You are on page 1of 23

559421 SOIL ENGINEERING DESIGN II

จัดทำโดย
นายธิตินันท์ เสรีผล
B6235505

เสนอ
อาจารย์ ดร.อภิชาติ สุดดีพงษ์

รายวิชา 559421 SOIL ENGINEERING DESIGN II ภาคเรียนที่ 3 ปีการศึกษา 2564


สาขา วิชาวิศวกรรมโยธาและโครงสร้างพื้นฐาน สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สารบัญ
บทนำ 3
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 4
รายการคำนวณ 10
บทสรุป 22
เอกสารอ้างอิง 23
3

บทนำ
โครงสร้างกันดินถูกสร้างเพือ่ ป้องกัน การเคลือ่ นตัวของดิน การประยุกต์ใช้ โครงสร้างกันดินในงาน
วิศวกรรรมมีมากมาย อาทิเช่น งานดินถม งานดินขุด งานสะพาน และโครงสร้างกันน้ำท่วม โครงสร้างกันดิน
ส่วนมากจะเป็น กำแพงกันดินที่สร้างจากคอนกรีต
Project 2 การออกแบบกำแพงกันดิน Cantilever wall ให้มีเสถียรภาพโดยใช้ความสูง Y ตามที่กำหนด
4

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

กำแพงกันดิน
เสถียรภาพของกำแพงกันดินชนิดนี้ขึ้นอยู่กับน้ำหนักของตัวมันเอง กำแพงกันดินชนิดนี้จึงถูก
เรียกว่า Gravity wall ในกรณีที่กำแพงกันดินมีความสูงมาก แรงดันดินด้านข้างมีแนวโน้มที่จะทำให้
กำแพงกั น ดิ น พลิ ก คว่ ำ (Overturning) เพื ่ อ ความประหยั ด อาจเลื อ กใช้ ก ำแพงกั น ดิ น ชนิ ด
Cantilever wall ซึ่งมี ส่วนฐานยื่นออกมาอยู่ใต้ดินถม น้ำหนักของดินถมที่อยู่เหนือฐานนี้จะช่วย
ป้องกันการพลิกคว่ำ

รูปที่1 (a) Gravity wall (b) Cantilever wall


เมื่อมีการถมดินด้านหลังกำแพงกันดิน กำแพงกันดินจะเกิดการเคลื่อนตัว เพื่อป้องกันการ
พลิกคว่ำ ของกำแพงกันดิน กำแพงกันดินจะถูกสร้างให้มีความชันเอียงด้านหน้า ความชันนี้เรียกว่า
Batter
วัสดุที่ใช้ถมด้านหลังกำแพงกันดินเรียกว่า Backfill จะต้องเป็นวัสดุเม็ดหยาบที่มีความซึม
ผ่านสูง เช่น ทราย กรวด หรือหินบด (Broken stone) ถ้าเป็นไปได้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ดินเม็ด
ละเอียดพวกดิน เหนียวเป็น Backfill เนื่องจากดินประเภทนี้ก่อให้เกิดความดันด้านข้างอย่างมากต่อ
กำแพงกันดิน วิศวกร ผู้ออกแบบจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเลือกวัสดุที่ใช้เป็น Backfill ให้เหมาะสม
และจะต้องคำนึงถึงการเพิ่มขึ้น ของระดับน้ำใต้ดิน ซึ่งจะเป็นตัวเพิ่มความดันด้านข้างต่อกำแพงกันดิน
5

รูปที่ 2 ลักษณะทั่วไปของกําแพงกันดินชนิด Cantilever wall

รูปที่ 3 ลักษณะของฐานรากกำแพงกันดิน
6

1. การวิบัติของกำแพงกันดิน
การออกแบบกำแพงกันดินต้องคำนึงถึงสิ่งสำคัญสองประการดังนี้
1) กำแพงต้องมีเสถียรภาพภายนอก (External stability) ซึ่งหมายความว่ากำแพงกันดิน
ต้องตั้ง ดิ่งในตำแหน่งเดิม
2) กำแพงกันดินต้องมีเสถียรภาพภายใน โดยต้องความสามารถต้านความเค้นที่เกิดขึ้นภายใน
โครงสร้างโดยปราศจากการพังทลาย

