ้ งให้สะอาดปราศจากฝุ่ นผงคราบไขมัน และสกัด เศษปูนทรายที่เกาะอยู่
นอกให้หมด ล้างทาความสะอาดด้วยนา้
- เทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพืน้ เพื่อปรับระดับให้ได้ด่งิ ได้ฉาก ได้แนว ได้ความลาดเอียงตามข้อกาหนดที่ ระบุ
ไว้ในงานฉาบปูน ขูดขีดผิวให้เป็ นรอยหยาบตลอดพืน้ ที่ขณะที่ปนู ทรายยังหมาด ๆ อยู่
- หลังจากเทปูนทรายหรือฉาบปูนรองพืน้ แล้ว 24 ชั่วโมง ให้ทาการบ่มตลอด 3 วัน แล้วจึงเริ่มดาเนินการปู
กระเบือ้ ง
- การเตรียมแผ่นกระเบือ้ ง กระเบือ้ งที่ใช้ปดู ว้ ยกาวซีเมนต์ ไม่จาเป็ นต้องนาไปแช่นา้
การเตรียมกาวซีเมนต์
- ใส่นา้ 5 ลิตร (สาหรับกาวซีเมนต์ 20 กก.) หรือ ใส่นา้ 6.25 ลิตร (สาหรับกาวซีเมนต์ 25 กก.) อุณหภูมิของ
นา้ ปกติ (ไม่ใช่นา้ อุน่ หรือนา้ ร้อน) ลงในถังที่เตรียมไว้
- ค่อย ๆ ใส่กาวซีเมนต์ในอัตราส่วน คือ นา้ 1 ส่วน : กาวซีเมนต์ 4 ส่วนโดยนา้ หนัก หรือ นา้ 1 ส่วน : กาว
ซีเมนต์ 3 ส่วนโดยปริมาตร ลงในนา้ ขณะเดียวกันใช้เครื่องปั่ น ปั่ นให้ท่วั จนเป็ นเนือ้ เดียวกัน
- หลังจากผสมกาวซีเมนต์ให้เข้ากันได้ดีแล้ว ควรทิง้ ไว้ 3-4 นาที ก่อนใช้งานเพื่อให้สารเคมีในกาวซีเมนต์ทา
ปฏิกิรยิ ากับนา้
การปูกระเบือ้ ง
- ปาดกาวซีเมนต์บางส่วนลงบนพืน้ ผิวและใช้เกรียงหวีท่ีมีขนาดเหมาะสมตามขนาดกระเบือ้ งตามที่ผผู้ ลิต
แนะนาปาดกาวซีเมนต์ให้เป็ นทางยาวบนพืน้ ผิว 1 ถึง 2 ตร.ม. แล้วเกลี่ยให้ท่วั ความหนาตามร่องของเกรียง
หวีท่ใี ช้ เป็ นการควบคุมปริมาณกาวซีเมนต์ท่ใี ช้ให้สม่าเสมอ (ไม่มากหรือน้อยเกินไป)
- ในกรณีปกู ระเบือ้ งขนาดใหญ่กว่า 25 x 25 ซม. (10 x 10 นิว้ ) ควรปาดกาวซีเมนต์ลงบนหลังกระเบือ้ งให้ท่วั
เล็กน้อย เพื่อแน่ใจว่าได้ปาดกาวซีเมนต์ลงพืน้ ผิวอย่างทั่วถึงและไม่มีช่องอากาศว่างเหลืออยู่เมื่อปูกระเบือ้ งเสร็จ
- ปูกระเบือ้ งลงบนกาวซีเมนต์และกดให้แน่น หรือใช้คอ้ นยางเคาะบนกระเบือ้ งให้ท่วั
เพื่อให้รอ่ งของกาวซีเมนต์ท่แี ผ่นกระเบือ้ งกดทับประสานกันอย่างทั่วถึงเว้นช่องว่างระหว่างกระเบือ้ งแต่ละ
แผ่น เพื่อให้เป็ นร่องยาแนว (อย่างน้อย 2 มม.)
- หากต้องการจัดหรือปรับตาแหน่งกระเบือ้ งเมื่อปูเสร็จด้วยกาวซีเมนต์ สามารถปรับ ตกแต่งกระเบือ้ งแต่ละ
แผ่นภายใน 15 นาที ก่อนกาวซีเมนต์จะแห้ง
- ทิง้ ให้กาวซีเมนต์แห้งประมาณ 24 ชั่วโมง ก่อนการยาแนว

หมวดที่ 2 91/172 งานกาวซีเมนต์ และยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การเตรียมยาแนว
- ใส่นา้ สะอาด อุณหภูมิของนา้ ปกติ (ไม่ใช่นา้ อุ่นหรือนา้ ร้อน) ลงในถังนา้ ที่เตรียมไว้ (กรณีใช้ยาแนวคุณภาพสูง
ที่มีส่วนผสมอีพ๊อกซี่ ให้ผสมส่วนผสม 2 ส่วนเข้าด้วยกันอัตราส่วน ด้านบน : ด้านล่าง เป็ น 1 : 3 โดยไม่
ต้องผสมนา้ คนให้ท่วั จนเข้ากันเป็ นเนือ้ เดียวกัน)
- ค่อย ๆ เทยาแนว ลงในนา้ ขณะเดียวกันคนให้ท่วั จนเข้าเป็ นเนือ้ เดียวกัน โดยสัดส่วน
การผสมคือ 1 : 3 โดยนา้ หนัก (นา้ 1 ส่วน ยาแนว 3 ส่วนหรือนา้ 1 ส่วน ยาแนว 2.5 ส่วนโดยปริมาตร)
- หลังจากผสมยาแนวให้เข้ากันดีแล้วควรทิง้ ไว้ 3 ถึง 4 นาที ก่อนใช้งานเพื่อให้สาร
เคมีในยาแนวทาปฏิกิรยิ ากับนา้
การยาแนว
- สาหรับผนัง ใช้เกรียงยาง หรือแผ่นยางตักยาแนวที่ผสมได้ท่ีแล้ว ปาดยาแนวให้เฉียงกับร่องกระเบือ้ ง
เพื่อให้ยาแนวเต็มร่องที่เตรียมไว้
- สาหรับพืน้ เพื่อความรวดเร็ว ป้ายยาแนวที่ผสมได้ท่แี ล้ว ลงบนพืน้ ที่ประมาณ 1 ตร.ม. แล้วใช้เกรียง
ปาดยาแนวให้เฉียงกับร่องกระเบือ้ ง เพื่อให้ยาแนวเต็มร่องที่เตรียมไว้
- เช็ดยาแนวส่วนที่เกินออกจากแผ่นกระเบือ้ งด้วยฟองนา้ หมาด ๆ ก่อนที่ยาแนวจะแห้งสนิทกรณีใช้ยาแนว
คุณภาพสูงที่มีส่วนผสมของอีพีอกซี่ ควรเช็ดยาแนวส่วนที่เกินออกจากแผ่นกระเบือ้ งด้วยฟองนา้ เส้นใยแข็งที่
ชุบนา้ อุน่ หมาด ๆ หลังยาแนวเสร็จประมาณ 15 ถึง 20 นาที (พืน้ ที่ประมาณ 1 ตร.ม.)
- ปล่อยทิง้ ไว้ให้แห้งประมาณ 2 ชม. แล้วทาความสะอาดกระเบือ้ งด้วยผ้าสะอาด
- เพื่อการยึดเกาะที่ดีของยาแนว ควรทิง้ เอาไว้ให้แห้งประมาณ 24 ชม. ก่อนการใช้งาน
การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทาความสะอาดทุกแห่งที่เกี่ยวข้องหลังจากการปูกระเบือ้ งด้วยความประณีตสะอาด เรียบร้อย
ปราศจากคราบนา้ ปูน คราบไคล หรือรอยเปื ้อนต่าง ๆ ก่อนขออนุมตั ิตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและส่งมอบงาน
การซ่อมแซม
พืน้ ผิวกระเบือ้ งให้ทาการใช้เหรียญหรือโลหะเคาะที่กระเบือ้ ง เพื่อเช็คว่ามีเสียงเคาะดังโปร่งหรือไม่ หากมีเสียง
ดังกล่าว ผูร้ บั จ้างจะต้องทาการรือ้ โดยสกัดกาวซีเมนต์บางส่วนออกและทาความสะอาด ปราศจาก ฝุ่ นผง
จากนัน้ ทาการปูกระเบือ้ งอีกครัง้ โดยปาดกาวซีเมนต์ดา้ นหลังกระเบือ้ งและใช้เกรียงหวีปกู าวซีเมนต์ท่ีผิว
ตามปกติ รอให้แห้งและยาแนวอีกครัง้ ผูค้ วบคุมงานหรือผูอ้ อกแบบจะต้องเป็ นผูก้ าหนดกรรมวิธีตลอดจนการ
เลือกใช้วสั ดุ ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบเสียค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมทัง้ หมด

หมวดที่ 2 92/172 งานกาวซีเมนต์ และยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานวัสดุอุดยาแนว ( SEALANT )
ผูร้ บั เหมางานประตู-หน้าต่าง จะต้องจัดหาซิลิโคนที่เหมาะสมกับการยาแนว เพื่อป้องกันการรั่วซึมของอากาศฝน และ
อื่น ๆ ตามที่แบบกาหนด รวมทัง้ รอยต่อใดที่ตอ้ งยาแนวแต่มิได้ กาหนดในแบบ ผูร้ บั เหมาจะต้องยาแนวรอยต่อนัน้ ให้เรียบร้อย
วัสดุอดุ ยาแนวทัง้ หมดที่ใช้ในโครงการนี ้ ให้ใช้ชนิด SILICONE SEALANT ชนิดที่ไม่มีอนั ตรายหรือสร้างความเสียหายแก่ผิว
วัสดุท่จี ะอุดรอยต่อสาหรับอุดเพื่อป้องกันการรั่วซึม กาหนดให้ไม่เล็กกว่า 6 มม. แต่ไม่เกิน 10 มม. โดยมี CLOSED CELL
POLYETHLELENE FOAM BACKER ROD หนุนรองเสมอ ส่วนรอยต่อสาหรับงาน CURTAINWALL และส่วนที่ตอ้ งการความ
แข็งแรงในการจับยึด ให้เป็ นไปตามรายการคานวณ วัสดุอดุ ยาแนวให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า DOW CORNING หรือ
GE หรือ Sika หรือ TREMCO โดยใช้รุน่ ที่เหมาะสมกับผิววัสดุท่จี ะอุดดังต่อไปนี ้ ส่วน สีของวัสดุยาแนว สถาปนิกจะเป็ นผู้
กาหนดสีท่ใี ช้ ผูร้ บั เหมาจะต้องส่งตัวอย่างซิลิโคนยาแนวแต่ละชนิด แต่ละสีท่ีจะใช้อย่างละ 1 หลอด (30 มิลลิลิตร) เพื่อขอ
อนุมตั ิก่อนนาไปใช้งาน
1. ซิลิโคนที่ทาหน้าที่ในการยึดกระจกสาหรับงานอาคารสูง เช่น ใช้ในส่วน CURTAIN WALL ให้ใช้ซิลิโคนประเภท
Silicone Sealant วัสดุยาแนว ชนิดไม่ก่อให้เกิดคราบ (Non Staining Silicone Sealant) จะต้องเป็ นผลิตภัณฑ์
คุณภาพเทียบเท่าของ Dow Corning หรือ General Electric หรือ SIKA หรือ TREMCO โดยมีรายละเอียดดังนี ้
- Structural Silicone ต้องเป็ นชนิด Two Part เพื่อติดตัง้ กระจกในโรงงาน โดยจะต้องมีการทดสอบ Compatibilty
Test และ Deglazing Test ตามข้อกาหนดของผูผ้ ลิตโดยผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายงานการตรวจสอบนีใ้ ห้แก่
เจ้าของงาน One Part Silicine จะอนุโลมให้ใช้เฉพาะในงานซ่อมหรือในกรณีท่ีมีเหตุจาเป็ นเท่านัน้ Two Part
Silicone ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า Dow Corning No.983 หรือ GE Ultra glass SSG4400 หรือ SIKA
SG-500 หรือ TREMCO และใช้ One Part Silicone ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า DC795 หรือ GE Ultra glaze
SSG4000 หรือ SIKA SG-18 หรือ TREMCO
- Weather Seal ต้องเป็ นชนิด Low หรือ Medium Modulus โดยจะต้องมีการทดสอบว่า สามารถใช้รว่ มกับวัสดุ
ต่าง ๆ ที่จะต้องยึดติดให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า Dow Corning 791, GE Ultraproof II SCS2900 หรือ
SIKA WS-305 หรือ Tremsil 600
- ซิลิโคนสาหรับอุดยาแนวผิวอลูมิเนียมกับผิวปูนเพื่อป้องกันนา้ ซึม ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า DOW
CORNING NO.791 หรือ GE Ultra Prof11 Scs2900 SILPRUF หรือ Sika WS-305 หรือ Tremsil 600
- ซิลิโคนสาหรับอุดยาแนวกระจกโฟลทกับกระจกโฟลท ให้ใช้ผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพเทียบเท่า DOW CORNING
NO. 791 หรือ GE Ultra Prof11 Scs2900 หรือ Sika GS-621 หรือ Tremsil 600 ในกรณีท่ตี อ้ งใช้สีใส่ และกัน
รั่วซึม DC688/793-T หรือ Tremsil 200
2. ผิววัสดุอ่นื ๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึง ให้ผรู้ บั จ้างขออนุมตั ิสถาปนิกก่อนดาเนินการใด ๆ
3. ผูร้ บั จ้างต้องส่งผลการทดสอบซิลิโคนยาแนวงานโครงสร้างกับวัสดุท่จี ะยาแนว จากห้องปฏิบตั ิการของผูผ้ ลิตซิลิโคน
ยาแนวที่ผคู้ วบคุมงานรับรองก่อนที่จะเริ่มดาเนินการ ผลการทดสอบขัน้ ต่าต้อง ประกอบด้วย
3.1 การทดสอบเข้ากันได้ (COMPATABILITY TEST ) ของวัสดุทงั้ หมดที่ใช้รว่ มกัน ได้แก่ กระจก อลูมิเนียม
โฟมหนุน (BACKER ROD) (ถ้ามี) ยางหนุน (SETTING BLOCK) ( ถ้ามี ) เทปโฟม (SPACER) กับซิลิโคน
ยาแนวที่ใช้
3.2 การทดสอบการยึดเกาะ (ADHESION-IN-PEEL TEST) ตามมาตรฐาน ASTM C 794 บนผิวกระจก และ
อลูมิเนียมที่ใช้งานจริงสาหรับโครงการนี ้

หมวดที่ 2 93/172 งานวัสดุอดุ ยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3.3 ข้อแนะนาจากห้องปฏิบตั ิการเกี่ยวกับความจาเป็ นในการใช้สารรองพืน้ (PRIMER) ชนิดของสารรองพืน้


และข้อแนะนา ชนิดของสารละลายในการทาความสะอาด
4. ซิลิโคนที่ใช้จะต้องบรรจุในกล่องที่แข็งแรงเพียงพอต่อการขนส่ง มีปา้ ยบอกชื่อผูผ้ ลิต ชนิดของผลิตภัณฑ์และ
หมายเลขการผลิต จะต้องจัดเก็บซิลิโคนยาแนวตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต
5. การยาแนว
5.1 ผิวงานที่จะยาแนวจะต้องสะอาด แห้ง ปราศจากฝุ่ น ไขมัน แลคเกอร์ และความชืน้
5.2 ต้องเช็ดทาความสะอาดงานผิวงานด้วยสารละลายที่ผผู้ ลิตซิลิโคนแนะนา ผ้าที่ใช้จะต้องเป็ นผ้าฝ้าย 100% สี
ขาว ใช้ผา้ ผืนแรกชุบสารละลายเช็ดที่ผิวงาน แล้วใช้ผา้ ผืนที่สองเช็ดตามเพื่อเป็ นการดูดซับสิ่งที่สกปรกและ
ไขมันทันทีก่อนที่สารละลายจะระเหย
5.3 ในกรณีท่จี าเป็ นให้ทาสารรองพืน้ เพียงบาง ๆ ด้วยผ้าฝ้าย 100 % สีขาว หากสารรองพืน้ มากเกินไปจนเห็น
เป็ นฝ้าขาว ให้ใช้ผา้ สะอาดเช็ดออกให้หมดรอยฝ้า
5.4 ติดเทปโฟม ( SPACER ) ยางหนุน ( SETTING BLOCK ) โฟมหนุน ( BACKER ROD ) และ
ส่วนประกอบ อื่น ๆ ตาม SHOP DRAWING
5.5 ฉีดซิลิโคนยาแนวโดยใช้ช่างที่มีประสบการณ์เพียงพอ ในการฉีดซิลิโคนยาแนวได้อย่างประณีต และไม่มี
ฟองอากาศ การฉีดซิลิโคนยาแนวอาจฉีดแบบมือบีบหรือแบบใช้แรงลมอัดก็ได้ และปาดตบแต่งซิลิโคนยา
แนวด้วยแท่งปาดก่อนซิลิโคนเริ่มแข็งตัว ภายใน 10 นาที หลังจากฉีดซิลิโคนยาแนวแล้วลอกเทปกระดาษ
ออกทันที
5.6 ไม่เคลื่อนย้ายแผงกระจกจนกว่าซิลิโคนยาแนวจะแข็งตัวเต็มที่ ระยะเวลาขึน้ อยู่กบั คาแนะนาของผูผ้ ลิต
ซิลิโคนที่ใช้
5.7 แผงกระจกที่รอเวลาแข็งตัวต้องเก็บไว้ในที่รม่ ไม่มีฝนุ่ มีการระบายอากาศได้ดี
5.8 งานประตู หน้าต่าง ที่อยู่ภายนอกอาคารและต้องรับลม ฝน โดยตรงจะต้องยาแนวด้วยระบบ DUAL
DEFENCE WET & DRY GLAZING SYSTEM ซึง่ เป็ นการยาแนวรอยต่อกระจก กับขอบอลูมิเนียมส่วน
ด้านนอกด้วยซิลิโคน ส่วนด้านในใช้ยางอัดชนิด EPDM ตามความเหมาะสมร่องกระจกกับขอบอลูมิเนียมที่
จะยาแนวจะต้องกว้างไม่นอ้ ยกว่า 1/6 นิว้ และจะต้องมีวสั ดุประเภท CLOSED CELL POLYETHELENE
FOAM ROD / TAPE หรือ SPACER รองรับเสมอ
6. การควบคุมคุณภาพการทางานของวัสดุอุดยาแนว
6.1 ให้มีระบบการบันทึกการหมุนเวียนของซิลิโคนยาแนว ดังรายละเอียดต่อไปนี ้
วันที่ท่รี บั ของ
ชื่อและหมายเลขผลิตภัณฑ์
หมายเลขการผลิต
วันที่เบิกของไปใช้
ชื่องานที่นาไปใช้
6.2 ให้มีการกรีดแนวซิลิโคนยาแนว (DEGLAZING) เพื่อตรวจสอบความเต็มของแนวยา ความกว้างของยาแนว
(STRUCTURAL BITE) และการยึดเกาะ (ADHESION) ระหว่างซิลิโคนยาแนวกับผิวงานปริมาณการกรีด
แนวมีดงั นี ้
50 แผงแรกตรวจสอบ 1 แผ่น

หมวดที่ 2 94/172 งานวัสดุอดุ ยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ทุก ๆ 100 แผงต่อไปตรวจสอบ 1 แผ่น


ทุก ๆ ชุดการผลิตจะต้องมีหมายเลขประจาแผง เพื่อให้สามารถตรวจสอบได้ หากพบข้อบกพร่องภายหลัง
ผลการทดสอบการกรีดแนวจะต้องส่งให้ผคู้ มุ งานเพื่อตรวจสอบ
6.3 จัดให้มีการรับประกันผลงานซิลิโคนยาแนวเป็ นเวลา 10 ปี โดยผูผ้ ลิตซิลิโคนยาแนว
7. การป้ องกันผิววัสดุ
งานอลูมิเนียมทัง้ หมดเมื่อทาการติดตัง้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้างจะต้องพ่นวัสดุปกคลุมผิว หรือติด PLASTIC
TAPE เพื่อป้องกันผิวของวัสดุไว้ให้ปลอดภัยจากนา้ ปูน หรือสิ่งสกปรกอื่นใดที่อาจทาความเสียหายให้กบั งาน อลูมิเนียม
8. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดผิวของงานอลูมิเนียมและกระจก ทัง้ ด้านนอกและด้านในให้สะอาดปราศจากคราบ
นา้ มัน คราบนา้ ปูน สี รอยดินสอ หรือสิ่งสกปรกอื่นใดก่อนส่งมอบงาน โดยผูร้ บั จ้างจะต้องไม่ใช้เครื่องมือและสารละลายใด ๆ
ทาความสะอาด อันอาจเกิดความเสียหายแก่งานอลูมิเนียมและกระจกได้
9. การรับประกัน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดทาเอกสารรับประกันคุณภาพวัสดุอปุ กรณ์ท่นี ามาติดตัง้ และกระจกว่าถูกต้องสมบูรณ์ไม่ร่วั ซึม และ
ยังคงสภาพการใช้งานได้ดี นับจากวันส่งมอบงาน ความเสียหายใด ๆ ที่เกิดขึน้ ก่อนการรับมอบงาน หรือภายในระยะเวลาของ
การรับประกัน อันมีผลเนื่องมาจากการผลิต การขนส่ง การติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องชดใช้โดยถอดออกและติดตัง้ ด้วยของใหม่ท่มี ี
คุณภาพชนิดและขนาดเดียวกัน โดยเป็ นค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้ ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพคุณสมบัติของวัสดุและ
การติดตัง้ ตามมาตรฐานของบริษัทผูผ้ ลิต เมื่อติดตัง้ แล้วต้องไม่มีการหลุดร่อนหรือมีขอ้ บกพร่องใด ๆ หากเกิดการดังกล่าวผู้
รับจ้างต้องทาการซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีโดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้ โดยมีระยะเวลาการรับประกันไม่ต่ากว่า 2 ปี สาหรับวัสดุ
ยาแนวในงานโครงสร้าง (Structural Sealant) ผูร้ บั จ้างต้องส่งใบรับประกันคุณภาพงานจากผูผ้ ลิตวัสดุยาแนว โดยมีระยะเวลา
การรับประกันไม่ต่ากว่า 10 ปี การรับประกันต้องครอบคลุมถึงการรับประกันการยึดติดของซิลิโคนยาแนวงานโครงสร้างกับวัสดุ
(Structural Warranty (In Factory or On Site) สาหรับวัสดุยาแนวในงานกันการรั่วซึม (Weatherseal Sealant) ผูร้ บั จ้างต้อง
ส่งใบรับประกันคุณภาพงานจากผูผ้ ลิตวัสดุยาแนว โดยมีระยะเวลาการรับประกันไม่ต่ากว่า 10 ปี การรับประกันต้องครอบคลุม
ถึงการรับประกันการยึดติดของซิลิโคนยาแนวกับวัสดุ ไม่เกิดการรั่วซึมของนา้ และอากาศ (Weatherseal Warranty)

หมวดที่ 2 95/172 งานวัสดุอดุ ยาแนว


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.7 งานไม้

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นสาหรับการก่อสร้างเกี่ยวกับไม้ทงั้ หมดที่ระบุในแบบและ
รายการก่อสร้างรวมถึงการเก็บรักษาไม้ให้มีคณ ุ ภาพดีก่อนนามาใช้งาน งานประกอบไม้แบบได้ระบุไว้แล้วในหมวดไม้
แบบคอนกรีตเสริมเหล็ก
มาตรฐาน
ให้ใช้มาตรฐานของกรมป่ าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หรือตามมาตรฐาน มอก.423 และมอก.424 ส่วนไม้สกั ให้
ยึดถือตาม มอก.422 โดยไม้ทงั้ หมดก่อนนามาใช้งานให้อดั นา้ ยาป้องกันปลวกและแมลงต่าง ๆ ตาม มอก. 516
วัสดุ
ไม้จะต้องเป็ นไม้ปราศจากรอยตาหนิท่ีทาให้การรับกาลังของไม้เสียไป ไม้จะต้องแห้งไม่ผุ หรือเป็ นกระพี ้ ไม่มีรอย
แตกร้าว จะต้องตรง ไม่คดงอ นอกจากจะระบุเป็ นอย่างอื่น
- ไม้เนือ้ แข็ง
ไม้ท่จี ะนามาใช้ในการก่อสร้าง ส่วนที่ระบุเป็ นไม้เนือ้ แข็งจะต้องเป็ นไม้เนือ้ แข็งตามมาตรฐานกรมป่ าไม้ฯ ผูร้ บั
จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่างพร้อมผลการทดสอบจากกรมป่ าไม้ฯ กากับมาด้วย
- ไม้เนือ้ อ่อน
ใช้สาหรับงานประกอบไม้แบบส่วนที่ทาเป็ นไม้เคร่าหรือเคร่าฝ้าเพดาน อนุญาตให้ใช้ไม้ยางได้แต่ตอ้ งผ่านการอัด
นา้ ยามาแล้ว ไม้ตกแต่งประกอบเฟอร์นิเจอร์ นอกจากระบุเป็ นอย่างอื่นในแบบให้ใช้ไม้สกั ทอง การอัดนา้ ยา
จะต้องมีคณ ุ ภาพไม่นอ้ ยกว่าการอัดนา้ ยาของโรงงานอัดนา้ ยาไม้ขององค์การอุตสาหกรรมป่ าไม้ คือก่อนอัด
นา้ ยาจะต้องอบไม้ให้แห้งเหลือปริมาณไอนา้ ในเนือ้ ไม้ประมาณ 30% แล้วจึงทาการอัดนา้ ยา โดยใช้นา้ ยาแห้ง
ครึง่ ปอนด์ ต่อไม้ 1 ลูกบาศก์ฟตุ ไม้สาหรับทาเคร่าฝ้าและเคร่าเพดาน จะต้องไสเรียบมาจากโรงงานทัง้ หมด
ห้ามใช้เศษไม้ที่ประกอบแบบคอนกรีตทาการก่อสร้างเด็ดขาด
- ไม้วงกบ
ในกรณีท่รี ะบุให้ทาสีทบึ แบบกึ่งมัน กึ่งด้าน ให้ใช้วงกบไม้เนือ้ แข็ง กรณีท่รี ะบุให้ลงแชล็คโชว์เนือ้ ไม้ให้ใช้วงกบ
ไม้สกั ขนาดของไม้วงกบดูรายละเอียดในแบบก่อสร้าง
- ไม้อดั
ไม้อดั ทัง้ หมดให้ใช้ไม้อดั เกรดเอ ขนาดและความหนาของไม้อดั ตามระบุในแบบจะต้องเป็ นไม้อดั ชนิด Marine
Plywood แผ่นไม้อดั มีคณ ุ สมบัติตาม มอก. 178
- พืน้ ระแนงไม้สาเร็จรูป
พืน้ ระแนงไม้สาเร็จรูป ขนาด 47 x 47 ซม. หน้ากว้างของแผ่น 2 “ ตัวไม้ตอ้ งผ่านการอบแห้งผลิตภัณฑ์คณ ุ ภาพ
เทียบเท่า LEODECK , ลีโอวูด้ อินเตอร์เทรด
การประกอบและการติดตัง้
- รอยบากไม้ก็ดี หน้าไม้ท่ปี ระกอบกันก็ดีจะต้องขีดเส้นจากวัดมุมให้ถกู ต้องจึงเลื่อยเจาะไสตกแต่งให้หน้าไม้สนิท
เต็มหน้าที่ประกบกันการติดตัง้ โครงไม้ท่ปี ระกอบไว้แล้วจะต้องทาการติดตัง้ อย่างระมัดระวังและใช้เครื่องมือที่
เหมาะสม โดยมิให้โครงไม้นนั้ ๆ เกิดชารุดเสียหายได้ถา้ เกิดการชารุดเสียหายขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องแก้ไขหรือ
เปลี่ยนตัวไม้ให้ใหม่คา่ ใช้จ่ายในการนีจ้ ะต้องเป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้ อุปกรณ์อย่างหยาบ รวมทัง้ การตอกตะปู
เดือย ตะปูควง สลักเกลียว เครื่องหนีบ วงแหวน LAG SCREW, EXPANSION BOLTS และ ARCHOR
หมวดที่ 2 96/172 งานไม้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

BOLTS และรายการอุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในรายการ FINISH HARDWARE และสิ่งซึง่ จาเป็ นอื่น ๆ เพื่อ


ยึดให้โครงแข็งแรงอย่างถาวรกับที่ ผูร้ บั จ้างจะต้องเป็ นผูท้ าทัง้ สิน้ บานประตู ผูร้ บั จ้าง จะต้องติดตัง้ แขวนและ
ตกแต่งตามที่ระบุและแสดงในรูปแบบและจะต้องมีช่องว่างระหว่างด้านข้าง 2 มม. และขอบของบานไม่เกิน
5 มม. เหนือพืน้ นอกจากจะได้ระบุเป็ นอย่างอื่นในแบบช่องประตูท่ไี ม่มีธรณี จะมีช่องว่างไม่เกิน 5 เหนือพืน้
ลูกบิดมือจับส่วนที่เป็ นมาตรฐานจะต้องติดในระดับความสูงเดียวกันมือจับลูกบิดจะต้องอยู่สงู จากพืน้ ที่ตกแต่ง
แล้ว 96ซม.ถึงกึ่งกลางตัวลูกบิดหรือตามระบุในแบบขยาย
- งานพืน้ ระแนงไม้สาเร็จรูป การติดตัง้ ให้ติดตัง้ ตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต
งานไม้ตกแต่งภายใน
- งานไม้ตกแต่ง จะต้องมีการขัดแต่งลงกระดาษทราย จนกระทั่งรอยอันเกิดจากเครื่องจักรเครื่องมือหมดไป ไม่มี
RAISED GRAIN หรือส่วนเสียหายอื่น ๆ ที่ผิวอันปรากฏให้เห็นด้วยสายตาในงานแต่งผิวนัน้
- งานไม้ตอ้ งทาโครงเคร่าอย่างดี อุดติดแน่น และติดตัง้ ในแนว และระดับที่ตอ้ งการ และจะต้องยึดติดอย่าง
มั่นคง แข็งแรงกับที่
- ตัวเคาน์เตอร์ จะต้องทาให้ถกู ต้องพอดี ดังแสดงในรูปแบบ

ขนาดของไม้
ไม้สาหรับก่อสร้างทัง้ หมด (ยกเว้นไม้สกั ) ยอมให้เนือ้ ไม้เป็ นคลองเลื่อย โดยให้มีขนาดเล็กกว่าที่ระบุในแบบได้
แต่เมื่อตกแต่งพร้อมที่จะประกอบเข้าเป็ นส่วนของอาคาร จะต้องมีขนาดเหลือไม้นอ้ ยกว่าที่ระบุดงั ต่อไปนี ้
ไม้ขนาดไสตกแต่งแล้วเหลือไม่เล็กกว่า
1/2 นิว้ 3/8 นิว้
1 นิว้ 1 3/16 นิว้
1 1/2 นิว้ 1 5/16 นิว้
2 นิว้ 1 13/16 นิว้
3 นิว้ 2 13/16 นิว้
4 นิว้ 3 13/16 นิว้
5 นิว้ 4 13/16 นิว้
6 นิว้ 5 13/16 นิว้
8 นิว้ 7 13/16 นิว้
งานฝี มือและวิธีทารายการไม้
- ทัง้ หมดที่ใช้ทาโครงสร้างถาวร จะต้องใช้ช่างฝี มือชัน้ ดีท่ปี ระณีต มีประสบการณ์กบั งานประเภทนี ้
- ต้องจัดเตรียมกรอบไม้แนวตะปูพกุ หรือรายการอื่น ๆ ทานองเดียวกันนีใ้ นที่ท่จี าเป็ นเตรียมสาหรับการยึด
การประกอบที่ถกู ต้องหรือการประกอบติดตัง้ ของงาน จะต้องสร้างกับที่โดยวิธีการที่ได้รบั การอนุมตั ิแล้ว
งานไม้ สาหรับการตกแต่งภายใน
ข้อกาหนดทั่วไป
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาตัวอย่างวัสดุดงั ต่อไปนี ้ เพื่อขออนุมตั ิจากสถาปนิกก่อนการดาเนินการ
- ตัวอย่างสี Laminiate
- Hardware ของงานตู,้ ประตู, Built in, Joinery
- ตัวอย่างสีพ่น หรือ สีทา
- ผูร้ บั จ้างต้องแจ้งผูค้ วบคุมงานล่วงหน้า ไม่นอ้ ยกว่า 2 วัน เพื่อทาการตรวจสอบ Joinery ที่โรงงานก่อนการติดตัง้ ที่
หน้างาน

