You are on page 1of 143

มังคลัตถวิภาวินี

ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕

พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)

อธิบายศัพทและสำนวน มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒


ประโยค ป.ธ.๕
มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕
© พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
ISBN 978-616-382-960-3

พิมพครั้งที่ ๑ - มิถุนายน ๒๕๕๘ ๔๐๐ เลม


เผยแพรออนไลน ทาง facebook, สิงหาคม ๒๕๖๕
- ตนฉบับ พิมพครั้งที่ ๑ สูญหาย คงเหลือแตสวนเนื้อหา
ไดพิมพทดแทนสวนที่สูญหายไปในคราวเผยแพรออนไลน

ผูออกแบบปก : Phu-Best-Design.com
พิสูจนอักษร : พระมหาสงวน สุทฺธิาโณ
จัดทำโดย : พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)

โรงพิมพ์ : บริษัท พิมพสวย จำกัด


๕/๕ ถ. เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร. ๐ ๒๙๕๓ ๙๖๐๐
ทีติดต่อ : คณะ ๗ วัดอรุณราชวราราม
แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ
กทม. ๑๐๖๐๐ โทร. ๐ ๙๕๑๓๙ ๙๓๓๒
อนุโมทนา
พลเรือเอกชัยณรงค เจริญ รักษ และคุณ ฐิติมา วิทยานนทเอกทวี
โดยการดำริ แ ละประสานงานของคุ ณ ภาณุ วั ฒ ณ มี สั ต ย ได แ จ ง ความ
ประสงคขอเปนเจาภาพพิมพหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน
ป.ธ.๕ เพื่ อ ถวายแดนั กเรียน กั บ ทั้ งเพื่ อเป น การบำเพ็ ญ ธรรมวิ ท ยาทาน
ใหกวางขวางยิ่งขึ้นไป
การพิมพหนังสือเลมนี้ สืบเนื่องกับหนังสือเลมกอน คือในคราวพิมพ
มงคลวิเสสกถาปกาสินี (พิมพครั้งที่ ๓) ผูเขียนนี้ กำชับวา ให พิมพจำนวน
จำกัดแค ๓๐๐ เลมก็พอ เพราะตองการแกไข/เพิ่มเติมอีก
ในคราวนั้ น ทราบวา มีโยมจำนวนหนึ่งพลาดโอกาสเป น เจาภาพ
เพราะไดจำนวนเลมหนังสือเต็มอั ตราที่ กำหนดแล ว และโยมดังกลาวนั้ น
ก็ถามถึงหนังสือที่กำลังรอพิมพ พรอมแจงความประสงคเปนเจาภาพไว
ประจวบกั บ เวลานั้ น หนั งสื อ มั ง คลั ต ถวิ ภ าวิ นี กำลั ง เริ่ ม ต น ขึ้ น
จึงแจงไปยังคุณภาณุวัฒน ขอใหโยมรอพิมพหนังสือเลมนี้เปนลำดับตอไป
และทางฝายอาตมภาพเองก็ขอเวลาจัดทำตนฉบับใหสำเร็จ
เวลาลวงเลยมาจนกระทั่งบัดนี้ เปดภาคการศึกษาใหมแลว ตนฉบับ
หนังสือจึงสำเร็จ พรอมจะเขาโรงพิมพใหเสร็จออกมาดวยทุนพิมพหนังสือ
ที่คุณภาณุวัฒน รวบรวมมาไวพรอมแลว (๒๒,๐๐๐ บาท)
ขออนุโมทนาคณะผูศรัทธาในธรรมทุกทาน ที่สนับสนุนการศึกษา
พระปริยัติธรรมแผนกบาลีในครั้งนี้ ดวยอำนาจบุญจริยาที่รวมกันบำเพ็ญ
แลว จงเป นป จจัยเพื่ อ ความเจริญ ในกุศลธรรม และเพื่ อความตั้ งมั่ น แห ง
พระสัทธรรมตลอดกาลนาน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
คำนำ
ในตอนตนหนังสือ มังคลัตถทีปนี ทานวา พระสูตรทั้งหลายเกิดขึ้น
เพราะเหตุ ๔ ประการ ไดแก (๑) เกิ ดเพราะความประสงคจ ะทรงแสดง
ธรรมตามอั ธยาศัยของพระพุทธเจาเอง (๒) เกิดเพราะอั ธยาศัยของผูอื่น
(๓) เกิดเพราะคำถา และ (๔) เกิดเพราะมีเหตุการณปรากฏขึ้น
บรรดาเหตุ ๔ ประการนี้ มงคลสู ต ร ซึ่ ง เป น ที่ ม าของหนั ง สื อ
มังคลัตถทีปนี นั้น เกิดเพราะคำถาม แมหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัย
ใหนักเรียน ป.ธ.๕ นี้ก็เกิดขึ้นเพราะคำถามเชนกัน ดังจะเลาตอไป
ในระหวางการเรียนการสอน วิชา แปลมคธเป นไทย ชั้น ประโยค
ป.ธ.๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ที่สำนักเรียนวัดอรุณราชวราราม นักเรียน
มีขอสงสัยตรงไหน ก็นำขอสงสัยนั้นมาถามอาจารย
ฝายอาจารยเมื่อไดรับคำถามแลว ก็ตอบไปตามกำลัง หรือขอโอกาส
เก็บไวตอบในภายหลัง และหลังจากตอบคำถามนั้น แลว ก็มักจะนำมาจด
บั น ทึ ก ไว พรอ มค น คว า หาคำตอบเพิ่ ม เติ ม จากคั ม ภี ร ต า งๆ จนถึ ง สิ้ น ป
การศึ ก ษา คำถามและคำตอบ ก็ มี จ ำนวนมากพอสำหรั บ พิ มพ เป น เล ม
หนังสือ ดังที่ปรากฏนี้เอง
เนื้ อ หาในหนั ง สื อ เล ม นี้ นอกจากจะมุ ง ตอบคำถามให นั ก เรี ย น
มี ค วามรู เพี ย งพอสำหรับ สอบบาลี ส นามหลวง คื อ มุ งอธิ บ ายหลั ก บาลี
ไวยากรณ เปนตนแลว ยังมุงใหนักเรียนมีความรูทั่วถึง สมภูมิชั้น ป.ธ.๕
ฉะนั้ น เนื้ อ หาบางตอนจึ ง เป น ความรู ใหม สำหรั บ นั ก เรี ย น เช น
สังขยา ๕ ประเภท ชื่อชนบทนิยมเปน พหุ วจนะ บทวา มหา เป น ๓ ลิงค
เปน ต น และขอให นั ก เรียนศึก ษาไวเป น ความรู พิเศษ ซึ่ งจะช ว ยเสริ ม ให
เขาใจบทเรียนมากขึ้น
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
สารบัญ
เรื่อง หนา
อนุโมทนา ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
อักษรยอชื่อคัมภีร ฏ
ปฺจมคาถายตฺถวณฺณนา ๑
ทานกถา ๑
ทปฺปนฺติ ๑
วิกฺขาเลตฺวา ๑
กปฺเปตา ๒
ปฏิ ๒
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป ๓
สนฺโต ๔
ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ ๖
ยสสฺส [ยโส-อสฺส] ๗
วิคาหติ ๗
วิเนยฺย ๙
ทีฆรตฺตํ ๙
สหพฺเยติ ๙
อาณาเปสิ ๙
ปติปต ามหาทีหิ ๑๐
อภิฺเยฺยา, ปริเฺ ญยฺยา ๑๑
อานิสํโส มหา ๑๒
เจตสา มนสา ๑๒
ยตสฺสา วิมตุ ฺตายตนภาโว ๑๓
ธมฺมจริยากถา ๑๖
ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส ๑๖