รูปที่ 4 (a) กำแพงกันดินขาดเสถียรภาพภายนอก (b) กำแพงกันดินขาดเสถียรภาพภายใน

2. การวิเคราะห์เสถียรภาพภายนอกของกำแพงกันดิน
วิธีการออกแบบกำแพงกันดินต้านการวิบัติ ภายนอก คือ การสมมติขนาดและรูปร่างของ
กำแพง กันดินและทำการตรวจสอบเสถียรภาพของกำแพง ถ้าพบว่าเสถียรภาพของก๋าแพงกันดินมีค่า
หรือไม่ เพียงพอ ก็ทำการเปลี่ยนแปลงขนาดและรูปร่างใหม่ และทำการตรวจสอบอีกครั้ง ขั้นตอนนี้
จะถูกทำซ้ำๆ จนกระทั่งพบว่ากำแพงกันดินที่ออกแบบม เสถียรภาพเพียงพอต่อการใช้งาน

รูปที่ 5 การวิเคราะห์เสถียรภาพ ภายนอกของกำแพงกันดิน


กำแพงกันดินจะมีเสถียรภาพภายนอก เมื่อกำแพงกันดินไม่มีการเคลื่อนตัวในสามทิศทาง อัน
ได้แก่ ในแนวนอน (การลื่นไถล) ในแนวดิ่ง (การทรุดตัวที่มากกว่าปกติ และการวิบัติเนื่องจากแรงแบก
ทานของดิน ใต้ฐานราก) และการพลิกคว่ำ
7

การออกแบบเป็นการตรวจสอบเสถียรภาพของการเคลื่อนตัวในสามทิศทางนี้ เพื่อให้ได้
อัตราส่วน ปลอดภัยที่เหมาะสม การตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวนอนและการพลิกคว่ำอาศัย
หลักการความสถิตย์ (Law of statics) สำหรับการตรวจสอบการเคลื่อนตัวในแนวดิ่งนั้นอาศัยทฤษฎี
กำลังรับแรงแบกทานของดิน (Bearing capacity theory)

รูปที่ 6 หลักการความสถิตย์ (Law of statics)

อัตราส่วนปลอดภัยด้านการลื่นไถล คือ อัตราส่วนระหว่างแรงต้านทานการลื่นไถล (Sliding


resistance force) ต่อแรงกระทำ (Sliding force) แรงต้านทานการลื่นไถล คือผลคูณของแรงลัพธ์ใน
แนวดิ่งที่กระทำต่อฐานของกำแพงกันดินกับสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน (Coefficient of friction)
ระหว่างฐานของกำแพงกันดินและดินด้านใต้ฐาน ส่วนแรงที่กระทำให้เกิดการลื่นไถลส่วนมากจะเป็น
แรงใน แนวนอนเนื่องจากแรงดันด้านข้างของดิน Backfill แรงต้านทานการลื่นไถล (S) สามารถ
คำนวณได้จาก
สำหรับฐานรากที่เป็นทราย 𝑆 = ∑ 𝑣 tan⁡(0.67∅)
2
สำหรับฐานรากที่เป็นดินเหนียว 𝑆 = 𝑆𝑢 𝐵
3

เมื่อ ∑ 𝑣 = 𝑊1 + 𝑊2 +. … . +𝑊5 + 𝑃𝑣
ถ้าในการออกแบบพบว่ากำแพงกันดินแบบฐาน เรียบ (Flat-bottomed wall) มีอัตราส่วน
ปลอดภัยไม่ เป็นไปตามที่ต้องการ อาจทำการสร้างตัวต้านทานการลื่น ไถลที่เรียกว่า Key ที่ฐานของ
กำแพงกันดิน ดินด้านหน้า ของ Key ทำหน้าที่ต้านทานการลื่นไถลในฐานะของ ความดันทีสภาวะ
Passive ดังแสดงโดยโซน BC แต่ อย่างไรก็ตาม ดินด้านหน้าของ Key อาจจะหายไป เนื่องจากการ
กัดเซาะ ดังนั้น ตัว Key นี้จะมีประสิทธิผล อย่างมากถ้าถูกสร้างใต้ดินแข็งหรือหิน
8

