You are on page 1of 80

สรุ ป กฎหมาย

พิ กั ด อั ต ราศุ ล กากร
ด ร . พ ง ษ์ สิ ริ ต า อิ น ท ร์
พิกัดอัตราศุลกากร
ถือเปนหัวใจสําคัญของการสร้างมาตรฐานสินค้าทีเปน
มาตรฐานสากล เพือใช้ในการเก็บภาษีระหว่างประเทศ
อย่างถูกต้อง
ลองคิดสภาพดูวา่ แต่ละประเทศก็มส ี น
ิ ค้าของตนเอง
และมีวตั ถุดิบทีแตกต่างกัน รวมทังอาจจะมีชอเรี
ื ยกที
แตกต่างกันออกไปด้วยในแต่ละที แล้วเราจะเก็บภาษี
สินค้าเหล่านันได้อย่างไร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ดังนัน องค์การศุลกากรโลก ( WCO) จึงมีการประชุม
เพือหาแนวทางในการกําหนดประเภทและชนิดสินค้า
ี วามเข้าใจตรงกันทัวโลก และมีความเปนสากล
ให้มค
ดังนัน จึงมีการคิดระบบหลักเกณฑ์ทางศุลกากร
ระบบหนึงทีใช้สาํ หรับการกําหนดประเภทของสินค้า
ทัวทัวโลกคือ “พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์”
(HARMONIZED SYSTEM)

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์
(HARMONIZED SYSTEM: HS)
มีชอเต็
ื มว่า “ระบบฮาร์โมไนช์เพือการจําแนกประเภทและการ
กําหนดรหัสสินค้า” (THE HARMONIZED COMMODITY
DESCRIPTION AND CODING SYSTEM)
เปนระบบการแบ่งกลุ่มสินค้า อันประกอบด้วย เลขรหัสกํากับ
ประเภทสินค้าและประเภทย่อยสินค้าทีเกียวข้อง หมายเหตุ
ของ หมวด ตอน และประเภทย่อย และหลักเกณฑ์ทัวไป
สําหรับการตีความระบบฮาร์โมไนซ์
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
โครงสร้างหลักของระบบฮาร์โมไนซ์ 6 หลัก
1 2
ตอน : เลขรหัส 2 หลัก
1 2 3 4
ประเภท : เลขรหัส 4 หลัก
1 2 3 4 5 6
ประเภทย่อย : เลขรหัส 6 หลัก

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ฉบับแรกคือ HS ฉบับป
ค.ศ. 1988
อนุสญั ญาระหว่างประเทศว่าด้วยระบบฮาร์โมไนซ์
เพือการจําแนกประเภทและการกําหนดรหัสสินค้า
กําหนดว่า พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ต้องได้รบ
ั การ
ี วามทันสมัย สอดคล้องกับ รูปแบบการ
ปรับปรุงให้มค
ค้าระหว่างประเทศ การเปลียนแปลงด้านเทคโนโลยี
การผลิตสินค้า ตลอดจนใช้เปนเครืองมือสําหรับ
ควบคุมและรักษาสภาพแวดล้อม สุขอนามัยของโลกฯ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ดังนัน พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์จง ึ กําหนดให้ต้อง
ดําเนินการปรับปรุง ทุก 5 ป ซึงได้ดําเนินการมาแล้ว
ในป ค.ศ. 1992 ป ค.ศ. 1996 ป ค.ศ. 2002 ป ค.ศ.
2007 ป ค.ศ. 2012 และป 2017 (ปจจุ บน ั )
ฉบับอนาคตคือป ฉบับป ค.ศ. 2022
คณะกรรมการระบบฮาร์โมไนซ์ (HARMONIZED
SYSTEM COMMITTEE: HSC) ของ WCO มีหน้าที
ในการเสนอแนะ ปรับปรุง แก้ไขระบบฮาร์โมไนซ์ต่อ
คณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์อาเซียน
THE ASEAN HARMONIZED TARIFF
NOMENCLATURE: AHTN

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
เนืองจากประเทศไทยเปนหนึงในสมาชิกของอาเซียน
โดยอาเซียนได้มค ี วามเห็นร่วมกันในการกําหนด “พิธส
ี าร
ว่าด้วยการนําพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ อาเซียนมาใช้”
(PROTOCAL GOVERNING THE IMPLEMENTATION
OF THE ASEAN HARMONIZED TARIFF
NOMENCLATURE: AHTN)* มาใช้ในการจําแนกประเภท
พิกัดของสินค้า เพือวัตถุประสงค์ด้านอัตราอากรและการค้า
ของประเทศสมาชิกอาเซียน ทําให้เกิดความโปร่งใสและความ
สะดวกทางการค้าในภูมภ ิ าคอาเซียน

