You are on page 1of 18

ความน่าจะเป็ น

เพิ่มเติม

1 Nov 2020
สารบัญ

ทบทวนพืน้ ฐาน......................................................................................................................................................................... 1
ความน่าจะเป็ นกับเซต .......................................................................................................................................................... 10
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 1

ทบทวนพืน้ ฐาน
𝑛(𝐸)
ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 𝐸 หาได้จาก 𝑃(𝐸) = 𝑛(𝑆)

แบบฝึ กหัด
1. กล่องใบหนึง่ บรรจุลกู บอลขนาดเดียวกัน 7 ลูก เป็ นลูกบอลสีขาว 4 ลูก และเป็ นลูกบอลสีแดง 3 ลูก สุม่ หยิบลูกบอล
จากกล่องใบนีม้ า 6 ลูก นามาจัดเรียงเป็ นแถวตรง ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 58)/9]
1. ความน่าจะเป็ นที่การจัดเรียงแถวตรงของลูกบอล โดยหัวแถวเป็ นลูกบอลสีขาว หรือ ท้ายแถวเป็ นลูกบอลสีแดง
เท่ากับ 11
42
2. ความน่าจะเป็ นที่การจัดเรียงแถวตรงของลูกบอล โดยหัวแถวเป็ นลูกบอลสีขาว มากกว่า ความน่าจะเป็ นที่ทา้ ย
แถวเป็ นลูกบอลสีแดง

2. ข้าวสารบรรจุถงุ แล้วกองหนึง่ ประกอบด้วย ข้าวหอมมะลิ 4 ถุง ข้าวเสาไห้ 3 ถุง ข้าวขาวตาแห้ง 2 ถุง และข้าวบัส
มาตี 1 ถุง สุม่ หยิบข้าวจากกองนีม้ า 4 ถุง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ขา้ วครบทุกชนิด เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 52)/37]

3. ถุงใบหนึง่ บรรจุลกู แก้วสีแดง 5 ลูก สีเขียว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก ถ้า หยิบลูกแก้วจากถุงทีละลูก 3 ครัง้ โดยไม่ใส่
คืน แล้วความน่าจะเป็ นทีจ่ ะหยิบได้ลกู แก้ว ลูกที่หนึง่ สอง และสาม เป็ นสีแดง สีเขียว และสีเหลือง ตามลาดับเท่ากับ
เท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-16]
2 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

4. กล่องใบหนึง่ บรรจุเสือ้ ยืด 13 สีๆละ 4 ตัว โดยที่ เสือ้ ยืดในแต่ละสีมีขนาด S, M, L และ XL ตามลาดับ สุม่ หยิบเสือ้
จากกล่องมา 3 ตัวพร้อมๆกัน ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้เสือ้ ยืดมีสเี หมือนกัน 2 ตัว เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 53)/19]

5. กิตติและสมาน กับเพื่อนๆรวม 7 คน ไปเที่ยวต่างจังหวัดด้วยกัน ในการค้างแรมทีม่ ีบา้ นพัก 3 หลัง หลังแรกพักได้ 3


คน ส่วนหลังที่สองและหลังที่สามพักได้หลังละ 2 คน ซึง่ แต่ละหลังมีความแตกต่างกัน พวกเขาจึงตกลงทีจ่ ะจับสลาก
ว่าใครจะได้พกั บ้านหลังใด ความน่าจะเป็ นทีก่ ิตติและสมานจะได้พกั บ้านหลังเดียวกันในหลังที่หนึง่ หรือหลังที่สาม
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 52)/38]

6. ในการจัดคน 12 คน (มี GAT และ PAT รวมอยูด่ ว้ ย) นั่งรับประทานอาหารรอบโต๊ะกลม จงหาความน่าจะเป็ นที่


GAT และ PAT ไม่ได้น่งั ติดกัน [PAT 1 (ธ.ค. 54)/19]
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 3

7. กล่องใบหนึง่ มีบตั ร 10 ใบ แต่ละใบมีหมายเลข 0, 1, 2, …, 9 บัตรละหนึง่ หมายเลข ถ้าหยิบบัตรจากกล่องพร้อมกัน


