You are on page 1of 67

เทคนิคการควบคุมงาน

งานระบบปองกันอัคคีภัย
ขอบเขตของเนื้อหา
™ ระบบทอยืนและสายฉีดน้ําดับเพลิง
STANDPIPE and HOSE SYSTEM
™ ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง SPRINKLER SYSTEM

™ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ
PORTABLE FIRE EXTINGUISHER
มาตรฐานที่ใชอางอิง
• มาตรฐาน การปองกันอัคคีภัย ของ วิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย
EIT Standard

• NFPA 14 Standard for the Installation of


Standpipe and Hose Systems

• NFPA 13 Standard for the Installation of


Sprinkler Systems

• NFPA 10 Standard for Portable Fire


Extinguishers
Standpipe and Hose System
Class of Standpipe
ประเภทของระบบทอยืนและสายฉีดน้าํ ดับเพลิง
แบงประเภทของการใชงานออกเปน 3 ประเภทดังนี้

• ทอยืนประเภทที่ 1
จัดเตรียมหัวตอสายฉีดน้าํ ดับเพลิง ขนาด 65 มิลลิเมตร (2 1/2 นิว
้ ) สําหรับ
พนักงานดับเพลิงหรือผูที่ไดรบ
ั การฝกฝนมาแลวในการใชสายฉีดน้าํ ดับเพลิง
ขนาดใหญ ขนาดทอยืนไมเล็กกวา 150 มิลลิเมตร

• ทอยืนประเภทที่ 2
จัดเตรียมสายฉีดน้าํ ดับเพลิงขนาด 25 มิลลิเมตร (1 นิว
้ )หรือ 40 มิลลิเมตร
(1 1/2 นิว
้ ) สําหรับผูอ
 ยูอาศัยภายในอาคารใช ขนาดทอยืนไมเล็กกวา 100
มิลลิเมตร

• ทอยืนประเภทที่ 3
ทอยืนประเภทที่ 1 + 2
Standpipe and Hose System 5. ติดตั้ง Roof
Manifold สําหรับทํา
Schematic diagram of Standpipe System การทดสอบระบบทอ
ยืน
4. การติดตั้งทอยืนอยู
ในตําแหนงที่ปลอดภัย 1. จัดเตรียมทอยืน
เชน ในโถงบันได หรือ สําหรับทุกบันไดหนี
โถงลิฟทดับเพลิง ทอ ไฟและโถงลิฟท
เมนแนวราบควรติดตัง้ ดับเพลิง
ในพืน้ ทีท
่ ี่มีการติดตัง้
ระบบ Sprinkler
System
3. ทอยืนออกแบบที่
อัตราการไหล 500gpm
ขนาดทอไมเล็กกวา
150 mm
6. จัดวางหัวรับน้าํ
ดับเพลิงในตําแหนงที่
สามารถเขาถึงได
โดยงาย

2. ทอยืนจะตองมี
Isolating Valve ทุกอัน
ตําแหนงหัวรับน้ําดับเพลิง (Fire department Connection)
ติดตั้งหัวรับน้ําดับเพลิงอยูใน
ตําแหนงที่ รถดับเพลิงสามารถ
เขาถึงไดโดยสะดวก
Standpipe and Hose System
Detail of Fire Hose Cabinet

1. Angle Hose Valve with


Instantaneous Quick Coupling
Cap and Chain
Hose valve = UL/FM
Quick Coupling = Local Made
ชัน
้ ลางๆ ทีม
่ ีความดันน้าํ เกิน
100 psig. ตองการอุปกรณ
2 Pressure Restricting Device
2. Automatic Fire Hose Reel
ตามมาตรฐาน BS EN 671
3 3. Portable Fire Extinguisher
1 ตามมาตรฐาน มอก.
Standpipe and Hose System
Standpipe Class I,II,III
1.ทอยืนประเภทที่ 1 ออกแบบใหใชงาน
โดยพนักงานดับเพลิง ใชกบ ั อาคารทีเ่ ขาถึง
ไดยาก
(ลากสายจากรถดับเพลิงไปยังพืน ้ ทีเ่ กิดเหตุ
ยาก) เชน อาคารที่สงู มากกวา 3 ชัน

อาคารที่มช
ี น
ั้ ใตดินและอาคาร
หางสรรพสินคา

2.ทอยืนประเภทที่ 2 ออกแบบสําหรับเปน
First-Aid Fire Fighting ที่ใชโดยผูท
 อ
ี่ ยูใน
อาคาร กอนทีพ่ นักงานดับเพลิงจะมาถึง

3.ทอยืนประเภทที่ 3 (1+2)