เถยฺยสงฺขาตํ ใชในอรรถกรณะ ๑๖
โปรี ๑๗
ยิฏํ : ต ปจจัยใชเปนนามนาม ๑๗
อภิ ฺ า สจฺฉิกตฺวา : วัณณสนธิ ๑๘
ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ ๑๙
อิตฺถนฺนามํ ๒๐
สุกุมารา แปลวา ออนโยน ๒๐
ปุถุวจน = พหุวจนะ ๒๑
ภาวนปุสกนิทฺเทโส = กิริยาวิเสสนะ ๒๑
ชาต ศัพท เปนตน ใชเปน วจนสิลฏิ  ก, สกตฺถ ๒๒
วิภาเวนฺติยา ๒๓
เกวล ศัพท ๒๓
อโหปุริสิกา ๒๕
วาทสฺส ตัดบทเปน วาโท+อสฺส, ภวสาโร ๒๕
โคพลิพัททนัย ๒๖
าตกสงฺคหกถา ๒๗
ปตามโห ลง อามห ปจจัย ๒๗
ปตา จ...เตสํ ยุโค ปตามหยุโค ๒๗
ปุริสคฺคหณฺเจตฺถ...สมตฺถติ ํ โหติ ๒๗
ปตา จ...ปตามหทฺวนฺทาติ ๒๘
โกเลยฺยกา ๒๘
ทฺวิชสงฺฆา, ทิโช ๒๘
อนวชฺชกมฺมกถา ๒๙
อนสนสงฺขาโต อุปวาโส ๒๙
ปสนฺนมานโส ๒๙
มหาชนปทานํ : ชื่อแควน นิยมเปนพหุวจนะ ๓๐
เสยฺยถีทํ ๓๒
กุ ในคำวา กุราชภาเวน ๓๒
ปฺจงฺคกิ ํ ตุริยํ = ดนตรีมีองค ๕ ๓๔
มรุกนฺตาร = ทะเลทราย ๓๔
กามทุโห ๓๕
อจฺฉสิ ๓๕
วิมลาทีสุ ๓๕
ฉคาถายตฺถวณฺณนา ๓๖
ปาปวิรติมชฺชปานสํยมกถา ๓๖
อวฺหย=ชื่อ ๓๖
ยโต : โต ปจจัยเปนเครือ่ งหมาย ๕ วิภตั ติ ๓๖
วชฺช=คำพูด ๓๗
อโวจ ๓๗
ตชฺชํ ๓๗
อนุวิธิยนาสุ ๓๘
วิลียติ ๓๙
สปตฺตา ๓๙
เผณุทฺเทหกํ ๔๐
เยสํ โน = เย มยํ ๔๐
มาริส ๔๑
นาวหเร, ภเณ=น อวหรติ, ภรติ ๔๒
อุปนาเมสิ ๔๒
ลทฺธาน ๔๓
เสหิ ๔๓
วารุณี : ษีเมาน้ำดอง ๔๓
อปฺปมาทกถา ๔๔
โยณฺณวา : สังเกตสังขยา ๔๕
สังขยา ๕, ๖ และ ๗ ประเภท ๔๗
สตฺตมคาถายตฺถวณฺณนา ๕๒
คารวกถา ๕๒
ปณฺฑุปลาส ๕๒
วตฺตํ/วฏฏํ แปลวา คาใชสอย ๕๒
ธมฺมสฺส โกวิทา : หักฉัฏฐีเปนสัตตมี ๕๔
นิวาตกถา ๕๕
เกสรสีหา : ในราชสีห ๔ ประเภท ๕๕
สนฺตุกิ ถา ๕๖
อิติ มาสฑฺฒ...วิตกฺกสนฺโตโส นาม ๕๖
หายติ ๕๖
ปฺาเปสิ : เปนทัง้ กัตตุ. และ เหตุ.กัต.? ๕๘
ปริสสฺ ยานํ สหิตา ๕๙
กปฺป ศัพท : ใชในอรรถเปรียบเทียบ ๕๙
นิทฺธเม=นิทธฺ เมยฺย ๕๙
กตฺตุ ากถา ๖๐
ทเท=ททามิ, มุฺเจ=มุฺจามิ ๖๑
คตโยพฺพนา ๖๑
อนฺธการํ วิย ๖๑
อนฺธการาวตฺถํ ๖๑
ตโตเยว ใชในอรรถเหตุ ๖๒
อมฺพณก=เรือโกลน ๖๒
สหตฺถา : ศัพทที่แปลงเปน ส ๖๓
อภิราธเย ๖๔
ทชฺชา ๖๔
ธมฺมสฺสวนกถา ๖๕
อหนิ=ในวัน ๖๕
อุปฺปชฺชนฺตาป...วุจฺจนฺติ ๖๕
กุสโล เภริสทฺทสฺส, กุสโล สงฺขสทฺทสฺส ๖๖
ปุตตฺ กํ : ก ปจจัยแปลไดหลายอยาง ๖๖
มา กโรสิ : วิธีการใช มา ปฏิเสธ ๖๖
มํ น ปฏิภาติ : หักทุติยาเปนจตุตถีและฉัฏฐีวิภัตติ ๖๘
กานนํ = ดง ปา หมูไ ม ๗๐
ปาทป=ตนไม ๗๐
ปริปูเรนฺติ ๗๐
ทริโต ๗๑
อมคาถายตฺถวณฺณนา ๗๒
ขนฺติกถา ๗๒
ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ : อักโกสวัตถุ ๑๐ ๗๒
พหุ อตีตมทฺธาเน : พหุ ควรเปน อหุ ๗๓
ยสฺสทานิ=ยสฺส อิทานิ ๗๓
ทุรุตตฺ ํ=คำพูดชั่ว ๗๓
อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตวฺ า: อักษรหาย ความหมายเปลีย่ น ๗๔
วโจ : แปลง อํ ทุติยาวิภตั ติ เปน โอ ๗๘
ตสฺสา อตฺถิตายาติ ๗๘
ขตฺติยวคฺคฏีกา ๗๙
จกฺกาทิตกิ ํ ๘๐
ตสฺเสว เตน ปาปโย ๘๐
ปาปกตรสฺส ๘๑
ตตฺถิโตเยว ๘๓
เวเทหิกา ๘๓
คหปตานี ๘๓
อผาสุ, อผาสุกํ ๘๔
อยฺเย ในคำวา ปสฺสถยฺเย ๘๔
ยโต=ยทา ๘๕
โสรโต ๘๕
กุรุรา/กุรูรา ๘๕
โสวจสฺสตากถา ๘๖
สุวโจ ๘๖
โสวจสฺสํ ๘๖
โสวจสฺสตา ๘๖
ปุรกฺขิตวฺ า ๘๖
วิปฺปจฺจนีกสาเต : ทันตเฉทนนัย/ทันตโสธนนัย ๘๖
อนุโลมสาเต ๘๗
ขโม ๘๘
ขนฺตา ๘๘
ปฏานิภาเวน ๘๘
วิเสสาธิคมสฺส ทูเร/อทูเร ๘๘
กตฺวา เปนกิริยาปธานนัย ๙๐
อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา: อกโรนฺตา/อกโรนฺตี ? ๙๐
จตูสุ อปาเยสุ [อบาย ๔] ๙๑
ปฺจวิธพนฺธนกมฺมกรณานาทีสุ ๙๒
กาหนฺติ ๙๒
สมณทสฺสนกถา ๙๓
ตถาสมาหิตํ ๙๓
อชฺฌุเปกฺขิตา ๙๓
นิสินฺนสฺส ๙๓
ตตฺถาป ตโต ๙๓
สตสหสฺสมตฺตา ๙๓
มหินฺท...ปพฺพชนฺติ นาม ๙๔
ปาตุกมฺมาย ๙๔
อตีวมหา : บทวา มหา เปนได ๓ ลิงค ๙๕
อฑฺฒรตนํ ๙๖
นาค ศัพทเดียว แปลไดหลายอยาง ๙๖
วิธีแปล ขมนียํ/ยาปนียํ ๙๗
นิทฺทํ อุปคตสฺส ๙๗
ฑยฺหามิ ๙๘
ธมฺมสากจฺฉากถา ๙๘
นวมคาถายตฺถวณฺณนา ๙๙
ตปกถา ๙๙
ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีตกิ ฺขา : วิเสสลาภี ๙๙
ตีตกิ ฺขา ๙๙
มหาหํสชาตก ๙๙
ยตฺวาธิกรณเมนํ ๑๐๐
หตฺถปาทสิตหสิตกถิตวิโลกิตาทิเภทํ: ต ปจจัย ๔ สาธนะ ๑๐๑
หิ ศัพท ๑๐๒
ยถา=ยสฺมา ๑๐๓
อกมฺมฺโ ๑๐๔
มฺเ=วิย ๑๐๔
พฺรหฺมจริยกถา ๑๐๕
อหฺจ ภริยา จ : ปโรปุริส ๑๐๕
อริยสจฺจทสฺสนกถา ๑๐๖
ทุกฺขํ อริยสจฺจํ : วิเสสลาภี ๑๐๖
ภวา ๑๐๖
นิพฺพานสจฺฉิกิริยากถา ๑๐๗
กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ : แปลแลวยกขึ้นตั้งอรรถ ๑๐๗
อาลมฺเพติ ๑๐๘
อาโท ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ ๑๐๘
ทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๐๙
อกมฺปตจิตฺตกถา ๑๐๙
อุปายาเสหิ : อุปายาส คืออะไร ๑๐๙
อโสกจิตฺตกถา ๑๑๑
อนฺโต ลงแลวลบวิภัตติ ๑๑๑
ฌาเปสิ ๑๑๒
อาคา ๑๑๓
กาลกเต ๑๑๓
ตสฺส [ตํ อสฺส] ๑๑๓
ปริณเต ๑๑๔
วิรชจิตฺตกถา ๑๑๕
ภยมนฺตรโต ๑๑๕
เขมจิตฺตกถา ๑๑๖
ราชฺโ ๑๑๖
อิยตมกิเอสานมนฺตสฺสโร ๑๑๖
เอกาทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๒๑
คจฺเฉ ๑๒๑
อุรุ ศัพท ในคำวา สิรฺยาทิมงฺคลภิธานยุโตรุเถโร ๑๒๑
บันทึกทายเลม ๑๒๒
บรรณานุกรม ๑๒๓
หนังสือที่พิมพเปนทาน ๑๒๗
รายนามผูรวมพิมพหนังสือ ๑๒๘
ปญฺจมคาถายตฺถวณฺณนา
ทานกถา
-๐-

