You are on page 1of 165

  (แฉล้ม เขมปญฺโญ) 

(วิลาศ ญาณวโร ป.ธ.๙)


อดีตเจ้าอาวาสวัดยานนาวา และกรรมการเถรสมาคม


 

 
 ⌫⌫
กรรมทีปนี
พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร ป.ธ.๙)
ธรรมบูชา เพือ่ สืบอายุพระพุทธศาสนา

มุทติ ายุมงคล ๘๐ ปี
ดร.พระราชวรธรรมโกศล (แฉล้ม เขมปญฺโญ)
เจ้าคณะจังหวัดสงขลา เจ้าอาวาสวัดชัยมงคล
วันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๕๒

ผูจ้ ดั พิมพ์ สำนักปฏิบตั ธิ รรมประจำจังหวัดสงขลา แห่งที่ ๒


วัดชัยมงคล พระอารามหลวง จังหวัดสงขลา
ปีทพ่ี มิ พ์ กันยายน ๒๕๕๒
จำนวนพิมพ์ ๒,๐๐๐ เล่ม

ทีป่ รึกษา พระพรหมจริยาจารย์


พระเทพวีราภรณ์
ดร.พระราชวรธรรมโกศล
พระราชพิพฒ ั นาภรณ์
พระครูธรี สุตคุณ
ดร.รัตน์ ประธานราษฎร์นกิ ร
ผศ.ดร.ไพโรจน์ ด้วงวิเศษ
รศ.กิตติ ตันไทย
ผศ.นิตยา ธัญญพานิชย์
ผศ.ประสิทธิ์ ฤทธาภิรมย์

บรรณาธิการ รศ.ดร.นงนุช กุลบุญ

กองบรรณาธิการ อาจารย์จนั ทนา วรรณกูล อาจารย์รงุ่ ลาวัลย์ ชูสวัสดิ์


ผศ.สุวมิ ล ห้องเสงีย่ ม อาจารย์มทุ ติ า พูลสวัสดิ์
น.ส.สมหมาย สุขแจ่ม อาจารย์คำนวณ นวลสนอง
นายชรินทร์ อุม่ ลำยอง นายณัฏฐพัชร์ นิตยวิมล
นายสมวงศ์ สุธรี ะวัฒนกุล อาจารย์จริ ภา คงเขียว

ศิลปกรรมรูปเล่ม นายอิทธิ รัตนากีรณวร ภาพพระพุทธเจ้า นายมาโนชญ์ เพ็งทอง

ถ่ายภาพ นายสุเชษฐ์ ขวัญศรี นายธนสิทธิ์ ทินวงศ์เพชร

   ⌫
คำนำ

พระเดชพระคุณท่าน พระพรหมโมลี (วิลาศ ญาณวโร ป.ธ. ๙) อดีตเจ้าอาวาสวัดยานนาวา และ


กรรมการเถรสมาคม เป็นพระเถระทีค่ งแก่เรียน และมีอตุ สาหวิรยิ ะมากรูปหนึง่ พระคุณท่านได้รจนาหนังสือ
ธรรมะหลายเรือ่ ง แต่ละเรือ่ งล้วนมีสาระน่าสนใจ โดยเฉพาะ กรรมทีปนี ได้รบั การยกย่องว่าเป็นเพชรน้ำเอก
ในวงการวรรณกรรมสาขาพุทธศาสนาเล่มหนึง่ ได้รบั รางวัลชนะเลิศวรรณกรรมไทยสาขาศาสนา ประจำปี ๒๕๑๗
ของธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) และพระเดชพระคุณท่านยังได้รับการประกาศเกียรติคุณ ว่าเป็น
ผูท้ ำคุณประโยชน์ตอ่ พระพุทธศาสนา สาขาการแต่งหนังสือทางพุทธศาสนา ในวันวิสาขบูชา พ.ศ. ๒๕๓๑

กรรมทีปนี นี้ ได้มผี จู้ ดั พิมพ์เผยแพร่หลายครัง้ หลายคราวแล้ว แต่กย็ งั ไม่เพียงพอแก่ความต้องการของ


เหล่าสาธุชน นักศึกษาธรรมะหลายท่านปรารภว่า เป็นหนังสือทีค่ วรแก่การศึกษา อ่านเข้าใจง่าย ได้ทง้ั ความรู้
และความเพลิดเพลินในธรรม ชักนำให้เกิดความศรัทธาในพระพุทธศาสนายิง่ ขึน้ ในโอกาสทีพ่ ระเดชพระคุณ
ดร.พระราชวรธรรมโกศล (แฉล้ม เขมปญฺโญ) เจริญอายุวฒ ั นมงคล ๘๐ ปี สำนักปฏิบตั ธิ รรมประจำ จังหวัดสงขลา
แห่งที่ ๒ วัดชัยมงคล พระอารามหลวง จังหวัดสงขลา เล็งเห็นถึงสาระประโยชน์อนั จะทำให้ พุทธศาสนิกชน
เกิดความเชื่อมั่นในพระรัตนตรัยและมีความระมัดมั่นในการรักษาศีลยิ่งขึ้น อันจะนำพาให้เกิด ศรัทธาที่จะ
ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานมากขึ้น จึงได้ขออนุญาตไปยังพระเดชพระคุณพระพรหมวชิรญาณ เจ้าอาวาส
วัดยานนาวา กรุงเทพมหานคร จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นธรรมบูชา เพือ่ สืบอายุพระพุทธศาสนาให้ วัฒนาถาวรสืบไป

สพฺพทานํ ธมฺทานํ ชินาติ การให้ธรรมะเป็นทานย่อมชนะการให้ทง้ั ปวง ขอร่วมปัตตานุโมทนามัย


ในมหากุศลของทุกท่านทีม่ สี ว่ นในการดำเนินการ และมีสว่ นบริจาคปัจจัยในการจัดพิมพ์วรรณกรรมไทยเรือ่ ง
กรรมทีปนี เพือ่ เป็นธรรมทานทีบ่ ริสทุ ธิร์ ว่ มกัน

คณะผูด้ ำเนินการจัดพิมพ์

  (แฉล้ม เขมปญฺโญ) 


  (แฉล้ม เขมปญฺโญ) 
วรรณกรรมไทย
เรือ่ ง กรรมทีปนี
๔๐ - ๒๐๑
ปณามพจน์ ๔๗
อารัมภกถา ๔๘
อกิรยิ ะทิฏฐิ ๕๐
อเหตุกะทิฏฐิ ๕๓
นัตถิกะทิฏฐิ ๕๕
ความเห็นผิด ๕๖

ภาคที่ ๑ ตอน ๑
กรรมประเภทที่ ๑
ประเภทแห่งกรรม
กรรมประเภทที่ ๑ ๖๒
ชนกกรรม ๖๒
คำของ ๔ สัตว์นรก ๖๔
อุบาสกผูม้ ศี ลี ธรรม ๖๘
อุปตั ถัมภกกรรม ๗๐
คนกาลกิณี ๗๒
บุรษุ ผูโ้ ชคดี ๗๕
อุปปีฬกิ กรรม ๘๑
สุนกั ขัตตลิจฉวี ๘๓
ภิกษุผมู้ กี รรม ๘๖
ต้นคดปลายตรง ๙๑
อุปฆาตกกรรม ๙๗
กรรมของพระราชาธิบดี ๙๙
องคุลมิ าลอรหันต์ ๑๑๐

  (แฉล้ม เขมปญฺโญ) 


ภาคที่ ๑ ตอน ๑
กรรมประเภทที่ ๒
กรรมประเภทที่ ๒
กรรมทีว่ า่ โดยลำดับการให้ผล ๑๒๓
ครุกรรม ๑๒๓
มาตุฆาต – ปิตฆุ าต ๑๒๕
อรหันตฆาต ๑๒๘
โลหิตบุ าท ๑๓๐
สังฆเภท ๑๓๔
ราชาผูไ้ ด้ฌาน ๑๔๑
อาสันนกรรม ๑๕๐
นาคราชอาภัพ ๑๕๓
มหาวาจกอุบาสก ๑๕๙
โทวาริกทมิฬเทวา ๑๖๑
อุทยราชา ๑๖๔
อาจิณณกรรม ๑๖๙
ทิฏฐิคามินอี ภัยราชา ๑๗๑
สัตว์นรกอเวจี ๑๗๘
เทพนารีชน้ั ดาวดึงส์ ๑๘๑
กฏัตตากรรม ๑๘๗
กรรมของเปรต ๑๘๘
เดียรฉานกลายเป็นเทวดา ๑๙๕

 ⌫⌫
Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็ นธรรมทาน
กรรมทีปนี
โดย
พระพรหมโมลี

ปณามพจน์
นมตฺถุ รตนตฺตยสฺส
ข้าพเจ้า ขอถวายนมัสการ แด่องค์สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ พระองค์ผู้ทรงมีพระมหา
กรุณาแผ่ไป ในไตรภพและพระนพโลกุตรธรรมอันล้ำเลิศ กับทัง้ พระอริยสงฆ์ผทู้ รงพระคุณอัน ประเสริฐ
ด้ ว ยเศี ย รเกล้ า แล้ ว จั ก อภิ ว าทนบไหว้ ซึ ่ ง ท่ า นบู ร พาจารย์ ท ั ้ ง หลาย ผู ้ ท รงไว้ ซ ึ ่ ง ญาณและ
พระคุณอันบริสุทธิ์ ด้วยคารวะเป็นอย่างยิ่ง แล้วจักรจนาเรียบเรียงกถาซึ่งตั้งชื่อว่า “กรรมทีปนี”
เพือ่ จักชีแ้ จงถึงเรือ่ งกรรม ประเภทแห่งกรรม ผลแห่งกรรม และการทำลายล้างกรรมอันเป็นเรือ่ งที่
น่ารูน้ า่ ศึกษา ตามหลักฐานทีป่ รากฏมีในคัมภีรท์ างพระพุทธศาสนา ฉะนัน้ ขอมวลชนผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลาย
จงตัง้ ใจสดับถ้อยคำของข้าพเจ้า ซึง่ จักกล่าวในโอกาสต่อไปนีด้ ว้ ยดีเทอญ

⌫
 ⌫
 

อารัมภกถา

สมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา ยังทรงพระชนม์ชพี และทรงประกาศพระศาสนาอยูน่ น้ั


ปรากฏว่ามีศาสดาจารย์เจ้าลัทธิผหู้ นึง่ เป็นผูม้ ชี อ่ื เสียงโด่งดังลือชา มหาชนบางหมูย่ กย่องว่าเป็นพระอรหันต์
เพราะท่านมีชวี ติ ความเป็นอยูอ่ ย่างง่ายๆ ผิดแปลกจากมนุษย์ธรรมดาสามัญ และลัทธิคำสอนของท่านก็เป็น
อัศจรรย์ คือ เมื่อผู้ใดใครผู้หนึ่งจักประพฤติปฏิบัติตามลัทธิคำสอนของท่านแล้ว ก็ย่อมจะปฏิบัติได้โดยง่าย
ดายแสนจะสะดวกนักหนา ท่านศาสดาจารย์ผนู้ ม้ี นี ามว่า ปูรณะกัสสป

ท่านปูรณะกัสสปศาสดาจารย์น้ี มีชวี ประวัตวิ า่ เดิมทีเป็นขีข้ า้ แห่งเศรษฐีรวยทรัพย์ตระกูลหนึง่ ก่อนที่


เขาจะลืมตามาดูโลกนัน้ ท่านเศรษฐีมขี า้ ทาสสำหรับใช้สอยอยูใ่ นบ้านถึง ๙๙ คนแล้ว และในสมัยนัน้ ถือกันว่า
ทาสคนใดเกิดมาครบเป็นคนที่ ๑๐๐ ในตระกูล ทาสคนนัน้ ชือ่ ว่าเป็น “มงคลทาส” แห่งตระกูล ฉะนัน้ เมือ่ ท่าน
ศาสดาจารย์ในอนาคตเกิดมาครบเป็นคนที่ ๑๐๐ ในตระกูลนัน้ ท่านเศรษฐีเจ้าเงินจึงตัง้ ชือ่ ให้อย่างไพเราะว่า
“ปูรณะ” ซึ่งแปลว่า นายเต็ม แล้วออกประกาศแก่บุตรภรรยาและข้าทาสทุกคนในบ้านว่า “ออเต็มนี้ มันเป็น
มงคลทาสของเรา การงานสิง่ ไรในบ้านของเรา มันจะชอบใจทำก็ตาม ไม่ชอบใจทำก็ตาม พวกเราอย่าว่ากล่าว
มันเลย ดีชั่วหนักนิดเบาหน่อยอย่างไร ให้พวกเราจงอย่าได้ถือสามันเลย ปล่อยให้มันอยู่สบายตามอัธยาศัย
ของมันเถิด”

ฝ่ายกทาชายนายเต็มผู้มีฤกษ์กำเนิดดีเกิดมาสบโชค ครั้นเจริญวัยวัฒนาการก็เป็นหนุ่มเจ้าสำราญ
ประจำบ้าน มีความเป็นอยูอ่ ย่างสุขสบายเสมือนดังว่าตนมิใช่ทาส ใคร่จกั กระทำสิง่ ใดก็ได้ตามอัธยาศัย ใคร่
จักกินก็กนิ ใคร่จกั นอนก็นอน ใคร่จกั เทีย่ วก็เทีย่ ว ใคร่จกั เล่นก็เล่น ไม่มใี ครบังคับบัญชา ไม่มใี ครว่ากล่าว เขา
ประพฤติตนประหนึง่ ดังว่าเป็นพณหัวเจ้าท่านอีกคนหนึง่ ในบ้านนัน้ มาอย่างนีเ้ ป็นเวลาช้านาน กาลวันหนึง่ จะ
เป็นเพราะว่าเขาหมดบุญไม่สามารถทีจ่ ะเสวยสุขอยูใ่ นบ้านนัน้ อีก หรือจะเป็นเพราะเวรกรรมอย่างใดก็สดุ ทีจ่ กั เดา
จึงทำให้เขาเกิดความคิดขึน้ ว่า

“อาตมะอยูท่ น่ี ่ี ไม่เห็นจะมีประโยชน์อะไร อยูไ่ ปวันหนึง่ ๆ ก็เท่านัน้ เอง การงานสิง่ ไรไม่ได้ทำเหมือน เขาอืน่
ยิ่งอยู่ก็ยิ่งกลุ้มใจหนักขึ้นทุกวัน อย่ากระนั้นเลย ควรที่อาตมาจักหนีออกจากบ้านนี้ไปยังสถานที่อื่น
ลองท่องเทีย่ วไปในโลกกว้างเสียสักพัก หากว่าไม่เข้าท่าจึงกลับมามีชวี ติ อยูใ่ นบ้านนีอ้ กี ตามเดิม”

ดำริดงั นีแ้ ล้ว ออเต็มเพือ่ นก็มริ อช้า พอยามราตรีจงึ ลอบหนีออกจากบ้านท่านเศรษฐี โดยมีของจำเป็น


ติดตัวไปเพียงเล็กน้อย เดินทางเผชิญโชคเรือ่ ยไปตามความพอใจ วันหนึง่ บังเอิญเคราะห์รา้ ยถูกปล้น พวกโจร
พากันริบเอาทรัพย์สินที่เขามีติดตัวอยู่เสียจนหมดสิ้น เมื่อเห็นว่าได้ทรัพย์นอ้ ยนักหนา โจรผู้หัวหน้าจึงกล่าว
แก่เขาว่า “ทุด ! คนจัญไรเหตุไฉนออเจ้าจึงเป็นคนอนาถาหาสมบัตมิ ไิ ด้ถงึ เพียงนี้ ทำให้พวกเราเสียทีทป่ี ล้นเจ้า
ฉะนัน้ เราจะทำให้เจ้าเป็นคนอนาถาหนักเข้าไปอีก” ว่าดังนีแ้ ล้วก็พากันเปลือ้ งเอาผ้านุง่ ผ้าห่มออกจากร่างกาย

 ⌫⌫
ของเขาจนหมดสิน้ แล้วรีบหนีไป ปล่อยให้กทาชาย นายเต็มยืนงงอยูใ่ นป่านัน่ ผูเ้ ดียวโดยไม่มผี า้ ผ่อนพันกายเลย
แม้แต่นดิ หนึง่

หลังจากยืนงงในเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ แก่ตนอยูค่ รูห่ นึง่ แล้ว เขาก็รบี เดินเข้าไปในป่าลึก ด้วยเกรงว่าใคร


มาพบเห็นเข้าจักได้รบั ความละอาย ก็ออเต็มนัน้ วิสยั เพือ่ นเป็นคนโฉดเขลาไร้ปญ ั ญา เพราะตัง้ แต่เกิดมาไม่เคย
ทำอะไรเลย ฉะนัน้ เมือ่ ถึงคราวเคราะห์หามยามร้าย จนถึงไม่มผี า้ จะพันกายเช่นนี้ ก็หามีความคิดทีจ่ ะเอาใบหญ้า
มาปกปิดกายตนต่างผ้าเป็นการชัว่ คราวไปก่อนไม่ ได้แต่เดินมะงุมมะงาหราระทมทุกข์ซกุ ซ่อนตนอยูใ่ นป่านัน้
ครัน้ เกิดความหิวโหยขึน้ มา แสบท้องหนักเข้าทนมิได้กส็ น้ิ ความละอาย เดินโซซัดโซเซเข้าไปในหมูบ่ า้ นเพือ่ จะ
ขออาหารเขาบริโภคประทังหิว ฝ่ายชาวบ้านแถบนัน้ ซึง่ เป็นคนปราศจากปัญญาเหมือนกัน ครัน้ เห็นกทาชาย
นายเต็มเดินมาด้วยกิรยิ าอันพิกลเช่นนัน้ ต่างก็บอกแก่กนั และกันว่า

“ท่านผูน้ ้ี เป็นนักบวชปฏิบตั มิ กั น้อยสันโดษ แม้แต่ผา้ ท่านก็หานุง่ ห่มไม่ ถ้ากระไร ท่านผูน้ เ้ี ห็นทีจะเป็น
พระอรหันต์อย่างแม่นมัน่ มาเถิดเหวยพวกเรา เราจงมากระทำบุญด้วยท่านเถิดจักได้ประสบบุญกุศลมาก จะ
หาสมณะอืน่ ใดทีท่ รงคุณวิเศษมักน้อยสันโดษ เสมอด้วยสมณะองค์นเ้ี ป็นไม่มอี กี แล้ว”

ชาวบ้านป่าผูโ้ ง่เขลาปราศจากปัญญา ว่าแก่กนั ด้วยความตืน่ ในผูว้ เิ ศษดังนีแ้ ล้ว ต่างก็ชวนกันถือเอา


ขนมและอาหารอันประณีตเท่าที่ตนจักสามารถหาได้ มามอบถวายให้แก่ออเต็มผู้หิวโหยเป็นอันมาก ครั้นได้
บริโภคอาหารเป็นที่อิ่มหนำสำราญหายหน้ามืดเพราะความหิวแล้ว และได้ยินเขาสรรเสริญตนอยู่นักหนาว่า
เป็นพระอรหันต์ๆ ออเต็มผูม้ ปี ญ
ั ญาสัน้ ก็เลยสำคัญเอาเองว่าตนเป็น “พระอรหันต์” จริงๆ ตัง้ แต่นน้ั มาก็เกิด
อโยนิโสมนสิการ ถือมัน่ เห็นเป็นอกิรยิ ทิฐวิ า่

“ทำบุญก็ไม่เป็นอันทำ จะทำบุญสักเท่าใด ก็เป็นอันทำเหนือ่ ยเปล่า หาได้บญ ุ ไม่ ทำบาปก็ไม่เป็นอันทำ


ถึงจะทำบาปสักเท่าใดๆ ก็หาได้บาปไม่ ดูตัวอย่างเช่นอาตมะนี้อาตมะได้กระทำบุญเสียสักทีเมื่อไร อยู่เฉย
เปล่าแท้ๆ ไม่ได้ทำอะไรเลย ถึงทีจะได้เป็นพระอรหันต์ ก็ได้เป็นเอาเฉยๆ อย่างนัน้ แหละ การทีอ่ าตมะได้เป็น
พระอรหันต์ในครัง้ นี้ มิใช่วา่ ด้วยอานุภาพแห่งบุญและบาป แต่เป็นพระอรหันต์ขน้ึ มาได้เพราะกิรยิ าทีอ่ าตมะไม่
นุง่ ห่มผ้า ฉะนัน้ ภาวะทีไ่ ม่นงุ่ ห่มผ้านี้ จึงเป็นบรรพชาเพศอย่างดี มีคนไหว้นบั ถือมากมาย ลาภสักการะบังเกิด
ขึน้ เป็นหนักหนา อย่ากระนัน้ เลยแต่นต้ี อ่ ไป อาตมะจะไม่นงุ่ ผ้าห่มผ้าเลยเป็นอันขาด”

ออเต็มอรหันต์ปลอมถือมัน่ ในความคิดเห็นแห่งตนดังนีแ้ ล้ว ตัง้ แต่นน้ั มาถึงแม้จะมีใครนำเอาผ้านุง่ ห่ม


มาให้ เพือ่ นก็ไม่นงุ่ ห่มเลย ถือเพศเปลือยกายแก้ผา้ นัน่ แหละเป็นบรรพชาแห่งตน คนโฉดเขลาไร้ปญ ั ญา ก็พา
กันเคารพนับถือมากยิง่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ปรากฏว่าในภายหลังได้มคี นเลือ่ มใส พากันสมัครเป็นสาวกอยูใ่ นสำนัก ของ
นายเต็มนัน้ ประมาณ ๕๐๐ คน เคารพนับถือนายเต็มนัน้ เป็นครูเป็นอาจารย์ขนาน นามออเต็มผูเ้ ป็นศาสดา จารย์
เจ้าลัทธิแห่งตนว่า ท่านปูรณะกัสสปศาสดาจารย์ ก็แนวคำสอนที่ท่านปูรณะกัสสปศาสดาจารย์ สั่งสอน
เหล่าสาวกแห่งตนอยูเ่ นืองๆ นัน้ มีขอ้ ความดังต่อไปนี้

 ⌫ 
อกิรยิ ะทิฏฐิ

o เมือ่ กระทำบาปเอง ผูท้ ำจะชือ่ ว่ากระทำบาปก็หาไม่


เมือ่ ใช้ให้ผอู้ น่ื กระทำบาป ผูใ้ ช้จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ตัดอวัยวะมีมอื เป็นต้นของผูอ้ น่ื ผูต้ ดั จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ใช้ให้ผอู้ น่ื ตัดอวัยวะมีมอื เป็นต้นของคนอืน่ ผูใ้ ช้ให้ตดั จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อเบียดเบียนผูอ้ น่ื โดยการทุบตีดว้ ยท่อนไม้หรือโดยการขูต่ ะคอก ผูเ้ บียดเบียนนัน้ จะได้ชอ่ื
ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผู้อื่นเบียดเบียน โดยการทุบตีด้วยท่อนไม้ หรือโดยการขู่ตะคอกผู้ใช้ให้เบียดเบียน
นั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ทำให้ผอู้ น่ื เศร้าโศก โดยการลักเอาทรัพย์สมบัตขิ องเขามาเป็นต้น ผูท้ ำจะได้ชอ่ื ว่ากระทำ
บาปก็หาไม่
เมือ่ ใช้ผอู้ น่ื ให้ทำให้เขาเศร้าโศก โดยการลักเอาทรัพย์สมบัตขิ องเขามา เป็นต้น ผูใ้ ช้ให้ทำนัน้
จะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ทำให้ผอู้ น่ื ประสบกับความยากลำบากโดยการทรมานให้อดอาหาร หรือโดยการจับขัง ไว้
เป็นต้น ผู้ทำจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ใช้ให้คนอืน่ กระทำให้เขาประสบกับความยากลำบากโดยการทรมานให้อดอาหาร หรือโดย
การจับขังไว้เป็นต้น ผู้ใช้ให้ทำนั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ พยายามดิน้ รนขวนขวาย ในกรณีทจ่ี ะจับมัดผูอ้ น่ื ซึง่ ขัดขืนดิน้ รนเอามากักขังไว้ ผูท้ ำจะได้
ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้คนอื่นพยายามดิ้นรนขวนขวาย ในกรณีที่จะจับมัดผู้ซึ่งขัดขืนดิ้นรนเอามากักขังไว้
ผู้ใช้ให้ทำนั้น จะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อกระทำปาณาติบาตกรรมคือฆ่าสัตว์เอง ผู้ทำจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผู้อื่นกระทำปาณาติบาตกรรม ผู้ใช้ให้ทำนั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ กระทำอทินนาทานกรรม คือลักทรัพย์ของผูอ้ น่ื ด้วยตนเอง ผูท้ ำจะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผู้อื่นกระทำอทินนาทานกรรม ผู้ใช้ให้ทำนั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อกระทำการตัดที่ต่อแห่งเรือน คือการตัดช่องย่องเบาด้วยตนเอง ผู้ทำจะได้ชื่อว่ากระทำ
บาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผู้อื่นกระทำการตัดที่ต่อแห่งเรือน คือการตัดช่องย่องเบา ผู้ใช้ให้ทำนั้นจะได้ชื่อว่า
กระทำบาปก็หาไม่
เมื่อทำการปล้นเป็นการใหญ่หลายบ้านเรือนด้วยตนเอง ผู้ทำจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผอู้ น่ื ปล้นเป็นการใหญ่หลายบ้านเรือน กวาดทรัพย์สนิ ของเขาไปจนหมดสิน้ ผูใ้ ช้ให้
ทำนั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่

 ⌫⌫
เมือ่ กระทำโจรกรรมในเรือนหลังเดียวด้วยตนเอง ผูท้ ำนัน้ จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ ใช้ให้ผอู้ น่ื กระทำโจรกรรมในเรือนหลังเดียว ผูใ้ ช้ให้ทำนัน้ จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อซุม่ อยูท่ ท่ี างเปลีย่ ว เพือ่ ดักจีเ้ อาทรัพย์ของฝูงชนทีเ่ ดินผ่านไปผ่านมาด้วยตนเอง ผูท้ ำจะ
ได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อใช้ให้ผู้อื่นซุ่มอยู่ที่ทางเปลี่ยว เพื่อดักจี้เอาทรัพย์ของฝูงชนที่เดินผ่านไปผ่านมาทั้งหลาย
ผู้ใช้ให้ทำนั้น จะได้ชื่อว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมือ่ กระทำกามมิจฉาจาร คือประพฤติผดิ ในทางกาม ผูท้ ำจะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่
เมื่อประพฤติผิดทางวาจา คือพูดมุสาเป็นคำเท็จหลอกลวง ผู้พูดนั้นจะได้ชื่อว่ากระทำบาป
ก็หาไม่
แม้หากผู้ใดจะใช้จักรซึ่งมีคมโดยรอบเหมือนมีดโกนเที่ยวสังหารเหล่าสัตว์ในพื้นปฐพีนี้ ให้
เป็นลานเป็นกองมังสะอันเดียวกัน บาปที่มีการกระทำเช่นนั้นเป็นเหตุ ก็ย่อมไม่มีแก่เขา ไม่มี
บาปมาถึงเขาผู้นั้น
แม้หากบุคคลจะไปยังฝั่งขวาแห่งแม่น้ำคงคา แล้วทำการฆ่าเขาเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นฆ่าเขาก็ดี
ตัดตีนตัดมือของเขาด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้ผอู้ น่ื ตัดตีนตัดมือของเขาก็ดี บาปทีม่ กี ารกระทำเช่น
นั้นเป็นเหตุ ก็ย่อมไม่มีแก่เขาผู้นั้น ไม่มีบาปมาถึงเขาผู้นั้น
แม้หากบุคคลจะไปยังฝัง่ ซ้ายแห่งแม่นำ้ คงคา แล้วทำการให้ทานด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้ผอู้ น่ื ให้
ทานก็ดี ทำการบูชาด้วยตนเองก็ดี ใช้ให้ผู้อื่นทำการบูชาก็ดี บุญที่มีการทำเช่นนั้นเป็นเหตุ
ก็ย่อมไม่มีแก่เขาผู้นั้น ไม่มีบุญมาถึงเขาผู้นั้น
โดยการให้ทานก็ดี โดยการทรมานอินทรียก์ ด็ ี โดยการสำรวมศีลก็ดี โดยการกล่าวคำสัตย์กด็ ี
บุญที่มีการกระทำเช่นนี้เป็นเหตุ ย่อมไม่มีแก่ผู้กระทำ ไม่มีบุญมาถึงเขาผู้กระทำเลย

ออเต็มปูรณะกัสสปศาสดาจารย์ ผู้มีความเห็นเป็นอกิริยะทิฏฐิ ได้บัญญัติหลักคำสอนเป็นศาสนา


แห่งตนไว้ โดยนัยดังพรรณนามานี้ ปรากฏว่าเป็นทีถ่ กู อกถูกใจของเหล่าสาวกผูโ้ ฉดเขลาเป็นยิง่ นัก ถึงกับจดข้อ
ความนำเอาหลักการเหล่านี้ไปพร่ำสาธยายเพื่อให้จำขึ้นใจ และนำไปประพฤติปฏิบัติมากมายเป็นนักหนา
ด้วยประการฉะนี้

กาลครั้งนั้น ยังมีขี้ข้าเขาอีกคนหนึ่ง ซึ่งภายหลังต่อมาก็ได้รับการยกย่องให้ได้เป็นศาสดาจารย์เจ้า


ลัทธิใหญ่เช่นเดียวกับปูรณะกัสสปเหมือนกัน ชีวประวัตขิ องท่านศาสดาจารย์ผนู้ ม้ี วี า่ เดิมทีเมือ่ เขาคลอดจาก
ครรภ์มารดาซึ่งเป็นทาสีอยู่ในตระกูลหนึ่งนั้น เขาคลอดที่โรงโค อันเรียกตามศัพท์ว่าโคสาล คนทั้งหลายจึง
ขนานนามเขาว่า “โคสาล” ตามสถานที่ๆ เขาเกิด นายโคสาลนั้น ครั้นเติบใหญ่ขึ้นมาก็ต้องรับหน้าที่ทำงาน
หนักให้แก่นายเงิน งานแบกหามหนักเบาอย่างไร ก็ตอ้ งจำใจอดทนทำไปตามคำสัง่ ของท่านผูเ้ ป็นมูลนาย จัก
ขัดขืนคำสัง่ หาได้ไม่ ต้องทำงานต่างๆ ไปสุดแต่นายเงินจักจิกหัวใช้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าตนเกิดมามีกรรม เป็นคน
ไร้ทรัพย์อับปัญญา ตกอยู่ในภาวะเป็นทาสเขา มีชีวิตอยู่อย่างแสนจะลำเค็ญโดยเป็นขี้ข้าเขาอย่างนี้เรื่อยมา
เมือ่ ถึงวาระทีเ่ พือ่ นจะชะตาเฟือ่ ง ก็บงั เอิญให้มเี หตุบนั ดาลเป็น คือ

 ⌫ 
วันหนึง่ มูลนายใช้เขาแบกไหน้ำมันเดินไปในเบือ้ งหน้า ส่วนตัวมูลนายเจ้าเงินนัน้ เดินคอยกำกับการอยู่
ทางเบือ้ งหลัง ในขณะทีพ่ ากันเดินทางมาถึงทีแ่ ห่งหนึง่ ซึง่ เป็นหนทางทีเ่ ฉอะแฉะและเต็มไปด้วยเปือกตมมูลนาย
เกรงว่าเขาจะลืน่ หกล้ม จึงกำชับว่า

“มา ขลิ . . มา ขลิ = ระวัง ! อย่าลืน่ ล้ม . . ระวัง ! อย่าลืน่ ล้ม”

มูลนายกล่าวกำชับว่าดังนีย้ งั มิขาดคำ นายโคสาลเจ้ากรรมก็ให้มอี นั เป็นล้มคะมำลงไป ไหน้ำมันตกจาก


บ่าแตกกระจาย เขารีบผลุดลุกขึน้ มาทันใดด้วยความตกใจสุดขีด ครัน้ เหลียวหลังมองไปทางมูลนาย ก็เห็นเงือ้
ไม้ทำท่าว่าจะตีดว้ ยความโกรธ ในกาลอันคับขันนัน้ ก็พลันตัดสินใจเผ่นผลุงวิง่ หนีไปซึง่ หน้าเพือ่ ให้รอดพ้นจาก
อาญาอันจะมาต้องกายตน มูลนายนัน้ ก็ใช่ชว่ั เมือ่ เห็นเจ้าทาสของตัว มันมาวิง่ หนีไปซึง่ หน้าเช่นนัน้ ก็วง่ิ แล่น
กวดตามไปติดๆ พอหวิดจะถึงตัว ก็เอือ้ มมือไปฉวยชายผ้านุง่ ได้แล้วฉุดเอาไว้ นายโคสาลทาสผูม้ ผี ดิ ซึง่ หมด
สติไม่มคี วามยัง้ คิดอะไรอีกแล้วในบัดนี้ ก็แก้ผา้ ออกด้วยฉับไว วิง่ แล่นไปแต่ตวั เปล่าโดยหาผ้านุง่ ห่มมิได้

ครัน้ วิง่ หนีมลู นายตนไปสูป่ ระเทศทีไ่ กลพอประมาณ หมายใจว่ามูลนายตามมามิทนั แล้ว ก็หยุดลงนัง่


อยูภ่ ายใต้รม่ ไม้แห่งหนึง่ ด้วยความเหนือ่ ยหอบ ก็ความเป็นทาส ปัญญาของนายโคสาลนัน้ ย่อมมีประมาณไม่
ผิดกันเลยกับออเต็มปูรณะกัสสป ด้วยเหตุน้ี เขาจึงไม่มปี ญ ั ญาทีจ่ ะหาวัตถุเครือ่ งปกปิดกายมีใบไม้เป็นต้นมา
พันกายตน คงปล่อยให้ร่างกายเปลือยเปล่าอยู่อย่างนั้น ครั้นบังเกิดความละอายแกรงว่าใครจะเห็นตน ก็ดั้น
ด้นเข้าไปแอบซ่อนอยู่ในป่า ต่อมาไม่ช้าความหิวโหยก็เข้าครอบงำ เมื่อเกิดมีอาการหน้ามืดทำท่าจะเป็นลม
เพราะความหิวแสบท้อง ก็ตอ้ งพาสังขารของตนออกมาจากป่า สิน้ ความละอายเปลือยกายเข้าไปในบ้านแห่ง
หนึง่ เพือ่ จะขอทาน

“อโห ! พระอรหันต์ . . .”

บุรษุ ชาวบ้านป่าคนหนึง่ ซึง่ เห็นเขาเป็นคนแรกอุทานออกมาด้วยความสำคัญผิด แล้วก็รบี บอกกล่าว


ให้ชาวบ้านทั้งหลายได้ทราบ เหล่าชาวบ้านผู้โฉดเขลาก็เข้าใจว่านายโคสาลนั้นเป็นพระอรหันต์จริง เพราะดู
กิรยิ าท่าทางและสารรูปผิดคนธรรมดาสามัญ แม้ผา้ พันกายก็ไม่มดี มู กั น้อยสันโดษนักหนา ก็พากันนำเอาข้าว
ปลาอาหารแต่ล้วนประณีตมาถวายแก่นายโคสาลนั้นเป็นอันมาก เมื่อได้บริโภคอาหารสมอยากหายหิวแล้ว
และแลเห็นฝูงชนชาวบ้านพากันกราบกรานตนด้วยความเลือ่ มใสปากก็พร่ำพรรณนา ยกย่องว่าเป็นพระอรหันต์
อยูน่ กั หนาเช่นนัน้ นายโคสาลก็เคลิบ้ คลิม้ สำคัญว่าตนเป็นพระอรหันต์จริง จึงเกิดอโยนิโสมนสิการถือมัน่ เห็น เป็น
อเหตุกะทิฏฐิวา่

“อหา ! ง่ายแท้ๆ คือว่าการได้บรรลุคณ ุ วิเศษ สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ช่างเป็นการง่าย เป็นการบังเอิญ


โดยแท้ หาเหตุหาปัจจัยอะไรมิได้ ดูแต่อาตมะนีเ่ ป็นไร ความบากบัน่ ความเพียร อันเป็นเหตุเป็นปัจจัย อาตมะ
นีไ้ ด้เคยกระทำเสียสักทีเมือ่ ไร เป็นทาสวิง่ หนีอาญาแห่งนายมาแท้ๆ แต่เมือ่ ถึงคราวจะได้เป็นพระอรหันต์ก็

 ⌫⌫
เป็นขึน้ มาเอง การทีอ่ าตมะได้เป็นพระอรหันต์ขน้ึ มาในครัง้ นี้ มิใช่วา่ ด้วยอานุภาพแห่งเหตุแห่งปัจจัยทีเ่ คยมี
มา เมือ่ จะว่ากันโดยทีถ่ กู ทีค่ วรแล้ว เป็นเพราะกิรยิ าทีอ่ าตมะไม่นงุ่ ผ้า ฉะนัน้ ภาวะทีไ่ ม่นงุ่ ผ้านีจ้ งึ เป็นบรรพชา
เพศทีป่ ระเสริฐ ก่อให้เกิดความเคารพนับถือมากมาย ต่อจากนีไ้ ป อาตมะจะอธิษฐานบรรพชา จักไม่นงุ่ ผ้าห่ม
ผ้าเลยเป็นอันขาด”

นายโคสาลผูเ้ ป็นพระอรหันต์โดยบังเอิญ ดำริจติ คิดฉะนีแ้ ล้ว ก็สำแดงกิรยิ าขรึมส่อเจตนาว่าตนเป็นผู้


สันโดษมักน้อยนักหนา แม้วา่ จะมีผนู้ ำเอาผ้านุง่ ห่มมาให้เพือ่ นก็ปฏิเสธเสีย ประพฤติตนเป็นคนไม่นงุ่ ห่มเลย
ถือเพศเป็นอเจลกไม่มผี า้ พันกายอยูอ่ ย่างนัน้ เป็นเวลานาน ภายหลังต่อมาปรากฏว่า ได้มคี นโฉดเขลาไร้ปญ ั ญา
พากันมาเคารพนับถือมากยิง่ ขึน้ ๆ เขาจึงตัง้ ตนเป็นอาจารย์ขนานนามตนเองเสียอย่างไพเราะว่า มักขลิโคสาล
ศาสดาจารย์ โดยถือเอาคำทีม่ ลู นายเดิมเขากำชับในขณะทีต่ นจะหกล้มทำไหน้ำมันแตกว่า “มา ขลิ” ผสมเข้า
กับชื่อเดิม ซึ่งเป็นกิริยาที่ตนคลอดจากครรภ์มารดาในโรงโคว่า “โคสาล” สำเร็จเป็นนามว่ามักขลิโคสาล
ศาสดาจารย์ ก็แนวคำสอนทีท่ า่ นมักขลิโคสาลศาสดาจารย์ สัง่ สอนเหล่าสาวกแห่งตนอยูเ่ นืองๆ นัน้ มีขอ้ ความ
ดังต่อไปนี้
อเหตุกะทิฏฐิ

o ไม่มเี หตุ ไม่มปี จั จัย เพือ่ ความเศร้าหมองแห่งสัตว์ทง้ั หลาย


สัตว์ทง้ั หลายหาเหตุมไิ ด้ หาปัจจัยมิได้ เมือ่ จะเศร้าหมองก็ยอ่ มเศร้าหมองเอง
o ไม่มเี หตุ ไม่มปี จั จัยเพือ่ ความบริสทุ ธิแ์ ห่งสัตว์ทง้ั หลาย
สัตว์ทง้ั หลายหาเหตุมไิ ด้ หาปัจจัยมิได้ เมือ่ จะบริสทุ ธิก์ ย็ อ่ มบริสทุ ธิเ์ อง
o ไม่มกี ารกระทำของตนเอง
ไม่มกี ารกระทำของผูอ้ น่ื
ไม่มกี ารกระทำของบุรษุ
ไม่มกี ำลังแห่งความเพียร
ไม่มเี รีย่ วแรงของบุรษุ
ไม่มคี วามบากบัน่ ของบุรษุ
สัตว์ทง้ั ปวง ปาณะทัง้ ปวง ภูตะทัง้ ปวง ชีวะทัง้ ปวง ล้วนไม่มอี ำนาจ ไม่มกี ำลัง ไม่มคี วามเพียร แปรไป
ตามเคราะห์ดเี คราะห์รา้ ย แปรไปตามความประจวบเหมาะ แปรไปตามความเป็นเอง ย่อมเสวยสุขเสวยทุกข์
ในชาติตา่ ง ๆ
o สภาวะมีกำเนิดเป็นอาทิ ที่ชนพาลและบัณฑิตเร่ร่อนท่องเที่ยวไป ด้วยความหวังว่า “เราจัก
อบรมกรรมทีย่ งั ไม่อำนวยผลให้อำนวยผล หรือเราจักสัมผัสถูกต้องกรรมทีอ่ ำนวยผลแล้ว จัก
ทำกองทุกข์ให้สน้ิ สุดไปด้วยศีล ด้วยพรต ด้วยตบะหรือด้วยพรหมจรรย์” ดังนี้ ความสมหวัง
จักไม่มใี นสภาวะมีกำเนิดเป็นอาทินน้ั เลยเป็นอันขาด

 ⌫ 
o สุขทุกข์ ทีส่ ตั ว์ทง้ั หลายสามารถทำให้สน้ิ สุดลงได้ เหมือนตวงของให้หมดด้วยทะนาน ย่อมไม่
มีในสังสารนีเ้ ลย
o ไม่มคี วามเสือ่ มความเจริญ
ไม่มกี ารเลือ่ นขึน้ เลือ่ นลง
คนพาลและบัณฑิตทัง้ หลายเร่รอ่ นท่องเทีย่ วไป จักทำกองทุกข์ให้สน้ิ สุดได้เอง เปรียบเหมือนกลุม่ ด้าย
ทีบ่ คุ คลขว้างไป ย่อมคลีห่ มดไปเองฉะนัน้

มักขลิโคสาลศาสดาจารย์ผมู้ คี วามเห็นเป็นอเหตุกะทิฏฐิ ได้บญ ั ญัตหิ ลักคำสอนเป็นศาสนาแห่งตนไว้


โดยนัยดังพรรณนามานี้ ปรากฏว่าเป็นทีถ่ กู อกถูกใจของเหล่าสาวกผูโ้ ฉดเขลาเป็นยิง่ นัก เพราะถึงแม้วา่ พวก
ตนจะฟังคำสอนอันกระท่อนกระแท่นเลอะเลือน มิคอ่ ยจะเข้าใจความหมายได้ทกุ วรรคทุกตอนก็ดี ถึงกระนัน้ ก็
มีความเข้าใจเป็นเค้าๆ ว่าท่านศาสดาจารย์ผเู้ ป็นอรหันต์แห่งตนนัน้ มีหลักการสอนเป็นอัศจรรย์ คือ สอนให้ไม่
ต้องทำอะไรทัง้ นัน้ เมือ่ จะบริสทุ ธิท์ รงคุณวิเศษเป็นพระอรหันต์ ปราศจากกองทุกข์ พอถึงคราวแล้ว ก็อาจจะเป็น
ได้ขน้ึ มาเองโดยไม่ตอ้ งมีเหตุมปี จั จัยอะไรทัง้ สิน้ เหล่าชนผูถ้ วิลหวังใคร่จะได้สำเร็จเป็นอรหันต์โดยสะดวกดาย
ตามสันดานมักง่ายแห่งตนเหล่านัน้ จึงมีความเลือ่ มใสและเกิดความภาคภูมใิ จในปัญญาขององค์ศาสดาแห่งตน
เป็นยิง่ นัก ต่างก็พากันนำเอาหลักการอันผิดไม่เข้าท่าเหล่านีไ้ ปพร่ำสาธยาย เพือ่ จำให้ขน้ึ ใจโดยหมายว่าเป็น
คำสอนอันประเสริฐสำหรับตน ด้วยประการฉะนี้

ขณะทีส่ องศาสดาจารย์ คือ ปูรณะกัสสปและมักขลิโคสาลกำลังประกาศลัทธิโง่ๆ ให้แก่คนโง่ทง้ั หลาย


ผูค้ ลัง่ ไคล้ในปรัชญาแปลกหูอยูอ่ ย่างเพลิดเพลินนัน้ อีกมุมหนึง่ ของประเทศ ก็มศี าสดาจารย์ผเู้ ปรือ่ งปราชญ์เกิน
คนธรรมดาสามัญปรากฏขึ้นมาอีกท่านหนึ่ง ซึ่งประชาชนทั้งหลายได้รู้จักท่านในนามว่า “อชิตเกสกัมพล
ศาสดาจารย์” ท่านอชิตเกสกัมพลศาสดาจารย์ผนู้ ้ี เดิมทีกเ็ ป็นแต่เพียงบุคคลชาวบ้านธรรมดา มีชอ่ื ว่านาย อชิตะ
ภายหลังเกิดมีความเบื่อหน่ายในฆราวาสวิสัย จึงออกไปบวชเป็นเดียรถีย์ พยายามประพฤติวัตรตาม
ความสามารถแห่งตน ปรารถนาจะให้คนทัง้ ปวงเลือ่ มใสศรัทธาว่า เป็นผูม้ กั น้อย สันโดษ เพือ่ นจึงสูอ้ ตุ ส่าห์นงุ่
ห่มผ้าทีก่ ระทำด้วยผมมนุษย์ แม้จะมีผนู้ ำเอาผ้านุง่ ผ้าห่มเนือ้ ดีสสี วยราคาแพงสักเท่าใดมาให้ นายอชิตะเดียรถีย์
ก็มไิ ด้มจี ติ ยินดี กลับปฏิเสธเสียสิน้ แล้วก็สง่ั สอนคนทัง้ หลายไปตามอำนาจแห่งความถือมัน่ เห็นเป็นนัตถิกะ ทิฏฐิวา่

“ผลทานไม่ม!ี ผลแห่งการบูชาใหญ่นอ้ ยก็ไม่ม!ี สวรรค์ไม่ม!ี นรกไม่ม!ี อิธโลกปรโลกก็ไม่ม!ี ผลทีป่ ฏิบตั ิ


มารดาบิดาไม่ม!ี สัตว์บคุ คลเกิดมาทุกวันนี้ เกิดมาชาติเดียว แต่พอตายแล้วก็สน้ิ สูญกันเท่านัน้ เอง ทีต่ ายแล้ว
และจะไปเกิดในชาติหน้านัน้ หามิได้ จะกระทำดีสกั เท่าใดๆ จะกระทำชัว่ สักเท่าใดๆ ก็มกี ำหนดกันเพียงแต่ตาย
สุดเกณฑ์กนั เพียงตายเท่านัน้ ”
บรรดาประชาชนผูโ้ ง่เขลาทัง้ หลายได้สดับโอวาทดังนี้ ต่างก็มคี วามเชือ่ ถือเพราะเห็นเขาประพฤติตนผิด
คนธรรมดา ผ้าผ่อนทีน่ งุ่ ห่มนัน้ เล่าเขาก็นงุ่ ห่มแต่ผา้ อันกระทำด้วยผมของมนุษย์ซง่ึ มีสมั ผัสอันหยาบยากทีผ่ อู้ น่ื
จักกระทำได้เช่นนั้น จึงพากันเข้าใจไปว่านายอชิตะเป็นพระอรหันต์ แล้วชวนกันมานมัสการกราบไหว้ด้วย
ความเลือ่ มใส ในทีส่ ดุ ก็สมัครเป็นสาวกมากมาย ยกย่องแต่งตัง้ เขาเป็นอาจารย์ขนานนามว่า ท่านอชิตเกสกัมพล

 ⌫⌫
ศาสดาจารย์ ซึง่ แปลว่าท่านศาสดาจารย์อชิตะผูน้ งุ่ ผ้าห่มผ้าอันกระทำด้วยผมของมนุษย์ ก็แนวคำสอนทีท่ า่ น
อชิตเกสกัมพลศาสดาจารย์ สัง่ สอนเหล่าสาวกแห่งตนอยูเ่ นืองๆ นัน้ มีขอ้ ความดังต่อไปนี้

นัตถิกะทิฏฐิ

o ทานไม่มผี ล
การบูชาไม่มผี ล
การเซ่นสรวงไม่มผี ล
ผลวิบากแห่งกรรมทีท่ ำดีทำชัว่ ไม่มี
โลกนีไ้ ม่มี
โลกหน้าไม่มี
มารดาบิดาไม่มี
สัตว์ผเู้ กิดผุดขึน้ ไม่มี
สมณพราหมณ์ผดู้ ำเนินชอบ ปฏิบตั ชิ อบ ซึง่ กระทำโลกนีแ้ ละโลกหน้าให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิง่ ด้วยตน
เองแล้วสอนผูอ้ น่ื ให้รแู้ จ้ง ในโลกนีไ้ ม่มี

o คนเรานี้ เป็นแต่เพียงมหาภูตรูปทัง้ สีป่ ระชุมกัน เมือ่ ทำกาลกิรยิ าตายไปแล้ว


ธาตุดนิ ก็ไปตามธาตุดนิ
ธาตุนำ้ ก็ไปตามธาตุนำ้
ธาตุไฟก็ไปตามธาตุไฟ
ธาตุลมก็ไปตามธาตุลม
อินทรียท์ ง้ั หลาย ย่อมเลือ่ นลอยไปในอากาศ
o คนทัง้ หลาย มีเตียงเป็นที่ ๕ จะหามเขาไป ร่างกายปรากฏอยูแ่ ค่ปา่ ช้า กลายเป็นกระดูกมีสี
ดุจสีนกพิราบ
o ทานนัน้ เป็นสิง่ ทีพ่ วกคนเขลาบัญญัตไิ ว้ คำของคนบางพวกทีพ่ ดู ว่า
“ทานมีผล .. ทานมีผล”

คำพูดเหล่านี้ ล้วนแต่เป็นคำเปล่า เป็นคำเท็จ เป็นคำเพ้อ เพราะว่าเมือ่ ร่างกายสลาย คนเราทัง้ พาล


ทัง้ บัณฑิต ย่อมขาดสูญพินาศสิน้ จะได้กลับมาเกิดอีกก็หามิได้

 ⌫ 
อชิตเกสกัมพลศาสดาจารย์ ผู้มีความเห็นเป็นนัตถิกะทิฏฐิ ได้บัญญัติหลักคำสอนเป็นศาสนาแห่งตน
ไว้โดยนัยดังพรรณนามานี้ ปรากฏว่าเป็นทีถ่ กู อกถูกใจของเหล่าสาวกผูโ้ ฉดเขลาเป็นยิง่ นัก เพราะเป็นคำสอนที่
ฟั ง ง่ า ยและปฏิ บ ั ต ิ ต ามได้ ง ่ า ย ไม่ ข ั ด กั บ อั ธ ยาศั ย อั น หยาบหนาแห่ ง ตน บางคนถึ ง กั บ จดเอาข้ อ ความ
เหล่านีไ้ ปพร่ำสาธยายเพือ่ จำให้ขน้ึ ใจ และใช้เป็นคติประจำชีวติ ของตนสืบไปในวันหน้า ด้วยประการฉะนี้

ความเห็นผิด

เป็นทีน่ า่ เศร้าสลดและน่าสังเวชใจ ในหลักคำสอนแห่งท่านศาสดาจารย์ทง้ั ๓ เป็นยิง่ นัก เพราะว่าหลัก


คำสอนเหล่านัน้ เมือ่ ว่ากันตามความเป็นจริงแล้วเป็นคำสอนทีผ่ ดิ พลาดอย่างมหันต์ ซึง่ ออกมาจากดวงใจอัน
ประกอบไปด้วยมิจฉาทิฐิ คือความเห็นผิด!

เพราะเหตุไร? เพราะว่า ในบรรดาท่านศาสดาจารย์ผเู้ ป็นพระอรหันต์เถือ่ นทัง้ ๓ คนนัน้ ท่านปูรณะ


กัสสปศาสดาจารย์ ซึง่ ประกาศศาสนาแห่งตนออกมาโดยนัยเป็นต้นว่า
“เมือ่ กระทำบาปเอง ผูท้ ำจะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปเองก็หาไม่
เมือ่ ใช้ให้ผอู้ น่ื กระทำบาป ผูใ้ ช้จะได้ชอ่ื ว่ากระทำบาปก็หาไม่”

ศาสนาชนิดนีเ้ ป็น อกิรยิ วาที คือ ปฏิเสธกรรม ไม่วา่ จะกระทำอะไรทัง้ สิน้ ก็ไม่เป็นกรรมทัง้ นัน้ ซึง่ นับ
ว่าเป็นคำสอนทีผ่ ดิ จากความเป็นจริงอย่างมหันต์ประการหนึง่

ท่านอชิตเกสกัมพลศาสดาจารย์ ผูซ้ ง่ึ ประกาศศาสนาแห่งตนออกมาโดยนัยเป็นต้นว่า


“ทานไม่มผี ล
การบูชาไม่มผี ล
สัตว์ตายแล้วก็ขาดสูญ ไม่มโี ลกนี้ ไม่มโี ลกหน้า”

ศาสนาชนิดนีเ้ ป็น นัตถิกวาท คือปฏิเสธผลวิบากแห่งกรรม เพราะปฏิเสธผลแห่งการกระทำทัง้ สิน้ ว่า ไม่มี


คนกระทำความดีความชัว่ อย่างใดก็ไม่มผี ลทัง้ นัน้ ซึง่ นับว่าเป็นคำสอนทีผ่ ดิ พลาดอย่างมหันต์ประการหนึง่

ท่านมักขลิโคสาลศาสดาจารย์ ซึง่ ประกาศศาสนาแห่งตนออกมา โดยนัยเป็นต้นว่า


“ไม่มเี หตุ ไม่มปี จั จัย เพือ่ ความเศร้าหมองแห่งสัตว์ทง้ั หลาย
สัตว์ทง้ั หลายหาเหตุมไิ ด้ หาปัจจัยมิได้ เมือ่ จะเศร้าหมองก็ยอ่ มเศร้าหมองเอง”
ศาสนาชนิดนีเ้ ป็น อเหตุกวาที คือปฏิเสธกรรมและผลวิบากแห่งกรรม หมายความว่า การทีส่ ตั ว์บคุ คล
ทัง้ หลายจะเป็นอย่างไร จะดีหรือชัว่ อย่างไรนัน้ ก็เป็นขึน้ มาเอง ไม่ใช่เพราะกรรมคือการกระทำหรือเพราะผล

 ⌫⌫
วิบากแห่งกรรมแต่อย่างใดอย่างหนึ่งเลย คำสอนเช่นนั้นเป็นคำสอนที่ผิดจากความเป็นจริงอย่างมหันต์
ประการหนึง่

จึงเป็นอันว่า ท่านศาสดาจารย์ทง้ั ๓ ได้พากันบัญญัตศิ าสนาที่ ปฏิเสธกรรมและผลแห่งกรรม โดย


ประการทัง้ ปวง ซึง่ เป็นศาสนา ทีม่ หี ลักการผิดจากความเป็นจริงอย่างร้ายกาจ ด้วยอำนาจแห่งมิจฉาทิฐคิ วาม
เห็นผิด อันสถิตแน่นอยูใ่ นจิตของตนดังกล่าวมา เพราะฉะนัน้ เมือ่ ถึงคราวดับขันธ์สน้ิ ชีวติ แล้ว มิจฉาทิฏฐิอกุศล
กรรมจึงชักนำท่านศาสดาจารย์ทง้ั ๓ นัน้ ไปสูน่ ริ ยิ ภูมิ บังเกิดเป็นสัตว์นรก ได้รบั ทุกข์โทษอย่างแสนสาหัสใน
โลกันตนรก จนกระทัง่ บัดนีก้ ย็ งั หาพ้นจากนรกไม่

ฝ่ายสาวกของศาสดาจารย์เจ้าลัทธิทง้ั ๓ ซึง่ ปรากฏว่ามีอยูเ่ ป็นจำนวนมากนัน้ บางพวกก็มคี วามเลือ่ ม


ใสในลัทธิคำสอนนั้นเป็นอย่างมาก บางพวกก็มีความเลื่อมใสแต่พอประมาณ บางพวกก็มีความเลื่อมใสน้อย
คือมิคอ่ ยจะเชือ่ ถือเท่าใด ในบรรดาสาวกเหล่านี้ สาวกพวกทีม่ คี วามเชือ่ ถือเลือ่ มใสในลัทธิอนั โง่เขลานัน้ อย่าง
ฝังจิตฝังใจ พวกนีถ้ งึ กับจดเอาเนือ้ ความคำสอนไปยังบ้านเรือนของตน แล้วก็อตุ ส่าห์นง่ั ท่องนัง่ สวดทุกคืนวัน
จนเจนใจ เมือ่ พิจารณาไปด้วยปัญญาอันเฉาโฉดแห่งตน ก็ยง่ิ เห็นจริงไปตามคำสอนนัน้ หนักยิง่ ขึน้ ครัน้ พวก
เขาพากันคร่ำเคร่งภาวนาอยูอ่ ย่างขึน้ ใจ โดยนัยเป็นต้นว่า

o เมือ่ บุคคลทำบาปเอง ผูท้ ำจะได้ชอ่ื ว่าทำบาปก็หาไม่...


o ไม่มเี หตุ ไม่มปี จั จัย เพือ่ ความเศร้าหมองแห่งสัตว์ทง้ั หลาย...
o ผลทานไม่มี ผลการบูชาไม่มี สัตว์ทง้ั หลายตายแล้วก็สญ ู ไป...

ภาวนาอยูอ่ ย่างนีห้ นักๆ เข้า ก็ยอ่ มเกิดมิจฉาสติ คือการตัง้ สติไว้ผดิ ๆ จิตยึดหน่วงเอาความคิดเห็นผิดๆ


นัน้ เป็นอารมณ์แน่วแน่ ในทีส่ ดุ พวกเขาผูโ้ ง่เขลาทัง้ หลายก็เข้าถึงภาวะเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิบคุ คล คือ บุคคลผูม้ ี
ความเห็นผิดอันดิง่ ลงไป

เมื่อพวกเขากลายเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิบุคคลไปอย่างนี้แล้ว ก็ย่อมเป็นที่แน่นอนว่าจักต้องประสบกับ
ความวิบตั อิ ย่างใหญ่หลวง นัน่ คือ เมือ่ เขาสิน้ ชีวติ ตายจากมนุษยโลกนีไ้ ปแล้วย่อมเป็นผูแ้ คล้วคลาดจากสุคติภมู ิ
คือว่า มิอาจจะไปเกิดเป็นเทพยดา ณ สรวงสวรรค์ หรือว่ามิอาจจะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์ ณ มนุษยโลกเรานีใ้ น
ชาติตอ่ ไปได้เลยสถานทีๆ่ เขาจักต้องไปเกิดก็คอื อบายภูมิ ๔ มีนริ ยภูมเิ ป็นต้นต้องทนทุกข์เวียนตายเวียนเกิด
ได้รบั ความทรมานอย่างแสนสาหัสในจตุราบายภูมิ ไม่มกี ำหนดเวลาทีจ่ ะพ้นทุกข์ได้ ไม่มโี อกาสทีจ่ ะได้บรรลุถงึ
พระนิพพานอันเป็นแดนพ้นทุกข์ได้เลยเป็นอันขาด เพราะแม้แต่เพียงสุคติภมู ิ นิยตมิจฉาทิฏฐิบคุ คลก็ยงั แคล้ว
คลาดมิอาจจะไปได้แล้ว จะป่วยกล่าวไปใย ถึงการทีเ่ ขาจะได้มรรค ผล นิพพาน อันเป็นภูมสิ ถานทีพ่ น้ จากทุกข์
ทัง้ มวลได้เล่า ด้วยเหตุทพ่ี วกเขาเป็นผูป้ ดิ ประตูสคุ ติภมู ิ และเป็นผูเ้ ปิดประตูอบายภูมใิ ห้กบั ตนเองด้วยอำนาจ
แห่งมิจฉาทิฏฐิอันดิ่งลงไปดังกล่าวมา เพราะฉะนั้นเมื่อถึงคราวดับขันธ์ทำกาลกิริยาจากมนุษยโลกนี้ไปแล้ว

 ⌫ 
พวกเขาเหล่านิยตมิจฉาทิฏฐิบุคคลเหล่านั้น ก็พากันไปเกิดเป็นสัตว์นรกเสวยทุกขทรมานอย่างแสนสาหัส
ร่วมกันกับท่านศาสดาจารย์อรหันต์เถือ่ นทัง้ ๓ ของพวกเขาในขุมนรกโลกันต์นน่ั แล

ในกรณีน้ี หากจะมีปญ
ั หาว่า

“เพราะเหตุไร ท่านศาสดาจารย์ทง้ั ๓ พร้อมกับเหล่าสาวกของตน จึงกลายเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิบคุ คล


แล้วถูกมิจฉาทิฏฐิอกุศลธรรมชักนำให้ไปเกิดเป็นสัตว์นรก ได้รบั ทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัสเช่นนัน้ เล่า ?”

“กรรม ! เพราะท่านศาสดาจารย์ทง้ั ๓ นัน้ ตะแกเป็นพาลชนคนโง่เขลา ไม่เข้าใจในเรือ่ งกรรม ไม่รู้


เรือ่ งของกรรม จึงเป็นเหตุให้ตะแกพากันคิดดูหมิน่ กรรม เพราะความเข้าใจผิดในเรือ่ งกรรม จึงทำให้เกิด
ความเห็นผิด เมื่อความเห็นผิดมีมากๆ เข้าจนกลายเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิแล้ว ก็มีใจแกล้วกล้า โอหัง
ปฏิเสธเรื่องกรรมและผลแห่งกรรมเสียโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นจึงถูกกรรมที่ตนคิดดูหมิ่นว่าไม่มีนั่นแหละ
ฉุดกระชากลากพาให้ได้ รับทุกขโทษอยูใ่ นมหานรก ฝ่ายสาวกทั้งหลาย ผู้มีความเข้าใจผิดในเรื่องกรรม
เพราะความโง่เขลาไม่รู้เรื่อง ของกรรม คิดดูหมิ่นดูเบาในกรรมตามคำสอนของอาจารย์ จนกลายเป็น
นิยตมิจฉาทิฏฐิบคุ คล ก็ยอ่ มจะถูก กรรมชักนำให้ไปเกิดในมหานรกเช่นเดียวกับศาสดาจารย์ของตน”

เท่าที่กล่าวเป็นอารัมภกถามาอย่างยืดยาวนี้ ต้องการที่จะชี้ให้ท่านผู้มีปัญญาได้ทราบว่า เรื่อง


กรรมนีเ้ ป็นเรือ่ งใหญ่สำคัญ เป็นเรือ่ งครอบโลกครอบจักรวาล ปัญหาเรือ่ งกรรมเป็นปัญหาทีไ่ ม่มใี ครสามารถขบ
คิดให้รแู้ จ้งแทงตลอดได้ หากว่าจะใช้แต่เพียงปัญญาของปุถชุ นคนธรรมดา พึงทราบไว้โดยตระหนักว่าในโลกนี้
ผูท้ ส่ี ามารถจักทราบเรือ่ งกรรมได้อย่างถูกต้องและแจ่มแจ้งทีส่ ดุ ก็มอี ยูแ่ ต่เพียงสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระองค์เดียวเท่านัน้ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ทรงเป็นพระสัพพัญญู
ตรัสรูท้ กุ สิง่ ทุกประการในไตรโลก พระองค์ยอ่ มทรงมีพระญาณวิเศษหยัง่ รูเ้ รือ่ งกรรมนีไ้ ด้อย่างแจ่มแจ้ง แล้วจึง
ทรงนำเอามาแสดงแก่ชาวโลกได้ ฉะนั้นความรู้แจ้งเห็นจริงในปัญหาเรื่องกรรมนี้ จึงเป็นวิสัยแห่งองค์สมเด็จ
พระชินสีหเ์ จ้าโดยเฉพาะ หาใช่เป็นวิสยั แห่งปุถชุ นคนธรรมดาไม่

หากว่าปุถชุ นคนสามัญผูใ้ ด มีใจบังอาจดูหมิน่ กรรมเกิดความดูเบาในเรือ่ งของกรรม โดยคิดเห็นว่า


เรือ่ งกรรมเป็นเรือ่ งเล็กไม่มคี วามสำคัญอย่างใด แล้วก็ใช้ปญ ั ญาพิพากษาเรือ่ งกรรมไปตามอำนาจความคิดเห็น
ของตน เขาผูน้ น้ั ย่อมไม่มโี อกาสทีจ่ กั สามารถรูเ้ ห็นเรือ่ งกรรมอย่างแจ้งชัดได้ นอกจากจะไม่สามารถทราบชัด
ในเรือ่ งของกรรมแล้ว อาจจะเกิดความเข้าใจผิดเป็นนิยตมิจฉาทิฏฐิบคุ คล ซึง่ เป็นเหตุนำตนไปสูอ่ บายภูมกิ ไ็ ด้
ดูแต่ทา่ นศาสดาจารย์ทง้ั ๓ พร้อมกับสาวกนัน่ ยังไง การทีพ่ วกเขาต้องพากันไปสูอ่ บายตกนรก ก็เพราะเขาเป็น
คนโชคร้ายเกิดมาเป็นคนภายนอกพระพุทธศาสนา และยังเป็นปุถุชนคนธรรมดาอยู่ ไม่สามารถที่จะรู้ชัดใน
เรื่องกรรมได้ จึงวินิจฉัยเรื่องกรรมไปตามความคิดเห็นอันโง่ๆ แห่งตน จนกลายเป็นความเข้าใจผิดในเรื่อง
กรรมและผลแห่งกรรมไปในทีส่ ดุ

 ⌫⌫
อย่าว่าแต่ทา่ นศาสดาจารย์ทง้ั ๓ พร้อมกับสาวกของเขา ซึง่ เป็นคนภายนอกพระพุทธศาสนาเป็น เดียรถีย์
จะมีความเข้าใจผิดในเรื่องของกรรมอันเป็นเรื่องใหญ่ดังกล่าวมาแล้วนั่นเลย แม้แต่พุทธศาสนิกชนคน
นับถือพระพุทธศาสนา ปฏิญญาตนเป็นสาวกแห่งองค์สมเด็จพระทศพลสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้ทรงรู้แจ้งเห็นจริง
โดยวิเศษในเรือ่ งกรรมนีแ่ หละ บางคนก็ยงั ไม่เข้าใจในเรือ่ งกรรม! ในกรณีนพ้ี งึ เห็นตัวอย่างเช่น คราวใดทีเ่ กิดมี
ปัญหาเรือ่ งกรรมขึน้ มาแล้ว คราวนัน้ ย่อมจะเกิดความรูส้ กึ ว่าเรือ่ งกรรม ทีท่ า่ นกล่าวเอาไว้ในพระพุทธศาสนานี้
มันช่างเป็นเรื่องเวรกรรมชนิดหนึ่งซึ่งยุ่งยากสลับซับซ้อน ยากแก่การที่จะทำความเข้าใจให้เกิดขึ้นได้ แม้จัก
พยายามขบคิดจนหัวสมองแทบจะแตกตาย ก็ไม่สามารถทีจ่ ะรูเ้ ห็นอย่างแจ่มแจ้งได้ ครัน้ นำเอาเรือ่ งกรรมทีต่ น
สงสัยนีไ้ ปไต่ถามท่านผูร้ ู้ ก็ดเู หมือนว่าจะยิง่ เป็นเวรกรรมหนักเข้าไปอีก เพราะเห็นท่านผูร้ นู้ น้ั ท่านอธิบายฟุง้ ซ่าน
ออกคารมโวหารไปต่างๆ นานา ในทีส่ ดุ ก็ได้ปญ ั ญาเท่าเดิม คือไม่ได้ความรูค้ วามเข้าใจอะไรในเรือ่ งกรรม เพิม่
เติมขึน้ เลย นีเ่ ป็นเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ เพราะความไม่เข้าใจในเรือ่ งกรรมอย่างธรรมดา แต่ทน่ี า่ สังเวชใจใน เรือ่ ง
นี้หนักยิ่งขึ้นไปกว่านั้นก็คือว่า บางคนนอกจากจะไม่เข้าใจเรือ่ งกรรมแล้ว ยังมีความเข้าใจผิดใน เรือ่ ง
กรรมทีท่ างพระพุทธศาสนาสอนไว้ไปต่างๆ นานาอีกด้วย ยกตัวอย่างเช่น

“กรรมดีกรรมชัว่ มีจริงหรือเปล่าก็ไม่รู้ ? เห็นปูย่ า่ ตายายท่านว่า ก็เลยว่าตามไปอย่างนัน้ เอง” พุทธ


ศาสนิกชนคนหนึง่ ซึง่ เชือ่ ครึง่ ไม่เชือ่ ครึง่ ในเรือ่ งกรรมพูด

“กรรมดีกรรมชัว่ ไม่มหี รอกเว้ย ! ดูแต่ตวั ข้านีย้ งั ไง อุตส่าห์ประกอบกรรมดีมาเกือบเป็นเกือบตายก็


ไม่เห็นจะได้ดอี ะไรขึน้ มาเลย สูค้ นทำกรรมชัว่ ไม่ได้ คนทำชัว่ ได้ดมี อี ยูม่ ากมาย ทำไมทางพระพุทธศาสนาจึง สอนว่า
ทำดีได้ดี ทำชัว่ ได้ชว่ั ก็ไม่ร”ู้ อีกคนหนึง่ ซึง่ ประสบกับความคับแค้นในชีวติ เพราะไม่ได้ดี พูดขึน้ อย่างน้อยใจ

“พระพุทธเจ้าสอนผิด ! ไหนเห็นสอนว่า ถ้าอุตส่าห์ประกอบกรรมดี เช่นให้ทานรักษาศีลแล้วจะได้


โภคสมบัติ เราก็ทำบุญตักบาตรมาตัง้ แต่เด็กจนแก่ แทนทีจ่ ะร่ำรวยอุดมสมบูรณ์ไปด้วยโภคสมบัติ แต่กลับจน
ยากลงทุกวัน ท่านสอนของท่านอย่างไรกันนะ หรือว่าจะให้ไปเอาสวรรค์วมิ านในชาติหน้า” อีกคนหนึง่ ต่อว่า
พระพุทธศาสนาทีต่ นเคารพบูชาเอาอย่างซึง่ ๆ หน้าด้วยความเจ็บใจ

“นรกสวรรค์ไม่มี ! นรก-สวรรค์-บุญ-บาปมีทไ่ี หนกัน โลกนีโ้ ลกหน้า หรือชาตินช้ี าติหน้าก็ไม่มี ท่านสอน


เรือ่ งเหล่านีเ้ อาไว้ ก็เพือ่ เป็นนโยบายให้คนทัง้ หลายเกิดความเกรงกลัวจะไม่ได้ทำความชัว่ สังคมมนุษย์จะได้
อยูก่ นั อย่างสงบสุข โดยไม่เบียดเบียนซึง่ กันและกันเท่านัน้ เอง ความจริงคนเราเมือ่ ตายแล้วก็สญู ไป ไม่ใช่วา่ จะ
ต้องไปเกิดในนรกสวรรค์อะไรที่ไหน ดังที่คนโบราณเพ้อฝันกันดอก” อีกคนหนึ่งวิจารณ์คำสอนเรื่องกรรมใน
พระพุทธศาสนาออกมา สุดแต่วา่ ปัญญาความคิดจะพาไป

วาทะเหล่านี้ ฟัง ๆ ดูก็แทบจะไม่รู้ว่าเป็นวาทะของใครกันแน่ จะว่าเป็นวาทะของสาวกแห่งองค์


สมเด็จพระทศพลสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผทู้ รงรูแ้ จ้งเห็นจริงโดยพิเศษในเรือ่ งกรรม หรือว่าจะเป็นวาทะของ
สาวกท่านเดียรถีย์ ศาสดาจารย์ทง้ั ๓ ผูป้ ฏิเสธเรือ่ งกรรมและผลแห่งกรรมโดยสิน้ เชิงก็ให้สงสัยอยู่ ทัง้ ๆ ทีว่ าทะ

 ⌫ 
เหล่านีพ้ รัง่ พรูออกมาจากปากของบุคคลผูไ้ ด้ชอ่ื ว่าเป็นพุทธศาสนิกชนโดยกำเนิด ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะเหตุใด ?
เพราะความไม่เข้าใจในเรือ่ งกรรม และความเข้าใจผิดในเรือ่ งกรรมนัน่ เอง ทีบ่ นั ดาลให้เหตุการณ์อนั น่าสลดใจ
เช่นนีเ้ กิดขึน้ ถ้ามีความเข้าใจในเรือ่ งกรรมทีท่ างพระพุทธศาสนาสอนไว้เป็นอย่างดีแล้ว เหตุการณ์ดงั กล่าวมานี้
ก็ยอ่ มจะไม่มโี อกาสเกิดขึน้ เลยเป็นอันขาด

บัดนี้ เราทัง้ หลายนับว่าเป็นผูโ้ ชคดี เพราะเกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา ซึง่ เป็นศาสนาทีส่ อน


เรือ่ งกรรมไว้อย่างละเอียดและถูกต้องทีส่ ดุ เมือ่ มารูส้ กึ ตนว่า ตัวเรานีย้ งั มีความไม่เข้าใจในเรือ่ งกรรมดีพอ หรือ
จะรูส้ กึ ว่าเข้าใจดี แต่กท็ ำเป็นเข้าใจไปอย่างนัน้ เอง ทัง้ ๆ ทีย่ งั งงและสงสัยในเรือ่ งกรรมนีอ้ ยู่ ก็ควรจะรับรูเ้ รือ่ ง
กรรมทีท่ างพระพุทธศาสนาสอนไว้บา้ งก็จะเป็นการดี จะได้ไม่เสียทีทเ่ี กิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนาเอา ละ
สมมติวา่ ขณะนีเ้ รามีความคิดเห็นว่าเป็นกรรมของตัวทีไ่ ด้เกิดมาเป็นมนุษย์ พบพระพุทธศาสนา ซึง่ มีหน้าที่
ที่จะต้องรับรู้เรื่องกรรมอย่างท่านว่า และเราก็มีจิตปรารถนาใคร่จักรู้เรื่องกรรมด้วยความยินดี ฉะนั้น เราจึง
เริ่มต้นศึกษาเรื่องกรรมที่ทางพระพุทธศาสนาสอนไว้ ตั้งแต่บัดนี้ต่อไปเลยทีเดียวโดยไม่ยอมให้เสียเวลา ใน
ขณะเริม่ ต้นนี้ ย่อมจะมีปญ ั หาขึน้ มาก่อนว่า

ทีว่ า่ กรรม ๆ นัน้ เป็นดังฤา ?


วิสชั นาว่า

กริยตีติ กมฺมํ
สภาวะใด อันสัตว์ทง้ั หลายกระทำ สภาวะนัน้ แลชือ่ ว่ากรรม

ขยายความว่า สัตว์ทง้ั หลายทุกประเภท ย่อมมีการกระทำ จะอยูน่ ง่ิ ๆ เหมือนสิง่ ปราศจากชีวติ เช่นก้อน


กรวดก้อนหินนัน้ หามิได้ ก็สง่ิ ทีส่ ตั ว์บคุ คลทัง้ หลายกระทำต่างๆ นัน่ แหละ เรียกว่า “กรรม” ก็สง่ิ ทีก่ ระทำนัน้

- ถ้าเป็นกุศล ก็เรียกว่า กุศลกรรม


- ถ้าเป็นอกุศล ก็เรียกว่า อกุศลกรรม
- ถ้ากระทำด้วยกาย ก็เรียกว่า กายกรรม
- ถ้ากระทำด้วยวาจา ก็เรียกว่า วจีกรรม
- ถ้ากระทำด้วยใจ ก็เรียกว่า มโนกรรม

พึงจำไว้งา่ ย ๆ ว่า การกระทำทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วยกาย วาจา ใจ ไม่วา่ จะเป็นการกระทำดีหรือกระทำชัว่


เรียกชือ่ ว่า “กรรม” กรรมนีเ้ มือ่ จะว่าโดยฝ่ายใหญ่ๆ ก็แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่ายเท่านัน้ คือ
๑. ฝ่ายกุศลกรรม
๒. ฝ่ายอกุศลกรรม

 ⌫⌫
แต่จะเป็นเพราะความไม่เข้าใจความหมายของกรรมศัพท์ หรือจะเป็นเพราะความเคยชินกันมาแต่
โบราณอย่างไรก็สดุ จักเดาได้ เมือ่ เอ่ยถึงคำว่ากรรมเข้าแล้ว สามัญชนในโลกสันนิวาสมักจะเพ่งเล็งไปยังฝ่าย
อกุศลกรรมเป็นเป้าหมาย ในกรณีนี้จะพึงเห็นได้เช่น เมื่อบุคคลได้ประสบพบเห็นผู้ใดผู้หนึ่งต้องภัยได้ทุกข์
เกิดความสังเวชสลดใจขึน้ มา ก็มกั จะพึมพำว่า “โธ่เอ๋ย...กรรมของเขาแท้ ๆ” ดังนี้

หรือแม้แต่ในขณะที่ตนเองได้ประสบกับชะตากรรมเคราะห์ร้าย ได้รับความทุกข์และภัยขนาดหนัก
ก็มกั จะกล่าววาจาบ่นออกมาว่า “กรรม ๆ...กรรมของกูแท้ ๆ” ดังนี้ แต่เมือ่ คราวทีต่ นประสบโชคดี ย่อมไม่มี
ใครเลยทีจ่ ะกล่าวว่าเป็นกรรม ! ทัง้ ๆ ทีก่ รรมศัพท์น้ี หมายถึงทัง้ กรรมดีและกรรมไม่ดี ฉะนัน้ ในทีน่ จ่ี งึ ควร
ทำความเข้าใจว่า คำว่า “กรรม” นี้ ใช่ว่าจะหมายความเอาเฉพาะแต่ฝ่ายอกุศลกรรม ซึ่งเป็นฝ่ายไม่ดีตาม
โวหารโลกนิยมก็หามิได้ โดยทีแ่ ท้ยอ่ มหมายความถึงกุศลกรรมซึง่ เป็นฝ่ายดีอกี ด้วย

ั ญาทัง้ หลาย คือความหมายของคำว่า กรรม ส่วนอรรถาธิบายในเรือ่ งกรรมนีจ้ ะ


นีแ่ หละท่านผูม้ ปี ญ
มีเป็นประการใดบ้างนัน้ จักได้นำเอามาชีแ้ จงไปตามสมควรแก่รปู เรือ่ งหนังสือทีต่ ง้ั ชือ่ ว่า กรรมทีปนี ซึง่ จัก
กล่าวในโอกาสต่อจากนีไ้ ป ฉะนัน้ จึง ขอเชิญท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย ผูใ้ คร่จะทราบเรือ่ งกรรมทีท่ าง
พระพุทธศาสนาสอนไว้ จงตัง้ ใจอุตสาหะติดตามอ่านต่อไปตามสมควรแก่อธั ยาศัยแห่งตนเถิด.

 ⌫ 
ภาคที่ ๑
ประเภทแห่งกรรม
——————————
ความเบือ้ งต้น
บัดนี้ จักพรรณนาถึงประเภทแห่งกรรม ตามเค้าโครงเรือ่ งกรรมอันปรากฏมีในคัมภีรต์ า่ งๆ ทางพระ
พุทธศาสนา มีพระคัมภีร์มโนรถปูรณีเป็นต้น เพื่อที่จักชี้แจงให้ท่านสาธุชนผู้มีปัญญาทั้งหลายได้ทราบใน
ปัญหาทีน่ า่ รู้ เช่นปัญหาทีว่ า่ กรรมมีอยูก่ ป่ี ระเภท และกรรมแต่ละประเภทนัน้ มีลกั ษณะการแตกต่างกันอย่างไร
บ้างดังนีเ้ ป็นอาทิ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีพ่ วกเราผูเ้ ป็นพุทธศาสนิกชนคนนับถือพระบวรพุทธศาสนาควรจักสนใจและ ศึกษา
ให้รู้ไว้เป็นอย่างยิ่ง ในการศึกษาเรื่องประเภทแห่งกรรมนี้ เพื่อความเข้าใจง่ายๆ เราควรจะได้พูดกันถึง
กรรมประเภทที่ ๑ เสียก่อน ดังต่อไปนี้

กรรมประเภทที่ ๑
กรรมทีว่ า่ โดยหน้าที่
ก็กจิ จจตุกกะหรือกรรมประเภททีว่ า่ โดยหน้าทีน่ ้ี มีอยู่ ๔ กรรมด้วยกัน คือ ชนกกรรม ๑ อุปตั ถัมภก
กรรม ๑ อุปปีฬกิ กรรม ๑ อุปฆาตกรรม ๑ ซึง่ มีอรรถาธิบายตามลำดับก่อนหลัง ดังนี้

ชนกกรรม
ชเนตีติ ชนกํ
กรรมใด ย่อมทำวิปากนามขันธ์ และกัมมชรูปให้เกิดขึน้ กรรมนัน้ ชือ่ ว่าชนกกรรม
ชนกกรรมนี้ ย่อมเป็นกรรมที่ทำให้วิบาก และกัมมชรูปเกิดขึ้น ทั้งในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล!
หมายความว่า ครัน้ สัตว์ทง้ั หลายตายลงแล้ว เมือ่ จะไปเกิดในภูมิตา่ งๆ อันมีอยูใ่ นวัฏสงสารนีเ้ ช่นไปเกิดเป็น
สัตว์เดียรฉานในติรจั ฉานภูมกิ ด็ ี ไปเกิดเป็นเทวดาในเทวภูมกิ ด็ ี หรือมาเกิดเป็นมนุษย์ในมนุสสภูมกิ ด็ ี เหล่านี้
ย่อมเป็นไปด้วยอำนาจแห่งชนกกรรม ซึง่ ทำหน้าทีใ่ ห้วบิ ากและกัมมชรูปเกิดขึน้ ในปฏิสนธิกาลทัง้ สิน้ และเมือ่

 ⌫⌫
สัตว์ทง้ั หลายเกิดขึน้ มาแล้ว ก็ตอ้ งมีอวัยวะน้อยใหญ่เกิดขึน้ ตามสมควรแก่สตั ว์นน้ั ๆ พร้อมทัง้ มีการเห็น การได้
ยิน การได้กลิน่ การรูร้ ส การถูกต้อง และการรักษาภพ (ภวังค์) เกิดขึน้ ตามสมควร เหล่านีย้ อ่ มเป็นไปด้วย
อำนาจแห่งชนกกรรม ซึง่ ทำหน้าทีใ่ ห้วบิ ากและกัมมชรูปเกิดขึน้ ในปวัตติกาล

นี่แหละท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย คือความหมายแห่งชนกกรรม เป็นอย่างไรบ้างเล่า รู้สึกว่าจะเข้าใจ


ยากไปหรือเปล่าเท่าทีก่ ล่าวมานี่ ถ้ารูส้ กึ ว่าจะเข้าใจยากไปสักหน่อยก็ไม่เป็นไรอย่าเพิง่ ท้อใจ ขอให้จำไว้งา่ ยๆ
แต่เพียงว่า ชนกกรรมนีท้ ำหน้าทีย่ งั ปฏิสนธิให้บงั เกิดขึน้ คือเป็นพนักงานตกแต่งปฏิสนธิให้เกิดขึน้ เท่านัน้ มิได้
ทำหน้าทีอ่ ย่างอืน่

ถ้าจะเปรียบ ชนกกรรมนีย้ อ่ มเปรียบเสมือนมารดาเป็นทีเ่ กิดแห่งบุตร ธรรมดาว่ามารดา ย่อมมี


หน้าทีย่ งั บุตรให้เกิดขึน้ คือเป็นผูใ้ ห้กำเนิดแก่บตุ รโดยเฉพาะอย่างเดียวเท่านัน้ บุตรเกิดขึน้ มาแล้ว ย่อมเป็น
หน้าที่ของนางนมนำเอาไปเลี้ยง นางนมก็ใส่ใจบำรุงรักษาปฏิบัติ พูดง่ายๆว่ากิจที่จะต้องเลี้ยงดูและคอย
พิทกั ษ์รกั ษาในเมือ่ ทารกคลอดออกมาแล้วนัน้ เป็นพนักงานของนางนมมิใช่เป็นพนักงานของมารดา อุปมานี้ ฉันใด
ชนกกรรมซึง่ เปรียบเสมือนมารดา ก็มหี น้าทีเ่ ป็นพนักงานเพียงนำปฏิสนธิ คือยังสัตว์ทง้ั หลายให้เกิดขึน้ เท่านัน้
ไม่ทำหน้าที่อย่างอื่น พอทำหน้าที่ยังสัตว์ให้เกิดแล้วก็หมดหน้าที่ของชนกกรรม เหมือนมารดาพอยัง
ทารกให้เกิดแล้วก็หมดหน้าทีข่ องตน ส่วนการทีจ่ ะคอยอุปถัมภ์คำ้ ชูหรือคอยเบียดเบียนสัตว์ทง้ั หลายผูเ้ กิดมา
แล้วนัน้ เป็นพนักงานของกรรมอืน่ เหมือนการเลีย้ งดูและคอยพิทกั ษ์รกั ษาในเมือ่ ทารกนัน้ เกิดมาแล้ว เป็นหน้า
ทีข่ องนางนมซึง่ เป็นคนอืน่ หาใช่เป็นหน้าทีข่ องมารดาผูย้ งั ทารกให้เกิดไม่ ฉะนัน้

เป็นอันว่า บัดนีเ้ ราทัง้ หลายก็ได้ทราบกันแล้วว่า การทีส่ ตั ว์ทง้ั หลายจะเกิดมาในวัฏภูมิ ไม่วา่ จะเกิดเป็น


สัตว์เดียรฉาน เป็นมนุษย์ เป็นเทวดา หรือเป็นอะไรก็ตาม ไม่ใช่วา่ อยูๆ่ แล้วเอะอะก็เกิดขึน้ มาเอง โดยไม่มเี หตุ
ไม่มปี จั จัยอะไรทัง้ สิน้ หรือว่านึกจะเกิดเป็นอะไร ก็วง่ิ พรวดไปเกิดเอาตามใจชอบอย่างนัน้ เองโดยไม่มเี หตุผล
อะไรทัง้ สิน้ ไม่ใช่อย่างนัน้ อันทีจ่ ริงการทีส่ ตั ว์ทง้ั หลายจักเกิดเป็นอะไรนัน้ ย่อมเกิดขึน้ ด้วยอำนาจแห่งชนกกรรม
ชนกกรรมนีแ่ หละเป็นพนักงานตกแต่งให้เกิด ชนกกรรมนีแ่ หละเขาเป็นใหญ่ในการนำปฏิสนธิและในขณะทีเ่ ขา
ทำหน้าที่นำปฏิสนธิคือยังสัตว์ให้เกิดนั้น เขาเป็นใหญ่จริงๆ กรรมอื่นจะมาแทรกแซงแย่งทำหน้าที่ไม่ได้เลย
เป็นอันขาด เขาทำหน้าทีต่ ามลำพังตนในขณะนัน้ เท่านัน้ เปรียบเหมือนมารดากำลังประสูตทิ ารกอันเป็นบุตร
ของตน ย่อมทำหน้าทีป่ ระสูตแิ ต่เพียงผูเ้ ดียว คนอืน่ จะมาแย่งหน้าทีเ่ ป็นผูป้ ระสูตริ ว่ มด้วยในขณะนัน้ จะได้ท่ี ไหนเล่า
ชนกกรรมก็เหมือนกัน ย่อมเป็นใหญ่ในขณะนำปฏิสนธิ คือยังสัตว์ทั้งหลายให้เกิด เป็นตัวบันดาลให้
สัตว์ทง้ั หลายเกิดขึน้ .

ชนกกรรมนี้ มีอยู่ ๒ ฝ่าย คือ ชนกกรรมฝ่ายทีเ่ ป็นอกุศลก็มี ชนกกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศลก็มี ชนกกรรรม


ทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศลเมือ่ ทำหน้าทีน่ ำปฏิสนธิยงั สัตว์ให้เกิดนัน้ ย่อมผลักดันสัตว์ให้ไปเกิดในทุคติภมู อิ นั เป็นภูมทิ ช่ี ว่ั ช้า
ซึง่ ได้แก่อบายภูมทิ ง้ั ๔ คือ นิรยภูมิ ๑ เปตติวสิ ยั ภูมิ ๑ อสุรกายภูมิ ๑ ติรจั ฉานภูมิ ๑ ชักนำสัตว์ทง้ั
หลายให้ไปเกิดในอบายภูมิเหล่านี้ภูมิใดภูมิหนึ่ง ตามสมควรแก่กรรมที่สัตว์เหล่านั้นได้กระทำไว้ ในกรณีที่

 ⌫ 
ชนกกรรม ฝ่ายอกุศลทำหน้าทีช่ กั นำสัตว์ทง้ั หลายให้ไปเกิดในอบายภูมนิ น้ั พึงเห็นตัวอย่างเช่นเรือ่ งทีเ่ ล่าให้
ฟังต่อไปนี้

คำของ ๔ สัตว์นรก
ได้สดับมาว่า สมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังทรงประกาศสัจธรรมเผยแพร่
พระบวรพุทธศาสนาอยูใ่ นโลกนัน้ คราวหนึง่ พระองค์พร้อมด้วยพระสงฆ์สาวกอรหันต์ขณ ี าสพ ประมาณ ๒๐,๐๐๐
รูป ได้เสด็จมาถึงพระนครแห่งหนึ่ง ซึ่งปรากฏชื่อว่าพระนครพาราณสีในปัจจุบันนี้ ชาวเมืองทั้งหลาย
ครัน้ ได้เห็นสมเด็จพระพุทธองค์พร้อมด้วยพระสงฆ์สาวก ผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐมากมายเช่นนัน้ ต่างก็พา
กันตืน่ เต้นดีใจด้วยความเลือ่ มใสเป็นอันมาก ชักชวนกันบริจาคทรัพย์ถวายอาคันตุกทานเป็นการใหญ่ประชาชน
ทั้งหลาย ๒ คนบ้าง ๓ คนบ้าง หลายคนบ้าง ได้ร่วมกันสามัคคีร่วมใจกันเป็นเจ้าภาพจัดอาหารบิณฑบาต
ถวายพระภิกษุสงฆ์ ซึง่ มีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประธาน นับเป็นเวลานานหลายวัน

คราวครัง้ นัน้ ยังมีลกู ชายเศรษฐี ๔ คน ซึง่ พ่อแม่ของตนต่างก็มที รัพย์มากมายถึงคนละ ๔๐ โกฏิ ลูกชาย


ของเศรษฐีทง้ั ๔ นัน้ กำลังรุน่ ดรุณวัยเป็นสหายรักกันมาก เมือ่ เห็นคนทัง้ หลายพากันบริจาคทานถวายอาหาร
เลีย้ งพระสงฆ์เป็นการใหญ่เช่นนัน้ แทนทีจ่ ะเกิดความเลือ่ มใสร่วมใจกันทำบุญทำทานกับเขา กลับมีใจดูหมิน่ ดูเบา
โดยคิดเห็นไปว่าคนทัง้ หลายเป็นคนโง่เขลาเพราะบ้าศรัทธา

“จะทำไปทำไมกันเว้ย...บุญทาน ! ทำแล้วก็ไม่เห็นได้ประโยชน์อะไร มีแต่สน้ิ เปลืองทรัพย์สมบัตไิ ป เปล่าๆ


การบูชาพระพุทธเจ้าและการรักษาศีลก็เหมือนกัน จะทำไปทำไม คิดไปเท่าไรๆ ก็มองไม่เห็นว่าจะมี ประโยชน์
เสียเวลาเปล่าๆ” นีค่ อื มติรว่ มกันเป็นเอกฉันท์ของเขาทัง้ ๔ ในขณะทีเ่ ขาร่วมประชุมกันในวันหนึง่

“แล้วเราจักทำอย่างไรดีเล่า พ่อแม่ของเราท่านได้สร้างทรัพย์สมบัตไิ ว้ให้เรามากมาย ลำพังจะกินจะใช้


อีกกีส่ บิ ชาติกค็ งจะไม่หมดไปง่ายๆ พวกเราจะจัดการกับทรัพย์สมบัตเิ หล่านัน้ อย่างไรดี ?” คนหนึง่ ถามขึน้

“เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน” คนหนึ่งเสนอขึ้นตามความคิดเห็นของตน “คือว่า พวกเราพากันไปหาซื้อสุรา


อย่างดีทส่ี ดุ เอามาดืม่ โดยมีเนือ้ ทีม่ รี สชาดดีทส่ี ดุ เป็นกับแกล้มเป็นประจำ อย่างนีเ้ ข้าใจว่าชีวติ เราคงจักมีรส
เพือ่ นเห็นด้วยกับเราหรือไม่ ?”

