You are on page 1of 4

1.

2 ความเครียด (Stress)
ความเครียดเป6นอารมณ:พื้นฐานปกติของมนุษย:ที่ตHองเผชิญในชีวิตประจำวัน เชQนเดียวกับความวิตกกังวล หาก
บุคคลสามารถผชิญกับความเครียดไดHดีก็จะสามารถดำเนินชีวิตไดHเป6นปกติสุข แตQหากบุคคลไมQสามารถผชิญ
กับความเครียดไดH ความเครียดนั้นสะสมเรื้อรัง ก็จะทำใหHเกิดอาการทางกายและทางจิตตามมาไดHในที่สุด ทั้งนี้
มีองค:กร นักวิชาการ นักจิตวิทยาและ จิตแพทย:ไดHศึกษาเรื่อง
ความเครียดและไดHนิยามความเครียดไวH

กรมสุขภาพจิต (2556) ใหHความหมายของความเครียดวQาเป6นเรื่องของจิตใจที่เกิด ความ


ตื่นตัวเตรียมรับเหตุการณ: อยQางใดอยQางหนึ่ง ซึ่งไมQนQาพอใจ และเป6นเรื่องที่เราคิดวQาหนักหนา สาหัส
เกินกำลังความสามารถที่จะแกHไขไดH ทำใหHเกิดความรูHสึกหนักใจ และพลอยทำใหHเกิดอาการผิดปกติ
ทางรQางกายขึ้นดHวย หากความเครียดเหลQานั้นมีมากและคงอยูQเป6นเวลานาน
โดยสรุปความเครียดคือปฏิกิริยาตอบสนองของรQางกาย และจิตใจที่มีตQอสิ่งกระตุHน(Stressor ) และ
บุคคลนั้นไดHประเมินแลHววQาสิ่งกระตุHนนั้นคุกคาม หรือทำใหHตนเองรูHสึกไมQมั่นคงปลอดภัยหากบุคคลมี
ความเครียดระดับสูง และสะสมอยูQนานๆ จะกQอใหHเกิดโรคทางกายและทางจิตไดH
สาเหตุ และกลไกการตอบสนองตQอความเครียด
สาเหตุของความเครียดเกิดไดHจากสาเหตุภายนอก และภายในตัวบุคคล ดังนี้
สาเหตุภายนอกตัวบุคคล ไดHแกQ สิ่งแวดลHอมทางกายภาพ เชQน สภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติ การ
ยHายถิ่นฐานที่อยูQ การเปลี่ยนงาน ความเจ็บปeวยของบุคคลอันเป6นที่รัก การหยQารHง ภาวะวQางาน ปfญหา
ดHานความสัมพันธ:กับครอบครัวและบุคคลอื่นๆ การขาดเพื่อน การขาดแคลนปfจจัย 4 ในการดำเนินชีวิต เป6น
ตHน
สาเหตุภายในตัวบุคคล ไดHแกQ ภาวะสุขภาพของตนเอง เชQน ภาวะเจ็บปeวยที่เผชิญอยูQ ความพิการ หรือ
ความผิดปกติของสรีระรQางกายที่มีมาแตQกำเนิด การเจริญเติบโต หรือพัฒนาการลQาชHา รวมถึง
การรับรูHและการแปลความหมายที่แตกตQางกันของแตQละคนที่มีตQอเหตุการณ:ที่เขHามาคุกคาม ประสบการณ:ของ
แตQละคนในการจัดการกับความเครียดยQอมสQงผลตQอระดับความเครียดที่แตกตQางกัน เป6นตHน
เมื่อบุคคลเผชิญกับเหตุการณ:ที่มากระตุHน (Stressor) รQางกายจะสรHางปฏิกิริยาตอบสนองทั้ง
ดHานรQางกาย และจิตใจ ดังนี้
1) การตอบสนองดHานรQางกาย เมื่อมีเหตุการณ:มากระตุHน รQางกายจะมีการปรับตัวเพื่อตอบสนอง
ไป (General Adaptation Syndrome) หรือตอบสนองเฉพาะที่ (Local Adaptation Syndrome)
ทสQวนของฮโปทาลามัสปลQอยสารคอร:ติโคโทรบิน (Corticotrophin Hormone) ซึ่งทำใหHการเปลี่ยนแปลงใน
รQางกาย หรือทำใหHเกิดความเครียด รQางกายจะมีปฏิกิริยาไปยังอวัยวะสQวนใดสQวนหนึ่งของรQางกาย ปฏิกิริยา
ตอบสนองแบQงไดHเป6น 3 ระยะดังนี้

