You are on page 1of 95

วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง

เสื อโคคาฉันท์

เสื อโคคาฉันท์ เป็ นวรรณคดีประเภทฉันท์ที่มีความยาว เป็ นเรื่ อง


แรกของไทย โดยอาศัยเค้าเรื่ องจากพหลคาวีชาดก ใน ปัญญาส
ชาดก
ผู้แต่ ง พระมหาราชครู
ทานองแต่ ง แต่งเป็ นฉันท์เกือบทั้งหมด มีเฉพาะบทสุ ดท้าย 2 บท
ที่แต่งเป็ นโคลงสี่ สุภาพ
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง เพื่อใช้เป็ นสุ ภาษิตสอนใจ
เสื อโคคาฉันท์

เนือ้ หา :
• เสื อโคเป็ นนิทานพื้นเมืองที่มีการเล่าต่อกันมาช้านาน อันเป็ น
เรื่ องราวระหว่างลูกเสื อกับลูกโคซึ่งต่างมีมิตรไมตรี อนั ดีต่อกัน
• ภายหลังฤาษีเสกให้เป็ นคนทั้ง 2 ตัว
- เสื อให้ชื่อว่า พหลวิชัย มีฐานะเป็ นพี่
-โคให้เป็ นคนมีชื่อว่า คาวี มีฐานะเป็ นน้อง
เสื อโคคาฉันท์

• ในเรื่ องเสื อโคคาฉันท์ เริ่มต้ นด้ วยบทไหว้ ครู อันเป็ นลักษณะ


ทัว่ ไปของวรรณคดี
• กล่าวถึงลูกเสื อกับลูกโคเดินคลอเคลียออกมาจากป่ าด้วยกัน พระ
ฤๅษีเห็นเข้าจึงเกิดความเมตตาสงสารได้ชุบเลี้ยงไว้
• วันหนึ่งพระฤๅษีถามลูกสัตว์ท้ งั สองได้ความว่า วันหนึ่ง แม่เสื อ
ออกไปล่าเหยือ่ ลูกเสื อถูกทิ้งไว้นานคงหิ วนมมาก ลูกโคจึงเกิด
ความสงสารได้บอกโคแม่ของตัวให้ให้นมแก่ลูกเสื อ
เสื อโคคาฉันท์

• ด้วยลูกเสื อได้กินนมแม่โคจึงเกิดความรักความไมตรี ต่อลูกโคและ


แม่โค
• เมื่อแม่เสื อกลับมา ลูกเสื อได้ขอร้องให้แม่เสื อเลิกทาร้ายแม่โคกับ
ลูกโค
• แม่เสื อรับคาแต่ทาไม่ได้ ภายหลังได้กินแม่โค
• ลูกเสื อและลูกโคไม่พอใจ จึงรวมพลังสองตัวทาร้ายแม่เสื อจน
สิ้ นชีวติ
เสื อโคคาฉันท์

• ต่อมาทั้งสองกราบลาพระฤาษีเพื่อไปยังเมืองจันทบูรนคร
• คาวีได้เจอกับยักษ์ทาการต่อสู้กนั คาวีฆ่ายักษ์ได้ พระเจ้ามคธผู ้
ครองเมืองนั้นจึงยกพระธิดาพระนามว่า สุ รสุ ดาเป็ นพระชายา
• แต่คาวีมีความกตัญญูต่อพี่พหลวิชยั จึงกราบทูลให้พระราชทาน
ให้กบั พหลวิชยั
• คาวีจากพหลวิชยั เพื่อเดินทางต่อไปจนถึงเมืองร้างเมืองหนึ่ง มี
นามว่ารมยนคร ที่เมืองนี้มีความอดยากถึงขนาดนกอินทรีย์ตอ้ ง
จับผูค้ นมากินเป็ นอาหาร
เสื อโคคาฉันท์

• คาวีพบกลองใบใหญ่ใบหนึ่ง เมื่อลองผ่าดูกพ็ บพระธิดาจันทร์


ผมหอมผูเ้ ป็ นธิดาของท้ าวมัทราชอยูใ่ นนั้น
• คาวีปราบนกอินทรี ใหญ่ตายแล้ว ก็ได้พระธิดาจันทร์เป็ นชายา
และได้ครองเมืองรมยนคร
• พระนางจันทร์ สุดาสรงน้ าแล้วก็นาเส้นผมใส่ ผอบปล่อยให้ลอยน้ า
ไป กษัตริย์เมืองพัทธพิลยั นามว่าท้ าวยศภูมิ เก็บผอบได้แล้วทรง
เปิ ดผอบออกมา ก็ปรากฏมีเส้นผมที่มีกลิ่นหอมอยูใ่ นนั้นก็เกิด
หลงรัก
เสื อโคคาฉันท์
• กษัตริ ยเ์ มืองพัทธภูมิทรงใช้นางทาสี ไปทาอุบายหลอกถาม
ความลับเกี่ยวกับพระขรรค์จากพระนางจันทร์ สุดา ทราบว่าชีวติ
ของพระคาวีอยูใ่ นพระขรรค์
• นางทาสี จึงเอาไปเผาเสี ย ทาให้คาวีสิ้นพระชนม์หรื อชีวติ
• นางทาสี กพ็ านางจันทรสุ ดาไปถวายท้าวยศภูมิ
• แต่ดว้ ยอานาจแห่งความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดีของนางจันทร์สุดา
ที่มีต่อคาวี จึงทาให้พระวรกายของพระนางจันทร์ สุดามีความร้อน
ดัง่ ไฟ
เสื อโคคาฉันท์