ตามกฎกระทรวงมหาดไทยกําหนดให
ใชทอยืนประเภทที่ 3สําหรับอาคารสุงและ
อาคารขนาดใหญพเิ ศษ
ทอยืนประเภทที่ 2 และ 3 มีแนวโนม
การใชงานลดลง เพราะคนใชอาคาร
สวนมากจะหนีไฟกอนเสมอ
Standpipe and Hose System
Protection of Standpipe Riser

1.ทอยืนประเภทที่ 1และ 3
จะตองอยูในพืน
้ ที่ทป
ี่ อ
 งกันไฟ
เชน ในบันไดหนีไฟและโถง
ลิฟทดบ
ั เพลิง

2.ทอยืนประเภทที่ 3 การ
ออกแบบติดตัง้ ตูดับเพลิง
จะตองไมทาํ ใหอัตราการทน
ไฟของบันไดหนีไฟเสียไป

3.ตําแหนงทอยืนจะตองไมกด

ขวางทางวิง่ ในบันไดหนีไฟ
Standpipe and Hose System
Location of FHC Class I and Class III

การวางตูดับเพลิงแบบ Exit
Location Method (วางตาม
ทางหนีไฟ)

ออกแบบสําหรับทอยืนประเภท
1 และ 3 เปนชองทางที่พนักงาน
ดับเพลิงใชเขาบรรเทา
สาธารณะภัย

กําหนดทอยืนที่ทก
ุ บันไดหนีไฟ
และโถงลิฟทดบ
ั เพลิง

ตําแหนงที่ใชตอ
 สายฉีดน้าํ
ดับเพลิงตองปลอดภัย เชน ใน
บันไดหนีไฟหรือโถงลิฟท
ดับเพลิง
Standpipe and Hose System
Location of FHC Class II

การวางตูดับเพลิงแบบ Actual
Length Method (วางตามทางเดินที่
สังเกตเห็นไดงา ย)

ออกแบบสําหรับทอยืนประเภท 2
สําหรับผูใชอาคารใชในการดับเพลิง
ในเบื้องตน(จากสถิตท
ิ ี่ผา นมามีการ
ใชนอยมาก)

เปน FHC แบบ Pre-connected


สามารถดึงใชงานไดเลย ความยาว
สายไมเกิน 30.5 เมตร เพื่อใหถือได
ไมยากนัก

วางตําแหนง FHC แบบ Class II ให


ครอบคลุมทุกพืน้ ที่โดยใชหลักการ
ของสายทีย่ าว 30.5 เมตร+ระยะฉีด
อีก9เมตร(รวม 39 เมตร)
Standpipe and Hose System
การกําหนดตําแหนงFHC

การกําหนดตําแหนง FHC

1.ที่บน
ั ไดหนีไฟและโถงลิฟทดับเพลิงตองมี
FHC โดยตอตรงจากทอยืน ไมใหผา น
วาลวควบคุมประจําชัน
้ (Exit Location)

2.ตามแบบแปลน ลงตําแหนงตู FHC


เพิ่มเติมจากขอ 1 ให FHC ทั้งหมด
ครอบคลุมพืน ้ ที่ทงั้ หมดในระยะเขาถึง 39.5
เมตร (Actual Length Method)
การตอทอน้าํ มาจายสามารถตอหลังวาลว
ควบคุม Sprinkler ประจําชัน ้ ได

3.ตู FHC ที่ลงเปนแบบ Class III


Standpipe and Hose System
Pressure Limits for Standpipe System

คาความดันใชงานของ FHC

เดิม NFPA 14 กําหนดใหใชความดัน


65 psig สําหรับใชกบ ั Solid Stream
Nozzle
ปจจุบนั เทคในโลยีการผลิต Nozzle ที่
ใชในการดับเพลิงมีความทนสมัยขึน ้ มี
การออกแบบ Fog Nozzle ที่มี
ประสิทธิภาพมากกวาเดิม โดยตองการ
คาความดันที่สงู ขึน

ปจจุบน
ั NFPA 14 กําหนดคา Residual
Pressure ที่ 100 psig และหามเกิน
175 psig เพราะจะควบคุมสายฉีดน้าํ
ดับเพลิงยาก

2.มาตรฐาน วสท กําหนดใหออกแบบที่


Residual Pressure ที่ 65 psig
Standpipe and Hose System
Hose Valve w/Pressure Regulating Device

คาความดันใชงานของ Hose Valve


ตามมาตรฐาน วสท และ พรบ. ควบคุมอาคาร
กําหนดให Hose Valve 2 ½”
ตองมีความดันเหลือใชงาน
Residual Pressure ไมนอ  ยกวา 65 psig
และไมสูงกวา 100 psig