ทปฺปนฺติ (มงฺคล. ๒/๔/๓)๑


ทปฺ ปนฺติ ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔ หน า ๓ แปลวา
งมงาย ใชในอรรถเดียวกันกับ มุยฺหนฺติ (ลุมหลง)
ทปฺปนฺติ [ทปู+ย+อนฺติ] ยอมงมงาย ประกอบดวย ทปู ธาตุในความ
หัวเราะ, กระดาง, โออวด (หาสคพฺพเน)๒ ย ปจจัยในกัตตุวาจก หมวด ทิว
ธาตุ อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ, บางอาจารยวา ทปฺ ธาตุ แปลง ปฺย เปน ปฺป๓

วิกฺขาเลตฺวา (มงฺคล. ๒/๑๕/๙)


นักเรียนสงสัยวา วิกฺขาเลตฺวา ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๑๕ หนา
๙ เปนวาจกอะไร
วิกฺขาเลตฺวา ในที่ดังกลาว เปน เหตุกัตตุวาจก, ความจริง มีผูอธิบาย
วิกฺขาเลตฺวา วาเปนไดทั้ง กัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก
วิ กฺ ข าเลตฺ ว า [วิ +ขลฺ +เณ +ตฺ ว า ] ที่ เ ป น เห ตุ กั ต ตุ ว าจก แปลว า
ยัง...ให บ ว นแลว ประกอบดวย วิ บทหน า ขล ธาตุ ในความชำระ ๔ ด วย
อำนาจ วิ อุ ป สั ค อยูห น า แปลว า บ ว น เณ ป จ จั ยในเหตุ กั ต ตุว าจก ตฺว า

๑ ในวงเล็บ=(หนังสือมังคลัตถทีปนีพิมพครั้งที่ ๑๕ พ.ศ. ๒๕๔๙, ภาคที่ ๒/ขอ/หนา)


๒ พระวิสุ ทธาจารมหาเถระ รจนาที่พ ม า, พระราชปริยั ติโมลี (อุป สโม) และคณะ
ปริวรรต, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, (กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕),
คาถา ๑๘๐ หนา ๑๘๔.
๓ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยาอาขยาต ฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ:
เรืองปญญา, ๒๕๔๕), หนา ๑๓๐.
๔ ขล โสธนมฺหิ, ดู ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๗๙ หนา ๗๗.
๒ มังคลัตถวิภาวินี

ปจจัย ดวยอำนาจ เณ ปจจัย ทีฆะ อ ตนธาตุเปน อา ลบ ณ เหลือไวแต เอ


สำเร็จรูปเปน วิกฺขาเลตฺวา
สวนที่เปน กัตตุวาจก นั้นมีองคประกอบเหมือน เหตุกัตตุวาจก แปลก
แต ลง เณ ปจจัยในกัตตุวาจก เทานั้น๑
กปฺเปตา (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
กปฺ เ ปตา ศั พ ท เดิ ม เป น กปฺ เปตุ (ผู ส ำเร็ จ ) แจกแบบ สตฺ ถุ เอา อุ
การันต กับ สิ เปน อา๒
เพราะอำนาจ สิ วิภัตติ จึงแปลงสระท ายเปน อา และลบ สิ วิ ภัตติ
ดวยสูตรวา สตฺถุปตาทีนมา สิสฺมึ สิโลโป จ๓, ศัพทวา อาทาตา, สนฺธาตา,
อนุปฺปทาตา เปนตน (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗-๔๘) ก็พึงทราบโดยนัยนี้
ปฏิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕)
ปฏิ ในขอวา ปฏิ ปจฺเจโก ปุคฺคโล ปฏิปุคฺคโล เปนอัพยยศัพท จึงไม
เปลี่ยนรูปไปตามวิภัตติ
ในที่นี้ตองการใช ปฏิ ศัพท ขยาย ปุคฺคโล (พึงสังเกตทานไขความวา
ปจฺเจโก) จึงลง สิ ปฐมาวิ ภัตติแลวลบเสีย ทั้งนี้มี หลักการทั่ วไปว า ใหลบ
วิภัตติหลังอุปสัคและนิบาต๔

๑ บุญ สืบ อิ นสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ


สงเสริมสามเณร ในพระสังฆราชูปถัมภ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก, ๒๕๕๕), หนา ๖๙๗.
๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่
๒ นามและอัพยยศัพท, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๖๑.
๓ พระคัน ธสาราภิ วงศ แปลและอธิบ าย, ปทรูป สิ ทธิ มั ญ ชรี เล ม ๑ , (นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาี ศึกษาพุ ทธโฆส, ๒๕๔๗), หนา
๕๑๕.
๔ กจฺจายน. สูตร ๒๒๑, รูปสิทฺธิ. สูตร ๒๘๒, สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๔๔๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาปิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖)
สัตตมีวิภัตติที่สัมพันธเขากับ ทา ธาตุ ใหใชในอรรถสัมปทาน คือหัก
สัตตมีวิภัตติเปนจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก๑
หลั ก การลงสั ต ตมี วิ ภั ต ติ ใ นอรรถสั ม ปทานนี้ ปรากฏใช ใ นที่
ประกอบดวย ทา ธาตุเทานั้น เพราะ ทา ธาตุ เปนธาตุที่มองหาสัมปทาน๒
ฉะนั้น สัตตมีวิภัตติดังจะแสดงตอไปนี้จึงลงในอรรถจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก
ปฏิปนฺเน ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
ทานที่ทายกให แกบุคคลผูปฏิบัติ
โสตาปนฺนาทีสุ ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
ทานที่ทายกถวาย แกพระโสดาบัน เปนตน
ตตฺถ ทินนฺ ํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๔,๑๕)
ทานที่ทายกถวาย แกปฏิคาหกนั้น
ตตฺถ ตตฺถ ทินนฺ สฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕)
ทานที่ทายกถวายแกปฏิคาหกนั้นๆ
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖)
แมทักษิณาที่ทายกถวาย แกสงฆ
ปุถุชฺชนสมเณ ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
ทานที่ทายกถวาย แกสมณะผูเปนปุถุชน มีผลมากกวา
ขีณาสเว ทินนฺ ทานโต (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
กวาทานที่ทายกถวาย แกพระขีณาสพ
ทุสฺสีเลป ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
ทานที่ทายกถวาย แมแกสมณะผูทุศีล

๑ กจฺจายน.สูตร ๓๑๑, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๔๒, รูปสิทธฺ ิ. สูตร ๓๒๕.


๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๓๐.
๔ มังคลัตถวิภาวินี

สนฺโต (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๘)


สนฺโต ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ เปนพหุวจนะ ถา
นักเรียนไมศึกษาใหทั่วตลอดหรือผูสอนไมแนะนำ อาจจะเขาใจผิดคิดวาเปน
เอกวจนะ เพราะเทียบกับแบบแจก อ การันตในปุงลิงค
ที่จริง สนฺโต ในที่นี้เปน พหุวจนะ ใชเปน วิเสสนะ ของ สปฺปุริสา มี
แบบแจกเฉพาะที่นักเรียนไมคุนเคย จึงนำมาแสดงไว ดังนี้
สนฺต ศัพท แจกอยางนี้
สนฺตสทฺทปทมาลา๑

วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ


ป. สํ (สนฺโต)๒ สนฺโต สนฺตา
ทุ. สํ สนฺตํ สนฺเต
ต. สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
จ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ
ปฺ สตา สนฺตา สนฺตสฺมา สนฺตมฺหา สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
ฉ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ
ส. สติ สนฺเต สนฺตสฺมึ สนฺตมฺหิ สนฺเตสุ
อา. โภ สนฺต ภวนฺโต สนฺโต

๑ พระอั ครวังสเถระ รจนา, พระมหานิมิ ตร ธมฺ ม สาโร และจำรูญ ธรรมดา แปล,


สัททนีติปทมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาี-
ศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๕๖๘.
๒ อาจารย บ างทา นกล าวว า สนฺ โต ไมค วรเป นเอกวจนะ เพราะท านอธิบ ายไวใน
คัมภีรสัททนีติป ทมาลา (ฉบั บแปล หนา ๕๗๐) วา บทวา สนฺโต อสนฺ โต ใชเป นพหุ พจน
เทานั้น ไมมใี ชเปนเอกพจนแมสักแหง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ที่อางถึงนี้ ปรากฏ สนฺต ศัพทในขอความวา
ปุน จปรํ สีห ทายกํ ทานปตึ สนฺโต สปฺปุริสา ภชนฺติ ยมฺป สีห ทายกํ....
ภชนฺติ อิทมฺป สีห สนฺทิ€ิกํ ทานผลํ ฯ
[สี ห ะ ข อ อื่ น ยั ง มี อี ก สั ต บุ รุ ษ ทั้ ง หลายผู ส งบระงั บ ย อ มคบทายก
ทานบดี, สีหะ ขอที่สัตบุรุษทั้งหลายผูสงบระงับคบทายกทานบดี แมนี้ เปน
ผลแหงทานที่เห็นไดเอง]
สนฺต ศัพท ในที่นี้แปลวา ผูสงบระงับ ซึ่งเปนเพียงความหมายหนึ่งใน
หลายความหมาย ที่จริง สนฺต ศัพท มีความหมายมากถึง ๗ อยาง ไดแก
อจฺจิเต วิชฺชมาเน จ ปสตฺเถ สจฺจสาธุสุ
ขินฺเน จ สมิเต เจว สนฺโตภิเธยฺยลิงฺคิโก ฯ๑
สนฺต ศัพท ที่เปนอภิเธยยลิงคคือเปนไดทั้ง ๓ ลิงค มีอรรถ ๗ อยาง คือ
๑) อจฺจิต การบูชา
๒) วิชฺชมาน ความมีอยู
๓) ปสตฺถ การสรรเสริญ
๔) สจฺจ ความจริง
๕) สาธุ คนดี
๖) ขินฺน ความลำบากหรือความเหน็ดเหนื่อย
๗) สมิต ความสงบจากกิเลส
สนฺต ศัพท ที่แปลวา ผูสงบ นี้วิเคราะหวา กิเลเส สเมตีติ สนฺโต (สมุ
อุปสเม+ต) ผูระงับกิเลส ชื่อวา สันตะ (อาเทศ มฺ เปน นฺ)

๑ พระมหาสมปอง มุ ทิ โต, อภิ ธานวรรณนา, พิ ม พ ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษั ท


ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), คาถา ๘๔๑, ๒๒๘ หนา ๙๘๙, ๓๑๐.
๖ มังคลัตถวิภาวินี

ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘)