“ดีเหมือนกันเพือ่ น ! แต่เราขอเสนอเพิม่ เติมอีกอย่างหนึง่ คือ ว่านอกจากพวกเราจะดืม่ สุราทีม่ รี สดีทส่ี ดุ


เท่าที่จักหาได้ในเมืองนี้แล้ว เราควรจะให้คนใช้หาข้าวปลาอาหารชนิดที่มีรสเลิศต่างๆ มาบริโภคเป็นประจำ
ตลอดไป เห็นจะเป็นการดี” คนหนึง่ เสนอต่อไป

 ⌫⌫
“เพือ่ นเราลืมนึกสิง่ สำคัญไปอย่างหนึง่ ” ลูกชายเศรษฐีคนสุดท้ายกล่าวขึน้ บ้าง สิง่ สำคัญทีว่ า่ นีก้ ค็ อื นารี
กินเหล้าเมายาบริโภคอาหารดีๆ ถ้าหากว่าขาดนารีสวยๆ มันจะไปเป็นท่าอะไร ฉะนัน้ เราจักใช้ทรัพย์อนั มาก
มายมหาศาลเป็นเครือ่ งล่อก็อสิ ตรีทง้ั หลายทีจ่ ะได้ชอ่ื ว่าไม่ปรารถนาทรัพย์เป็นอันไม่มี เราประเล้าประโลมด้วย
ทรัพย์แล้วคงจักได้ตวั หล่อนมาเป็นสมบัตขิ องเราสมความปรารถนาไม่วา่ หล่อนจักเป็นใครก็ตาม” เขาพล่ามไป
ตามธรรมดาของคนทีม่ สี นั ดานเสีย

ตัง้ แต่วนั นัน้ เป็นต้นมา ลูกชายเศรษฐีทง้ั หลายผูไ้ ร้ศลี ธรรมต่างก็ตง้ั หน้าประกอบอกุศลกรรมทำความชัว่


เสพสุรายาเมาเป็นอาจิณ ผิดศีลข้อที่ ๕ นอกจากนั้นยังกล้าประพฤติปรทาริกกรรม คือ เมื่อเห็นสตรีสาวทั้ง
หลายไม่วา่ จะเป็นลูกเขาเมียใคร เมือ่ ตนพอใจแล้ว เป็นต้องหาอุบายเอาตัวมาเป็นเครือ่ งบำเรอความสุขแห่งตน
โดยใช้ทรัพย์มหาศาลเป็นเครือ่ งล่อ อันเป็นการประพฤติผดิ ศีลข้อกาเมสุมจิ ฉาจาร พวกเขาพากันเฝ้าล้างผลาญ
ทรัพย์สมบัตทิ ม่ี ารดาบิดาสัง่ สมไว้ให้ไปในทางทีช่ ว่ั ช้าลามกอยูอ่ ย่างนีเ้ ป็นเนืองนิตย์ เมือ่ เขาพากันสิน้ ชีวติ ไปแล้ว
กรรมชัว่ ทัง้ หลายทีเ่ ขาได้พากันกระทำไว้นน้ั ก็พลันกลับกลายเป็นชนกกรรม แล้วฉุดกระชากชักนำพวกเขาทัง้
๔ ตรงดิง่ ไปปฏิสนธิ ณ อเวจีมหานรกแดนนิรยภูมิ

เกิดกายเป็นสัตว์นรกตัวใหญ่ ๔ ตน ทนทุกขเวทนาเป็นสาหัสสุดประมาณ ต้องถูกไฟในอเวจีมหานรก


อันแรงร้าย เผาไหม้กายตนอยูต่ ลอดเวลาไม่วา่ งเว้นเลยแม้แต่วนิ าทีเดียว สัตว์นรกเหล่านัน้ ครัน้ เสวยทุกขโทษ
ถูกไฟนรกในอเวจีมหานรกไหม้กาย ได้รบั ความแสบปวดแสบร้อนอยูน่ านสิน้ เวลา ๑ พุทธันดรแล้ว ก็สน้ิ กรรม
จึงพากันตายจากอเวจีมหานรกนัน้ แต่วา่ เศษกรรมชัว่ ทีต่ วั ทำไว้ยงั ไม่สน้ิ ฉะนัน้ เขาจึงพากันมาเกิดเป็นสัตว์นรก
ณ โลหกุมภีนรก ซึง่ มีความกว้างใหญ่ประมาณ ๖๐ โยชน์ ต้องเวียนว่ายให้ไฟไหม้เผากายตนอยูใ่ นโลหกุมภีนรก
อันกว้างใหญ่นน้ั ครัน้ มะงุมมะงาหราเวียนว่ายอยู่ ณ พืน้ ภายใต้หม้อนรกเหล็กแดงโลหกุมภี สิน้ เวลานานนักหนา
แล้ว ก็พยายามกระเสือกกระสนจะว่ายขึน้ มาเบือ้ งบนให้ได้ พวกเขาต้องใช้ความมานะพยายามเป็นอย่างมาก
โดยหวังทีจ่ ะว่ายขึน้ มาให้ถงึ ปากหม้อนรกโลหกุมภีให้จงได้ แต่ความหวังของพวกเขาต้องล้มละลายไปหลายครัง้
บางครัง้ พอจวนๆ จะถึงปากหม้อสมปรารถนาก็ตอ้ งกลับจมลงไปอีก ทัง้ นีก้ เ็ พราะสภาพของสัตว์นรกทีต่ กลงไป
ในหม้อนรกเหล็กแดงใหญ่อนั มีชอ่ื ว่าโลหกุมภีนน้ี น้ั ย่อมมีสภาพเหมือนกับข้าวสารทีเ่ ขาเอาใส่แล้วเคีย่ วต้มใน
หม้อซึง่ กำลังเดือดพล่าน มีอาการดำผุดดำว่ายโผล่ขน้ึ มาแล้วก็จมลงไป และโผล่ขน้ึ มาอีกแล้วก็จมลงไปเป็นอยู่
อย่างนีเ้ รือ่ ยเป็นนิจ อดีตลูกชายเศรษฐีเจ้าสำราญทัง้ ๔ ทีเ่ รากำลังพูดถึงนีก่ เ็ หมือนกัน ขณะนีเ้ ขามีสภาพเหมือน
กับเมล็ดข้าวสารทีก่ ำลังถูกเคีย่ วอยูใ่ นหม้ออันเดือดพล่าน การทีเ่ ขาหวังจะโผล่ศรี ษะขึน้ มาบนปากหม้อจึงเป็น
ความหวังทีเ่ ลือนรางเต็มที แต่เขาก็หาหมดความพยายามไม่ อุตสาหะว่ายตะเกียกตะกายเรือ่ ยไป ในทีส่ ดุ หลัง
จากทีไ่ ด้ใช้ความพยายามอยูเ่ ป็นเวลาถึง ๓๐,๐๐๐ ปีดว้ ยการนับปีในมนุษยโลกเรานีแ้ ล้ว คราวหนึง่ เขาทัง้ ๔
ผูซ้ ง่ึ เป็นชาวโลหกุมภีนรก ได้ผงกศีรษะขึน้ มาเจอหน้ากันอย่างพรัง่ พร้อมทีป่ ากหม้อพอดี

ณ สถานทีน่ น้ั ด้วยความอัดอัน้ ตันใจทีต่ นได้เสวยทุกขโทษอย่างสาหัสมาเป็นเวลานานนักหนา ตัง้ แต่


คราทีอ่ ยูใ่ นอเวจีมหานรก แม้จนกระทัง่ บัดนี้ มาเกิดอยูท่ โ่ี ลหกุมภีนรกก็ยงั ไม่เคยได้รบั ความสุขสบายเลยแม้แต่

 ⌫ 
เพียงนิดเดียว สัตว์นรกตนหนึง่ ซึง่ มีหน้าเศร้า ครัน้ มาประสบพบหน้าเพือ่ นรักอย่างพร้อมหน้ากันดังนัน้ ก็พลัน ดีใจ
ใคร่จะระบายความทุกข์อนั สุมอกมานานเหลือเกิน จึงมีความประสงค์ทจ่ี ะกล่าวว่า

“ทุกขฺ ชีวติ มชีวมิ หฺ า...น่าอนาถเป็นหนักหนา ! เพราะว่าพวกเราไม่ได้ทำบุญให้ทานจึงต้องมาพานพบ


ชีวติ อันแสนร้าย ได้รบั ทุกขทรมานเห็นปานนี้ เมือ่ ทรัพย์สมบัตมิ อี ยูใ่ นอดีตกาลโน้นพวกเราก็ได้หาคิดทีจ่ ะทำที่
พึง่ ให้แก่ตนไม่”

แต่เป็นทีน่ า่ เศร้าเสียใจไปกับสัตว์นรกตนนัน้ เป็นยิง่ นัก เพราะว่าเขาไม่อาจทีจ่ กั กล่าวประโยคคำพูดดัง


ทีต่ นประสงค์ได้หมดประโยค เพราะไม่มเี วลา พอเอ่ยปากกล่าวได้แต่เพียงครึง่ คำออกมาว่า “ทุ” กล่าวได้เพียง
เท่านีแ้ ท้ๆ ก็พลันหายวับจมลงในหม้อเหล็กใหญ่อนั เดือดพล่านต่อไปอีกตามเดิม

ในขณะทีบ่ งั เอิญโผล่ขน้ึ าพบหน้าเพือ่ นรักกันนัน้ สัตว์นรกอดีตบุตรเศรษฐีผมู้ กี รรมตนที่ ๒ ก็มคี วาม


ประสงค์จะระบายความอัดอัน้ ตันใจแก่เพือ่ นทัง้ หลายอยูเ่ หมือนกัน โดยมีความประสงค์จะกล่าวเป็นเชิงปรึกษา
หารือว่า

“สฏฺฐวี สฺสสหสฺสานิ...เพือ่ นเอ๋ย ! ตัง้ แต่เรามาดำผุดดำว่ายอยูใ่ นหม้อนรกอันร้ายแรงนีถ้ า้ จะประมาณก็


เป็นเวลานานถึง ๖๐,๐๐๐ ปีแล้ว เมือ่ ไรเล่า เราจึงจักพ้นจากนรกนีเ่ สียที”

แต่เขาไม่อาจทีจ่ ะกล่าวประโยคคำพูดดังทีต่ นประสงค์ได้หมด พอเอ่ยปากกล่าวได้เพียงครึง่ คำออกมา ว่า


“ส” กล่าวได้เพียงนีเ้ ท่านัน้ แท้ๆ ก็พลันหายวับจมลงไปในหม้อเหล็กต่อไปอีกตามเดิม

ด้วยอาการอันกลุ้มอกกลุ้มใจและเหนื่อยหน่ายเป็นอย่างหนัก ตามแบบฉบับของสัตว์นรกผู้ต้องทน
ทุกขเวทนามาเป็นเวลานาน สัตว์นรกตนที่ ๓ พอเห็นหน้าเพือ่ นกันในครึง่ เสีย้ วแห่งวินาทีนน้ั ก็มคี วามประสงค์
ใคร่จะระบายความในใจออกมาว่า

“นตฺถิ อนฺโต กุโต อนฺโต...ไม่มวี นั พ้น ! วันพ้นโทษอันร้ายกาจนีจ่ ะมีแต่ทไ่ี หน วันพ้นโทษอันร้ายแรงนี้


ไม่มวี แ่ี ววว่าจักปรากฏขึน้ เลย สหายทัง้ หลายเอ๋ย ! บาปกรรมความชัว่ ทีต่ วั เราและท่านได้เคยกระทำไว้ในกาล
ก่อน ได้ยอ้ นมาให้ผลอย่างสาสมแล้ว”

แต่เขาไม่อาจจักกล่าวประโยคคำพูดดังที่ตนประสงค์นี่ได้ทั้งหมด พอเอ่ยปากกล่าวได้เพียงครึ่งคำ
อักษรแรกออกมาว่า “น” กล่าวได้แต่เพียงอักษรเดียวนีแ่ ท้ๆ เท่านัน้ ก็พลันหายวับจมลงไปในหม้อเหล็กต่อไป
อีกตามเดิม

 ⌫⌫
ด้วยใบหน้าอันเศร้าหมองบอกความไม่ผอ่ งใส ตามลักษณาการแห่งสัตว์นรกผูเ้ พิง่ รูส้ กึ เสียใจในกรณีท่ี
ตนไม่เคยทำความดีเอาไว้ สัตว์นรกตนที่ ๔ พอบังเอิญโผล่มาเจอหน้าเพือ่ นในขณะนัน้ ก็มคี วามประสงค์ทจ่ี ะ
รำพันออกมาว่า

“โสหํ นูน อิโต คนฺตวา...เราพ้นจากทุกขเวทนาในแดนนรกนีไ่ ป เมือ่ ได้โอกาสไปเกิดเป็นมนุษย์อกี แล้ว


เราจะไม่ทำกิจอย่างอืน่ เลย นอกจากจะตัง้ หน้าบริจาคทานและรักษาศีลเป็นการใหญ่ เรานีจ้ กั ตัง้ ใจประกอบกอง
การกุศลให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะมากได้”

แต่เขาไม่อาจทีจ่ กั กล่าวประโยคคำพูดดังทีต่ นประสงค์นไ่ี ด้ทง้ั หมด พอเอ่ยปากกล่าวได้เพียงอักษรแรก


ครึง่ คำออกมาว่า “โส” กล่าวได้เพียงอักษรเดียวเท่านัน้ ก็พลันหายวับจมลงไปในหม้อเหล็กโลหกุมภีนรกต่อไป
เช่นเดียวกับเพือ่ นรักทัง้ หลาย ต้องทนทุกขเวทนาอยูใ่ นหม้อเหล็กนรกใหญ่นน่ั จนป่านนีก้ ย็ งั ไม่พน้ โทษ

คำโอดครวญของสัตว์นรก ๔ ตน ทีก่ ล่าวครัง้ นัน้ คือคำว่า ทุ. ส. น. โส. นี้ เป็นทีเ่ ลือ่ งลือมานาน
และเป็นทีท่ ราบกันอย่างกว้างขวางทัว่ ไปในหมูม่ นุษย์ชาวพุทธบริษทั ถึงกับเกจิอาจารย์บางท่านพากันบัญญัติ
ให้รกู้ นั ว่า คำ ๔ คำนีเ้ ป็นหัวใจเปรต! เหตุไฉนจึงกล่าว ไถลไปว่าเป็นหัวใจเปรต ก็สดุ จักเดาได้เพราะความจริง
นั้นไซร้ ควรจะบัญญัติว่าเป็นหัวใจสัตว์นรก จะเหมาะกว่าเป็นไหนๆ ทั้งนี้ก็เพราะคำ ๔ คำนี้ เป็นคำที่ชาว
โลหกุมภีนรกทัง้ หลายกล่าวเอาไว้ แต่ไม่วา่ จะเป็นหัวใจเปรตหรือหัวใจสัตว์นรกก็ตามที ปัญหาทีเ่ ราควรคำนึง
จากการทีไ่ ด้ตดิ ตามเรือ่ งนีม้ าก็คอื ว่า ลูกชายเศรษฐีทง้ั ๔ แต่เดิมทีนน้ั เป็นผูม้ ที รัพย์สมบัตมิ ากแต่มคี วามประมาท
และโง่เขลา ทัง้ ๆ ทีม่ อี งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาอุบตั ติ รัสในโลก และเสด็จมาโปรดประชาชนยัง
บ้านเมืองของตน แทนที่เขาจะมีใจเลื่อมใสรีบขวนขวายประกอบกองการกุศลเช่นคนทั้งหลายอื่นกลับมีน้ำใจ
โหดหืน่ คิดดูหมิน่ ในบุญ ประกอบแต่อกุศลกรรมความชัว่ ช้าลามก ครัน้ ตายไปจึงต้องตกนรกอเวจีและโลหกุมภี
นรก ด้วยอำนาจแห่งกรรมชั่วนั้นมันกลายเป็นชนกกรรม นำให้เขาไปบังเกิด ครั้นไปเกิดเป็นสัตว์นรกได้รับ
ความทุกข์ทรมานหนักๆ เข้าจึงได้รสู้ กึ สำนึกตน แต่การทีพ่ วกเขาพึง่ มารูส้ กึ สำนึกตนและได้แต่พร่ำบ่นรำพันอยู่
ในนรกนั้น มันเป็นการสายเสียแล้ว! แต่ว่าพวกเราเวลานี้น่ะยังไม่สาย คือว่าพวกเราที่ยังเป็นมนุษย์พบ
พระพุทธศาสนาอยู่ในขณะนี้ ขอจงมีใจเลื่อมใสในพระโอวาทานุสาสนี แล้วรีบเร่งประกอบคุณงาม
ความดีอนั เป็นบุญเป็นกุศลเข้าให้จงมากเถิด เพราะกุศลกรรมความดีทเ่ี ราทำไว้ในขณะนีจ้ กั เป็นเครือ่ งปิด
กัน้ ชนกกรรมฝ่ายอกุศลเมือ่ เวลาตาย แต่ถา้ มีใจชัว่ เกิดความมัวเมาประมาทพลาดพลัง้ กระทำ แต่อกุศลกรรม
อยูเ่ นืองๆ โดยไม่นกึ ถึงวันตาย อกุศลกรรมทีท่ ำไว้เสมอนัน้ ก็จะพลันกลายเป็นชนกกรรมชักนำไปปฏิสนธิใน
อบายภูมิ และบางทีอาจจะถึงกับต้องรำพันโอดครวญออกมา เช่น ชาวโลหกุมภีนรก ๔ ตนนัน่ ก็เป็นได้ดว้ ย
ประการฉะนี้

 ⌫ 
ส่วนชนกกรรมที่เป็นฝ่ายกุศลนั้น เมื่อทำหน้าที่ชักนำปฏิสนธิยังสัตว์ทั้งหลายให้เกิด ย่อมผลักดัน
สัตว์ให้ไปเกิดในสุคติภมู ิ อันเป็นภูมทิ ด่ี มี คี วามสุข กล่าวคือสรวงสวรรค์ตามสมควรแก่กรรมทีส่ ตั ว์ทง้ั หลายได้
กระทำไว้ ในกรณีทช่ี นกกรรมฝ่ายกุศล ทำหน้าทีช่ กั นำเหล่าสัตว์ไปปฏิสนธิในสุคติภมู นิ น้ั พึงเห็นตัวอย่างตาม
เรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

อุบาสกผูม้ ศี ลี ธรรม

ได้สดับมาว่า สมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎศรีศากยมุนโี คดมสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผทู้ รงเป็น


พระบรมครูเจ้าแห่งพวกเราทัง้ หลาย ประทับอยู่ ณ พระเวฬุวนารามป่าไผ่ใหญ่ใกล้กรุงราชคฤห์มหานคร กาล
ครัง้ นัน้ ยังมีอบุ าสกชาวเมืองราชคฤห์ผหู้ นึง่ ซึง่ เป็นผูม้ ศี รัทธาเลือ่ มใสในพระรัตนตรัยเป็นยิง่ นัก เขามีความรัก
ในพระพุทธศาสนา อุตสาหะ ประกอบคุณงามความดี เคารพในพระโอวาทานุสาสนีแห่งองค์สมเด็จพระชินสีหเ์ จ้า
เฝ้ารักษาศีล ๕ ให้บริสทุ ธิเ์ ป็นนิจกาล เมือ่ ถึงวันอุโบสถก็ตง้ั ใจสมาทานเอาองค์อโุ บสถ ๘ ประการ กิจวัตร
ประจำวันของเขาในวันอุโบสถก็คอื ถวายอาหารบิณฑบาตแก่พระภิกษุทง้ั หลายโดยสมควรแก่คณ ุ านุรปู แล้ว ก็
บริโภคโภชนาหาร เสร็จแล้วจึงจัดแจงแต่งตัวด้วยผ้าขาวบริสทุ ธิ์ ห่มผ้าเฉวียงบ่าข้างหนึง่ แล้วจึงเดินออกจากบ้าน
โดยมีคนในบ้านช่วยถือเอาน้ำอัฏฐบาน มุง่ หน้าไปสูพ่ ระเวฬุวนั มหาวิหาร จัดการถวายน้ำอัฏฐบานแก่พระภิกษุ
สามเณรทัง้ หลายแล้ว เขาจึงเข้าไปสูส่ ำนักสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเพือ่ ทีจ่ กั ได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนา

อุบาสกผูม้ ศี รัทธา ตัง้ หน้าประกอบกองการกุศลอันเป็นเสบียงของตนในปรโลกเช่นนีเ้ รือ่ ยมา จนปรากฏ


ชือ่ ลือชาเป็นทีร่ จู้ กั กันทัว่ ไปว่าอุบาสกผูม้ ศี ลี ธรรมอันดีเยีย่ มคนหนึง่ ในสมัยนัน้ เมือ่ เขาอุตสาหะสะสมบุญกุศลอัน
เป็นสีลมัยและทานมัยด้วยความสุจริตใจเป็นอันมากดังนีแ้ ล้ว เมือ่ ถึงคราวทีเ่ ขาแตกกายทำลายขันธ์ กุศลต่างๆ
ทีเ่ ขาพยามสัง่ สมไว้ ก็กลายเป็นชนกกรรมชักนำให้เขาไปอุบตั เิ กิดเป็นเทพบุตร ณ ดาวดึงส์สวรรค์

หัตถีกุญชรขาวเผือกหามลทินมิได้ เป็นช้างทิพย์กุญชรโตใหญ่ ประกอบไปด้วยเครื่องประดับสรรพ


อลังการ วิจติ รงดงามสุดพรรณนา ปรากฏขึน้ มาด้วยอานุภาพแห่งบุญของเทพบุตรอดีตอุบาสกผูม้ ศี ลี ธรรมนัน้
เมือ่ เทพบุตรผูม้ บี ญ
ุ ญาธิการมีความประสงค์จะไปในทีแ่ ห่งไหน เช่นจะไปบูชาพระมหาจุฬามณีเจดียเ์ จ้า อันมี
อยูใ่ นสรวงสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์นก้ี ด็ ี จะไปเทีย่ วเล่นทีส่ วนขวัญอุทยานทิพย์กด็ ี เทพบุตรนัน้ ย่อมขึน้ ขีห่ ลังกุญชร
ทิพย์ออกจากบริเวณทิพยวิมานแห่งตน แวดล้อมไปด้วยเทพบริวารเป็นอันมาก ไปสูส่ ถานทีๆ่ ตนประสงค์ แต่
โดยมากเทพบุตรนัน้ มักพอใจพาเทพบริวารของตนไปเทีย่ วประพาสเล่นสนุก ณ นันทวันอุทยาน อันมีอยูเ่ บือ้ ง
สวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์นน้ั เสมอเป็นประจำ

เพลามัชฌิมยามเที่ยงคืนราตรีหนึ่ง เทพบุตรสุดโสภาผู้เคยเป็นอุบาสก มีใจระลึกถึงองค์สมเด็จ


พระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงประดับองค์ทรงเครือ่ งด้วยทิพพาภรณ์อนั รุง่ เรือง งามไปด้วยสร้อยสังวาลย์ ตระการ

 ⌫⌫
ไปด้วยวลัยอันงดงามสดใส สวมใส่มงกุฎสำเร็จแล้ว ก็ขน้ึ สูห่ ลังกุญชรทิพย์อนั เป็นพาหนะ ออกจากทิพยวิมาน
แวดล้อมด้วยเทพบริวาร เหาะเลือ่ นลอยลงมาจากดาวดึงส์เทวโลก ด้วยความประสงค์วา่ “อาตมะจะไปนมัสการ
เบือ้ งฝ่าพระบาท แห่งสมเด็จพระไตรโลกนาถพุทธสัพพัญญูเจ้าให้สมกับดวงใจทีเ่ ฝ้าระลึกถึงพระองค์” ครัน้ เหาะ
เลื่อนลอยลงมาถึงเวฬุวนารามในมนุษยโลกเรานี้แล้วก็ลงจากคชสารเผือกทิพยพาหนะ เข้าไปถวายนมัสการ
ใต้เบื้องฝ่าพระบาทแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผู้ทรงเป็นบรมโลกนายกทรงพระคุณอัน
ประเสริฐ แล้วก็นง่ั ณ ทีส่ มควรส่วนข้างหนึง่

ในขณะนัน้ องค์อรหันต์พระวังคีสะเถรเจ้า ซึง่ กำลังนัง่ อยูใ่ นสำนักแห่งองค์สมเด็จพระสัพพัญญูเจ้าด้วย


ครัน้ แลเห็นเทพบุตรซึง่ รุง่ เรืองไปด้วยอานุภาพมากมายเห็นปานนัน้ พระผูเ้ ป็นเจ้ามีความประสงค์ใคร่จะสนทนา
กับเทพบุตร จึงกราบทูลพระกรุณาขอพระพุทธวโรกาสขึน้ ว่า

“ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ! ข้าพระองค์มคี วามประสงค์ใคร่จะขอถามซึง่ บุรพกรรมแห่งเทพบุตรผูน้ ้ี พระเจ้าข้า”


สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงมีพระบรมพุทธานุญาตว่า
“ดูกร วังคีสะ! เมือ่ เธอประสงค์จะไต่ถามสิง่ ไร ก็จงไต่ถามตามอัธยาศัยเถิด”
พระผูเ้ ป็นเจ้าวังคีสะเถระ จึงมีเถรวาทีไต่ถามเทพบุตรนัน้ ว่า

“ดูกร ท่านเทพบุตร! ท่านขึ้นขี่เหนือคอไอยราชาติกุญชรโตใหญ่มหึมา มีกายประดับประดาไปด้วย


เครื่องทอง มีกะพองประดับไปด้วยข่ายแก้ว เป็นกุญชรชาติเผือกขาวบริสุทธิ์หาราคีมิได้ แวดล้อมไปด้วย
เทพบริวาร มาจากเทวโลกด้วยอานุภาพเป็นอันมาก ยังทิศน้อยใหญ่ให้โอกาสรุง่ เรือง สว่างไปด้วยรัศมีอนั งด
งามดุจรัศมีแห่งดาวประกายพรึก ทิพยสมบัตแิ ห่งท่านนีน้ า่ ชมน่าชอบใจเป็นอันมาก อาตมะอยากจะรูว้ า่ ทิพยสมบัติ
เหล่ า นี ้ เ กิ ด ขึ ้ น แก่ ท ่ า นได้ อ ย่ า งไร ในชาติ ก ่ อ นเมื ่ อ ยั ง เป็ น มนุ ษ ย์ น ั ้ น ท่ า นได้ ป ระกอบกองการกุ ศ ล
เป็นประการใดจึงได้รงุ่ เรืองไปด้วยอานุภาพอันมากมายเห็นปานนี?้ ”

เทพบุตรอดีตอุบาสก จึงประณมหันต์มนัสการพระวังคีสะเถรเจ้า แล้วมีเทววาทีถวายวิสชั นาว่า

“ข้าแต่พระคุณเจ้าผูเ้ จริญ! เมือ่ โยมเป็นมนุษย์นน้ั โยมเป็นอุบาสกสาวกแห่งองค์สมเด็จพระพุทธเจ้า มี


เคหสถานอยู่ ณ เมืองราชคฤห์นเ่ี อง นับตัง้ แต่โยมได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาปฏิญญาตนเป็นอุบาสก แล้ว
โยมก็งดเว้นจาก
- การฆ่าสัตว์
- การลักทรัพย์
- กามมิจฉาจาร คือประพฤติผดิ ในกาม
- เจรจามุสาวาท
- เสพสุราเมรัย

 ⌫ 
นอกจากนี้ โยมยังมีจติ เลือ่ มใส ได้ถวายข้าวและน้ำให้เป็นทานโดยคารวะ เมือ่ ถึงวาระอุโบสถ โยมก็
อุตส่าห์สมาทานองค์อุโบสถ ๘ ประการทุกวารวัน เมื่อโยมแตกกายทำลายขันธ์จากมนุษยโลกนี้แล้ว จึงได้
ไปเกิดเป็นเทพบุตร ณ ดาวดึงส์สวรรค์ มีทพิ ยสมบัตติ ามทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าเห็นอยูน่ แ่ี ลเจ้าข้า”

เทพบุตรสุดโสภา วิสัชนาซึ่งบุรพกรรมแห่งตนให้พระวังคีสะเถรเจ้าฟังดังนี้แล้ว ก็ถวายมนัสการลา


สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า และกราบนมัสการอำลาพระวังคีสะมหาเถรเจ้า พาเทพบริวารกลับไป
ยังเทวสถานพิมานแห่งตน ณ ดาวดึงส์เทวโลก ด้วยประการฉะนี้

เมือ่ ท่านผูม้ ปี ญั ญาทัง้ หลายได้ทราบว่า ชนกกรรม ก็คอื กรรมทีท่ ำหน้าทีช่ กั นำปฏิสนธิ คือเป็นพนักงาน
ตกแต่งให้สตั ว์ทง้ั หลายไปเกิดในภูมติ า่ งๆ ถ้าเป็นชนกกรรมฝ่ายอกุศล ก็ทำหน้าทีช่ กั นำให้สตั ว์บคุ คลไปปฏิสนธิ
ในทุคติภมู ิ ถ้าเป็นชนกกรรมฝ่ายกุศล ก็ทำหน้าทีช่ กั นำให้สตั ว์ทง้ั หลายไปถือปฏิสนธิในสุคติภมู ิ ดังกล่าวมา แล้ว
ต่อจากนี้ไป ก็ควรจะได้ศึกษาให้ได้ทราบถึงกรรมอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่แตกต่างกับชนกกรรม
กรรมทีว่ า่ นีม้ ชี อ่ื ว่า

อุปถัมภกกรรม
อุปตฺถมฺเภตีติ อุปตฺถมฺภกํ
กรรมใด ย่อมทำหน้าทีช่ ว่ ยอุปถัมภ์รปู นามทีเ่ ป็นวิบากของชนกกรรมให้เจริญ
กรรมนัน้ ชือ่ ว่าอุปถัมภกกรรม

อุปถัมภกกรรมนี้ มีหน้าทีช่ ว่ ยอุปถัมภ์คำ้ ชูสตั ว์ทง้ั หลายทีไ่ ปเกิดในภูมติ า่ งๆ ให้ได้รบั ความทุกข์และ


ความสุขตามสมควรแก่กรรมของตน พูดอย่างนีร้ สู้ กึ ว่าจะเข้าใจยากไปสักหน่อย คืออย่างนี้ อุปถัมกกรรมนีม้ อี ยู่
๒ ฝ่าย คือ อุปถัมกกรรมฝ่ายทีเ่ ป็นอกุศลก็มี อุปถัมภกกรรมฝ่ายทีเ่ ป็นกุศลก็มี ทีน่ ้ี อุปถัมภกกรรมทีเ่ ป็นฝ่าย
อกุศล ก็ยอ่ มทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูกรรมทีเ่ ป็นอกุศลให้เจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไป ยกตัวอย่างเช่น บุคคลบางจำพวกกระ
ทำอกุศลกรรมอันเป็นบาปหยาบช้าในโลกนีแ้ ล้ว เมือ่ ถึงคราวดับขันธ์ตายไป ชนกกรรมฝ่ายอกุศลก็ทำหน้าทีช่ กั
นำให้ไปปฏิสนธิเป็นสัตว์เดียรฉาน เช่น เป็นเสือ ซึง่ มีนสิ ยั ดุรา้ ยอันเป็นฝ่ายทุคติ เสร็จแล้วอุปถัมภกกรรมฝ่าย
อกุศลก็เข้าทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้เสือร้ายนัน้ ประกอบอกุศลกรรมทำปาณาติบาตอยูเ่ นืองๆ อุปถัมภ์คำ้ ชูบาปเก่า
ให้เจริญ คือให้บาปแก่กล้ามากมายยิง่ ขึน้ จะได้ทนทุกขเวทนาอยุใ่ นทุคติภมู นิ น้ั นานๆ

ส่วนอุปถัมภกกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศล ก็ยอ่ มทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูกรรมอันเป็นกุศลให้เจริญยิง่ ๆ ขึน้ ไป


ยกตัวอย่างเช่น บุคคลบางจำพวกกระทำกุศลกรรมความดีงามในโลกนี้แล้ว เมื่อถึงคราวดับขันธ์ตายไป
ชนกกรรมฝ่ายกุศลก็ทำหน้าที่ชักนำให้บุคคลนั้นไปปฏิสนธิเป็นเทพยดา ณ สรวงสวรรค์อันเป็นฝ่ายสุคติ
เสร็จแล้วอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลก็เข้าทำหน้าที่ดลบันดาลให้เทพยดานั้น เกิดความอุตสาหะกระทำกองการ

 ⌫⌫
กุศลสืบไปเบือ้ งหน้า มีการสดับตรับฟังพระธรรมเทศนาและบูชาพระจุฬามณีเจดียเ์ จ้า ณ สวรรค์เทวโลกนัน้ อยู่
เนืองๆ อุปถัมภ์คำ้ ชูบญุ กุศลเก่าให้เจริญ คือให้บญ
ุ กุศลนัน้ มีกำลังแก่กล้ามากมาย อันจะเป็นเหตุให้ได้เสวยทิพย
สมบัตเิ ป็นสุขสถิตอยู่ ณ เทวโลกนัน้ นานๆ

เท่าทีก่ ล่าวมาแล้วนัน้ เป็นการพรรณนาถึงอุปถัมภกกรรม ซึง่ ทำหน้าทีช่ ว่ ยอุปถัมภ์รปู นามทีเ่ ป็นวิบาก


ของชนกกรรม คือ เหล่าสัตว์ทง้ั หลายทีไ่ ปเกิดยังโลกอืน่ ภูมอิ น่ื เช่น ติรจั ฉานภูมิ คือ โลกเดียรฉาน และเทวภูมิ
คือโลก สวรรค์เป็นต้น ซึง่ เป็นเรือ่ งทีพ่ วกเราผูเ้ ป็นมนุษย์รสู้ กึ ว่าจะทำความเข้าใจได้ไม่แจ่มแจ้งนัก ฉะนัน้ เราจัก
ย้อนกลับมาดูอปุ ถัมภกกรรม ซึง่ ทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูเหล่าสัตว์ผเู้ กิดเป็นมนุษย์ในมนุษยโลกเรานี้ ตามหน้าที่
ของมันต่อไป โดยมีอรรถาธิบายดังนี้

บุคคลบางจำพวก มีความประมาทในชีวติ ไม่คดิ ทำบุญทำทาน กระทำบาปอันเป็นอกุศลพอประมาณ


เมื่อถึงคราวดับขันธ์ตายไป ชนกกรรมเข้าทำหน้าที่ชักนำให้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดาผู้เป็นมนุษย์ในมนุษย
โลกเรานี้ เสร็จแล้วอุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศลก็เข้าทำหน้าทีต่ ง้ั แต่เริม่ แรกทีท่ ารกนัน้ ลงสูค่ รรภ์มารดาทีเดียว คือ
ว่าจำเดิมแต่ทารกผูม้ กี รรมนัน้ มาบังเกิดในคัพโภทร มารดาบิดาเคยมีทรัพย์มาก ทรัพย์นน้ั ก็คอ่ ยสิน้ ไปสูญไปบาง
ทีเกิดเพลิงไหม้หรือต้องราชภัย จะไปค้าขายทางน้ำเรือก็ลม่ จะไปค้าขายทางบกก็ถกู โจรปล้น ข้าวกล้าทีห่ ว่าน
ไว้ในนาซึง่ ปีกอ่ นๆ นีก้ ไ็ ด้ผลดี แต่มาปีนก้ี ลับวิบตั ิ ข้าทาสหญิงชายแต่กอ่ นเป็นคนว่าง่าย แต่บดั นีก้ ลับกลายเป็น
คนว่ายากทรยศหักหลัง ตัง้ แต่ทารกนัน้ เกิดในครรภ์กม็ แี ต่คนเกลียดชัง บำรุงรักษาครรภ์ได้อย่างยากแสนยาก
กุมารแพทย์ทง้ั หลายก็มไิ ด้มใี จยินดีทจ่ี ะรักษา ถ้าเกิดในตระกูลเศรษฐีมที รัพย์ ตระกูลนัน้ ก็จะอันตรธานลงเป็น
คนเข็ญใจ ถ้าเกิดในตระกูลอำมาตย์เสนาบดี ก็มอี นั เป็นให้เสือ่ มยศเสือ่ มศักดิ์ รวมความว่า ตัง้ แต่ทารกผูม้ กี รรม
นัน้ มาเกิด บิดามารดาของเขามีแต่จะถึงความเสือ่ มเสียสุดประมาณ ทีโ่ วหารโลกบัญญัตวิ า่ เป็น “ลูกล้างลูกผลาญ”
นัน่ ทีเดียว! ทีเ่ ป็นเช่นนีเ้ พราะเหตุใด? เพราะอุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศลของทารกนัน้ เข้ามาทำหน้าทีด่ ลบันดาล
ให้เป็นไปนั่นเอง แท้จริงในกรณีที่อุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศลเข้าทำหน้าที่ดลบันดาลให้ถึงความวิบัติต่างๆ นี้
ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญั ญาทัง้ หลายพึงทราบโดยนัยทีท่ า่ นพรรณนาไว้วา่

อุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศล ซึ่งมีความเคร่งครัดต่อหน้าที่เป็นยิ่งนัก เมื่อมันติดตามมาทันบุคคลผู้มี


กรรมเข้าแล้ว มันย่อมแสดงอาการประหนึง่ จะกล่าวเป็นภาษามนุษย์ออกมาว่า

“แน่เฮ้ย เจ้าผูม้ กี รรม! ถ้าแต่แรกเรารูว้ า่ เจ้าจะมาปฏิสนธินน้ั เราจะมิให้เจ้ามาบังเกิดในครรภ์มารดา ณ


มนุษยโลกนีด่ อก เรานีจ้ ะพาเจ้าไปบังเกิดในทุคติภมู ิ คือไปเกิดเป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เดียรฉาน นัน่ เสีย
เลยทีเดียว จะไม่ให้เจ้าลอยนวลมาเกิดเป็นมนุษย์อย่างแน่ๆ แต่นเ่ี ราตามไม่ทนั เจ้าจึงหลบมาเกิดในทีน่ อ่ี ย่าง
สะดวก ตามเจ้าไม่ทนั แต่ตน้ แต่เดิมแล้วก็แล้วไปเถิด แต่วา่ เจ้าอย่าเพิง่ ดีใจ อันตัวเรานีไ้ ซร้มชี อ่ื ว่า อุปถัมภก
กรรมฝ่ายอกุศล มาตามเจ้าทันเข้าทีน่ แ่ี ล้ว ก็จะเป็นผูล้ า้ งผลาญเจ้าให้ได้รบั ความทุกข์ จนกว่าจะหมดหน้าที่
ของเรา”

 ⌫ 
มีอาการประหนึ่งจะกล่าวว่าดังนี้แล้ว อุปภกกรรมฝ่ายอกุศลนั้น ก็พลันเข้าทำงานตามหน้าที่ทันที
ดลบันดาลให้ทารกผูม้ กี รรมให้มอี นั เป็นไปต่างๆ นานา เมือ่ ถึงคราเขาเติบใหญ่เจริญวัย ก็เป็นตัวอุปถัมภ์ภกทุกข์
อุปถัมภกภัย แม้เมือ่ มีเหตุการณ์อนั น่าจะพ้นทุกข์พน้ ภัยแล้ว อุปถัมภกกรรมอันชัว่ ร้ายนัน้ ก็เข้าทำหน้าทีอ่ นั
ร้ายกาจประหนึง่ คอยกลัน่ แกล้ง รักษาไว้มใิ ห้บคุ คลผูม้ กี รรมนัน้ พ้นทุกข์พน้ ภัยได้เลย กระทำให้ได้เสวยทุกข์
แสนยากแสนลำบากไปจนกว่าจะหมดกรรม! ก็ในกรณีที่อุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศล ทำหน้าที่ดลบันดาลให้
มนุษย์ประสบความทุกข์ยากในมนุษยโลกเรานัน้ พึงเห็นตัวอย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

คนกาลกิณี
ได้สดับมาว่า ในสมัยพุทธกาล มีเศรษฐีผหู้ นึง่ ปรากฏนามว่าอานันทเศรษฐี เขามีจติ ตระหนีค่ รอบงำ
ในสันดาน ทานก็มไิ ด้ให้ ศีลก็มไิ ด้รกั ษา เหตุทเ่ี ขาเกิดมาเป็นเศรษฐีทรัพย์มาก ก็เพราะเขาได้เคยถวายอาหาร
บิณฑบาตแก่พระภิกษุสงฆ์ กุศลกรรมจึงส่งผลให้เขาได้เป็นเศรษฐีในชาติน้ี แม้เขาจะเป็นคนมัง่ มีรำ่ รวยนักหนา
แต่เป็นคนมากไปด้วยโลภเจตนา หาทรัพย์มาได้เท่าใด ก็พยายามเก็บรักษาเอาไว้ ไม่ยอมใช้จ่ายอะไรเกิน
ความจำเป็นเลย จิตยิง่ คุน้ เคยกับความโลภมากเท่าใด ก็ยง่ิ โลภจัดมากขึน้ เท่านัน้ ทุกๆ ๑๕ วัน ตะแกย่อมเรียก
ลูกหลานญาติพน่ี อ้ งมาประชุมกัน แล้วให้โอวาทว่า

“ดูกร เจ้าผูอ้ ยูใ่ นความปกครองของข้าทัง้ หลายเอ๋ย! สมบัตขิ องข้าทีม่ อี ยูป่ ระมาณ ๔๐ โกฏินน่ี ะ่ พวกเจ้า
ทัง้ หลายอย่าได้คดิ เห็นว่ามันเป็นของมากมายเลยเป็นอันขาด ทรัพย์ทเ่ี รามีอยูแ่ ล้ว ไม่ควรจะให้แก่คนทัง้ หลาย
อันมียาจกพวกขอทานและสมณะหัวโล้นเป็นอาทิ เพราะให้แก่คนพวกนีแ้ ล้วไม่มปี ระโยชน์ มีแต่โทษ คือความ
สิน้ เปลืองทรัพย์ของเราไปถ่ายเดียว ไม่มผี ลตอบแทน เราต้องพยายามหาทรัพย์มาเพิม่ เติมให้มากขึน้ เรือ่ ยๆ
ทุกครัง้ ทีเ่ ราจ่ายทรัพย์ไปแม้จะเป็นครัง้ ละเล็กละน้อย นัน่ คือภาวะทีจ่ ะไปสูค่ วามเป็นขีข้ า้ เขา เพราะทรัพย์จะ
ต้องมีอนั หมดลงไปในวันหนึง่ อันการทีพ่ วกเจ้าจะครองเรือนได้เป็นอย่างดีนน้ั จงจำภาษิตนีไ้ ว้ให้มน่ั ว่า อญฺชนานํ
ขยํ ทิสวฺ า... น้ำมันหยอดตา เมือ่ ใช้หยอดลงทีละหยด มันก็มวี นั หมดไปได้ ทรัพย์สมบัตนิ น้ั ไซร้ก็ เหมือนกัน
ใช้มนั ไปทีละสตางค์ ดังฤามันจะคงอยู่ อนึง่ พวกเจ้าจงดูจอมปลวก กว่ามันจะใหญ่โตเท่าภูเขาเลากา ขึน้ มาได้
ก็เพราะอาศัยความพยายามสะสมของปลวกตัวเล็กๆ ซึ่งมีน้ำอดน้ำทน มธุรสน้ำหวานในรวงผึ้ง กว่าจะ
ถึงซึง่ ความมากมายเป็นตุม่ เป็นไห มิเพราะอาศัยความพยายามสะสมทีละเล็กละน้อยแห่งหมูผ่ ง้ึ ตัวเล็กๆ ดอกหรือ
เจ้าทัง้ หลายจงถือเอาสัตว์ทง้ั สองนีเ้ ป็นครู พยายามสะสมทรัพย์เอาไว้ อย่าได้ใช้จา่ ยทรัพย์เป็นอันขาด”

ต่อมาไม่นาน เศรษฐีเฒ่านั้นก็ทำกาลกิรยิ าตาย แต่กอ่ นทีจ่ ะตาย จิตของตะแกเต็มไปด้วยความหวง


และความห่วงในทรัพย์สมบัติ หม่นหมองไปด้วยมลทินคือความตระหนี่ เพราะฉะนัน้ ชนกกรรมฝ่ายอกุศลจึง
ชักนำให้ตะแกไปถือปฏิสนธิในครรภ์แห่งหญิงจัณฑาลคนหนึง่ ซึง่ มีความเป็นอยูอ่ ย่างยากไร้ เสร็จแล้วอุปถัม
ภกกรรมฝ่ายอกุศลของตะแกก็เริม่ สำแดงเดชทันที นัน่ คือ ดลบันดาลให้คนจัณฑาลในหมูบ่ า้ นนัน้ ซึง่ ตามปรกติ

 ⌫⌫
ธรรมดาก็เป็นคนอดอยากอยูแ่ ล้ว ให้อดอยากยากจนหนักเข้าไปอีก จะทำอะไรให้มอี นั เป็นขัดข้องไปหมด ในที่
สุด คนจัณฑาลทัง้ หลาย จึงประชุมปรึกษาหารือกันว่า

“ในกาลปางก่อนนัน้ เราทัง้ หลายจะได้เป็นเช่นนีก้ ห็ าไม่ ถึงมาตรว่าพวกเราจักเป็นผูข้ ดั สน ปราศจาก


ลาภผลในกาลบางคราว ก็เป็นแต่คนๆ หนึง่ ซึง่ ว่าจะเป็นไปหมดทุกคนนัน้ หามิได้ มาบัดนีเ้ ราทัง้ หลายเป็นคน
ขัดสนปราศจากลาภผลทัว่ กันไป ไม่มผี ใู้ ดจะประกอบด้วยลาภบริบรู ณ์ มีแต่สญ ู สลายฉิบหายไปๆ อนึง่ บัดนีพ้ วก
เรามีแต่จกั ขัดใจกัน การทีจ่ ะรักใคร่สามัคคีกลมเกลียวกันเหมือนแต่กอ่ นมิได้มี ชะรอยจะมีคนกาลกิณบี งั เกิดขึน้
ในหมูเ่ ราเสียเป็นแน่แท้แล้ว ฉะนัน้ เราทัง้ หลายมาลองแบ่งออกเป็น ๒ พวกเถิด คนกาลกิณอี ยูใ่ นพวกไหน
พวกนัน้ คงจักถึงความวิบตั ฉิ บิ หายอย่างแน่นอน ลาภก็จะขัดสนหาไม่ได้ ถ้าหากว่าคนกาลกิณมี ไิ ด้มใี นพวกไหน
พวกนัน้ สิคงจักได้รบั ความสุขความเจริญ ลาภผลก็จกั ได้โดยง่ายเหมือนแต่กอ่ นมา”

จัณฑาลบุคคลทัง้ ปวงปรึกษากันดังนีแ้ ล้ว ก็แยกกันอยูเ่ ป็น ๒ พวก ในไม่ชา้ ก็ปรากฏ พวกทีม่ ารดาบิดา
ของทารกผูม้ กี รรมนัน้ ไม่ได้อยูด่ ว้ ย กลับหาทรัพย์หาลาภผลได้งา่ ยเหมือนเดิม แต่พวกทีม่ ารดาบิดาของทารก
นัน้ อยูด่ ว้ ย ย่อมพากันถึงความยากไร้แม้แต่อาหารทีจ่ ะบริโภคเข้าไปก็มไิ ด้มี เมือ่ เป็นเช่นนีเ้ ขาทัง้ หลายจึงได้
ทดลองแยกกันอยู่เรื่อยๆ ไป โดยทำนองนั้นเพื่อจะควานหาตัวกาลกิณีให้ได้ ทดลองแยกกันไปจนถึงมารดา
บิดาแห่งทารกนัน้ เป็นทีส่ ดุ เมือ่ บิดาแห่งทารกแยกจากไปแล้วก็ได้ลาภผลเลีย้ งตนเป็นสุขสบาย ฝ่ายภรรยาซึง่
เป็นมารดาแห่งทารกนัน้ ต้องประสบกับความอดอยากยากกาย หาลาภผลมิได้เลยน่าอนาถนักหนา จัณฑาล
บุคคลทัง้ หลาย จึงพากันลงมติวา่

“การทีบ่ า้ นเราเกิดจลาจลขัดสนขึน้ เช่นนี้ ก็เพราะหญิงมีครรภ์กลายเป็นคนกาลกิณไี ป จึงทำให้เดือน


ร้อนวุน่ วาย ต้องขับไล่นางไปเสีย การทำมาหากินของพวกเราจึงจะสะดวกขึน้ เหมือนเดิม”

เมือ่ สภาจัณฑาลลงมติดงั นี้ จัณฑาลินี หญิงผูน้ า่ สงสารก็ตอ้ งจำออกจากหมูบ่ า้ นอันเคยอยูอ่ ย่างแสนสุข


นัน้ เทีย่ วซัดเซพเนจรเรือ่ ยไป ได้ประสบกับความยากลำบากเป็นหนักหนา พอได้เวลาทลิทโทฤกษ์ ก็คลอดบุตร
สุดแสนจะน่าเกลียดน่าชัง ทัว่ ทัง้ สรีระร่างหน้าตาหัวหูดยู งั กะผีเปรต แสนทุเรศไม่เหมือนคน นางจนใจเลีย้ งลูก
มาด้วยความลำบาก จนเจ้าลูกผู้มีกรรมนั้นรู้เดียงสา จึงเอากะลาเก่าๆ มาใบหนึ่งมอบให้เป็นสมบัติ แล้วให้
เทีย่ วลัดเลาะไปตามรัว้ บ้านเพือ่ ขอทานเขาเลีย้ งชีวติ ทารกผูม้ กี รรมติดตัวมาแต่ชาติปางก่อนก็ดใี จนัก อำลาแม่
ทีร่ กั แล้วจากไปตามชะตากรรม

เทีย่ วขอทานเขาเลีย้ งชีพเรือ่ ยมาช้านาน วันหนึง่ เดินทางมาถึงปราสาทอันมโหฬารของตนในชาติกอ่ น


จำได้คลับคล้ายคลับคลาจึงมุง่ หน้าเดินดุม่ เข้าไป คนทัง้ หลายเห็นเข้าก็คว้าไม้ขบั ไล่ทบุ ตี เพราะนึกว่าเป็นผีมา
เที่ยวเมืองมนุษย์ จนบุรุษร่างร้ายนั้นถึงแก่วิสัญญีภาพสลบซบนิ่งด้วยความบอบช้ำ ในขณะนั้น องค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จผ่านมาทางนัน้ พอดี จึงทรงชีแ้ จงให้คนทัง้ หลายได้ทราบว่า บุรษุ ร่างร้ายเหมือนกับ
ปีศาจนั้นเป็นท่านเศรษฐีใหญ่กลับชาติมาเกิด ตอนแรกท่านมูลสิริเศรษฐีผู้เป็นลูกของเขายังไม่เชื่อในกระแส

 ⌫ 
พระพุทธฏีกา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงตรัสให้บรุ ษุ ขอทานนัน้ เล่าประวัตขิ องตนในชาติกอ่ น พร้อม
ทัง้ ให้นำไปขุดขุมทรัพย์อกี ๔ แห่ง ซึง่ เขาแอบเอาไปฝังไว้คนเดียวในชาติทต่ี นเป็นอานันทเศรษฐีโดยไม่มใี ครรู้
มาให้ พอพิสูจน์ได้ดังนี้ มูลสิริเศรษฐีผู้ลูกจึงได้ศรัทธาและเลื่อมใสในพระพุทธวาจา เกิดความเชื่อถือในเรื่อง
กรรมตัง้ แต่วนั นัน้ เป็นต้นมา ด้วยประการฉะนี้

นีแ่ หละท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย อุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศล เริม่ ต้นเข้าทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูผมู้ อี กุศล
กรรมตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์มารดา ดลบันดาลให้ประสบกับความทุกข์ยากนานาประการ เช่นเรือ่ งของท่านอานันท
เศรษฐีผมู้ นี ำ้ ใจมากไปด้วยความตระหนี่ ผูม้ าเกิดเป็นคนกาลกิณที เ่ี ล่ามานี้ และบางทีอปุ ถัมภกกรรมฝ่ายอกุศลนี้
ก็ทำหน้าทีข่ องมันเรือ่ ยไป ทำให้ผมู้ กี รรมต้องประสบอุปสรรคความขัดข้องในการครองชีพไปจนตลอดชีวติ ก็มี
ฉะนั้น ปัญหาที่ว่าเหตุไฉนบุคคลบางคนในโลกนี้จึงมีแต่เคราะห์กรรมเสมอไป ประสบโชคร้ายอยู่เนืองนิตย์
ตลอดชีวติ มีแต่ความผิดหวัง ไม่ได้ความสุขความเจริญทัง้ ๆ ทีอ่ ตุ ส่าห์ทำมาหากินโดยสุจริตกรรมจนสายตัวแทบ
ขาด? ปัญหานีน้ า่ จะสลัดปัดทิง้ ออกไปได้ เมือ่ เราได้ทราบถึงหน้าทีแ่ ห่งอุปถัมภกกรรมฝ่ายอกุศลตามทีก่ ล่าวมา
นีด้ ว้ ยดี

ทีน้ี เราควรจะพูดกันถึงอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลบ้าง คือ บุคคลบางจำพวกในโลกนีป้ ระกอบกุศลกรรม


ทำความดีไว้ เมื่อถึงคราวดับขันธ์ตายไป ชนกกรรมเข้ามาทำหน้าที่ชักนำให้มาปฏิสนธิในครรภ์มารดา ณ
มนุษยโลกเรานี้ เสร็จแล้วอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลก็เข้าทำหน้าทีต่ ง้ั แต่เริม่ แรกทีท่ ารกนัน้ ลงสูค่ รรภ์มารดาทีเดียว
คือ จำเดิมแต่ทารกผู้มีกรรมดีนั้นมาบังเกิดในครรภ์มารดาแล้ว มารดาก็เป็นสุข บิดาก็เป็นสุข บรรดาคน
ทีอ่ ยูใ่ นเรือนนัน้ ก็คอ่ ยอยูเ่ ป็นปรกติสขุ โดยทัว่ กัน ด้วยอานุภาพแห่งอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลของทารกนัน้ คุม้
ครองรักษา อุปทั วันตรายต่างๆ ก็ไม่มมี าพ้องพาน โชคลาภก็บนั ดาลเกิดขึน้ มาอย่างน่าแปลกใจ ทรัพย์สมบัตสิ ง่ิ
ของทีม่ คิ วรจะได้กม็ ผี เู้ อามาให้ตง้ั ไว้ตรงหน้า ข้าวกล้าทีห่ ว่านลงในนาก็งอกงามผิดกว่าปีกอ่ นๆ ผลไม้ทป่ี ลูกไว้
ก็มผี ลมากบริบรู ณ์ไม่บกพร่อง ของทีซ่ อ้ื ขายก็ได้กำไรมาก ของทีใ่ ห้กใู้ ห้ยมื ไป ก็มผี เู้ อามาให้เอง ไม่ตอ้ งทวง
ไม่ตอ้ งถามให้เกิดความรำคาญใจไปเปล่าๆ ข้าทาสบริวารทัง้ หลายเล่า แต่กอ่ นนีม้ นั มีนสิ ยั ติดจะดือ้ ๆ ก็ดเู หมือน
ว่าจะเริม่ มีสนั ดานดีขน้ึ ว่านอนสอนง่าย การงานทัง้ ปวงก็ไม่เสียไม่หาย ฝ่ายเจ้าตัวทารกผูม้ กี รรมดีซง่ึ อยูใ่ น ครรภ์นน้ั
ก็ บ ริ บ ู ร ณ์ ไ ปด้ ว ยบุ ค คลผู ้ ม ี อ ั ธ ยาศั ย เอาใจใส่ จ ั ด แจงเฝ้ า อภิ บ าลรั ก ษา กุ ม ารแพทย์ ท ั ้ ง หลายก็ ม ี น ้ ำ ใจ
ประชุมแต่งยารักษาครรภ์ ให้ทารกนัน้ เป็นสุขสวัสดิป์ ราศจากความพิบตั จิ ากสรรพสิง่ ทัง้ ปวง ถ้าทารกผูม้ กี รรมดี
นัน้ เกิดในตระกูลคหบดี ก็ได้เป็นเศรษฐี ถ้าเกิดในตระกูลอำมาตย์กไ็ ด้เป็นเสนาบดี! ทีเ่ ป็นเช่นนี้ เพราะเหตุใด?
เพราะอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลของทารกนัน้ เข้าทำหน้าทีบ่ นั ดาลให้เป็นไปนัน่ เอง แท้จริง ในกรณีทอ่ี ปุ ถัมภกกรรม
ฝ่ายกุศลเข้าทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้เหตุการณ์ทง้ั หลายบ่ายโฉมหน้าไปข้างดีน้ี ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลายพึง
ทราบโดยนัยทีท่ า่ นพรรณนาไว้วา่

อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศล ซึง่ มีความเคร่งครัดในหน้าทีแ่ ห่งตนเป็นยิง่ นัก เมือ่ ติดตามมาทันบุคคลผูม้ ี


กรรมดี ซึง่ เป็นเจ้ากรรมแห่งตนเข้าแล้ว อุปถัมภกกรรมนัน้ ย่อมแสดงอาการประหนึง่ จะกล่าวออกมาเป็นภาษา
มนุษย์วา่

 ⌫⌫
“ข้าแต่ทา่ นผูเ้ ป็นนาย! ถ้าแต่แรกข้าพเจ้าทราบว่าท่านจะมาปฏิสนธินน้ั ข้าพเจ้าจะมิให้ทา่ นมาปฏิสนธิ
ในครรภ์มารดา ณ มนุษยโลกอันมีความสุขเล็กน้อยนี่เลย ข้าพเจ้านี้จะพยายามพาท่านไปบังเกิดในสุคติภพ
เป็นเทวดาในสรวงสวรรค์ ให้ได้เสวยทิพยสมบัตเิ ป็นสุขอยูท่ น่ี น่ั เสียทีเดียว จะห้ามมิให้ทา่ นมาเกิดอยูท่ น่ี แ่ี น่ๆ
แต่นข่ี า้ พเจ้าตามท่านไม่ทนั เอาเถิด ถึงแม้วา่ จะตามท่านไม่ทนั แต่ตน้ แต่เดิมแล้วก็แล้วกันไปเถิด ขอท่านอย่า
เพิง่ น้อยน้ำใจเลย อันตัวข้าพเจ้านีม้ ชี อ่ื ว่า “อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศล” มาพบท่านผูเ้ ป็นนายเข้าทีน่ แ่ี ล้ว ก็จะ
เป็นผูบ้ ำรุงท่านให้ได้ถงึ ซึง่ ความสุข ตามความสามารถของข้าพเจ้าทีจ่ กั กระทำได้”

มีอาการประดุจว่าจะกล่าวปลอบโยนผูม้ กี รรมดีทท่ี ำไว้ดงั นีแ้ ล้ว อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลนัน้ ก็พลันเข้า


ทำงานตามหน้าทีข่ องตน ดลบันดาลให้ผมู้ กี รรมดีนน้ั ประสบแต่ความสุขความเจริญ แม้เมือ่ มีเหตุการณ์อนั น่า
จะถึงจะถึงความวิบตั ฉิ บิ หายน่าหวัน่ เกรงว่าจะเป็นอันตราย อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลนัน้ ก็เข้าทำหน้าทีร่ กั ษาไว้
มิให้ต้องประสบกับความวิบัติหรืออันตรายเหล่านั้นได้ป้องกันผู้มีกรรมดีนั้นให้พ้นทุกข์พ้นภัย บันดาลให้ชีวิต
เต็มไปด้วยความสุกใสไปจนกว่าจะหมดกรรม ก็ในกรณีทอ่ี ปุ ถัมภกกรรมฝ่ายกุศล ทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้มนุษย์
ผูป้ ระสบกับความทุกข์ยาก ได้รบั ความสุขความเจริญในชีวติ นี้ พึงเห็นตัวอย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

บุรษุ ผูโ้ ชคดี

ได้สดับมาว่า ยังมีบรุ ษุ ผูห้ นึง่ ซึง่ มีเคหสถานอยูร่ มิ ประตูพระนครพาราณสีขา้ งทิศอุดร เขาเป็นบุรษุ


หนุม่ มีกำลังกาย เลีย้ งชีพด้วยการรับจ้างตักน้ำขายให้แก่คนทัง้ หลาย คราวหนึง่ ได้ทรัพย์มากึง่ มาสกไม่รจู้ ะเก็บ
ไว้ที่ไหน จึงแอบเอาไปฝังไว้ที่ตีนกำแพงเมือง ในไม่ช้าเขาก็ย้ายบ้านไปทำการรับจ้างในที่อื่นๆ ต่อไปจนถึง
ประตูเมืองด้านทิศทักษิณ เลยไปได้ภรรยาทีน่ น่ั คนหนึง่ ซึง่ ก็เป็นหญิงเข็ญใจทำงานรับจ้างเขาเลีย้ งชีวติ เหมือน กัน
ครัน้ ถึงวันนักขัตฤกษ์ประจำของชาวเมือง ภรรยาสาวจึงถามเขาขึน้ ว่า
“ข้าแต่ทา่ นผูเ้ ป็นสามี! ชาวบ้านชาวเมืองเขาจะเล่นการมหรสพเป็นทีส่ นุกสนานตามกาลตามสมัย เรามี
ทรัพย์บา้ งหรือไม่ จะได้เล่นกับเขาบ้าง ?”

เจ้าบุรษุ ผูส้ ามี นิง่ คิดอยูค่ รูห่ นึง่ แล้ว จึงบอกแก่ภรรยาทีร่ กั


“ดูกร เจ้าผู้มีพักตร์อันเจริญ! ทรัพย์ของเรามีอยู่กึ่งมาสก แต่เราไม่ได้นำเอาติดตัวมา เราฝังไว้ที่ตีน
กำแพงข้างประตูเมืองทิศอุดร ซึง่ มีระยะทางไกลถึง ๑๒ โยชน์ น่าเสียดายจริง ๆ”

“ถึงไกลก็จะเป็นไรไปเล่า” ภรรยาสาวผูร้ กั การสนุกของเขากล่าว “ไปเถอะ ขอท่านจงรีบเดินทางไปนำ


เอามันมาเถิด ทรัพย์ทม่ี ตี ดิ ตัวข้าเวลานีก้ ม็ อี ยูก่ ง่ึ มาสกเหมือนกัน ข้าจะเอาทรัพย์กง่ึ มาสกนี้ ไปซือ้ ดอกไม้สว่ นหนึง่
ซือ้ ของหอมส่วนหนึง่ ท่านจงไปเอาทรัพย์ของท่านมาเร็วๆ เถิด จะได้ซอ้ื สิง่ อืน่ ต่อไป แล้วเราทัง้ สองจะได้เล่น
การมหรสพกันให้เป็นทีส่ นุก เพราะนานทีปคี รัง้ จึงจะมีสกั หนหนึง่ ”

 ⌫ 
ถึงคราวทีอ่ ปุ ถัมภกกรรมฝ่ายกุศล จักดลบันดาลให้บรุ ษุ ผูม้ ฐี านะต่ำต้อยนัน้ ได้รบั ความสุขความเจริญ
ด้วยอำนาจแห่งกุศลกรรมทีเ่ ขาได้สร้างไว้แต่ปางบรรพ์ ฉะนัน้ เขาจึงมีจติ ยินดีรบี เดินทางไปตามคำแนะนำของ
ภรรยา เดินไปพลางร้องเพลงไปพลางด้วยความครึม้ อกครึม้ ใจ เดินล่วงหนทางไปได้ ๖ โยชน์ ในขณะนัน้ เป็น
เวลาเที่ยงวัน กำลังร้อนจัด เขาเดินไปบนทรายอันร้อนผ่านหน้าพระลานหลวง ในขณะนั้นสมเด็จพระเจ้า
อุทยราชาธิบดี ซึง่ ทรงเป็นพระราชาพระนครพาราณสีสมัยนัน้ ได้ทอดพระเนตรเห็นเขาผูเ้ ป็นคนรับจ้างเดินพลาง
ร้องเพลงไปพลางอย่างคนมีความสุข ก็ทรงนึกเอ็นดูและทรงดำริวา่
“ไฉนหนอ บุรุษผู้นี้จึงไม่กลัวแดดร้อนเดินร้องเพลงไปอย่างอารมณ์เย็นเช่นนี้ ควรที่เราจะถามดูให้รู้
สาเหตุสกั หน่อยเถิด”

ทรงพระดำริดงั นีแ้ ล้ว จึงรับสัง่ ให้ราชบุรษุ ไปเรียกบุรษุ รับจ้างนัน้ เข้ามา เมือ่ เขามาสูท่ เ่ี ฝ้าแล้ว พระองค์
จึงมีพระราชดำรัสถามด้วยพระทัยกรุณาว่า
“ดูกร บุรษุ ผูเ้ จริญ! เหตุอนั ใดท่านจึงเดินร้องเพลงมาในเพลาแดดร้อนจัดเช่นนี้ จะไปข้างไหนด้วยธุระ อะไร
ไหนลองเล่าให้เราฟังสักหน่อยเถิด”

บุรษุ นัน้ จึงกราบบังคมทูลว่า


“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ! ข้าพระองค์มคี วามยินดี ทีจ่ ะไปนำเอาทรัพย์ทข่ี า้ พระองค์ฝงั ไว้
ทีก่ ำแพงเมืองด้านทิศเหนือมาเล่นการมหรสพกับด้วยภรรยาในวันนีพ้ ระเจ้าข้า”

สมเด็จพระราชาธิบดีจงึ ตรัสถามอีกว่า
“ท่านเดินไปไม่รอ้ นแย่หรือ ทรัพย์ของท่านมีประมาณเท่าใด สักพันหนึง่ หรือว่าสองพัน?”

“น้อยกว่านัน้ พระเจ้าข้า” เขากราบบังคมทูล

“เท่าไหร่เล่า ทรัพย์ทท่ี า่ นอุตส่าห์เดินทางไกลไปเอานีน่ ะ่ มีเท่าไหร่ ?” ทรงถาม

“ทรัพย์ของข้าพระองค์มเี พียงเล็กน้อยประมาณกึง่ มาสกเท่านัน้ พระเจ้าข้า” เขากราบทูลตามความเป็นจริง

เพียงทรัพย์กง่ึ มาสก ท่านก็ยงั สูอ้ ตุ ส่าห์ทนความร้อนแรงแห่งแสงอาทิตย์ เดินทางไกลถึงอย่างนีเ้ ทียว หรือ”


ทรงพระกรุณาถามขึน้ อีก
“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ! ความร้อนแห่งแสงอาทิตย์น้ี จะได้รอ้ นยิง่ ไปกว่าความร้อน
แห่งราคะก็หามิได้ดอก พระเจ้าข้า ความร้อนแห่งราคะรักใคร่ภรรยาอันสุมอยูใ่ นใจแห่งข้าพระบาทนีม้ มี ากมาย
กว่าความร้อนแห่งพระอาทิตย์เป็นไหนๆ ข้าพระบาทดีใจทีจ่ ะได้นำทรัพย์นน้ั มามอบให้แก่ภรรยา เพือ่ ให้เขาได้
เล่นการมหรสพในครัง้ นีพ้ ระเจ้าข้า” เขากราบทูล

 ⌫⌫
สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดีได้ทรงสดับถ้อยคำอันคมคายดังนั้น ก็ทรงพระสรวลแล้วจึงทรงมี
พระมหากรุณาตรัสว่า
“ดูกร บุรษุ ผูเ้ จริญ! ถ้ากระนัน้ ท่านอย่าเดินตากแดดไปให้รอ้ นเลย เราจะให้ทรัพย์กง่ึ มาสกแก่ทา่ นเอง
แล้วจงรีบกลับไปหาภรรยาของท่านเล่นการมหรสพกันให้เป็นทีส่ นุกสนานเถิด”

บุรษุ นัน้ กราบบังคมทูลว่า


“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ! พระองค์ทรงพระกรุณาให้ทานทรัพย์กง่ึ มาสกแก่ขา้ พระบาท ข้า
พระบาทก็จะขอรับพระราชทานไป แต่ขา้ พระบาทจะต้องไปเอาของเก่าทีฝ่ งั ไว้ไม่ให้ทรัพย์นน้ั ฉิบหายเสียเปล่า
ปราศจากประโยชน์ พระเจ้าข้า”

สมเด็จพระราชาธิบดี จึงทรงออกพระโอษฐ์ให้ทรัพย์เพิม่ ขึน้ เป็นหนึง่ มาสก เพือ่ ให้เขารีบกลับไปบ้าน


เพือ่ เล่นการมหรสพกับภรรยา แต่เขาผูม้ ใี จมัน่ คงก็หากลับไม่ ยังคงกราบทูลว่าจะไปนำเอาทรัพย์ทต่ี นฝังไว้ ซึง่
จะต้องเดินทางไกลไปอีก ๖ โยชน์ตามความตั้งใจเดิมให้จงได้ พระองค์ทรงเห็นเขามีมั่นคงดังนั้นก็ทรงมี
พระกรุณาอยูใ่ นพระทัย จึงทรงให้ทรัพย์ทวีขน้ึ ไปจนถึงหมืน่ ถึงแสนล้านถึงโกฏิ เพือ่ จะให้บรุ ษุ นัน้ กลับโดยไม่ตอ้ ง
ไปเอาทรัพย์เพียงกึง่ มาสกทีเ่ ขาฝังไว้ แต่เขาก็ยงั ยืนคำเดิม

“ดูรา ราชบุรษุ ทัง้ หลาย! ท่านจงนำสหายของเรานีไ้ ปชำระร่างกายให้สะอาด ขัดสีฉวีวรรณให้ผดุ ผ่อง


แล้วให้สหายของเราทรงเครือ่ งประดับสำหรับพระราชา แล้วพามาหาเรา” สมเด็จพระราชาธิบดีมพี ระบรมราช
โองการตรัสสัง่ แก่ราชบุรษุ ทัง้ หลาย พร้อมกับชีพ้ ระหัตถ์มายังบุรษุ เข็ญใจในเมือ่ ทรงกล่าวคำว่าสหาย

ราชบุรษุ ทัง้ หลาย จึงนำเอาตัวบุรษุ เข็ญใจนัน้ ไปทำความสะอาด และให้ทรงเครือ่ งประดับสำหรับ พระราชา


แล้วนำตัวกลับมาเฝ้าตามพระราชดำรัส สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดี จึงรับสั่งให้ประชุมหมู่มุขมนตรี
แล้วมีพระบรมราชโองการตรัสว่า

“บุรษุ ผูน้ ้ี เป็นคนมีปญ


ั ญาและมีวาจาสัตย์ มีใจมัน่ คงไม่กลับกลอกหวัน่ ไหว คนเช่นนีส้ มควรแก่ฐานะใหญ่
เพราะฉะนัน้ เราจักแต่งตัง้ ให้เขาเป็นพระราชาปกครองราชสมบัตใิ นกรุงพาราณสีนก้ี ง่ึ หนึง่ และให้เขาเป็นสหาย
ของเราตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป”
แล้วทรงมีพระราชดำรัสสัง่ ให้อำมาตย์ทง้ั หลาย เตรียมการพระราชพิธรี าชาภิเษกให้บรุ ษุ เข็ญใจได้เป็น
พระราชาในวันนัน้ ทรงพระราชทานนามว่า “สมเด็จพระเจ้าอัฑฒมาสกราช” แล้วก็ทรงแบ่งเขตการปกครอง
และทรงสั ่ ง สอนรั ฐ ภิ ป าลโนบายให้ แ ก่ พ ระราชาองค์ ใ หม่ ด ้ ว ยพระองค์ เ อง ต่ อ มาไม่ ช ้ า ก็ ป รากฏว่ า
พระเจ้าอัฑฒมาสกราชนัน้ ทรงมีความชำนิชำนาญในการปกครอง ไพร่ฟา้ ประชาชนต่างถวายความจงรักภักดี
โดยทัว่ กัน ซึง่ นำความเบาพระทัย และความปลืม้ ปิตมิ าให้สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาเป็นอย่างมาก

 ⌫ 
อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศล ดลบันดาลให้บรุ ษุ เข็ญใจได้รบั ความสุขสบายในชาติน้ี โดยให้ได้เป็นสมเด็จ
พระราชาได้อย่างไม่นา่ เชือ่ อย่างนีแ้ ล้วยังไม่พอ ยังทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูให้ได้รบั ความสุขในชาติหน้ายิง่ ขึน้ ไปอีก
ตามเรือ่ งปรากฏมีตอ่ ไปว่า

กาลวันหนึง่ สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาทรงว่างพระราชกิจจึงทรงชักชวนพระเจ้าอัฑฒมาสกราชซึง่ บัดนี้


เป็นพระสหายสนิทของพระองค์แล้ว ไปเที่ยวพักผ่อนพระอิริยาบทในพระราชอุทยานเป็นการส่วนพระองค์
หลังจากทรงชมบริเวณพระราชอุทยานจนเมือ่ ยล้าแล้ว ก็ทรงเอนองค์เอาพระเศียรหนุนตักของอดีตบุรษุ เข็ญใจ
ทีพ่ ระองค์ทรงอุปถัมภ์ให้ได้รบั ความสุขนัน้ แล้วก็พลันทรงย่างเข้าสูน่ ทิ รารมณ์อย่างสำราญ อัฑฒมาสกราชราชา
อดีตบุรษุ เข็ญใจได้เกิดความคิดอันจัญไรขึน้ มาชัว่ ขณะหนึง่ ว่า

“การทีเ่ ราได้เป็นพระราชา ครองราชย์สมบัตใิ นเมืองพาราณสีแต่เพียงกึง่ หนึง่ นี้ ยังไม่เป็นการดีแท้ เรา


ควรฉวยโอกาสอันเลิศนี้ ปลงพระชนม์ชพี พระเจ้าอุทยราชาธิบดีเสียแล้วเป็นพระราชาแต่เพียงผูเ้ ดียวจักดีกว่า”

ฉับพลันทีอ่ กุศลจิตเกิดขึน้ ก็เอือ้ มหัตถ์หยิบพระขรรค์ขน้ึ ทันใด หมายพระทัยจักแทงกระหน่ำลงไปที่


เบือ้ งพระอุระองค์สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดีผกู้ ำลังบรรทมหลับสนิทอย่างสุขารมณ์ ในวินาทีมหาอุบาทว์นน้ั
อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลก็เข้าดลบันดาลให้พระเจ้าอัฑฒมาสกราช ผูก้ ำลังจะทรงกระทำบาปอย่างมหันต์นน้ั ได้
พระสติ

“อหา! ตัวกูไฉนจึงคิดทำบาปหยาบช้าฉะนีเ้ ล่า อันตัวเรานีแ้ ต่เดิมทีกเ็ ป็นคนกำพร้ายากไร้ มีฐานะต่ำ


ต้อยแทบว่าจะสิน้ ราคาคน แต่กศุ ลหนุนหลังได้ดลบันดาลให้สมเด็จพระราชาธิบดีผมู้ นี ำ้ พระทัยประเสริฐ พระองค์น้ี
ทรงมีเมตตาช่วยยกฐานะจากคนยากไร้ แต่งตัง้ ให้เป็นใหญ่ได้กนิ เมืองกึง่ หนึง่ มิหนำซ้ำยังทรงรัก ใคร่เป็นสหายรัก
ไว้วางใจในตัวเรานีเ้ ป็นหนักหนา ดังฤามาคิดบ้าเนรคุณคนเห็นปานนี”้

พระขรรค์ทถ่ี กู เงือ้ ขึน้ หมายประหารก็พลันร่วง หล่นจากหัตถ์ แต่ในบัดเดีย๋ วใจอกุศลจิตจัญไรซึง่ ยัว่ ยุให้


ประหารสมเด็จพระราชาธิบดีผมู้ พี ระคุณ ก็กลับบังเกิดขึน้ อีกบ่อยๆ ในทีส่ ดุ อดีตบุรษุ ผูย้ ากไร้กท็ รงบังเกิดความ
สังเวชในพระทัยว่า

“กาลบัดนี้ จิตของเราไม่มดี ี เกิดความคิดขึน้ ทีไร ก็มกั จะพาให้เราคิดทำบาปใหญ่ ยัว่ ยุให้เรากลายเป็น


ฆาตกรสังหารพระราชาผูม้ พี ระคุณขึน้ มาเสมอ อย่างนีย้ อ่ มเป็นสภาวะทีไ่ ม่นา่ ไว้วางใจ อาจจะเผลอสติลอบปลง
พระชนม์สมเด็จพระราชาขึน้ มาเมือ่ ใดก็ได้”

ครัน้ ทรงคิดไม่ไว้วางใจในดวงจิตของตนดังนีแ้ ล้ว พระเจ้าอัฑฒมาสกราชนัน้ ก็ทรงปลุกสมเด็จพระเจ้า


อุทยราชาธิบดีให้ทรงตืน่ บรรทม แล้วก็หมอบทีเ่ บือ้ งพระยุคลบาทกราบทูลว่า

 ⌫⌫
“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ! ขอพระองค์จงทรงอดโทษแก่ขา้ พระบาทด้วยเถิด พระเจ้าข้า”

“อะไรกัน สหายรัก! มีอะไรเกิดขึน้ หรือ?” สมเด็จพระราชาธิบดี ทรงถามขึน้ อย่างงงๆ

พระเจ้าอัฑฒมาสกราช ก็ทรงเล่าเรือ่ งราวทีพ่ ระองค์ทรงคิดร้ายหมายประหาร ตัง้ แต่ตน้ อย่างไม่ปดิ บัง


อำพรางให้ทรงทราบ เมือ่ ได้ทรงสดับจบลงแล้ว แทนทีส่ มเด็จพระราชาธิบดีผมู้ นี ำ้ พระทัยอันประเสริฐจักทรง
พิโรธขนาดหนัก พระองค์กลับตรัสว่า

“เอาเถิด สหายรัก! ถ้าท่านปรารถนาจักเป็นพระราชาครองราชย์สมบัติในเมืองพาราณสีนี้แต่ผู้เดียว


เราก็จักยกให้ จักเตรียมพิธีการอภิเษกท่านเป็นการใหญ่ในวันพรุ่งนี้ ส่วนตัวเราจักขอลดตำแหน่งลงมาเป็น
อุปราชคอยรับใช้ทา่ น อย่าวิตกไปเลยสหายรัก กลับเข้าไปในวังกันเถิด จักได้รบี เตรียมงามให้เรียบร้อย”

เมือ่ ได้เห็นน้ำพระทัยอันแสนประเสริฐแห่งองค์สมเด็จพระราชาธิบดี ซึง่ แสดงแก่ตนอย่างนี้ เขาก็เกิดมี


ความละลายและสังเวชใจในตัวเองยิง่ นัก จึงกอดทีพ่ ระบาททัง้ สองไว้แน่นด้วยความตืน้ ตันใจ น้ำตาไหลลงพรากๆ
ด้วยความเสียใจแล้วกราบบังคมทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ! บัดนีข้ า้ พระบาทหามีความต้องการราชสมบัตไิ ม่ การทีข่ า้


พระบาทคิดร้ายต่อพระองค์เมือ่ ตะกีน้ ้ี ก็เพราะตัณหาเป็นเหตุ หากว่าข้าพระบาทไม่คดิ แก้ไข ต่อไปภายหน้าก็
คงจักถูกเจ้าตัณหานีม้ นั ยัว่ ยุให้กอ่ กรรมทำเข็ญ แล้วก็เสือกไสให้เกิดในอบายสักวันหนึง่ อย่างแน่ๆ เพราะฉะนัน้
ขอพระองค์จงทรงรับเอาสิรริ าชสมบัตขิ องพระองค์กลับคืนไปเถิด ข้าพระบาทหามีความต้องการไม่ ข้าพระบาท
จักเข้าป่าไปบวชเป็นฤาษี ด้วยว่าบัดนี้ ข้าพระบาทได้เห็นรากเหง้าแห่งกามตัณหาแล้ว เจ้าตัณหาอันมีฤทธิร์ า้ ย
นี้ เมือ่ บุคคลคิดถึงมันอยูเ่ สมอแล้ว มันก็จกั เจริญงอกงามขึน้ ภายในใจอยูเ่ รือ่ ยๆ ฉะนัน้ ตัง้ แต่นต้ี อ่ ไป ข้าพระบาท
คิดว่าจักไม่คดิ ถึงกามตัณหานัน่ ต่อไปอีกเลย พระเจ้าข้า”

อัฑฒมาสกราชา กราบบังคมทูลดังนี้แล้ว ก็เชิญเสด็จสมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดีเข้าไปสู่พระนคร


พาราณสีแต่เพลานัน้ ครัน้ เข้าไปถึงพระนครแล้ว ก็ตรัสสัง่ ให้อำมาตย์ทง้ั หลายไปเทีย่ วป่าวร้องให้ประชาชนชาว
เมืองมาประชุมกัน แล้วทำพิธกี ารถวายราชสมบัตคิ นื แด่องค์สมเด็จพระเจ้าอุทยราชา และกล่าวคำอำลาชาวเมือง
รีบออกเดินทางมุง่ หน้าไปสูห่ มิ วันตประเทศแต่ผเู้ ดียว บวชเป็นฤาษีอยูใ่ นป่าหิมวันต์นน้ั ประพฤติพรตบำเพ็ญ
พรหมจรรย์ จนกระทั่งได้สำเร็จฌานอภิญญา เมื่อดับขันธ์ทำกาลกิริยาแล้ว ก็ได้ไปอุบัติเกิดเป็นพระพรหม
สถิตเสวยพรหมสมบัตเิ ป็นสุขอยู่ ณ พรหมโลก ด้วยประการฉะนี้

เรือ่ งทีเ่ ล่ามานี้ ท่านผูม้ ปี ญ


ั ญาก็คงจักเห็นแล้วว่าอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศล ย่อมทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้
ผูม้ กี รรมดีประสบความสุขความเจริญในชีวติ ตามความสามารถเท่าทีจ่ กั มีโอกาสอุปถัมภ์คำ้ ชูได้ ดูแต่พระเจ้า
อัฑฒมาสกราชานัน่ ยังไง แต่เดิมก็เป็นคนยากไร้ไม่มตี ระกูล แต่ดว้ ยอานุภาพแห่งกุศลกรรมอันมากมูลทีไ่ ด้สร้าง

 ⌫ 
ไว้แต่ปางก่อน ย้อนกลับมาสำเร็จรูปเป็นอุปถัมภกกรรม คอยทำหน้าทีอ่ ปุ ถัมภ์คำ้ ชูสนันสนุนให้ประสบความ
เจริญรุง่ เรืองในชีวติ ให้ได้ประสบความสุขในชาตินแ้ี ล้วยังไม่พอ ยังพนอให้เกิดกุศลจิตคิดเห็นโทษแห่งกามตัณหา
แล้วเข้าป่าไปบวชเป็นฤาษี ได้สำเร็จฌานอภิญญาอันเป็นเหตุให้ได้ประสบความสุขในชาติหน้าอีกด้วย นีแ่ หละ
คือหน้าทีข่ องอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศล ทีค่ อยดลบันดาลชักใยอยูเ่ บือ้ งหลังแห่งชีวติ สัตว์บคุ คลทัง้ หลาย เมือ่ เรา
ได้ทราบความหมายแห่งอุปถัมภกกกรมฝ่ายกุศลนีเ้ ป็นอย่างดีแล้ว ต่อไปนี้ ปัญหาค้างใจต่างๆ เช่นปัญหาทีว่ า่
เหตุไฉน บุคคลบางคนในโลกนีจ้ งึ ดูเหมือนว่าเป็นคนโชคดีอยูเ่ สมอ ทัง้ ๆ ทีใ่ นชัว่ ชีวติ นีเ้ ขาก็ไม่ได้ประกอบคุณ
งามความดีเกินกว่าคนอืน่ เลย ก็เหมือนๆ กันนัน่ แหละ แต่ทำไมเขาจึงประสบความเจริญรุง่ เรืองในชีวติ เกินกว่า
คนธรรมดามากมาย? ปัญหานีค้ วรจะสลัดปัดทิง้ ออกไปจากจิตใจได้แล้ว ทัง้ นีก้ เ็ พราะเราได้รบั คำตอบว่า ทีเ่ ป็น
เช่นนัน้ ก็เพราะอุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลนัน่ เอง อุปถัมภกกรรมฝ่ายกุศลของเขาเข้าทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้เขา
เป็นคนโชคดีอยูเ่ สมอ ทัง้ ๆ ทีเ่ จ้าตัวก็อาจจะไม่รเู้ สียด้วยซ้ำไป

บัดนี้ เราก็ได้ทราบหน้าทีข่ องอุปถัมภกกรรมแล้วว่า อุปถัมภกกรรมนี้ หากว่าเป็นฝ่ายไม่ดคี อื ฝ่ายอกุศล


ย่อมจะทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้เจ้าของกรรมประสบกับความวิบตั ิ พบกับอุปสรรคความขัดข้องในชีวติ อยูเ่ สมอ
มีความอาภัพอับโชคตลอดชีวติ หากว่าเป็นอุปถัมภกกรรมฝ่ายดีคอื ฝ่ายกุศล ก็ยอ่ มจะทำหน้าทีด่ ลบันดาลให้
เจ้าของกรรมดีนน้ั ประสบกับความสุขความเจริญในชีวติ บางทีกใ็ ห้ประสบความโชคดีโดยทีเ่ จ้าตัวเองก็ไม่เคย
คิดเคยฝันไว้ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีน่ า่ แปลกประหลาดใจเป็นอย่างมาก เมือ่ เราได้ทราบเรือ่ งของอุปถัมภกกรรมเสร็จ
ลงแล้วต่อจากนีไ้ ป เราก็ควรจะได้ศกึ ษาให้ทราบเรือ่ งของกรรมอีกประเภทหนึง่ กรรมทีเ่ ราจะได้ศกึ ษาในลำดับ
ต่อไปนีม้ ชี อ่ื ว่า

 ⌫⌫
อุปปีฬกิ กรรม
อุปปีเฬตีติ อุปปีฬกิ ํ
กรรมใด ย่อมทำหน้าทีเ่ บียดเบียนกรรมอืน่ ๆ ทีม่ สี ภาพตรงข้ามกับตน
กรรมนัน้ ชือ่ ว่าอุปปีฬกิ กรรม

อุปปีฬกิ กรรม นี้ ย่อมทำหน้าทีเ่ บียดเบียนซึง่ สุขและทุกข์อนั กรรมอืน่ ให้บงั เกิด อันกรรมอืน่ ให้อบุ ตั ิ
แล้วตัดซึง่ สุขและทุกข์อนั กรรมอืน่ ให้บงั เกิด มิได้ให้เพือ่ จะให้ผลแก่กรรมอืน่ ตัดเสียซึง่ ผลแห่งกรรมอืน่ แล้วให้
ผลด้วยตน !

“มันเป็นผลกรรมอะไรของข้าพเจ้าหรือเปล่าเล่านี่ ทีอ่ ตุ ส่าห์อา่ นประโยคภาษาไทยทีท่ า่ นว่าไว้ขา้ งบน ตัง้


๒ - ๓ หนยังงงงันอยู่ ไม่รวู้ า่ ท่านหมายความว่าอย่างไร ทัง้ ๆ ทีข่ า้ พเจ้านีก้ เ็ ป็นคนไทยและเข้าใจภาษาไทย
ดีอยูแ่ ท้ๆ” สมมติวา่ จะมีทา่ นผูอ้ า่ นเกิดความกลัดกลุม้ แล้วร้องบ่นพึมพำอยูใ่ นใจว่าดังนี้

ก็ยอ่ มจะมีคำปลอบโดยให้เกิดความอบอุน่ ใจว่า “ช้าก่อนท่าน ! อย่าได้ไปโทษกรรมโทษเวรอะไรของ


ท่านให้เสียเวลาเลย ทีอ่ า่ นไม่เข้าใจเมือ่ ตะกีน้ ้ี ย่อมเป็นกรณีธรรมดา เพราะว่าเป็นภาษาทีแปลมาจากพระคัมภีร์
เดิม และจะอธิบายเพิม่ เติมให้ฟงั ขอจงตัง้ ใจฟังให้ด”ี ปลอบโยนว่าดังนีแ้ ล้ว ก็เริม่ มีอรรถาธิบายว่า

อุปปีฬกิ กรรม นี้ ย่อมทำหน้าทีเ่ บียดเบียน ! เบียดเบียนอะไร? เบียดเบียนกรรมอืน่ ทีม่ สี ภาพตรงข้าม


กับตน ! เพือ่ ความเข้าใจดี ก่อนอืน่ ต้องทราบว่า อุปปีฬกิ กรรมนี้ แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ อุปปีฬกิ กรรมทีเ่ ป็น
ฝ่ายอกุศล ๑ อุปปีฬกิ กรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศล ๑ ทีน้ี อุปปีฬกิ กรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศล ย่อมมีหน้าทีเ่ ข้าไปเบียดเบียน
ทำร้ายกุศลกรรม ซึง่ มีสภาพตรงกันข้ามกับตน คือในขณะทีก่ ศุ ลกรรมความดี กำลังให้ผลเป็นความสุขความ
เจริญแก่สตั ว์บคุ คลอยูน่ น้ั หากว่าอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลนี้ มันมีโอกาสแล้ว มันย่อมจะตรงดิง่ เข้าไปเบียดเบียน
ทำร้ายผลแห่งกุศลกรรมนัน้ ทันที ! อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล ย่อมมีหน้าทีเ่ ข้าไปเบียดเบียนทำร้ายอกุศลกรรมซึง่
มีสภาพตรงกันข้ามกับตน คือในขณะทีอ่ กุศลกรรมความชัว่ กำลังให้ผลเป็นความทุกข์ เป็นความชัว่ ร้ายแก่สตั ว์
บุคคลทัง้ หลายอยูน่ น้ั หากว่าอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลนีเ้ ขามีโอกาสแล้วเขาก็จะตรงดิง่ เข้าไปเบียดเบียน ทำร้าย
ผลแห่งอกุศกรรมนั้นทันทีเช่นเดียวกัน เข้าทำหน้าที่เบียดเบียนทำร้ายกรรมที่มีสภาพตรงกันข้ามกับตนนี้ มี
อุปมาทีท่ า่ นกล่าวไว้วา่
พฤกษาชาติและลดาวัลลิท์ ง้ั ปวง บรรดาทีม่ อี ยูใ่ นอรัญประเทศคามเขตทัว่ ไปนัน้ แม้วา่ จะวัฒนาการ
จำเริญงดงามประกอบไปด้วยลำต้นกิง่ ใบและดอกผลมากมายเพียงไรก็ดี ถ้ามีผมู้ าตัดมาฟันหัน่ รอนถอนทิง้ เสีย
แล้ว พฤกษาชาติและลดาวัลลิท์ ง้ั ปวงนัน้ ก็มอิ าจจะวัฒนาการจำเริญอยูไ่ ด้ตามปรกติยอ่ มจะถึงซึง่ ความพินาศ
ฉิบหายตายไปด้วยอาการต่างๆ เป็นแน่แท้ อุปมานีฉ้ นั ใด

 ⌫ 
ในขณะที่กุศลกรรมอันสัตว์บุคคลทั้งหลายได้กระทำไว้แต่ปางก่อน กำลังส่งผลให้เจ้าของกรรมดีได้
ประสบความสุขความเจริญ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพย์สมบัติลาภยศบริวาร ที่เคยยากจนก็กำลังทำท่าว่าจะ
เป็นคนมัง่ มี ทีม่ ง่ั มีอยูแ่ ล้วก็กำลังจะรวยใหญ่กลายเป็นเศรษฐี หากว่าเป็นชีเป็นสงฆ์ผบู้ วชมุง่ ตรงต่อมรรคผล
นิพพาน ก็กำลังมีอาการทำท่าว่าจะได้บรรลุมรรคผลนิพพานในเวลาไม่นาน รวมความแล้วก็วา่ ชีวติ กำลังเจริญ
งอกงามก้าวหน้าไปในทางทีด่ นี น้ั หากว่าอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลตามมาทัน มันจะทำหน้าทีเ่ บียดเบียนบัน่ ทอน
ชีวิตที่กำลังก้าวหน้านั้น ให้อับเฉาหยุดความก้าวหน้าลงทันที มิให้กุศลกรรมผลิตผลเป็นสุขสวัสดิมงคลได้
เปรียบเหมือนพฤกษาลดาวัลลิ์ ทีก่ ำลังเจริญงอกงามทรงดอกออกผลอันโอชารสน่าชืน่ ชมยินดีเป็นนักหนา แต่มี
คนบ้าใจร้ายมาสับฟันบัน่ รอนถอนทิง้ ให้ถงึ ความวิบตั ิ สิน้ ดอกและผลทุกสิง่ ทุกอันฉะนัน้ ตามทีก่ ล่าวมานีค้ อื
อาการทีอ่ ปุ ปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลเข้าเบียดเบียนทำร้ายกุศลกรรมทีม่ สี ภาพตรงกันข้ามกับตน, อนึง่

ในขณะทีอ่ กุศลกรรมความชัว่ หยาบช้าทีส่ ตั ว์บคุ คลทัง้ หลายได้กระทำไว้แต่ปางก่อน กำลังส่งผลให้เจ้า


ของกรรมชัว่ หยาบช้านัน้ ต้องประสบกับความทุกข์ยาก ต้องโทษต้องภัย สิน้ สมบัตไิ ด้รบั ความเดือดร้อน ทีเ่ คย
มัง่ มี ก็กลายเป็นมีมง่ั ไม่มมี ง่ั กำลังจะย่างก้าวไปสูค่ วามยากจน ทีย่ ากจนอยูแ่ ล้ว ก็กำลังจะยากจนหนักลงไปอีก
ถ้าเป็นพระเจ้าพระสงฆ์ผบู้ วชมุง่ ตรงต่อมรรคผลนิพพาน ก็กำลังมีอาการทำท่าว่าจะบ่ายหน้าไปสูป่ ระตูอบายภูมิ
แทนทีจ่ ะก้าวเข้าไปสูป่ ระตูสวรรค์นพิ พาน ทัง้ นีก้ เ็ พราะเป็นพาลประพฤติผดิ ล่วงสิกขาบทใหญ่ ใกล้ๆ จะต้อง
อาบัตปิ าราชิกสังฆาทิเสสหนักเข้าไปทุกที รวมความแล้วก็วา่ ชีวติ กำลังประสบมรสุมจะเอาตัวไม่รอดอยูแ่ ล้วนัน้
หากว่าอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลตามมาทัน มันก็จะเข้าทำหน้าทีเ่ บียดเบียนบัน่ ทอนอกุศลกรรมทีค่ รอบงำชีวติ อยู่
นัน้ ให้พลันเสือ่ มสลายไปทันที ชะตาชีวติ ทีร่ บิ หรีแ่ ทบจะไม่มแี สงสว่าง ก็จะพลันเป็นชีวติ ทีร่ งุ่ โรจน์สว่างสดใส
พ้นโทษพ้นภัยได้โดยประการทัง้ ปวง เปรียบเหมือนพฤกษาลดาวัลลิท์ ถ่ี กู บุคคลผูใ้ จร้าย พยายามเอายาพิษไป
โรยใส่ให้ถงึ ความอับเฉาใกล้จะตายอยูแ่ ล้ว แต่มบี รุ ษุ ผูใ้ จดี มาเตะตีเจ้าคนใจร้ายทีใ่ ส่ยาพิษนัน้ ให้พลันตาย แล้ว
ก็เอาใจใส่ทะนุบำรุงเป็นอย่างดี ก็ยอ่ มมีผลมีดอกเจริญงอกงามอีกต่อไปฉะนัน้ ตามทีก่ ล่าวมานีแ่ หละ คือ อาการ
ทีอ่ ปุ ปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล เข้าเบียดเบียนทำร้ายอกุศลกรรมซึง่ มีสภาพตรงกันข้ามกับตน

ในกรณี ทีอ่ ปุ ปีฬกิ กรรมทำหน้าทีข่ องมัน ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ


ั ญาทัง้ หลายพึงทราบว่า อุปปีฬกิ กรรมฝ่าย
อกุศล เมือ่ ติดตามมาทันบุคคลผูก้ ำลังประสบโชคดี ด้วยอำนาจแห่งกุศลกรรมความดีกำลังให้ผล เริม่ ต้นมันย่อม
เข้าไปเบียดเบียนทำร้ายกุศลกรรมความดีที่กำลังให้ผลอยู่นั้นให้พลันพินาศหมดสิ้นไปแล้วมันย่อมจะแสดง
อาการประดุจจะกล่าวออกมาเป็นภาษามนุษย์วา่

“ดูกร คนชัว่ คนร้าย ! เราไม่รเู้ ลยว่าท่านมาบังเกิดอยู่ ณ ทีน่ ่ี และกำลังจะได้ดมี คี วามสุข ถ้ารูแ้ ล้วก็จะมิ
ให้ทา่ นมาบังเกิดได้เป็นอันขาด เรานีจ้ กั พาท่านไปสูอ่ บาย คือ จักให้ทา่ นไปบังเกิดในนรก หรือมิฉะนัน้ ก็จกั ให้
ท่านไปบังเกิดในเปรตวิสยั มิฉะนัน้ ก็จกั ให้ทา่ นไปบังเกิดในอสุรกายเป็นกาฬกัญชิกาสูร มิฉะนัน้ ก็จกั ให้ทา่ นไป
บังเกิดเป็นสัตว์เดียรฉานทีช่ ว่ั ช้าลามก ให้สมกับทีท่ า่ นเป็นคนไม่ดมี าก่อน ถึงแม้ทา่ นจะมาบังเกิดเป็นมนุษย์แล้ว
และได้ประสบความสุขความเจริญมานานแล้วอย่างนีก้ ต็ าม ก็อย่าได้ทนงว่าจะรอดตัว อย่าสงสัยว่าจะได้ความ
สุขความเจริญต่อไปเลย ท่านจะดีจะเจริญอย่างไรและจักเกิดในทีใ่ ดทีห่ นึง่ ก็ตามทีเถิด การทีท่ า่ นจะหนีไปให้พน้

 ⌫⌫
อำนาจแห่งเรานี้หนีไปไม่พ้นเป็นอันขาด เรานี้รู้ไหมเล่าว่าจะเป็นอะไร เมื่อไม่รู้ก็จะบอกให้ เรานี้ชื่อว่า
อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศล ทีท่ า่ นสร้างได้ตดิ ตามท่านมานานแล้ว เพิง่ มาพบท่านกำลังได้ดมี คี วามสุขเพราะถูก
เจ้ากุศลกรรมความดี ซึง่ เป็นปรปักษ์กบั เรามันสนับสนุนท่านอยู่ บัดนีเ้ ราก็ได้ขบั ไล่เจ้ากุศลกรรมนัน้ ให้มนั ไป
พ้นตัวท่านแล้ว เหลือแต่ตวั ท่านผูเ้ ดียวแท้ๆ ไม่มใี ครช่วยเหลือ เราก็จกั บีบคัน้ ท่านให้ถนัดมือ จักทำให้ทา่ นได้
ทุกข์ได้ยาก จักทำให้ท่านได้ความลำบาก จักทำให้ไม่มีโอกาสได้ลืมตาอ้าปากขึ้นเลย จักทำให้ท่านผิดหวัง
สิ่งไรที่ท่านหวังไว้ จักทำให้พังพินาศจนหมดสิ้น ทำดังนี้เพื่อให้สาสมกับน้ำใจไม่ดีของท่าน เพราะท่านเป็น
คนพาลเป็นคนหยาบช้าเคยก่อกรรมทำเข็ญมาก่อน”

มีอาการประหนึ่งว่าจะกล่าวคำขู่ตะคอก และพร่ำด่าว่าด้วยความอาฆาตพยาบาทมานานดังนี้แล้ว
อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลนัน้ ทำหน้าทีข่ องมัน โดยเข้าเบียดเบียนกระทำให้ประสบกับความวิบตั นิ านาประการ
ชีวิตที่กำลังทำท่าว่าจะรุ่งเรืองสุกใส ก็กลายเป็นชีวิตที่อับเฉาเศร้าหมอง โดยไม่มีใครคาดฝัน ในกรณีที่
อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลเข้าทำหน้าทีข่ องมันนี้ พึงเห็นตัวอย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

สุนกั ขัตตลิจฉวี
ได้สดับมาว่า อดีตกาลนานมาแล้ว ยังมีบรุ ษุ ผูห้ นึง่ ซึง่ มีเคหะสถานอยูใ่ กล้พระวิหารอันเป็นทีอ่ ยูข่ อง
ภิกษุสามเณรทัง้ หลาย ใกล้คำ่ วันหนึง่ ขณะทีบ่ รุ ษุ ผูน้ น้ั กำลังอาบน้ำอยูท่ ท่ี า่ หน้าบ้านของตน สามเณรน้อยน่า
รักองค์หนึง่ ขีน่ าวาเล่นผ่านมา เขามีจติ คะนองคิดจะแกล้งสามเณรเล่น จึงเอามือวักน้ำสาดไปทีเ่ รือ สามเณรก็
หลบกายด้วยหมายจะมิให้ถกู กระแสธารา นาวานัน้ ก็ลม่ ลงในนที สามเณรน้อยกลัวแต่มรณภัย ก็รบี ว่ายน้ำใจ
คอหาย ส่วนปากก็ตะโกนกล่าววาจาเป็นคำหยาบใส่หน้าบุรษุ นัน้ มนุษย์ผหู้ วังจะแกล้งสามเณรน่ารักเล่นในตอน
แรก ก็บงั เกิดความโกรธ จึงประหารกกหู คือตบทีห่ สู ามเณรปากดีนน้ั เสีย ๒ - ๓ ที แล้วก็ชว่ ยยกสามเณรนัน้
จากวารีขน้ึ สูร่ มิ ฝัง่ แล้วก็กลับบ้านด้วยอารมณ์ขนุ่ มัว

มนุษย์ผมู้ บี า้ นเกิดใกล้วหิ ารคนนัน้ ครัน้ ดับขันธ์ตายไปแล้ว ก็ทอ่ งเทีย่ วเวียนว่ายตายเกิดอยูใ่ นวัฏสงสาร


เป็นเวลาช้านาน ครัน้ มาถึงพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ในหมูล่ จิ ฉวีกมุ าร มีนามว่า สุนกั ขัตตลิจฉวี
เมือ่ เจริญวัยเติบใหญ่แล้ว ได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงพระคุณ
อันประเสริฐ เกิดความเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนา จึงขอบรรพชาบวชเป็นพระภิกษุสงฆ์ในสำนักแห่งองค์
สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ แล้วทูลขอพระกรรมฐานในส่วนสมถภาวนา เพื่อจักบำเพ็ญให้ได้บรรลุฌาน
อภิญญาก่อน แล้วจึงจักบำเพ็ญพระกรรมฐานในส่วนวิปัสสนาภาวนา เพื่อตัดอาสวะกิเลสได้สำเร็จเป็นอริย
บุคคลต่อภายหลัง สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ตรัสบอกพระกรรมฐานในส่วนสมถภาวนา ในไม่ช้าสุนัก
ขัตตลิจฉวีนน้ั ก็ได้สำเร็จฌานได้บรรลุ “ทิพพจักขุอภิญญา” โดยรวดเร็วเพียงไม่กว่ี นั ทัง้ นีก้ เ็ พราะองค์สมเด็จ
พระบรมศาสดาจารย์ทรงประทานอุบายวิธอี นั ถูกต้องให้

 ⌫ 
เมื่อได้สำเร็จทิพพจักขุอภิญญา มีดวงตาประดุจทิพย์สามารถที่จะแลเห็นสิ่งต่างๆ เช่นเทวโลก และ
พรหมโลก เป็นต้น อันนอกเหนือวิสยั ของคนธรรมดาสามัญแล้ว สุนกั ขัตตลิจฉวีภกิ ษุใหม่นน้ั ก็ดใี จนัก มีความ
เคารพเลื่อมใสในพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นอันมาก หวังใจไว้ว่าจักปฏิบัติตามศาสนธรรมคำสอนอันวิเศษเป็น
มหัศจรรย์นี้ให้ถึงที่สุด ตราบเท่าบรรลุถึงโลกุตรภูมิ แต่ในขณะนี้ตนใคร่จักได้บรรลุอภิญญาอันดับต่อไป คือ
“ทิพพโสตอภิญญา” เสียก่อน จึงเข้าไปเฝ้าสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กราบทูลขอซึ่งบริกรรมภาวนาใน
ทิพพโสตอภิญญาสืบต่อไป สมเด็จพระพุทธองค์กท็ รงประทานบริกรรมภาวนาให้ตามทีท่ ลู ขอ แต่ไม่ทรงประทาน
อุบายวิธใี ห้แต่อย่างใด เหตุใด พระองค์จงึ ไม่ทรงประทานอุบายวิธี เพือ่ ให้เกิดทิพพโสตอภิญญาแก่สนุ กั ขัตตลิจ
ฉวีภกิ ษุ? เพราะสมเด็จพระพุทธองค์ทรงทราบว่า จักมีอปุ ปีฬกิ กรรมมาเบียดเบียน ! ด้วยว่าสุนกั ขัตตลิจฉวีน้ี
ในชาติปางก่อน ได้เคยตบกกหูสามเณรด้วยโทสจริต กรรมนัน้ จักผลิตผล เป็นอุปปีฬกิ กรรมมาเบียดเบียนมิให้
ทิพพโสตอภิญญาเกิดขึ้นได้ เพราะฉะนั้น พระองค์จึงประทานแต่บริกรรมภาวนาเท่านั้น หาได้ทรงประทาน
อุบายวิธแี ต่ประการใดไม่

ฝ่ายสุนกั ขัตตลิจฉวีผมู้ กี ำลังใจดี ครัน้ ได้บริกรรมภาวนาในส่วนทิพพโสตอภิญญาไปแล้ว ก็ตง้ั อุตสาหะ


บริกรรมเพือ่ ให้เกิดทิพพโสตอภิญญา มีหปู ระดุจดังว่าทิพย์ดงั ใจหมาย ในขณะนัน้ อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลก็
เข้ามากางกัน้ ทำหน้าทีป่ ดิ บังมิให้บงั เกิดทิพพโสตอภิญญา สุนกั ขัตตลิจฉวีนน้ั กระทำบริกรรมภาวนาอยูช่ า้ นาน
ประมาณ ๓ ปี ทิพพโสตอภิญญาจะได้บงั เกิดขึน้ ก็หาไม่ ในทีส่ ดุ อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลนัน้ ก็พลันเข้าดล
จิตพาให้เขาคิดวิปริตขึน้ มาว่า

“อา...นีเ่ ป็นเพราะเหตุผลกลใดกัน ตัวเราเมือ่ คราวทีจ่ ะได้ทพิ พจักขุอภิญญา บำเพ็ญภาวนาอยูเ่ พียง ๒-


๓ วันเท่านัน้ ก็สำเร็จสมความปรารถนาได้โดยง่าย แต่นเ้ี หตุไฉน เมือ่ เราปรารถนาจักได้สำเร็จทิพพโสตอภิญญา
สู้อุตสาห์บำเพ็ญอยู่เป็นเวลาช้านาน นับได้ ๓ ปีเข้านี่แล้ว ก็ไม่มีวี่แววว่าจักบังเกิดขึ้นเลย สมเด็จพระ
ผูม้ พี ระภาคเจ้านี้ ชะรอยจะมีความรูอ้ ยูเ่ พียงแค่ทพิ พจักขุอภิญญาเท่านัน้ คงจะไม่มคี วามรูถ้ งึ ทิพพโสตอภิญญา ดอก
เพราะเมื่อทรงบอกบริกรรมภาวนาในส่วนทิพพจักขุอภิญญานั้น พระองค์ทรงบอกให้เราได้สำเร็จโดยรวด
เร็วนักหนา แต่พอมาถึงทิพพโสตอภิญญาเข้า แม้จะทรงทราบว่าเราติดอยูเ่ ป็นเวลาช้านาน พระองค์กย็ งั ทรงเฉย
อยู่ มิได้ทรงแนะนำอุบายวิธเี พิม่ เติมแต่ประการใด นีพ่ ระองค์คงได้อภิญญาแต่เพียงทิพพจักขุอย่างแน่ๆ”

เริม่ ต้นก็เป็นเพียงสงสัย และดำริอยูใ่ นใจดังนี้ แล้วก็พยายามบำเพ็ญบริกรรมภาวนาในส่วนทิพพโสต


อภิญญานั้นต่อไป เพื่อแก้ความสงสัย แต่ทิพพโสตอภิญญาจักได้บังเกิดขึ้นก็หามิได้ ในที่สุดเขาจึงเกิดความ
เบือ่ หน่ายใจขึน้ อย่างหนัก...และแล้วเมือ่ ได้โอกาสเหมาะดังนี้ อุปปีฬกิ กรรมก็พาให้เขาเกิดความคิดระยำหนัก ขึน้ ไป
อีกว่า

“แน่นอน สมเด็จพระพุทธเจ้ามีความรู้เพียงแค่ทิพพจักขุอภิญญาเท่านี้แน่นอน อภิญญาอื่นๆ ก็ดี


ตลอดจนถึงโลกุตรธรรม มรรค ผล นิพพานก็ดี ทีพ่ ระองค์ทรงเทศนาสัง่ สอนคนทัง้ หลายนัน้ เป็นโมฆะ ! คือ
เปล่าทัง้ สิน้ พระองค์ทรงว่าไปอย่างนัน้ แท้ทจ่ี ริงแล้ว พระองค์หาได้ทรงมีความรูไ้ ปถึงเรือ่ งเหล่านีไ้ ม่ แม้พระสงฆ์

 ⌫⌫
สาวกทัง้ หลาย ทีเ่ ข้าใจกันว่า ได้สำเร็จโลกุตรธรรมเป็นพระอรหันต์ตามพระองค์ ก็คงเปล่าคือไม่เป็นจริงทัง้ สิน้
จะได้อย่างมากก็เพียงแค่ทพิ พจักขุอภิญญาเท่าทีเ่ ราได้นเ้ี ท่านัน้ เป็นอันว่าพระพุทธศาสนาทีเ่ ราหลงเคารพบูชา
เกือบเป็นเกือบตาย ก็มคี วามดีอย่างสูงสุดเพียงแค่นเ้ี อง เราจะอยูไ่ ปใยเล่า อยูไ่ ปในศาสนานีก้ ไ็ ม่มปี ระโยชน์อะไร
จำเราจะไปแสวงหาคุณวิเศษในศาสนาอืน่ ดีกว่า”

สุนกั ขัตตลิจฉวีภกิ ษุใหม่ผมู้ กี รรม กำหนดแน่ในจิตฉะนีแ้ ล้ว ก็บอกคืนสิกขาและบอกคืนกล่าวคำอำลา


พระรัตนตรัยว่า

“ข้าพเจ้า ขอละเสียซึง่ พระพุทธ-พระธรรม-พระสงฆ์ และขอลาสิกขา ขอจงรูไ้ ว้เถิดว่า ข้าพเจ้านีม้ ไิ ด้


ปฏิบตั ใิ นพระพุทธศาสนาอีกสืบไปแล้ว จะขอเป็นคฤหัสถ์ไปปฏิบตั ธิ รรมภายนอกพระพุทธศาสนา”

สุนักขัตตลิจฉวีนั่น ครั้นลาสิกขาแล้ว ก็เที่ยวสืบเสาะแสวงหาศาสดาอื่น ในที่สุดได้ไปสู่สำนักแห่ง


นิครนถ์นาฏบุตรอันเป็นเดียรถียภ์ ายนอกพระพุทธศาสนา เกิดมิจฉาทิฏฐิขน้ึ ในดวงจิต ครัน้ สิน้ ชีวติ แล้ว ก็ไป
บังเกิดในนรก มิได้มกี ำหนดว่าจะพ้นจากทุกข์ในนรกนัน้ เมือ่ ใด ทัง้ นีก้ ด็ ว้ ยอำนาจแห่งอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศล
เข้าเบียดเบียนทำลาย จึงทำให้เขากลายเป็นคนอับโชค ทัง้ ๆ ทีเ่ ขามีหวังจักได้บรรลุคณ ุ วิเศษอันมีอยูใ่ นพระ
บวรพุทธศาสนาอีกมากมาย แต่กต็ อ้ งมากลายเป็นเคราะห์รา้ ยไปอย่างน่าสงสาร

เท่าที่เล่ามานี้ ท่านผู้มีปัญญาทั้งหลายก็คง จักเห็นแล้วว่า


อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศลนี้ เมือ่ ทำหน้าที่ เบียดเบียน ย่อมเบียดเบียน
ทำลาย ไม่เลือกว่าเป็นผู้ใด ทรงคุณวิเศษสูงส่งเพียงไรก็ตาม ดูแต่
สุนกั ขัตตลิจฉวี นัน่ เถิด ทัง้ ๆ ทีไ่ ด้บำเพ็ญสมถภาวนาทรงคุณวิเศษ ได้
สำเร็จฌานและทิพพจักขุอภิญญา ก็ยงั ถูกอุปปีฬกิ กรรม ซึง่ ตามมาทัน
เข้าปิดกัน้ ให้หนั เหไปสูอ่ บาย หากว่าเขาไม่มกี รรมเก่าอันเผล็ดผลเป็น
อุปปีฬิกกรรมฝ่ายอกุศลเข้า มากางกั้น เขาก็อาจจะได้บรรลุมรรคผล
นิพพาน อันเป็นธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา ตามความตั้งใจ
เดิมของเขาก็เป็นได้ ในกรณีที่อุปปีฬิกกรรมฝ่ายอกุศล เข้าทำหน้าที่
เบียดเบียนกุศล แล้วกางกัน้ ไม่ให้บคุ คลได้ บรรลุมรรคผลนิพพานนัน้
พึงดูตวั อย่างจากเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

 ⌫ 
ภิกษุผมู้ กี รรม
ได้สดับมาว่า ยังมีมาณพหนุม่ ผูห้ นึง่ ซึง่ มีดวงใจเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนา จึงเข้าไปขอบรรพชา
อุปสมบทในสำนักพระภิกษุสงฆ์แห่งหนึง่ ครัน้ อุปสมบทแล้ว พระภิกษุหนุม่ รูปนัน้ ก็เรียนถามพระอุปชั ฌาย์ถงึ
ธุระในพระพุทธศาสนา เมือ่ ได้ทราบว่า ธุระในพระพุทธศาสนามี ๒ อย่าง คือ คันถธุระ ได้แก่ศกึ ษาเล่าเรียน
พระบาลีพทุ ธวจนะ ๑ วิปสั สนาธุระ ได้แก่การบำเพ็ญวิปสั สนาเพือ่ ประโยชน์อนั สูงสุดคือมรรคผลนิพพาน ๑
ภิกษุนั้นตั้งใจว่าจักบำเพ็ญคันถธุระ คือเรียนพุทธวจนะบาลีก่อน แล้วจึงจักบำเพ็ญวิปัสสนาธุระ เพื่อบรรลุ
มรรคผลนิพพานอันเป็นธรรมวิเศษต่อภายหลัง ครัน้ ตัง้ ใจดังนีแ้ ล้วก็กราบลาพระอุปชั ฌาย์ เดินทางมุง่ หน้าไป
สูท่ ฆี วาปีวหิ าร ซึง่ มีพระอาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญในคันถธุระและวิปสั สนาธุระอยูป่ ระจำ ณ ทีน่ น่ั ครัน้ ถึงแล้วจึงเข้า
ไปกราบเรียนบอกความประสงค์แห่งตน

“เรารับท่านให้เรียนพระบาลีและปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานอยูท่ น่ี ม่ี ไิ ด้ดอก” ท่านอาจารย์ใหญ่ ซึง่ มีญาณ


วิเศษเห็นเหตุรา้ ยในอนาคตอย่างหนึง่ อันจะพึงบังเกิดขึน้ แก่พระภิกษุนน้ั กล่าวปฏิเสธ

“ขอพระเดชพระคุณได้โปรดกรุณารับเกล้ากระผมเข้าอยู่สำนักด้วยเถิด แม้จักมีกฎกติกาว่าอย่างไร
เกล้ากระผมก็ยนิ ดีทจ่ี ะปฏิบตั ติ ามทัง้ สิน้ เพราะการทีเ่ กล้าฯ อุตสาหะเดินทางจากบ้านเกิดมาไกล ก็ตง้ั ใจทีจ่ ะ
บำเพ็ญธุระในพระศาสนาทัง้ ๒ ตามพระโอวาทานุสาสนีแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดา และก็ได้ทราบว่าพระ
เดชพระคุณเป็นผูช้ ำนาญในธุระทัง้ ๒ นัน้ เป็นยิง่ นักจึงใคร่จกั ฝากตัวเป็นศิษย์ ขออย่าให้เกล้าฯ ผิดหวังในครัง้ นีเ้ ลย”
ภิกษุหนุม่ กล่าววิงวอนดังนีเ้ ป็นหลายครัง้ หลายหน

“ท่านจักให้สญ
ั ญาแก่เราอย่างหนึง่ ได้ไหมเล่า?” ท่านอาจารย์เฒ่าผูท้ รงพิทยาคุณกล่าวขึน้ หลังจากนิง่
อึง้ อยูน่ าน

“ได้ซิ ขอรับกระผม จะเป็นสัญญากติกาสักกีข่ อ้ เกล้าฯ ก็ยนิ ดีทจ่ี ะให้แก่พระเดชพระคุณทัง้ สิน้ ขอจง


บอกมาเถิด”

“ไม่ตอ้ งมากหรอก ข้อเดียวเท่านัน้ ! คือตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็นต้นไป ท่านอย่าได้เข้าไปในหมูบ่ า้ นเป็นอันขาด


แม้บิณฑบาตรก็ไม่ต้องไป อยู่ในบริเวณวิหารนี่จนกว่าจะเรียนพระบาลีและปฏิบัติวิปัสสนาเสร็จสิ้นแล้ว นี่
แหละคือข้อห้ามของเรา เข้าใจไหมเล่า?”