หมวดที่ 2 97/172 งานไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การจัดเตรียมวัสดุ
- วัสดุท่ใี ช้ตอ้ งเป็ นไม้เกรดดีและได้มาตรฐาน
- ความต่างของไม้ตอ้ งไม่ตา่ งจากกันเกินกว่า 3 %
- ไม้จะต้องไม่มีรอยขีดข่วน,รอยประทับโรงงาน , รอยเลื่อน, รอยวอล์ก โดยรอบ
- ไม้จะต้องได้รบั การเคลือบด้วยสารป้องกันแมลง, มอด, ปลวก ก่อนดาเนินการ
- กาวที่ใช้ตอ้ งเหมาะสมกับไม้ชนิดนัน้ ๆ
- ไม้อดั ต้องเป็ นไม้อดั กันนา้
- Particle Board ต้องเป็ นวัสดุกนั นา้ และใช้ในพืน้ ที่ไม่เปี ยกนา้ เท่านัน้
- MDF Board ต้องมีความหนาแน่นที่ 700 kg/m2 หากเคลือบด้วย Melamine ต้องเคลือบทัง้ 2 ด้าน
- Laminated plastic sheet ต้องเป็ นแบบกันไฟ MDF และกาวใช้ตอ้ งเป็ น PVAC ภายใต้ความร้อน 120 C การ
ต่อแผ่นของไม้ Veneer ต้องต่อให้ได้ตามแนวของลายไม้
การติดตัง้ งานไม้
- งานไม้ให้เป็ นงานที่รวมถึงการติดตัง้ วงกบ, บัว, การต่อของวัสดุไม้ และวัสดุอ่นื ฯลฯ
- การติดตัง้ ต้องใช้แผ่นเต็มเสมอ และมีรอยต่อน้อยที่สดุ ถึงไม่มีเลย รอยต่อของไม้ให้เป็ นไปตามรายละเอียดของ แบบ
- การเก็บขอบต้องใช้ Finishing เดียวกันกับหน้าไม้ใหญ่ หรือตามที่กาหนดในแบบ
การติดตัง้ งาน Joinery
- ถ้างานต้องมีการตอกตะปู หัวตะปูตอ้ งจมกว่าหน้า ไม้และฉาบเรียบด้วย filler และทาสีตามตัว อย่าง หรือ
เทียบเท่าสีไม้ Finishing
- งานไม้ Joinery ต้องได้แนวตรงฉาก ไม่บิดงอตามข้อกาหนดต่อไปนี ้
• 1.0 mm in 800 mm for plumb and level (รวมถึง benchtops)
• 0.5 mm maximum offsets ในกรณีมีรอยต่อที่มองเห็นที่พนื ้ ผิว
• 2.0 mm maximum offsets ในกรณีรอยต่อที่มองเห็นที่พนื ้ ผิว
• + 2.0 mm maximum offsets ในกรณีมีการบิดตัวของไม้
งานไม้และวัสดุและประกอบต่างๆ
- ไม้ยมหอมสาหรับโครงภายในเฟอร์นิเจอร์ทั้งหมดต้องเป็ นไม้ท่ีอบแห้งสนิทได้ขนาดไม่บิด เบีย้ ว ไม่มีตาหนิ
ปราศจากมอดและแมลงกินเนือ้ ไม้
- ไม้สกั สาหรับไม้ประณีตทัง้ หมดที่ระบุในแบบ ต้องเป็ นไม้ท่อี บแห้งสนิท ไม่บิดงอ ไม่มี ตาหนิไม่มีเสีย้ นไม้
ปราศจากแมงกินเนือ้ ไม้ปราศจากแมงกินเนือ้ ไม้
- ไม้อ่นื ที่ระบุถา้ มีตอ้ งเป็ นไม้ท่อี บแห้งสนิท ไม่บิดงอ ไม่มีตาหนิ ไม่มีเสีย้ นไม้ปราศจากแมงกินเนือ้ ไม้ปราศจาก
แมงกินเนือ้ ไม้
- ไม้อดั สัก เป็ นไม้อดั สักคุณภาพตามมาตรฐาน ม.อ.ก. 178 – 2519 เกรดเอ คัดลายขนาดความหนาตามแบบ
- ไม้อดั ยางคุณภาพมาตรฐาน ม.อ.ก. 178 – 2519 ใช้สาหรับที่มองไม่เห็นจากภายนอกที่ไม่ตอ้ งการโชว์เสีย้ นไม้
หรือสาหรับการกรุกระจก, กรุพลาสติกลามิเนท
- พลาสติกลามิเนตเป็ น HPL ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 0.7 มม. สีและคุณภาพตามตัวอย่างของสถาปนิก ขนาด
และ รอยต่อทาตามแบบ การติดตัง้ ทาตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตหรือ ผูแ้ ทนจาหน่ายอย่างเคร่งครัด

หมวดที่ 2 98/172 งานไม้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.8 งานโลหะ

ทั่วไป
- “กรณีท่วั ไปและกรณีพิเศษ” ที่ระบุไว้ในภาคอื่น ให้นามาใช้กบั หมวดนีด้ ว้ ย
- บทกาหนดส่วนนีค้ ลุมถึงเหล็กรูปพรรณทุกชนิด
- รายละเอียดเกี่ยวกับเหล็กรูปพรรณ ซึง่ มิได้ระบุในแบบและบทกาหนดนี ้ ให้ถือปฏิบตั ิตาม “มาตรฐานสาหรับอาคาร
เหล็กรูปพรรณ” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยทุกประการ
วัสดุ
เหล็กรูปพรรณทัง้ หมด จะต้องมีคณ ุ สมบัติสอดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมที่ มอก.1227-2539 ฉบับล่าสุด หรือ
ASTM. หรือ JIS ที่เหมาะสม
การกองเก็บวัสดุ
การเก็บเหล็กรูปพรรณทัง้ ที่ประกอบแล้ว และยังไม่ได้ประกอบ จะต้องเก็บไว้บนยกพืน้ เหนือพืน้ ดิน จะต้องรักษาเหล็กให้
ปราศจากฝุ่ น ไขมัน หรือสิ่งแปลกปลอมอื่น ๆ และต้องระวังรักษาอย่าให้เหล็กเป็ นสนิม
การต่อ
รายละเอียดในการต่อให้เป็ นตามที่ระบุในแบบผูร้ บั จ้างจะต้องเขียน SHOP DRAWING แสดงวิธีการต่อให้สถาปนิกอนุมตั ิก่อน
ดาเนินการ
รู และช่องเปิ ด
การเจาะหรือตัด หรือกดทะลุให้เป็ นรู ต้องกระทาตัง้ ฉากกับผิวของเหล็ก และห้ามขยายรูดว้ ยความร้อนเป็ นอันขาดในเสาที่เป็ น
เหล็กรูปพรรณ ซึง่ ต่อกับคาน ค.ส.ล. จะต้องเจาะรูไว้ เพื่อให้เหล็กเสริมในคานคอนกรีตสามารถลอดได้ รูจะต้องเรียบร้อย
ปราศจากรอยขาดหรือแหว่ง ขอบรูซง่ึ คมและยื่นเล็กน้อย อันเกิดจากการเจาะด้วยสว่านให้ขจัดออกให้หมดด้วยเครื่องมือโดย
ลบมุม 2 มิลลิเมตร ช่องเปิ ดอื่น ๆ นอกเหนือจากรูสลักเกลียว จะต้องเสริมเหล็กซึ่งมีความหนาไม่นอ้ ยกว่า ความหนาขององค์
อาคารที่เสริมนัน้ รูหรือช่องเปิ ดภายในแหวน จะต้องเท่ากับช่องเปิ ดขององค์อาคารที่เสริมนัน้
การประกอบและการยกติดตัง้
- แบบขยายก่อนจะทาการประกอบเหล็กรูปพรรณทุกชัน้ ผูร้ บั เหมาจะต้องส่งแบบขยายต่อผูแ้ ทนผูว้ า่ จ้าง เพื่อรับความ
เห็นชอบ
- จะต้องจัดทาแบบที่สมบูรณ์แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการตัดต่อประกอบและ การติดตัง้ รูสลักเกลียวรอยเชื่อมและ
รอยต่อที่จะกระทาในโรงงาน
- สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ที่ใช้จะต้องเป็ นไปตามมาตรฐานสากล
- จะต้องมีสาเนาเอกสารแสดงบัญชีพสั ดุและวิธีการยกติดตัง้ ตลอดจนการยึดโยงชั่วคราว
- การประกอบและการยกติดตัง้
- ให้พยายามประกอบที่โรงงานให้มากที่สดุ เท่าที่จะทาได้
- การตัดเฉือน ตัดด้วยไฟสกัด และกดทะลุ ต้องกระทาอย่างละเอียดประณีต
- องค์อาคารที่วางทาบกัน จะต้องวางให้แนบสนิทเต็มหน้า
- การติดตัวเสริมกาลัง และองค์อาคารยึดโยงให้กระทาอย่างประณีตสาหรับตัวเสริมกาลังที่ติดตัง้ แบบอัดแน่น ต้อง
อัดให้สนิทจริง ๆ
- รายละเอียดให้เป็ นไปตาม “มาตรฐานสาหรับอาคารเหล็กรูปพรรณ” ของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ที่
1003-18 ทุกประการ
หมวดที่ 2 99/172 งานโลหะ
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ห้ามใช้วิธีเจาะรูดว้ ยไฟจะต้องแก้แนวต่าง ๆ ให้ตรงตามแบบ รูท่เี จาะไว้ไม่ถกู ต้อง ฯลฯ จะต้องอุดให้เต็มด้วยวิธี


เชื่อม และเจาะรูใหม่ให้ถกู ตาแหน่ง
- ไฟที่ใช้ตดั ควรมีเครื่องมือกลเป็ นตัวนา
- การเชื่อมให้เป็ นไปตามมาตรฐาน AWS สาหรับการเชื่อมในงานก่อสร้างอาคาร ผิวหน้าที่จะทาการเชื่อม จะต้อง
สะอาดปราศจากสะเก็ด ร่อนตะกรัน สนิม ไขมัน สี และวัสดุแปลกปลอมอื่น ๆ ที่จะทาให้เกิดผลเสียต่อการเชื่อม
ได้ในระหว่างการเชื่อมจะต้องยึดชิน้ ส่วนที่จะเชื่อมติดต่อกันได้แน่น เพื่อให้ผิวแนบสนิทสามารถทาสีอดุ ได้โดยง่าย
หากสามารถปฏิบตั ิได้ให้พยายามเชื่อมในตาแหน่งราบ และให้วางระดับการเชื่อมให้ดีเพื่อหลีกเลี่ยงการบิดเบีย้ ว
ในระหว่างกระบวนการเชื่อม ในการเชื่อมแบบชนจะต้องเชื่อมในลักษณะที่จะให้ได้การ Penetration โดยสมบูรณ์
โดยมิให้มีการกระเปาะตะกรันขังอยู่ในกรณีนี ้ อาจใช้วิธีลบมุมตามขอบหรือ Backing Plates ก็ได้ ชิน้ ส่วนที่
จะต้องต่อเชื่อมแนบทาบ จะต้องวางให้ชิดกันที่สดุ เท่าที่จะมากได้และไม่วา่ กรณีใด จะต้องห่างกันไม่เกิน 6
มิลลิเมตร ช่างเชื่อมจะต้องใช้ช่างเชื่อมที่มีความชานาญเท่านัน้ และเพื่อเป็ นการพิสจู น์ถึงความสามารถ จะมีการ
ทดสอบความชานาญของช่างเชื่อมทุก ๆ คน
งานสลักเกลียว
- การตอกสลักเกลียว จะต้องกระทาด้วยความประณีต โดยไม่ทาให้เกลียวเสียหาย
- ต้องแน่ใจว่า ผิวรอยต่อเรียบ และผิวที่รองรับจะต้องสัมผัสกันเต็มหน้า ก่อนจะทาการขันเกลียว
- ขันรอยต่อด้วยสลักเกลียวทุกแห่งให้แน่น โดยใช้กญ ุ แจปากตายที่ถกู ขนาด
- เมื่อขันสลักเกลียวแน่นแล้ว ให้ทบุ ปลายเกลียว เพื่อมิให้แป้นสลักเกลียวคลายตัว
การต่อและประกอบในสนาม
- ให้ปฏิบตั ิตามที่ระบุในแบบขยาย และคาแนะนาในการยกติดตัง้ โดยเคร่งครัด
- ค่าผิดพลาดที่ยอมให้ ให้ถือปฏิบตั ิตามมาตรฐานสากล
- จะต้องทานั่งร้านคา้ ยัน ยึดโยง ฯลฯ ให้พอเพียง เพื่อยึดโครงสร้างให้แน่นหนาอยู่ในแนวและตาแหน่งที่ตอ้ งการ
เพื่อความปลอดภัยต่อผูป้ ฏิบตั ิงานจนกว่างานประกอบจะเสร็จเรียบร้อยและแข็งแรงดีแล้ว
- หมุด ให้ใช้สาหรับยึดชิน้ ส่วนต่าง ๆ เข้าหากัน โดยไม่ให้โครงเหล็ก (โลหะ) เกิดการบิดเบีย้ วชารุด
- ห้ามใช้วิธีตดั ด้วยแก็สเป็ นอันขาด นอกจากจะได้รบั อนุมตั ิจากวิศวกร
- สลักเกลียวยึดและสมอ ให้ตงั้ โดยใช้แบบนาเท่านัน้
- แผ่นรองรับ
- ให้ตามที่กาหนดในแบบขยาย
- ให้รองรับและปรับแนวด้วยลิ่มเหล็ก
- หลังจากได้ยกติดตัง้ เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้อดั มอร์ตา้ ชนิดที่ไม่หดตัว และใช้
- ผงเหล็กเป็ นมวลรวมใต้แผ่นรองรับให้แน่นแล้วตัดขอบลิ่มให้เสมอกับขอบของแผ่นรองรับโดยทิง้ ส่วนที่เหลือไว้ในที่
การป้ องกันเหล็กมิให้ผุกร่อน
- เกณฑ์กาหนดทั่วไป
งานนีห้ มายรวมถึงการทาสีและการป้องกันการผุกร่อนของงานเหล็กให้ตรงตามกาหนดและแบบ และให้เป็ นไป
ตามข้อกาหนดของสัญญานีท้ กุ ประการ
- ผิวที่จะทาสี
- การทาความสะอาดก่อนจะทาสีบนผิวใด ๆ ยกเว้นผิวที่อาบโลหะจะต้องขัดผิวให้สะอาด โดยใช้เครื่องมือขัด เช่น

หมวดที่ 2 100/172 งานโลหะ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- จานคาร์บอรันดัม หรือเครื่องมือชนิดอื่นที่เหมาะสมจากนัน้ ให้ขดั ด้วยแปรงลวดเหล็กและกระดาษทรายเพื่อขจัด


เศษโลหะที่หลุดร่อนออกให้หมดแต่ตอ้ งพยายามหลีกเลี่ยงการใช้เครื่องขัดด้วยลวดเป็ นระยะเวลานานเพราะอาจ
ทาให้เนือ้ โลหะไหม้ได้สาหรับรอยเชื่อมและผิวเหล็กที่ได้รบั ความกระทบกระเทือนจากการเชื่อม จะต้องเตรียมผิว
สาหรับทาสีใหม่ เช่นเดียวกับผิวทั่วไปตามวิธีในขัน้ ต้นทันทีก่อนที่จะทาสีครัง้ ต่อไป ให้ทาความสะอาดผิวซึง่ ทาสีไว้
ก่อน หรือผิวที่ฉาบไว้จะต้องขจัดสีท่รี อ่ นหลุดและสนิมออกให้หมด และจะต้องทาความสะอาดพืน้ ที่ส่วนที่ถกู นา้ มัน
และไขมันต่าง ๆ แล้วปล่อยให้แห้งสนิทก่อนจะทาสีทบั
- สีรองพืน้
หากมิได้ระบุเป็ นอย่างอื่น งานเหล็กรูปพรรณทัง้ หมดให้ทาสีรองพืน้ ด้วยสีกนั สนิมตามรายละเอียดหมวดงานทาสี
แล้วทาสีกนั สนิมทับอีกสองชัน้ ในกรณีท่เี หล็กรูปพรรณฝังในคอนกรีตไม่ตอ้ งทาสี แต่จะต้องขัดผิวให้สะอาดก่อนเท
คอนกรีต

หมวดที่ 2 101/172 งานโลหะ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.9 งานทาสี

ขอบเขตของงาน
- ผูร้ บั จ้าง จะต้องจัดหาวัสดุแรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นสาหรับการทาสีอาคารทัง้ หมดที่ระบุในแบบ และรายการ
ก่อสร้าง
- การนาเข้าและนาออกสีและภาชนะบรรจุจะต้องรับการตรวจรับรองจากผูค้ วบคุมงานการจัดวางวัสดุตอ้ งอยู่ในสภาพที่
สามารถตรวจสอบได้โดยสะดวก
- ผูค้ วบคุมงานสงวนสิทธิ์ท่จี ะไม่อนุญาตให้มีการนาภาชนะบรรจุท่ใี ช้แล้วออกนอกโครงการ รวมถึงการไม่อนุญาตให้นา
สินค้าเข้าโครงการในช่วงเวลาอันไม่เหมาะสม เช่นยามวิกาล หรือช่วงหยุดงาน
- ห้ามนาสีเก่าที่เหลือจากงานอื่นมาใช้ หรือนาเข้ามาในบริเวณก่อสร้าง รวมทัง้ กระป๋ องสีเปล่าอื่น ๆ กระป๋ องภาชนะที่ใส่
สีนนั้ ต้องอยู่ในสภาพเรียบร้อย ไม่บบุ ชารุด ฝาปิ ดต้องไม่มีรอยเปิ ดมาก่อน และเป็ นของใหม่ท่ยี งั ไม่ถกู ใช้งานมาก่อน
- ห้ามนาสินค้าและภาชนะบรรจุท่ไี ม่อยู่ในรายการที่ระบุไว้ในแบบ เข้ามาในโครงการ
รายการทั่วไป
สีท่ใี ช้ และสีรองพืน้ จะต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตหรือตามเอกสารเผยแพร่ (Catalogue) ของบริษัทผูผ้ ลิตสีโดย
เคร่งครัด หรือให้ดาเนินการโดยบริษัทผูผ้ ลิต หรือภายใต้การแนะนา การตรวจสอบและควบคุมในทุกขัน้ ตอนของผูช้ านาญงาน
จากบริษัทผูผ้ ลิต และให้แจ้งปริมาณการใช้ผลิตภัณฑ์ พร้อมทัง้ ใบรับประกันคุณภาพสีท่ใี ช้ในงานไม่ต่ากว่า 10 ปี
- ช่างทาสี ต้องเป็ นช่างทาสีท่มี ีความชานาญมีผคู้ มุ งานคอยดูแลตลอดเวลา และห้ามการทาสีขณะที่ฝนตกอากาศชืน้ จัด
หรือบนพืน้ ผิวที่ยงั ไม่แห้งสนิท
- งานทาสีทงั้ หมด จะต้องเรียบร้อยสม่าเสมอ ไม่มีรอยแปรง รอยหยดสี และข้อบกพร่องอื่นใด ต้องทาความสะอาดรอย
เปื ้อนสีบนกระจก พืน้ ฯลฯ งานทาสีจะต้องได้รบั การตรวจตรา และรับความเห็นชอบจากผูค้ วบคุมงาน
- พืน้ ที่ไม่ตอ้ งทาสี โดยทั่วไปสีท่ีทาทัง้ ภายนอก และภายใน จะทาผนังกาแพงผิวคอนกรีต ผิวท่อโลหะโครงต่าง ๆ
หรือที่กาหนดไว้ในแบบ สาหรับสิ่งที่ไม่ตอ้ งการทาสีนนั้ มีขอ้ กาหนด ดังนี ้
- ผิวพืน้ คอนกรีตขัดมัน
- ผิวบันไดคอนกรีตทัง้ ลูกตัง้ , ลูกนอน
- ผิวกระเบือ้ งที่มีสีในตัว ฝ้า Acoustic Material, กระเบือ้ งมุงหลังคา
- ผิววัสดุท่ีผ่านวิธีกนั สนิม
- สแตนเลสสตีล
- ผิวภายในรางนา้
- โคมไฟ
- อุปกรณ์สาเร็จรูป
- ส่วนของอาคาร หรือโครงสร้าง ซึ่งซ่อนอยู่ภายใน ไม่สามารถมองเห็นได้
- งานฝี มือ สีท่จี ะทาต้องทาด้วยความประณีตตามกรรมวิธีการของผลิตภัณฑ์ การผสมสี และเก็บรักษาจะต้องรัดกุม
ไม่ให้มีวสั ดุอ่นื ปน หรือชืน้ สีท่ีคา้ งจากการทา จะต้องนาไปทาลายทันที นอกบริเวณก่อสร้าง

หมวดที่ 2 102/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

วัสดุ
- สีชนิดทาภายนอกอาคารรับประกัน 15 ปี ป้องกันเชือ้ รา และตะไคร้นา้ ไม่ผสมสารตะกั่ว และปรอทผลิตภัณฑ์สีประเภท
100 % Pure Acrylic ชนิดทนสภาวะอากาศ (Premium Grade for Exterior) มอก.2321-2949, มอก.2541-2553 หรือ
คุณภาพเทียบเท่า สีรองพืน้ ให้ใช้สีรองพืน้ ปูนใหม่กนั ด่าง ที่เหมาะสมกับสีทบั หน้า ของบริษัทผูผ้ ลิตเดียวกันทา 1 เที่ยว
และทาทับด้วยสีทบั หน้า 2 เที่ยว หรือ หน้า ตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิตที่ระบุใน Cataloque อย่างเคร่งครัด
- สีชนิดทาภายในอาคารรับประกัน 10 ปี สามารถเช็ดล้างทาความสะอาดได้ 100% ชนิดเช็ดล้างทาความสะอาด
ได้Premium Grade for Exterior สาหรับ ผลิตภัณฑ์สีประเภท Acrylic สีรองพืน้ ให้ใช้สีรองพืน้ ปูนใหม่กนั ด่างของ
บริษัท ผูผ้ ลิตเดียวกัน กับสีทาทับหน้าตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิตนัน้ ๆ
- สียอ้ มไม้ (Wood Stain) สาหรับผิวที่ตอ้ งการโชว์ผิวไม้ ไม่ผสมสารตะกั่ว และปรอท ไม่ตอ้ งผสม ทินเนอร์ทา 3 เที่ยว
- สีเคลือบเงา ( Alkyd Enamel ) สาหรับผิวโลหะ และผิวไม้ ( Steel Surface Paint ) สีรองพืน้ ให้ใช้ของบริษัทผูผ้ ลิต
เดียวกัน กับสีทาทับหน้าตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิตนัน้ ๆ
- สีทาถนนเทอร์โมพลาสติก และสี Hot Paint เพื่องานจราจร ( Traffic Paint ) ชนิดสะท้อนแสง Reflextive ) ผลิตภัณฑ์
ตาม มอก. เลขที่ 542-2549
- ระบบงานพืน้ คุณภาพทนทานสูงใช้อีพ็อกซี่ชนิดปรับพืน้ ผิวได้ในตัว ( Epoxy Floor- Self Leveling ) ความหนา
ตัง้ แต่1000 ไมครอน ขึน้ ไป สีรองพืน้ ให้ใช้ของบริษัทผูผ้ ลิตเดียวกันกับสีทาทับหน้า ตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิต
วิธีการทาสี ตามกรรมวิธีของบริษัทผูผ้ ลิตสี หรือ
- การทาสีสาหรับอาคารปูน หรือคอนกรีต
ก. การเตรียมพืน้ ผิว และการรองพืน้ ปูนฉาบ อิฐ และคอนกรีต การเตรียมพืน้ ผิวก่อนทาสี จะต้องสะอาด
ปราศจากฝุ่ น หรือสิ่งสกปรก
ข. กรณีผิวปูนใหม่
- ปล่อยให้ผิวปูนฉาบหรือคอนกรีตนัน้ บ่มตัวได้ท่แี ละแห้งสนิท โดยทั่วไปในสภาพอากาศปกติ (นอกฤดูฝน)
ผิวปูนควรจะมีอายุอย่างต่า 21 วัน หรือ 3 สัปดาห์
- ล้างหรือปั ดฝุ่ นทรายที่เกาะติดบนผนัง และทิง้ ให้แห้งซึ่งไม่เกิน 1 หรือ 2 วัน
- ขัดล้างคราบนา้ มันจากนา้ มันทาแบบหล่อคอนกรีต หรือคราบจากนา้ ยาต่าง ๆ ในหน่วยงานและ ทิง้ ให้
แห้งสนิท
- ถ้าเกิดรอยแตกลายงา (HAIR CRACK) ให้ตรวจสอบสภาพปูนฉาบที่แตกร้าวด้วยการเคาะ ถ้าจุดใดผิวปูน
ฉาบไม่ติดสนิทกับวัสดุจะเกิดเสียงก้อง ให้กะเทาะปูนฉาบบริเวณนัน้ ออกแล้วฉาบใหม่ก่อนทาสีแต่ถา้ เป็ น
เพียงรอยร้าวและไม่ขยายแนวต่อเนื่องอีกให้อดุ แนวเหล่านัน้ ด้วยวัสดุสาหรับ อุดโดยเฉพาะ แต่งปาดให้
เรียบและทาสีทบั ให้ กรณีผิวคอนกรีตเสริม เหล็กที่เป็ นโพรงหรือรูพรุนต้องอุดแต่งด้วยปูนฉาบชนิดมีความ
แข็งแกร่ง ให้อยู่ในสภาพเรียบร้อยก่อนงานทาสี และถ้าผิวคอนกรีตเสริมเหล็กมีรอยแตกร้าว ให้ตรวจสอบ
ผลทางโครงสร้างก่อนว่าผิดปกติหรือไม่
ค. กรณีท่ีเคยทาสีมาแล้ว หากสีเดิมยังอยู่ในสภาพเรียบร้อย และมีการยึดเกาะดีให้ขจัด
ฝุ่ นด้วยผ้าแห้ง หยาบ ๆ 1 ครัง้ เช็ดด้วยผ้าเปี ยกอีก 1 ครัง้ ทิง้ ให้แห้งแล้วทาทับบริเวณที่มีการซ่อมแซมด้วยสี
ของพืน้ เดียวกับพืน้ ปูน หรือ รองพืน้ ด้วยสี 1 ครัง้ ถ้าสีเดิมอยู่ในสภาพชารุดมาก เช่น สีซีด สีเสื่อมสภาพเป็ นฝุ่ น
ไม่เกาะติดผนังปูนร่อนเป็ นแผ่นควรลอกสีออกให้หมด ด้วยเครื่องมืออัดนา้ แรงดันสูง (water jet) ที่แรงดัน
ประมาณ 200 BAR ขึน้ ไปในการใช้แปรงขัดห้ามใช้แปรงโลหะเด็ดขาดเพราะอาจทาให้เกิดคราบสนิมใน

หมวดที่ 2 103/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ภายหลัง ให้เกรียงแซะออกจนถึงผิวเดิม สกัดรอยแตกร้าวให้กว้างขึน้ แล้วแต่งปูนให้เรียบร้อย ทิง้ ไว้ให้แห้ง รอง


พืน้ ด้วยสีรองพืน้ ปูน หรือรองพืน้ ปูนชนิด Contact Primer 1 ครัง้
- ชิน้ งาน GRC จะต้องทาด้วยสารกันนา้ เช่น COAL Tar Epoxy ทาด้านใน หรือ ด้านตรงข้ามที่จะทาสี ก่อน
การติดตัง้
- หรือ รอยแตกบนผิวคอนกรีตที่มีขนาดใหญ่ เกิน 1 mm ให้ทาการอุดและยาแนว ด้วย Acrylic Sealant
และขัดให้มีความหยาบกลมกลืนกับผิวปกติก่อนการทาสี
- ผนังหรือฝ้าที่ทาด้วย ยิปซั่มบอร์ด หากมีการฉาบด้วยยิปซั่ม หรือ รอยยา แนวยิปซั่มต้องเรียบสม่าเสมอ
สะอาดก่อนที่จะทาสี แล้วให้ทาด้วยสีรองพืน้ ปูนเก่า Contact Primer ก่อน 1 รอบ ก่อนการทาสีทบั หน้า
ง. กรณีผิวปูนเก่าผสมใหม่
- ให้ขดู ล้างผิวสีเดิมของผิวปูนเก่าออกก่อนงานฉาบปูนใหม่เพื่อให้รอยต่อผิวปูนเสมอกันพอดี
- ตรวจสอบผิวเดิมตามระบบของผิวปูนเก่า
- ปล่อยให้ผิวปูนฉาบใหม่บม่ ตัวจนได้ท่ปี ระมาณ 21 วัน และสังเกตดูแนวต่อปูนใหม่ และปูนเก่าว่ามีรอย
แยกหรือไม่ ถ้ามีให้อดุ ด้วยวัสดุอดุ โดยเฉพาะ แต่ถา้ เป็ นการแยกตัวในลักษณะรอยชนของอาคารเก่าและ
อาคารใหม่ ให้แก้ไขด้วยวิธีการออกแบบทางสถาปั ตยกรรม ทัง้ นีต้ อ้ งได้รบั ความเห็นชอบจากผูอ้ อกแบบ
และ/หรือผูค้ วบคุมงาน
- สีรองพืน้ ปูน การทา ทาด้วยแปรง ระยะเวลาแห้ง หรือการทาทับ ทิง้ ระยะเวลาไว้ 2 ชั่วโมง
- สีพลาสติก การทา ทาด้วยแปรง หรือลูกกลิง้ การทาทับ ทิง้ ระยะเวลาไว้ 2 ชั่วโมง
- การทาสีสาหรับผิวโลหะ
การเตรียมพืน้ ผิว
พืน้ ผิวเหล็ก หรือโลหะทีม่ ีส่วนผสมของเหล็ก
- พืน้ ผิวโลหะ ที่ไม่เคยทาสีมาก่อน
- ขจัดคราบนา้ มันด้วยทินเนอร์ หรือนา้ มันก๊าด
- ขจัดสนิม หรือเศษผงออก ด้วยการขัดกระดาษทราย หรือแปรงลวด
- ทาความสะอาดด้วยนา้ ยา แล้วล้างให้สะอาดด้วยนา้
- เช็ดด้วยเศษผ้า แล้วทิง้ ไว้ให้แห้งสนิท (ไม่ควรเกิน 3 ชั่วโมง)
- รองพืน้ ด้วย สีรองพืน้ กันสนิมตามที่ระบุในรายการประกอบแบบ จานวน 2 รอบ
- ทาทับ ชัน้ แรกด้วย สีนา้ มัน ตามที่ระบุ ทิง้ ไว้ให้แห้ง
- ทาทับ ชัน้ สุดท้ายด้วย สีนา้ มัน ตามที่ระบุ
- พืน้ ผิวเหล็กซึง่ เคยทาสีมาก่อนแล้ว
- ทาความสะอาด กาจัดคราบนา้ มัน และฝุ่ น
- ขัดสีท่ลี อกออก หรือสีเสียออกให้หมด
- ขจัดสนิมด้วยการขูด หรือขัดด้วยแปรงลวดจนหมด ด้วยวิธีการใด ๆ ดังต่อไปนี ้
- Sand Blast ตามมาตรฐาน SB 2.5 หรือ สูงกว่าในงานที่ตอ้ งการมาตรฐานการทางานสูง
- หรือ Wet Blast (Ultra High Pressure Water Jet) ในกรณีทดแทนการใช้ Sand Blast ที่มาตรฐาน
เดียวกัน
- หรือ Mechanical Tool Cleaning ในกรณีท่ีสนิมมาก

หมวดที่ 2 104/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- หรือ Hand Tool Cleaning เฉพาะงานโครงสร้างเหล็กหลังคา