นั ก เรี ย นค อ นข า งคุ น เคย ยทิ ศั พ ท ที่ เ ป น นิ บ าตบอกปริ กั ป
(คาดคะเน) ลงในอรรถ ปริกปฺป ตฺถ ที่แปลวา ผิวา, ถาวา, หากวา ที่จริง
ยทิ ศัพทลงในอรรถอื่นก็ได
ในที่บางแหง ยทิ ศัพทลงในอรรถแหง วา ศัพท คือลงในอรรถที่เปน
วิกปฺปน (วิกปฺปตฺถ)๑ แปลวา ก็ดี, ก็ตาม, หรือ เชน ยทิ ศัพท ในมังคลัตถ-
ทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ ไมไดลงในอรรถ ปริกปฺปตฺถ ไมควรแปลวา
ผิวา แตลงในอรรถแห ง วา ศัพท ตองแปลว า ก็ดี, ก็ตาม, หรือ; ขอความ
ดังกลาวเปนพุทธพจนมาในสีหสูตรนำมาแสดงไวดังนี้วา
»Ø ¹ ¨»Ã™ ÊÕ Ë ทายโก ทานปติ ڐ à·Ç »ÃÔ Ê ™ ÍØ » Ê§Ú ¡ ÁµÔ ·Ô
¢µÚµÔ»ÃÔʙ Â·Ô ¾ÚÃÒËÚÁ³»ÃÔʙ Â·Ô ¤Ë»µÔ»ÃÔʙ Â·Ô ÊÁ³»ÃÔʙ ÇÔÊÒÃâ·
ÍػʧڡÁµÔ ÍÁ§Ú¡ÀØ Ùâµ...Ï
[สี ห ะ ข อ อื่ น ยั ง มี อี ก ทายกทานบดี จ ะเข าไปยั ง บริ ษั ท ใดๆ จะเป น
กษัตริยก็ตาม พราหมณก็ตาม คฤหบดีก็ตาม สมณะก็ตาม เปนผูแกลวกลา
ไมเกอเขิน เขาไปยังบริษัทนั้น]
สวนคำวา ­ڐà·Ç นั้น ตัดบทเปน ยํ-ยํ-เอว แปลงนิคหิต (ตัวหนา)
กับ ย (ตัวหลัง) เปน ฺ แลวซอน ò เปน ­ڐí-àÍÇ, แลวแปลง นิคหิ ต
เปน ท เปน ­ڐà·Ç

๑ ดู ใ นจตุ ป ทวิ ภ าค สทฺ ท นี ติ สุ ตฺ ต มาลา ท า นว า ยทิ อิ ติ กตฺ ถ จิ วาสทฺ ท ตฺ เถ,


(พระอัคควังสมหาเถระ รจนา, พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร ปริวรรต, สทฺทนีติ สุตฺต-
ม าล า, ก รุ ง เทพ ฯ: ไทยรายวั น ก ารพิ ม พ , ๒ ๕ ๔ ๙ , ห น า ๓ ๘ ๙ ) ฉบั บ แป ลดู ที่
พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชำระ, สัททนีติสุตตมาลา, นครปฐม: มหาวิทยาลัย
มหาจุฬ าลงกรณราชวิทยาลัย วิ ทยาเขตบาี ศึกษาพุ ท ธโฆส, ๒๕๔๕, หน า ๑๒๗๙), ใน
เชิงอรรถฉบับแปลที่อางทานวา ยทิ ที่ลงในอรรถ วา ศัพท คือลงในอรรถ วิกปฺปน
๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๒๖๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗
ยสสฺส [ยโส-อสฺส] (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘)
ในคาถา ขอ ๒๓ วา ยสสฺส วฑฺฒติ [ยศของทายกนั้นยอมเจริญ]
ยสสฺส ตัดบทเปน ยโส อสฺส จัดเปนโลปสระสนธิ สระอยูหลัง ลบ
สระหนา ตอบทเปน ยสสฺส เชน กุโต+เอตฺถ=กุเตตฺถ๑
สอดคลองกับที่ทานอธิบายไวในอรรถกถาเถรคาถาวา
ยสสฺส วฑฺฒตีติ สมฺมุเข คุณาภิตฺถวสงฺขาโต ปริวารสมฺปทาสงฺขาโต
จ ยโส อสฺส ปริพฺรูหติ ฯ๒
[บทวา ยสสฺส วฑฺฒติ ความวา ยศกลาวคือความยกยองสรรเสริญคุณ
ในที่ตอหนา และยศกลาวคือความถึงพรอมดวยบริวารยอมเพิ่มพูนแกผูนั้น]
การตัดและตอบทดวยวิธีนี้ มีปรากฏในขอตอๆ ไป เชน
ยตสฺสา [ยโต อสฺสา] (มงฺคล.๒/๕๒/๔๕)
วาทสฺส [วาโท อสฺส] (มงฺคล.๒/๘๑/๗๑)
ปาปกตรสฺส [ปาปกตโร อสฺส] (มงฺคล.๒/๔๓๑/๓๓๗)

วิคาหติ (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)


ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘-๑๙ วา อมงฺกุภูโต ปริสํ
วิคาหติ (ในคาถา)
ในหนังสือเรียนบางเลมทานแปล วิคาหติ วา ไมเบียดเบียน สวนอีก
เลม ทานแปล วิคาหติ วา เขาไป, นักเรียนสงสัยวา ควรแปลอยางไรดี
ในคำแปลทั้ งสองนั้ น คำแปลว า เข า ไป มี ผู ค น คว า แล ว พบข อ มู ล
สนับสนุน สวนคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้น ยังหาขอมูลสนับสนุนไมพบ จึง
ฝากใหนักศึกษาคนควากันตอไป; ขอมูลที่พบนั้น มีดังนี้

๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๐ หนา ๔๑.


๒ เถร.อ. ๒๑๒.
๘ มังคลัตถวิภาวินี

๑. ในพจนานุก รมบาลี -อังกฤษ ฉบั บ สมาคมบาลี ป กรณ (Pali Text


Society) วา วิคาหติ แปลวา หยั่งลง, เขาไป (to plunge into, to enter)๑ และ
พจนานุกรมบาลี-ไทยก็วา วิคาหติ ก. หยั่งลง๒
๒. ในอรรถกถา ทานอธิบายศัพทใกลเคียงกับ วิคาหติ ไว เทาที่พบ ๒
แหง คือ
๒.๑) วิคาหิยาติ อนุปวิสิตฺวา ฯ๓ วิคาหิย แปลวา เขาไป ฯ
๒.๒) วิคาหิสุนฺต.ิ ..ปกฺขนฺทึสุ ฯ๔ ÇÔ¤ÒËÔÊؙ แปลวา แลนไป ฯ
ในขั้น นี้จึงยุ ติไดวา ขอใหนั กเรียนแปล วิ คาหติ ว า เข าไป และขอ
ระงับคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้นไวกอนจนกวาจะพบขอมูลอางอิง

วิเนยฺย (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)


วิเนยฺย [วิ+นี+ตูน าทิ] ในมังคลัต ถทีป นี ภาคที่ ๒ ข อ ๒๓ หน า ๑๙
เปนกิริยากิตก แปลวา นำออกแลว
วิ เนยฺ ย ประกอบด ว ย วิ บทหน า นี ธาตุ ใ นความนำไป (นี นย-
ปาปุเณ)๕ แปลง อี เปน เอ แปลง ตูนาทิ ปจจัย เปน ย ซอน ย๖

๑ T. W. Rhys Davids and William Stede, The Pali text Society Pali-
English Dictionary, (London: The Pali Text Society, 2004) p. 615.
๒ พระอุ ด รคณ าธิ ก าร (ชวิ น ทร สระคำ), ศ.พิ เ ศษ ดร.จำลอง สารพั ด นึ ก ,
พจนานุกรม บาลี-ไทย สำหรับนักศึกษา ฉบั บปรับปรุงใหม , พิม พครั้งที่ ๖, (กรุงเทพฯ:
บริษัท ธรรมสาร จำกัด, ๒๕๕๒), หนา ๔๑๘.
๓ สํ.อ. ๑/๓๖๑.
๔ ชา.อ. ๘/๒๘๖.
๕ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๑๕ หนา ๒๒๕.
๖ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยากิตตฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ: เรือง-
ปญญา, ม.ป.ป.), หนา ๓๑๑.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙
ทีฆรตฺตํ (เชน มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)
นักเรียนสงสัยวา ทำไมทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ ไมใช ทีฆรตฺตึ, ผูเขียนนี้
จึงตอบวา ที่ทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ เพราะมีหลักการดังตอไปนี้
รตฺ ติ ศั พ ท เมื่ อ นำไปสมาสกั บ ศั พ ท อื่ น ที่ บ อกจำนวนหรื อ บอก
ระยะเวลา เช น ที ฆ , อโห, วสฺ ส ให ลง อ ป จจั ย ที่ สุ ด สมาสนั้ น ๑ รตฺ ติ จึ ง
กลายเปน รตฺต เชน ทีฆรตฺต
ในที่ นี้ ป ระกอบ อํ ทุ ติย าวิ ภั ต ติ จึ งได รู ป เป น ที ฆ รตฺ ตํ (ตลอดคื น
ยาวนาน), คำวา อโหรตฺ ตํ ก็พึ งทราบด ว ยหลั กการเดี ยวกั น นี้ , (อห เป น
มโนคณะ เมื่อสมาสเขาแลว ลบวิภัตติ เอาสระที่สุดของตนเปน โอ)๒

สหพฺเยติ (มงฺคล.๒/๒๖/๒๑)
สหพฺเยติ =ยอมเปน ไป, [สห +พฺ เย ปวตฺ ติยํ+เอ+ติ ], เชน ว า สหพฺ เยติ
คจฺฉตีติ สหพฺโย ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๖ หนา ๒๑
สหพฺเยติ แปลวา ยอมเปนไป ประกอบดวย สห บทหนา พฺเย ธาตุใน
ความเปนไป (ปวตฺติยํ) หมวด ภู ธาตุ เอ ปจจัยในกัตตุวาจก ติ วัตตมานา-
วิภัตติ๓
อาณาเปสิ (เชน มงฺคล. ๒/๓๒/๒๘)
อาจารยในปจจุบันนิยมใหนักเรียนแปล อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจก
วา สั่งบังคับแลว เพราะถือตามเฉลยขอสอบ วิชา สัมพันธไทย พ.ศ. ๒๕๔๐

๑ โมคฺ. สูตร ๓.๔๕.


๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๗๕ หนา ๒๖๘.
๓ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๖๒, หนา ๒๘๐ ; และดูใน พระอัครวังสเถระ
รจนา พระธรรมโมลี ตรวจชำระ, สัททนีติธาตุมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง-
กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๓๗๕.
๑๐ มังคลัตถวิภาวินี

ตรวจแกโดยกองบาลีสนามหลวง, แตถึงอยางไรก็ต าม มี อาจารยอ ธิ บาย


อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจกไวอยางนอย ๒ นัย ไดแก
๑. อาณาเปสิ อาณ ธาตุ ในความใช-สั่งบังคับ (เปสเน)+ณาเป ปจจัย
ในกัตตุวาจก (นอกแบบ)+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๑
๒. อาณาเปสิ อา บทหนา+ณาป ธาตุในความใช (เปสเน)+เณ ปจจัย
ในหมวด จุร ธาตุ+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๒
ปิติปิตามหาทีหิ (มงฺคล.๒/๓๘/๓๕)
ปติปตามหาทีหิ [ปตุ +ป ตามห+อาทิ +หิ ตติยาวิภัตติ] แปลวา (อั น
ญาติทั้งหลาย) มีบิดาและปูเปนตน, ปติ ในที่นี้ไมไดแปลวา ปติ แตแปลวา
บิดา ศัพทเดิมก็คือ ปตุ นั่นเอง แตเอาสระ อุ ที่ปตุ เปน อิ
วิ. ปตุ ปตา ปตามโห
บิดาของบิดา ชื่อวา ปตามหะ (ปู)
ลง อามห ปจจัยในตัทธิต๓
วิ. ปตา จ ปตามโห จ ปติปตามหา
บิดาดวย ปูดวย ชื่อวา ปติปตามหะ (เอา อุ ที่ ปตุ เปน อิ)
เปน อสมาหารทวันทวสมาส
วิ. »ÔµÔ»ÔµÒÁËÒ ÍÒ·â àÂÊí ൠ»ÔµÒÁËÒÍҷ⠐ҵ¡Ò
บิดาและปู เปนตน แหงญาติเหลาใด
ญาติเหลานั้นจึงชื่อวา มีบิดาและปูเปนตน
เปน ฉัฏฐีพหุพพิหิสมาส
๑ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, ๒๕๕๕, หนา ๑๒๙.
๒ นิรุต ติ ที ป นี ,
หน า ๕๔๘, อ างถึ งใน พระมหานิ มิต ร ธมฺ ม สาโร และคณะ, วิ ช า
สั ม พั น ธ ไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบั บ แก ไข/ปรั บ ปรุ ง, (กรุ ง เทพฯ: ประยู ร สาส น ไทย
การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๗.
๓ โมคฺ. สูตร ๔.๓๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑
จุดที่ควรทำความเขาใจเปนพิเศษ อยูที่ ปติ เพราะมีหลักการวา สระ
ที่สุด แห ง มาตุ ศั พ ท เปน ต น เป น อิ ได เมื่ อ โต หรื อ ภร ศั พ ท เป น ต น
อยูหลัง๑ เชน มาติโต, ปติโต, ธีติโต, มาตาเปตฺติภโร, มาติปกฺโข เปนตน
คำวา ปติมตฺตํ, มาติมตฺตํ, ภาติมตฺตํ ในขอ ๖๑ หนา ๕๕ ก็พึงทราบ
วา แปลง อุ เปน อิ โดยนัยนี้เหมือนกัน

อภิญฺเยฺยา, ปริญฺเญยฺยา (มงฺคล.๒/๔๑/๓๖)


นั ก เรีย นเห็ น ÍÀÔ ­Ú àÂÚ Ò, »ÃÔ ­Ú àÂÚ Â Ò ในข อ ว า ÍÔ àÁ ¸ÁÚ Á Ò
ÍÀԐ ÚàÂÚ ÂÒ ÍÔàÁ »ÃԐ ÚàÂÚÂÒ [ธรรมเหลานี้ พึงรูยิ่ง ธรรมเหล านี้ พึ ง
กำหนดรู] ก็เขาใจผิดคิดวา ลง อนีย ปจจัย เพราะทานใชเสมือนเปนกิริยา
คุมพากย
ความจริง สองศัพทนี้ ลง ณฺย ปจจัยในนามกิตก ใชเสมือนกิริยากิตก
เชน เต จ ภิกฺขู คารยฺหา๒
ÍÀÔ­Ú àÂÚÂÒ [ÍÀÔ+Ò+³Ú Â+âÂ] (¸ÁÚÁÒ) ธรรมอั นบุ คคลพึ งรูยิ่ง,
วิเคราะหวา ÍÀԭڐҵ¾Ú¾ÒµÔ ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ (ธมฺมา) [ธรรมเหลาใด อั น
บุคคลพึงรูยิ่ง เหตุนั้น ธรรมเหลานั้น จึงชื่อว า ธรรมอั น บุคคลพึ งรูยิ่ง] อภิ
บทหนา Ò ธาตุในความรู แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุ เปน เอยฺย๓ ซอน
ฺ (ณฺย ปจจัยในนามกิตก เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ)
»ÃÔ­ÚàÂÚÂÒ [»ÃÔ+Ò+³ÚÂ+âÂ] (ธมฺมา) ธรรมอันบุคคลพึงกำหนดรู,
วิเคราะหและทำตัวเหมือน ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ แปลกแต ปริ บทหนา

๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๒๗ หนา ๒๙๙.


๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่
๒ อาขยาตและกิตก, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๑๙๗.
๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๒๙ หนา ๑๐๓๙.
๑๒ มังคลัตถวิภาวินี

อานิสํโส มหา (มงฺคล.๒/๔๓/๓๘)


มหา ในที่นี้ใชเปนคุณนาม, มหา ศัพทเดิมเปน มหนฺต ตามมติที่ทาน
แสดงไวในคัมภีรสัททนีติปทมาลา ทานอาศัยตัวอยางจากพระบาลี จึงแจก
มหนฺต ศัพทไดรูปเปน มหา ครบทั้ง ๓ ลิงค๑, ดู อตีวมหา
เจตสา มนสา (มงฺคล.๒/๔๘/๔๒)
นาศึกษาวา เจตสา และ มนสา ใชตางกันอยางไร เพราะในที่บาง
แหงทานใชทั้ง เจตสา และ มนสา จึงสันนิษฐานวาใชตางกันแน เพราะถาทั้ง
๒ บทใชไดเหมือนกันทุกกรณี ทานก็คงไมจำเปนตองเรียงไวใกลกัน ๒ บท
เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔๘ หนา ๔๒ ซึ่งทานนำขอความมาจาก
ปญจกนิบาต อังคุตตรนิกาย๒ วา
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขู ยถาสุตํ ยถาปริยตฺตํ ธมฺมํ น เจตสา
อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ มนสา อนุเปกฺขนฺติ...๓
[ภิกษุทั้งหลาย ขออื่นยังมีอยูอีก ภิกษุทั้งหลาย ไมตรึกตรอง ไมพิจารณา
ธรรมตามที่ไดฟงไดเรียนมาดวยใจ ไมเพงดวยใจ...]
นาสังเกตวา ถา เจตสา และ มนสา ใชแทนกันไดในทุกกรณี ในที่นี้
พระองคคงจะไมตรัส มนสา ไวอีก เพราะพิจารณาในแงสัมพันธ เจตสา ก็
สามารถสัมพันธเขากับ อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ อนุเปกฺขนฺติ ไดเลย
แตในที่นี้ เจตสา เปนกรณะใน อนุวิตกฺเกนฺติ และ อนุวิจาเรนฺติ สวน
มนสา เปนกรณะเปน อนุเปกฺขนฺติ
ถาพิจารณาในแงรากศัพท ทั้งสองตางกันแนนอน อยางที่เห็นปรากฏ
ชัดแลว แตทั้งสองศัพทเหมือนกันก็ตรงที่เปนมโนคณะ
๑ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๘๗-๕๘๘.
๒ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘.
๓ นี้พิมพตามที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี สวนในพระไตรปฎก ว่า มนสานุเปกฺขนฺติ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๓
ในระหวางที่รอผูรูชี้แนะ ผูเขียนนี้ไดคนควาแลว พบวา ในกรณีที่ทาน
ใชศัพทในความหมายวา เพงพินิจ (คือที่ประกอบดวย อิกฺข ธาตุ) มักจะใชคู
กับ มนสา ไมใช เจตสา เชน มนสา อนุเปกฺขนฺติ หรือ มนสานุเปกฺขนฺติ๑,
มนสานุเปกฺขิตา๒ และ มนสา นั้นอรรถกถาก็แกเปน จิตฺเตน เชน
มนสานุ เปกฺ ขิ ต าติ จิ ตฺ เ ตน อนุ เปกฺ ขิ ต า [บทว า มนสานุ เปกฺ ขิ ต า
ความวา พิจารณาดวยจิต]๓ ไมพบวาทานใช เจตสา อนุเปกฺขติ
แต ในที่ ทั่ ว ไป ที่ ไม ใช อิ กฺ ข ธาตุ ท านใช มนสา และ เจตสา เป น
คำอธิบายของกันและกัน เชน
มนสา ทฬฺเหนาติ ทฬฺเหน มนสา ถิรสมาธิยุตฺเตน เจตสาติ อตฺโถ๔
มนสาติ อนุทฺธเตน เจตสา๕
จากขอมูลที่นำมาแสดงนี้ สรุปไดวา ทานนิยมใช มนสา แตไมนิยมใช
เจตสา ในทีป่ ระกอบดวย อิกฺข ธาตุ แตในทีอ่ ื่นทัง้ เจตสา และ มนสา เปน
คำอธิบายของกันและกัน
ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว (มงฺคล. ๒/๕๒/๔๕)
ยตสฺสา [ยโต อสฺสา]; นักเรียนสงสัยวาทำไมทานแปล ยตสฺสา วา
เพราะ, จึงไดคน ควาแลวบันทึกไวดังนี้
ในหนังสือหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๒ หนา ๔๕ ปรากฏ
ขอความวา