• ฝ่ ายพหลวิชยั ได้ตามหาคาวีจนช่วยแก้ให้ฟ้ื นคืนชีพได้


• พหลวิชยั ปลอมตัวเป็ นฤๅษี รับอาสาชุบตัวท้าวยศภูมิให้เป็ นคน
หนุ่ม
• ระหว่างทาพิธีอยู่ เมื่อท้าวยศภูมิเผลอก็ผลักท้าวยศภูมิเข้าไปใน
กองไฟ
• เมื่อฆ่าท้าวยศภูมิสาเร็ จแล้ว ก็ให้คาวีแต่งตัวเป็ นกษัตริ ย ์
ครองราชย์อยูเ่ มืองพัทธพิสยั ร่ วมกับพระนางจันทร์ สุดา
ลูกเสื อและลูกโคร่ วมกันทาร้ ายแม่ เสื อจนสิ้นชีวติ
๏ บัดนันลู
้ กพยัคฆ์
ใส่กลทารัก แม่ข้าไปหา
เคล้ าคลึงเคลียชม ตระบัดโกรธา
แหงนกัดกรรฐา คอขาดบัดใจ
๏ ลูกโคเข้ าขวิด
ไส้ พงุ โลหิต เรี่ ยรายลามไหล
ดิ ้นด่าวท่าวล้ ม กลิ ้งเกลือกเสือกใน
วนาอาไศรย สิ ้นหายวายปราณ
พหลวิชัยและคาวีอาลาจากกันพร้ อมกับเสี่ ยงดอกบัว
๏ ครู เราประสิ ทธิ์
ประสาทชีวิตร ไว้ในแวงวาย
เจ้าเร่ งประหยัด พระขรรค์ธทาย
น่องรักอย่าคลาย อย่าคลาศจากองค์
๏ พหลผูภ้ ูล
เกิดในกองกูณฑ์ ดาบศอันยง
จึ่งเอาโกมล ทั้งคู่โดยจง
มาแกล้งประสงค์ กทาธิษฐาน
พหลวิชัยและคาวีอาลาจากกันพร้ อมกับเสี่ ยงดอกบัว
๏ ถ้าเราทั้งสอง
ตั้งอยูใ่ นคลอง ความสัตย์ประทาน
เราอยูใ่ นธรรม โอฬาร์ธิการ
เชิญโลกบาล ท่านท้าวจงฟัง
๏ บัวดอกหนึ่งไซ้
พีจ่ กั เอาไว้ โดยดังใจหวัง
ถ้าเจ้ามีทุกข์ ขุกข้องเคืองขัง
เหี่ ยวแห้งหายรัง รศเร้าอับอาย
พหลวิชัยและคาวีอาลาจากกันพร้ อมกับเสี่ ยงดอกบัว
๏ ถ้าเจ้าเสวยสวัสดิ์
จงดอกปัวปัทม์ สดอยูอ่ ย่าคลาย
กลิ่นเกลี้ยงเสาวคนธ์ นฤมลเปรมปราย
ดอกหนึ่งเจ้าหมาย รู้ข่าวพี่ยา
๏ เสร็ จสองอธิษฐาน
คาวีกมุ าร กระทาอาลา
เวียรไวสามรอบ แล้วจบบาทา
พระผูเ้ ชษฐา ใส่ เกล้าบังคม ฯ
ท้ าวยศภูมไิ ม่ สามารถแตะกายของนางจันทร์ ผอมหอมได้

๏ สมใจสมเด็จท้าว ยศภูมิชื่นชม
นัง่ แนบจะหวังสม เสน่หด้วยพระอรอร
๏ ด้วยเดชะบุญนาง รัศมิเปล่ งคือไฟฟอน
ร้ อนองคภูธร คือดัง่ เพลิงมาเผาผลาญ
๏ แต่น้ นั จะเขาใกล้ อรองคเยาวมาลย์
บได้กเ็ ดือดดาล ฤไทยโศกเสนหา ฯ
คาวีเผยม่ านแกล้ งว่ าเป็ นท้ าวยศภูมหิ ลังพิธีทาให้ เป็ นหนุ่ม

๏ จึ่งให้เผยม่านมณฑล พิธีแย่งยล
บรมรู ปภูบาล
๏ โนเนหนุ่มเหน้าบัวบาน สดใสเพ็ญพาล
คือเทพยแกล้งหล่อเหลา
๏ ฟ้ อเฟ้ กล้องแกล้งกลเกลา กาเยนทรอันเอา
มโนภิรมย์สาวสนม
๏ ต่างต่างกราบแล้วบังคม ถวายกรประนม
สรรเสริ ญสมเด็จธิ บดินทร์
สมุทรโฆษคาฉันท์
สมุทรโฆษคาฉันท์ เป็ นวรรณคดีที่มาจากเรื่ อง สมุทโฆสชาดก ใน
ปัญญาสชาดก
ผู้แต่ ง: ผูแ้ ต่งสมุทรโฆษคาฉันท์ มี 3 คน คือ
1. พระมหาราชครู แต่งตอนต้น
2. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระราชนิพนธ์ตอนกลาง
3. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส (พระ
ราชนิพนธ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยการกราบทูลอาราธนาของกรมหมื่น
ไกรสรวิชิต และพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวงษาธิ ราชสนิท)
สมุทรโฆษคาฉันท์

ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นคาฉันท์ มีฉนั ท์ 11 ฉันท์ 12 ฉันท์ 14 ฉันท์ 15


ฉันท์ 16 ฉันท์ และ 21 ฉันท์ โดยไม่ได้บอกชื่อฉันท์ และไม่มีการเคร่ งครัด
ในเรื่ องครุ ลหุ
จุดมุ่งหมายในการแต่ ง: เพื่อใช้เล่นหนังใหญ่
สมุทรโฆษคาฉันท์ เป็ นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องจาก วรรณคดี
สโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ว่าเป็ นเรื่ องที่แต่งดีเป็ นเยีย่ มในกระบวนคาฉันท์
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• การเริ่ มต้นเรื่ องด้วยการไหว้ครู สรรเสริ ญ เทวดา เทพเจ้า รวมถึง
ยอพระเกียรติกษัตริ ย ์
๏ พระบาทกรุงไท้ ธรณี รามาธิบดี
ประเสริฐเดโชไชย
๏ เดชะอาจผโอนท้ าวไท ทั่วทั้งภพไตร
ตระดกด้ วยเดโชพล
** ผโอน=น้ อมลง ตระดก= ตื่นตระหนก เดโช= กาลัง อานาจ
๏ พระบาทกมลนฤมล ท้ าวทัว่ สากล
มาถวายบังคมเคารพ
๏ สบศิลป์ นเรศวรพบ ธรรมาคมสบ
ปการรู้ รสธรรม์
๏ พระปรีโชบายอนันต์ บริกษาสรร-
พการสุ ดสงกา
**สบศิลป์ = รู้ ศาสตร์ ศิลป์
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• เรื่ องสมุทรโฆษคาฉันท์มีการแทรกเรื่ องเข้ามาคือ การเล่ นเบิกโรง
อันแสดงให้เห็นความนิยมของคนในสมัยนั้นว่า ก่อนจะมีการแสดง
เรื่ องใหญ่จะต้องมีการแสดงให้เห็นเรื่ องสั้นๆก่อน
• แต่ละเรื่ องที่ปรากฏล้วนมีลกั ษณะเป็ นกึง่ การกีฬากึง่ การพนัน
• เริ่ มด้วย - การเล่ นหัวล้ านชนกัน - เล่ นลาวกับไทยฟันดาบ
- เล่ นชวาแทงหอก - เล่ นชนแรด
- เล่ นแข่ งวัวเกวียน - เล่ นจระเข้ กดั กัน
- จบลงด้ วยการเล่ นแข่ งเรือพระที่นั่งเสี่ ยงทายในเดือน 11
ตัวอย่ างการเล่ นหัวล้ านชนกัน
๏ จะเล่นหัวล้าน ทั้งสองหัวบ้าน
คือหน้าผากผา จะจาชนกัน
คในสวภา จะดูหวั ข้า
ทั้งสองใครแขง
**คือหน้ าผากผา = หน้ าผากแข็งเหมือนกัน
คในสวภา = ข้ างในสภาหรือทีป่ ระชุม
ตัวอย่ างเล่ นลาวกับไทยฟันดาบ
๏ จะเล่นเถลิงลาว ทั้งสองสามหาว
ชวนกันฟันแทง ผูใ้ ดดีจริ ง
จักรู้จกั แรง ใครดีคาแหง
จะเห็นฝี มือ