3 ใบ ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้บตั รหมายเลขคูท
่ กุ ใบ และมีแต้มรวมกันมากกว่า 10 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
[A-NET 50/1-18]

8. กล่องใบหนึง่ มีบตั ร 10 ใบ แต่ละใบเขียนหมายเลข –4, –3, –2, …, 4, 5 ใบละ 1 หมายเลข ถ้าสุม่ หยิบบัตร 2 ใบ
พร้อมกันจากกล่องใบนี ้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้บตั รที่มีหมายเลขบนบัตรทัง้ สองซึง่ มีผลคูณมากกว่าหรือเท่ากับ 0
เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-21]

9. จากตัวเลข 1, 2, 3, … , 9 นามาสร้างจานวนห้าหลักใช้เลขซา้ กันได้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้จานวนห้าหลักโดยทีใ่ น


แต่ละหลักเป็ นตัวเลขที่แตกต่างกันเพียง 3 จานวนเท่านัน้ มีคา่ เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (เม.ย. 57)/15]
4 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

10. ในการโยนลูกเต๋า 2 ลูกหนึง่ ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้แต้มรวมเป็ น 7 โดยที่มีลกู เต๋าลูกหนึง่ ขึน้ แต้มไม่นอ้ ยกว่า 4
เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-18]

11. ในการโยนลูกเต๋าสองลูกจานวนหนึง่ ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่จะได้ผลคูณของแต้มบนลูกเต๋าทัง้ สอง หารด้วย 4 ลงตัว


เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (มี.ค. 56)/22]

12. ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมๆกัน ความน่าจะเป็ นที่ผลบวกของหน้าลูกเต๋าทัง้ สองเท่ากับ 7 หรือผลคูณของหน้า


ลูกเต๋าทัง้ สองเท่ากับ 12 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 53)/22]
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 5

13. ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกัน ความน่าจะเป็ นที่หน้าลูกเต๋าลูกหนึง่ ขึน้ แต้ม 𝑎 และหน้าลูกเต๋าอีกลูกหนึง่ ขึน้


แต้ม 𝑏 โดยที่ 𝑎1 + 𝑏1 = 12 เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/22]

14. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4, 5, 6, 7} สุม่ หาสับเซตของ 𝐴 ที่มีสมาชิก 3 ตัว ความน่าจะเป็ นที่จะได้สบั เซต
{𝑎, 𝑏, 𝑐} ⊂ 𝐴 โดยที่ 𝑎<𝑏<𝑐 และ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นลาดับเลขคณิต เท่ากับข้อใดต่อไปนี ้
[PAT 1 (มี.ค. 55)/21]

15. ให้ 𝑆 = {1, 2, 3, … , 15} และให้ 𝐴 เป็ นสับเซตของ 𝑆 โดยมีจานวนสมาชิกชองเซต 𝐴 เท่ากับ 4 ความน่าจะเป็ น
ที่จะได้เซต 𝐴 โดยที่สมาชิกในเซต 𝐴 จัดเรียงเป็ นลาดับเลขคณิต ซึง่ มีผลต่างร่วมเป็ นจานวนเต็มบวก เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (พ.ย. 57)/8]
6 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

16. มีหนังสือที่แตกต่างกัน 5 เล่ม คือ หนังสือ ก หนังสือ ข หนังสือ ค หนังสือ ง และ หนังสือ จ สุม่ เลือกหนังสือเหล่านีม้ า
ครัง้ ละ 3 เล่ม ความน่าจะเป็ นที่จะได้หนังสือ ก หรือ หนังสือ ข เท่ากับเท่า ใด [PAT 1 (มี.ค. 55)/43]

17. กล่องใบหนึง่ บรรจุหลอดไฟ 12 หลอด เป็ นหลอดชารุด 3 หลอด ถ้าหยิบหลอดไฟ จากกล่องมา 4 หลอด แล้ว ความ
น่าจะเป็ นทีจ่ ะได้หลอดชารุดไม่เกิน 1 หลอด เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 52)/1-17]