รูปที่ 6 Flat-bottomed wall

ที่ใช้ในการวิเคราะห์เสถียรภาพของกำแพงกันดินควรไม่น้อยกว่าค่าที่แสดง
กรณี อัตราส่วน หมายเหตุ ห้างอิง
ปลอดภัย
การลื่นไถล 1.5 สําหรับกรณีที่ไม่พิจารณาความหินด้านข้างที่สภาวะ Passive Goodman and Karol (1968)
ที่ด้านหน้า ของกำแพงกันดิน
2. 0 สําหรับกรณีที่พิจารณาความหินด้านข้างที่สภาวะ Passive ที่ Goodman and Karol (1968)
ด้านหน้า ของกำแพงกันดิน
การพลิกคว่ำ 1.5 สําหรับ Backfill ที่เป็นดินเม็ดหยาบ
2.0 สําหรับ Backfill ที่เป็นดินเม็ดละเอียด Teng (1962)
วิบัติแบบกำลังรับ 3.0
แบกทาน

เนื่องจากน้ำมักเป็นตัว ปัญหาอย่างมากต่อเสถียรภาพ ภายนอกของกำแพงกันดิน ผู้ออกแบบ


ส่วนใหญ่จึงมักจัดวาง ระบบระบายน้ำ เพื่อลดความดัน น้ำอันเกิดเนื่องมาจากความดันน้ำ ส่วนเกิน
และน้ำท่วม
9

รูปที่ 7 Backfill drains for retaining walls


10

การคำนวณหาค่า
Type A ที่ 1.5 เมตร
กำหนดฐานรากและกำแพงกันดิน: ด้านสั้น= 0.3 m ; ด้านยาว= 1.2 m ; ความหนากำแพง= 0.2 m
; ความหนาฐานราก= 0.2 m ; ความยาว= 1.5 m

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Active บนระนาบ BC



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 − ) = 0.333
2
แรงดันดินที่สภาวะ Active
1
𝑃𝑎 = 𝑥0.333𝑥20𝑥1.52 = 26.67⁡KN/m⁡
2

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.667 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Passive บนระนาบ DA



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 3
2
แรงดันดินที่สภาวะ Passive
1
𝑃𝑎 = 𝑥3𝑥20𝑥0.52 = 7.5⁡kgN/m⁡
2
กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.167 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
น้ำหนักบรรทุกที่กรทะบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = 0.3x0.3x20⁡KN/m3 = 1.8⁡⁡⁡KN/m
W2 = 0.2x0.3x24⁡KN/m3 = ⁡1.44⁡⁡⁡KN/m
W3 = 0.2x1.7x24⁡KN/m3 = ⁡8.16⁡⁡⁡KN/m
W4 = 1.2x1.8x20⁡KN/m3 ⁡⁡⁡ = ⁡43.2⁡⁡⁡KN/m
𝑊𝑞 = 20⁡𝐾𝑁/𝑚
11

แรงเสียดทานใต้ฐานราก
𝑆 = ∑ 𝑊 𝑥⁡𝑡𝑎𝑛∅
= (1.8 + 1.44 + 8.16 + 43.2 + 20) tan 30°
⁡⁡⁡⁡= 45.37973⁡KN/m⁡⁡

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
45.37973
𝐹𝑆𝑠 = = 1.70174 > 1.5⁡OK
26.667

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำ
𝐻 2
𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 𝑥 = 26.667 ∗ ( ) = 17.778⁡𝐾𝑁/𝑚
3 3

โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำ
𝐴𝐷
𝑀𝑟 = 𝑊1 𝑥1 𝑊2 𝑥2 𝑊3 𝑥3 𝑊4 𝑥4 𝑊5 𝑥5 + 𝑃𝑝 𝑥
3

𝑀𝑟 = (1.8𝑥0.15) + (1.44𝑥0.4) + (8.16𝑥0.85) + (43.2𝑥0.85) + (24𝑥0.85) +


(7.5𝑥0.1666)
𝑀𝑟 = 82.952⁡𝐾𝑁/𝑚

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
82.952
𝐹𝑆𝑂 = 17.778 = 4.8 > 1.5⁡𝑂𝐾

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบตั ิเนื่องจากกำลังรับแบกทาน (Bearing capacity failure)


ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A
∑ 𝑀𝐴 ∑ 𝑀𝑟 − ∑ 𝑀𝑜
𝑥̅ = =
∑𝑉 ∑𝑉
82.952−17.77778
𝑥̅ = ( ) = 0.8291
78.6
𝐵 1.7 𝐵
𝑒 = ⁡ − 𝑥̅ = − 0.8291 = 0.020811 < = 0.383⁡𝑂𝐾
2 2 6

ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesic
30°
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋 tan(30°) 𝑡𝑎𝑛2 (45° + ) =18.41478
2
12