กรณีที่ความดันสูงกวา 100 psig จะตองติดตั้ง


อุปกรณลดความดันลง
Standpipe and Hose System
การหาอัตราการไหลสูงสุดของระบบทอยืน

ระบบสงน้าํ ดับเพลิงจะตองออกแบบให
สามารถจายน้าํ ใหกบ ั ระบบทอยืนที่ไกล
ที่สุดที่อัตราการไหล 500 gpm และ
สามารถจายใหกบ ั ทอยืนทีเ่ หลือที่อัตรา
การไหล 250 gpm

อัตราการไหลสูงสุด สามารถออกแบบที่
อัตราการไหล 1500 gpm (1250 gpm
ในกรณีทว ั่ ไป และที่อัตราการไหล 1000
gpm สําหรับอาคารทีม ่ ีการติดตัง้ ระบบ
Sprinkler System ครอบคลุมทัง้ อาคาร)

2 riser = 500 + 250 =750 gpm


3 riser = 500 + 250 +250 =1000 gpm
4 riser = 500 + 250 +250 + 250=1250 gpm
Standpipe and Hose System
Vertical Zone of Standpipe

คาความดันสูงสุดในระบบทอยืน

1.ความดันสูงสุดในระบบทอยืน กําหนดที่
350 psig.
ถาความดัน Fire Pump ในกรณี 1 โซนคิด
ไดมากวา 350 psig.จะตองทําการแบงโซน
แนวดิง่

2.แยก Fire Pump สําหรับ Low Zone


และ High Zone และจะตองจัดเตรียมหัว
รับน้าํ ดับเพลิง(FDC)แยกจากกันดวย

3.ทอเมนทีว
่ งิ่ ขึน
้ ไปจาย High Zone ตอง
เปนแบบ Dual Riser
Standpipe and Hose System
Vertical Zone of Standpipe

คาความดันสูงสุดในระบบทอยืน

1.ความดันสูงสุดในระบบทอยืน กําหนดที่
350 psig.
ถาความดัน Fire Pump ในกรณี 1 โซนคิด
ไดมากวา 350 psig.จะตองทําการแบงโซน
แนวดิง่

2.จัดเตรียมหองเครื่อง Fire Pump ที่กลาง


อาคารเพื่อจาย High Zone และจะตอง
จัดเตรียมหัวรับน้าํ ดับเพลิง(FDC)แยกจาก
กันดวย

3.ทอยืนสวนของ Low Zone จะตองวิง่ ไป


เติมน้าํ ที่ถงั Intermediate Tank ดวย
ตัวอยางงานติดตั้งตูสายฉีดน้ําดับเพลิง
FIRE HOSE CABINET

ถูกตอง

ไมถูกตอง
การแบงของประเภทพื้นที่ครอบครอง
(Hazard Classification)
หมายถึง การกําหนดประเภทพื้นที่ ที่มีลักษณะการใชงานคลายคลึงกัน
และมีความเสี่ยงในการติดไฟและลามไฟใกลเคียงกัน เพื่อความมุงหมายในการ
จัดระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐาน
การแบงของประเภทพื้นที่ครอบครอง (Hazard Classification)
สามารถจําแนกไดเปน 3 ประเภทดังนี้
1. พื้นที่ครอบครองอันตรายนอย (Light Hazard Occupancy)
2. พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง (Ordinary Hazard Occupancy)
3. พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก (Extra Hazard Occupancy)

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


พื้นที่ครอบครองอันตรายนอย
(Light Hazard Occupancy)
พื้นที่ตอไปนี้ หรือคลายกันจัดอยูในประเภทเดียวกัน
โรงแรม อาคารที่พักอาศัยรวม หรืออพารตเมนท (เฉพาะสวนหองพัก)
สํานักงานทั่วไป
โบสถ วัดและวิหาร
สโมสร
สถานศึกษา
โรงพยาบาล (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานที่เกี่ยวของ)
สถานพยาบาลและพักฟน (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานที่เกี่ยวของ)
หองสมุด (ยกเวนหองสมุดทีม่ ชี ั้นวางหนังสือขนาดใหญ)
พิพิธภัณฑ

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
(Ordinary Hazard Occupancy)
พื้นทีค่ รอบครองอันตรายปานกลาง กลุมที่ 1
พื้นทีต่ อไปนี้ หรือคลายกันใหจัดอยูในกลุมเดียวกัน
ƒ ที่จอดรถและหองแสดงรถยนต ƒ โรงภาพยนตร และศูนยประชุม
ƒ โรงงานผลิตอุปกรณอเิ ล็กทรอนิคส (ไมรวมเวที และเวทีหลังมาน)
ƒ โรงงานผลิตเครื่องดื่ม ƒ สํานักงานที่เปนอาคารสูงและ
ƒ รานทําขนมปง อาคารขนาดใหญ
ƒ รานซักผา