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ดังนัน ประเทศไทยจึงได้รบ ั เอา AHTN หรือพิกัด
อัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์อาเซียนมาใช้ (ซึง
ั เปน AHTN 2017)* โดยเพิมรหัสพิกัดอัตรา
ปจจุ บน
ศุลกากรเข้าไปอีกจํานวน 2 หลัก ในตอนท้าย (ประเภท
ย่อยอาเซียน) รวมเปน 8 หลัก*
เช่น แต่เดิม สมมติพก ิ ัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ทีใช้
กันอยูม่ ี 6 หลัก คือ XXXX.XX สําหรับอาเซียนก็จะใช้
เปน XXXX.XX.XX โดยเพิม 2 ตัวท้ายขึนมา เพือใช้
ในการค้าในภูมภ ิ าคอาเซียน
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
โครงสร้างหลักของระบบฮาร์โมไนซ์อาเซียน 8 หลัก
1 2
ตอน : เลขรหัส 2 หลัก
1 2 3 4
ประเภท : เลขรหัส 4 หลัก
1 2 3 4 5 6
ประเภทย่อย : เลขรหัส 6 หลัก
1 2 3 4 5 6 7 8
ประเภทย่อย (ประเภทย่อยอาเซียน) : เลขรหัส 8 หลัก
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ความสําคัญของระบบ HS CODE
HS CODE จะช่วยให้ผู้นําเข้าและผู้สง
่ ออกสามารถ
คํานวณต้นทุนในการประกอบการ และตังราคาสินค้า
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนืองจากสามารถทราบอัตรา
ภาษีอากรทีชัดเจนและถูกต้อง

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ความสําคัญของพิกัดอัตราศุลกากร
HS CODE จะใช้ในการกําหนดอัตราภาษีสน ิ ค้าทัง
ขาเข้าและขาออก โดยสินค้าขาเข้ามักจะมีการเก็บภาษี
แต่สน ี ารเก็บภาษี
ิ ค้าขาออกมักจะไม่มก
HS CODE จะช่วยให้ผู้นําเข้าและผู้สง
่ ออกทราบถึง
ประเภทของสินค้า และใช้ประโยชน์ทางภาษีอากร หรือ
ทีเรียกว่า FORM ลดหย่อนภาษี FTA (FREE TRADE
AREA) ได้อย่างถูกต้อง และ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
การค้นพิกัดอัตราศุลกากร
ค้นหาผ่านทางเว็บไซต์ของกรมศุลกากร
HTTP://ITD.CUSTOMS.GO.TH/IGTF/TH/MAIN_FRAME.
JSP?LANG=TH...
ค้นหาผ่านทาง APPLICATION “HS CHECK”
ให้ตัวแทนออกของทีมีความเชียวชาญระบุพกิ ัดศุลกากรให้
สามารถปรึกษาปญหาเกียวกับพิกัดอัตราศุลกากรและเรือง
ทัวไปได้ที สายด่วนกรมศุลกากร หมายเลข 1164*
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
การค้นพิกัดอัตราศุลกากร

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
การค้นพิกัดอัตราศุลกากร

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530
สําหรับพระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากรทีบังคับใช้
ในปจจุ บนั คือ “พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. 2530” โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เมือวันที 31 ธันวาคม 2530 และมีผลใช้บงั คับใน
วันถัดจากวันทีประกาศในราชกิจจานุเบกษา คือวันที
1 มกราคม 2531

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
โครงสร้างของพระราชกําหนด
พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530
ประกอบด้วย ตัวบทกฎหมาย
ภาคผนวกจํานวน 4 ภาค ได้แก่
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
ภาค 2 พิกัดอัตราอากรขาเข้า
ภาค 3 พิกัดอัตราอากรขาออก และ
ภาค 4 ของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ประเทศไทย ได้นําหลักการและโครงสร้างการจําแนก
ประเภทพิกัดสินค้าระบบฮาร์โมไนซ์มาใช้ในภาค 1 และ
ภาค 2
โดยพิกัดอัตราอากรขาเข้าในภาค 2 แห่งพระราช
กําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 แบ่งออกเปน
21 หมวด 97 ตอน

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ความเปนมา
รัฐบาลจอมพล แปลก พิบูลสงคราม ได้ประกาศใช้
กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรฉบับแรก คือ
"พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2492"
ในช่วงรัฐบาล พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ได้ปรับปรุง
กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากรเสียใหม่
โดยประกาศใช้ "พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ. 2530" ให้มผ ั คับตังแต่ วันที 1 มกราคม
ี ลใช้บง
2531 เปนต้นไป
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พระราชกําหนดดังกล่าวได้มก ี ารแก้ไขเพิมเติม
โดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิมเติมพระราชกําหนด
พิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 (ฉบับที 1) พ.ศ. 2537
และฉบับต่อ ๆ มา รวมจํานวน 12 ฉบับ
ดังนัน กฎหมายเรืองนีทีใช้บงั คับอยูใ่ นปจจุ บน