𝑁𝛾 = 2(⁡⁡−1)𝑡𝑎𝑛30° =23.743

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = 𝑞 ′ (𝑁𝑞 − 1) + 𝛾′𝐵′𝑁𝛾
2
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = ⁡⁡ (10) + ⁡ × 20 × ⁡10 × 1.658377 × 23.743 = 577.9052⁡𝑘𝑃𝑎
2
แรงแบกทานประลัยสุทธิ
𝑄𝑢 = ⁡⁡577.9052 × 1.658377⁡⁡ = 958.3847𝑘𝑁/m

อัตราสวนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทาน
577.9052
𝐹𝑆 = =⁡> 3⁡𝑜𝑘
78.6

Type B ที่ 2.25 เมตร


กำหนดฐานรากและกำแพงกันดิน: ด้านสั้น= 0.35m ; ด้านยาว= 1.35 m ; ความหนากำแพง= 0.5
m ; ความหนาฐานราก= 0.75 m ; ความยาว= 2.75 m
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Active บนระนาบ BC

𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 − ) = 0.333
2
แรงดันดินที่สภาวะ Active
1
𝑃𝑎 = 𝑥0.333𝑥20𝑥2.752 = 43.54167⁡kN/m⁡
2

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.667 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Passive บนระนาบ DA



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 3
2
แรงดันดินที่สภาวะ Passive
1
𝑃𝑎 = 𝑥3𝑥20𝑥0.52 = 7.5⁡𝐾𝑁/𝑚
2
กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.166 m จากฐานรากกำแพงกันดิน
13

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
น้ำหนักบรรทุกที่กรทะบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = 0.25x0.35x20⁡KN/m3 = 1.75⁡KN/m
W2 = 0.5x0.25x24⁡KN/m3 = 3⁡KN/m
W3 = 0.75x2.2x24⁡KN/m3 = 39.6⁡KN/m
W4 = 1.35x2x20⁡KN/m3 = 27⁡KN/m
𝑊5 = 20⁡𝐾𝑁/𝑚

แรงเสียดทานใต้ฐานราก
𝑆 = ∑ 𝑊 𝑥⁡𝑡𝑎𝑛∅ = 66.88603

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
66.88603
𝐹𝑆𝑠 = = 1.536138 > 1.5⁡OK
43.54167

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำ
𝐻
𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 𝑥 = (43.54167𝑥0.9166) = 39.91319⁡𝐾𝑁/𝑚
3

โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำ
𝐴𝐷
𝑀𝑟 = 𝑊1 𝑥1 𝑊2 𝑥2 𝑊3 𝑥3 𝑊4 𝑥4 𝑊5 𝑥5 + 𝑃𝑝 𝑥
3

𝑀𝑟 = (1.75𝑥0.175) + (3𝑥0.425) + (39.6𝑥2.2) + (54𝑥2.2) + (27𝑥2.2) +


(7.5𝑥0.1666)
𝑀𝑟 = 166.2288⁡𝐾𝑁/𝑚

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
166.2288
𝐹𝑆𝑂 = = 4.164757 > 1.5⁡𝑂𝐾
39.91319
14

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบตั ิเนื่องจากกำลังรับแบกทาน (Bearing capacity failure)


ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A
∑ 𝑀𝐴 ∑ 𝑀𝑟 − ∑ 𝑀𝑜
𝑥̅ = =
∑𝑉 ∑𝑉
166.2288−39.91319
𝑥̅ = ( ) = 1.0007
125.35
𝐵 2.3 𝐵
𝑒 = ⁡ − 𝑥̅ = − 1.0007 = 0.009663 < = 0.383⁡𝑂𝐾
2 2 6

ความเค้นที่เกิดขึ้นที่ฐานของกำแพงกันดินสามารถหาได้ดังนี้
ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesic
30°
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋 tan(30°) 𝑡𝑎𝑛2 (45° + ) = 18.41478
2
𝑁𝛾 = 2(⁡⁡−1)𝑡𝑎𝑛30° = 23.74353

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = 𝑞 ′ (𝑁𝑞 − 1) + 𝛾′𝐵′𝑁𝛾
2
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = ⁡⁡ (10) + ⁡ × 20 × ⁡2.180674 × 23.74353⁡ × 18.41478
2
= 701.917⁡𝑘𝑃𝑎