“เกล้ากระผมให้สญ ั ญา ตลอดจนเวลาทีอ่ ยู่ ณ ทีน่ ่ี เกล้าฯ จักไม่ไปไหนเลย จักพากเพียรเรียนพระบาลี


และปฏิบตั วิ ปิ สั สนาภาวนาตามความตัง้ ใจให้สำเร็จให้จงได้ ขอพระเดชพระคุณจงวางใจเถิด”

 ⌫⌫
ครัน้ เห็นพระภิกษุหนุม่ รับปากมัน่ คงแข็งแรง ดังนัน้ ท่านอาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญก็เริม่ บอกอุทเทสบาลีอนั
เป็นฝ่ายคันถธุระ พระผู้หนุ่มนั้นก็ตั้งใจศึกษาทั้งเช้าค่ำด้วยความอุตสาหะเป็นอันดีในไม่ช้าก็สำเร็จการศึกษา
ซึง่ นำความพอใจมาให้ทา่ นอาจารย์เป็นยิง่ นัก

“บัดนี้ คันธุระคือการศึกษาพระบาลีพทุ ธพจน์ เธอก็ได้สำเร็จตามความปรารถนาแล้ว จงหยุดพักผ่อน


เสียสักชัว่ ระยะเวลาหนึง่ ก่อน เพราะตรากตรำในการเรียนมานาน พอพักผ่อนให้เป็นทีส่ บายดีแล้ว จึงจักได้เริม่
เข้าปฏิบตั พิ ระวิปสั สนากรรมฐาน อันเป็นการบำเพ็ญวิปสั สนาธุระ ซึง่ เป็นธุระสำคัญในพระพุทธศาสนาต่อไป”
ท่านอาจารย์บอกแก่พระภิกษุนน้ั ในค่ำวันหนึง่ ด้วยใบหน้ายิม้ แย้มเต็มเปีย่ มไปด้วยความกรุณา

ภิกษุหนุม่ ผูเ้ พิง่ สำเร็จการศึกษา ก็กราบลาพระอาจารย์ผมู้ ากไปด้วยความกรุณามาสูก่ ฎุ นี อ้ ยอันเป็นที่


อยูแ่ ห่งตน เมือ่ นึกถึงผลสำเร็จในด้านคันถธุระก็ดใี จเป็นหนักหนา และยิง่ ดีใจหนักยิง่ ขึน้ ไปกว่านัน้ เมือ่ นึกวาด
โครงการในอนาคตว่าอีกไม่ชา้ แล้วตนก็จกั ได้เข้าปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน อันเป็นการดำเนินตามรอยพระยุคล
บาทแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดา หากว่ามีวาสนาบารมี ก็คงจักได้ลม้ิ รสอมตธรรม บรรลุมรรค ผล นิพพาน
อย่างแน่ๆ แต่แล้วเหตุการณ์รา้ ยทีไ่ ม่มใี ครคาดคิดก็เกิดขึน้ ! คือในขณะทีเ่ ธอได้รบั อนุญาตให้พกั ผ่อน เพือ่ รอ
การเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานอยู่นั้น วันหนึ่งอุปปีฬิกกรรมฝ่ายอกุศลก็ตามมาทัน แล้วก็เริ่มทำหน้าที่
เ่ี บียดเบียนกุศลกรรม โดยชักนำให้พระภิกษุนน้ั เกิดความคิดขึน้ ชัว่ ขณะจิตหนึง่ ว่า

“เออ ตัง้ แต่อาตมะมาอยูท่ น่ี ก่ี เ็ ป็นเวลานาน ได้อาศัยท่านอาจารย์แบ่งปันอาหาร ให้บริโภคด้วยความ


เมตตา ทัง้ นีก้ เ็ พราะอาตมะต้องใช้เวลาให้หมดสิน้ ไปด้วยการเรียนพระพุทธพจน์บาลีอย่างคร่ำเคร่ง เออก็บดั นี้
อาตมะเป็นผูว้ า่ งอยู่ การทีจ่ ะอาศัยครูบาอาจารย์บริโภคอาหารของท่านไปเปล่าๆ นัน้ หาเป็นการสมควรไม่ ถ้า
กระไร อรุณสมัยพรุง่ นี้ อาตมะจักเข้าไปในบ้านเพือ่ บิณฑบาต หากได้อาหารดีรสประหลาดก็จะนำไปถวายท่าน
อาจารย์ เป็นการทดแทนคุณท่านบ้าง อย่างนีก้ ค็ งจักเป็นการดี”

คิดดังนี้แล้ว ภิกษุหนุ่มก็มีจิตผ่องแผ้ว จัดแจงทำความสะอาดบาตรซึ่งตนมิได้ใช้มานานให้เรียบร้อย


โดยลืมสัญญาเดิมทีต่ นให้ไว้แก่อาจารย์เสียสิน้ พออรุณสมัยได้เวลาก็นงุ่ ห่มผ้าให้เป็นปริมณฑล แล้วเดินเข้าไปใน
บ้านเพือ่ บิณฑบาต คราวนัน้ ยังมีบตุ รีแห่งตระกูลหนึง่ ซึง่ นุง่ ห่มผ้าสีเหลืองราวกับว่าทองออกมายืนอยูท่ ป่ี ระตู
เรือนเพือ่ จะใส่บาตรแก่พระภิกษุสงฆ์ดว้ ยใจศรัทธา นางกุลธิดานัน้ ครัน้ เห็นพระภิกษุหนุม่ หน้าใหม่กม็ จี ติ รัก
ใคร่ผกู พันธ์ มีราคะบังเกิดรัดรึงหทัย เพราะความเสน่หาในพระภิกษุหนุม่ เป็นกำลัง เจ้าจึงค่อยน้อมเอาข้าวยาคู
มาใส่ลงในบาตรพระภิกษุนน้ั แล้ว ก็รบี กลับเข้าไปในห้อง ขึน้ นอนบนเตียงระลึกถึงภิกษุหนุม่ ทีเ่ จ้ารักใคร่อยูด่ ว้ ย
ความกระวนกระวาย...ทีนน้ั มารดาและบิดาจึงเข้าไปไต่ถามว่า
“ดูกร ลูกรัก ! เจ้าเป็นอะไร เจ็บไข้อย่างไรหรือ จึงได้มอี าการผิดแปลกไปดังนี้ ?”

บุตรีสาวก็บอกความโดยไม่ปดิ บัง พลางร้องไห้สะอึกสะอืน้ ว่า

 ⌫ 
“ข้าแต่พอ่ และแม่ทง้ั สอง ! ถ้าลูกนีไ้ ม่ได้พระภิกษุหนุม่ ทีเ่ ธอมาบิณฑบาตนัน้ เป็นสามีดงั ใจปอง เห็นว่า
ชีวติ ของลูกนีต้ อ้ งตายไม่รอดเป็นคน จะขอลามารดาบิดาตายเสียในครัง้ นี”้

มารดาบิดาได้ฟงั ลูกว่าดังนัน้ ก็แลดูหน้ากันด้วยความงงงวย แม้จะช่วยกันปลอบโยนให้เลิกล้มความคิด


นัน้ เสีย นางก็หายินยอมไม่ ได้แต่นอนนิง่ เฉยอยู่ ในทีส่ ดุ ท่านผูเ้ ฒ่าทัง้ สองจึงปรึกษากันซุบซิบ ครัน้ เห็นพร้อม
ยอมใจกันแล้ว ก็รบี ลงจากเรือนขมีขมันวิง่ ตามพระภิกษุนน้ั ไปทัง้ สองคน ครัน้ ไปพบพระภิกษุหนุม่ ซึง่ กำลังจะ
เดินทางกลับวิหารเข้าทีก่ ลางทาง จึงวิง่ ถลันเข้าดักหน้า น้อมกายถวายมนัสการแล้วกล่าวว่า

“ขอนิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้า ไปฉันอาหารทีเ่ รือนของข้าพเจ้าทัง้ สองด้วยเถิด”

“รูปรับนิมนต์ไม่ได้หรอกประสกสีกา ! เพราะว่าวันนีร้ ปู ได้อาหารพอแก่ความต้องการแล้ว”

“ขอได้โปรดกรุณาเถิด พระคุณเจ้า ! ลูกสาวของข้าพเจ้าเป็นผูใ้ ช้ให้มานิมนต์”

“ใครจะมานิมนต์อย่างไร รูปนีก้ ร็ บั ไม่ได้ เพราะได้อาหารพอแล้ว และจะรีบกลับวัด”

“เดีย๋ วก่อน พระผูเ้ ป็นเจ้า! คือว่าลูกของข้าพเจ้าคนทีน่ งุ่ เหลืองห่มเหลืองถวายข้าวยาคูแก่ทา่ นเมือ่ ครูน่ ้ี


บัดนีเ้ จ้ามีความรักใคร่ในตัวท่านเป็นยิง่ นัก อยากได้ทา่ นเป็นสามี ขอพ่ออย่าให้เสียไมตรีเลย โยมนีก้ ม็ ใิ ช่คนยาก
จน ผูค้ นข้าทาสภาชนะใช้สอยเงินทองของเราก็มมี าก ลูกเต้าของโยมเล่าก็ไม่มี มีแต่ลกู สาวคนเดียวเป็นทีร่ กั ดัง
ดวงใจ โยมนีจ้ ะตัง้ พ่อไว้เป็นบุตรผูใ้ หญ่ พ่อจะมีชวี ติ ในฆราวาสวิสยั อยูอ่ ย่างสบาย ไม่ตอ้ งขวนขวายให้ลำบาก
กายเลย”

ภิกษุหนุม่ ได้ฟงั ดังนัน้ แล้ว ก็หามีความสนใจไม่ จึงกล่าวตอบไปว่า

“ดูกอ่ นประสกสีกา ! รูปนีไ้ ม่มคี วามปรารถนา ไม่ตอ้ งประสงค์ในฆราวาสวิสยั ให้เป็นปลิโพธกังวลไป


เปล่าๆ รูปจะเข้ากรรมฐาน”

ว่าเท่านี้แล้ว ก็สาวท้าวก้าวเดินไปจากสถานที่นั้น แม้จะถูกท่านผู้เฒ่าเฝ้าวิงวอนว่า “อนิจจา !


อะไรนี่พ่อจะมาตัดไมตรีเสียเลยทีเดียวหรือ ขอพ่อจงคิดจงตรองดูก่อนให้จงดี” ก็หาได้เอื้อเฟื้ออาลัยใยดีไม่
เพราะตนมีใจผูกพันมุง่ มัน่ ในการทีจ่ ะปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐาน ฝ่ายมารดาบิดาของหญิงสาว เมือ่ ไม่สมความคิด
ก็เดินคอตกกลับมาเรือน เล่าให้ลกู สาวฟังถ้วนถีแ่ ล้วกล่าวว่า

 ⌫⌫
“สุดทีม่ ารดาบิดาจะอ้อนวอนเจ้ากูได้แล้ว ด้วยว่าเธอเคร่งครัดตัดขาดไม่อาลัย ว่าเท่าไรวอนเท่าไรเจ้ากูก็
ไม่ยนิ ดี จะเสียใจไปใยนะเจ้า ลูกจงลุกขึน้ กินข้าวกินน้ำเสียเถิด จะหาให้เจ้าใหม่เลือกเอาแต่ทด่ี ๆี มีรปู งามตาม
ใจเจ้าทุกสิง่ สรรพ์”

ธิดาสาวผูม้ นี ำ้ ใจใฝ่รกั ในพระภิกษุหนุม่ เป็นยิง่ นัก เมือ่ รูว้ า่ ตนพลาดรักดังนัน้ ก็หนั หลังให้บดิ ามารดา
แล้วปริเทวนาการร่ำไห้สะอึกสะอื้นด้วยความน้อยใจในวาสนาตัว มีความประสงค์ที่จะตาย จึงไม่รับประทาน
อาหารเป็นเวลานานถึง ๗ วัน ไฟราคะก็เข้าเผาผลาญสังหารจิต สิน้ ชีวติ ลงอย่างน่าสงสาร ! มารดาบิดามีความ
เสียใจอย่างสุดซึง้ แทบว่าจะขาดใจไปตามบุตรสาว ในทีส่ ดุ เมือ่ กระทำสรีรกิจปลงศพบุตรสาวสุดรักแล้ว จึงนำ
เอาผ้าสีเหลืองซึง่ บุตรสาวเคยห่มนัน้ ไปถวายแก่ภกิ ษุสงฆ์ ณ วิหารใกล้บา้ น พระภิกษุสงฆ์ทง้ั ปวงก็ตดั ผ้านัน้
ออกเป็นท่อนๆ แล้วแจกกัน เป็นการแบ่งปันลาภซึง่ ได้มาโดยชอบธรรมตามธรรมเนียมสงฆ์ พระภิกษุแก่องค์
หนึง่ เป็นหลวงตา ได้รบั แจกผ้าท่อนหนึง่ เป็นส่วนของตน แล้วก็ออกจากวิหารนัน้ เดินไปยังทีฆวาปีวหิ าร

“เอ๊ะ...หลวงตา ! ไปได้ผา้ ทีไ่ หนมา? สวยดีน่ี ผ้าเหลืองผืนนี”้ พระภิกษุหนุม่ ถามเล่นๆ ด้วยความคุน้


เคย เพราะว่าหลวงตาภิกษุแก่ผนู้ เ้ี คยมาเทีย่ วทีฆวาปีวหิ ารอยูเ่ สมอมา

“เอ๊ะ ! ผ้าผืนนีส้ ำคัญ” ภิกษุแก่ผมู้ อี ารมณ์สนุกขบขันกล่าวด้วยอาการยิม้ พราย

“สำคัญอย่างไร ไหนลองว่าไปซิ” ภิกษุหนุม่ ซักขึน้ ด้วยอารมณ์สนุกเช่นกัน พลางลูบคลำผ้าเหลืองผืน


น้อยนัน้ ไปมา

“มันมีประวัตนิ ะซิ” หลวงตาแก่พดู ขึน้ และการพูดมากนีก่ เ็ ป็นธรรมดาของหลวงตาเฒ่าผูน้ อ้ี ยูแ่ ล้ว เพราะ
ฉะนัน้ ตะแกจึงพูดเรือ่ ยเปีอ่ ยไปตามทีไ่ ด้ยนิ ได้ฟงั มา บางทีกเ็ พิม่ เติมเอาบ้างก็มี “ผ้าผืนนีท้ เ่ี ห็นว่าสวยก็เป็นของ
ธรรมดา แต่วา่ เจ้าของผ้านัน่ สิ กลับสวยกว่าเป็นไหนๆ ด้วยว่าเจ้าของผ้าผืนนีเ้ ป็นสาวแต่วา่ น่าสงสารทีต่ อ้ งมาตาย
ด้วยเหตุอนั ไม่สมควร เหตุทเ่ี จ้าจะตายนัน้ เขาเล่ากันว่า เมือ่ ประมาณสัก ๗ - ๘ วันมานี้ มีพระภิกษุโง่รปู หนึง่
เข้าไปบิณฑบาตในบ้านเจ้า จะเป็นเพราะปุพเพสันนิวาสหรืออย่างไรก็ไม่ทราบ เจ้าเกิดรักภิกษุนน้ั อย่างจับจิต
จับใจในขณะทีไ่ ด้เห็นหน้ากันเท่านัน้ ถึงกับไม่ยอมกินข้าวกินปลา พ่อแม่เห็นท่าจะไม่ได้การ จึงเข้าไปหาพระรูป
นัน้ เล่าเรือ่ งให้ฟงั และนิมนต์ให้ไปบ้าน พระงัง่ นัน่ ก็ใจไม้ไส้ระกำสิน้ ดี แทนทีจ่ ะตอบรับหรือพูดกับแกดีๆ กลับ
บอกปัดอย่างสิน้ อาลัยใยดีวา่ จะเข้ากรรมฐาน นางผูน้ า่ สงสารทนพิษรักทรมานอยู่ ๗ วันก็ตรอมใจตาย ก่อนที่
จะตายก็พร่ำเพ้อรำพันถึงพระรูปนัน้ จนสิน้ ใจ วันนีเ้ ขาเอาศพไปเผาทีป่ า่ ช้า แล้วเอาผ้าผืนนีท้ เ่ี จ้าเคยรักถวายแก่
พระภิกษุสงฆ์ให้แบ่งกัน เราคิดๆ ไปก็ให้สงสารนางผูไ้ ร้เดียงสาสุดกำลัง และเกลียดชังพระงัง่ ซึง่ เป็นต้นเหตุให้
นางตายเหลือเกิน ไม่รวู้ า่ เป็นพระอยูว่ หิ ารไหน หรือว่าจะเป็นท่านเสียก็ไม่รู้ ไหน...ได้ขา่ วว่าจะเข้ากรรมฐานด้วย
เหมือนกันมิใช่รึ ?” ถามขึน้ ในตอนท้ายด้วยหวังจะล้อเล่น

 ⌫ 
แต่ถา้ หากหลวงตาแก่ปากมากผูน้ น้ั จะสังเกตสีหน้าภิกษุหนุม่ คูส่ นทนา ก็จะรูไ้ ด้วา่ ไม่ใช่เป็นเรือ่ งล้อเล่น
เสียแล้ว เพราะในขณะทีฟ่ งั หลวงตาแก่เล่าไปตามอารมณ์นน้ั ภิกษุหนุม่ ผูม้ กี รรมเกิดความหวัน่ ไหวขึน้ ในดวงจิต
ตื้นตันใจสงสารนางสุดพรรณนามองเห็นภาพนางที่กำลังใส่ข้าวยาคูลงในบาตรตนด้วยอาการอันประหม่าใน
วันนัน้ มาลอยเด่นอยูต่ รงหน้า จึงได้แต่รำพึงรำพันด้วยความเสียใจอย่างสุดซึง้ ว่า

“อหา...มันเป็นความบ้าของตัวอาตมาเอง เหตุรา้ ยจึงได้เกิดขึน้ เช่นนี้ นีห่ ากว่าอาตมาไม่ไง่เขลาจนเกิน


ไป ก็คงจักได้อยูร่ ว่ มรสสมัครสังวาสกับนางกุลธิดา ซึง่ เป็นผูม้ คี วามซือ่ สัตย์ มอบดวงใจรักอันบริสทุ ธิผ์ ดุ ผ่องให้
แก่อาตมาแต่ผเู้ ดียวจนกระทำกาลกิรยิ าตายไปเห็นปานดังนี้ จะหาหญิงใดในปฐพีทจ่ี ะมีนำ้ ใจประเสริฐเกินกว่า
เจ้าในเรือ่ งรัก เห็นจักไม่มอี กี แล้ว...”

ในขณะนัน้ ด้วยความสงสารนางสุดหัวใจ และด้วยความเสน่หาอาลัยอย่างสุดซึง้ เพลิงราคะกล้าอันหมัก


หมมอยูใ่ นสันดานมาหลายล้านโกฏิชาติ ก็ลกุ ขึน้ เผาผลาญเอาดวงหทัยแห่งภิกษุหนุม่ ผูม้ กี รรมนัน้ จนกระทำ
กาลกิรยิ าตายต่อหน้าหลวงตาแก่ผเู้ ล่าเรือ่ ง ณ ทีน่ น่ั เอง ซึง่ ยังความตกตลึงพรึงเพริดให้แก่หลวงตาผูน้ น้ั เป็น อันมาก
ด้วยประการฉะนี้

จากเรือ่ งทีเ่ ล่านี้ ท่านผูม้ ปี ญ


ั ญาคงจักเห็นแล้วว่าอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศล ย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าเบียดเบียน
กุศลแห่งพระภิกษุหนุน่ รูปนัน้ โดยทีเ่ ธอมีความมุง่ มัน่ ปรารถนาจักได้ปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานเพือ่ บรรลุมรรค
ผลนิพพานอยู่โดยแท้ แต่ถูกอุปปีฬิกกรรมฝ่ายอกุศลเข้ากางกั้น ทำให้เธอเผลอสติผิดสัญญาที่ให้ไว้กับท่าน
อาจารย์เข้าไปบิณฑบาตในบ้านจนเกิดเหตุทำให้ท่านถึงแก่กาลกิริยาตาย ไม่มีโอกาสที่จักได้บรรลุมรรคผล
นิพพาน ทัง้ ๆ ทีม่ โี ครงการว่าจะเข้าไปปฏิบตั วิ ปิ สั สนากรรมฐานในวันพรุง่

ทีน้ี เราควรจะพูดกันถึงการทำหน้าทีข่ องอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลบ้าง อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล เมือ่ ติด


ตามมาทันบุคคลผูก้ ำลังประสบโชคร้าย ด้วยอำนาจแห่งอกุศลกรรมความชัว่ กำลังให้ผลอยู่ ในขณะเริม่ ต้นที เดียว
อุปปีฬิกกรรมฝ่ายกุศลนี้ย่อมทำหน้าที่เข้าไปเบียดเบียนทำร้ายอกุศลกรรมความชั่วที่กำลังให้ผลอยู่นั้น
ขับไล่ให้หนีหายเตลิดเปิดเปิงไป แล้วย่อมแสดงอาการประดุจจะกล่าวปลอบโยนออกมาเป็นภาษามนุษย์วา่

“ดูกรท่านผูเ้ ป็นคนดี ! เรานีม้ คี วามเสียใจนัก ไม่รวู้ า่ ท่านทีเ่ รารัก จักมาบังเกิดอยู่ ณ ทีน่ ่ี และกำลัง
เผชิญกับเคราะห์รา้ ยอย่างน่าเวทนา ถ้าเรารูเ้ รือ่ งแต่เดิมทีแล้ว ก็จกั มิยอมให้ทา่ นมาบังเกิดทีน่ เ่ี ลยเป็นอันขาด
เรานีจ้ กั สูอ้ ตุ ส่าห์พาท่านไปเกิดเป็นเทวดา สถิตอยู่ ณ จาตุมหาราชิกาภูมิ หรือมิฉะนัน้ ก็จะพากันไปอุบตั เิ กิด ณ
ตาวติงสาภูม,ิ ยามาภูม,ิ ดุสติ าภูม,ิ นิมมานรตีภมู ,ิ ปรนิมมิตวสวัตตีภมู ิ สถิตเสวยสุขอยู่ ณ สรวงสวรรค์ให้สม
กับการทีท่ า่ นเป็นคนดีมาก่อน เอาเถิด ถึงแม้วา่ ท่านจักได้มาเกิดเป็นมนุษย์แล้ว และได้ประสบ กับความทุกข์
ยากลำบากมานานแล้วอย่างนี้ก็ตาม ขอท่านจงอย่าได้น้อยน้ำใจไปเลย อย่าระแวงใจว่าจะไม่ได้ดีมีความสุข
ความเจริญ เรานีช้ อ่ื อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล ทีท่ า่ นสร้างไว้ ติดตามท่านผูเ้ ป็นนายมานานแล้ว เพิง่ มาพบท่าน

 ⌫⌫
วันนี้ ได้เห็นท่านกำลังเคราะห์รา้ ยมีชวี ติ อับเฉา เพราะถูกเจ้าอกุศลกรรมความชัว่ ซึง่ เป็นปรปักษ์กบั เรา มัน
กำลังเข้าเบียดเบียนบีฑาท่านอยู่ จึงได้ตอ่ สูแ้ ละขับไล่เจ้าอกุศลกรรมจัญไรนัน้ ไปหมดแล้ว บัดนีข้ อท่านจงทำใจ
ให้ผอ่ งแผ้วเถิด เรานีจ้ กั ทำให้ทา่ นได้ดมี คี วามสุข จักทำให้ทา่ นพ้นทุกข์พน้ ภัย จักทำให้ทา่ นได้ประสบความ
สดใสแห่งชีวติ ตลอดไป สิง่ ไรทีท่ า่ นหวังไว้ ก็จกั ช่วยให้สำเร็จสมความปรารถนา ทำดังนีใ้ ห้สาสมกับน้ำใจดีของ
ท่าน เพราะแต่ปางก่อนนัน้ ท่านเป็นคนดี ได้เคยก่อกรรมทำดีเอาไว้...”

มีอาการประหนึง่ ว่าจะปลอบประโลมเอาอกเอาใจ ด้วยความจงรักภักดีดงั นีแ้ ล้ว อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลนัน้


ก็เข้าทำหน้าที่ของมัน บันดาลให้ผู้มีกรรมดีแต่ปางก่อนนั้นประสบความสุขความเจริญ วิถีชีวิตที่กำลัง
ทำท่าว่าจะอับเฉาร่วงโรย ก็กลายเป็นชีวติ ทีร่ งุ่ เรืองสุกใส ชีวติ ทีม่ ที ที า่ ว่าจะไปสูอ่ บาย ก็กลายเป็นชีวติ ทีม่ งุ่ หน้า
ไปสูค่ ติภพ ! ในกรณีทอ่ี ปุ ปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลเข้าทำหน้าทีข่ องมันนี้ ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลายพึงทราบได้
จากตัวอย่าง ตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

ต้นคดปลายตรง
ได้สดับมาว่า สมัยพุทธกาล ยังมีบรุ ษุ ผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นคนมีลกั ษณะเหีย้ มโหดดุรา้ ย นัยน์ตาเหลือกเหลือง
ผมเผ้าพะรุงพะรังดังคนป่า ทัว่ กายาโดยเฉพาะทีห่ น้าอกมีขนงอกออกมา หนวดเครายาวรุม่ ร่ามมีสแี ดง รวม
ความแล้วก็วา่ เขาเป็นคนมีทา่ ทางดุรา้ ยน่าเกรงขามยิง่ นัก นายเคราแดงนีไ้ ม่มอี าชีพอะไร วันหนึง่ เพือ่ นกลุม้ ใจ
จึงเดินทางเข้าไปสูป่ า่ ใหญ่ ตัง้ ใจว่าจะไปสมัครเป็นโจร ครัน้ ไปถึงบริเวณซ่องโจรแล้ว ก็ถกู หมูโ่ จรต้นทางพาเข้า
ไปหานายโจร ซึง่ กำลังนอนสบายอยูใ่ นซ่อง

“เอ็งมาทำไม?” นายโจรถาม

“ข้าพเจ้าเป็นคนว่างงาน อยูใ่ นบ้านในเมือง คนทัง้ หลายเขาก็พากันดูถกู ดูหมิน่ นัก เลยคิดว่าจะมาสมัคร


เป็นโจรอยูก่ บั ท่าน” เขาตอบ

นายโจรซึง่ เป็นผูช้ ำนาญในปุรสิ ลักษณะ พิจารณาดูลกั ษณะของเขาแล้ว ก็เห็นซึง้ เข้าไปถึงนิสยั ใจคอ


ของเขาว่า

“เจ้าคนนีม้ นั มีนสิ ยั เหีย้ มมาก เพราะลักษณะอันกักขฬะในกายตัวของมันบ่งบอกว่า มีใจกล้าแข็งสามารถ


ทีจ่ ะตัดถันธาราของมารดาทีเ่ ลีย้ งชีวติ มัน และสามารถทีจ่ ะดืม่ โลหิตในลำคอแห่งบิดาของมันได้อย่างสบาย คน
ลักษณะจัญไรเช่นนีต้ ำราบอกว่าไม่ควรจะรับไว้ในหมู”่

 ⌫ 
พิจารณาดูลกั ษณะเสร็จสิน้ ด้วยความรอบคอบตามวิสยั แห่งนายโจรแล้วก็บอกปฏิเสธ ไม่รบั เข้าเป็น
สมัครพรรคพวก นายเคราแดงผูผ้ ดิ หวังก็ไม่ละทิง้ ความพยายาม อุตส่าห์เข้าไปฝากตัวอยูก่ บั สมุนโจรคนหนึง่
พยายามรับใช้ปฏิบตั ใิ ห้เป็นทีถ่ กู ใจ แล้วก็ออ้ นวอนให้สมุนโจรคนนัน้ นำตนเข้าไปฝากกับนายโจรอีกครัง้ หนึง่
สมุนโจรก็นำเขาเข้าไปหานายโจร แล้วช่วยพูดสนับสนุนให้นายโจรเห็นว่านายเคราแดงนัน้ เป็นคนดีสมควรทีจ่ ะ
รับไว้เพือ่ เป็นกำลังต่อไป นายโจรทนต่อคำวิงวอนไม่ได้กร็ บั ไว้ทง้ั ๆ ทีไ่ ม่คอ่ ยจะเต็มใจเท่าใดนัก

ต่อมาฝ่ายบ้านเมืองได้พจิ ารณาเห็นว่า โจรก๊กนัน้ ซึง่ มีประมาณหลายร้อยคน เทีย่ วออกปล้นรังควาญ


ชาวบ้านให้ได้รับความเดือดร้อนมานาน จึงวางแผนคิดจะปราบปรามในขั้นเด็ดขาด แล้วได้ระดมเจ้าหน้าที่
มากมายเข้าทำลายซ่องโจร จับพวกโจรทัง้ หมดมาขึน้ ศาล อำมาตย์ผวู้ นิ จิ ฉัยคดีทง้ั หลาย ได้มคี วามเห็นร่วมกัน
พิพากษาว่า

“โจรเหล่านัน้ มีความผิดมากมาย โทษถึงต้องประหารและการประหารนัน่ ต้องใช้ขวานตัดศีรษะ จึงจะ


พอแก่ความผิดอันเป็นอุกฤษฏ์โทษ !”

เจ้าพนักงานผู้มีหน้าที่ทำตามคำพิพากษาได้รับความหนักใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะพวกโจรมีมากมาย
เหลือเกิน และผูท้ จ่ี ะทำหน้าทีป่ ระหารก็ไม่มี ในทีส่ ดุ จึงถามนายโจรขึน้ ว่า

“นีแ่ น่ะ นายโจร ! ถ้าท่านจักรับหน้าทีป่ ระหารโจรบริวารของท่านในครัง้ นีแ้ ล้ว ท่านก็พน้ โทษไม่ถกู


ประหารอย่างนีท้ า่ นจะเอาไหมเล่า?”

“เอาข้าพเจ้าไปประหารเสียเถิด อย่าพูดอย่างนีเ้ ลยข้าพเจ้ายอมตายเสียดีกว่า ทีจ่ กั คิดฆ่าบริวารทัง้ หลาย


ซึง่ ได้เคยร่วมเป็นร่วมตายกับข้าพเจ้ามา” นายโจรตอบ

เจ้าพนักงานเทีย่ วถามโจรทัง้ หลายโดยนัยนี้ แต่กไ็ ม่มใี ครทีม่ ใี จหยาบช้าคิดฆ่าเพือ่ นได้ลงคอ ต่างคน


ต่างก็ปฏิเสธเสียสิน้ แต่เมือ่ มาถามเจ้าคนสุดท้าย ซึง่ มีรา่ ยกายกำยำเคราแดงยาวรุม่ ร่าม มันก็พยักเอาอย่าง
หน้าตาเฉย รับอาสาฆ่าโจรทัง้ หลายให้ตายไปจนหมดสิน้ เจ้าพนักงานราชทัณฑ์จงึ ให้รางวัลแก่มนั แล้วปล่อย
ตัวไปให้เป็นอิสระตามสัญญา ภายหลังต่อมา เจ้าหน้าที่จับโจรมาได้อีกหลายร้อย เมื่อผู้พิพากษาตัดสินให้
ประหารแล้ว และไม่มใี ครสามารถทำหน้าทีป่ ระหาร เจ้าพนักงานก็บงั เกิดความหนักใจอีกเช่นเคย ให้พวกโจร
ประหารกันเองมันก็ไม่ยอม ในทีส่ ดุ ก็นกึ ถึงเจ้าบุรษุ เคราแดงนัน้ ขึน้ ได้จงึ ปรึกษากันว่า
“คราวก่อนพวกเราก็บังเกิดความหนักใจเช่นนี้ แต่เคราะห์ดีที่ได้โจรเคราแดงมันช่วยรับภาระธุระไป
บ้านช่องของมันอยูท่ ไ่ี หนหนอ ทำไมเราจึงจะตามตัวมันพบ?”

“เมือ่ เร็วๆ นี้ ข้าพเจ้ายังเห็นเขาเทีย่ วเดินเกะกะอยูแ่ ถวตลาดในเมืองนีเ่ อง” เจ้าพนักงานราชทัณฑ์หนุม่


คนหนึง่ กล่าวขึน้

 ⌫⌫
“ถ้าเช่นนัน้ พวกท่านจงไปตามตัวเขา แล้วบอกว่าข้าพเจ้าต้องการพบ ขอให้ทา่ นพยายามตามเอาตัว
มาให้ได้” เจ้าพนักงานผูเ้ ป็นหัวหน้าออกคำสัง่

ในไม่ชา้ นายเคราแดงก็ถกู เจ้าพนักงานนำมาพบหัวหน้า เมือ่ บอกราคาว่าจ้างฆ่าโจรเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว


ก็ลงมือประหารโจรทั้งหลายให้ตายไปจนหมดสิ้นเหมือนครั้งก่อน ครั้นการประหารชีวิตโจรเสร็จสิ้นและให้
ค่าจ้างแก่เขาตามสัญญาแล้วเจ้าพนักงานจึงปรึกษากันอีกว่า

“เจ้าโจรเคราแดงนี้ เพือ่ นเป็นคนแข็งแรง และน้ำใจก็กล้าแข็งเด็ดเดีย่ ว สามารถฆ่าคนในคราวเดียวติด


ต่อกันไปเป็นร้อยๆ ควรทีพ่ วกเราจะบรรจุเขาไว้ในตำแหน่งพนักงานฆ่าโจร มีเงินเดือนประจำ เพือ่ พวกเราจะได้
ไม่ลำบากภายหลังเห็นจะเป็นการดี”

ปรึกษากันดังนีแ้ ล้ว ก็เรียกนายเคราแดงมาถามความสมัครใจ เมือ่ เขาไม่ปฏิเสธแล้ว ก็บรรจุเข้าเป็น


ข้าราชการในตำแหน่งเจ้าพนักงานฆ่าโจรประจำเมืองตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา นายเคราแดงผูท้ รงพลังรับจ้างฆ่า
โจรเป็นอาชีพเรือ่ ยมาตัง้ แต่หนุม่ จนแก่ เป็นเวลาช้านานถึง ๕๕ ปี บัดนีก้ ำลังวังชาของเขาชักจะถอยถดลดน้อย
ลง เคยฟันโจรผูต้ อ้ งประหารคอขาดกระเด็นในครัง้ เดียว แต่บดั นีต้ อ้ งฟันซ้ำถึง ๒ - ๓ ครัง้ จึงจะยังโจรนัน้ ให้คอ
ขาดได้ ซึง่ ทำความลำบากให้แก่โจรผูต้ อ้ งตาย และก่อความสังเวชให้เกิดแก่ประชาชนคนดูการประหารเป็นอัน
มาก อำมาตย์ทั้งหลายซึ่งเป็นเจ้านายของเขา จึงกราบทูลเรื่องนี้แด่องค์สมเด็จพระราชาธิบดี พระองค์ก็ทรง
โปรดให้ถอดเขาออกจากหน้าทีเ่ พชฌฆาตฆ่าโจร แล้วรับสัง่ ให้ตง้ั บุรษุ ซึง่ ยังหนุม่ แน่นสืบแทนตัวเขาต่อไป

ตลอดจนเวลาทีเ่ ขารับตำแหน่งเป็นเพชฌฆาตฆ่าโจรประจำเมืองมาเป็นเวลาช้านานถึง ๕๕ ปีนน้ั ผ้า


ทีใ่ หม่ๆ เขาก็ไม่เคยนุง่ ดอกไม้ทห่ี อมๆ เขาก็ไม่เคยทัดไม่เคยทรง ข้าวปายาสอันรสเลิศเขาก็ไม่เคยได้บริโภค
เครือ่ งอบเครือ่ งหอมอันหอมฟุง้ จรุงใจ เขาก็ไม่เคยแตะต้องเลย ฉะนัน้ เช้าวันทีเ่ ขาถูกปลดออกจากตำแหน่ง
เพราะครบเกษียณอายุ หลังจากได้รบั บำเหน็จเป็นเงินก้อน ซึง่ มีจำนวนมากพอสมควรแล้วเขาจึงมีความคิดขึน้ ว่า

“อาตมะกระทำกรรมอันเศร้าหมองมาช้านาน ไม่ได้แต่งกาย บำรุงกาย และไม่ได้บริโภคอาหาร อันมีรส


อร่อยเลย วันนีแ้ หละอาตมะจะอาบน้ำชำระกาย แล้วจะได้หาซือ้ จุณจันทร์เครือ่ งหอม จะนุง่ ผ้าทีป่ ระณีตบรรจงให้
งดงาม แล้วจะบริโภคซึง่ ข้าวปายาสให้สบายใจสักวันหนึง่ เถิด”
ครัน้ คิดตกลงใจดังนีแ้ ล้ว ก็แวะเข้าไปในร้านตลาดเทีย่ วซือ้ ผ้านุง่ ห่มใหม่ๆ เลือกเอาแต่ชนิดทีส่ วยงาม
ถูกใจทีส่ ดุ แล้วก็เข้าไปในร้านดอกไม้ เลือกซือ้ เอาดอกไม้ตา่ งๆ ทีม่ กี ลิม่ หอมเช่นดอกมะลิเป็นต้น พร้อมกับกระแจะ
จันทร์นำ้ อบ น้ำปรุงต่างๆ แล้วก็หอบข้าวของพะรุงพะรังกลับไปบ้านด้วยหน้าตาชืน่ บานยิม้ แย้มแจ่มใส ครัน้ ถึง
แล้วก็มอบเงินให้ภรรยาก้อนหนึง่ พร้อมกับสัง่ ให้จดั แจงหาเครือ่ งปรุงมาปรุงอาหารให้ดที ส่ี ดุ เท่าทีจ่ กั ดีได้ สัง่ เสร็จ
แล้วจึงให้คนใช้ถอื เอาเครือ่ งแต่งตัวทีต่ นเพิง่ ซือ้ มา แล้วเดินลงไปสูท่ า่ น้ำ อาบน้ำดำเกล้าทาจุณขัดสีกายให้หมด
คราบเพชฌฆาต แล้วก็โกนหนวดโกนเครา นุง่ ห่มใหม่ลบู ไล้ชโลมกายด้วยเครือ่ งหอม และทัดทรงดอกไม้อนั ส่ง
กลิน่ หอมเป็นทีร่ น่ื รมย์ใจเดินขึน้ ไปบนบ้าน นัง่ บนอาสนะทีจ่ ดั ไว้เรียบร้อยรอคอยทีจ่ ะบริโภคอาหาร ในขณะนัน้

 ⌫ 
ภรรยาผู้รู้ใจเขา ก็จัดแจงยกเอาอาหารอันประณีตล้วนแต่อร่อยเลิศรสมาวางไว้ตรงหน้า พร้อมทั้งน้ำล้างมือ
แล้วก็เชือ้ เชิญให้เขาบริโภค

อุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล ทีเ่ ขาได้สร้างสมเอาไว้แต่ปางบรรพ์ ได้เริม่ ทำหน้าทีแ่ ล้ว นัน่ คือ เช้าวันนัน้ องค์
พระธรรมเสนาบดีสารีบตุ รเถระออกจากนิโรธสมาบัตแิ ล้ว พระผูเ้ ป็นเจ้าจึงพิจารณาดูทภ่ี กิ ขาจารแห่งตนว่า

“วันนี้ สมควรทีเ่ ราจักไปโปรดใครทีไ่ หนหนอ?”

เมื่อพระผู้เป็นเจ้าพิจารณาไป ก็เห็นนายเคราแดงผู้เป็นเพชฌฆาตฆ่าโจรมาข้องอยู่ในข่ายแห่งญาณ
แล้วพระผูเ้ ป็นเจ้าจึงพิจารณาสืบต่อไปว่า เมือ่ ไปโปรดเขาแล้วจักมีผลเป็นอย่างไร ในทีส่ ดุ ก็เห็นว่า

“เมือ่ เราไปโปรดนายเคราแดงในวันนีแ้ ล้วเขาจักได้สมบัตใิ หญ่ ซึง่ ใครๆในโลกนีไ้ ม่อาจทีจ่ ะให้แก่เขาได้เลย”

ครัน้ พระผูเ้ ป็นเจ้าธรรมเสนาบดีสารีบตุ รมาทราบชัดฉะนีแ้ ล้ว จึงเตรียมองค์นงุ่ สบงทรงจีวร มีกรถือบาตร


มาแสดงตนอยูท่ ป่ี ระตูเรือนแห่งนายเคราแดงนัน้ ด้วยอริยฤทธิ์ นายเคราแดงผูก้ ำลังจะบริโภคอาหารให้สบายใจ
ครัน้ เหลือบสายตาขึน้ แลเห็นองค์พระธรรมเสนาบดีสารีบตุ ร มายืนอยูต่ รงหน้าโดยฉับพลันเช่นนัน้ ก็มจี ติ ปสันนา
การเลือ่ มใส คิดดีใจตนว่า

“อาตมะได้ทำโจรฆาตกรรม คือฆ่าโจรมาสิน้ กาลช้านาน ฆ่ามนุษย์มามากมายจนนับไม่ถว้ น นับว่าได้


ทำบาปทำกรรมมามาก แต่ไม่เคยประกอบการกุศลเลยแม้แต่เพียงครัง้ เดียว บัดนีน้ บั ว่าเป็นโอกาสดี เพราะ
อาหารอย่างดีเลิศของเราก็มอี ยูแ่ ล้ว และองค์ธรรมเสนาบดีผมู้ ชี อ่ื เสียงเป็นพระเถระผูใ้ หญ่ในพระบวร พุทธศาสนา
ก็มีจิตกรุณาอุตส่าห์มาโปรดเราถึงประตูเรือนแล้ว นับว่าเป็นโชคดีของเรายิ่งนัก ควรที่เราจักถวาย
อาหารบิณฑบาตแก่พระผูเ้ ป็นเจ้าองค์ธรรมเสนาบดีเถิด ดีกว่าทีจ่ ะมาบริโภคด้วยตนเอง”

จึงพลันผลุดลุกขึน้ จากอาสนะ แล้วเข้าไปหมอบทีเ่ ท้าถวายมนัสการพระผูเ้ ป็นเจ้า อาราธนาให้เข้าไปนัง่


ภายในเรือน จัดแจงเอาอาหารทีต่ นหมายจะบริโภคทัง้ หมดนัน้ ใส่ลงในบาตรของพระเถระเจ้า แล้วน้อมนำเข้า
ไปถวายเพือ่ ให้พระเถระเจ้าฉันและยืนพัดอยูใ่ กล้ๆ ด้วยน้ำใจเลือ่ มใสยิง่ นัก ขณะทีแ่ ลดูองค์ธรรมเสนาบดีกำลัง
ฉันอาหารอันเลิศรสของตนอยูน่ น้ั เขาได้มอี ธั ยาศัยใคร่จะบริโภคบ้างเป็นกำลัง ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าอาหารอันเลิศ
รสประณีตเขาไม่เคยได้บริโภคมาเป็นเวลานานแล้ว องค์ธรรมเสนาบดีสารีบตุ ร ทราบอัธยาศัยในขณะนัน้ ของ
เขาเป็นอย่างดี จึงกล่าวอนุญาตว่า

“อุบาสก ! จงบริโภคอาหารอันเป็นส่วนของท่านเถิด”

 ⌫⌫
เขาจึงเรียกคนใช้มาให้พัดพระเถระแทน แล้วตนเองก็เริ่มลงมือบริโภคอาหารอันเลิศรสตามความ
ปรารถนา ครัน้ รีบบริโภคจนอิม่ แล้ว จึงกลับมายืนพัดพระเถระตามเดิม

พระเถระเจ้าก็เริ่มอนุโมทนา ในกรณีที่เขาได้มีจิตศรัทธาถวายอาหารบิณฑบาตในครั้งนี้ แต่เขาไม่


สามารถทีจ่ ะส่งจิตไปตามกระแสพระธรรมเทศนาได้ พระเถระเจ้าจึงถามว่า

“อุบาสก ! เหตุไฉน ท่านจึงไม่ตง้ั ใจสดับธรรมกถาของเราด้วยดีเล่า ?”

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! เกล้ากระผมเป็นคนอัปลักษณ์เป็นคนกิเลสหนาปัญญาหยาบ ได้ทำกรรมอัน


เป็นบาปกักขฬะมานานนักหนา เกล้ากระผมได้ฆา่ คนมามากมายเหลือประมาณฉะนัน้ เมือ่ เกล้ากระผมระลึก
ถึงกรรมอันเป็นบาปหยาบช้าของตัว จึงไม่สามารถที่จะตั้งจิตให้เป็นสมาธิ สดับตรับฟังพระธรรมเทศนาที่
พระผูเ้ ป็นเจ้าแสดงได้ ขอรับกระผม”

องค์ธรรมเสนาบดีผฉู้ ลาดในอุบายวิธแี สดงพระธรรมเทศนา จึงกล่าวเป็นอุบายว่า

“ดูกรอุบาสก ! การทีท่ า่ นฆ่าคนมามากมายนัน้ ท่านเต็มใจฆ่าด้วยความสมัครใจตนเองหรือ หรือว่า


คนอืน่ ใช้ให้ฆา่ ?”

“มิได้สมัครใจหรอก ขอรับกระผม ! เกล้ากระผมเป็นข้าราชการในหน้าทีเ่ พชฌฆาต ก็จำต้องฆ่าตาม หน้าที่


จะได้มคี วามสมัครใจก็หามิได้” เขาตอบ

“เมือ่ เป็นเช่นนี้ การฆ่าคนของท่านจะจัดเป็นอกุศลกรรมหรือไม่เล่า อุบาสก?”

ก็เพชฌฆาตเฒ่านายเคราแดงนัน้ เขาเป็นคนไร้การศึกษา พอได้ยนิ พระมหาเถระว่าดังนัน้ ก็พลันตัด


สินใจด่วนสรุปความเอาเองว่า “ในกรณีทต่ี นฆ่าคนมากมายนัน้ คงไม่มบี าปไม่มกี รรมอะไร” จึงบังเกิดความดีใจ
มากมาย ปราศจากความหนักใจ เหมือนกับพระเถระเจ้าได้ยกภูเขาจากอกตนก็ปานกัน แล้วพลันกราบเรียน
พระเถระเจ้าขึน้ ว่า

“ถ้าเช่นนัน้ ขอนิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้าแสดงพระธรรมเทศนาโปรดเกล้ากระผมต่อไปเถิด เจ้าข้า”

แล้วก็ตั้งอกตั้งใจฟังพระธรรมเทศนาที่องค์ธรรมเสนาบดีแสดงอนุโมทนาทานอย่างแน่วแน่ พอจบ
พระธรรมเทศนา เขาผูม้ วี าสนาเพราะอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศลเข้าอุดหนุนก็ได้อนุโลมิกขันติกปัญญา ก็อนุโลมิก
ขันติกปัญญานี้ เป็นปัญญาทีอ่ ยูใ่ กล้พระโสดาปัตติมรรค ครัน้ องค์ธรรมเสนาบดีสารีบตุ รได้ทราบว่านายเคราแดง
ผู้มีชื่อจริงว่า “วาตะกาละกะ” ได้อนุโลมขันติกปัญญาแล้ว พระผู้เป็นเจ้ากล่าวคำอำลาเพื่อจะกลับวิหาร

 ⌫ 
วาตะกาลกะเคราแดงผูเ้ ป็นอุบาสกแล้วในบัดนี้ ก็ตามไปส่งพระผูเ้ ป็นเจ้าจนถึงครึง่ ทางแล้วก็กลับมา นางยักขิณี
ผูม้ เี วรผูกกันไว้แต่ชาติกอ่ น นิรมิตตนเป็นแม่โคบ้า ลุกแล่นไล่มา ครัน้ ถึงก็ชนนายวาตะกาลกะนัน้ ให้ลม้ ลงเหนือ
ปฐพี แล้วก็เหยียบย่ำขยีใ้ ห้ถงึ แก่ความตายอยู่ ณ กลางมรรคานัน่ เอง ! วาตะกาลกะอุบาสกเคราแดง ครัน้ แตก
กายทำลายขันธ์แล้วก็ไปบังเกิดเป็นเทพบุตรสุดโสภา ณ สรวงสวรรค์ชน้ั ดุสติ ซึง่ เป็นสวรรค์ชน้ั ที่ ๔ เสวยทิพย
สมบัตแิ สนจะเป็นสุขนักหนา ด้วยประการฉะนี้

หลังจากที่ได้ติดตามศึกษาเรื่องอุปปีฬิกกรรมนี้มา บัดนี้เราก็คงจักทราบได้เป็นอย่างดีแล้วว่า
อุปปีฬกิ กรรมนี้ หากว่าเป็นฝ่ายอกุศลคือฝ่ายชัว่ เมือ่ ตามมาทันบุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมเข้าแล้ว ก็ยอ่ มเข้าทำ
หน้าทีเ่ บียดเบียนกุศลกรรม ซึง่ ปกป้องคุม้ ครองบุคคลนัน้ ให้พลันพินาศไป แล้วก็เข้าอยูเ่ ป็นเจ้าเรือน บีบบังคับให้
บุคคลนัน้ ประสบภัยพิบตั นิ านาประการ บันดาลให้ชวี ติ ถึงความอับเฉา ไม่กา้ วหน้าไปเท่าทีค่ วร ดังนัน้ ต่อไปนี้
ถ้าเห็นผูใ้ ดผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นคนทีม่ คี วามสุขความเจริญแล้ว ยังมีอาการว่าเป็นผูม้ โี ชคดีประสบความสุขความเจริญ
ยิง่ ๆ ขึน้ ไป แต่แล้วก็คล้ายกับว่าโชคชะตามันเล่นตลกทำให้เขาเป็นผูต้ กต่ำและตกต่ำลงไปเรือ่ ยๆ เพราะภัย
พิบัตินานาประการอย่างไม่น่าจะเป็นไปได้ อย่างนี้ก็พึงทราบไว้เถิดว่า นั่นแหละคืออุปปีฬิกกรรมฝ่ายอกุศล
ตามมาทันเขา มิใช่เป็นเพราะเหตุอน่ื ใดดอกอย่าสงสัยเลย ! ส่วนอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายกุศล เมือ่ ตามมาทันบุคคลผู้
เป็นเจ้าของกรรมเข้าแล้ว ก็ยอ่ มเข้าทำหน้าทีเ่ บียดเบียนอกุศลกรรม ซึง่ นำความชัว่ ร้ายมาให้บคุ คลนัน้ ให้พลัน
พินาศพ่ายไป แล้วก็เข้าอยูเ่ ป็นเจ้าเรือน คอยป้องกันสรรพทุกข์ สรรพภัย สรรพโรคมิให้มาวีแ่ ววแผ้วพาน ให้มี
แต่สิริสวัสดิ์พัฒนมงคล ให้ทำประโยชน์แก่ตนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เช่น เรื่องวาตะกาลกะบุรุษเคราแดง
ผูต้ ายไปเกิดเป็นเทพบุตร ณ สรวงสวรรค์ชน้ั ดุสติ เป็นตัวอย่าง ดังนัน้ ต่อไปนี้ ถ้าเห็นผูใ้ ดใครผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นคน
โชคร้าย วาสนาชะตาอับอยูเ่ นืองนิจ ชีวติ ไม่มคี วามก้าวหน้า มีทที า่ ว่าจะตกต่ำและตกต่ำลงเรือ่ ยๆ แต่แล้วอยู่
ต่อมาก็เหมือนกับว่ามีเทวดามาโปรด ทำให้เขาประสบความสุขความเจริญและประสบความสุขความเจริญขึน้
เรื่อยๆ ไปจนกระทั่งถึงวันตายอย่างนี้ก็พึงทราบไว้เถิดว่า นั่นแหล่ะคืออุปปีฬิกกรรมฝ่ายกุศลมาตามทันเขา
มิใช่เป็นเพราะเหตุอน่ื ใดเลย

ั ญาทัง้ หลาย พึงพิจารณาให้เห็นตามความเป็นจริงเถิดว่า สัตว์ทง้ั ปวงนีม้ กี รรมเป็น


นีแ่ หละท่านผูม้ ปี ญ
ของๆ ตน ทำอกุศลหรือความชัว่ ก็ยอ่ มได้ชว่ั ถ้าตัวทำกุศลคือทำดี ก็ยอ่ มได้ดี ทีว่ า่ ทำดีแล้วจะให้ชว่ั นัน้ หามิได้
กระทำชัว่ ไว้แล้วจะกลับเป็นให้ดกี ห็ ามิได้ ทีย่ ากทีม่ ที ด่ี ชี ว่ั นัน้ แต่ลว้ นเป็นของๆ ตัวสิน้ ทัง้ นัน้ ผูอ้ น่ื จะได้กระทำ
ให้กห็ ามิได้ ตัวกระทำไว้เอง อย่าไปเพ่งโทษอย่างอืน่ อย่าไปโทษพระเสาร์ อย่าไปโทษพระราหู ว่าเทวดาเหล่า
นีเ้ ป็นอันธพาล คอยระรานให้ทกุ ข์ให้โทษอย่างนัน้ อย่างนี้ เห็นทีจะเป็นจริงไปไม่ได้ เทวดาเสวยทิพยสมบัตเิ ป็น
สุขอยูต่ ามวิสยั ของเขา เขาจะมาเสวยอายุให้ทกุ ข์ให้โทษแก่เราอย่างนัน้ อย่างนี้ ให้เป็นบาปเป็นกรรมของเขาเปล่าๆ
เพือ่ ต้องการอะไร สรรพทุกข์สรรพภัยสรรพโรคทัง้ สิน้ ทัง้ ปวงทีเ่ กิดขึน้ แก่เรานัน้ ขอให้ถอื ตามความเป็นจริงว่า คือ
อกุศลกรรมทีเ่ ราทำไว้แต่ปางหลังนัน่ เองเป็นเหตุ มิใช่อน่ื ไกล อย่าได้ไปโทษเหตุอน่ื ให้ยงุ่ ยากไปเลย หาถูกไม่
เมื่อท่านผู้มีปัญญาทั้งหลายเข้าใจดังว่ามาฉะนี้แล้ว พึงละเลยซึ่งการอันเป็นบาป พึงเสพสมาคมกับ
ท่านที่เป็นสับปุรุษผู้ประกอบด้วยปรีชาญาณรู้จักการที่เป็นบาปเป็นบุญ รู้จักคุณและโทษ ประโยชน์และมิใช่
ประโยชน์ อย่าละลืมซึง่ การกุศล พึงตัง้ กมลรักใคร่ในการทำความดี อ้าว! นีเ่ ผลอเทศนาอะไรเรือ่ ยมาเล่านี่ รูส้ กึ

 ⌫⌫
ว่าจะตีวงกว้างออกไปเสียแล้ว เพราะฉะนัน้ จึงขอยุตเิ รือ่ งอุปปีฬกิ กรรมไว้แต่เพียงแค่น้ี เมือ่ ยุตเิ รือ่ งอุปปีฬกิ
กรรมแล้ว ก็ควรจะเริม่ ต้นกล่าวถึงหน้าทีข่ องกรรมชนิดอืน่ ต่อไป กรรมทีท่ ำหน้าทีช่ นิดใหม่ ซึง่ เราจะได้ศกึ ษา
ในลำดับต่อไปนีม้ ชี อ่ื ว่า

อุปฆาตกกรรม
อุปฆาเตตีติ อุปฆาตกํ
กรรมใด ย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่ากรรมอืน่ ๆ กรรมนัน้ ชือ่ ว่าอุปฆาตกกรรม

อุปฆาตกกรรมนี้ มีหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่ากรรมอืน่ และวิบากคือผลแห่งกรรมอืน่ ให้สน้ิ ลงอย่างเด็ดขาดทีเดียว !


เพือ่ ความเข้าใจในเรือ่ งอุปฆาตกกรรมนีโ้ ดยง่าย ก่อนอืน่ ต้องทราบว่าอุปฆาตกกรรมนี้ เมือ่ จะกล่าวเป็น พวกเป็นฝ่าย
ก็ยอ่ มเป็นเช่นเดียวกับกรรมอืน่ ๆ ทีก่ ล่าวมาแล้วคือ ย่อมแบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย อุปฆาตกกรรม ฝ่ายทีเ่ ป็นอกุศลก็มี
อุ ป ฆาตกกรรมฝ่ า ยกุ ศ ลก็ ม ี ที น ี ้ อุ ป ฆาตกกรรมฝ่ า ยอกุ ศ ลเมื ่ อ ตามมาทั น เข้ า แล้ ว ก็ ย ่ อ มทำ
หน้าทีเ่ ข้าไปฆ่ากุศลกรรมและวิบากแห่งกุศลกรรมของของบุคคลให้สน้ิ ลงอย่างเด็ดขาด ไม่ให้เหลือเลย โดยนัย
ตรงกันข้าม คือ อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศล เมื่อตามทันเข้าแล้วก็ย่อมทำหน้าที่เข้าไปฆ่าอกุศลกรรมและวิบาก
แห่งอกุศลกรรมของบุคคล ให้สน้ิ ลงอย่างเด็ดขาดเหมือนกัน ฉะนัน้ บางทีทา่ นจึงเรียกชือ่ กรรมนีอ้ กี อย่างหนึง่ ว่า
อุปัจเฉทกกรรม ซึ่งแปลว่ากรรมที่เข้าไปตัด คือ ทำหน้าที่เข้าไปตัดกรรมอื่นและวิบากแห่งกรรมอื่น อัน
เป็นสภาพตรงกันข้ามกับตน ดังกล่าวแล้วนัน้

ในกรณีน้ี หากจะมีปญ
ั หาว่า

เอ๊ะ ท่าน ! เท่าทีท่ า่ นว่ามา ข้าพเจ้าก็ฟงั เข้าใจบ้าง ไม่เข้าใจบ้าง เพราะท่านกล่าวสับสนพิกลอยู่ ความ


สับสนพิกลอย่างอืน่ จงยกไว้ แต่ทไ่ี ม่เข้าใจและสงสัยอยูน่ กั หนาก็คอื ว่าอุปฆาตกกรรมหรืออุปจั เฉทกกรรม ทีท่ ำ
หน้าทีเ่ ข้าไปฆ่าเข้าไปตัดกรรมอืน่ ซึง่ มีสภาพตรงกันข้ามกับตนนัน้ ข้าพเจ้าให้สงสัยอยูว่ า่ น่าจะทำหน้าทีช่ นิด
เดียวกันกับอุปปีฬกิ กรรมทีก่ ล่าวมาแล้วเสียละกระมัง เพราะอุปปีฬกิ กรรม ก็ทำหน้าทีเ่ ข้าไปเบียดเบียนกรรม อืน่
ซึง่ มีสภาพตรงกันข้ามกับตนเหมือนกัน อย่างนีแ้ ล้วท่านจะว่าอย่างไร?

ว่าดีแล้ว ทีถ่ ามอย่างนี้ ! ความจริงอุปปีฬกิ กรรมทีก่ ล่าวมาแล้วกับ อุปฆาตกกรรมทีก่ ำลังกล่าวอยูน่ ย่ี อ่ ม


ทำหน้าทีค่ ล้ายกันเป็นอันมาก แต่วา่ หาเหมือนกันไม่ ทำหน้าทีต่ า่ งกันอยูบ่ า้ ง ต่างกันอย่างไร? ต่างกันอย่างนี้

อุปปีฬกิ กรรม เมือ่ ตามทันเข้าแล้ว ย่อมทำหน้าทีเ่ พียงแต่เข้าไปเบียดเบียนกรรมทีม่ สี ภาพตรงข้ามกับ


ตน ค่อยลบล้างขับไล่แต่ชา้ ๆ ไม่รวดเร็วฉับพลัน เช่น ถ้าเป็นอุปปีฬกิ กรรมฝ่ายอกุศล เมือ่ ตามมาทัน ก็ยอ่ มเข้า
ไปเบียดเบียนขับไล่กศุ ลกรรมและวิบากแห่งกุศลกรรมของบุคคล ให้คอ่ ยหมดไปสิน้ ไป ทำให้บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของ
กรรมนัน้ สิน้ ความสุขความเจริญ สิน้ ทรัพย์สมบัติ สิน้ คุณงามความดีไปอย่างช้าๆ แต่หาตัดอายุไม่

 ⌫ 
อุปฆาตกกรรม หรืออุปจั เฉทกกรรมเมือ่ ตามทันเข้าแล้วย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่า - เข้าไปตัดกรรมทีม่ ี
สภาพตรงข้ามกับตนให้ขาดเด็ดในปัจจุบนั ทันด่วน ไม่เนิน่ ช้าเหมือนอุปปีฬกิ กรรม เช่น ถ้าอุปฆาตกกรรมฝ่าย
อกุศล เมือ่ ตามมาทัน ก็ยอ่ มเข้าไปตัดกุศลกรรมและวิบากแห่งกุศลกรรมของบุคคลในทันทีทนั ใด บุคคลทีก่ ศุ ล
กรรมให้ผลให้เป็นคนบริบรู ณ์ดว้ ยทรัพย์สมบัตแิ ละบริวารศฤงคาร ปรากฏด้วยลาภและยศฟุง้ เฟือ่ งเลือ่ งลือเป็นที่
นับถือแห่งมหาชนทัง้ ปวง หากอุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศลตามมาทันแล้ว ในครัง้ เดียวยามเดียวก็ลม้ ตายกระจัด
กระจาย เกิดวิบตั อิ นั ตรายต่างๆ ยับเยินดัง่ พะเนินทุบพะเนินตีถงึ ความพินาศในครูเ่ ดียวยามเดียว ตัดอายุตายใน
ครูเ่ ดียวยามเดียว รวมความแล้วก็วา่ อุปฆาตกกรรมนี้ ย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่า เข้าไปตัดกรรมและวิบากแห่ง
กรรมอืน่ ให้สน้ิ ลงอย่างเด็ดขาดในปัจจุบนั ทันด่วน

ในกรณีทอ่ี ปุ ฆาตกกรรมเข้าทำหน้าทีข่ องมันนี้ ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ


ั ญาทัง้ หลาย พึงทราบโดยนัยอุปมาว่า

บุรษุ ผูห้ นึง่ กระทำซึง่ ลูกศร อันสามารถจะยิงไปได้ไกลประมาณ ๘ อสุภ คือ ๑๔ เส้น ครัน้ ทำเสร็จแล้ว
ก็นา้ วคันศรแล้วยิงศรนัน้ ไป ในขณะนัน้ เกิดมีบรุ ษุ อีกผูห้ นึง่ ถือเอาซึง่ ไม้ฆอ้ น ยกขึน้ คอยสกัดหน้าลูกศรนัน้ ไว้
อย่างนีแ้ ล้วลูกศรนัน้ จะมีอาการเป็นอย่างไร ก็ยอ่ มจะตกลงในขณะนัน้ เองไม่สามารถทีจ่ ะแล่นไปได้ไกลจนถึงที่
หมายได้ อุปมานีฉ้ นั ใดอุปฆาตกกรรมเมือ่ ตามมาทันเข้าแล้ว ก็ยอ่ มทำหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่า เข้าไปตัด เข้าไปห้ามกรรม
และวิบากแห่งอืน่ ไม่ให้ผลอย่างเด็ดขาด ในปัจจุบนั ทันด่วนทีเดียว เปรียบเหมือนกิรยิ าทีบ่ รุ ษุ คนหลังยกไม้คอ้ น
ขึน้ สกัดหน้าลูกศร ไม่ให้ลกู ศรทีบ่ รุ ษุ คนแรกยิงนัน้ แล่นไปถึงทีห่ มาย และให้หมดประสิทธิภาพตกลงยังพืน้ ปฐพี
ในปัจจุบนั ทันด่วนก่อนฉะนัน้

เพือ่ ความแจ่มแจ้งในเรือ่ งนี้ ใคร่จะขอกล่าวถึงหน้าทีอ่ ปุ ฆาตกกรรมอีกทีคอื อุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศล


เมือ่ ตามมาทันบุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม มันย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าไปตัดรอนความดีความเจริญให้พนิ าศลงในปัจจุบนั
ทันที อาการที่เกิดความวิบัติในปัจจุบันทันด่วนก็ดี อาการที่ต้องสิ้นชีวิตสิ้นอายุลงทั้งๆ ที่ยังไม่น่าจะตายก็ดี
และการทีต่ อ้ งตายไปบังเกิดในอบายภูมเิ ป็นสัตว์นรก-เปรต-อสุรกาย-เดียรฉาน ในปัจจุบนั ทันทีทง้ั ๆ ทีไ่ ด้กอ่
สร้างกองการกุศลไว้มากมายก็ดี เหล่านี้ล้วนแต่เป็นผลแห่งอุปฆาตกกรรมมันเข้าทำหน้าที่ทั้งสิ้น ในกรณีที่
อุปฆาตกกรรมเข้าทำหน้าทีข่ องมันนี้ พึงเห็นตัวอย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้


 ⌫
⌫⌫⌫
กรรมของพระราชาธิบดี
ได้สดับมาว่า กาลเมือ่ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรายังทรงพระชนม์ชพี อยูน่ น้ั กษัตริยอ์ งค์หนึง่
ซึ่งมีนามปรากฏว่าสมเด็จพระเจ้าพิมพิสารผู้เป็นพระราชาธิบดีแห่งกรุงราชคฤห์มหานคร มีความเลื่อมใส
ในสมเด็จพระพุทธองค์พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์เป็นอันมาก เพราะพระองค์ตั้งอยู่ในภูมิพระโสดาบัน
อริยบุคคล ซึง่ เป็นพระอริยบุคคลขัน้ แรกในพระบวรพุทธศาสนา ก็สมเด็จพระเจ้าพิมพิสารราชาทรงตัง้ พระนาง
เวเทหขันธเทวีให้เป็นเอกอัครมเหสี เมือ่ พระนางทรงพระครรภ์พระราชโอรสองค์แรกนัน้ บังเกิดความอัศจรรย์
เป็นอันมาก คือ บันดาลให้พระนางอยากจะเสวยโลหิตในพระพาหาแห่งสมเด็จพระพิมพิสารราชาธิบดีผู้เป็น
พระราชสวามีเป็นยิง่ นัก แต่มริ ทู้ จ่ี กั ทรงทำประการใด ทัง้ นีก้ เ็ พราะองค์พระอัครมเหสีให้ทรงมีทง้ั ความเกรงกลัว
และความละอายพระทัย มิอาจกราบทูลให้พระราชสวามีทรงทราบถึงความปรารถนาแห่งตนได้ สูอ้ ดกลัน้ ความ
ปรารถนานัน้ ไว้ จนพระวรกายซูบผอมลงไปทุกวันๆ

สมเด็จพระเจ้าพิมพิสารผูพ้ ระราชสวามีทรงมีความแปลกพระทัยในความเปลีย่ นแปลงแห่งพระอัครมเหสี


ก็ทรงไต่ถามถึงสาเหตุนน้ั อยูเ่ นือ่ งๆ ในทีส่ ดุ นางพระยาเมือ่ มิอาจจะอำพรางความนัน้ ไว้ได้แล้ว จึงกราบทูลถึง
ความปรารถนาอันแรงกล้าซึ่งปรากฏอยู่ในห้วงลึกแห่งดวงหฤทัยให้ทรงทราบ พระราชสวามีก็ให้ทรงมีพระ
เมตตาในพระราชโอรสซึง่ อยูใ่ นพระครรภ์นน้ั เป็นยิง่ นัก จึงทรงชักพระแสงออกแทงพระพาหา สูเ้ อาพระโลหิต
ให้นางพระยาเสวย แต่พอเสวยพระโลหิตในพระพาหาแห่งพระราชสวามีนั้นแล้ว ความปรารถนาอันแปลก
ประหลาดและร้ายกาจของนางพระยาเวเทหขันธเทวีกร็ ำงับดับลง องค์สมเด็จพระราชาธิบดี จึงทรงนำเอาเหตุอนั
พิกลนี้ไปเล่าให้เนมิตกาจารย์ทั้งหลายฟัง แล้วรับสั่งถามว่าจักดีร้ายเป็นประการใด ฝ่ายโหราเนมิตกาจารย์
ประจำราชสำนัก ก็พากันกราบบังคมทูลทำนายว่า

“พระราชโอรส ซึง่ อยูใ่ นพระครรภ์แห่งพระเวเทหขันธเทวีผอู้ คั รมเหสีนน้ั จักเป็นศัตรูแก่พระองค์ผทู้ รง


เป็นพระราชบิดา พระเจ้าข้า”

จำเดิมแต่โหราเนมิตกาจารย์ กราบบังคมทูลพยากรณ์ฉะนี้ พระราชกุมารผูอ้ ยูใ่ นพระครรภ์นน้ั ก็มี


พระนามปรากฏว่า “เจ้าอชาตสัตตุกุมาร” ซึ่งแปลว่า ตั้งแต่ยังไม่ประสูติก็เป็นศัตรูกับพระราชบิดาเสียแล้ว !
ความอันนีก้ แ็ พร่สะพัดและเป็นทีร่ จู้ กั ทัว่ ไปทัง้ กรุงราชคฤห์มหานคร แสนสงสารนางพระยาผูท้ รงครรภ์ ตัง้ แต่
ได้รบั ทราบเหตุทำนายนัน้ ก็ให้ทรงโศกศัลย์เสียพระทัยนัก ทรงมีจติ หาญหักมิได้มกี รุณาแก่พระราชโอรส ทรง
กระทำความเพียรเพื่อจะยังพระราชโอรส ซึ่งอยู่ในพระครรภ์นั้นให้ถึงความพินาศฉิบหาย เพื่อจะมิให้กระทำ
อันตรายแก่พระราชสวามีสดุ ทีร่ กั ในภายภาคหน้า นางพระยาสูอ้ ตุ สาหะแอบเสด็จไปสูส่ วนอุทยาน แล้วก็ให้คนทัง้
หลายนวดเฟ้น เพือ่ ให้ทารกในครรภ์นน้ั ตายตกไปอยูเ่ นืองๆ แต่กม็ สิ ำเร็จ เมือ่ ความเรือ่ งนีท้ ราบถึงพระกรรณ
แห่งองค์สมเด็จพระราชาธิบดี พระองค์กต็ รัสห้ามว่า

 ⌫ 
“ดูกร เจ้าผูม้ พี กั ตร์อนั เจริญ เจ้าอย่าพยามยามกระทำกรรมอันเป็นบาปดังนี้ มิบงั ควร ด้วยว่านอกจาก
จะเป็นบาปอันหนักแล้ว เมือ่ ข่าวอันนีร้ ะบือลือชาไปถึงไหนๆ ในสกลปฐพีกจ็ กั มีแต่ทรุ ยศอัปยศปรากฏแก่เรานัก
การณ์ขา้ งหน้าจักเป็นอย่างไรนัน้ ก็สดุ แต่จะเป็นไปเถิด เจ้าอย่าวิตกเป็นทุกข์หรือเกิดความกินแหนงแคลงใจแต่
อย่างใดเลย”

ครัน้ ถ้วนกำหนดทศมาส นางพระยาก็ประสูตพิ ระราชโอรสงามหมดจดโสภา แต่พอทรงได้ทอดทัศนา


เห็น พระราชโอรสเข้าเท่านัน้ สมเด็จพระราชาธิบดี ก็ให้ทรงมีพระเสน่หารักใคร่ในพระราชโอรสนัน้ เป็นอันมาก
ทรงเอาพระทัยใส่ มีพระราชดำรัสสัง่ ให้ทะนุบำรุงเลีย้ งดูพระราชปิโยรสนัน้ เป็นอันดี ตราบจนพระราชกุมารนัน้ ทรง
จำเริญวัยวัฒนาการขึน้ ความทีโ่ หราเนมิตกาจารย์ทำนายไว้วา่ จักเป็นศัตรูกบั พระราชบิดาก็ปรากฏชัดเจนขึน้
ทุกๆ วัน ! จนกระทัง่ พระราชกุมารนัน้ แรกรุน่ ดรุณวัย ได้คบหากับพระเทวทัตแล้วนัน่ แหละ ความเป็นศัตรูตอ่
พระราชบิดาแห่งเจ้าอชาตสัตตุราช จึงปรากฏชัดโดยมีเรือ่ งสืบอนุสนธิตอ่ มาว่า

พระเทวทัตองค์นี้ แต่เดิมทีออกบวชในสำนักแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พร้อมกับเจ้าใน


ศากยะตระกูลมีพระอนุรทุ ธะและพระอานนท์เป็นต้น เพราะค่าทีต่ นก็เป็นผูเ้ กิดในขัตติยะตระกูลมีเชือ้ สายเป็น
กษัตริยเ์ หมือนกัน พอบวชแล้วก็อตุ สาหะบำเพ็ญธรรมจนได้สำเร็จฤทธิ์ อันเป็นฤทธิแ์ ห่งปุถชุ น ยังไม่ได้บรรลุ
พระอริยมรรคอริยผล คราวหนึง่ ได้ตามเสด็จสมเด็จพระบรมครูเจ้าไปยังโกสัมพีนคร ในกาลครัง้ นัน้ ลาภสักการะ
บังเกิดแก่พระบวรพุทธศาสนาเป็นอันมาก ประชาชนทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นเศรษฐี พ่อค้า คฤหบดี หรือ
ข้าราชการและชาวบ้านธรรมดา ต่างมีมอื ถือผ้าและอาหารเข้าไปยังวิหารแล้ว ต่างคนต่างก็มงุ่ จะถวายทานแก่
พระภิกษุสงฆ์องค์ทต่ี นเลือ่ มใส เทีย่ วไต่ถามกันให้ขวักไขว่อยูว่ า่

พระสารีบตุ รเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?


พระโมคคัลลานะเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระมหากัสสปะเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระภัททิยะเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระอนุรทุ ธะเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระอานันทเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระภคุเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?
พระกิมพิละเถระของข้าพเจ้า อยูท่ ไ่ี หน ?

เทีย่ วไต่ถามกันให้ชลุ มุนวุน่ วาย ด้วยใบหน้าอันยิม้ แย้มแจ่มใส ใคร่จะถวายทานอยูอ่ ย่างนี้ แต่จะมีสกั


เสียงหนึง่ ทีจ่ ะถามว่า

“พระเทวทัตผูเ้ ป็นเจ้าของเรา อยูท่ ไ่ี หน? ข้าพเจ้าจักถวายทานแก่ทา่ น”

 ⌫⌫
เสียงไต่ถามที่ออกนามพระเทวทัตดังนี้ ไม่มีปรากฏเลยวันแล้ววันเล่า พระคุณเจ้าผู้ถูกลืมก็ให้น้อย
น้ำใจนัก หวลไปนึกถึงความหลังครัง้ ทีย่ งั เป็นคฤหัสถ์อยูใ่ นราชตระกูล ขัตติยะมานะก็พลันพลุง่ ขึน้

“ชะ น้อยไปหรือ ชาวเมืองโกสัมพีไม่รจู้ กั เรา ! อันตัวเรานี้ เมือ่ ออกบวชใช่วา่ จะต่ำต้อยกว่าคนอืน่ ก็หา


มิได้ เราก็เป็นกษัตริยอ์ อกบวชเหมือนกัน แต่ประชาชนทัง้ หลายนัยน์ตาเสีย หาเห็นความสำคัญของเราไม่ ก็ดี
แล้ว เราก็ไม่ประสงค์จะรับทานของพวกเจ้าไพร่ๆ เหล่านีเ้ หมือนกัน แต่เราจักหาผูม้ บี ญ ุ หนักศักดิใ์ หญ่มาเป็นผู้
อุปฐากถวายทานเราให้จงได้”

นัง่ อยูใ่ นกุฏทิ อ่ี าศัย รำพึงอยูด่ ว้ ยความน้อยเนือ้ ต่ำใจ ฉะนี้ การทีจ่ ะบำเพ็ญธรรมตามสมณวิสยั นัน้ มิ
ได้มีเลย ในที่สุดพระเทวทัตผู้จะกลายเป็นสมณะลามก ทำความสกปรกและอัปยศให้ปรากฏในพระบวร
พุทธศาสนา ก็คดิ ขึน้ ได้วา่

“อันการทีเ่ ราจักสมาคมกับบุคคลผูม้ บี ญ ุ หนักศักดิใ์ หญ่ชกั นำเอามาเป็นอุปฐากของเรานัน้ ครัน้ จักไป


คบกับสมเด็จพระพิมพิสารราชาธิบดี แห่งกรุงราชคฤห์มหานครแล้วไซร้เห็นที่จักไม่เป็นการ ด้วยว่าพระเจ้า
พิมพิสารนัน้ ทรงเป็นผูม้ น่ั คงตรงซือ่ เลือ่ มใสในพระรัตนตรัย ได้สำเร็จพระโสดาปัตติผลเป็นพระอริยบุคคลใน
พระบวรพุทธศาสนา ตัง้ แต่เมือ่ ครัง้ ได้ทรงพบกับสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นครัง้ แรก ไหนเลยจักทรงเลือ่ ม
ใสในเราผูเ้ ป็นปุถชุ น ครัน้ ว่าเราจักไปสมาคมคบกับด้วยสมเด็จพระราชาธิบดีปเสนทิโกศล ก็เห็นทีจกั ไม่สำเร็จ อีก
ด้วยว่าสมเด็จพระราชาพระองค์น้ี ก็มคี รุวนาดุจพระเจ้าพิมพิสารนัน่ เอง คือ ถึงแม้วา่ จะยังไม่เป็นพระโสดาบัน
อริยบุคคล แต่ก็ทรงมีความสนิทสนม มีพระทัยรักใคร่เลื่อมใสในสมเด็จพระพุทธองค์เป็นยิ่งนัก ไหนเลยจัก
ทรงมีความเลื่อมใสและมีน้ำพระทัยรักใคร่เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับเราได้ แต่เจ้าอชาตสัตตุกุมาร ผู้เป็น
พระราชบุตรแห่งพระเจ้าพิมพิสารนัน้ สิ ยังไม่มคี วามเลือ่ มใสในพระสัพพัญญูเจ้า ควรทีเ่ ราจักไปสมัครสมาน ให้
เธอเกิดความเลือ่ มใสในตัวเราเห็นทีจกั ได้การเป็นแน่”

ครัน้ คิดตกลงปลงใจดังนีแ้ ล้ว ก็รบี เดินทางจากเมืองโกสัมพี ดินแดนทีท่ ำให้เกิดความชอกช้ำระกำใจ


มุง่ หน้าไปยังเมืองราชคฤห์มหานครแต่เพียงผูเ้ ดียว ครัน้ ถึงแล้วก็อธิษฐานด้วยอำนาจแห่งฤทธิป์ ถุ ชุ นทีต่ นได้
ให้เพศกลับกลายเป็นกุมารน้อยมีอสรพิษ ๔ ตัวพันทีม่ อื และเท้า อสรพิษตัวหนึง่ ทีพ่ นั ศอ อสรพิษอีกตัวหนึง่ แผ่
พังพานอยูบ่ นศีรษะ และอสรพิษอีกตัวหนึง่ เป็นสร้อยสังวาล เหาะทะยานขึน้ ไปบนอากาศเวหาหาวแล้วเข้าไป
นัง่ อยู่ ณ ทีต่ กั แห่งเจ้าอชาตสัตตุกมุ ารเป็นอัศจรรย์ !

“อโห ! ท่านเป็นใคร ?” เจ้าอชาตสัตตุกมุ าร ทรงถามด้วยความตกใจกลัวเป็นทีย่ ง่ิ

พระเทวทัตผู้ทรงฤทธิ์ ครั้นสมคิดเห็นพระราชกุมารมีจิตหวาดกลัว มีพระวรกายสั่นอยู่ดังนั้น จึง


กล่าวตอบว่า

 ⌫ 


“อาตมาภาพคือ พระเทวทัต!”

ว่าดังนีแ้ ล้ว ก็กลับเพศจากกุมารน้อยซึง่ มีอสรพิษเป็นเครือ่ งประดับนัน้ เสีย ทรงเพศเดิมเป็นสมณะใน


พระบวรพุทธศาสนา มีสงั ฆาฏิจวี รและบาตรพร้อมสรรพ์ ยืน สงบเสงีย่ มอยูข่ า้ งหน้าพระราชกุมาร โดยอนุมาน
เอาว่า การแสดงฤทธิเ์ พียงเท่านี้ ย่อมเป็นการเพียงพอในกรณีทจ่ี ะทำให้พระราชกุมารเลือ่ มใสได้แล้ว และก็เป็น
จริงดังคาด เพราะตัง้ แต่บดั นัน้ เป็นต้นมา อชาตสัตตุราชกุมาร ก็ทรงมีความเลือ่ มใสในพระเทวทัตเป็นอันมาก
อุปฐากด้วยจตุปจั จัยอย่างล้นเหลือ เมือ่ พระเทวทัตถูกลาภสักการะและความยกย่องเข้าครอบงำเช่นนัน้ ต่อกาล
ไม่นาน สัมโมหะก็เข้ามากำบังดวงใจ ทำให้ทา่ นเกิดบาปจิตคิดว่า

“เราควรจักปกครองคณะสงฆ์ทง้ั สิน้ เห็นจะเป็นการดี ! ”

เพียงคิดด้วยอกุศลจิตเท่านี้ ฤทธิป์ ถุ ชุ นทีต่ นได้ ก็พลันเสือ่ มไปในขณะทีเ่ กิดความคิดนัน่ เอง แต่ทา่ นจะ
ได้รสู้ กึ สำนึกตนก็หาไม่ ได้เข้าไปเฝ้าสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า ทูลขอให้ทรงแต่งตัง้ ตนเป็นผูป้ กครองพระภิกษุ สงฆ์
แต่สมเด็จพระพุทธองค์ไม่ทรงอนุญาต เลยมีจติ อาฆาตโกรธเคืองในพระตถาคต จึงเข้าไปหาอชาตสัตตุราชกุมาร
ซึง่ เป็นอุปฐากคนสำคัญแห่งตนแล้วบอกความว่า

ดูกรราชกุมาร ! แต่กอ่ นนีค้ นเรามีอายุยนื นานไม่เหมือนกาลทุกวันนี้ ด้วยว่าในปัจจุบนั ทุกวันนี้ คนเรา


มีอายุสน้ั นักหนา ท่านสำนึกถึงความจริงในข้อนีบ้ า้ งหรือไม่เล่า? ดูกรราชกุมาร ! ก็การทีท่ า่ นจะพึงถึงแก่ความ
ตายเสียตัง้ แต่ยงั เป็นเด็ก คือ ตายในวันนีพ้ รุง่ นีก้ ย็ อ่ มเป็นฐานะทีจ่ ะพึงมีได้เป็นแน่แท้ ถ้ากระไร เราทัง้ สองลอง
มาปรึกษากันดู คือ อาตมภาพได้มาคำนึงถึงข้อนีแ้ ล้ว ก็ใคร่ทจ่ี ะบอกแก่ทา่ น ถึงการทีเ่ ราควรจะทำในภายหน้า
คือว่าท่านจงปลงพระชนม์ชพี แห่งสมเด็จพระราชบิดาเสีย แล้วตัง้ ตนเป็นพระเจ้าแผ่นดินเสียเองแม้อาตมาภาพ
ก็จักหาอุบายปลงพระชนม์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วจักปกครองคณะสงฆ์แทนพระองค์ต่อไป ในกรณีนี้
ท่านจะตกลงว่ากระไร?”

อุปฐากใหญ่อชาตสัตตุราชกุมาร ครัน้ ได้สดับโวหารแห่งอาจารย์ตนดังนี้ ทีแรกก็ให้ลงั เลพระทัยอยู่ แต่


เมือ่ คิดว่า

“อันท่านพระเทวทัตผูเ้ ป็นอาจารย์แห่งเรานี้ ท่านเป็นผูม้ ฤี ทธิม์ าก มีอานุภาพมาก หากไม่เห็นดี ก็คง


จักไม่แนะนำเรือ่ งนีแ้ ก่เราเป็นแน่แท้ ควรทีเ่ ราจักทำตามทีท่ า่ นแนะนำดีกว่า”

ทรงคิดเชือ่ มัน่ ดังนีแ้ ล้ว ก็ตดั สินพระทัยฉับพลัน เหน็บกฤชแนบพระเพลา รีบเสด็จเข้าไปในพระราชวัง


แต่เพลากลางวันด้วยหมายจักสังหารสมเด็จพระราชบิดา ด้วยพระกิรยิ าอาการอันหวาดหวัน่ เหล่าอำมาตย์
ผูร้ กั ษาพระราชวัง แลเห็นพระลูกเจ้าอชาตสัตตุราชมีพระอาการหวาดหวัน่ ส่อพิรธุ เช่นนัน้ จึงรีบจับพระองค์ไว้

 ⌫⌫
ตรวจค้นพบกฤชทีซ่ อ่ นไว้ในพระเพลาได้ จึงไต่สวนสอบถามอยูเ่ ป็นเวลานาน ในทีส่ ดุ เจ้าอชาตสัตตุราชกุมารผู้
จำนนต่อคำสอบสวน ก็ทรงยอมรับสารภาพออกมาตรงๆ ว่า

“เรามีความประสงค์ จักเข้าไปปลงพระชนม์แห่งสมเด็จพระชนก?”

“ใครใช้พระองค์ ?” อำมาตย์ไต่สวน

“พระผูเ้ ป็นเจ้าเทวทัต” อชาตสัตตุราชกุมาร ทรงตอบตามความเป็นจริง

อำมาตย์ทง้ั หลาย เมือ่ ได้ทราบความเป็นไปเช่นนัน้ ต่างก็พากันเดือดดาลใจเป็นอันมาก มีความเห็น


แตกต่างกันไปในคดีอนั อุกฤษฏ์โทษนัน้ บางพวกก็พากันลงมติวา่

“ในกรณีน้ี ควรจัดการฆ่าพระเทวทัต ควรจัดการปลงพระชนม์พระราชกุมาร ควรจัดการฆ่าพระภิกษุ


สงฆ์ทง้ั สิน้ เพราะเป็นผูไ้ ว้วางใจไม่ได้ อาจเป็นอันตรายต่อราชสมบัติ ในโอกาสภายหน้า”

แต่อำมาตย์อกี พวกหนึง่ มีมติคา้ นว่า

“ในกรณีน้ี ไม่ควรฆ่าพระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลาย เพราะว่าพระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลาย ไม่มคี วามผิดอะไร ควร


จะฆ่าแต่พระเทวทัตผูม้ คี วามผิด กับพระราชกุมารผูเ้ ป็นศัตรูตอ่ ราชบัลลังก์เท่านัน้ ”

เมือ่ มีความเห็นแตกต่างไป ไม่สามารถตกลงกันได้เช่นนี้ คนหนึง่ ในจำนวนนัน้ จึงกล่าวขึน้ ว่า

“บัดนี้ พวกเรายังไม่ควรที่จะด่วนกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดลงไปทั้งสิ้น คือยังไม่ควรตัดสินปลง


พระชนม์พระราชกุมาร ยังไม่ควรฆ่าพระเทวทัต ยังไม่ควรฆ่าพระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลายในเมืองนี้ แต่พวกเราควรที่
จักเข้าไปเฝ้ากราบบังคมทูลเรื่องนี้ ให้สมเด็จพระราชาธิบดีได้ทรงทราบฝ่าละอองธุลีพระบาท พระองค์มี
พระราชกระแสรับสัง่ ประการใด พวกเราจักทำอย่างนัน้ จึงจักเป็นการสมควร”

ครัน้ มีมติเห็นพ้องต้องกันดังนีแ้ ล้ว อำมาตย์เหล่านัน้ จึงพากันกุมองค์อชาตสัตตุราชกุมาร เข้าไปเฝ้า


สมเด็จพระเจ้าพิมพิสารจอมคนแห่งมคธรัฐ แล้วกราบบังคมทูลเรือ่ งทีเ่ กิดขึน้ ให้ทรงทราบ

“มหาอำมาตย์ทั้งหลาย ! ในกรณีนี้พวกท่านมีความเห็นเป็นอย่างไร?” ทรงมีพระราชดำรัสถามขึ้น


หลังจากทรงสดับเรือ่ งราวตลอดแล้ว

 ⌫ 


“ขอเดชะ ในกรณีนี้ ข้าพระบาททั้งหลายเห็นว่า ควรจักปลงพระชนม์พระราชกุมารและควรจัก
ประหารชีวิตพระเทวทัตผู้มีความผิด พร้อมทั้งจับพระภิกษุสงฆ์ในแว่นแคว้นของเราฆ่าให้หมด พระเจ้าข้า !
เพราะถ้าขืนปล่อยไว้กแ็ น่ใจไม่ได้วา่ จักไม่มเี หตุการณ์รา้ ยเช่นนีเ้ กิดขึน้ อีก” มหาอำมาตย์ผหู้ นึง่ กราบทูลตาม
ความเห็นของตน

“โอ...ท่าน” พระบรมกษัตริยโ์ สดาบันอริยบุคคล ทรงอุทานขึน้ อย่างสังเวชพระทัย “ท่านอย่ากล่าวคำ


อันเป็นบาปหยาบช้าเช่นนัน้ เพราะในเรือ่ งนี้ พระภิกษุสงฆ์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐก็ดี ตลอดจนพระรัตนตรัย
คือ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐก็ดไี ม่ได้เกีย่ วข้องด้วยเลยในชัน้ แรก แต่กอ่ นมา
สมเด็จพระบรมครูเจ้า ก็เคยทรงมีพระมหากรุณารับสัง่ ว่า พระเทวทัตนัน้ มีปกติไม่เหมือนพระเทวทัตคนเดิม คือ
แต่ก่อนนั้นเป็นอย่างหนึ่ง เดี๋ยวนี้เป็นอีกอย่างหนึ่ง พระเทวทัตทำอย่างใดด้วยกาย วาจา ใจ ใครๆ ไม่พึง
เห็นว่าพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นอย่างนัน้ แต่พงึ เห็นว่า เป็นการกระทำของพระเทวทัตผูเ้ ดียวเท่านัน้
ท่านเข้าใจหรือยังเล่า?” ทรงอรรถาธิบายให้อำมาตย์ผใู้ หญ่นน้ั ได้เข้าใจอย่างนีแ้ ล้ว ก็ทรงผินพระพักตร์มารับสัง่
ถามเจ้าอชาตสัตตุราชกุมาร ผูถ้ กู ทำนายว่าจักเป็นศัตรูของพระองค์ตง้ั แต่ยงั ไม่เกิดมาดูโลกว่า

“ดูกร ลูกรัก ! เจ้าต้องการจะฆ่าบิดาเสีย เพราะเหตุดงั ฤา?”

“หม่อมฉันต้องการราชสมบัติ พระพุทธเจ้าข้า” อชาตสัตตุราชกุมารทูลตอบโดยไม่ปดิ บัง”

สมเด็จพระเจ้าพิมพิสารราชาธิบดี ผู้มีน้ำพระทัยสูงพ้นจากความเป็นปุถุชน โดยทรงตั้งอยู่ในภูมิ


พระโสดาบัน อริยบุคคล ซึ่งเป็นสาวกแห่งองค์สมเด็จพระทศพลสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ดื่มรสอมตธรรมในพระ
บวรพุทธศาสนาแล้วก็ทรงมีพระทัยผ่องแผ้วตรัสอนุญาตว่า

“ดูกร ลูกรัก ! ถ้าเจ้าต้องการราชสมบัติแล้ว ราชสมบัติแห่งกรุงราชคฤห์มหานครนี้ตกเป็นของเจ้า


ตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป”

อชาตสัตตุราชกุมารผูม้ จี ติ มักใหญ่ใฝ่สงู ได้สดับดังนัน้ ก็พลันบังเกิดความดีพระทัยเป็นล้นพ้น จึงทรง


รีบกราบถวายบังคมลามาแจ้งข่าวดีแก่อลัชชีอาจารย์เทวทัตว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ความปรารถนาของข้าพเจ้าสำเร็จแล้ว คือ ว่าบัดนีส้ มเด็จพระราชบิดา ทรง


พระกรุณามอบราชสมบัตใิ นพระนครราชคฤห์นใ้ี ห้แก่ขา้ พเจ้าแล้ว”

พระเทวทัต ได้สดับเรือ่ งราวตามทีพ่ ระราชกุมารทรงเล่าให้ฟงั จบลง ตริตรองอยูค่ รูห่ นึง่ แล้วจึงว่า

 ⌫⌫
“มหาบพิตรทำการอย่างนี้ จะว่าสำเร็จกิจมาแต่ทไ่ี หน เปรียบอุปมัยก็เหมือนขังสุนขั ไว้ในกลอง สุนขั
มันแสบท้องก็จะกัดหนังกลองออกมาได้ฉนั ใด ราชสมบัตทิ ส่ี มเด็จพระราชบิดายกให้ ท่านโกรธเคืองขึน้ มาเมือ่ ไร
ท่านก็จะเอาคืนไปเสียเมือ่ นัน้ อาตมภาพเห็นว่า ฆ่าเสียให้ตายนัน่ แหละเป็นการดี ราชสมบัตนิ ้ี จึงจะเป็นสิทธิ
ของมหาบพิตรอย่างแน่นอนเด็ดขาดเข้าใจไหมเล่า?”