มีจาํ นวนทังสิน 13 ฉบับ

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
สาระสําคัญของพระราชกําหนดพิกัดฯ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 104
ตอนที 276 เมือวันที 31 ธันวาคม 2530 โดยให้ไว้
ณ วันที 23 ธันวาคม 2530 และ
มีผลใช้บง
ั คับในวันถัดจากวันทีประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา คือ วันที 1 มกราคม 2531
ซึงเปนวันทีเริมใช้บง
ั คับพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์
(HARMONIZED SYSTEM) ขององค์การศุลกากร
โลกพอดี
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 มีอยู่
ทังหมด 18 มาตรา แบ่งออกเปน 4 ภาค ได้แก่
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
ภาค 2 พิกัดอัตราศุลกากรขาเข้า
ภาค 3 พิกัดอัตราศุลกากรขาออก
ภาค 4 ว่าด้วยของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร
สําหรับในส่วนของข้อสอบกรมศุลกากร ไม่ได้เอา
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร ในส่วนของภาค 2
และ ภาค 3 มาออกข้อสอบด้วย
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530 มีอยู่
ทังหมด 18 มาตรา แบ่งออกเปน 4 ภาค ได้แก่
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
ภาค 2 พิกัดอัตราศุลกากรขาเข้า
ภาค 3 พิกัดอัตราศุลกากรขาออก
ภาค 4 ว่าด้วยของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
สําหรับในส่วนของข้อสอบกรมศุลกากร ไม่ได้เอา
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากรในส่วนของภาค 2
และ ภาค 3 มาออกข้อสอบด้วย เนืองจากเปนเรือง
ของพิกัดอัตราศุลกากรขาเข้าและขาออก ซึงมีอยู่
จํานวนมาก (จํานวนหลายพันหน้า)
กรมศุลกากร จึงเน้นการออกข้อสอบในส่วนของ
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
ภาค 4 ของยกเว้นอากรแทน

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 2 พิกัดอัตราศุลกากรขาเข้า

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 3 พิกัดอัตราศุลกากรขาออก

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 1 และ ภาค 4

ภาค 1 ภาค 4
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
สาระสําคัญของพระราชกําหนดพิกัดฯ
มาตรา 1
พระราชกําหนดนีเรียกว่า “พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร
พ.ศ.2530”
มาตรา 2
พระราชกําหนดนีให้ใช้บง
ั คับตังแต่วน
ั ถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเปนต้นไป

มาตรา 3
ให้ยกเลิกกฎหมาย รวมทังหมด 57 ฉบับ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 4
ของทีนําเข้ามาหรือพาเข้ามาในหรือส่งหรือพาออกไป
นอกราชอาณาจักร
ให้เรียกเก็บและเสียอากรตามทีกําหนดไว้ใน
พิกัดอัตราศุลกากรท้ายพระราชกําหนดนี หรือ
ตามทีรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังประกาศ
กําหนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 4/1
ของทีนําเข้ามาในหรือส่งออกไปจากพืนทีพัฒนาร่วม
ตามกฎหมายว่าด้วย องค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย
ให้เรียกเก็บและเสียอากรตามทีกําหนดไว้ในพิกัดอัตรา
ศุลกากรท้ายพระราชกําหนดนี
ทังนี ให้ลดอัตราอากรทีนํามาใชในการเรียกเก็บแก่
ของดังกล่าวลง ร้อยละห้าสิบ

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 4/1
ของทีนําเขามาในพืนทีพัฒนาร่วมตามวรรคหนึง
หากเปนของทีได้รบ ั ความเห็นชอบทางศุลกากร
เครืองมือเครืองใช้ หรือวัสดุสงของสํ
ิ าหรับใช้ใน
พืนทีพัฒนาร่วมดังกล่าว
และนําเข้าโดยองค์กรร่วมไทย – มาเลเซีย ตาม
กฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วม ไทย – มาเลเซีย หรือ
บุคคลใด ๆ ทีได้รบ
ั อํานาจจากองค์กรร่วมนัน
ให้ได้รบ
ั ยกเว้นอากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 5
ของใดทีระบุอัตราอากรทัง ตามราคา และ ตามสภาพ
ให้เสียอากรในอัตราที คิดเปนเงินสูงกว่า

“อัตราอากรศุลกากร” แบ่งออกเปน 2 ประเภท คือ


1. อัตราอากรตามราคา (AD VALOREM)
หมายถึง อัตราทีเรียกเก็บตามร้อยละของราคา
ศุลกากร เช่น รองเท้านําเข้า อัตรา 30 % ของราคา
CIF ไม้สง
่ ออก อัตรา 10% ของราคา FOB เปนต้น
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
2. อัตราอากรตามสภาพ (SPECIFIC)
หมายถึง อัตราทีเรียกเก็บตามหน่วยปริมาณของ คือ
นําหนัก ปริมาตร ความยาว หรือจํานวน กําหนดขึน
ตามความเหมาะสมกับของนัน ๆ เช่น กระบือตัวละ
500 บาท นํามันลิตรละ 0.50 บาท เปนต้น