- หรือ ใช้สีรองพืน้ พิเศษ 1 ชัน้ หลังจากทาการขัดถูสนิมด้วยวิธี Hand Tool Cleaning ซึง่ กรณีนี ้
ไม่จาเป็ นต้องทาสีรองพืน้ อื่น ๆ ทับทาสีรองพืน้ 2 ชัน้ ตามรายการสีท่ีระบุ ทิง้ ไว้ให้แห้ง
- ทาสีทบั หน้า 2 ชัน้ ตามรายการสีท่รี ะบุพนื ้ ผิวโลหะที่ไม่มีส่วนผสมของเหล็กอลูมิเนียม
ในสภาพการใช้ปกติ
- ทาความสะอาดพืน้ ผิวด้วยกระดาษทราบแก้วเบอร์ 360 ใช้นา้ มันก๊าดเป็ นตัวหล่อลื่น
- แล้วเช็ดออกด้วยนา้ มัน
- ทาความสะอาดด้วยนา้ ยา และล้างให้สะอาดด้วยนา้
- เช็ดด้วยเศษผ้า และทิง้ ไว้ให้แห้ง (ไม่เกิน 3 ชั่วโมง)
- ทาทับด้วยสีรองพืน้ หนึ่งครัง้ พืน้ ผิวเหล็ก และ เหล็กที่เคลือบสังกะสี
- ขจัดคราบไขมัน และฝุ่ นด้วยนา้ ยา ทาทิง้ ไว้ 5 นาที แล้วล้างด้วยนา้ สะอาด
- เช็ดด้วยเศษผ้า ทิง้ ไว้ให้แห้ง
- ทาสีรองพืน้ Wash Primer 1 ครัง้ พืน้ ผิวทองแดง และตะกั่ว
- ขัดด้วยกระดาษทราบเบอร์ 280 หรือ เบอร์ 330
- เช็ดฝุ่ นออกด้วยผ้าชุบนา้ มันก๊าด
- ทาความสะอาดด้วยนา้ ยา แล้วล้างให้สะอาดด้วยนา้
- ทาสีทบั หน้าได้เลย ไม่ตอ้ งใช้สีรองพืน้ สีรองพืน้ โลหะกันสนิม
- ทาผิวโลหะที่มีเหล็กปน หรือโลหะอื่น ๆ
- การทา ใช้แปรง หรือลูกกลิง้ หากจะพ่นให้ผสมด้วยทินเนอร์ 1 ส่วน ต่อสี 8 ส่วน ทาทับ
เว้นระยะ 6 ชั่วโมง
การเตรียมพืน้ ผิว
พืน้ ผิวเหล็ก ควรทาความสะอาดด้วยวิธีใช้ทรายก่อน เพื่อขจัดสนิมออกให้หมด หรือใช้แรงลวดไฟฟ้า ขัดสะอาด หากไม่มี
เครื่องมือดังกล่าว อาจใช้แปรงลวดขัดสนิมออกก็ได้ และควรทาสีรองพืน้ ทันทีท่ีทาความสะอาดเสร็จ
วิธีทา
ใช้แปรงหรือใช้พ่นโดยไม่ตอ้ งผสม ไม่ควรใช้วิธีพ่น การทาทับเว้นระยะห่าง 6 ชั่วโมง
- การเตรียมพืน้ คอนกรีต
เนื่องจากพืน้ คอนกรีตจะต้องสัมผัสกับคราบสกปรกแทบทุกประเภท ดังนัน้ การเตรียมพืน้ ผิวเป็ น
ขัน้ ตอนที่สาคัญที่เป็ นปั จจัยที่ทาให้สีท่ที าคงทนยาวนานปรกติพนื ้ คอนกรีตควรทิง้ ให้บม่ ตัวแห้งสนิทอย่าง
น้อย 28 วัน ก่อนเริ่มการทาสี กรณีพนื ้ คอนกรีตขัดมัน การเตรียมพืน้ ผิวแนะนาให้ทาการกัดผิวหน้าด้วยกรด
สาหรับงานพืน้ คอนกรีตใหม่บางครัง้ อาจมีการบ่มผิวด้วยนา้ ยาบ่มผิวปูน หรือมีการเติมสารพิเศษที่ทาให้
ผิวหน้าแกร่ง พืน้ คอนกรีตที่มีการดาเนินการลักษณะนี ้ โดยปกติมกั มีความทนต่อกรดที่เจือจางการเตรียม
พืน้ ผิวต้องการเครื่องมือในการทาให้ผิวหน้าหยาบขึน้ หรือด้วยการยิงทราย
สาหรับพืน้ คอนกรีตต้องทาการตรวจสอบความชืน้ ก่อนการทางานสี ในกรณีท่เี ป็ นพืน้ คอนกรีต
ใหม่การทดสอบควรดาเนินการหลังจากระยะเวลาน้อยที่สดุ ในการบ่มตัวของคอนกรีตที่แนะนา
พืน้ ผิวคอนกรีตทุกประเภท ต้องทาการตรวจสอบความชืน้ ของพืน้ ผิวก่อนการทางานสี กรณีพืน้
คอนกรีตใหม่ให้ตรวจสอบความชืน้ หลังจากทิง้ ให้คอนกรีตบ่มตัวตามระยะเวลาที่กาหนดกรณีพืน้ คอนกรีต

หมวดที่ 2 105/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ติดดิน (SLAB ON GROUND) จะมีปัญหาการซึมจากนา้ ในดินขึน้ มายังผิวด้านบนของคอนกรีตการปูแผ่น


พลาสติกก่อนเทคอนกรีต หรือการผสมนา้ ยาบางชนิดที่เรียกว่านา้ ยากันซึม ไม่สามารถป้องกันปั ญหานีไ้ ด้
จะต้องทาการปรับสภาพผิวด้านบนของคอนกรีต เพื่อให้คอนกรีตเกิดสภาพทึบนา้ ก่อนการทาสี
กรณีพนื ้ คอนกรีตติดดิน (SLAB ON GROUND) เก่าที่มีปัญหาการซึมจากนา้ ในดินขึน้ มาด้านบน
ของคอนกรีตหากไม่มีการทาสีมาก่อนและพืน้ ผิวไม่มีการสะสมคราบนา้ มันให้ทาการเพิ่มสภาพด่างของ
พืน้ ผิวด้วยนา้ ยาก่อนการใช้
CRYSTALCRETE หากพืน้ ที่นนั้ มีสีเดิมอยู่ให้ลอกออกจนถึงเนือ้ คอนกรีต และทาการซ่อมตามวิธีท่แี สดงไว้
กรณีพนื ้ นัน้ มีคราบนา้ มันอยู่ ต้องทาการขัดฟอกคราบนา้ มันออกให้หมด กะเทาะผิวหน้าของพืน้
ออกประมาณ 2-3 มม. ฉาบแต่งผิวใหม่ดว้ ยซีเมนต์ดดั แปลงพิเศษ ด้วยการใช้ปอร์ตแลนด์ซิเมนตร์ผสมกับ
WATERPROOF RESIN ตามวิธีใช้ท่รี ะบุโดยผูผ้ ลิต หนาประมาณ 5-8 มม. ก่อนการทาสีตรวจสอบ
ความชืน้ ให้อยู่ในเกณฑ์ไม่เกิน 15 % อย่างไรก็ตามการแก้ไขด้วยวิธีเหล่านีอ้ าจจะได้ผลไม่เต็มที่ เนื่องจาก
การเตรียมพืน้ ผิว อาจจะไม่สามารถทาได้อย่างสมบูรณ์
- การเตรียมพืน้ ผิวไม้
- ทาความสะอาดพืน้ ผิว
กรณีไม้มีคราบสกปรก คราบไข ให้ลา้ งทาความสะอาดด้วยนา้ มันสน เพื่อขจัดสิ่งสกปรก ฝุ่ น คราบไข
เชือ้ ราและตะไคร่นา้ หยากไย่ ใยแมงมุม และคราบสกปรกอื่น ๆ ออกให้หมด แล้วล้างตามด้วยทินเนอร์
ของทิง้ ให้แห้งสนิท ทาการขัดผิวไม้ให้ท่วั ควรใช้ SANDING SEALER เพื่อขจัดพืน้ ผิวหน้าของไม้ท่ไี ม่
สวยและลบเสีย้ นไม้ ทาให้ไม้เรียบขึน้ การขัดด้วยกระดาษทรายให้ขดั ตามลายไม้ อย่าขัดขวางลายไม้
สาหรับงาน
- พืน้ ไม้ควรใช้เครื่องมือขัด ซึง่ จะทาให้พนื ้ ผิวเรียบสม่าเสมอกว่าการขัดด้วยมือ หลังจากการขัดให้กาจัด
เศษฝุ่ นจากการขัดออกให้หมด
ข้อแนะนาเพิ่มเติม
• ไม้ทกุ ชิน้ รวมถึงไม้โครงสร้าง ก่อนการนาไม้เข้าประกอบติดตัง้ ให้ทาผิวไม้ทกุ ด้านด้วยวานิช
ยกเว้นด้านที่จะทาพืน้ ผิวเป็ นพิเศษ
• ไม้ท่จี ะทาการเคลือบผิว ไม่ควรมีความชืน้ เกิน 18 %
• ให้ทาการอุดโป๊ วรอยแตกของไม้หลังจากทาการรองพืน้ ผิวแล้ว
- การทาสีรองพืน้ ไม้ท่ไี ม่ตอ้ งการโชว์ลายทาสีรองพืน้ WOOD PRIMER จานวน 1 เที่ยว ทิง้ ให้แห้ง
8-10 ชั่วโมง และให้เช็คทาความสะอาดผงอะลูมิเนียมส่วนเกินบนฟิ ลม์ สีดว้ ยผ้าชุบนา้ มันสนก่อน
การทาสี แล้วทาสีรองพืน้ เพื่อเพิ่มการปิ ดบังพืน้ ผิวและสามารถขัดตบแต่งได้ จานวน 1 เที่ยว ทิง้
ให้แห้ง 4-6 ชั่วโมง
- การอุดรูไม้หรือตาไม้ อุดโป๊ วรูหวั ตะปู รอยแตกของไม้ ACRYLIC FILLER ตามคาแนะนาการใช้
งานของผูผ้ ลิตและทาการทาสีรองพืน้ บริเวณที่อดุ โป๊ วด้วยการอุดรูไม้หรือตาไม้ในกรณีท่มี ีขนาด
ใหญ่ ควรทาเป็ นพุกไม้อดั เข้าไป ไม่ควรใช้วสั ดุอดุ โป๊ วซึง่ อาจหลุดกะเทาะได้ ทัง้ นีเ้ พี่อให้เกิด
ความสวยงามของชิน้ งาน
- การเตรียมพืน้ ผิวอื่น ๆ
• แผ่นไม้ฝาเทียม
หมวดที่ 2 106/172 งานทาสี
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

แผ่นไม้ฝาเทียมเป็ นวัสดุท่ผี ลิตจากซีเมนต์และแร่ใยหินจึงมีคณ ุ สมบัติในการดูดซึมนา้ ได้ดีและส่งผล


ให้เกิดคราบเกลือปูนบนฟิ ลม์ สีท่ีทาทับได้โดยง่ายแผ่นวัสดุชนิดที่มีการทาสีจากโรงงานอาจจะมีคราบ
ไขเคลือบอยู่ซง่ึ จะทาให้สีท่ที าทับใหม่อีกครัง้ เกิดการหลุดล่อนได้ก่อนการติดตัง้ ควรพิจารณาใช้
CONTACT PRIMER ทาตามบริเวณหน้าตัดและจุดที่จะเปิ ดรับนา้ เพื่อป้องกันการดูดซึมนา้ หลังจาก
ติดตัง้ แล้วตามบริเวณรอยตัดรอยบาก และรอยชน ควรยาแนวอีกชัน้ หนึ่งด้วย ACRYLIC
SEALANT ที่สามารถกันนา้ และทาสีทบั ได้หากผิวมีคราบไขเคลือบอยู่ จะต้องขัดออกด้วยกระดาษ
ทราย หรือเช็ดล้างด้วยนา้ มันผสมสีเคลือบ ก่อนทาการทาสี
• คอนกรีตมวลเบา
คอนกรีตมวลเบา ควรทาการก่อและฉาบด้วยซิเมนต์ดดั แปลงโดยใช้วสั ดุ WATERPROOF RESIN เป็ น
ตัวดัดแปลงซิเมนต์ เนื่องจากซิเมนต์ท่ผี ่านการผสมด้วย WATERPROOF RESIN จะมีคณ ุ สมบัติ
เหนียว ยึดเกาะผิวได้แน่น การก่อและฉาบให้ใช้เพียงบาง ๆ และจัดแนวให้ได้ระนาบมากที่สดุ เพื่อการ
ฉาบ ให้ฉาบหนาเพียง 2 - 3 มม. (SKIM COAT) เท่านัน้
• การทาสีบนพืน้ ผิวพลาสติก ท่อพีวีซี
1. ใช้กระดาษทรายลูบ หรือขัดให้เกิดความหยาบบนพืน้ ผิว
2. ทาความสะอาดผิวหน้าไม้ให้มีไขมัน ฝุ่ นละออง หรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ จับ
3. การทาสีให้ปฏิบตั ิตามระบบการทา
• การทาสีบนพืน้ ผิวที่เป็ นไฟเบอร์กลาส
1. ใช้กระดาษทรายลูบ หรือขัดให้เกิดความหยาบบนพืน้ ผิว
2. ทาความสะอาดผิวหน้าไม่ให้มีไขมัน ฝุ่ นละอองหรือสิ่งสกปรกอื่น ๆ จับ
3. การทาสีให้ปฏิบตั ิตามระบบการทาสี
- นา้ ยาทาเคลือบผนังป้องกันคราบตะไคร่และกันซึมใช้สาหรับงานผนังก่ออิฐ, กระเบือ้ งดินเผา , กรวดล้าง ,
ทรายล้าง, หินล้าง และหินกาบ
การเตรียมพืน้ ผิว
ก. ซ่อมแซมรอยแตกร้าวต่าง ๆ
ข. ปั ดฝุ่ นเช็ดละอองให้หมด
วิธีทา
ใช้พ่นหรือทา (แปรงหรือลูกกลิง้ ) ถ้าพ่นควรใช้เครื่องพ่นแบบมีแรงดันต่า เนื่องจากทาให้ได้ประสิทธิภาพ
การทางานที่ดีกว่า ทิง้ ให้แห้งประมาณ 1-2 ชั่วโมง ทาการทาซา้ อีกครัง้ หนึ่ง แล้วทิง้ ไว้ให้แห้ง
- การทาแลกเกอร์ วานิช ฯลฯ
ทาพืน้ ผิวไม้ภายในอาคาร ส่วนที่ตอ้ งการเห็นความงามตามธรรมชาติของเนือ้ ไม้ เช่น วงกบ ชัน้ และราว
บันได , หน้าต่างด้านใน , เฟอร์นิเจอร์ เป็ นต้น
ก. นา้ มันวานิชชนิดเงา และด้าน และอื่น ๆ
การเตรียมพืน้ ผิวดูรายละเอียดจากการเตรียมไม้ การทาบนพืน้ ผิวไม้ใหม่ เพื่อความคงทนให้ทานา้ มันวา
นิช 3 ครัง้ ครัง้ แรกผสมทินเนอร์รอ้ ยละ 10 ครัง้ ต่อไปไม่จาเป็ น การทาบนพืน้ ที่มีวานิชเก่าทาแล้ว
สาหรับพืน้ เก่าที่อยู่ในสภาพเรียบร้อย ให้ทานา้ มันวานิชที่ไม่ผสมทินเนอร์ 2 ครัง้

หมวดที่ 2 107/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ข. ข้อพึงระวัง ระยะเวลาสีแห้ง
- แห้งทาทับได้ 4-6 ชั่วโมง
- แห้งสนิทอย่างน้อย 16 ชั่วโมง
ถ้าจะใช้นา้ มันวานิชนีท้ าพืน้ เก่าที่มีนา้ มันวานิชอยู่แล้ว ให้ลา้ งด้วยนา้ ยาซักฟอกอย่างอ่อนก่อน เช่น
ลิชชปอล เอ็น โซลซั่น จากนัน้ ใช้กระดาษทรายขัดเรียบ แล้วจึงทาด้วยนา้ มันวานิช ถ้านา้ มันวานิชเก่าอยู่
ในสภาพไม่ดี ให้ขดู นา้ มันวานิชเก่าออกให้หมด
- นา้ มันทีค ออยล์
ผิวพืน้ ที่จะทา ให้ทาบนไม้เฉพาะในกรณีท่รี ะบุให้ใช้เท่านัน้
ก. การเตรียมพืน้ ผิวซ่อมแซมส่วนที่ชารุด โดยปะด้วยวัสดุชนิดเดียวกัน ให้มีลายไม้กลมกลืน และสนิท
เรียบร้อยขัดเรียบด้วยกระดาษทราย ขัดฝุ่ นผงต่าง ๆ ออกให้หมดด้วยทีคออยล์
ข. การทาทีค ออยล์
ขัดด้วยผ้าสะอาดที่ชบุ ด้วยทีค ออย์ เวลาขัดอย่าให้ผา้ แห้ง หรือชุ่มเกินไป ปล่อยให้แห้ง 4-6 ชั่วโมง
แล้วทาซา้ อีก รวมแล้วต้องทาไม่นอ้ ยกว่า 2 ครัง้ ครัง้ สุดท้ายเมื่อทาแห้งสนิทดีแล้ว จะต้องขัดให้ท่วั ด้วย
ผ้าแห้งสะอาดอีกครัง้
ค. ข้อพึงระวัง
นา้ มันชนิดนีไ้ ม่ควรทาทับกับผนังภายนอกอาคาร หรือสถานที่ท่ตี อ้ งการความต้านทานของนา้ ยาเคมีตา่ ง ๆ
มาตรฐานช่างสี
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างฝี มือดี มีประสบการณ์และความชานาญงานมาทางาน โดยจะต้องมีหวั หน้า
ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด ช่างสีตอ้ งปฏิบตั ิตามคาแนะนาในการใช้สีหรือผสมสีของบริษัทผูผ้ ลิตสี และช่าง
สีจะต้องทาสีให้เรียบสม่าเสมอกันตลอด ปราศจากรอยต่อ ช่องว่าง ไม่มีรอยหยดหรือรอยแปรง และต้อง
แน่ใจว่าสีแต่ละชัน้ จะต้องแห้งสนิทดีแล้ว หรือทิง้ ไว้ตามระยะเวลาที่บริษัทผูผ้ ลิตสีกาหนดไว้ จึงจะลงมือ
ทาสีชนั้ ต่อไป
- ผูร้ บั จ้าง จะต้องเป็ นผูจ้ ดั หาอุปกรณ์ตา่ ง ๆ รวมทัง้ บันได นั่งร้านสาหรับทาสี ผ้า วัสดุอ่นื ใดที่ใช้ปกคลุมพืน้ ที่
หรือส่วนอื่นของอาคาร เพื่อป้องกันการสกปรก เปรอะเปื ้อนเลอะเทอะ ซึง่ อาจเกิดขึน้ ได้ในงานทาสี
- การตัดเส้นขอบต่าง ๆ และการทาระหว่างรอยต่อของสีต่างกันจะต้องมีความระมัดระวังเป็ นอย่างดี
ปราศจากรอยทับกันระหว่างสี และจะต้องระวังอย่าให้สีสกปรก เลอะเทอะตามอุปกรณ์ประตู หน้าต่าง
- ผูร้ บั จ้าง จะต้องปฏิบตั ิตามรายการก่อสร้างงานสีอย่างเคร่งครัด หากส่อเจตนาที่จะพยายามบิดพริว้ ปลอม
แปลงผูค้ มุ งานมีสิทธิจะให้ทาการเตรียมพืน้ ผิวใหม่ให้ถกู ต้องตามกาหนด โดยผูร้ บั จ้างต้องเป็ นผูอ้ อก
ค่าใช้จ่ายเอง ส่วนเวลาที่ล่าช้าในกรณีนี ้ จะยกเป็ นข้ออ้างในการต่อสัญญาไม่ได้
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดให้มีการประกันภัยในความเสียหายต่อทรัพย์สินและชีวิตของผูเ้ กี่ยวข้องและบุคคลที่สาม
ในวงเงินที่เหมาะสม

หมวดที่ 2 108/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

การแจ้งเพือ่ อนุมัตใิ นการใช้สี


- ผูร้ บั จ้างจะต้องนาแคตตาล็อคตัวอย่างสีมาให้สถาปนิกอนุมตั ิ ทัง้ นีส้ ถาปนิกสามารถเลือกเฉดสีจาก และ
จะต้องทาสีท่เี ลือกแล้วลงบนแผ่นตัวอย่าง เพื่อเปรียบเทียบสีท่ีทาจริงกับสีตามแคตตาล็อคให้ถกู ต้องตาม
ความประสงค์ของสถาปนิก
- ผูร้ บั จ้างจะต้องแจ้งชนิด จานวนของสีท่จี ะใช้ทงั้ หมดให้สถาปนิกและผูค้ มุ งาน ตลอดจนกรรมวิธีในการ
ทางานเป็ นลายลักษณ์อกั ษรทราบเสียก่อนที่จะเริ่มงาน
- ห้ามผูร้ บั จ้าง ลงมือทาสีใด ๆ รวมทัง้ สีรองพืน้ ก่อนสถาปนิกจะอนุมตั ิเป็ นลายลักษณ์อกั ษร หากผูร้ บั จ้าง
ดาเนินการทาสีใดก็ตามก่อนที่จะได้รบั อนุมตั ิ สถาปนิก ผูค้ มุ งานสงวนสิทธิ์ท่จี ะให้ผรู้ บั จ้างทาการลอกสี
หรือล้างสีทงั้ หมดออก ด้วยกรรมวิธีเครื่องมือและนา้ ยาเคมี โดยค่าใช้จ่ายจะเป็ นของผูร้ บั จ้างทัง้ สิน้
- ถ้าหากมีส่วนใดส่วนหนึ่งสงสัย หรือไม่สามารถทาสีได้ตามข้อกาหนดผูร้ บั จ้างจะต้องรีบแจ้งให้สถาปนิก
ทราบทันที เพื่อที่สถาปนิกจะได้พิจารณาแก้ไข หากผูร้ บั จ้างละเลยไม่แจ้งให้สถาปนิกทราบ และผูร้ บั จ้างยัง
ทางานต่อไปโดยตัดสินใจเอง ผลเสียหายที่เกิดขึน้ ผูร้ บั จ้างจะต้องรับผิดชอบและแก้ไขจนเป็ นที่น่าพอใจแก่
สถาปนิก และผูว้ า่ จ้าง โดยผูร้ บั จ้างรับผิดชอบในค่าใช้จ่ายที่เกิดขึน้
การทาความสะอาด และการรับประกันคุณภาพสี
- การทาความสะอาดขัน้ สุดท้าย ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาด เช็ดล้างสีส่วนเกิน และรอยเปรอะเปื ้อน
ตามที่ตา่ ง ๆ จนสะอาดเรียบร้อย ผลเสียหายอื่น ๆ อันเนื่องมาจากการทาสีให้อยู่ในความรับผิดชอบของผู้
รับจ้างทัง้ สิน้
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาเอกสารการรับประกันผลงาน เป็ นระยะเวลา 15 ปี โดยนับจากวันที่ส่งมอบ
- ในระหว่างที่ผรู้ บั จ้างดาเนินการทาสีจะต้องยินยอมให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายเทคนิคของบริษัทผูผ้ ลิตสีเข้าไป
ดาเนินการตรวจสอบคุณภาพสี และขัน้ ตอนการทาสีได้โดยมิตอ้ งแจ้งให้ทราบล่วงหน้า เพื่อที่จะให้ผผู้ ลิต
ออกใบรับรองคุณภาพสีตามประเภทของสีท่ผี ผู้ ลิตสีระบุไว้ได้
การจัดเก็บ
ควรเก็บสินค้าในที่เย็น และมีอากาศถ่ายเทที่ดี ควรปิ ดฝาให้แน่นตลอดเวลา ไม่ควรเก็บในที่รอ้ นและไม่ให้ถกู
แสงแดดโดยตรง ระหว่างการขนย้ายด้วยความระมัดระวัง คนสีให้เข้ากันก่อนนาไปใช้

หมวดที่ 2 109/172 งานทาสี


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.10 งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์

ขอบเขตของงาน
งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์ท่ใี ช้ในห้องนา้ ดูรายละเอียดจากแบบขยายและรายการประกอบแบบ ผูร้ บั
จ้างจะต้องจัดเตรียมเขียนแบบประกอบการติดตัง้ SHOP DRAWING รวมถึงส่วนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ซึง่ ต้องแสดงถึง
รายละเอียดของการติดตัง้ (INSTALLATION) การยึด (FIXING) การใช้กาวยาแนว (SEALANT) ระยะต่าง ๆ โดย
ละเอียดเพื่อขออนุมตั ิ และตรวจสอบตามความต้องการของสถาปนิก
วัสดุ
วัสดุท่ที ามาใช้งานต้องเป็ นวัสดุใหม่ได้มาตรฐาน มอก. ของผูผ้ ลิต ปราศจากรอยร้าวหรือตาหนิใด ชนิด ขนาด สี ตามความ
ประสงค์ของสถาปนิกกาหนดรายการเครื่องสุขภัณฑ์ อุปกรณ์ และส่วนประกอบต่าง ๆ ตามที่ระบุในแบบแต่ละอาคาร
ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุท่จี ะใช้แต่ละชนิดไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง เพื่อขออนุมตั ิและตรวจสอบตามความต้องการของสถาปนิก
ก่อนที่จะนาไปติดตัง้ เช่น
3.1 ตัวอย่างของสุขภัณฑ์ ก๊อกนา้ หรืออุปกรณ์ประกอบอื่น ๆ ที่จะใช้ในงานก่อสร้างแสดงถึงชนิดสีและรุน่
3.2 รายละเอียดประกอบตัวอย่าง (MAUFACTURE SPECIFICATIONS)
การติดตัง้
ผูร้ บั จ้างจะต้องหาช่างฝี มือที่ดีมีความชานาญในการติดตัง้ ให้เป็ นไปตามรายละเอียด SHOP
DARWING และได้มาตรฐานทางวิชาการก่อสร้างที่ดี
- ผูร้ บั จ้างต้องตรวจสอบสถานที่ท่ีมีการติดตัง้ ให้สมบูรณ์เรียบร้อย ถ้ามีขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ให้แก้ไขให้ถกู ต้องก่อน
จะมีการติดตัง้
- ผูร้ บั จ้างต้องศึกษารายละเอียดและขัน้ ตอนการติดตัง้ จากคูม่ ือของสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ใช้
ติดตัง้ รวมทัง้ ตรวจสอบระยะต่าง ๆ และระบบสุขาภิบาลหรือระบบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ก่อนการติดตัง้
- การทดสอบ เมื่อทาการติดตัง้ เรียบร้อยแล้ว ให้ผรู้ บั จ้างทาการทดสอบการใช้งานของสุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ
ที่เกี่ยวข้องทัง้ หมด ให้อยู่ในสภาพใช้งานที่ดี ในกรณีท่ใี ช้งานขัดข้องผูร้ บั จ้างจะดาเนินการแก้ไขให้เป็ นที่เรียบร้อย
ก่อนส่งมอบงาน ในกรณี เช่น นีผ้ รู้ บั จ้างจะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมมิได้
การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างจะต้องทาความสะอาดสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ตา่ ง ๆ หลังจากการติดตัง้ โดยปราศจากรอยร้าวก่อนขออนุมตั ิการ
ตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและก่อนส่งมอบงาน
การรับรอง, รับประกัน
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันคุณภาพโดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 1 110/172 งานสุขภัณฑ์ และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.11 งานระบบวัสดุกันซึม และงานปิ ดรอยต่ออาคาร

1. ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นในการก่อสร้าง งานระบบป้องกันความชืน้ ตามระบุในแบบ
และรายการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งใบรับรองผลการทดสอบคุณภาพวัสดุ จากหน่วยงานที่ได้กาหนดไว้พร้อม
กับหลักฐานอื่นเพื่อขออนุมตั ิ
2. วัสดุ
2.1 นา้ ยาผสมคอนกรีตกันซึมในส่วนของโครงสร้างที่ระบุในแบบหรือตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงานการผสมคอนกรีต
จะต้องผสมนา้ ยากันซึมในอัตราส่วนที่ผคู้ วบคุมงานเป็ นผูเ้ ห็นชอบนา้ ยาที่ผสมจะต้องเป็ นชนิดที่หน่วงการเซ็ทตัวของ
คอนกรีต ลดการซึมผ่านของนา้ ลดความพรุน ช่วยลดการยุบตัวของคอนกรีต
2.2 วัสดุกนั ซึมตามรอยต่อด้วย SILICONE บริเวณรอยต่อโครงเคร่าให้ใช้ซิลินโคนชนิด POLYURETHANE
ผลิตภัณฑ์ Z’Sealant หรือคุณภาพเทียบเท่า การเตรียมผิวก่อนการยาแนวซิลิโคน ให้ปฏิบตั ิตามคาแนะนา ของ
บริษัทผูผ้ ลิต และภายใต้การควบคุมของผูค้ วบคุมงาน
3. การก่อสร้าง
3.1 คอนกรีตที่ตอ้ งผสมนา้ ยากันซึมให้ผสมนา้ ยากันซึมภายใต้การควบคุมของวิศวกร หรือผูค้ วบคุมงาน
3.2 การทาระบบกันซึม ให้ติดตัง้ ภายใต้การควบคุมของวิศวกร หรือผูค้ วบคุมงาน
3.3 การอุดรอยต่อต่าง ๆ ให้ติดตัง้ ภายใต้การควบคุมของผูค้ วบคุมงาน
3.4 วัสดุฉาบผิวการเตรียมผิวให้ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิต และภายใต้การควบคุมของวิศวกร หรือผู้
ควบคุมงาน

หมวดที่ 2 111/172 งานระบบวัสดุกนั ซึม และงานปิ ดรอยต่ออาคาร


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานระบบป้ องกันความชืน้ และนา้ ซึมผ่าน (WATERPROOFING SYSTEM)