อชาตสัตตุราชผู้โมหะจริต ได้สดับดังนั้น ก็ทรงนั่งขึงครุ่นคิดอยู่ครู่หนึ่งอย่างลังเลพระทัย ในที่สุดก็


เอือ้ นโอษฐ์ออกวาจาอ่อย ๆ ว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้าไม่อาจฆ่าสมเด็จพระราชบิดา ด้วยศาสตราวุธอย่างใดอย่างหนึง่ ได้


ด้วยว่าให้รสู้ กึ บัดสีใจนัก”

“อ้าว ! ก็ใครบอกให้มหาบพิตรฆ่าสมเด็จพระราชบิดาด้วยอาวุธเล่า” พระเทวทัตได้ทกี ล่าวขึน้ แล้วทำ


การสัง่ สอนบาปแก่อปุ ฐากของตนว่า

“วิธปี ระหารชีวติ มนุษย์ให้ตายนัน้ มีอยูม่ ากมายหลายวิธี ในการนีม้ หาบพิตรไม่จำเป็นต้องประหารด้วย


ศาสตราก็ได้ เป็นแต่เพียงออกคำสัง่ ให้จบั ขังไว้ในเรือนจำ ให้อดข้าวอดน้ำเสียเท่านัน้ ในไม่ชา้ สมเด็จพระราชบิดา
ก็จกั ถึงแก่ชพี ติ กั ษัยไปเอง”

อกตัญญผูป้ โิ ยรส ได้ทรงสดับคำแนะนำอันเป็นบาปหนักเช่นนัน้ ก็ทรงเห็นด้วย จึงทรงมีคำสัง่ ให้จบั


สมเด็จพระราชบิดาไปขังไว้ในเรือนจำ ห้ามมิให้ผใู้ ดใครผูห้ นึง่ ไปมาหาสู่ ยกเว้นแต่สมเด็จพระราชชนนี ครัง้ นัน้
สมเด็จพระราชชนนีเวเทหขันธเทวี ทรงมีความกตัญญูและทรงมีความสงสารในสมเด็จพระราชสวามีพมิ พิสาร
ราชาเป็นนักหนา จึงทรงจัดอาหารใส่ขนั ทองคลุมด้วยผ้าห่มนอน ซ่อนเข้าไปถวายสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ซึง่ ถูก
จำขัง พระองค์กท็ รงยินดีเสวยซึง่ พระกระยาหาร ยังชีวติ สังขารให้เป็นอยูไ่ ด้อกี ต่อไป ต่อมาพระยาอชาตสัตตุราช
ผูบ้ ตุ รทรยศ ทรงทราบซึง่ เหตุนน้ั ก็มพี ระราชดำรัสสัง่ ห้ามมิให้สมเด็จพระราชชนนีหม่ คลุมผ้าเข้าไป พระราช
เทวีผฉู้ ลาดในอุบายก็ทรงนำเอาอาหารซ่อนในฉลองพระบาทเข้าไปถวายแด่องค์นฤบดีผพู้ ระราชสามี พระองค์
ก็ทรงยินดีเสวยพระกระยาหารนัน้ ยังชีวติ สังขารให้เป็นอยูไ่ ด้อกี องค์อชาตสัตตุราชบุตรผูม้ ใี จอกตัญญ เมือ่ ทรง
สืบรูซ้ ง่ึ เหตุนน้ั ก็ทรงออกคำสัง่ อย่างกวดขัน ห้ามพระมารดาไม่ให้สวมฉลองพระบาทเข้าไปหาสมเด็จพระราชบิดา
พระนางเจ้าจึงทรงเอาอาหารอันมีรสประเสริฐมาเคล้าขยำบดแล้วทาพระวรกายแห่งพระนางจนทั่ว แล้วห่ม
พระภูษาผ้าสไบบางเข้าไปเฝ้าพระราชสวามี พระองค์ก็ทรงยินดีลิ้มเลียพระวรกายแห่งพระเทวีจนทั่ว ด้วย
อำนาจแห่งมธุรสอย่างดี พระองค์กท็ รงครองชีวติ อยู่ หาได้สวรรคตไม่ ต่อมาพระยาอชาตสัตตุราชผูใ้ จร้าย ได้
ทรงสืบทราบว่าพระมารดาแห่งตน ทรงกระทำการช่วยเหลือไม่ให้สมเด็จพระบิดาถึงแก่ชีพิตักษัยตามความ
ประสงค์แห่งตนเช่นนัน้ จึงทรงประกาศห้ามไม่ให้สมเด็จพระราชมารดาเข้าไปในเรือนจำนัน้ อีกเป็นอันขาด

 ⌫ 


เมื่อมีพระบรมราชโองการแห่งกษัตริย์อกตัญญูประกาศห้ามดังนี้ สมเด็จพระชนนีเจ้า ก็เฝ้าแต่ทรง
โศกาอาลัยอยูข่ า้ งนอกแล้วรำพันว่า

“ข้าแต่นฤบดีพมิ พิสาร ผูเ้ ป็นสวามีเอ๋ย! ตัง้ แต่วนั นีไ้ ปเบือ้ งหน้า ข้าพระบาทจักไม่ได้เห็นพระภัสดาอีก
สืบไป นับแต่จะไกลกันไม่มกี ำหนด ราวกะว่าพระจันทร์ดบั ลับบรรพตเขาสิเนรุราช โทษานุโทษอันใดทีข่ า้ พระบาท
ทำผิดมาแต่กอ่ น ไม่วา่ จะเป็นด้วยกายวาจาใจ ขอพระองค์จงให้อภัยแก่เกล้ากระหม่อมฉันในวันนี้ ถึงพระองค์
จะทรงดับพระอินทรีย์ เกล้ากระหม่อมฉันนีก้ ค็ งจักมิได้เห็นพระองค์แล้ว ขอพระทูลกระหม่อมแก้ว จงอภัยโทษ
แก่ขา้ พระบาทผูเ้ ป็นอัครชายาในกาลบัดนีด้ ว้ ยเถิด”

สมเด็จพระนฤบดีพมิ พิสารราชา เมือ่ ไม่มพี ระกระยาหารจะเสวยแล้ว พระองค์ผทู้ รงเป็นพระโสดาบัน


อริยบุคคล ก็ทรงเดินจงกรม โดยมีพระพุทธคุณเป็นอารมณ์เครื่องระลึกถึงด้วยดี มีปีติความอิ่มใจหล่อเลี้ยง
พระกายินทรีย์ ทรงมีวรรณฉวีอนั งาม ผ่องใส แต่ไม่นานเท่าใด เมือ่ ความทราบไปถึงพระราชบุตรผูม้ ใี จอกตัญญู
หมายจักกระทำ ปิตุฆาตกรรมว่า สมเด็จพระราชบิดาทรงมีชีวิตอยู่ได้ด้วยอาการที่ทรงเดินจงกรม จึงทรงมี
พระราชดำรัสสัง่ ให้ชา่ งโกนผม นำเอามีดโกนอันคมกล้า ไปผ่าทีฝ่ า่ พระบาททัง้ 2 ซ้ายขวา แล้วให้ทาด้วยน้ำ เกลือ
สมเด็จพระเจ้าพิมพิสารผู้มีราชโอรสเป็นกบฏศัตรู เมื่อทรงถูกทรมานด้วยอาการอย่างนี้ ก็ไม่ทรงสามารถ
ที่จะมีชีวิตอยู่อีกต่อไปได้ พระองค์ได้ทรงถึงแก่ชีพิตักษัย โดยเหตุได้เสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้า เพราะพิษ
บาดแผล ที่อกตัญญูผู้ปิโยรสสั่งให้ผ่าที่ฝ่าพระบาทในกาลครั้งนั้น เมื่อทรงดับขันธ์จากมนุษยโลกเรานี้แล้ว
พระองค์กเ็ สด็จไปอุบตั เิ กิดเป็นเทพบุตร สถิตเสวยทิพยสมบัตเิ ป็นสุขอยู่ ณ จาตุมหาราชิกาสวรรค์

ฝ่ายเจ้าอชาตสัตตุราชผูม้ บี าป หลังจากทรงสังหารสมเด็จพระราชบิดาเป็น ปิตฆ ุ าตกรรม ได้เสวย


สิรริ าชสมบัตสิ มประสงค์แล้ว พระองค์กห็ าได้ทรงมีความสุขพระทัยไม่ เพราะบาปหนักทีพ่ ระองค์ทรงกระทำไว้
มาปรากฏในพระหฤทัยอยู่เนืองๆ ต่อมาได้ทรงมีโอกาสเข้าไปเฝ้าสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้ทรงสดับ
พระธรรมเทศนาแล้ว ทรงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนาเป็นอันมาก หลังจากสมเด็จพระผูม้ ี
พระภาคเสด็จดับขันธ์ปรินนิ พานแล้ว พระสงฆ์ทง้ั ปวงซึง่ มีพระมหากัสสปะเถรเจ้าเป็นประธาน ประสงค์จะทำการ
สังคายนาพระธรรมวินยั ก็ได้พระราชาธิบดีอชาตสัตตุราชนีแ่ หละ ทรงเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์บำรุง สิน้ พระราชทรัพย์ไป
เป็นอันมาก เมือ่ การสังคายนาพระธรรมวินยั เสร็จสิน้ ลงแล้ว ก็ปรากฏว่าองค์อชาตสัตตุราชาธิบดี ทรงมีความ
เคารพเลือ่ มใสในองค์อรหันต์กสั สปะสังฆวุฒาจารย์ผเู้ ป็นประธานสงฆ์ในครัง้ นัน้ ประดุจดังว่าเป็นบิดา ข้อนีจ้ ะพึง เห็น
ได้ในตอนทีท่ า่ นพระมหากัสสปะเถรเจ้าเข้าสูน่ พิ พาน

ก็องค์อรหันต์ท่านพระมหากัสสปะเถรเจ้านั้น ครั้นท่านมีอายุยืนนานได้ ๑๒๐ พรรษาแล้ว ท่านก็


ประกาศแก่สงฆ์ทง้ั ปวงว่า “จักเข้าสูพ่ ระปรินพิ พาน” แล้วมีความประสงค์เข้าไปสูก่ รุงราชคฤห์มหานคร เพือ่ จัก
กล่าวคำอำลาแก่พระเจ้าอชาตสัตตุราชตามอริยประเพณี ด้วยเหตุวา่ พระองค์ทรงเป็นผูม้ บี ญ ุ คุณต่อพระพุทธ
ศาสนาให้ความอุปภัมภ์ในคราวกระทำการสังคายนาพระธรรมวินัย ฉะนั้นในเวลาเที่ยงวัน พระผู้เป็นเจ้าจึง
เตรียมองค์ผลัดเปลีย่ นผ้าสบงจีวรและกายพันธ์ แล้วนุง่ ห่มผ้ามหาบังสุกลุ ทีส่ มเด็จพระบรมศาลดาทรงประทาน ให้

 ⌫⌫
เสร็จแล้วจึงเดินทางมุ่งหน้าเข้าไปในกรุงราชคฤห์ บอกความประสงค์แก่เหล่าอำมาตย์ว่า จักลาสมเด็จ
พระราชาธิบดีไปเข้าสูป่ รินพิ พาน อำมาตย์เหล่านัน้ จึงกราบเรียนว่า สมเด็จพระราชธิบดีทรงบรรทมอยู่ พระผู้
เป็นเจ้าก็ไม่รบกวนอะไรต่อไปกล่าวแต่เพียงว่า “จะลาไปนิพพาน ทีภ่ เู ขากุกกุฎสัมปาตะบรรพต” แล้วก็กลับมา
สูเ่ วฬุวนั มหาวิหาร จับไม้กวาดแผ้วกวาดบริเวณมหาวิหาร ตัง้ น้ำใช้นำ้ ฉันไว้ตามปรกติทเ่ี คยกระทำประจำวัน
แล้วเก็บเครือ่ งบริขารไว้ให้เรียบร้อยตามอริยประเพณี ด้วยว่าองค์พระอรหันต์ทา่ นไม่เกียจคร้าน แม้กฎุ วี หิ ารก็
ปัดกวาดเสียก่อนจึงนิพพาน ทัง้ นีก้ เ็ พราะมีสติมน่ั เทีย่ งตรง ไม่เหมือนปุถชุ นคนสามัญธรรมดา

ครั้นแล้วพระผู้เป็นเจ้าก็ออกจากเวฬุวันมหาวิหาร แวดล้อมด้วยหมู่สงฆ์เป็นบริวารเดินทางไปสู่
กุกกุฎสัมปาตะบรรพตในเวลาเย็นใกล้คำ่ ครัน้ ถึงแล้ว พระผูเ้ ป็นเจ้าก็แสดงปาฏิหาริยด์ ว้ ยอำนาจอภิญญาอัน
ชำนาญ เหาะขึน้ ไปสูอ่ ากาศสูง ๗ ชัว่ ลำตาล ขณะนัน้ ก็ปรากฏเป็นท่อเพลิงพุง่ ออกมาจากกายทางเบือ้ งขวา
ส่วนทางเบือ้ งซ้ายเป็นท่อน้ำและเบือ้ งบนก็เป็นท่อน้ำ ส่วนเบือ้ งต่ำเป็นท่อเพลิง สลับกันเป็นคูๆ่ อย่างมหัศจรรย์
บางครัง้ ก็ปรากฏเป็นเปลวเพลิงรุง่ โรจน์ไปทัว่ กาย บางครัง้ เป็นกระแสสายน้ำพุง่ ออกทัว่ กาย บางครัง้ ก็แสดง
ฤทธิต์ า่ งๆ จำแลงกายเป็นสมเด็จพระเจ้าจักรพรรดิราชเจ้า ประกอบด้วยเครือ่ งประดับ พร้อมด้วยจตุรงคเสนา
แวดล้อมเป็นบริวารให้ปรากฏแก่ชนทัง้ หลาย บางครัง้ ก็แปลงกายเป็นท้าวโกสียเ์ ทวราชประดับ ด้วยทิพยาภรณ์
งามหยดย้อยยิง่ นัก แวดล้อมด้วยเทพบริวารในชัน้ ดาวดึงส์สวรรค์มากมายสุดประมาณ บางครัง้ ก็แปลงกายแสดง
องค์เป็นท่านท้าวมหาพรหม สง่างามด้วยรัศมีมากมาย แวดล้อมด้วยพรหมบริษทั ในพรหมโลกต่างๆ แสดงพระ
ธรรมเทศนาโปรดเทวดาและมนุษย์เป็นครัง้ สุดท้ายแล้วก็ลงมาจากอากาศ ตรงไปยังกุกกุฎสัมปาตะบรรพต ซึง่
ทวยเทพทัง้ หลายได้นำเอาผ้าทิพย์เข้าไปปูลาดไว้แล้ว และหมูม่ นุษย์กพ็ ากันตกแต่งแท่นทีน่ พิ พานไว้เรียบร้อย
คอยท่าพระผูเ้ ป็นเจ้าอยู่

เมือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้ามหากัสสปะ เข้าไปภายในภูเขากุกกุฎสัมปาตะบรรพตและขึน้ ไปสูแ่ ท่นทีน่ พิ พานแล้ว


ก็นง่ั พับพะแนงเชิง เข้าสูผ่ ลสมาบัตเิ ป็นเอกันตบรมสุข ในไม่ชา้ ก็ออกจากผลสมาบัติ แล้วจึงตัง้ สัตยาธิษฐานว่า

“อาตมาดับสังขารเข้าสูน่ พิ พานแล้วเมือ่ ใด ขอให้ภเู ขากุกกุฎสัมปาตะบรรพตทัง้ ๓ นีจ้ งน้อมมาประชุมกัน


เป็นลูกเดียวให้ปรากฏเป็นห้องหับอยูภ่ ายในภูเขา ดุจห้องไสยาสน์อนั มีความสง่างาม…

หากว่าพระเจ้าอชาตสัตตุราช เธอทรงทราบว่าอาตมานิพพานแล้ว ก็จกั เสด็จมากระทำสักการบูชาด้วย


ความภักดี ขอให้ภเู ขาทัง้ ๓ ลูกนี้ จงแยกออกจากกัน ให้พระองค์ได้กระทำสักการบูชา เมือ่ สิน้ การกระทำสักการ
บูชาของเธอแล้ว ก็ขอให้ภเู ขาทัง้ ๓ ลูกนี้ จงเข้าประชุมกัน ปกปิดร่างกายของอาตมาพร้อมทัง้ แท่นทีน่ พิ พานนี้
ให้มดิ ชิดดังเก่าเถิด”

อธิฐานดังนีแ้ ล้ว สาวกองค์สำคัญแห่งองค์สมเด็จพระประทีปแก้วสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ดบั ขันธ์เข้าสูพ่ ระ


ปรินพิ พานอันเป็นแดนสุขเกษมนักหนา เมือ่ พระมหากัสสปะเถรเจ้าเข้าสูพ่ ระปรินพิ พานแล้วนัน้ กุกกุฎสัมปาตะ
บรรพตทัง้ ๓ ลูก ก็โน้มเข้ามารวมกัน ปกปิดร่างกายของพระผูเ้ ป็นเจ้า ส่วนภายในนัน้ เล่ามีหอ้ งหับประดับประดา

 ⌫ 


ด้วยเครื่องสักการบูชาต่างๆ เป็นไปตามที่ท่านอธิษฐานไว้ทุกประการ เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายพร้อมทั้ง
พระสงฆ์ผเู้ ป็นบริวารทัง้ ปวง เมือ่ ได้เห็นภูเขาทัง้ ๓ ค่อยๆ โน้มน้อมเข้าหากันทีละน้อยๆ จนปกปิดร่างกาย
พร้อมทั้งแท่นที่นิพพานของท่านเป็นอัศจรรย์เช่นนั้น ต่างก็พากันโศกศัลย์เสียใจ ส่งเสียงร้องไห้กันเซ็งแซ่
โกลาหลอลหม่านไปทัว่ บริเวณนัน้ ครัน้ แล้วก็พากันกระทำสักการบูชาและกลับไปสูท่ อ่ี ยูแ่ ห่งตน

ฝ่ายบุคคลสำคัญ คือ สมเด็จพระเจ้าอชาตสัตตุราชาธิบดีเมื่อทรงตื่นบรรทมแล้วก็เสด็จออกขุนนาง


เหล่าอำมาตย์ทั้งหลายได้กราบบังคมทูลถึงข่าวการเข้าสู่พระปรินิพพานของพระมหากัสสปะเถรเจ้า แต่พอ
พระองค์ได้ทรงสดับข่าวว่าพระมหากัสสปะเข้าสูน่ พิ พานแล้วเท่านัน้ ก็ทรงซวนเซและถึงแก่วสิ ญั ญีภาพสลบซบ
นิง่ อยู่ ณ ทีน่ น่ั เอง ! แพทย์หลวงทัง้ หลายต่างพากันตกใจช่วยถวายการพยาบาล โดยนำพระองค์ลงแช่ในอ่าง
น้ำอ้อยสดแล้วนำลงแช่ในอ่างน้ำนมสดในเวลาใกล้ๆ กัน น้ำอ้อยและน้ำนมสดก็ซมึ ซาบเข้าสูพ่ ระสรีระกายและ
พระหฤทัยของพระองค์ ในไม่ชา้ พระองค์กไ็ ด้คนื พระชนม์ขน้ึ มา แล้วทรงถามเรือ่ งราวแก่เหล่าอำมาตย์อกี เมือ่
เหล่าอำมาตย์กราบบังคมทูลอีกว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! พระมหากัสสปะเถรเจ้า ท่านเข้าสูน่ พิ พานแล้ว พระเจ้าข้า”

ทรงฟังว่าได้เพียงเท่านี้ องค์ราชาธิบดีผมู้ คี วามเคารพรักใคร่ในพระมหาเถรเจ้าประดุจบิดา ก็ทรงถึงแก่


วิสญ
ั ญีภาพสลบซบนิง่ ไปอีก เหล่าแพทย์หลวงจึงได้รบี กระทำการพยาบาลโดยนำพระองค์ลงแช่ในอ่างน้ำอ้อยสด
แล้วนำลงไปแช่ในอ่างน้ำนมสดและนำลงไปแช่ในอ่างน้ำส้มอันใส แล้วนำลงไปแช่ในอ่างน้ำหอม ต่อจากนัน้ จึง
นำพระองค์ลงไปแช่ในอ่างน้ำเย็นอันใสสะอาด รวมทัง้ ๕ อ่างด้วยกัน ซึง่ พวกแพทย์หลวงผูร้ เู้ หตุการณ์ลว่ งหน้า
ได้เตรียมกันไว้กอ่ นเรียบร้อยแล้ว

ครัน้ สมเด็จพระราชาธิบดี ทรงฟืน้ จากวิสญ


ั ญีภาพแล้วพระองค์กใ็ ห้ทรงประกาศป่าวร้องแก่ประชาชน
ชาวพระนครราชคฤห์ ให้เตรียมตัวไปกระทำสักการบูชาศพขององค์อรหันต์พระมหากัสสปะเถรเจ้า พร้อมกับ
พระองค์ในขณะนั้นทันที ครั้นเสด็จไปถึงแล้ว เมื่อทรงเห็นแต่ภูเขากุกกุฎสัมปาตะบรรพตไม่เห็นศพขององค์
อรหันต์ทพ่ี ระองค์ทรงเคารพอย่างสูงสุดแต่อย่างใด พระองค์จงึ ได้ตง้ั สัตยาธิษฐานว่า

“ข้าแต่เทวดาผู้เจริญทั้งหลาย ! ขอท่านทั้งปวงจงฟังคำของข้าพเจ้าในครั้งนี้ อันตัวข้าพเจ้านี้


มีความจงรักภักดีตอ่ องค์อรหันต์ทา่ นพระมหากัสสปะประดุจบิดา ด้วยเดชะความสัจอันแท้จริงของข้าพเจ้า ขอ
ให้ภเู ขาทัง้ ๓ นี้ จงแยกออกให้ขา้ พเจ้าได้มโี อกาสเห็น และทำการสักการบูชาศพของท่านพระมหากัสสปะผู้
เป็นเจ้าสักครัง้ หนึง่ ด้วยเถิด เจ้าข้า”

ในทันใดนัน้ ภูเขาทัง้ ๓ ลูกก็แยกออกจากกัน ให้สมเด็จพระราชาธิบดีอชาตสัตตุนน้ั ได้ทอดทัศนาการ


เห็นศพพร้อมทั้งแท่นที่นิพพานขององค์อรหันต์ ตามคำอธิษฐานของท่านเมื่อจะเข้าสู่นิพพานพระเจ้า
อชาตสัตตุราชา เมือ่ ได้ทอดพระเนตรเห็นภูเขาค่อยแยกออกจากกัน จนได้ทรงทอดทัศนาการเห็นซากศพและ

 ⌫⌫
แท่นทีน่ พิ พานของพระผูเ้ ป็นเจ้าเป็นอัศจรรย์เช่นนัน้ ก็ทรงตืน้ ตันพระทัยบังเกิดความอาลัยรักในพระผูเ้ ป็นเจ้า
ยิง่ นัก ก็คอ่ ยเสด็จเข้าไปนมัสการ พร้อมด้วยข้าราชบริพารและประชาชนทัง้ หลายเป็นอันมาก เสร็จแล้วพระองค์
จึงมีพระราชดำรัสสัง่ ให้ตง้ั โรงพิธบี ำเพ็ญพระราชกุศล ประโคมดุรยิ ดนตรีถวายสักการบูชาศพของพระมหากัสสปะ
เถรเจ้าอยู่ ณ เชิงเขากุกกุฎสัมปาตะบรรพตนัน้ ๗ วัน ครัน้ ครบกำหนดแล้ว ภูเขาทัง้ ๓ ลูกนัน้ ก็โน้มน้อมเข้าหา
กัน ปกปิดศพของพระผูเ้ ป็นเจ้าไว้ตามเดิม

ถึงแม้จักทรงมีพระราชศรัทธาเลื่อมใสในพระบวรพุทธศาสนา ได้ทรงบำเพ็ญบุญกิริยามากมายดัง
กล่าวมาแล้วก็ตาม ถึงกระนัน้ เมือ่ คราวทีพ่ ระองค์จะถึงซึง่ ชีพติ กั ษัยนัน้ อุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศล ก็ทำหน้า
ที่อันซื่อสัตย์ของมัน นั่นคือ อุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศล ซึ่งเกิดจากการที่พระองค์ได้ทรงกระทำปิตุฆาต ฆ่า
สมเด็จพระบิดาตามคำแนะนำของอาจารย์เทวทัตผูช้ ว่ั ช้า ได้แล่นติดตามมาทัน แล้วทำหน้าทีเ่ ข้าตัดกุศลกรรม
ความดีทั้งปวงของพระองค์ที่ได้ทรงกระทำไว้มากมายในภายหลังเสีย แล้วก็กดขี่ลากคร่าเอาสมเด็จพระบรม
กษัตริยอ์ ชาตสัตตุราชนัน้ ให้ลงไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นสัตว์นรก ณ โลหกุมภีนรก ! มีคำพยากรณ์วา่ อชาตสัตตุสตั ว์
นรกนัน้ จักต้องเสวยทุกขเวทนาอยูใ่ นโลหกุลภีนรก จนถ้วนเวลากำหนดได้ ๖๐,๐๐๐ ปี แล้ว จึงจะพ้นจากนรก
นั้น แล้วได้มีโอกาสมาบังเกิดเป็นมนุษย์ในอวสานชาติที่สุด จักได้ตรัสเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ทรงนามว่า
“ชีวติ วิเสส” ในพุทธันดรอันเป็นระหว่าง ศาสนาแห่งองค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎศรีศากยมุนโี คดมบรมครูเจ้าแห่งเรา
นี้กับศาสนาแห่งองค์สมเด็จพระมิ่งมงกุฎศรีอริยเมตไตรย ซึ่งจักมาตรัสในอนาคตกาลภายภาคหน้า ด้วย
ประการฉะนี้

เรือ่ งทีเ่ ล่ามานี้ ต้องการทีจ่ ะชีใ้ ห้ทา่ นทัง้ หลายได้ทราบความหมายแห่ง อุปฆาตกรรมฝ่ายอกุศลโดยชัด


เจนยิง่ ขึน้ เมือ่ ได้ทราบความหมายแห่งอุปฆาตกกรรมฝ่ายอกุศลโดยชัดเจนแล้ว ทีนก้ี ค็ วรจะทราบความหมาย
แห่งอุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลบ้าง ก็อปุ ฆาตกกรรมฝ่ายกุศลนัน้ เมือ่ ตามมาทันบุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมเข้าแล้ว
ย่อมเริม่ ทำหน้าทีโ่ ดยเข้าไปฆ่า เข้าไปตัดรอนอกุศลกรรมคือความชัว่ ช้าและสรรพภัยพิบตั ทิ ง้ั ปวงของเขา ให้
พินาศพ่ายแพ้ลงในปัจจุบนั ทันที อาการทีบ่ คุ คลได้ประสบโชคดีอย่างร้ายแรงในปัจจุบนั ทันด่วน เช่น เป็นคน
ยาจกอยูแ่ ท้ๆ แต่กก็ ลายเป็นเศรษฐีขน้ึ มาอย่างพรวดพราดดังนีก้ ด็ ี และการทีต่ อ้ งตายไปเกิดเป็นเทวดา เสวย
ทิพยสมบัตเิ ป็นสุขอยู่ ณ สรวงสวรรค์เทวโลก ทัง้ ๆ ทีไ่ ด้ประกอบกรรมทำบาปหยาบช้าไว้มากมายก็ดี ตลอด
จนการทีไ่ ด้บรรลุพระอริยมรรคอริยผล สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนาได้ทง้ั ๆ ทีเ่ ป็นคนดูเหมือนว่า
ไม่เคยทำความดีในชาตินี้ ไม่น่าที่จะได้บรรลุมรรคผลอันสูงส่งเลยดังนี้ก็ดี เหล่านี้ ล้วนแต่เป็นผลแห่ง
อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลเข้าทำหน้าที่ทั้งสิ้น ในกรณีแห่งอุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศล เข้าทำหน้าที่ของตน ขอให้
ท่านสาธุชนทัง้ หลาย พึงเห็นตัวอย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

⌫
 ⌫
 

องคุลมิ าลอรหันต์

ได้สดับมาว่า สมัยที่องค์สมเด็จพระสรรเพชญสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรายังทรงพระชนม์ชีพอยู่นั้น
มีปโุ รหิตาจารย์ของสมเด็จพระราชาธิบดีโกศลราชอยูท่ า่ นหนึง่ ซึง่ เป็นผูร้ อบรูใ้ นไตรเพททรงพิทยาคุณ ท่าน
ปุโรหิตผูเ้ ป็นวรรณะพราหมณ์ผนู้ ้ี มีครอบครัวแล้ว วันหนึง่ ขณะทีน่ างพราหมณีผเู้ ป็นภรรยาแห่งท่านปุโรหิตาจารย์
จะคลอดบุตรชายคนแรกนัน้ ก็บงั เกิดอัศจรรย์เป็นหนักหนาด้วยว่าบรรดาเครือ่ งอาวุธศาสตราทัง้ ปวงในเมืองนัน้
เกิดลุกเป็นเปลวเพลิงรุ่งโรจน์เป็นอัศจรรย์ ! ท่านปุโรหิตาจารย์ผู้เป็นบิดาจึงรีบออกมาจากเรือน แล้วเล็งดู
ฤกษ์บนฤกษ์นั้นก็ปรากฏในอากาศเป็นที่แปลกประหลาดใจนัก ครั้นถึงเพลาเช้า เมื่อเข้าไปสู่ที่เฝ้าสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ วั แล้ว ท่านปุโรหิตาจารย์จงึ ทูลถามว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ ! เพลาเมือ่ คืนนีพ้ ระองค์ทรงบรรทมเป็นสุขสำราญอยูห่ รือประการใด


พระเจ้าข้า”

“จะเป็นสุขได้อย่างไรเล่า ท่านอาจารย์ ! ” สมเด็จพระเจ้าโกศลราชาธิบดีตรัสเล่า “ด้วยว่าเพลาเมือ่ คืน


นี้ บังเกิดอัศจรรย์ พระแสงอันเป็นมงคลนัน้ บังเกิดโกลาหลลุกเป็นเปลวไฟขึน้ มาเอง ข้าพเจ้าสำคัญหมายมัน่ ว่า
น่าทีจ่ ะมีเหตุอนั ตรายเกิดขึน้ แก่สริ ริ าชสมบัตแิ ละชีวติ ข้าพเจ้า ยิง่ รำพึงคิดไปก็ให้มคี วามกลุม้ ใจ มีอาการประดุจ
ว่าอุระจะแยกแตกคราก เมือ่ คืนนีข้ า้ พเจ้าลำบากมัวแต่คดิ วิตกถึงเรือ่ งนีอ้ ยูต่ ลอดคืน มิได้พกั ผ่อนหลับนอนเลย
ขอให้ทา่ นอาจารย์จงตรวจดูในบัดนีด้ ว้ ยเถิดว่า จักมีเหตุดรี า้ ยประการใด ?”

ปุโรหิตาจารย์ผเู้ จนจบในไตรเพทพิทยา จึงกราบบังคมทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ ! ขอพระองค์อย่าทรงพระปริวติ กไปเลย อาวุธศาสตราทัง้ ปวง


พร้อมทัง้ พระแสงมงคล เกิดลุกเป็นเปลวไฟรุง่ เรืองขึน้ มาเองนัน้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะอานุภาพแห่งกุมารทีบ่ งั เกิดขึน้ ใน
เรือนแห่งข้าพระบาทพระเจ้าข้า”

“ดูกร ท่านอาจารย์ ! ข้าพเจ้าใคร่จะทราบว่า เหตุมหัศจรรย์อย่างนี้ จะดีหรือร้ายประการใด?”


สมเด็จพระราชาธิบดี ทรงถามซ้ำอีก

“บุตรแห่งข้าพระบาททีเ่ กิดมาเมือ่ คืนนี้ เกิดมาในฤกษ์โจร เพราะฉะนัน้ ต่อไปภายหน้าเขาจักต้องเป็น


โจรอย่างแน่แท้ พระเจ้าข้า”
“บุตรของท่านอาจารย์ จักเป็นแต่เพียงโจรปล้นชาวบ้านธรรมดาหรือว่าจักเป็นโจรปล้นประทุษร้าย
พระนคร? ขอให้ทา่ นอาจารย์บอกให้ละเอียดสักหน่อยเถิด”

 ⌫⌫
“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ ! กุมารผูเ้ ป็นบุตรแห่งข้าพระบาทนัน้ จะบังเกิดเป็นโจรใหญ่
ประทุษร้ายปล้นพระนครเพื่อหวังเอาสิริราชสมบัติก็หามิได้ แต่ว่าจะมีน้ำใจหยาบช้าไล่พิฆาตฆ่าหมู่มหาชน
เป็นโจรกระทำร้ายชาวบ้านชาวเมือง เบียดเบียนมนุษย์หญิงชายให้ได้รับความเดือดร้อนเป็นอันมาก ฉะนั้น
ข้าพระบาทจึงใคร่ทจ่ี กั ทูลพระองค์วา่ ขอพระองค์จงอย่าได้ชา้ จงให้จบั เอากุมารผูเ้ ป็นบุตรแห่งข้าพระบาทนัน้
มาทำการประหารเสียในกาลบัดนี้ เพือ่ ทีป่ ระชาชนทัง้ หลายจะได้ไม่เดือดร้อนในภายภาคหน้า พระเจ้าข้า”

สมเด็จพระราชาธิบดี ได้ทรงฟังดังนัน้ ก็คอ่ ยเบาพระทัยจึงตรัสว่า

“ดูกร ท่านอาจารย์ ! การทีจ่ ะฆ่ากุมารบุตรของท่านในบัดนีเ้ ล่า ก็ยงั ไม่เข้าการ ขอท่านจงอภิบาลบำรุง


รักษากุมารบุตรของท่านไว้กอ่ นเถิด บางทีเขาอาจจะเป็นคนดีตอ่ ไปก็ได้”

ฝ่ายปุโรหิตาจารย์ผทู้ ำนายชะตากุมารบุตรของตนว่าจักเป็นโจร เมือ่ ได้สดับพระบรมราชโองการเช่น นัน้


จึงบังคมลามาสู่เรือน ตั้งแต่นั้นมา ก็อภิบาลบำรุงรักษาบุตรของตนเป็นอย่างดี ครั้นกุมารนั้นค่อยวัฒนาการ
เจริญวัยเติบโตขึ้นมา บิดามารดาทั้งสอง จึงคิดอ่านปรองดองกัน ให้นามแก่บุตรของตนอันเป็นมงคลนามว่า
“อหิงสกกุมาร” ซึง่ แปลว่ากุมารผูไ้ ม่เบียดเบียนใคร ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้พน้ รากฤกษ์จญ
ั ไรในขณะทีก่ มุ ารเกิดนัน้ เสีย

เมือ่ เจ้าอหิงสกกุมาร เติบใหญ่พอทีจ่ ะรับการศึกษาได้แล้ว ท่านบิดาจึงส่งตัวไปยังเมืองตักกสิลา เพือ่


จะให้ศกึ ษาเล่าเรียนสรรพวิชาและศิลปศาสตร์ตา่ งๆ ในสำนักแห่งท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์ ในขณะทีเ่ รียนใน
สำนักแห่งท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์ ณ เมืองตักกสิลานี้ ปรากฏว่าเจ้าอหิงสกกุมารเป็นศิษย์ทด่ี เี ยีย่ มประกอบด้วย
วัตรปฏิบตั เิ ป็นอย่างดี มีปญั ญาคล่องแคล่วเฉลียวฉลาดเฉียบแหลมว่องไว จะเล่าเรียนศิลปศาสตร์วชิ าการใด ๆ
ก็รจู้ บโดยรวดเร็วสิน้ ทุกประการ มีความรูเ้ ชีย่ วชาญชำนาญยิง่ กว่าสานุศษิ ย์ทง้ั ปวง

มาณพทัง้ หลายผูเ้ ป็นศิษย์ของท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์เมือ่ เห็นเจ้าอหิงสกกุมารเป็นทีโ่ ปรดปรานแห่ง


ท่านอาจารย์และมีความรูด้ เี ด่นยิง่ กว่าพวกตนเช่นนัน้ ก็มนี ำ้ ใจอิสสาริษยาวันหนึง่ จึงปรึกษาซึง่ กันและกันว่า

“จำเดิมแต่เจ้าอหิงสกกุมารมาณพมาอยู่ ณ สำนักของเรานี้แล้ว เราท่านทั้งปวงก็บังเกิดความ


อัปภาคย์หากิตติศัพท์มิได้ ทั้งนี้ก็เพราะว่าเขาเป็นที่รักใคร่แห่งท่านอาจารย์ เราท่านทั้งปวงจะหน่วงไว้ให้ช้า
น่าที่จะเสียการไปเป็นแน่ อย่ากระนั้นเราควรจะหากลอุบายเพื่อทำลายลบล้างเจ้าอหิงสกกุมารนี้ให้ได้ในกาล
บัดนีเ้ ถิด”

คนหนึง่ กล่าวขึน้ ในทีป่ ระชุมนัน้ ว่า

“การที่พวกเราคิดจักทำลายล้างเจ้าอหิงสกกุมารนั้น ครั้นเราจะพากันเข้าไปหาท่านอาจารย์แล้ว
ยกโทษขึ้นว่า เจ้าอหิงสกกุมารนั้นเป็นคนมีปัญญาทราม มีความคิดชั่วช้า ท่านอาจารย์ก็คงจักไม่เห็นด้วย

 ⌫ 


อหิงสกกุมารนัน้ สิ เขาเป็นคนมีปญ ั ญาไวเฉียบแหลมมากนัก เป็นทีป่ ระจักษ์แก่ใจท่านอาจารย์อยู่ ครัน้ พวกเรา
จะกล่าวยกโทษขึ้นว่า เขาเป็นคนมีข้อวัตรปฏิบัติชั่วช้าเลวทรามเช่นนี้ๆ ก็เห็นว่าจักไม่สำเร็จอีก ด้วยว่าเจ้า
อหิงสกกุมารนัน้ สิ เขาเป็นคนมีขอ้ วัตรปฏิบตั ดิ นี กั ดีหนาครัน้ พวกเราจักกล่าวยกโทษขึน้ ว่า เจ้าอหิงสกกุมารนัน้
เป็นคนอันธพาลมีชาติตระกูลเลวทรามต่ำช้า อย่างนีก้ ย็ ง่ิ จะซ้ำร้ายหนักเข้าไป ด้วยว่าเจ้าอหิงสกกุมารนัน้ สิ เขา
มีชาติตระกูลอันสมบูรณ์ เกิดในตระกูลพราหมณ์ปโุ รหิตาจารย์ เมือ่ เป็นเช่นนีเ้ ราจักทำประการใดดีเล่า จึงจัก
สามารถทำลายล้างเจ้าอหิงสกกุมารได้สมความปรารถนา?”

ในทีส่ ดุ มาณพผูม้ ากไปด้วยความริษยาเหล่านัน้ ก็พากันเห็นชอบในอุบายอันเป็นบาปอย่างหนึง่ ซึง่


คาดว่าจักทำลายล้างอหิงสกกุมารได้สำเร็จสมความปรารถนาและแล้วอุบายอุบาทว์กเ็ ริม่ ขึน้ โดยในบรรดามาณพ
เหล่านัน้ มาณพพวกหนึง่ ซึง่ มีหลายคนด้วยกัน ได้พากันเข้าไปหาท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์ในเย็นวันหนึง่ เมือ่
ท่านอาจารย์ถามว่า

“พวกท่านพากันมาหาเรามากมายในวันนี้ ด้วยเหตุดงั ฤา?”

“ข้าแต่ทา่ นอาจารย์ ! ตัวข้าพเจ้าทัง้ ปวงนีไ้ ด้ฟงั ข่าวไม่ดอี นั หนึง่ ซึง่ ปรากฏขึน้ ในสำนักเรียนแห่งเรานี้
ขอรับกระผม” มาณพผูเ้ ป็นหัวหน้ากล่าวตอบ

“ข่าวไม่ดอี ะไร ? จงบอกให้เราได้ทราบเถิด อย่าได้เกรงใจเลย”

“ข้าแต่ทา่ นอาจารย์ ! เจ้าอหิงสกกุมารทีท่ า่ นอาจารย์รกั ใคร่ให้ความไว้วางใจนัน้ เดีย๋ วนีม้ นั คิดอ่านหา


อุบายประทุษร้ายท่านอาจารย์อยูต่ ลอดเวลา ขอรับกระผม”

ท่านอาจารย์ได้ฟงั ดังนัน้ ก็บงั เกิดความโกรธ จึงตะคอกขูร่ กุ รานกุมารทัง้ หลายเหล่านัน้ ว่า

“ดูกร เจ้าทัง้ หลาย ! พวกเจ้าจะมาแกล้งทำลายล้างลูกของเราเสียด้วยอำนาจแห่งอิสสาริษยาอย่างนัน้


หรือ? จงรับรูไ้ ว้เสียด้วยว่าเรานีร้ กั ใคร่ในเจ้าอหิงสกกุมารปานประดุจบุตรอันเกิดแต่อก พวกเจ้าจงเร่งรีบออกไป
เสียให้พน้ จากทีน่ ่ี แล้วอย่ามากล่าวคำอัปรียเ์ ช่นนีอ้ กี เป็นอันขาด เข้าใจไหมเล่า?”

อีกไม่กว่ี นั ต่อมา มาณพอีกพวกหนึง่ ซึง่ เป็นชุดที่ ๒ ก็ได้พากันเข้าไปหาท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์


แล้วก็กล่าวคำยุยงให้ทา่ นมีนำ้ ใจเกลียดชังเจ้าอสิงสกกุมาร เช่นเดียวกับมาณพพวกแรก แต่กไ็ ม่เป็นผลสำเร็จ
เพราะถูกท่านขับไล่ออกมาอีก แม้วา่ จะไม่เป็นผลสำเร็จในกิรยิ าอาการภายนอก แต่มาณพชุดนีก้ ไ็ ด้ฝากความ
ลังเลสงสัยให้ตดิ ค้างอยูใ่ นใจท่านอาจารย์อยูบ่ า้ ง

 ⌫⌫
ต่อมาอีกไม่กว่ี นั แผนการทำลายล้างเจ้าอหิงสกกุมารก็เริม่ ขึน้ อีก โดยมาณพพวกหนึง่ ซึง่ เป็นชุดที่ ๓
ได้พากันเข้าไปหาท่านอาจารย์ หลังจากสนทนากันถึงเรือ่ งอืน่ พอประมาณแล้ว มาณพเหล่านีก้ ท็ ำเป็นกระซิบ
บอกท่านอาจารย์วา่ บัดนีเ้ จ้าอหิงสกกุมารกำลังคิดหาอุบายประทุษร้ายท่านหนักเข้าไปทุกทีแล้ว

“เราไม่เชือ่ ” ท่านอาจารย์ฝนื ใจพูด” เจ้าอหิงสกกุมารจะคิดประทุษร้ายเราด้วยเหตุผลกลใดกัน”

“มันถือตัวว่า มันมีความรูแ้ ละฝีมอื เท่ากับท่านอาจารย์นะ่ ซิ มันจึงคิดจะทำร้ายท่านอาจารย์ให้ตายเสีย


แล้วมันจะได้เป็นผูม้ คี วามรูแ้ ละฝีมอื เลิศอยูแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว”

“เราไม่คดิ ว่า เจ้าอหิงสกกุมาร จะมีจติ อกตัญญูและคิดชัว่ ช้าเช่นนัน้ ”

“ถ้าท่านอาจารย์ไม่เชือ่ ข้าพเจ้าทัง้ ปวงนีก้ ม็ แี ต่ความเสียใจและคงจะมีความเสียใจมากยิง่ ขึน้ เมือ่ ได้


ทราบข่าวในวันหน้าว่าท่านอาจารย์ผมู้ คี วามรอบรูแ้ ละมีฝมี อื เป็นเลิศ ถูกเจ้าอหิงสกกุมารฆ่าตายเสีย” มาณพ
เหล่านัน้ กล่าวยุยงพอควรแก่การณ์ดงั นีแ้ ล้ว ก็พากันลากลับไป

เสาหินทีป่ กั ไว้ในปฐพีอนั ลึก เมือ่ ถูกผลักหรือจับสัน่ บ่อยๆ เข้ายังมีโอกาสทีจ่ ะโยกไหวสัน่ คลอนได้ นับ
ประสาอะไรกับดวงฤทัยทีฝ่ งั อยูใ่ นร่าง ซึง่ ยังเป็นปุถชุ นแห่งท่านอาจารย์ทสิ าปาโมกข์ เมือ่ ถูกมาณพทัง้ หลายมา
จับสั่นเอาหลายครั้งหลายครา ในที่สุด ท่านอาจารย์ก็เกิดสัมโมหะเข้ามาบังปัญญา พาให้คิดเห็นไปว่า เจ้า
อหิงสกกุมารทีต่ นรักใคร่เป็นนักหนาประดุจลูกอันเกิดแต่อกนัน้ บัดนีม้ นั เกิดคิดอกตัญญูทรยศเข้าแล้ว จึงคิดหา
อุบายทีจ่ ะกำจัดเสียแต่ตน้ มือ

“ทำไฉน เราจึงจะกระทำอันตรายแก่เจ้าอหิงสกกุมารผูท้ รยศนีไ้ ด้ หากว่าเราจะฆ่ามันเสียในบัดนี้ ก็จะ


บังเกิดลือชาปรากฏไปว่า ทิสาปาโมกข์อาจารย์มีจิตมิดีประพฤติการอันเป็นบ้าฆ่าสานุศิษย์ซึ่งมาเล่าเรียน
ศิลปศาสต์ในสำนัก แทนจะรักใคร่ให้ความเมตตาสัง่ สอนตามธรรมเนียมประเพณี ก็กระทำย่ำยีพฆิ าตฆ่าให้ถงึ แก่
มรณาอาสัญ ครัน้ คนทัง้ หลายรูร้ ะแคะระคายดังนี้ ก็จะบังเกิดครัน่ คร้ามขามขยาดไม่กล้าส่งบุตรหลานมา เล่า
เรียนศิลปศาสตร์ในสำนักเราอีกสืบไป อย่าเลย เราจะคิดอ่านแต่งกลอุบายล่อลวงเพือ่ จะให้มหาชนทัง้ ปวงล้าง
ชีวติ เจ้าอหิงสกกุมารผูท้ รยศในครัง้ นีใ้ ห้จงได้”

เมือ่ ทิสาปาโมกข์อาจารย์ ผูต้ อ้ งอุบายแห่งมาณพผูเ้ ป็นศิษย์ทง้ั หลาย นอนไตร่ตรองคิดหาอุบายเพือ่ จะ


ยืมมือประชาชนให้สงั หารเจ้าศิษย์รกั อีกทอดหนึง่ ด้วยอาการครุน่ คะนึง วันหนึง่ จึงเรียกเจ้าอหิงสกกุมารมาแล้ว
สัง่ ว่า

“ดูกร เจ้าลูกรัก ! สรรพศิลปศาสตร์สง่ิ ไร ทีพ่ อ่ จะพึงมอบให้เจ้า บัดนีเ้ จ้าก็อตุ สาหะเล่าเรียนเสร็จสิน้


หมดแล้ว ยังเหลือแต่วทิ ยาการฤทธิม์ นต์เท่านัน้ ซึง่ พ่อยังไม่เคยมอบให้ใครเลย ก็ตง้ั ใจว่าจะมอบให้เจ้านีแ่ หละ

 ⌫ 


เป็นคนแรกและคนสุดท้าย ฉะนัน้ ตัง้ แต่วนั นีเ้ ป็นต้นไป เจ้าจงไปตัดแขนคนให้ได้ครบ ๑,๐๐๐ แล้วจงนำมา พ่อจะ
ประกอบศิลปศาสตร์อนั ประเสริฐสุดยอดนีใ้ ห้เจ้าเพือ่ ให้สมกับทีเ่ จ้าเป็นศิษย์รกั ยิง่ ของพ่อ”

ข้าแต่ทา่ นอาจารย์ผมู้ คี ณ
ุ ล้นเกล้าประดุจบิดา ! ข้าพเจ้านีส้ เิ กิดในตระกูลพราหมณ์ จะได้รกู้ ารเบียด
เบียนและฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ นัน้ หามิได้ ครัน้ ข้าพเจ้าจะกระทำกรรมอันหยาบช้าฆ่าคนให้ได้แขนครบ ๑,๐๐๐ ก็ให้
หวัน่ เกรงว่าจะประพฤติผดิ เพศประเพณีวงศ์ตระกูลมารดาบิดาของข้าพเจ้า ด้วยเหตุนข้ี า้ พเจ้าจึงมิสามารถจักทำ
ตามคำสัง่ ของท่านอาจารย์ได้” อหิงสกกุมารผูบ้ ริสทุ ธิ์ กล่าวตอบท่านอาจารย์แต่โดยซือ่

อาจารย์ผหู้ วังจะยืมมือผูอ้ น่ื สังหารศิษย์ จึงกล่าวโดยเล่หอ์ กี ว่า

“พ่อนีม้ คี วามปรารถนาดีตอ่ ตัวเจ้า หวังจะให้ได้วทิ ยาการครบครันเป็นตัวแทนพ่อในวันหน้า จึงอุตส่าห์


ปลุกปล้ำสัง่ สอนเจ้าเป็นพิเศษมาเป็นเวลานาน ก็ปรารถนาทีจ่ ะมอบวิทยาการอันสูงสุดนีใ้ ห้เป็นสำคัญ เจ้าจะ
กล่าวดังนัน้ หาสมควรไม่ อย่าให้พอ่ ต้องผิดหวังและเสียใจเลย ไปเถิด จงไปหาแขนคนเอามาให้ได้ครบ ๑,๐๐๐
เพราะมันเป็นเครือ่ งประกอบอันสำคัญในการประสาทวิทยาการฤทธิม์ นต์ หากว่าเครือ่ งประกอบนัน้ ไม่มคี รบก่อนแล้ว
การเรียนศิลปศาสตร์วิทยาการฤทธิ์มนต์จักไม่เป็นผลสำเร็จเลยเป็นอันขาด อย่าลืมว่าในโลกนี้ผู้ที่พ่อ
ปรารถนาจักให้วทิ ยาการอันประเสริฐนีก้ ม็ อี ยูแ่ ต่ตวั เจ้าเท่านัน้ !”

เจ้าอหิงสกกุมารผูใ้ คร่ตอ่ การศึกษาครัน้ ได้ฟงั ท่านอาจารย์วา่ ดังนัน้ ก็ตดั สินใจจับอาวุธทัง้ หลายผูกพัน


ให้มน่ั กับตนแล้วก็กราบลาท่านอาจารย์ผมู้ เี จตนาร้าย เข้าไปสูร่ าวป่าเทีย่ วพิฆาตมนุษย์ทง้ั หลายผูเ้ ดินทางไปมา
ในป่านัน้ ด้วยเชิงดาบและเชิงธนูอนั ล้ำเลิศแห่งตน เขาเทีย่ วฆ่าคนเพือ่ จะเอาแขนเป็นจำนวนมากมายนักหนา
โดยประสงค์ว่าจะเอาไปเป็นเครื่องประกอบในการศึกษาวิทยาการ จะได้ฆ่าด้วยเจตนาอันเป็นบาปหยาบช้า
เหมือนโจรฆ่าคนทัง้ หลายก็หามิได้ ครัน้ เขาฆ่าคนแล้วตัดเอาแขนมาสะสมไว้โดยมิได้นำเอาติดตัวไป ในไม่ชา้
จึงบังเกิดความลบเลือนและสงสัยเป็นนักหนา ว่าตนฆ่าคนไปได้เท่าใดแล้ว และจวนจะครบกำหนดหรือยัง เมือ่
นึกเท่าใดก็นกึ ไม่ออก ด้วยความเลอะเลือนอย่างนี้ เขาจึงมีความคิดขึน้ ใหม่คอื เมือ่ ฆ่าคนได้แขนแล้ว ก็จดั เอา
นิว้ มือของคนเคราะห์รา้ ยนัน้ ร้อยเป็นพวงมาลัยสวมใส่ไว้ทค่ี อเพือ่ นำติดตัวไปเป็นการสะดวกแก่การนับในเมือ่ ต้องการ
แล้วก็ทะยานวิ่งไล่ฆ่าคนต่อไป เพื่อให้ครบจำนวนที่กำหนดไว้เร็วๆ ด้วยเหตุนี้ อหิงสกกุมารผู้น่าสงสาร
จึงมีนามปรากฏว่า “องคุลมิ าลโจร” ซึง่ แปลว่าโจรผูม้ นี ว้ิ มือคนเป็นพวงมาลัย

จำเดิมแต่เจ้าองคุลมิ าลโจร มากระทำกรรมอันเป็นบาปหยาบช้า เทีย่ วไล่ฆา่ คนเป็นอันมากในราวป่า


บุคคลผูใ้ ดผูห้ นึง่ มิอาจเพือ่ จะเดินทางเข้าไปสูป่ า่ หรือเพือ่ จะไปเก็บผักหักพืนในราวป่านัน้ ได้เลย บุคคลใดใจกล้า
เดินเข้าไปในสถานทีน่ น้ั แล้ว เป็นต้องถูกเจ้าโจรประหลาดประหารชีวติ และตัดเอานิว้ มือมาร้อยเป็นพวงมาลัยใส่
คอเสียสิ้น เมื่อเห็นไม่มีใครกล้าเดินไปในทางนั้นแล้ว จึงในเวลากลางคืนพอสังเกตเห็นว่าสงัดเงียบดีแล้ว
องคุลมิ าลโจรผูใ้ จร้าย หวังจะให้ได้นว้ิ มือคนครบจำนวนไวๆ จึงแอบย่องเข้าไปภายในหมูบ่ า้ น เมือ่ ขึน้ ไปบน
บ้านใดก็ยกบาทขึน้ ทำลายบานประตูและหน้าต่างเข้าไป ถ้าเห็นคนนอนหลับเงียบสงัดลืมสติแล้ว ก็เข้าทำลาย

 ⌫⌫
ล้างชีวติ เสียคนหนึง่ บ้าง สองคนบ้าง หลายคนบ้าง ตัดเอานิว้ ร้อยเป็นพวงมาลัย แล้วจึงหลบหนีไปจากบ้านนัน้
ทำการเบียดเบียนชีวติ อยูอ่ ย่างนีเ้ รือ่ ยไป

ฝ่ายมนุษย์หญิงชายทัง้ ปวง ซึง่ มีเคหสถานอยูใ่ นเขตนัน้ ต่างก็พากันหวัน่ เกรงภัยจากโจรร้ายองคุลมิ าล


ยิง่ นัก ด้วยไม่รวู้ า่ ตนจักต้องตายเพราะฝีมอื แห่งโจรใจร้ายไปในคืนใด จึงตัดสินใจพากันอพยพ ละถิน่ ฐานบ้าน
เรือนของตน แล้วอุม้ ลูกจูงหลานหนีไปจนบรรลุถงึ กรุงสาวัตถีอนั เป็นเมืองหลวง แล้วเข้าไปสโมสรประชุมกันอยูท่ ่ี
หน้าพระลาน พากันกราบทูลร้องทุกข์แด่องค์สมเด็จพระราชาธิบดีโกศลราชว่า

“ข้าแต่พระองค์ผปู้ ระเสริฐ พระเจ้าข้า ! บัดนีน้ ายองคุลมิ าลโจรกระทำการจลาจล ไล่พฆิ าตฆ่ามหาชน


ในนิคมขอบเขตแว่นแคว้นแดนของพระองค์มานานแล้ว พระองค์จักทรงนิ่งเฉยปล่อยให้ประชานิกรของ
พระองค์ตายกันหมดหรืออย่างไรพระพุทธเจ้าข้า”

สมเด็จพระราชาธิบดี ซึง่ ทรงทราบข่าวมานานแล้ว เมือ่ ได้ทรงฟังคำร้องทุกข์ของประชาชนดังนี้ ก็มี


พระราชหฤทัยหมายมั่นว่าจักเสด็จไประงับเหตุร้ายปราบองคุลิมาลโจรด้วยพระองค์เอง จึงทรงใช้ให้หมู่
อำมาตย์ตระเตรียมการ ฝ่ายปุโรหิตาจารย์ผเู้ ป็นบิดาแห่งอหิงสกกุมาร เมือ่ ได้ทราบเหตุนน้ั จึงรีบมาปรึกษากับ
นางพราหมณีผเู้ ป็นภรรยาว่า

“ดูกร เจ้าผูม้ พี กั ตร์อนั เจริญ ! เราได้ยนิ ข่าวเล่าลือมาว่าเจ้าองคุลมิ าลโจรทีฆ่ า่ คนเสียเป็นอันมากนัน้


มิใช่ใครอืน่ ทีแ่ ท้กค็ อื เจ้าอหิงสกกุมารผูเ้ ป็นบุตรรักของเรา บัดนีเ้ ขากลายเป็นคนพาลสันดานร้ายกาจนักหนา
ฆ่าคนเป็นร้อยเป็นพัน ในกาลบัดนีส้ มเด็จพระราชาธิบดี จักทรงยกโยธาเสด็จไปจับตัวเอามาให้ได้ ดูกรน้องรักเอ๋ย !
เราจักคิดอ่านประการใดดี บุตรของเราจึงจะพ้นจากราชภัยอันจะพึงบังเกิดขึน้ ในครัง้ นีเ้ ล่า?”

นางพราหมณีจงึ ว่า

“ข้าแต่ทา่ นสามี ! ขอท่านจงรีบไปบอกบุตรของเรา ให้เขารีบเข้ามาซ่อนตัวอยูใ่ นบ้านเรานีก้ อ่ นเถิด


การณ์ขา้ งหน้าจักเป็นอย่างไร จึงค่อยคิดแก้ไขกันต่อไป”

“เราจะไปเองหาได้ไม่ เกลือกว่าผูใ้ ดผูห้ นึง่ ทราบความแล้ว นำไปกราบบังคมทูล โทษแห่งเราก็จกั มี


หลายสถาน ประการหนึง่ จะใช้ให้คนทีเ่ ป็นมิตรสหายไว้เนือ้ เชือ่ ใจไปบอกข่าวนีแ้ ก่บตุ รเรา ก็มมิ เี ลย คราวนีจ้ งึ
ให้ขดั สนใจนัก”

ฝ่ายนางพราหมณีผเู้ ป็นมารดา ครัน้ ได้ฟงั สามีวา่ ดังนัน้ ก็มนี ำ้ ใจประหวัน่ พรัน่ พรึงอกสัน่ ขวัญหายเกรง
ว่าลูกชายสุดทีร่ กั จักถึงแก่ความตาย ไม่คำนึงถึงสิง่ ใดทัง้ สิน้ กล่าวแต่เพียงว่า

 ⌫ 


“ข้าจะไปนำเอาลูกข้ามาให้ได้ ในกาลบัดนี”้

แล้วก็จดั แจงแต่งตัว ออกเดินทางมุง่ หน้าไปสูป่ า่ ใหญ่ ซึง่ คนทัง้ หลายเขาลือกันว่า องคุลมิ าลโจรมัน
ซุม่ ซ่อนอยูแ่ ต่เพียงผูเ้ ดียว

ปัจจุสมัยจะใกล้รงุ่ วันนัน้ องค์สมเด็จพระอรหันต์สมั มาสัมพุทธเจ้า ทรงอาวัชนาการพิจารณาดูหมูส่ ตั ว์


โลกตามพุทธวิสยั ได้ทรงเห็นเจ้าองคุลมิ าลโจรมาปรากฏในข่ายคือพระญาณพระองค์จงึ ทรงจินตนาการต่อไปว่า

“เมือ่ เราตถาคตไปพบองคุลมิ าลโจร แล้วแสดงธรรมเทศนาแต่ประมาณเพียง ๔ บาท พระคาถาเท่านัน้


เขาก็จกั เกิดศรัทธาเลือ่ มใส ขอบรรพชาอุปสมบทเป็นพระภิกษุในพระพุทธศาสนา และต่อไปจักมีปญ ั ญาปรากฏ
รูธ้ รรม ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ เพราะมีกศุ ลวาสนาอันตนสัง่ สมมาแต่ปางบรรพ์ ดังนี้ ก็จกั บังเกิดวัฒนาการเป็น
แก่นสารในพระบวรพุทธศาสนาสืบต่อไป ถ้าเราตถาคตจะละไว้ให้เนิน่ ช้า เกลือกว่ามารดาขององคุลมิ าลนัน้ พลัน
ออกไปถึงก่อนแล้วจะมิเป็นการ เพราะองคุลมิ าลจักประหารมารดาให้ดบั สูญสิน้ ชีพไปแต่ในขณะพอได้เห็นหน้า
อย่ากระนัน้ เลย เราตถาคตจะออกไปผจญเสียก่อน อย่าทันให้องคุลมิ าลประหารชีวติ มารดา อันจะเป็นอนันตริย
กรรมมหันตโทษ เพราะเมือ่ เขาต้องกระทำกรรมอันเป็นบาปหนัก เช่นนี้ ก็นา่ ทีเ่ ขาจักนิราศปราศจากมรรคผล
เป็นอภัพบุคคลเสียเป็นแน่แท้ ควรทีต่ ถาคตจักรีบไปแก้ไขเสียในกาลบัดนี”้

สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผทู้ รงมีพระมหากรุณาธิคณ


ุ ครัน้ ทรงจินตนาการดังนีแ้ ล้ว
จึงเสด็จลุกขึน้ ทรงสบงจีวร มีพระกรอุม้ บาตร เสด็จลีลาศโคจรคามเทีย่ วโปรดสัตว์แต่ลำพังพระองค์เดียว ครัน้
ทรงได้อาหารพอเป็นยาปนมัตต์แล้วพระองค์กท็ รงกระทำภัตกิจ เมือ่ เสร็จเรียบร้อยแล้วจึงเสด็จไปในหนทางที่
จะไปสูป่ า่ ใหญ่ ด้วยพระพุทธลีลาอันสง่าผ่าเผยหาทีจ่ ะเปรียบมิได้ ในไม่ชา้ ก็ทรงบรรลุถงึ ประเทศราวป่าอันเป็น
ทีอ่ ยูแ่ ห่งเจ้าองคุลมิ าลโจรผูม้ วี าสนา

ฝ่ายว่าเจ้าองคุลมิ าลโจรนัน้ จำเดิมแต่ตอ้ งอุบายจากบ้านท่านอาจารย์มาเป็นโจรจำเป็น จะได้บริโภค


อาหารและได้หลับนอนให้เป็นสุขสบายมาตรว่าหน่อยหนึง่ ก็หามิได้ มีแต่ความทุกข์ระทมใจเต็มไปด้วยกิจธุระ
เห็นใครแล้วก็ตง้ั ใจแต่จะไล่ตดิ ตามไป ไล่ทนั มนุษย์หญิงชายเข้าแล้วในทีใ่ ด ก็ประหารผลาญชีวติ ให้บรรลัยไป
ฆ่าคนสัญจรไปมา แลฆ่าชาวบ้านมานาน นับนิว้ ได้อกี คนเดียวก็จะครบ ๑,๐๐๐ เขาจึงบังเกิดความเบาใจนัก
ด้วยว่าธุรกิจในการฆ่าคนด้วยความจำใจแห่งตนจวนจะถึงวาระสิน้ สุดลงแล้ว ฉะนัน้ เมือ่ เขาได้เห็นองค์สมเด็จ
พระประทีปแก้วสัมมาสัมพุทธเจ้าในเช้าวันนัน้ ก็ดใี จยิง่ นักหนาโดยมีจติ มุง่ หมายว่า

“สมณะองค์น้ี น่าทีจ่ ะถึงแก่ความตายด้วยอาวุธของอาตมา คือ ว่าจะยังคะแนนครบจำนวนถ้วน ๑,๐๐๐


ให้บงั เกิดขึน้ แก่อาตมาเสียเป็นแน่แท้แล้วในครัง้ นี”้

 ⌫⌫
ครัน้ มีจติ คิดมุง่ หมายดังนีแ้ ล้ว ก็มริ อช้า คว้าดาบอันคมกล้ากระสันมัน่ มือ แล่นไล่ตามสมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจ้าไปด้วยกำลังเร็ว สมเด็จพระทศพลผูม้ พี ระพุทธาภินหิ ารอันยิง่ ใหญ่จงึ ทรงบันดาลให้บงั เกิดเป็นแม่
น้ำใหญ่มหึมา ซึง่ ประกอบไปด้วยลูกคลืน่ และระลอกมากมายนักหนา ปรากฏกัน้ กางขวางหน้าเจ้าองคุลมิ าลโจร ไว้
องค์พระบรมไตรโลกนาถเจ้า ทรงดำเนินไปด้วยพระกิริยาอาการอันเสงี่ยมงามยิ่งนัก ปรากฏในเบื้องหน้า
แห่งองคุลิมาล ฝ่ายองคุลิมาลผู้หมายประหารสมณะ เมื่อมาปะแม่น้ำใหญ่ขวางหน้า ก็อุตส่าห์ลงว่ายน้ำต้อง
ลำบากด้วยถูกละลอกคลืน่ ซัดดูนา่ เวทนา เมือ่ อุตสาหะถีบว่ายข้ามแม่นำ้ จนบรรลุถงึ ฝัง่ แล้ว ก็คลานขึน้ บนตลิง่
รีบวิง่ ตามสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไป

ในขณะนัน้ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ผทู้ รงมีพระมหากรุณา จึงทรงบันดาลให้ระยะ


ทางบังเกิดเป็นป่าเต็มไปด้วยรกชัฏมากมายด้วยเสีย้ นหนามเป็นยิง่ นัก พระองค์เสด็จเข้าไปในท่ามกลางป่านัน้
โดยสะดวกสบาย ฝ่ายเจ้าองคุลมิ าลโจรวิง่ ไล่มาถึงปากทางเข้าไปป่า ทอดทัศนาเห็นพระองค์เสด็จออกจากป่า
ไปแล้ว ก็ไล่ตดิ ตามวิง่ ตะบึงเข้าป่านัน้ ไปโดยมิได้คำนึงความลำบากแต่อย่างใด มีจติ มุง่ มาตปรารถนาเพือ่ จะฆ่า
พระองค์เสียให้จงได้ บัดเดีย๋ วใจก็พน้ จากป่าใหญ่วง่ิ ไล่ไปไม่นาน ก็ปรากฏมีแม่นำ้ เกิดขึน้ มาขวางหน้าอีก เขา
จึงจำใจต้องอุตสาหะว่ายข้ามน้ำไปอีกด้วยความพยายาม สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงเครือ่ งกัน้ กาง
ขวางหน้าองคุลมิ าลโจร ทัง้ ทางน้ำและทางบก ให้เขาติดตามไปด้วยความลำบากอย่างนี้ นับเป็นระยะทางไกล
ประมาณได้ ๓ โยชน์

นับตั้งแต่ไล่ฆ่ามนุษย์มาจนเกือบจะครบพันคนแล้ว องคุลิมาลโจรใจฉกรรจ์ไม่เคยได้รับความเหน็ด
เหนือ่ ยเหมือนวันนี้ เขาขับไล่สมเด็จพระชินสีหเ์ จ้าในครัง้ นี้ ได้รบั ความลำบากเหลือประมาณ เหงือ่ ไหลโทรม
ออกจากรักแร้และกรัชกายทัง้ ปวง น้ำลายในปากก็เหือดแห้ง สิน้ กำลังเรีย่ วแรงอิดโรย ทัว่ ทัง้ สรีระร่างกายเต็ม
ไปด้วยความบอบช้ำ เพราะต้องบุกป่าและว่ายข้ามน้ำตามสมเด็จพระพุทธองค์ เมือ่ เหลือทีจ่ ะติดตามให้ทนั แล้ว
เขาก็เอ่ยปากร้องเรียกพระองค์เอาดือ้ ๆ

“ดูกร สมณะ ! ท่านจงหยุดอยูก่ อ่ น...ท่านหยุดก่อน”

“ดูกร องคุลมิ าล ! เราตถาคตหยุดแล้ว แต่ตวั ท่านสิ มิได้หยุด !” สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัส


ตอบเขาว่าดังนีแ้ ล้วก็ทรงพระดำเนินต่อไปตามปกติ

องคุลมิ าลโจรได้ฟงั ดังนัน้ ก็ให้ขดั เคืองใจเป็นนักหนา จึงกล่าวคำหยาบช้า

“ดูกร สมณะ ! ธรรมดาว่าสมณะทัง้ หลายนัน้ ย่อมมีปรกติกล่าวถ้อยคำเป็นคำสัตย์คำจริง เออก็ตวั ท่าน


นีม้ รี ปู ทรงงดงามยิง่ นัก เหตุไฉนจึงมากล่าวมุสาวาทต่อหน้าเราเปล่าๆ ว่าตัวท่านนัน้ หยุดแล้ว และว่าตัวเรานี้
ยังไม่หยุด ! แต่ความจริงนัน้ สิยอ่ มปรากฏว่าในขณะนี้ ตัวท่านก็ยงั บทจรไปอยูด่ ว้ ยความกลัวตาย หาได้หยุด
แม้แต่สกั นิดหนึง่ ไม่ กลับกล่าวออกได้วา่ หยุดแล้ว ส่วนตัวเราเวลานี้ ท่านจงหันหน้ากลับมาทีเถิดเป็นไร เราหยุด

 ⌫ 


ไล่ตามท่านตัง้ นานแล้ว แต่ทา่ นกลับกล่าวหาว่าเรานีย้ งั ไม่หยุด ท่านเป็นสมณะ เหตุไฉนจึงกล้ากล่าวมุสาวาท
ต่อหน้าเราเห็นปานนี?้ ”

สมเด็จพระชินสีหเ์ จ้า จึงมีพระพุทธฎีกาตรัสว่า

“ดูกร องคุลมิ าล ! เ ราตถาคตเป็นผูป้ ระกอบด้วยเมตตาและขันติเป็นทีย่ ง่ิ และมีใจตัง้ อยูใ่ นสาราณีย


ธรรมอย่างมัน่ คง เราตถาคตนีเ้ มือ่ สิน้ ชนม์ดบั ขันธ์ไปแล้ว ก็จดั เคลือ่ นเข้าสูเ่ มืองแก้ว กล่าวคือ พระอมตมหานิพพาน
พ้นจากชาติกนั ดาร ชรากันดาร พยาธิกนั ดาร มรณกันดาร มิได้เวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารอีกสืบไป เพราะ
ฉะนัน้ เราตถาคตจึงได้ชอ่ื ว่าหยุดแล้ว แต่ตวั ท่านนัน้ สิ ยังหาได้หยุดไม่ เหตุวา่ ท่านยังมีใจหยาบช้ากล้าแข็ง ไล่
พิฆาตฆ่ามนุษย์หญิงชาย ให้ลม้ ตายเสียเป็นอันมาก ท่านจะต้องได้เสวยความลำบาก ได้รบั ความทุกข์ยากอย่าง
แสนสาหัสในอบายภูมทิ ง้ั ๔ คือจะต้องไปเกิดเป็นสัตว์นรก – เปรต – อสุรกาย – เดียรฉาน ในปุเรชาติภายภาค
หน้าอีกมากมายนักหนา ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าบาปกรรมทีท่ า่ นทำไว้มมี าก ผลวิบากแห่งกรรมนัน้ จักติดตามท่านไป
ท่านทำกรรมเวรสิง่ ใดไว้ ผลแห่งกรรมนัน้ ก็จะบันดาลให้ทา่ นได้รบั ความทุกข์ความยาก นอกจากนัน้ ท่านยังจะ
ต้องเวียนว่ายตายเกิดให้ได้ทกุ ข์ทรมานอยูใ่ นวัฏสงสารอีกเป็นเวลานาน จะนับประมาณชาติทเ่ี กิดและตายมิได้
ต้องท่องเทีย่ วเวียนว่ายตายเกิดอยูเ่ รือ่ ยไป เพราะฉะนัน้ เราตถาคตจึงบอกว่าตัวท่านยังไม่ได้หยุด ขอท่านจงรู้
ความหมายทีเ่ ราบอกแก่ตวั ท่านอย่างนี้ เราตถาคตหาใช่จะมีเจตนากล่าวมุสาวาทดังคำท่านว่าก็หาไม่”

อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลขององคุลมิ าลโจรติดตามมาทันและเริม่ เข้าทำหน้าทีข่ องมันแล้ว นัน่ คือ เมือ่


องคุลมิ าลโจรผูม้ วี าสนา เพราะอุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลแห่งตนเข้ามาตามทัน ได้สดับพระพุทธฎีกาดังนัน้ จึงได้
สติและรำพึงในใจว่า

“ไฉนพระสมณะองค์น้ี จึงมีสรุ เสียงองอาจดุจดังว่าพญาราชสีห์ จะว่ากล่าวสิง่ ใด ก็มเี หตุผลถูกต้องดีทกุ


ประการ พร้อมทัง้ มีอทิ ธิปาฏิหาริยเ์ หนือมนุษย์ธรรมดาสามัญ ดูเอาเถิด คนนับร้อยนับพัน เราวิง่ ไล่ตามทันและ
ฆ่าเสียให้ตายเป็นอันมากไม่เคยพลาด แต่สมณะองค์นช้ี า่ งประหลาด เราต้องว่ายน้ำบุกป่า ไล่ตามมาเหน็ดเหนือ่ ย
นักหนา อหา ! ก็แม่นำ้ และป่าใหญ่ ทีข่ วางหน้าเราไว้ แต่กอ่ นนีห้ ามีไม่ แต่ไฉนจึงบังเกิดมีในวันนี้ นีค่ งจะเป็น
อิทธิพลพระสมณะองค์นเ้ี ป็นแน่แท้ ถ้าเช่นนัน้ สมณะองค์นเ้ี ห็นจะมิใช่ผอู้ น่ื เป็นมัน่ คง ชะรอยว่าองค์เจ้าสิทธัตถกุมาร
ผูเ้ ป็นพระราชโอรสแห่งพระนางเจ้าสิรมิ หามายาเทวีทช่ี าวโลกร่ำลือกันว่าพระองค์ได้ตรัสเป็นพระพุทธเจ้า คงจะ
มีนำ้ ใจกรุณาแก่อาตมา พระองค์ทรงอุตส่าห์ดำเนินมาถึงทีน่ เ่ี พือ่ ต้องการจะปลดเปลือ้ งช่วยเหลือให้อาตมาพ้นจาก
มหันตโทษ คืออบายทุกข์อย่างเทีย่ งแท้นกั หนา อย่าเลย อาตมาจะกระทำความเคารพนบน้อมแด่พระองค์ผู้
ทรงมีพระมหากรุณา จึงจะสมควร”

คิดดังนีแ้ ล้ว องคุลมิ าลโจรหนุม่ ใหญ่ใจฉกรรจ์ ก็ปลงลงซึง่ อาวุธศาสตราทัง้ ปวง ขว้างทิง้ ลงไปในซอก
เหวแห่งหนึง่ แล้ว ก็คอ่ ยดำเนินเข้าไปหาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ ประทับยืนอยู่ ถวายนมัสการทีพ่ ระยุคล
บาท แล้วทูลขอบรรพชา สมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า เมือ่ จะทรงพระกรุณาประทานบรรพชา ให้แก่องคุลมิ าลโจร

 ⌫⌫
ผูก้ ลับใจนัน้ ได้ตรวจดูวาสนาบารมีอนั ปรากฏแต่บรู พชาติปางก่อนของเขา ก็ทรงทราบว่า “องคุลมิ าลโจรหรือ
อหิงสกกุมารนี้ ตัง้ แต่บรรพกาลโพ้น ได้เคยบำเพ็ญบารมีไว้ ได้เคยถวายเครือ่ งบริขาร ๘ ประการ แด่พระภิกษุสงฆ์
ผูท้ รงศีลบริสทุ ธิ์ ได้เคยบำเพ็ญธรรมประกอบด้วยพรหมวิหารธรรมมาก่อน” เมือ่ ทรงทราบวาสนาบารมีแต่หน
หลังของเขาดังนี้ จึงทรงเหยียดพระหัตถ์ แล้วมีพระพุทธฎีกาตรัสเรียกว่า

“เอหิ ภิกขุ...ท่านจงเป็นภิกษุมาเถิด ! ท่านจงเป็นภิกษุเข้ามาปฏิบตั สิ าสนพรหมจรรย์ คือ ทางบรรลุ


มรรค ผล นิพพาน เพือ่ บรรเทาทุกข์ให้สน้ิ ไปจากขันธสันดาน ด้วยปัญญาอันเป็นสมุจเฉทประหานในกาลครัง้ นีเ้ ถิด”

ขาดคำแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่าดังนี้ ก็บงั เกิดอัศจรรย์ขน้ึ ทันใด ! อันว่าบาตรและจีวร


อันสำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์ ก็เลื่อนลอยลงมาสวมสอดซึ่งกายแห่งเจ้าองคุลิมาลโจรร้าย เพศฆราวาสของเขา
อันตรธานหายไป สมณเพศปรากฏขึน้ มาแทน องคุลมิ าลภิกษุนน้ั ในบัดนีม้ อี าการปรากฏประหนึง่ ว่าพระมหาเถระ
ซึง่ บวชได้ ๑๐๐ พระพรรษาก็ปานกัน ครัน้ แล้วสมเด็จพระพุทธองค์ ก็ทรงนำพระองคุลมิ าลภิกษุใหม่ ซึง่ เป็น
ขุนโจรผูก้ ลับใจนัน้ ไปยังพระเชตวันมหาวิหาร

วันรุง่ ขึน้ เพลาเช้า สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็ทรงมีพระบรมพุทธนุญาตให้เข้าไปสูพ่ ระนคร เพือ่


โคจรบิณฑบาตตามสมณะประเพณี พอดีเป็นเวลาทีเ่ จ้าหน้าทีฝ่ า่ ยบ้านเมืองและประชาชนกำลังสโมสรประชุมกัน
เพือ่ จะไปปราบโจร ต่างคนต่างก็ถอื เอาเครือ่ งศาสตราวุธ หอกดาบธนูหน้าไม้และโล่ห์ เป็นต้น มากมายเดิน
เรียงรายกันอยู่ ครัน้ เห็นพระผูเ้ ป็นเจ้าและจำได้วา่ เป็นองคุลมิ าลโจรแน่แล้ว บางคนก็วง่ิ หนี บางคนก็วง่ิ เข้าไป
ซ่อนเร้นหลบลีห้ นีหายไปต่อหน้า บางพวกก็พากันเข้าไปสูภ่ ายในพระนคร ปิดประตูนอ้ ยใหญ่ แล้วมิหนำซ้ำ
พากันขึน้ ไปสูเ่ บือ้ งเชิงเทินและหอรบ แล้วป่าวประกาศแก่กนั และกันว่า

“ดูรา ชาวเราทัง้ หลายเอ๋ย ! ท่านทัง้ หลายจงเล็งแลดูตรงมือเราชีน้ เ่ี ถิด ภิกษุบวชใหม่รปู นัน้ คือองคุลมิ าล
โจรใช่หรือไม่? คงจะใช่เป็นแน่แท้แล้ว บัดนีอ้ งคุลมิ าลโจรใหญ่กลับใจบวชเป็นสมณะเสียแล้ว พวกเราไม่จำเป็น
ต้องไปปราบให้ลำบากและไม่ตอ้ งประหวัน่ พรัน่ ใจว่าจะถูกโจรร้ายฆ่าตายอีกต่อไปแล้ว เธอบวชเสียก็เป็นการดี
ด้วยว่าเมื่อเธอยังเป็นฆราวาสอยู่นั้น มีใจหยาบช้าทารุณยิ่งนัก เที่ยวไล่ฆ่ามนุษย์อุตลุดวุ่นวาย เกิดเจ็บปวด
ล้มตายกันเป็นโกลาหล”

เมือ่ ตะโกนบอกแก่กนั ดังนีย้ งั มิทนั ทีจ่ ะขาดคำ ก็พอดีพระองคุลมิ าลเดินเข้าไปใกล้ คนพวกทีท่ ำเป็นใจ
กล้าไม่หนีไปไหน บัดนีท้ นใจกล้าต่อไปอีกไม่ได้แล้ว ให้สะดุง้ ตกใจกลัวยิง่ กว่าพวกแรก บางคนก็สะกิดเพือ่ นแล้ว
วิง่ หนีเอาซึง่ ๆ หน้า บางคนก็วง่ิ ไปไกลจนถึงเขตป่าแล้วยังไม่หยุด บางคนก็ฉดุ เพือ่ นกันวิง่ เข้าไปในบ้านแล้วรีบ
ปิดประตูหน้าต่าง บางคนยืนตกตะลึงตัวสัน่ ขวัญหายวิง่ ไปไหนไม่ได้ยนื เฉยอยู่ บางคนก็ลงนัง่ ยองๆ ผินหลังให้
ไม่กล้ามอง เพราะความขลาดกลัวอย่างขนาดหนักอยู่ ณ สถานทีน่ น่ั

 ⌫ 


เป็นอันว่า พระองคุลิมาลผู้เป็นเจ้าเข้าไปสู่พระนครเพื่อโคจรบิณฑบาตในวันนั้น จะได้อาหารเช่น
ข้าวยาคูสกั กะบวยหนึง่ หรือข้าวสวยสักทัพพีหนึง่ ก็หามิได้ ต้องเดินกลับไปวิหารด้วยบาตรเปล่าๆ ซึง่ ทำให้
ท่านได้รบั ความลำบากมากในเรือ่ งอาหารนีต้ อ่ มาเป็นเวลานาน จนกระทัง่ วันหนึง่ ท่านสงเคราะห์ให้หญิงมีครรภ์แก่
ซึ่งวิ่งหนีท่านไปติดอยู่ที่รั้ว ให้คลอดบุตรออกโดยง่ายด้วยแรงอธิษฐานของท่านนั่นแหละ ประชาชน
จึงเกิดความเลื่อมใส และยินดีถวายอาหารบิณฑบาต เมื่อท่านได้อาหารบิณฑบาตพอเป็นยาปนมัตต์แล้ว ก็
เจ้าไปทูลขอพระกรรมฐานจากสำนักแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ แล้วก็เข้าไปในที่อันเงียบสงัดเพื่อ
บำเพ็ญสมณธรรม เมือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้าผูม้ กี รรมเก่าเข้าบำเพ็ญสมณธรรมอย่างจริงจังในกาลครัง้ นัน้ ก็ให้บงั เกิด
อุทธัจจะ มีจติ ปัน่ ป่วนกำเริบร้าวฉาน มิอาจจะยังจิตให้แน่วแน่หยัง่ ลงสูห่ อ้ งพระกรรมฐานได้

กาลวันหนึง่ ท่านจึงออกเดินทางจากเชตวันมหาวิหารมุง่ หน้าเข้าไปสูป่ า่ ทีท่ า่ นเคยอาศัยซุม่ ฆ่าคนมา


ก่อน ทัง้ นีก้ เ็ พราะเล็งเห็นว่าทีน่ น่ั เป็นทีส่ งบสงัดดี เมือ่ ถึงแล้วท่านก็ตง้ั ใจกำหนดบทพระกรรมฐานในป่าใหญ่นน้ั
ครัน้ เพลาราตรี หมูผ่ ที ง้ั หลายทีท่ า่ นได้ฆา่ เขาไว้กพ็ ากันมาปรากฏต่อหน้ามากมาย อสุรกายเหล่านัน้ มันพากัน
แสดงอาการประหนึง่ ว่า มีความกลัวตายแล้วหวีดร้องไห้กกึ ก้องวุน่ วายว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ขอท่านจงกรุณาโปรดอย่าฆ่าข้าพเจ้าเลย ! ขอท่านจงได้โปรดไว้ชวี ติ แก่ขา้ พ


เจ้าเถิด !! ขอท่านจงสงสารประทานชีวติ ให้แก่ขา้ พเจ้าเถิด”

ผีต่างๆ มันพากันมาร้องขอชีวิตอยู่อย่างอึงมี่เช่นนี้ ก็สุดที่พระผู้เป็นเจ้าจักหลับตานั่งสมาธิบำเพ็ญ


สมณธรรมอีกสืบไปได้ ให้บงั เกิดความกลัดกลุม้ รุม่ ร้อนใจเป็นอันมาก ในขณะนัน้ สมเด็จพระผูม้ พี ระภาคสถิต
อยูใ่ นพระคันธกุฎี ณ เชตวันมหาวิหาร พระองค์ได้ทรงส่งพระญาณไปทราบว่า พระองคุลมิ าลกำลังวิปฏิสาร
กลัดกลุม้ ใจมิอาจจะบำเพ็ญสมณธรรมได้ จึงทรงมีพระมหากรุณา แผ่พระรัศมีไปให้ปรากฏราวกะว่าพระองค์
เสด็จไปนัง่ เฉพาะหน้า แล้วทรงมีพระพุทธฎีกาตรัสสอนว่า

“ดูกร องคุลมิ าล ! เธออย่าเพิง่ ท้อแท้ใจ เธอจงพยายามบำเพ็ญสมณธรรม เพือ่ ชำระอกุศลทัง้ ปวงให้


สิน้ ออกไปจากขันธสันดาน ห้วงน้ำอันประกอบไปด้วยสาหร่ายจอกแหนอย่างหนาแน่น เมือ่ มีบรุ ษุ มาชำระจอก
แหนและสาหร่ายให้หมดสิน้ ไปแล้วเมือ่ ใด น้ำในห้วงน้ำนัน้ ก็ยอ่ มเป็นน้ำใสบริสทุ ธิส์ ะอาดปราศจากราคีเครือ่ งขุน่ มัว
อุปมานี้ฉันใด ดูกร องคุลิมาล ! เธอจงพยายามชำระบาปธรรมอกุศลสิ่งลามกต่างๆ ให้หมดไปจาก
ขันธสันดานของตน ด้วยปัญญาญาณเป็นสมุจเฉทประหาน ทำสันดานให้ผอ่ งใสสะอาดบริสทุ ธิ์ อุปมาดังบุรษุ
ชำระจอกแหนและสาหร่าย แล้วยังน้ำในห้วงน้ำให้ใสบริสทุ ธิฉ์ ะนัน้

อีกประการหนึง่ เล่า ดูกร องคุลมิ าล ! เธอจงตัง้ ใจปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตรงตามพระอริยมรรคองค์ ๘ ซึง่


เป็นหนทางทีจ่ ะได้บรรลุมรรค ผล นิพพาน ด้วยน้ำใจอันประกอบไปด้วยความพยายามอย่างไม่ยน่ ย่อท้อถอย
อุตส่าห์ปฏิบตั บิ ำเพ็ญสมณธรรมด้วยน้ำใจอันซือ่ ตรงต่อพระพุทธศาสนา อุปมาประหนึง่ ว่านายช่างศร ธรรมดา
ว่านายช่างทำลูกศรทั้งหลายนั้น ครั้นเห็นลูกศรของตนคดโค้งงอไป ไม่สามารถจะใช้ยิงให้ถูกเป้าหมายได้

 ⌫⌫
นายช่างนัน้ ย่อมคิดแก้ไข โดยเอาลูกศรนัน้ ทาน้ำมัน แล้วเอาเข้าลนไฟ พยายามดัดแปลงแก้ไขทำให้ตรงดีแล้ว
นายช่างศรนัน้ ย่อมยิงลูกศรได้แม่นเทีย่ งดี ถูกทีห่ มายได้ตามความปรารถนา ดูกร องคุลมิ าล ! เธอจงพยายาม
กระทำตามโอวาทของเราตถาคต จงข่มเสียซึง่ จิตของตนให้อยูใ่ นอำนาจ กระทำจิตให้ผอ่ งใสปราศจากมลทิน
อุตส่าห์บำเพ็ญสมณธรรมต่อไปเถิด อย่าท้อถอย”

ในขณะทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าองคุลมิ าลบำเพ็ญสมณธรรม เพือ่ บรรลุมรรคผลนิพพานในกาลครัง้ นัน้ มิใช่วา่


จะต้องพบกับอุปสรรคเกิดความฟุง้ ซ่าน เพราะผีทง้ั หลายมาปรากฏแต่เพียงอย่างเดียว แม้ในตอนเช้า เมือ่ พระ
ผูเ้ ป็นเจ้าผูบ้ ำเพ็ญสมณธรรมมาเกือบตลอดคืน เข้าไปในบ้านเพือ่ บิณฑบาต ด้วยอำนาจวิบากแห่งกรรมเก่าที่
เคยฆ่าคนมามากมาย เมือ่ ชาวบ้านทัง้ หลายหยิบไม้คอ้ นก้อนดินขว้างไป ก็ให้บงั เอิญไปถูกต้องศีรษะของพระผู้
เป็นเจ้าองคุลีมาลเข้าอย่างถนัดใจ ทั้งๆ ที่ชาวบ้านทั้งหลายเหล่านั้นไม่มีเจตนาเลย เหตุการณ์ร้ายอันเป็น
อุปสรรคขัดขวางการบำเพ็ญสมณธรรม บังเกิดขึน้ แก่พระผูเ้ ป็นเจ้าอย่างนีเ้ สมอมา แต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูม้ วี าสนา
ก็หามีใจย่นย่อท้อถอยไม่ ในทีส่ ดุ เมือ่ การบำเพ็ญธรรมถึงความก้าวหน้าเป็นอย่างดี อินทรียท์ ง้ั ๕ ได้สว่ นสมดุล
กันแล้ว พระผู้เป็นเจ้าก็ได้บรรลุพระอรหัตตผล สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลในพระบวรพุทธศาสนา พร้อมกับ
อภิญญาคุณอันประเสริฐ

กิตติศัพท์ว่า สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงนำเอาโจรองคุลิมาลมาบวช จนกระทั่งได้สำเร็จ


พระอรหัตตผลในพระบวรพุทธศาสนา ทราบไปถึงสมเด็จพระราชาธิบดีปัสเสนทิโกศลในเวลาต่อมาไม่นาน
พระองค์ทรงปสันนาการเลื่อมใสในข่าวดีนี้ยิ่งนัก เพราะฉะนั้น วันหนึ่ง พระองค์จึงเสด็จไปยังสำนักแห่ง
องค์สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ถวายนมัสการกราบทูลถามถึงข่าวแห่งพระองคุลมิ าลอรหันต์ใหม่วา่

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐ ! บัดนี้ ท่านพระองคุลมิ าลอยู่ ณ สถานทีใ่ ด พระเจ้าข้า? “

ในขณะนัน้ พระองคุลมิ าลนัง่ อยูใ่ กล้กบั สมเด็จพระบรมศาสดา พระองค์จงึ ยกพระหัตถ์เบือ้ งขวา แล้ว
ทรงชีใ้ ห้พระเจ้าปัสเสนทิโกศลทอดพระเนตร สมเด็จพระราชาธิบดีผซู้ ง่ึ ทรงตระเตรียมจะไปปราบองคุลมิ าลโจร
เมือ่ ไม่นานมานี้ ทรงแลไปตามพระหัตถ์ช้ี แต่พอได้ทรงเห็นท่านพระองคุลมิ าลเข้าเท่านัน้ ก็ทรงเกิดความขยาด
กลัว ขนพองสยองเกล้า ทรงมีอาการอันวิปลาส เหมือนมฤคชาติได้เห็นพญาไกรสรสีหราชฉะนัน้ สมเด็จพระ
ผูม้ พี ระภาคจึงตรัสว่า

“มหาบพิตรอย่าทรงกลัวเลย ภัยอันจะเกิดแต่องคุลมิ าลนัน้ บัดนีไ้ ม่มอี กี แล้ว”

สมเด็จพระเจ้าปัสเสนทิโกศลได้ทรงสดับนั้น จึงหายประหวั่นในพระทัย บังเกิดความเลื่อมใส ตรัส


สรรเสริญพระเดชพระคุณแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วก็เสด็จลุกจากอาสน์ ถวายนมัสการอำลา
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และนมัสการอำลา พระองคุลมิ าลองค์อรหันต์ผทู้ รงคุณอันประเสริฐสุดในพระบวร
พุทธศาสนา เสด็จกลับไปยังปรางปราสาทแห่ง พระองค์ ในกาลครัง้ นัน้ ด้วยประการฉะนี้

 ⌫ 


จากเรื่องที่เล่ามานี่ ท่านผู้มีปัญญาก็คงจักทราบได้เป็นอย่างดีแล้วว่า อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลมี
หน้าทีอ่ ย่างไร? ถูกแล้ว อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศล เมือ่ ตามมาทันบุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมเข้าแล้ว ย่อมทำหน้าที่
เข้าไปตัดรอนเข้าไปฆ่าอกุศลกรรมความชัว่ ช้า และสรรพภัยพิบตั ทิ ง้ั ปวงของเขาให้พนิ าศพ่ายแพ้ไปในปัจจุบนั
ทันที ! แล้วเข้าครองเป็นเจ้าเรือน บันดาลให้เจ้าของกรรมประสบแต่ความดีความเจริญในปัจจุบนั ทันด่วน ดูแต่
เรื่องพระองคุลิมาลอรหันต์ที่เล่ามาแล้วนี้เถิด ท่านได้ประกอบอกุศลกรรมทำบาปหยาบช้า ฆ่าคนมามากมาย
เป็นร้อยเป็นพัน ซึง่ ในโลกนีน้ อ้ ยคนนักหนาทีจ่ ะทำบาปได้มากอย่างท่าน ย่อมเป็นการแน่นอนทีเดียวว่า หาก
ว่าไม่มอี ปุ ฆาตกกรรมฝ่ายกุศลตามมาทันแล้ว ท่านย่อมไม่แคล้วไปเกิดในอบายทัง้ ๔ ได้ประสบทุกขเวทนา
อย่างแสนสาหัสในชาติตอ่ ไปโดยไม่ตอ้ งสงสัย แต่นอ่ี าศัยบุญกุศลทีท่ า่ นได้อตุ ส่าห์สร้างไว้แต่ชาติกอ่ นมากมาย
แล้วกลายมาเป็นอุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลในชาติน้ี เมือ่ ได้สดับพระธรรมเทศนาแห่งองค์สมเด็จพระชินสีหแ์ ล้ว
อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลของท่านก็ตามมาทัน เข้าไปฆ่าอกุศลกรรมที่ทำไว้อย่างมากมายนั้นทั้งหมด อันเป็น
เหตุให้ท่านได้บรรลุพระอรหัตตผล ซึ่งเป็นธรรมวิเศษสูงสุดในพระบวรพุทธศาสนาเพียงเวลาไม่กี่วันอย่างน่า
อัศจรรย์ใจ จนแทบไม่อยากจะเชือ่ ว่าจะเป็นไปได้? และก็เพราะความไม่นา่ เชือ่ นีแ่ หละ ในวงการพุทธบริษทั
จึงมักมีปญ ั หาทีไ่ ต่ถามกันอยูเ่ นืองๆ ว่า

“พระองคุลมิ าลเป็นโจรฆ่าคนตายมากมาย ทำไมจึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ขน้ึ มาได้ บาปทีฆ่ า่ คนตาย


นัน้ ไปหลบซ่อนอยูไ่ หน?

“ถูกฆ่าตาย ! บาปเหล่านัน้ ไม่ได้ไปหลบซ่อนอยูท่ ไ่ี หนหรอก แต่วา่ ถูกฆ่าตายและฆาตกรทีท่ ำการฆ่า


บาปอันมากมายของพระองคุลมิ าลนัน้ ก็ไม่ใช่มนุษย์ไม่ใช่คนอย่างเราอย่างท่าน แต่วา่ เป็นอุปฆาตกกรรมฝ่าย
กุศลของท่านพระองคุลมิ าลนัน่ เอง เมือ่ ตามมาทันเข้าแล้วก็ทำการฆ่าบาปอกุศลเหล่านัน้ เสียตามหน้าที่ แล้วยัง
ความดีความเจริญให้เกิดขึน้ แก่ทา่ นทันที ทำให้ทา่ นมีใจเลือ่ มใสได้บำเพ็ญสมณธรรม จนกระทัง่ ได้สำเร็จเป็น
พระอรหันต์ขน้ึ มาได้ในทีส่ ดุ เมือ่ ท่านได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว ก็หมายความว่าท่านหลุดพ้นจากวิบากแห่ง
กรรมทีเ่ ป็นกุศลและอกุศลได้โดยประการทัง้ ปวง มีแต่จะลุลว่ งเข้าสูแ่ ดนเกษมคือพระอมตมหานฤพานประการเดียว”

นี่แหละ คือคำวิสัชชนาอันถูกต้องในกรณีนี้ สำหรับท่านผู้ที่เข้าใจในเรื่องการทำหน้าที่ของ


อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลได้เป็นอย่างดี แต่ผู้ที่ไม่เข้าใจในเรื่องของอุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศล ก็คงจะยกเหตุผล
อะไรต่างๆ เอามาอ้างมากมายสุดแต่จะนึกได้ ในขณะที่ตนถูกถามในเรื่องนี้ อย่างไรก็ดี ขอกล่าวย้ำอีกทีว่า
อุปฆาตกกรรมฝ่ายกุศลนี้ ย่อมทำหน้าทีเ่ ข้าไปฆ่าหรือเข้าไปตัดรอนอกุศลกรรมของบุคคลให้พนิ าศไป แล้วยัง
ความสุขความเจริญให้เกิดขึน้ ในปัจจุบนั ทันที อุปฆาตกกรรม นี้ จะเรียกอีกอย่างหนึง่ ว่า อุปจั เฉทกกรรม ก็ได้

ครั้นว่าจักพรรณนาให้มากไปกว่านี้ ก็เกรงว่าจะเป็นการเยิ่นเย้อเสียเวลา เพราะว่ายังมีเรื่องกรรมที่


เราควรจะได้ศกึ ษาพิจารณา รอคอยอยูข่ า้ งหน้าอีกมากมายนัก ฉะนัน้ จึงขอยุตกิ ารกล่าวถึง กิจจจตุกกะ คือ
ประเภทแห่งกรรมทีว่ า่ โดยหน้าที่ ๔ ชนิดลง ด้วยประการฉะนี้

 ⌫⌫
กรรมประเภทที่ ๒
กรรมทีว่ า่ โดยลำดับการให้ผล

ในการศึกษาประเภทแห่งกรรมนี้ เมื่อเราได้ทราบประเภทแห่งกรรมที่ว่าโดยหน้าที่เสร็จสิ้น
เรียบร้อยแล้ว ทีน่ ้ี สิง่ ทีเ่ ราควรจะศึกษาในลำดับต่อไปก็คอื ประเภทแห่งกรรมทีว่ า่ โดยลำดับการให้ผล ทัง้ นีก้ ็
เพือ่ จะได้ทราบว่า กรรมต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นกุศลกรรมหรืออกุศลกรรมก็ตาม ซึง่ เป็นกรรมทีส่ ตั ว์บคุ คลจำต้อง
กระทำลงไปทุก เมือ่ เชือ่ วันนัน้ มีลำดับแห่งการให้ผลแก่เจ้าของกรรมอย่างไร พูดให้ฟงั กันง่ายๆ ก็วา่ ในบรรดา
กรรมทัง้ หลายนัน้ กรรมชนิดไหนมีอาวุโสใหญ่ให้ผลก่อนเป็นลำดับแรก กรรมชนิดไหนมีอาวุโสรองลงมาให้ผล
เป็นลำดับรองลงมา กรรมชนิดไหนมีอาวุโสน้อยให้ผลเป็นลำดับหลัง ก็ประเภทแห่งกรรมทีว่ า่ โดยลำดับการให้ ผล
ซึง่ มีชอ่ื เรียกเป็นศัพท์วา่ ปากทานปริยายจตุกกะ นี้ มีอยูท่ ง้ั หมด ๔ กรรมด้วยกัน คือ ครุกรรม ๑ อาสันนกรรม
๑ อาจิณกรรม ๑ กฎัตตากรรม ๑ ซึง่ มีออรรถาธิบายตามลำดับก่อนหลัง ดังต่อไปนี้

ครุกรรม
ครุกํ กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ
กรรมใด เป็นกรรมหนักแน่น เพราะกรรมอืน่ ๆ ไม่สามารถทีจ่ ะห้ามการให้ผลได้
กรรมนัน้ ชือ่ ว่าครุกรรม

ครุกรรมนี้ เป็นกรรมหนักแน่น สามารถทีจ่ ะให้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมในชาติท่ี ๒ คือ ใน


ชาติหน้า กรรมอืน่ ๆ ไม่มอี ำนาจทีจ่ ะสามารถกางกัน้ การให้ผลแห่งครุกรรมนีไ้ ว้ได้ นอกจากจะเป็นครุกรรมด้วย
กันเท่านัน้ ครุกรรมใดมีกำลังแรงกว่าครุกรรมนัน้ ย่อมทำหน้าทีเ่ ป็นตัวเอก คือ เป็นตัวให้ผล ส่วนครุกรรมทีม่ ี
กำลังอ่อนกว่า ก็เป็นแต่เพียงช่วยอุดหนุนในฐานะอุปตั ถัมภกกรรมเท่านัน้ แต่ถงึ แม้วา่ จะเป็นเพียงช่วยอุดหนุน
ก็ยงั เป็นครุกรรมอยู่ โดยทีห่ ากไม่มคี รุกรรมทีม่ กี ำลังแรงกว่าแล้ว ตนก็จะต้องเข้าทำหน้าทีเ่ ป็นตัวเอก คือให้
ผลแก่ผเู้ ป็นเจ้าของกรรมอย่างแน่นอน

 ⌫ 


อย่าเพิง่ ปวดหัว คิดเห็นว่าเป็นกรรมหนักของตัว เพราะฟังไม่คอ่ ยเข้าใจในเรือ่ งครุกรรมทีก่ ล่าวมาแล้ว
นีไ้ ปเลย ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย ขอให้ตง้ั ใจพยายามติดตามฟังต่อไปอีกเถิด ประเดีย๋ วก็คงจะเกิดความเข้าใจได้
บ้างอย่างแน่นอน ในเมือ่ ได้รบั ฟังการอธิบายขยายความต่อไปว่า

ครุกรรมซึง่ เป็นกรรมอย่างหนักนี้ เมือ่ จะแบ่งออกเป็นฝ่ายใหญ่ๆ ก็มอี ยู่ ๒ ฝ่ายด้วยกันคือ ครุกรรมที่


เป็นฝ่ายอกุศล ๑ ครุกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศล ๑ ครุกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศล คือ ฝ่ายชัว่ ฝ่ายบาป ย่อมให้ปฏิสนธิใน
ทุคติภมู ใิ นชาติตอ่ ไปอย่างแน่นอนหมายความว่า เมือ่ บุคคลใดกระทำครุกรรมฝ่ายอกุศลไว้ บุคคลนัน้ เมือ่ ตายไป
จากโลกนีแ้ ล้ว ย่อมตรงไปเกิดเป็นอบายสัตว์ในอบายภูมอิ ย่างแน่นอน โดยไม่ตอ้ งสงสัย ไม่มกี ารยกเว้นไม่วา่ จะ
เป็นกรณีใดๆ ทัง้ สิน้ ส่วนครุกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศล คือ ฝ่ายดีฝา่ ยบุญ ย่อมให้ปฏิสนธิในสุคติภมู ใิ นชาติตอ่ ไปอย่าง
แน่นอน หมายความว่า เมือ่ บุคคลผูท้ ำครุกรรมฝ่ายกุศลตายไปจากโลกนีแ้ ล้ว เขาย่อมตรงไปเกิดในสุคติภพ
อย่างแน่นอน ไม่มกี ารยกเว้น ไม่วา่ จะเป็นกรณีใดๆ ทัง้ สิน้

ในกรณีทค่ี รุกรรม มีอำนาจส่งผลให้บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม ไปเกิดในทุคติภมู หิ รือสุคติภมู ใิ นชาติตอ่


ไปอย่างเด็ดขาดแน่นอนนี้ มีคำอุปมาทีก่ ล่าวไว้วา่

ธรรมดาว่าก้อนกรวดและก้อนเหล็กนัน้ ถึงแม้จะมีปริมาณไม่ใหญ่ไม่โตนัก เป็นก้อนเล็กๆ เพียง


เท่าเมล็ดถัว่ เขียวเท่านัน้ ถ้ามีบคุ คลจับมันโยนทิง้ ลงไปในห้วงแห่งนที มันก็ยอ่ มเทีย่ งทีจ่ ะจมลงไปสูอ่ โธภาค เบือ้ งต่ำ
ดำลึกลงไปจนกระทั่งถึงพื้นใต้น้ำอย่างแน่นอน ก้อนกรวดก้อนเหล็กอันเล็กนั้น มันมิอาจจะลอยกลับขึ้น
มาเหนือหลังน้ำได้ ย่อมเทีย่ งแท้ทจ่ี ะจมลงไปในภายใต้นำ้ อย่างแน่นอนฉันใด ครุกรรมไม่วา่ จะเป็นฝ่ายอกุศล
หรือฝ่ายกุศลก็ตาม ย่อมมีสภาวะเทีย่ งแท้แน่นอนเช่นนัน้ คือมีอำนาจบันดาลให้บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม ไปเกิด
ในทุคติภมู หิ รือสุคติภมู ใิ นชาติตอ่ ไปอย่างแน่นอนเด็ดขาด ไม่มกี รรมอืน่ ใดจะมาสามารถกางกัน้ ได้เลย

พูดถึงเรือ่ งครุกรรมนีม้ าก็นานพอสมควรแล้ว แต่ยงั ไม่ได้ชใ้ี ห้เห็นสักทีวา่ ทีว่ า่ ครุกรรมๆ นัน้ ได้แก่อะไร?
ก่อนที่จะทราบว่าครุกรรมได้แก่อะไร ก็ต้องไม่ลืมหลักใหญ่ที่ว่า ครุกรรมนี้แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ
ครุกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศล ๑ ครุกรรมทีเ่ ป็นกุศล ๑ เสียก่อน เมือ่ เราจับหลักใหญ่ได้ชน้ั หนึง่ ดังนีแ้ ล้ว ทีน้ี เราจึง
ศึกษาให้ละเอียดลงไปอีกว่า ในบรรดาครุกรรมทัง้ ๒ ฝ่ายนัน้ ครุกรรมฝ่ายอกุศลได้แก่อะไร?