กฎหมายกําหนดว่า
ของใดทีกฎหมายกําหนดให้มท ี ังอัตราตามสภาพและ
อัตราตามราคา ให้คํานวณทัง 2 แบบ และให้ชาํ ระ
อากรตามแบบทีคํานวณอากรได้สง ู สุด
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 6
ถ้าอธิบดีกรมศุลกากรเห็นว่า มีการหลีกเลียงอากร
ทีพึงเก็บแก่สงที
ิ สมบูรณ์แล้ว โดยวิธน ี ําสิงนันเข้ามา
เปนส่วน ๆ ต่างหากจากกัน จะเปนในวาระเดียวกัน
หรือต่างวาระกันก็ดี ก็ให้เรียกเก็บอากรแก่สว ่ นนัน ๆ
รวมกันในอัตราทีถือเสมือนว่าเปนสิงทีได้ประกอบมา
สมบูรณ์แล้ว

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ยกตัวอย่างเช่น
ของนันเปน รถยนต์ครบชุดสมบูรณ์ ซึงตามปกติ
จะถูกเรียกเก็บอากร ในอัตรา 300 % แต่ทําการ
หลีกเลียงอากรโดยนําเข้ามาเปนชินส่วนแยกจากกัน
โดยกา นําเข้ามาแต่ละครังนัน อาจจะเสียอัตราอากร
ในอัตราของ “อะไหล่แต่ละชิน” ซึงอาจจะ เสียอากรใน
อัตรา 5 % หรือ 10 % หรือได้รบั การยกเว้นอากร
เปนต้น

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ถ้ากรมศุลกากร ตรวจพบว่า มีการหลีกเลียงอากรโดย
การแยกส่วนของชินทีสมบูรณ์เข้ามาในราชอาณาจักร
เปนส่วน ๆ เพือไม่ให้เจ้าหน้าทีศุลกากรจับได้วา่ เปน
ของทีสมบูรณ์ ดังเช่นกรณีตัวอย่าง
กรมศุลกากรก็จะดําเนินการเรียกจัดเก็บอากรใหม่
โดยเรียกเก็บอากรในอัตราอากรของ “รถยนต์” คือ
300 % เสมือนว่าอะไหล่รถยนต์แต่ละส่วนรวมกันนัน
เปนรถยนต์หนึงคันทีได้ประกอบมาครบถ้วนสมบูรณ์

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 7
การสําแดงรายการในใบขนสินค้าขาเข้าและ
ใบขนสินค้าขาออกนัน มิให้ถือว่าบริบูรณ์
นอกจากจะสําแดง ประเภทของ (ประเภทพิกัด)
และ เกณฑ์ปริมาณทีต้องใช้ในการเก็บอากร
(อัตราอากร) ให้ถก ู ต้องครบถ้วนตามทีจําแนกและ
กําหนดไว้ในพิกัดอัตราอากรท้ายพระราชกําหนดนี
ถ้าไม่สาํ แดงจะถือว่าใบขนสินค้านันยังไม่สมบูรณ์

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 8
การประเมินอากรสําหรับของทีต้องเสียอากรตาม
สภาพ

มาตรา 9
ของทีต้องเสียอากรตามราคานัน
อธิบดีกรมศุลกากรจะประกาศเปนครังคราวก็ได้วา่
ราคาศุลกากรสําหรับของประเภทหนึงประเภทใด
กําหนดเปนเงินเท่าใด
ให้ถือราคาเช่นว่านีเปนเกณฑ์ประเมินเงินอากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ปจจุ บนั นี ประเทศไทยเข้าสูร่ ะบบราคาแกตต์ (GATT
VALUATION) แล้ว
การกําหนดราคาของของทีนําเข้ามาในประเทศนัน
จะต้องประเมินตามวิธก ี ารของแกตต์ คือ 6 วิธก
ี าร
ดังนัน ในปจจุ บน ั การทีอธิบดีกรมศุลกากรจะประกาศ
กําหนดให้ของใดต้องเปนราคาเท่าใด เปนเรืองทีถือว่า
กระทําได้ยาก
แม้วา่ จะกระทําได้ แต่ก็อาจขัดกับหลักการของแกตต์

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 10
ของใดซึงในเวลานําเข้าได้รบ ั ยกเว้นหรือลดหย่อน
อากรเพราะเหตุทีนําเข้ามาเพือใช้เอง
โดยบุคคลทีมีสท ิ ธิเช่นนัน หรือ
เพราะเหตุทีนําเข้ามาเพือใช้ประโยชน์อย่างใด
ทีกําหนดไว้โดยเฉพาะ
ถ้าหากของนันได้โอนไปเปนของบุคคลทีไม่มส ี ท
ิ ธิได้รบ