**สามหาว=ก้ าวร้ าว
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• เรื่ องสมุทรโฆษยังมีการแทรกเรื่ องการเสด็จคล้องช้ างของพระสมุทรโฆษ
๏ ราชาเสด็จคชผายผัน ควาญแทงบังคัล
แลแล่นคคล้ายคือภมร
๏ ท้าวไทไล่ทนั กุญชร หนึ่งงามงางอน
พันฦกนิแรงราวี
๏ ท้าวทายบาศพรัดซัดที เดียวต้องหัดถี
แลตรู ตระเนตรบมิคลา
๏ หมอปรวดปรวดบาศตรึ งตรา พลชวักซ้ายขวา
แลสารกระลับผันผาย
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• การแทรกลักษณะของการแต่ งทานองนิราศ ถ้าหากพระเอกหรื อ
นางเอกมีบทบาทที่จะต้องเดินทางแล้ว ไม่วา่ จะเป็ นระยะสั้น
หรื อระยะยาว จะต้องมีการพรรณนาราพึงราพันบุคคลอันเป็ นที่
รักอยูเ่ สมอ เช่น
• ตอนพระสมุทรโฆษเสด็จไปคล้ องช้ าง ก็ทรงคานึงถึงนางสุ รสุ ดา
พระมเหสี
• ตอนทีพ่ ระสมุทรโฆษกับนางพินทุมดีพลัดพรากจากกัน
ตอนพระสมุทรโฆษคานึงถึงนางสุ รสุ ดา

๏ นางนกและนกผู้ สองหากรู้เสนหา
จรรจวนโดยภาษา สัตวเล่นหลากหลายกล
๏ นกผูต้ ่างรวงรัง และประนังกันแข่งขน
เหยือ่ ป้ อนปากเมียตน และตระเหิ รตระหวลกัน
๏ พระแลคณานก และตระดกมนะมรรษ์
ใจจงพธูสวรร- คและท้าววังเวงใจ
ตอนทีพ่ ระสมุทรโฆษคร่าครวญถึงนางพินทุมดี
๏ พระสงกาฝันใช่ฝัน เยียใดจาบัล-
ยท้าวก็ท่าวเททรวง
๏ ถนัดล่ มหล้ าฟ้าปั่นปวง ถนัดภูผาหลวง
และท่ าวมาทับทรวงศรี
๏ ทบทนโศกากษัตรี ย ์ จงทุกข์เทพี
และท้าวก็พาษปธารา
ธรรมชาติร่วมรับรู้ ความทุกข์ ของพระสมุทรโฆษ

๏ พระเสด็จรถทองกรี ฑา พลโยธาหา
ทังไพรคิรีสบสถาน
๏ ค้นคว้าป่ าดงพงพนานต์ เทินเขาถ้ าธาร
ชาเราะชรลองดองไพร
……………………………………..
๏ ไพรสงัดสัตว์พนสณฑ์สบ นกหคเหิ รสงบ
บร้องสาเนียงขานขัน
ธรรมชาติร่วมรับรู้ ความทุกข์ ของพระสมุทรโฆษ (ต่ อ)

๏ ลมก็บพัดพฤกษาพรรณ ก็บติงสักอัน
และสร้อยบไขรสขจร
๏ คชสารลืมบงซ้างซอน กลางดงไกรสร
เสนาะและลืมไหล้สาร
๏ เนื้อเบื้อลืมกินเกลียงดาล กินทุกข์ทุกสถาน
ลันลุงด้วยพระราชา
๏ ทุกทิศท้าวหาเหลือหา บมิพบพนิดา
และพระพิลาปสมพอง ฯ
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• บทโลมนาง เป็ นบทกวีที่มกั ปรากฏในวรรณคดีไทย เพราะ
พระเอกนางเอกได้มาพบกันและแสดงบทรักต่อกัน
• ในสมุทรโฆษคาฉันท์ ปรากฏในตอนที่เทพอุม้ สมพระสมุทร
โฆษและนางพินทุมดีแล้วเกิดเป็ นบทอัศจรรย์ข้ ึน
บทอัศจรรย์ ระหว่ างพระสมุทรโฆษกับนางพินทุมดี

๏ นาภีแนบนาภีมล ทรวงแนบชิดชน
บรรทับและเบียดบัวศรี
๏ นางน้องในใจเปรมปรี ด์ ิ กรกรรนฤบดี
และนาบสู้ขดั ขาม
๏ พระเชยชมแก้มเกลากาม โลมน้องโฉมงาม
ตระการตระกองกรรฐา
** กรรฐา = คอ
บทอัศจรรย์ ระหว่ างพระสมุทรโฆษกับนางพินทุมดี (ต่ อ)