ครุกรรมฝ่ายอกุศล ได้แก่

ก. นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม = ความเห็ น ผิ ด อั น ดิ ่ ง ลงไป เช่ น ความเห็ น ผิ ด แห่ ง ศาสดาจารย์ ท ั ้ ง หลายมี


ปูรณกัสสปะ เป็นต้น

ข.อนันตริยกรรม = กรรมอันเป็นบาปหนัก ทีใ่ ห้ผลในภพเป็นลำดับต่อไป ซึง่ มีอยู่ ๕ ประการ คือ

 ⌫⌫
๑. มาตุฆาต
๒. ปิตฆ
ุ าต
๓. อรหันตฆาต
๔. โลหิตปุ าท
๕. สังฆเภท

นีแ่ หละท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย กรรมใหญ่เหล่านี้ คือ นิยตนมิจฉาทิฏฐิกรรม และอนันตริยกรรมนี่ แหละ
จัดเป็นครุกรรม ! บัดนีเ้ พือ่ ความเข้าใจดียง่ิ ขึน้ จักได้อธิบายครุกรรมให้กว้างขวางออกไป แต่ในการ อธิบายนี้
ครุกรรมอันเป็นส่วนนิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม จักยกไว้ไม่อธิบาย เพราะตัง้ ใจไว้วา่ จักกล่าวในตอนข้างหน้าโน้น
ในทีน่ จ่ี กั ขอกล่าวแต่เพียงครุกรรมอันเป็นส่วนอนันตริยกรรมเท่านัน้ ก็อนันตริยกรรมทัง้ ๕ ประการ ซึง่ จัดเป็น
ครุกรรมฝ่ายอกุศล อันเป็นกรรมให้ผลเป็นบาปอย่างสาหัสนัน้ มีการขยายความดังต่อไปนี้

มาตุฆาต - ปิตฆุ าต
มาตุฆาต – ปิตฆ ุ าตนี้ ได้แก่ การฆ่ามารดาบิดา ! ก็การฆ่ามารดา ทีจ่ ดั ว่าเป็นอนันตริยกรรมย่อม
หมายเอาเฉพาะฆ่ามารดาบังเกิดเหล้าเท่านัน้ ถ้าฆ่าแม่เลีย้ ง ฆ่าแม่นม ฆ่าแม่ยายจะได้เป็นอนันตริยกรรมก็หา
มิได้ ถึงปิตฆุ าต คือการฆ่าบิดาก็เหมือนกัน ทีจ่ ดั ว่าเป็นอนันตริยกรรม ก็หมายเอาเฉพาะฆ่าบิดาบังเกิดเกล้า เท่านัน้
ถ้าฆ่าพ่อเลีย้ ง ฆ่าอา ฆ่าพ่อตา จะได้เป็นอนันตริยกรรมก็หามิได้

ในกรณีแห่งปิตฆ ุ าตกรรมนี้ ถึงไม่รู้จักเลยว่าเป็นบิดา หากว่าฆ่าเสียก็เป็นอนันตริยกรรม ยกตัว


อย่างเช่น บุตรแห่งหญิงแพศยาคือโสเภณี ไม่รวู้ า่ ใครเป็นบิดา ภายหลังได้ทำการฆ่าบุรษุ ผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นบิดาแห่ง
ตน เพราะตนเกิดด้วยสัมภวะราคะแห่งบุรษุ ผูน้ น้ั โดยไม่รู้ อย่างนีก้ ค็ งเป็นปิตฆุ าต คือต้องอนันตริยกรรม

ถ้าลูกเป็นมนุษย์ แต่บดิ ามารดาเป็นสัตว์เดียรฉาน ลูกทีเ่ ป็นมนุษย์นน้ั ฆ่าเสียซึง่ บิดามารดาอันเป็น


สัตว์เดียรฉาน อย่างนีไ้ ม่เป็นอนันตริยกรรม

ลูกเป็นสัตว์เดียรฉาน แต่ตวั บิดามารดาเป็นมนุษย์ ลูกทีเ่ ป็นสัตว์เดียรฉานนัน้ ฆ่าเสียบิดามารดาผู้


เป็นมนุษย์ อย่างนีก้ ไ็ ม่เป็นอนันตริยกรรม

ลูกเป็นสัตว์เดียรฉาน พ่อแม่กเ็ ป็นสัตว์เดียรฉาน ลูกทีเ่ ป็นสัตว์เดียรฉานนัน้ ฆ่าพ่อแม่ซง่ึ เป็นสัตว์


เดียรฉานนัน้ เสีย อย่างนีก้ ไ็ ม่เป็นอนันตริยกรรม คือ จะกำหนดว่า เขาจะต้องไปตกนรกในชาติตอ่ ไปอย่างแน่นอน
ตามอำนาจแห่งครุกรรมฝ่ายอกุศล ทีเ่ รากำลังกล่าวถึงกันอยูน่ ห่ี าได้ไม่ โดยทีเ่ มือ่ เขาตายจากชาติทเ่ี ป็นสัตว์

 ⌫ 


เดียรฉานนัน้ แล้ว เขาอาจจะไปเกิดในสุคติภมู เิ ช่นเทวโลกได้กอ่ น ภายหลังจึงไปตกนรก ทนทุกขเวทนาอย่าง
แสนสาหัส เช่นเดียวกับต้องอนันตริยกรรม

ลูกเป็นมนุษย์ บิดามารดาก็เป็นมนุษย์ กาลเมื่อบุตรประทุษร้ายให้บิดามารดาถึงแก่ความตายนั้น


เพศบิดามารดาเป็นมนุษย์ตง้ั อยูโ่ ดยปกติ มิได้กลายเป็นสัตว์เดียรฉานไป อย่างนีจ้ ดั เป็นอนันตริยกรรม

ลูกเป็นมนุษย์ บิดามารดาก็เป็นมนุษย์ กาลเมื่อบุตรประทุษร้ายให้บิดามารดาถึงแก่ความตายนั้น


เพศบิดามารดากลายเป็นสัตว์เดียรฉานไป อย่างนี้ไม่เป็นอนันตริยกรรม แต่ว่าโทษนั้นหนัก ต้องตกนรกได้
เสวยทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัสช้านานเท่ากันกับอนันตริยกรรม

รวมความว่า จะเป็นปิตุฆาตมาตุฆาต ต้องอนันตริยกรรมได้นั้น เฉพาะแต่บิดามารดาเป็นมนุษย์


และบุตรผูฆ่ า่ นัน้ ก็เป็นมนุษย์เหมือนกันเท่านัน้ ถ้าเป็นสัตว์เดียรฉานด้วยกัน ฆ่ากันตามวิสยั แห่งสัตว์เดียรฉาน
ก็หาเป็นอนันตริยกรรมไม่

ในกรณีมาตุฆาตปิตฆ ุ าตกรรมนี้ ยังมีขอ้ ทีค่ วรทราบซึง่ ท่านกล่าวไว้อกี ดังนีค้ อื เมือ่ บุคคลเข้าไปสูป่ า่


มีเจตนาว่าจะสังหารแพะซึง่ เป็นสัตว์เดียรฉาน เห็นมารดาแต่สำคัญมัน่ หมายว่าเป็นแพะ จึงพุง่ หอกแทงมารดา
นัน้ จนถึงแก่ความตาย อย่างนีก้ เ็ ป็นมาตุฆาตต้องอนันตริยกรรม เห็นบิดาแต่มจี ติ สำคัญมัน่ หมายว่าเป็นแพะ
จึงพุง่ หอกแทงบิดานัน้ จนถึงแก่ความตาย อย่างนีก้ เ็ ป็นปิตฆุ าตต้องอนันตริยกรรม จิตทีไ่ ม่รวู้ า่ เป็นมารดาบิดา
สำคัญมัน่ แต่วา่ เป็นแพะนัน้ ไม่อาจจะคุม้ บาปคุม้ กรรมได้ เพราะเหตุทย่ี กเอาวธกะเจตนาในกาลเมือ่ ยกศาสตรา
ขึน้ แทงนัน้ เป็นหลักเป็นประธาน ฉะนัน้ จึงต้องเป็นอนันตริยกรรม

เมือ่ บุคคลเข้าสูส่ มรภูมิ กระทำสงครามปราบปรามหมูป่ จั จามิตร เห็นทหารทีเ่ ป็นปัจจามิตรอริศตั รูมนั


มุง่ ตรงมาเฉพาะหน้า แล้วก็เห็นบิดาของตนตามหลังเจ้าทหารศัตรูนน้ั มา ให้บงั เกิดความขัดใจเป็นหนักหนาว่า
บิดาของตนเป็นพวกปัจจามิตร เป็นกำลังอุดหนุนของปัจจามิตร ก็เจ็บใจปล่อยลูกธนูไป หมายใจจะให้ลกู ธนูนน้ั
เสียบแทงตลอดร่างกายแห่งทหารข้าศึกนัน้ แล้ว ทะลุไปเสียบแทงร่างกายของบิดา ปรารถนาจะฆ่าเสียทัง้ ๒ คน !
เมื่อลูกธนูนั้นมันแล่นไปเสียบแทงตลอดร่างกายแห่งทหารข้าศึกนั้นแล้ว ทะลุไปเสียบแทงร่างแห่งบิดาสม
ด้วยอัธยาศัยทีม่ งุ่ หมาย บิดานัน้ ตายไปตามความปรารถนา อย่างนีบ้ รุ ษุ ผูย้ งิ นัน้ เป็นปิตฆุ าต ต้องอนันตริยกรรม

ถ้ายักต์และเปรต แปลงเพศเป็นบิดาของทหารกล้าผูแ้ ม่นธนู แต่วา่ อยูใ่ นฝ่ายปัจจามิตร ทหารกล้าผูน้ น้ั


ครัน้ เห็นยักษ์และเปรตซึง่ แปลงเพศเป็นบิดา ก็สำคัญว่าเป็นบิดา แล้วให้บงั เกิดความเจ็บใจว่าบิดาเป็นอริรา้ ย
ใคร่จะสังหารให้ตายเสีย จึงยิงยักษ์และเปรตซึ่งอยู่ในเพศแห่งบิดานั้นตาย อย่างนี้ไม่เป็นปิตุฆาตไม่ต้อง
อนันตริยกรรม แม้ในกรณีทส่ี ตั ว์เดียรฉานอันมีฤทธิซ์ ง่ึ แปลงกายเป็นบิดา เมือ่ ทหารกล้าฆ่าสัตว์เดียรฉานนัน้ ตาย
ด้วยความเจ็บใจว่าบิดาเป็นฝ่ายอริรา้ ย อย่างนีก้ ไ็ ม่เป็นปิตฆุ าตกรรม ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

 ⌫⌫
เมือ่ บุคคลเห็นบิดาปลอมตัวมาปล้น สำคัญว่าเป็นโจรหารูว้ า่ เป็นบิดาไม่ แล้วจึงทำการฆ่าบิดานัน้ เสีย
ด้วยสำคัญว่าเป็นโจร อย่างนีจ้ ดั เป็นปิตฆุ าตต้องอนันตริยกรรม

ถ้าโจรทีม่ าปล้นนัน้ มีรปู ร่างเหมือนบิดาและฆ่าเสียจนตาย ภายหลังเกิดความโทมนัสเสียใจเป็นอันมาก


ด้วยสำคัญผิดคิดว่าตนฆ่าบิดาตายเสียแล้ว อย่างนีไ้ ม่จดั เป็นปิตฆุ าต ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

ยักษ์เปรต แปลงเพศเป็นบิดามาประทุษร้ายแก่ตน เกิดความโทมนัสขัดแค้นขึน้ มา จึงฆ่าเสียจนตายทัง้ ๆ


ทีเ่ ห็นว่าเป็นบิดา โดยหารูไ้ ม่วา่ เป็นยักษ์เป็นเปรตแปลงเพศมา อย่างนีก้ ไ็ ม่เป็นปิตฆุ าต ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

สัตว์เดียรฉาน ทีม่ ฤี ทธิส์ ามารถจำแลงแปลงกายได้ เช่น นาคและครุฑนัน้ เมือ่ มันจำแลงแปลงกายมา


ให้เหมือนกับบิดา แล้วย่ำยีบฑ ี าให้ได้รบั ความโทมนัสขัดแค้นใจ อดกลัน้ โทโสไม่ได้ ก็เลยฆ่าเสียจนตาย ทัง้ ๆ
ทีเ่ ห็นว่าเป็นบิดา โดยหารูไ้ ม่วา่ เป็นสัตว์มฤี ทธิจ์ ำแลงแปลงกายมา อย่างนีก้ ไ็ ม่เป็นปิตฆุ าต ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

ในอาณัตปิ กั ษ์ คือ ในกรณีแห่งการใช้ให้ฆา่ นัน้ บุคคลใช้ให้คนอืน่ ฆ่ามนุษย์คนหนึง่ จนถึงแก่ความตาย


ถ้าผูต้ ายเป็นบิดาของบุคคลผูใ้ ช้ให้ฆา่ ผูใ้ ช้ให้ฆา่ นัน้ เป็นปิตฆ
ุ าต ต้องอนันตริยกรรม ส่วนผูฆ ้ า่ นัน้ ได้บาปตาม
ตำแหน่งทีฆ่ า่ มนุษย์ ไม่เป็นปิตฆุ าต ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม ถ้าผูต้ ายเป็นบิดาของผูฆ้ า่ ผูฆ้ า่ นัน้ เป็นปิตฆุ าตต้อง
อนันตริยกรรม ส่วนผูใ้ ช้ให้ฆา่ ย่อมได้บาปตามตำแหน่งทีฆ่ า่ มนุษย์ แต่ไม่เป็นปิตฆุ าต ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

เมือ่ บุคคลเห็นหอกเห็นดาบ แปดเปือ้ นไปด้วยคราบโลหิต จึงบังเกิดความคิดขึน้ ว่าจะเช็ดโลหิตทีต่ ดิ


หอกติดดาบนัน้ ออกเสีย จึงจับเอาหอกและดาบนัน้ เสือกเข้าไปทีล่ อมฟางและกองใบไม้ บังเอิญมารดาบิดาแห่ง
ตนนอนหลับสบายยูใ่ นกองฟางและกองใบไม้นน้ั เมือ่ ถูกอาวุธทีบ่ คุ คลนัน้ เสือกแทงเข้าไป ก็มอี าการดิน้ อุตลุด
ทุรนทุราย และบุคคลนั้นก็รู้ถนัดใจว่าถูกสัตว์อะไรเข้าแล้ว มีจิตประวัติไปในการบาป เจตนาที่หยาบเป็น
วธกะเจตนาบังเกิดขึน้ แก่เขาในขณะนัน้ ว่า

“จะเป็นสัตว์อะไรก็ชา่ งหัวมันเถิด เราจักแทงสัตว์นใ้ี ห้ตายให้จงได้”

คิดร้ายดังนีก้ ระหน่ำแทงเข้าไปใหม่ จนสัตว์ในลอมฟางหรือกองใบไม้นน้ั หยุดดิน้ นอนนิง่ สนิทเพราะตาย


แล้ว เขาจึงเข้าไปเลิกลอมฟางหรือลอมใบไม้นน้ั ดู พอรูว้ า่ เป็นบิดาหรือเป็นมารดาแห่งตน ก็รอ้ งไห้บงั เกิดความ
โทมนัสเศร้าเสียใจเป็นหนักหนา อย่างนี้ ถ้าผูต้ ายนัน้ เป็นมารดา บุคคลนัน้ ก็เป็นมาตุฆาต ต้องอนันตริยกรรม
ถ้าผูต้ ายนัน้ เป็นบิดา บุคคลนัน้ ก็เป็นปิตฆุ าต ต้องอนันตริยกรรม

 ⌫ 


อรหันตฆาต
อรหันตฆาตนี้ ได้แก่การฆ่าท่านพระอรหันต์ ! บุคคลผูม้ วี าสนาบารมีเป็นผูโ้ ชคดี เกิดมาเป็นมนุษย์พบ
พระพุทธศาสนาอุตส่าห์พยายามปฏิบตั ธิ รรมตามพระโอวาทานุสาสนีแห่งองค์สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้า
จนกระทั่งได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ ซึ่งเป็นพระอริยบุคคลชั้นสูงสุดในพระบวรพุทธศาสนา เป็นผู้ทรงคุณอัน
ประเสริฐ ควรเป็นทีบ่ ชู าของเทวดาและมนุษย์ทง้ั หลาย เพราะเป็นผูไ้ ร้กเิ ลสมลทิน บริสทุ ธิผ์ ดุ ผ่องได้รบั การยก
ย่องว่าเป็นพระมหาขีณาสวเจ้า ท่านผู้นี้แหละชื่อว่าเป็นพระอรหันต์ บุคคลผู้ใดมีใจหยาบช้าฆ่าพระอรหันต์
บุคคลนัน้ ย่อมได้ชอ่ื ว่าเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรม

ในกรณีแห่งอรหันตฆาตนี้ มีขอ้ ทีพ่ วกเราชาวพุทธศาสนิกชน ควรจะทราบไว้เพือ่ เป็นเครือ่ งประดับสติ


ปัญญา ดังต่อไปนี้ คือ

อรหันตฆาต ทีจ่ ะจัดเป็นอนันตริยกรรมได้นน้ั หมายเอาเฉพาะบุคคลทีฆ่ า่ พระอรหันต์มหาขีณาสวเจ้า


ที่ท่านเป็นมนุษย์เท่านั้น ถ้าฆ่าพระอรหันต์มหาขีณาสวเจ้าที่เป็นเทวดาก็ดี ฆ่าพระอรหันต์มหาขีณาสวเจ้าที่
เป็นอินทร์ พรหมและยักษ์กด็ ี บุคคลผูฆ้ า่ นัน้ ย่อมได้บาปหนักอยู่ แต่หาเป็นอนันตริยกรรมไม่

เมือ่ บุคคลเข้าไปสูป่ า่ มีเจตนาว่าจะสังหารสัตว์ตา่ งๆ เช่น แพะแกะเป็นต้น เห็นพระอรหันต์เข้าสำคัญ


มัน่ หมายว่าเป็นแพะ จึงพุง่ หอกแทงพระอรหันต์นน้ั จนท่านดับขันธ์เข้าสูพ่ ระนิพพาน อย่างนีก้ เ็ ป็นอรหันตฆาต
ต้องอนันตริยกรรม จิตทีไ่ ม่รวู้ า่ เป็นพระอรหันต์ สำคัญมัน่ แต่วา่ เป็นแพะอยูใ่ นป่านัน้ ไม่อาจจะคุม้ บาปคุม้ กรรม
ได้ ฉะนัน้ ในกรณีน้ี เขาจึงต้องอนันตริยกรรม

ในอาณัตปิ กั ษ์ คือ ในกรณีแห่งการใช้ให้ฆา่ นัน้ บุคคลใช้ให้คนอืน่ ฆ่ามนุษย์คนหนึง่ จนถึงแก่ความตาย


ถ้าผูท้ ถ่ี กู ฆ่านัน้ เป็นพระอรหันต์มหาขีณาสวเจ้า เขาทัง้ ๒ คือ ผูใ้ ช้ให้ฆา่ และผูฆ้ า่ ย่อมได้บาปเป็นอรหันตฆาต
ต้องอนันตริยกรรม

เมือ่ บุคคลปรารถนาจะซ่อนหอกซ่อนดาบ ไว้ในกองใบไม้กองฟาง จึงเสือกหอกเสือกดาบเข้าไปใน


กองใบไม้หรือกองฟางนัน้ โดยแรง บังเอิญพระอรหันต์ขณ ี าสวเจ้านัง่ อยูท่ น่ี น่ั เมือ่ ท่านถูกอาวุธทีบ่ คุ คลนัน้ เสือก
แทงเข้าไป จึงมีอาการดิน้ รนและบุคคลนัน้ ก็รถู้ นัดใจว่าแทงถูกสัตว์มชี วี ติ มีจติ ประวัตไิ ปในการบาป เจตนาหยาบ
ช้าอันเป็นวธกเจตนาบังเกิดขึน้ คิดว่าจะแทงให้ตาย ครัน้ พระอรหันต์มหาขีณาสวเจ้านัน้ ท่านดับขันธ์เข้าสู่ นิพพาน
เพราะการกระทำของเขาแล้ว ในกรณีน้ี เขาผูน้ น้ั ย่อมได้บาปเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรม

 ⌫⌫
ท่านที่เป็นชาติมนุษย์ ได้มีโอกาสบรรลุธรรมวิเศษสูงสุดในพระพุทธศาสนา คือได้สำเร็จเป็น
พระอรหันตอริยบุคคลมหาขีณาสวเจ้า แต่วา่ ยังไม่ได้เข้ามาอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา ยังทรงเพศเป็น
ฆราวาสอยู่ ผูใ้ ดประหารท่านให้ดบั ขันธ์เข้าสูน่ พิ พาน ผูน้ น้ั ก็เป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรม

ท่านทีย่ งั เป็นปุถชุ นคนธรรมดา มีความเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนาเป็นอันมาก จึงสละเคหสถาน


เข้าไปปฏิบตั บิ ำเพ็ญวิปสั สนากรรมฐาน เพราะต้องการทีจ่ ะนำตนให้พน้ จากกองทุกข์ในวัฏสงสาร ในขณะทีท่ า่ น
กำลังจำเริญวิปสั สนากรรมฐานอยูน่ น้ั บังเอิญคนมีเวรร้ายปรารถนาจะฆ่าท่านให้ตายจึงประหารด้วยศาสตราวุธก็ดี
เอายาพิษมาลอบใส่ในขาทนิยะโภชนียะ คืออาหารและน้ำให้ทา่ นได้บริโภคเข้าไปก็ดี เมือ่ ทุกขเวทนาบังเกิดกล้า
ขึ้นแล้ว ด้วยเหตุที่ต้องประหารและกินยาพิษนั้น ท่านก็ไม่สละละวางกรรมฐาน กลับเอาทุกขเวทนานั้นมา
กำหนดเป็นบทกรรมฐานในส่วนเวทนานุปสั สนา ให้สภาวะแห่งวิปสั สนาญาณเกิดขึน้ และเจริญก้าวหน้าขึน้ อย่าง
รวดเร็ว จนกระทัง่ พระอริยมรรคพระอริยผลบังเกิด สำเร็จเป็นพระอรหันต์อริยบุคคล ตัดกิเลสเป็นสมุจเฉทประหาน
แล้วก็ดบั ขันธ์เข้าสูน่ พิ พาน เพราะเหตุทต่ี อ้ งประหารและดืม่ ยาพิษเข้าไปนัน้ ถ้าเป็นอย่างนีบ้ คุ คลผูม้ เี วรร้ายซึง่
ประหารหรือลอบใส่พษิ นัน้ ย่อมได้บาปเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรม กรณีน้ี ย่อมเหมือนกับกรณีทว่ี า่

บิณฑบาตทานทีบ่ คุ คลถวายแก่ทา่ นทีเ่ ป็นปุถชุ น ซึง่ มีวปิ สั สนาญาณอัน แก่กล้าเกือบจะได้บรรลุ


มรรคผลอยูแ่ ล้ว ถ้าปุถชุ นผูบ้ ำเพ็ญวิปสั สนากรรมฐาน มีวปิ สั สนาญาณแก่กล้าอยูแ่ ล้วนัน้ ท่านรับบิณฑบาตไป
แล้ว ท่านเอาไปตั้งไว้ยังหาได้ฉันอาหารบิณฑบาตนั้นไม่ เจริญวิปัสสนาต่อไปจนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์
มหาขีณาสวเจ้า แล้วท่านจึงฉันอาหารบิณฑบาตนัน้ ถ้าเป็นอย่างนี้ ผูท้ ถ่ี วายอาหารบิณฑบาตทานนัน้ ย่อม
ได้ชอ่ื ว่าเป็นแต่เพียงถวายทานแก่ปถุ ชุ นคนธรรมดา เป็นปุถชุ นทาน หาใช่เป็นอรหันตทาน คือ เป็นทานทีถ่ วาย
แก่พระอรหันต์ไม่ ! ในกรณีน้ี ถ้าปุถชุ นผูม้ วี ปิ สั สนาญาณอันแก่กล้านัน้ ท่านรับบิณฑบาตไปแล้ว ท่านไม่ได้ตง้ั
ไว้กอ่ นเลย แต่ทา่ นจัดการบริโภคอาหารบิณฑบาตนัน้ เสียก่อน แล้วจึงเข้าทีจ่ ำเริญวิปสั สนาต่อไป จนได้สำเร็จ
เป็นพระอรหันต มหาขีณาสวเจ้าอย่างนี้ ผูท้ ถ่ี วายอาหารบิณฑบาตทานนัน้ ย่อมได้ชอ่ื ว่าถวายทานแก่พระอรหันต์
เป็นอรหันตทาน หาใช่เป็นเพียงปุถชุ นทาน คือทานทีใ่ ห้แก่ปถุ ชุ นไม่

ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย แลเห็นแล้วหรือยังเล่าว่า เวลาทีถ่ วายอาหารบิณฑบาตทานนัน้ ท่านผูร้ บั ก็
เป็นปุถชุ นอยูเ่ หมือนกัน แต่ทานนัน้ จะมีผลเลิศเป็นทานอย่างสูงชัน้ อรหันตทาน หรือจะมีผลธรรมดาเป็นทาน
ธรรมดาชัน้ ปุถชุ นทาน ย่อมอยูท่ ก่ี ารบริโภคก่อนหรือบริโภคทีหลังแห่งท่านผูม้ ปี สั สนาญาณแก่กล้า หากว่าท่าน
รับแล้ว เอาไปตัง้ ไว้ยงั หาบริโภคไม่ ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์แล้ว จึงบริโภคในภายหลังอย่างนีเ้ ป็นปุถชุ นทาน
ผู้ถวายได้ชื่อว่าถวายแก่ปุถุชน หากว่าท่านรับแล้ว บริโภคเสียก่อนแล้วจึงบำเพ็ญสมณธรรมเจริญวิปัสสนา
กรรมฐานจนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ อย่างนีเ้ ป็นอรหันตทาน ผูถ้ วายได้ชอ่ื ว่าถวายแก่พรอรหันต์ ในกรณีน้ี
สำคัญอยูท่ บ่ี ริโภคอาหารเข้าไปติดอยูใ่ นกาย อาหารบิณฑบาตทีเ่ ข้าไปประดิษฐานอยูใ่ นกาย ในอุทรประเทศแห่ง
ท่านผูม้ วี ปิ สั สนาญาณแก่กล้านัน้ เป็นเหตุ ชักนำให้ผถู้ วายทานได้ชอ่ื ว่าถวายอรหันตทาน ซึง่ เป็นทานทีม่ อี านิสงส์
มาก ถึงเรื่องอรหันตฆาตที่เรากำลังพูดกันอยู่นี้ก็เหมือนกัน บุคคลผู้มีเวรทำการประหารด้วยศาสตราวุธหรือ
ลอบใส่ยาพิษให้ท่านผู้มีวิปัสสนาญาณแก่กล้าซึ่งยังเป็นปุถุชนคนธรรมดาอยู่แท้ๆ แต่เมื่อท่านได้รับ

 ⌫ 


ทุกขเวทนาเจริญวิปสั สนาจนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์และดับขันธ์เข้าสูป่ รินพิ พานไป บุคคลผูใ้ จร้ายนัน้ ย่อมได้
บาปหนักได้ชอ่ื ว่าเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรมไปได้ ทัง้ นีเ้ พราะผลแห่งการประหารหรือยาพิษทีเ่ ข้าติด
ประดิษฐานอยูใ่ นกายของท่าน เป็นเหตุชกั นำให้บาปนัน้ แรงกล้าขึน้ เรือ่ ยๆ จนถึงขัน้ ต้องอนันตริยกรรม

จึงเป็นอันว่า เมือ่ บุคคลทำการฆ่าพระอริยบุคคลชัน้ พระอรหันต์ ซึง่ มีชาติเป็นมนุษย์แล้ว ไม่วา่ จะฆ่า


ด้วยประการใดก็ตาม ย่อมได้ชื่อว่าเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรมทั้งสิ้น ส่วนบุคคลผู้ทำการฆ่า
ซึง่ พระอริยบุคคลผูไ้ ด้บรรลุมรรคผลอันวิเศษขัน้ ต่ำลงมา คือ

- พระอนาคามีอริยบุคคล
- พระสกทาคามีอริยบุคคล
- พระโสดาบันอริยบุคคล

ฆ่าพระอริยบุคคลเหล่านีใ้ ห้ตาย บุคคลผูฆ้ า่ นัน้ จะได้ชอ่ื ว่าเป็นอรหันตฆาต ต้องอนันตริยกรรมก็หาไม่


แต่ได้บาปเป็นอันมากเพราะเป็นกรรมหนัก โดยให้เสวยทุกขเวทนาอย่างหนักในอบายภูมิ เสมอกันกับ
อนันตริยกรรมโดยแท้

อนึ่ง สัตว์เดียรัจฉานที่มันฆ่าพระอรหันต์อริยบุคคล ซึ่งเป็นชาติมนุษย์เสียนั้น มันหาได้ชื่อว่าต้อง


อนันตริยกรรมไม่ แต่วา่ กรรมทีม่ นั ได้ทำการฆ่า ทำการประหาร พระอรหันต์นน้ั เป็นกรรมทีห่ นักมาก ได้บาป
มากเสมอกันกับอนันตริยกรรม ฉะนัน้ เมือ่ มันดับขันธ์ตายจากชาติทเ่ี ป็นสัตว์เดียรัจฉานนัน้ แล้ว ย่อมต้องไป
เกิดเป็นสัตว์นรก ในนิรยภูมอิ ย่างแน่นอน

โลหิตบุ าท
โลหิตบุ าทนี้ ได้แก่การทำร้ายสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยการยังพระโลหิตให้หอ้ ในพระวรกาย
แห่งพระองค์ บุคคลผูใ้ ด มีใจหยาบช้าลามกประกอบด้วยโทสะจิต คิดจะปลงพระชนม์ชพี สมเด็จพระสรรเพชญ
พุทธองค์แล้ว ลงมือกระทำร้าย ยังพระโลหิตห้อให้บังเกิดในพระวรกายแห่งสมเด็จพระพุทธองค์ ซึ่งยังทรง
พระชนม์ชพี อยู่ เหมือนอย่างพระเทวทัตกระทำแก่องค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎศรีศากยมุนโี คดม บรมครูแห่งเราทัง้
หลายในพุทธสมัยนี้ บุคคลนัน้ ย่อมได้ชอ่ื ว่ากระทำโลหิตบุ าท ต้องอนันตริยกรรม

เพื่อความเข้าใจในอนันตริยกรรมข้อนี้ได้เป็นอย่างดี เราควรจะได้ทราบโลหิตุบาทที่พระเทวทัตกระทำ
ไว้เป็นตัวอย่างเสียก่อน คือ พระเทวทัตนัน้ เป็นผูผ้ กู เวรกับสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโคดมของเรามาประมาณ
หลายแสนชาติ มาในชาติน้ี ทีแรกก็มคี วามเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนา ถึงกับเข้ามาขอบรรพชาอุปสมบทเป็น
พระภิกษุ ภายหลังได้บำเพ็ญสมณธรรมสำเร็จโลกิยฤทธิ์ แล้วมีจติ กำเริบโอหังปรารถนาจักบริหารการคณะสงฆ์

 ⌫⌫
แทนองค์สมเด็จพระบรมครู เมือ่ พระองค์ไม่ทรงอนุญาต ก็บงั เกิดความอาฆาตมาดร้าย ปรารถนาจักกระทำร้าย
สมเด็จพระพุทธองค์ดว้ ยประการต่างๆ คราวหนึง่ สืบทราบมาว่าสมเด็จพระบรมศาสดาจักเสด็จไปโดยมรรคา
ทีผ่ า่ นภูเขา จึงแอบขึน้ ไปบนภูเขา เลือกก้อนหินใหญ่เท่ากูฎาคาร คือปราสาทเรือนยอดได้กอ้ นหนึง่ แล้ว ก็นง่ั จด
จ้องคอยทีอยู่ เมือ่ สมเด็จพระบรมครูเสด็จผ่านมาโดยมรรคาเบือ้ งล่าง คะเนพอเหมาะพอดีแล้ว พระเทวทัตผูใ้ จ
บาปก็ผลักก้อนหินใหญ่ให้กลิ้งตกลงมาทันที โดยมีความประสงค์จักให้ทับสมเด็จพระพุทธองค์ให้ทรงถึงแก่
ชีวติ ตักษัย ในขณะทีก่ อ้ นศิลาตกลงมาใกล้จะถึงสมเด็จพระพุทธองค์นน้ั ก็พลันบังเกิดอัจรรย์ !

บังเกิดมีกอ้ นศิลาใหญ่ ๒ ก้อน ผลุดขึน้ มาจากพืน้ ปฐพีเข้ากางกัน้ ก้อนศิลาที่ กำลังลอยละลิว่ ลงมา


จากยอดเบือ้ งสูง โดยการผลักของพระเทวทัตผูใ้ จบาป ก็กริ ยิ าทีก่ อ้ นศิลาใหญ่ทง้ั ๒ บังเกิดขึน้ มารองรับกางกัน้
ก้อนศิลาร้ายนัน้ ย่อมมีกริ ยิ าอาการเสมือนหนึง่ ว่า ก้อนศิลาใหญ่ทง้ั ๒ นัน้ จะมีจติ มีวญ
ิ ญาณมากไปด้วยความ
จงรักภักดี เข้าป้องกันภยันตรายมิให้เข้าพ้องพานพระวรกายสมเด็จพระชินสีหโ์ ดยฉับไว

โดยทีเ่ มือ่ ผลุดจากพืน้ ปฐพีในขณะนัน้ แล้ว ศิลาใหญ่ทง้ั ๒ ก็มกี ริ ยิ าน้อมยอดเข้าหากัน ประหนึง่ เป็น
เครือเขาเถาวัลย์ มิได้แข็งกระด้างทือ่ เฉยอยูเ่ หมือนภูเขาธรรมดา

มีกิริยาองอาจฉับไว คึกคะนองเข้ากางกั้นก้อนศิลาร้ายให้หยุดลงในทันที ประดุจพญาไกรสรสีหราช


เข้าห้ามสัตว์รา้ ย มิให้มากระทำอันตรายต่อผูท้ ต่ี นภักดีฉะนัน้

มีกริ ยิ าประคับประคองเสมือนหนึง่ ว่ามีจติ มากไปด้วยความกรุณา ประดุจมารดาบิดา เมือ่ บุตรของตน


คะนองโผนโจนเข้าหา ก็บงั เกิดมีจติ กรุณา เอามือซ้ายขวารับประคองปลอบขวัญบุตรแห่งตนไว้ฉะนัน้

อีกประการหนึง่ ก้อนศิลาใหญ่ทง้ั ๒ นัน้ มีกริ ยิ าประหนึง่ มากไปด้วยความจงรักภักดีตอ่ องค์สมเด็จ


พระชินสีห์ มีหน้าทีๆ่ จะต้องปฏิบตั อิ ย่างซือ่ ตรงต่อองค์สมเด็จพระบรมครูอยูเ่ นืองนิตย์

ดุจศิษย์คอยรับบริขารแห่งอาจารย์

ดุจสหายเพือ่ นตายทีร่ กั อย่างสนิท มิได้คดิ ทอดทิง้ เพือ่ นกัน

ดุจอำมาตย์ขา้ ราชการ อันเป็นข้าเฝ้าสมเด็จพระบรมกษัตริยาธิราชเจ้า ซึง่ มากไปด้วยความจงรักภักดี

ดุจเหล่าเทพยดา ซึง่ เป็นข้าเฝ้าเป็นเทพบริวารแห่งองค์สมเด็จพระอมรินทราธิราช

ดุจหมูพ่ ระพรหม ซึง่ อุดมไปด้วยฌานเข้านบนอบหมอบเฝ้าท่านท้าวมหาพรหมผูเ้ ป็นใหญ่ฉะนัน้

 ⌫ 


เป็นอันว่า ในขณะทีก่ อ้ นศิลาซึง่ พระเทวทัตผลักลงมาจวนจะถึงสมเด็จพระพุทธองค์นน้ั มีกอ้ นศิลา
ใหญ่เกิดขึ้นมาแต่พื้นปฐพี ๒ ก้อน แล้วน้อมยอดเขาหากันรองรับ กางกั้นก้อนศิลานั้นไว้ มิให้ตกถูกต้อง
พระวรกายของสมเด็จพระมหากรุณาสัมมา สัมพุทธเจ้าเป็นอัศจรรย์ ! ก้อนศิลาใหญ่ร้ายเท่าเรือนยอดที่
พระเทวทัตผลักลงมานัน้ ก็พลันกระแทกลงเหนือยอดศิลาใหญ่ทง้ั ๒ ทีผ่ ลุดขึน้ รองรับ จึงแตกออกเป็นสะเก็ด
กระจาย ในบรรดาสะเก็ดศิลาทีแ่ ตกกระจายออกไปมากมายนัน้ ศิลาสะเก็ดหนึง่ กระเด็นไปถูกต้องทีส่ ดุ ปลาย
พระบาทขององค์สมเด็จพระบรมศาสดาอย่างแรง มีอาการประหนึง่ ว่าประหารด้วยขวาน พระโลหิตห้อขึน้ ทันที
ในขณะทีส่ ะเก็ดศิลานัน้ มากระทบพระชงฆ์และพระฉวีวรรณช้ำ แต่หาได้แตกทำลายไม่ !

เหตุใด จึงไม่แตกทำลาย ?

เพราะเหตุวา่ พระวรกายแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐทุกๆ พระองค์


นัน้ ย่อมเป็น “ อเภทกาย “ คือ เป็นพระวรกายทีม่ สี ภาพไม่แตกทำลายในขณะทีพ่ ระองค์ทรงพระชนม์ชพี อยู่
พระอวัยวะส่วนไหนๆ ย่อมไม่มกี ารแตกทำลาย ถึงใครจะทำร้ายด้วยอาวุธใดๆ แม้จะเป็นไม้ตะบองเท่าภูเขา
ก็เป็นพระวรกายคงกระพันชาตรีโดยธรรมดา มิได้บบุ สลายแตกแยกเป็นแผลใหญ่ดง่ั สามัญชนทัง้ หลาย คงเป็น
แต่เพียงทรงมีพระฉวีวรรณช้ำเท่านัน้ คือเป็นแต่เพียงพระโลหิตห้อ เท่านีก้ ย็ อ่ มเป็นการเพียงพอแก่การทีจ่ ะยัง
บาปใหญ่ให้บงั เกิดแก่ผปู้ ระทุษร้าย เข้าขัน้ โลหิตบุ าท ต้องอนันตริยกรรมได้แล้ว

ด้วยเหตุน้ี เมือ่ พระเทวทัตผูม้ จี ติ ประทุษร้ายมุง่ หมายจักปลงพระชนม์ชพี ของพระองค์ แล้วกลิง้ ศิลาใหญ่


ให้ตกลงมา แม้วา่ ก้อนศิลาใหญ่นน้ั จักไม่ถกู ต้องพระวรกายทัง้ หมดเพราะมีกอ้ นศิลาใหญ่อกี ๒ ก้อนผลุดขึน้ รอง
รับไว้ เป็นแต่เพียงสะเก็ดศิลากระเด็นไปต้องพระบาท ยังพระโลหิตให้หอ้ เท่านัน้ ท่านก็ยอ่ ม ได้รบั กรรมหนักขัน้
โลหิตบุ าท ต้องอนันตริยกรรม ! แต่ในภายหลังต่อมา เมือ่ หมอชีวกโกมารภัจทำการผ่า พระฉวีวรรณบริเวณที่
ต้องสะเก็ดออกด้วยมีด รีดเอาพระโลหิตร้ายออกเสียจากพระบาทนัน้ ไม่จดั เป็นโลหิตบุ าท ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม

“เหตุใด หมออาชีวกไม่ต้องอนันตริยกรรม? เพราะเมื่อคิดๆ ไปดูเหมือนว่า เขาจะทำอันตรายแก่


พระวรกาย แห่งพระองค์มากกว่าพระเทวทัตเสียอีก ทัง้ นีก้ เ็ พราะพระเทวทัตเพียงแต่ทำพระโลหิตให้หอ้ ขึน้ ใน
พระวรกายเท่านั้น แต่หมอชีวกโกมารภัจนั้นทำการผ่าตัดถึงกับให้พระวรกายเป็นแผล และมีพระโลหิตไหล
ออกมา? เออ ! เมือ่ ว่ามาถึงตอนนีก้ ใ็ ห้นา่ สงสัยอีก คือ เมือ่ ตะกีน้ ท้ี า่ นว่าพระวรกายสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
นัน้ เป็น “อเภทกาย” คงกระพันชาตรีไม่แตกสลาย แต่เหตุใด เมือ่ หมอชีวกผ่าตัดนัน้ จึงผ่าตัดออกได้เล่า เช่น
นีท้ า่ นจะว่าอย่างไร? สมมติวา่ มีผหู้ นึง่ ถามขึน้ มาดังนี้

ก็ยอ่ มจะมีวสิ ชั นาว่า หมอชีวกโกมารภัจเป็นแพทย์หลวง มีความเลือ่ มใสในพระบวรพระพุทธศาสนา


ทรงคุณวิเศษเป็นพระอริยบุคคลชัน้ โสดาบัน เมือ่ ทราบเหตุทพ่ี ระองค์ทรงมีพระโลหิตห้อทีพ่ ระบาท ก็มคี วาม
ปรารถนาทีจ่ กั ได้แลเห็นสมเด็จพระพุทธองค์ทรงพระสำราญ ด้วยน้ำใจอันประกอบด้วยความภักดี ใช่วา่ จะมี
เจตนาประทุษร้ายแม้แต่สักนิดหนึ่งก็หามิได้ แล้วจึงขอพระวโรกาสผ่าพระฉวีวรรณบริเวณที่ช้ำเพื่อจะรีดเอา

 ⌫⌫
พระโลหิตเสียออก เมือ่ ได้รบั พระบรมพุทธานุญาตแล้ว เขาจึงสามารถผ่าออกด้วยมีด รีดพระโลหิตร้ายออกเสีย
จากพระบาทได้ และพระโลหิตที่รีดออกมาได้นั้น ก็มีประมาณไม่มากมายอะไร มีประมาณเพียงพอแมลงวัน
ดืม่ กินได้สกั อิม่ หนึง่ เท่านัน้ ! ในกรณีน้ี ถ้าหมอชีวกไม่ได้รบั พระบรมพุทธานุญาตให้กระทำตามชอบพระหฤทัย
แล้ว เขาจักไม่สามารถผ่าตัดพระวรกายของพระองค์ อันได้ชอ่ื ว่าเป็น อเภทกายนัน้ ได้เลยเป็นอันขาด เพราะ
เหตุทเ่ี ขามีประสาทเลือ่ มใส ปรารถนา เพือ่ จักรักษาพระองค์ให้ได้รบั ความสุข ด้วยจิตบริสทุ ธิ์ ทำการผ่าตัดโดย
ได้รบั พระบรมพุทธานุญาตก่อนดังกล่าวมา ฉะนัน้ เขาจึงไม่เป็นผูก้ ระทำโลหิตบุ าท ไม่ตอ้ งอนันตริยกรรม เรือ่ ง
ของเรือ่ งเป็นเช่นนี้ จึงไม่นา่ ทีจ่ ะพูดมากไปให้เสียเวลาเปล่าๆ

รวมความว่า สมัยที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์ชีพอยู่ ผู้ใดมีจิตคิดประทุษร้าย


กระทำพระวรกายของพระองค์ให้พระโลหิตห้อ กรรมของผูน้ น้ั ย่อมเพียงพอทีจ่ ะเป็นโลหิตบุ าท ซึง่ จัดเป็นกรรม
หนักขัน้ อนันตริยกรรมได้ ก็ในกรณีแห่งโลหิตบุ าทกรรมนี้ มีขอ้ ความเกีย่ วเนือ่ งกันทีเ่ ราท่านผูเ้ ป็นพุทธศาสนิกชน
ควรจะรับทราบเอาไว้เพือ่ เป็นเครือ่ งประดับสติปญ
ั ญาอีก ดังต่อไปนี้ คือ

เมือ่ สมเด็จพระพุทธองค์ เสด็จดับขันธ์เข้าสูพ่ ระปรินพิ พานไปแล้ว บุคคลผูใ้ ดมีใจโหดร้ายใฝ่หากรรม


อันเป็นบาปหยาบช้า ประทุษร้ายวัตถุทเ่ี กีย่ วกับองค์สมเด็จพระบรมศาสดา พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ
ในไตรโลก เช่น ทำลายพระเจดียเ์ จ้า ทำลายไม้พระศรีมหาโพธิ์ ทำลายทุบต่อยพระสารีรกิ ธาตุ ด้วยใจมัวเมา
ประมาทอาฆาตมาดร้ายในพระบรมศาสดา กรรมของบุคคลนัน้ เป็นอกุศลกรรม คือเป็นบาปหนักเสมอกันกับ
อนันตริยกรรม ย่อมจะได้ให้เสวยทุกข์ในนรกอย่างสาหัสเสมอกันกับอนันตริยกรรม แต่วา่ ไม่จดั เป็นอนันตริยกรรม
ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่ากรรมเหล่านี้ ถึงจะเป็นกรรมหนักมีโทษมากก็จริง แต่ไม่มกี ำหนดเทีย่ งทีจ่ ะให้ผลในชาติหน้า คือ
อาจจะให้ผลในชาติอื่นต่อไปก็ได้ ไม่เที่ยงแท้แน่นอนเหมือนอนันตริยกรรม หากเป็นอนันตริยกรรมแล้ว มี
กำหนดเทีย่ งทีจ่ ะให้ผลในชาติหน้า ซึง่ ต่อจากชาตินอ้ี ย่างแน่นอน

ในเรือ่ งนี้ หากว่ากระทำไปด้วยเจตนาดี คือเป็นผูท้ ม่ี คี วามเลือ่ มใสในพระบวรพระพุทธศาสนาเป็นอัน


มาก เมือ่ ได้ประสบพบเห็นพระเจดียเ์ จ้าซึง่ เป็นทีบ่ รรจุพระบรมธาตุ หรือพระปฏิมากรถูกกิง่ พระศรีมหาโพธิห์ กั
ทอดทับเป็นอันตราย แลดูแล้วไม่นำมาซึง่ ความเลือ่ มใส ไม่เป็นทีเ่ จริญนัยนา มีความปรารถนาดีคดิ จักยกย่อง
พระบวรพุทธศาสนา จักหักจักทำลายหรือว่าจักตัดกิง่ พระศรีมหาโพธิน์ น้ั เสีย ด้วยเจตนาจะรักษาไว้ซง่ึ พระรูป
ปฏิมากร หรือพระเจดียเ์ จ้าซึง่ เป็นทีบ่ รรจุพระบรมธาตุ เช่นนีก้ ห็ ามีบาปมีกรรมอันใดไม่

แม้ในกรณีที่กิ่งพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งทอดไปในเบื้องบนแห่งพระเจดีย์เจ้า และพระรูปปฏิมากรเป็น


สถานทีเ่ กาะแห่งเหล่านกกาทัง้ หลาย หากเห็นว่า เจ้านกกาทัง้ หลายทีบ่ นิ มาเกาะกิง่ พระศรีมหาโพธิน์ น้ั มันพา
กันกระทำสิง่ ไร้เดียงสาตามประสาสัตว์เดียรัจฉาน คือถ่ายอุจจาระลงถูกต้องพระเจดียเ์ จ้า และพระรูปปฏิมากร
อยูเ่ นือ่ งๆ เห็นแล้วให้ระคายระเคืองใจนัก จึงขึน้ ไปหักไปตัดกิง่ พระศรีมหาโพธิน์ น้ั เสีย เพือ่ มิให้เจ้านกกาจัญไร
นัน้ มันมาเกาะแล้วกระทำอาการอันน่าทุเรศนัน้ อีกต่อไปอย่างนีก้ ห็ าเป็นบาปเป็นกรรมแต่อย่างใดไม่ เพราะทำ
ไปด้วยเจตนาดีตอ่ องค์สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้า

 ⌫ 


สังฆเภท

สังฆเภทนี้ ได้แก่การที่พระภิกษุทำลายให้พระสงฆ์แตกกัน ! ภิกษุรูปใดมีใจบาปหยาบช้าลามก


ประกอบไปด้วยดวงจิตอันสกปรก ยุยงให้พระสงฆ์แตกแยกกัน ภิกษุรปู นัน้ ย่อมได้ชอ่ื ว่ากระทำสังฆเภท ต้อง
อนันตริยกรรม จากข้อความที่กล่าวมานี้ ท่านผู้มีปัญญาก็คงจะเห็นได้แล้วว่า ถ้าเป็นบุคคลอื่น ที่มิใช่เป็น
พระภิกษุในพระพุทธ ศาสนา คือว่าเป็นสามเณรก็ดี เป็นอุบาสกก็ดี เป็นคนภายนอกพระพุทธศาสนาก็ดี ถึงแม้
จะมีเจตนาร้าย ยุยงให้พระสงฆ์คอื พระภิกษุทง้ั หลายเกิดความพิโรธโกรธเกรีย้ วเคีย้ วฟัน ด่าทอตีรนั กันจนเลือด
ตกยางออกด้วยอารมณ์โทสะ ตามประสาแห่งพระภิกษุเหล่านัน้ เป็นประการใดๆ ก็ดี ผูท้ ย่ี ยุ งนัน้ ได้บาปได้กรรม
น่ะได้แน่ๆ แต่จะว่าเขาจะกระทำสังฆเภท ต้องอนันตริยกรรมนัน้ ไม่ได้ ทีจ่ ะจัดเป็นสังฆเภทต้องอนันตริยกรรม
นัน้ หมายเอาเฉพาะแต่พระภิกษุกระทำเท่านัน้

อนึ่ง กิริยาที่พระภิกษุกระทำสังฆเภทนั้น ต้องกระทำพร้อมด้วยเหตุ ๕ ประการ ความเป็น


สังฆเภทจึงจะสมบูรณ์ ถ้าหากว่ากระทำไม่ครบเหตุ ๕ ประการแล้ว ถึงแม้วา่ จะยุยงส่งเสริมให้ภกิ ษุทง้ั หลาย
ระส่ำระสายป่วนปัน่ วิวาทสบประมาทกัน ด่าว่าตีโพยกัน ไม่พอใจเข้าหน้าเข้าตากัน ต่างองค์ตา่ งก็หนั หน้าไป
องค์ละทิศละทาง อย่างนีก้ ย็ อ่ มได้บาปได้กรรมอยู่ แต่ยงั ไม่เป็นสังฆเภทต้องอนันตริยกรรม ต่อเมือ่ ใดภิกษุผมู้ ใี จ
จะยุยงให้สงฆ์แตกกัน กระทำเหตุครบ ๕ ประการ คือ

กมเมน... กล่าวยุยงให้พระภิกษุสงฆ์ที่หลงเชื่อถ้อยฟังคำแห่งตน แยกออกกระทำสังฆกรรม


เป็นพวกๆ ต่างหาก

อุทเทเสน... กล่าวยุยงให้พระภิกษุสงฆ์ทห่ี ลงเชือ่ ถ้อยฟังคำแห่งตน แยกออกสวดพระปาฏิโมกข์


พวก ๑ ต่างหาก

โวหรนโต... กล่าวเภทกรวัตถุทง้ั ๑๘ ประการ คือ

๑. สิง่ ทีไ่ ม่เป็นธรรม กลับกล่าวว่าเป็นธรรม.


๒. สิง่ ทีเ่ ป็นธรรม กลับกล่าวว่าไม่เป็นธรรม.
๓. สิง่ ทีไ่ ม่เป็นวินยั กลับกล่าวว่าเป็นวินยั .
๔. สิง่ ทีเ่ ป็นวินยั กลับกล่าวว่าไม่เป็นวินยั .
๕. สิง่ ทีส่ มเด็จพระพุทธองค์ตรัสไว้ กลับกล่าวว่าเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ได้ตรัสไว้.
๖. สิง่ ทีส่ มเด็จพระพุทธองค์ไม่ได้ตรัสไว้ กลับกล่าวว่าเป็นสิง่ ทีต่ รัสไว้.
๗. สิง่ ทีส่ มเด็จพระพุทธองค์ทรงเคยกระทำมา กลับกล่าวว่าเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ทรงเคยกระทำ.

 ⌫⌫
๘. สิง่ ทีส่ มเด็จพระพุทธองค์ไม่ทรงเคยกระทำ กลับกล่าวว่าเป็นสิง่ ทีท่ รงเคยกระทำ.
๙. สิกขาบททีส่ มเด็จพระพุทธองค์ทรงบัญญัตไิ ว้ กลับกล่าวว่าเป็นสิกขาบททีไ่ ม่ได้ทรงบัญญัตไิ ว้.
๑๐. สิกขาบททีส่ มเด็จพระพุทธองค์ไม่ได้ทรงบัญญัตไิ ว้ กลับกล่าวว่าเป็นสิกขาบททีท่ รงบัญญัตไิ ว้.
๑๑. วัตถุทเ่ี ป็นอาบัติ กลับกล่าวว่าเป็นวัตถุทไ่ี ม่เป็นอาบัต.ิ
๑๒. วัตถุทไ่ี ม่เป็นอาบัติ กลับกล่าวว่าเป็นวัตถุเป็นอาบัต.ิ
๑๓. อาบัตทิ เ่ี บา กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ ห่ี นัก.
๑๔. อาบัตทิ ห่ี นัก กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ เ่ี บา.
๑๕. อาบัตทิ พ่ี อจะเยียวยาได้ กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ เ่ี ยียวยาไม่ได้.
๑๖. อาบัตทิ เ่ี ยียวยาไม่ได้ กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ พ่ี อเยียวยาได้.
๑๗. อาบัตทิ ช่ี ว่ั หยาบ กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ ไ่ี ม่ชว่ั หยาบ.
๑๘. อาบัตทิ ไ่ี ม่ชว่ั หยาบ กลับกล่าวว่าเป็นอาบัตทิ ช่ี ว่ั หยาบ.

อนุสาวเนน...กล่าวกระซิบในทีใ่ กล้แห่งภิกษุทง้ั หลายแต่เพียงเบาๆ ค่อยๆ ว่า

“ท่านทัง้ ปวงก็รอู้ ยูว่ า่ ข้าพเจ้าเป็นผูม้ ชี าติมตี ระกูลอันสูง สละสมบัตอิ นั มากมายออกบรรพชา อนึง่ เล่า
ข้าพเจ้าก็เป็นพหูสตู ได้สดับตรับฟังมามาก ภิกษุอย่างข้าพเจ้านีห้ รือ จะมาถือให้ผดิ จากธรรมวินยั การทีท่ า่ นทัง้
ปวงจะสงสัยในถ้อยคำของข้าพเจ้านี้ หาควรไม่ อเวจีมหานรกนัน้ เป็นใหญ่ ข้าพเจ้าก็กลัวภัยในนรกอยู่ ดังฤาจะ
มาสอนท่านทัง้ ปวงให้ถอื ผิดจากพระธรรมวินยั ท่านทัง้ หลายอย่าได้นกึ กินแหนงแคลงใจในถ้อยคำของข้าพเจ้า เลย
จงฟังคำของข้าพเจ้า จงปฏิบตั ติ ามโอวาทานุสาสน์แห่งข้าพเจ้านีเ้ ถิด“

ค่อยกระซิบว่ากล่าวเล้าโลม ให้ภกิ ษุทง้ั หลายลุม่ หลงเชือ่ ถ้อยคำแห่งตนดังนี้ แล้วให้ถอื เอาตามลัทธิของตน


ซึง่ เป็นลัทธิทผ่ี ดิ จากพระพุทธวจนะ

สลากคคาเหน... เขียนสลากให้จบั หมายจะมิให้ภกิ ษุทเ่ี ข้าพวกกับตนนัน้ มีอาการกลอกกลับ


พลิกแพลงได้ เพือ่ จะให้ถอื มัน่ อยูใ่ นโอวาทแห่งตนทีก่ ล่าวตู่ พระพุทธวจนะนัน้ อาการทีใ่ ห้จบั สลากก็
เป็นเล่หเ์ ป็นกลปลอมเข้าไปให้จบั ถูกสลากทีต่ นหมายให้จบั

ภิกษุผหู้ มายใจจะกระทำสังฆเภท กระทำเหตุครบ ๕ ประการนีแ้ ล้ว เมือ่ ภิกษุทง้ั หลายซึง่ มีปญั ญาทราม
มีความเห็นตามลัทธิแห่งตน ซึง่ เป็นลัทธิทผ่ี ดิ พระพุทธวจนะ พร้อมเพรียงกันแยกออกจนครบองค์สงฆ์ คือ ๔ รูปก็ดี
หรือเกินกว่า ๔ รูปก็ดี ไปกระทำสังฆกรรมต่างหาก สวดพระปาฏิโมกข์ต่างหากจากพระภิกษุทั้งหลายซึ่ง
ปฏิบัติถูกต้องตามพระธรรมวินัย ในกรณีเช่นนี้แหละ พระภิกษุสงฆ์จึงจะได้ชื่อว่าแตกแยกออกจากกัน และ
พระภิกษุ ผูเ้ ป็นตัวการในเรือ่ งนี้ ย่อมได้ชอ่ื ว่ากระทำสังฆเภท ต้องอนันตริยกรรมในขณะนีเ้ อง ! ถ้าว่าภิกษุทง้ั
หลายเหล่านั้น แม้จะได้รับการยุยงจากตนแล้ว ก็หาได้เชื่อถือถ้อยคำแห่งตนไม่ ยังมีความเคารพเลื่อมใสใน
พระพุทธวจนะอยู่ ยังปฏิบตั ติ ามพระพุทธบัญญัตอิ ยู่ แต่วา่ เกิดทะเลาะวิวาทขัดแค้นใจกันด้วยเหตุอนั ใดอันหนึง่

 ⌫ 


จึงยกพวกแยกออกจากหมูไ่ ปอยูท่ อ่ี น่ื ไปทำสังฆกรรมโบสถ์อน่ื ไปลงอุโบสถโบสถ์อน่ื ในกรณีเช่นนี้ พระภิกษุ
ผูห้ มายใจจะกระทำสังฆเภทและกล่าวคำยุยงสงฆ์ให้แตกกันนัน้ ก็หาได้ชอ่ื ว่าเป็นผูก้ ระทำสังฆเภท ต้องอนันตริย
กรรมไม่เลย

นี่แหละท่านทั้งหลาย อนันตริยกรรม มีอยู่ ๕ ประการดังกล่าวมาแล้วนี้ ก็ในอนันตริยกรรมเหล่านี้


อนันตริยกรรม ๔ ประการต้น คือ

- มาตุมาต
- ปิตมุ าต
- อรหันตมาต
- โลหิตบุ าท

อนันตริยกรรมทัง้ ๔ นี้ เป็นสาธารณะอนันตริยกรรม คือเป็นอนันตริยกรรมทีท่ ว่ั ไปแก่บรรพชิต และ


คฤหัสถ์ทง้ั หลาย หมายความว่าคฤหัสถ์กท็ ำได้ บรรพชิตก็ทำได้

ส่วนอนันตริยกรรมประการสุดท้ายซึ่งได้แก่ สังฆเภท นั้น เป็นอสาธารณะอนันตริยกรรม คือเป็น


อนันตริยกรรมทีไ่ ม่ทว่ั ไป หมายความว่า พระภิกษุคอื บรรพชิตเท่านัน้ ทีจ่ กั กระทำสังฆเภทอนันตริยกรรมนีไ้ ด้
บุคคลอืน่ ใดทีม่ ใิ ช่เป็นภิกษุแล้วไม่มโี อกาสทีจ่ ะได้กระทำบาปกรรมอันหนัก คือ สังฆเภทอนันตริยกรรมนีเ้ ลย
เป็นอันขาด สมด้วยพระบรมพุทโธวาททีต่ รัส ไว้วา่

“ดูกร อุบาลี ! สังฆเภทกรรมนี้ ภิกษุณกี ม็ อิ าจกระทำได้ นางสิกขมานา สามเณร สามเณรี อุบาสก


อุบาสิกา ก็มิอาจที่จะกระทำได้ พระภิกษุผู้เป็นปกตัตตะ มีสังวาสอันเสมอกัน ตั้งอยู่ในสีมา
เดียวกันเท่านัน้ จึงจักทำสังฆเภทกรรมนีไ้ ด้ “ ดังนี้

เมือ่ จะกล่าวถึงโทษหนักเบาและลำดับแห่งการให้ผลก่อนและหลังแล้ว อนันตริย กรรมทัง้ ๕ ประการนี้


ย่อมมีโทษหนักเบา และมีลำดับแห่งการให้ผลก่อนและหลังดังต่อไปนี้ คือ

- สังฆเภทอนันตริยกรรม
- โลหิตบุ าทอนันตริยกรรม
- อรหันตฆาตอนันตริยกรรม
- มาตุมาตปิตฆุ าตอนันตริยกรรม

สมมติว่า ถ้ามีผู้ใดใครผู้หนึ่งซึ่งเป็นคนใจบาปหยาบช้าที่สุดในโลก กระทำอนันตริยกรรมทั้ง ๕


ประการนีอ้ ย่างครบถ้วน เมือ่ เขาผูน้ น้ั ขาดใจตายไปจากโลกนีแ้ ล้ว “ สังฆเภทอนันตริยกรรม “ ซึง่ เป็นกรรมที่

 ⌫⌫
มีโทษหนักกว่าอนันตริยกรรมข้ออืน่ ทัง้ หมด ก็ยอ่ มจะเข้ารับหน้าทีเ่ ป็นเจ้าพนักงานตกแต่งปฏิสนธิให้เขาก่อน
กรรมอืน่ คือชักนำเขาผูม้ บี าปหนานัน้ ให้ไปบังเกิดเป็นสัตว์นรกอยู่ ณ ทีอ่ เวจีมหานรก เสวยทุกขเวทนาถูกไฟ
ในอเวจีมหานรกนัน้ ไหม้อยูโ่ ดยไม่มเี วลาส่างว่างเว้น อยูเ่ ป็นเวลาช้านานตราบเท่าสิน้ วิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์ (๑
ใน ๔ แห่งมหากัปป์) เพราะโทษแห่งสังฆเภทอนันตริยกรรมนี้ จะนับเป็นล้านเป็นโกฏิปนี น้ั นับไม่ได้ ต้องนับ
ด้วยจำนวนหนึง่ อสงไขยกัป โดยสังฆเภทกรรมนีเ้ ป็น กัปปัฏฐิติ ผูใ้ ช้กรรมมีกำหนดทีจ่ ะพ้นจากโทษในนรกใน
กาลเมือ่ สิน้ วิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์ ซึง่ เป็นกาลทีโ่ ลกถึงคราวฉิบหาย ถ้าวิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์ยงั ไม่สน้ิ ไป ตราบใด
ผูก้ ระทำสังฆเภทกรรมนี้ ก็ยงั ไม่พน้ จากอเวจีมหานรกตราบนัน้ ! จำไว้งา่ ยๆ ว่า ในบรรดาอนันตริย กรรมทัง้ ๕
นั้น สังฆเภทกรรมนี้ เป็นกัปปัฏฐิติ คือผู้กระทำจะต้องได้รับโทษในนรกอยู่ชั่วอสงไขยกัปป์หนึ่ง มี
กำหนดพ้นโทษทุกข์ขน้ึ มาจากอเวจีมหานรกได้ ในกาลเมือ่ สิน้ วิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์ สิน้ กัปทีว่ า่ นีเ่ มือ่ ไร เป็น
พ้นจากนรกเมือ่ นัน้ สมมติวา่ ถ้าวิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์ ซึง่ มีอยู่ ๖๔ อันตรกัปป์นน้ั เพิง่ เริม่ ต้นอันตรกัปป์ท่ี ๑
และมีภกิ ษุกระทำสังฆเภทกรรมในขณะนัน้ เขาก็จะต้องไปเกิดเป็นสัตว์ในอเวจีมหานรก หมกไหม้อยูน่ านจน
ถึงอันตรกัปป์ท่ี ๖๔ จึงจะพ้นจากโทษ ! ทีน้ี สมมติวา่ เพลาพรุง่ นีจ้ กั สิน้ อันตรกัปป์ท่ี ๖๔ แห่งวิวฏั ฏฐายีอสงไขย
กัปป์แล้ว และบังเอิญมีภกิ ษุกระทำสังฆเภทกรรมเข้าในวันนี้ เขาย่อมเป็นผูม้ โี ชคดี คือไปเกิดเป็นสัตว์ในอเวจ
มี หานรก หมกไหม้อยูน่ านเพียงวันเดียวเท่านัน้ ก็จกั ได้พน้ จากนรก ! ว่าดังนี้ เพือ่ ทีจ่ ะให้ทา่ นผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย
ได้เข้าใจว่า การเสวยทุกขโทษอันเกิดจากสังฆเภทกรรมนี้ มีเวลานานกำหนดด้วย ๑ วิวฏั ฏฐายีอสงไขยกัปป์
เป็นประมาณสำคัญ และพึงเข้าใจต่อไปว่า อนันตริยกรรมที่มีโทษหนักเป็นเวลานานกำหนดด้วยวิวัฏฏฐายี
อสงไขยกัปป์นี้ ก็มีแต่สังฆเภทกรรมอนันตริยกรรมนี้เท่านั้น ! เมื่อผู้กระทำอนันตริยกรรมครบ ๔ ประการ
ขาดใจตายไปและถูกสังฆเภทกรรม ชักนำไปปฏิสนธิในอเวจีมหานรกดังกล่าวแล้ว อนันตริยกรรมทีม่ โี ทษเบา
รองลงมาคือ โลหิตบุ าท - อรหันตฆาต - มาตุ - ปิตฆุ าตกรรม ก็ไม่อาจทีจ่ ะให้ผลแก่เขาในขณะนัน้ ได้

หากว่าบุคคลใจบาปหยาบช้าผูใ้ ด ไม่ได้กระทำสังฆเภทอนันตริยกรรมซึง่ มีโทษหนักทีส่ ดุ กระทำแต่


อนันตริยกรรมรองๆ ลงมาครบ ๔ ประการ คือ โลหิตบุ าท - อรหันตฆาต - มาตุ - ปิตฆุ าตกรรม เมือ่ เขาขาดใจ
ตายไปแล้ว “โลหิตบุ าทอนันตริยกรรม“ ซึง่ มีอาวุโสสูงกว่าเพือ่ น เป็นกรรมทีม่ โี ทษหนักกว่าเขาเหล่าทีเ่ หลือ
อยู่ ก็ยอ่ มเข้าทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานตกแต่งปฏิสนธิให้แก่เขาผูน้ น้ั ก่อน คือชักนำให้ไปบังเกิดเป็นสัตว์นรกอยู่ ณ
อเวจีมหานรกอีกเช่นเดียวกัน แต่ไม่เป็นกัปปัฏฐิติ คือไม่มีกำหนดว่าจะทนทุกข์อยู่จนกว่าจะสิ้นวิวัฏฏฐายี
อสงไขยกัปป์เหมือนสังฆเภทอนันตริยกรรม ! เมือ่ เขาผูน้ น้ั สิน้ ใจตายไป และถูกโลหิตบุ าทกรรมชักนำไป ปฏิสนธิ
ในอเวจีมหานรกดังกล่าวมาแล้ว อนันตริยกรรมทีเ่ หลือซึง่ มีโทษเบารองลงมา คือ อรหันตฆาต - มาตุ - ปิตฆุ าตกรรม
ก็ไม่อาจให้ผลแก่เขาในขณะนัน้ ได้

หากว่าบุคคลผู้ใจบาปหยาบช้าคนใด ไม่ได้กระทำสังฆเภทกรรม ไม่ได้กระทำโลหิตุบาทกรรม


กระทำแต่อนันตริยกรรมรองๆ รองลงมา ๓ ประการ คือ อรหันตฆาต - มาตุ - ปิตฆุ าตกรรม เมือ่ เขาผูน้ น้ั ขาด
ใจตายไปแล้ว “อรหันตฆาตอนันตริยกรรม“ ซึง่ เป็นกรรมทีม่ อี าวุโสสูงกว่าเพือ่ นทีม่ อี ยู่ เป็นกรรมทีม่ โี ทษหนัก
กว่าเขาในบรรดากรรมทีเ่ หลืออยู่ ก็ยอ่ มเข้าทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานตกแต่งปฏิสนธิให้แก่เขาผูน้ น้ั คือชักนำให้เขา
ไปบังเกิดเป็นสัตว์นรกอยู่ ณ อเวจีมหานรก ได้รบั ทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัสตามอำนาจแห่งอนันตริยกรรม !

 ⌫ 


เมือ่ เขาผูน้ น้ั สิน้ ใจตายไปและถูกอรหันตฆาตอนันตริยกรรม ชักนำไปปฏิสนธิในอเวจีมหานรกดังกล่าวมาแล้ว
อนันตริยกรรมทีเ่ หลือของเขาซึง่ มีโทษเบารองลงมาคือ มาตุฆาต - ปิตฆุ าตอนันตริยกรรม ก็ไม่อาจให้ผลแก่เขา
ในขณะนัน้ ได้

หากว่าบุคคลผูใ้ จบาปหยาบช้าคนใด ไม่ได้กระทำสังฆเภทกรรม ไม่ได้กระทำโลหิตบุ าทกรรมและ


ไม่ได้กระทำอรหันตฆาตกรรม กระทำแต่อนันตริยกรรมทัง้ ๒ คือ มาตุฆาตอนันตริยกรรมและปิตฆุ าตอนันตริย
กรรมเท่านัน้ ครัน้ เขาผูฆ้ า่ ทัง้ แม่ทง้ั พ่อนี้ ดับขันธ์สน้ิ ชีวไี ปแล้ว กรรมชนิดไหนจะมีโทษหนัก และเป็นพนักงาน
นำเขาไปลงอเวจีมหานรกก่อน?

มีคำวิสัชนาว่า... เมื่อบุคคลฆ่าทั้งพ่อและแม่ทั้ง ๒ ต้องทั้งปิตุฆาตอนันตริยกรรมและมาตุฆาต


อนันตริยกรรมโดยสมบูรณ์ ! ในกรณีนถ้ี า้ บิดาหรือพ่อของเขา เป็นคนมีศลี ธรรมรักษาศีลปฏิบตั ธิ รรมเป็นอันดี
ส่วนมารดาหรือแม่ของเขานัน้ เป็นคนมีศลี ธรรมในใจน้อย รักษาศีลปฏิบตั ธิ รรมไม่ดี กระทำศีลให้ขาดอยูบ่ อ่ ยๆ
หรือเป็นคนหาศีลมิได้ คือ ไม่รกั ษาศีลเลย รวมความแล้วก็วา่ บิดาของเขาเป็นผูม้ คี ณ ุ ธรรมสูงกว่ามารดา ถ้า
เป็นอย่างนัน้ เมือ่ เขาขาดใจตายสิน้ ชีวติ ไปแล้ว กรรมทีฆ่ า่ พ่อ คือ “ปิตฆ
ุ าตอนันตริยกรรม” ก็ยอ่ มเข้าทำ
หน้าทีเ่ ป็นพนักงานตกแต่ง ปฏิสนธิ ชักนำเขาผูน้ น้ั ให้ไปบังเกิดเป็นสัตว์นรก ณ อเวจีมหานรกก่อน

ถ้ามารดาและบิดาของเขา เป็นคนมีศลี ปฏิบตั ธิ รรมเป็นอันดีเหมือนกัน เป็นผูท้ รงคุณธรรมเสมอกันก็ดี


หรือว่ามารดากับบิดาของเขาเป็นคนเต็มที คือเป็นคนไม่มศี ลี ไม่มสี ตั ย์ ไม่รกั ษาศีลไม่ปฏิบตั ธิ รรมเหมือนกัน เป็น
ผูท้ รงคุณธรรมอันต่ำเสมอกันก็ดี ถ้าเป็นอย่างนี้ เมือ่ เขาฆ่าท่านทัง้ ๒ เสียด้วยน้ำใจโมหันธ์ ครัน้ ดับขันธ์ขาดใจ
ตายไปแล้ว กรรมทีฆ่ า่ แม่คอื “มาตุฆาตอนันตริยกรรม“ ย่อมเข้าทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานตกแต่งปฏิสนธิ ชัก
นำเขาผูน้ น้ั ให้ไปบังเกิดเป็นสัตว์นรก ณ อเวจีมหานรกก่อน

แท้จริงในระหว่างมารดากับบิดานัน้ มาตรแม้นว่าท่านทัง้ ๒ จะเป็นคนชัว่ เป็นคนทุศลี เป็นคนปราศ


จากศีลธรรมเหมือนๆ กัน หากว่าผูใ้ ดมีใจโมหันธ์ฆา่ ท่านทัง้ ๒ จนต้องมาตุฆาตกรรมและปิตฆ ุ าตกรรมแล้ว
บาปทีฆ ่ า่ มารดานัน่ แหละ ย่อมจะมีโทษมากกว่าบาปทีฆ่ า่ บิดา ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่ามารดานัน้ ถึงจะเป็นคนชัว่ ช้า
เลวทรามอย่างไร ก็ยอ่ มได้ชอ่ื ว่าเป็นผูม้ คี ณ
ุ แก่บตุ รมากอยูด่ ี มีใจอ่อนเอือ้ เอ็นดู อุตส่าห์อมุ้ ชูเลีย้ งดูบตุ ร ได้รบั
ความลำบากมากกว่าบิดา จำเดิมแต่บตุ รบังเกิดในครรภ์เป็นต้นมา มารดาย่อมได้รบั ความลำบากเป็นหนักหนา
เสวยทุกข์เพราะบุตรเป็นอเนกอนันต์ ทุกสรรพการทีม่ ารดาสงเคราะห์แก่บตุ รทัง้ หลายนัน้ สุดทีจ่ ะพรรณนาให้
สิน้ สุดลงได้ ฉะนัน้ ไซร้มารดาจึงมีคณ
ุ มากกว่าบิดา ! เมือ่ มีใจบาปหยาบช้าฆ่าท่านทัง้ ๒ ซึง่ มีคณ ุ ธรรมเสมอกัน
เสียแล้ว บาปทีฆ่ า่ มารดา จึงมีภาษีเหนือกว่าบาปทีฆ่ า่ บิดาเป็นธรรมดา เมือ่ บาปทีฆ่ า่ มารดาคือมาตุฆาตอนันตริย
กรรม มีภาษีมนี ำ้ หนักแห่งโทษมากกว่าเช่นนี้ ก็ยอ่ มเป็นธรรมดาที่ “มาตุฆาตอนันตริยกรรม“ จะเป็นพนัก
งานตกแต่งปฏิสนธิ ชักนำให้เขาผูใ้ จบาปหยาบช้านัน้ ไปลงอเวจีมหานรกก่อน

 ⌫⌫
บัดนี้ เราก็ได้รบั ทราบมาเป็นลำดับแล้วว่า อนันตริยกรรมมีอยูก่ ป่ี ระการ แต่ละประการนัน้ มีความหมายว่า อย่างไร
และในบรรดาอนันตริยกรรมทัง้ หลายเหล่านัน้ อนันตริยกรรมไหนมีโทษหนักเบา และมีลำดับแห่งการ ใช้ผลอย่างไร
ยังเหลืออยูป่ ญั หาสุดท้ายทีค่ วรจะทราบไว้กค็ อื ว่า

อนันตริยกรรมนีม้ โี ทษหนักมาก มีอำนาจฉุดกระชากลากไปลงอเวจีมหานรกทันที ในขณะทีด่ บั ขันธ์


สิน้ ชีวติ ไปแล้ว ไม่มกี รรมอืน่ ใด ทีจ่ ะเป็นเครือ่ งกัน้ กางขวางหน้าได้เลยเป็นอันขาด ! ถ้าหากจะมีผใู้ ด ซึง่ ได้
หลวมตัวประมาทกระทำอนันตริยกรรมลงไปแล้ว ภายหลังรูส้ กึ สำนึกตน หวังจักพ้นจากทุกขโทษในอเวจี มหานรก
จึงได้คดิ กระทำกองการกุศลเป็นการใหญ่ ด้วยหมายใจว่าจะลบล้างอนันตริยกรรม ถึงแม้วา่ ผูน้ น้ั

- จะสร้างพระสถูปเจดียท์ องคำ อันงามเหลืองอร่ามสูงใหญ่นกั หนา สร้างมากมายหลายเจดีย์ จนเต็ม


พืน้ ทีโ่ ลกจักรวาลนีก้ ด็ ี

- จะมีศรัทธาถวายมหาทาน แด่พระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลายบรรดาทีม่ อี ยูใ่ นโลกทัง้ หมดให้ทานเป็นการใหญ่


อย่างนีท้ กุ ๆ วัน แล้วก็ตง้ั หน้าอธิษฐานให้พน้ จากบาปกรรม ซึง่ เป็นอนันตริยกรรมทีต่ นกระทำไว้กด็ ี

- จะมีโชคดี ได้ประสบพบองค์สมเด็จพระสรรเพชรสัมมาสัมพุทธเจ้า แล้วหวังจะเอาพระองค์เป็นทีพ่ ง่ึ


แห่งตน จึงยึดเอามุมชายจีวรทรงของพระองค์ แล้วติดตามไปทุกแห่งหนตราบเท่าจนสิน้ ชนม์ชพี ดังนีก้ ด็ ี

กองบุญกองกุศลอันมากมายของเขาเหล่านี้ ย่อมไม่มอี ำนาจทีจ่ ะมาเป็นเครือ่ งกัน้ กางขวางอนันตริยกรรม


ที่เขาทำไว้ได้เลยเป็นอันขาด เมื่อถึงคราวที่เขาเข้าไปในปากแห่งพญามัจจุราชคือว่าตายแล้ว ย่อมจะถูก
อนันตริยกรรมนัน้ ฉุดกระชากลากลงไปบังเกิดเป็นสัตว์นรก ถูกไฟนรกไหม้อยู่ ณ อเวจีมหานรกอย่างแน่นอน

ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย อนันตริยกรรมทัง้ หมดนี้ จัดเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล มีลำดับการให้ผลเป็น
อันดับแรก ถึงแม้จะได้ประกอบกรรมทำบาปหยาบช้ามามากอย่างไร แต่ถา้ ได้กระทำอนันตริยกรรม ซึง่ เป็น
กรรมหนัก มีโทษมากกว่ากรรมอืน่ แล้ว เมือ่ เวลาขาดใจตาย อนันตริยกรรมซึง่ เป็นครุกรรมฝ่ายอกุศลนีแ่ หละ
ก็จะเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลก่อนกรรมอืน่ โดยชักนำบุคคลผูเ้ ป็นเจ้ากรรมให้ไปเกิดในอเวจีมหานรกในชาติตอ่ ไปโดย
ไม่ตอ้ งสงสัย ! พออธิบายมาถึงตรงนี้ ใคร่ทจ่ี ะยกเอาตัวอย่างบุคคล ผูถ้ กู ครุกรรมฝ่ายอกุศลชักนำไป เกิดใน
อเวจีนรกมาเล่าให้ฟงั สักเรือ่ งหนึง่ ดังเช่นเคยประพฤติมาในการอธิบายกรรมต่างๆ ทีผ่ า่ นมา แต่เห็นว่าในการ
กล่าวถึงครุกรรมฝ่ายอกุศลนี้ เราพากันเสียเวลาว่ากันถึงอนันตริยกรรมมามากแล้ว ถ้าจักยกตัวอย่างมากล่าว
อีกเรือ่ งหนึง่ ก็จะเป็นการเยิน่ เย้อเกินไป เพราะฉะนัน้ จึงขอยุตเิ รือ่ งครุกรรมฝ่ายอกุศลไว้เพียงแค่น้ี

ครุกรรมฝ่ายอกุศลยุตลิ งแล้ว แต่วา่ เรือ่ งของครุกรรมยังไม่หมด เพราะยังมีครุกรรมอีกฝ่ายหนึง่ ซึง่


เรายังไม่กล่าวถึงเลย ครุกรรมทีว่ า่ นีก้ ค็ อื ครุกรรมฝ่ายกุศล ครุกรรมฝ่ายกุศลได้แก่อะไร? ครุกรรมฝ่ายกุศล ได้แก่

 ⌫ 


มหัคคตะกุศล ๙ ประการ

มหัคคตะกุศล ๙ ประการ ได้แก่อะไรบ้าง ?


ได้แก่รปู กุศล ๕ ประการ และอรูปกุศล ๔ ประการ

รูปกุศล ๕ ประการ นัน้ คือ


๑. ปฐมฌานกุศล
๒. ทุตยิ ฌานกุศล
๓. ตติยฌานกุศล
๔. จตุตถฌานกุศล
๕. ปัญจมฌานกุศล

อรูปกุศล ๔ ประการ นัน้ คือ


๑. อากาสานัญจายตนฌานกุศล
๒. วิญญาณัญจายตนฌานกุศล
๓. อากิญจัญญายตนฌานกุศล
๔. เนวสัญญานาสัญญายตนฌานกุศล

มหัคคตะกุศล ๙ ประการนีแ่ หละ เรียกว่าเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล เป็นกุศลกรรมความดีอนั หนักแน่น


มีลำดับการให้ผลเป็นอันดับแรกแก่เจ้าของกรรม ซึง่ ก็หมายความว่า เมือ่ บุคคลผูใ้ ดผูห้ นึง่ เป็นคนมีสติปญ ั ญา
เห็นภัยในวัฏสงสาร กลัวความทุกข์ทรมานในนรกและอบายภูมิอื่นๆ ปรารถนาความสุขอันประเสริฐยิ่งกว่า
เทวดาทัง้ หลาย ใคร่จะได้ไปเสวยสุขอันเกิดจากพรหมสมบัตอิ ยู่ ณ พรหมโลก จึงอุตสาหะพยายามบำเพ็ญกุศล
อันอุกฤษฏ์ในส่วนภาวนากรรม ตัง้ หน้าเจริญสมถกรรมฐาน จนได้บรรลุฌานกุศลต่างๆ ตามความสามารถแห่งตน
ตัง้ แต่ฌานกุศลขัน้ ต้นคือปฐมฌานกุศลเป็นต้นไป ท่านผูน้ ช้ี อ่ื ว่าเป็นผูม้ คี รุกรรมฝ่ายกุศลแล้ว อยูต่ อ่ มาเมือ่ ท่าน
ถึงแก่กาลกิรยิ าตาย “ครุกรรมฝ่ายกุศล“ ซึง่ ได้แก่ฌานกุศลต่างๆ ทีท่ า่ นได้บรรลุนน้ั ก็ยอ่ มจะเข้ามาทำหน้าที่
เป็นพนักงานตกแต่งชักนำให้ทา่ นไปอุบตั เิ กิดเป็นพระพรหมผูป้ ระเสริฐ สถิตอยู่ ณ พรหมโลกชัน้ ต่างๆ ตาม
อำนาจแห่งฌานกุศลทีต่ นได้บรรลุ

ครุกรรมฝ่ายกุศลคือฌานกุศลต่างๆ นี้ มีคุณหนักแน่นมากมีอำนาจพะยุงส่งเสริมให้พุ่งขึ้นไปเกิดใน


พรหมโลกทันที ในขณะท่านผูไ้ ด้ฌานดับขันธ์ตายจากมนุษยโลกเรานีไ้ ปแล้ว ไม่มกี รรมอืน่ ใดทีจ่ ะมาเป็นเครือ่ ง
กัน้ กางขวางหน้าได้เลยเป็นอันขาด แม้จะได้เคยทำบุญทำบาปอืน่ ใดมากมากมายก็ตาม ผลแห่งบุญและบาปเหล่า
นัน้ ย่อมไม่มอี ำนาจมากางกัน้ ฌานกุศลได้ เพราะฌานกุศลอันเป็นครุกรรมฝ่ายกุศลนี้ มีพลังแรงส่งสูงยิง่ กว่ากรรม
อืน่ ๆ ทัง้ หมด พึงจำไว้งา่ ยๆ ว่า ครุกรรมฝ่ายกุศลนีก้ ไ็ ด้แก่ ฌานกุศล บุคคลผูบ้ ำเพ็ญสมถกรรมฐานจนได้
บรรลุฌานกุศลต่างๆ แล้ว เมือ่ ชีวติ ของเขาถูกพญามัจจุราชเข้ามาตัดคือตายไปจากโลกนีแ้ ล้ว เขาย่อมถูกฌานกุศล

 ⌫⌫
อัญเชิญให้ขน้ึ ไปอุบตั เิ กิดเป็นพระพรหมผูป้ ระเสริฐ เสวยสมบัตเิ ป็นสุขอยูใ่ นพรหมโลกอย่างแน่นอนโดยไม่ตอ้ ง
สงสัย ก็ในกรณีแห่งครุกรรมฝ่ายกุศลชักนำบุคคลผู้ได้บรรลุฌานให้ไปอุบัติเกิดเป็นพระพรหมนี้ พึงเห็น
ตัวอย่างตามเรือ่ งอันปรากฏมีมา ในเอกาทสนิบาตอรรถกถา ดังต่อไปนี้

ราชาผูไ้ ด้ฌาน
ได้สดับมาว่า การทีโ่ ลกเรานี้ ว่างจากพระพุทธศาสนานานมาแล้ว มีสมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์ หนึง่
ทรงพระนามว่าสมเด็จพระเจ้ากาสิกราช ครบครองราชสมบัตอิ ยู่ ณ กาสิกรัฐ ท้าวเธอทรงตัง้ อยูใ่ น ทศพิธราชธรรม
ประชาชนพลเมืองในแว่นแคว้นของพระองค์ตา่ งก็พากันอยูเ่ ป็นปกติสขุ ตามสมควรแก่อตั ภาพ ครัง้ นัน้ ยังมีกสิกร
๒ คน ซึ ่ ง เป็ น ชาวกาสิ ก รั ฐ นั ้ น เขาเป็ น สหายรั ก ใคร่ ก ั น มาก วั น หนึ ่ ง ชวนกั น ไปบุ ก เบิ ก ที ่ น าใหม่
ซึง่ อยูใ่ นทีใ่ กล้ปา่ ใหญ่ไกลจากบ้าน โดยต่างคนต่างก็สะพายหม้อน้ำดืม่ ไปคนละหม้อ เพือ่ จะได้ดม่ื กินแก้คอแห้ง
ในเวลาทำงาน เมือ่ ไปถึงเขตนาใหม่ทต่ี นจับจองไว้ และเตรียมจะบุกเบิกถากถางให้เตียนแล้ว ก็เอาหม้อน้ำดืม่
ทีต่ นนำติดตัวมานัน้ แขวนไว้รวมกันทีต่ น้ ไม้แห่งหนึง่ แล้วก็แยกกันไปทำงานในสถานทีๆ่ ตนจับจองไว้

เพลาเทีย่ งวัน กสิกรคนหนึง่ เกิดคอแห้งกระหายน้ำ จึงหยุดงานชัว่ คราว แล้วเดินมายังทีซ่ ง่ึ ตนแขวน


หม้อน้ำไว้ เมือ่ เปิดหม้อน้ำออกดู เห็นว่าน้ำของตนยังเหลืออยูน่ อ้ ย เกรงว่าจะไม่พอดืม่ ไปจนถึงกระทัง่ เย็น เขา
จึงคิดที่จะประหยัดน้ำในหม้อของตนไว้ และพร้อมกันนั้นก็เกิดมีใจสกปรกคิดเอารัดเอาเปรียบเพื่อนฝูง เมื่อ
เหลียวแลดูเห็นเจ้าเพือ่ นกันกำลังทำงานง่วนอยู่ จึงปิดหม้อน้ำของตนเสีย แล้วเปิดหม้อน้ำของเจ้าเพือ่ นลักดืม่
เสียอึกใหญ่ แล้วก็กลับไปทำงานต่อไปตามเดิม ครัน้ ตกเวลาเย็นเมือ่ เลิกงานแล้ว เขาทัง้ สองก็พากันกลับบ้าน
เดินมาถึงสระน้ำใหญ่ซง่ึ มีนำ้ ใสสะอาดกลางทาง จึงชวนกันหยุดอาบน้ำเสียก่อน ก็ตามปรกติบรุ ษุ ผูล้ กั น้ำเพือ่ น
ดืม่ นัน้ เป็นคนทีม่ สี นั ดานสะอาด เมือ่ เขาได้อาบน้ำชำระร่างกายหายเหน็ดเหนือ่ ยทีต่ อ้ งกรากกรำงานหนักมา
ตลอดวันแล้ว ขณะทีย่ นื รอเพือ่ นอยูร่ มิ สระน้ำนัน้ เขาก็พลันบังเกิดความคิดสำรวจตนเองดูวา่

“ วันนี้ ความชัว่ ทัง้ ทางกาย วาจา ใจ อย่างใดอย่างหนึง่ ปรากฏมีแก่ตวั เราบ้างหรือไม่หนอ ? “

เมือ่ นึกถึงความชัว่ อันเล็กน้อยของตัว ในขณะทีล่ กั ดืม่ น้ำของเพือ่ นขึน้ มาได้ ก็ให้เกิดความสังเวชใจใน


การกระทำอันน่าละอายนั้นเป็นล้นพ้น โดยเหตุที่เขาเป็นคนดีมีวาสนาบารมีอันสั่งสมมานาน เพื่อจะได้เป็น
พระอรหันต์สำเร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ฉะนัน้ จึงทำให้เกิดความคิดขึน้ ว่า

“การที่เราลักดื่มน้ำของเพื่อนเมื่อเพลาเที่ยงวันนั้น ก็เพราะความบันดาลของกิเลสตันหา ก็อันว่า


กิเลสตัณหานี้มิใช่สิ่งดี เมื่อมันเจริญวัฒนาการขึ้นในจิตใจของผู้ใดแล้วก็รังแต่จะเป็นเหตุชักพาให้ไปเกิดใน
อบายภูมิ ! อย่าเลย เราจักทำการประหารกิเลสตัณหาอันชัว่ ช้านัน้ ในกาลบัดนี“้

 ⌫ 


คิดดังนีแ้ ล้ว กสิกรผูม้ วี าสนาบารมีอนั สูงส่งนัน้ ก็เจริญวิปสั สนาโดยไม่ชกั ช้า จนพระปัจเจกพุทธญาณ
บังเกิดขึน้ ในสันดานได้สำเร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าในทีน่ น้ั เอง ลำดับนัน้ เพือ่ นเก่าของท่านขึน้ มาจากสระน้ำ
ไม่ทราบความเป็นไป จึงกล่าวชวนขึน้ ว่า

“สหายรัก ! ไปเถิด เรากลับบ้านกันเถิด นีก่ เ็ ป็นเวลาเย็นมากแล้ว“

“ท่านกลับไปคนเดียวเถิด เราหาไปไม่ กิจด้วยฆราวาสวิสยั ของเราไม่มี ! เรานีช้ อ่ื ว่าพระปัจเจกพุทธเจ้า“


ท่านกล่าวตอบ

“อะไร?“ สหายนัน้ ตกใจมองดูหน้าเพือ่ นปากอ้านัยน์ตาค้าง “ขอเพือ่ นจงตัง้ ใจตัง้ สติให้ดเี ถิด ไม่มอี ะไร
เกิดขึน้ ทีน่ ห่ี รอกเราจะพากันกลับบ้านเร็วๆ“ เขาพูดปลอบใจ ด้วยนึกว่าสหายของตนถูกผีปา่ เข้าสิง หรือมิฉะนัน้
ก็คงเกิดสติวปิ ลาสคือกลายเป็นบ้าไปเสียแล้ว

“เราเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าจริงๆ“ ท่านกล่าวยืนยันอีกครัง้ หนึง่

“พระปัจเจกพุทธเจ้าอะไรกัน? เรานี้ได้ยินผู้รู้กล่าวกันว่าพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ท่านเป็นผู้มีวาสนา


บารมีสงู ส่ง อุบตั ขิ น้ึ ในกาลทีโ่ ลกว่างจากพระบวรพุทธศาสนาอสุญญกัปป์ ท่านเป็นนักบวช มีผมยาวประมาณ ๒
องคุลี มีผา้ กาสาวะ คือผ้าย้อมด้วยน้ำฝาดเป็นผ้านุง่ ผ้าห่ม สถานทีอ่ ยูข่ องท่านก็คอื ทีเ่ งือ้ มแห่งภูเขานันทมูลกะ
ณ อุตรหิมวันต์ หาใช่มีสภาพอย่างท่านนี้ไม่ ขอท่านจงสงบอกสงบใจให้ดีเถิด เรากลับบ้านกันดีกว่า
อย่าคิดฟุง้ ซ่านไปเลย สหายรัก“

“ก็แล้วเวลานี้ มิใช่กาลทีโ่ ลกว่างจากพระบวรพุทธศาสนาและเป็นอสุญญกัปป์ดอกหรือท่าน ! เราขอยืน


ยันอีกครัง้ หนึง่ ว่า บัดนีเ้ ราได้สำเร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ท่านอย่าสงสัยอะไรเลย“

ครัน้ กล่าวดังนีแ้ ล้ว พระปัจเจกพุทธเจ้าผูเ้ พิง่ สำเร็จใหม่กย็ กหัตถ์ขน้ึ ลูบทีเ่ ศียรเกล้าแห่งตน ในขณะนัน้
ก็เกิดอัศจรรย์ขน้ึ ทันใด ! เพศคฤหัสถ์ซง่ึ เป็นกสิกรธรรมดาได้อนั ตรธานหายไป เพศบรรพชิตปรากฏขึน้ แทน
เกสาอันยาวของท่านเมือ่ ตะกีน้ เ้ี หลืออยูเ่ พียง ๒ องคุลี นุง่ สบงทรงจีวรสีเหลืองอ่อนย้อมด้วยขมิน้ คาดประคตอก
สง่างามดุจสายฟ้าบนผ้าสังฆาฏิสแี ดงสดซึง่ พาดอยูท่ บ่ี า่ ซ้าย ส่วนทีจ่ ะงอยบ่าเบือ้ งขวาพาดผ้าบังสุกลุ จีวรซึง่ มีสี
ดุจสีเมฆ และคล้องด้วยบาตรซึ่งมีสีงามเลื่อมดังปีกแมลงทับ แล้วเหาะลอยขึ้นไปบนอากาศ แสดงพระธรรม
เทศนาแก่สหายเก่าเล็กน้อย แล้วก็เหาะลอยไปสถิตอยู่ ณ เงือ้ มเขานันทมูลกะ ตามสมควรแก่ปจั เจกพุทธวิสยั
ปล่อยให้สหายเก่ายืนมองอยู่ ณ ทีน่ น้ั เพียงแต่ผเู้ ดียวเป็นเวลานานด้วยความงงงันอัศจรรย์ใจเป็นทีส่ ดุ

ในกาลครัง้ นัน้ ยังมีบรุ ษุ อีกคนหนึง่ เป็นกุฎมุ พี มีฐานะมัง่ คัง่ ตัง้ บ้านเรือนอยูใ่ นกาสิกรัฐนัน้ วันหนึง่
เขาไปธุระเพือ่ ซือ้ สิง่ ของทีต่ ลาดในเมือง ในขณะทีเ่ ขานัง่ อยูใ่ นร้านตลาดมองออกมาข้างนอก ได้เห็นบุรษุ หนุม่

 ⌫⌫
คนหนึง่ ซึง่ พาเอาภริยารูปสวยแห่งตนมา กุฎมุ พีผนู้ น้ั แลดูภริยาของผูอ้ น่ื แล้วเกิดอกุศลจิตคิดอยากจะได้นาง
มาเป็นสมบัตขิ องตนเป็นหนักหนา แต่ดว้ ยอำนาจวาสนาบารมีอนั สูงส่งทีเ่ ขาได้เคยบำเพ็ญมาแต่บรุ พชาติ จึง
ทำให้เขาพลันบังเกิดความคิดขึน้ ในปัจจุบนั ทันด่วนนัน้ ว่า

“อโห! โลภะตัณหานีม่ ฤี ทธิร์ า้ ยแรงนักหนา ดูเอาเถิดตัวเรานีก่ เ็ ป็นผูม้ ที รัพย์ มีเกียรติ ทัง้ มีความ
ประพฤติดเี ป็นทีน่ บั ถือยกย่องของคนทัว่ ไป แต่เหตุไฉน บัดนีจ้ งึ มีความคิดบ้าๆ อยากจะได้ภริยาของผูอ้ น่ื อัน
เป็นความคิดที่น่าละอาย หากว่าปล่อยโลภะตัณหานี้ให้มันเจริญงอกงามเรื่อยไป มันคงจะบันดาลให้ตัวเรา
ประพฤติผดิ ศีลธรรมล่วงกาเมสุมจิ ฉาจารอย่างน่าสังเวชใจ แล้วนำเราไปสูอ่ บายภูมิ ในเมือ่ ตายไปแล้วอย่างแน่ๆ
อย่าเลย เราจักประหารเจ้าโลภะตัณหาอันมีฤทธิร์ า้ ย ในกาลบัดนี“้

ดำริจติ คิดดังนีแ้ ล้ว กุฎมุ พีชาวกาสิกรัฐ ผูม้ ปี จั เจกพุทธญาณบารมีนน้ั ก็ตง้ั จิตเจริญวิปสั สนาภาวนา
ยั ง ปั จ เจกพุ ท ธญาณ ให้ บ ั ง เกิ ด ขึ ้ น ในสั น ดานของตน ได้ ส ำเร็ จ เป็ น พระปั จ เจกพุ ท ธเจ้ า แล้ ว
ก็ยกหัตถ์ขน้ึ ลูบเศียรของตน เพศคฤหัสถ์กอ็ นั ตรธานหายไป เพศบรรพชิตปรากฏขึน้ มาแทน แล้วก็เหาะขึน้ ไป
บนอากาศ แสดงธรรมแก่ชาวร้านตลาดเล็กน้อย แล้วก็เหาะลอยไปสถิตอยู่ ณ เงือ้ มเขานันทมูลกะเช่นเดียวกับ
พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์แรก ซึง่ เป็นเหตุการณ์ทย่ี งั ความตกตะลึงพรึงเพริด ให้เกิดแก่ชาวร้านตลาดในขณะนัน้
เป็นอันมาก

ในกาลครัง้ นัน้ ยังมีกฎุ มุ พีอกี ผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นผูม้ ฐี านะดี มีนวิ าสสถานบ้านเรือนอยู่ ณ กาสิกรัฐนัน้ วัน
หนึง่ เขามีความจำเป็นทีจ่ ะต้องเดินทางผ่านดงใหญ่ เพือ่ ไปทำธุระสำคัญ จึงชวนบุตรชายซึง่ เป็นหนุม่ ใหญ่ไปด้วย
ก็ทป่ี ากทางจะเข้าดงใหญ่นน้ั ปรากฏว่าพวกโจรมันมักมาดักปล้นคนเดินทางอยูเ่ สมอๆ และเป็นทีล่ ำ่ ลือกันว่า
โจรก๊กที่ปล้นคนเดินทางนี้ เป็นโจรเรียกค่าไถ่ วิธีการของพวกมันก็คือ เมื่อจับคนเดินทางได้ทั้งพ่อทั้งลูก
มันย่อมจะยึดเอาลูกไว้เป็นตัวประกัน เมือ่ พ่อนำทรัพย์มาไถ่แล้ว จึงจะปล่อยตัวไป ถ้าไม่นำทรัพย์มาไถ่ ก็ฆา่ ลูก
นัน้ เสีย ถ้าว่ามันจับคนเดินทางซึง่ เป็นพีน่ อ้ งกันได้แล้ว ย่อมยึดเอาน้องไว้เป็นตัวประกัน ปล่อยให้พไ่ี ปหาทรัพย์
มาไถ่ ถ้าว่าจับได้คนเดินทางซึ่งเป็นลูกศิษย์อาจารย์มาด้วยกัน มันย่อมกักเอาตัวท่านอาจารย์ไว้เป็นประกัน
ปล่อยให้ลกู ศิษย์ไปหาทรัพย์มาไถ่ โดยมันรูใ้ จว่า ธรรมดาลูกศิษย์ยอ่ มมีความโลภในศิลปวิทยา มีความเคารพ
อย่างสูงในอาจารย์ เมือ่ มีเหตุการณ์เกิดขึน้ เช่นนีย้ อ่ มจะขมีขมันรวบรวมทรัพย์สนิ มาไถ่ ไม่มศี ษิ ย์ทด่ี คี นใดยอม
ให้อาจารย์ของตนตายง่ายๆ

ชายเดินทางสองคนพ่อลูก ได้สดับคำเล่าลือดังนี้ จึงทำกติกาแก่กนั ว่า เมือ่ เดินทางไปถึงปากดงใหญ่


หากถูกพวกโจรเรียกค่าไถ่จบั ตัวได้แล้ว ก็จะทำอุบายแกล้งโกหกว่าไม่ได้เป็นอะไรกัน เป็นแต่เพียงเพือ่ นร่วม
เดินทางเพิง่ รูจ้ กั กันเท่านัน้ ครัน้ มาถึงปากทางเข้าดงใหญ่นน้ั แล้ว สองพ่อลูกก็ถกู โจรจับตัวดังคาดไว้
“เป็นอะไรกัน?“ หัวหน้าโจรถามพร้อมกับจ้องหน้าเขม็ง

“ท่านทัง้ สองนีเ้ ป็นอะไรกันเป็นพ่อลูกกันหรือเปล่า?“

 ⌫ 


“เปล่า ! “ กุฎมุ พีผเู้ ป็นบิดาตอบโกหกหน้าตาเฉย

“จริงหรือ? ตัวท่านไม่ได้เป็นลูกของตาแก่นี่จริง หรือ แต่ทำไมหน้าตาตลอดจนกิริยาท่าทางจึงแลดู


คล้ายกันนักเล่า?“ หัวหน้าโจรหันมาถามชายหนุม่

“จริง ! ข้าพเจ้าไม่ได้เกีย่ วข้องเป็นญาติกบั ท่านผูเ้ ฒ่านีเ่ ลย ข้าพเจ้าเดินทางออกจากเมือง หวังจะข้าม


ดงใหญ่ไปยังประเทศถิน่ โน้น ก็บงั เอิญมาพบท่านผูเ้ ฒ่านีก่ ลางทาง ได้รจู้ กั ไต่ถามเมือ่ ทราบว่าจะเดินทางเดียว กัน
ก็เลยเดินทางร่วมกันมาจนพบท่านเข้าทีน่ ”่ี ชายหนุม่ ผูบ้ ตุ รจำเป็นต้องกล่าวมุสาวาทตามบิดา

“ไปได้ ! ” หัวหน้าโจรออกคำสัง่ ให้เดินทางต่อไป หลังจากทีไ่ ด้ปลดทรัพย์สนิ อันมีคา่ ของสองพ่อลูกนัน้


หมดแล้ว และเชือ่ สนิทว่าเขาทัง้ สองไม่ได้เกีย่ วข้องเป็นอะไรกัน

พอพ้นออกจากดงใหญ่นน้ั มา ก็เป็นเวลาสายัณห์สมัยใกล้คำ่ ทัง้ สองจึงหยุดเดินทาง ตัง้ ใจว่าจะพักแรม


คืนในทีน่ น่ั สักคืนหนึง่ รุง่ ขึน้ เช้าจึงจักเดินทางต่อไป เมือ่ ได้อาบน้ำอันมีอยูใ่ กล้ๆ ทีพ่ กั นัน้ และบริโภคอาหารซึง่ โจร
ไม่ได้รบิ และอนุญาตให้นำติดตัวมาได้แล้ว ชายหนุม่ ผูบ้ ตุ ร ซึง่ เป็นคนมีสนั ดานสะอาด มีวาสนาบารมีสงู ส่งได้เคย
ตัง้ จิตปรารถนาพระปัจเจกพุทธญาณมาเป็นเวลานานหลายแสนชาติ จึงนัง่ คำนึงถึงศีลของตน ในทีส่ ดุ ก็เห็นว่า

“วันนีเ้ รากล่าวมุสาวาท ต้องศีลวิบตั เิ พราะโกหกโจร จะได้ไม่เสียทรัพย์เป็นค่าไถ่ตวั อย่างนีน้ บั ว่าเป็น


ความชัว่ อันเกิดจากความหวงความโลภในทรัพย์สนิ การทีเ่ ราต้องถึงศีลวิบตั ใิ นครัง้ นี้ ก็เพราะโลภะตัณหาใน
ทรัพย์สนิ เป็นเหตุ ก็โลภะตัณหานีเ้ ป็นอกุศลสิง่ ชัว่ มิใช่สง่ิ ดี เมือ่ เจริญขึน้ ในสันดานมากแล้ว ก็มแี ต่เราจะนำไปสู่
อบายภูมโิ ดยส่วนเดียว อย่ากระนัน้ เลย เราจักประหารโลภะตัณหาอันเป็นกิเลสร้าย ให้มนั ตายขาดออกไปจาก
สันดานเสียในกาลบัดนีเ้ ถิด”

ดำริจิตคิดฉะนี้แล้ว ชายหนุ่มผู้มีปัจเจกพุทธญาณเต็มเปี่ยมอยู่ในขันธสันดานนั้น ก็ตั้งจิตเจริญ


วิปสั สนาภาวนา ยังปัจเจกพุทธญาณให้บงั เกิดขึน้ ในสันดานของตน ได้สำเร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าในทีน่ น่ั เอง
แล้วก็ยกหัตถ์ขน้ึ ลูบเศียรของตน เพศคฤหัสถ์กอ็ นั ตรธานหายไป เพศบรรพชิตปรากฏขึน้ มาแทน แล้วก็เหาะ
ขึน้ ไปเบือ้ งบนอากาศ แสดงธรรมแก่บดิ าของตนเล็กน้อย แล้วก็เหาะลอยไปสถิตอยู่ ณ เงือ้ มเขานันทมูลกะ
เช่นเดียวกับพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์กอ่ น ซึง่ เหตุการณ์ทง้ั นี้ เป็นเหตุการณ์ทย่ี งั ความประหลาดมหัศจรรย์ใจให้
เกิดขึน้ แก่บดิ านัน้ เป็นอันมาก

ในกาลครัง้ นัน้ ยังมีชายหนุม่ อีกคนหนึง่ เป็นคนมีวชิ าความรูแ้ ละมีศลี ธรรมในใจสูง รับราชการอยูใ่ น


ราชสำนักแผนกปกครอง ถูกส่งไปเป็นนายอำเภอ ปกครองประชาชนอยู่ ณ อำเภอชายแดนแห่งหนึง่ อันเป็น
เขตกาสิกรัฐ วันหนึง่ พวกลูกบ้านทัง้ หลายได้พากันมาขออนุญาตนายอำเภอหนุม่ ว่า