ยกเว้นหรือลดหย่อนอากร หรือได้นําไปใช้ในการอืน
นอกจากทีกําหนดไว้หรือสิทธิทีได้รบ ั ยกเว้นหรือ
ลดหย่อนอากรสินสุดลง
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ของนันจะต้องเสียอากร โดยถือ สภาพของของ ราคา
และอัตราอากรทีเปนอยู่
ในวันโอนหรือนําไปใช้ในการอืน หรือ
วันทีสิทธิได้รบ
ั ยกเว้นหรือลดหย่อนอากรสินสุดลง
เปนเกณฑ์ในการคํานวณอากร

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ยกตัวอย่างเช่น
ในกรณีของรถยนต์ของบุคคลผู้มเี อกสิทธิทางการทูต
ปกติแล้วก็จะได้รบั ยกเว้นอากรในกรณีการนําเข้ารถยนต์
จากต่างประเทศ เพราะถือว่าเปนผู้ได้รบ ั เอกสิทธิทางการทูต
ภายใต้สญ ั ญาทีได้ทําไมตรีระหว่างกัน
ถ้าของนันได้โอนไปยังบุคคลทีไม่มส ี ท
ิ ธิได้รบ
ั ยกเว้นอากร
เช่น พ่อค้าทีมาซือรถยนต์ ซึงเปนบุคคลธรรมดา
ไม่มเี อกสิทธิทางการทูต
ของนันจะต้องเสียอากรโดยถือสภาพของของ ราคา และ
อัตราอากรทีเปนอยูใ่ นวันโอนเปนเกณฑ์ในการคํานวณอากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
สมมติ
ในตอนทีโอน สภาพของรถยนต์เปนของทีเก่าแล้ว
ทําให้ราคารถยนต์ลดลงจากเดิม 3,000,000 บาท
เหลือเพียง 1,200,000 บาท และอัตราอากรรถยนต์
ขณะนันคิดเปน 30%
ดังนัน พ่อค้ารถยนต์ก็จะต้องเสียอากร เปนจํานวน
1,200,000 X 50% = 360,000 บาท เปนต้น
ซึงเปนสภาพของ ราคา และ อัตราอากรทีเปนอยูใ่ น
วันโอน
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 11
ของใดซึงในเวลานําเข้าได้รบ ั ยกเว้นอากร
โดยมีเงือนไขว่าจะต้องส่งกลับออกไปภายในระยะเวลาที
กําหนด
ถ้าภายในระยะเวลาทีกําหนดนัน ของนันได้โอนไปเปนของ
บุคคลทีมีสทิ ธิได้รบ
ั ยกเว้นอากร
หากนําของนันเข้ามาเอง หรือ
ได้นําไปใช้ประโยชน์ที กฎหมายกําหนดให้ได้รบ ั ยกเว้นอากร
ในการนําเข้า โดยไม่มเี งือนไขว่าจะต้องส่งกลับออกไป
ให้ของนันหลุดพ้นจากเงือนไขดังกล่าว
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ยกตัวอย่างเช่น
ในกรณีของรถยนต์ทีนําเข้ามาชัวคราว ซึงได้รบ ั ยกเว้น
อากรตาม ภาค 4 ประเภทที 3 (ค)
ถ้าบุคคลทีนําเข้ามานันได้ขายรถยนต์ให้กับบุคคล
ผู้มเี อกสิทธิทางการทูต
ของนันก็จะหลุดพ้นจากเงือนไขการส่งกลับออกไปต่าง
ประเทศ และไปอยูใ่ นเงือนไขของการยกเว้นอากรของ
บุคคลทีรับโอนของ (ผู้มเี อกสิทธิทางการทูต) ต่อไป

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 12
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง โดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี
มีอํานาจประกาศ
ลดอัตราอากร สําหรับของใด ๆ จากอัตราทีกําหนดไว้
ในพิกัดอัตราศุลกากร หรือ
ยกเว้นอากรสําหรับของใด ๆ หรือ
เรียกเก็บอากรพิเศษเพิมขึน สําหรับของใด ๆ
ไม่เกินร้อยละห้าสิบของอัตราอากรทีกําหนดไว้ในพิกัด
อัตราศุลกากรสําหรับของนัน
ทังนี โดยจะกําหนดหลักเกณฑ์และเงือนไขใด ๆ ไว้ด้วยก็ได้
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 12
การทีรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังจะออก
ประกาศลดอัตราอากรฯ ได้ จะต้องเปนไปด้วยเหตุผล
3 ประการนีคือ
เพือประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของประเทศ
เพือความผาสุกของประชาชน
เพือความมันคงของประเทศ