1. ระยะเตือน (Alarm Reaction) รQางกายมีภาวะตื่นตัวและเกิดแรงที่จะป}องกันตนเอง โดย


1.1 ระยะช็อก (Shock Phase) ประสาทอัตโนมัติเกิดปฏิกิริยาและทำหนHาที่หลั่งสาร
เอพิเนฟฟรินและคอร:ติโชน (epinephrine and Corisone) บุคคลจะรับรูHตQอสิ่งกระตุHนแบบรูHตัว หรือไมQรูHตัว
บุคคลเตรียมพรHอมที่จะสูH หรือถอยหนี ระยะอาจใชHเวลาประมาณตั้งแตQ 1 นาที ถึง 24 ชม.
1.2 ระยะตอบสนองการช็อก(Counter Shock Phase)รQางกายจะปรับตัวกลับสูQสภาพเดิม
2. ระยะการตQอตHาน (Stage of Resistance) บุคคลจะปรับตัวตQอตHานความเครียดเต็มที่โดยจะใชHกสไก
ป}องกันตัวที่เหมาะสม และพยายามจำกัดสิ่งที่มากระตุHนใหHนHอยลงทำใหHความเครียดลดลงเขHาสูQภาวะปกติ
3. ระยะหมดกำลัง (Stage of Exhaustion) เมื่อบุคคลมีการปรับตัวในระยะการตQอตHานไมQ
สำเร็จ รQางกายจะหมดแรงที่จะตQอสูHกับความเครียด เกิดภาะอQอนลHา เหนื่อยและหมดแรง มีการใชHกสไก
ป}องกันตัวเองที่ไมQเหมาะสม มีพฤติกรรมแปรปรวน มีการรับรูHความเป6นจริง บิดเบือน น้ำหนักตัวสดลง
ตQอมไรHทQอตQาง ๆ โตขึ้นระดับฮอร:โมนสำคัญตQาง 1 สูงขึ้น ถHามีความเครียดในระดับสูงมากขึ้นเรื่อย ๆ อาจ
ทำใหHเสียชีวิตไดH
สำหรับการตอบสนองเฉพาะที่ (Local Adaptation Syndrome) คือกลุQมอาการที่รQางกายมีการตอบสนอง
เฉพาะที่เมื่อมีการปรับตัวตQอเหตุการณ:ที่มากระตุHนเฉพาะจุด เชQน เมื่อเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บที่ขา บริเวณขาจะมี
อาการปวด บวม หรืออักเสบ และหากการตอบสนองไมQไดHผล การปรับตัวเฉพาะที่ลHมเหลว อาจเกิดเป6น
Localized Exhaustion ไดHในที่สุด
2) การตอบสนองดHานจิตใจ เมื่อมีเหตุการณ:ที่มากระตุHน บุคคลจะประเมินเหตุการณ: และรับรูHถึงการถูกคุกคาม
หรือไมQปลอดภัย จิตใจก็จะมีปฏิกิรยิ าตอบสนองตQอเหตุการณ:นั้นๆ โดยการใชHกลไกทางจิต (Coping
Mechanism / Defense Mechanism) เพื่อลด หรือขจัดความเครียดที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจตอบสนองไดH 3
ประเภท คือ หนีหรือเลี่ยง ยอมรับ และเผชิญกับความเครียด หรือเรียนรูHที่จะอยูQกับความเครียดนั้นๆ ดัง
รายละเอียดตQอไปนี้
2.1 หนี หรือเลี่ยง (Fight) เป6นกลไกของจิตใจอยQางหนึ่งที่บุคคลเลือกใชHอาจทำไดHดHวยการปฏิเสธตนเองวQา
กำลังมีความเครียด หรืออาจหันไปทำกิจกรรมอื่นๆทดแทนทั้งทางบวกและทางลบ เชQน การเลี่ยงไมQรับรูHดHวย
การนอนหลับ ไปช็อปปŒ•ง หันไปใชHสารเสพติด ดื่มสุรา หรือ เพHอฝfนในสิ่งที่กลบเกลื่อนความเครียดหรือปfญหา
ของตนเอง หรืออาจยHายที่อยูQใหมQเพื่อหลีกหนีเหตุการณ:ที่ทำใหHเกิดความเครียด
2.2 ยอมรับและเผชิญกับความเครียด (Fight) คือการตQอสูHกับความเครียดที่มีอยูQโดยการ
แกHไขเหตุการณ:ที่กQอใหHเกิดความเครียด หรือแกHไขปรับเปลี่ยนตนเอง เชQน การแสวงหาความชQวยเหลือ หา
ขHอมูลเพื่อปรับแกHสถานการณ:จากภายนอก หรือการสรHางภูมิคุมกัน สรHางความเขHมแข็งใหHกับตนเองใหHสามารถ
รับความเครียดไดHมากขึ้น เป6นตHน แบQงเป6น 2 ระยะยQอยเป6นตHน