 ⌫⌫
“ข้าแต่นาย ! ในพิธพี ลีกรรมแก่ยกั ษ์ ซึง่ จะมีขน้ึ ในครัง้ นี้ ข้าพเจ้าทัง้ หลายจักขอฆ่าสัตว์ตา่ งๆ เช่นเนือ้ แกะ
สุกรเป็นต้น เพือ่ กระทำพลีกรรมแก่ยกั ษ์ผศู้ กั ดิส์ ทิ ธิต์ ามประเพณีทเ่ี คยกระทำมาทุกปี ขอนายจงอนุญาติดว้ ยเถิด“

“ประเพณีของบ้านนี้ เคยกระทำกันอย่างไร ท่านทัง้ หลายก็จงทำอย่างนัน้ ตามความชอบใจของท่านเถิด“


นายอำเภอหนุม่ กล่าวอนุญาตตามธรรมดา

เมือ่ ถึงวันทำพลีกรรมแก่ยกั ษ์ตามประเพณี ชาวบ้านทัง้ หลาย ต่างก็พากันฆ่าสัตว์ คือปลาและเนือ้ เป็น


อันมาก แล้วนำมารวมกันไว้ในทีแ่ ห่งเดียวเป็นกองใหญ่ เพือ่ จะนำไปบูชาแก่ยกั ษ์ทต่ี นเคารพนับถือ นายอำเภอ
หนุ่มยืนแลดูที่หน้าต่างบ้านพักของตน แลเห็นเนื้อและปลาที่ถูกฆ่าตายกองใหญ่เช่นนั้นก็พลันบังเกิดความ
สังเวชสลดใจว่า

“ปลาและเนือ้ ทัง้ หลายเหล่านี้ ถูกฆ่าตายก็เพราะคำอนุญาตของตัวเรา ซึง่ อนุญาตตามคำขออันโง่เขลา


ของชาวบ้าน ทีช่ าวบ้านพากันกระทำปาณาติบาตเห็นปานนี้ ก็เพราะโมหะความไม่รใู้ นสภาวะทีเ่ ป็นจริง จึงหลง
กระทำกรรมอันจะชักนำตนไปสูอ่ บายภูมิ โมหะนีม้ ฤี ทธิรา้ ย สามารถนำสัตว์ไปสูอ่ บายภูมไิ ด้ ฉะนัน้ ไซร้ ในบัด
นี้ เราจักประหารโมหะอันมีฤทธิรา้ ยให้ตายขาดออกไปจากจิตสันดานของเราเสียเถิด“

ดำริจิตคิดฉะนี้แล้ว นายอำเภอหนุ่มผู้มีปัจเจกพุทธญาณบารมีเต็มเปี่ยมอยู่ในสันดาน ก็ตั้งจิตเจริญ


วิปสั สนาภาวนายังปัจเจกโพธิญาณให้บงั เกิดขึน้ ในสันดานแห่งตน ได้สำเร็จเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าในทีน่ น่ั เอง
แล้วก็ยกหัตถ์ขน้ึ ลูบเศียรแห่งตน เพศคฤหัสถ์กอ็ นั ตรธานหายไป เพศบรรพชิตปรากฏขึน้ มาแทน แล้วก็เหาะขึน้
ไปเบือ้ งบนอากาศ แสดงธรรมแก่ประชาชนในทีน่ น่ั เล็กน้อยแล้ว ก็เหาะลอยไปสถิตอยู่ ณ เงือ้ มเขานันทมูลกะ
เช่นเดียวกับพระปัจเจกพุทธเจ้าองค์กอ่ นๆ

ในกาลครัง้ นัน้ ยังมีนายอำเภอหนุม่ อีกคนหนึง่ ซึง่ เป็นคนมีวชิ าความรูแ้ ละมีศลี ธรรมในจิตใจสูงเช่น


เดียวกัน เขาเข้ารับหน้าทีเ่ ป็นนายอำเภอเมืองแห่งกาสิกรัฐ แล้วก็ออกกฎห้ามขายสุราในเขตปกครองของเขาทันที
ซึ่งยังความไม่พอใจให้เกิดแก่นักเลงสุราเป็นอันมาก แต่ก็จะไม่สามารถที่จะทำอะไรแก่เขาได้ เพราะเขา
ออกกฎในสิง่ ทีถ่ กู ทีค่ วร แต่แล้ววันหนึง่ ประชาชนทัง้ หลายก็เข้ามาร้องแก่เขาว่า

“ข้าแต่ทา่ นนายอำเภอ ! ในงานมหรสพประจำปีซง่ึ จะมีขน้ึ ในวันพรุง่ นี้ ทุกๆ ปีมาชาวบ้านทัง้ หลายต่าง


พากันดืม่ สุราเลีย้ งฉลองกันใหญ่โตเป็นทีส่ นุกสนาน เพราะฉะนัน้ ขอท่านนายอำเภอ จงอนุญาตให้ซอ้ื ขายและ
ดืม่ สุรากันได้สกั วันหนึง่ เถิด“

“ประเพณีของบ้านนี้เคยมีมาอย่างไร ท่านทั้งหลายจงทำอย่างนั้น ตามความชอบใจของท่านเถิด


ข้าพเจ้าอนุญาต” นายอำเภอกล่าวอนุญาตตามธรรมดา โดยไม่คดิ ว่าจะมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึน้

 ⌫ 


พอถึงวันงานประจำปีของหมูบ่ า้ น ชาวบ้านทัง้ หลาย ก็พากันซือ้ ขายแลดืม่ สุรากันเป็นการใหญ่ เพราะ
ได้รบั อนุญาตพิเศษหลังจากทีถ่ กู ห้ามมาเป็นเวลานาน เมือ่ นานๆ ดืม่ ทีเช่นนี้ นักเลงสุราทัง้ หลายก็เลยดืม่ กัน
มากมายใหญ่โต ดืม่ หนักเข้าก็เกิดโทโสโกรธาด่าว่าบ้าง ทะเลาะวิวาทกันบ้าง ตีรนั ฟันแทงกันบ้าง แสดงกิรยิ า
อาการต่างๆ คล้ายกับเป็นบ้าเพราะฤทธิส์ รุ าพาไป นายอำเภอหนุม่ ผูอ้ นุญาต ยืนดูทห่ี น้าต่างบ้านพักแห่งตน
แลเห็นคนทัง้ หลายแสดงอาการต่างๆ ดังนัน้ ก็พลันบังเกิดความสังเวชใจว่า

“คนทัง้ หลายเหล่านี้ เป็นคนมีปญ


ั ญาทราม ดืม่ สุรายาเมาแล้วแสดงกิรยิ าอันโง่เขลาต่างๆ หารูไ้ ม่วา่ การ
ดืม่ สุราเมรัยนีเ้ ป็นอกุศลกรรมความชัว่ ซึง่ จะเป็นเหตุนำตัวให้ไปสูอ่ บายภูมิ ได้รบั ทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส
การทีพ่ วกเขาทัง้ หลายหลงละเลิงประกอบอกุศลกรรมความชัว่ เช่นนี้ ก็เพราะโมหะคือความไม่รสู้ ภาวะทีเ่ ป็นจริง
เป็นเหตุ โมหะนีม้ ฤี ทธิร์ า้ ยสามารถนำสัตว์ทง้ั หลายให้ไปสูอ่ บายภูมนิ บั ไม่ถว้ น อย่ากระนัน้ เลย เราจักประหาร
โมหะอันมีอยูใ่ นจิตสันดานของเรา ให้ขาดออกไปอย่างเด็ดขาด ในกาลบัดนีเ้ ถิด“

ดำริจติ คิดฉะนีแ้ ล้ว นานอำเภอเมืองหนุม่ แห่งกาสิกรัฐผูม้ ปี จั เจกพุทธญาณบารมีเต็มเปีย่ มอยูใ่ นสันดาน


ก็ตง้ั จิตจำเริญวิปสั สนาภาวนา ยังปัจเจกโพธิญาณให้บงั เกิดขึน้ ในขันธสันดานแห่งตน ได้สำเร็จเป็นพระปัจเจก
พุทธเจ้าในทีน่ น่ั เอง แล้วจึงยกหัตถ์ขน้ึ ลูบเศียรเกล้าแห่งตน เพศคฤหัสถ์กอ็ นั ตรธานหายไป เพศบรรพชิตก็พลัน
ปรากฏขึน้ มาแทน แล้วจึงเหาะขึน้ ไปเบือ้ งบนอากาศ แสดงธรรมแก่ประชาชนทัง้ หลายด้วยกถาเพียงเล็กน้อยว่า

อปฺปมตฺตา โหถ
ขอท่านทัง้ หลาย จงอย่าเป็นผูป้ ระมาท

แล้วก็เหาะลอย บ่ายหน้าไปยังภูเขาคันธมาทน์เข้าไปสถิตอยู่ ณ เงื้อมเขานันทมูลกะเช่นเดียวกัน


พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์กอ่ นๆ

ก็เงือ้ มเขานันทมูลกะ ซึง่ ปรากฏมีอยูท่ ภ่ี เู ขาคันธมาทน์น้ี เป็นทีส่ ถิตอยูแ่ ห่งปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลาย
ได้สดับมาว่า ทีเ่ งือ้ มเขานันทมูลกะนี้ มีถำ้ อยู่ ๓ ถ้ำคือ

๑. สุวรรคูหา = ถ้ำทอง
๒. มณีคหู า = ถ้ำแก้วมณี
๓. รชตคูหา = ถ้ำเงิน

 ⌫⌫
ณ ทีม่ ณีคหู าคือถ้ำแก้วมณีนน้ั มีตน้ อุโลกอยูต่ น้ หนึง่ ขึน้ อยูท่ ป่ี ากถ้ำ มีปริมาณความสูงได้ ๑ โยชน์
ปริมณฑลแห่งกิง่ ก็มปี ระมาณได้ ๑ โยชน์ ใกล้ตน้ อุโลกใหญ่นน่ั มีโรงประชุมอยูห่ ลังหนึง่ มีนามว่ารัตนมาฬกะ
สำเร็จแล้วด้วยแก้วมณีทง้ั สิน้ ทีน่ แ่ี หละเป็นทีป่ ระชุมสันนิบาตแห่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลายซึง่ สถิตอยูใ่ นทีน่ น้ั

อนึง่ ทีร่ ตั นมาฬกะนี้ มีลมประจำอยู่ ๕ จำพวก คือ


๑. สัมมัชชนกะวาตะ ลมจำพวกนี้ มีหน้าทีส่ ำหรับพัดทำความสะอาดในโรงรัตนมาฬกะนัน้
๒. สมกรณะวาตะ ลมจำพวกนี้ มีหน้าทีส่ ำหรับพัดเกลีย่ ทรายแก้วในทีน่ น่ั ให้งามเรียบเสมอกัน
๓. สิญจนกะวาตะ ลมจำพวกนี้ มีหน้าทีส่ ำหรับพัดหอบเอาน้ำในสระอโนดาตมาประพรมในทีน่ น้ั
๔. สุคนั ธะวาตะ ลมจำพวนี้ มีหน้าทีส่ ำหรับพัดเอาดอกไม้สคุ นธชาติมาโรยไว้ให้มกี ลิน่ หอมในทีน่ น้ั
๕. โอจินกะวาตะ ลมจำพวกนี้ มีหน้าทีส่ ำหรับพัดเกลีย่ ดอกไม้เหล่านัน้ ให้เสมอกัน

ในวันอุโบสถก็ดี ในวันทีบ่ งั เกิดมีพระปัจเจกพุทธเจ้าตรัสรูใ้ หม่กด็ ี พระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ ปวง ย่อมมา


ประชุมพร้อมกันทีโ่ รงรัตนมาฬกะนีเ้ นืองนิจ อันนีเ้ ป็นประเพณีนยิ มแห่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลายทุกยุคทุสมัย
รวมความว่า เงือ้ มเขาชือ่ ว่านันทมูลกะแห่งภูเขาคันธมาทน์น้ี เป็นทีส่ ถิตอยูแ่ ห่งพระปัจเจกพุทธเจ้าผูไ้ ด้บรรลุ
ปัจเจกโพธิญาณ ในกาลทีโ่ ลกเราว่างจากพระบวรพุทธศาสนา

ทีน้ี เราจะย้อนกลับไปกล่าวถึงพระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ ๕ องค์ คือ


พระปัจเจกพุทธเจ้าอดีตกสิกรหนุม่ องค์ ๑
พระปัจเจกพุทธเจ้าอดีตกุฎมุ พีผมู้ ที รัพย์องค์ ๑
พระปัจเจกพุทธเจ้าอดีตชายหนุม่ ผูบ้ ตุ รแห่งกุฎมุ พีองค์ ๑
พระปัจเจกพุทธเจ้าอดีตนายอำเภอชายแดนกาสิกรัฐองค์ ๑
พระปัจเจกพุทธเจ้าอดีตนายอำเภอเมืองแห่งกาสิกรัฐองค์ ๑

ซึง่ เหาะมาด้วยอริยฤทธิส์ ถิตอยูใ่ นสถานทีแ่ ห่งเดียวกัน ณ เงือ้ มเขานันทมูลกะนีโ้ ดยผาสุกอยูใ่ นวิหาร


เป็นเวลานานพอสมควรแล้ว กาลวันหนึง่ พระปัจเจกพุทธเจ้าผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐทัง้ ๕ องค์นน้ั ได้พากัน
เหาะจากที่อยู่ มุ่งหน้าไปสูพาราณสีมหานครเพื่อโคจรบิณฑบาต เมื่อถึงประตูพระนครแล้ว ก็เหาะลงจาก
อากาศเดินตามลำดับเข้าไปภายในพระนคร ด้วยอาการอันสำรวมเรียบร้อยตามสมณวิสยั

สมเด็จพระราชาธิบดีแห่งพาราณสีมหานคร ได้ทอดพระเนตรเห็นบรรพชิต ซึง่ มีลกั ษณะอาการแปลก


ประหลาดอันไม่เคยทรงเห็นมาก่อนเลยเช่นนี้ ก็ทรงมีพระปสันนาการเลือ่ มใส จึงทรงใช้เหล่าราชบุรษุ นิมนต์ให้
เข้าไปยังพระราชนิเวศน์ เมือ่ เสด็จเข้าไปใกล้ ได้ถวายมนัสการแล้ว ก็ยง่ิ ทรงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใสขึน้ อีกเป็น
อันมาก ถึงกับทรงเอาน้ำมันหอมมาทาและนวดฟัน้ ทีบ่ าทาแห่งพระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลายเหล่านัน้ ด้วยพระหัตถ์
แห่งพระองค์เอง แล้วก็ทรงอังคาสด้วยอาหารอันมีรสเลิศประณีต เมือ่ พระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลาย รับพระราช
ทานฉันเรียบร้อยแล้ว พระองค์จงึ ทรงมีพระราชปุจฉาไถ่ถามว่า

 ⌫ 


“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลาย ! พระผูเ้ ป็นเจ้าบวชเป็นสมณะตัง้ แต่อยูใ่ นวัยหนุม่ นี้ แลดูงามนักหนา
โยมนีไ้ ด้ทอดทัศนาแล้วก็บงั เกิดความเลือ่ มใสเป็นอันมาก โยมอยากจะถามว่า พระผูเ้ ป็นเจ้ามีความคิดเห็นเป็น
ประการใดจึงได้สละฆราวาสวิสยั ไม่ใยดีในกามคุณ บวชเสียตัง้ แต่ยงั หนุม่ ๆ เล่า?“

“ขอถวายพระพร มหาบพิตรผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! อาตมภาพทัง้ ปวงนี้ เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า


ได้สำเร็จพระปัจเจกโพธิญาณ หาใช่สมณะธรรมดาสามัญไม่ ขอมหาบพิตรจงทราบไว้เถิด“

“อโห....พระปัจเจกพุทธเจ้า ! พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ ปวงได้สำเร็จปัจเจกโพธิญาณเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า


ก็ยอ่ มทรงพระคุณอันประเสริฐใหญ่หลวงนัก ยากทีบ่ คุ คลผูใ้ ดผูห้ นึง่ จักพบเห็นได้ในโลก เป็นบุญของข้าพเจ้า
ยิง่ นักทีไ่ ด้พบเห็นพระผูเ้ ป็นเจ้าในวันนี้ ได้ยนิ แต่เสียงเล่าลือกันมาช้านานว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลาย หาก
บังเกิดขึน้ ในโลกนีแ้ ล้ว ท่านย่อมสถิตอยูแ่ ต่ทภ่ี เู ขาคันธมาทน์ไกลโพ้น“

“อาตมาภาพทัง้ ปวงนี้ ก็มาแต่ภเู ขาคันธมาทน์ ขอถวายพระพร“

เมือ่ ได้ทรงทราบว่าเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ซึง่ มาแต่ภเู ขาคันธมาทน์โดยไม่ทรงคาดฝันมาก่อนเช่นนี้ ก็


ยิง่ ทรงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใสยิง่ ขึน้ อีกเป็นทวีคณ
ู ครัน้ พระปัจเจกพุทธเจ้าทัง้ หลายถวายพระพรลากลับไปแล้ว
สมเด็จพระราชาธิบดีผทู้ รงมีวาสนาน้อยไม่สามารถทีจ่ กั เจริญวิปสั สนาภาวนาเพือ่ ตัดกิเลสเป็นสมุจเฉทประหาร ได้
แต่ ท รงมี ว าสนาในทางสมถภาวนา มี โ อกาสที ่ จ ั ก ได้ บ รรลุ ฌ านและอภิ ญ ญาในชาติ น ั ้ น ก็ ห าได้ ท รง
สนทนาหยอกล้อเหล่าสนมกำนัลนางทัง้ หลายดังเช่นทุกวันไม่ มีพระทัยเบือ่ หน่าย เสด็จเข้าไปในห้องอันเป็นสิริ
แล้วก็ประทับนัง่ จำเริญสมาธิภาวนาในส่วนกสิณบริกรรม ในไม่ชา้ ก็ทรงสามารถยังฌานและอภิญญาให้เกิดขึน้ ใน
พระบวรสันดานของพระองค์ดว้ ยอำนาจวาสนาบารมีทเ่ี คยทรงอบรมมา ทรงได้ความสุขอันประณีตยอดเยีย่ ม
ซึง่ เกิดจากฌานแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานออกว่า

“อหา ! ตัวเราบริโภคกามสุขมาเป็นนานช้า แต่หาความสุขมิได้ เพราะกามสุขนัน้ มากไปด้วยเสีย้ นหนาม


ศัตรู สูค้ วามสุขอันเกิดจากฌานนีไ้ ม่ได้ เพราะทำให้ใจได้รบั ความสุขสงบจริงหนอ“

สมเด็จพระบรมราชินนี าถ เมือ่ ทรงเห็นพระองค์มพี ระอากัปกิรยิ าผิดแปลกไปจากทุกวันเช่นนัน้ ก็ทรง


พระดำริวา่

“วันนีส้ มเด็จพระราชาธิบดี ได้สดับธรรมกถาของสมณะหัวโล้นซึง่ เรียกตนเองว่าพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว


ก็ทรงมีพระอาการแปลกประหลาด ไม่สมั ภาษณ์เจรจาให้เป็นสนุกสนานกับพวกเราเหล่าสตรีทง้ั หลาย ทรงมี
พระพักตร์เคร่งขรึมประหนึ่งว่าทรงตัดกิเลสขาดแล้ว เสด็จเข้าไปสู่ห้องอันเป็นสิริเป็นเวลานาน จำเราจักไป
พิสจู น์ให้รวู้ า่ พระองค์จกั ทรงตัดความอาลัยเยือ่ ใยในพวกเราเหล่าสตรีได้จริงหรือ หรือว่าทรงมีอาการเคร่งขรึม
ไปตามพระอารมณ์ชว่ั แล่นเป็นครัง้ คราวเท่านัน้ “

 ⌫⌫
เมื่อมีพระดำริดังนี้แล้ว ก็ค่อยเสด็จเข้าไปสู่ประตูห้องอันเป็นสิริ ประทับยืนทอดพระเนตรเห็นสมเด็จ
พระราชสวามี กำลังทรงเข้าทีน่ ง่ั สมาธิ และได้สดับพระอุทานของพระองค์ ซึง่ ทรงตำหนิตเิ ตียนกามสุขอยูเ่ ช่น นัน้
จึงมีพระราชเสาวนียว์ า่

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! เหตุไฉนพระองค์จงึ ทรงติเตียนกามสุขเล่า หม่อมฉันเห็นว่า


ในโลกนีค้ วามสุขทีจ่ ะเหมือนกับกามสุขนีไ้ ม่มี ข้าแต่พระสามีเจ้า กามสุขนีเ้ ป็นความสุขทีน่ า่ ยินดีปรีดเ์ิ ปรมอย่าง
ใหญ่หลวง ความสุขอืน่ ใดเล่า จะเท่าความสุขอันเกิดจากกาม ชนเหล่าใดได้บริโภคกาม ชนเหล่านัน้ ย่อมได้ขน้ึ
สวรรค์อนั แสนสุข”

สมเด็จพระราชาธิบดีผไู้ ด้บรรลุฌานสำเร็จเป็นฌานลาภีบคุ คล จึงทรงมีพระราชดำรัสตอบว่า

“ดูกร เจ้าผูไ้ ร้ปญั ญาเอ๋ย ! เหตุไฉน เจ้าจึงพูดไปตามประสาใจของเจ้าเช่นนัน้ เล่าความสุขอันเกิดจาก


กาม จะเป็นความสุขอันยิง่ ใหญ่ได้อย่างไร เพราะความสุขอันเกิดจากกามนัน้ ไซร้ เป็นความสุขชัว่ ครัง้ ชัว่ คราว
เป็นวิปริฌามทุกข์เต็มไปด้วยความเปลีย่ นแปลง กามทัง้ หลายมีความยินดีนอ้ ย แต่มคี วามทุกข์มาก ความทุกข์
ทัง้ หลายจะเกิดขึน้ ได้กเ็ พราะกาม ความทุกข์อน่ื ใดเล่าจะเท่าความทุกข์อนั เกิดจากกาม ชนเหล่าใดหลงบริโภค กาม
ชนเหล่านัน้ ย่อมนำตนไปบังเกิดในนรก“

แล้วจึงเสด็จออกจากห้องอันเป็นสิริ ซึ่งเป็นสถานที่ๆ พระองค์ได้สำเร็จฌานนั้น มาประทับนั่ง ณ


ราชอาสน์ทท่ี อ้ งพระโรง มีพระราชดำรัสสัง่ ให้มหาอำมาตย์ทง้ั หลายมาประชุมกันโดยไว แล้วตรัสว่า “ดูรา ท่าน
ทัง้ ปวง ! ท่านทัง้ หลายจงรับราชสมบัตใิ นพระนครพาราณสีนก้ี ลับคืนไป ท่านจะมอบถวายให้แก่ผใู้ ดนัน้ ก็ตาม
แต่จะเห็นสมควรเถิด บัดนีเ้ ราขอสละ เราหามีความต้องการไม่ เราจักไปบวช“

ตรัสเพียงเท่านีแ้ ล้ว ก็ทรงอธิษฐานอภิญญาเหาะขึน้ ไปบนอากาศ ทรงให้โอวาทแก่ชาวเมืองพอสมควร


แล้ว ก็ทรงเหาะมุง่ หน้าไปยังหิมวันตประเทศ แปลงเพศบวชเป็นฤาษี อยูเ่ จริญฌานในทีน่ น่ั เป็นเวลานาน ครัน้
ถึงกาลปริโยสานสิน้ อายุแล้ว ด้วยอำนาจฌานอันเป็นครุกรรมฝ่ายกุศล พระองค์กไ็ ด้ไปอุบตั เิ กิดเป็นพระพรหม
ผูท้ รงคุณวิเศษ สถิตอยู่ ณ พรหมโลกด้วยประการฉะนี้

บัดนี้ ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลายก็ได้ทราบแล้วว่า ในลำดับการให้ผลแห่งกรรมนัน้ กรรมทีใ่ ห้ผลเป็นลำดับ
แรกก็คอื ครุกรรม ! ครุกรรมนีเ้ ป็นกรรมหนักทีส่ ดุ เป็นกรรมทีม่ พี ลังแรงทีส่ ดุ ไม่มแี รงกรรมอืน่ ใดจะมาสูไ้ ด้ ไม่
ว่าจะเป็นฝ่ายอกุศลหรือฝ่ายกุศลก็ตาม ซึง่ นัน่ ก็หมายความว่า เมือ่ บุคคลกระทำครุกรรมนีเ้ ข้าแล้ว หากว่า กระทำ
ครุ ก รรมฝ่ า ยอกุ ศ ลคื อ อนั น ตริ ย กรรม ก็ จ ะถู ก ครุ ก รรมฝ่ า ยอกุ ศ ลนี ้ ใ ห้ ผ ลก่ อ น โดยจะต้ อ งไปเกิ ด เป็ น
สัตว์นรกในอเวจีมหานรกในชาติหน้าซึ่งต่อจากชาตินี้อย่างแน่นอน หากว่ากระทำกรรมฝ่ายกุศลคือบำเพ็ญ
สมถกรรมฐานจนได้บรรลุฌานกุศลต่างๆ ก็จะถูกครุกรรมฝ่ายกุศลคือฌานนีใ้ ห้ผลก่อน โดยจะต้องไปอุบตั เิ กิด
เป็นพระพรหมสถิตอยู่ ณ พรหมโลก ในชาติหน้าซึง่ ต่อจากชาตินอ้ี ย่างแน่นอนโดยไม่ตอ้ งสงสัย

 ⌫ 


เมือ่ ได้ทราบว่า ครุกรรมเป็นกรรมทีใ่ ห้ผลเป็นลำดับแรก เพราะมีพลังแรงทีส่ ดุ ดังนีแ้ ล้ว ต่อจากนีไ้ ป
ก็ควรจะได้ทราบกรรมทีม่ กี ารให้ผลเป็นลำดับที่ ๒ รองลงมาจากครุกรรม ซึง่ หมายความว่า เมือ่ ไม่มคี รุกรรม แล้ว
กรรมชนิดทีจ่ กั กล่าวต่อไปนี้ จักต้องฉวยโอกาสให้ผลทันที ! กรรมทีว่ า่ นีม้ ชี อ่ื ว่า

อาสันนกรรม
อาสนฺเน กตํ อาสนฺนํ
การกระทำทีด่ หี รือไม่ดี ในเวลาทีใ่ กล้จะตาย ชือ่ ว่าอสันนกรรม

อาสันนกรรม นี้ ได้แก่กรรมคือการกระทำสิง่ ทีด่ ี หรือกระทำสิง่ ทีไ่ ม่ดี ในเวลาทีใ่ กล้จะตาย ! อีกนัย
หนึง่ ว่า อาสันนกรรมนีไ้ ด้แก่การระลึกถึงสิง่ ทีด่ หี รือไม่ดี ในเวลาทีใ่ กล้จะตาย ! เพือ่ ความเข้าใจในเรือ่ งนีง้ า่ ยๆ
ก่อนอืน่ ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย พึงทราบว่า

อาสันนกรรมนี้ เมือ่ จะแบ่งออกเป็นฝ่ายใหญ่ๆ ก็มอี ยู่ ๒ ฝ่ายด้วยกัน คือ อาสันนกรรมทีเ่ ป็นฝ่าย อกุศล
๑ อาสันนกรรมที่เป็นฝ่ายกุศล ๑ ในบรรดาอาสันนนกรรมทั้งสองฝ่ายนั้น อาสันนกรรมที่เป็นฝ่ายอกุศล
พึงเห็นตัวอย่างเช่น

ในขณะที่ม่านดำแห่งชีวิตกำลังจะรูดปิดอยู่รำไร คือในขณะที่จวนจะสิ้นอายุตายไปจากโลกนี้ บุคคล


บางคนซึง่ ไม่รวู้ า่ ตนจักต้องตายโหง เอาแต่ความโมโหโกรธาเป็นทีต่ ง้ั ทะเลาะวิวาทกันขึน้ กับผูอ้ น่ื แล้วกระทำ
อกุศลกรรมด่าว่าเตะถีบ ฆ่าฟันผูอ้ น่ื ด้วยฤทธิโ์ ทโส แต่ฝมี อื สูผ้ อู้ น่ื ไม่ได้ เลยถูกเขาฆ่าเสียจนดับจิตเป็นผีตายโหง
ไปทัง้ ๆ ทีก่ ำลังโทโสโกรธาเช่นนีก้ ด็ ี หรือผูท้ ก่ี ำลังกระทำอกุศลกรรมมิจฉาชีพ มีการฆ่าสัตว์ลกั ทรัพย์เป็นต้น
ในขณะทีก่ ำลังกระทำเพลินอยูน่ น้ั ก็ให้มอี นั เป็นบังเอิญถูกยิงตาย หรือตายด้วยเหตุใดเหตุหนึง่ เช่นนีก้ ด็ ี หรือผู้
ทีก่ ำลังได้รบั ความสนุกสนานเพลิดเพลินอยู่ โดยการเสพสุรายาเมา มีอาการครึกครืน้ เฮฮาเพราะฤทธิส์ รุ าพาไป
แล้วเกิดมีเหตุปจั จุบนั ขึน้ ทำให้เขาต้องขาดใจตายลงในขณะนัน้ ทันทีเช่นนีก้ ด็ ี หรือพวกมิจฉาทิฐบิ างพวก เมือ่ รู้
ว่าตัวจักต้องตาย ก็มกี ารกระทำพิธฆี า่ สัตว์ตา่ งๆ เอามาบูชายันต์เพือ่ ตนจะได้ไปสูส่ วรรค์ ตามลัทธิโง่ๆ ทีน่ บั ถือ
กันมา เมื่อการกระทำอกุศลกรรมบูชายันต์นั้นได้สำเร็จลงแล้ว เขาผู้นั้นก็ขาดใจตายไป เช่นนี้ก็ดี กรรมทั้ง
หลายเหล่านีน้ บั ว่าเป็นอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลทัง้ สิน้ เพราะเป็นอกุศลกรรมทีท่ ำในขณะทีใ่ กล้จะตาย

อกุศลกรรมบางอย่าง ทีบ่ คุ คลได้เคยกระทำมาแล้วเป็นเวลานานและบุคคลนัน้ ก็ไม่ได้สนใจทีจ่ ะนึกถึง


จนกระทัง่ ลืมไปแล้ว แต่ในขณะทีใ่ กล้จะตาย เกิดนึกขึน้ มาได้ถงึ อกุศลกรรมของตนนัน้ เป็นฉากๆ ไป แล้วอกุศลจิต
ก็เกิดขึน้ เช่นนีก้ ด็ ี หรือบุคคลทีม่ ใี จหยาบช้าประกอบแต่อกุศลอยูเ่ นืองนิตย์ ตลอดชีวติ ไม่เคยคิดทีจ่ ะสร้างกุศล เลย
ครั้นเมื่อเกิดเจ็บป่วยขึ้น ทำให้รู้สึกกลัวตายและมองหาที่พึ่งคือบุญกุศล แต่มองไม่เห็นเลย เห็นแต่บาปที่ตน
ทำไว้นน่ั แหละเป็นจำนวนมากมายจนอกุศลจิตเกิดขึน้ เช่นนีก้ ด็ ี อกุศลจิตทีเ่ กิดขึน้ โดยอาศัยการระลึกถึงอกุศล

 ⌫⌫
กรรมความชัว่ ทีต่ วั เคยกระทำเอาไว้เหล่านีแ้ หละ เรียกชือ่ ว่า อาสันนกรรมฝ่ายอกุศล เพราะเป็นอกุศลทีร่ ะลึก
ขึน้ ได้ในขณะทีใ่ กล้จะตาย

ส่วนอาสันนกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศลนัน้ พึงเห็นตัวอย่างเช่น

บุคคลบางคน ตัง้ แต่เกิดมาก็ไม่เคยทีจ่ ะสนใจทำบุญให้เป็นล่ำเป็นสันแต่ประการใด แต่ภายหลังเกิดมี


ศรัทธาขึน้ ต้องการจะสร้างกุศลให้เป็นหลักฐานสักอย่างหนึง่ เพือ่ จักได้เป็นทีพ่ ง่ึ ต่อไปในภายหน้า และเพือ่ เป็น
อนุสรณ์ในชีวติ ตน แล้วจึงลงมือประกอบการกุศลตามทีต่ นคิดไว้ คือ

- ทอดกฐิน
- สร้างพระอุโบสถ
- สร้างวัด
- สร้างศาลาการเปรียญ
- สร้างพระธรรม
- รักษาอุโบสถศีล
- เจริญสมถะวิปสั สนากรรมฐาน

สร้างกุศลอันยิง่ ใหญ่เหล่านี้ ด้วยจิตใจอันเต็มไปด้วยความปิตยิ นิ ดี ในขณะทีก่ ำลังกระทำกุศลเพลิน


อยูน่ น้ั ก็ให้มอี นั เป็นเกิดขึน้ ถูกพญามัจจุราชมาฉุดกระชากลากตัวไปเสียก่อนทีก่ ศุ ลซึง่ ตนสร้างจักสำเร็จลง เช่น
นีก้ ด็ ี หรือเมือ่ กุศลกรรมทีเ่ ขาทำเหล่านัน้ อย่างใดอย่างหนึง่ สำเร็จสมตามความปรารถนา เป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว
ต่อมาไม่ชา้ เขาก็ถกู พญามัจจุราชเข้ามาย่ำยีทำให้สน้ิ ชีวติ ลงดังนีก้ ด็ ี หรือเมือ่ ยังอยูเ่ ย็นเป็นสุขอยู่ ก็ไม่เคยคิดที่
จะสร้างกุศลแต่ประการใด แต่ครัน้ เกิดมีอาการเจ็บไข้ได้ปว่ ยทำท่าว่าจะไม่รอดชีวติ มีความคิดกลัวตาย ไม่รวู้ า่
จะยึดเอาอะไรเป็นทีพ่ ง่ึ ไม่มเี สบียงสำหรับนำไปสูปรโลกแต่อย่างใด ก็เกิดใจคอไม่ดี กลัวว่าตัวตายไปจากโลก
นีจ้ กั ต้องไปสูท่ ล่ี ำบาก จึงคิดอยากจะทำบุญกุศลขึน้ ในทันใด แล้วใช้ให้คนไปนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาเพือ่

- ถวายทานบ้าง
- รักษาศีลบ้าง
- ฟังธรรมบ้าง

ในขณะทีก่ ำลังประกอบการกุศลเหล่านัน้ อยู่ ก็ถกู พญามัจจุราชผูไ้ ม่เคยปรานีตอ่ ชีวติ ใครมาฉุดกระชาก


ลากไปก่อนทีจ่ ะทำสำเร็จลง เช่นนีก้ ด็ ี หรือเมือ่ กุศลกรรมทีเ่ ขาคิดทำในปัจจุบนั ทันด่วนนัน้ สำเร็จสมตามความ
ปรารถนาเป็นทีเ่ รียบร้อยแล้ว ต่อมาไม่ชา้ เขาก็ถกู พญามัจจุราชเข้ามาย่ำยีทำให้สน้ิ ชีวติ ลง เช่นนีก้ ด็ ี กรรมทัง้
หลายเหล่านี้ ได้ชอ่ื ว่าอสันนกรรมฝ่ายกุศลทัง้ สิน้ เพราะเป็นกุศลกรรมทีท่ ำในขณะทีใ่ กล้จะตาย

 ⌫ 


อาสันนกรรม นี้ มีลำดับการให้ผลเป็นที่ ๒ รองจากครุกรรม คือหมายความว่า ยกเว้นครุกรรมเสียแล้ว
ก็ไม่มีกรรมอื่นใดที่จะมีอำนาจมากั้นกางขวางกั้นการให้ผลแห่งอาสันนกรรมนี้ในชาติต่อไปเลยเป็นอันขาด
อาสันนกรรมนีถ้ งึ แม้วา่ จะน้อย แต่กอ็ าจให้ผลก่อนกว่ากรรมทัง้ หลาย ไม่วา่ จะมากและใหญ่สกั เพียงไหนก็ตาม
พูดอย่างนีร้ สู้ กึ ว่าจะฟังยาก คืออย่างนี้ สมมติวา่ มีบคุ คลผูห้ นึง่ ซึง่ ประกอบกุศลกรรมคุณงามความดีมานานให้
ทานรักษาศีลมาเกือบตลอดชีวติ แต่วา่ ในขณะทีจ่ ะตายนัน้ เกิดโทสะคือโกรธผูท้ พ่ี ยาบาลตนขึน้ มาตามธรรมดา
ของผูท้ ย่ี งั มีกเิ ลสอยู่ นีเ่ รียกว่าเป็นอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลแล้ว อาสันนกรรมฝ่ายอกุศลเกิดขึน้ เพียงเล็กน้อยเท่า
นี้ ย่อมมีอำนาจส่งผลให้เขาผูน้ น้ั ไปเกิดในอบายภูมทิ นั ที ทัง้ ๆ เขาได้ประกอบคุณงามความดีมากมาย ! ทีเ่ ป็น
เช่นนีเ้ พราะเหตุไร? เพราะอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลอันเล็กน้อยนัน้ ได้โอกาสก่อน จึงชิงให้ผลก่อน ส่วนกุศลกรรม
ความดีทเ่ี ขาทำไว้มากมายนัน้ ย่อมให้ผลแก่เขาทีหลังในเมือ่ มีโอกาส ด้วยเหตุน้ี ท่านจึงกล่าวอุปมาลำดับการให้
ผลแห่งอาสันนกรรมนีว้ า่ อาสันน - กรรมนี้ ย่อมมีอปุ มาเหมือนกับโคแก่

ธรรมดาว่าโคแก่คอื วัวเฒ่านัน้ เพลาสายัณห์สมัยเมือ่ นายโคบาลต้อนฝูงโค ซึง่ มีทง้ั โคแก่และโคหนุม่


ให้เข้าไปอยูใ่ นคอก โคแก่ยอ่ มจะเดินงุม่ ง่ามไปตามประสาทีต่ นแก่แล้ว ไม่วอ่ งไวเหมือนโคหนุม่ ปราดเปรียวทัง้
หลายโน่น โคหนุม่ โคสาวเขาเข้าไปเลือกหาทีน่ อนตามความพอใจ และนอนเคีย้ วเอือ้ งอย่างสบายอยูใ่ นคอกตัง้
นานแล้ว โคแก่ผมู้ กี รรม หูตาแข้งขาไม่คอ่ ยดี เพิง่ จะเดินงุม่ ง่ามมาถึงประตูคอกเบิง่ หาทีน่ อน ตัง้ ใจว่าจะหาทีน่ อน
ให้เหมาะใจเหมือนอย่างเขาอืน่ ก็ไม่มโี อกาสจะได้ดงั ใจ ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าโคทัง้ หลายเขาจองไว้กอ่ น และเข้านอน
กันเต็มคอกหมดแล้ว โคเฒ่าผูม้ าทีหลังหันรีหนั ขวางอยูค่ รูห่ นึง่ จึงล้มตัวลงหมอบแหมะทีป่ ระตูคอกนัน่ เอง พอ
อรุณรุ่งเช้า เมื่อนายโคบาลเข้ามาเปิดประตูคอก เขาย่อมปลุกเจ้าโคแก่ซึ่งนอนอยู่ที่ประตูให้ลุกขึ้นก่อน ครั้น
ประตูคอกเปิดออกแล้ว โคแก่นน้ั ย่อมพลันได้โอกาสออกจากคอกก่อนกว่าโคทัง้ ปวง ทัง้ นีเ้ พราะอาศัยทีต่ นอยู่
ใกล้ประตู ถึงแม้ว่าตนจะแก่แล้ว กำลังเรี่ยวแรงมีอยู่น้อยนักหนา แต่ใครอย่ามาดูถูกดูหมิ่นในกรณีนี้ไม่ได้
อุปมานีฉ้ นั ใด

อาสันนกรรม คือกรรมทีใ่ กล้จะตายนีก้ เ็ หมือนกัน ถึงแม้วา่ จะเป็นกรรมนิดหน่อยมีพลังน้อยสูก้ รรมอืน่ ๆ


ไม่ได้กจ็ ริง แต่ใครจะมาดูถกู ดูหมิน่ ไม่ได้ เพราะมีอำนาจให้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมก่อนกรรมอืน่ ทัง้ หมด
โดยมีโอกาสให้ผลก่อนเพือ่ น เปรียบเหมือนโคเฒ่าซึง่ ยืนอยูใ่ กล้ประตูคอก ย่อมมีโอกาสออกจากคอกก่อนโคที่
มีกำลังทัง้ ปวงฉะนัน้

จากอุปมาที่ว่ามานี้ ท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย ก็คงจะเข้าใจถึงเรื่องอาสันนกรรมนี้เป็นอย่างดีแล้ว แต่


เพื่อความเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น ในลำดับต่อไปนี้ จักได้ยกเอาตัวอย่างในกรณีที่อาสันนกรรมฝ่ายอกุศลรีบชิง
ให้ผลกรรมอืน่ ๆ มาเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

 ⌫⌫
นาคราชาผูอ้ าภัพ
ได้สดับมาว่า กาลเมือ่ ศาสนา แห่งองค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังปรากฏอยูใ่ น
โลกเรานีน้ น้ั มีมาณพผูห้ นึง่ ซึง่ เป็นคนมีศรัทธา ปรารถนาจักนำตนออกจากกองทุกข์ในวัฏสงสาร จึงสละทรัพย์
สมบัติบ้านเรือนออกบวชเป็นสมณะในพระพุทธศาสนา เมื่อบวชแล้วก็ตั้งหน้าบำเพ็ญสมณธรรม วันหนึ่ง มี
ความประสงค์จะเดินทางไปหาสถานทีอ่ นั สงบเงียบในป่าใหญ่ เพือ่ สะดวกแก่การบำเพ็ญภาวนากรรมฐาน จึง
โดยสารเรือไปในแม่นำ้ ในขณะทีเ่ รือแล่นไปโดยเร็วนัน้ ท่านได้เอามือจับใบตะไคร้นำ้ ซึง่ ขึน้ อยูร่ ม่ิ ฝัง่ ด้วยความ
เผลอตัว พอใบตะไคร้นำ้ ขาดติดมือมา ท่านจึงได้สติรตู้ วั ว่าต้องอาบัตเิ สียแล้ว เพราะมีพระพุทธบัญญัตหิ า้ มไว้
ไม่ให้พระภิกษุในพระพุทธศาสนาพรากของเขียว เช่นตัดไม้หักไม้เป็นต้น แต่ท่านก็เกิดมีจิตคิดประมาทว่า
อาบัตทิ ล่ี ว่ งพระพุทธบัญญัตเิ พียงเล็กน้อยเท่านี้ คงไม่เป็นไร แล้วก็ไม่สนใจทีจ่ ะแสดงอาบัตแิ ก่พระภิกษุรปู ใด
รูปหนึง่ เมือ่ ขึน้ จากเรือแล้ว ก็เข้าไปในป่าใหญ่ เลือกหาทีส่ ะดวกสบายเหมาะแก่การบำเพ็ญสมณธรรมได้แห่ง
หนึง่ แล้ว ก็ตง้ั หน้าบำเพ็ญสมณธรรมตามทีใ่ จคิดไว้

บำเพ็ญสมณธรรมในป่าใหญ่นั้นด้วยความอุตสาหะพยายามอย่างยิ่ง เป็นเวลานานถึง ๒๐,๐๐๐ ปี


ตามอายุของมนุษย์ในยุคนัน้ แต่กไ็ ม่สามารถบรรลุธรรมวิเศษอย่างใดอย่างหนึง่ ได้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าวาสนาบารมี
ของท่านยังไม่ถงึ ความแก่กล้าบริบรู ณ์ ในขณะทีท่ า่ นผูม้ คี วามพยายามบำเพ็ญสมณธรรมมาช้านานตัง้ แต่หนุม่
จนแก่เฒ่า จะเข้าสูม่ ขุ มณฑลแห่งพญามัตยุราชตามธรรมดาของสังขารนัน้ อาสันนกรรมฝ่ายอกุศลก็เกิดขึน้ แก่ ท่าน
คือ ทำให้ท่านนึกขึ้นได้ว่า เมื่อ ๒๐,๐๐๐ ปีที่ล่วงมาแล้ว ท่านเคยต้องอาบัติเพราะพรากภูตคามของเขียว
ในขณะที่โดยสารเรือมา เกิดวิปปฎิสารขึ้นในดวงจิตให้เห็นนิมิตเป็นเหมือนใบตะไคร้น้ำนั้นมันเข้ามาพันคอ
แล้วท่านก็ขาดใจตาย ถูกอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลนั้น ชักนำให้ไปเกิดในกำเนิดสัตว์เดียรฉานตระกูลนาคราช
ครัน้ เจริญวัยเติบใหญ่แล้ว ก็ได้รบั การแต่งตัง้ จากพวกนาคทัง้ หลายให้เป็นพญา มีนามว่าพญาเอรกปัตตนาคราช

พญาเอรกปัตตนาคราชนัน้ เป็นนาคทีม่ ญ ี าณพิเศษ คือระลึกชาติได้มาตัง้ แต่เกิด ฉะนัน้ คราวใดทีเ่ ขา


นึกถึงอดีตชาติหนหลัง คราวนัน้ เขาก็ได้แต่เฝ้ารำพึงรำพันด้วยความเศร้าโศกเสียใจว่า

“อนิจจา ตัวข้าเอ๋ย ! อุตส่าห์ตง้ั หน้าบวชเป็นพระภิกษุบำเพ็ญสมณธรรมมานานถึง ๒๐,๐๐๐ ปี แทนที่


จะได้บรรลุธรรมวิเศษในพระบวรพุทธศาสนา หรือว่าได้รบั อานิสงส์ไปเกิดเป็นเทวดาในแดนสวรรค์ หรืออย่าง
น้อยทีส่ ดุ ได้ไปเกิดในกำเนิดมนุษย์กย็ งั ดี แต่นก่ี รรมอะไรเล่าหนอ ทีซ่ ดั ให้เข้ามาบังเกิดในกำเนิดสัตว์เดียรฉาน
ซึง่ มีกบเขียดเป็นภักษาหาร จะต้องทนทุกข์ทรมานไปอีกนานเท่าใดก็สดุ จักรูไ้ ด้“

เขาได้แต่เฝ้าเศร้าโศกเสียใจ น้ำตาไหลซึมออกมาจากตาในคราที่นึกถึงชะตากรรมของตนอยู่อย่างนี้
เนืองๆ ภายหลังต่อมา เขาผูค้ รอบครองนาคสมบัตอิ ยูใ่ นนาคพิภพนัน้ ก็ได้นางนาคมาณวิกาตนหนึง่ เป็นธิดาใน
ฐานะที่เขาเคยเป็นพุทธศาสนิกชนผู้ดื่มด่ำในรสพระธรรมแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และมีความ

 ⌫ 


ประสงค์ใคร่จะได้พบและสดับธรรมองค์สมเด็จพระพุทธองค์อกี จึงสอนเพลงให้นางนาคมาณวิกาผูเ้ ป็นธิดาบท
หนึง่ ให้เจ้าท่องจนขึน้ ใจแล้ว ทุกๆ วันขึน้ ๑๕ ค่ำ ก็พาธิดาสุดทีร่ กั ขึน้ มายังมนุษยโลกทีแ่ ม่นำ้ คงคา แผ่พงั พาน
ใหญ่อยูใ่ นน้ำ ให้นางนาคมาณวิกาผูเ้ ป็นธิดาแปลงกายเป็นมนุษย์มรี ปู ทรงสุดโสภา ยืนร้องเพลงอยูบ่ นพังพาน
แห่งตน ด้วยสำเนียงอันไพเราะ ก็เนือ้ เพลงทีน่ างนาคมาณวิกาขับร้อง ตามทำนองทีบ่ ดิ าสอนให้นน้ั เป็นปัญหา
ว่าดังนี้

- ผูเ้ ป็นใหญ่อย่างหนอ จึงจะได้ชอ่ื ว่าเป็นพระราชา ?


- พระราชาเช่นไรเล่าหนอ ทีไ่ ด้ชอ่ื ว่ามีพระเศียรเต็มไปด้วยธุลี ?
- พระราชาเช่นไรเล่าหนอ ทีไ่ ด้ชอ่ื ว่าปราศจากธุลี ?
- ทีถ่ กู เรียกว่า “คนพาล“ นัน้ มีพฤติการณ์เป็นประการใด ?

จึงเป็นอันว่าทุกวันพระขึน้ ๑๕ ค่ำ นางนาคมาณวิกาย่อมจะมายืนขับร้องเพลงอันเป็นปริศนานีอ้ ยูท่ ่ี


แม่นำ้ คงคา ทำให้ประชาชนในสมัยนัน้ ต่างพากันมาชมรูปโฉมแห่งนาง และมาฟังสำเนียงอันไพเราะนัน้ เป็น
อันมาก ไม่มใี ครสามารถทีจ่ ะแก้อรรถปริศนาในเนือ้ เพลงนัน้ ได้ ในกรณีนห้ี ากจะมีปญ
ั หาว่า

“พญาเอรกปัตตนาคาธิบดี มีความประสงค์อย่างไร จึงได้คดิ ทำการดังนี?้ “

วิสชั นาว่า “พญาเอรกปัตตานาคาธิบดีนน้ั เขามีสนั ดานรักใคร่ในพระพุทธศาสนา ปรารถนาจักได้พบ


องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงคิดแต่งเนือ้ เพลงอันเป็นปริศนานีข้ น้ึ แล้วให้นางนาคมาณวิกาเป็นผูข้ บั ร้อง
ในทำนองเสนาะ ด้วยความประสงค์วา่ เมือ่ มนุษย์ทง้ั หลายได้ยนิ ได้ฟงั แล้ว และสามารถขับร้องแก้อรรถปริศนา
นัน้ ได้ ก็หมายความว่า มีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาอุบตั ติ รัสในโลกแล้ว ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่า ผูท้ จ่ี ะแก้
อรรถปริศนาอันล้ำลึกในเนือ้ เพลงทีผ่ กู ขึน้ อย่างถูกต้องนัน้ จะต้องเป็นผูร้ ธู้ รรมในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี“

นาคาธิบดีผู้มีกรรม แต่มีความประสงค์ใคร่จะพบพระพุทธศาสนา สู้อุตส่าห์แต่งอุบายให้ธิดามาร้อง


เพลงอยูท่ แ่ี ม่นำ้ คงคาสิน้ เวลาช้านานชัว่ พุทธันดรหนึง่ ก็ไม่มใี ครสามารถทีจ่ ะแก้อรรถปริศนาในเนือ้ เพลงนัน้ ได้
จวบจนถึงสมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎศรีศากยมุนโี คดมบรมครูแห่งเราท่านทัง้ หลาย ได้เสด็จมาอุบตั ติ รัสเป็น
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว วันหนึง่ เพลาปัจจุสมัยใกล้รงุ่ พระองค์ทรงตรวจดูอปุ นิสยั แห่งสัตว์โลก ได้ทรงเห็น
มาณพผู้หนึ่งนามว่าอุตรมาณพ ซึ่งเป็นผู้มีอุปนิสัยควรแต่การที่จะได้บรรลุพระโสดาปัตติผล โดยทรงทราบ
อย่างละเอียดถีถ่ ว้ นว่า

วันนีเ้ ป็นวันอุโบสถขึน้ ๑๕ ค่ำ ซึง่ ตรงกับวันทีพ่ ญาเอรกปัตตนาคราชขึน้ มาจากนาคพิภพพร้อมด้วยธิดา


แล้วให้ธิดาขับร้องอยู่ที่แม่น้ำคงคา มีประชาชนพากันไปดูเป็นอันมาก ในบรรดาประชาชนเหล่านั้น มาณพ
ผูห้ นึง่ นามว่าอุตรมาณพ ฟังธรรมเทศนาของเราตถาคตแล้วจักได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันอริยบุคคล และจักนำ
เอากถาถ้อยคำแห่งเราไปกล่าวแก้เพลงขับของนางนาคมาณวิกา พญาเอรกปัตตนาคราชซึ่งอยู่ใต้น้ำ

 ⌫⌫
พอได้สดับกถานัน้ ก็จกั ทราบว่า “พระพุทธเจ้า บังเกิดขึน้ แล้วในโลก“ แล้วจักดีใจมาสูส่ ำนักแห่งเรา เมือ่ เขามา
ตถาคตจักกล่าวคาถาหนึง่ ในมหาสมาคมนัน้ ในอวสานคาถา ธรรมาภิสมัยจักมีแก่สตั ว์ทง้ั หลายเป็นอันมาก

ทรงพระดำริดงั นีแ้ ล้ว องค์พระประทีปแก้วสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็เสด็จไปในทีบ่ ริเวณนัน้ ซึง่ ไม่ไกลจาก


เมืองพาราณสีเท่าใดนักประทับนัง่ อยู่ ณ ภายใต้ตน้ ซึกใหญ่อนั มีใบร่มรืน่ ต้นหนึง่ เพือ่ รอคอยการมาแห่งอุตร
มาณพผูม้ วี าสนา ไม่ชา้ อุตรมาณพก็เดินทางมาพร้อมกับประชาชนทัง้ หลาย มุง่ หน้าจะไปยังฝัง่ แม่นำ้ คงคา

“อุตระ ! เธอจงแวะมานีก่ อ่ น“ สมเด็จพระชินวรตรัสเรียกเขา

อุตรมาณพ ได้สดับพระพุทธพจน์ซง่ึ ตรัสเรียกตนโดยไม่คาดฝันเช่นนัน้ ก็พลันเกิดปีตดิ ใี จเป็นล้นพ้น


รีบน้อมกายเข้าไปถวายนมัสการกราบพระยุคลบาทแล้วทูลถามว่า

“ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! พระองค์ทรงเรียกข้าพระองค์หรือ พระพุทธเจ้าข้า?“

“ถูกแล้ว อุตรมาณพ ! “ มีพระพุทธดำรัสรับรองแล้วตรัสถามว่า “เธอจักไปไหน จึงเดินมาทางนี?้ “

“ข้าพระองค์ จักไปดูนางนาคมาณวิกา ซึง่ มาขับร้องอยูท่ แ่ี ม่นำ้ คงคาในวันนี้ พระเจ้าข้า“

“ถ้าเช่นนั้น เธอจงตั้งใจเรียนเอากถานี้ให้จงดี แล้วนำเอาไปแก้เพลงขับอันเป็นอรรถปริศนาแห่งนาง


นาคมาณวิกา“

สมเด็จพระบรมศาสดา ตรัสดังนี้แล้ว ก็ทรงสอนให้อุตรมาณพนั้น เรียนเอาพระคาถาสำหรับแก้


อรรถปริศนาทีพ่ ญานาคผูกไว้ ให้จำจนขึน้ ใจ ในขณะทีต่ ง้ั สติกำหนดใจเรียนเอาพระคาถาอยูน่ น้ั พอจบพระคาถา
อุตรมาณพก็ได้บรรลุพระโสดาปัตติผล ณ ทีน่ น่ั เอง ! แล้วก็ถวายบังคมลาสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้ารีบเดินด่วน
ไปยังฝัง่ แม่นำ้ คงคา เห็นประชาชนทัง้ หลายต่างมุงดูนางนาคมาณวิกากันอยูอ่ ย่างแน่นขนัด เพราะเป็นเหตุการณ์
ประหลาด ด้วยว่านอกจากนางจะมิใช่มนุษย์ธรรมดาสามัญทัง้ หลายทัว่ ไปแล้ว นางยังแปลงกายเป็นหญิงมนุษย์
มีรปู ทรงสวยงามสุดพรรณนา เป็นสาวโสภาขับร้องด้วยสำเนียงไพเราะเสนาะโสต พร้อมกับร่ายรำด้วยลีลาอัน
อ่อนช้อยน่าจะพึงชม เมือ่ อุตรมาณพผูไ้ ด้พระคาถาดีจากองค์สมเด็จพระชินสีหเ์ จ้ามาถึง เห็นประชาชนล้นหลาม
แน่นขนัดอยูอ่ ย่างนัน้ จึงกล่าวคำขอโอกาสขึน้ ว่า

“ข้าแต่ทา่ นผูเ้ จริญทัง้ หลาย ! ขอท่านทัง้ หลายจงให้โอกาสแก่ขา้ พเจ้า จงหลีกทางให้ขา้ พเจ้าได้เข้าไป


ใกล้ๆ นางนาคมาณวิกาสักหน่อยเถิด ข้าพเจ้าจักกล่าวอรรถปริศนาในบทเพลงของนาง ซึง่ ไม่มใี ครแก้ได้มา
เป็นเวลาช้านานแล้ว“

 ⌫ 


เหล่าชนทัง้ ปวง เห็นอุตรมาณพกล่าวคำขึงขังดังนัน้ ต่างก็พากันหลีกทางให้เขาตามความปรารถนา
เมือ่ เขาแหวกฝูงชนมาถึงริมฝัง่ แล้ว ก็เดินลุยน้ำไปจนถึงน้ำลึกแค่เข่าแล้วก็ยนื อยูค่ อยฟังนางนาคมาณวิการูป
สวยว่า เจ้าจะขับร้องเพลงอันเป็นอรรถปริศนาว่าอย่างไร? ในขณะนัน้ นางนาคมาณวิกา จึงเริม่ เพลงขับอัน
เป็นปริศนาของเธอขึน้ ใหม่อกี รอบหนึง่ เป็นใจความว่า

- ผูเ้ ป็นใหญ่อย่างไรเล่าหนอ จึงจะได้ชอ่ื ว่าเป็นพระราชา?


“ผูเ้ ป็นใหญ่ในทวารทัง้ ๖ ซึง่ เป็นผูไ้ ม่ถกู อารมณ์ทง้ั หลาย มีรปู อารมณ์เป็นต้นเข้าครอบงำ ผูน้ น้ั จึงจะได้
ชือ่ ว่าเป็นพระราชา ! ” อุตรมาณพว่าเพลงแก้ปริศนาตามทีต่ นได้เรียนมาจากสำนักสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

- พระราชาเช่นไรเล่าหนอ ทีไ่ ด้ชอ่ื ว่ามีพระเศียรเต็มไปด้วยธุล?ี ”


“ผูใ้ ดมีความรักใคร่พอใจในอารมณ์ตา่ งๆ ผูน้ น้ั แหละ ชือ่ ว่ามีธลุ อี ยูเ่ ต็มเศียร !” เขาว่าเพลงแก้ปริศนา
ขึน้ อีกอย่างคล่องแคล่ว

- พระราชาเช่นไรเล่าหนอ ทีไ่ ด้ชอ่ื ว่าปราศจากธุล?ี


“ผูใ้ ดไม่มคี วามรักใคร่พอใจในอารมณ์ตา่ งๆ ผูน้ น้ั แหละ ชือ่ ว่าปราศจากธุลบี นเศียร !” เขาว่าเพลงแก้
ปริศนาขึน้ อีกอย่างไม่อำ้ อึง้

- ทีถ่ กู เรียกว่า “คนพาล“ นัน้ มีพฤติการณ์เป็นประการใด?


“ใครก็ตามทีม่ คี วามกำหนัดพอใจในอารมณ์ตา่ งๆ ย่อมจะถูกเรียกว่าเป็น “คนพาล“ ทัง้ นัน้ “ เขากล่าว
แก้ขน้ึ อย่างไม่หวาดหวัน่

ความจริงนางนาคมาณวิกาผูโ้ สภานัน้ เรียนเอาอรรถปริศนาจากท่านบิดาไว้ ๒ ตอน โดยประสงค์วา่


เมือ่ มีผใู้ ดแก้ได้ตอนที่ ๑ แล้ว ก็จกั ได้ถามตอนที่ ๒ ต่อไป ทีนต้ี ลอดเวลาพุทธันดรหนึง่ ทีน่ างมายืนฟ้อนรำร้อง
ถามปริศนาอยูน่ ้ี ไม่มใี ครสามารถทีจ่ กั แก้ปริศนาตอนที่ ๑ ได้ถกู ต้องเลย เพราะฉะนัน้ นางจึงไม่มโี อกาสได้ถาม
ตอนต่อไป ในบัดนี้ เกิดมีคนดีมาแก้อรรถปริศนาตอนที่ ๑ ได้อย่างถูกต้องตามความประสงค์ของท่านบิดาแล้ว
นางจึงเริม่ ร้องเพลงอันเป็นปริศนาตอนที่ ๒ ว่า

- คนพาล ถูกอะไรพาให้ลอยไปในวัฎสงสารอย่างไม่หยุดยั้ง? บัณฑิตกำจัดตัดสิ่งที่พาให้ลอยไปใน


วัฎสงสารนัน้ ด้วยอะไร? ขอท่านผูม้ ปี ญั ญาไว จงตอบคำถามของข้าพเจ้าในกาลบัดนีเ้ ถิด
“คนพาลทัง้ หลาย ย่อมถูกห้วงน้ำทัง้ ๔ มีหว้ งน้ำคือกามเป็นต้น พัดพาให้ลอยไปในวัฎสงสารอย่างไม่
หยุดยัง้ บัณฑิตย่อมกำจัดตัดห้วงน้ำทัง้ หลายซึง่ พัดพาให้ลอยไปในวัฎสงสารได้ดว้ ยความพยายามอันถูกต้อง
และบุคคลจะได้ชอ่ื ว่าเป็นผูม้ คี วามเกษมจากโยคะได้ ก็เพราะเป็นผูม้ จี ติ ใจปราศจากโยคะทัง้ หลายมีกามโยคะ
เป็นต้น อุตรมาณพกล่าวแก้ปริศนาอันลึกล้ำ ตามทีต่ นทีไ่ ด้เล่าเรียนจากสำนักแห่งสมเด็จพระพุทธองค์มาเมือ่
ตะกีน้ โ้ี ดยถูกต้องไม่ผดิ พลาด

 ⌫⌫
เสียงฟาดหางดังครืนใหญ่กึกก้อง ทำให้ท้องน้ำปันป่วนด้วยละลอกคลื่นถึงกับตลิ่งพัง ประชาชนทั้ง
หลายทีย่ นื อยูร่ มิ ฝัง่ ต้องจมน้ำลงไปหลายคนรวมทัง้ อุตรมาณพผูแ้ ก้ปริศนาด้วย ทัง้ นีก้ เ็ พราะพญาเอรกปัตตนา
คราชธิบดี เมื่อได้สดับการแก้ปริศนาอย่างถูกต้องของอุตรมาณพจบลง ก็ทราบได้ทันทีว่า “องค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาอุบัติตรัสขึ้นแล้วในโลก“ แล้วก็บังเกิดปีติความดีใจเหลือที่จะกล่าว จึงลืมตัว
แสดงอาการดีใจด้วยการฟาดหางของตนดังโครมใหญ่ เมื่อแลดูไปอีกทีเห็นคนทั้งหลายกำลังจะจมน้ำตาย
เพราะความดีใจเกินขนาดของตนเช่นนัน้ ก็พลันตกใจ รีบแผ่พงั พานให้ใหญ่เข้าโอบอุม้ มหาชน ยกขึน้ มาวางไว้
บนบกด้วยฤทธิ์แห่งนาค แล้วจึงแปลงเพศเป็นมนุษย์ขึ้นมาจากแม่น้ำพร้อมกับนางนาคมาณวิกาผู้เป็นธิดา
เข้าไปหาอุตรมาณพแล้วถามว่า

“ดูกร ท่านผูม้ คี ณ
ุ ! ข้าพเจ้านีช้ อ่ื ว่าพญาเอรกปัตตนาคราช อยากจะทราบว่าบัดนีอ้ งค์สมเด็จพระชินสีห์
สัมมาสัมพุทธเจ้าของเราประทับอยูท่ ไ่ี หน?“

“ ข้าแต่พระองค์ !” อุตรมาณพตอบ “สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา บัดนีป้ ระทับอยูท่ โ่ี คนต้นไม้


ใหญ่แห่งหนึง่ ซึง่ ไม่ไกลจากทีน่ ่ี ถ้าพระองค์มพี ระราชประสงค์จกั ไปเฝ้า ก็จงรีบไปเถิด พระเจ้าข้า“

พญาเอรกปัตตนาคราชในร่างของมนุษย์ จึงให้อตุ รมาณพนัน้ เดินนำหน้าไปเฝ้าสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า


อย่างรีบด่วน โดยมีมหาชนติดตามมาเป็นอันมาก ครัน้ เข้าไปในข่ายรัศมีแห่งสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคแล้ว ก็นอ้ ม
กายถวายนมัสการ แล้วยืนร้องไห้น้ำตาไหลซึมอยู่ไม่ขาดสาย ไม่สามารถที่จะกล่าวคำใดออกมาได้ สมเด็จ
พระพุทธองค์ จึงทรงมีพระพุทธฎีกาตรัสถามขึน้ ก่อนว่า

“ดูกร นาคราช ! ท่านมีความเศร้าโศกเสียใจ เพราะเหตุอะไร?“

พญานาคาธิบดี จึงกราบทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงเป็นบรมโลกนายก ! อันตัวข้าพระองค์น้ี เดิมทีเมือ่ ชาติกอ่ นนัน้ เคยเป็นพระภิกษุ


สาวกแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งทรงพระคุณอันประเสริฐสูงสุดเช่นเดียวกับพระองค์นี่แล ได้
บำเพ็ญสมณธรรมอยูส่ น้ิ กาลนานถึง ๒๐,๐๐๐ ปี แต่ไม่มวี าสนาทีจ่ ะได้บรรลุธรรมวิเศษในพระพุทธศาสนา เมือ่
ถึงกาลมรณาแล้ว ได้ถอื เอาอเหตุปฏิสนธิเกิดในกำเนิดสัตว์เดียรฉานเป็นนาคราช ตลอดเวลาชัว่ พุทธธันดรหนึง่ นี้
ข้าพระองค์ไม่ได้มโี อกาสไปเกิดเป็นมนุษย์ ไม่ได้มโี อกาสทีจ่ กั สดับพระสัทธรรมเทศนา ไม่ได้มโี อกาสทีจ่ กั ได้
ทอดทัศนาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเช่นกับพระองค์เลย เพิง่ จะมาได้สดับพระธรรมเทศนา และได้ทอดทัศนา
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอย่างเต็มนัยนาในเพลาวันนีแ้ หละ พระเจ้าข้า“

สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงแสดงพระสัทธรรมเทศนาแก่เขาเป็นใจความว่า

 ⌫ 


การทีจ่ กั ได้มโี อกาสเกิดเป็นมนุษย์ เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้โดยยาก
การมีชวี ติ อยูแ่ ห่งสัตว์บคุ คล ผูม้ อี นั จะต้องตายเป็นสภาพ เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้โดยยาก
การทีจ่ กั ได้มโี อกาสสดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนา เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้โดยยาก
การอุบตั เิ กิดแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทัง้ หลาย เป็นสิง่ ทีเ่ ป็นไปได้โดยยาก

พระโบราณาจารย์ผเู้ ป็นพุทธมัตตัญญูรพู้ ระพุทธาธิบายได้ขยายความแห่งพระสัทธรรมเทศนาคาถานีว้ า่

การทีส่ ตั ว์บคุ คลทัง้ หลาย จักได้มโี อกาสเกิดมาเป็นมนุษย์ในมนุษยโลกเรานี้ อย่าเข้าใจว่าเป็นสภาพที่


ได้งา่ ยๆ อยากจะมาเกิดก็มาเกิดเอง โดยหาเหตุหาปัจจัยอะไรไม่ได้ อย่าเข้าใจผิดอย่างนี้ อันทีจ่ ริงการทีจ่ ะมา
เกิดเป็นมนุษย์ได้นน้ั ต้องอาศัยกุศลอันยิง่ ใหญ่ทต่ี นเคยกระทำไว้ชกั นำให้มาเกิด ถ้าหาไม่แล้วก็จะต้องไปเกิด โน่น
ในอบายภูมิโน่นแหละอย่าสงสัยเลย การมีชีวิตอยู่แห่งสัตว์บุคคลหรือมนุษย์ทั้งหลายก็เหมือนกัน ที่ได้มี
ชีวติ อยูเ่ ป็นผูเ้ ป็นคนอยูท่ กุ วันนี้ อย่าได้เข้าใจว่าเป็นทีไ่ ด้โดยง่าย เพราะตามธรรมดา สังขารร่างกายของคนเรา
ทัง้ หลายมีอนั ทีจ่ ะต้องตายไปทุกขณะ ทุกนาที ชีวติ นิ ทรียข์ าดไปเมือ่ ใดเป็นต้องตายลงไปในขณะนัน้ ทันที แต่ท่ี
ยังไม่ตายอยูเ่ วลานี้ ก็เพราะชีวติ นิ ทรียย์ งั สืบต่ออยู่ ฉะนัน้ สมเด็จพระบรมครูจงึ ตรัสว่าชีวติ ของสัตว์ทง้ั หลายเป็น
สิง่ ทีไ่ ด้โดยยาก แม้การทีจ่ กั มีโอกาสได้สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนา ก็อย่าเข้าใจว่าเป็นสิง่ ทีไ่ ด้โดยง่ายดาย
เพราะว่าสมเด็จพระพุทธเจ้าทัง้ หลายซึง่ สามารถทีจ่ กั ทรงแสดงพระสัทธรรมเทศนา กว่าจะมาตรัสในโลกนีแ้ ต่ละ
พระองค์นน้ั นับเป็นเวลานานนักหนา และการอุบตั แิ ห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็อย่าเข้าใจว่าจะมา
ตรัสได้งา่ ยๆ ด้วยว่าท่านทีจ่ กั มาตรัสเป็นพระพุทธเจ้าได้นน้ั ต้องทรงสร้างพระบารมีเป็นเวลานานนับเป็นแสน
เป็นโกฏิมหากัป พระพุทธบารมีอนั ยิง่ ใหญ่สำเร็จลงแล้วเมือ่ ไรนัน่ แหละ พระองค์จงึ จักมีโอกาสมาอุบตั ติ รัสใน
โลกนีไ้ ด้ ฉะนัน้ การอุบตั เิ กิดแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทัง้ หลาย จึงเป็นสิง่ ทีไ่ ด้โดยยากยิง่ อย่างเหลือเกิน

มหาชนทั้งปวง ซึ่งสดับตรับฟังพระธรรมเทศนาที่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสให้พญาเอรกปัตตา
นาคาธิบดีได้สดับในเช้าวันนัน้ ต่างก็พากันมีจติ ศรัทธาเลือ่ มใส และได้บรรลุธรรมวิเศษเป็นอันมาก ฝ่ายพญา
นาคราชผูอ้ าภัพ ทัง้ ๆ ทีม่ ใี จมากไปด้วยความเลือ่ มใส ควรจะได้บรรลุธรรมวิเศษในพระบวรพุทธศาสนา อย่าง
น้อยก็ควรจะได้พระโสดาปัตติผลในวันนัน้ แต่กห็ าได้บรรลุไม่ ทัง้ นีก้ เ็ พราะตนเป็นอเหตุกปฎิสนธิเป็นอภัพพสัตว์
ไม่อาจจะมีปัญญาหยั่งทราบและรองรับธรรมวิเศษไว้ได้ ในที่สุด ก็ได้แต่เป็นผู้มีน้ำตาไหล ถวายนมัสการลา
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้ากลับไปยังนาคพิภพอันเป็นสถานทีอ่ ยูแ่ ห่งตนพร้อมกับนางนาคมาณวิกาผูเ้ ป็นธิดา
ด้วยประการฉะนี้

ในกรณีแห่งอาสันนกรรมฝ่ายอกุศล ให้ผลแก่บคุ คลก่อนกรรมอืน่ ทัง้ หมดนี้ มีตวั อย่างอีกเรือ่ งหนึง่ ซึง่


ควรจะนำมาบันทึกไว้ ณ ทีน่ ่ี ก็คอื ชีวประวัตขิ องอุบาสกผูม้ นี ามว่า

 ⌫⌫
มหาวาจกอุบาสก
ได้สดับมาว่า ครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ยังมีอุบาสกผู้หนึ่ง ซึ่งปรากฏนามว่ามหาวาจก เขาเป็นคนมี
ศรัทธาความเชือ่ ความเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนาเป็นอย่างยิง่ ทุกๆ เช้าเขาต้องบริจาคทานด้วยการถวาย
อาหารบิณฑบาตแก่พระภิกษุสงฆ์ แล้วก็ตง้ั ใจสมาทานศีล เมือ่ ถึงวันอุโบสถก็สมาทานองค์แห่งอุโบสถเป็นประจำ
นอกจากนัน้ ยังตัง้ อกตัง้ ใจสดับตรับฟังพระธรรมเทศนาจนเกิดมีปญ ั ญาแตกฉาน รูอ้ รรถรูธ้ รรมในทางศาสนาพอ
ประมาณ วันหนึง่ อุบาสกผูม้ ศี รัทธานัน้ รำพึงถึงชีวติ ตนทีเ่ กิดมาโชคดี โดยทีไ่ ด้เกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธ
ศาสนา แล้วก็เกิดความอิม่ อกอิม่ ใจ จึงคำนึงต่อไปว่า

“อันการทีต่ วั เรา จักได้รบั ประโยชน์อย่างแท้จริง เนือ่ งด้วยการเกิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนาใน


ชาตินน้ี น้ั หากว่าเป็นแต่เพียงบำเพ็ญทานรักษาศีล เพือ่ ได้บรรลุถงึ ความสุขในสวรรค์เทวโลก อันเป็นเพียงโลกีย
สมบัตแิ ล้ว ก็ยงั หาชือ่ ว่าได้ประโยชน์อย่างแท้จริงไม่ ต่อเมือ่ ใด เราได้บำเพ็ญภาวนาจนกระทัง่ ได้บรรลุมรรคผล
นิพพาน อย่างน้อยก็ให้ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันอริยบุคคลในพระบวรพุทธศาสนาแล้ว เมือ่ นัน้ แหละ จึงจะได้
ชือ่ ว่าได้รบั ประโยชน์อย่างแท้จริง ไม่เสียทีทเ่ี กิดมาเป็นมนุษย์พบพระพุทธศาสนา

เมือ่ เขามองเห็นคุณค่าแห่งการภาวนาดังนี้ ก็มใี จยินดีใคร่ทจ่ี กั บำเพ็ญภาวนากรรมฐานยิง่ นัก จึงถือเอา


อาการ ๓๒ มีเกสาเป็นอาทิ เจริญกายคตาสติกรรมฐาน อันเป็นส่วนสมถภาวนา อุตส่าห์เจริญอยูช่ า้ นานหลาย
สิบปี พระโสตาปัตติมรรคก็มไิ ด้ปรากฏ ก็จะปรากฏอย่างไรได้เล่า ด้วยว่าพระโสตาปัตติมรรคอันเป็นคุณวิเศษ
ทางพระพุทธศาสนานั้น จะปรากฏขึ้นมาได้ก็โดยอำนาจการเจริญวิปัสสนาภาวนาแห่งท่านผู้มีวาสนาบารมี
แต่ตาแก่อบุ าสกผูน้ ้ี มีโยนิโสมนสิการไม่ดี ไพล่ไปเจริญกายคตาสติกรรมฐาน อันเป็นอารมณ์แห่งสมถภาวนาเสีย
ด้วยเหตุนี้ เพราะโสตาปัตติมรรคญาณจึงปรากฏขึ้นไม่ได้ ถึงกระนั้นเขาก็ยังไม่ละความพยายาม อุตส่าห์
บำเพ็ญภาวนาต่อไปอย่างเดาสุม่ อีก เพราะค่าทีต่ นเป็นคนกลัวภัยในอบายภูมิ โดยมาทราบอย่างแน่ชดั ว่า

“ตราบใด ทีบ่ คุ คลยังไม่ได้บรรลุพระอริยมรรคพระอริยผล ยังเป็นปุถชุ นคนมีกเิ ลสหนาอยู่ ตราบนัน้ ก็


จะต้องท่องเทีย่ วเวียนว่ายตายเกิดไปในห้วงทะเลใหญ่ กล่าวคือวัฏสงสารอย่างไม่มวี นั สิน้ สุด และในการท่อง
เทีย่ วอยูใ่ นวัฏสงสารนัน้ บางกาลบางคาบก็ยอ่ มพลาดพลัง้ ลงไปเกิดในอบายภูมิ คือเกิดเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต
เป็นอสุรกาย เป็นสัตว์เดียรฉาน อย่างใดอย่างหนึง่ ก็ได้ ด้วยเหตุน้ี เราจะบำเพ็ญเพียรกระทำภาวนาไปจนกว่า
จะได้บรรลุมรรคผล“

เกิดมุมานะขึน้ มาในดวงจิตดังนีแ้ ล้ว ก็ตง้ั หน้าเจริญกายคตาสติกรรมฐานต่อไปอีก แต่กห็ าได้สำเร็จเป็น


พระโสดาบันอริยบุคคลตามปรารถนาไม่ ในทีส่ ดุ หลังจากทีไ่ ด้บำเพ็ญาภาวนาตัง้ แต่หนุม่ จนแก่จวนจะตายนัน้
เป็นเวลานานได้ ๕๐ ปี แล้วก็ให้เหน็ดเหนือ่ ยและเบือ่ ระอาเป็นทีส่ ดุ ....และแล้วอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลก็ผลุดขึน้
ทางมโนทวาร ทำให้อบุ าสกผูน้ น้ั เกิดความคิดวิปริต พาลพาโลเปะปะไปตามประสาแห่งคนผูพ้ ลาดหวังว่า

 ⌫ 


“ศาสนาของพระพุทธเจ้าไม่ได้ความอะไรมากนัก ! คือเป็นสักแต่ว่าแนะให้คนบำเพ็ญทานรักษาศีล
เพือ่ เป็นอุบายสอนให้คนมีจติ ใจเผือ่ แผ่ไม่เบียดเบียนกัน ชาวโลกจะได้อยูก่ นั อย่างสันติ....ก็เท่านัน้ เอง ! นรก สวรรค์
บาป บุญ คุณ โทษ มีที่ไหนกัน วัฏสงสารก็ไม่มี ถึงมีศาสนานี้ก็ไม่เป็นนิยยานิกธรรม คือนำสัตว์ออกจาก
กองทุกข์ในวัฏสงสารไม่ได้ แม้มรรคผลนิพพานอันเป็นผลได้จากการเจริญภาวนาก็ไม่มชี ะรอยศาสนานีจ้ ะบัญญัติ
เรือ่ งภาวนาไว้ เพือ่ เป็นเครือ่ งล่อใจให้คนทัง้ หลายเห็นว่าเป็นศาสนาทีส่ งู ชักจูงให้คนหลงปฏิบตั ไิ ด้รบั ความเหนือ่ ย
ยากเล่นเท่านัน้ เอง ความจริงแล้วมรรคผลนิพพานอันประเสริฐไม่มี ดูแต่อาตมานีซ่ ิ ฮึ ! บำเพ็ญภาวนามาตัง้ นาน
ด้วยความเหนือ่ ยยาก ตลอดชีวติ อุทศิ เวลาให้กบั การภาวนา เกือบจะเรียกว่าไม่ได้ทำมาหากิน บำเพ็ญมาจน
จวนจะสิน้ ชีวติ อยูแ่ ล้วก็ไม่เห็นจะได้อะไร ถ้ามรรคผลนิพพานในศาสนานีม้ จี ริง ป่านนีก้ ค็ งจะได้กบั เขาบ้างแล้ว
แน่นอนคงไม่มดี อก เรือ่ งนรกสวรรค์ มรรคผลนิพพาน คงจะเป็นอุบายอันแสนฉลาดของพระโคดมพุทธเจ้าท่าน
สำหรับสอนคนโบราณสมัยก่อน ซึง่ ยังโง่เง่าอยูต่ า่ งหากเล่า เราก็หลงเชือ่ ถือเอาจริงเอาจังให้เป็นบ้าไปได้ เพิง่
จะมารูค้ วามจริงเอาเมือ่ คราวจะสิน้ ใจนีเ่ อง โธ่เอ๋ย กูหนอกู โง่เสียตัง้ นาน“

ครัน้ ตะแกเกิดอกุศลจิต คิดวิปริตเตลิดเปิดเปิงไปตามอารมณ์อนั ไม่รเู้ รือ่ ง ก็เลยเกิดโกรธเคืองศาสนา


หมดศรัทธาเลือ่ มใสแล้วก็ขาดใจตาย โคแก่คอื อาสันนกรรมฝ่ายอกุศล ซึง่ มีกำลังน้อยเพียงนิดเดียวในขณะทีจ่ วน
จะตายนี้ ได้โอกาสแล้ว ก็เข้าตัดหน้าโคหนุ่ม คือกุศลกรรมความดีต่างๆ ที่แกทำไว้แต่ปางหลังมากมายเสีย
โดยชักนำให้ตะแกไปบังเกิดในอบายภูมิ ถือกำเนิดเป็นจระเข้สตั ว์เดียรฉาน ต่อมาไม่นาน จระเข้อดีตมหาวาจก
อุบาสกนัน้ ก็เจริญวัยใหญ่วฒ ั นา มีกายยาวใหญ่ได้ประมาณ ๘ อุสภุ ะ เทีย่ วหากินอยูใ่ นลำน้ำมหาคงคา สมัย
หนึ่งมีพ่อค้าเกวียนบรรทุกเสาศิลามาสู่ที่ใกล้ที่อยู่แห่งจระเข้ใหญ่นั้น ด้วยฤทธิ์โมหันต์ตามประสาเดียรฉาน
จระเข้กก็ ระทำปาณาติบาตกรรมกัดกินสิน้ ทัง้ โคเทียมเกวียนและก้อนศิลา เป็นทีน่ า่ สังเวชใจนักหนา สำหรับผู้
ทีไ่ ด้รชู้ วี ประวัตขิ องมันแต่เดิมมา เลยเกิดมีปญ
ั หาขึน้ มา เพือ่ ให้แน่ใจอีกว่า

“การทีม่ หาวาจกอุบาสก ซึง่ แต่เดิมทีกเ็ ป็นคนมีศรัทธาได้ประกอบการกุศลไว้ในพระบวรพุทธศาสนา


มากมาย ให้ทานรักษาศีลและเจริญภาวนา เขาก็ทำมาอย่างครบถ้วนบริบรู ณ์ ครัน้ เมือ่ ตายแล้ว แทนทีจ่ ะไป
เสวยผลบุญในสุคติโลกสวรรค์ กลับไปเกิดเป็นสัตว์เดียรฉานจระเข้ใหญ่ได้เสวยทุกข์ ตามเรือ่ งทีเ่ ล่ามาเมือ่ ตะกี้
นีก้ ด็ ี และการทีพ่ ระภิกษุหนุม่ ในศาสนาแห่งองค์สมเด็จพระกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ เฝ้าบำเพ็ญสมณธรรม
มานานถึง ๒๐,๐๐๐ ปี เมือ่ ตายแล้ว แทนทีจ่ ะได้ไปบังเกิดเป็นเทพยดาเสวยสุขอยูใ่ นสรวงสวรรค์ กลับได้ไป
เกิดเป็นสัตว์เดียรฉานในตระกูลพญานาคราช ตามเรือ่ งก่อนก็ดี ทีเ่ ป็นดังนีเ้ พราะเหตุไร?“

วิสชั นาว่า กรรมของสัตว์ ! คือกรรมของเขานัน่ เอง มิใช่เพราะเหตุอน่ื ใดดอก อาสันนกรรมฝ่ายอกุศล


ทีบ่ งั เกิดขึน้ แก่เขาในขณะทีใ่ กล้จะตาย เป็นเหตุดลบันดาลให้เป็นไป โดยมันเข้าทำหน้าทีช่ งิ ให้ผลก่อนทีก่ รรมดี
อันมากมาย ทีเ่ ขากระทำไว้จะให้ผลแก่เขา

 ⌫⌫
เห็นจะพอกันทีละกระมัง เรือ่ งอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลนี่ ทีนเ้ี ราจะพูดกันถึง เรือ่ งอาสันนกรรมฝ่ายกุศล
บ้าง อาสันนกรรมฝ่ายกุศลนี้ ก็ยอ่ มมีพฤติการณ์เช่นเดียวกับฝ่ายอกุศลทีก่ ล่าวมาแล้ว คือรีบชิงให้ผลดีแก่
บุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมก่อนกรรมอืน่ ๆ ไม่วา่ บุคคลผูน้ น้ั จะมีบาปมีกรรมมากมาย ประพฤติชว่ั ช้าเลวทรามมา
อย่างไร แต่เมื่อถึงคราวจะตาย หากมีอาสันนกรรมฝ่ายกุศลบังเกิดขึ้นแล้ว อาสันนกรรมฝ่ายกุศลนี้ ก็จักทำ
หน้าทีช่ กั นำให้เขาไปบังเกิดในสุคติภพทันที โดยไม่มกี รรมอืน่ ใดทีจ่ กั มาหักห้ามได้ ในกรณีทอ่ี าสันนกรรม ฝ่ายกุศล
เข้าทำหน้าทีช่ งิ ให้ผลแก่บคุ คลก่อนกรรมอืน่ นี้ มีตวั อย่างตามเรือ่ งทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

โทวาริกทมิฬเทวา
ได้สดับมาว่า ณ หมูบ่ า้ นมธุองั คณาคาม มีบรุ ษุ ผูห้ นึง่ ซึง่ มีรา่ งกายสูงใหญ่และดำกำยำ นามของ
เจ้าผูน้ เ้ี ป็นทีร่ จู้ กั กันอยูท่ ว่ั ทัง้ หมูบ่ า้ นว่านายโทวาริกทมิฬ เขามีอาชีพเป็นพรานเบ็ด เช้าตรูท่ กุ ๆ วัน ออโทวาริก
ทมิฬผูม้ สี นั ดานเป็นคนบาปหยาบช้า เพือ่ นไม่นกึ ถึงบาปบุญคุณโทษหรือโลกนีโ้ ลกหน้าทัง้ สิน้ มุง่ แต่ทำมาหากิน
ในทางปาณาติบาต คว้าเอาเบ็ดไปเที่ยวตกปลาทั้งหลาย ครั้นตกปลาได้มากพอแก่อัธยาศัยแล้วก็กลับมาสู่
เคหะสถานแห่งตน จัดการแบ่งปลาทีต่ กมาได้นน้ั แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน เป็นค่าข้าวสารส่วน ๑ เป็นค่านมข้น
ส่วน ๑ ปิง้ หรือต้มแกงกินเองส่วน ๑ เขาเลีย้ งชีวติ ด้วยปาณาติบาตกรรมเช่นนี้ มาตัง้ แต่หนุม่ จนชรานับเป็น
เวลาช้านานประมาณ ๕๐ ปีเศษ จนเกิดความชำนิชำนาญในการตกปลาอย่างเยีย่ มยอดไม่มใี ครสูไ้ ด้ ฆ่าปลา
มัจฉาชาติเสียมากหลายไม่รวู้ า่ กีแ่ สนกีล่ า้ นตัว อยูต่ อ่ มา ออโทวาริกทมิฬสันดานหยาบบาปหนานี้ เมือ่ ถึงกาล
ชราแล้ว บังเกิดโรคพยาธิเป็นอนุฎฐานวิสยั คือล้มไข้ใกล้จะตายลุกไม่ขน้ึ นอกแซ่วตาปริบๆ อยูบ่ นเตียงทีต่ าย
เห็นพญามัจจุราชจะมาฉุดกระชากลากตนลงไปนรกอยูร่ ำไร

ในกาลครัง้ นัน้ มีพระเถระรูปหนึง่ มีนามปรากฏว่าพระจุฬปิณฑปาติยติสสเถระ ซึง่ จำพรรษาในคิรวี หิ าร


ใกล้บ้านของนายโทวาริกทมิฬนั้น เมื่อท่านทราบว่าเขาป่วยหนักเป็นไข้ใกล้จะตาย พระผู้เป็นเจ้าก็ให้บังเกิด
ความสงสาร ดำริในใจว่า

“นายโทวาริกทมิฬเป็นคนมีบาปหนา กระทำปาณาติบาตฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ มาช้านาน เมือ่ ถึงกาลกิรยิ าตาย


ไปแล้ว คงไม่แคล้วจักต้องไปเกิดในอบายภูมิ นึกดูแล้วน่าสงสารนัก อาตมาอยูท่ น่ี ก่ี ไ็ ม่ไกลกับบ้านเขานัก อย่า
กระนัน้ เลย จำอาตมาจะคิดอนุเคราะห์แก่สตั ว์ผไู้ ด้ยาก อย่าให้สตั ว์ผนู้ ต้ี อ้ งฉิบหายได้ทกุ ข์ในนรกเลย“

เมือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้าดำริดงั นีแ้ ล้ว ก็นงุ่ สบงทรงจีวรให้เรียบร้อยตามสมณวิสยั แล้วออกจากคิรวี หิ ารมายืน


อยูแ่ ทบประตูเรือนแห่งโทวาริกทมิฬบุรษุ นัน้ สำแดงกายให้ปรากฏแก่ภรรยาของเขาในตอนอรุณรุง่ เช้า ภรรยา
ของเขาผูซ้ ง่ึ กำลังโศกเศร้ากลัวสามีจะตาย เมือ่ ได้เห็นพระผูเ้ ป็นเจ้ามายืนอยูแ่ ทบประตูเรือน ซึง่ เป็นเหตุการณ์
ทีไ่ ม่เคยปรากฏมาก่อนเลยเช่นนัน้ จึงเข้าไปบอกแก่สามีวา่

 ⌫ 


“ข้าแต่พ่ี ! ท่านพระจุฬปิณฑปาติยติสสเถระ ซึง่ จำพรรษาอยูค่ ริ วี หิ าร ท่านมายืนอยูท่ ป่ี ระตูเรือนของเรา“

นายโทวาริกทมิฬผูก้ ำลังเจ็บหนักได้ฟงั ดังนัน้ จึงค่อยบอกแก่ภรรยาว่า

“แต่ขา้ อยูท่ น่ี ม่ี านานประมาณ ๕๐ ปีเศษแล้ว ข้ายังไม่ได้ไปมาหาสูท่ า่ นเลย ท่านคงมาด้วยธุระสิง่ ใดสิง่
หนึง่ ซึง่ ว่าจะมาเยีย่ มไข้ขา้ นัน้ ก็เห็นผิดนัก ชะรอยว่าท่านจักมาบิณฑบาตจะเอาข้าวปลาอาหารทีไ่ หนมาใส่บาตร เล่า
เพราะเกิดมาเราไม่เคยคิดเตรียมทีจ่ ะใส่บาตรถวายทานเลย ฉะนัน้ เจ้าจงไปนิมนต์ให้ทา่ นไปโปรดข้างหน้าเถิด “

ภรรยาคูย่ ากของเขา รับคำแล้วก็ออกมานิมนต์พระมหาเถระว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ขอนิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้าจงไปโปรดสัตว์ขา้ งหน้าเถิดเจ้าข้า“

“ดูกร อุบาสิกา ! “พระมหาเถระกลับเรียกยายเฒ่า แล้วถามว่า“ อุบาสกซึง่ เป็นไข้อยูน่ น้ั ค่อยทุเลา


เบาบางหรือเป็นประการใด ลุกขึน้ ได้แล้วหรือยัง?“

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ยายเฒ่ากราบลงแล้วเล่าน้ำตาไหล “สามีของข้าพเจ้าเป็นโรคชราทุพพลภาพ


หนักหากำลังมิได้ กำลังน้อยลงทุกๆ วัน น่าสงสารนัก“

“ถ้ากระนัน้ อาตมาจักขออนุญาตเข้าไปเยีย่ มจักได้หรือไม่เล่า?“

“นิมนต์เถิด เป็นพระเดชพระคุณแก่อฉิ นั และสามีอย่างเหลือเกินแล้ว เจ้าข้า“ หญิงชรากล่าวแล้วกราบ


ลงอีก ด้วยความตืน้ ตันใจ

พระจุฬปิณฑปาติยติสสเถระ จึงย่างเท้าก้าวเข้าไปในเรือน เตือนสติให้นายโทวาริกทมิฬ ผูใ้ กล้จะตาย


เกิดความเลือ่ มใสในบวรพระพุทธศานา ด้วยธรรมิกถาพอสมควร
“ขอพระผูเ้ ป็นเจ้า จงเป็นทีพ่ ง่ึ ของข้าพเจ้าผูใ้ กล้จะตายนีด้ ว้ ยเถิด เจ้าข้า“ เขากล่าววิงวอน หลังจากฟัง
ธรรมีกถาและเกิดความเสียใจทีต่ นไม่เคยได้ทำบุญกุศลไว้เลย

“ทีพ่ ง่ึ ในขณะนี้ ไม่มอี ะไรดีไปกว่าไตรสรณคมน์และศีล” พระผูเ้ ป็นเจ้าบอกแก่เขา และกล่าวต่อไปว่า


“ขออุบาสกจงตัง้ ใจรับไตรสรณคมน์และศีลให้จงดีเถิด“

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้าพร้อมแล้ว ขอนิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้าให้สรณคมน์และศีลในบัดนีเ้ ถิด“ เขา


กล่าวทัง้ ๆ ทีย่ งั นอกหลับตาอยูบ่ นเตียง

 ⌫⌫
พระมหาเถระเจ้าจึงบอกให้เขารับไตรสรณคมน์ เริม่ แต่งแต่ปพุ พภาคคนมการคือ นโม ตสฺส เป็นต้นไป
โดยพระผูเ้ ป็นเจ้ากล่าวนำให้เขาว่าตามเป็นคำๆ ไป แต่พอรับไตรสรณคมน์จบลงแล้ว นายโทวาริกทมิฬผูไ้ ข้
หนักนัน้ ก็เกิดมีอาการลิน้ แข็งกระด้าง หมดความสามารถ มิอาจทีร่ บั ศีล ๕ ต่อไปได้ พระมหาเถระจึงดำริวา่
แต่เพียงรับไตรสรณคมน์ได้เท่านี้ นายโทวาริกทมิฬผูม้ บี าป ก็พอควรจะเอาตัวรอดได้อยูแ่ ล้ว ดำริดงั นีพ้ ระเถระผู้
มีเมตตาก็ออกมาจากเรือนเดินทางต่อไป เพือ่ บิณฑบาตตามสมณวิสยั แล้วกลับไปสูค่ รี วี หิ าร

ฝ่ายนายโทวาริกทมิฬผูล้ น้ิ แข็งเข้าขัน้ ตรีทตู เมือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้าลงจากเรือนตนก็ขาดใจตาย ด้วยอำนาจ


แห่งอาสันนกรรมฝ่ายกุศล ซึ่งเกิดขึ้นแก่เขาในขณะที่ใกล้จะตาย เพราะมีใจศรัทธาเลื่อมใสในพระบวร
พุทธศาสนา ได้รบั ไตรสรณคมน์นน้ั ครัน้ เขาทำลายเบญจขันธ์ขาดใจตายแล้ว ก็ได้ขน้ึ ไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นเทวดา
สถิตอยู่ ณ จาตุมหาราชิกาชัน้ ฟ้า เสวยทิพยสมบัตเิ ป็นสุขอย่างน่าอัศจรรย์ใจ ในขณะเมือ่ อุบตั บิ งั เกิดเป็นเทวดา
แล้วนัน้ เขาบังเกิดความอัศจรรย์ในในความเปลีย่ นแปลงของตนเองเป็นยิง่ นัก จึงค่อยพิจารณาดูวา่

“อาตมาได้ประกอบการกุศลสิง่ ใดหนอ จึงมาได้สมบัตใิ นเทวโลกเห็นปานฉะนี?้ “

เมือ่ พิจารณาดูไป ก็ทราบได้ดว้ ยอำนาจแห่งเทพวิสยั โดยตลอดว่า

“อาตมาได้สมบัติอันประเสริฐนี้ ก็เพราะอาศัยพระผู้เป็นเจ้าจุฬปิณฑปาติยติสสเถระ ท่านมีเมตตา


กรุณามาให้พระไตรสรณคมน์แก่อาตมา อนึง่ ทิพยสมบัตทิ ง้ั ปวงทีอ่ าตมาได้น้ี ก็เพราะความทีอ่ าตมามีจติ ศรัทธา
รับเอาพระไตรสรณคมน์มาเป็นทีพ่ ง่ึ ของชีวติ ตามคำแนะนำของพระผูเ้ ป็นเจ้า พระผูเ้ ป็นเจ้านัน้ ท่านมีคณุ แก่
อาตมานี้เป็นนักหนา สมควรที่อาตมาจะลงไปถวายนมัสการพระผู้เป็นเจ้าโดยไม่ชักช้า สมควรที่อาตมาจะ
สำแดงคุณของพระผูเ้ ป็นเจ้าให้ปรากฏในกาลบัดนี“้

มีเทวดำริดงั นีแ้ ล้ว โทวาริกทมิฬเทวาจึง่ คมนาการลงมาจากเทวโลกด้วยเทพฤทธิ์ เมือ่ มาถึงก็ได้ทอด


ทัศนาเห็นพระผูเ้ ป็นเจ้าจุฬปิณฑปาติยติสสเถระกำลังเดินจงกรมอยูใ่ นตอนบ่ายทีช่ ายป่าใกล้คริ วี หิ าร จึงเข้าไป
ถวายนมัสการพระมหาเถระด้วยความเคารพอย่างสูงแล้ว ก็ประดิษฐานอยูใ่ นทีส่ ดุ ทีจ่ งกรม

“ดูกรเทวดา ! ท่านนีม้ นี ามว่ากระไร และสถิตอยูเ่ ทวโลกชัน้ ไหน?“ พระมหาเถระผูม้ ที พิ ยจักษุกล่าว


ถามขึน้

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้านีใ้ ช่ใครอืน่ ทีแ่ ท้คอื บุรษุ ชัว่ ช้าชือ่ โทวาริกะ ซึง่ พระผูเ้ ป็นเจ้ามีเมตตา
กรุณาไปโปรดเมือ่ เช้านีอ้ ย่างไรเล่า“ เทวดาผูก้ ายงามสง่ารุง่ เรืองไปด้วยรัศมีกล่าวตอบ

“ อ้อ ! ท่านดอกหรือ ท่านไปบังเกิดทีไ่ หนเล่านี?่ “

 ⌫ 


“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้าตายจากโลกนีแ้ ล้ว ไปบังเกิดในจาตุมหาราชิกา เทวโลก ซึง่ เป็นสวรรค์
ชัน้ ต่ำเท่านัน้ เอง เจ้าข้า“

“ดีแล้ว เทวดา ! อาตมาขอนุโมทนาด้วย ทีท่ า่ นได้ไปเกิดในสุคติภมู “ิ

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้าคิดว่าเมือ่ เช้านี้ หากพระผูเ้ ป็นเจ้าให้ศลี ๕ แก่ขา้ พเจ้าแล้ว ข้าพเจ้าคง


จักมีโอกาสได้ไปบังเกิดในเทวโลกชั้นสูงกว่านี้แน่นอน แต่นี่พระผู้เป็นเจ้าให้ข้าพเจ้ารับเพียงไตรสรณคมน์
ข้าพเจ้าจึงได้ทิพยสมบัติเพียงแค่สวรรค์ชั้นจาตุมหาราชิกานี้ เจ้าข้า“ เทวดาอดีตพรานเบ็ดใจบาปหยาบช้า
กล่าวเหมือนจะต่อว่าพระมหาเถระกลายๆ ด้วยความเสียดายทีต่ นไม่ได้ประกอบกองการกุศลอะไรไว้เมือ่ ครัง้
ยังมีชวี ติ อยู่

พระมหาเถระผูม้ เี มตตากรุณแก่เขาจึงกล่าวตอบว่า
“ดูกรเทวดาเอ๋ย ! จะทำอย่างไรได้เล่า เพราะเมือ่ เช้านี้ พอท่านรับพระไตรสรณคมน์เสร็จแล้ว ท่านก็
มีอาการหนักชักตาตัง้ ลิน้ แข้งกระด้าง ไม่สามารถทีจ่ ะรับศีลต่อไปได้ ทัง้ ๆ ทีอ่ าตมาก็ตง้ั ใจไว้วา่ จักให้ศลี ๕ แก่
ท่านอยูแ่ ล้ว แต่กจ็ นใจเพราะความไม่ได้สติสมั ปชัญญะของท่านเอง“

“แค่น้ี ก็เป็นพระเดชพระคุณแก่ขา้ พเจ้าอย่างหาทีส่ ดุ มิได้แล้ว“

เทวดาใหม่ในชัน้ จาตุมหาราชิกาสวรรค์ กล่าวดังนีแ้ ล้ว ก็ถวายนมัสการลาพระมหาเถระผูม้ คี ณ


ุ กลับ
ไปสูท่ พิ ยวิมาน อันเป็นสถานทีอ่ ยูแ่ ห่งตน ณ จาตุมหาราชิกาสวรรค์ ด้วยประการฉะนี้

ก็ในกรณี แห่งอาสันนกรรมฝ่ายกุศล มีอำนาจให้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมก่อนกรรมอืน่ ทัง้ หมดนี้


มีตวั อย่างอีกเรือ่ งหนึง่ ซึง่ เราท่านควรจะทราบไว้ในทีน่ ก่ี ค็ อื เรือ่ งของพระราชาผูท้ รงพระนามว่า อุทยราชา

อุทยราชา
ได้สดับมาว่า อดีตกาลนานมาแล้ว ยังมีเศรษฐีในเมืองพาราณสีคนหนึง่ ซึง่ มีนามว่าสุจบิ ริวารเศรษฐี
ท่านผูน้ ม้ี ฐี านะมัง่ คัง่ มีทรัพย์สมบัตอิ ยูใ่ นบ้านหลายร้อยล้าน เขาเป็นคนมีสนั ดานสะอาด ยินดีในการก่อสร้างกอง
บุญกุศล บริจาคทานและรักษาศีลเป็นประจำเมื่อถึงวันอุโบสถ เขาย่อมแนะนำบุตรภรรยาตลอดจนพวกทาส
กรรมกรในบ้าน ให้พากันรักษาองค์อโุ บสถ จนปรากฏเป็นธรรมเนียมในบ้านนัน้ ว่า เมือ่ ถึงวันอุโบสถแล้ว ทุก
คนต้องงดเว้นจากกิจการงานต่างๆ และสมาทานองค์อโุ บสถ เพือ่ ประโยชน์แก่ชวี ติ ตนไปปรโลกภายภาคหน้า

 ⌫⌫
กาลครัง้ นัน้ มีบรุ ษุ หนุม่ ผูห้ นึง่ ซึง่ เกิดในตระกูลเข็ญใจ เติบใหญ่ขน้ึ มาก็ประกอบอาชีพด้วยการรับจ้าง
เขาทำงานหนักสารพัดตามประสาคนจน คราวหนึง่ ว่างงาน ไม่มเี งินจะซือ้ อาหารรับประทาน เขาจึงออกเดินหา
งานเรือ่ ยไป ในทีส่ ดุ มาถึงรัว้ บ้านของท่านเศรษฐี จึงตัดสินใจเข้าไปหาท่านเพือ่ ของานทำ ท่านเศรษฐีจงึ ว่า

“ดูกร พ่อเอ๋ย ! คนที่มาสมัครทำงานอยู่กับเราที่นี่ ต้องเป็นคนดีมีศีลมีสัตย์ คือต้องรักษาศีล เจ้า


สามารถจะรักษาศีลได้ไหมเล่า เมือ่ เจ้าสามารถรักษาศีลให้ตลอดไปได้แล้ว เราจึงจะรับเข้าทำงาน แต่วา่ เรานีก้ ็
สงสารเจ้า เอาอย่างนีด้ กี ว่า คือว่าเจ้าทำงานอยูก่ บั เราเรือ่ ยไปก่อนแล้วจึงค่อยรักษาศีลทีหลัง“

แล้วท่านเศรษฐีกส็ ง่ั บรรจุให้เขาเข้าทำงานในแผนกงานหนักภายนอกบ้าน โดยไม่ได้บอกวิธรี กั ษาศีลให้


แก่เขาเลย ทัง้ นีเ้ พราะท่านเศรษฐีบงั เอิญมีธรุ ะทีจ่ ะต้องรีบทำในขณะนัน้ มากมาย ชายเข็ญใจผูเ้ ป็นคนงานใหม่
เมือ่ รับมอบหมายให้ทำงานแล้วก็รบี เร่งออกไปทำงานหนักนอกบ้านทุกๆ วัน เขาต้องออกจากบ้านท่านเศรษฐี
แต่เช้าตรู่ กว่าจะเสร็จงานกลับมาได้กเ็ ป็นเวลาค่ำมืด แต่เขาก็หาท้อถอยไม่ อุตส่าห์ทำงานไปด้วยความขยัน
ขันแข็ง จนเป็นทีพ่ อใจของหัวหน้างานแห่งท่านเศรษฐีนน้ั

ครัน้ วันอุโบสถมาถึง ท่านเศรษฐีผใู้ คร่ในการประกอบคุณงามความดี จึงเรียกประชุมผูค้ นในบ้านแล้ว


ประกาศว่า

“วันนีเ้ ป็นวันอุโบสถ เป็นวันทีพ่ วกเราจักต้องทำประโยชน์อย่างแท้จริงให้แก่ตวั เรา เพือ่ ความสุขสบายใน


ปรโลกภายภาคหน้า ฉะนัน้ ขอท่านทัง้ หลายจงอย่าได้มคี วามประมาท เหล่าทาสกรรมกรผูม้ หี น้าทีห่ งุ หาอาหาร
ก็จงอย่าได้ชา้ จงเร่งหุงหาอาหารรับประทานให้อม่ิ หนำสำราญกันทัว่ ๆ ก่อนเทีย่ ง แล้วจงเป็นผูร้ กั ษาองค์อโุ บสถ
งดอาหารเย็นพร้อมกันทุกคนเถิด“

เมือ่ คนในบ้านนัน้ ซึง่ มีทา่ นเศรษฐีเป็นประธาน บริโภคอาหารเสร็จเรียบร้อยในตอนสายวันนัน้ แล้ว ทุก


คนต่างก็สมาทานเอาองค์แห่งอุโบสถ ๘ ประการ แล้วก็แยกย้ายกันไปสูท่ อ่ี ยูข่ องตน ใคร่ครวญพิจารณาถึงศีล
และอานิสงส์แห่งศีลอยูด่ ว้ ยความเอิบอิม่ ใจ โดยไม่ตอ้ งประกอบการงานใดๆ ในวันนัน้ ทัง้ สิน้ ฝ่ายคนงานหน้าใหม่
ผูไ้ ม่รธู้ รรมเนียมของบ้าน วันนัน้ เขาตืน่ แต่เช้าตรูก่ อ่ นคนทัง้ ปวง แล้วก็รบี ออกเดินทางไปทำงานนอกบ้านแต่ผู้ เดียว
ให้เฉลียวใจอยูเ่ หมือนกันว่า เหตุไฉน วันนีจ้ งึ ไม่มใี ครออกมามำงานร่วมกับตนเหมือนวันก่อนๆ แต่กเ็ ข้า ใจไปว่า
คนทั้งหลายซึ่งเป็นเพื่อนร่วมงาน คงจักถูกใช้ให้ไปทำงานในที่อื่น จึงทำงานอยู่ในที่นั้นคนเดียวตลอดวัน
พอสายัณห์สมัยใกล้คำ่ ถึงเวลาเลิกงานแล้ว เขาก็เดินทางกลับบ้านท่านเศรษฐีอนั เป็นทีพ่ กั พอมาถึงก็จดั แจง
อาบน้ำชำระกาย ให้ผดิ สังเกตนึกสงสัย เพราะไม่เห็นคนทัง้ หลายเดินพลุกพล่านเช่นวันก่อนๆ เมือ่ เขาอาบน้ำ
เสร็จแล้ว กรรมกรผูใ้ จดีซง่ึ มีหน้าทีห่ งุ หาอาหารและได้เก็บอาหารไว้ให้แก่เขาตัง้ แต่ตอนเช้าด้วยความเป็นห่วง
เกรงว่าจะหิว ก็นำเอาอาหารมามอบให้และบอกให้บริโภค เขาจึงถามเจ้าหน้าทีผ่ ใู้ จอารีนน้ั ว่า

 ⌫ 


“ทุกๆ วันมา เพลานีย้ อ่ มปรากฏมีเสียงโกลาหลวุน่ วาย แต่เหตุไฉนวันนีจ้ งึ เงียบผิดสังเกต คนทัง้ หลาย
ในบ้านนี้ พากันไปเทีย่ วทีไ่ หนหรือ?“

“เปล่า ! ไม่ได้ไปเทีย่ วทีไ่ หนกันดอก วันนีเ้ ป็นวันอุโบสถทุกคนพากันสมาทานศีลอุโบสถ ไม่บริโภค


อาหารเย็น ไม่ทำงานอะไร ตัง้ ใจรักษาศีลของตนให้บริสทุ ธิ์ การรักษาอุโบสถศีลเป็นธรรมเนียมของบ้านนีม้ า
แต่ไหนแต่ไรแล้ว“

ชายเข็ญใจได้ฟงั คำชีแ้ จงของเจ้าหน้าทีผ่ มู้ นี ำ้ ใจอารีเช่นนี้ จึงเกิดความคิดขึน้ ว่า

“การทีค่ นทัง้ หลายในบ้านนี้ ตัง้ แต่ทา่ นเศรษฐีผเู้ ป็นหัวหน้าบ้านลงมา จนถึงเด็กเล็กทุกคน ต่างก็เป็นผู้


มีศลี แต่เราเป็นผูท้ ศุ ลี เป็นผูไ้ ม่มศี ลี อยูค่ นเดียว หาเป็นการสมควรไม่ เพราะเป็นสภาพทีน่ า่ ละอายใจยิง่ นัก จำ
เราจักไปถามท่านเศรษฐีถงึ เรือ่ งการรักษาอุโบสถศีลนีด้ “ู

คิดดังนีแ้ ล้ว ยังไม่ทนั ได้บริโภคอาหารเย็นทีเ่ ขานำมาเอาให้ ด้วยความเป็นคนใจร้อน จึงขึน้ ไปบนเรือน


ใหญ่เข้าไปหาท่านเศรษฐี แล้วเรียนถามถึงเรือ่ งอุโบสถศีล เมือ่ ท่านเศรษฐีชแ้ี จงให้ฟงั จบแล้วจึงเรียนถามขึน้ ว่า

“ถ้าข้าพเจ้าจักรักษาอุโบสถศีลในกาลบัดนี้ จะได้หรือไม่?”