๏ เชยชิดรสโอษฐสุ รา มือพานแนวนา-
ภีทอ้ งสรแทบทรวงสมร
๏ นมน้องตราติดอกอร เอวองค์พระกร
กระหวัดกระเหม่นกามา
๏ สองเสวยสุ ขสุ ดสงกา ชมลาภมหา
อันเทพยแสร้งเอาสม
**นาภี=สะดือ
ลักษณะเด่ นในเรื่องสมุทรโฆษคาฉันท์
• บทชมโฉม เมื่อกล่าวถึงตัวละครเอก กวีมกั จะชมโฉม โดยชม
ทุกๆส่ วนของร่ างกาย เปรี ยบเทียบกับสิ่ งที่ถือว่าเป็ นความงาม
ตามแบบฉบับ เช่น
- ใบหน้างามเหมือนพระจันทร์
- หูเหมือนกลีบบัว
- จมูกเหมือนขอ
- ลาขาเหมือนลากล้วย
- คิ้วก่งเหมือนคันศร
ตัวอย่ างชมโฉมนางพินทุมดี
๏ พักตรากฤดิอนั บริ สุท- ธิ พบูและโสภา
ดุจจันทรโสฬสกลา และนะแน่งนะนวลอนงค์
๏ กรรณาคือกลีบกมลโก- มลกามแกล้งผจง
ทรงกาญจนกุณฑลยรรยง มณี พรายพิราราม
๏ นาสาลายองคือขอคานวณ กลควรคือขอกาม
แก้มปรางประโลมรสยายาม คนใดต้องก็ติดใจ
ตัวอย่ างชมโฉมนางพินทุมดี
๏ ลาขาคือกาญจนกทลี และลาเพ็ญลาพาลใส
สองนมชชิดวิจิตรใน อกอาสน์แก้วโฉมเฉลา
๏ คิว้ ค้อมคือกงกลกุทณ ั - ฑอันก่งและแกล้งเกลา
พระเนตรพรายพิมลเพรา และพพริ้ งยิง่ ตายอง
๏ ริ มโอษฐพรายคือมณี ไพ- ฑูรยรัตนเรื องรอง
ยิม้ แย้มและค่าใครและบปอง แก่อนงคสงคม
**กทลี = กล้ วย กุทณ ั ฑ์ = เกาทัณฑ์ , ธนู
คุณค่ าของสมุทรโฆษคาฉันท์
คุณค่ าทางด้ านอักษรศาสตร์
• มีสานวนโวหารที่ไพเราะ กวีเลือกใช้คาได้เหมาะสมกับฉันท์
• มีการเล่นเสี ยง เล่นคา ใช้คาซ้ า เพื่อให้เกิดความไพเราะและให้
ผูอ้ ่านเกิดจินตนาการ
ตัวอย่ างการเลือกใช้ คา
• กวีสามารถเลือกใช้ คาเรียกผู้หญิงได้ หลากหลาย เช่น
เทพี พนิดา แก้วกัลยา เสาวภาค สุ ดารัตน์
นุชนงคราญ อรอนุช เยาวเรศ ยอดยุพิน อ่อนไท
• การเลือกใช้ คาเลียนเสี ยงธรรมชาติ
หึ่งหึ่งเสี ยงมธุรสกรอึง คู่เคี้ยเคียงคลึง
บคลากุสุมสาทร
ตัวอย่ างการซ้าคา
• ดังตัวอย่างในตอนที่พระสมุทรโฆษต้องลอยอยูใ่ นน้ าหลังจากที่
เกิดเหตุการณ์ ขาดขอนไม้กบั นางพินทุมดี ซึ่งพระสมุทรโฆษ
หมดเรี่ ยวแรงและ สุ ดที่จะคิดถึงฝั่งแล้ว
๏ ฟองฟัดซัดสู่ สมุทรทารุ ดพิริยพล
พ่างเพียงจะวายชนม์ ชิวาตม์
๏ เหลือทนเหลือทุกขเหลือจะถอนอสประสาส
เหลือถวิลเทวษอนาถ อนิจ
๏ สุ ดแรงสุ ดที่จะร่ าราจวนกาสรวญสุ ดคิด
พึ่งใครก็สุดจิตร ราพึง
๏ แสนโศกแสนทุกขแสนแสวงสานักนิ์สานึง
แสนร้อนเร่ งร้อนรึ ง อุรา
๏ หาเพื่อนหาผูจ้ ะพักพานักนิพน้ จะหา
หาฝั่งก็เห็นฟ้ า กับฟอง
ตัวอย่ างการเล่ นคา
๏ ไก่ ฟ้าวานหว้ายฟ้า เสาะสื บหานราบาล
ผึง้ พ้องพึง่ พบพาน บพิตรด้วยช่วยเอ็นดู
๏ เนืองนกบเอื้อนเอา ธุระเราเร่ งอดสู
สังเวชแต่ตนตู อันไร้เพื่อนในเถื่อนพนม
คุณค่ าทางด้ านความรู้
• เรื่องป่ าหิมพานต์ สื บเนื่องมาจากไตรภูมิพระร่ วง ซึ่งในเรื่ อง
สมุทรโฆษคาฉันท์ได้กล่าวถึงสระอโนดาต ตอนที่พระสมุทร
โฆษกับนางพินทุมดีได้พระขรรค์จากพิทยาธรมาเที่ยว
๏ พลางอุม้ องคอนงค์อนุชพนิดา
ลงสรงชลาสิ น- ธุธาร
๏ ในอโนดาตนิราสมุทินสลิลพิศาล
เสมออมฤตยโสรจสนาน ภิรมย์
๏ เย็นเยือกระงับปริ ฬาหะกายจิตรสม-
บูรณ์สุขชื่นชม สาราญ
๏ เก็บโกมุทสุ คนธ์อุบลปทมบาน
ประดับองคนงพาล พธู
๏ พลางเมิลหมู่มตั สยาชลาจรพหู
ผุดดาคคล่าดู คคล้าย
๏ กุง้ กั้งกุมภิลมกรกระฉ่อนชลก็วา่ ย
กดกาและกริ มกราย กระตรับ
คุณค่ าทางด้ านความรู้
• เรื่ องการจัดทัพ แสดงให้เห็นวิธีการจัดทัพในสมัยโบราณว่า
ประกอบไปด้วยกองทัพพลอย่างไรบ้าง
• รวมถึงความพิถีพิถนั ในการเลือกคนเข้าประจาแต่ละกองของ
พระสมุทรโฆษเพื่อเตรี ยมรบกับกษัตริ ยท์ ี่จะเข้ามาสู้รบเพื่อแย่ง
นางพินทุมดี
ตัวอย่ างพระสมุทรโฆษเตรียมพล
๏ หาผูร้ ู ้ศิลป์ บขาม แม่นแจ้งเจียรยาม
คานวณคานับโหรา
๏ หาผูห้ าญยอดโยธา ขอขันอาสา
คค้อยบคลาคาไหน
๏ หาทวยเมธาส่ างใส รู ้รี่ร่วมใจ
อริ นทรแสร้งใส่ กล
๏ หาผูห้ า้ วหบทบทน แกว่นแกล้วกลางรณ
แลแรงสมรรถอาจทยาน
โคลงพาลีสอนน้ อง
โคลงพาลีสอนน้ อง มีที่มาจากรามเกียรติ์ ตัดเอาตอนพาลีสอน
สุ ครี พเกี่ยวกับการทางานรับราชการ
ผู้แต่ ง: สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงสี่ สุภาพ มีโคลงทั้งหมด 32 บท
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อใช้ในการอบรมสัง่ สอนข้าราชการ
เนือ้ หาโคลงพาลีสอนน้ อง

• เมื่อพาลี เจ้าเมืองขีดขิน รู้ตวั ว่าจะต้องตายเพราะโดนลูกศรของ


พระรามยิงเข้า
• เกิดความรู้สึกสานึกผิดคิดได้ จึงเรี ยกองคตผู้เป็ นลูก และสุ ครีพ
ผู้เป็ นน้ อง มาเข้ารับการสัง่ สอนให้รู้จกั ธรรมเนียมที่คนผูเ้ ป็ น
ข้าราชการควรประพฤติปฏิบตั ิ ในการที่จะเป็ นข้าของพระราม
ต่อไป
ห้ ามเป็ นชู้ กบั นางใน

นักสนมกรมชะแม่แม้น สาวสวรรค์
นางในไพบูลย์พรรณ แน่งน้อย
เฝ้ าไทภูทรงธรรม ธิปราช
อย่าใฝ่ ใยเสน่ห์คล้อย เนตรเลี้ยวเรี ยมแสวง
ให้ ร้ ู จักเวลาทีเ่ หมาะสมในการเข้ าเฝ้ ากราบบังคมทูลกษัตริย์

ทูลพิดกิจแจ้งจัด ประการใด
คอยดูเมื่อภูวไนย ย่องแย้ม
แปรผันบัณฑูรไข ยสิ งหนาท
จึ่งค่อยชะลอยเติมแต้ม เมื่อท้าวสุ ขสานต์
ชอบทูลมูลเหตุห้ นั จึ่งทูล
มิชอบประกอบอาดูร หยุดยั้ง
เกรงนเรนทรสูร เคืองค่อง
หฤทยางค์หมางหม่นตั้ง แต่ร้อนสกนธ์กรม
รู้ จกั สารวมในการเข้ าเฝ้ ากษัตริย์
นัยหนึ่งพึ่งเฟ่ าท้าว นฤบดี
อย่าใกล้นกั ศักดิ์ศรี ท่านไท้
ทะนงจะจงมี ทวิโทษ
อย่าไกลนัยน์เนตรให้ นเรนทร์พร้องถามถึง
บริโภคอาหารแต่ พอประมาณก่ อนเข้ าเฝ้ ากษัตริย์