18. กล่องใบหนึง่ มีหลอดไฟอยู่ 10 หลอด เป็ นหลอดดี 8 หลอด และหลอดเสีย 2 หลอด สุม่ หยิบหลอดไฟขึน้ มาครัง้ ละ 1
หลอด 3 ครัง้ โดยที่ในการหยิบแต่ละครัง้ ให้ใส่คืนหลอดไฟลงไปในกล่องก่อนที่จะหยิบครัง้ ต่อไป แล้ว ความน่าจะเป็ น
ที่จะได้หลอดเสีย 2 ครัง้ มีคา่ เท่ากับเท่าใด [A-NET 51/1-18]
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 7

19. ในลิน้ ชักมีถงุ เท้าสีขาว 4 คู่ สีดา 3 คู่ และสีนา้ เงิน 2 คู่ แต่ไม่ได้จดั เรียงไว้เป็ นคูๆ่
ถ้าสุม่ หยิบถุงเท้ามา 2 ข้าง ความน่าจะเป็ นที่จะได้ถงุ เท้าสีเดียวกันเท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/39]

20. ถุงใบหนึง่ บรรจุลกู กวาดรสสตรอเบอรี่ 5 ลูก รสชอคโกแลต 4 ลูก รสกาแฟ และรสมินท์อย่างละ 2 ลูก หากสุม่ หยิบ
ลูกกวาดจากถุงใบนีม้ า 3 ลูก ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะหยิบได้ลกู กวาดต่างรสกันทัง้ หมด เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (ก.ค. 52)/37]

21. ในคนกลุม่ หนึง่ ประกอบด้วยชาย 6 คน และหญิงจานวนหนึง่ ความน่าจะเป็ นที่เลือกกรรมการ 2 คน เป็ นชายทัง้ สอง
เท่ากับ 18 ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะเลือกกรรมการ 5 คนเป็ นชายไม่นอ้ ยกว่า 3 คน เท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 57)/15]
8 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

22. กาหนดให้ 𝑛 เป็ นจานวนนับ ในการสุม่ หยิบเลข 𝑛 จานวนพร้อมๆกันจากเซต {1, 2, … , 2𝑛} ถ้าความน่าจะเป็ นที่จะ
1
ได้เลขคูท่ งั้ หมดเท่ากับ 20 แล้ว ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้เลขคูเ่ พียง 1 จานวนเท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 52)/39]

23. กาหนดให้ 𝐴 = {(0, 𝑛) | 𝑛 = 1, 2, … , 10} และ 𝐵 = {(1, 𝑛) | 𝑛 = 1, 2, … , 10}


ในการเลือกจุดสองจุดที่แตกต่างกันจากเซต 𝐴 และอีกหนึง่ จุดจากเซต 𝐵 เพื่อเป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ มบน
ระนาบ ความน่าจะเป็ นจะได้รูปสามเหลีย่ มทีม่ ีพนื ้ ที่ 1 ตารางหน่วย เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ก.ค. 52)/38]

24. ให้ 𝑆 เป็ นเซตของจุด 10 จุดบนวงกลมวงหนึง่ ซึง่ มีสมบัตดิ งั นี ้


เมื่อลากเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุด 2 จุดใดๆใน 𝑆
จะมีเพียง 3 เส้นเท่านัน้ ที่ผา่ นจุดศูนย์กลางของวงกลมวงนี ้
ถ้าสร้างรูปสามเหลีย่ มโดยเลือกจุด 3 จุดใน 𝑆 มาเป็ นจุดยอดของรูปสามเหลีย่ ม ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้รูป
สามเหลีย่ มมุมฉาก เท่ากับเท่าใด [A-NET 49/1-22]
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 9

25. มีถงุ ยังชีพที่แตกต่างกัน 5 ถุง ต้องการแจกให้ครอบครัวที่ถกู นา้ ท่วม 4 ครอบครัว ครอบครัวละไม่เกิน 2 ถุง ความ
น่าจะเป็ นทีค่ รอบครัวของสมชายซึง่ เป็ นหนึง่ ในสีค่ รอบครัวนัน้ ไม่ได้รบั ของแจกเลยเท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 54)/22*]

26. โยนเหรียญบาท(เที่ยงตรง)หนึง่ เหรียญ จานวน 10 ครัง้ ความน่าจะเป็ นที่ได้หวั อย่างน้อย 2 ครัง้ ติดกันเท่ากับเท่าใด
[PAT 1 (มี.ค. 54)/21]
10 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