ƒ โรงงานผลิตอาหารกระปอง

ƒ โรงงานผลิตแกวและวัสดุที่ทาํ จากแกว

ƒ ภัตตาคาร

ƒ โรงงานผลิตเครื่องบริโภคประจําวัน
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
(Ordinary Hazard Occupancy)
พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุมที่ 2
พื้นที่ตอไปนี้ หรือคลายกันใหจัดอยูในกลุมเดียวกัน
โรงงานผลิตสินคาที่ทําจากหนังสัตว โรงตมกลั่น
โรงงานผลิตลูกกวาดและลูกอม อูซอมรถยนต
โรงงานผลิตสิ่งทอ โรงงานผลิตยางรถยนต
โรงงานยาสูบ โรงงานแปรูปไมดวยเครื่อง
โรงงานประกอบผลิตภัณฑไม,โลหะ โรงงานกระดาษและผลิตเยื่อกระดาษ
โรงพิมพและสิ่งพิมพโฆษณา ทาเรือและสะพานสวนที่ยื่นไปในน้ํา
โรงงานใชสารเคมี โรงงานผลิตอาหารสัตว
โรงสีขาว
โรงภาพยนตร
โรงกลึง
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
(Ordinary Hazard Occupancy)
พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุมที่ 2 (ตอ)
โรงมหรสพที่มีการแสดง
ที่ทําการไปรษณีย
รานคา, รานซักแหง
หองสมุด (มีชั้นเก็บหนังสือขนาดใหญ)
หองเก็บของ
หางสรรพสินคาและศูนยการคาที่เปนอาคารขนาดใหญ
ศูนยแสดงสินคาที่เปนอาคารขนาดใหญ
ซุปเปอรสโตรที่เก็บสินคาสูงไมเกิน 3.6 เมตร ( 12 ฟุต)

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก
(Extra Hazard Occupancy)
พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก กลุมที่ 1 พื้นที่ในกลุมนี้จะมีลักษณะการใชงาน
ที่เกี่ยวของกับของเหลวติดไฟหรือของเหลวไวไฟในปริมาณ ไมมาก
พื้นที่ตอไปนี้ หรือคลายกันใหจัดอยูในกลุมเดียวกัน
โรงเก็บและซอมเครื่องบิน
พื้นทีๆ่ ใชงานโดยมีของเหลวไฮดรอลิคติดไฟได
โรงหลอดวยแบบโลหะ ขึ้นรูปโลหะ
โรงงานผลิตไมอัดและไมแผน
โรงพิมพ (ใชหมึกพิมพทมี่ ีจดุ วาบไฟต่ํากวา 37.9 oc)
อุตสาหกรรมยาง
โรงเลื่อย
โรงงานสิ่งทอรวมทั้งโรงฟอก ยอม ปน ดาย เสนใยสังเคราะห และฟอกขนสัตว
โรงงานทําเฟอรนิเจอรดวยโฟม
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก
(Extra Hazard Occupancy)
พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก กลุมที่ 2 พื้นที่ในกลุมนี้จะมีลักษณะการ
ใชงานที่เกี่ยวของกับของเหลวติดไฟหรือของเหลวไวไฟ โดยตรง
พื้นที่ตอไปนี้ หรือคลายกันใหจัดอยูในกลุมเดียวกัน
โรงงานผลิตยางมะตอย
โรงพนสี
โรงกลั่นน้ํามัน
โรงงานผลิตน้ํามันเครือ่ ง
พื้นที่ๆ ใชสารฉีดชนิดของเหลวติดไฟได
โรงชุบโลหะที่ใชน้ํามัน
อุตสาหกรรมพลาสติก
พื้นที่ลางโลหะดวยสารละลาย
การเคลือบสีดวยการจุม
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
พื้นทีป่ องกันสูงสุดในแตละชั้นตอระบบทอเมนแนวดิง่ (โซน)
SYSTEM Protection Area Limitations
ประเภทของพื้นทีค่ รอบครอง พื้นที่ปองกันสูงสุด
ตารางเมตร ตารางฟุต
อันตรายนอย 4,831 52,000
อันตรายปานกลาง 4,831 52,000
อันตรายมาก
- ตารางทอ (Pipe Schedule) 2,323 25,000
- การคํานวณทางชลศาสตร
3,716 40,000
(Hydraulically Calculated)
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
Sprinkler Head