๑ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘.
๒ ม.มู. ๑๒/๓๗๐/๓๙๖; ม.อ. ๒/๔๑๙.
๓ ม.อ. ๒/๔๑๙.
๔ ขุทฺทก.อ. ๑/๒๔๕.
๕ องฺ.อ. ๒/๓๑๐.
๑๔ มังคลัตถวิภาวินี

อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ-


ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ
ขอความนี้ทานนำมาจากฎีกาวิมุตติสูตร จึงควรตามไปดูคัมภีรฎีกาที่
ทานอางวาตรงกันหรือแตกตางกันอยางไร
หลังจากไปคนดูฎีกาวิมุตติสูตร ฉบับที่ มจร. พิมพใชกันในปจจุบั น
พบวาขอความแตกตางกับที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ขอความในฎีกาวา
อยํ หีติอาทิ ตสฺสํ เทสนายํ ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฏิ-
ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยํ ตถา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ๑
นาสังเกตวา ขอความในมังคลัตถทีปนีกับในฎีกาวิมุตติสูตรฉบับ มจร.
ที่ทานอางถึง ไมตรงกัน อยางนอย ๒ แหง คือ
๑. มังคลัตถทีปนีวา ตสฺส เทสนาย/ ฎีกาวา ตสฺสํ เทสนายํ
๒. มังคลัตถทีปนีวา ยตสฺสา/ ฎีกาวา ยํ ตถา
แต ในหลั ก สู ต รบาลี ส นามหลวงท า นมุ ง ให นั ก เรี ย นแปลเฉพาะใน
หนังสือเรียน จึงมุงไปที่ขอความในหนังสื อเรียนนั้น เลย โดยไม ตอ งกั งวล
ขอความในฎีกา, ขอนำขอความในมังคลั ตถทีป นีดังกลาว มาแสดงซ้ำอี ก
และทานแปลวา
อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ-
ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ
[คำวา อยฺหิ ดังนี้เปนตน เปนเครื่องประกาศความที่เทศนาของภิกษุ
นั้นเปนเหตุใหบุคคลเชนนั้นไดสมาธิตามที่กลาวแลว เพราะเทศนานั้นเป น
เหตุแหงวิมุต]ิ

๑ องฺ.ฏี. ๓/๑๓ (สารตฺถมฺชุสา); พระสูตรนี้มาใน ปาฎิกวรรค ทีฆนิกาย อีกแหง;


ฎี ก าที ฆ นิก าย (ที .ฏี .๓/๓๑๖) นั้ น ว า อยฺ หี ติ อ าทิ ตสฺ ส า เทสนาย ตาทิ ส สฺ ส ปุ คฺ ค ลสฺ ส
ยถาวุตฺตสมาธิ ปฏิลาภสฺส การณภาววิภาวนํ. ตสฺส วิมุตฺตายตนภาโว.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๕
ยตสฺส า ทานแปลวา เพราะ (เทศนานั้ น ), ผูเขียนนี้ ไดค น คว าแลว
สันนิษฐานวา ยตสฺสา มีความหมายเทากับคำวา ยโต อสฺสา, ที่สันนิษฐาน
เชนนี้ เพราะข อความลัก ษณะเดียวกัน ท านแสดงไวในอรรถกถาวิ นัย คื อ
คัมภีรสมันตปาสาทิกา ภาคที่ ๒ หนา ๒๐๕ วา
ยตสฺ ส จีว รเจตาปนํ อาภฏนฺ ติ ยโต ราชโต วา ราชโภคฺ คโต วา
อสฺส ภิกฺขุโน จีวรเจตาปนํ อานีตํ ฯ
[ขอวา ยตสฺส จีว รเจตาปนํ อาภฏํ มีความวา ทรัพยสำหรับจายจีวร
ที่เขานำมาเพื่อภิกษุนั้น จากพระราชา หรือจากราชอำมาตยใด]
พึงสังเกตวา ทานอธิบาย ยตสฺส เปน ยโต อสฺส ฉะนั้น ในอรรถโยชนา
วินัย ภาคที่ ๑ หนา ๕๔๗ ทานจึงอธิบายไววา
ยตสฺสาติ ยโต อสฺส ฯ ปฺจมฺยตฺเถ โตปจฺจโยติ อาจริยา กเถนฺติ ฯ๑
[คำวา ยตสฺส ตัดบทเปน ยโต อสฺส ฯ อาจารยทั้งหลายบอกวา ลง โต ปจจัย
ในอรรถปญจมีวิภัตติ]
สอดคลองกับ คัม ภีรอภิธานวรรณนา คาถาที่ ๑๑๔๕ ว า ยโต เป น
นิบาต ใชในอรรถการณะ๒
ขอสันนิษฐานที่วา ยตสฺสา ตัดบทเปน ยโต อสฺสา จึงไมผิดแน และ
ยโต ลงในอรรถปญจมีวิภัตติ คือลงในอรรถเหตุ หรือ การณะ เมื่อแปลลม
มาที่ประโยค ย จึงแปล ยโต วา เพราะ (ลม ย-ต จึงไมแปลวา ใด-นั้น)
ฉะนั้น จึงแนใจวา คำวา ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว มีรูปประโยคเปน
ยโต (คือ ยสฺมา) อสฺสา เทสนาย วิมุตฺตายตนภาโว แปลวา “เพราะเทศนา
นั้นเปนเหตุแหงวิมุต”ิ ผูศึกษาพึงพิจารณาดูเถิด

๑ วินย.อ. ๒/๒๐๕; วินย. โย. ๑/๕๔๗.


๒ พระมหาสมปอง มุ ทิ โต, อภิ ธานวรรณนา, พิ ม พ ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษั ท
ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๗๐.
๑๖ มังคลัตถวิภาวินี

ธมฺมจริยากถา
-๐-

ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๖)


ในขอความวา µÔÇÔ¸™ ⢠¤Ë»µâ ¡Ò๠¸ÁÚÁ¨ÃÔÂÊÁ¨ÃÔÂÒ â˵Ô
[ดูกอนพราหมณและคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยสมจริยาทางกายมี ๓ อยาง]
ทานอธิบายไวในขอ ๗๐ หนา ๖๑ วา ติวิธํ ศัพทนี้ มีวิภัตติและวจนะ
วิปลาส เปนปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ แตวาโดยความหมาย เปนตติยาวิภัตติ
พหุวจนะ และ วิธ ใชในอรรถวา สวน จึงแปลวา มี ๓ อยาง (๓ สวน)
วิธ ศัพท มีความหมาย ๓ อยาง ไดแ ก มานะ ความถื อตัว ปการะ
ประการหรือรูปพรรณสัณฐาน และ โกฏฐาสะ สวน๑
เถยฺยสงฺขาตํ ใช้ในอรรถกรณะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗)
เถยฺยสงฺขาตํ เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถตติยาวิภัตติ แปลวา “ดวย
สวนจิตคิดขโมย” หรือ “ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย”
ในมั งคลั ต ถที ป นี ภาคที่ ๒ ข อ ๕๕ หน า ๔๗ ท า นนำข อ ความใน
สาเลยยกสูตรมาแสดงวา
Â¹Úµí »ÃÊÚ Ê »ÃÇÔµÚµÙ»¡Ã³í ¤ÒÁ¤µí ÇÒ ÍÃ­Ú  ¤µí ÇÒ ¹ µí
Í·Ô¹Ú¹í à¶ÂÚÂʧڢҵí ÍÒ·ÒµÒ â˵Ô๒
[ทรัพยเปนอุปกรณเครื่องปลื้มใจของบุคคลอื่นนั้นใด ที่อยูในบานหรือ
ในป า ยอ มเป น ผูไมถือ เอาทรัพ ยนั้นที่ เขาไมใหแ ล ว ด ว ยส วนจิ ตคิ ดขโมย
(หรือดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย)]
นักศึกษาพึงดูคำอธิบาย ที่พระอรรถกถาจารยอธิบายไว ในหนังสือ
มังคลัตถทีปนีนี้ ขอ ๕๘ หนา ๕๑ วา

๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๘๔๖ หนา ๙๙๓.


๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๑๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๗
กรณตฺ เ ถ เจตํ ปจฺ จ ตฺ ต วจนํ ตสฺ ม า เถยฺ ย สงฺ ข าเตนาติ อตฺ ถ โต
·¯Ú€¾Ú¾í [คำวา เถยฺยสงฺขาตํ นั่น เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถกรณะ ฉะนั้น
โดยใจความ นักศึกษาพึงเห็นวา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย]
สงฺขาต ศั พทในที่นี้ มีความหมายเท ากั บ คำว า â¡¯Ú €ÒÊ จึ งแปลว า
“สวน” ไมควรแปลวา “กลาวคือ”
ฉะนั้น จึงตองแปล เถยฺยสงฺขาตํ วา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย ไมควร
แปลวา กลาวคือความเปนขโมย

โปรี (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘)


โปรี ทานวิเคราะหไวในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ วา
¤Ø³»ÃԻسڳµÒ »Øàà ÀÇÒµÔ â»ÃÕ Ï »Øàà ʙDZڲ¹ÒÃÕ ÇÔ ÊØ¡ØÁÒÃÒµÔ»Ô
â»ÃÕ Ï »ØÃÊÚÊ àÍÊÒµÔ»Ô â»ÃÕ ฯ๑
โปรี ลง อี ปจจัย (ในตัทธิต) หลัง ปุร ศัพท แทนเนื้อความวา เปนอยู
มีอยูในที่นั้น เปนตน๒

ยิฏ ํ : ต ปัจจัยใช้เป็นนามนาม (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘)


Âԯڀí [ยชฺ+ต+สิ] การบูชา, วัตถุอันเขาบูชาแลว (เอา ชฺ กับ ต เปน
  , อ ที่ ย เป น อิ ) ๓ ต ป จ จั ย ในที่ นี้ ใช เ ป น ภาวสาธนะ เป น นามนาม
จึงแปลวา การบูชา เชน คมนํ คตํ การไป
แมคำวา หุตํ-การบวงสรวง (หุ ธาตุในการเซนไหว) ก็พึงทราบวา ลง
ต ปจจัยใชเปนภาวสาธนะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘)

๑ ที.อ. ๑/๑๑๘.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๗๘๔ หนา ๗๘๑.
๓ กจฺจายน. สูตร ๕๗๓, ๖๑๐, สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๑๑๗๖, ๑๒๑๕.
๑๘ มังคลัตถวิภาวินี

อภิญฺา สจฺฉิกตฺวา : วัณณสนธิ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘)


ÍÀÔ ­Ú  Ò ในข อ ว า ÊÂí ÍÀÔ ­Ú  Ò Ê¨Ú ©Ô ¡ µÚ Ç Ò »àÇà·¹Ú µÔ เป น
ตติยาวิภัตติ แปลวา ดวยปญญาอันยิ่ง, ลบ ย ที่ ÍÀԭڐÒ ดังที่ทานแสดง
ไวในสัททนีติสุตตมาลา วา ในพระบาลีมีการลบอักษรและเปลี่ยนอักษรไป
จากเดิม เพื่อใหออกเสียงไดงาย๑
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๕ หนา ๔๘ ทานนำขอความ
ในสาเลยยกสูตรมาแสดงวา
อตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา เย
อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทนฺต๒ิ
[สมณพราหมณผูดำเนินไปดีแลว ผูปฏิบัติชอบ ผูประกาศ
ทำใหแจงซึ่งโลกนี้และโลกหนาดวยปญญาอันยิ่งเองมีอยูในโลก]
คำวา ÍÀÔ­ÚÒ ในที่นี้ใชในอรรถตติยาวิภัตติ นักศึกษาควรดูขอความ
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๖ ในที่นั้น ทานแก ÍÀÔ­ÚÒ วา »­ÚÒÂ
ดังขอความวา
สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวาติ เย อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ
อภิวิสิ าย ปฺาย สพฺพํ ปจฺจกฺขํ กตฺวา ปเวเทนฺติ เต นตฺถิ
สวนในอรรถกถาวินัยทานอธิบายขอความนี้ไวชัดเจนทีเดียววา
สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทตีติ เอตฺถ ปน...อภิฺาติ
อภิฺาย อธิเกน าเณน ตฺวาติ อตฺโถ ฯ๓
[สวนในขอวา สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ นี้มีวินิจฉัยวา
...คำวา อภิฺ า ความวา รูดวยปญญาอันยิ่ง คือ ดวยญาณอันยิ่ง]

๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๖๐ หนา ๑๓๕.


๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๒๐.
๓ วินย.อ. ๑/๑๓๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๙
ฉะนั้ น อภิฺ  า ในที่ นี้ นั ก เรี ย นควรแปลว า “ด ว ยป ญ ญาอั น ยิ่ ง ”
เพราะ อภิฺา ใชในอรรถแหงตติยาวิภัตติ โดยมีความหมายเทากับคำวา
อภิ
ฺ าย ปฺาย และ าเณน
นักเรียนพึงทราบวา การลบหรือเปลี่ยนอักษรในบทหนาโดยไมเชื่อม
บทหนาใหเปนบทเดียวกับบทหลัง เรียกวา วัณณสนธิ เชน
สาธุ ทสฺสนํ - สาหุ ทสฺสนํ
โส สีลวา - ส สีลวา
ปฏิสงฺขาย โยนิโส - ปฏิสงฺขา โยนิโส
อสฺสวนตาย ธมฺมสฺส - อสฺสวนตา ธมฺมสฺส๑
ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ (มงฺคล.๒/๕๘/๕๑)
ปจฺจตฺตวจนํ เปนศั พทเรียก ปฐมาวิ ภัตติ, ในคัมภี รทั้ งหลายทานมี
ศัพทเรียกวิภัตติ ครบทั้ง ๗ (รวมอาลปนะดวยเปน ๘) ดังนี้
๑. ปจฺจตฺตวจนํ = ปฐมาวิภัตติ
๒. อุปโยควจนํ = ทุติยาวิภัตติ
๓. กรณวจนํ = ตติยาวิภัตติ
๔. สมฺปทานวจนํ = จตุตถีวิภัตติ
๕. นิสฺสกฺกวจนํ = ปญจมีวิภัตติ
๖. สามิวจนํ = ฉัฏฐีวิภัตติ
๗. ภุมฺมวจนํ = สัตตมีวิภัตติ๒
ชื่อวิภัตติชุด ปฐมาวิภัตติ เปนตนนี้ นิยมใชในไวยากรณสันสกฤต แต
ในคัมภีรฝายพุทธศาสนา เชน อรรถกถา นิยมใชชุด ปจฺจตฺตวจนํ เปนตน๓
๑ พระคั น ธสาราภิ ว งศเรี ยบเรี ย ง, พระธรรมโมลี และเวทย บรรณกรกุ ล ชำระ,
สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕, หนา ๗.
๒ สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, หนา ๓๗.
๓ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๔๑.
๒๐ มังคลัตถวิภาวินี

ในการกกัณฑ แหง ปทรูปสิทฺธิ สูตรที่ ๓๒๙ ทานวา


ปจฺจตฺตมุปโยคฺจ กรณํ สมฺปทานิยํ
นิสฺสกฺกํ สามิวจนํ ภุมฺมาลปนมมนฺติ ฯ๑
ศัพทเหลานี้ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ก็มีใช เชน (ขอ/หนา)
ปจฺจตฺตวจนํ (๕๘/๕๑; ๓๖๕/๒๗๘)
อุปโยควจนํ (๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔; ๖๒๐/๔๗๔)
กรณวจนํ (๗๐/๖๒; ๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔ ฯลฯ)
สามิวจนํ (๗๒/๖๕)
ภุมฺมวจนํ (๕๘๙/๔๕๔)
อิตฺถนฺนามํ (มงฺคล. ๒/๕๘/๕๒)
อิตฺถนฺนามํ [อิทํ+นาม+อํ ทุติยาวิภัตติ], นาม ศัพทอยูทาย แปลง อิทํ
ในสมาส เปน อิตฺถํ๒
สุกุมารา แปลวา อ่อนโยน (มงฺคล. ๒/๖๑/๕๕)
สุกุมารา ในขอวา ปุเร สํวฑฺฒนารี วิย สุ กุมาราติปิ โปรี แหงหนังสือ
มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ เปนคุณนาม ไมใชนามนาม จึ ง
ควรแปล สุกุมารา วา ออนโยน, สละสลวย ไมควรแปลวา กุมารผูดี
ที่แนะใหแปลอยางนี้ เพราะในฎีกาจูฬหัตถิปโทปมสูตร เปนตน ทาน
อธิบายวา สุกุมาราติ อผรุสตาย มุทุกา ฯ [บทวา สุกุมารา อธิบายวา ชื่อวา
เปนวาจาออนโยน เพราะเปนวาจาไมหยาบ] (ดู มงฺคล. ๒/๗๗/๖๗)

๑ พระพุทธัปปยเถระ แหงชมพูทวีปตอนใต รจนา, ปทรูปสิทฺธิ, (กรุงเทพฯ: ชมรม


นิรุตติศึกษา, ๒๕๔๓), สูตร ๓๒๙ หนา ๒๑๔.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๒๑ หนา ๓๖๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๑
ปุถุวจน = พหุวจนะ (มงฺคล. ๒/๗๐/๖๑, ๖๔)
ปุถุวจนํ ใหแปลวา พหุวจนะ เชน ในหนังสือเรียน ขอ ๗๐ หนา ๖๑
ในคำวา ͵Úⶠ»¹ ¡Ã³»Ø¶ØǨ¹Çàʹ ·¯Ú€¾Úâ¾...ฯ [สวนเนื้อความบัณฑิต
พึงเห็นวาเปนตติยาวิภัตติ พหุวจนะ]
ภาวนปุสกนิทฺเทโส = กิริยาวิเสสนะ (มงฺคล. ๒/๗๐/๖๒)
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๗๐ หนา ๖๒ ทานวา
สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส
[ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค]
นั ก เรี ย นสงสัย ว า ภาวนปุ งสกลิ ง ค หมายถึ งอะไร, ผู เขี ย นนี้ จึ งได
คนควาและบันทึกไวดังนี้
คำวา ภาวนปุสก ใชในความหมายวา กิริยาวิเสสนะ ฉะนั้น วาโดย
ความหมายทางออมนักเรียนจะแปล ภาวนปุสก วา กิริยาวิเสสนะ ก็ได
ในคัมภีรฝายศาสนานิยมใชคำวา ภาวนปุส ก สวนในคัมภีรไวยากรณ
สันสกฤต นิยมใชคำวา กิริยาวิเสสนะ๑ หรือ ธาตุวิเสสนะ๒
เมื่อจะประกอบนามศัพทใหเปนกิริยาวิเสสนะนั้น ตองลงทุติยาวิภัตติ
เอกวจนะ นปุงสกลิงค เชน ใน หนังสือเรียน ขอ ๕๖ และ ขอ ๗๐ วา
สมํ จริยา สมสฺส วา กมฺมสฺส จริยาติ สมจริยา
[ความประพฤติสม่ำเสมอ หรือความประพฤติกรรมอันชอบ เพราะ
เหตุนั้น จึงชื่อวา สมจริยา]
สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส
[ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค (คือ กิริยาวิเสสนะ)]
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๙๐ หนา ๔๘๕.
๒ สทฺ ท สารตฺ ถ ชาลิ นี ,
คาถา ๗๑. พิ ม พ ร วมใน เอกตฺ ตึ ส จู ฬ สทฺ ท ปฺ ป กรณานิ ,
(กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอไอ เซ็นเตอร จำกัด, ๒๕๕๑), หนา ๗๔.
๒๒ มังคลัตถวิภาวินี