2.3 เรียนรูHที่จะอยูQกับความเครียด (Coexistence) เมื่อความเครียดยังคงอยูQและบุคคลยัง


ไมQสามารถจัดการความเครียดใหHกลับสูQภาวะปกติไดH บุคคลจะเริ่มแสวงหาและเรียนรูHวิธีการใหมQๆ ที่จะ
อยูQกับความเครียด บางคนอาจใชHกลไกทางจิตเพื่อปรับตัว บางคนอาจใชHยุทธวิธีจัดการความเครียดอื่นๆที่
เหมาะสมมากกวQา เชQน การไปฟfงพระสวดมนต: นั่งสมาธิ ฟfงเพลง ออกกำลังกาย หรือหาที่พึ่งที่
สามารถใหHคำปรึกษาหรือใหHกำลังใจ เป6นตHน
ชนิดของความเครียดเมื่อบุคคลตHองประสบกับเหตุการณ:ที่มากระตุHนใหHเกิดความเครียด บุคคลจะตอบสนองตQอ
เหตุการณ:ที่มากระตุHนนั้นๆ แตกตQางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูQกับการใหHคุณคQาความหมายของเหตุการณ:นั้นๆ ของแตQ
ละบุคคล หากบุคลเห็นเหตุการณ:นั้นมีคุณคQาและมีความหมายตQอตนเองมาก ก็จะเกิดความเครียดไดHมากกวQา
นอกจากนี้ระยะเวลาในการเผชิญกับเหตุการณ:ที่มากระตุHน หากบุคคลเผชิญมาเป6นระยะเวลานานๆ ก็จะทำใหH
มีความเครียดสะสม และระดับความเครียดจะมีสูงขึ้นไดH หรือเหตุการณ:ที่เกิดขึ้นอยQางกะทันหัน เชQนการ
สูญเสียบุคคลใกลHชิดอยQางทันทีทันใด โดยไมQทันไดHเตรียมตัวเตรียมใจก็ยิ่งจะทำใหHบุคคลตHองปรับตัวตQอการ
สูญเสียนั้นมากขึ้น และทำใหHมีระดับความเครียดสูงขึ้นไดH นอกจากนี้ความไมQชัดเจนในสาเหตุของความเครียด
การมีปfญหาทางสุขภาพ สิ่งแวดลHอมทางกายภาพ ระดับความสัมพันธ:กับบุคคลรอบขHาง หรือประสบการณ:ที่
บุคคลนั้นๆ เคยผQานหรือเผชิญความเครียดมามากนHอยเพียงใด ก็จะสQงผลตQอระดับความรุนแรงของ
ความเครียดไดHเชQนกัน ทั้งนี้สามารถจำแนกความเครียดไดHเป6น 2 ชนิด ไดHแกQ
1) ความเครียดฉับพลัน (Acute Stress) คือความเครียดที่เกิดขึ้นทันทีและรQางกายก็ตอบสนอง
ตQอความเครียดนั้นทันที โดยมีการหลั่งฮอร:โมนความเครียด เมื่อความเครียดหายไปรQางกายก็จะกลับสูQภาวะ
ปกติ ฮอร:โมนก็จะกลับสูQปกติ ความเครียดฉับพลันมักเกิดจาก เสียง อากาศเย็นหรือรHอน ชุมชนที่คน
มากๆ ความกลัว ตกใจ อันตราย
2) ความเครียดเรื้อรัง (Chronic Stress) คือความเครียดที่เกิดขึ้นทุกวันและรQางกายไมQสามารถ
ตอบสนองตQอความเครียดนั้นซึ่งบุคคลมักมีความเครียดโดยที่ไมQรูHตัวหรือไมQมีทางหลีกเลี่ยง กลQาวคือเมื่อมี
เหตุการณ:หรือสิ่งกระตุนH ใหHเกิดความเครียด รQางกายจะหลั่งฮอร:โมนที่เรียกวQา cortisol และ adrenaline ซึ่ง
จะทำใหHความดันโลหิตสูงและหัวใจเตHนเร็วเพื่อเตรียมพรHอมใหHรQางกายแข็งแรงมีพลังงานพอที่จะตอบสนองตQอ
เหตุการณ:นั้นๆ เชQนการวิ่งหนีอันตราย การยกของหนีไฟ ซึ่งหากไดHกระทำ ฮอร:โมนนั้นจะถูกใชHไป ความเครียด
ก็จะหายไป แตQหากความเครียดนั้นๆเกิดขึ้นมาโดยที่ไมQไดHตอบสนองออกมาไดH ฮอร:โมนเหลQานั้นสะสมใน
รQางกายจนกระทั่งเกิดอาการทางกายและทางใจ และสะสมจนกลายเป6นความเครียดเรื้อรัง ความเครียดเรื้อรัง
เชQน ความเครียดจากการทำงาน หรือการประกอบอาชีพบางอยQาง ความเครียดจากความสัมพันธ:ระหวQาง
บุคคล ความเหงา ความเครียดจากความรับผิดชอบตามบทบาทหนHาที่ในครอบครัว เป6นตHน