Sprinkler Head มีสวนประกอบที่สําคัญดังนี้


1. Thermo-sensitive Element
เปนอุปกรณที่ทาํ ให Sprinkler Head
เริ่มทํางาน มีทั้งที่เปนแบบ Bulb และ
Fusible Element
2 Deflector and Tines
3 Frame
4 Sprinkler Orifice
5 Finish and Coating
Sprinkler System
Sprinkler Head
Sprinkler System
Sprinkler Head
Sprinkler Pattern Development

Standard Response ใชสําหรับอาคารประเภท


Industrial และ Commercial Building
Quick Response ใชสําหรับอาคารประเภทบานพักอาศัย
Dwelling Unit , Apartment ซึ่งทํางานเร็วกวาปกติ
และจะตองมีลักษณะ High Wall Wetting Capability
Sprinkler System
Sprinkler Head

Throw
Hotel Guest Room
1 Quick Response Standard Coverage pendent Extended Horizontal Sidewall
2. Extended Coverage quick Response Horizontal 3/4 “ NPT Orifice Size
Sidewall
6”-12” Sprinkler Deflector below Ceiling
Minimum Design Pressure มากกวา 7 psig
ประมาณ 25 -35 psig
Sprinkler System
Sprinkler Head
Pintle indicated that non
Standard Orifice

3/4 “ NPT
1/2 “ NPT Orifice Size
Orifice Size
Large Orifice Sprinkler Head
Standard Sprinkler Pendent K-Factor= 8.0
Standard Sprinkler Upright
K-Factor= 5.6 1/2 “ NPT
Orifice Size

Small Orifice Sprinkler Head


K-Factor= 2.8
Sprinkler System
Sprinkler Head

Quick Response Recessed Pendent Sprinkler Head


3 mm. Glass Bulb จะตองใช Escutcheon Plate ที่
ออกแบบมาสําหรับหัวSprinkler
รุนที่ทําการติดตั้งเทานั้น

Concealed Sprinkler
หามทาสีทับ Cover Plate
เด็ดขาด
Sprinkler System
Sprinkler Head
1
Warehouse Storage Protection
1. Ceiling Sprinkler Head
2. In-Rack Sprinkler Head
2

In-Rack Sprinkler Head


Sprinkler System
Sprinkler Head

ESFR= Early Suppression Fast Response


Provide Massive amount of water to suppress fire very quickly
Increase Flexibility to manage the rack configuration
Decrease possibility of mechanical damage by fork lift
Sprinkler System (Sprinkler Head)
อุณหภูมทิ ํางาน, ระดับอุณหภูมิและรหัสสีของหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง
Sprinkler System
Sprinkler Head
ระดับอุณหภูมิทํางานของหัวกระจายน้ําดับเพลิงในพืน้ ที่เฉพาะ
Sprinkler System
Sprinkler Head

จํานวนหัวกระจายน้ําดับเพลิงสํารอง
Sprinkler System
ตารางแสดง พื้นทีป่ องกันสูงสุดตอหัวกระจายน้ําดับเพลิง
พื้นที่ครอบครอง
อันตรายนอย อันตรายปานกลาง อันตรายมาก
ตารางเมตร ตารางฟุต ตารางเมตร ตารางฟุต ตารางเมตร ตารางฟุต
ไมมีสิ่งกีดขวางจากโครงสราง 20.9 225 12.1 130 9.3 100
โครงสรางที่กีดขวางไมติดไฟ 18.6 200 12.1 130 9.3 100
โครงสรางที่กีดขวางติดไฟ 15.6 168 12.1 130 9.3 100

หมายเหตุ : ตาม NFPA 13 พืน้ ที่ครอบคลุมสูงสุดตอหัวกระจายน้ําดับเพลิงชนิดใดๆ


ตองไมเกิน 36 ตารางเมตร (400 ตารางฟุต)

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


Sprinkler System
พื้นที่ปองกันสูงสุดตอหัวกระจายน้ําดับเพลิง
พื้นที่ครอบคลุมของ
หัว Sprinkler อันตรายนอย
D ~ 6.77 m 20.9 m2 D =5.15 m
4.57 X 4.57 m2

อันตรายปานกลาง
12.1 m2 D =3.92 m
3.47 X 3.47 m2

อันตรายมาก
9.3 m2 D = 3.44 m
3.05 X 3.05 m2
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
ตารางการจัดระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง
ระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง
ประเภทของพื้นที่
ครอบครอง บนทอยอยเดียวกัน (S) บนทอยอยแตละทอ (L)
เมตร ฟุต เมตร ฟุต
อันตรายนอย 4.6 15 4.6 15
อันตรายปานกลาง 4.2 (4.6)* 14 (15)* 4.2 (4.6)* 14 (15)*
อันตรายมาก 3.7 12 3.7 12