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ยกตัวอย่างเช่น
ประกาศกระทรวงการคลัง เรือง การยกเว้นอากร
ศุลกากรสําหรับของทีนําเข้ามาเพือใช้รก
ั ษาวินิจฉัย
หรือปองกันโรค ติดเชือไวรัสโคโรนา 2019

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 13
ในกรณีทีรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังเห็นว่า
ของใดทีนําเขามาเปนของทีได้รบ ั ความช่วยเหลือจากประเทศ
หรือบุคคลใดโดยวิธอ ี ืน นอกจากการคืนหรือชดเชยเงินค่า
ภาษีอากร
อันก่อหรืออาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่การเกษตรหรือ
การอุ ตสาหกรรมในประเทศ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศให้เรียกเก็บอากรพิเศษ
แก่ของนันในอัตราตามทีเห็นสมควร นอกเหนือไปจากอากร
ทีพึงต้องเสียตามปกติ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มีความหมายคือ
ของนันได้รบ ั การสนับสนุน (SUBSIDIZED) จากประเทศ
ต้นทาง เช่น อุ ตสาหกรรมเหล็กทีได้รบั การสนับสนุนจาก
รัฐบาลจีน อันทําให้ราคาเหล็กทีผลิตในประเทศจีนมีราคา
ถูกกว่าประเทศไทย และการนําเข้ามาอาจก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่การอุ ตสาหกรรมการผลิตเหล็กภายในประเทศ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศให้เรียกเก็บ “อากรพิเศษ”
แก่ของนันในอัตราที เห็นสมควร เช่น เก็บอากรพิเศษเพิม
อีก 30% นอกเหนือจากทีจะต้องเก็บอากรเหล็กตามปกติ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ั นี มีกระทรวงพาณิชย์ทีทําหน้าทีออกประกาศ
ปจจุ บน
การตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุ ดหนุนซึงสินค้าจาก
ต่างประเทศแล้ว
โดยเปนการอาศัยอํานาจตาม “พระราชบัญญัติการ
ตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุ ดหนุนซึงสินค้าจาก
ต่างประเทศ พ.ศ. 2542”

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 14
เพือปฏิบต
ั ิตามข้อผูกพันตามสัญญาหรือความตกลง
ระหว่างประเทศทีเปนประโยชน์แก่การเศรษฐกิจของ
ประเทศ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศยกเว้น ลด หรือ
เพิมอากร จากอัตราทีกําหนดไว้ในพิกัดอัตราศุลกากร
สําหรับของทีมีถินกําเนิดจากประเทศทีร่วมลงนาม
หรือลักษณะตามทีระบุไว้ในสัญญาหรือความ
ตกลงดังกล่าว ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ตัวอย่างประกาศกระทรวงการคลัง
เช่น ประกาศกระทรวงการคลัง เรือง การยกเว้นอากรและ
ลดอัตราอากรศุลกากรสําหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน – จีน
ซึงเปนไปตามข้อผูกพันตามกรอบความตกลงว่าด้วยความ
ร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่าง สมาคมประชาชาติแห่งเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐประชาชนจีน

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 14 ทวิ
เพือปฏิบตั ิตามข้อผูกพันตามอนุสญ ั ญาระบบฮาร์โม
ไนซ์ หรือเพือปฏิบตั ิตามข้อผูกพันตามสัญญาหรือ
ความตกลงระหว่างประเทศทีเปนประโยชน์แก่การ
เศรษฐกิจของประเทศ
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบ
ของคณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศยกเลิก เพิม หรือ
แก้ไขเพิมเติม ความในภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความ
พิกัดอัตราศุลกากร และภาค 2 พิกัดอัตราอากรขาเข้า
ท้ายพระราชกําหนดนีได้
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 14 ทวิ
เนืองจากประเทศไทยเข้าเปนภาคีอนุสญ ั ญาระบบฮาร์โมไนซ์
ซึงคณะมนตรีความร่วมมือทางศุลกากรตามอนุสญ ั ญา
ดังกล่าวได้ กําหนดให้แก้ไขการจําแนกประเภทสินค้าอยูเ่ สมอ
เพือความสอดคล้องและความสะดวกในการค้าระหว่าง
ประเทศ
ทําให้จาํ ต้องแก้ไขพิกัดอัตราศุลกากรให้รวดเร็วและ
สอดคล้อง กับพันธกรณีระหว่างประเทศดังกล่าว
จึงจําเปนต้องให้อํานาจให้รฐ ั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง
โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี มีอํานาจประกาศแก้ไข
พิกัดอัตราศุลกากรได้
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 14 ตรี
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการคลังโดยความเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี มีอํานาจ ประกาศยกเว้น ลด หรือเพิมอากร
สําหรับของใด ๆ ทีนําเข้ามาในหรือส่งออกไปจาก
พืนทีพัฒนาร่วมตามกฎหมายว่าด้วยองค์กรร่วม
ไทย – มาเลเซีย จากอัตราทีกําหนดไว้ในพิกัดอัตรา
ศุลกากร โดยจะกําหนดหลักเกณฑ์และเงือนไขใด ๆ ไว้
ด้วยก็ได้