ขอบเขตของงาน
- ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุแรงงานและอุปกรณ์ท่จี าเป็ นในการทาการกันซึม และงานระบบป้องกันความชืน้ ของส่ว น
ต่าง ๆ ของอาคาร ส่วนประกอบหรือโครงสร้างตามระบุในแบบและรายการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง
รายละเอียด พร้อมใบรับรองผลการทดสอบคุณภาพวัสดุจากหน่วยงานที่ได้กาหนดไว้ พร้อมหลักฐานยื่นตามที่
สถาปนิก/วิศวกร หรือผูค้ วบคุมงานต้องการเพื่อขออนุมตั ิก่อนจะนาไปใช้งาน
- การติดตัง้ ระบบป้องกันความชืน้ และนา้ ซึมผ่าน ให้เป็ นลักษณะเหมารวมแบบเบ็ดเสร็จ ทัง้ วัสดุ/อุปกรณ์และการติดตัง้
โดยบริษัทผูร้ บั จ้างติดตัง้ ที่มีความเชี่ยวชาญในเรื่องของการติดตัง้ ระบบนีโ้ ดยเฉพาะ และเป็ นตัวแทนจาหน่ายวัสดุ
อุปกรณ์ของระบบดังกล่าว ห้ามมิให้ผรู้ บั จ้างเหมาหลัก(MAIN CONTRACTOR) ซือ้ หรือจัดหาวัสดุ/อุปกรณ์มา
ดาเนินการติดตัง้ เองโดยเด็ดขาด
- คอนกรีตที่ตอ้ งผสมนา้ ยากันซึมให้ผสมนา้ ยากันซึมภายใต้การควบคุมของวิศวกร หรือ ผูค้ วบคุมงาน การทาระบบกัน
ซึมใต้ดินให้ติดตัง้ ภายใต้การควบคุมของวิศวกร หรือผูค้ วบคุมงาน การอุดรอยต่อต่าง ๆ ให้ติดตัง้ ภายใต้การควบคุม
ของผูค้ วบคุมงาน วัสดุฉาบผิว การเตรียมผิว ให้ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผูผ้ ลิต และภายใต้การควบคุมของวิศวกร
หรือผูค้ วบคุมงาน
วัสดุ / อุปกรณ์
นา้ ยาผสมคอนกรีตกันซึมในส่วนของโครงสร้างที่ระบุในแบบหรือตามคาสั่งของผูค้ วบคุมงานการผสมคอนกรีต จะต้อง
ผสมนา้ ยากันซึมในอัตราส่วนที่ผคู้ วบคุมงาน เป็ นผูเ้ ห็นชอบนา้ ยาที่ผสมจะต้องเป็ นชนิดที่หน่วงการเซ็ทตัวของคอนกรีตลดการ
ซึมผ่านของนา้ ลดความพรุน ช่วยลดการยุบตัวของคอนกรีต
- ชนิดของระบบ (TYPE OF WATERPROOFING SYSTEM)
A ระบบหลัก ( PRE-APPLIED-MEMBRANE)
A1. กันซึมใต้ดิน – พืน้ /ผนังโครงสร้างใต้ดินที่สมั ผัสกับดินโดยตรง ต้องการการกันนา้ ถาวร ได้แก่ พืน้ ค.ส.ล.ชัน้ ใต้ดิน
ชัน้ ล่างสุด และ ผนัง/ กาแพงกันดิน (หากมิได้ระบุในรายการวิศวกรรมโครงสร้าง)
ในส่วนพืน้ และผนังภายนอกชัน้ ใต้ดินให้ใช้วสั ดุกนั ซึม Pre-applied ชนิด Sheet Membrane แบบผิวหน้า Sand
Stone Cushion ก่อนการวางเหล็กและเทโครงสร้าง เพื่อเป็ นระบบกันซึมที่พนื ้ และผนังชัน้ ใต้ดิน
การเตรียมพืน้ ผิวและดาเนินการ
ให้ปฏิบตั ิตามกรรมวิธี และขัน้ ตอนที่ระบุอย่างเคร่งคัด ตามขัน้ ตอนการทางานดังนี ้
สาหรับพืน้ ภายนอกของชัน้ ใต้ดิน
1. หลังจากเท Lean Concrete เรียบร้อยแล้ว ให้ทาความสะอาดพืน้ ผิวก่อน และทิง้ ไว้ให้แห้ง
2. ติดตัง้ ระบบกันซึม Pre-applied ชนิด Sheet Membrane แบบผิวหน้า Sand- Stone Cushion แผ่นสีขาวที่ความหนา
1.2 มม. ซึ่งเป็ นระบบกันซึมที่มีประสิทธิภาพสูงโดยให้คณ ุ สมบัติการยึดเกาะที่ดีกบั พืน้ คอนกรีต(High Bonding
Strength to concrete) ที่มีคา่ ไม่นอ้ ยกว่า 2 N/mm
3. ทาการเตรียมเหล็กและเทพืน้ คอนกรีตจริงต่อไป

หมวดที่ 2 112/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

สาหรับผนังภายนอกของชัน้ ใต้ดิน
1. หลังจากติดตัง้ ไม้แบบก่อนที่จะเตรียมเทคอนกรีต โครงสร้าง ให้ติดตัง้ ติดตัง้ ระบบกันซึม Pre-applied ชนิด
Sheet Membrane แบบผิวหน้า Sand -Stone Cushion แผ่นสีขาว ที่ความหนา 1.2 มม. ด้านที่มีกาวในตัวให้ตีชิดกับ
แบบไม้หรือแบบเหล็ก ทุก ๆ หน้ากว้าง 1 เมตรของ Sheet Membrane ให้ติดตัง้ ระยะทาบไม่นอ้ ยกว่า 7.5 ซม. โดย
สามารถแปะติดทับกันได้โดยใช้ Tape ตามกรรมวิธีผผู้ ลิต
2. หลังจากติดตัง้ ระบบกันซึมเรียบร้อยแล้ว ให้ตรวจสอบความเรียบร้อยของการติดตัง้ ระบบกันซึม Pre-applied
ชนิด Sheet Membrane แบบผิวหน้า Sand Stone Cushion แผ่นสีขาวที่ความหนา 1.2 มม. หรือคุณภาพเที ย บเท่ า ให้
สมบูรณ์หลังจากนัน้ สามารถเทผนังคอนกรีตได้ทนั ที และสามารถถอดแบบได้โดยทิง้ ให้ Full Bonding อย่างน้อย 3 วัน
รายละเอียดวัสดุ
วัสดุกนั ซึม Pre-applied ชนิด Sheet Membrane แบบผิวหน้า Sand- Stone Cushion ชนิดแผ่นมีสีขาวหนาไม่นอ้ ย
กว่า 1.2 มม. หน้ากว้าง 1 ม. ยาว 25 มม. ตามมาตรฐาน ASTM D3767 และเป็ นกันซึมประเภท PRE-APPLIED ให้คณ ุ สมบัติ
ยึดเกาะกับโครงสร้างด้วยคุณสมบัติทางเคมี โดยมีคา่ การยึดเกาะกับคอนกรีตไม่นอ้ ยกว่า 880N/mm คุณสมบัติในการยืดหยุ่น
ตัวสูง ให้คา่ การยืดหยุ่นตัวไม่นอ้ ยกว่า 400% และค่า Tensile Strength ไม่นอ้ ยกว่า 27.6 Mpa หรือคุณภาพเทียบเท่า
ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ ของ
Aquashield PPO ของบริษัท Zillion Innovation จากัด
ของบริษัท ซิกา้ (ประเทศไทย) จากัด
ของบริษัท ฟอสร็อค (ประเทศไทย) จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
A. ระบบหลัก (CONCRETE-IN-DEPTH)
A.1.1 พืน้ / ผนังโครงสร้างใต้ดินภายในที่สมั ผัสกับดินโดยตรง ต้องการการกันนา้ ถาวร ได้แก่ พืน้ ค.ส.ล. ชัน้ ใต้ดิน
ชัน้ ล่างสุด และผนัง / กาแพงกันดิน (หากมิได้ระบุในรายการวิศวกรรมโครงสร้าง)
ให้ใช้ระบบกันซึมทาหรือพ่นลงพืน้ ผิวคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วมาในรูปแบบผงซีเมนต์แบบแห้งประเภทการทากันซึมด้วย
ระบบการตกผลึก (CONCRETE WATERPROOFING BY CRYSTALLIZATION) โดยผลึกที่ได้ตอ้ งมีลกั ษณะทึบนา้ ตกผลึกได้
ลึกเข้าไปอุดรูพรุนและรอยแตกขนาดเล็ก ทาให้นา้ หรือของเหลวอื่นใดไม่สามารถซึมผ่านได้อีกทัง้ ยังต้องส่งผลในเรื่อง การยืด
อายุคอนกรีตและปกป้องคอนกรีตจากการเกิดสนิม สารเคมี ปฏิกิรยิ า AAR และสามารถทางานได้หากคอนกรีตเปี ยกชืน้
ลักษณะของเคมีในผลิตภัณฑ์ เป็ นสารเร่งปฏิกิรยิ าในการสร้างผลึกแบบทวีคณ ู (MULTIPLICATIVE CRYSTALLINE)
ระหว่างความชืน้ และสารเคมี ที่ได้จากปฏิกิรยิ าไฮเดรชั่น (CHEMICAL BY-PRODUCT OF CEMENTHYDRATION) เช่น
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (CALCIUM HYDROXIDE),เกลือแร่ต่างๆ (VERIOUS MINERAL SALT), โปรแตสเซียม
(POTASSIUM), รวมถึงซีเมนต์ท่คี งเหลือจากปฏิกิรยิ าไฮเดรชั่น โดยสารเร่งการตกผลึกนีจ้ ะต้องสามารถทาปฏิกิรยิ าการตก
ผลึกได้ตลอดไปตราบเท่าที่คอนกรีตนัน้ ๆ สัมผัสกับนา้
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ควรจะต้องผ่านมาตรฐานจากสถาบันทดสอบกลางที่ได้รบั ความเชื่อถือ
1. มาตรฐาน EN 1504-2:2004
2. มาตรฐานการทดสอบความสามารถในการซ่อมแซมตัวเองและปิ ดรอยร้าวขนาดเล็ก (SEALING CRACKS)
3. มาตรฐานการทดสอบความสามารถในการกันซึม (WATER PERMEABILITY TEST) เมื่อทาการตกผลึกแล้ว
คอนกรีตควรกันซึมได้ EN 1062-3 หรือมาตรฐานเทียบเท่า

หมวดที่ 2 113/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

4. การทดสอบการสัมผัสโดยตรงต่อนา้ ดื่ม (POTABLE WATER EXPOSURE) ตาม NSF61 หรือ BS6920 หรือ
Czech approval for direct contact with drinking water หรือมาตรฐานเทียบเท่า
5. มาตรฐานการทดสอบความสามารถในการยึดเกาะ (ADHESIVE STRENGTH) ตาม CSA A23.2-6B หรือ
EN1542 หรือ ESN73 2577 หรือมาตรฐานเทียบเท่า
นอกจากมาตรฐานเบือ้ งต้นแล้วลักษณะเพิ่มเติมของผลิตภัณฑ์ควรเป็ น
1. ประสิทธิภาพของกระบวนการเกิดผลึกต้องไม่ขนึ ้ อยู่กบั สัดส่วนของเถ้าลอย (FLY ASH) หรือสารผสมเพิ่มพิเศษอื่น ๆ ที่
ผสมในคอนกรีต
2. ผลิตภัณฑ์ควรจะมีความสามารถในการตกผลึกและแทรกซึมเข้าในคอนกรีตได้
3. ผลิตภัณฑ์เมื่อทาการตกผลึกแล้วต้องช่วยให้คอนกรีตมีความสามารถทนต่อการรับแรงกด Compressive Strength
และ Flexural Strength ได้
4. ผลึกที่ได้ตอ้ งมีขีดความสามารถในการอุดรอยแตกขนาดเล็กได้สงู สุดถึง 0.4 มิลลิเมตร โดยไม่ตอ้ งทาการซ่อมแซม
เพิ่มเติมและสามารถตกผลึกซา้ ได้อีก เมื่อมีความชืน้ ตลอดอายุการใช้งานของคอนกรีต
5. ผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ตอ้ งติดตัง้ ได้บนคอนกรีตที่เปี ยกชืน้ และสามารถตกผลึกได้ไม่วา่ จะติดตัง้ ด้านที่สมั ผัสนา้ หรือด้านตรงข้าม
A.2 กันซึมเหนือดิน – พืน้ /ผนังส่วนโครงสร้างเหนือดิน หรือส่วนที่ไม่ได้สมั ผัสกับดินโดยตรง มีความเสี่ยงในการรั่วซึม
หรือนา้ ขัง เช่น ห้องนา้ -ส้วม สระนา้ กันสาดที่มีการใช้งานภายในอาคารด้านล่าง เป็ นต้น
ลักษณะการติดตัง้
1 ทางผูร้ บั เหมาหลัก (MAIN CONTRACTOR) จะต้องจัดเตรียมพืน้ ผิวที่พร้อมสาหรับการติดตัง้ ระบบกันซึมคือ
พืน้ ผิวจะต้องสะอาด ปราศจากดิน,ฝุ่ น,นา้ มัน และเศษปูนมอร์ตาร์บนพืน้ ผิว การติดตัง้ ระบบกันซึมประเภทนี ้
จะต้องติดตัง้ ในโครงสร้างคอนกรีตหลัก (MAIN STRUCTURE) เท่านัน้ ห้ามติดตัง้ ระบบกันซึมประเภทนีบ้ นปูน
ทรายปรับระดับ (CONCRETE TOPPING) โดยเด็ดขาด
2 ทางผูร้ บั จ้างติดตัง้ ตัง้ ระบบจะต้องทาการสารวจ ตรวจสอบโครงสร้างคอนกรีตก่อนการทาระบบกันซึม ถ้าพบรอย
แตกร้าวในโครงสร้างคอนกรีต หรือจุดบกพร่องหรือไม่เป็ นไป ตามมาตรฐานที่ดีในงานก่อสร้างหรือไม่เป็ นไป
ตามที่ระบุในแบบรูปหรือในข้อกาหนด อันจะเป็ นสาเหตุให้เกิดการรั่วซึม หรือปั ญหาอื่น ๆ ในภายหลัง ทางผูร้ บั
จ้างติดตัง้ ระบบจะต้องแจ้งเป็ นหนังสือไปยังผูค้ วบคุมงานหรือตัวแทนผูว้ า่ จ้าง เพื่อที่จะได้หาแนวทางในการ
ซ่อมแซมตามกรรมวิธีท่ถี กู ต้อง ก่อนการติดตัง้ ระบบกันซึม ในส่วนของรอยต่อโครงสร้างคอนกรีตต่างๆ เช่น
รอยต่อการก่อสร้าง, รอยต่อการขยายตัวของคอนกรีต และรอยการวางท่อทะลุพนื ้ คอนกรีต (CONSTRUCTION
JOINT, EXPANSION JOIN, PIPE PENETRATION) จะต้องมีการวางระบบกันซึมพิเศษตามที่กาหนด เช่น การ
วางแผ่นหยุดนา้ (WATER STOP) หรือยางบวมนา้ (WATER SWELLING) หรืออื่น ๆ ตามที่กาหนดไว้ โดย
ค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นของผูร้ บั เหมาหลัก (MAIN CONTRACTOR)
3 รายละเอียดอื่น ๆ ที่ไม่ได้กล่าวถึงและมีความเหมาะสมในการดาเนินงาน ให้เป็ นไปตามกรรมวิธีของผูร้ บั จ้าง
ติดตัง้ ระบบ และได้รบั พิจารณาเห็นชอบจากสถาปนิกแล้ว ให้ใช้ระบบกันซึมใช้ทาลงพืน้ ผิวคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว
หลังจากเตรียมพืน้ ผิวที่จะติดตัง้ ระบบกันซึมให้สะอาดแล้ว ให้ฉาบหรือทาซีเมนต์มอร์ตา้ ร์ชนิด 2 ส่วนผสม ซึง่ มี
ส่วนผสมของซีเมนต์เนือ้ ละเอียดและนา้ ยาโพลิเมอร์ดดั แปลง (Polymer Modified) โดยทาการฉาบหรือทาวัสดุ
กันซึม ที่บริเวณพืน้ และผนังภายใน จากด้านล่างขึน้ สูด่ า้ นบนก่อน จานวน 2-3 ชัน้ ขณะที่ผิวพืน้ เดิมยังเปี ยกอยู่
หลังจากนัน้ จึงเริ่มฉาบหรือทาที่พนื ้ 2-3 ชัน้ เช่นกัน โดยแนะนาปริมาณการใช้ 2 กิโลกรัม ต่อ ตารางเมตร ต่อชัน้
(ทาอย่างน้อย 2 ชัน้ )

หมวดที่ 2 114/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดวัสดุ วัสดุกนั ซึมชนิดฉาบหรือทา ประเภทซีเมนต์มอร์ตา้ ร์ชนิด 2 ส่สวนผสม ต้องมี


ส่วนผสมของซีเมนต์เนือ้ ละเอียดและนา้ ยาโพลิเมอร์ดดั แปลง (Polymer modified) โดยมีคณ ุ สมบัติค่ารับกาลัง
อัด (Compressive Strength) ไม่นอ้ ยกว่า 35 N/mm2, ค่ารับแรงอัด (Flexural Strength) ไม่นอ้ ยกว่า
10N/mm2, ค่าแรงยึดเกาะ (Bond Strength) ประมาณ 2 N/mm2 ทดสอบที่อายุ 28 วัน ต้านการซึมผ่านของนา้
ได้ตามมาตรฐาน JIS 1404 และสามารถใช้กบั ถังนา้ ดื่มได้ โดยปราศจากสารพิษ ผ่านการรับรองและทดสอบโดย
กองควบคุมคุณภาพนา้ การประปาส่วนภูมิภาค
A.2.1 กันซึมเหนือดิน – พืน้ /ผนัง ส่วนโครงสร้างเหนือดิน หรือส่วนที่ไม่ได้สมั ผัสกับดินโดยตรง มีความเสี่ยง
ในการรั่วซึม หรือนา้ ขัง เช่น พืน้ ค.ส.ล. ดาดฟ้า กระบะต้นไม้ กันสาดที่มีการใช้งานภายในอาคารด้านล่าง เป็ นต้น ให้ทาเคลือบ
ด้วย วัสดุกนั ซึมยืดหยุ่น ประเภทโพลียรู เี ทน (Polyurethane) ส่วนผสมเดียว พร้อมใช้งาน โดยทาการทาชัน้ แรกลงบนพืน้
คอนกรีตที่เตรียมผิวเรียบร้อยแล้ว ทาการทาวัสดุกนั ซึมทัง้ หมด 2 ชัน้ โดยมีความหนาทัง้ ระบบประมาณ 1.4-2.3 มิลลิเมตร
(Dry film thickness) ปริมาณการใช้วสั ดุกนั ซึม 2 ลิตร การทางานให้ปฏิบตั ิตามคาแนะนาของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด
ให้ใช้วสั ดุกนั ซึมยืดหยุ่น แบบผสมเสร็จประเภทโพลียรู เี ทน (Polyurethane) โดยมีการยึดเกาะในตัวเอง เป็ นเนือ้ เดียว
ตลอด ไม่มีรอยต่อ ต้องมีคา่ ความยืดหยุ่นตัว (Elongation) 100% ตามมาตรฐาน (ASTM 412), มีส่วนประกอบของแข็งใน
ส่วนผสม (Solid Content) 80% โดยนา้ หนัก และมีคณ ุ สมบัติรบั แรงดึง (Tensile strength) ประมาณ 6 N/MM2 ตาม
มาตรฐาน (EN ISO527-3) มีคา่ ความถ่วงจาเพาะ ประมาณ 1.42 กิโลกรัม ต่อลิตร ตามมาตรฐาน (EN ISO 2811-1) สามารถ
ใช้รว่ มกับเส้นใยโพลีเอสเตอร์ 120 กรัมต่อตารางเมตร (100% Polyester (PES) Cross) เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของวัสดุกนั ซึม
B. ระบบนา้ ยาเคลือบผิว (IMPREGNATOR)
- เป็ นนา้ ยาเคลือบพืน้ ผิวหินธรรมชาติหินขัด หรือคอนกรีตชนิดเข้าไปทาปฏิกิรยิ าในเนือ้ วัตถุ (WATER REPELLENT
AND CONSOLIDANT)
- ใช้พ่นหรือทาบนพืน้ ผิว เมื่อแห้งแล้วไม่ทาให้พนื ้ ผิวเปลี่ยนสี หรือเป็ นเงามัน (NON-GLOSSY) และกันนา้ ได้ 100%
- หยุดการซึม ความชืน้ เชือ้ รา และฝุ่ นละอองของพืน้ ผิวปูคอนกรีต
- หยุดการขยายตัวของรอยแตกร้าว,อุดรูพรุนเล็ก ๆ และทาให้ผิวคอนกรีตไม่เกิดฝุ่ น
- พืน้ ผิวที่กาหนดให้มีการเคลือบผิว ได้แก่ ผิวคอนกรีตเปลือย (ไม่ทาสี), ผิวหินธรรมชาติ, ผิวหินขัดและผิวพืน้ ที่อ่นื ๆ
ที่ระบุในแบบรูป ในกรณีท่ีเป็ นหินอ่อนหรือหินแกรนิตให้ทานา้ ยาฯ ให้ท่วั ทัง้ แผ่นทัง้ 6 ด้านก่อนปู
- การติดตัง้ และขัน้ ตอนการทางานให้เป็ นไปตามข้อกาหนด ในเอกสารเผยแพร่ (CATALOG) ของบริษัทผูผ้ ลิตทุก
ประการ และได้รบั การพิจารณาเห็นชอบจากตัวแทนผูว้ า่ จ้างแล้ว
C. แผ่น TAPE ปิ ดแนวรอยต่อโครงสร้าง (WATERPROOFING JOINT TAPE)
(ในกรณีท่ไี ม่ได้ระบุในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง)
- เป็ นแผ่นผ้าสงเคราะห์ มีความยืดหยุ่นสูง (ELASTOMERIC MEMBRANE EMBEDDED IN BACKING FABRIC)
ความกว้างของแผ่นประมาณ 100-200 มม.
- ยึดติดกับพืน้ ผิวคอนกรีตด้วยนา้ ยาเคมีกนั ซึมชนิดเหลว (CEMENTITOUS LIQUID MEMBRANE)
- ใช้ปิดทับรอยต่อโครงสร้าง (CONSTRUCTION JOINT OR COLD JOINT)
- รายละเอียด
- เป็ นวัสดุประเภท THERMOPLASTIC ELASTOMER TAPE หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ความหนา : ประมาณ 0.6 มม.
- ELONGATION : 300 – 600 %

หมวดที่ 2 115/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

-
TEAR RESISTANCE : ไม่ต่ากว่า 100 N/mm
-
Water Tightness : 3 bar
-
ALKALI RESISTANCE
-
WEATHERING RESISTANCE
-
UV RESISTANCE
-
DECOMPOSITION RESISTANCE
-
การติดตัง้
-
ให้ใช้งานร่วมกับนา้ ยากันซึมชนิดเหลวประเภท FLEXIBLE CEMENTITIOUS WETERPROOFING เพื่อยึดติด
พืน้ ผิว
- ขัน้ ตอนการทางานให้เป็ นไปตามข้อกาหนดในเอกสารเผยแพร่ (CATALOG) ของบริษัทผูผ้ ลิตทุกประการ และได้รบั
การพิจารณาเห็นชอบจากตัวแทนผูว้ า่ จ้างแล้ว
D. ยางสังเคราะห์ค่นั รอยต่อโครงสร้าง (WATER STOP) (กรณีท่ไี ม่ได้ระบุในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง)
- ใช้สาหรับคั่นรอยต่อในส่วนของโครงสร้างคอนกรีตระหว่าง พืน้ /ผนัง หรือ ผนัง/ผนัง หรือ พืน้ /พืน้ หรือในส่วนต่อไปนี ้
1. รอยต่อในส่วนโครงสร้างที่ตอ้ งรับแรงดันนา้ เช่น ผนัง/พืน้ ชัน้ ใต้ดิน, ถังเก็บนา้ , สระนา้ ฯลฯ
2. ทุกตาแหน่งที่มีการหยุดเทคอนกรีต
3. โดยรอบท่อ (PIPE) ที่ฝังทะลุพืน้ หรือผนัง
4. ตามระบุในแบบรูป หรือโดยตาสั่งของผูว้ า่ จ้าง
- วัสดุ WATER STOP จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากวิศวกรและผูค้ วบคุมงานก่อนจึงจะนามาใช้งานได้
โดยมีรายละเอียดดังนี ้
แผ่นยางกันซึม P.V.C
เป็ นวัสดุประเภท HIGH GRADE POLYVINYL CHLORIDE ใช้ค่นั รอยต่อทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอน หรือคุณภาพ
เทียบเท่า โดยแบ่งเป็ นชนิดตามการใช้งานดังนี ้
1. EXTERNAL TYPE
2. CENTRALLY PLACED TYPE
- ขนาดของแผ่นยาง P.V.C จะต้องมีความกว้างไม่มากกว่าความหนาของคอนกรีต ส่วนที่บางที่สดุ ณ.
ตาแหน่งที่ติดตัง้
- คุณสมบัติ
-TENSILE STRENGTH : ไม่ต่ากว่า 12 N/mm
- ELONGATION AT BREAK : ไม่ต่ากว่า 300%
- WATER ABSORPTION : 0.04%
At 23 C (BS EN ISO 62:1999)
- Chemical Resistance Permanent : Seawater, sewage
- Shore A Hardness
- การติดตัง้ รอยต่อระหว่างแผ่นกันซึม P.V.C. ให้ใช้วิธีเชื่อมเท่านัน้ ห้ามใช้วิธีต่อทาบ กรรมวิธีการติดตัง้ ให้
เป็ นไปตามข้อกาหนดของบริษัทผูผ้ ลิต

หมวดที่ 2 116/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ขดยางกันซึมนา้ แบบบวมตัว (SWELLING WATERBAR)


- เป็ นวัสดุประเภท COMPOSITE โดยมีส่วนประกอบระหว่าง HYDROPHILIC RUBBER และ CHLOROPRENE
RUBBER ซึง่ จะบวมตัวขึน้ ทีละน้อยเมื่อสัมผัสกับนา้
- ใช้ท่คี ่นั รอยต่อทัง้ ในแนวตัง้ และแนวนอน
- ใช้ค่นั รอบท่อ (PIPE) หรือรอบวัสดุ/อุปกรณ์ ที่ติดตัง้ ทะลุผ่านพืน้ หรือผนังคอนกรีต
- ขนาด 25 มม. X 7 มม.
คุณสมบัติ
- SWELLING RATE : ไม่ต่ากว่า 90%
- HARDNESS : 45 -55
- TENSILE STRENGTH : ไม่ต่ากว่า 37 kgf/cm
- ELONGATION : ไม่ต่ากว่า 400%
การติดตัง้
- การติดตัง้ กับพืน้ ผิว ให้ใช้สาร ADHESIVE ที่ระบุวา่ ใช้กบั WATER STOP ชนิดนีโ้ ดยเฉพาะ
- การต่อ : ให้ใช้วิธีตอ่ ชน (BUTTED JOINT) ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
E. นา้ ยากันซึม (WATER-REPELLENT ADMIXTURE)
- เป็ นนา้ ยาเคมีท่ใี ช้ผสมในปูนทรายปรับระดับ (TOPPING) หรือในคอนกรีตโครงสร้างที่ระบุในแบบ หรือตามคาสั่ง
ของสถาปนิก และผูค้ วบคุมงาน การผสมให้เป็ นไปตามมาตรฐานของบริษัทผูผ้ ลิต (ในกรณีท่คี อนกรีตผสมนา้ ยา เพื่อหน่วงการ
ก่อตัวแล้ว ไม่ตอ้ งผสมนา้ ยากันซึม)

รายละเอียดการติดตัง้ ระบบป้ องกันการซึมผ่านของนา้ ในแต่ละพืน้ ที่

พืน้ ที่ ชนิดของระบบฯ


1.ระบบกันซึมใต้ดิน
พืน้ /ผนังที่อยู่ต่ากว่าระดับดิน ต้องการการกันนา้ ถาวร บริเวณที่ ระบบหลัก – พืน้ /ผนัง ด้านใน
สัมผัสกับดินโดยตรง (หากมิได้ระบุในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง) Pre – applied membrane
1.1 พืน้ ค.ส.ล. ชัน้ ใต้ดิน ชัน้ ล่างสุด / ฐานราก
1.2 ผนัง/กาแพงดิน
1.3 รอยต่อระหว่างพืน้ – ผนัง และ ผนัง – ผนัง
พืน้ ที่อ่นื ๆ ที่สมั ผัสนา้ โดยตรง ตลอด 24 ชม. เช่นเดียวกับด้านบน A1 HEAVY – EPOXY
1.4 บ่อบาบัดนา้ เสีย (TREATMENT PLANT) Coating for Concrete
1.5 บ่อพักนา้ เสีย (SEWAGE SUMP)
2.ระบบกันซึมเหนือดิน
พืน้ ที่ท่อี ยู่ติดกับพืน้ ดิน
2.1 พืน้ ภายในอาคารชัน้ ล่างที่ติดกับดิน
2.2 ถนน/ทางเท้าภายนอกอาคารที่ดา้ นล่างมีการใช้งาน CONCRETE-IN-DEPTH A1.1
2.3 รางระบายนา้ พืน้ /MANHOLD
2.4 บ่อแลกเปลี่ยนนา้
หมวดที่ 2 117/172 งานระบบป้องกันความชืน้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

พืน้ ที่อ่นื ๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการรั่วซึมและนา้ ขัง มี/ไม่มี


TOPPING เททับ (เฉพาะพืน้ และต่อเนื่องถึงผนังสูงอย่างน้อย
0.30 ซม. หรือตลอดแนวผนังและฝ้าเพดาน)
2.5 ห้องนา้ -ส้วม / ห้อง JANITOR / ห้อง DIRTY A.2 OR A.2.1
2.6 ห้องเก็บขยะ – ลานจอดรถเก็บขยะ
2.7 ห้องครัว – เฉลียง / ระเบียง
2.8 พืน้ ที่ท่ีมีการติดตัง้ FLOOR DRAIN
2.9 ห้อง AHU. สระนา้
2.10 MACHINE RM. / MECHANICAL / PUMP RM.
พืน้ ที่อ่นื ๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการรั่วซึมและนา้ ขัง ไม่มี TOPPING
เททับ (เฉพาะพืน้ และต่อเนื่องถึงผนัง สูงอย่างน้อย 0.30 ม. หรือ
ตลอดแนวผนังและฝ้าเพดาน) (ต่อ)
- รางระบายนา้ ล้นจากสระนา้ A.2

- กระบะต้นไม้ / กระบะปลูกหญ้า

- ถังเก็บนา้ ดาดฟ้า (WATER TANK,DRAINAGE SUMP)

- บ่อพักนา้ (SURGE TANK)

- พืน้ ที่อ่นื ๆ ที่กาหนดในแบบรูป

พืน้ ที่อ่นื ๆ ที่มีความเสี่ยงต่อการรั่วซึมและมีนา้ ขัง ไม่มี


TOPPING เททับ ต้องการทนสภาวะอากาศ ความร้อน แสงแดด A.2.1
(ไม่มีการสัญจรหนักบนพืน้ ผิวและด้านล่างมีการใช้งานภายใน
อาคาร) เช่น พืน้ ชัน้ ดาดฟ้า, หลังคา ค.ส.ล., กันสาด ค.ส.ล.
3. ส่วนอื่น ๆ ของอาคาร
3.1 ผนัง ค.ส.ล. เปลือยผิว IMPREGNATOR แบบ B
3.2 เสา ค.ส.ล. เปลือยผิว
3.3 พืน้ /ผนัง กรุหินธรรมชาติ
4. CONCRETE TOPPING สาหรับพืน้ ที่ท่ตี ิดตัง้ ระบบฯ WATER – REPELLENT ADMIXTURE
แบบ E

- หน้าที่และความรับผิดชอบของผูร้ บั จ้างติดตัง้ ก่อนดาเนินงาน


- เนื่องจากการดาเนินงานเป็ นงานลักษณะเหมารวมแบบเบ็ดเสร็จ ผูร้ บั ข้างติดตัง้ ระบบฯ ต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบและ
รับประกันผลงานภายหลังจากการติดตัง้ โดยไม่มีเงื่อนไขข้อแม้ ดังนัน้ ก่อนดาเนินการ ให้ผรู้ บั จ้างฯ ตรวจสอบสภาพหน้างาน
จริงทัง้ หมด หากมีจดุ บกพร่องหรือไม่เป็ นไปตามมาตรฐานที่ดีในงานก่อสร้าง หรือไม่เป็ นไปตามระบุในแบบรูปหรือใน
ข้อกาหนด อันจะเป็ นสาเหตุให้เกิดการรั่วซึม หรือปั ญหาอื่น ๆ ในภายหลังกาหนดให้ผรู้ บั จ้างฯ โดยการประสานงานและ
หมวดที่ 2 118/172 งานระบบป้องกันความชืน้
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