* คาจาก NFPA 13
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การจัดระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง
• ระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิงจากผนัง (วัดแนวตั้งฉาก)
เทากับครึ่งหนึ่งของระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิงแตละหัว
ตามที่แสดงในตาราง และหางจากผนังไมนอยกวา 100 มิลลิเมตร

≤ 2.3 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายนอย


≤ 2.1 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
≤ 1.85 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายมาก

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


Sprinkler System
การจัดระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง
• ระยะหางของหัวกระจายน้ําดับเพลิงกับจุดใดๆในพื้นที่ไมควรเกิน 0.75 เทา
ของระยะหางสูงสุด
≤ 3.45 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายนอย
≤ 3.15 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
≤ 2.78 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายมาก

≤ 2.3 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายนอย


≤ 2.1 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
≤ 1.85 เมตร สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายมาก
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การจัดระยะหางสูงสุดของหัวกระจายน้ําดับเพลิง
• ระยะหางของหัวกระจายน้ําดับเพลิงแตละหัวตองไมนอยกวา
1.80 เมตร
• สําหรับหองที่จัดอยูในพื้นที่ครอบครองอันตรายนอยที่มีพื้นที่
นอยกวา 74.3 ตารางเมตร ( 800 ตารางฟุต) อนุโลมใหติดตัง้ หัว
กระจายน้ําดับเพลิงหางจากผนังหองไดสูงสุดไมเกิน 2.7 เมตร
( 9 ฟุต) เมื่อวัดตั้งฉากกับผนัง
4.0 9.0

2.3
2.3

5.0
3.6 8.2
2.0 2.0
2.7

2.3 1.8 4.6 2.7

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


Sprinkler System
การคิดพืน้ ที่ปองกันตอหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง (As)
• ระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอยเดียวกัน “S”
ใหพิจารณาระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอยเดียวกันหรือ 2 เทาของ
ระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงกับผนังในกรณีที่เปนหัวกระจายน้ําดับเพลิงหัว
ปลายสุดทาย ( End Wall ) แลวแตระยะใดจะมากกวา
• ระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอยแตละทอ “L”
ใหพิจารณาระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอยแตละทอ หรือ 2 เทาของ
ระยะหางระหวางหัวกระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอยสุดทายกับผนัง ( End Wall ) แลวแต
ระยะใดจะมากกวา
• พื้นทีป่ อ งกันของหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง “As” = S x L

มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51


Sprinkler System
การคิดพืน้ ที่ปองกันตอหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง (As)
2m
1.5 m 4m
S = 4m or 2x1.5(3m)
3m 4m
ใชคา S = 4m
L = 3m or 2x2.0(4m)
3m
ใชคา L = 4m

พื้นทีป่ อ งกันของหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง (As)


As = S x L = 4m x 4m = 16 m2
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การคิดพืน้ ที่ปองกันตอหัวกระจายน้ําดับเพลิง (As)

S = 3 m or 2x2.2(4.4 m)
ใช S = 4.4 m
L = 4.2 m or 2x2.3(4.6 m)
ใช L = 4.6 m

พื้นทีป่ อ งกันตอหัว
As = S x L 2.4
= 4.4 m x 4.6 m 3.0
= 20.24 m2
1.9 4.2 2.3 2.2
Sprinkler System การจัดตําแหนงหัวกระจายน้ําดับเพลิง
Sprinkler System หัวกระจายน้ําดับเพลิง
Standard Upright & Pendent Sprinkler

แผนกระจายน้ํา แผนกระจายน้ํา
ดับเพลิง ดับเพลิง
(Deflector) (Deflector)

UPRIGHT PENDENT
Sprinkler System
ตําแหนงของแผนกระจายน้ําดับเพลิง
กรณีติดตั้งบริเวณโครงสรางที่ไม
มีสิ่งกีดขวางการกระจายน้ํา
ระยะหางของแผนกระจายน้ํา
ดับเพลิงที่ติดตั้งใตเพดาน
จะตองหางจากเพดานอยางนอย
25 มม. (1นิ้ว) และหางมากที่สุด
ไมเกิน 300 มม. (12นิ้ว)
ยกเวน หัวกระจายน้ําดับเพลิง
แบบพิเศษใหติดตั้งตาม
คําแนะนําของผูผลิตที่ระบุไว
Sprinkler System ตําแหนงของแผนกระจายน้ําดับเพลิง