แรงแบกทานประลัยสุทธิ
𝑄𝑢 = ⁡⁡701.917 × 2.180674⁡⁡ = 1530.652𝑘𝑁/m

อัตราสวนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทาน
1530.652
𝐹𝑆 = = ⁡13.21236 > 3⁡𝑜𝑘
115.85
15

Type C ที่ 3.0 เมตร


กำหนดฐานรากและกำแพงกันดิน: ด้านสั้น= 0.2m ; ด้านยาว= 1 m ; ความหนากำแพง= 0.3 m ;
ความหนาฐานราก= 0.3 m ; ความยาว= 1.5 m
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Active บนระนาบ BC

𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 − ) = 0.333
2
แรงดันดินที่สภาวะ Active
1
𝑃𝑎 = 𝑥0.333𝑥20𝑥3.52 = 64.16667⁡𝑘N/m⁡
2

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.667 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Passive บนระนาบ DA



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 3
2
แรงดันดินที่สภาวะ Passive
1
𝑃𝑎 = 𝑥3𝑥20𝑥0.52 = 7.5⁡𝐾𝑁/𝑚
2
กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.166 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
น้ำหนักบรรทุกที่กรทะบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = 0.2x0.75x20⁡KN/m3 = 3⁡KN/m
W2 = 0.3x0.2x24⁡KN/m3 = 1.44⁡KN/m
W3 = 0.3x2.8x24⁡KN/m3 = 20.16⁡KN/m
W4 = 1.75x3.2x20⁡KN/m3 = 112⁡KN/m
𝑊5 = 35⁡𝐾𝑁/𝑚

แรงเสียดทานใต้ฐานราก
16

𝑆 = ∑ 𝑊 𝑥⁡𝑡𝑎𝑛∅ = 99.07331

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
99.07331
𝐹𝑆𝑠 = 64.16667 = 1.544 > 1.5⁡OK

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำ
𝐻
𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 𝑥 = (64.16667𝑥0.667) = 74.86111⁡𝐾𝑁/𝑚
3

โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำ
𝐴𝐷
𝑀𝑟 = 𝑊1 𝑥1 𝑊2 𝑥2 𝑊3 𝑥3 𝑊4 𝑥4 𝑊5 𝑥5 + 𝑃𝑝 𝑥
3

𝑀𝑟 = (3𝑥0.375) + (1.44𝑥0.525) + (20.16𝑥0.933) + (112𝑥0.933) +


(20𝑥0.933) + (7.5𝑥0.1666)
𝑀𝑟 = 314.87⁡𝐾𝑁/𝑚

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
314.87
𝐹𝑆𝑂 = = 4.206056 > 1.5⁡𝑂𝐾
74.86111

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบตั ิเนื่องจากกำลังรับแบกทาน (Bearing capacity failure)


ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A
∑ 𝑀𝐴 ∑ 𝑀𝑟 − ∑ 𝑀𝑜
𝑥̅ = =
∑𝑉 ∑𝑉
314.87−74.86111
𝑥̅ = ( ) = 1.3986
171.6
𝐵 2.3 𝐵
𝑒 = ⁡ − 𝑥̅ = − 1.3986 = 0.001347 < = 0.383⁡𝑂𝐾
2 2 6

ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesic
30°
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋 tan(30°) 𝑡𝑎𝑛2 (45° + ) =18.41478
2
17

𝑁𝛾 = 2(⁡⁡−1)𝑡𝑎𝑛30° =23.74353

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = 𝑞 ′ (𝑁𝑞 − 1) + 𝛾′𝐵′𝑁𝛾
2
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = ⁡⁡ (10) + ⁡ × 20 × ⁡2.797306 × ⁡23.74353 × 18.41478
2
= 848.3272⁡𝑘𝑃𝑎

แรงแบกทานประลัยสุทธิ
𝑄𝑢 = ⁡848.3272⁡ × ⁡2.797306⁡ = 2373.031𝑘𝑁/m

อัตราสวนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทาน
2373.031
𝐹𝑆 = = ⁡13.82 > 3⁡𝑜𝑘
171.6

Type D ที่ 3.75 เมตร


กำหนดฐานรากและกำแพงกันดิน: ด้านสั้น= 0.725m ; ด้านยาว= 2.5 m ; ความหนากำแพง= 0.3
m ; ความหนาฐานราก= 0.3 m ; ความยาว= 4.25 m
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Active บนระนาบ BC

𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 − ) = 0.333
2
แรงดันดินที่สภาวะ Active
1
𝑃𝑎 = 𝑥0.333𝑥20𝑥4.252 = 88.54167⁡kN/m⁡
2

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.667 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Passive บนระนาบ DA



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 3
2
แรงดันดินที่สภาวะ Passive
1
𝑃𝑎 = 𝑥3𝑥20𝑥0.52 = 7.5
2
18

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.166 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
น้ำหนักบรรทุกที่กรทะบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = 0.2x0.725x20⁡KN/m3 = 2.9⁡KN/m
W2 = 0.3x0.2x24⁡KN/m3 = 1.44⁡KN/m
W3 = 0.3x3.525x24⁡KN/m3 = 25.38⁡KN/m
W4 = 2.5x3.95x20⁡KN/m3 = 42⁡KN/m
𝑊5 = 50⁡𝐾𝑁/𝑚

แรงเสียดทานใต้ฐานราก
𝑆 = ∑ 𝑊 𝑥⁡𝑡𝑎𝑛∅ = 160.053

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
160.053
𝐹𝑆𝑠 = 88.54167 = 1.807658 > 1.5⁡OK

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำ
𝐻
𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 𝑥 = (88.54167𝑥0.667) = 125.434𝐾𝑁/𝑚
3

โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำ
𝐴𝐷
𝑀𝑟 = 𝑊1 𝑥1 𝑊2 𝑥2 𝑊3 𝑥3 𝑊4 𝑥4 𝑊5 𝑥5 + 𝑃𝑝 𝑥
3

𝑀𝑟 = (2.9𝑥0.0.3625) + (1.44𝑥0.5125) + (25.38𝑥3.525) + (197.5𝑥3.525) +


(20𝑥3.525) + (7.5𝑥0.1666)
𝑀𝑟 = 611.356⁡𝐾𝑁/𝑚

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
611.356
𝐹𝑆𝑂 = = 4.873925 > 1.5⁡𝑂𝐾
125.434

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบตั ิเนื่องจากกำลังรับแบกทาน (Bearing capacity failure)


19

ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A
∑ 𝑀𝐴 ∑ 𝑀𝑟 − ∑ 𝑀𝑜
𝑥̅ = =
∑𝑉 ∑𝑉
611.356−125.434
𝑥̅ = ( ) = 1.7528
277.22
𝐵 3.525 𝐵
𝑒 = ⁡ − 𝑥̅ = − 1.7528 = 0.009661 < = 0.383⁡𝑂𝐾
2 2 6

ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesic
30°
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋 tan(30°) 𝑡𝑎𝑛2 (45° + ) = 18.41478
2
𝑁𝛾 = 2(⁡⁡−1)𝑡𝑎𝑛30° = 23.74353

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = 𝑞 ′ (𝑁𝑞 − 1) + 𝛾′𝐵′𝑁𝛾
2
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = ⁡⁡ (10) + ⁡ × 20 × 18.41478 × 3.505679 × 23.74353
2
= 1016.52⁡𝑘𝑃𝑎

แรงแบกทานประลัยสุทธิ
𝑄𝑢 = ⁡⁡1016.52 × ⁡3.505679⁡ = 3563.59⁡𝑘𝑁/𝑚

อัตราสวนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทาน
3563.59
𝐹𝑆 = = 12.85⁡ > 3⁡𝑜𝑘
277.22

Type E ที่ 4.5 เมตร


กำหนดฐานรากและกำแพงกันดิน: ด้านสั้น= 0.8m ; ด้านยาว= 2.5 m ; ความหนากำแพง= 0.3 m ;
ความหนาฐานราก= 0.3 m ; ความยาว= 5 m
สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Active บนระนาบ BC

𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 − ) = 0.333
2
แรงดันดินที่สภาวะ Active
1
𝑃𝑎 = 𝑥0.333𝑥20𝑥52 = 16.6667⁡kN/m⁡
2
20

กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.667 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

สัมประสิทธิ์แรงดันดินที่สภาสะ Passive บนระนาบ DA



𝑘𝑎 = 𝑡𝑎𝑛2 (45 + ) = 3
2
แรงดันดินที่สภาวะ Passive
1
𝑃𝑎 = 𝑥3𝑥20𝑥0.52 = 7.5
2
กระทำที่ระยะเท่ากับ H/3 = 0.166 m จากฐานรากกำแพงกันดิน