ความน่าจะเป็ นกับเซต

จากหัวข้อที่แล้ว สูตรหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 𝐸 คือ 𝑃(𝐸) = 𝑛(𝐸)


𝑛(𝑆)
เมื่อ 𝑛(𝐸) คือจานวนสมาชิกของเหตุการณ์ 𝐸
𝑛(𝑆) คือจานวนสมาชิกของแซมเปิ ลสเปซ 𝑆

จะเห็นว่าสูตรความน่าจะเป็ น เกี่ยวข้องโดยตรงกับ “จานวนสมาชิก” ของเซต


ดังนัน้ กฎทุกอย่างทีเ่ คยเรียนเกี่ยวกับเรือ่ งจานวนสมาชิกของเซต จะนามาใช้กบั เรือ่ งความน่าจะเป็ นได้

ก่อนอื่นต้องรูว้ า่ เราสามารถนาเหตุการณ์มา ยูเนียน อินเตอร์เซก ลบ คอมพลีเมนต์ เหมือนในเรือ่ งเซตยังไงยังงัน้


เช่น ในการทดลองสุม่ เด็กหนึง่ คนมาถามว่าชอบกินอะไร
ถ้าให้ 𝐸1 แทนเหตุการณ์ “สุม ่ ได้เด็กชอบกินปลา”
𝐸2 แทนเหตุการณ์ “สุม ่ ได้เด็กชอบกินไก่”
จะได้ 𝐸1 ∪ 𝐸2 คือ เหตุการณ์ที่ สุม่ ได้เด็กชอบกินปลาหรือไก่ (อย่างไดอย่างหนึง่ หรือทัง้ สองอย่างก็ได้)
𝐸1 ∩ 𝐸2 คือ เหตุการณ์ที่ สุม ่ ได้เด็กชอบกินทัง้ ปลาและไก่ ทัง้ สองอย่าง
𝐸1 − 𝐸2 คือ เหตุการณ์ที่ สุม ่ ได้เด็กชอบกินปลา แต่ไม่ชอบกินไก่

𝐸1 คือ เหตุการณ์ที่ สุม่ ได้เด็กไม่ชอบกินปลา

เราสามารถหาความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 𝐸1 ∪ 𝐸2 , 𝐸1 ∩ 𝐸2 , 𝐸1 − 𝐸2 , และ 𝐸1′ ได้


โดยใช้ความรูเ้ รือ่ งการนับจานวนสมาชิกด้วยแผนภาพเวนน์ อย่างที่เคยทาในเรือ่ งเซต

ตัวอย่าง สารวจนักเรียน 40 คน พบว่าเล่นฟุตบอล 18 คน เล่นบาสเก็ตบอล 15 คน และไม่เล่นทัง้ ฟุตบอลและบาสเก็ต


บอล 12 คน ถ้าสุม่ นักเรียน 1 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่นกั เรียนคนนีจ้ ะเล่นบาสเก็ตบอล แต่ไม่เล่นฟุตบอล
วิธีทา ใช้ความรูเ้ รือ่ งเซต หาจานวนสมาชิกในแผนภาพเวนน์ก่อน ดังนี ้
ให้จานวนนักเรียนที่เล่นทัง้ ฟุตบอล และบาสเก็ตบอลคือ 𝑥 คน
ฟุตบอล บาส จะได้จานวนนักเรียนที่เล่นฟุตบอลอย่างเดียว คือ 18 − 𝑥 คน
จะได้จานวนนักเรียนที่เล่นบาสเก็ตบอลอย่างเดียว คือ 15 − 𝑥 คน
18 − 𝑥 𝑥 15 − 𝑥
ถ้านาจานวนนักเรียนทุกส่วนมารวมกัน จะได้ตอ้ งได้ 40 คน
12 (18 − 𝑥) + 𝑥 + (15 − 𝑥) + 12 = 40
45 − 𝑥 = 40
5 = 𝑥