เมื่อเฝ้ าเช้าค่าคล้อย สกลกาล


จงย่อมออมกระยาหาร หย่อนไว้
อย่ากินสิ้ นเสร็ จประมาณ ประมูลขนาด
เกลือกกวนป่ วนท้องได้ ยากย้ายในวัง
ให้ เข้ าเฝ้ ากษัตริย์อยู่ตลอด ไม่ เกีย่ งการงาน
เฝ้ าแหนแผ่นภพด้วย จงจิต
อย่าใฝ่ ในกลกิจ เกี่ยงเกี้ยว
แสวงชอบประกอบนิจ ทุกเมื่อ
เลี้ยงให้ไพบูลย์เลี้ยว ล่วงร้อยแสนสนอง
ยามมีศึกต้ องกล้ ารบ ไม่ กลัวตาย
สงครามยุทธ์แย้งอย่า คิดขาม
บุกบัน่ ประจัญบานตาม ต่อด้วย
เข่นฆ่าอย่ากลัวความ มรณาศ
รุ กร้นจนชีพม้วย จึ่งอ้างอาจองค์
คุณค่ าของโคลงพาลีสอนน้ อง
• ในด้ านวิถีชีวติ
เห็นค่านิยมของสังคมไทยสมันนั้นว่าการแสดงจงรักภักดี
ต่อพระมหากษัตริ ยอ์ งค์พระประมุขของตนเป็ นสิ่ งสาคัญ
โคลงทศรถสอนพระราม

ผู้แต่ ง: สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงสี่ สุภาพ มีความยาวเพียง 12 บท
เท่านั้น
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อแสดงถึงหลักการปฏิบตั ิของ
กษัตริ ยผ์ คู้ รองเมืองที่พึงมีต่อราษฎร
เนือ้ หาโคลงทศรถสอนพระราม

• เนื้อหามีวา่ ท้าวทศรถผูเ้ ป็ นพระราชบิดาของพระรามได้ตรัสเรี ยก


พระรามให้มารับพระโอวาท ในการที่พระองค์จะทรงมอบหมาย
บ้านเมืองให้พระรามปกครองบริ หารจัดการ
• ท้าวทศรถทรงสอนให้พระราม
-ใช้เมตตากรุ ณา รักและสงสารประชาชน
- ละอกุศลมูล 3 อย่างคือ โลภะ โทสะ และโมหะ
- ทานุบารุ งประเทศชาติให้มีความเจริ ญรุ่ งเรื อง ดูแลราษฎรให้
อยูเ่ ย็นเป็ นสุ ขกันถ้วนหน้า
มีเมตตากรุณา มีความยุตธิ รรม และรู้จักให้
ประเสริ ฐเลิศโลกล้น โลกา
จงจิตต์มิตรกรุ ณา แน่ไว้
เป็ นต้นกลพฤกษา เสนอเมฆ
อายุตติธรรมนั้นให้ สัตว์ซอ้ งสุ ขเกษม
รางวัลสรรพสิ่ งให้ ไทยทาน
เหมือนกลผลพฤกษาหวาน เลี่ยนล้ า
เป็ นที่ภิรมชมสาร เกษมราษฎร์
เสนีพิริยพลน้ า จิตต์ซอ้ งสรรเสริ ญ
ละอกุศลมูล (โลภะ โทสะ โมหะ)
ครองภพลบโลกล้ า ศุภผล
ระงับดับกังวลกล โกรธเกี้ยว
โลภอวิชชาผจญ มนทโมหะ
กาจัดสลัดสละเลี้ยว อย่าได้ประมูลมา
ไม่ เบียดเบียนและมีความอดทน
จักเพียรเบียฬราษฎร์ร้อน อย่าทา
จงสลัดตัดผจงคา ว่าไว้
ขันตีเป็ นที่นา ประมูลสุ ข
เป็ นสวัสดิ์พิพฒั น์ให้ เลิศล้ าใดเสมอ
ปกครองอย่ างพ่อแม่ ลูกดูแลกัน
บริ รักษ์อาณาจักรทั้ง แดนไตร
ด้วยจิตสนิทเสน่ห์ใน ผ่องแผ้ว
ดัง่ บิดามารดรใจ ใสสุ ทธิ์
รักษาธิดาบุตรแล้ว เลิศล้ าใครเสมอ
คุณค่ าของโคลงทศรถสอนพระราม
• ในด้ านการปกครอง
ทาให้เห็นการปกครองในสมัยนั้นว่าเป็ นธรรม โดยกษัตริ ย ์
ได้ใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้เป็ นหลักในการปกครอง
บ้านเมือง
โคลงราชสวัสดิ์

ผู้แต่ ง: สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นโคลงสี่ สุภาพ มีโคลงทั้งหมด 63 บท
วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง: เพื่อใช้เป็ นหลักปฏิบตั ิของข้าราชการ
ผูใ้ หญ่
เนือ้ หาโคลงราชสวัสดิ์

• กล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทอันเป็ นหลักธรรมที่ขอ้ ราชการ


ชั้นผูใ้ หญ่พึงประพฤติปฏิบตั ิ เช่น
- ความสารวมกิริยามารยาท - การแต่งกายให้เหมาะสมเข้าเฝ้ า
- ความกล้าหาญ การป้ องกันบ้านเมือง
- ความฉลาดรอบรู ้ การไม่เป็ นชูก้ บั นางใน
- การไม่เข้าไปกล้ ากรายพระราชอาสน์
- การไม่เสพของมึนเมา - ไม่ยกั ยอกสิ่ งของของหลวง
ไม่ ดื่มเหล้ าเมายา
อย่าใฝ่ ในส้องเสพ สุ ราบาน
มิตรมนท์อนธการพาล เรื่ องร้าย
ติเตียนตาเนียรสถาน ทุกประเทศ
พึงแสดงแห่งโอชบ้าย มุ่งแม้นมฤธุรุ้ง
ให้ ป้องกันอาณาประชาราษฎร์
รู้รอบประกอบเกื้อ สบสรรพ์
ปกป้ องประคองขอบขัณฑ์ เขตแคว้น
ทั้งอาณาประชาพรรณ สบสัตว์
ปรี ญาณสารสิ ทธิ แหม้น อยาให้ใครเสมอ
ไม่ ยกั ยอกสิ่ งของของหลวง

หนึ่งทรัพย์นบั เนื่องไว้ ในคลัง


อย่าประสงค์จานงหวัง หวัง่ ได้
อย่าคิดจิตเบือนบัง แสวงโลภ
อย่าแบ่งแมลงลักให้ ประโยชน์เบื้องอาตมางค์
น้ อมรับของพระราชทานด้ วยความสงบเสงี่ยม