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ตัวอย่างประกาศกระทรวงการคลัง
เช่น ประกาศกระทรวงการคลัง เรือง การยกเว้นอากร
ศุลกากรสําหรับของทีส่งออกไปจากพืนทีพัฒนาร่วม
ตามกฎหมายว่า ด้วยองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 14 จัตวา
ให้อธิบดีกรมศุลกากรมีอํานาจ
พิจารณากําหนดถินกําเนิดของของ ทีจะนําเข้ามา
ในราชอาณาจักรตามกฎว่าด้วยถินกําเนิดตามที
ระบุไว้ในสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศ
เปนการล่วงหน้า
รองรับ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที 21) พ.ศ.
2557 ทีได้บญ ั ญัติเรืองการขอวินิจฉัยประเภทพิกัด
ราคาศุลกากร และ ถินกําเนิดสินค้าล่วงหน้าไว้เปน
ครังแรก
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 15
อธิบดีกรมศุลกากรมีอํานาจตีความในพิกัดอัตรา
ศุลกากรท้ายพระราชกําหนดนี โดยวิธอี อกประกาศ
แจ้งพิกัดอัตราศุลกากร
การตีความตามวรรคหนึง มิให้มผี ลย้อนหลัง

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ตัวอย่างประกาศกรมศุลกากร
เช่น ประกาศกรมศุลกากร ที 50/2562 เรือง แจ้งพิกัด
อัตราศุลกากร (ป.อ. 1/2562)
“สาหร่ายอบ ย่าง หรือ ปรุงรส (ROASTED OR
SEASONED SEAWEED) เหมาะสําหรับบริโภค”
เพือให้เกิดความชัดเจน และลดปญหาข้อโต้แย้งในการ
สําแดงประเภทพิกัดศุลกากรเพือชําระค่าภาษีอากร

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 15/1
เพืออํานวยความสะดวกแก่การประเมินภาษีอากรและ
การเสียภาษีอากร
ให้อธิบดีกรมศุลกากรมีอํานาจพิจารณาตีความพิกัด
อัตราศุลกากร ท้ายพระราชกําหนดนี
เพือจําแนกประเภทของของทีจะนําเข้ามาในราช
อาณาจักรเปนการล่วงหน้าก่อนทีจะมีการนําของ
เข้ามาในราชอาณาจักรได้
เหมือนมาตรา 14 จัตวา (ADVANCE RULINGS)
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
มาตรา 16 - 17
บทเฉพาะกาล

มาตรา 18
ให้รฐ
ั มนตรีวา่ การกระทรวงการคลัง รักษาการตาม
พระราชกําหนดนี

ผูร
้ บ
ั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก ป. ติณสูลานนท์
นายกรัฐมนตรี
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร

่ าํ นวน 6 ข้อ
มีอยูจ

ภาค 1
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 4 ของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร
มี 19 ประเภท

ภาค 4
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ภาค 4 ของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร
ประเภททีสําคัญ ได้แก่

ประเภทที 1
ของทีส่งออก รวมทังของทีส่งกลับออกไป ซึงนํากลับ
เข้ามาภายใน 1 ป
โดยไม่เปลียนแปลงลักษณะหรือรูปร่างแต่
ประการใด และในเวลาทีส่งออกนัน ได้รบ
ั ใบสุทธิ
สําหรับนํากลับเข้ามาแล้ว
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ประเภทที 1
ใบสุทธินํากลับ เปนเอกสารทางศุลกากรซึงออกให้
เพือเปนหลักฐานว่า ของทีส่งออกหรือส่งกลับออกไป
นันจะนํากลับเข้ามาภายในระยะเวลา 1 ป โดยจะได้รบ

ยกเว้นอากรเมือนํากลับเข้ามา

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ประเภทที 3
ของทีกล่าวไว้ตาม (ก) - (ญ) ทีนําเข้ามาพร้อมกับตน
หรือนําเข้ามาเปนการชัวคราว และจะส่งกลับออกไป
ภายในไม่เกิน 6 เดือน นับตังแต่วนั ทีนําเข้ามา เช่น
(ค) รถสําหรับเดินบนถนน เรือ และอากาศยาน
บรรดาทีเจ้าของนําเข้ามาพร้อมกับตน

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ประเภทที 6
ของใช้ในบ้านเรือนทีใช้แล้วทีเจ้าของนําเข้ามาพร้อม
กับตนเนืองในการย้ายภูมล ิ ําเนา และมีจาํ นวนพอ
สมควรแก่ฐานะ