เห็นชอบจากที่ปรึกษาควบคุมงาน สามารถที่จะกระทาการอย่างหนึ่งอย่างใดได้ดงั นี ้
- ผูร้ บั จ้างฯ ทาการแก้ไขซ่อมแซมพืน้ ผิวที่มีปัญหาด้วยตนเองจนเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์ โดยค่าใช้จ่ายทัง้ หมดเป็ นของผู้
รับจ้างเหมาหลัก (MAIN CONTRACTOR)
หมายเหตุ : ให้ผรู้ บั จ้างฯ ประมาณการค่าใช้จ่ายละแจ้งล่วงหน้า โดยผูค้ วบคุมงานเป็ นผูพ้ ิจารณาอนุมตั ิ
- ผูร้ บั จ้างฯ กาหนดแนวทางวิธีการแก้ไขซ่อมแซม โดยให้ผรู้ บั จ้างเหมาหลัก (MAIN CONTRACTOR) เป็ นผูร้ บั ผิดชอบ
ดาเนินการจนเสร็จเรียบร้อยสมบูรณ์
- แนวทางวิธีการแก้ไขซ่อมแซม หากไม่ได้ระบุไว้ในรูปแบบหรือข้อกาหนดแล้ว ให้กาหนดวิธีการโดยผูค้ วบคุมงานและ
วิศวกรตัวแทนผูว้ า่ จ้าง/วิศวกรโครงการ
- หากมีขอ้ ขัดแย้ง ให้ผคู้ วบคุมงานและวิศวกรตัวแทนผูว้ า่ จ้าง/วิศวกรโครงการเป็ นผูว้ ินิจฉัย
การเสนอรายละเอียด
- ผูร้ บั จ้างจะต้องส่งรายละเอียด ข้อกาหนดคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์ท่ใี ช้ ข้อมูลทางเทคนิค ข้อแนะนาการติดตัง้ และ
ข้อมูลประกอบอื่น ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการก่อสร้างงานระบบป้องกันความชืน้ ตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการเพื่อพิจารณา
ตรวจสอบ
- ผูร้ บั จ้างต้องจัดทา SHOP DRAWINGS เพื่อให้ผคู้ วบคุมงานตรวจสอบก่อนทางานระบบป้องกันความชืน้ โดยแสดง
รายละเอียดดังต่อไปนี ้
- ตาแหน่งการติดตัง้ ระบบกันซึมในแต่ละส่วนของงาน
- แบบขยายการติดตัง้ ระบบกันซึมในแต่ละส่วน เช่น ขอบ มุม รอยต่อ จุดสิน้ สุดระบบกันซึม การซ้อนทับ ฯลฯ
- การทา FLASHING และการอุดยาแนวในแต่ละส่วนของงาน
- แบบขยายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือจาเป็ นตามที่ผคู้ วบคุมงานต้องการ
- การทดสอบ
- ภายหลังการติดตัง้ กาหนดให้มีการทดสอบการรั่วซึมโดยผูร้ บั จ้างฯ เสนอวิธีการทดสอบในทุกพืน้ ที่ท่สี าคัญ โดยวิธี การ
ที่เหมาะสม เช่น การขังนา้ บนดาดฟ้า หรือในสระนา้ ฯลฯ และต้องรับการอนุมตั ิจากที่ปรึกษาควบคุมงาน โดยเป็ นค่าใช้จ่าย
ของผูร้ บั จ้างเอง
- ภายหลังการติดตัง้ ห้ามมิให้ทาการเจาะ หรือสกัด หรือทาให้พืน้ ผิวเกิดความเสียหายโดยเด็ดขาด หากมีการกระทาใด ๆ
อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อพืน้ ผิว ให้ผรู้ บั จ้างติดตัง้ ระบบฯเป็ นผูก้ าหนดวิธีการซ่อมแซม โดยค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซม
ผูร้ บั เหมาหลัก (MAIN CONTRACTOR) เป็ นผูร้ บั ผิดชอบทัง้ สิน้ โดยไม่มีเงื่อนไข
การรับประกัน
- เนื่องจากการดาเนินงานเป็ นลักษณะเหมารวมเบ็ดเสร็จ ผูร้ บั จ้างติดตัง้ ระบบฯ ต้องเป็ นผูร้ บั ผิดชอบและรับประกัน
ผลงาน ภายหลังจากการติดตัง้ โดยไม่มีเงื่อนไขข้อแม้
- ให้ผรู้ บั จ้างติดตัง้ ระบบป้องกันความชืน้ และนา้ ซึมผ่าน ซึง่ เป็ นตัวแทนจาหน่ายวัสดุ/อุปกรณ์ดงั กล่าว ร่วมกับ
บริษัทผูผ้ ลิตฯ แสดงเอกสารยืนยันการรับประกันระบบฯ ซึง่ หมายรวมถึงวัสดุ/อุปกรณ์/ช่างฝี มือแรงงาน รวมถึงการใช้งานเป็ น
ระยะเวลาดังนี ้
- ระบบกันซึมโครงสร้างใต้ดิน ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
- ระบบกันซึมโครงสร้างเหนือดิน ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
- ในกรณีท่เี กิดปั ญหาการรั่วซึมขึน้ ผูร้ บั จ้างฯต้องดาเนินการซ่อมแซมแก้ไขให้เรียบร้อย โดยไม่มีเงื่อนไข ข้อแม้ และไม่
สามารถคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มแต่อย่างใด

หมวดที่ 2 119/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- ในกรณีพนื ้ ที่มีการติดตัง้ ระบบฯมากกว่า 1 ระบบ และเกิดปั ญหาการรั่วซึม ให้ผรู้ บั จ้างฯ ในระบบที่เกี่ยวข้องทัง้ หมด
เป็ นผูร้ บั ผิดชอบการดาเนินการแก้ไข
- ในการติดตัง้ ระบบฯ มีผรู้ บั จ้างฯระบบละไม่เกิน 1 ราย ในส่วนที่มีความเกี่ยวเนื่องกัน ยกเว้นส่วนที่สามารถแยกความ
รับผิดชอบได้ เพื่อความชัดเจนในความรับผิดชอบ และในเงื่อนไขของการรับประกัน จะกาหนดโดยสถาปนิกหรือวิศวกร
โครงสร้างขณะก่อสร้าง

หมวดที่ 2 120/172 งานระบบป้องกันความชืน้


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.12 งานระบบป้ องกันความร้อน และระบบป้ องกันไฟ


ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นในการก่อสร้างงานป้องกันความร้อนสาหรับอาคารที่ระบุในแบบ
รูป กรณีท่ไี ม่ได้ระบุในรูปแบบ ให้ถือว่าจะต้องมีการติดตัง้ งานป้องกันความร้อน ในชัน้ บนสุดของอาคารเหนือเพดาน
วัสดุ
ให้ใช้ฉนวน ปิ ดผิวด้วยฟอส์ย 2 ด้าน ความหนาแน่น 24 kg/m³ ความหนา 150 มม. วางบน Wire Mesh ø 4 mm. #
0.20 x 0.20 m. หรือคุณภาพเทียบเท่า ติดตัง้ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต หลังคา Metal Sheet ตามรายการระบุ
กรุฉนวนกันความร้อน PE โพลีเอทิลีน ความหนา 10 มม. ชนิดอลูมิเนียมฟอล์ย 1 ด้าน พ่นกาวติดกับหลังคา และให้ให้ติดตัง้
ฉนวนกันความร้อนใต้หลังคาโฟม EPS หนา 150 มม. หรือคุณภาพ เทียบเท่า ด้านล่างโฟมให้ปิดด้านแผ่นอลูมเิ นียมแผ่น
เรียบ หนา 0.5 มม. หรือตามระบุในแบบ ให้มีความยืดหยุ่นตัว ไม่แตกหัก และสามารถต้านทานความชืน้ ได้ดี จะต้องมี
คุณสมบัติสอดคล้องกับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม และได้รบั การอนุมตั ิจากสถาปนิก
การติดตัง้
การติดตัง้ จะต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด ภายใต้การควบคุมงาน การยึดวัสดุกนั ความร้อน
และต้องไม่เกิดความเสียหาย เช่น การชารุดของวัสดุ ซึง่ เป็ นสาเหตุท่ที าให้ประสิทธิภาพในการใช้งานของฉนวนใยแก้วลด
น้อยลง และจะต้องคานึงถึงความมั่นคงแข็งแรง ไม่ให้วสั ดุหลุดร่วงจนเกิดความเสียหายต่อส่วนประกอบอื่น ๆ ของอาคาร
วิธีการติดตัง้ ฉนวนใยแก้วกับท้องคานคอนกรีต
กาหนดจุดและเครื่องหมายในตาแหน่งที่ติดพุก ระยะห่างแต่ละตัว 30-60 ชม. แล้วให้ใช้สว่านเจาะตรงจุดที่กาหนด
และให้ใส่พกุ พลาสติก No.8 ที่รู ใส่สกรูเกลียวปล่อยขนาดความหมายของสกรูให้เลือกตามความเหมาะสมของความหนาของ
ใยแก้วใส่เข้าไปที่พกุ โดยให้สกรูโผล่ออกจากพุกตามความหนาของฉนวน แล้วให้เสียบฉนวนใยแก้วให้ทะลุหวั สกรู สวม
WASHER ซึง่ เป็ นแผ่นสังกะสี ขนาด 2”x2” รองรับหัวสกรู และให้นาลวดชุบสังกะสี No.18 พันกับสกรู และขึงไขว้กนั เป็ นรูป
กากบาทกับหัวสกรูทกุ ตัว ดึงลวดให้ตงึ

หมวดที่ 2 121/172 งานระบบป้องกันความร้อนและป้องกันไฟ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.13 งานระบบเคลือบพืน้ ผิว Epoxy Self-Leveling


1. ความต้องการทั่วไป
1.1 ขอบเขตงาน
1.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ ที่มีคณุ ภาพ แรงงานที่มีฝีมือและชานาญ มีระบบคุณภาพที่ดี สาหรับ
งานระบบพืน้ อีพ็อกซี่ Self-Leveling ตามที่ระบุในแนบและรายการประกอบแบบ
1.1.2 การผสมวัสดุโพลียรู เี ทน และขัน้ ตอนการติดตัง้ จะต้องปฏิบตั ิตามวิธีการของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด โดย
ได้รบั อนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงาน
1.2 การรับประกันคุณภาพ
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันการเสื่อมสภาพของสี และผิวพืน้ อีพ็อกซี่ Self – leveling เป็ นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี
ให้กบั ผูว้ า่ จ้างในความบกพร่องของวัสดุ
1.3 เอกสารและวัสดุท่ตี อ้ งยื่นอนุมตั ิ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งแค็ตตาล็อกสี และตัวอย่างการติดตัง้ ระบบพืน้ Epoxy Self – Leveling ให้ใช้ในโครงการให้ผู้
ควบคุมงานพิจารณาอนุมตั ิตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบก่อนดาเนินการ
2. ผลิตภัณฑ์
2.1 คุณสมบัติวสั ดุ
- วัสดุชนิด 2 ส่วนผสม Self smoothing
- วัสดุท่ีนามาใช้ตอ้ งมีผลงานการติดตัง้ ในประเทศไทยมาไม่ต่ากว่า 10 ปี และเป็ นวัสดุท่ีผลิตขึน้ ในประเทศไทย หรือ
เป็ นสินค้านาเข้ามีแหล่งการผลิตที่ชดั เจน
- วัสดุท่นี า้ มาใช้ตอ้ งมีลกั ษณะการบ่มตัวสัน้ สามารถใช้งานได้ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากติดตัง้ แล้วเสร็จ ไม่มีกลิ่น
เหม็นฉุน เพื่อง่ายต่อการบารุงรักษาหรือซ่อมแซม
- วัสดุท่ใี ช้ตอ้ งทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี และทนต่อแรงดันนา้ ความดันสูงที่ใช้ในการทาความสะอาด
- ระบบเคลือบพืน้ Epoxy Self – Leveling มีความหนา 2 มิลลิเมตร สาหรับบริเวณพืน้ ที่ท่ีมีการใช้งานเบาหรือปาน
กลางทนทานต่อสารเคมี ทนต่อการขัดสีได้ดี
2.2 วัสดุท่เี ลือกใช้ 1. Z’FLOOR EP-SL - ZILLION
2. Sikafloor 283 - sika
3. NITOFLOR SL1000 - FOSROC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. การดาเนินการ
3.1 การประกอบการติดตัง้
3.1.1 การเตรียมพืน้ ผิวคอนกรีต
- คอนกรีตต้องมีพนื ้ ผิวเรียบ และให้คา่ การรับกาลังอัดที่พอเพียง (ต่าสุด 25 นิวตัน/ตร.มม.)
- ค่ารับรองดึงที่ผิวต่าสุด 1.5 นิวตัน/ตร.มม.
- คอนกรีตต้องมีอายุอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 28 วัน
- พืน้ ผิวต้องแห้งปราศจากคราบนา้ มัน , จาระบี , สีเก่า

หมวดที่ 2 122/172 งานระบบเคลือบพืน้ ผิว Epoxy Self-Leveling


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3.1.2 การติดตัง้
- คอนกรีตต้องเตรียมพืน้ ผิวด้วยเครื่อง Shot Blast หรือ เครื่องขูด เพื่อจัดเศษฝุ่ น และผิวที่เสียหายออกก่อน และ
เพิ่มค่าการยึดเกาะของวัสดุกบั ผิวพืน้
- ทาการเคลือบชัน้ Topcoat ด้วยวัดสุ Epoxy Leveling ด้วยลูกกลิง้ หนามความหนา 2 มิลลิเมตร หรือใช้วสั ดุ 1.9
กก./ตรม.ต่อเที่ยว
- ทาการกลิง้ ไล่ฟองอากาศและช่วยในการปรับตัวของวัสดุดว้ ยลูกกลิง้ หนาม ทิง้ ไว้ให้แห้ง
3.1.3 ระยะเวลาการบ่มตัว
- 8 ชั่วโมงหลังจากติดตัง้ เสร็จสามารถเดินเข้าพืน้ ที่ได้
- 24 ชั่วโมงหลังจากการติดตัง้ เสร็จสามารถใช้งานได้ตามปกติ
- 3-5 วันหลังจากติดตัง้ เสร็จสามารถรองรับการใช้งานได้เต็มที่ตามคุณสมบัติของวัสดุท่รี ะบุใน Technical Datasheet
และสามารถล้างทาความสะอาดด้วยนา้ หรือนา้ ยาล้างพืน้ ได้
3.2 การทาความสะอาด
งานระบบพืน้ Epoxy Self – Leveling ทัง้ หมด จะต้องเรียบร้อยสม่าเสมอ ไม่มีรอยด่าง หรือข้อบกพร่องอื่นใด และ
จะต้องทาความสะอาดรอยสีเปื ้อนส่วนอื่น ๆ ของอาคาร

หมวดที่ 2 123/172 งานระบบเคลือบพืน้ ผิว Epoxy Self-Leveling


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.14 งานพืน้ เคลือบทาให้ผิวแกร่ง (LIQUID FLOOR HARDENER)


1. ขอบเขตของงาน
งานเคลือบพืน้ เพื่อทาให้ผิวแกร่ง LIQUID FLOOR HARDENER ผูร้ บั จ้างต้องจัดทาพืน้ คอนกรีตโดยใช้วสั ดุท่ีสามารถ
ทาพืน้ ผิวคอนกรีตมีความแกร่งในบริเวณพืน้ ที่กาหนด รวมหมายถึงส่วนที่ท่ีตอ้ งดาเนินการให้สอดคล้องหรือสัมพันธ์กบั งาน
พืน้ ผิวแกร่ง เช่น บริเวณลาดจอดรถ พืน้ ห้องเครื่องที่ตอ้ งการการป้องกันการเกิดฝุ่ น เพื่อการใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ของ
แบบและรายการประกอบแบบ
2. วัสดุ
2.1 เป็ นเคมีภณ ั ฑ์ชนิดใสประกอบด้วยไซลีนซิลิเกตอนุภาคเล็กและส่วนผสมพิเศษที่เพิ่มคุณสมบัติสร้างความ
แข็งแกร่งให้กบั ผิวคอนกรีตทนทานต่อแรงขูดขีดและแรงกระแทกเป็ นเนือ้ เดียวกันกับคอนกรีต
2.1 ใช้ทาหลังจากอายุคอนกรีตไม่ต่ากว่า 28 วัน สีตามที่สถาปนิกผูอ้ อกแบบกาหนด
2.3 วัสดุท่ไี ด้มาตรฐานและผ่านการทดสอบตามมาตรฐาน ASTM C4118 หรือคุณภาพเทียบเท่า
HARDNESS (MOHS’ SCALE) = 7-8 ชนิดมีสี/ใส
2.4 ให้ใช้ผลิตภัณฑ์
Z’FLOOR AC ของ ZILLION INNOVATION CO.,LTD
NITOFLOR HARD TOP ของ FOSROC
SIKA ของ SIKA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. ตัวอย่างวัสดุ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดทาตัวอย่างวัสดุท่ใี ช้ ซึง่ แสดงให้เห็นสี ขนาด 30 x 30 ซม. ไม่นอ้ ยกว่า 2 ตัวอย่าง รวมถึง
MANUFACTURE’S S[ECOFOCATION และส่งให้ผอู้ อกแบบให้ความเห็นชอบและพิจารณาอนุมตั ิจากผูว้ า่ จ้างและ/
หรือตัวแทนผูว้ า่ จ้างก่อนจึงจะนาไปใช้งานได้
4. การติดตัง้
4.1 ในขัน้ ทาวัสดุทาผิวแกร่ง พืน้ ที่จะติดตัง้ ต้องเป็ นพืน้ คอนกรีตที่มีอายุอย่างน้อย 28 วัน และต้องมีความแข็งแรง
หรือมีคา่ Compressive Strength ไม่นอ้ ยกว่า 240KSC ขัดมันเรียบได้ระดับกรณีพนื ้ ผิวไม่เรียบให้ใช้ผลิตภัณฑ์โพลียู
รีเทนมอร์ตา้ ปรับระดับก่อน และไม่มีรอยแตกร้าว ถ้ามีพืน้ เดิมที่เสียหายจะต้องซ่อมด้วยอีพ๊อกซี่มอร์ตา้ ก่อน ผิวงาน
ต้องให้สะอาดที่สดุ ปราศจากคราบนา้ มันและสิ่งสกปรก ค่าความชืน้ ของพืน้ คอนกรีตต้องน้อยกว่า 5% (ต้องทดสอบ
การวัดค่าความชืน้ จากเครื่อง Concrete Encounter CME4) ถ้ามีความชืน้ ให้ดาเนินการ Block ความชืน้ ด้วย Z’Floor
V Block เสียก่อน
4.2 ให้ทานา้ ยา LIQUID FLOOR HARDENER 2 เที่ยวแต่ละเที่ยวทิง้ ไว้ 1-2 ชั่วโมง
4.3 ทิง้ ไว้อย่างน้อย 24 ชั่วโมงก่อนการใช้งาน
5. การทาความสะอาด
ผูร้ บั จ้างต้องทาความสะอาดทุกแห่งหลังจากการติดตัง้ แล้วเสร็จ ผิวของวัสดุตอ้ งปราศจากรอยแตกร้าว แตกบิ่น มี
ตาหนิ หลุดล่อน และไม่เปรอะเปื ้อน ก่อนขอความเห็นชอบของการตรวจสอบจากผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงาน
และก่อนส่งมอบงาน
6. การรับประกันผลงาน
ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุและการติดตัง้ 7 ปี หากเกิดการชารุดเสียหายอันเนื่องมาจากคุณสมบัติของ
วัสดุและการติดตัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลี่ยนให้ใหม่หรือซ่อมแซม ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ตามจุดประสงค์ของผูว้ า่ จ้าง
และ/หรือตัวแทนผูว้ า่ จ้าง โดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 124/172 งานพืน้ เคลือบทาให้ผิวแกร่ง


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.15 งานระบบเคลือบพืน้ ผิวโพลียูรีเทนสกรีด


1. ความต้องการทั่วไป
1.1 ขอบเขตงาน
1.1.1 ผูร้ บั จ้างต้องจัดหาวัสดุและอุปกรณ์ ที่มีคณ ุ ภาพ แรงงานที่มีฝีมือและความชานาญ มีระบบคุณภาพที่ดี
สาหรับงานระบบพืน้ โพลียรู เี ทน ตามที่ระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
1.1.2 การผสมวัสดุโพลียรู เี ทน และขัน้ ตอนการติดตัง้ จะต้องปฏิบตั ิตามวิธีการของผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด โดย
ได้รบั อนุมตั ิจากผูค้ วบคุมงาน
1.2 มาตรฐานอ้างอิง
EN – 196 , ASTM D-4060-01 , ASTM D-696 , ISO 11359 , EN1542
1.3 การรับประกันคุณภาพ
ผูร้ บั จ้างจะต้องรับประกันการเสื่อมสภาพของสี และผิวพืน้ โพลียรู เี ทน เป็ นระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี ให้กบั ผู้
ว่าจ้างในความบกพร่องของวัสดุ
1.4 เอกสารและวัสดุท่ตี อ้ งยื่นอนุมตั ิ
ผูร้ บั จ้างต้องจัดส่งแค็ตตาล็อกสี และตัวอย่างการติดตัง้ ระบบพืน้ โพลียรู เี ทนที่ใช้ในโครงการให้ผคู้ วบคุมงาน
พิจารณาอนุมตั ิตามวัตถุประสงค์ของผูอ้ อกแบบก่อนดาเนินการ
2. ผลิตภัณฑ์
2.1 คุณสมบัติวสั ดุ
- วัสดุมี 3 ส่วน มีนา้ เป็ นองค์ประกอบ มีความแข็งแรงสาหรับการใช้งานหนักปานกลางเป็ นวัสดุประเภท
โพลียรู เี ทนสกรีด มีสีในตัวพืน้ ผิวเรียบ
- วัสดุผ่านการทดสอบการสัมผัสกับอาหาร ตรงตามมาตรฐาน EN 1186 EN 13130 , และมาตรฐานของ
prCEN / TS 14234 และพระราชกฤษฎีกาเกี่ยวกับเครื่องอุปโภค-บริโภค, 89/109/EEC 90/128/EEC และ
/2002/72/EC ใบรับรองจาก ISEGA , ทะเบียนเลขที่ 19550 U04 , ลงวันที่ 14 มกราคม 2547
- วัสดุท่นี ามาใช้ตอ้ งมีผลงานการติดตัง้ ในประเทศไทยไม่ต่ากว่า 10 ปี และเป็ นวัสดุท่ผี ลิตขึน้ ในประเทศ
ไทย หรือเป็ นสินค้านาเข้ามีแหล่งการผลิตที่ชดั เจน
- วัสดุท่นี ามาใช้ตอ้ งมีระยะเวลาการบ่มตัวสัน้ สามารถใช้งานได้ภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากติดตัง้ แล้ว
เสร็จ ไม่มีกลิ่นเหม็นฉุน เพื่อง่ายต่อการบารุงรักษาหรือซ่อมแซม
- วัสดุท่นี ามาใช้ตอ้ งทนต่อการกัดกร่อนของสารเคมี และทนต่อแรงดันนา้ ความดันสูงที่ใช้ในการทาความ
สะอาด
- ระบบเคลือบพืน้ โพลียรู เี ทนสกรีดความหนา 4 มิลลิเมตร สาหรับบริเวณพืน้ ที่ท่มี ีการใช้งานปานกลาง
ทนทานต่อสารเคมี ทนต่อการขัดสีได้ดี
2.2 วัสดุท่เี ลือกใช้ 1. ZILLION – Z’FLOOR PU – MF
2. SIKA – SIKAFLOOR – ZL FURCOM
3. BLUE PANEI – PUERETEBI
4. FOSROC
หรือคุณภาพเทียบเท่า

หมวดที่ 2 125/172 งานระบบเคลือบพืน้ ผิวโพลียรู เี ทนสกรีด


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3. การดาเนินการ
3.1 การประกอบการติดตัง้
3.1.1 การเตรียมพืน้ ผิวคอนกรีต
- คอนกรีตต้องมีพนื ้ ผิวเรียบ และให้คา่ การรับกาลังอัดที่พอเพียง (ต่าสุด 25 นิวตัน/ตร.มม)
- ค่ารับแรงดึงที่ผิวต่าสุด 1.5 นิวตัน/ตร.มม
- คอนกรีตต้องมีอายุอย่างน้อยไม่ต่ากว่า 28 วัน
- พืน้ ผิวต้องแห้งปราศจากคราบนา้ มัน , จาระบี , สีเก่า
3.1.2 การติดตัง้
- คอนกรีตต้องเตรียมพืน้ ผิวด้วยเครื่อง Shot Blast หรือ เครื่องขูด เพื่อขจัดเศษฝุ่ น และผิวที่เสียหายออกก่อน
และเพิ่มค่าการยึดเกาะของวัสดุกบั ผิวพืน้
- ทาการเคลือบชัน้ รองพืน้ ด้วย epoxy primer ชนิดที่ไม่มีส่วนผสมของตัวทาลายด้วยลูกกลิง้ โดยใช้วสั ดุ 0.3-
0.5 กก./ตรม. ทิง้ ไว้ให้แห้ง
- ทาการเคลือบชัน้ Topcoat ด้วยวัสดุ Polyurethane ด้วยเกรียงหวีให้ได้ความหนา 4 มิลลิเมตร หรือใช้วสั ดุ
7.3-8.0 กก./ตรม.
- ทาการกลิง้ ไล่ฟองอากาศและช่วยในการปรับตัวของวัสดุดว้ ยลูกกลิง้ หนาม ทิง้ ไว้ให้แห้ง
3.1.3 ระยะการบ่มตัว
- 8 ชั่วโมงหลังจากติดตัง้ เสร็จสามารถเดินเข้าพืน้ ที่ได้
- 24 ชั่วโมงหลังจากติดตัง้ เสร็จสามารถใช้งานได้ตามปกติ
- 3-5 วันหลังจากการติดตัง้ เสร็จสามารถรองรับการใช้งานได้เต็มที่ตามคุณสมบัติของวัสดุท่รี ะบุใน Technical
Datasheet และสามารถล้างทาความสะอาดด้วยนา้ หรือนา้ ยาล้างพืน้ ได้
3.2 การทดสอบ
เมื่อทาการติดตัง้ ระบบพืน้ โพลียรู เี ทนเรียบร้อยแล้วจะต้องได้ ระดับที่ใกล้เคียงกับค่าที่ระดับที่กาหนดไว้ โดยไม่
มากกว่าหรือน้อยกว่าค่าระดับที่กาหนดไว้ในแบบเกิน 4 มม. โดยการสุ่มตรวจสอบ 1 จุด ต่อพืน้ ที่ ประมาณ 25 ตารางเมตร
3.3 การทาความสะอาด
งานระบบพืน้ โพลียรู เี ทนทัง้ หมด จะต้องเรียบร้อยสม่าเสมอ ไม่มีรอยด่าง หรือข้อบกพร่องอื่นใด และจะต้องทาความ
สะอาดรอยสีเปื ้อนส่วนอื่น ๆ ของอาคาร

หมวดที่ 2 126/172 งานระบบเคลือบพืน้ ผิวโพลียรู เี ทนสกรีด


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.16 งานพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร (Entrance Matting System)

1. ขอบเขตของงาน และการควบคุมคุณภาพ
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ สาหรับการติดตัง้ พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารทัง้ หมดที่ระบุไว้ในแบบ
และรายการก่อสร้าง โดยงานติดตัง้ พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารทัง้ หมดถือว่าผูร้ บั จ้างเป็ นผูจ้ ดั หาบริษัทผูผ้ ลิ ตที่มีความ
ชานาญและประสบการณ์ตามข้อกาหนดดังต่อไปนี ้
1.1 ผูผ้ ลิตต้องเป็ นบริษัทที่ได้รบั รองมาตรฐานควบคุมคุณภาพการผลิตตามมาตรฐาน สากล ISO 9001
1.2 ผูผ้ ลิตต้องมีประสบการณ์ในการผลิตพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารตามที่ระบุไว้ในแบบและรายการก่อสร้าง
มีผลงานอ้างอิงในประเทศอย่างน้อย 5 โครงการ
2. การขออนุมัติ
ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอรายละเอียดข้อมูลของพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารให้สถาปนิกอนุมตั ิดงั ต่อไปนี ้
2.1 คุณสมบัติของประสิทธิภาพพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร
2.2 คุณสมบัติของอลูมิเนียมและส่วนประกอบต่าง ๆ
2.3 ตัวอย่างวัสดุตามสถาปนิกระบุ
2.4 แบบขยาย FABRICATION DRAWINGS และอื่น ๆ
3. ข้อกาหนดด้านประสิทธิภาพ
ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอเอกสารประกอบ เพื่อยืนยันถึงประสิทธิภาพของพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารโดยอ้างอิง
ตามมาตรฐานสากลดังต่อไปนี ้
3.1 ประสิทธิภาพด้านการลามไฟ ตามมาตรฐาน ASTM E 648-06A , CLASS 1
3.2 ประสิทธิภาพด้านการรับนา้ หนัก ต้องรองรับนา้ หนักได้ไม่ต่ากว่า 250 กิโลกรัม / ล้อ
4. คุณสมบัตขิ องอลูมิเนียมและส่วนประกอบต่าง ๆ
พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคารจะต้องมีคณ
ุ สมบัติ และส่วนประกอบสาคัญดังต่อไปนี ้
4.1 รางสาหรับสอดแถบพรมดักฝุ่ นทาจากอลูมิเนียมรีดขึน้ รูป ALLOY บริสทุ ธิ์ โดยมีความกว้างไม่นอ้ ยกว่า 30
มิลลิเมตร และเชื่อมต่อกันด้วยแถบยาง PVC
4.2 แถบยาง PVC ตามหัวข้อ 4.1 จะต้องมีการเจาะรูเป็ นระยะเพื่อให้สิ่งสกปรกผ่านลงรูและถูกเก็บไว้ดา้ นใต้
ผืนพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร
4.3 แถบพรมดักฝุ่ นจะต้องใช้พรมแบบ HEAVY DUTY เส้นใย NYLON 6.6 หรือ แบบขนแปรงที่ทาจาก NYLON
6.6 สามารถทนความร้อนได้ 900C ถึง -500C หรือ เป็ นแบบ Rubber เฉดสี สถาปนิกระบุขณะก่อสร้าง
4.4 ตัวเก็บขอบพรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร (BASE FRAME) ทาจากอลูมิเนียมรีดขึน้ รูปALLOY บริสทุ ธิ์ โดยมีความ
ลึกไม่เกิน 17 มิลลิเมตร
4.5 พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร มีความลึกโดยรวมไม่เกิน 25 มิลลิเมตร
4.6 ชิน้ ส่ วนทั้งหมดของพรมดัก ฝุ่ นทางเข้าอาคารต้อ งผลิ ต และประกอบจากโรงงานผู้ผ ลิ ต แห่ งเดี ย ว (SINGLE
SOURCE RESPONSIBILITY ) หรือคุณภาพเทียบเท่า

หมวดที่ 2 127/172 งานพรมดักฝุ่ นเข้าอาคาร


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

5. ผู้ผลิต
พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร ตามที่ระบุไว้ในแบบและรายการก่อสร้าง ผลิตโดย
5.1 ABI Entrance Mating รุน่ Aluflex ของบริษัท วิสแพคจากัด หรือ
5.2 C/S Pedisystems หรือเทียบเท่า
5.3 บริษัท 3 เอ็ม ประเทศไทย จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. การรับประกัน
ให้บริษัทผูผ้ ลิตรับประกันคุณภาพ ของวัสดุ และบริการซ่อมโดยไม่คิดมูลค่าในกรณีท่มี ีการชารุด บกพร่อง อัน
เนื่องมาจากการผลิตจากโรงงานเป็ นระยะเวลา 2 ปี

หมวดที่ 2 128/172 งานพรมดักฝุ่ นเข้าอาคาร


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.17 งานป้ องกันและกาจัดปลวก (PIPE TREATMENT SYSTEM)