กรณีฝาเปลี่ยนระดับ โดยที่
ระยะระหวางระดับฝาบนกับ
ระดับของแผนกระจายน้ํา
ดับเพลิง (DEFLECTOR)
มากกวา 914 มม. ( 36 นิ้ว)
ใหพิจารณาแนวเปลี่ยนระดับ
ฝานั้นเสมือนเปนแนวผนัง
ในการจัดระยะหัวกระจาย
น้ําดับเพลิง
Sprinkler System ตําแหนงของแผนกระจายน้ําดับเพลิง
แผนกระจายน้ํา (Deflector) จะตองติดตั้งใหขนานกับเพดาน ฝาหรือหลังคา

ยกเวน กรณีตอไปนี้ใหติดตั้งแผนกระจายน้ํา (Deflector) ในแนวนอนได


• ตําแหนงหัวกระจายน้ําที่อยูใตยอดจั่วของเพดาน ฝาหรือใตยอดจั่วของหลังคา
• ความลาดเอียงของเพดาน ฝาหรือหลังคา นอยกวา 1/6 (16.7%)
Sprinkler System
สิ่งกีดขวางการกระจายน้ําจากหัวกระจายน้ําดับแพลิง

Obstruction ของหัว sprinkler พิจารณาเปน 2 แบบ


1. Obstruction to Sprinkler for Develop Discharge Pattern ระยะ 0-18 นิว
้ ที่ต่ํากวา
Sprinkler deflector
2. Obstruction to sprinkler discharge to reach the Hazard
Sprinkler System พื้นทีค่ รอบคลุมของหัว SPRINKLER
Sprinkler System
สิ่งกีดขวางการกระจายน้ําจากหัวกระจายน้ําดับแพลิง
ระยะหางในแนวราบของหัวกระจายน้ําดับเพลิงจากสิ่งกีดขวาง
แนวดิง่
D
C
A

สิ่งกีดขวางแนวดิ่ง(เสา)

A = 3C หรือ 3D โดยใชคามากกวา และสูงสุดไมเกิน 600 มม.