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
น้ำหนักบรรทุกที่กรทะบนฐานรากมีค่าดังนี้
W1 = 0.2x0.8x20⁡KN/m3 = 3.2⁡KN/m
W2 = 0.3x0.2x24⁡KN/m3 = 1.44⁡KN/m
W3 = 0.3x3.6x24⁡KN/m3 = 25.96⁡KN/m
W4 = 2.5x4.7x20⁡KN/m3 = 235⁡KN/m
𝑊5 = 50⁡𝐾𝑁/𝑚

แรงเสียดทานใต้ฐานราก
𝑆 = ∑ 𝑊 𝑥⁡𝑡𝑎𝑛∅ = 182.1887

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการลื่นไหล
182.1887
𝐹𝑆𝑠 = 166.6667 = 1.561617 > 1.5⁡OK

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
โมเมนต์ที่ก่อให้เกิดการพลิกคว่ำ
𝐻
𝑀𝑜 = 𝑃𝑎 𝑥 = (116.6667𝑥0.667) = 194.4444𝐾𝑁/𝑚
3

โมเมนต์ต้านการพลิกคว่ำ
21

𝐴𝐷
𝑀𝑟 = 𝑊1 𝑥1 𝑊2 𝑥2 𝑊3 𝑥3 𝑊4 𝑥4 𝑊5 𝑥5 + 𝑃𝑝 𝑥
3

𝑀𝑟 = (3.2𝑥0.4) + (1.44𝑥0.55) + (25.92𝑥1.8) + (235𝑥1.8) + (50𝑥1.8) + (7.5𝑥0.1666)


𝑀𝑟 = 720.304⁡𝐾𝑁/𝑚

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการพลิกคว่ำ
720.304
𝐹𝑆𝑂 = = 3.704421 > 1.5⁡𝑂𝐾
194.4444

อัตราส่วนปลอดภัยต้านการวิบตั ิเนื่องจากกำลังรับแบกทาน (Bearing capacity failure)


ตำแหน่งของแรงลัพธ์ R ที่วัดจากจุด A
∑ 𝑀𝐴 ∑ 𝑀𝑟 − ∑ 𝑀𝑜
𝑥̅ = =
∑𝑉 ∑𝑉
720.304−194.4444
𝑥̅ = ( ) = 1.666
315.56

ตัวแปรกำลังรับแรงแบกทานของ Vesic
30°
𝑁𝑞 = 𝑒 𝜋 tan(30°) 𝑡𝑎𝑛2 (45° + ) = 18.41478
2
𝑁𝛾 = 2(⁡⁡−1)𝑡𝑎𝑛30° = 23.74353

กำลังรับแรงแบกทานประลัยสุทธิของดินฐานรากเท่ากับ
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = 𝑞 ′ (𝑁𝑞 − 1) + 𝛾′𝐵′𝑁𝛾
2
1
𝑞𝑢(𝑛𝑒𝑡) = ⁡⁡ (10) + ⁡ × 20 × ⁡18.41478 × 3.332866 × 23.74353
2
= 975.4879⁡𝑘𝑃𝑎

แรงแบกทานประลัยสุทธิ
𝑄𝑢 = ⁡⁡975.4879 × 3.332866⁡ = 3251.17𝑘𝑁/𝑚

อัตราสวนปลอดภัยต้านการวิบัติเนื่องจากกำลังรับแรงแบกทาน
3251.17
𝐹𝑆 = = ⁡10.30286 > 3⁡𝑜𝑘
315.56
22

บทสรุป
จากการคานวณจะเห็นได้ว่าต้องเพิ่มขนาดของ retaining wall ในปั ญหานีจ้ ะทาการออกแบบ แต่ละ type ให้มีขนาด
เพิ่มขึน้ ตามความสูงของกาแพงกันดิน เพื่อที่ตอ้ งการจะได้คา่ FS ให้มากกว่าที่กาหนด เพื่อไม่ให้เกิดการเคลื่อนที่ของ
กาแพงกันดินด้วย Gravity wall หรือ Cantilever wall ให้ผ่าน อัตราส่วนความปลอดภัยต้านการลื่นไถล ต้านการพลิก
คว่า
23

เอกสารอ้างอิง
ข้อมูลอ้างอิง : http://eng.sut.ac.th/ce/oldce/Suksun/Chapter6.pdf

You might also like