ขอบเขตของงาน
ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุ แรงงาน และอุปกรณ์ท่จี าเป็ นในการก่อสร้างงานป้องกันปลวก สาหรับอาคารตามที่ระบุในแบบ
รูปและรายการก่อสร้าง ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งใบรับรองผลการทดสอบคุณภาพวัสดุจากหน่วยงานที่ได้กาหนดไว้พร้อมกับ
หลักฐานอื่นเพื่อขออนุมตั ิ
วัสดุ
- สารเคมีท่ใี ช้กาจัดปลวกและป้องกันปลวก จะต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด หรือให้
ดาเนินการโดยบริษัทผูผ้ ลิตหรือภายใต้คาแนะนา และตรวจสอบของผูช้ านาญงานจากบริษัทผูผ้ ลิตและให้แจ้งปริมาณ การใช้
ผลิตภัณฑ์พร้อมทัง้ ใบรับประกันคุณภาพ อยู่ในระดับความปลอดภัยที่กาหนด โดยกองควบคุมวัตถุมีพิษ สานักงาน
คณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข คุณภาพสารเคมีท่ใี ช้กาจัดและป้องกันปลวกใต้ดินที่ใช้ในงานไม่ต่ากว่า 5 ปี
และต้องผ่านกรรมวิธีการทดสอบประสิทธิภาพและคุณภาพของส่วนวิจยั และพัฒนาผลิตผลป่ าไม้ สานักวิชาการป่ าไม้ กรมป่ าไม้
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึง่ จะต้องมีมาตรฐานความปลอดภัย LD50 ทางปาก (หนู)  2000 มก. / กก.
LD50 ทางผิวหน้า (หนู)  2000 มก. / กก.
- วัสดุท่ใี ช้ กาหนดใช้ท่อ PVC. , ท่อ PE สีดา Ø 1/2” หัวฉีดพ่นนา้ ยาวัสดุ PVC. แค้มยึด ท่อใช้วสั ดุ PVC. หรือ
อลูมิเนียมชุบ (ตะปูสแตนเลส หรือเหล็กเคลือบด้วยสังกะสี ทนต่อการกัดกร่อนใน CLSSS II) นา้ ยาเคมีท่ใี ช้ คือ นา้ ยาประเภท
ALPHACYPERMETHRIN หรือ IMIDACLOPRID. หรือ BIFENTHRIN หรือคุณภาพเทียบเท่า โดยการรับรองจาก
คณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) กระทรวงสาธารณสุข เท่านัน้ อัตราส่วนผสมนา้ ยาเคมี และนา้ ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
กรรมวิธี
ผูร้ บั จ้างต้องเตรียมงาน ประสานงานกับฝ่ ายก่อสร้าง เพื่อกาหนดแผนงานกรรมวิธีการติดตัง้ ระยะเวลาดาเนินงาน การ
เตรียมพืน้ ที่ก่อสร้าง ก่อนการอัดนา้ ยากาจัดปลวก ให้ฝ่ายก่อสร้างเก็บเศษไม้ รากไม้ ไม้แบบก่อสร้าง และสิ่งปฏิกลู อื่น ๆ
ออกจากพืน้ ที่ก่อสร้างให้หมด ปรับสภาพพืน้ ดินให้เรียบร้อย ไม่นาดิน หรือทราย เข้า-ออก หลังจากอัดนา้ ยากาจัดปลวก
- การติดตัง้ จะต้องปฏิบตั ิตามคาแนะนาของบริษัทผูผ้ ลิตอย่างเคร่งครัด ภายใต้การควบคุมของผูค้ วบคุม งานขัน้ ตอนใน
การติดตัง้ การติดตัง้ สาหรับอาคารที่ก่อสร้างเรียบร้อยแล้ว จะต้องเจาะรูท่พี นื ้ อาคารและพืน้ คอนกรีต โดยรอบให้ห่างกันจุดละ
ประมาณ 20-30 ซม. แล้วจึงทาการอัดนา้ ยา ที่ได้จากการผสมแล้วตามอัตราส่วนที่ระบุลงไปใต้พนื ้ คอนกรีต นา้ ยาเคมีท่ใี ช้ คือ
นา้ ยาเคมีประเภท FIPRONIL หรือ ALPHACY PERMETRIN หรือคุณภาพเทียบเท่า อัตราส่วนผสมนา้ ยาเคมีและนา้ ตาม
มาตรฐานผูผ้ ลิตโดยเคร่งครัด
- การดาเนินการ การออกแบบ (SHOP DRAWING) ผูร้ บั จ้างต้องออกแบบแสดงแนวท่อนา้ ยากาจัดปลวก
(CHEMICAL PIPE) กาหนดแนวท่อ โดยคานึงถึงโครงสร้างของอาคาร ตาแหน่งความเสี่ยงที่ปลวกจะเข้าสู่อ า ค า ร ไ ด้ เ ช่ น
ห้องนา้ ห้องเก็บของ ท่อชาร์ป เป็ นต้น วัสดุท่ใี ช้ตกแต่งจุดอัดนา้ ยาภายนอกอาคาร ระยะความยาวท่อของแต่ละเส้นระยะหัวฉีด
พ่นนา้ ยาตามแนวท่อ นา้ ยาเคมีท่ใี ช้ ตารางคานวณแรงดันที่ใช้อดั เข้าท่อ, ปริมาณนา้ ยาที่ใช้การอัดเข้าท่อ, เวลาที่ใช้ในการอัด
นา้ ยาเข้าท่อ ต้องระบุไว้ในแบบอย่างชัดเจนเพื่อให้ผใู้ ช้อาคารตรวจสอบหลังนา้ ยาหมดอายุแล้ว และแบบแปลนต้องมีขนาดไม่
เล็กกว่า 1:100 ให้นาเสนอผูอ้ อกแบบ ผูค้ วบคุมงานอนุมตั ิรายการก่อนติดตัง้ งานระบบ ระบบติดตัง้ ท่อ คือ การนานา้ ยาเคมี
ผ่านทางท่อ (CHEMICAL PIPE) ใต้อาคาร และอัดนา้ ยาผ่านทางท่อ โดยใช้เครื่องอัดแรงดันสูง (HIGHT PRESSURE INJECTOR)
ฉีด และพ่นนา้ ยาเคลือบผิวดินใต้อาคาร โดยคานึงถึงเมื่ออาคารก่อสร้างแล้วเสร็จ เป็ นที่เรียบร้อย สามารถป้องกันปลวกได้โดย
เติมนา้ ยาเข้าท่อที่ติดตัง้ ไว้ เพื่อหลีกเลี่ยงการเจาะพืน้ ภายในอาคาร หลังจากประสิทธิภาพของนา้ ยา หมดอายุ

หมวดที่ 2 129/172 งานป้องกัน และกาจัดปลวก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

- หลังจากฝ่ ายก่อสร้างได้เทคานคอดิน ถอดแบบคานเรียบร้อยแล้ว ผูร้ บั จ้างกาจัดปลวกดาเนินงานติดตัง้ ท่อ นา้ ยาตาม


แบบที่ได้อนุมตั ิ (SHOP DRAWING) อย่างเคร่งครัด
- การอัดนา้ ยา ปรับพืน้ ดิน หรือทราย ครัง้ สุดท้ายจนแน่นเรียบร้อยแล้ว แต่ยงั ไม่ตอ้ งเทพืน้ คอนกรีต ให้อดั นา้ ยาเคมีลง
ดินการอัดนา้ ยาเคมีลงดินตามแนวคานคอดินด้านใน ใช้หวั อัดนา้ ยาเคมี (SUB-SOIL PRESSURE INJECTOR) อัดนา้ ยาลง
ใต้พนื ้ ดินให้ห่างจากแนวคานคอดินด้านใน 20 ซม. โดยทิง้ ระยะห่างกันประมาณ 50 ซม. ถึง 1 เมตรต่อจุด ตามแนวยาวของ
คานคอดินด้านใน โดยเน้นหนักบริเวณที่มีความชืน้ สูง เช่น ห้องนา้ ห้องส้วม ปล่องหุม้ ท่อนา้ ทิง้ ท่อระบายนา้ และท่อประปา
เป็ นต้น โดยใช้นา้ ยาเคมีท่ผี สมเสร็จแล้วในปริมาณ 9 ลิตร ต่อทุก ๆ 3 เมตร
- การฉีด และพ่นเคลือบพืน้ ผิวภายในคานคอดินทัง้ หมดใช้หวั ฉีดนา้ ยาเคมี (SURFACE SPRAYER)
ฉีดและพ่นเคลือบพืน้ ผิวดินภายในคานคอดินแบบปูพรมทุก ๆ ตารางเมตร เพื่อให้นา้ ยาเคมีซมึ ลงไปประสานกับนา้ ยาเคมีท่อี ดั
ไว้ในชัน้ ใต้ดินระดับคานคอดินทัง้ หมด โดยใช้นา้ ยาเคมีท่ีผสมเสร็จแล้วในปริมาณ 6 ลิตร ต่อ ทุก ๆ 3 เมตร
- หลังจากปรับพืน้ ที่รอบนอกอาคาร และจัดสวน ผูร้ บั จ้างจะต้องอัดนา้ ยาลงดิน (SUB – SOIL PRESSURE INJECTOR)
รอบอาคารทัง้ 4 ด้าน การอัด และพ่นนา้ ยาเคมีตามแนวคานคอดินด้านนอก ใช้หวั อัดนา้ ยาเคมี (SUB – SOIL PRESSURE
INJECTOR) อัด นา้ ยาล้างใต้พืน้ ดินให้ห่างจากคานคอดินด้านนอก 20 ซม. โดยทิง้ ระยะห่างกัน 50 ซม. ถึง 1 เมตร ต่อจุด
ตามแนวความยาวของคานคอดินด้านนอก โดยใช้นา้ ยาเคมีผสมเสร็จแล้วในปริมาณ 9 ลิตร ต่อ ทุก ๆ 3 เมตร
- การฉีด และพ่นเคลือบพืน้ ผิวรอบนอกอาคาร ใช้หวั ฉีดนา้ ยาเคมี (SURFACE SPRAYER) ฉีด และพ่นนา้ ยา เคลือบ
พืน้ ผิวดินแบบปูพรมทุก ๆ ตารางเมตร ตลอดแนวขอบ 50 ซม. ถึง 1 เมตร โดยรอบตัวอาคาร โดยใช้นา้ ยาเคมีผสมเสร็จแล้วใน
ปริมาณ 6 ลิตร ต่อ พืน้ ที่ 3 ตารางเมตร
- ผูร้ บั จ้างต้องป้องกันผลกระทบจากการใช้สารเคมีขา้ งต้นต่อทรัพย์สิน หรือ บุคคลภายนอกที่อยู่ใกล้เคียง ผลกระทบ
และความเสียหายที่เกิดขึน้ ถือเป็ นความรับผิดชอบโดยตรงของผูร้ บั จ้าง
- ผูร้ บั จ้างต้องแสดงหนังสืออนุญาตการรับจ้างกาจัดปลวก ซึง่ ออกโดยคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มีผลงานที่ผ่าน
มาแสดงต่อผูอ้ อกแบบ และต้องเปิ ดดาเนินการมาแล้วไม่ต่ากว่า 5 ปี นาเสนอต่อผูอ้ อกแบบเพื่อขออนุมตั ิ
- รับรองผลงาน 3 ปี เต็ม วิธีการปฏิบตั ิงานของระบบท่อ CHEMICAL PIPE TREAMENT SYSTEM หากมีปลวกเกิดขึน้
ผูร้ บั จ้างจะต้องให้ผเู้ ชี่ยวชาญไปทาการกาจัดให้โดยเร็ว หลังได้รบั แจ้งภายใน 10 วัน โดยค่าใช้จ่ายทัง้ หมดอยู่ในความ
รับผิดชอบของผูร้ บั จ้าง

หมวดที่ 2 130/172 งานป้องกัน และกาจัดปลวก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.18 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก

Multi-span Glasshouse Proposal

พืน้ ฐานการออกแบบโครงการ
1.1 มาตรฐานก่อสร้าง
《Q/JBAL1-2000 Greenhouse Technical Condition》
《China Greenhouse Structure Design Load Standard》 GB/T18622—2002
《Multi-span Greenhouse Structure》JB/T 10288-2001
《Greenhouse Electric Layout Design Criterion》JB/T 10296-2001
《Greenhouse Engineering Terms》JB/T 10292-2001
《Greenhouse Ventilation & Cooling Design Criterion》GB/T 18621-2002
PKPM (STS) Software Modeling

1.2 สภาพอากาศประเทศไทย
ภูมิอากาศของไทยเป็ นแบบเขตร้อนหรือแบบสะวันนา มีอณ ุ หภูมิเฉลี่ย 18-34 °C และมีปริมาณฝนตกเฉลี่ย ตลอด
ปี กว่า 1,500 มิลลิเมตร สามารถแบ่งได้เป็ น 3 ฤดูกาล: ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนเมษายนเป็ นฤดูรอ้ น ระหว่างเดือน
พฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมเป็ นฤดูฝน ประเทศไทยได้รบั อิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากทะเล จีนใต้และพายุหมุน
เขตร้อน ส่วนในเดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนมีนาคมเป็ นฤดูหนาว ประเทศไทยได้รบั อิทธิพลจาก ลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือจากประเทศจีน ส่วนภาคใต้มีสภาพอากาศแบบป่ าดงดิบ ซึง่ มีอากาศร้อนชืน้ ตลอดทัง้ ปี จึงสามารถแบ่ง
ออกได้เป็ น 2 ฤดู คือ ฤดูฝนและร้อน โดยฝั่งทะเลตะวันออก ฤดูรอ้ นเริ่มตัง้ แต่เดือนพฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน และฝั่งทะเล
ตะวันตก ฤดูรอ้ นเริ่มตัง้ แต่เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนเมษายน

หมวดที่ 2 131/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

1.3 ลักษณะ และวัตถุประสงค์การใช้งานของโรงเรือน


โรงเรือนทดลอง มีพนื ้ ที่ใช้งานตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ดังนี ้
โรงเรือนทดลอง
1.1 โรงเรือนทดลองฯ จานวน 5 หลัง สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ในช่วงระหว่าง 24 องศาเซลเซียส +/- 1 องศา
เซลเซียสโดยระบบควบคุมอุณหภูมิแบบปรับอากาศ
1.2 โรงเรือนทดลองฯ จานวน 1 หลัง สามารถควบคุมอุณหภูมิได้ในช่วงระหว่าง 40 องศาเซลเซียส +/- 1 องศา
เซลเซียสโดยระบบควบคุมอุณหภูมิดว้ ยเครื่องปรับอากาศ
รู ปแบบอาคาร
1. โรงเรือนเพาะชาสาเร็จรูป ยึดติดด้วยน๊อตและสกรูสามารถต้านทานกาลังลมไม่นอ้ ยกว่า 120 กม. / ชั่วโมง และ
นา้ ฝนที่ 150 มม. / ชั่วโมง
2. โรงเรือนเพาะชาสาเร็จรูปโครงสร้างทัง้ หมดทาจากเหล็กชุบกัลวาไนท์
A. Four Side Post: □ 200×200×6mm hot dipped galvanized square tube;
B. Inside Post: □ 200×200×4mm hot dipped galvanized square tube;
C. Sub Post: □200×100×4mm hot dipped galvanized square tube;
D. Combined Beam: □100×50×3mm hot dipped galvanized rectangular tube;
E. Purlin: □60×40×2mm hot dipped galvanized rectangular tube;
F. Gable Main pole: C80×40×2mm hot dipped galvanized Steel;
G. Side horizontal pole: C80×40×2mm hot dipped galvanized Steel;
H. Cross Brace: □200×100×4mm hot dipped galvanized steel tube and φ12 Steel bar;
I. Condensation Gutter: Galvanized steel B=0.75mm, "几"-model.
J. Rain-water Drainage Gutter: Hot galvanized curve steel with 2.5mm thickness, enlarged
section area for massive drainage, 2.5‰ foundation slope, including rainwater drainage Ф110 PVC
pipes matched with the gutter size.

หมวดที่ 2 132/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

มาตรฐานการชุบกัลวาไนท์:
a. ท่อกลม, ชุบกัลวาไนท์หนา 40 μm. (300g/sqm)
b. ท่อเหลี่ยม (ความหนา < 3 มม.), ชุบกัลวาไนท์หนา 55 μm (400g/sqm).
c. ท่อเหลี่ยม (ความหนา ≥ 3 มม.), ชุบกัลวาไนท์หนา 70 μm (510g/sqm).

รางรับนา้ ค้าง
นา้ ค้างที่เกิดขึน้ ในโรงเรือนจะมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ระบบรางรับนา้ ค้าง (anti-drop system) จะ
เป็ นรางสาหรับรับนา้ ค้างที่เกิดขึน้ ภายในโรงเรือนและไหลออกสู่ภายนอกต่อไป โดยรางรับนา้ ค้างรูป “几” ทาจากเหล็กเคลือบ
เคลือบอลูซิงค์

Dew-collect Gutter
วัสดุคลุมหลังคา
• F Clean Diffused type B16SDT
• ในการติดตัง้ แผ่น F Clean Diffused type B16SDT จาเป็ นต้องใช้ Aluminium Profile จาเพาะเพื่อให้โรงเรือนไม่มี
รอยรั่ว และสามารถซ่อมบารุงได้ง่าย
ระบบระบายอากาศธรรมชาติ
• หน้าต่างหลังคา (Roof windows)
• หน้าต่างหลังคาขับเคลื่อนด้วยระบบรางฟั นเลื่อย และมอเตอร์ไฟฟ้า
• ควบคุมการทางานผ่านระบบ Climate Control
• ช่วยให้ระบายอากาศร้อนภายใน ลดความชืน้ และทาให้ภายในโรงเรือนเย็น
• หน้าต่างหลังคาประกอบด้วยโครงอลูมิเนียม และแผ่น F Clean Diffused type B16SDT ขนาด 2 ม. x 1 ม. (ยาว xกว้าง)
• มีมงุ้ กันแมลงด้านใน เพื่อป้องกันแมลงขณะที่หลังคาเปิ ดออก
• การติดตัง้ ต้องคานึงถึงวิธีการดูแลรักษาที่สะดวก

Roof Window Allocation

หมวดที่ 2 133/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

มอเตอร์ขับเคลื่อนหลังคาและ ม่านพรางแสง
• เป็ นมอเตอร์ทดกาลังขนาด 0.37KW, 380V, 50Hz
• สามารถกาหนดระยะการทางานด้วยเกลียว เพื่อบังคับสวิทช์ ให้มอเตอร์หยุดทางาน

ตาข่ายกันแมลง
ตาข่ายกันแมลง 30 mesh (ทุกๆ 1 ตร.นิว้ มี 30 ตา) เพื่อป้องกันแมลงและสิ่งสกปรกต่างๆ เข้าสูโ่ รงเรือน
ระบบพรางแสงภายนอก
ระบบพรางแสงภายนอกมีประโยชน์มากในหน้าร้อน โดยจะช่วยสะท้อนแสงอาทิตย์ท่มี ากเกินไป ลดแสงแดดและ
ความร้อนที่กระทบลงบนโครงสร้างโรงเรือน
• ระบบขับเคลื่อน: ขับเคลื่อนด้วยรางเหล็กฟั นเลื่อย และมอเตอร์ไฟฟ้า
• การควบคุม: สามารถควบคุมโดยการกดปุ่ มที่แผงควบคุม หรือควบคุมด้วยระบบ Climate control จากการ
กาหนดเวลา เปิ ด-ปิ ด, กาหนดจากอุณหภูมิ และความเข้มของแสง
• การติดตัง้ และจับยึดแผ่นพลางแสง: แผ่นพลางแสงจะถูกติดตัง้ และประคองโดยใช้เส้นเอ็นสีใส และติดตัง้ กับราวจับ
อลูมิเนียม เพื่อดึงรัง้ ให้สามารถเปิ ด-ปิ ด ได้
• คุณสมบัติของแผ่นพรางแสง: Black- monofilament outside shading curtain สามารถพรางแสงได้ ไม่นอ้ ยกว่า
55% มีอายุการใช้งานไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี

หมวดที่ 2 134/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ระบบพรางแสงภายใน
ระบบพรางแสงภายในมีประโยชน์มากในหน้าร้อนและหนาว ในหน้าร้อนจะช่วยสะท้อนแสงอาทิตย์ท่มี ากเกินไป ใน
หน้า หนาวจะช่วยกันรังสีอินฟราเรดไว้ภายในโรงเรือน ลดการสูญเสียพลังงาน, รักษาระดับความชืน้ , ลดการให้ปยุ๋ และเพิ่ม
คุณภาพ ของพืช
• ระบบขับเคลื่อน: ขับเคลื่อนด้วยรางเหล็กฟั นเลื่อยและมอเตอร์ไฟฟ้า
• การควบคุม: สามารถควบคุมโดยการกดปุ่ มที่แผงควบคุม หรือควบคุมด้วยระบบ Climate control จากการ
กาหนดเวลา เปิ ด-ปิ ด, กาหนดจากอุณหภูมิ และความเข้มของแสง
• การติดตัง้ และจับยึดแผ่นพลางแสง: แผ่นพลางแสงจะถูกติดตัง้ และประคองโดยใช้เส้นเอ็นสีใส และติดตัง้ กับราวจับ
อลูมิเนียม เพื่อดึงรัง้ ให้สามารถเปิ ด-ปิ ด ได้
• คุณสมบัติของแผ่นพรางแสง: แผ่นพรางแสงแบบอลูมิเนียมสีเงิน สลับกับแถบใส สามารถพรางแสงได้ ไม่นอ้ ยกว่า
55% และมีคณ ุ สมบัติในการลดการใช้พลังงานไม่นอ้ ยกว่า 57% มีอายุการใช้งานไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี

ระบบพรางแสงแบบ Black out shading


ระบบพรางแสงภายในเพื่อควบคุมวันสัน้ และวันยาว ในแต่ละฤดูกาล ให้เหมาะสมกับพืชที่ทาการทดลอง
• ระบบขับเคลื่อน: ขับเคลื่อนด้วยรางเหล็กฟั นเลื่อยและมอเตอร์ไฟฟ้า
• การควบคุม: สามารถควบคุมโดยการกดปุ่ มที่แผงควบคุม หรือควบคุมด้วยระบบ Climate control จากการ
กาหนดเวลา เปิ ด-ปิ ด, กาหนดจากการตัง้ เวลาเวลา
• การติดตัง้ และจับยึดแผ่นพลางแสง: แผ่นพลางแสงจะถูกติดตัง้ และประคองโดยใช้เส้นเอ็นสีดา และติดตัง้ กับราวจับ
อลูมิเนียม เพื่อดึงรัง้ ให้สามารถเปิ ด-ปิ ด ได้
• คุณสมบัติของแผ่นพรางแสง:
o แผ่นพรางปิ ดแสง สาหรับหลังคา เป็ นชนิด Double-layer black out curtain: aluminium/black film+black
film/black film, shading rate 99%
o แผ่นพรางปิ ดแสง สาหรับผนัง และกัน้ ห้อง เป็ นชนิด Single-layer blackout curtain made by aluminium one
side and opposite side with speical white coat, shading rate 99%
o อายุการใช้งาน 5 ปี

พัดลมระบายเวียนอากาศ
• ขนาดมาตรฐาน :1,380 มม.×1,380 มม.×400 มม.
• เส้นผ่าศูนย์กลางใบพัดไม่ต่ากว่า 1,250 มม.
• ปริมาณลม: 45,000 m3/ ชั่วโมง
• กาลังไฟฟ้า: 380V, 1.1KW.

พัดลมหมุนเวียนอากาศ / กวนอากาศ
พัดลมหมุนเวียนอากาศช่วยเพิ่มความสม่าเสมอของ
อุณหภูมิ ความชืน้ และความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ภาย ในโรงเรือน

หมวดที่ 2 135/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ระบบแสงอาทิตย์เทียม
ในช่วงหน้าฝนหรือในเวลากลางคืนสามารถให้แสงอาทิตย์เทียมกับพืชได้เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืช

หลอดไฟแสงอาทิตย์เทียม แบบ Biotechnology sodium lamp with electronic


ballast.

คุณลักษณะ:
Rated Bulb: 1
Power: 1,000W
Bulb Type: HPS
Rated Voltage: 220-240V 50/60Hz (AC)
Interior input Power: 640W
Ambient Temperature: -20 - +40°C
Max. Shell Temperature: 75°C
Intensity

Spectral Energy Distribution

Wave Length (mm)

ระบบควบคุมอัตโนมัติ (Climate Automatic Control System)

ระบบควบคุมอัตโนมัติ (เอกสารรายละเอียดจาก Sercom Holland)


ระบบควบคุมสภาพแวดล้อมภายในโรงเรือน ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สามารถแสดงผล และตัง้ ค่า ผ่าน
คอมพิวเตอร์แบบตัง้ โต๊ะ และเชื่อมต่อกับระบบ Internet สามารถควบคุมได้จากอุปกรณ์เคลื่อนที่เช่น Smart phone หรือ Ipad ได้

ระบบควบคุมสามารถควบคุม
• อุณหภูมิ โดยการส่งสัญญาณไปยังเครื่องปรับอากาศ
• ความชืน้ โดยการ เปิ ด และปิ ดระบบพัดลมกวนอากาศ
• แสง โดยการ เปิ ด และ ปิ ด ม่านพรางแสง หรือ แสงไฟสาหรับพืช
• วันสัน้ วันยาว โดยการ เปิ ด และปิ ด Black out shading
• ระบบการให้นา้ และ ให้ปยุ๋ แบบ mixing Tank.
• การควบคุมแยกอิสระ เป็ น 6 โรงเรือน
หมวดที่ 2 136/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

• ระบบพรางแสงภายนอก แยกออกเป็ น 2 โซน ( 1 โซน ต่อ 3 โรงเรือน)

มีอปุ กรณ์ประกอบเครื่อง ดังนี ้

Units Main Cabinet SC800


1 Cabinet
1 Main Processor Print
1 Mainboard
1 24 V AC Power Supply
1 2 Poles 10A Circuit Breaker
1 FastLink Xtender Cabinets
1 FastLink Analog Input Print
5 FastLink Relay Output Input Print

Sensors
Units
1 Meteo Station Mast
1 Rain Sensor
1 Wind Speed Sensor
1 Wind Direction Sensor
1 Radiation Sensor (0 to 1500 W/m2)
1 Outside Temperature Sensor

Climate Sensors
Units
6 Electronic Temperature and Humidity Sensors
6 CO2 Sensors (optional)

Irrigation Sensors
Units
2 EC Sensors for Irrigation Units
2 pH Sensors for Irrigation Units
1 EC,PH and flow amplifiers for Irrigation Units

หมวดที่ 2 137/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

Total Capacity of System


Units
32 Analog Inputs (0-5 V, Resistor, PT500)
16 Digital outputs
80 Relay Outputs
8 Digital inputs NO 24 V DC
1 Free Potential Contact for Alarm

Customized Configuration Summary (CLIMATE)

Total General
1 Basic software license
1 Outside radiation measurement

Total
Blocks 1 2 3 4 5 6
1
6 Block including Temperature and Humidity. 1 1 1 1 1 1

Total
Screen Control 1 2 3 4 5 6
1
6 Screen control for Shading/Energy 1 1 1 1 1 1
Total
Screen Control 1 2 3 4 5 6
1
6 Screen control for Blackout 1 1 1 1 1 1

Total
Recirculation Fans Control 1 2 3 4 5 6
1
3 Recirculation fans control 1 1 1 1 1 1

Total
Air Conditioning Control 1 2 3 4 5 6
1
6 Control for Cooling on/off 1 1 1 1 1 1

Total
Assimilation Lights 1 2 3 4 5 6
1
6 Control for Assimilation Lights 1 1 1 1 1 1

หมวดที่ 2 138/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

Total
Ventilation Group 1 2 3 4 5 6
1
6 Single ventilation for roof ventilation 1 1 1 1 1 1

Total
Fogging Group 1 2 3 4 5 6
1
6 Control for fogging valve and pump 1 1 1 1 1 1

Customized Configuration Summary (WATER)

Total
Irrigation Zones 1 2 3 4 5 6
1
6 Irrigation zones in order to group the Irrigation valves 1 1 1 1 1 1

Total
Valves 1 2 3 4 5 6
1
6 Irrigation Valves 1 1 1 1 1 1

Total
EC Control 1
1
1 EC Dosing control for the units with 4 fertilizers 1

Total
pH Control 1
1
1 Acid Dosing for the units 1

Total
Irrigation Units 1
1
1 System pump, filling pump and filter control 1

หมวดที่ 2 139/172 งานโรงเรือนทดลองแบบกระจก


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.19 งานเฟอร์นิเจอร์

1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างที่มีความชานาญในการทางานเฟอร์นิเจอร์
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาวัสดุท่มี ีคณ ุ ภาพได้มาตรฐาน และถูกต้องตามรายละเอียดที่ ผูอ้ อกแบบกาหนด
1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอตัวอย่างวัสดุ อุปกรณ์ ให้ผอู้ อกแบบอนุมตั ิก่อนดาเนินงาน
1.4 ผู้รับ จ้า งต้อ งเสนอตัว อย่ า งชิ น้ งาน เช่ น คิ ว้ บัว เฟอร์นิ เจอร์ล อยตัว หรือ ชิ น้ งานที่ ผู้อ อก แบบก าหนด ส่ ง ให้
ผูอ้ อกแบบอนุมตั ิก่อนทาจริง
1.5 ผูร้ บั จ้างต้องเสนอตัวอย่างวัสดุทาผิวตามที่ระบุในแบบหรือตามที่ผอู้ อกแบบกาหนดให้ภายหลัง ส่งให้ผอู้ อกแบบ
อนุมตั ิก่อนทาจริง
2. ข้อกาหนดงานเฟอร์นิเจอร์
2.1 งานไม้
2.1.1 คุณภาพของไม้
ไม้ท่ีนามาใช้ในงานตกแต่งต้องคัดแล้ว ไม่มีรอยบิ่น แตกร้าว บิดงอ ไม่มีตาไม้ หรือกระพีไ้ ม้ หรือตาหนิอ่ืน ๆ
และต้องเป็ นไม้ท่ผี ่านการอบหรือผึ่งให้แห้งสนิท ไม่เกิดปั ญหาจากการยืดหด บิดงอ ในภายหลัง
2.1.2 ชนิดของไม้
โครงเฟอร์นิ เจอร์ท่ ัวไป ใช้ไม้ข นาด 1” x 2” ยกเว้น ที่ ระบุเป็ นอย่างอื่น ในส่ วนที่ เป็ น โครงภายนอก หรื อ
สามารถมองเห็นได้จากภายนอก ให้ใช้ไม้สกั หรือไม้เนือ้ แข็งชนิดอื่น ๆ ตามที่ระบุ และไม้ท่ีใช้ตอ้ งสามารถ
ย้อมสีให้เป็ นสีเดียวกันได้ ยกเว้นที่ระบุเป็ นอย่างอื่น ในส่วนที่เป็ นโครงภายใน หรือไม่สามารถมองเห็นไป
จากภายนอก หรือไม้เนือ้ แข็ง ให้ใช้ไม้ ยมหอมหรือไม้ตะเคียนทอง วัสดุท่ีกรุในส่วนภายนอกหรือสามารถ
มองเห็นได้ชดั ให้ใช้ไม้อดั สักหนา 4 มม. ส่วนที่รบั นา้ หนักหนา 6 มม. หรือที่ระบุเป็ นอย่างอื่น ส่วนการกรุไม้
ภายในตู้ หรือส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นให้ใช้ไม้อดั ยางหนา 4 มม. ในส่วนที่ตอ้ งรับนา้ หนักให้ใช้หนา 6 มม.
หรือที่ระบุเป็ นอย่างอื่น ๆ
2.1.3 ขนาดของไม้
ขนาดที่ระบุไว้ในรู ปแบบและรายการประกอบแบบ คือ ขนาดของไม้ท่ียังไม่ได้ไสเรียบและการนาไม้ท่ีไส
เรียบทัง้ หมดมาใช้ ขนาดต้องไม่เล็กกว่าที่ระบุเกิน 4 มม. หรือตามข้อกาหนดงานไม้ ไม้ท่อนใดที่มีนา้ หนัก
เบาหรือเปราะห้ามนามาใช้เด็ดขาด
2.2 งานประกอบ ยึด หรือติดตัง้ โครงไม้
การติดตัง้ โครงไม้ทงั้ หมดนัน้ ต้องตัง้ แนวให้ได้ระดับและฉาก ทัง้ แนวตัง้ และแนวนอนตามที่กาหนด ระยะห่างของ
โครงไม้ ไม่เกินกว่า 0.40 ม. นอกจากระบุเป็ นอย่างอื่น การเข้าไม้ตอ้ งเข้าเดือยเข้ามุมห้ามใช้วิธีตีชนเป็ นอันขาด
กรณีท่ีจะต้องต่อไม้ให้ต่อที่แนวแบ่งช่วง ห้ามต่อในส่วนกลางของการแบ่ง นอกจากการต่อแบบบังใบ และเข้ามุม
รอยต่อสนิทเป็ นผิวเดียวกัน สาหรับกรณีท่ีตอ้ งติดตัง้ ชิดผนังให้ใช้เชือกขึงทดสอบความเรียบร้อยของผนัง และควร
ปรับแนวของผนังให้เรียบร้อยก่อนยึดโครงกับผนังปูน หรือผนังคอนกรีต ระยะห่างไม่เกินกว่า 0.40 ม. ก่อนตอกให้
เจาะรูก่อนที่จะตอกและส่งหัวตะปูให้สนิทได้ระดับกับผิวไม้ยกเว้นที่ระบุไว้เป็ นอย่างอื่น