เมื่อไทให้แห่งราช พัทธยา
รางวัลสรรพเสนา เลิศล้ า
ผูช้ อบประกอบแสวงหา คุณเลิศ
จงนบสงบเสงี่ยมน้ า จิตเชื้อสุ ทธิสาร
คุณค่ าของโคลงราชสวัสดิ์
• ในด้ านปกครอง
มองเห็นการปกครองสมัยนั้นว่าได้มีความต้องการที่จะให้
บ้านเมืองใช้ธรรมเป็ นอานาจ ไม่ใช่ใช้อานาจเป็ นธรรม กษัตริ ยจ์ ึง
ใช้ธรรมในการปกครองประเทศชาติบา้ นเมือง
อนิรุทธคาฉันท์
ผู้แต่ ง: กล่าวกันมาว่า ศรีปราชญ์ บุตรพระมหาราชครู เป็ นผูแ้ ต่ง
เรื่ องที่เล่ากันนั้นว่าพระมหาราชครู เป็ นกวีมีชื่อเสี ยง เป็ นคนสาคัญ
ในรัชกาลสมเด็จพระนารายน์มหาราช แต่งหนังสื อเรื่ องสมุทรโฆษ
ขึ้นเป็ นคาฉันท์
ศรี ปราชญ์เป็ นบุตรมีอุปนิสยั เป็ นอนุชาตในทางกวีอยู่ เห็น
บิดาแต่งฉันท์กล็ องแต่งบ้าง
เมื่อบิดาเห็นกล่าวบริ ภาษว่า ยังหน้าศรี ปราชญ์เผยอจะแต่ง
ฉันท์กบั เขาด้วย
ศรี ปราชญ์ขดั ใจจึงพยายามแต่งฉันท์อนิรุทธเรื่ องนี้จนสาเร็ จ
แต่ ไม่ แต่ งคานมัสการตามประเพณีแต่ งบทกลอนเป็ น
เรื่องราวซึ่งกวีอนื่ ๆ ประพฤติกนั เป็ นแบบแผนมาแต่ ก่อน เพราะ
ไม่ อยากจะกล่ าวคาเคารพบิดา
หนังสื อฉันท์อนิรุทธเรื่ องนี้จึงมิได้มีคานมัสการข้างต้น เล่า
กันมาดังนี้
ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นคาฉันท์ กาพย์ และมีร่ายปนอยูด่ ว้ ย
วัตถุประสงค์ : เพื่อแสดงให้เห็นว่าตนก็สามารถแต่งเรื่ องยาวได้
เหมือนกัน
เนือ้ หาอนิรุทธคาฉันท์
• กล่าวถึงพระนารายณ์ได้อวตาร (แบ่งภาคมาเกิด) เป็ น
พระกฤษณะ อยูใ่ นโลกมนุษย์ เป็ นเจ้าเมืองอยูเ่ มืองทราวดี
๏ ปางพระจักรีแปรเปน กฤษณราญรอนเข็ญ
อรินทรเสี้ยนสยบนา
๏ เสด็จแสดงเนาในเมืองทวา รพดีสมญา
คือวิษณุโลกบปาน
• พระองค์ทรงมีพระราชนัดดา (หลาน) ชื่อพระอนิรุทธ เป็ นผู้
สามารถเชี่ยวชาญในการรบ และมีพระสิ ริโฉมงดงาม
๏ พระอยูเ่ สวยสุ ข
ในทวาบรยุค เลิศล้ าลือสาย
มีเจ้าพระเจ้า อันเลิศลือชาย
ฟ้ าหล้าเหมือนหมาย แกว่นแกล้วกามบุตร์
๏ แง่งามโถงเถง
ทหารนักเลง แกว่นกล้าการยุทธ
ประกาศโดยนาม พระศรี อนิรุทธ
เยาวราชอันอุด ดมเลิศแดนไตร
กามบุตร์ หมายความว่ า อนิรุทธเป็ นลูกพระกามเทพ คือ พระปรัทยุมน์
เนือ้ หาอนิรุทธคาฉันท์

• วันหนึ่ง พระอนิรุทธเสด็จประพาสออกล่าสัตว์ในป่ า ประทับพัก


แรมบรรทมใต้ตน้ ไทร
• ก่อนที่จะบรรทมหลับไปพระองค์ได้กล่าวสรรเสริ ญและขอพรจาก
เทพารักษ์ให้ช่วยคุม้ ครองป้ องกันอันตรายให้ดว้ ย
• เทพารักษ์ที่รักษาต้นไทรเกิดความเมตตาจึงอุ้มสม คือ อุ้มพระ
อนิรุทธพาไปยังปราสาทของพระนางอุษา พระราชธิดาของพระเจ้า
กรุ งพานแห่งโสณิ นคร เพื่อให้ได้เสี ยเป็ นสามีภริ ยากัน
เนือ้ หาอนิรุทธคาฉันท์

• ครั้นทั้งสองพระองค์ทรงตื่นขึ้น ต่างก็เศร้าโศกถวิลหากันและกัน
• นางพิจิตรเลขา พระพี่เลี้ยงของพระนางอุษาได้วาดภาพเทวดาและ
พระราชาทั้งหลายที่มีอยูใ่ ห้นางดู เมื่อถึงรู ปพระอนิรุทธ นางอุษาก็
จาได้วา่ พระอนิรุทธ คือผูท้ ี่มาอยูร่ ่ วมกับนางในคืนนั้น
• นางพิจิตรเลขาพระพี่เลี้ยงอาสาไปสะกดเอาพระอนิรุทธมายังโสณิ นคร
• ท้าวกรุ งพานรู ้ความจริ งจึงสัง่ ทหารให้มาล้อมจับ พระอนิรุทธถูกจับได้
แล้วให้จองจาไว้ที่หน้าพระลาน
อนิรุทธคาฉันท์