“ก็ได้“ ท่านเศรษฐีตอบ แล้วกล่าวต่อไปว่า “ถ้าเจ้ามีศรัทธาจะรักษาอุโบสถศีลในบัดนีก้ ไ็ ด้อยู่ แต่วา่ เจ้า


ย่อมได้อโุ บสถกรรมเพียงครึง่ เดียวเท่านัน้ ! ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่าเจ้าไม่ได้อธิษฐานอุโบสถแต่เช้าเหมือนคนอืน่ เขา
เพิง่ จะมาคิดอธิษฐานเอาในตอนค่ำนี“้

“ครึง่ เดียวก็เอา ดีขอรับกระผม“ เขาตอบแล้วก็ตง้ั ใจสมาทานอุโบสถศีล โดยมีทา่ นเศรษฐีเป็นอาจารย์สอน


เสร็จแล้วจึงกราบลาด้วยความเคารพนับถือ

“อย่าเผลอไปบริโภคอาหารเข้าเล่า ศีลทีส่ มาทานไปเมือ่ ตะกีน้ จ้ี ะขาด“ ท่านเศรษฐีสง่ั กำชับไล่หลังมาใน


ขณะทีเ่ ขากราบลามาสูห่ อ้ งพักแห่งตน

ตัง้ แต่บริโภคอาหารเช้าเพียงเล็กน้อยทีน่ ำเอาติดตัวไป แล้วก็ไม่ได้บริโภคอะไรอีกเลย เพราะไม่มใี ครนำ


ไปส่ง และตนก็ตอ้ งทำงานหนักตลอดทัง้ วัน หวังจะบริโภคให้อม่ิ หนำในตอนค่ำ แต่กใ็ ห้มอี นั เป็นมาเกิดศรัทธา
รักษาอุโบสถศีล ต้องอดอาหารเย็นเสียอีก ฉะนัน้ ชายเข็ญใจผูน้ า่ สงสาร จึงต้องทนทุกข์ทรมานเพราะความหิวโหย
นอนหิวแสบท้องอยูต่ ลอดทัง้ คืนหาหลับไม่ ในทีส่ ดุ พอถึงเวลาปัจฉิมยามใกล้รงุ่ เขาก็เป็นลมหน้ามืดนอนดิน้ อยู่
เร่าๆ เมื่อท่านเศรษฐีรู้เข้า ก็ใช้ให้คนประกอบเภสัชแล้วนำมาให้เขาดื่ม เขาผู้เคร่งต่อศีลก็หาดื่มเภสัชนั้นไม่
โดยอ้างว่ายังไม่ได้อรุณเกรงว่าศีลจะขาด ลมก็กำเริบหนักขึน้ เป็นทับทวี ผูห้ วังดีทง้ั หลายจึงหามเขาออกจาก

 ⌫⌫
ห้องซึง่ เป็นทีอ่ บั ให้มานอนทีห่ อ้ งน้อยใกล้ถนนซึง่ เป็นห้องโปร่ง โดยประสงค์วา่ เมือ่ เขาได้รบั อากาศบริสทุ ธิใ์ น
ตอนเช้าตรู่ อาการแห่งโรคคงจักดีขน้ึ

เช้าตรูว่ นั นัน้ สมเด็จพระมหากษัตริยพ์ ร้อมด้วยราชบริพาร เสด็จผ่านมาทางนัน้ ด้วยพระราชยานอัน


งามสง่า เพื่อจักไปประกอบพระราชกรณียกิจอย่างใดอย่างหนึ่ง ชายเข็ญใจผู้ซึ่งนอนดิ้นทุรนทุรายอยู่ด้วย
อำนาจโรคนั้น พลันเหลือบสายตาแลเห็นขบวนเสด็จเข้าโดยบังเอิญ ชั่วขณะหนึ่ง จึงบังเกิดความคิดจักได้
ราชสมบัติ แล้วก็ขาดใจตายในบัดดล

ด้วยอำนาจแห่งอาสันนกรรมฝ่ายกุศล คือการสมาทานอุโบสถกึง่ หนึง่ ซึง่ เขาได้บำเพ็ญในขณะใกล้จะ


ตายนัน้ บันดาลให้เขาไปถือปฏิสนธิในพระครรภ์แห่งพระอัครมเหสีสมเด็จพระราชาธิบดีทเ่ี ขาได้เหลือบแลเห็น
ในตอนเช้าตรู่วันนั้นเอง ครั้นครบถ้วนทศมาสแล้ว สมเด็จพระอัครมเหสีก็ประสูติพระราชโอรสหมดจดโสภา
เมือ่ พระราชกุมารนัน้ ทรงเจริญวัยวัฒนาการแล้ว พระโหราเนมิตกาจารย์ทง้ั หลาย จึงพร้อมใจกันถวาย พระนามว่า
อุทยราชกุมาร เจ้าอุทยราชกุมารนี้ มีญาณพิเศษแปลกกว่าคนธรรมดาสามัญอยูอ่ ย่างหนึง่ คือ ชาติสสรญาณ
ทรงสามารถที ่ จ ะระลึ ก ชาติ แ ต่ ห ลั ง ครั ้ ง ที ่ ย ั ง เป็ น บุ ร ุ ษ เข็ ญ ใจได้ ฉะนั ้ น ในเมื ่ อ ได้ ท รงรั บ ราชาภิ เ ษก
ให้ครอบครองสิรริ าชสมบัตใิ นพระนครนัน้ แล้ว พระองค์มกั จะทรงเปล่งอุทานออกมาเสมอๆ ว่า

“สิรริ าชสมบัตอิ นั เป็นยอดปรารถนาของมนุษย์ทง้ั หลายทีเ่ ราได้เสวยอยูน่ ้ี เป็นผลแห่งกรรมดีนดิ หน่อย


ของเราเท่านัน้ เอง“

สมเด็จพระเจ้าอุทยราชาธิบดี ทรงครอบครองสิริราชสมบัติใพระนครนั้นโดยทศพิธราชธรรม เมื่อถึง


กาลสิน้ อายุแล้ว พระองค์กเ็ สด็จสวรรคตไปตามธรรมดาแห่งสังขาร ด้วยประการฉะนี้

จากการทีไ่ ด้ตดิ ตามเรือ่ งอาสันนกรรมมานี้ ท่านผูม้ ปี ญ


ั ญาทัง้ หลาย ย่อมจะทราบได้เป็นอย่างดีแล้วว่า
อาสันนกรรมนี้ ย่อมมีลำดับการให้ผลเป็นที่ ๒ รองจากครุกรรม หมายความว่า เมือ่ ไม่มคี รุกรรมแล้ว อาสันน
กรรมย่อมจะเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม ชักนำให้ไปเกิดในภพต่อไปทันที แต่การทีจ่ กั ไป
เกิดในภพดีหรือภพชัว่ อย่างไรนัน้ มันก็สดุ แต่วา่ อาสันนกรรมฝ่ายกุศลหรือฝ่ายอกุศลจักให้ผล ถ้าหากว่าเป็น
อาสันนกรรมฝ่ายอกุศล ก็จักให้ผลชักนำให้ไปบังเกิดในภพที่ชั่วร้ายคืออบายภูมิทันที โดยทำนองเดียวกันนี้
คือถ้าหากว่าเป็นอาสันนกรรมฝ่ายกุศล ก็จกั ให้ผลชักนำให้ไปบังเกิดในภพทีด่ ี คือสุคติโลกสวรรค์ และการให้ผล
ของอาสันนกรรมนีน้ น้ั ย่อมเป็นการให้ผลทีม่ อี ำนาจเด็ดขาด กรรมอืน่ ใดทีเ่ คยกระทำไว้ แม้จะมีปริมาณมาก
มายเพียงไรก็ตาม ย่อมไม่อาจที่จะมาเป็นเครื่องขัดขวางกางกั้นการให้ผลของอาสันนกรรมนี้ได้เลย ในกรณี
แห่งอาสันนกรรมนี้ ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลายพึงทราบไว้เป็นครัง้ สุดท้ายว่า

 ⌫ 


ในบรรดามนุษย์ธรรมดาสามัญทั้งหลายที่ได้เกิดมาในโลกนี้ หากว่าจะมีมนุษย์ผู้หนึ่งซึ่งตลอดชีวิต
ของเขา ดูเหมือนว่าไม่ได้ประกอบคุณงามความดี โดยมีใจบาปหยาบช้าตั้งหน้าทำแต่ความชั่วอยู่เนืองนิตย์
ไม่คดิ จะทำบุญทำทานเลย คนทัง้ หลายต่างก็พากันลงความเห็นและพยากรณ์ชะตาชีวติ ของเขาว่า

“เจ้าคนใจบาปหยาบช้าผูน้ ้ี เห็นทีจะไม่แคล้วนรก ! คือตายไปแล้วต้องตรงดิง่ ไปในนรกขุมใหญ่อย่างแน่ๆ“

ความเห็นและคำพยากรณ์ของคนทัง้ หลายดังว่ามานี้ อาจจะผิดพลาดไปก็ได้ เพราะเหตุไร? เพราะว่า


ในเวลาที่เขาจะขาดใจตายนั้น หากว่าอาสันนกรรมฝ่ายกุศลบังเกิดขึ้นแก่เขาแล้ว เขาผู้ชั่วช้านั้นอาจจะพลัน
แคล้วจากนรก และได้ไปอุบตั เิ กิดเป็นเทวดาอย่างสง่าผ่าเผย ณ เบือ้ งสวรรคเทวโลกเสียสักชัว่ ระยะเวลาหนึง่
ก่อนก็ได้

โดยนัยตรงกับข้ามคือ สมมติวา่ มีมนุษย์ผหู้ นึง่ ซึง่ ตลอดชีวติ ของเขา ดูเหมือนว่าไม่ได้ประกอบกรรม


อันเป็นบาปหยาบช้าไว้เลย อุตส่าห์ประกอบแต่คณ ุ งามความดี สร้างกองการกุศลให้ทานรักษาศีลอยูเ่ นืองนิตย์
ไม่เคยคิดทีจ่ ะทำบาปทำกรรมแม้แต่นดิ หนึง่ ซึง่ คนทัง้ หลายต่างก็พากันลงความเห็นและให้คำพยากรณ์ชะตา
ชีวติ ในอนาคตของเขาไว้วา่

“ท่านผูม้ ใี จเป็นมหากุศลนี้ เห็นทีจะไม่แคล้วสวรรค์ ! คือสิน้ ชีวติ ขาดใจตายไปแล้ว ต้องตรงดิง่ ไปเกิดใน


สวรรค์วิมานชั้นฟ้า เป็นเทวดาเสวยทิพยสมบัติเป็นสุขอย่างแน่ๆ เพราะตลอดชีวิตเขาประกอบแต่กรรมดี
สมควรทีจ่ ะได้เป็นเทวดาจริงๆ“

อาจจะผิดพลาดอีกก็ได้ คำพยากรณ์ของคนทัง้ หลายทีว่ า่ มานี่ เพราะอะไร? เพราะอาสันนกรรมเป็น


ธรรมชาติที่ไม่อนุโลมไปตามความเห็นและคำพยากรณ์ของมนุษย์ทั้งหลาย หมายความว่า ในเวลาที่ใกล้จะ
ขาดใจตายนัน้ หากว่าผูท้ ไ่ี ด้เคยประกอบคุณงามความดีไว้มากมายนัน้ เกิดมีอาสันนกรรมฝ่ายอกุศลเข้าแล้ว
อาสันนกรรมฝ่ายอกุศล ย่อมจะดลบันดาลให้เขาไปเกิดในอบายภูมิ แทนที่จะไปเกิดในโลกสวรรค์เสียสักชั่ว
ระยะเวลาหนึง่ แล้วเขาจึงจักได้รบั ผลแห่งกรรมดีในภายหลังก็ได้

ทีว่ า่ ไว้ดงั นี้ มิใช่มเี จตนาจะยุยงให้ทา่ นทัง้ หลายมีใจดูถกู ดูหมิน่ บุญบาป หรือให้เห็นว่าบุญบาปไม่สำคัญ
ความจริงนัน้ ต้องการทีจ่ ะชีใ้ ห้ทา่ นทัง้ หลายได้เห็นความสำคัญของอาสันนกรรรมว่า อาสันนกรรมนี้ มีพลังแรง
กล้าสามารถที่จะให้ผลในชาติต่อไป คือในชาติหน้าซึ่งต่อจากชาตินี้อย่างแน่นอน ไม่ว่าจะเป็นอาสันนกรรม
ฝ่ายอกุศล หรือฝ่ายกุศลก็ตาม

เมื่อได้ทราบมาเป็นลำดับแล้วว่า ในลำดับการให้ผลแห่งกรรมนั้น ครุกรรมให้ผลเป็นลำดับแรก และ


อาสันนกรรมให้ผลเป็นลำดับที่ ๒ ดังนี้แล้ว ต่อจากนี้ ก็ควรจะได้รับทราบกรรมที่มีการให้ผลเป็นลำดับที่ ๓
หมายความว่า เมือ่ ไม่มคี รุกรรม และไม่มอี าสันนกรรมแล้ว กรรมทีจ่ กั กล่าวในลำดับต่อไปนี้ จักต้องเข้าทำหน้า

 ⌫⌫
ทีฉ่ วยโอกาสให้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม ชักนำให้ไปเกิดเสวยสุขทุกข์ในชาติตอ่ ไปทันที กรรมทีว่ า่ นีม้ ชี อ่ื
ว่าอาจิณณกรรม

อาจิณณกรรม
อาจียติ ปุนปฺปนํ กริยตีติ อาจิณณ
ฺ ํ
กรรมใดทีบ่ คุ คลสัง่ สมไว้ คือกระทำไว้บอ่ ย ๆ กรรมนัน้ ชือ่ ว่า อาจิณณกรรม

อาจิณณกรรมนี้ ได้แก่กรรมคือการกระทำสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดอี ยูเ่ สมอ ทำสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดนี น่ั แหละอยูบ่ อ่ ยๆ
สัง่ สมสิง่ ทีด่ แี ละไม่ดไี ว้ในสันดานของตนมากๆ เพือ่ ความเข้าใจง่าย ในเบือ้ งต้นนี้ ขอให้ทา่ นผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลาย
ได้รบั ทราบไว้วา่

อาจิณณกรรมนี้ เมือ่ จะแบ่งออกเป็นฝ่ายใหญ่ๆ ก็แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย คือ อาจิณณกรรมทีเ่ ป็นฝ่าย อกุศล


๑ อาจิณณกรรมที่เป็นฝ่ายกุศล ๑ ในบรรดาอาจิณณกรรมทั้ง ๒ ฝ่ายนั้น อาจิณณกรรมที่เป็นฝ่ายอกุศล
พึงเห็นตัวอย่างดังนี้

ผูท้ ม่ี ใี จบาปหยาบช้า กระทำทุจริตต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วยกายบ้าง ด้วยวาจาบ้าง ด้วยใจบ้าง ก็ตง้ั หน้า
ทำทุจริตกรรมเหล่านัน้ อยูเ่ สมอๆ เช่น ทำทุจริตด้วยการประกอบปาณาติบาตกรรมฆ่าสัตว์ตดั ชีวติ ก็ทำอยูเ่ สมอ
ทำอยูบ่ อ่ ยๆ ทำเป็นประจำ หรือทำทุจริตด้วยวาจา กล่าวคำมุสาวาท พูดโกหกพกลม และปากร้ายด่าว่าผูอ้ น่ื
ตลอดจนมีใจชั่วผูกอาฆาตพยาบาทผู้อื่น อันเป็นทุจริตทางใจ ก็ทำอยู่เสมอ ทำอยู่บ่อยๆ ทำเป็นประจำ
พอกพูนทุจริตกรรมไว้ในสันดานของตนไว้มากมาย จนเป็นคนมีสนั ดาลเสีย วันไหนถ้าไม่ได้ทำกรรมอันชัว่ ช้า
เหล่านีแ้ ล้วก็ไม่มคี วามสบายใจ กรรมชัว่ ทีพ่ อกพูนไว้เสมอๆ เหล่านีแ้ หละ เรียกว่าเป็น อาจิณณกรมมฝ่าย อกุศล

อนึง่ ผูท้ ท่ี ำอกุศลกรรมทีไ่ ด้อาเสวนะปัจจัยสิน้ กาลช้านาน คือทำทุจริตกรรมอันร้ายแรง ซึง่ มีกำลังแรง


กล้าทำให้เดือดร้อนมาก โดยเมือ่ แรกคิดจะกระทำนัน้ ก็กระทำด้วยอกุศลจิตเกิดความโกรธอย่างแรง แล้วก็ลง
มือตีต่อยทิ่มแทงเตะถีบและฆ่าฟันด้วยกำลังโกรธกำลังแค้น ครั้นทำได้สมใจแล้ว ก็ยังหาสิ้นโกรธสิ้นแค้นไม่
แม้จะเป็นเวลานานแสนนานเพียงไรก็ไม่หายแค้น คิดๆ ขึน้ มาเพลาใด ก็ขดั แค้นใจเพลานัน้ ไม่หายโกรธไม่
หายแค้น ทุจริตกรรมทีท่ ำสำเร็จลงไปแล้วแม้เพียงครัง้ เดียว แต่ได้อาเสวนะปัจจัยสิน้ กาลช้านาน โดยบันดาล
ให้ผกู้ ระทำหวนคิดถึงอยูเ่ สมอ เป็นภาพประทับใจ ทำให้เดือดร้อนขัดแค้นไม่รหู้ มดไม่รสู้ น้ิ อย่างนีแ้ หละ ก็ได้ชอ่ื
ว่าเป็นอาจิณณกรรมฝ่ายอกุศล

ส่วนอาจิณณกรรมฝ่ายกุศลนัน้ ขอท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย พึงทราบดังนี้ คือ

 ⌫ 


ผูท้ ม่ี ใี จเป็นบุญเป็นกุศล กระทำสุจริตกรรมต่างๆ ทีเ่ กีย่ วเนือ่ งด้วยกายบ้าง ด้วยวาจาบ้าง ด้วยใจบ้างก็
ตั้งใจตั้งหน้ากระทำสุจริตกรรมเหล่านั้นอยู่เสมอๆ เมื่อทำบุญสุนทรทาน เช่นถวายอาหารบิณฑบาตแก่พระ
ภิกษุสงฆ์ ก็กระทำอย่างมัน่ คง ใส่บาตรอยูท่ กุ ๆ วัน เมือ่ รับศีล ๕ ก็ตง้ั สมาทานรักษาจนสุดความสามารถไม่ให้
ขาดได้ เมือ่ ตัง้ ใจสมาทานอุโบสถรักษาศีล ๘ ก็เพียรพยายามรักษาให้บริสทุ ธิด์ ว้ ยดี เมือ่ มีใจเข้มแข็งเข้ามาบวช
เป็นพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนารักษาศีล ๒๒๗ ก็เพียรพยายามสำรวมระวังไม่ให้ศลี ของตนขาดทะลุหรือ
ด่างพร้อย เมือ่ ตัง้ ใจจะประกอบการกุศลอันยิง่ ใหญ่ในการเจริญภาวนา ไม่วา่ จะเป็นสมถภาวนา หรือวิปสั สนา
ภาวนาก็ตาม ก็เพียรพยายามบำเพ็ญปฏิบตั ไิ ปจนสุดความสามารถแห่งตน รวมความว่า ตัง้ หน้าสร้างบุญสร้าง
กุศลใส่ตนอยู่เนืองนิตย์ ในชีวิตมีการประกอบกุศลกรรมอยู่เสมอไม่ว่างเว้น กรรมดีที่พยายามพอกพูนไว้ใน
สันดานของตนอยูเ่ รือ่ ยๆ กรรมดีเหล่านี้ เรียกว่า อาจิณณกรรมฝ่ายกุศล

อนึง่ ผูท้ ก่ี ระทำกุศลกรรมทีไ่ ด้อาเสวนะปัจจัยสิน้ กาลช้านาน ก็ชอ่ื ว่ากระทำอาจิณณกรรมฝ่ายกุศล ได้


แก่เมือ่ บุคคลกระทำกุศลอันมีกำลังแรงกล้า โดยทีเ่ มือ่ แรกปรารถนาปรารภทีจ่ ะกระทำ แรกคิดอ่านเตรียมการ
จะทำนัน้ ก็บงั เกิดความชืน่ ชมโสมนัสยินดีปรีดาเป็นยิง่ นัก เช่นคิดจะทำทาน ขณะเมือ่ ขวนขวายหาอุปกรณ์สง่ิ
ของทีจ่ ะทำทาน ก็มจี ติ ชืน่ บาน เกิดความชืน่ ชมยินดีทกุ ครัง้ ทุกวาระทีจ่ ดั แจงตระเตรียม ครัน้ หาเครือ่ งไทยทาน
ทัง้ ปวงได้สมตามความปรารถนาแล้ว ถึงขณะทีจ่ ะทำทานการบริจาค ก็มจี ติ ชืน่ ชมยินดีในการกุศลทีต่ นกำลัง
กระทำอยูน่ น้ั ครัน้ ทำการอันเป็นบุญเป็นกุศลได้สมใจแล้ว คิดขึน้ มาถึงกุศลกรรมทีต่ นทำก็เกิดความยินดีปรีดา
อยูเ่ สมอ แม้จะเป็นเวลานานแสนนานเพียงไร ก็ไม่หายความปรีดาปราโมท คิดถึงทีใด ก็เกิดความปีตยิ นิ ดีทนี น้ั
มีใจมัน่ คงในอานิสงส์แห่งการกระทำดีของตนว่า

“อาตมานี้ ไม่เสียทีทไ่ี ด้เกิดมาเป็นมนุษย์ ไม่เสียทีทไ่ี ด้เกิดมาพบพระพุทธศาสนา อาตมาได้ปฏิบตั ติ าม


พระบรมโอวาทแห่งองค์สมเด็จพระบรมศาสดา ได้อตุ ส่าห์ประกอบกองการกุศลสิง่ นีๆ้ เป็นการใหญ่ยง่ิ ได้โดยยาก
ด้วยความเพียรเป็นนักหนา กุศลที่อาตมากระทำนี้เป็นประโยชน์แท้ เพราะเป็นอนุคามิกะนิธิขุมทรัพย์
อย่างยิง่ อย่างเอก ต่อไปภายหน้าอาตมาจักเป็นผูพ้ น้ ทุกข์พน้ ภัย ได้เสวยสมบัตเิ ป็นบรมสุขเทีย่ งแท้ ด้วยอำนาจ
แห่งบุญกุศลทีอ่ าตมาได้กระทำไว้แล้วนี“้

เกิดความปีตยิ นิ ดีดงั นีท้ กุ ครัง้ ในขณะทีร่ ะลึกการอันบุญกุศลทีต่ นกระทำไว้ สุจริตกรรมทีท่ ำสำเร็จลง


ไปแล้วแม้เพียงครั้งเดียว แต่ได้อาเสวนะปัจจัยสิ้นกาลช้านาน โดยบันดาลให้ผู้กระทำหวนคิดอยู่เสมอด้วย
ความภูมใิ จ เป็นภาพประทับใจอย่างแรง ทำให้เกิดความชืน่ ชมโสมนัสไม่รหู้ มดไม่รสู้ น้ิ อย่างนีแ้ หละก็ได้ชอ่ื ว่า เป็น
อาจิณณกรรมฝ่ายกุศล

เมือ่ ได้ทราบลักษณะแห่งอาจิณณกรรมดังนีแ้ ล้ว ทีน่ เ้ี ราก็ควรจะทราบถึงการให้ผลแห่งอาจิณณกรรม ต่อไป


ในอาจิณณกรรมทั้ง ๒ ฝ่ายนั้น หากว่าอาจิณณกรรมที่เป็นฝ่ายอกุศลมีกำลังมากกว่า อาจิณณกรรมที่เป็น
ฝ่ายกุศลทีก่ ำลังน้อยกว่าอาจิณณกรรมฝ่ายทีเ่ ป็นอกุศล ก็ยอ่ มจะเข้าทำหน้าทีช่ กั นำให้บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรม
ไปเกิดในอบายภูมิซึ่งเป็นภูมิที่ชั่วช้า ตรงกันข้าม คือ หากว่าอาจิณณกรรมที่เป็นฝ่ายกุศลมีกำลังมากกว่า

 ⌫⌫
อาจิณณกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศลมีกำลังน้อยกว่า อาจิณณกรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศลนีแ่ หละ ย่อมจะเข้าทำหน้าทีช่ กั นำ
ให้บุคคลผู้เป็นเจ้าของกรรมไปเกิดในสุคติภูมิ ซึ่งเป็นภูมิที่ดีมีความสุขในชาติต่อไปคือในชาติหน้าซึ่งต่อจาก
ชาตินอ้ี ย่างแน่นอน ในกรณีแห่งการให้ผลของอาจิณณกรรมทัง้ ๒ ฝ่ายนี้ มีอปุ มาทีท่ า่ นกล่าวไว้วา่

เปรียบเหมือนนักมวยปล้ำ ๒ คน ซึง่ ลงสูย้ ทุ ธภูมปิ ล้ำกันในทีส่ นามปล้ำ ถ้านักมวยปล้ำคนใดมีแรง มาก


มีกำลังมากกว่าคู่ต่อสู้ นักมวยปล้ำคนนั้น ก็ย่อมจะครอบงำย่ำยีเสียซึ่งคู่ต่อสู้ผู้มีกำลังน้อยกว่า ให้ล้มลงถึง
ความปราชัยพ่ายแพ้ไปกระทำให้ไม่มที างสู้ กระทำให้อยูอ่ ำนาจแห่งตนเป็นธรรมดา อุปมาข้อนีฉ้ นั ใด การให้
ผลของอาจิณณกรรมทัง้ ๒ ฝ่าย ก็เป็นเช่นนัน้ คือ อาจิณณกรรมฝ่ายทีม่ กี ำลังมากกว่า ก็ยอ่ มจะทำหน้าทีเ่ ข้า
ย่ำยีครอบงำเสีย ซึง่ อาจิณณกรรมทีม่ กี ำลังน้อยให้อยูใ่ นอำนาจแห่งตน มิให้กรรมนัน้ อำนวยผลสิง่ ใดสิง่ หนึง่ ได้ เลย
เข้าทับเข้าหักเข้าห้ามกรรมที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับตนให้สยบอยู่ แล้วเข้าเป็นพนักงานอำนวยผลให้เกิดแก่
บุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมด้วยตนเอง ก็ในกรณีแห่งอาจิณณกรรมทัง้ ๒ ฝ่าย ทำการต่อสูก้ นั เพือ่ ช่วงชิงตำแหน่ง
พนักงานเป็นผูใ้ ห้ผลแก่เจ้ากรรมนี้ พึงดูตวั อย่างจากเรือ่ งทีจ่ กั นำมาเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

ทุฏฐคามณีอภัยราชา
ได้สดับมาว่า กาลเมือ่ สมเด็จพระเจ้าเทวานัมปิยติสสะเสด็จเถลิงราชย์ในลังกาทวีปนัน้ พระองค์ทรงตัง้
เจ้ามหานาคพระราชอนุชารองให้ดำรงตำแหน่งพระมหาอุปราช ต่อมาพระอัครมเหสีของพระองค์ ทรงเกิดอกุศล
จิตคิดปรารถนาจักให้ราชสมบัตใิ นลังกาทวีปตกอยูใ่ นเงือ้ มหัตถ์แห่งพระราชโอรสของพระนางเธอ จึงคอยหา
โอกาสทีจ่ ะประทุษร้ายสมเด็จพระมหาอุปราชอยูเ่ ป็นนิจ วันหนึง่ สมเด็จพระมหาอุปราชมหานาคเจ้า ทรงมีกรณีย
กิจเสด็จไปตรัจฉวาปี พระนางเจ้าทรงเห็นเป็นท่วงทีกแ็ ทรกยาพิษไว้ในชิน้ มะม่วงชิน้ หนึง่ วางไว้บนยอดแห่ง
ชิ้นมะม่วงอื่น ส่งไปถวายพระมหาอุปราช บังเอิญวันนั้น พระราชโอรสของพระนางเธอเสด็จไปกับพระมหา
อุปราชด้วย เมือ่ ทรงหิวขึน้ มาก็ทรงถือวิสาสะเปิดภาชนะหยิบมะม่วงชิน้ ยอดเสวยเข้าไป ในครูห่ นึง่ ก็ทรงดับขันธ์
ถึงแก่ชพี ติ กั ษัยเพราะกำลังยาพิษนัน้ สมเด็จพระมหาอุปราช เมือ่ ทรงได้ประสบการณ์เช่นนัน้ ก็ทรงรูพ้ ระองค์วา่
มีผปู้ ระสงค์รา้ ย จึงทรงพาพระชายากับพลพาหนะเสด็จไปสูโ่ รหนะชนบท แล้วทรงตัง้ ตนเป็นเจ้าประเทศ ครอง
สมบัตอิ ยู่ ณ มหาคามสืบวงศ์ตามลำดับกันลงมา ๔ ชัว่ กษัตริย์ คือ พระเจ้ายัฎฐาลยกติสสะ ๑ พระเจ้าโคฐาภัย ๑
พระเจ้ากากวัณณติสสะ ๑ พระเจ้าทุฎฐคามณีอภัย ๑

พระเจ้าทุฏฐคามณีอภัย นี้ พระองค์ทรงเป็นกษัตริยท์ ม่ี บี ญ ุ ญาธิการ ประกอบด้วยสติปญ ั ญาอุตสาหะ


และความรูค้ วามกล้าหาญเดชานุภาพเกียรติคณ ุ ในแผ่นดินของพระองค์ตอนต้น ต้องทรงรบพุง่ ทำศึกสงคราม
กับพวกทมิฬหลายครัง้ หลายคราว ทัง้ นีส้ บื เนือ่ งมาแต่วา่ เมือ่ พระเจ้าเทวานัมปิยติสสะราชาธิบดี เสด็จทิวงคต
ไปแล้วนัน้ ปรากฎว่าราชสมบัตใิ นแผ่นดินลังกาถูกพวกทมิฬเข้ายึดครอง พระองค์จงึ ต้องทรงจับอาวุธเข้าทำ
สงคราม เพือ่ ปราบปรามขับไล่พวกทมิฬให้สน้ิ ไปจากลังกา ในขณะทีพ่ ระเจ้าทุฎฐคามณีอภัยกษัตริยห์ นุม่ ทำ
สงครามกับพวกทมิฬอยูอ่ ย่างอุตลุดนัน้ คราวหนึง่ พระองค์ทรงได้รบั ความปราชัย เหล่ารีพ้ ลล้มตายลงเป็นอันมาก

 ⌫ 


พระองค์ทรงเห็นสงครามเข้าที่คับขันเช่นนั้น จึงเสด็จขึ้นบนหลังนางม้าตัวหนึ่ง แล้วทรงรีบหนีไปพร้อมกับ
พระพีเ่ ลีย้ งคนสนิท ซึง่ มีนามว่าติสสะอำมาตย์ ทรงหนีขา้ ศึกมาด้วยความเหน็ดเหนือ่ ยเมือ่ ยล้า จนบรรลุถงึ
ป่าใหญ่แห่งหนึ่ง ซึ่งคาดคะเนว่าพ้นเขตอันตรายแล้ว จึงทรงหยุดพักด้วยความอ่อนเพลีย แล้วตรัสแก่ติสสะ
อำมาตย์พระพีเ่ ลีย้ งว่า

“เราหนีขา้ ศึกษาก็นานนัก บัดนีข้ า้ ให้บงั เกิดความหิวโหยเหลือประมาณ เราจะทำกันอย่างไรดี?“

“ไม่เป็นไรดอก พระองค์ ! พระพีเ่ ลีย้ งกราบทูล “ก่อนทีจ่ ะหนีขา้ ศึกออกจากค่ายมานี่ ข้าพระองค์ได้นำ


เอาอาหารใส่ขนั ทองคำแล้วห่อผ้ามาขันหนึง่ ซึง่ พอจะเป็นเครือ่ งประทังความหิวไปได้สกั คราวหนึง่ ดอก พระเจ้าข้า“
ว่าแล้วติสสะอำมาตย์ผู้รอบคอบ ก็แก่ห่อผ้าสาฎกนั้น แล้วนำเอาอาหารเข้าไปถวายพระราชาแห่งตน
และทูลเตือนให้พระองค์เสวย

แต่สมเด็จพระราชาธิบดีทฏุ ฐคามณีอภัย กลับมีพระราชดำรัสให้จดั การแบ่งอาหารออกเป็น ๓ ส่วน ซึง่


ยังความแปลกใจให้เกิดแก่ตสิ สะอำมาตย์เป็นอย่างมาก ในทีส่ ดุ เขาจึงตัดสินใจทูลถามขึน้ ว่า

“ข้าแต่พระองค์ ! บัดนีเ้ ราก็มอี ยูก่ นั เพียง ๒ คนในป่านีเ้ หตุไฉนพระองค์จงึ ให้แบ่งอาหารเป็น ๓ ส่วน


เล่า แบ่งเป็น ๒ ส่วนจึงจะถูก“

สมเด็จพระราชาธิบดี ผูม้ อี าจิณณกรรมอันพระองค์เคยสัง่ สมมานาน จึงตรัสว่า

“แบ่งเป็น ๒ ส่วนก็ถกู ต้องของท่านแล้ว แต่วา่ อันตัวเรานี้ ท่านก็ยอ่ มจะรูม้ าแต่ไหนแต่ไรแล้วว่า หาก


ไม่ได้ถวายอาหารบิณฑบาตทานแก่พระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศีลในพระบวรพุทธศาสนาแล้ว ก็ย่อมจะไม่บริโภค
อาหารเลยเป็นอันขาด ทุกๆ วันมา เราเคยถวายอาหารบิณฑบาตเสียก่อนแล้วจึงบริโภคด้วยตนเอง แม้ในขณะ
นีก้ เ็ ช่นเดียวกัน เราต้องการจะถวายบิณฑบาตทานเสียก่อน แล้วจึงจะบริโภค“

“ในป่าในดง จะมีพระเจ้าพระสงฆ์ทไ่ี หนกัน ! ” ติสสะอำมาตย์บน่ พึมพำ ส่วนมือก็จดั แจงแบ่งอาหารซึง่ มี


อยูเ่ ล็กน้อยนัน้ ออกเป็น ๓ ส่วนตามพระดำรัสสัง่ ด้วยความเกรงในพระราชอาชญา

“แบ่งเสร็จแล้ว ก็จงโฆษณากาลนิมนต์ ให้พระผู้เป็นเจ้าทั้งหลายมารับบิณฑบาตทานของเรา“ มี


พระกระแสรับสัง่ จากสมเด็จพระราชาธิบดี ซึง่ ประทับเอนองค์หลับพระเนตรพริม้ อยูด่ ว้ ยความอ่อนเพลีย ให้เขา
นิมนต์พระสงฆ์วา่ ดังนีอ้ อกมาอีก

ก็สดุ ทีเ่ ขาจักเก็บความไม่พอใจเอาไว้ได้ จึงทูลขึน้ ด้วยความขัดเคืองใจว่า

 ⌫⌫
“ข้าแต่พระองค์ ! พระสงฆ์อะไรทีไ่ หนกัน? ในป่านีไ้ ม่มพี ระสงฆ์ดอกพระพุทธเจ้าข้า ถ้าพระองค์ตอ้ งการจะ
นิมนต์พระสงฆ์แล้ว ต่อให้ตะโกนนิมนต์จนคอแตกตาย ก็ไม่มพี ระสงฆ์ทไ่ี หนมารับทานของพระองค์ อย่างแน่ ๆ“

“พระสงฆ์จะมีหรือไม่มี ไม่ใช่หน้าทีข่ องท่าน เราสัง่ ให้นมิ นต์ ท่านก็จงออกปากนิมนต์ออกไปเถิด อย่า


ขัดศรัทธาเราเมือ่ เรามีศรัทธาแล้ว เราเคยให้นมิ นต์พระสงฆ์มารับอาหารบิณฑบาตอยูเ่ สมอ อ้าว ! ว่าอย่างไร เล่า
ทำไมไม่ออกปากนิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้า“

“ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ! บัดนี้ถึงกาลเวลาแล้ว ขอพระผู้เป็นเจ้า จงรีบมารับอาหารบิณฑบาตแห่ง


พระราชาผู้มากไปด้วยศรัทธาของข้าพเจ้าด้วยเถิด“ เขาป้องปากตะโกนลั่นป่าเสร็จแล้วก็หันกลับมามองดู
พระราชาอย่างขุ่นเคืองใจ เมื่อเห็นว่าพระองค์ยังทรงเฉย เขาก็ตะโกนนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นอีกอย่างเยาะเย้ย
เป็นครัง้ ทีส่ องและทีส่ าม หวังจะประชดพระราชาให้สาแก่ใจ ด้วยอารมณ์โกรธเพราะความหิว

กาลครัง้ นัน้ ท่านพระโพธิยมาลกะติสสมหาเถระผูท้ รงคุณวิเศษ ในพระบวรพุทธศาสนา ได้สดับเสียง


ตะโกนนิมนต์นน้ั ด้วยทิพโสต พระผูเ้ ป็นเจ้าจึงใคร่ครวญดูวา่ เป็นเสียงของใคร ในทีส่ ดุ ก็ทราบด้วยญาณวิเศษว่า

“พระทุฏฐคามินอี ภัยราชา ทรงพลาดท่าเสียทีแก่ขา้ ศึกเสด็จหนีเข้าไปในดงลึกอันอยูไ่ กลแสนไกล บัด


นีใ้ คร่จะถวายอาหารบิณฑบาตก่อนทีจ่ ะเสวยพระกระยาหาร จึงใช้ให้ตสิ สะมหาอำมาตย์ตะโกนนิมนต์พระสงฆ์
สมควรทีเ่ ราจักไปกระทำการสงเคราะห์ในครัง้ นี้ ให้สมกับทีท่ รงมีพระราชศรัทธา“

ดำริดงั นีแ้ ล้ว สาวกแห่งองค์สมเด็จพระประทีปแก้วสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็รบี เหาะเร่งรุดมาโดยนภากาศ


ด้วยอริยฤทธิ์ แล้วก็มาประดิษฐานยืนอยูต่ รงพระพักตร์แห่งสมเด็จพระราชาผูม้ ากไปด้วยความเลือ่ มใส

“เห็นไหมเล่า?“ สมเด็จพระราชาผูต้ กยากตรัสพร้อมกับทรงผลุดลุกขึน้ ในทันใด แล้วทรงชีห้ น้าพระพี่


เลี้ยงอย่างคนมีชัยเพราะได้ที “เห็นไหมเล่า พระผู้เป็นเจ้าท่านกรุณามาโปรดเราแล้ว ใช่ว่าเราจะใช้ให้ท่าน
นิมนต์สง่ ไปเมือ่ ไร นีแ่ หละเพราะอำนาจศรัทธาของเราละ จงจำไว้“ ตรัสแล้วก็นอ้ มพระองค์ลงถวายนมัสการ
พระเถระ แล้วมีพระราชดำรัสว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูเ้ จริญ ! ขอพระผูเ้ ป็นเจ้าจงส่งบาตรมาให้โยมนีเ้ ถิด เจ้าข้า “

เมือ่ พระเถระเจ้ายืน่ บาตรให้แล้ว ก็ทรงรับเอาบาตรนัน้ วางไว้ แล้วทรงนำเอาอาหารส่วนทีห่ นึง่ ซึง่ มี


พระราชประสงค์จะทำเป็นอาหารบิณฑบาตทานนั้นใส่ลงไป เสร็จแล้วก็ทรงเอาอาหารที่แบ่งไว้เป็นส่วนของ
พระองค์ใส่ลงไปอีก ด้วยความทีท่ รงมีพระราชศรัทธาเลือ่ มใสอย่างเหลือประมาณ แล้วก็นอ้ มเข้าไป ถวายแก่
พระเถระเจ้า พร้อมกับตรัสว่า

 ⌫ 


“ขอพระผูเ้ ป็นเจ้า จงฉันภัตตาหารทีโ่ ยมตัง้ ใจถวายในยามยากนีใ้ ห้หมดด้วยเถิด อย่าเป็นห่วงโยมเลย
ด้วยว่าโยมนีบ้ งั เกิดความดีใจทีไ่ ด้ถวายอาหารบิณฑบาตในครัง้ นีเ้ หลือทีจ่ กั กล่าวแล้ว“

ฝ่ายนายติสสะผูต้ ะโกนนิมนต์ดว้ ยความขุน่ เคืองใจเมือ่ สักครูน่ น้ั ครัน้ เห็นปาฏิหาริยด์ ว้ ยมีพระสงฆ์มา


รับบิณฑบาตทานอย่างไม่คาดฝันจริงๆ ก็ตกตะลึงพรึงเพริดอยู่ ครัน้ เห็นพระราชาผูท้ ต่ี นรักอย่างลึกซึง้ ทรงเสีย
สละถวายอาหารอันเป็นส่วนของพระองค์แก่พระองค์ไปแล้วดังนัน้ ก็พลันคิดว่า

“เมือ่ พระลูกเจ้าทรงยอมอด โดยถวายอาหารแก่พระผูเ้ ป็นเจ้าไปหมดแล้ว ยังเหลือแต่อาหารทีเ่ ป็นส่วน


ของเรา เราจะบริโภคคนเดียวไปได้อย่างไร ไหนๆ ถึงคราวจะอดแล้ว ก็ควรจะอดเสียด้วยกัน“

เมือ่ คิดดังนีแ้ ล้ว ก็นอ้ มเอาอาหารอันเป็นส่วนแบ่งของตนนัน้ ไปเกลีย่ ใส่ลงในบาตรแห่งพระมหาเถระเจ้า


แล้วก็กราบลง

พระโพธิยมาลกมหาติสสะเถระเจ้ากล่าวอนุโมทนาทานแห่งสมเด็จพระราชาและติสสะอำมาตย์นน้ั แล้ว
ก็เหาะไปสูว่ หิ ารอันเป็นทีอ่ ยูข่ องท่าน ครัน้ ถึงแล้วจึงจัดแจงแบ่งภัตตาหารในบาตรนัน้ ถวายแก่พระภิกษุสงฆ์
องค์ละเท่าๆ กัน เพื่อจักยังทานนั้นให้มีอานิสงส์โดยยิ่ง ฝ่ายสมเด็จพระราชาธิบดีทุฏฐคามนีอภัย เมื่อถวาย
อาหารแก่พระผูเ้ ป็นเจ้าไปแล้ว ทรงปลืม้ ปีตใิ นบิณฑบาตทานนัน้ อยูพ่ กั หนึง่ แล้ว ก็ทรงบังเกิดความหิวโหยเป็น
ยิง่ นัก จึงทรงพระราชดำริวา่

“บัดนี้ เราถูกความหิวเข้าครอบงำอย่างเหลือทน หากว่าเราจักได้อาหารแม้ไม่มาก จะเป็นเพียงข้าวสุก


เมล็ดหนึง่ หรือสองเมล็ดก็ยงั เป็นการดี ในยามหิวเช่นนี“้

พระเถระเจ้าผูม้ ญ
ี าณวิเศษ ทราบจิตวาระแห่งองค์สมเด็จพระราชาธิบดีในขณะนัน้ เมือ่ ฉันภัตตาหาร
เสร็จแล้ว จึงจัดแจงเอาหารทีพ่ ระสงฆ์ทง้ั หลายฉันเหลือแล้ว ใส่ลงไปในบาตรทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าอธิษฐานไว้นน้ั ก็
ลอยมาตกลงที่พระหัตถ์แห่งสมเด็จพระราชาธิบดีพอดี ! พระองค์ก็ทรงมีพระมนัสยินดีปราโมทย์ ได้เสวย
พระกระยาหารนัน้ พร้อมกับติสสะอำมาตย์ผเู้ ป็นพระพีเ่ ลีย้ งจนหมดบาตร ครัน้ เสวยเสร็จแล้ว พระองค์จงึ ทรงมี
พระราชดำริวา่

“เราได้บริโภคอาหารมื้อนี้ ก็ด้วยความกรุณาของพระมหาเถระเจ้าผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ
ควรทีเ่ ราจักตอบแทนพระคุณท่านสักอย่างหนึง่ ให้จงได้“

มีพระราชดำริดงั นีแ้ ล้ว ก็ทรงเปลือ้ งผ้าสากฎเนือ้ ดีออกจากพระวรกาย จัดแจงซักด้วยน้ำในลำธารใกล้ๆ


นัน้ ให้สะอาดปราศจากมลทินแล้ว ทรงใส่ผา้ สาฎกนัน้ ลงไปในบาตรปิดให้สนิทดีแล้ว จึงทรงตัง้ ความปรารถนาว่า
“ขอให้บาตรนี้ จงลอยขึน้ ไปบนอากาศ แล้วจงไปตกลงทีห่ ตั ถ์แห่งพระผูเ้ ป็นเจ้าซึง่ เป็นเจ้าของบาตรด้วยเถิด“

 ⌫⌫
ทรงตั้งความความปรารถนาดังนี้แล้วจึงทรงโยนบาตรนั้นขึ้นไปบนอากาศ บาตรก็ลอยไปตกลงบนหัตถ์แห่ง
พระโพธิยมาลกติสสมหาเถรเจ้าเป็นอัศจรรย์

ต่อมาเมือ่ พระองค์ออกมาจากป่าและกลับเข้าไปถึงพระนครแล้ว พระองค์กท็ รงตระเตรียมทีจ่ ะกระทำ


ศึกสงครามใหม่ ครัน้ รวบรวมรีพ้ ลได้มากพอสมควรแล้ว จึงทรงยกพหลโยธามาต่อยุทธด้วยเจ้าเอฬารทมิฬ ผู้
เข้าครอบครองแผ่นดินอยูใ่ นเวลานัน้ ทรงประหารเจ้าเอฬารทมิฬและเจ้าทมิฬเหล่าอืน่ ให้ถงึ ซึง่ ความปราชัย
เสียชนม์ชพี ในสนามรบนัน้ เป็นอันมาก ครัน้ พระองค์ทรงได้ชยั ชำนะในสงคราม ปราบปรามปัจจามิตรให้ราบคาบ
ทำราชสมบัตใิ นลังกาทวีปให้อยูใ่ นอาณาแห่งเศวตรฉัตรเดียวกันแล้ว ก็เสด็จเถลิงไอยสวรรยาธิปตั ย์ดำรงความ
เป็นเอกราช สืบสันตติวงศ์แห่งกษัตริยส์ หี ลต่อมา ตอนนีจ้ งึ ทรงได้โอกาสทีจ่ ะทำนุบำรุงพระบวรพุทธศาสนา ด้วย
ว่าสมเด็จพระราชาธิบดีทฏุ ฐคามนีอภัยนี้ ใช่วา่ ท้าวเธอจะทรงมีพระกมลสันดานกล้าหาญแกล้วกล้าในการสงคราม
สัมประหารแต่เพียงอย่างเดียวก็หามิได้ แม้ในการบำเพ็ญพระราชกุศล ก็ทรงมีพระกมลสันดานกล้าหาญ มิได้
ทรงย่อท้อ แต่พอปรารภเหตุอย่างใดอย่างหนึง่ ขึน้ ก็ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลขึน้ เป็นการมโหฬาร พระสถูปวิหาร
ทีท่ า้ วเธอทรงสถาปนาอันจัดว่าสำคัญนัน้ คือ มริจวัฏฏิวหิ าร – โลหปราสาท – สุวรรณมาลีเจดีย์ เป็นต้น แต่
พระราชกุศลอันใหญ่โตมโหฬาร ซึง่ พระองค์ทรงบำเพ็ญในภายหลังเหล่านี้ ไม่มพี ระราชกุศลชนิดใดทีจ่ ะเป็น
ภาพประทับในพระราชหฤทัยอย่างลึกซึง้ เสมือนหนึง่ พระราชกุศลทีท่ รงบำเพ็ญในยามยาก ครัง้ เมือ่ พระองค์
หนีขา้ ศึกเข้าไปในป่าใหญ่ แล้วได้ถวายอาหารบิณฑบาตทานแก่ทา่ นพระโพธิยมาลกมหาติสสเถรเจ้านัน้ เลย

ด้วยเหตุนี้ เมื่อถึงกาลเป็นที่สุด คือในขณะที่พระองค์ประชวรหนัก ใกล้ที่จักเสด็จเข้าไปสู่ปากแห่ง


พญามัตยุราชตามธรรมดาแห่งสังขารนัน้ อกุศลกรรมทีท่ รงกระทำไว้เมือ่ ครัง้ ทรงเป็นจอมทัพผูเ้ กรียงไกร ไล่ฆา่
ศัตรูหมู่ปัจจามิตรให้ถึงแก่ความตายลงเป็นอันมากนั้นก็พลันจะเข้ามาให้ผล ทำทีว่าจะฉุดกระชากจอมคน
ทุฏฐคามนีอภัยไปสู่อบายภูมิ ฉับพลันทันใดนั้นอาจิณณกรรมฝ่ายกุศลซึ่งเป็นฝ่ายตรงกันข้าม ก็ตรงเข้าปล้ำ
อกุศลกรรมนัน้ เป็นพัลวัน เพือ่ ป้องกันรักษาองค์พระราชาผูม้ คี วามดีแต่กห็ ามีฝา่ ยใดทีจ่ กั ได้ชยั ชนะไม่ ในทีส่ ดุ
อาจิณณกรรมฝ่ายกุศล จึงดลบันดาลให้พระราชาผูม้ อี าจิณณกรรม มีพระราชดำรัสสัง่ ให้ราชบริพารพากันนำ
พระองค์ไปสูพ่ ระมหาเจดีย์ ซึง่ พระองค์ทรงสร้างไว้ยงั ไม่ทนั สำเร็จเรียบร้อยดี เพือ่ ทีจ่ กั ถวายนมัสการเป็นครัง้
สุดท้าย อำมาตย์ราชบริพารทั้งหลาย ก็เชิญเสด็จออกไปสู่ลานพระมหาเจดีย์ตามพระราชดำรัสสั่ง แล้วให้
บรรทมอยูบ่ นพระทีด่ า้ นทิศทักษิณ และนิมนต์พระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลายมาสวดสังวัธยายให้ได้ทรงสดับ

ในขณะทีส่ มเด็จพระราชาธิบดีผยู้ ง่ิ ใหญ่ใกล้จะถึงกาลทิวงคต บรรทมเหนือพระแท่นอันงามวิจติ รสดับ


พระสงฆ์สงั วัธยายอยูน่ น้ั พลันคตินมิ ติ อันบ่งบอกถึงคติวา่ พระองค์จกั ได้เสด็จไปอุบตั เิ กิดเป็นเทวดาในสวรรค์ ชัน้ ฟ้า
ก็มาปรากฏให้พระองค์เห็นทางมโนทวาร ! นั่นคือ พระองค์ได้ทรงเห็นรถทิพย์อันงามวิจิตร ๖ คัน มีหมู่
เทวดาเป็นสารถี เหาะลอยละลิว่ ลงมาจากเทวโลก เมือ่ มาถึงแล้วก็หยุดลงตรงเบือ้ งพระพักตร์แห่งพระองค์ แล้ว
เทวดาชาวฟ้าผูเ้ ป็นสารถีเหล่านัน้ ต่างก็พากันร้องเชือ้ เชิญพระองค์ขน้ึ อย่างเซ็งแซ่

 ⌫ 


“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงมีความดี ! ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านีจ้ กั พาพระองค์ไปอยู่
สรวงสวรรค์ชน้ั จาตุมหาราชิกาแดนสุขาวดี“ ชาวฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๑ ว่า

“ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านี้ จักพาพระองค์ไปอยูส่ รวงสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์แดน สุขาวดี“


ชาวฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๒ ว่า

“ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านี้ จักพาพระองค์ไปสูส่ รวงชัน้ ยามาแดนสุขาวดี“ ชาว


ฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๓ ว่า

“ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านี้ จักพาพระองค์ไปสูส่ รวงสวรรค์ชน้ั ดุสติ แดนสุขาวดี“


ชาวฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๔ ว่า

“ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านี้ จักพาพระองค์ไปสู่สรวงสวรรค์ชั้นนิมมานรตีแดน


สุขาวดี“ ชาวฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๕ ว่า

“ขอพระองค์จงเสด็จไปกับข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้านี้ จักพาพระองค์ไปสูส่ รวงสวรรค์ชน้ั ปรนิมมิตวสวัตติ


แดนสุขาวดีชน้ั ยอด“ ชาวฟ้าสารถีรถทิพย์คนั ที่ ๖ ว่า

“เดีย๋ วก่อน เทวดา ! ท่านอย่างเพิง่ ว่าอะไรไปให้องึ คะนึงนัก เราใคร่จกั ขอถามเสียก่อนว่า การทีท่ า่ นมี
กรุณามารับเราไปสูส่ รวงสวรรค์นน้ั ท่านเห็นเรามีความดีเป็นดังฤา?“ พระเจ้าทุฏฐคามนีอภัยทรงนึกถามขึน้ ใน
พระทัย

เทวดาสารถีจากเทวโลกเหล่านัน้ ต่างก็พรรณนาบุญกุศลทีส่ มเด็จพระราชาทรงเคยกระทำไว้มปี ระการ


ต่างๆ แต่เทวดาสารถีทม่ี าจากเทวโลกชัน้ ดุสติ กล่าวว่า

“ข้าแต่พระองค์ ! พระองค์จำไม่ได้ฤา เมือ่ ครัน้ พระองค์หนีขา้ ศึกเข้าไปในป่าลึก พระองค์ได้มจี ติ ศรัทธา


ถวายอาหารบิณฑบาตทานแก่ท่านพระโพธิยมาลกมหาติสสเถรเจ้า บุญกุศลที่พระองค์ทรงกระทำไว้ในคราว
ครัง้ นัน้ มีผลสมควรทีพ่ ระองค์จกั เสด็จไปเสวยทิพย์สมบัตเิ ป็นสุขอยู่ ณ ดุสติ สวรรค์แดนสุขาวดี“

“อย่างเพิง่ พาทีชกั ชวนให้มากนักเลย เทวดา ! ประเดีย๋ วก่อน ข้าพเจ้าจักลองปรึกษาพระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้


หลายดูก่อน แล้วจึงจะตัดสินใจว่าควรจะไปกับใคร“ สมเด็จพระราชาธิบดีผู้มีกุศลอาจิณณกรรมทรงนึกตอบ
เทวดาเหล่านั้นดังนี้แล้ว ก็ทรงมีอาการเคลื่อนไหวพระวรกายเล็กน้อย แล้วค่อยเอื้อนโอษฐ์ไต่ถามพระภิกษุ
สงฆ์ซง่ึ กำลังประชุมสวดสังวัธยายพระพุทธวจนะอยูด่ ว้ ยพระสุรเสียงอันแผ่วเบาว่า

 ⌫⌫
“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูเ้ จริญทัง้ หลาย ! โยมนีใ้ คร่อยากจะรูน้ กั ว่า ในบรรดาเทวโลกสวรรค์ทง้ั ๖ ชัน้ นัน้
สวรรค์ชั้นไหนน่าพอใจ น่าอภิรมย์ยินดี เจ้าข้า? ขอพระผู้เป็นเจ้าจงได้เมตตากรุณาบอกให้โยมผู้ใกล้จะตาย
นีไ้ ด้ทราบเป็นครัง้ สุดท้ายด้วยเถิด “

พระมหาเถรเจ้าผูม้ ญ
ี าณวิเศษ ซึง่ เป็นประธานในการสวดสังวัธยายอยูใ่ นทีน่ น่ั จึงถวายพระพรว่า

“ดูกร มหาบพิตรพระราชสมภารเจ้า พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! อาตมภาพว่าสวรรค์ชน้ั ดุสติ


ซึ่งเป็นสวรรค์ชั้นที่ ๔ นั่นแล ประเสริฐกว่าสวรรค์ทุกชั้น ทั้งนี้ก็เพราะว่าดุสิตสวรรค์นั้น เป็นที่สถิตอยู่แห่ง
สมเด็จพระบรมโพธิสตั ว์เจ้าทุกๆ พระองค์ แลบัดนีส้ มเด็จพระศรีอริยเมตไตรยบรมโพธิสตั ว์เจ้า ซึง่ จักมาตรัส
ในโลกต่อจากศาสนาแห่งองค์สมเด็จพระบรมครูเจ้าของเรานี้ ก็กำลังสถิตอยู่ ณ สวรรค์ชน้ั ดุสติ นัน้ ขอถวายพระพร“

เมือ่ ได้ทรงสดับพระมหาเถรเจ้าถวายวิสชั นาดังนี้ สมเด็จพระราชาธิบดีทฏุ ฐคามนีอภัย ก็ทรงมีพระทัย


ยินดีในสวรรค์ชน้ั ดุสติ มีพระทัยน้อมไปในสวรรค์ชน้ั ดุสติ เป็นอย่างมาก และแล้วในบัดเดีย๋ วใจนัน้ พระองค์ก็
ดับขันธ์ถงึ แก่ชพี ติ กั ษัย ! อาจิณณกรรมฝ่ายกุศลของพระองค์ซง่ึ ทำการปราบปรามอกุศลกรรมให้ราบคาบ ได้
ชัยชนะแล้วในบัดนี้ ก็เข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลเป็นพนักงานนำสมเด็จพระราชาธิบดีทฏุ ฐคามนีอภัย ไปอุบตั บิ งั เกิด
เป็นเทพบุตรสุดประเสริฐ ณ ดุสติ สวรรค์แดนสุขาวดีแต่เพลานัน้ ด้วยประการฉะนี้

เรือ่ งทีเ่ ล่ามานี้ ย่อมจะเป็นอุทาหรณ์ชใ้ี ห้เห็นว่า อาจิณณกรรมทัง้ ๒ ฝ่าย คือฝ่ายทีเ่ ป็นอกุศลและ


ฝ่ายทีเ่ ป็นกุศลนี้ ถ้าว่ามีปริมาณมีกำลังเกือบเสมอกันแล้ว ก็เข้าชิงกันทำหน้าทีใ่ ห้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้ากรรมใน
ขณะทีใ่ กล้จะตาย เมือ่ ฝ่ายใดเป็นผูช้ นะโดยมีกำลังเหนือกว่า แม้ไม่มากเพียงเล็กน้อยก็ตาม ฝ่ายนัน้ ก็ยอ่ มมี
สิทธิเข้าทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานให้ผลนำไปปฏิสนธิในชาติตอ่ ไป ส่วนในกรณีทบ่ี คุ คลทำอาจิณณกรรมฝ่ายอกุศล
อย่างเดียว โดยทีเ่ ขานัน้ เกิดมาเป็นคนใจบาปหยาบช้า มุง่ หน้าทำแต่บาปกรรมเป็นอาจิณ ไม่เคยคิดถึงเรือ่ งศีล
เรื่องทานอันเป็นการบุญการกุศลเลย รวมความว่าตั้งแต่เกิดมาจนกระทั่งถึงวันตาย เขาขวนขวายสั่งสมแต่
อาจิณณกรรมฝ่ายอกุศลอย่างเดียวไม่มอี าจิณณกรรมฝ่ายกุศลเลย เขาผูน้ ้ี เมือ่ คราวดับขันธ์สน้ิ ชีวติ ตายไปจาก
มนุษยโลกเรานี้แล้ว อาจิณณกรรมฝ่ายอกุศลก็จะเข้าทำหน้าที่ให้ผล ชักนำให้เขาไปเกิดเป็นอบายสัตว์ ณ
อบายภูมทิ นั ที ! เพือ่ ความเข้าใจกรณีนด้ี ยี ง่ิ ขึน้ พึงติดตามฟังเรือ่ งของคนใจบาปหยาบช้าคนหนึง่ ซึง่ ถูกอกุศล
อาจิณณกรรมชักนำให้ไปเกิดในนรก ดังต่อไปนี้

⌫
 ⌫
 

สัตว์นรกอเวจี
ได้สดับมาว่า สมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา ยังทรงพระชนม์ชพี อยู่ และทรงบำเพ็ญ
พุทธกิจยังประชาสัตว์ให้ได้ดื่มอมตธรรมอันประเสริฐอยู่เป็นอันมากนั้น มีบุรุษคนหนึ่งซึ่งมีนามว่านายจุนทะ
อันว่าออจุนทะผู้นี้ เพื่อนเป็นคนมีสันดานบาปหยาบช้า กระทำปาณาติบาตฆ่าสุกรขาย เอากำไรมาเป็นค่า
ครองชีพเลีย้ งดูบตุ รภรรยา สุกรทีถ่ กู เขาฆ่าตายนัน้ นับไม่ถว้ น ไม่รวู้ า่ กีห่ มืน่ กีแ่ สนตัว ยิง่ ขายเนือ้ สุกรได้มากเท่า
ใด ตะแกย่อมฆ่าสุกรมากขึน้ เท่านัน้ ยิง่ ในกาลเกิดฉาตกภัย คือปีไหนข้าวยากหมากแพงขึน้ แล้ว อาชีพฆ่าสุกร
ขายของแกยิง่ เจริญรุง่ เรืองและได้กำไรงาม ทัง้ นีเ้ พราะตะแกเป็นนักฉวยโอกาสทีฉ่ ลาดเป็นเยีย่ ม โดยเมือ่ เกิด
ฉาตกภัยขึน้ แล้ว ออจุนทะเพือ่ นก็จดั แจงรวบรวมทุนกว้านซือ้ ข้าวสารมาตุนไว้ทบ่ี า้ นมากมาย แล้วเอาข้าวสาร
บรรทุกเกวียนขับไปตามบ้านนอก แลกลูกสุกรของชาวบ้านด้วยข้าวสารทะนานหนึง่ บ้าง สองทะนานบ้าง ได้
ลูกสุกรมามากมายจนเต็มเกวียนแล้ว ก็บรรทุกนำกลับเอามาเลีย้ งไว้ทค่ี อกใหญ่หลังบ้าน ปรนปรือด้วยอาหาร
อันเป็นเหยือ่ จนสุกรเหล่านัน้ เติบใหญ่พอทีจ่ ะฆ่าเอาเนือ้ ขายได้แล้ว ก็เริม่ ทำการฆ่าตามวิธกี ารของตะแกทันที
นัน่ คือ

จับเอาสุกรตัวทีต่ อ้ งการจะฆ่า มาผูกไว้กบั ทีส่ ำหรับฆ่าให้มน่ั แล้ว ก็เอาฆ้อนสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ่ทบุ เจ้า
สัตว์เคราะห์ร้ายนั้นอย่างไม่ปรานีปราสัย มิใยที่เจ้าสุกรนั้นจะร้องดิ้นทุรนทุรายอย่างใด ตะแกจะได้เกิดความ
เมตตาสงสารสักนิดหนึ่งเป็นไม่มี เมื่อทุบตีจนเนื้อหนังของสุกรนั้นช้ำบวมเป่งไปทั่วตัวแล้ว จึงเอาท่อนไม้ซึ่ง
เตรียมไว้ยดั เข้าไปในปากสุกรให้ปากอ้าอยูอ่ ย่างนัน้ แล้วจึงเอาทะนานเล็กตักน้ำร้อนซึง่ กำลังเดือดพล่านกรอก
ใส่ลงไปในปากทีก่ ำลังอ้า ซึง่ ทำให้สกุ รได้รบั ทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส เพราะเมือ่ น้ำร้อนอันเดือดพล่านล่วง
ลำคอเข้าไปแล้ว ก็ไปลวกลำไส้พาเอามูตรคูถไหลออกมาทาง อโธภาคคือทวาร เท่านัน้ ยังไม่พอ ตะแกพยายาม
ตักน้ำร้อนกรอกลงไปในปากสุกรนัน้ หลายครัง้ หลายคราว จนเห็นว่ามูตรคูถในท้องของสุกรซึง่ ตายทัง้ เป็นนัน้
หมดแล้ว เพราะเหลือแต่นำ้ ใสๆ ออกมาอันแสดงว่าอวัยวะภายในสะอาดหมดจดดีแล้ว จึงเอาน้ำร้อนลวกตัวสุกร
ในภายหลัง ชำระให้หมดจดสะอาดจนปราศจากขน แล้วจึงเอาดาบอันคมกล้าตัดคอให้ขาด เอาภาชนะมารอง เอา
เลือดไว้ส่วนหนึ่งแล้วก็แล่เนื้อสำหรับเอาไว้ขายอีกส่วนหนึ่ง ตะแกกระทำซึ่งปาณาติบาตฆ่าหมูอยู่ด้วยวิธีนี้
เป็นเวลานานประมาณถึง ๕๕ ปี

แม้สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้าจักประทับอยู่ ณ วิหารใกล้บา้ นของตะแกอยูเ่ ป็นประจำ คนทัง้


หลายเขาพากันทำการบูชาและสดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาของพระองค์กนั ทุกวัน แต่เขาผูม้ สี นั ดานกักขฬะ
ก็หาคิดทีจ่ ะกระทำทีพ่ ง่ึ ให้แก่ตนไม่ บุญกุศลดูเหมือนว่าห่างไกลจากห้วงแห่งความคิดของเขาเหลือเกิน ไม่มี
เลยทีเ่ ขาจะสร้างกุศลใส่ตนด้วยการบูชาสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยดอกไม้มาตรว่าสักกำหนึง่ หรือด้วย
การถวายอาหารบิณฑบาตแก่พระภิกษุสาวกแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ด้วยข้าวสุกมาตรว่าสักทัพพีหนึง่
ต่อมาเมื่อเขาชราแล้ว ทูตแห่งพญามัจจุราชก็เข้ามาประจันหน้าทำให้เขาล้มเจ็บลง ในขณะที่กำลังเจ็บป่วย
อย่างหนักใกล้จะตายอยูน่ น้ั ความเร่าร้อนแห่งไฟในมหานรกอเวจีกป็ รากฏในมโนทวาร ซึง่ เป็นคตินมิ ติ บ่งบอก

 ⌫⌫
ว่าเขาตายไปแล้ว จักต้องไปเกิดเป็นสัตว์นรกในอเวจีแน่นอน คตินมิ ติ อันชัว่ ร้ายคือความเร่าร้อนแห่งไฟนรกอเวจี
ซึง่ ปรากฏแก่เขาในขณะนี้ ดลบันดาลให้เขาเกิดความร้อนเร่าเป็นทีย่ ง่ิ

อันทีจ่ ริง ขึน้ ชือ่ ว่าความร้อนทัง้ หลาย ความร้อนอืน่ ใดจะมาเทียบเท่ากับความร้อนแห่งไฟในขุมนรกทัง้


หลายเป็นไม่มี ยิง่ ความร้อนในมหานรกอเวจี ซึง่ เป็นนรกขุมใหญ่ลกึ กว่านรกขุมอืน่ ทัง้ หมดแล้ว ย่อมปรากฏว่า
มีความร้อนมากมายนักหนาพึงทราบว่า เมือ่ บุคคลธรรมดาสามัญอย่างเราท่านทัง้ หลายนีไ้ ด้มโี อกาสไปยืนอยู่
ในทีซ่ ง่ึ ไกลจากมหานรกอเวจีนน้ั ประมาณ ๑๐๐ โยชน์ แล้วแลดูมหานรกอเวจี ดวงตาทัง้ ๒ ของเราจะบอดทันที !
เพราะเหตุไร? เพราะว่าความร้อนแห่งไฟในมหานรกอเวจีนั้น มีความร้อนแรงยิ่งนัก สามารถจักแผดเผาทำ
ลายนัยน์ตาของบุคคลผูย้ นื อยูไ่ กลตัง้ ๑๐๐ โยชน์ได้ อีกนัยหนึง่ พึงทราบว่า ความร้อนแรงแห่งไฟมหานรก อเวจีนน้ั
โดยอุปมาทีพ่ ระนาคเสนอรหันตเถรเจ้ากล่าวถวายแก่พระเจ้ามิลนิ ทราชาธิบดีวา่

“ดูกร มหาบพิตรผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! ความร้อนแห่งไฟในมหานรกอเวจีนน้ั เป็นความร้อนแรง


อย่างมหันต์ผดิ กว่าไปตามปรกติสามัญ สมมติวา่ จักมีผใู้ ดใครผูห้ นึง่ ซึง่ ปรารถนาจะทดลองความร้อนในนรก นัน้ ดู
แล้วจึงเอาก้อนหินใหญ่โตประมาณเท่าเรือนยอด ทุ่มทิ้งลงไปในขุมนรกอเวจี ในขณะที่ตกลงไปถึง ก้อน
หินใหญ่นน้ั ย่อมจะถูกไฟในนรกไหม้ให้ยอ่ ยยับลงไปในทันที ! แต่วา่ สัตว์ผมู้ บี าปหนัก ซึง่ ไปอุบตั เิ กิดอยูใ่ นนัน้ หา
ไหม้ยอ่ ยยับไปไม่ ได้แต่ถกู ไฟอันร้ายแรงแผดเผาอยูอ่ ย่างนัน้ ตลอดเวลา ทัง้ นีเ้ พราะกำลังแห่งกรรมชัว่ ช้าของ
ตนเป็นผูร้ กั ษาไว้“

นายจุนทะเพชฌฆาตหมู ในขณะนีย้ งั เป็นอยู่ ยังไม่ตาย เมือ่ ได้เห็นคตินมิ ติ อันชัว่ ร้ายเป็นไฟในมหา


นรกอเวจีมาปรากฏแก่ตนเช่นนัน้ ก็ให้เกิดมีอาการร้อนเร่าอย่างเหลือประมาณ ทนนอนอยูบ่ นเตียงอาพาธไม่ได้
เผ่นลงจากเตียงทัง้ ๆ ทีก่ ำลังเจ็บหนักอยูอ่ ย่างนัน้ คลานไปรอบๆ ห้อง ส่วนปากก็รอ้ งเสียงดังเหมือนหมูทต่ี น
เคยฆ่ามากหลายไม่ผดิ เพีย้ น ด้วยอำนาจแห่งอกุศลอาจิณณกรรมทีต่ นกระทำไว้บนั ดาลให้เป็นไป ฝ่ายบุตร ภรรยา
เมื่อเห็นเขามีอาการแปลกประหลาด โก่งคอร้องเอ็ดตะโรลั่น ลงคลานเหมือนหมูไปรอบห้องเช่นนั้น ก็
บังเกิดความสังเวชใจคิดสงสาร จึงช่วยกันจับเขาให้นอนอยูก่ บั ที่ แล้วเอามืออุดปากเพือ่ มิให้เขาออกเสียงร้อง
โดยเกรงว่าเขาจักคอแตกตาย ก็อนั วิบากแห่งกรรมทัง้ หลาย ย่อมเป็นสภาพทีไ่ ม่มใี ครในโลกนีห้ รือโลกไหนจัก
ห้ามได้ ด้วยเหตุน้ี นายจุนทะผูม้ บี าปซึง่ กำลังเจ็บหนักมีอาการว่าจะตายไม่มเี รีย่ วแรงนัน้ กลับเกิดมีกำลัง มหาศาล
ผลักบุตรภรรยาที่มาจับตนด้วยความหวังดีให้กระเด็นไปคนละทิศละทาง แล้วก็ร้องครวญครางคลาน
เหมือนหมูตอ่ ไป

ยิง่ จะซ้ำร้ายหนักเข้าไปทุกที ด้วยว่านายจุนทะอาชีพฆ่าหมู ผูซ้ ง่ึ บัดนีม้ หี น้าตาและกิรยิ าท่าทางใกล้จะ


เป็นหมูทถ่ี กู ฆ่าตายเข้าไปมากนักหนา กลับมีทที า่ ว่าจะไม่พอใจร้องครางคลานเหมือนหมูอยูแ่ ต่เพียงภายในห้อง
เสียแล้ว ทำท่าว่าจะคลานออกไปนอกห้องและคลานลงจากบ้าน เพือ่ ร้องเสียงหมูประจานตนเองไปในทีต่ า่ งๆ
อีกด้วย บุตรภรรยาพร้อมทัง้ ญาติมติ รของเขา เห็นว่าเหตุการณ์จะไปกันใหญ่เช่นนัน้ ก็ตกใจช่วยกันทำลิม่ สลัก
ปิดประตูหอ้ งนัน้ ให้มน่ั คงแข็งแรง กักขังให้รอ้ งครวญครางและคลานให้สบายใจในห้องนัน้ แต่ลำพัง

 ⌫ 


๗ วันพอดีไม่ขาดไม่เกิน ทีเ่ ขาเดินด้วยเข่าและมือ คือว่าคลานร้องลัน่ เหมือนหมูอยูใ่ นห้องนัน้ ซึง่ ทำให้
ชาวบ้านใกล้เคียงต้องปวดประสาท ไม่ได้หลับไม่ได้นอนไปตามๆ กัน เพราะเสียงร้องครางเอ็ดตะโรอัน
มหัศจรรย์ของเขา และแล้ว พอสิน้ เสียงร้องด้วยอำนาจแห่งวิบากกรรมครัง้ สุดท้าย เขาก็ลม้ ฟุบลงขาดใจตายอยู่
ณ กลางห้องนัน้ เอง ! อาจิณณกรรมฝ่ายอกุศล ก็เข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผล โดยฉุดกระชากลากเขาไปบังเกิดเป็นสัตว์
นรกใหญ่ในอเวจีมหานรก ให้ตอ้ งทนทุกขเวทนาถูกไฟอันร้ายแรงในนรกนัน้ เผาไหม้อยูต่ ลอดเวลา

พระสงฆ์สาวกแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึง่ ในตอนเช้าต้องเดินบิณฑบาตผ่านบ้านเขาไป


ทุกวัน ได้ยนิ เสียงหมูรอ้ งมาครบ ๗ วันแล้ว ก็เข้าใจผิดคิดว่าเป็นเสียงหมูรอ้ ง หาได้เข้าใจว่าเป็นเสียงร้องของเขา
ไม่ ในวันทีน่ ายจุนทะตาย เมือ่ ได้โอกาสแล้ว พระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลายเหล่านัน้ จึงเข้าไปเฝ้าสมเด็จพระผูม้ ี พระภาคเจ้า
แล้วกราบทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! นายจุนทะปิดประตูบา้ นฆ่าหมูมาครบ ๗ วันแล้ว ชะรอยเขาคงจะกระทำพิธกี รรม


อย่างใดอย่างหนึง่ เป็นแม่นมัน่ จึงได้ฆา่ หมูมากมายเห็นปานนัน้ ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! นายจุนทะนีฆ้ า่ หมูมามาก
มาย ตัง้ แต่หนุม่ จนย่างเข้าสูว่ ยั ชราแก่เฒ่าแล้ว เหตุไฉนเขาช่างไม่มเี มตตาจิตหรือการุญจิต เกิดขึน้ สักนิดหนึง่ เลย
น่าสังเวชใจจริงๆ พระเจ้าข้า คนทีม่ ใี จบาปหยาบช้า มีสนั ดานกล้าแข็งกักขฬะเช่นนีข้ า้ พระองค์ทง้ั หลายไม่เคย
เห็นมาก่อนเลย“

สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้าได้สดับคำกราบทูลแห่งพระภิกษุเหล่านัน้ จึงทรงมีพระพุทธฎีกาว่า

“ดูกร เธอผูเ้ ห็นภัยในวัฏสงสารทัง้ หลาย ! นายจุนทะจะได้ทำการฆ่าสุกร เพือ่ กระทำพลีกรรมอย่างใด


อย่างหนึง่ ตามทีเ่ ธอทัง้ หลายเข้าใจนัน้ หามิได้ เสียงสุกรร้องครวญครางทีเ่ ธอได้ยนิ มาครบ ๗ วันนัน้ ก็ไม่ใช่ เสียงสุกร
โดยที่แท้เป็นเสียงร้องของนายจุนทะเอง นายจุนทะเป็นไข้หนัก ผลแห่งอกุศลกรรมชักนำให้เขาเร่า
ร้อนอยูด่ ว้ ยความร้อนแห่งไฟในอเวจีมหานรก ในขณะทีเ่ ขายังมีชวี ติ อยู่ เขาได้ประสบความเร่าร้อนอย่างเหลือ
ประมาณเสวยทุกขเวทนาอยูค่ รบ ๗ วันพอดี และบัดนี้ เขาตายไปเกิดเป็นสัตว์นรกอยู่ ณ อเวจีมหานรกแล้ว“

“ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ ! บุคคลทีท่ ำบาปเป็นอาจิณ เมือ่ ถึงคราวจะสิน้ ชีวติ ย่อมได้เสวยทุกขเวทนาอัน


น่าเศร้าใจอย่างเช่นนายจุนทะแล้ว ครัน้ ตายจากโลกนีไ้ ป เขายังจะต้องได้เสวยทุกขเวทนาอันน่าเศร้าใจในนรก
อีกหรือหนอ พระเจ้าข้า“ พระภิกษุเหล่านัน้ อุทานออกมาด้วยความสงสัย คล้ายจักทูลถาม

สมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า จึงตรัสว่า

“ใช่แล้ว เธอผูเ้ ห็นภัยในวัฏสงสารทัง้ หลาย ! ผูท้ ม่ี นี ำ้ ใจประมาท ไม่วา่ จะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิตก็ ตาม
หากว่าได้กระทำอกุศลกรรมความชั่วไว้แล้ว ย่อมจักต้องเกิดความเดือดเนื้อร้อนใจในโลกทั้งสอง คือในขณะ

 ⌫⌫
เมือ่ อยูใ่ นมนุษย์โลกนี้ ก็ได้รบั ความเดือดร้อนเพราะผลแห่งกรรมชัว่ ของตน และเมือ่ ดับขันธ์ตายจากโลกนีไ้ ปแล้ว
ย่อมได้รบั ความเดือดร้อนในโลกหน้าอีก ดังเช่นนายจุนทะผูฆ้ า่ สุกรนีแ้ หละเป็นตัวอย่าง“

ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น ครั้นได้สดับพระโอวาทานุสาสนีดังนี้ ก็มีจิตคิดสังเวชสลดใจ และกลัวภัยใน


อบายภูมิ จึงตัง้ หน้าเจริญสมณธรรม ในไม่ชา้ ก็ได้สำเร็จเป็นพระอริยบุคคลผูท้ รงคุณวิเศษในพระบวรพุทธ ศาสนา
ด้วยประการฉะนี้

ส่วนในกรณีที่บุคคลทำอาจิณณกรรมฝ่ายกุศลอย่างเดียว โดยที่เขาผู้นั้นเกิดมาเป็นมนุษย์มีสันดาน
สะอาดบริสทุ ธิ์ เกลียดชังต่ออกุศลทุจริต มุง่ หน้าแต่ประกอบกรรมอันเป็นสุจริต คิดแต่สร้างบุญสร้างกุศลใส่ตน
เป็นเนืองนิตย์ เมือ่ ถึงคราวทีเ่ ขาดับขันธ์สน้ิ ชีวติ ตายไปจากมนุษยโลกเรานีแ้ ล้ว อาจิณณกรรมฝ่ายกุศลนัน้ ก็จกั
พลันเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผล ชักนำให้เขาไปเกิดในสุคติภมู ไิ ด้โดยสะดวกในทันทีทนั ใด เพือ่ ความเข้าใจในเรือ่ งนีด้ ี ยิง่ ขึน้
ขอท่านผู้มีปัญญาทั้งหลาย จงตั้งใจฟังเรื่องของมนุษย์ผู้มีชีวิตอันบริสุทธิ์ซึ่งถูกกุศลอาจิณณกรรม ชักนำ
ให้ไปอุบตั บิ งั เกิดในเทวโลกแดนสวรรค์ ดังต่อไปนี้

เทพนารีชน้ั ดาวดึงส์
ได้สดับมาว่า กาลเมือ่ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับ ณ ป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน แขวงเมือง
พาราณสีพร้อมกับพระสงฆ์สาวกทัง้ หลาย วันหนึง่ เป็นเพลาเช้าตรู่ หมูพ่ ระภิกษุสงฆ์ทง้ั หลายได้เข้าไปในบ้าน
เพื่อบิณฑบาตตามสมณวิสัย ในขณะที่เดินผ่านบ้านพราหมณ์ผู้มีฐานะมั่งคั่งในละแวกบ้านนั้น ธิดาสาวแห่ง
พราหมณ์กำลังนัง่ หาเหาบนศีรษะของมารดาอยูท่ น่ี อกชานใกล้ประตูเรือน เมือ่ เจ้าเห็นพระภิกษุทง้ั หลายเดิน
ผ่านบ้านไปดังนัน้ จึงถามมารดาขึน้ ว่า

“ข้าแต่มารดา ! บรรพชิตเหล่านี้ ยังตัง้ อยูใ่ นปฐมวัยเป็นหนุม่ มีรปู ร่างงดงาม มีเนือ้ หนังอันสุขมุ ละเอียด
ควรจะเชยชมเป็นยิง่ นัก แต่จะเป็นเวรเป็นกรรมอันใดเล่าหนอ จึงต้องมาบรรพชาทรงเพศเป็นนักบวช เทีย่ วขอ
ทานเขาเลีย้ งชีพเช่นนี้ มองเห็นแล้วให้นา่ อนาถใจนัก“

มารดาจึงตอบว่า

“ดูกร เจ้าผูเ้ ป็นลูกรัก ! ลูกยังไม่รอู้ ะไรก็อย่าเพิง่ ไปว่าดังนัน้ ด้วยว่าบรรพชิตทีเ่ ดินผ่านบ้านเราไปเมือ่


ตะกีน้ ้ี ล้วนเป็นบรรพชิตทีอ่ อกบวชตามเสด็จเจ้าชายผูห้ นึง่ ในสกุลศากยราช ก็เจ้าชายสกุลศายกราชผูน้ น้ั สละ
ราชสมบัตอิ อกบวชแล้วได้ตรัสเป็นพระสรรเพชรพุทธเจ้า มีขา่ วเล่าลือกันทัว่ เมืองเรานีว้ า่ พระองค์ทรงแสดงซึง่
พระธรรมเทศนาไพเราะในเบื้องต้น ไพเราะในท่ามกลาง ไพเราะในที่สุด ประกอบด้วยอรรถและพยัญชนะ
บริสุทธิบริบูรณ์ เป็นที่ชื่นชมยินดีแห่งบัณฑิตชนเป็นยิ่งนัก แล้วทรงแสดงซึ่งมรรคพรหมจรรย์อันประเสริฐ

 ⌫ 


บรรพชิตเหล่านั้นแต่ก่อนก็เป็นฆราวาสผู้ครองเรือน แต่เมื่อได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระองค์แล้ว จึงเกิด
ศรัทธาเลือ่ มใสและออกบวชเป็นบรรพชิตเทีย่ วบิณฑบาตเลีย้ งชีวติ ได้นามว่าเป็นภิกษุในพระพุทธศาสนา”

ในขณะทีน่ างพราหมณีผเู้ ป็นมารดา กำลังอธิบายเรือ่ งพระภิกษุให้ธดิ าสาวฟังตามความรูอ้ นั เล็กน้อย


ของตนเพลินอยู่นั้น ก็มีอุบาสกคนหนึ่ง ซึ่งเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในการศาสนาเคยได้สดับตรับฟัง
พระสัทธรรมเทศนา และได้บำเพ็ญภาวนาจนบรรลุพระอริยมรรคอริยผลเดินผ่านมาพอดี นางพราหมณีจงึ เชือ้
เชิญให้เขาแวะขึน้ มาบนเรือนตน แล้วถามขึน้ ว่า

“ดูกร ท่านผูเ้ ป็นอุบาสก ! กุลบุตรเป็นอันมากในบ้านเมืองเราขณะนี้ ย่อมมาละเสียซึง่ ศฤงคารบริวาร


บ้านเรือนและญาติมติ ร มิได้มจี ติ เอือ้ เฟือ้ อาลัย พากันไปบวชในสำนักแห่งพระพุทธเจ้าสมณะโคดม แล้วเทีย่ ว
เดินภิกขาจารเลีย้ งชีวติ เขาเห็นอำนาจประโยชน์อะไร จึงได้ออกบรรพชาถือเพศอย่างนี?้ “

“ดูกร พราหมณี ! พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลายซึง่ ถือเพศบรรพชิตบวชเป็นสมณะในพระบวรพุทธศาสนานัน้


ท่านมีปญ ั ญาพิจารณาเห็นโทษในกามคุณ และเห็นอานิสงส์ในเนกขัมมะ จึงสละฆราวาสวิสยั ออกบรรพชา เพือ่
จักได้มเี วลาบำเพ็ญสมณธรรม อันเป็นเครือ่ งนำตนออกจากกองทุกข์ใหญ่ในวัฏสงสาร“ อุบาสกนัน้ กล่าวตอบ
แก่นางพราหมณีดังนี้แล้ว ก็ให้อรรถาธิบายเรื่องบรรพชาโดยพิสดาร เท่าที่ตนจะมีสติปัญญาชี้แจงได้
เสร็จแล้วก็แสดงถึงคุณแห่งพระรัตนตรัย แสดงให้เห็นอานิสงส์แห่งปัญจศีลคือศีล ๕ ว่าสามารถทีจ่ ะบันดาลผู้
รักษาให้ได้ประสบความสุขทัง้ ในโลกนีแ้ ละโลกหน้า

“อันตัวข้านี้ ถ้าจะตัง้ อยูใ่ นศีลและพระไตรสรณคมน์บา้ ง ยังจะได้รบั อานิสงส์ประสบความสุขวิเศษทัง้


ในโลกนีแ้ ละโลกหน้าเหมือนหนึง่ ท่านว่า หรือว่าหามิได้?“

ธิดาสาวของนางพราหมณีซง่ึ นัง่ ฟังอยูน่ าน จนบังเกิดความเลือ่ มใส กล่าวถามขึน้ ด้วยความยากรู้

“ได้ ! ทำไมจะไม่ได้“ อุบาสกตอบแล้วกล่าวสืบไปอีกว่า “สภาวธรรมคือ คุณความดี เช่นการให้ทาน


และรักษาศีล ตลอดจนการภาวนาเหล่านี้ สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้าผูท้ รงพระคุณอันประเสริฐแห่งเรา
ทรงแสดงไว้เป็นสรรพสาธารณะคือทัว่ ไปทุกตัวคน ใครมีกศุ ลจิตคิดจักบำเพ็ญปฏิบตั ิ ก็อาจทีก่ ระทำได้ทง้ั สิน้
ด้วยกันทุกคน เข้าใจไหมเล่า“

“ถ้าเช่นนัน้ ขอท่านจงกรุณาบอกพระไตรสรณคมน์และศีล ๕ แก่ขา้ พเจ้าเถิด ข้าพเจ้าจะรีบเร่งรักษา


เสียแต่ในกาลบัดนี“้

ธิดาสาวนางพราหมณี ซึง่ มีนามว่า เปสการีขอร้องให้อบุ าสกบอกพระไตรสรณคมน์และศีลด้วยความ


เลือ่ มใสเป็นนักหนา

 ⌫⌫
“อุ บ ากสกผู ้ ช ำนาญในการพระศาสนา จึ ง บอกให้ น างตั ้ ง ใจด้ ว ยดี แล้ ว ก็ เ ริ ่ ม ให้ น างสมาทาน
พระไตรสรณคมน์ และปัญจศีลในเช้าวันนั้น เสร็จแล้วก็สั่งกำชับให้ตั้งใจรักษาด้วยดีอย่าให้ขาดได้ แล้วก็
กล่าวคำอำลาลงเรือนไป ฝ่ายธิดาสาวของนางพราหมณีผมู้ ศี รัทธา ตัง้ แต่วนั ทีส่ มาทานพระไตรสรณคมน์และ
ศีลแล้ว ก็มิได้มีความประมาท อุตสาหะพยายามรักษาอยู่เป็นเนืองนิตย์ และประกอบกุศลกิจถวายอาหาร
บิณฑบาตทานแก่พระภิกษุสงฆ์อยูเ่ ป็นประจำทุกวัน จนการกระทำความดีเป็นอันบุญกุศลของเธอนัน้ กลายเป็น
อาจิณณกรรมฝ่ายกุศลไปในทีส่ ดุ

เมือ่ ถึงคราวทีช่ วี ติ ของนางจะปิดฉากลง กุศลอาจิณณกรรมทีน่ างทำไว้ ก็เข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผล โดยชักนำ


นางผูข้ าดใจตายจากมนุษยโลกนีไ้ ปแล้ว ให้ไปอุบตั บิ งั เกิดในวิมานบนสรวงสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์ เป็นเทพนารีทรง
รัศมีรงุ่ เรืองเลือ่ มประภัสสร สถิตเสวยทิพยสมบัตเิ ป็นสุขอยูใ่ นหมูเ่ ทพนิกรอย่างแสนสำราญ

กาลเมือ่ นางอุบตั บิ งั เกิดขึน้ ในขณะแรกนัน้ สมเด็จท่านท้าวอมรินทราธิราช ซึง่ เป็นประธานาธิบดีจอม


สวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์ ได้ทอดพระเนตรเห็นทิพยสมบัตขิ องนางรัศมีรงุ่ เรืองยิง่ กว่าเหล่าเทพยดาอืน่ เป็นอันมาก ให้
ทรงหลากพระทัย จึงเสด็จเข้าไปหา แล้วมีเทวบัญชาตรัสถามว่า

“ดูกร เทพนารีผโู้ สภา ! วิมานในเมืองฟ้าแห่งท่านนี้ มีรศั มีงดงามสุดพรรณนา มีเสาซึง่ สำเร็จแล้วด้วย


แก้วไพฑูรย์ เป็นวิมานอันกำบังไปด้วยสุวรรณรุกชาติทง้ั หลาย รุง่ เรืองอยูเ่ ป็นนิจมิได้ขาดสักเพลา อันว่า พระจันทร์
ย่อมมีรัศมีข่มขี่เสียซึ่งดาวฤกษ์ทั้งปวง รุ่งเรืองสว่างไสวงามสดใสอยู่เป็นนิจฉันใด ตัวท่านนี้ก็รุ่งเรือง
ด้วยยศและอานุภาพ มีรศั มีขม่ ขีเ่ สียซึง่ รัศมีแห่งปวงนางฟ้าทัง้ หลาย รุง่ เรืองสว่างไสวงามสดใสอยูเ่ ป็นนิจฉันนัน้
ดูกรเทพนารีผมู้ พี กั ตร์อนั ควรจะพึงชม ! เราใคร่จกั ขอถามท่านว่า ท่านมาจากทีไ่ หน ประกอบการอันเป็นบุญกุศล
สิง่ ไรไว้ จึงได้มาอุบตั บิ งั เกิดเป็นเทพนารี มีรศั มีรงุ่ เรืองประดุจดังว่าท้าวมหาพรหม ในดาวดึงส์พภิ พ แห่งเรานี้
เราทัง้ หลายต่างพากันพิศวงสงสัยในบุญกรรมอันยิง่ ใหญ่ของท่านเป็นยิง่ นัก“

เทพนารีผอู้ บุ ตั ใิ หม่ เมือ่ ได้ฟงั เทพบัญชาอินทราธิราชตรัสถามดังนัน้ จึงกราบทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผเู้ ป็นใหญ่กว่าเทวดาทัง้ หลาย ! ตัวข้าพเจ้านี้ เมือ่ เป็นมนุษย์มนี ามว่า เปสการีเป็นธิดา


ของพราหมณ์และพราหมณีในพระนครอันมีนามว่าพาราณสี วันหนึง่ ข้าพเจ้าได้ฟงั อรรถาธิบายเรือ่ งการรักษา
ไตรสรณคมน์และศีล พร้อมทั้งการบำเพ็ญทาน จากอุบาสกผู้เชี่ยวชาญในพระธรรมคำสอน ขององค์สมเด็จ
พระผูม้ พี ระภาคเจ้าคนหนึง่ จึงเกิดความเลือ่ มใสในคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีจติ เทีย่ งตรงหาความ
สงสัยมิได้ ตั้งใจสมาทานเอาซึ่งพระไตรสรณคมน์และศีล อุตส่าห์บำเพ็ญทานถวาย อาหารบิณฑบาตแก่
พระภิกษุสงฆ์เป็นประจำ อานุภาพแห่งบุญกุศลนัน้ จึงชักนำให้ขา้ พเจ้ามาอุบตั บิ งั เกิดในพิภพแห่งท่านในกาล
บัดนีแ้ ล พระเจ้าข้า“

 ⌫ 


“เราขออนุโมทนา“ สมเด็จพระอมรินทราธิราชตรัสขึน้ เมือ่ ได้ทรงสดับเทพนารีผโู้ สภาเล่าถึงกุศลจริยา
ของตนจบลงแล้ว และตรัสต่อไปว่า “ดูกรเทพนารีผนู้ า่ รัก ! เราขออนุโมทนายินดีดว้ ยกุศลกรรมแห่งท่าน อีก
ประการหนึง่ เรายินดีทท่ี า่ นมาบังเกิดในพิภพของเรานี้ ด้วยว่าท่านเป็นผูม้ รี ศั มีมยี ศศักดิ์ และมีจติ ใจเลือ่ มใสใน
พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ มีจติ เทีย่ งตรงหาความสงสัยมิได้ มีศลี ๕ อันบริบรู ณ์มไิ ด้ขาด เมือ่ มาอุบตั ใิ นพิภพ
ของเราแล้ว ก็จกั เป็นศรีสวัสดิมงคล แก่ดาวดึงส์พภิ พแห่งนีเ้ ป็นยิง่ นัก“ จอมเทพผูม้ ศี กั ดิใ์ หญ่กว่าเทวดาทัง้ ปวง
ในดาวดึงส์แดนสวรรค์ ตรัสดังนีแ้ ล้วก็พาเทพบริวารเสด็จไปสูไ่ พชยนตปราสาทพิมานอันเป็นเทวสถานทีป่ ระทับ
อยูแ่ ห่งพระองค์ ด้วยประการฉะนี้

ชีวประวัติ แห่งเทพนารีชน้ั ดาวดึงส์อกี นางหนึง่ ซึง่ เป็นผูถ้ กู อาจิณณกรรมชักนำให้ได้เสวยทิพยสมบัติ


อันเป็นสุขนัน้ มีดงั ต่อไปนี้

สมัยทีอ่ งค์สมเด็จพระชินสีหส์ มั มาสัมพุทธเจ้าของเรา ประทับอยู่ ณ พระเชตวนาราม ใกล้กรุงสาวัตถีนน้ั


มีอุบาสกผู้หนึ่งไปสู่วิหารในเวลาเย็น พร้อมกับเพื่อนอุบาสกด้วยกันเป็นอันมาก เพื่อที่จักได้สดับตรับฟัง
พระสัทธรรมเทศนาแห่งองค์สมเด็จพระผูม้ พี ระภาค ครัน้ จบพระธรรมเทศนาแล้ว บริษทั ทัง้ หลายต่างคนต่างก็
แยกกันไป ฝ่ายอุบาสกผูน้ น้ั เข้าไปถวายนมัสการสมเด็จพระผูม้ พี ระภาคแล้ว ก็กราบทูลอาราธนาว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! จำเดิมแต่วนั นีเ้ ป็นต้นไป ข้าพระองค์มคี วามประสงค์จะถวาย


นิตยภัตแก่พระสงฆ์วนั ละ ๔ รูป พระเจ้าข้า“

สมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้า จึงทรงบอกให้เขาไปหาพระภิกษุผมู้ หี น้าทีจ่ ดั แจงภิกษุทง้ั หลาย ครัน้ เขาเข้า


ไปหาภิกษุรปู นัน้ ถวายนมัสการแล้ว ก็กล่าวคำอาราธนาว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูเ้ จริญ ! ข้าพเจ้าตกแต่งนิตยภัตไว้ในเรือนเพือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้า ๔ รูป เพลารุง่ เช้า


พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ ๔ รูป จงอย่าได้ไปสูท่ อ่ี น่ื จงไปสูเ่ รือนของข้าพเจ้าเป็นเนืองนิตย์เถิด เจ้าข้า“ อุบาสกผูม้ ศี รัทธานัน้
ครั้นอาราธนาให้พระภิกษุสงฆ์มารับนิตยภัตในเรือนของตนดังนี้แล้ว ก็กลับมาสู่เรือนและออกคำสั่ง
กำชับแก่ทาสีผชู้ ำนาญการเรือนผูห้ นึง่ ว่า

“วันนีเ้ รานิมนต์พระผูเ้ ป็นเจ้า มารับนิตยภัตในเรือนของเราวันละ ๔ รูป เพราะฉะนัน้ ตัง้ แต่พรุง่ นีเ้ ป็น
ต้นไป เจ้าจงอย่าได้ประมาท จงตกแต่งซึง่ นิตยภัตถวายแก่พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลาย อย่าให้ขาดตกบกพร่องได้
เรามอบภาระอันเป็นบุญกุศลในเรือ่ งนีใ้ ห้แก่เจ้า“

ตามปรกตินางทาสีผนู้ น้ั ก็เป็นคนมีศรัทธาเลือ่ มใสในพระบวรพุทธศาสนาอยูแ่ ล้ว เมือ่ ได้รบั มอบหมาย


จากมูลนาย ให้กระทำกิจอันเป็นบุญกุศลเช่นนี้ ก็รบี ทำด้วยความยินดีเป็นอันมาก ทุกๆ วัน ทาสีผนู้ น้ั ย่อมตืน่
นอนแต่เช้ามืด จัดแจงตกแต่งโภชนาหารเพื่อถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ ปูลาดอาสนะที่นั่งให้เรียบร้อยบริสุทธิ์

 ⌫⌫
กระทำเบือ้ งบนอาสนะเหล่านัน้ ให้ฟงุ้ ไปด้วยสรรพของหอม ครัน้ พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลายเข้ามาถึงแล้ว ก็ออกปาก
นิมนต์ให้นง่ั เหนืออาสนะด้วยความเลือ่ มใส ถวายนมัสการแล้ว กระทำการบูชาด้วยธูปเทียนชวาลาดอกไม้ของ
หอม เสร็จแล้วจึงอังคาสด้วยน้ำใจอันเคารพนอบนบเป็นอันดี อยู่มาวันหนึ่ง เมื่อเห็นพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย
ฉันภัตตาหารเรียบร้อยแล้ว นางทาสีนน้ั จึงเข้าไปถวายนมัสการ แล้วกราบเรียนถามว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลาย ! ดิฉนั มีความสงสัยในปัญหาข้อหนึง่ แต่ไม่กล้าเรียนถามพระผูเ้ ป็นเจ้า


ด้วยเกรงว่าจะเป็นการรบกวนเกินไป วันนีอ้ ดใจมิได้แล้ว จึงใคร่จะขอโอกาสแก่พระผูเ้ ป็นเจ้า จักได้หรือมิได้ เจ้าข้า“

“อุบาสิกามีความปรารถนาจักถามสิง่ ใดแก่ อาตมภาพทัง้ ปวง ก็จงถามเถิด ไม่ตอ้ งเกรงใจ“

เมือ่ พระสงฆ์ทง้ั หลายให้โอกาสดังนี้ นางทาสีนน้ั จึงคลายความหวัน่ ใจ แล้วถามความสงสัยอันค้างใจ


ตนมานานว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลาย ! บุคคลทำประการใด จึงจักได้ประสบความสุขสบายในปรโลกภายหน้า?