หมวดที่ 2 140/172 งานเฟอร์นิเจอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.3 การแบ่งช่วงหรือระยะต่าง ๆ
ผูร้ บั จ้างต้องทาการตรวจสอบระยะต่าง ๆ ของสถานที่ติดตัง้ หรือเครื่องใช้ท่จี ะต้องติดตัง้ ในงานเฟอร์นิเจอร์ก่อนเริ่ม
ดาเนินการประกอบ และติดตัง้ การแบ่งช่วงโครงแนวตัง้ ของเฟอร์นิเจอร์ให้ยึดถือระยะที่ได้ตรวจสอบจากสถานที่
และเครื่องใช้ต่าง ๆ ในแนวในการแบ่ง หากถูกต้องตรงกับช่วงที่กาหนดในแบบและรายการ และสามารถบรรจุหรือ
ติดตัง้ เครื่องใช้ท่ีกาหนดได้ ผูร้ บั จ้างสามารถดาเนินการต่อไปได้ ในกรณีท่ี ไม่สามารถแบ่งช่วงได้ตามแบบเนื่องจาก
ติดปั ญ หาอันเกี่ ยวเนื่ องกับงานอื่นๆ เช่นงานระบบไฟฟ้า งานระบบปรับอากาศ ให้ปรึกษากับผูอ้ อกแบบก่อน
ดาเนินงาน หากมีขอ้ บกพร่อง หรือเสียหายอันเนื่องมาจากการที่ไม่ได้ตรวจสอบขนาดดังกล่าว ผูร้ บั จ้างต้องยินดีท่ี
จะแก้ไขจนกระทั่งเป็ นที่พอใจของผูอ้ อกแบบและเจ้าของโครงการ โดยจะเรียกร้องค่าเสียหายใด ๆ มิได้
2.4 การเข้ามุมและการเข้าเดือยต่าง ๆ
การเข้าไม้หรือเข้ามุมต่าง ๆ ของการตกแต่งต้องสนิทและได้ฉาก หรือได้ระดับแนวดิ่งและแนวตัง้ การเข้าไม้หรือเข้า
เดือนเข้ามุมต้องดาเนินการอย่างประณีตทุกจุด ต้อ งอัดแน่นด้วยกาวที่ใช้กบั งานไม้โดยเฉพาะ ห้ามเจือปนสารอื่น
ที่ทาให้ประสิทธิภาพของกาวเจือจาง เช่น นา้ หรือนา้ มันต่างๆ การเข้าเดือยทุกอันต้องมีขนาดไม่ต่ากว่า 3 / 8” หรือ
ครึง่ หนึ่งของหน้าตัดไม้อดั ด้วยกาวลาเท็กซ์ไว้จนกว่ากาวจะแห้งสนิท การตอกตะปูท่มี ีความยาวกว่า 1” ให้ใช้สว่าน
เจาะนาก่อนและต้องตอกด้วยตะปูตัด หรือทุบหัว และส่งให้จมในเนื อ้ ไม้ก่อนที่จะอุดหัวตะปู การตอกอย่าให้
ปรากฏรอยค้อนที่พนื ้ ผิวได้
2.5 การกรุผิวหน้า
2.5.1 ไม้อดั /ไม้อดั ผิววีเนียร์
- ไม้อดั ที่ใช้ให้มีคณ
ุ ภาพมาตรฐาน มอก. 178-2538 แผ่นไม้อดั เกรดเอคัดลาย หรือคุณภาพเทียบเท่า
- การกรุ ผิวหน้างานเฟอร์นิเจอร์ดว้ ยไม้อัด การเข้าไม้ให้ใช้กาวทาที่โครงและส่วนที่จะยึดติดก่อนด้วย
ตะปู หรือตัดหัวและส่งให้ลึกลงไปในเนือ้ ไม้ การตอกตะปูตอ้ งทาด้วยความประณีต ไม่มีรอยหัวค้อน
ปรากฏที่ผิวระยะตอกตะปู ต้องห่างไม่เกิน 20 ซม. และต้องอัดแนวต่อไว้จนกว่ากาวจะแห้งสนิท ใน
กรณีท่ีตอ้ งทาการต่อไม้อดั ตามแนวยาวเกินกว่า 2.40 เมตร ให้กรุไม้โดยวางลายขวางตามความหนา
ของตู้
2.5.2 MDF Board
- MDF Board ให้ใช้ตามที่ระบุในแบบ มีคณ ุ ภาพมาตรฐาน ตามมาตรฐานผูผ้ ลิต
- การกรุผิวด้วย MDF Board ให้ใช้กาวทาที่โครงและส่วนที่จะยึดติดก่อนด้วยตะปู หรือตัดหัวและส่งให้
ลึกลงไปในเนือ้ ไม้ การตอกตะปูตอ้ งทาด้วยความประณีต ไม่มีรอยหัวค้อนปรากฏที่ผิวระยะตอกตะปู
ต้องห่างไม่เกิน 20 ซม. และต้องอัดแนวต่อไว้จนกว่ากาวจะแห้งสนิท
2.5.3 แผ่นพลาสติกลามิเนต
- แผ่ น พลาสติ ก ลามิ เนต ใช้ค วามหนาไม่ ต่ า กว่ า 0.7 มม. ผิ ว สี แ ละลายตามที่ ผู้อ อกแบบก าหนด
ผลิตภัณฑ์ Formica หรือ Wilsonart หรือ Lamitak หรือ Greenlem หรือ Perstop หรือตามที่ระบุในแบบ
- ก่อนดาเนินการให้ตรวจสอบส่วนที่จะกรุ และตัดแต่งแผ่นพลาสติกลามิเนตให้ได้ขนาด แล้วทาความ
สะอาดส่วนที่จะกรุ ปั ดเศษฝุ่ นผงตามซอกมุมออกให้หมดก่อนที่จะทากาวยางที่ผิวส่วนที่ประกบติดกัน
และอัดติดแน่น อย่าให้มีฟองอากาศหรือเป็ นคลื่น และอัดด้วยแม่แรง สิ่งกดทับอื่นๆ จนกาวแห้งสนิท
และแต่งขอบลบมุมเล็กน้อย ในกรณีท่ีมีการเข้ามุมให้ส่วนที่อยู่ดา้ นบนทับส่วนที่อยู่ดา้ นล่าง และอัด
ขอบให้แน่นจนกาวแห้งสนิท แล้วจึงแต่งมุมสาหรับรอยต่อของแผ่นพลาสติกที่มีความยาวเกิน 2.40 ม.

หมวดที่ 2 141/172 งานเฟอร์นิเจอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ให้ต่อที่ส่วนกลางของตูห้ รือแบ่งส่วนเป็ นตู้ 3 ส่วน 4 ส่วน หรือตามแนวกึ่งกลางของการแบ่งช่วงตู้ และ


การต่อต้องตรงกันทัง้ ส่วนบนและส่วนล่าง
2.5.4 แผ่น Stainless Steel
- สเตนเลส เกรด 304 ความหนาไม่ ต่ า กว่ า 1 มม. หรื อ ตามที่ ร ะบุ ใ นแบบผิ ว สี และลายตามที่
ผูอ้ อกแบบกาหนด
- แผ่น Stainless Steel ที่ใช้จะต้องราบเรียบสม่าเสมอก่อนติดตัง้ ต้องปรับแต่งส่วนที่จะทาการกรุผิว ให้
ลบมุมส่วนที่เป็ นเหลี่ยม ส่วนวิธีการติดตัง้ เหมือนข้อ 5.3 แต่ให้พับซ่อนขอบแผ่น Stainless Steel ให้
เรียบร้อย ผิว Stainless Steel ต้องเรียบไม่เป็ นคลื่น แนว สันต้องตรงรอยเชื่อมต่อต่าง ๆ ให้ขดั หรือปั ด
ให้เรียบเป็ นผิวเดียวกัน
2.5.5 เหล็ก
- ความหนาและหน้าตัดของเหล็กที่ใช้ให้เทียบเคียงขนาดที่ระบุ และปรับได้ตามขนาดเหล็กในท้องตลาด
ที่มีขนาดเทียบเท่า หรือใกล้เคียงกันที่สดุ และส่งตัวอย่างให้ผอู้ อกแบบอนุมตั ิก่อนดาเนินการ
- การเชื่อมต่อช่างเชื่อมจะต้องใช้ช่างที่มีความชานาญ ผิวหน้าที่จะเชื่อมต้องสะอาดปราศจากตะกรัน
สนิมไขมัน สีและวัสดุแปลกปลอมอื่น ๆ ที่จะทาให้เกิดผลเสียหายต่อการเชื่อม และภายหลังการเชื่ อม
แล้วจะต้องทาการตกแต่งจุดเชื่อมให้เรียบร้อยได้ผิวเรียบเนียนไม่เป็ นตามด
2.5.6 กระจก
- ใช้กระจกผลิตภายในประเทศ มีคณ ุ สมบัติตามมาตรฐาน มอก. 54-2516 ผลิตภัณฑ์ กระจกไทยอา
ซาฮี TGSG หรือเทียบเท่า
- สาหรับบานเปิ ดและบานเลื่อนทั่วไปใช้ความหนา 3/16 นิว้ หรือตามที่ระบุในแบบ ขัดแต่งขอบหรือ
เจียรปรีให้เรียบร้อยตลอดตามที่ระบุในแบบ
- สาหรับชัน้ ปรับระดับทั่วไปใช้ความหนา 3/8 นิว้ หรือตามที่ระบุในแบบ เจียรขอบโดยรอบให้เรียบร้อย
2.5.7 หินอ่อน/ หินแกรนิต
- ใช้ความหนาไม่ต่ากว่า 18 มม. หรือตามที่ระบุในแบบผิว สี และลายตามที่ผอู้ อกแบบกาหนดและให้
ส่งตัวอย่างเพื่อขออนุมตั ิจากผูอ้ อกแบบก่อนดาเนินงาน
- การกรุผิวด้วยหินอ่อน / หินแกรนิต แผ่นหินที่จะนาไปใช้จะต้องทาความสะอาด แล้วทาด้วยนา้ ยา เคมี
กันซึมทุกด้าน แต่ไม่ทาให้ผิวของหินเปลี่ยนสี การกรุ จะต้องใช้กาวพิเศษโดยเฉพาะตามมาตรฐาน
จากนัน้ ให้ทาความสะอาดผิวหิน แล้วลง Wax ให้ท่วั 1 ครัง้
2.6 บานเปิ ด บานเลื่อน และลิน้ ชักต่าง ๆ
กรอบบานเปิ ด บานเลื่อน และหน้าลิน้ ชักที่มองเห็นจากภายนอกทัง้ หมด ถ้าไม่ได้ระบุไว้ในแบบ ให้ใช้ไม้อดั สักหรือ
ไม้กรุขนาดตามที่ระบุในแบบและรายการ ไม้พืน้ ลิน้ ชักเป็ นไม้อดั ยางความหนาอย่างน้อย 6 มม. ตูบ้ านเปิ ดทุกตูต้ ิด
มือจับบานและกลอนลิน้ ชักรางเลื่อนตามแบบและรายการ บานเลื่อนใช้อปุ กรณ์รางเลื่อน ล้อเลื่อน กุญแจล็อคตาม
แบบและรายการ

หมวดที่ 2 142/172 งานเฟอร์นิเจอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.7 การดาเนินการติดตัง้ เฟอร์นิเจอร์ติดผนัง


ในการประกอบเฟอร์นิเจอร์ติดผนังที่โรงงานช่วงระยะต่าง ๆ ผูร้ บั จ้างต้องเตรี ยมเผื่อการตัดเข้ามุมกับสถานที่ก่อนที่
จะติดตัง้ หากเฟอร์นิเจอร์ท่จี ะติดตัง้ บังอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือต้องติดตัง้ อุปกรณ์ใด ๆ ผูร้ บั จ้างต้องเคลื่อนย้ายหรือปรับ
อุปกรณ์ต่าง ๆ ไว้บนเฟอร์นิเจอร์ติดผนังในตาแหน่งที่เหมาะสม ให้ผรู้ บั จ้างปรึกษาผูอ้ อกแบบก่อนการดาเนินการ
ประกอบงานเฟอร์นิเจอร์ทงั้ หมด
2.8 งานไฟฟ้าและโทรศัพท์ในเฟอร์นิเจอร์
การเดินสายไฟฟ้า และ/หรือ สายโทรศัพท์ในเฟอร์นิเจอร์ให้ดรู ายละเอียดในแบบงานระบบและปรึกษาผูอ้ อกแบบ
ก่อนดาเนินการประกอบงานเฟอร์นิเจอร์ทงั้ หมด

หมวดที่ 2 143/172 งานเฟอร์นิเจอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานสีและการทาผิวเฟอร์นิเจอร์

1. ขอบเขตของงาน
งานสีและการทาผิวหมายถึง การพ่น การลงขีผ้ ึง้ การทาแชลแลค การย้อมสี การทานา้ มันต่าง ๆ ตลอดจนงานตกแต่งอื่น
ที่มีลกั ษณะคล้ายคลึงกันยกเว้นส่วนที่กาหนดให้เป็ นวัสดุอ่นื
1.1 ประเภทของสี
1.1.1 สีนา้ มันทาหรือพ่นผิวไม้หรือโลหะต่าง ๆ
1.1.2 แชลแลคและนา้ มันที่ทาหรือพ่นบนผิวไม้
1.1.3 สีอ่นื ๆ จะระบุเพิ่มเติมไว้เฉพาะงานหรือเป็ นพิเศษเฉพาะแห่ง
1.2 การเตรียมงานและรองพืน้
1.2.1 งานไม้ / ไม้อดั / MDF Board
ส่วนที่เป็ นไม้จะต้องให้แห้งสนิท ปั ดฝุ่ นผงเศษวัสดุต่าง ๆ ให้ปราศจากรอยสกปรกหรือคราบนา้ มัน ยา้ หัว
ตะปูให้จมลงไปในเนือ้ ไม้และอุดรูรอยต่อต่าง ๆ ให้เรียบร้อยใช้กระดาษทรายขัดผิวไม้ให้เรียบร้อยก่อนลงสี
รองพืน้ ถ้าเป็ นเฟอร์นิเจอร์ท่ีทาสาเร็จจากโรงงานต้องทาสีรองพืน้ หรือทาสีในชัน้ แรกก่อนที่จะนามาติดตัง้ ที่
หน่วยงาน
1.2.2 งานโลหะ
จะต้องทาความสะอาดผิวโลหะให้ปราศจากสนิม ฝุ่ นละอองต่าง ๆ หรือสิ่งสกปรกต่าง ๆ โดยใช้กระดาษ
ทรายหรือแปรงลวดขัดและล้างด้วยนา้ ยากันสนิมเช็ดให้แห้ง ด้วยผ้าสะอาดก่อนที่จะทาสีรองพืน้ เรดอ๊อก
ไซด์หรือดาเนินการทาสีหรือแต่งผิวตามที่ระบุในแบบและรายการประกอบแบบ
2. การดาเนินงาน
การดาเนินงานสีหรือทาผิวทั่วไป ให้ปฏิบตั ิตามหัวข้อต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้
2.1 สภาพดินฟ้าอากาศที่ไม่เหมาะในการทาสี
ผูร้ บั จ้างจะต้องไม่ทาสีหรือผิวในขณะที่มีดินฟ้าอากาศไม่เหมาะ เช่น ในวันที่อากาศชืน้ หรือมีฝนตก ห้ามทาสีใน
บริเวณที่ความเปี ยกชืน้ หรือฝุ่ นละอองจับ เมื่อมีการทาสีครัง้ ที่ 2 หรือในการทาสีแต่ละครัง้ ต้องรอให้สีเดิม แห้ง
สนิทเสียก่อน
2.2 ก่อนทาสีทกุ ครัง้ ผูร้ บั จ้างจะต้องปิ ดบริเวณที่ไม่ได้ทาสีอ่นื ให้เรียบร้อยด้วยเทปกาวและแกะออกเมื่อทาสีหรือผิวเสร็จ
แล้ว ผู้รบั จ้างต้องเสนอตัวอย่างสีจริงครัง้ สุดท้ายให้ผู้ออกแบบพิ จารณาก่อนโดยทาบนพื น้ ผิวนั้นๆ เป็ นเนื อ้ ที่
ประมาณ 1 ตร.ม. สาหรับทุก ๆ ผิวพืน้ ที่จะต้องทาสี หากผูร้ บั จ้างดาเนินการไปโดยพลการผลเสียหายที่เกิดขึน้ ผู้
รับจ้างต้องรับผิดชอบในการแก้ไขจนเป็ นที่พอใจแก่ผวู้ ่าจ้างและผูอ้ อกแบบ โดยเป็ นค่าใช้จ่ายของผูร้ บั จ้างเองทัง้ สิน้
และจะขอต่ออายุสญ ั ญาไม่ได้
2.3 การเก็บรักษาสี
การเก็บรักษาสีจะต้องเก็บในที่ไม่อบชืน้ สีทกุ สีท่กี าหนดต้องจัดแยกแต่ละชนิดอย่าให้ปนกัน
3. การย้อมสี, พ่นสีไม้ และพ่นสีโลหะ
หลักการย้อมสีและพ่นสีไม้โดยทั่วไปมีดงั นี ้
3.1 การย้อมสีไม้
3.1.1 ยา้ หัวตะปูตา่ ง ๆ ให้จมลงในเนือ้ ไม้
3.1.2 อุดรอยต่อหัวตะปู มุมต่าง ๆ ด้วย Putty หรือดินสอพองผสมแชลแลค
หมวดที่ 2 144/172 งานสีและการทาสีผิวเฟอร์นิเจอร์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

3.1.3 ขัดผิวให้เรียบด้วยกระดาษทรายหยาบเหมือนครัง้ แรก


3.1.4 ปิ ดเทปกาวกัน้ แนวส่วนที่ไม่ได้ยอ้ มสี
3.1.5 ลงฝุ่ นจีนย้อมผิวและขัดผิวให้เรียบ ตามสีท่ตี อ้ งการ (เฉพาะการทาสีโอ๊ค)
3.1.6 ทานา้ มันหรือสีจริงครัง้ ที่ 1 หากมีรอยขนแปรงหรือผิวไม่เรียบให้ขดั ด้ว ยกระดาษทรายละเอียดแต่งลายและ
รอยต่อต่าง ๆ ให้เรียบร้อย
3.1.7 ทานา้ มันหรือสีจริงครัง้ ที่ 2 หากมีรอยขนแปรงให้ขดั ให้เรียบแล้วลงลูกประคบแต่งสีและลายไม้ให้เรียบร้อย
3.1.8 ทานา้ มันหรือสีจริงครัง้ สุดท้ายก่อนลงลูกประคบ และแต่งสีครัง้ สุดท้ายก่อนที่จะ เคลือบด้วยนา้ มัน เคลือบ
ผิวอีกครัง้
3.2 การพ่นสีไม้ / ไม้อดั
การพ่นสีบนผิวที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอกให้ปฏิบตั ิดงั นี ้
3.2.1 ยา้ หัวตะปูตา่ ง ๆ ให้จมลงในเนือ้ ไม้
3.2.2 อุดหัวตะปูและโป๊ วด้วยสีโป๊ วให้ท่วั บริเวณที่จะพ่นสี ขัดผิวแต่งให้เรียบร้อย
3.2.3 หากมีรอยขรุขระให้โป๊ วแต่ง และขัดด้วยกระดาษทรายให้เรียบ ทิง้ ให้สีโป๊ วแห้งสนิท จึงพ่นด้วยสีจริง ครัง้ ที่ 1
ขัดและแต่งผิวให้เรียบจึงพ่นด้วยสีจริงครัง้ ที่ 2
3.2.4 หากมีรอยหรือผิวไม่เรียบให้ขดั ด้วยกระดาษทราย และแต่งผิวให้เรียบร้อยก่อนทาการพ่นสีจริงครัง้ สุดท้าย
3.3 การทานา้ มันหรือสี
การทานา้ มันหรือสีในส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอกตู้ ให้ดาเนินการดังนี ้
3.3.1 ยา้ หัวตะปูและอุดด้วย Putty ขัดผิวและปั ดฝุ่ นละอองให้เรียบร้อย และปิ ดเทปกาวกันส่วนที่ไม่ตอ้ งการ
3.3.2 ทานา้ มันหรือสีจริงครัง้ ที่ 1 และขัดผิวให้เรียบก่อนที่จะทาสีจริงครัง้ สุดท้าย
3.4 การพ่นสีโลหะ
3.4.1 ขัดแต่งผิวโลหะให้สะอาดปราศจากฝุ่ น คราบสกปรก ไขมัน
3.4.2 พ่นสีรองพืน้ ที่ช่วยในการยึดเกาะของสีทบั หน้า และสีรองพืน้ กันสนิม ทิง้ ให้แห้งสนิท ขัดแต่งผิวให้เรียบ
3.4.3 พ่นสีทบั หน้าอย่างน้อย 2 เที่ยว โดยแต่ละเที่ยวจะต้องให้สีแห้งสนิทก่อนจึงพ่นสีทบั ได้
3.4.4 สี พ่ น ทั บ หน้า ให้ใ ช้สี น ้า มั น ชนิ ด กึ่ ง เงากึ่ ง ด้า น หรื อ สี ต ามที่ ผู้อ อกแบบก าหนด ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ICI หรื อ
Pammastic หรือ Jotun หรือ TOA หรือ Beger หรือเทียบเท่า
3.5 การพ่นสี MDF Board
3.5.1 ทาวัสดุกนั ซึมบนผิวแผ่นและขอบแผ่น ตามชนิดและผลิตภัณฑ์ท่ผี ผู้ ลิตแนะนา โดยขออนุมตั ิจาก ผูค้ มุ งานก่อน
3.5.2 ทาสีรองพืน้ ชัน้ กลางประเภท Under Coat อีก 2 ครัง้ ในอัตราปกคลุมไม่ต่ากว่า 30 ตารางเมตรต่อ 1 USG.
ต่อ 1 ครัง้ เพื่ออุดรูพรุนและป้องกันมิให้ดดู สารละลายจากสีทบั หน้ามากเกินไป
3.5.3 เมื่อแผ่นผนังแห้งสนิท ให้นาขึน้ ติดตัง้ กับโครงคร่าวที่เตรียมไว้โดยจัดแต่งแนวระยะต่าง ๆ ให้ตรง หรือตามที่
แสดงในแบบ ยึดติดด้วยตะปูเกลียวระยะไม่เกิน 30 ซม. ฝั งหัวตะปูเกลียวเข้าในแผ่นเล็กน้อยแล้วอุดด้วย
Wood Sealer ขัดให้เรียบ การยึดบริเวณขอบแผ่นต้องไม่นอ้ ยกว่า 25 มม. และการยึดบริเวณมุมแผ่นไม่
น้อยกว่า 70 มม.
3.5.4 ทาความสะอาดผิวแผ่นแล้วพ่นทับด้วยสีนา้ มันตามที่ระบุในแบบอีก 2 ครัง้
3.5.5 รายละเอียดต่าง ๆ ที่มิได้กล่าวถึงให้ปฏิบตั ิตามกรรมวิธีของผูผ้ ลิต ซึง่ ได้รบั การพิจารณาอนุมตั ิจาก
ผูค้ มุ งานแล้ว และข้อกาหนดในรายการประกอบแบบที่เกี่ยวข้อง

หมวดที่ 2 145/172 งานสีและการทาสีผิวเฟอร์นิเจอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

งานอุปกรณ์สาหรับงานเฟอร์นิเจอร์

1. ขอบเขตของงาน
1.1 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาช่างที่มีความชานาญในการติดตัง้ อุปกรณ์เฟอร์นิเจอร์
1.2 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์ท่มี ีคณุ ภาพได้มาตรฐานและถูกต้องตามรายละเอียดที่ผอู้ อกแบบกาหนด
1.3 ผูร้ บั จ้างจะต้องเสนอตัวอย่างอุปกรณ์ให้ผอู้ อกแบบอนุมตั ิก่อนดาเนินงาน
1.4 ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดหาอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ทนั กาหนดการใช้งาน จะใช้ขอ้ อ้างการสั่งของไม่ทนั มาขอต่ออายุสญ
ั ญา
ไม่ได้
1.5 ผูร้ บั จ้างจะต้องเช็คตาแหน่งที่จะติดตัง้ อุปกรณ์ จากผูอ้ อกแบบก่อนทาการติดตัง้
2. อุปกรณ์เฟอร์นิเจอร์
2.1 บานพับ สาหรับบานทั่วไปใช้บานพับถ้วย
2.1.1 บานพับถ้วย ฝาโลหะชุบนิเกิล มีปีก มีสปริง เปิ ดได้ไม่ต่ากว่า 100 องศา
2.1.2 ขนาดและลักษณะการใช้งานต้องเหมาะสมกับบานเปิ ดตามแบบ
2.1.3 ผลิตภัณฑ์ Hettich รุน่ Intermat หรือ BLUM รุน่ Clip หรือ Mepla หรือเทียบเท่า
2.2 รางลิน้ ชัก สาหรับลิน้ ชักทั่วไปใช้รางรับใต้
2.2.1 รางลิน้ ชักรับใต้ โลหะเคลือบอิพ็อกซี่สีขาวหรือสีครีม ลูกล้อพลาสติกอย่างดี รับนา้ หนักได้อย่างต่า 25
กิโลกรัม เวลาเปิ ด-ปิ ดจะต้องไม่มีเสียงดังหรือตามระบุในแบบ
2.2.2 ขนาดต้องเหมาะสมกับความลึกของลิน้ ชักตามแบบ
2.2.3 ผลิตภัณฑ์ของ Hettich หรือ Blum หรือ Mepla หรือเทียบเท่า
2.3 กุญแจล็อค
2.3.1 กุญแจล็อค โลหะชุบนิเกิล หรือโลหะชุบสีทอง (ใช้ตามที่ผอู้ อกแบบกาหนด)
2.3.2 รุน่ กุญแจที่ใช้จะต้องเหมาะสมกับลักษณะการใช้งานของบานเปิ ด บานเลื่อน และลิน้ ชัก
2.3.3 ผลิตภัณฑ์ของ Huwil หรือ Hafele หรือ Star-Lock หรือเทียบเท่า
2.4 กลอน
2.4.1 กลอนโลหะชุบนิเกิล
2.4.2 ผลิตภัณฑ์ของ Siso หรือ Hafele SCL หรือเทียบเท่า
2.5 ปุ่ มรับชัน้ ปรับระดับ
2.5.1 ปุ่ มรับชัน้ ไม้ โลหะชุบนิเกิล แบบเกลียวขัน
2.5.2 ปุ่ มรับชัน้ กระจก โลหะชุบนิเกิล แบบเกลียวขัน พร้อมห่วงยางกันลื่น
2.5.3 ผลิตภัณฑ์ของ Hettich หรือ Hafele หรือ SCL หรือเทียบเท่า
2.6 มือจับเฟอร์นิเจอร์
ถ้าไม่ได้ระบุในแบบ หรือในรายการประกอบแบบ ให้ใช้มือจับราคาไม่เกินอันละ 200 บาท

หมวดที่ 2 146/172 งานอุปกรณ์สาหรับงานเฟอร์นเิ จอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.20 งานหนังเทียมและผ้าบุ
- หนังเทียม PVC
- ด้านหน้า PVC ลายหนังด้านหลังผ้าทอละเอียด
- หนังชนิดม้วน
- วัสดุรองแผ่น ไม้อดั ยางหนาอย่างน้อย 4 มม.หุม้ ฟองยางหนาอย่างน้อย 2มม
- ติดตัง้ แผ่นหนังกับ แผ่น MDF. หนา 8 มม. ด้วยกาวยาง
- รอยเย็บตะเข็บเดี่ยวหรือตะเข็บคูด่ ว้ ยด้ายสีออ่ น
- ระบุลาย และสีหนังภายหลัง
ฟองยางหุม้ ผ้าบุดงึ ดุม
- ฟองยางอยางดี หนา 1.5 นิว้
- หุม้ ผ้าด้ายดิบ
- หุม้ ผ้าบุ ( ระบุสีและลายภายหลัง )
- ดึงดุมสีเดียวกับผ้าบุ
- ขนาดตามแบบ
หนังเทียมพิมพ์ลาย (PVC)
การติดตัง้ : พืน้ ที่ท่ีจะติดตัง้ จะต้องปรับให้ได้ระดับตามผูอ้ อกแบบกาหนด และทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อยก่อนการ
ติดตัง้ นาแผ่นฟองยางหนาประมาณ 3 มม.บุลงบนแผ่น MDF หนาประมาณ 8 มม.แล้วติดตัง้ หนังเทียมลงบนแผ่น MDF ขึงให้
ตึงเย็บแม็กด้านหลังแผ่นให้แน่น นาแผ่นสาเร็จแล้วไปติดตัง้ ลงบนผนังที่ออกแบบไว้โดยใช้กาวยางปาดลงบนหลังแผ่น MDF ที่
ผนังที่ตอ้ งการทิง้ ไว้ให้แห้งพอหมาด ๆ ประมาณ 20-30 นาทีนาแผ่นปะลงบนผนังที่ตีเส้นไว้และเมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จจะต้องทา
ความสะอาดให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน
- ชนิด : หนังเทียม PVC ชนิดม้วน
ด้านหน้า PVC ลายหนังแท้
ด้านหลังหนังเทียมเส้นใยผ้าทอละเอียด
- วัสดุรอง : วัสดุรองแผ่น MDF หนาอย่างน้อย 8 มมหุม้ ฟองยางหนาอย่างน้อย 1-2 มม.
- ลาย : ระบุในแบบรอยเย็บตะเข็บเดี่ยว หรือตะเข็บคูด่ ว้ ยด้ายสีออ่ น
- สี :ระบุลาย และสีหนังภายหลัง
- การติดตัง้ :ติดตัง้ แผ่นหนังกับ MDF โดยกาวยาง
ตัวอย่าง : ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง ที่กาหนดไปให้ผอู้ อกแบบพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน จึงจะทาการสั่งซือ้ ได้
การติดตัง้ : พืน้ ที่ท่ีจะติดตัง้ จะต้องปรับให้ได้ระดับตามผูอ้ อกแบบกาหนด และทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อยก่อนการติดตัง้
นาแผ่นฟองยางหนาประมาณ 3 มม.บุลงบนแผ่น MDF หนาประมาณ 8 มม.แล้วติดตัง้ หนังเทียมลงบนแผ่น MDF ขึงให้ตงึ เย็บ
แม็กด้านหลังแผ่นให้แน่น นาแผ่นสาเร็จแล้วไปติดตัง้ ลงบนผนังที่ออกแบบไว้โดยใช้กาวยางปาดลงบนหลังแผ่น MDF ที่ผนังที่
ต้องการทิง้ ไว้ให้แห้งพอหมาด ๆ ประมาณ 20-30 นาทีนาแผ่นปะลงบนผนังที่ตีเส้นไว้และเมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จจะต้องทาความ
สะอาดให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน

หมวดที่ 2 147/172 งานหนังเทียมและผ้าบุ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

ผ้าบุผนัง
- ชนิด : ผ้าไหม สาหรับบุผนัง
- วัสดุรอง : ผ้าด้ายดิบ
- ลาย : สีและลายเป็ นงาน Style
- สี : ระบุสีและลาย ภายหลัง
- การติดตัง้ : ติดตัง้ ลงบนเฟรมไม้ท่บี ฟุ องยางพร้อมหุม้ ผ้าด้ายดิบ
- หน้าผ้า : ประมาณ 58 นิว้ หรือ 145 ซม.
- ส่วนผสมผ้า : คอตต้อน 100 %
- คุณสมบัติอ่นื : กันนา้ ได้
- ดูแลรักษา : สามารถซัก-รีดได้
ตัวอย่าง : ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง ที่กาหนดไปให้ผอู้ อกแบบพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน จึงจะทาการสั่งซือ้ ได้
การติดตัง้ : พืน้ ที่ท่จี ะติดตัง้ จะต้องปรับให้ได้ระดับตามผูอ้ อกแบบกาหนด และทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อยก่อนการ
ติดตัง้ นาเฟรมไม้เนือ้ แข็งกรุไม้อดั ยาง 10 มม. ด้านล่างใส่ฟองยางชนิดความหนาแน่นสูงหนาประมาณ 11/2 นิว้ หุม้ ด้วยผ้า
ด้ายดิบ หุม้ ผ้าบุอีกครัง้ โดยการดึงให้ตึงพร้อมยิงแม็กซ์ดา้ นหลังติดตัง้ โดยการยิงแม็กซ์และติดกาวลาเท็กส์ดา้ นหลังผนังที่
ต้องการตกแต่งและเมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จจะต้องทาความสะอาดให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน

หมวดที่ 2 148/172 งานหนังเทียมและผ้าบุ


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

2.21 งานวอลเปเปอร์
- ชนิด : หลังกระดาษหรือหลังไวนิล
- วัสดุรอง : เตรียมผนังให้เรียบถ้าเป็ นผนังปูนควรฉาบเรียบก่อน
- ลาย : สีและลายเป็ นงาน Style หรือ Modern ตามลักษณะห้อง
- สี : ระบุสีและลาย ภายหลัง
- การติดตัง้ : ติดตัง้ บนผนังพร้อมเตรียมผิว
- หน้าวอลเปเปอร์ : หน้ากว้างประมาณ ไม่ต่ากว่า 50 ซม.
- ส่วนผสม : ด้านหน้าไวนิล ด้านหลังกระดาษ
- คุณสมบัติอ่นื : ทาความสะอาดด้วยนา้ ได้
ตัวอย่าง : ผูร้ บั จ้างจะต้องจัดส่งตัวอย่าง ที่กาหนดไปให้ผอู้ อกแบบพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อน จึงจะทาการสั่งซือ้ ได้
การติดตัง้ : พืน้ ที่ท่จี ะติดตัง้ จะต้องปรับให้ได้ระดับตามผูอ้ อกแบบกาหนด และทาความสะอาดผิวให้เรียบร้อยก่อนการ
ติดตัง้ ตัดแผ่นวอลเปเปอร์ออกตามขนาดความสูงวางทับกันแล้วทากาวโดยใช้แปรงทาสีขนาดประมาณ 2-4 นิว้ ให้ท่วั ทัง้ แผ่น
ทิง้ ไว้ปห้ หมาดอย่างน้อย 20 นาทีวางบนผนังที่ตอ้ งการติดโดยทับขอบใช้ไม้บรรทัดขนาดยาวตัดรอยต่อให้แนบกันสนิทใช้ลกุ
กลิง้ สาหรับติดตัง้ วอลเปเปอร์กลิง้ ให้แต่ละแผ่นติดสนิทกันทาอย่างนีจ้ นเต็มพืน้ ที่ และเมื่อติดตัง้ แล้วเสร็จจะต้องทาความ
สะอาดให้เรียบร้อยก่อนส่งมอบงาน
การรับประกันผลงาน : ผูร้ บั จ้างต้องรับประกันคุณภาพของวัสดุ และการติดตัง้ หลังจากการติดตัง้ แล้วต้องแข็งแรง
มั่นคงปราศจากตาหนิตา่ ง ๆ หากเกิดตาหนิตา่ ง ๆ ผูร้ บั จ้างจะต้องเปลี่ยนให้ใหม่ หรือซ่อมแซมแก้ไขให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์
ตามจุดประสงค์ของผูอ้ อกแบบและ/หรือผูค้ วบคุมงานโดยไม่คิดมูลค่าใด ๆ ทัง้ สิน้

หมวดที่ 2 149/172 งานวอลเปเปอร์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

หมวดที่ 3
รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์

หมวดที่ 3 150/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์


โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


งานผนัง
1. หินอ่อน, หินแกรนิต (Granite & Marble) หินอ่อน,หินแกรนิต หนาไม่นอ้ ยกว่า บริษัท บุญถาวรหินอ่อน จากัด
(ตามระบุในแบบ หากมิได้ระบุให้ใช้หิน 18 มม. บริษัท หินอ่อน จากัด
ภายในประเทศ) บริษัท ธนาคมหินอ่อนและแกรนิต จากัด
1.1 หินสังเคราะห์ บริษัท เอเชีย แกรนิต จากัด
บริษัท ชาดารัก เดคเคอเรชั่น จากัด
บริษัท เอ็มไพร์ แกรนิต จากัด
MARBLE NANOVATION
CENTER CO.,LTD.
บริษัท รัชดาหินอ่อน จากัด
บริษัท ศูนย์รวมนวัตกรรม หินอ่อน จากัด
บริษัท ที.พี.เอส มาร์เบิล้ โปรดักท์ จากัด
บริษัท สโตน แกลเลอรี่ จากัด
บริษัท สยามตาก จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. กระเบือ้ งเคลือบ ขนาด 4" x 4" L - THAI
อ.ป.ก.
กระเบือ้ ง T TOUCH
มุ่ยฟ้า MUIFAH
KERA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. นา้ ยาเคลือบผิว STRONG 2000, BELLINZONI
(IMPREGNATOR) PRO SOIV 11
XANDER TOP SEALER 112
NITOCOTE SN502
PROSEAL 22
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. ผนังกรุแผ่นผิวสาเร็จ LAMITAK
(LAMINATED WALL COVERING) FORMICA
วัสดุปิดผิว LAMINATED WILSON ART
PERSTORP
GREENLEM
SURFACEELAB
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. ผนังห้องนา้ สาเร็จรูปสาหรับกัน้ ห้อง WILLY
หมวดที่ 3 151/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


และอุปกรณ์ ELITE
KOREX
T-BLOCK
MATURE (มาชัวร์)
COOLTIME
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. แผ่นอลูมิเนียมคอมโพสิทไส้กลางทนไฟ (fr) ALTEX (fr) บริษัท เฟมไลน์ โปรดักส์ จากัด
(ALUMINIUM COMPOSITE PANEL) MEENABOND (fr) บริษัท แม่นา้ มิทอลซัลพลาย จากัด
ความหนา 4 มม. REYNOBOND/fr บริษัท แสงเจริญพัฒนา เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7. ผนังกัน้ ห้องกันเสียง เคลื่อนย้ายได้ PANEFOLD
( MOVABLE WALL SYSTEMS ) WATTANA
HUPPE
HUFCOR
HAFELE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
8.งานผนังฉนวนกันความร้อน (PIR) WALL TECH WALL TECHNOLOGY CO.,LTD.
ISOWALL บริษัท ไทยไอโซวอลล์ จากัด
GRATE WALL GRATEWALL (1988) CO.,LTD.
FELTECH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
9. แผงเกร็ดระบายอากาศ
แผงเกร็ดระบายอากาศ อลูมิเนียมแบบกันนา้ INNIVATE บริษัท แม่นา้ มิทอลซัลพลาย จากัด
(LOUVER ALUMINIUM) CS GROUP
COLT
METAL FORCE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานผนังอิฐมอญ, คอนกรีตบล็อก,
คอนครีตมวลเบา
1.อิฐมอญ (MASONRY) อิฐก่อ บ.ป.ก.
อ.ป.ก. (A.P.K.)
อิฐแดง 2009
เอ็มบี
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. งานคอนกรีตบล็อก (CONCRETE BLOCK) DETAC
หมวดที่ 3 152/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


วงกลม
CCM
C-CON BLOCK
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. วัสดุก่อผนัง ภายในอาคาร, ภายนอกอาคาร PROBLOCK (โปรบล็อค) บริษัท สยามคราฟท์ อุตสาหกรรม จากัด
อิฐสาหรับก่อผนัง (WALL BLOCK)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.ผนังคอนกรีตสาเร็จรูป C-POST
(PRECAST CONCRETE WALL PANEL) GEL
SCG
PRECAST ENGINEERING
CPANEL
POST AND PRECAST
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานพืน้
1. ปูนซีเมนต์ขาว ตราเสือคู่
ปูนซีเมนต์ขาว ตราช้างเผือก
ปูนซีเมนต์ขาว ตรากิเลน
นกอินทรีย ์
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. ปูนเทปรับพืน้ SIKA LEVELING MORTAR
คุณสมบัติ Self Leveling ตราเสือคู่
CONLITE
CROCODILE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. งานพืน้ คอนกรีตเสริมความแกร่ง SIKAFLOOR-2 SYNTOP
(Concrete Floor Hardenner) NITOFLOR EMERITOP
ABC NON-METALLIC
CROCODILE
XANDER CEM FLOOR NM 610
ULTECH
RADCON
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.กระเบือ้ งพอร์ซเลน (PORCELAIN TILING) WORD CERAMICS
หมวดที่ 3 153/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


HACO
GRAND STONE
CASA ROCCA
THAI SUNG
CERGRES
COTTO
WDC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5.กระเบือ้ งเซรามิค (CERAMIC TILE) UMI
5.1 กระเบือ้ งแกรนิต HACO
RCI
DURAGRESS
CAMPANA
COTTO
WDC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6.พืน้ ผิวต่างสัมผัสกระเบือ้ งเซรามิก BEZEN
สาหรับผูพ้ ิการทางสายตา KENZAI
LPAC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7. พืน้ ยกสาเร็จรูป บริษัท แกรนด์บิล จากัด
ACCESS FLOOR SYSTEMS บริษัท บีเอสพี (2512) จากัด
(ANTI STATIC HPL) บริษัท วิเอทิค จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
8. พืน้ ไม้เอ็นจิเนียร์ (Engineer Flooring) MUKU Floor บริษัท เค.เอส.วูด้ จากัด
BELLE FLOOR บริษัท เวสท์วดู้ อินดัสทรี จากัด
AKIKET บริษัท ลีโอวูด อินเตอร์เทรด จากัด
EXCEL FLOOR
WOODMETS
KS WOODS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
8.1 พืน้ ไม้สงั เคราะห์-ไม้เทียม บริษัท เอสซีจี จากัด
บริษัท คอนวูด จากัด
บริษัท วิบลู ย์วฒ
ั นอุตสาหกรรม จากัด
บริษัท โอลิมปิ ค กระเบือ้ งไทย จากัด
หมวดที่ 3 154/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


หรือคุณภาพเทียบเท่า
9. กระเบือ้ งยาง (VINLY FLOORING) ARMSTRONG
สาหรับปูพนื ้ ทั่วไป (ชนิดม้วนและชนิดแผ่น ขนาด GERFLOR
ไม่นอ้ ยกว่า 470x470 มม. ) TARKETT
ชนิดทนสารเคมี ความหนาไม่นอ้ ยกว่า 2 มม. FORBO
AJ STAR
ALFA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
10. กระเบือ้ งยางชนิดแผ่น ขนาดไม่นอ้ ยกว่า RECTANGO บริษัท ยูนิคอม อิมพอร์ต-เอ็กซ์พอร์ต จากัด
450x450 มม. หนาไม่นอ้ ยกว่า 3 มม. ARMSTRONG บริษัท วิสแพค จากัด
TARLETT บริษัท คาซ่า รอคคา จากัด
AJ STAR
ALFA
หรือคุณภาพเทียบเท่า

งานฝ้ าเพดาน (ใต้หลังคา)


1. งานฉนวนป้องกันความร้อนและเสียง STAY COOL ตราช้าง
ประเภทใยแก้ว CELLUMAX
(FIBER GLASS INSULATION) MICRO FIBER
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. งานยิปซั่มบอร์ด (GYPSUM BOARD) ตราช้าง , SCG
และ T - BAR GYPFRAME
KNAUF
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. แผ่นฝ้าอะคูสติกซับเสียงชนิด ขอบบังใบ NITTOBO
โครงหน้าแคบ ARMSTRONG
(ACOUSTICAL PANEL CEILINGS) OWA
(หน้ากว้างโครงไม่นอ้ ยกว่า 14 มม.) ยูเอสจี (USG)
DAIKEN
AMF
GYPROC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. งานแผ่นฝ้าอลูมิเนียม ALUMINIUM GRID, FAME LINE บริษัท เฟมไลน์ โปรดักส์ จากัด
ALUMINIUM STRIP, ALUMINIUM LUXALON
SCREEN CEILING OCEAN NEWLINE
หมวดที่ 3 155/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


FOUR STARS
ARMSTRONG
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. แผ่น ไฟเบอร์ซีเมนต์ SMART BOARD
(FIBER CEMENT BOARD) SHERA FLEXYBOARD
CONWOOD BOARD
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. งานฉนวนกันเสียง / ใยหิน LOXLEY CSR
MINERAL FIBER,ROCK WOOL ROCKWOOL
INSULATION CSR BRADFORD
FELTECH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานหลังคา
1.งานผนังและหลังคาโลหะ BLUESCOPE LYSAGHT
(METAL PANELS&ROOF) TSS
FAME LINE
ROOF WELL
DARGON
BSI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
วัสดุหลังคาผลิตภัณฑ์สาหรับงาน F-CLEAN SPEEDY ACCESS CO., LTD
GREEN HOUSES BANGKOK GREENHOUSE CO.,LTD
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. วัสดุกนั ไฟโครงสร้างเหล็ก FIREKOTE 599, FIRECUT 100
PROTHERM STEEL, MONOKOTE
DIORITE FIRE PROTECTION
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3.งานสีปอ้ งกันไฟโครงหลังคาเหล็ก BITEC
(INTUMESLENT MASTIC FIRE FIRETEX
PROOFING) INTERCHAR
L’AQUATECH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.งานหลังคา (SANWICH PANEL ROOF) ATEC บริษัท เอเทค โปรดักชั่น จากัด
บริษัท ฟาเท็ค เวิรค์ ส์ จากัด
บริษัท เมทเทคโน พาแนลลี่
หมวดที่ 3 156/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


(ไทยแลนด์) จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานกระจก (GLAZING)
1. กระจกฝ้า/ใส AGC
(FLOAT GLASS) DIAMOND
TGSG
GUARDIAN
SCG TRADING
พีเอ็มเค-เซ็นทรัล
TYK (ต.ยงเกียรติ)
SUNTHAI GLASS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. TEMPERED GLASS/ AGC
LAMINATED GLASS/ HEAT TGSG
STRENGTHENED GLASS TEMPERSAFE
SCG TRADING
BGF
TYK (ต.ยงเกียรติ)
SUNTHAI GLASS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. REFLECTIVE GLASS SOLARTAG
TGSG
DIAMOND
SCG TRADING
BGF
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. COLORED GLASS MIRROR SAFE
(กระจกเคลือบสี) COLORKOTE
COLOR COATED GLASS
SCG TRADING
BSG
TGSG
PK COLOUR GLASS
TYK (ต.ยงเกียรติ)
SUNTHAI GLASS
หมวดที่ 3 157/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานประตู
1. ประตูเหล็กกันเสียง SCL
BP
A.U.M.
DIAMOND DOOR
MASON
SMC
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.ประตูเหล็กกันไฟ A.U.M.
DIAMOND DOOR
SCL
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. งานประตูเหล็กม้วน SUN METAL
(OVERHEAD COILING DOORS) THAI ROLLING SHUTTERS
บางกอกชัตเตอร์
อินเตอร์ชตั เตอร์
หรือคุณภาพเทียบเท่า
ประตูบานม้วน เปิ ด-ปิ ด ความเร็วสูง DAIMAJIN บริษัท บี.เอส.พี.โปรดักซ์ จากัด
(HIGH SPEED SHEET SHUTTER)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. งานวัสดุยาแนว STRUCTURAL, SIKASIL
WEATHERSEAL SILICONE SEALANT DOW CORNING
(NON STAIN) (JOINT SEALANTS) GE
TREMCO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. งานประตูไม้ (WOOD DOORS) C PLUS
LEO WOOD
DORIC
TECH WOOD
SL DOOR
KP (ก. ภัทร)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
อุปกรณ์ประตู (DOOR HARDWARE)
1.วัสดุอปุ กรณ์ประตูเหล็กและประตูไม้
หมวดที่ 3 158/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


- บานพับสแตนเลส (BUTT HINGE) SCL
STANLEY
DALCO
YALE
CENZA
ASSA ABLOY
HAFELE
PANSIAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กุญแจ (LOCK SET ) , มือจับก้านโยก SKULTHAI
SCHLAGE
YALE
SCL
DALCO
HAFELE
ASSA ABLOY
PANSIAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- มือผลัก , มือดึงและมือจับประตู SCL
(PUSH, PULL & DOOR HANDLE) ALLOY
DALCO
GLORY
HAFELE
WINMA
ASSA ABLOY
Cenza
GA
VR
VBH
PANSIAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กลอนฝังบาน (FLUSHBOLT) SCL
DALCO
MAXSTAR
RYOBI
หมวดที่ 3 159/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


ASSA ABLOY
HAFELE
GA
GIEESE
ADAMSLITE
PANSIAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- โช๊คอัพ (DOOR CLOSER) DORMA
GEZE
ARMOR
LCN
ASSA ABLOY
PANSIAM
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- อุปกรณ์ทางออกหนีไฟ THASE
(PANIC DEVICE) VON DUPLIN
YALE
HAGER
JORTON
ASSA ABLOY
SKULTHAI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- ประตูอตั โนมัติ DREAM
AUTOMATIC SLIDING DOOR) DORMA
โดยเชื่อมเข้า ELECTRICAL SUPPLY KABA
และ ACCESS CONTROL ของอาคาร TGD
SESAMO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. อุปกรณ์ประตู-หน้าต่าง อลูมิเนียม
2.1 ประตูบานเปิ ดทางเดียวและสองทาง
- บานพับ PIVOTED HINGE NAKANISHI
BEST
DORMA
GIESSE DEMINA
GA
หมวดที่ 3 160/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


CENZA
VVP
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- LOCK ชนิด MORTISE LOCK ADAMS RITE
SKULTHAI
SCHLAGE
YALE
HAFELE
ASSA ABLOY
DORMA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- มือจับ STAINLESS STEEL HAFELE
GA
DORMA
ALLOY
VBH
WINMA
ASSA ABLOY
CENZA
VR
SCL
DALCO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- DOOR CLOSER ชนิดซ่อนในกรอบวงกบ DORMA
หรือฝังพืน้ HAFELE
ARMOR
ASSA ABLOY
OVERSEA
BRITON
FALCON
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- LOCK ชนิด DEADLOCK YALE
SKULTHAI
DORMA
ADAMS RITE
หมวดที่ 3 161/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


HAFELE
ASSA ABLOY
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- FLUSH BOLT ชนิด ZINC DIECAST CEBZAM RYOBI
GIEESSE
INTERLOCK
NAKANSHI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.2 ประตูบานเปิ ดอลูมิเนียมกันนา้
- บานพับ PIVOTED HINGE NAKANISHI
VBH
GU
DORMA
GIESSE
CENZA
GIESSE
NEWSTARS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- กุญแจ LATCH LOCK W/DEAD BOLT GU
YALE
BRITON
ASSA ABLOY
HAFELE
GENZA
GIESSE
DORMA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- DOOR CLOSER ใช้ FLOOR SPRING DORMA
TYPE หรือ CONCEALED CAM-ACTION GEZE
ARMOR
ASSA ABLOY
HAFELE
OVERSEA
CENZA
AXIM
หมวดที่ 3 162/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.3 ประตูบานเลื่อนอลูมิเนียม
- ROLLER ชนิด DOUBLE ROLLER GIESSE
HILLANDIUM
CENZA
HAFELE
HENDERSON
ANTONY
BARRING
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- FLUSH PULL HANDLER W/LOCK GU
GIESSE
VBH
HAFELE
GA
ADAMSARITE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- LOCK SET ใช้ MORTISE DEAD LOCK YALE
SKULTHAI
GU
ADAMS RITE
VBH
ASSA ABLOY
HAFELE
CENZA
GIEESE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.4 หน้าต่างบานเลื่อนอลูมิเนียม
- ROLLER GU
VBH
GIESSE
CENZA
ANTONY
BARRING
HENDERSON
หมวดที่ 3 163/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


หรือคุณภาพเทียบเท่า
- FLUSH PULL HANDLER W/LOCK ADAMSRITE
GU
GIESSE
HAFELE
GA
GIEESE
ADAMSARITE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.5 หน้าต่างบานเปิ ดอลูมิเนียม
- CAM HANDLE W/LOCK GU
INTER LOCK
GIESSE
CENZA
หรือคุณภาพเทียบเท่า
- 4 BAR HINGES GU
GIESSE
TRUTH
ANDER BURG
GA
INTERLOCK (NEW ZEALAND)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.6 หน้าต่างบานกระทุง้ อลูมิเนียม
- SUPPORTING ARM W/LOCK OPENING GU
DEVICE INTER LOCK
GIESSE
VHB
GA
INTERLOCK
GIESSE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
SECURITY CAM LOCK TRUTH
GU
GIESSE
VBH
หมวดที่ 3 164/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


INTEKLOCK
FERCO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
ระบบ GEAR MULTI-POINT FERCO
GU
GIESSE
VBH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานสี (PAINTING)
1. สีทาภายนอก (EXTERIOR) SUPER SHIELD
รับประกัน 15 ปี PAMMACRYLIC SHIELD
สีนา้ ACRYLIC JOTANSHIELD EXTREEM
(SHEEN) BEGER COOL UV SHIELD
DULUX WEATHERSHIELD ULTIMA
COLOUR SHIELD PLUS SOLARFLECT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. สีทาภายใน (INTERIOR) SUPER SHIELD
รับประกัน 10 ปี ( MATT) DURACLEAN
สีนา้ ARCRYLIC PAMMASTIC EASY CLEAN
JOTUN MAJESTIC TRUE BEAUTY
BEGER CERAMIC CLEAN
HEALTH CARE
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. สีทาฝ้าเพดาน ( MATT) SHELD 1
สีนา้ ARCRYLIC VINYL MATT (MATT)
STRAX MATT EASY CARE
SYNOTEX SHIELD
VINILEX HYBRIB (SG)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. สียอ้ มไม้และรักษาเนือ้ ไม้ (WOOD STAIN) CUPRINOL WOOD STAIN
แบบเงาหรือกึ่งเงา ตามระบุในแบบ PAMMASTIC WOODSTAIN
สาหรับผิวที่ตอ้ งการโชว์ผิวไม้ BEGER WOODSTAIN
JOTUN WOOD SHIELD EXTERIOR
TOA WOODSTAIN
หรือคุณภาพเทียบเท่า
หมวดที่ 3 165/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


5. สีนา้ มัน (ENAMEL PAINT) DULUX GLOSS FINISH
สาหรับผิวโลหะ, ผิวไม้ GLIPTON SUPER HIGH GLOSS ENAMEL
PAMMASTIC SUPER GROSS
GARDEX PREMIUM ENAMEL
BEGER SHILED SUPER GLOSS
ENAMEL
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6. สีทาพืน้ จราจร (TRAFFIC PAINT) TOA ROAD LINE PAINT
สาหรับทาเครื่องหมายบนผิวทาง , PAMMASTIC TRAFFIC PAINT
สีเทอร์โมพลาสติก (THERMOPLASTIC) , BEGER TRAFFIC PAINT
สีชนิดร้อน (HOT PAINT) หรือ สีชนิดเย็น JOTUN TRAFFIC PAINT
(COLD PAINT) ตามที่ผอู้ อกแบบกาหนด AKZO NOBEL (ICI)
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7. สี EPOXY สาหรับงานผนัง สูตรนา้ DULUX EPOXY FINISH
WATERGUARD 99 TOPCOAT
MASTIC 2000 หรือ EPOXY 2001
KONNIX HB
PAMOXY AQUAMET FINISH
BEGER EPOXY FINISH
JOTUN
AKZO NOBLE (ICI)
CHUGOKU PAINTS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
8. สี EPOXY สาหรับงานพืน้ NITOFLOR SL2000
สามารถปรับระดับได้เอง XANDER EPO FLOOR LEVELING 720
KONNIX SL1000
FLOOR COATING 1000
FLOOR GUARD 1000 SL
BEGER FLOORA GUARD 41
JOTUN
AKZO NOBLE (ICI)
CHUGOKU PAINTS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบสุขภัณฑ์
(COMMERCIAL PLUMBING FIXTURES)
หมวดที่ 3 166/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


1. สุขภัณฑ์ AMERICAN STANDARD
โถส้วม, โถปั สสาวะ, อุปกรณ์ FLUSH VALVE COTTO
KOHLER
TOTO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2. อุปกรณ์สขุ ภัณฑ์ IDEAL STANDARD
ก๊อกนา้ อ่างล้างหน้า, ก๊อกล้างมือ, COTTO
ก๊อกอ่างเอนกประสงค์ GROHE
KOHLER
SLONE
TOTO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. อุปกรณ์ควบคุมนา้ อัตโนมัติ IDEAL STANDARD
(AUTOMATIC ระบบSENSOR) GROHE
(ก๊อกนา้ อัตโนมัติ, FLUSH VALVE) COTTO
SANA
KOHLER
TOTO
SLOAN
หรือคุณภาพเทียบเท่า
งานป้ องกันความชืน้ และงานปิ ดรอยต่ออาคาร
1.วัสดุซีลแลนท์รอยต่อ Z’SEALANT (SI)
ประเภท SILICONE SEALANT DOW CORNING
GENERAL ELECTRIC
SIKAHYFLEX 160 CONSTRUCTION
TREMCO
NITOSEAL MS 100
หรือคุณภาพเทียบเท่า
ประเภท POLYURETHANE SEALANT Z’PU SEALANT
SONNEBORN
SIKAFLEX
TREMCO
XANDER FLEX BUILD 401
NITOSEAL PU 40
หรือคุณภาพเทียบเท่า
หมวดที่ 3 167/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


ประเภท HYPALON สาหรับ Expansion Joint Z’BONDJOINT
SIKADUR COMBIFLEX
XANDER FLEX BUILD 401
EXPOBAN H45
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.แผ่นยางกันซึมสาหรับ Construction Joint Z WATER STOP
ประเภท PVC WATER STOP REHAU
(หากมิได้ระบุในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง) FOSBAR PVC
รับประกันวัสดุและการติดตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี SIKA WATERBARS
SUPERCAST HYDROFOIL
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
ประเภท HYDROPHILLIC WATERSTOP Z’SWELL
(หากมิได้ระบุในแบบวิศวกรรมโครงสร้าง) HYDROSWELL WATERSTOP
รับประกันวัสดุและการติดตัง้ ไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี SUPERCAST SW
SIKA SWELL S2
SUPERCAST SWX
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3. ระบบกันซึมใต้ดิน
3.1 ระบบหลัก พืน้ /ผนัง ด้านนอกที่สมั ผัส Aquashield PPO
กับดิน โดยตรง ระบบ Polyolefin Membrane SikaPlan
XANDER BITU SEAL 140
PROOFEX EGAGE SYSTEM
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3.2 ระบบหลัก พืน้ /ผนัง ด้านในที่สมั ผัสกับดิน AQUA SEAL W
โดยตรง ระบบ CRYATALLIZATION EVERCRETE
BRUSHBOND TGP
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4. วัสดุกนั ซึมบริเวณเหนือดิน Aquashield TPO
4.1 ระบบหลัก ทาบนโครงสร้าง ก่อนทา SikaSarnafil / TPO
Topping ทับ (ถ้ามี) TPO Sheet Membrane XANDER TPO DEAL 198
ได้แก่ หลังคา ค.ส.ล. ดาดฟ้า PROOFEX ORG SYSTEM
หมวดที่ 3 168/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.2 ระบบ LIQUID MEMBRANE ได้แก่ Aquakote PS
กันสาด ระเบียง กระบะต้นไม้ กระถางต้นไม้ SIKAROOF MTC-10 UVAP
Xander Urethane Seal 195
NITOPROOFGOO+REFLECTACOAT
(OPTIONAL FOR NON-TOPPING)
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.3 ระบบ CEMENT BASE ได้แก่ ห้องนา้ , Aquacemplus
สระนา้ ,พืน้ ที่เสี่ยงต่อนา้ ขัง SIKA TOP -107 SEAL TH
XANDER CEM SEAL 168
BRUSHBOND GREY
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.4 ระบบกันซึมสาหรับบ่อนา้ ดี ได้แก่ แท็งค์นา้ Chembloc EP
Sikagard 62
XANDER EPO Floor Enamel W711
NITOCOTE EP 405
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.5 ระบบกันซึมสาหรับบ่อบาบัดนา้ เสีย Chembloc EP
SIKA COR 950F
XANDER EPO Coaltar 715
NITOCOTE EP 403
PRO-ACT
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5. งานวัสดุยาแนว STRUCTURAL, SIKA
WEATHERSEAL SILICONE SEALANT DOW CORNING
(NON STAIN), JOINT SEALANTS GE
TREMCO
หรือคุณภาพเทียบเท่า
โรงเรือนทดลองมาตรฐานความปลอดภัย บริษัท สปี๊ ดดี ้ แอสเซ็ส จากัด
ทางชีวภาพ (Mulit-Span Glasshouse) บริษัท บางกอก กรีนเฮาส์ จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
หมวดที่ 3 169/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


รายละเอียดงานอื่น ๆ
1.พรมดักฝุ่ นทางเข้าอาคาร C/S PEDISMART
(ENTRANCE MATING SYSTEM) ABI ENTRANCE MATTING
METAL FORCE
3M
หรือคุณภาพเทียบเท่า
2.จมูกบันไดอลูมิเนียม IDEAL PRODUCTS
(ALUMINIUM STAIR NOSINGS) APACE
อลูมิเนียม, ทองเหลือง, PVC KOENIG
หรือคุณภาพเทียบเท่า
3.งานฉนวนซีเมนต์ปอ้ งกันไฟโครงสร้าง BITEC
(CEMENTATIONS FIRE PROOFING) MONO KOTE
PYROLITE
L’AQUATECH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
4.งานวัสดุกนั ไฟ และควัน (FIRE-STOP) HILTI
3M
TREMCO
ROCK WOOL
L’AQUATECH
หรือคุณภาพเทียบเท่า
5.งานครุภณ
ั ฑ์เฟอร์นิเจอร์ MODERN FORM
ROCK WORTH
PRACTIKA
INDECA LIVING
หรือคุณภาพเทียบเท่า
6.พืน้ พรมแผ่น (TILE CARPETING) INTERFACE
CARPET INTER
TANDUS
RAYAL THAI
หรือคุณภาพเทียบเท่า
7.งานบัวเชิงผนังอลูมิเนียม ALLOY
(ALUMINIUM WALL BASE) ALUNICH
JEB
UDEC
หมวดที่ 3 170/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


หรือคุณภาพเทียบเท่า
8. ผ้าและผนัง TITCH บริษัท แว็กซ์โทล แกลลอรี่ จากัด
VC. FABRIC
FAWAVISA
JIM THOMPSON
TODA
LEE AND SUN
MAROON
หรือคุณภาพเทียบเท่า
9. งานม่าน SONGGKIT
ROYAL THAI INTER
OCEAN NEWLINE
SLIMTECH
BIW
หรือคุณภาพเทียบเท่า
10. งานหินสังเคราะห์ DOLPHIN
SOLITAIRE
QUARELLA
INTER INTER
LG HAUSYS
HI-MACS
หรือคุณภาพเทียบเท่า
11. วอลล์เปเปอร์ บริษัท บี ดับบลิว พี จากัด
บริษัท ไอคอน เดคคอเรทีป จากัด
บริษัท วีซี แฟรบบริค จากัด
บริษัท ME-CLASS จากัด
บริษัท MDI จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
12. แผ่นโพลีคาร์บอเนต (แผ่นตัน) ความหนา 4 มม. DANPALON บริษัท วิสแพค จากัด
บริษัท แอมเพิลไลท์ ไฟเบอร์กลาส
(ประเทศไทย) จากัด
บริษัท ทีเอ็นโพลี่คาร์โบเนต จากัด
บริษัท เซ้าท์ชิตี ้ โพลีเคม จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า
13. งานป้ายและสัญญลักษณ์ (Signage) บริษัท ดีทยู สู ยาม จากัด
หมวดที่ 3 171/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์
โครงการก่อสร้างระบบประกอบอาคาร กลุม่ อาคารเขตนวัตกรรมระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EECi) Phase 1A
หมวดงานสถาปั ตยกรรม สถาปั ตยกรรมภายใน

รายละเอียดงาน ชื่อผลิตภัณฑ์ ชื่อผู้ผลิตหรือผู้แทนจาหน่าย


บริษัท แฮปปี คอน จากัด
บริษัท เอส ที เอส ซิสเต็มส์ คอนโทรล จากัด
บริษัท สุวิทย์ศิลป์ จากัด
หรือคุณภาพเทียบเท่า

หมวดที่ 3 172/172 รายละเอียด วัสดุ อุปกรณ์

You might also like