• ฝ่ ายนารทฤษีเหาะผ่านมาพอดี เห็นพระอนิรุทธหลานของ
พระกฤษณะเสี ยท่าเขา จึงเหาะไปแจ้งพระกฤษณะให้ทราบ
• พระกฤษณะโมโหจึงยกทัพไปปราบปราม ผลปรากฏว่าพระเจ้า
กรุ งพานพ่ายแพ้ แต่พระกฤษณะไม่ประหารยอมไว้ชีวติ แต่ตอ้ ง
ตัดแขนทิ้ง และให้เป็ นนายทวารคือเป็ นยามเฝ้ าประตู
• ส่ วนพระอนิรุทธและพระนางอุษาได้ครองคู่กนั ตลอดชีวติ
ตัวอย่ างพระอนิรุทธลาพระกฤษณะประพาสป่ า
๏ บัดนั้นสมเด็จหลาน กฤษณเทพจักรี
ราลึกพนาลี สุ ขรมยกรี ฑา
๏ เสด็จไปบังคมพระ อัยกาธิ เบศร์ ลา
จักไปพนาทวา พนพฤกษศีขร
๏ เถื่อนถ้ าพนาลี คชสี หองค์อร
กวางทรายรมัง่ มร สัตวสมสกอหลาย
ตัวอย่ างการร่าลาระหว่ างพระอนิรุทธกับนางสนม
๏ อ้ าอรอนงคทิพยลัก ษณสานักนิสาวสวรรค์
สุ ดสวาทแลแม่ฤทยหรร ษแก่พี่อย่าสงไสย
๏ อ้ าพระเสด็จพนผูเ้ ดียว บมีเพื่อนเปนเพื่อนไป
เพื่อนพระพเนจรจะไกล บุรีรมยเมืองแมน
๏ อ้ าอรอุบลบวรภาค ยจงอยูอ่ ย่าได้แคลน
ถึงเรี ยมจะไปพนในแดน ยลสัตวชมชาย
๏ อ้ าพระจะละสนมบาเรอ บริ รักษแหล่หลาย
จักอยูท่ รเล่หชีวิตถวาย ดังฤพระจะทันเห็น
ตัวอย่ างตอนที่พระอนิรุทธล่ าสั ตว์
๏ อนิรุทธโน้มน้าวเกาทัณฑ์ ผาดแผลงศรศัลย์
ด้วยเดชอานาจศรศิลป์
๏ ปลายศรส่ องตายองยิน ยวนตานฤบดินทร์
ทรดาลรลวยลืมหนี .......
๏ ต้องกวางทรายตายเหลือตรัง กึกก้องไพรกรัง
สระท้านสระเทื้อนดงดร
๏ เหม้นหมีหมูเถื่อนซอกซอน ตายคือลูกมรณ์
ก็ตื่นทั้งห้องหิ มพานต์
ตัวอย่ างก่ อนที่พระอนิรุทธจะบรรทมหลับได้ ไหว้ พระไทร

๏ สนธยากรภุมบุษ ปบังคมบาบวงสรณ
พระไทรบริ มณ ฑลเทพยสิ งศักดิ์
๏ อ้าพระจรรโลงโลก ยแลโลกยรังรักษ์
เป็ นที่พานักภัก ดิแก่เทพคนธรรพ์
๏ จงรักษรักษา พลพิรียโจษจรร
นฤโศกนฤศัลย์ นฤภัยนฤโทษ
๏ อ้าพระพเพรี้ ยมพราย พรรณรายรัศมิชวยโชติ์
พระหากจะปองโปรด ชคสัตวอาไศรย
ตัวอย่ างพระไทรใคร่ ครวญจะอุ้มสมพระอนิรุทธ
๏ ท้าวนี้ผใู้ ดหนอ มานอนเดียวสมบูรณ์เฉลา
เอองคเน่งเนา ณในรถมลังเมลือง
๏ เสด็จด้วยจตุรพยูห แลมาอยูจ่ รลิวเมือง
เอองคเดียวเรื อง รัศมีจนั ทรมณฑล
๏ ควรนางบาเรอรัก ษพระบาทนฤมล
ลูบไล้สุธาคน ธลออลอบองค์
๏ ควรนางตระกองเอว อรรแถ้งแทบบรรทมทรง
สมเสน่หบาทบง กชพักตรพิมพ์ทอง
ตัวอย่ างพระไทรใคร่ ครวญจะอุ้มสมพระอนิรุทธ
๏ ตริ ใคร่ จะแทนคุณ พระคุณรสายศักดิ์
สายสวาทผูใ้ ดจัก จะคู่องคอรกาม
๏ จะเอาประสบสม บุรณภาคยเพ็ญงาม
สาวสวรรคนงราม บรางเสมอศศิโฉม
๏ ใคร่ โทจะเท่าเทียม ทาเนียมพักตรเล้าโลม
เล้าลูบตระโบมโสม รู ปกฤตย์ฤดีดาย
๏ นางใดจะคู่ควร สารวลสุ ขเปรมปราย
เปรมปรี ดิชมชาย ชานัลแนบตรหวนหรรษ์
๏ บเห็นสุ ดาใด สุ ดาพานเพ็ญจันทร์
สงวนศรีคในครร ภปรางทองบลอดลม
เทพารักษ์ นาพระอนิรุทธไปหานางอุษา
๏ เทพารักษ์บงั นิทรา อนิรุทธราชา
บันทมในราตรี กาล
๏ เทพาอุม้ เอาภูบาล จากรถแก้วกาญจน์
รัศมีพพรายพัฬเหา
๏ ถ่อมถนอมนฤบดีเสด็จเทา ข้ามเศขรเขา
คือฝาแลตัวเตรี ยบกัน
๏ พระภาคศศิพระจันทร์ คือกลดกั้งพรรณ
แลส่ องประทะรัศมี
๏ ผยองย่องเวลาเหิ รลี ลายังสุ ทธศรี
สานักนิพานสุ ดา
ตอนพระอนิรุทธครวญหลังจากพรากนางสุ ดา

๏ โอ้เจ็บกูเร่ งเจ็บ คือเหน็บเสี้ ยนเสี ยดแดกลาง


ใจจากประจากปาง ประลองกามกามี
๏ โอ้เสี ยงสาเนียงสัต วร้องในพนาลี
โอ้อกกรอุชี วิตเพี้ยงพินาศนาศ
๏ โอ้แสงพระสุ ริยฉ์ าย รสายเมฆอากาศ
โอ้เจ็บบาราศราส บสว่างคือคมแด ๚
ตอนนางพิจิตรเลขาถามความทุกข์ โศกนางอุษา
๏ ปางนั้นพระพี่เลี้ยง คือพิจติ รเลขา
ขอถามคดีอา ดุรแม่กาศรวญศัลย์
๏ พระโฉมอันเฉิ ดเฉลิม วรภาคคือบูรณ์จนั ทร์
ราหูมาบังพรร ณมาหม่นมาหมองแสง
๏ พระน้องอย่าได้อา ดุรเชิญมาเร่ งแจง
ความโศกศรี แสดง อันเสี ยดแดกาเดาดอง
๏ อุษากาสรดกล่าว คดีโดยดัง่ สมสอง
ชายหนึ่งมาลอบลอง ในราตรี ตระอรอร
ตอนนางอุษาเห็นรูปพระอนิรุทธ