Sprinkler System
ตําแหนงแผนกระจายน้ํา ระยะหางมากที่สุดของ
ระยะหางจากหัวกระจายน้ํา แผนกระจายน้ํา (Deflector)
ดับเพลิงเมือ่ ติดตั้งเหนือ ดับเพลิง เหนือสวนลางสุดของ
ถึงดานใกลสุดของสิ่งกีดขวาง (ก) สิ่งกีดขวาง (ข)
สวนลางสุดของสิ่งกีดขวาง นอยกวา 300 มม. 0 มม.
วสท มากกวา 300 มม. ถึง 450 มม. 65 มม.
มากกวา 450 มม. ถึง 600 มม. 90 มม.
มากกวา 600 มม. ถึง 750 มม. 140 มม.
มากกวา 750 มม. ถึง 900 มม. 190 มม.
มากกวา 900 มม. ถึง 1050 มม. 240 มม.
มากกวา 1050 มม. ถึง 1200 มม. 300 มม.
มากกวา 1200 มม. ถึง 1350 มม 350 มม.
มากกวา 1350 มม. ถึง 1500 มม 420 มม.
มากกวา 1500 มม. 460 มม.
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
ตําแหนงแผนกระจายน้ําดับเพลิง
เมื่อติดตั้งเหนือสวนลางสุดของ
สิ่งกีดขวาง NFPA 13
Sprinkler System ตําแหนงของแผนกระจายน้ําดับเพลิง
กรณีติดตั้งบริเวณ
โครงสรางที่กีดขวาง
การกระจายน้ํา
แผนกระจายน้ําดับเพลิง
สามารถติดตั้งอยูใต
โครงสรางในระยะ 25 มม.
(1นิ้ว) จนถึง 150 มม.
(6 นิ้ว) และหางจากเพดาน
ไดสูงสุดไมเกิน 560 มม.
(22นิ้ว)
Sprinkler System
ตัวอยางของหัวกระจายน้ําดับเพลิงที่ติดตัง้ ไมถูกตอง
Sprinkler System
การเพิ่มหัวกระจายน้ําดับเพลิงเพื่อใหครอบคลุมพื้นที่
ที่ถูกสิ่งกีดขวางการกระจายน้ํา
Sprinkler System การติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงใตสิ่งกีดขวาง
ติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงใตทอลมหรือสิ่งกีด
ขวางถาวรที่มีความกวางมากกวา 1.20 เมตร
ยกเวน หัวกระจายน้ําดับเพลิงที่ติดตั้ง มีการ
จัดระยะตามตารางแลว
Sprinkler System
การติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงเหนือฉากกั้นหองทีส่ ูงไมถึงเพดาน
ระยะหางนอยที่สุดในแนวดิง่
ระยะหางในแนวนอน ระหวางแผนกระจายน้ํา
(ก) เหนือสวนบนสุดของผนัง (ข)
นอยกวา 150 มม. 75 มม.
มากกวา 150 มม. ถึง 250 มม. 100 มม.
มากกวา 250 มม. ถึง 300 มม. 150 มม.
มากกวา 300 มม. ถึง 375 มม. 200 มม.
มากกวา 375 มม. ถึง 450 มม. 237 มม.
มากกวา 450 มม. ถึง 600 มม. 312 มม.
มากกวา 600 มม. ถึง 750 มม. 387 มม.
มากกวา 750 มม. 450 มม.
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การหาขนาดทอน้าํ ดับเพลิงสําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายนอย
โดยใชตารางทอ
ตาราง ขนาดทอน้ําดับเพลิงกรณีติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงที่เพดานหรือใตฝาเพดาน
ขนาดทอ จํานวนหัวกระจายน้ํามากสุดที่ติดตั้งได
(มิลลิเมตร) ทอเหล็ก (Steel Pipe) ทอทองแดง (Copper Pipe)
25 2 2
32 3 3
40 5 5
50 10 12
65 30 40
80 60 65
100 จํากัดโดยพื้นที่ปองกันสูงสุด 4831 ตารางเมตร
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การหาขนาดทอน้าํ ดับเพลิงสําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายนอย
โดยใชตารางทอ
ตาราง ขนาดทอน้ําดับเพลิงกรณีติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงทั้งใตฝาเพดานและในฝาเพดาน
ขนาดทอ จํานวนหัวกระจายน้ํามากสุดที่ติดตั้งได
(มิลลิเมตร) ทอเหล็ก (Steel Pipe) ทอทองแดง (Copper Pipe)
25 2 2
32 4 4
40 7 7
50 15 18
65 50 65
“หากจํานวนหัวกระจายน้ําดับเพลิงทั้งหมดเกินกวาคาในตารางนี้ใหใช
ขนาดทอกรณีทตี่ ิดตั้งที่เพดานหรือใตฝาเพดาน”
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การหาขนาดทอน้ําดับเพลิงสําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลางโดยใชตารางทอ
ตาราง ขนาดทอน้ําดับเพลิงกรณีติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงที่เพดานหรือใตฝาเพดาน
ขนาดทอ จํานวนหัวกระจายน้ํามากสุดที่ติดตั้งได
(มิลลิเมตร) ทอเหล็ก (Steel Pipe) ทอทองแดง (Copper Pipe)
25 2 2
32 3 3
40 5 5
50 10 12
65 20 (15) 25 หมายเหตุ
80 40 (30) 45 กรณีที่ระยะหางของหัว
100 100 115 กระจายน้ําดับเพลิงบนทอยอย
125 160 180 หรือระหวางทอยอยเกินกวา
150 275 300
3.7 เมตร (12ฟุต) ใหใชตัวเลข
ในเครื่องหมาย ( ) แทน
200 จํากัดโดยพื้นที่ปองกันสูงสุด 4831 ตารางเมตร
มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การหาขนาดทอน้าํ ดับเพลิงสําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
โดยใชตารางทอ
ตาราง ขนาดทอน้ําดับเพลิงกรณีติดตั้งหัวกระจายน้ําดับเพลิงทั้งใตฝาเพดานและในฝาเพดาน
ขนาดทอ จํานวนหัวกระจายน้ํามากสุดที่ติดตั้งได
(มิลลิเมตร) ทอเหล็ก (Steel Pipe) ทอทองแดง (Copper Pipe)
25 2 2
32 4 4
40 7 7
50 15 18
65 30 40
80 60 65
“หากจํานวนหัวกระจายน้ําดับเพลิงทั้งหมดเกินกวาคาในตารางนี้ใหใช
ขนาดทอกรณีทตี่ ิดตั้งที่เพดานหรือใตฝาเพดาน” มาตรฐานการปองกันอัคคีภัย วสท 3002-51
Sprinkler System
การจัดแนวทอน้ําและ
กําหนดขนาดทอน้ํา

CENTRAL FEED
Sprinkler System
การจัดแนวทอน้ําและ
กําหนดขนาดทอน้ํา

SIDE CENTRAL FEED

You might also like