ดังนัน้ จานวนนักเรียนที่เล่นบาสเก็ตบอล แต่ไม่เล่นฟุตบอล คือ 15 − 5 = 10 คน


จะได้ความน่าจะเป็ นที่สมุ่ ได้นกั เรียนที่เล่นบาสเก็ตบอล แต่ไม่เล่นฟุตบอล = 10
40
1
= 4 #
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 11

สูตร Inclusive – Exclusive ในเรือ่ งเซต สามารถนามาใช้ในเรือ่ งความน่าจะเป็ นเช่นกัน


𝑃(𝐸1 ∪ 𝐸2 ) = 𝑃(𝐸1 ) + 𝑃(𝐸2 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 )
𝑃(𝐸1 ∪ 𝐸2 ∪ 𝐸3 ) = 𝑃(𝐸1 ) + 𝑃(𝐸2 ) + 𝑃(𝐸3 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸3 ) − 𝑃(𝐸2 ∩ 𝐸3 )
+ 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 ∩ 𝐸3 )
𝑃(𝐸1 − 𝐸2 ) = 𝑃(𝐸1 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 )

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑃(𝐸1 ) = 0.2 , 𝑃(𝐸2 ) = 0.6 โดยที่ 𝐸1 และ 𝐸2 เป็ นอิสระต่อกัน จงหา 𝑃(𝐸1′ ) , 𝑃(𝐸2′ ) ,
𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 ) , 𝑃(𝐸1 ∪ 𝐸2 ) และ 𝑃(𝐸1 − 𝐸2 )
วิธีทา 𝑃(𝐸1′ ) = 1 − 𝑃(𝐸1 ) 𝑃(𝐸2′ ) = 1 − 𝑃(𝐸2 )
= 1 − 0.2 = 0.8 = 1 − 0.6 = 0.4

เนื่องจาก 𝐸1 และ 𝐸2 เป็ นอิสระต่อกัน ดังนัน้ 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 ) = 𝑃(𝐸1 ) ∙ 𝑃(𝐸2 )


= 0.2 × 0.6 = 0.12

จากสูตร 𝑃(𝐸1 ∪ 𝐸2 ) = 𝑃(𝐸1 ) + 𝑃(𝐸2 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 )


= 0.2 + 0.6 − 0.12 = 0.68

และสุดท้าย 𝑃(𝐸1 − 𝐸2 ) = 𝑃(𝐸1 ) − 𝑃(𝐸1 ∩ 𝐸2 )


= 0.2 − 0.12 = 0.08 #

นอกจากนี ้ เรายังสามารถใส่ “ความน่าจะเป็ น” ลงในแผนภาพเวนน์ ได้ดว้ ย


ในกรณีนี ้ ตัวเลขความน่าจะเป็ นของทุกส่วนบวกกัน จะเท่ากับ 1 เสมอ

ตัวอย่าง สุม่ นักเรียนจากโรงเรียนหนึง่ พบว่าความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้นกั เรียนชอบเล่นฟุตบอล 12 ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะได้
นักเรียนชอบเล่นบาสเก็ตบอล 13 ความน่าจะเป็ นที่จะได้นกั เรียนไม่ชอบเล่นทัง้ ฟุตบอลและบาสเก็ตบอล 14 ถ้าสุม่ นักเรียน
1 คน จงหาความน่าจะเป็ นที่จะได้นกั เรียนชอบเล่นบาสเก็ตบอล แต่ไม่ชอบเล่นฟุตบอล
วิธีทา ทาเหมือนกับข้อก่อนหน้า แต่คราวนี ้ เอาความน่าจะเป็ นไปเติมในแผนภาพ
และเนื่องจากทุกส่วนต้องรวมกันได้ 1 ดังนัน้
ฟุตบอล บาส 1 1 1
( − 𝑥) + 𝑥 + ( − 𝑥) + = 1
2 3 4
1 1 1 1 1
−𝑥 𝑥 −𝑥 + + −1 = 𝑥
2 3 2 3 4
6+4+3−12
= 𝑥
1 12
4 1
= 𝑥
12
1 1
ดังนัน้ ความน่าจะเป็ นที่ได้นกั เรียนชอบเล่นบาสเก็ตบอล แต่ไม่ชอบเล่นฟุตบอล = 3
− 12
4−1 3 1
= 12
= 12 = 4
#
12 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