๏ จึงวาดนแน่งโฉม อนิรุทธราชา
นางเอาขดานมา บันทับทรวงก็ไห้โหย
๏ อ้านี้และรู ปท้าว อันมาชมมาชายโชย
จานองกระอืดโอย ทุกขทรวงรลวงกาม
๏ ผิวพี่เอนดูนอ้ ง อัญเชิญช่วยมาดับความ
ร้อนเร่ าคือเพลิงลาม ลันลุงแดกาเดาดง
ตอนท้ าวกรุงพานโกรธพระอนิรุทธและเรียกพลยักษ์
๏ กรุ งพานครั้นได้ฟัง ทั้งสองตาก็เปล่งเปน
ไฟลุกประปลาบเอน รด่าวตึงกระเบงแขน
๏ สามโลกยนี้ใคร และจะอาจมาดูแคลน
ใคร่ สรวลแก่ตกั แตน มาวิง่ ไฟบกลัวเกรง
๏ ตระบัดก็ให้เท้ง กระทุ่มเภรี ยครื นเครง
กึกก้องบันลือเลวง ทั้งเมืองพานสยบแสยง
๏ เรี ยบพยุหเสนา จัตุรงคซรู แซรง
แกล้วกล้ากาแหงแรง รยืนยักษยักษา
ตอนนารทฤษีเหาะมาพบพระอนิรุทธถูกจองจา
๏ ปางนั้นนารทบันดาล ดีดพิณเหาะทยาน
มาโดยทิฆมั พรพราย
๏ บัดเหาะเหิ รมาใกล้กราย เมืองพานเฉิ ดฉาย
คือโสนิบูรบุรี
๏ เลงเห็นหลานพระจักรี ต้องศรไกรสี ห์
จานาจานองจองจา
ตอนพระกฤษณะไม่ ประหารพระเจ้ ากรุงพาน ยอมไว้ ชีวติ

๏ บัดพระจักรี กก็ ลับ แกว่งไกวจักรฉับ


ก็ตอ้ งฉฉาดฉาดฉัน
๏ ขุกขาดมือมารทั้งพัน เหลือกรสองอัน
ก็จกั พินาศในสมร
๏ จักรีจกั รอญให้ มรณ พฤษภภูธร
ก็ขอชีวติ คงคืน
จินดามณี
• จินดามณี ประกอบด้วยคาว่า จินดา กับ มณี .
- จินดา แปลว่า ความคิด
- มณี แปลว่า ดวงแก้ว
• จินดามณี จึงแปลว่า ดวงแก้ วทีเ่ ป็ นแสงแห่ งความคิด
• จินดามณี เป็ นชื่อหนังสื อเรี ยนภาษาไทยที่พระโหราธิ บดีแต่ง
ถวายสมเด็จพระนารายณ์ในสมัยอยุธยา
• จัดเป็ นแบบเรียนภาษาไทยเล่ มแรกทีป่ รากฏหลักฐาน
• รัชสมัยรัชกาลที่ 5 จึงเปลี่ยนไปใช้แบบเรี ยนภาษาไทยชุดใหม่
จินดามณี
• ผู้แต่ ง : พระโหราธิบดี นักกวีชาวพิจิตร เดิมอยูท่ ี่สุโขทัย ผูเ้ ป็ น
บิดาของศรี ปราชญ์ท้ งั เป็ นโหรที่ทานายทายทักได้แม่นยา รับ
ราชการมาตั้งแต่สมเด็จพระเจ้าปราสาททองจนถึงสมัยสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราช
• ผู้แต่ งให้ ชื่อหนังสื อแบบเรียนเล่ มแรกว่ า จินดามณี เพราะถือว่า
ผูท้ ี่รู้หนังสื อ อ่านหนังสื อออก เปรี ยบได้กบั ผูท้ ี่มีดวงแก้ววิเศษมี
ค่าสูงยิง่ อยูใ่ นมือ เป็ นดวงแก้วที่ให้แสงส่ องปัญญาและความคิด
แก่ผคู้ รอบครอง ดังโคลงที่แจ้งไว้ในท้ายหนังสื อว่า
“ลิขิตวิจิตรร้อย ศุภอรรถ
ดวงมณิ จินดารัตน์ เลอศแล้ว
อันมีศิริสวัสดิ์ โสภาคย์
ใครรู้ถือได้แก้ว ค่าแท้ควรเมือง
จบเสร็ จอาจาริ ยแกล้ง เกลาสาร
โคลงกาพยกลกลอนกานต์ เรี ยบร้อย
มธุรศพจนบันหาญ โอวาท
ฟังเร่ งเสนาะเพราะถ้อย ถี่ถว้ นทุกคา”
จินดามณี
• ทานองแต่ ง: แต่งเป็ นร้อยแก้ว มีตวั อย่างคาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ
เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ประกอบเนื้อหา
• วัตถุประสงค์ ในการแต่ ง:
ด้วยเกรงว่าพวกบาทหลวงนักบวชฝรั่งจะพาคนไทยไปเข้ารี ต
เป็ นคริ สต์กนั มาก จึงมีการแต่งหนังสื อภาษาไทยขึ้น เพื่อสัง่ สอน
เด็กไทยรักชาติของตัวเอง รักศาสนาของตัวเอง ไม่เข้ารี ต
จินดามณี
• เนือ้ หา
• ขึ้นต้นเป็ นบทสรรเสริ ญ แล้วกล่าวถึงคาศัพท์ต่าง ๆ ที่มีที่มาจากภาษา
สันสกฤต และคาที่มีเสี ยงคล้ายกัน
• การใช้ ศ ษ ส
• การใช้ไม้มว้ น ซึ่ งมีท้ งั หมด 20 คาและไม้มลายอีก 80 คา
• พูดถึงอักษรสามหมู่ มาตราตัวสะกด การใช้เครื่ องหมาย
• จบด้วยการแต่งกาพย์ โคลง ฉันท์ และกลบทต่าง ๆ พร้อมด้วย
ตัวอย่างที่ยกเอามาจากวรรณคดีเรื่ องอื่นและที่แต่งเพิ่มเติมเข้ามาอีก
ตัวอย่ างมาตราตัวสะกด
นนพกกอก่อเหง้า อักษร
แจกจาอุธาหอร แห่งหั้น
กด กบ กก ม้วยมรณ สามแม่
กน กง กม เกอย นั้น ชีพได้นามตรี
ส จ ต ถ ท ใช้ ต่างกด
กน ญ ร ล ฬด แต่งตั้ง
พ ป ภ ท่านสมมต ต่างกบ แลนา
ข ค ต่างกกจั้ง แจกให้เหนแสดง
ตัวอย่ างสระ วรรณยุกต์
เปนเสมียนรอบรู้ วิสัญช์
พินเอกพินโทฑัณฑ- ฆาฏคู้
ฝนทองอีกฟองมัน นฤคหิ ต นั้นนา
แปดสิ่ งนี้ใครรู ้ จึ่งให้เป็ นเสมียร
วิสัญชนี ะ พินทุเ์ อก ่่
พินทุโ์ ท ่้ ทัณฑฆาฏ ่์
ไม้ตายคู ้ ่็ ฝนทอง “
ฟองมัน ๏ นฤคหิ ต ่
ตัวอย่ าง ๒๘ สุ ราคณา ปทุมฉันท์ กลอน ๔ฯ
โอ้อกกูเอย เมื่อก่อนกูเคย สมบัติคราวครัน
ทาบุญบ่เบื่อ เชื่อชอบทุกอัน จึ่งได้จอมขวัญ ลูกน้อยนงพาล
ถึงบุญจะถอย สิ่ งสิ นยับย่อย ยากพ้นประมาณ
บาปใดมาให้ พ่อเจ้าบันดาล กาจัดสงสาร สิ บสองเสี ยไกล

You might also like