ประเภทที 10
ของทีได้รบ
ั เอกสิทธิทางการทูตฯ

ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ประเภทที 15
ภาชนะบรรจุ ของชนิดทีใช้บรรจุ ของเพือความสะดวกหรือ
ความ ปลอดภัยในการขนส่งระหว่างประเทศ หรือทีเรียกกันว่า
“คอนเทนเนอร์”

ประเภทที 19 (ล่าสุด)
ภาชนะสําหรับบรรจุ ของ รวมทังอุ ปกรณ์ทีใช้บรรจุ ยึด รัด
กันกระแทก ไม่วา่ จะทําด้วยวัตถุใดๆ ก็ตามทีนําเข้ามาและจะ
ส่งกลับออกไป
พวก PALLET หรืออุ ปกรณ์รด ั หรือ กันกระแทก เปนต้น
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
กฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราศุลกากร
พิกัดอัตราศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (HS CODE)
พระราชกําหนดพิกัดอัตราศุลกากร พ.ศ. 2530
ภาคผนวกจํานวน 4 ภาค ได้แก่
ภาค 1 หลักเกณฑ์การตีความพิกัดอัตราศุลกากร
ภาค 2 พิกัดอัตราอากรขาเข้า
ภาค 3 พิกัดอัตราอากรขาออก และ
ภาค 4 ของทีได้รบ
ั ยกเว้นอากร
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
แนะนํา : ชุดเตรียมสอบนักวิชาการศุลกากร

หนังสือกฎหมายว่าด้วยศุลกากร หนังสือตะลุยโจทย์เตรียมสอบ หนังสือวินัย จรรยา


(เล่มละ 470 บาท) นักวิชาการศุลกากร จริยธรรม
(เล่มละ 325 บาท) ข้าราชการกรมศุลกากร
(E-book 50 บาท)
สังได้ทาง Shopee สังได้ทาง
Dr.Pongsiri Tain
ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
หนังสือ "กฎหมายว่าด้วยศุลกากร"
สามารถสังได้แล้วนะครับ
(เพิมเติมภาคพิกัดอัตราศุลกากร)
ราคา 470 บาท (เหลือไม่มากแล้ว)
ท่านใดสนใจ สามารถสังซือได้ที
Shopee นะครับ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
หนังสือ "ตะลุยโจทย์เตรียมสอบ
นักวิชาการศุลกากร"
สามารถสังได้แล้วนะครับ
ราคา 325 บาท
ท่านใดสนใจสามารถสังซือได้ที
Shopee นะครับ
ดร.
ดร.พงษ์สสร
ิ ิร
ิ ตาอิ นน
ทร์
ดร.พงษ์
พงษ์ส ิร
ิ ตาอิ
ิ ตาอิ ทร์
น ทร์
ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์
หนังสือ "ความรูท
้ ัวไปเกียวกับวินย

จรรยา และจริยธรรมข้าราชการฯ"

เปดให้สงซื
ั อ
ในรูปแบบ E-book
ถ้าท่านใดสนใจ
ทักแชทมาทางเพจได้เลยนะครับ
ราคาเพียง 50 บาทเท่านันครับ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
วิ ธี ก า ร สั ง ซื อ E - B O O K
1) ทักแชทเพจ Dr.Pongsiri ว่าซือเล่มเขียว
หรือ หนังสือวินัย

2) ทําการโอนเงินจํานวน 50 บาท ไปยัง พร้อมเพย์


0841504879 หรือ 877-7-288963 ธนาคารกรุงเทพ
ชือบัญชี นายวิทวัส เทพวงศ์

3) ส่งสลิปให้ทางแชทและแจ้งอีเมล (แนะนําแอคเคาท์ของ
Google Drive เพือนําไปติดดาวในไดรฟของท่านได้)
เราจะทําการส่งไฟล์ e-Book

*ถ้าหากนําไปปรินท์แนะนําปรินขนาด A4 แนวนอน แบบ


เปน 2 หน้าในไฟล์
เพือขนาดทีถูกต้องและประหยัดค่าปรินท์ e-Book ครับ
ดร. พงษ์สร
ิ ิ ตาอินทร์
ช่อ งทางการติ ด ตามข่ า วสาร
D R . P O N G S I R I T A I N - ด ร . พ ง ษ์ สิ ริ ต า อิ น ท ร์

DR.PONGSIRI TAIN

ส น ใ จ สั ง ซื อ ห นั ง สื อ ไ ด้ ที S H O P E E
และ INBOX FACEBOOK PAGE
Road to 2,000 Subscribes
DR.PONGSIRI TAIN
ถาม-ตอบ
กับ ดร. พงษสิริ
DR.PONGSIRI'S TALK EP 16

You might also like