ทีถ่ ามดังนีก้ เ็ พราะว่าดิฉนั มีความปรารถนาใคร่จกั ได้ประสบความสุขความสบายในชาติหน้า ไม่ตอ้ งมาเป็นทาสี
เขาเหมือนดัง่ ในชาติน้ี เจ้าข้า“

“ดูกร อุบาสิกา ! ถ้าท่านปรารถนาเช่นนัน้ ก็จงสมาทานพระไตรสรณคมณ์และศีลเถิด คงจักได้สมความ


ปรารถนาอย่างแน่ๆ“ ภิกษุทง้ั หลายกล่าวดังนีแ้ ล้ว ก็ให้นางทาสีนน้ั รับเอาพระไตรสรณคมน์และศีล เสร็จแล้วจึง
แสดงอานิสงส์แห่งการสมาทานพระไตรสนณคมน์และศีลนัน้ ว่า อาจจักให้สมบัตติ ามความปรารถนาทัง้ โลกนี้
และโลกหน้า พร้อมกับสัง่ กำชับว่าให้รกั ษาให้ จงดี อย่าให้ขาดได้ เสร็จแล้วจึงกล่าวคำอำลากลับไป

ตั้งแต่วันนั้นเป็นต้นมา นางทาสีผู้มีความปรารถนาใคร่จักได้ประสบสุขในชาติหน้า ก็สู้อุตส่าห์รักษา


พระไตรสรณคมน์และศีลอยูเ่ ป็นเวลานานสิน้ ๑๖ ปี เมือ่ ถึงคราวดับขันธ์ถงึ แก่ชพี ติ กั ษัย อาจิณณกรรมฝ่ายกุศล
ทีน่ างสูท้ นบำเพ็ญมาเป็นเวลานานนัน้ ก็เข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผล ชักนำให้นางไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นเทพนารีผเู้ ลอโฉม ณ
ทิพยสถานพิมานชั้นดาวดึงส์แดนสวรรค์ มีนางอัปสรกัญญาเป็นบริวารมากมาย ได้เสวยสุขสมบัติตามที่นาง
ปรารถนาไว้.

กาลครั้งนั้น องค์อรหันตพระมหาโมคคัลลานะเถรเจ้าได้เที่ยวไปในเทวโลกชั้นดาวดึงส์แดนสวรรค์
พบเทพนารีนางนัน้ ซึง่ มาเทีย่ วชมสวนอุทยานทิพย์ ณ จิตรลดาวัน เห็นนางมีรศั มีรงุ่ เรืองกว่าเทพนารีทง้ั ปวง
พระผูเ้ ป็นเจ้าจึงเข้าไปไต่ถามนางว่า

“ดูกร นางเทพธิดา ! ตัวท่านแวดล้อมไปด้วยหมูส่ รุ างค์นางฟ้า มีหตั ถาถือซึง่ ดุรยิ ดนตรี รุง่ เรืองด้วย
รัศมี แลดูดจุ องค์สมเด็จพระอมรินทราธิราชเจ้าพิภพในดาวดึงส์สวรรค์น้ี ดูกรเทพธิดาผูม้ อี านุภาพเป็นอันมาก !

 ⌫ 


อาตมาภาพอยากจะถามท่านว่า เมือ่ ท่านยังอยูใ่ นเมืองมนุษย์นน้ั ท่านได้สร้างกุศลเป็นประการใด วิบากแห่ง
บุญกรรมสิง่ ไรทีช่ กั นำให้ทา่ นได้มาเสวยทิพยสมบัตอิ นั มากมายเห็นปานนี?้ “

เทพนารีผมู้ รี ศั มีรงุ่ เรือง เมือ่ ถูกพระผูเ้ ป็นเจ้าไต่ถามดังนัน้ จึงน้อมถวายนมัสการด้วยความเคารพเลือ่ ม


ใส แล้วกล่าวตอบว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้าผูท้ รงคุณอันประเสริฐ ! เมือ่ อยูใ่ นมนุษยโลกนัน้ ข้าพเจ้านีเ้ ป็นคนอาภัพอับวาสนา


เป็นทาสีสำหรับให้ทา่ นผูอ้ น่ื ใช้สอย ต่อมาข้าพเจ้าได้เป็นอุบาสิกาในศาสนาแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
โดยการแนะนำของพระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลายทีไ่ ปรับนิตยภัตในเรือนมูลนายได้สมาทานเอาพระไตรสรณคมน์และ ศีล
๕ รักษาอยูด่ ว้ ยความไม่ประมาท เป็นเวลานานถึง ๑๖ ปีทพิ ยสมบัตนิ ข้ี า้ พเจ้าได้ดว้ ยบุญกรรมตามทีก่ ล่าว มาก
ข้าแต่พระผู้เป็นเจ้า ! ขอพระผู้เป็นเจ้าจงเล็งแลดูซึ่งผลแห่งบุญกุศลที่ข้าพาเจ้าได้ประสบอยู่นี่เถิด คือ
เมือ่ ข้าพเจ้ามาอุบตั เิ กิดในสวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์นแ่ี ล้ว ก็มแี ต่ความผ่องแผ้วสุขเกษมเปรมปรีด์ิ แม้แต่ทา่ นท้าวโกสีย์
ผู้เป็นใหญ่ ก็ทรงพระกรุณาพูดจาเล่นหัวกับข้าพเจ้า เหล่าเทพอัปสรกัญญาก็พากันอุปฐากบำเรอใจให้ได้รับ
ความสบาย ไม่มคี วามเศร้าใจและเป็นทุกข์เหมือนเมือ่ ครัง้ ยังอยูใ่ นมนุษยโลก คราวใดเมือ่ นึกถึงเรือ่ งนี้ ข้าพเจ้า
มักมีความคิดเกิดขึน้ ว่า อันบุคคลทัง้ หลาย เมือ่ ปรารถนาซึง่ ทิพยสมบัตใิ นดาวดึงส์สวรรค์น้ี แต่หากว่าเขามิได้
กระทำบุญกุศลแล้ว ความปรารถนาของเขาจักสำเร็จมิได้เลยเป็นอันขาด ต่อเมือ่ ใดเขามีศรัทธาอุตส่าห์ประกอบ
กรรมอันเป็นกุศลเป็นต้นว่าให้ทานและรักษาศีลแล้ว เมือ่ นัน้ ความปรารถนาทีจ่ ะได้มาอุบตั เิ กิดในวิมานชัน้ ดาวดึงส์
สวรรค์น้ี จึงจักสำเร็จเจ้าข้า“

ท่านพระมหาโมคคัลลานะเถระเจ้าองค์อรหันต์ผมู้ ฤี ทธิ์ ได้สดับเทพนารีเล่า บุรพกรรมแห่งตนดังนีแ้ ล้ว


จึงกลับจากเทวจาริกดาวดึงส์สวรรค์ เมือ่ ได้โอกาสก็เข้าไปเฝ้าสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า กราบทูลประพฤติ
เหตุทง้ั ปวงให้พระองค์ทรงทราบ กาลต่อมา สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงนำเอาเรือ่ งนีม้ าแสดง
แก่พุทธบริษัททั้งหลาย ในเวลาที่พระองค์ทรงแสดงเรื่องนี้จบลง ปรากฏว่าธรรมาภิสมัยได้บังเกิดมีแก่เหล่า
โสตุชนคนสดับเป็นอันมาก ด้วยประการฉะนี้

จากการทีไ่ ด้ตดิ ตามเรือ่ งอาจิณณกรรมมาตัง้ แต่ตน้ จนถึงบัดนี้ ท่านผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลายก็ยอ่ มจะทราบ
ได้เป็นอย่างดีแล้วว่า อาจิณณกรรมนี้ ก็ได้แก่กรรมทีก่ ระทำบ่อยๆ หรือทีเ่ รียกว่ากรรมทีก่ ระทำเป็นอาจิณนัน่ เอง
อาจิณณกรรมนี้ ย่อมมีลำดับการให้ผลเป็นที่ ๓ ! หมายความว่า เมือ่ ไม่มคี รุกรรม และเมือ่ ไม่มอี าสันนกรรมแล้ว
อาจิณณกรรมนี้ ก็ย่อมเข้าทำหน้าที่ให้ผล ชักนำบุคคลผู้เป็นเจ้าของกรรมให้ไปเกิดในภพต่อไปทันที
แต่การที่จักไปเกิดในภพดีหรือภพชั่วอย่างไรนั้น นั่นก็สุดแต่ว่าอาจิณณกรรมฝ่ายอกุศลหรือฝ่ายกุศลที่ตน
กระทำไว้จกั ให้ผล คือหากว่าเป็นอาจิณณกรรมฝ่ายอกุศลเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผล ก็จกั ชักนำบุคคลให้ไปบังเกิดใน
ทุคติภมู ิ ซึง่ เป็นภูมทิ ช่ี ว่ั ร้ายหาความสุขสบายมิได้ โดยนัยตรงกันข้าม คือหากว่าเป็นอาจิณณกรรมฝ่ายกุศลเข้า
ทำหน้าทีใ่ ห้ผล ก็จกั นำบุคคลให้ไปบังเกิดในสุคติภมู ิ ซึง่ เป็นภูมทิ ด่ี มี คี วามสุข ในชาติตอ่ ไปอย่างเทีย่ งแท้แน่นอน

 ⌫⌫
ในตอนนี้ เกิดมีปญ ั หาขึน้ มาว่า เมือ่ ไม่มอี าจิณณกรรมนีแ้ ล้ว กรรมอะไรจักให้ผลเป็นลำดับต่อไป? มีคำ
เฉลยไว้วา่ เมือ่ บุคคลจะถึงแก่กาลกิรยิ าตายไปนัน้ หากว่าไม่มกี รรมอันมีพลัง ๓ ประการคือ ครุกรรม – อาสันน
กรรม – อาจิณณกรรม เหล่านีแ้ ล้ว กรรมทีม่ พี ลังน้อยเป็นอันดับสุดท้าย ก็จกั เข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลชักนำให้บคุ คล
ไปบังเกิดในภพต่อไป กรรมทีม่ พี ลังน้อยเป็นอันดับสุดท้ายนีช้ อ่ื ว่า กฏัตตากรรม

กฏัตตากรรม
กฏตฺตา เอว กมฺมนฺติ กฏตฺตากมฺมํ
การกระทำอันได้ชอ่ื ว่ากรรม ก็โดยความเป็นกรรมทีส่ กั ว่ากระทำลงไปแล้วเท่านัน้
กรรมทีส่ กั ว่ากระทำลงไปแล้วนีแ่ หล ะ เรียกชือ่ ว่ากฏัตตากรรม
กฏัตตากรรมนี้ หมายความเอากุศลกรรมและอกุศลกรรม อันสัตว์บคุ คลได้กระทำมาแล้วในอดีตภพ
คือในชาติก่อนๆ ซึ่งได้แก่อปราปริยเวทนียกรรมอย่างหนึ่ง (เรื่องอปราปริยเวทนียกรรมนี้ จักมีคำอธิบายใน
โอกาสข้างหน้า) อีกอย่างหนึ่ง กฏัตตากรรมนี้ หมายความเอากุศลกรรมและอกุศลกรรมอย่างสามัญ ที่สัตว์
บุคคลพากันกระทำในภพปัจจุบนั คือชาติน้ี ทีไ่ ม่เข้าถึงความเป็นครุกรรม – อาสันนกรรม – อาจิณณกรรม เป็น
กรรมทีก่ ระทำโดยธรรมดา ผูก้ ระทำไม่ได้มเี จตนา ไม่ได้มคี วามตัง้ ใจอย่างเต็มที่ คล้ายกับว่าไม่เต็มใจทำ

กฏัตตากรรมนี้ เมือ่ จะแบ่งออกเป็นฝ่ายใหญ่ๆ ก็แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่ายคือกฏัตตากรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศล ๑


กฏัตตากรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศล ๑ ในบรรดากฏัตตากรรมทัง้ ๒ ฝ่ายนัน้ กฏัตตากรรมทีเ่ ป็นฝ่ายอกุศล พึงเห็นตัว
อย่างเช่นเด็กทารกซึ่งมารดาอุ้มอยู่บนตัก ธรรมดาว่าทารกผู้ไร้เดียงสา ซึ่งมารดาอุ้มอยู่บนตักนั้นจะได้รู้คุณ
มารดาบิดา จะได้รจู้ กั บาปบุญคุณโทษแต่สกั ประการใดประการหนึง่ ก็หามิได้ เป็นเด็กไร้กำลังปัญญามีเจตนาอ่อน
จะเกิดความพอใจหรือไม่พอใจก็ตามที ก็ให้มีอันเป็นหยิกข่วนโบยตีเตะถีบมารดาที่อุ้มตนอยู่นั้นไปตาม
ประสาทารกไร้เดียงสา จะได้รวู้ า่ การกระทำของตนนัน้ จักเป็นบาปเป็นบุญก็หามิได้ แต่อกุศลกรรมทีก่ ระทำลงไป
นัน้ ย่อมให้ผล เพราะตามธรรมดาสิง่ ทีก่ ระทำลงไปแล้ว จะเป็นสิง่ ทีไ่ ม่มผี ลนัน้ เป็นอันไม่มโี ดยแท้ อกุศลกรรมที่
เป็นสักแต่วา่ กระทำลงไปแล้ว ซึง่ เป็นกรรมมิสจู้ ะมีกำลังกล้าแข็งดังกล่าวมานีแ่ หละ จัดเป็นกฏัตตากรรมฝ่าย
อกุศล ! ส่วนกฏัตตากรรมทีเ่ ป็นฝ่ายกุศลนัน้ พึงเห็นตัวอย่างเช่นทารกไร้เดียงสากระทำบุญ ธรรมดาว่าทารก
ไร้เดียงสา ซึง่ เกิดมาในตระกูลสัมมาทิฐิ บิดามารดาผูม้ คี วามปรารถนาดีหวังจักให้ได้ประกอบกองการกุศล จึง
จับมือเจ้าทารกผูม้ ริ คู้ วามแต่สกั ประการใดประการหนึง่ นัน้ ให้พนมไหว้พระพุทธรูปหรือพระภิกษุสงฆ์ผทู้ รงศีล
จับมือเจ้าทารกนัน้ ให้ถวายทาน ด้วยการใส่บาตรพระภิกษุสงฆ์หรือสอนให้ภาวนาว่า พุทโธ...พุทโธ...เป็นอาทิ
ซึง่ ทารกนัน้ ก็แสดงกิรยิ าบุญไปอย่างนัน้ เอง จะได้มเี จตนารูว้ า่ เป็นสิง่ ทีม่ คี ณ
ุ เป็นกุศลก็หามิได้ หรือมิฉะนัน้ พึง
เห็นตัวอย่าง เช่น กิริยาบุญของสัตว์เดียรฉาน ตามธรรมดาสัตว์เดียรฉานทั้งหลาย คือสกุณโปดกนกแก้ว
นกขุนทองและนกสาลิกา ทีค่ นเขาจับเอามาขังไว้ในกรงแล้วสอนให้พดู ภาษามนุษย์นน้ั แม้มนั จะพูดภาษาคนได้
อย่างดีเลิศ เจ้าของสอนให้สวดสดุดี พระพุทธคุณ พระธรรมคุณและพระสังฆคุณอันประเสริฐ มันก็ยอ่ มจะว่าตาม
เจ้าของไปอย่างนัน้ เอง จะได้รเู้ ป็นสิง่ ดีมคี ณ
ุ เป็นบุญเป็นกุศลก็หามิได้ แต่วา่ กุศลกรรมทีไ่ ด้กระทำลงไปนัน้ ย่อม

 ⌫ 


ให้ผล แม้จะเป็นกรรมทีส่ กั แต่วา่ กระทำเท่านัน้ ก็ตาม กุศลกรรมทีเ่ ป็นสักแต่วา่ กระทำลงไปแล้ว ซึง่ เป็นกรรมที่
มีกำลังอ่อน มีพลังมิสจู้ ะกล้าแข็งนักดังกล่าวมานีแ่ หละ จัดเป็นกฏัตตากรรมฝ่ายกุศล

เมือ่ ว่าถึงกิรยิ าทีใ่ ห้ผล กฏัตตากรรมนีก้ ม็ กี ำหนดกาลอันจะให้ผลมิได้ พึงกำหนดได้แต่วา่ จะให้ผลใน


ภพใดภพหนึง่ กำหนดได้แต่เพียงอย่างนีเ้ ท่านัน้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะว่ากฏัตตากรรมเป็นกรรมทีม่ พี ลังเบาและมีพลัง
น้อยเหลือเกิน น้อยจนตัวผูก้ ระทำก็หารูว้ า่ เป็นบุญเป็นบาปไม่ กระทำไปด้วยไม่รู้ โดยชัน้ ทีส่ ดุ แม้สกั แต่จะรูว้ า่
เป็นการกระทีด่ หี รือไม่ดเี ท่านัน้ เจ้าตัวก็หามีเจตนาจะเอาใจใส่ไม่ ฉะนัน้ กฏัตตากรรมนี้ จึงให้ผลโดยไม่มกี ำหนด
กาลทีแ่ น่นอนลงไปได้ ในกรณีแห่งการให้ผลของกฏัตตากรรมนี้ มีคำอุปมาทีท่ า่ นกล่าวไว้วา่ เปรียบเหมือนลูกศร
ทีค่ นบ้ายิง

ธรรมดาว่าลูกศรทีค่ นบ้ายิงไปนัน้ หามีทห่ี มายว่าจะไปตกลง ณ ทีใ่ ดทีห่ นึง่ ก็หามิได้ ทัง้ นีก้ เ็ พราะ
คนบ้านัน้ เขายิงส่งเดชไปตามประสาบ้าของเขานัน่ เอง ไม่มเี ป้าหมาย กำหนดไม่ได้วา่ จะไปตกลงทีต่ รงไหนแห่ง
ปฐพี อย่างดีกเ็ พียงแต่กำหนดได้วา่ จะต้องตกลงเหนือปฐพีอย่างแน่นอนเท่านัน้ เอง อุปมานีฉ้ นั ใด กฏัตตากรรม
ทีบ่ คุ คลกระทำแล้วก็เหมือนกัน จะกำหนดกาลว่าจักต้องให้ผลในชาติใดชาติหนึง่ อย่างแน่นอนเท่านัน้ เอง ด้วย
เหตุน้ี ในการจัดลำดับการให้ผลแห่งกรรมทัง้ หลาย ท่านจึงจัดกฏัตตากรรมนีไ้ ว้เป็นอันดับสุดท้าย

ในกรณีทว่ี า่ กฏัตตากรรมจักมีผลอย่างไรบ้างนัน้ นัน่ ก็สดุ แต่วา่ กฏัตตากรรมฝ่ายไหนจักให้ผลคือ หาก


ว่าเป็นกฏัตตากรรมฝ่ายอกุศล ก็ยอ่ มจะให้ผลนำบุคคลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมให้ไปบังเกิดในทุคติภมู ิ ตรงกันข้าม คือ
หากว่าเป็นกฏัตตากรรมฝ่ายกุศลก็ย่อมจะให้ผลให้ไปบังเกิดในสุคติภูมิ เพื่อความเข้าใจดีในเรื่อง นี้จักขอถือ
โอกาสนำเอาชีวประวัตขิ องบุคคล ผูซ้ ง่ึ ถูกกฏัตตากรรมฝ่ายอกุศลดลบันดาลให้ไปบังเกิดในทุคติภมู ิ มาเล่าให้
ฟังอีกตามประสงค์ ดังต่อไปนี้

กรรมของเปรต
ได้สดับมาว่า เมื่อสมเด็จพระมิ่งมงกุฎศรีศากยมุนีโคดมบรมครูเจ้าแห่งเราทั้งหลาย พระองค์ได้ดับ
พระชนมายุบรรลุสวิ าลัยอมฤตบุรี คือเสด็จดับขันธ์เข้าสูพ่ ระปรินพิ พานไปแล้ว มีพระภิกษุสงฆ์สาวกพวกหนึง่
ในโลหนชนบท ซึง่ มีความประสงค์จะเดินทางไปถวายนมัสการต้นพระศรีมหาโพธิอนั เป็นสถานทีต่ รัสรูข้ อง พระองค์
ในขณะที่เดินทางมาถึงสถานที่แห่งหนึ่งนั้น เกิดหลงทางเข้าไปในป่าใหญ่ ไม่สามารถจะหาทางออกได้
เดินวนเวียนอยูใ่ นป่าใหญ่นน้ั หลายวัน พวกเธอพากันได้รบั ความหิวโหยและลำบากเป็นอันมาก หลังจากเทีย่ ว
เดินหาทางออกจากป่าใหญ่มานาน ในทีส่ ดุ ก็พากันเดินมาบรรลุถงึ ทุง่ กว้างกลางป่าใหญ่เข้าแห่งหนึง่ เมือ่ แลไป
กลางทุง่ พระภิกษุเหล่านัน้ ก็ได้แลเห็นมนุษย์คนหนึง่ ซึง่ มีรปู ร่างแปลกประหลาดพิกลไม่เหมือนคนในบ้านใน
เมืองธรรมดา กำลังเทียมโคใหญ่ ๔ ตัวเข้าทีไ่ ถเหล็ก แล้วไถนาอยูค่ นเดียวในทุง่ กลางป่า อารามดีใจว่าจะได้ผู้
บอกหนทางออกจากป่า ไม่ได้ทนั พิจารณาให้ดี เธอทัง้ หลายจึงรีบตรงรีเ่ ข้าไปถามว่า

 ⌫⌫
“อุบาสก ! ขอท่านจงหยุดไถนาสักประเดีย๋ วก่อนเถิด อาตมาอยากจะถามว่า ทางทีจ่ ะออกจากป่านีไ้ ป
ทางไหนกัน? พวกเราหลงทางเทีย่ วเดินวนเวียนอยูใ่ นป่านีม้ าครบ ๗ วันเข้าวันนีแ้ ล้ว ได้รบั ความเหนือ่ ยยาก
เหลือเกิน ไม่ทราบว่าจะไปทางไหนขออุบาสกจงช่วยบอกทางไปสักหน่อยเถิด“

“ฮึ่ ! อะไร“ ชายแปลกประหลาดหยุดไถ เงยหน้าขึน้ ถามคล้ายกับฟังคำพูดไม่เข้าใจ ต่อเมือ่ ภิกษุทง้ั


หลายถามซ้ำให้เขาเข้าใจดีแล้ว เขาจึงพูดไปเสียอีกทางหนึง่ ว่า

“ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! พวกท่านหลงทางอยูใ่ นป่าใหญ่ได้รบั ความลำบากเพียง ๗ วันเท่านัน้ มิสจู้ ะ เท่าไร


ส่วนข้าพเจ้านีส้ ิ หลงทางอยู่ ณ ทีน่ ่ี ไถนาอยูอ่ ย่างนีท้ ง้ั กลางวันกลางคืนเป็นเวลานานนับได้ ๑ พุทธันดร แล้ว
ได้รบั ความลำบากมากกว่าพระคุณเจ้าทัง้ หลายเป็นไหนๆ“

“อะไรกัน อุบาสก ! คนไถนาทัง้ กลางวันกลางคืน และมีอายุยนื เป็นพุทธันดรมีทไ่ี หนกัน ทำไมท่านจึง


แกล้งพูดเป็นเล่นเช่นนัน้ เล่า?“ ภิกษุเหล่านัน้ ถาม

“ข้าพเจ้าพูดจริงๆ“ เขายืนยัน แล้วกล่าวต่อไปว่า “ขอพระผู้เป็นเจ้าจงพิจารณาดูข้าพเจ้าให้ดี ว่า


ข้าพเจ้านีเ้ ป็นคนหรือเป็นอะไร“

“ท่านเป็นอะไร? ถูกแล้ว ท่านไม่ใช่คนอย่างแน่ๆ แต่วา่ ท่านเป็นอะไร?” ภิกษุเหล่านัน้ ถามด้วยความ


แปลกใจ หลังจากพิจารณาดูสารรูปอันน่าเกลียดน่ากลัวของเขาแล้ว และแน่ใจว่าไม่ใช่เป็นมนุษย์

“เปรต ! ข้าพเจ้านีเ้ ป็นเปรต เปรตซึง่ กำลังได้รบั ความทุกขทรมานอย่างหนัก ต้องไถนาอยูอ่ ย่างนี้


ตลอดทัง้ กลางวันกลางคืน ไม่ทราบว่าจะไถไปทำไมเหมือนกัน จะวางไถก็ไม่ได้ ต้องไถอยูอ่ ย่างนีม้ าเป็นเวลา
นานได้ ๑ พุทธันดรแล้ว ได้รบั ความลำบากมาก“ เปรตไถนานัน้ ตอบด้วยความเศร้า

“ท่านทำกรรมอะไรไว้เล่า จึงได้มาเฝ้าไถนาอยูก่ ลางป่า อันเป็นดงดิบอยูอ่ ย่างนี้ ขอจงชีแ้ จงให้พวกเรา


ได้ทราบไว้บา้ งก็จะเป็นการดี?“

“ ก็ไม่มอี ะไร“ เปรตนัน้ ตอบพร้อมกับสะบัดหน้านิดๆ หลบสายตาพระภิกษุ ทัง้ หลายคล้ายกับจะบังเกิด


ความน้อยเนือ้ ต่ำใจ เมือ่ ทนรบเร้าไม่ได้ มันจึงหลุดปากออกมาว่า “ข้าพเจ้าทำบาปด้วยปาก เมือ่ ก่อนนีใ้ นสมัย
ศาสนาพระกัสสปะพุทธเจ้านัน้ ข้าพเจ้าเป็นชาวนา กระทำบาปด้วยปาก ก็ไม่มากมายอะไรเลย ทำไมจึงได้มา
เกิดเป็นเปรตอยูอ่ ย่างนีก้ ไ็ ม่ทราบ“

“ทำบาปด้วยปาก ! ทำอย่างไรกัน ขอท่านจงชีแ้ จงให้ละเอียดกว่านีอ้ กี สักหน่อยเถิด“ พระภิกษุทง้ั


หลายกล่าวรบเร้าขึน้ อีก

 ⌫ 


เปรตผูม้ กี รรมแปลกประหลาดตนนัน้ มันจึงเริม่ เล่าชีวประวัตแิ ต่อดีตหนหลังแห่งตนว่า

สมัยเมือ่ องค์สมเด็จพระกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาอุบตั ติ รัสในโลกนัน้ ข้าพเจ้าเกิดเป็นมนุษย์ มี


อาชีพทำนาเลีย้ งชีวติ วันหนึง่ ประชาชนทัง้ หลายเขาพากันไปทำบุญและทำสักการบูชาแด่องค์สมเด็จพระกัสสปะ
พุทธเจ้า คงจะไม่มเี รือ่ งราวอะไรเกิดขึน้ ถ้าหากว่าคนเหล่านัน้ เขาไปกันตามประสาของเขาโดยธรรมดา แต่นห่ี า
เป็นเช่นนัน้ ไม่ เพราะคนทัง้ หลายเหล่านัน้ ได้มาชักชวนข้าพเจ้าให้ไปร่วมทำบุญด้วย ข้าพเจ้าเห็นว่าการไปทำ
บุญแก่พระกัสสปะพุทธเจ้านัน้ เป็นการเสียประโยชน์ เสียเวลาทำมาหากิน สูไ้ ปไถนาไม่ได้ จึงได้ตอบคนเหล่า
นัน้ ไปว่า ไม่ไปเพราะเสียเวลาไถนา พวกเขาก็บอกว่าการไปทำบุญแก่พระกัสสปะพุทธเจ้า ดีกว่าการไถนาเป็น
ไหนๆ

“พระกัสสปะพุทธเจ้าวิเศษอย่างไร ท่านสามารถทีจ่ ะไถนาอย่างเรานีไ้ ด้หรือไม่?” ข้าพเจ้าถามพวกเขา


ไป เพือ่ จะตัดความรำคาญ คนเหล่านัน้ แสดงท่าตกใจ แล้วออกโวหารมากมายล้วนแต่สดุดคี ณ ุ แห่งพระพุทธเจ้า
ตามธรรมดาของคนหลงบูชาพระศาสดาของตน แล้วก็ตกั เตือนไม่ให้ขา้ พเจ้าพูดเช่นนัน้ พรรณนาโทษแห่งการ
ดูหมิน่ พระบรมครูของเขามากมาย จนข้าพเจ้าหมัน่ ไส้ เลยพูดตัดบทออกไป โดยไม่มใี จคิดจะดูถกู ดูหมิน่ ใคร เลยว่า

“ท่านทัง้ หลายอย่ามาสาธยายให้หนวกหูเราเลย เอาละเป็นอันว่าพระกัสสปะวิเศษจริง แต่เราก็ได้ตง้ั ใจ


ไว้แล้วว่า ถ้าพระกัสสปะไม่สามารถมาไถนาให้เราได้ เราก็จะไม่ไป ไม่ทำสักการบูชา หากว่าพระกัสสปะ
พุทธเจ้าสามารถมาจับหางไถ ไถนาได้อย่างเราเมื่อไร นั่นแหละ เราจึงจะไปทำบุญและทำสักการบูชา ด้วย
ปากชัว่ ของข้าพเจ้าเช่นนี้ ซึง่ พูดขึน้ โดยมีจดุ ประสงค์จะประชดประชันคนทัง้ หลายเหล่านัน้ มากกว่า จะว่าเป็น
บาปเป็นกรรมอะไรก็ไม่เชิง แต่เหตุไฉน จึงดลบันดาลให้ขา้ พเจ้ามาเกิดเป็นเปรตอยู่ ณ ทีน่ ่ี อดข้าวอดน้ำ ไม่ได้
นัง่ ไม่ได้นอน ต้องไถนาอยูต่ ลอดวันยังค่ำคืนยังรุง่ ไม่มเี วลาได้พกั ผ่อนเลย ตัง้ แต่วนั ตายจากมนุษย์เป็นต้นมา
บัดนี้ก็เป็นเวลานานถึงหนึ่งพุทธันดรแล้ว ไม่ทราบว่าเมื่อไรจักสิ้นเวรกรรมนั้นสักที“ เปรตรำพึงในตอนท้าย
เมือ่ เล่าประวัตขิ องตนให้ภกิ ษุทง้ั หลายฟังจบลงแล้ว ในทีส่ ดุ ดูเหมือนว่าจักปลงตกในชะตากรรมของตน หลัง
จากยืนก้มหน้านิง่ อยูค่ รูห่ นึง่ แล้ว จึงยกมือขึน้ ชีแ้ ละบอกแก่ภกิ ษุทง้ั หลายว่า

“โน่นแน่ะ หนทางทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าทัง้ หลายต้องประสงค์จะไป อ้อ ! ก่อนทีจ่ ะจากไป ข้าพเจ้าใคร่จะสัง่


ความสักอย่างหนึ่งคือว่า ขอพระผู้เป็นเจ้าทั้งหลาย จงได้กรุณาบอกเพื่อนมนุษย์ทั้งหลายด้วยเถิดว่า ขอให้
เพือ่ นมนุษย์ทง้ั หลายทีย่ งั ไม่ตาย จงพยายามขวนขวายในการทำบุญให้ทาน จงอย่ามีใจประมาทในอกุศลกรรม
ความชัว่ เพียงเล็กน้อย อย่าได้เป็นคนมีปากชัว่ เช่นกับข้าพเจ้า ขอให้ถอื เอาข้าพเจ้าเป็นเยีย่ งอย่าง พยายาม
สร้างบุญกุศลไว้ เมือ่ ถึงคราวตายจะได้ไม่ตอ้ งมาเกิดเป็นเปรต ให้เป็นทีน่ า่ เวทนาสงสารเช่นกับตัวข้าพเจ้านี“้
เปรตสัง่ ดังนีแ้ ล้วก็ประณมมือท่วมหัวนมัสการพระภิกษุทง้ั หลาย แล้วยืนก้มหน้านิง่ อยู่

 ⌫⌫
สาวกแห่งองค์สมเด็จพระบรมครูผหู้ ลงป่าทัง้ หลาย เมือ่ ได้ประสบการณ์เช่นนี้ ก็มคี วามรูส้ กึ สังเวชสลดใจ
เป็นกำลัง ในทีส่ ดุ ก็กล่าวคำอำลาออกเดินไปตามทางทีเ่ ปรตผูอ้ ารีชบ้ี อกต่อไปจนถึงจุดหมายปลายทาง นัน่ คือ
พระศรีมหาโพธิพฤกษ์อนั เป็นสถานทีต่ รัสรูแ้ ห่งองค์สมเด็จพระบรมครูเจ้า ด้วยประการฉะนี้

ชีวประวัติของบุคคลอีกผูห้ นึง่ ซึง่ ถูกกฏัตตากรรมฝ่ายอกุศล ดลบันดาลให้ไปเกิดเป็นเปรตวิสยั ภูมนิ น้ั


มีอยูว่ า่

ณ ตามพปัณณิทวีป มีพระสถูปเจดียใ์ หญ่อยูอ่ งค์หนึง่ ซึง่ เป็นทีบ่ รรจุพระบรมธาตุแห่งสมเด็จพระบรม


ศาสดาจารย์ พระองค์ผเู้ สด็จดับขันธ์เข้าสูพ่ ระปรินพิ พานไปแล้ว พุทธบริษทั ผูม้ ใี จผ่องแผ้วเลือ่ มใสในพระบวร
พุทธศาสนา ได้พากันจัดทำผ้าคลุมพระสถูปเจดีย์ใหญ่นั้นอย่างสวยงาม และได้จารึกตัวอักษรไว้บนผ้าคลุม
สีแดงนัน้ ว่า

“ผ้านีช้ าวพุทธขออุทศิ ถวายให้เป็นสมบัตขิ องพระสถูปเจดีย“์

กาลต่อมา ปรากฎว่าได้มลี มพายุใหญ่พดั ผ้าคลุมเจดียน์ น้ั ไปตกในทีน่ าแห่งกุฏมุ พีผมู้ ฐี านะดีคนหนึง่ ใน


ตามพปัณณิทวีป ครัน้ เขามาถึงนาเห็นผ้านัน้ แล้วจึงคิดว่า “ผ้าผืนนีม้ รี าคาแพงมากหากเราเอาไปทำผ้าห่ม คงจัก
เป็นประโยชน์แก่เรามากทีเดียว“ แม้ว่าเขาจะได้พบอักษรจารึกที่เขียนไว้บนแผ่นผ้า และรู้ว่าเป็นสมบัติของ
มหาเจดีย์ ก็หาได้คำนึงถึงการทีจ่ ะนำเอาไปคืนให้แก่พระมหาเจดียไ์ ม่ ทัง้ นีก้ เ็ พราะมีใจมักง่าย คิดเอาเองว่า
“เมือ่ ผ้านัน้ มาตกในนาของเรา ก็ยอ่ มจะเป็นสมบัตขิ องเรา บาปกรรมอะไรในเรือ่ งนีค้ งไม่มี “ คิดดังนีแ้ ล้วก็นำ
เอาผ้านั้นกลับมาบ้านทำเป็นผ้าห่ม เขาห่มผ้าอันเป็นสมบัติของพระมหาเจดีย์อยู่ไม่นานก็ถึงกาลกิริยา
กฏัตตากรรมฝ่ายอกุศลก็ชกั นำให้เขาไปบังเกิดในเปตติวสิ ยั

เป็นเปรตร่างร้ายทนทุกขทรมาน มีแผ่นเหล็กแดงหนากว่าแผ่นผ้านัน้ ตัง้ ๑,๐๐๐ เท่า คลุมตัวเขาอยู่


แผ่นเหล็กนัน้ ได้ลกุ แดงเป็นเปลวไฟเผ้าไหม้เขาอยูต่ ลอดเวลา ได้รบั ทุกขเวทนา จะแกะเอาแผ่นเหล็กแดงนัน้
ออกก็มไิ ด้ ได้แต่รอ้ งดิน้ ทุรนทุราย จะตายไปก็ไม่ตาย เสวยทุกข์อนั แสนสาหัสอยูเ่ ช่นนัเ้ ป็นเวลานานนักหนา

คราหนึง่ มันได้พยุงร่างอันพิลกึ นัน่ เดินร้องครวญครางไปตามยถากรรม จนกระทัง่ ไปพบพระมหาเถระ


ผูม้ ปี รกติอยูป่ า่ เป็นวัตรรูปหนึง่ จึงโซซัดโซเซเข้าไป โดยหมายใจว่าจะให้ทา่ นช่วยเป็นทีพ่ ง่ึ แก่มนั ครัน้ ไปถึง แล้ว
ได้แสดงตนได้ปรากฏ

“ท่านเป็นใคร? เหตุไฉนจึงมีรูปร่างพิลึกพิกลเช่นนี้ มีกายคลุมด้วยเหล็กแดงเป็นไฟ ท่านไม่เร่าร้อน


บ้างหรือไร ดูทวี า่ ท่านนีค้ งจะมิใช่เป็นมนุษย์?“ พระภิกษุมหาเถระถามด้วยความแปลกใจ หลังจากทีไ่ ด้เห็นสาร
รูปของมันแล้ว

 ⌫ 


“เปรต ! ข้าพเจ้าเป็นเปรต ซึ่งได้รับทุกขเวทนามานานนักหนาแล้ว ไม่ได้กินข้าวกินน้ำ มีแต่แผ่น
เหล็กแดงลุกเป็นไฟคลุมกายอยูอ่ ย่างนี้ ทีท่ า่ นถามว่าไม่รอ้ นหรืออย่างไรนัน้ เป็นไรจะไม่รอ้ นเล่าท่าน ข้าพเจ้า
ได้รบั ความเร่าร้อนแทบจะขาดใจ เพราะถูกไฟเผาไหม้รา่ งอยูต่ ลอดเวลา ไม่ทราบว่าเมือ่ ไหร่จะสิน้ กรรม“

“กรรมอะไร? ท่านทำกรรมอะไรไว้ จึงได้เสวยทุกขเวทนาเห็นปานนี้?“ พระมหาเถรเจ้าถามถึงอดีต


กรรมของมัน

“เมือ่ ก่อนนี้ ข้าพเจ้าเป็นมนุษย์กฎุ มุ พีมฐี านะมัน่ คง ได้ถอื เอาผ้าคลุมมหาเจดียท์ ล่ี มพัดพามาตกในนา


ของข้าพเจ้า มาทำเป็นผ้าห่มเพือ่ เป็นการประหยัดไม่ตอ้ งซือ้ ผ้าห่มใหม่ให้สน้ิ เปลือง โดยไม่คดิ ว่าเรือ่ งร้ายใน
ภายหน้าเช่นนีจ้ ะเกิดขึน้ เพราะเห็นว่าไม่เป็นบาปเป็นกรรมอะไร แต่ทำไม พอข้าพเจ้าขาดใจตายจึงได้มาเกิด
เป็นเปรตเสวยทุกข์อยูเ่ ช่นนีก้ ไ็ ม่ทราบได้“ มันเล่าอดีตประวัตแิ ห่งตนให้พระมหาเถระเจ้าฟังดังนีแ้ ล้ว ก็ยกมือ
ขึน้ ท่วมศีรษะนมัสการพระมหาเถระและกล่าวอ้อนวอนว่า “ข้าแต่พระผูเ้ ป็นเจ้า ! ข้าพเจ้าได้มาพบท่านในวันนี้
แล้วให้ดใี จนัก หวังจักขอร้องให้ชว่ ยเหลือเป็นทีพ่ ง่ึ จึงสำแดงกายให้ทา่ นเห็น พระผูเ้ ป็นเจ้าจะมีอบุ ายวิธชี ว่ ย
เหลือข้าพเจ้าได้อย่างไร ก็สดุ แต่จะกรุณาเถิด เจ้าข้า“ ว่าดังนีแ้ ล้วเปรตผูม้ กี รรมนัน้ ก็อนั ตรธานหายวับไปกับตา

พระมหาเถระผูม้ ปี รกติอยูป่ า่ เมือ่ มาได้ประสบการณ์เช่นนี้ ก็นอนตรองหาอุบายวิธจี ะช่วยเหลือเปรต


นัน้ ให้พน้ จากความทุกขทรมานอยูห่ ลายวัน ในทีส่ ดุ ก็นกึ ขึน้ ได้วธิ หี นึง่ จึงออกจากุฎนี อ้ ยในป่า เข้าไปพักอยูใ่ น
วิหารใกล้บ้านแห่งหนึ่ง เที่ยวเสาะแสวงหาผ้าตามสมณวิสัย ได้ผ้าที่ทายกเขามีศรัทธาถวายมาผืนหนึ่งยาว
ประมาณ ๔ ศอกแล้วก็ดใี จนัก จึงเดินมุง่ หน้าไปสูพ่ ระมหาเจดีย์ ครัน้ ถึงแล้วก็นำเอาผ้านัน้ ไปห่มถวายเป็นผ้า
คลุมพระมหาเจดีย์ แล้วตัง้ จิตอุทศิ ส่วนกุศลให้แก่เปรตนัน้ โดยหวังว่า ถ้าเปรตผูต้ กยากนัน้ สามารถรับส่วนกุศล
ทีต่ นอุทศิ ให้ได้แล้ว เขาคงจักพ้นจากความทุกข์ทรมานได้เป็นแน่แท้ เสร็จธุระแล้วก็กลับมาอยูท่ ก่ี ฎุ นี อ้ ยในป่า
ตามเดิม

“ท่านขอรับ ! ข้าพเจ้ามากราบเท้าขอบพระคุณท่าน ทีไ่ ด้ชว่ ยเหลือให้พน้ จากความทุกขยาก“ มีเสียง


ร้องเรียกพระมหาเถรเจ้าขึน้ ว่าดังนี้ ในยามราตรีคนื หนึง่ ซึง่ ทำให้พระมหาเถระผูอ้ ยูป่ า่ เป็นวัตรรูปนัน้ แปลกใจ มาก
เมือ่ ท่านเหลียวแลดูไปทางเสียงนัน้ ก็พลันได้เห็นเทวดาตนหนึง่ มีรศั มีรงุ่ เรืองงดงาม จึงได้ถามขึน้ ว่า

“ท่านเป็นใคร? และมากล่าวขอบคุณเราด้วยเรือ่ งอะไร“

“พระผูเ้ ป็นเจ้าจำไม่ได้หรือ ข้าพเจ้านีค้ อื เปรตซึง่ มาขอความช่วยเหลือจากพระผูเ้ ป็นเจ้าเมือ่ เร็วๆ นีย้ งั


ไงเล่า“ เทวดานัน้ แนะนำตนเอง เพือ่ ให้พระมหาเถระหายงง แล้วกล่าวต่อไปว่า “ตัง้ แต่ขา้ พเจ้าได้มาขอความ
ช่วยเหลือ โดยถือเอาพระผูเ้ ป็นเจ้าเป็นทีพ่ ง่ึ ในวันนัน้ แล้ว ก็เฝ้ารอดคอยความอนุเคราะห์จากพระผูเ้ ป็นเจ้าอยู่
ด้วยความหวัง จนกระทัง่ พระผูเ้ ป็นเจ้าถวายผ้าคลุมแด่พระมหาเจดีย์ แล้วอุทศิ ส่วนกุศลส่งมาให้ขา้ พเจ้าด้วย
จิตกรุณา ข้าพเจ้าก็ตง้ั ใจอนุโมทนาเกิดเป็นปัตตานุโมทนามัยกุศล บัดดลเจ้าแผ่นเหล็กร้ายลุกเป็นไฟทีห่ มุ้ กายก็

 ⌫⌫
แตกกระจายพังพินาศไปสิน้ ผ้าทิพย์ผนื ใหญ่พร้อมทัง้ กายทิพย์ได้ปรากฏขึน้ แทน ซึง่ นัน่ ก็หมายความว่าข้าพเจ้า
ได้ตายจากเปรตวิสยั มาอุบตั ใิ หม่กลายเป็นเทวดามีรศั มี ด้วยอานุภาพแห่งปัตตานุโมทนามัยกุศล อันเป็นกุศล
ทีบ่ งั เกิดขึน้ เพราะได้อนุโมทนาส่วนบุญทีพ่ ระผูเ้ ป็นเจ้าตัง้ ใจอุทศิ ให้ ข้าพเจ้ามาในราตรีคนื นี้ มีความประสงค์จะ
มากราบขอบพระคุณในความเมตตากรุณาทีไ่ ด้ชว่ ยอนุเคราะห์ให้ขา้ พเจ้าพ้นทุกข์“ เทวดาอดีตเปรตกล่าวแล้ว
ก็นอ้ มกายถวายนมัสการพระมหาเถระผูม้ คี ณ ุ แก่ตนอีกครัง้ หนึง่ แล้วก็อนั ตรธานหายวับไป ด้วยประการฉะนี้

ชีวประวัติของบุคคลอีกผูห้ นึง่ ซึง่ ถูกกฏัตตากรรมฝ่ายอกุศลดลบันดาลให้ไปบังเกิดในเปรตวิสยั ภูมนิ น้ั


มีดงั ต่อไปนี้

ณ เมืองราชคฤห์มหานคร มีบรุ ษุ คนหนึง่ ซึง่ ปรากฎว่าเป็นผูม้ ที รัพย์สมบัตมิ หาศาลประมาณได้ ๘๐


โกฏิ ภายหลังได้รบั การแต่งตัง้ จากองค์สมเด็จพระราชาธิบดีให้เป็นเศรษฐี ท่านเศรษฐีผนู้ เ้ี ป็นคนตระหนีเ่ หนียว
แน่น ไม่ยอมบริจาคทานหรือสละทรัพย์ให้แก่ใครๆ แม้กระทัง่ ตัวตะแกเอง ก็ไม่ยอมใช้จา่ ยทรัพย์หากว่าไม่จำเป็น
จริงๆ อาหารทีใ่ ช้บริโภคก็ไม่ยอมบริโภคอาหารดี ทนบริโภคข้าวปลายเกรียน ซึง่ ผสมกับรำและน้ำผักดอง เสือ้
ผ้าทีใ่ ช้นงุ่ ห่มก็ใช้เสือ้ ผ้าปอนๆ ขาดรุง่ ริง่ ไม่มชี น้ิ ดี ยานพาหนะทีใ่ ช้ขบั ขีเ่ ล่า ก็เป็นรถม้าเก่าๆ มีชวี ติ อยูด่ ว้ ยความ
ตระหนีเ่ หนียวแน่นอย่างน่าเวทนายิง่ นัก

“ท่านจะขีเ้ หนียวไปถึงไหนกัน ท่านเศรษฐี ! ทรัพย์สมบัตทิ ง้ั หลาย ตายไปแล้วจะนำเอาติดตัวไปได้เมือ่


ไหร่กนั ฉะนัน้ ในขณะทีม่ ชี วี ติ อยูน่ ้ี ท่านจงใช้ทรัพย์ให้เป็นประโยชน์เถิด จงใช้ทรัพย์จบั จ่ายอำนวยความสุขให้
แก่ตนเอง และจงบริจาคทานเพือ่ จะได้เป็นเสบียงสำหับอำนวยความสุขให้ในปรโลกภายภาคหน้า ดีกว่าทีจ่ ะ
เก็บทรัพย์เอาไว้เฉยๆ ไม่มปี ระโยชน์อะไร จงคิดดูเสียให้ดๆี อย่าขีเ้ หนียวไปนักเลย“ สัตบุรษุ ผูเ้ ป็นสหายของ
เขาคนหนึง่ กล่าวแนะนำขึน้ ด้วยความหวังดี

“เว้ย...เฮ้ยเจ้าขีข้ า้ ในอนาคต ! มันผิดกฎหมายบ้านเมืองหรืออย่างไร ในการทีข่ า้ เป็นคนขีเ้ หนียวข้าจะ


ตระหนีถ่ เ่ี หนียวก็เป็นเรือ่ งของข้า ไม่ได้หนักศีรษะใคร อีกประการหนึง่ ไซร้ ในทางศาสนาก็ไม่เห็นบอกว่า การ
เป็นคนตระหนีถ่ เ่ี หนียวนัน้ จัดเป็นบาปเป็นกรรมข้อไหน เจ้าอย่าได้มาเตือนข้าให้รำคาญหนวกหู เพราะมติของ
ข้านัน้ มีอยูว่ า่ ใครโง่เขลาจับจ่ายทรัพย์ให้หมดไปเท่าใด คนนัน้ ก็เดินทางใกล้ความเป็นขีข้ า้ เข้าไปทุกที“ ท่าน
เศรษฐีตวาดเอาสัตบุรุษผู้เตือนตนดังนี้แล้ว ก็ก้มหน้าก้มตาสะสมทรัพย์สมบัติของตนเรื่อยไป เมื่อได้ทรัพย์
มากมายเหลือทีจ่ ะเก็บเอาไว้ในบ้านแล้ว เขาจึงเอาสมบัตอิ นั มีคา่ ส่วนหนึง่ แอบไปฝังไว้ทจ่ี อมปลวกในป่าใหญ่
โดยไม่ให้ใครรูแ้ ม้แต่สกั คนเดียว กาลต่อมา เมือ่ เขาเจ็บหนักใกล้จะตายนัน้ จิตของเขาเศร้าหมองด้วยความเป็น
ห่วงทรัพย์ทฝ่ี งั เอาไว้ในป่าเป็นอย่างยิง่ ความเศร้าหมองแห่งจิตผลิตผลเป็น กฏัตตากรรมฝ่ายอกุศล ชักนำให้
เข้าไปบังเกิดในเปตติวสิ ยั ภูมิ

เป็นเปรตมีรปู ร่างแปลกประหลาด โดยมีรปู ร่างเหมือนงูเหลือมตัวใหญ่ แต่ผา่ ยผอมนักหนาเทีย่ วเลือ้ ย


มะงุมมะงาหราอยูใ่ กล้จอมปลวกในป่าใหญ่ ซึง่ ตนฝังสมบัตอิ นั มีคา่ ไว้นน้ั อดอยากอาหารได้รบั ความหิวโหยเป็น

 ⌫ 


อย่างยิง่ เพราะตัง้ แต่ตายจากชาติมนุษย์มาเกิดเป็นเปรตงูเหลือม ข้าวมาตรว่าสักเมล็ดหนึง่ ก็ดี น้ำมาตรว่าสัก
หยาดหนึง่ ก็ดี มิได้ปรากฏมีแก่เขาเลย ต้องทนทุกขทรมานเป็นเปรตอยูใ่ นสถานทีน่ น้ั มานานนักหนาและจะนาน
ต่อไปในภายหน้าอีกสักเท่าไร แม้แต่ตวั เขาเองก็มอิ าจจะรูไ้ ด้ ด้วยประการฉะนี้

ชีวประวัตขิ องบุคคลอีกผูห้ นึง่ ซึง่ ถูกกฏัตตากรรมฝ่ายอกุศล ดลบันดาลให้ไปบังเกิดเป็นเปรตติวสิ ยั


ภูมนิ น้ั มีดงั ต่อไปนี้

ณ เจติยบรรพตในตามพปัณณิทวีป มีวหิ ารอันเป็นทีอ่ ยูข่ องพระภิกษุในพระบวรพุทธศาสนาแห่งหนึง่


ปรากฏว่ามีพระภิกษุทง้ั หลายจำพรรษาอยูเ่ ป็นจำนวนมาก พุทธบริษทั ทัง้ ปวงมีความเป็นห่วงพระสงฆ์ ต่างพา
กันนำเอาสิง่ ของเครือ่ งใช้เภสัชและข้าวสารมาถวายเป็นสังฆทาน คือ เป็นของสงฆ์มากมายทุกๆ ปี พระภิกษุ
หนุม่ รูปหนึง่ ซึง่ เดินทางมาจากชนบท ได้เข้าไปจำพรรษาอยูร่ ว่ มกับพระภิกษุทง้ั หลายในพรรษากาลปีหนึง่

ครัน้ ออกพรรษาปวารณาแล้ว เธอตัง้ ใจจะเดินทางไปเยีย่ มโยมบิดาทีบ่ า้ นเกิดเมืองนอน ก่อนทีจ่ ะไป


คิดใคร่จะได้ของฝากบิดา จึงเอาผ้าห่อข้าวสารซึง่ เขาถวายไว้เป็นของสงฆ์เป็นจำนวนครึง่ ทะนาน แล้วก็ออก
เดินทางไป ด้วยความกระหยิม่ ใจอยูต่ ลอดทางว่า เมือ่ บิดาได้รบั ของฝากเป็นข้าวสารครึง่ ทะนานทีต่ นเอาไปให้
คงจักดีใจนักหนา เพราะบิดากำลังประสบความลำบากยากจน หารูไ้ ม่เลยว่า ตนกำลังทำบาปโดยไม่รตู้ วั ทัง้ นีก้ ็
เพราะข้าวสารครึง่ ทะนานนัน้ เป็นของสงฆ์ หาใช่เป็นของตนไม่ แม้ตนจะดำรงเพศเป็นพระภิกษุจำพรรษาใน
วิหารก็ตามที

เป็นทีน่ า่ สังเวชใจนัก ด้วยว่าเมือ่ พระภิกษุหนุม่ ผูม้ กี ตัญญูรคู้ ณ


ุ บิดารูปนัน้ เดินทางมาได้ครึง่ ทางก็คำ่ มืด
เธอจึงแวะเข้าไปในวิหารใกล้ทาง แล้วขอพักค้างคืน ตัง้ ใจว่ารุง่ เช้าจึงจะเดินทางต่อไป แต่วา่ ความตายเป็นสิง่
โหดร้าย ไม่มใี ครสามารถจะรูไ้ ด้วา่ ความตายจักเข้ามาทำร้ายล้างผลาญชีวติ ในขณะใด ดูแต่ภกิ ษุผอู้ ตุ ส่าห์นำ
เอาข้าวสารมาตัง้ ใจว่าจักเอาไปให้บดิ านีเ่ ถิด แม้แต่ตวั เธอเองก็นกึ ไม่ถงึ ว่าตนจักต้องอายุสน้ั แต่เธอก็ตอ้ งพลัน
ตายลงไปในคืนวันนัน้ เอง สาเหตุทม่ี รณะก็คอื โรคลมปัจจุบนั !

ในคราวทีเ่ ธอมรณะนัน้ กฏัตตากรรมฝ่ายอกุศล ซึง่ เกิดขึน้ จากการทีเ่ ธอนำเอาข้าวสารกึง่ ทะนานอันเป็น


ของสงฆ์ในเจติยบรรพตวิหาร โดยหวังว่าจะเอาไปฝากบิดาผูย้ ากจน แต่วา่ ยังไม่ถงึ มือของบิดาตามทีต่ ง้ั ใจไว้
นัน่ แหละ เข้าทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานชักนำให้เธอผูน้ า่ สงสาร ไปเกิดในเปตติวสิ ยั ภูมิ เป็นเปรตมีรปู ร่างแสนทุเรศ
สูงชะลูด มีสภาวะน่าสะพรึงกลัวและน่าเกลียดน่าชัง มีกลิน่ เหม็นสาบเหม็นสาง ผอมโซเหลือแต่หนังหุม้ กระดูก
มีไฟลุกแดงไหม้รา่ งกายอยู่ แต่รา่ งกายจะได้แตกพังทลายไปก็หามิได้ เทีย่ วเดินโงนเงนโซซัดโซเซอยูร่ ะหว่าง
ภูเขาเจติยบรรพตนัน้ ด้วยความเศร้าเสียใจอย่างสุดซึง้

จึงนับว่าเป็นความคิดผิดอย่างถนัด ในการทีเ่ ธอมีความประมาทหลงดีใจว่า ได้ของไปฝากบิดา หารูไ้ ม่


ว่าเป็นบาปกรรมซึง่ สามารถชักนำให้ตนมาบังเกิดเป็นเปรต ได้เสวยทุกขเวทนาอย่างหนัก

 ⌫⌫
จากเรือ่ งทีก่ ล่าวจบลงห้วนๆ ดังนีก้ ด็ แี ละจากเรือ่ งก่อนๆ ทีก่ ล่าวมาในตอนต้นโน้นก็ดี ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญา
ทัง้ หลายก็คงจักเข้าใจได้แล้วว่า กฏัตตากรรมฝ่ายอกุศลมีอานุภาพให้ผลแก่บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมอย่างไร บ้าง
บัดนี้เพื่อไม่ให้เสียเวลาจักกล่าวถึงอานุภาพแห่งกฏัตตากรรมฝ่ายกุศลเสียเลยทีเดียว คือ กฏัตตากรรม
ฝ่ายกุศลนี้ ย่อมทำหน้าทีเ่ ป็นพนักงานชักนำให้สตั ว์บคุ คลผูเ้ ป็นเจ้าของกรรมไปบังเกิดในสุคติภมู ิ คือโลกทีด่ มี ี
ความสุข ก็ในกรณีทก่ี ฏัตตากรรมฝ่ายกุศล เข้าทำหน้าทีช่ กั นำให้ไปบังเกิดในโลกทีด่ มี คี วามสุขนี้ ขอให้ทา่ นผูม้ ี
ปัญญาทัง้ หลาย พึงทราบจากเรือ่ งตัวอย่างทีจ่ ะเล่าให้ฟงั ดังต่อไปนี้

เดียรฉานกลายเป็นเทวดา
ได้สดับมาว่า กาลเมือ่ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรา พระองค์ประทับอยู่ ณ วิหารริมฝัง่ สระ
โบกขรณี ใกล้เมืองปาวามหานครนัน้ วันหนึง่ เมือ่ ถึงเพลาปัจจุสมัยใกล้รงุ่ พระองค์กท็ รงบำเพ็ญพุทธกิจ ประจำวัน
โดยทรงพิจารณาดูหมู่ประชาสัตว์อันจะมาข้องอยู่ในข่ายแห่งพระญาณ ได้ทรงเห็นเหตุการณ์ล่วงหน้า
ว่าเพลาสายัณห์สมัยวันนี้ เมือ่ ถึงคราวทีก่ ำลังทรงแสดงพระสัทธรรมเทศนาโปรดเวไนยนิกรทัง้ หลายอยูน่ น้ั จัก
มีมณ ั ฑุกะชาติ คือกบตัวหนึง่ ซึง่ ฟังพระธรรมเทศนาไม่รเู้ รือ่ ง แต่ถอื เอานิมติ ในพระสุรเสียง แล้วจักกระทำกาล
กิรยิ าตายไปบังเกิดในสรวงสวรรค์ ครัน้ ทรงทราบดังนัน้ แล้ว ก็พอดีเป็นเพลารุง่ แจ้ง พระองค์จงึ ทรงลุกขึน้ จาก
พระบวรพุทธอาสน์ ทรงบาตรและจีวรเสด็จนำพระภิกษุเข้าไปสู่พระนครปาวาเพื่อบิณฑบาต ครั้นเสด็จกลับ
กระทำภัตกิจเสร็จแล้ว จึงทรงแสดงซึง่ ข้อวัตรปฏิบตั แิ ก่พระภิกษุสงฆ์ทง้ั ปวง และทรงประทานบทพระกรรมฐาน
แก่พระภิกษุบางรูปทีม่ าทูลขอ ในเมือ่ พระสงฆ์สาวกทัง้ หลาย ต่างพากันถวายนมัสการแยกไปสูท่ ส่ี บายแห่งตนๆ
แล้ว สมเด็จพระมหากรุณาเจ้าจึงเสด็จเข้าไปสูพ่ ระคันธกุฎี ทรงยับยัง้ อยูด่ ว้ ยผลสมาบัตอิ นั เป็นสุขสิน้ วันยังค่ำ

ครัน้ ถึงเพลาสายัณห์สมัย เมือ่ บริษทั ทัง้ ๔ คือ ภิกษุ – ภิกษุณี – อุบาสก – อุบาสิกา มาสันนิบาต
ประชุมพร้อมกัน เพือ่ ทีจ่ กั สดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาตามปรกติแล้ว สมเด็จพระประทีปแก้วสัมมา สัมพุทธเจ้า
จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎีด้วยพระพุทธลีลาอันงดงามหาที่เปรียบมิได้ เสด็จเข้าไปสู่มณฑปอัน ตั้งอยู่ ณ
ริมฝั่งสระโบกขรณี แล้วประทับนั่งเหนือพระบวรพุทธอาสน์ซึ่งปูลาดตกแต่งเป็นอันงาม เมื่อทรงทราบ
ความที่บริษัททั้งหลาย เป็นผู้พร้อมเพรียงเพื่อจักรับรสพระสัทธรรมเทศนาแล้ว พระองค์จึงเปล่งพระสุรเสียง
แสดงพระสัทธรรมเทศนาเป็นปาฏิหาริย์มหัศจรรย์ ด้วยพระสุรเสียงอันไพเราะดุจเสียงแห่งท้าวมหาพรหม
เพราะเป็นพระสุรเสียงทีป่ ระกอบไปด้วยองค์ ๘ ประการ คือ
๑. เสียงแจ่มใส
๒. เสียงชัดถ้อยชัดคำ
๓. เสียงนุม่ นวลหวานกล่อมใจ
๔. เสียงเสนาะโสตน่าฟัง
๕. เสียงกลมกล่อมหยดย้อย
๖. เสียงไม่พร่า ไม่แตก

 ⌫ 


๗. เสียงลึกซึง้
๘. เสียงมีกงั วาน

สมเด็จพระพุทธองค์ ทรงแสดงพระสัทธรรมเทศนาในกาลครั้งนั้น มีอาการประดุจดังว่าพญาไกร


สรสีหราช ซึง่ กำลังเปล่งสีหนาทเหนือมโนศิลาอาสน์เป็นอัศจรรย์ ! ในขณะนัน้ ยังมีมณ ั ฑุกะชาติ คือกบน้อยตัว
หนึ่ง แหวกว่ายสายนทีขึ้นมาจากสระโบกขรณีได้แล้ว แว่วพระสุรเสียงแสดงพระสัทธรรมเทศนาแห่งองค์
สมเด็จพระบรมศาสดาเจ้า กบน้อยตัวนัน้ ไม่มคี วามเข้าใจในเนือ้ ความ ไม่รวู้ า่ อะไรเป็นบุญ อะไรเป็นบาป แต่
เกิดความซาบซึง้ ยินดีในพระสุรเสียงทีม่ ากระทบโสตตน จึงกระโดดไปนอนหมอบอยู่ ณ ภายใต้แพไม้ซง่ึ มีอยู่
ใกล้สระโบกขรณี หลับตาสดับพระสุรเสียงแสดงธรรมแห่งองค์สมเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้าเพลินอยู่

คราทีนั้น ยังมีโคบาลคนเลี้ยงโคผู้หนึ่งเดินผ่านมาถึงประเทศที่นั่น ครั้นแลเห็นสมเด็จพระสัมมาสัม


พุทธเจ้ากำลังทรงแสดงธรรมอยูใ่ นท่ามกลางบริษทั ทัง้ หลาย ด้วยพระอาการอันน่าเลือ่ มในเป็นทีย่ ง่ิ นายโคบาล
นัน้ ก็บงั เกิดความยินดีใคร่ทจ่ี กั สดับธรรมแห่งองค์สมเด็จพระชินสีหเ์ จ้าให้ถนัด ครัน้ ว่าจะเข้าไปในหมูพ่ ทุ ธบริษทั
ก็เห็นว่าตนแต่งกายไม่เรียบร้อยจะเป็นการรุม่ ร่ามนัก จึงค่อยขึน้ ไปยืนอยูบ่ นแพไม้ โดยมิทนั จะได้เห็นกบ ทัง้ นี้
ก็เพราะตนมัวแต่เบิง่ จ้องดูสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ เมือ่ เขาขึน้ ไปยืนเหยียบแพไม้ซง่ึ มีตวั น้อยหลับตา
ฟังพระสัทธรรมเทศนาอยูภ่ ายใต้ดงั นีแ้ ล้ว แพไม้กท็ บั ลงบนร่างของกบตัวทีน่ า่ สงสารนัน้ จนบีแ้ บนถึงแก่ความ
ตายไปในบัดดล

เพราะค่าที่ตนมีกฏัตตากรรมฝ่ายกุศล โดยการถือเอานิมิตในพระสุรเสียงแสดงธรรมแห่งองค์สมเด็จ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า แม้จะไม่เข้าใจในข้อความ ไม่รวู้ า่ พระองค์ตรัสว่าอย่างไรเป็นแต่เพียงเกิดความยินดีพอ
ใจไปตามประสาเดียรฉานก็ตาม ถึงกระนัน้ กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลก็บงั เกิดขึน้ แก่เขาแล้ว เพราะฉะนัน้ เมือ่ เขา
ตายไปเพราะถูกแพไม้ทับร่างแหลกละเอียด กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลก็กระทำหน้าที่ให้ผล ชักนำให้เขาไปถือ
ปฏิสนธิในสุคติภมู ิ คือไปอุบตั เิ กิดเป็นเทพบุตรสุดโสภา ณ ดาวดึงส์สวรรค์สถิตอยูใ่ นทิพยวิมานอันกึกก้องไป
ด้วยปัญจางคิกดุรยิ ดนตรี มีเทพบริวารแวดล้อมขับกล่อมบำเรอรักษา ในขณะทีอ่ บุ ตั ขิ น้ึ ใหม่และได้ประสบเหตุ
การณ์ผันแปรของชีวิตโดยรวดเร็วอย่างแปลกนั้น เทพบุตรอดีตมัณฑุกะชาติ จึงใคร่ครวญพิจารณาถึงความ
เป็นมาแห่งตนว่า

“อาตมะมาแต่ทไ่ี หน จึงได้อบุ ตั เิ กิด ณ ทีน่ ?่ี และมาอุบตั เิ กิดในทีน่ ไ่ี ด้ดว้ ยกรรมอะไร?“

เมือ่ ใคร่ครวญพิจารณาได้ดว้ ยเทพวิสยั ก็ทราบชัดถึงอดีตประวัตแิ ห่งตนอย่างถ้วนถี่ มีความประสงค์


ใคร่จกั มาถวายนมัสการพระยุคลบาท แห่งองค์สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเจ้า จึงพาเทพบริวารของตน เหาะ
เลือ่ นลอยลงมาจากเทวโลกในขณะนัน้ ทันที เมือ่ มาถึงมนุษยโลกเรานีแ้ ล้ว เทพบุตรนัน้ ก็เข้าไปสูส่ ำนักแห่งองค์
สมเด็จพระประทีปแก้ว ถวายบังคมลงแทบเบื้องยุคลบาทแล้ว ยืนประณมหัตถ์นมัสการอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง
สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงมีพระพุทธฎีกาตรัสถามว่า

 ⌫⌫
“ใคร ! มาแต่ไหน? มานมัสการซึง่ บาทแห่งเราตถาคตด้วยเทพฤทธิอ์ นั รุง่ เรือง และมีรศั มีโอภาสแจ่ม
จ้าน่าพึงชมเป็นยิง่ นัก“

เทพบุตรอดีตกบตัวน้อย จึงค่อยมีเทววาทีกราบทูลว่า

“ข้าแต่พระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ ! ข้าพระบาทนีม้ นี ามว่ามัณฑุกะเทพบุตร ชาติกอ่ นเป็นผู้


อาภัพถือกำเนิดในติรจั ฉานภูมเิ ป็นกบอาศัยอยูใ่ นห้วงนที ทีส่ ระโบกขรณีใกล้กบั วิหารแห่งนี้ ได้สดับพระสุรเสียง
ของพระองค์ทท่ี รงแสดงพระสัทธรรมเทศนาแล้วมีจติ ผ่องแผ้วยินดี ถือเอานิมติ ในพระสุรเสียงนัน้ นายโคบาล
มาแต่ไหนไม่ทราบได้ขึ้นไปยืนบนแพไม้ และแพไม้นั้นทับร่างกายของข้าพระบาทจนแหลกละเอียดไม่มีชิ้นดี
ข้าพระบาททำกาลกิริยาตายไปบังเกิดในดาวดึงส์สวรรค์แล้วรีบมา ณ ที่นี่ก็ด้วยความปรารถนาจักมาถวาย
นมัสการแทบเบือ้ งพระยุคลบาทแห่งพระองค์ผทู้ รงพระคุณอันประเสริฐ และปรารถนาจักกราบทูลให้ทรงทราบว่า
อานุภาพแห่งรัศมีอนั ซ่านออกจากกายทิพย์ของข้าพระบาทก็ดี อิทธิฤทธิอ์ นั เป็นทิพย์กด็ บี ริวารยศอันเป็นทิพย์ ก็ดี
ซึ่งบังเกิดมีแต่ข้าพระบาททั้งหมดนี้ก็เนื่องมาแต่ว่าได้สดับตรับฟังพระธรรมเทศนาของพระองค์ชั่วเวลา
เพียงครูเ่ ดียวเท่านัน้ นีห่ ากว่าสัตว์ทง้ั หลายเหล่าใด ได้มโี อกาสสดับตรับฟังพระสัทธรรมเทศนาแห่งพระองค์สน้ิ
กาลช้านานแล้วสัตว์ทง้ั หลายเหล่านัน้ คงจักได้อานิสงส์พเิ ศษ ได้ทพิ ยสมบัตอิ นั มากมาย ตลอดจนถึงได้บรรลุ
โลกุตรสมบัติ คือมรรผลนิพพานอันประเสริฐอย่างเทีย่ งแท้โดยไม่ตอ้ งสงสัย คงจะเป็นอย่างนีแ้ น่นอน พระเจ้าข้า“

เทพบุตรผูม้ วี าสนากราบบังคมทูลว่าดังนีแ้ ล้ว ก็กล่าวสดุดสี มเด็จพระผูม้ พี ระภาคเจ้าอีกเป็นอันมาก พอ


สมควรแก่กาลเวลาแล้ว เทพบุตรผูม้ าจากเทวโลกนัน้ ก็ถวายนมัสการสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ และประณม
กรกระทำอัญชลีแด่พระภิกษุสงฆ์ แล้วก็พาเทพบริวาร เหาะกลับไปสูว่ มิ านแห่งตน ณ สวรรค์ชน้ั ดาวดึงส์ ด้วย
ประการฉะนี้

อดีตประวัตขิ องเทพบุตรอีกองค์หนึง่ ซึง่ ได้กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลแห่งตน ชักนำให้ไปเสวยผลอันเป็น


ทิพย์ในสวรรค์ มีดงั ต่อไปนี้

สมัยทีศ่ าสนาแห่งองค์สมเด็จพระมิง่ มงกุฎกัสสปะสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังไม่อนั ตรธานสูญสิน้ ไปจากโลกนีน้ น้ั


มีงูเหลือมใหญ่ตัวหนึ่งอาศัยอยู่ในป่า อันเป็นเขตท้ายวัดใหญ่ในพระพุทธศาสนาแห่งหนึ่ง ก็ในวัดป่าแห่งนี้
ปรากฏว่ามีพระภิกษุสามเณรอยูจ่ ำพรรษามากมายหลายรูปหลายคณะ ในบรรดาคณะแห่งพระภิกษุเหล่านัน้
พระภิกษุบางคณะทีเ่ ล่าเรียนศึกษาในพระวินยั ปิฎก ก็พากันกระทำคณะสังวัธยายพระวินยั คณะพระภิกษุทเ่ี ล่า
เรียนศึกษาในพระสุตตันตปิฎก ก็พากันกระทำคณะสังวัธยายพระสูตร คณะพระภิกษุที่เล่าเรียนศึกษาใน
พระอภิธรรมปิฎก ก็พากันกระทำคณะสังวัธยายพระอภิธรรม นอกจากพระภิกษุทก่ี ระทำกิจพระศาสนาเนือ่ ง
ด้วยคันถธุระดังกล่าวมาแล้ว ยังมีคณะพระภิกษุผมู้ ปี รกติเห็นภัยในวัฏสงสาร พากันบำเพ็ญวิปสั สนาภาวนา
ซึง่ เป็นการกระทำกิจพระศาสนาเนือ่ งด้วยวิปสั สนาธุระอีกด้วย รวมความแล้วก็วา่ พระภิกษุทง้ั หลายในอาวาส
ป่าแห่งนัน้ พากันกระทำกิจของตนตามสมณวิสยั อย่างเต็มที่

 ⌫ 


คราทีนน้ั คณะพระภิกษุฝา่ ยพระอภิธรรม เมือ่ อุตสาหะเล่าเรียนพระอภิธรรมปิฎกจนจำได้แล้ว แต่เพือ่
ความชำนาญจึงชวนกันเข้าไปในป่าหลังอาวาส หาทีเ่ หมาะใจได้แล้วก็พากันกระทำคณะสังวัธยายพระอภิธรรม
ปิฎก ณ ทีใ่ กล้ๆ งูเหลือมกำลังหลับอยู่ ตามปรกติวสิ ยั แห่งงูทช่ี อบใจในความหลับ จึงมิได้มอี าการเคลือ่ นไหว
แต่อย่างใด เมือ่ พระภิกษุนกั อภิธรรมทัง้ หลาย พากันสวดสังวัธยายมาถึงพระบาลีแจกอายตนะ ด้วยท่วงทำนอง
อันน่าฟังอยู่อย่างไม่ขาดสาย งูเหลือมใหญ่ก็ตื่นจากความหลับ เมื่อมันตื่นขึ้นแล้วและได้ยินเสียงแจ้วๆ แห่ง
พระสงฆ์สงั วัธยายพระอายตนะวิภงั ค์ดงั นัน้ ก็พลันเกิดความยินดีชอบใจในเสียงสวดนัน้ ไปตามประสางู ตะแคง
หูฟงั อยูโ่ ดยหารูไ้ ม่วา่ เสียงนัน้ คืออะไร ใครเป็นผูส้ วด และสวดทำไม ฟังเพลินอยูจ่ นเจ้ากูเหล่านัน้ สวดอายตนะ
วิภงั ค์จบลงแล้ว มันก็เข้าสูน่ ทิ รารมณ์หลับต่อไป

ภายหลังต่อมา เมือ่ พระภิกษุคณะพระอภิธรรม พากันมากระทำคณะสังวัธยายสวดพระอภิธรรมในที่


นัน่ อีก งูเหลือมใหญ่ซง่ึ อาศัยอยูท่ น่ี น่ั ก็ไม่หลีกหนีหรือคิดจะทำร้าย เพราะมีใจยินดีใคร่จะฟังพระอายตนะวิภงั ค์
ทั้งๆที่ตนก็ไม่รู้เรื่องรู้ความแต่ประการใด เหตุการณ์เป็นไปอยู่ดังนี้มานาน วันหนึ่ง เจ้างูเหลือมใหญ่ผู้ใคร่ใน
เสียงพระสวดนัน้ มันเกิดเจ็บไข้ใกล้จะตายนอนซมอยูใ่ นทีอ่ าศัย ไปไหนมาไหนไม่ได้ ในขณะหัวเลีย้ วหัวต่ออัน
สำคัญแห่งชีวิตแห่งนี้ ก็ดูเหมือนว่าจะเป็นกุศลแต่หนหลังเข้ามาดลบันดาลให้เป็นไป เพราะเมื่อถึงเวลาบ่าย
พระผู้เป็นเจ้าผู้เล่าเรียนพระอภิธรรมคณะเก่านั่นแหละ ก็พากันมากระทำคณะสังวัธยายสวดพระอภิธรรมอีก
ตามเคย และเมือ่ พระผูเ้ ป็นเจ้าเหล่านัน้ สวดมาถึงพระบาลีแจกอายตนะวิภงั ค์ ซึง่ เป็นตอนทีง่ นู น้ั ชอบฟัง มันก็
ฟืน้ ขึน้ จากพิษไข้ชนิดหนึง่ ตะแคงหูฟงั อยูต่ ามเคย พอสวดพระบาลีตอนนัน้ จบลง งูเหลือมใหญ่กบ็ งั เอิญขาดใจ
ตายพอดี กฏัตตากรรมฝ่ายกุศล ก็เข้าทำหน้าทีช่ กั นำให้ไปถือปฏิสนธิในสุคติภมู ิ คือไปเกิดเป็นเทพบุตรสุดโสภา
ณ ดาวดึงส์สวรรค์

เสวยทิพยสมบัติเป็นสุขอยู่สิ้นกาลช้านาน ครั้นมาถึงพุทธุปบาทกาลนี้ เมื่อองค์สมเด็จพระมิ่งมงกุฎ


ศรีศากยมุนโี คดมบรมครูเจ้าแห่งเราทัง้ หลาย ทรงประกาศพระบวรพุทธศาสนายังประชาสัตว์ให้ได้ดม่ื อมตธรรม
พอสมควร และเสด็จดับขันธ์ปรินพิ พานไปแล้ว เทพบุตรอดีตงูเหลือมหลังวัดนัน้ ก็พลันจุตจิ ากเทวโลกลงมา
บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ซึ่งมีทรัพย์มากมายมหาศาลตระกูลหนึ่ง เมื่อถึงกาลเจริญวัยเติบใหญ่แล้ว มาณพ
หนุม่ พราหมณ์นน้ั เกิดมีอาการเบือ่ หน่ายในฆราวาสวิสยั และเห็นอานิสงส์ในการบรรพชา จึงออกจากบ้านเรือน
ไปสู่ป่า ทรงพรตบวชเป็นดาบสภายนอกพระบวรพุทธศาสนา ตั้งหน้าบำเพ็ญเพียรตามประเพณีแห่งดาบส
ปรากฏนามว่า “ชรสาณาชีวก“ และภายหลังต่อมา ก็ปรากฏว่าชรสาณาชีวกผูน้ ้ี มีเกียรติประวัตดิ เี ด่น มีปญ ั ญา
ลึกล้ำไม่มใี ครเทียมเสมอได้ อาชีวกทัง้ หลายต่างก็พากันยกย่องนับถือว่าเป็นอาจารย์ ในกาลสุดท้ายภายหลัง
ได้ฟังธรรมจากสำนักแห่งองค์อรหันต์ท่านพระอัศคุตเถรเจ้าแล้ว เกิดความเลื่อมใสได้บรรพชาอุปสมบทใน
พระพุทธศาสนาอุตส่าห์บำเพ็ญสมณธรรมวิปสั สนาภาวนา จนได้สำเร็จพระอรหันต์อริยบุคคลในทีส่ ดุ ! เห็น
ไหมเล่า ท่านผูม้ ปี ญ ั ญาทัง้ หลาย กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลแม้จะเป็นกรรมทีม่ กี ำลังอ่อนก็ตาม แต่ถา้ ได้โอกาสให้
ผลแล้ว ก็ยอ่ มจะให้ผลชักนำให้ไปเกิดในสุคติภมู ิ อันจัดเป็นบันไดสำหรับไต่ขน้ึ ไปสูภ่ มู สิ งู สุดคือโลกุตรภูมไิ ด้
ดังเรือ่ งทีเ่ ล่ามานี้

 ⌫⌫
อดีตชีวประวัติแห่งเทพบุตรอีกองค์หนึง่ ซึง่ ได้กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลของตน ชักนำให้ไปเสวยผลอัน
เป็นทิพย์ ในสวรรค์มดี งั ต่อไปนี้

ครัง้ หนึง่ สมเด็จพระมิง่ มงกุฎศรีศากยมุนโี คดมบรมครูเจ้าแห่งเราท่านทัง้ หลาย พระองค์ได้เสด็จไปที่


เวทิยกบรรพต ประทับอยูท่ ถ่ี ำ้ อินทสาลคูหา ทุกๆ วันพอได้เวลาอรุณรุง่ เช้าองค์พระผูม้ พี ระภาคเจ้าย่อมทรง
พาพระภิกษุสงฆ์หมูใ่ หญ่ลงจากบรรพตนัน้ เพือ่ เสด็จออกไปบิณฑบาตโปรดเวไนยสัตว์ เหล่าชนผูไ้ ด้ทอดทัศนา
เห็นพระองค์แล้ว ย่อมบังเกิดศรัทธาเลือ่ มใสขึน้ ในดวงใจเป็นนักหนา เพราะว่าสมเด็จพระมหากรุณาเจ้าทรงมี
พระวรกายอันรุ่งเรืองได้ด้วยถ่องแถวแห่งพระฉัพพัณณรังสี มีพระสรีระครบบริบูรณ์ด้วยพระทวัตติงสะมหา
ปุรสิ ะลักษณะ และพระอสีตยานุพยัญชนะอันวิจติ ร ตัง้ แต่พระอุณหิสตลอดถึงพืน้ ฝ่าพระบาท รุง่ เรืองไพโรจน์
ด้วยสิรวิ ลิ าสหาทีเ่ ปรียบมิได้ ด้วยว่าองค์สมเด็จพระพุทธเจ้านัน้ ไซร้ ทรงมีเส้นพระเกศาอันอ่อน และวงเวียนเป็น
ทักขิณาวัฏ มีสดี ำสนิททุกๆ เส้นเป็นอันดี และทรงมีพระนลาตอันงามเลิศบริสทุ ธิ์ ประดุจสุรยิ มณฑลอันปราศ
จากเมฆมลทิน และพระนาสิกแห่งองค์พระชินสีหน์ น้ั ก็มสี ณ ั ฐานยาวงามยิง่ นัก รุง่ เรืองไปด้วยรัศมีพรรโณภาส
พระองค์ทรงเป็นนรสีหราชบุรุษมนุษย์ประเสริฐงามเลิศตลอดทั้งพระวรกาย แม้ภายใต้พื้นพระยุคลบาทก็มี
พรรณอันแดง ประดับไปด้วยพระลายลักษณวงกงจักร และรูปมหามงคล ๑๐๘ ประการเป็นอัศจรรย์ !

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสด็จไปบิณฑบาตในกาลนัน้ เพือ่ ทรงทำประโยชน์แก่ชาวโลกทัง้ ผอง


ด้วยพระพักตร์มพี รรณผ่อง เพียงศศิธรมณฑลอันเต็มดวงในวันปรูณมีดถิ กี ลางเดือน และพระพุทธกิรยิ าทีท่ รง
ดำเนินไปก็งามเหมือนลีลาแห่ง พญาไกรสรสีหราชมฤคินทร์ สมควรที่ อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ เทพยดาหมูม่ าร
แลมนุษยนิกร จักอ่อนน้อมอภิวาทพระบวรพุทธบาท เสด็จยุรยาตรไปในท่ามกลางพระอริยสงฆ์สาวกทัง้ ปวง
แลดูประหนึ่งดวงจันทร์อันแวดล้อมด้วยหมู่ดารา กำลังลีลาไปในอัมพรประเทศ สมเด็จพระโลกเชษฐ์ผู้ทรง
พระคุณหาที่เปรียบมิได้ ย่อมเสด็จไปบิณฑบาตตามลำดับตรอก ลำดับเรือนแห่งมหาชนชาวประชา ไม่ทรง
เลือกหน้าว่าไพร่ผู้ดี อันนี้แล เป็นพระอริยวงศ์ประเพณีแห่งองค์สมเด็จพระชินสีห์สัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย
แต่ปางก่อนสืบมา

ในขณะทีพ่ ระองค์เสด็จไปบิณฑบาตด้วยพระพุทธลีลาอันงามสง่าดังพรรณนามานี้ พระองค์ตอ้ งเสด็จ


ผ่านถิน่ ทีแ่ ห่งนกเค้าตัวหนึง่ ซึง่ อาศัยอยู่ ณ ทีใ่ กล้ถำ้ อินทสาลคูหานัน้ มันได้แลเห็นพระองค์แล้ว ก็มจี ติ ภักดีรกั
ใคร่ไปตามประสาเดียรฉาน จะได้รวู้ า่ นีเ่ ป็นองค์สมเด็จพระพิชติ มาร ใครได้ทอดทัศนาการแล้วก็เป็นบุญเป็นกุศล
หรือใครทำร้ายสมเด็จพระทศพลแล้วก็เป็นบาปเป็นกาลีอย่างอุกฤษฏ์ จะได้รอู้ ย่างนีแ้ ม้แต่สกั นิดหนึง่ ก็หามิได้
แต่เกิดความภักดีชอบใจไปตามธรรมดาแห่งตนอย่างนัน้ เอง เมือ่ เกิดความชอบใจแล้วก็คอยรออยู่ พอสมเด็จ
พระบรมครูเจ้าพาพระภิกษุสงฆ์สาวกออกไปบิณฑบาต นกเค้าตัวมีวาสนานัน้ ก็พลันบินตามไปส่งครึง่ มรรคา
คะเนว่าพระองค์พาพระภิกษุสงฆ์กลับจากบิณฑบาตแล้ว ก็บนิ ไปต้อนรับครึง่ มรรคาอีกเช่นเดียวกัน ประพฤติ
การอันเป็นบุญเป็นกุศลโดยไม่รู้ตัวอย่างนี้เสมอมา ตลอดเวลาที่สมเด็จพระพุทธองค์ประทับอยู่ที่ถ้ำอินทสาล
คูหานัน้

 ⌫ 


อยูม่ าวันหนึง่ เป็นเวลาสายัณห์ตะวันรอนเพราะใกล้จะค่ำอยูแ่ ล้ว นกเค้าแมวตัวนัน้ มันได้ทอดทัศนา
การเห็นสมเด็จพระบรมครูเจ้า ประทับนัง่ อยู่ ณ ลานกว้างบริเวณเวทยิกบรรพตใกล้ถำ้ อินทสาลคูหา แวดล้อม
ไปด้วยพระภิกษุสงฆ์อนั เป็นพุทธบริวาร นกเค้าตัวมีสนั ดานภักดีเลือ่ มใส อดใจมิได้แล้ว จึงบินลงมาจากซอก
เขาอันเป็นทีอ่ ยู่ เมือ่ ถึงพืน้ ปฐพีตรงพระพักตร์แห่งองค์สมเด็จพระชินสีหแ์ ล้ว มันก็ยกปีกทัง้ สองข้างซ้ายขวาขึน้
ประคอง กระทำอัญชลีนอ้ มศีรษะลงเบือ้ งต่ำ ทำอาการแสดงว่าถวายเคารพนมัสการแห่งองค์สมเด็จพระบรม
ศาสดาจารย์เจ้า แล้วก็ยนื นิง่ เฉยอยู่ ณ ทีน่ น้ั

สมเด็จพระพิชิตมาร ทรงทอดทัศนาการเห็นดังนั้น จึงได้ทรงกระทำพระอาการแย้มพรายให้ปรากฏ


กาลครั้งนั้น ท่านพระอานนท์ซึ่งเป็นพระอนุชาองค์สมเด็จพระทศพล เห็นพระองค์ทรงแย้มพระโอษฐ์เช่นนั้น
จึงกราบทูลถามว่า

“ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! อะไรหนอ เป็นเหตุเป็นปัจจัยให้พระองค์ทรงแย้มพระโอษฐ์ในครั้งนี้ ขอ


พระองค์จงทรงพระกรุณาชีแ้ จงให้ปวงข้าพระองค์ทราบด้วยเถิด พระเจ้าข้า“

สมเด็จพระมหากรุณาสัมมาสัมพุทธเจ้า จึงทรงมีพระพุทธฎีกาตรัสว่า

“ดูกรอานนท์ ! เธอจงดู นกเค้าตัวนีม้ จี ติ ภักดีเลือ่ มใสในตัวเราตถาคต และในพระภิกษุสงฆ์ทง้ั ปวง


กาลต่อไปภายหน้า เมือ่ แตกกายทำลายขันธ์ไปแล้ว นกตัวนีจ้ กั ได้ไปบังเกิดในสุคติภพ ท่องเทีย่ วเวียนว่ายตาย
เกิดอยูใ่ นสุคติภพ คือในเทวโลกแลมนุษย์โลกสิน้ กาลช้านาน เมือ่ ครบ ๑๐๐,๐๐๐ มหากัปป์แล้ว จักได้สำเร็จ
ปัจเจกโพธิญาณ ได้ตรัสเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้ามีนามว่า “พระโสมนัสปัจเจกโพธิ์“ ด้วยอานิสงส์ที่ได้เห็น
พระอริยเจ้าแล้วและมีจติ ภักดีเลือ่ มใส“

พระองค์ทรงอธิบายดังนีแ้ ล้ว ก็ทรงแสดงพระสัทธรรมเทศนาให้ภกิ ษุสงฆ์ได้สดับตามพุทธวิสยั สืบต่อ ไป


ฝ่ายนกเค้าตัวมีวาสนาอันสูงส่งนั้น ครั้นแก่เฒ่าก็ถูกพญามัจจุราชเข้าพิฆาตชีวิต กฏัตตากรรมฝ่ายกุศลแห่ง
ตนก็เข้าประชิดชักนำให้ไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นเทพบุตร สถิตเสวยสุขอยู่ ณ สรวงสวรรค์

เรือ่ งของสัตว์เดียรฉานทัง้ หลาย ทีไ่ ด้มโี อกาสไปอุบตั บิ งั เกิดเป็นเทพบุตรในสวรรค์เทวโลกตามทีเ่ ล่า มานี้


ย่อมจักเป็นเครื่องชี้ให้เห็นอานุภาพแห่งกฏัตตากรรมฝ่ายกุศลได้เป็นอย่างดีแล้ว ฉะนั้น ในบัดนี้จึงขอถือ
โอกาสจบเรือ่ งกฏัตตากรรมไว้เพียงแคนี้

หลังจากทีไ่ ด้ตดิ ตามฟังอรรถาธิบาย ในปากทานปริยายจตุกกะ หรือกรรมทีว่ า่ โดยลำดับแห่งการให้ผล


๔ ประการมานาน ท่านผูม้ ปี ญ
ั ญาทัง้ หลาย ก็คงจักเข้าใจได้โดยสรุปแล้วว่า

ถ้าบุคคลใด มีกรรมทัง้ ๔ ประการนีแ้ ล้ว

 ⌫⌫
ครุกรรมก็ยอ่ มเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลปฏิสนธิแก่บคุ คลผูน้ น้ั ก่อน คือถ้าเป็นครุกรรมฝ่ายอกุศล ก็จกั ชักนำ
บุคคลนัน้ ไปเกิดเป็นอบายสัตว์ในอบายภูมิ ตรงกันข้ามคือถ้ามีครุกรรมฝ่ายกุศล ก็จกั ชักนำบุคคลนัน้ ไปอุบตั ิ
เกิดเป็นพระพรหมผูว้ เิ ศษตามอำนาจฌานทีต่ นได้ในพรหมภูมิ

ถ้าบุคคลใด ไม่มคี รุกรรม มีแต่กรรมทีเ่ หลือทัง้ ๓ ประการ อาสันนกรรม ซึง่ เป็นกรรมทีม่ พี ลังแรง
รองลงมาก็ยอ่ มจะเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลปฏิสนธิแก่บคุ คลผูน้ น้ั ก่อน คือถ้าเป็นอาสันนกรรมฝ่ายอกุศล ก็จกั ชักนำ
บุคคลนัน้ ให้ไปเกิดเป็นอบายสัตว์ในอบายภูมิ แต่ถา้ เป็นอาสันนกรรมฝ่ายกุศลก็จกั ชักนำบุคคลนัน้ ให้ไปอุบตั ิ
เกิดในสุคติภมู ิ

ถ้าบุคคลใด ไม่มคี รุกรรม ไม่มอี าสันนกรรม มีกรรมทีเ่ หลือทัง้ ๒ ประการ อาจิณณกรรม ซึง่ เป็นกรรม
ทีพ่ ลังแรงรองลงมาจากอาสันนกรรม ก็ยอ่ มเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลปฏิสนธิแก่บคุ คลก่อน คือ ถ้าเป็นอาจิณณกรรม
ฝ่ายอกุศลก็จกั ชักนำบุคคลนัน้ ให้ไปเกิดเป็นอบายสัตว์ในอบายภูมิ แต่ถา้ เป็นอาจิณกรรมฝ่ายกุศลก็จกั ชักนำ
บุคคลนัน้ ให้ไปอุบตั เิ กิดในสุคติภมู ิ

ถ้าบุคคลใด ไม่มคี รุกรรม ไม่มอี าสันนกรรม ไม่มอี าจิณณกรรม หมายความว่าบุคคลชนิดนีเ้ มือ่ มีชวี ติ อยู่
ไม่ได้ทำทุจริตหรือสุจริตอย่างหนักแน่นเป็นล่ำเป็นสันแต่อย่างใด แล้วก็ตายลง เมื่อเป็นเช่นนี้ กฏัตตากรรม
ซึง่ เป็นกรรมทีม่ พี ลังเบาเป็นทีส่ ดุ ก็ยอ่ มจะเข้าทำหน้าทีใ่ ห้ผลปฏิสนธิแก่บคุ คลผูน้ น้ั คือ ถ้าเป็นกฏัตตากรรม
ฝ่ายอกุศล ก็จกั ชักนำให้บคุ คลนัน้ ไปเกิดเป็นอบายสัตว์ในอบายภูมิ แต่ถา้ เป็นกฏัตตากรรมฝ่ายกุศลก็จกั ชัก
นำบุคคลนั้นให้ไปเกิดในสุคติภูมิ ในกรณีนี้ ขอให้ท่านผู้มีปัญญาทั้งหลายได้รับทราบไว้ว่าบรรดาสัตว์บุคคล
ทัง้ หลาย ทีย่ งั ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยูใ่ นวัฏฏสงสารนี้ ทีจ่ ะได้ชอ่ื ว่าไม่มกี ฏัตตากรรมนัน้ เป็นอันไม่มอี ย่าง แน่นอน

พรรณนาในปากทานปริยายจตุกกะ คือประเภทกรรมทีว่ า่ โดยลำดับแห่งการให้ผล ๔ ประการ เห็นว่า


พอสมควรแก่เวลาแล้ว จึงขอยุตลิ งด้วยประการฉะนี.้

 ⌫ 


รายนามผูบ้ ริจาคปัจจัยพิมพ์หนังสือ
และอุปถัมภ์การจัดงานมุทติ ายุมงคล ๘๐ ปี
ดร. พระราชวรธรรมโกศล (แฉล้ม เขมปญฺโญ)

๑. คุณรัตน์ ประธานราษฎร์นกิ ร ๑๐๐,๐๐๐ ๓๑. คุณบุญเรือน ทองอาภรณ์ ๒,๐๐๐


๒. รศ.ดร.นงนุช กุลบุญ ๕,๐๐๐ ๓๒. คุณชลัช กนกวิจติ ร ๑,๐๐๐
๓. คุณนงนาฎ - คุณสุรสิทธิ ระวังวงศ์ ๕,๐๐๐ ๓๓. คุณภารนี ชูประดิษฐ์ ๑,๐๐๐
๔. คุณณฐพร แซ่หลีและครอบครัว ๕,๖๔๕ ๓๔. คุณสุรพล ลิวรี ากร ๑,๐๐๐
๕. รศ.ดร.ศุภสโรช มุรศิต ๑,๐๐๐ ๓๕. คุณเทียนมณี บุญจุน ๕๐๐
๖. คุณนิสากร มีบอ่ ทรัพย์ ๑,๐๐๐ ๓๖. คุณชูพนั ธ์ สมเกือ้ ๑,๐๐๐
๗. คุณวรนุช สัตถาวร ๑,๐๐๐ ๓๗. ผศ.จินดา เครือหงส์ ๑๐๐
๘. คุณศุภมัทนี พลอินทร์ ๕๐๐ ๓๘. คุณเสอิน้ แก่นทอง และคณะ ๑,๕๐๐
๙. คุณสิริ ชมเชย ๕๐๐ ๓๙. คุณมนณ์ฑริ า ทิพพ์ชาติปรานต์ ๑๐๐
๑๐. คุณประทุม สาครินทร์ ๕๐๐ ด.ช.ชิดชนก แซ่ล้ี
๑๑. คุณจีรวัฒน์ สาครินทร์ ๕๐๐ ๔๐. ผศ.สุวมิ ล ห้องเสงีย่ ม ๑,๐๐๐
๑๒. ผศ.แมน คุณฉวีวรรณ ธนาวุฒิ ๑,๐๐๐ และครอบครัว
๑๓. คุณแม่เห้ง - คุณพ่อบรรจง วรรณกูล ๑,๐๐๐ ๔๑. คุณลำปาง จันทน์เสนะ หนังสือ ๑,๐๐๐
๑๔. อาจารย์จนั ทนา วรรณกูล ๒,๐๐๐ ของทีร่ ะลึก ๒,๐๐๐
๑๕. คุณชาริณี คุณวรมณี ๖๐๐ ๔๒. คุณอิม่ จิต สาครินทร์ ๖,๐๐๐
คุณชญาณี คุณาเวชกิจ ๔๓. คุณสายชล จินดาวิสทุ ธิ์ ๑,๐๐๐
๑๖. คุณวิภาดา ธาระวนิช ๒,๐๐๐ ๔๔. คุณวิไล วิวลาวรณ์ ๑,๐๐๐
๑๗. ผศ.คนึงสุข เวชกร รัตนากีรณวร ๒,๐๐๐ ๔๕. คุณจำนง วิวลาวรณ์ ๑,๐๐๐
๑๘. คุณเพียร สีวโร ๑,๐๐๐ ๔๖. คุณวรรณะ เสนทอง ๑,๐๐๐
๑๙. คุณสมศักดิ์ - ผศ.พิมพ์อำไพ พุกพิบลู ย์ ๕,๐๐๐ ๔๗. คุณรืน่ รวย แกล้วทนงค์ ๑,๐๐๐
๒๐. คุณขัน้ บทจร ๑,๐๐๐ ๔๘. คุณประดับ คงบัว ๑,๐๐๐
๒๑. คุณมุทติ า พูลสวัสดิ์ ๒,๐๐๐ ๔๙. คุณกูลเกือ้ ทองสาย ๒,๐๐๐
๒๒. คุณสมโชค พูลสวัสดิ์ ๒,๐๐๐ ๕๐. คุณผ่องแผ้ว โชติพานิช ๑,๐๐๐
๒๓. คุณสมหมาย สุขแจ่ม ๒,๐๐๐ ๕๑. ร้านเกียดฝัง่ ๑,๐๐๐
๒๔. คุณศิรพิ งศ์ ศิรวิ รรณ ๑,๐๐๐ ๕๒. คุณกัญญา ศิรโิ ชติ ๑,๐๐๐
๒๕. คุณกัลยา เสือคำ ๒,๐๐๐ ๕๓. คุณน้อย ศิรโิ ชติ ๑,๐๐๐
๒๖. คุณนันทวัน เสือคำ ๕๐๐ ๕๔. คุณเพ็ญศิริ ตันไทย ๑,๐๐๐
๒๗. คุณชนกนาฎ สุขทิพย์ ๕๐๐ ๕๕. คุณนพนภา รัตนปราการ ๑๐,๐๐๐
๒๘. คุณสมชาติ เหลืองสะอาด ๑,๐๐๐ ๕๖. คุณวรรณี โชติ ๑๐,๐๐๐
๒๙. คณะผูบ้ ริหาร ครู บุคลากร ๕,๐๔๐ ๕๗. คุณยุพนิ ศิรเิ จริญ ๓,๐๐๐
ทางการศึกษา ร.ร.เทศบาล ๒ ๕๘. ผูไ้ ม่แจ้งนาม ๒๐
(อ่อนอุทศิ ) สงขลา ๕๙. คุณจำเนียร เสมรสุต ๕,๐๐๐
๓๐. คุณสมจิตร ประยืนยง ๑,๐๐๐ ๖๐. คุณส้อง แสงทอง ๒๐๐

   ⌫
๖๑. คุณถนิมสร้อย จินดาวัฒนะ ์ ๒๐๐ ๖๘. คุณวรรณี วรรณพฤกษ์ ๕๐๐
๖๒. พล.อ.ต.เบญจวรรณ นาควัชระ ๑,๐๐๐ ๖๙. ผศ.ลัดดาวัลย์ บุญศรี ๕๐๐
๖๓. คุณเฉลิมศรี บุญมงคล์ ๑,๐๐๐ ๗๐. คุณประเสริฐศรี กุลบุญ ๕๐๐
๖๔. คุณฉส นิยมทรัพย์ ๑,๐๐๐ ๗๑. คุณรัชนา กังแฮ ๕๐๐
๖๕. รศ.ลำดวน-คุณสุรนิ ทร์ เกษตรสุนทร ๑,๐๐๐ ๗๒. คุณดรุณี ชายทอง ๑,๐๐๐
๖๖. คุณบุญเลิศ คุณกัญจนี ลาภาโรจน์กจิ ๕,๐๐๐ ๗๓. คุณรุง่ ลาวัลย์-คุณสดุดี ชูสวัสดิ์ ๕๐๐
๖๗. คุณยุวดี รัตนะ ๕๐๐ ๗๔. รศ.ดร.วิชติ สังขรัตน์ ๑,๐๐๐

ขออภัย หากรายชื่อของท่านที่ร่วมบริจาคปัจจัย
พิ ม พ์ ห นั ง สื อ และอุ ป ถั ม ภ์ ก ารจั ด งานมุ ท ิ ต ายุ ม งคล ๘๐ ปี
ดร.พระราชวรธรรมโกศล(แฉล้ม เขมปญฺโญ) ไม่ได้จัดพิมพ์ใน
หนังสือเล่มนี้

รศ.ดร.นงนุช กุลบุญ
บรรณาธิการ


 
 (แฉล้ม เขมปญฺโญ) 

   ⌫

You might also like