เนื่องจาก ความน่าจะเป็ นของทุกเหตุการณ์ จะรวมกันได้ 1 จะทาให้เราหา 𝑃(𝐸′ ) เมื่อทราบ 𝑃(𝐸) ได้


เหตุการณ์ 𝐸′ ก็คือเหตุการณ์ทตี่ รงข้ามกับ 𝐸 ซึง่ สองเหตุการณ์นี ้ จะ “เติมเต็ม” ซึง่ กันและกันเสมอ
ดังนัน้ สูตร คือ ′
𝑃(𝐸 ) = 1 − 𝑃(𝐸)

เช่น ถ้าความน่าจะเป็ นที่จะสอบตก คือ 27 จะได้ความน่าจะเป็ นที่จะสอบผ่าน = 1 − 27 = 57


ถ้าความน่าจะเป็ นที่หนุ้ จะขึน้ คือ 15 จะได้ความน่าจะเป็ นที่หนุ้ จะไม่ขนึ ้ = 1 − 15 = 45 เป็ นต้น

แบบผึกหัด
1. ในการสารวจวิชาที่ชอบของนักเรียนจานวน 40 คน พบว่า
26 คน ชอบคณิตศาสตร์ 10 คน ชอบคณิตศาสตร์ และ ภาษาไทย
23 คน ชอบภาษาไทย 9 คน ชอบภาษาไทย และ วิทยาศาสตร์
20 คน ชอบวิทยาศาสตร์ 13 คน ชอบคณิตศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์
ถ้านักเรียนทุกคน มีวิชาที่ชอบอย่างน้อย 1 วิชา จงหาความน่าจะเป็ นที่จะสุม่ นักเรียน 1 คน แล้วได้นกั เรียนทีช่ อบ
คณิตศาสตร์เพียงวิชาเดียว

1 1 3
2. กาหนดให้ 𝑃(𝐴) = 2 , 𝑃(𝐵) = 3 และ 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵) = 4 จงหา 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵′ )
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 13

3. จากการสารวจนักเรียนห้องหนึง่ จานวน 30 คน พบว่า มีนกั เรียนไม่ชอบรับประทานปลา 12 คน และชอบ


รับประทานปลาหรือกุง้ 23 คน ถ้าสุม่ นักเรียนมา 1 คน ความน่าจะเป็ นที่จะได้นกั เรียนที่ชอบรับประทานกุง้ เพียง
อย่างเดียวมีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 50/35]

4. ถ้าแต่ละวันในเดือนสิงหาคม มีความน่าจะเป็ นที่จะมีฝนตกตอนเช้าหรือตอนเย็นเท่ากับ 0.86 ความน่าจะเป็ นทีจ่ ะมี


ฝนตกตอนเย็นเท่ากับ 0.67 และความน่าจะเป็ นทีจ่ ะมีฝนตกทัง้ ตอนเช้าและตอนเย็นเท่ากับ 0.35 แล้ว ความน่าจะ
เป็ นที่จะมีฝนตกในตอนเช้ามีคา่ เท่ากับเท่าใด [O-NET 57/40]

3
5. ในปี พ.ศ. 2557 ประเทศไทยมีความน่าจะเป็ นที่จะประสบภาวะนา้ ท่วมเท่ากับ 11 และความน่าจะเป็ นที่จะประสบ
1 6
ภัยแล้งเท่ากับ 3 ถ้าความน่าจะเป็ นที่จะประสบภาวะนา้ ท่วมหรือภัยแล้งเท่ากับ 11 แล้วความน่าจะเป็ นที่ประเทศ
ไทยจะประสบทัง้ ภาวะนา้ ท่วมและภัยแล้งในปี พ.ศ. 2557 เท่ากับเท่าใด [O-NET 56/28]
14 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

6. ในการสอบถามนักเรียน จานวน 100 คน ปรากฏว่า มี 50 คน ชอบวิชาคณิตศาสตร์ มี 40 คน ชอบวิชาฟิ สกิ ส์ มี