ผลของความเครียด
ภาวะเครียดทำใหHบุคคลเสี่ยงตQอการเกิดโรคไดH บุคคลที่มีความเสี่ยงตQอโรคที่เกิดจากความเครียด มักมีอาการ
และอาการแสดง ทั้งทางรQางกายจิตใจ สังคม และ พฤติกรรม ดังนี้
อาการแสดงทางรQางกาย ไดHแกQ มึนงง ปวดศีรษะ หูอื้อ มีเสียงดังในหู ปวดตามกลHามเนื้อ อQอนแรงไมQอยากทำ
อะไร มีปfญหาเรื่องการนอน กัดฟfน อQอนเพลีย หัวใจเตHนเร็ว หายใจไมQอิ่ม มือเย็น แนQนจุกทHอง เบื่ออาหาร
คลื่นไสHอาเจียน ทHองรQวง ทHองผูก เป6นตHน
อาการแสดงทางจิตใจ สังคม ไดHแกQ วิตกกังวล โกรธงQาย หงุดหงิด ซึมเศรHา ทHอแทH การ
ตัดสินใจไมQดี สมาธิสั้น ขี้ลืม ไมQมีความคิดริเริ่ม ความจำไมQดี ไมQสามารถเรียนรูHสิ่งใหมQๆ มองโลกในแงQรHาย
แยกตัว มีปfญหาดHานสัมพันธภาพ หรือไมQมีความสุขกับชีวิต เป6นตHน
อาการแสดงทางพฤติกรรม ไดHแกQ รHองไหH กัดเล็บ ดึงผมตัวเอง รับประทานอาหารเกQง ติดบุหรี่ สุรา กHาวรHาว
เปลี่ยนงานบQอย หรืออาจเสี่ยงตQอการเกิดอุบัติเหตุขณะทำงานไดH เป6นตHน
ทั้งนี้เมื่อมีความเครียดสะสมนานๆอาจกQอใหHเกิดโรคไดH เชQน โรคทางเดินอาหาร โรคปวดศีรษะไมเกรน โรค
ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมองโรค โรคหัวใจ โรคติดสุรา โรคหอบหืด ภูมิคุHมกันต่ำลง เป6นหวัดงQาย
โรคมะเร็ง โรคซึมเศรHา และอาจฆQาตัวตายไดHในที่สุด เป6นตHน
กลวิธีการเผชิญความเครียด
Lazarus & Folkman (1984) กลQาวถึงการเผชิญความเครียดวQามี 2 ลักษณะ คือ
1) พฤติกรรมเผชิญความเครียดแบบมุQงอารมณ: (Emotion-Focused. Coping) เป6นพฤติกรรมที่บุคคล
พยายามที่จะจัดการกับอารมณ:และความรูHสึกตQางๆที่เกิดขึ้นเนื่องมาจากสถานการณ:ที่เป6นภาวะเครียดโดย
ไมQไดHมุQงแกHไขที่ปfญหาหรือสาเหตุ
2) พฤติกรรมเผชิญความเครียดแบบมุQงแกHปfญหา (Problem Coping) เป6นพฤติกรรมที่บุคคลพยายามจัดการ
กับสิ่งที่มากระตุHนใหHเกิดภาวะเครียดโดยตรง เป6นการใชHกระบวนการทางปfญญาในการตัดสินใจที่จะเลือกวิธี
จัดการกับสถานการณ:โดยมุQงที่ตันเหตุของปfญหา ไดHแกQ การเผชิญกับเหตุกรณ:ที่เป6นภาวะเครียดตามสภาพที่
เป6นจริง และหาทางแกHไข หรือเสริมสรHางความสามารถใหHตนเองในการเผชิญภาวะเครียด เป6นตHน

You might also like