33 คน ชอบวิชาภาษาอังกฤษ มี 5 คน ชอบทัง้ สามวิชา มี 10 คน ชอบวิชาภาษาอังกฤษอย่างเดียว มี 12 คน ชอบ
วิชาฟิ สกิ ส์อย่างเดียว และ มี 20 คน ชอบวิชาคณิตศาสตร์และวิชาฟิ สกิ ส์
ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (ต.ค. 53)/22]
1. ความน่าจะเป็ นที่นกั เรียนคนหนึง่ ไม่ชอบทัง้ สามวิชา เท่ากับ 0.15
2. ความน่าจะเป็ นที่นกั เรียนคนหนึง่ ชอบวิชาคณิตศาสตร์อย่างเดียว เท่ากับ 0.40

7. กาหนดให้ 𝑆 เป็ นแซมเปิ ลสเปซ และ 𝐴, 𝐵 เป็ นเหตุการณ์ใดๆใน 𝑆 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง


[PAT 1 (มี.ค. 53)/20]
1. 𝑃(𝐴) = 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵) + 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵′ )
2. ถ้า 𝑃(𝐴) = 0.5 , 𝑃(𝐵) = 0.6 และ 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵′ ) = 0.7 แล้ว 𝑃(𝐴 − 𝐵) = 0.4

8. ให้ 𝑆 แทนปริภมู ิตวั อย่าง และ 𝐴, 𝐵 และ 𝐶 เป็ นเหตุการณ์


โดยที่ 𝐴 ∪ 𝐵 ∪ 𝐶 = 𝑆 และ 𝐴 ∩ 𝐵 = 𝐴 ∩ 𝐶 = 𝐵 ∩ 𝐶 = ∅
ถ้า 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵) = 0.7 และ 𝑃(𝐵 ∪ 𝐶) = 0.5 แล้ว 𝑃(𝐴′ ∩ 𝐶 ′ ) มีคา่ เท่าใด [A-NET 51/2-3]
ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม 15

9. กาหนด 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิ ลสเปซ และกาหนดให้ 𝑃(𝐸) แทนความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 𝐸
ถ้า 𝑃(𝐵) = 0.30 , 𝑃(𝐴 ∩ 𝐵) = 0.06 และ 𝑃((𝐴 ∪ 𝐵) − (𝐴 ∩ 𝐵)) = 0.38
แล้วค่าของ 𝑃(𝐴 − 𝐵) เท่ากับเท่าใด [PAT 1 (ต.ค. 55)/45]

10. กาหนดให้ 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเหตุการณ์ในปริภมู ิตวั อย่าง


ถ้า 𝑃(𝐵 − 𝐴) = 0.2 , 𝑃(𝐵) = 0.6 และ 𝑃(𝐴′ ∪ 𝐵) = 0.8 แล้ว จงหา 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵′ )
[PAT 1 (ธ.ค. 54)/20]

11. กาหนดให้ 𝑃(𝐸) แทนความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์ 𝐸 ถ้า 𝐴 และ 𝐵 เป็ นเหตุการณ์ใดๆ ในแซมเปิ ลสเปซ
โดยที่ 𝑃(𝐴) = 12 , 𝑃(𝐵′ ) = 58 และ 𝑃(𝐴′ ∩ 𝐵′ ) = 14 ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้องบ้าง [PAT 1 (มี.ค. 56)/21]
1. 𝑃(𝐴′ ∪ 𝐵) = 58 2. 𝑃(𝐴 ∪ 𝐵′ ) = 34
16 ความน่าจะเป็ นเพิ่มเติม

ทบทวนพืน้ ฐาน
4 1 72
1. 2 2. 35
3. 22
4. 425
4 9 1 5
5. 21
6. 11
7. 20
8. 9
1400 1 15 2
9. 6561
10. 6
11. 36
12. 9
1 9 2
13. 12
14. 35
15. 91
16. 0.9
42 12 49 58
17. 55
18. 125
19. 153
20. 143
22 9 8
21. 91
22. 20
23. 45
24. 0.2
55
25. 0.15 26. 64

ความน่าจะเป็ นกับเซต
3 5 1
1. 20
2. 12
3. 6
4. 0.54
2
5. 33
6. - 7. 1 8. 0.2
9. 0.14 10. 0.8 11. 1, 2

เครดิต
ขอบคุณ คุณ Theerat Piyaanangul ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like