ชาต ศัพท์ เป็นต้น ใช้เป็น วจนสิลฏิ ก, สกตฺถ (มงฺคล. ๒/๗๔/๖๖)


ชาต ศัพท เปน วจนสิลิฏฐกะ คือลงไปเพื่อทำถอยคำใหไพเราะ จึงไม
จำเป น ต อ งแปลออกศั พ ท เช น ในมั ง คลั ต ถที ป นี ภาค ๒ หน า ๖๖ ว า
อามิสชาตํ ก็คงมีความหมายเทากับ คำวา อามิส เพราะศัพทนี้ลงทายศัพท
ใด ก็ไมท ำความหมายของศัพทนั้น ตางไป คือมีความหมายเทาเดิมนั่นเอง
(ลงในอรรถสกัตถะ)
ในคัมภีรนิรุตติทีปนี ทานเรียกวา อาคม๑ คือลงอักษรไปทายบท เพื่อ
ความสละสลวยของคำ (วจนสิลิก) ศัพท อั กษร หรือปจจัยที่ท ำหนาที่
ลักษณะนี้ เชน คต, ชาต, อนฺต, ก และ ตา๒ ปจจัย สวน ภูต นิยมลงทาย
บทเพื่อใหนามนามกลายเปนคุณนาม ทั้งหมดนี้เมื่อลงไปแลวทำใหลิงคของ
ศัพทนั้นเปลี่ยนไปบางก็มี เชน
คต ทิฏคตํ มีความหมายเทากับ ทิ
ชาต ธมฺมชาตํ ” ธมฺโม
อนฺต สุตฺตนฺโต ” สุตฺตํ
ก หีนโก ” หีโน
ตา เทวตา ” เทโว
ภูต เหตุภูตํ ” เหตุ
ตอ ไปนี้ จ ะนำตั วอย า งป จ จั ย ที่ ล งในอรรถสกั ต ถะ มาแสดงไว เป น
ความรูประกอบ
ตฺต เอกตฺตํ มีความหมายเทากับ เอโก๓

๑ พระญาณธชเถระ รจนา, สมควร ถวนนอก ปริวรรต, นิรุตติทีปนี คัมภีรวาดวย


หลักไวยากรณสายโมคคัลลานะ, (กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๔๔-๔๕,
และขอ ๑๘๔, ๘๓๕.
๒ เชน ปาตพฺยํ เอว ปาตพฺยตา สกตฺเถ ตาปจฺจโยฯ (วินย.โย. ๒/๒๐)
๓ ปฏิสํ.อ. ๑/๔๔๑.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๓
ณิก ติลสงฺกุลิกา มีความหมายเทากับ ติลสงฺกุลา๑
อิก อนนฺตรายิโก ” อนนฺตราโย๒
ณฺย กิจฺจยํ ” กิจฺจํ๓
ย ปาจิตฺติยํ ” ปาจิตฺต๔ิ
มย วจีมโย ” วจี๕

วิภาเวนฺติยา (มงฺคล. ๒/๗๙/๖๙)


คำวา วิภาเวนฺติยา ในที่นี้ ทานแปลวา (ดวยถอยคำ) อันจะยังผูฟงให
แจมแจง ประกอบดวย วิ บทหนา ภู ธาตุ เณ ปจจัย และ อนฺต ปจจัย
ภู ธาตุในที่นี้ ไมใช ภู ธาตุในหมวด ภู ธาตุที่แปลวา มี วาเปน แตเปน
ภู ธาตุในหมวด จุร ธาตุ แปลวา ประกาศ, ทำใหแจมแจง มีหลักทั่วไปวา ภู
ธาตุที่มี วิ เปนบทหนา ใชในอรรถวา ทำใหแจมแจง๖

เกวล ศัพท์ (มงฺคล. ๒/๘๑/๗๑)


นักเรียนคอนขางคุนเคยกับ เกวล ศัพท ที่ทานประกอบดวยทุติยา-
วิภัตติเปน เกวลํ ใชเปนกิริยาวิเสสนะ พอมาพบ เกวโล ในมังคลัตถทีปนี
ภาคที่ ๒ ขอ ๘๒ หนา ๗๑ ก็รูสึกแปลกตา, ที่ จริง เกวล ศั พท เปน ไดทั้ ง
คุณนามและนามนาม แตในที่นี้ทานใชเปนคุณนาม
๑ วินย.โย. ๒/๓๗๕.
๒ วินย.โย. ๒/๓๙๓.
๓ วินย.โย. ๒/๔๑๗.
๔ วินย.โย. ๒/๕๘๗.
๕ ปฺจิกา.โย. ๓/๔๔๓.
๖ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๗๓ หนา ๒๙๕.
๒๔ มังคลัตถวิภาวินี

ในคัม ภี รอ ภิ ธานวรรณนา คาถาที่ ๗๘๖ ท านว า เกวล ศั พ ท ใช ใน


อรรถ ๖ อยาง คือ (๑) เยภุยฺยตา มาก (๒) อัพยามิสสะ ไมปนกัน (๓) วิสัง-
โยคะ แยกกัน (๔) ทัฬหะ มั่นคง (๕) อนติเรกะ ไมเกินประมาณ (๖) อนวเสสะ
ทั้งหมด
เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม แจกดวยวิภัตตินามได จึงเห็น เกวล ศัพท
ในรูปตางๆ เชน เกวโล, เกวลํ, เกวเลน, เกวลสฺส, เกวลานํ
ตัวอยาง เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม เชน เกวโล อพฺยามิสฺโส สกโล
ปริปุณฺโณ ภิกฺขุธมฺโม กถิโต๑
ในตัวอยางดังกลาวนี้ เกวล ศัพทแปลวา ไมปนกัน, ทั้งหมด, บริบูรณ
สวนในคัมภีรอรรถโยชนา ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินีปญจิกา ที่นักเรียนมัก
เรียกวา โยชนาอภิธรรม ภาคที่ ๑ วา เกวล ประกอบดวย เกว ธาตุ (ชนเน)
และ อล ปจจัย๒
ขอนำขอความในโยชนาอภิธรรมดังกลาวนั้นมาเสนอตอผูรูใหรวมกัน
พิจารณาวา เกว ชนเน วชาทีหิ ปพฺพชาทโย๓ นิปจฺจนฺเตติ อโล แปลเทาที่
เห็นศัพทวา เกว ธาตุ ในความเกิด อล ปจจัย (โดยทำตามวิธีแหงกัจจายน-
สูตรที่ ๖๓๘ และปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๖๖๐ วา) ศัพทว า ปพฺพชา เป นต น
ทานใหสำเร็จดวย วช ธาตุ เปนตน
สวน เกวล ศัพท ที่เป นนามนาม เปน ชื่อหนึ่งของพระนิพพาน เป น
นปุงสกลิงค (ดู อภิธานวรรณนา คาถาที่ ๘) บางอาจารยอธิบายวา สํสาเรหิ

๑ สุตฺต.อ. ๒/๒๖๔.
๒ พระญาณกิต ติเ ถระ แห งเชียงใหม, อภิ ธมฺ มตฺถวิภาวิ นิยา ปฺ จิกา นาม อตฺถ-
โยชนา, (พิมพครั้งที่ ๗, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑), หนา ๒๖๗.
๓ ในกัจจายนสูตรและปทรูปสิทธิ ที่อางถึง เปน ปพฺพชฺ ชาทโย (ซอน ชฺ)
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๕
อสมฺมิสฺสตาย วิสํโยคตาย จ เกวลํ๑ แปลวา นิพพาน ชื่อวา เกวล เพราะไม
ปนสังขารและพรากสังขาร
อโหปุรสิ กิ า (มงฺคล. ๒/๘๑/๗๑)
อโหปุ ริสิกา มีป รากฏในมั งคลัตถทีป นี ภาคที่ ๒ ข อ ๘๑ หนา ๗๑
บางทานแปลวา ความโออวด บางทานแปลวา คำพูดของบุรุษผูอัศจรรย;
ศัพทนี้มีใชในคัมภีรรุนหลัง ตั้งแตชั้นฎีกาลงมา หาไมพบในพระไตรปฎกและ
อรรถกถา
ในคัมภีรสทั ทนีติ วา ปุริส ศัพท ที่มี อโห เปนบทหนา ลง ณิก ปจจัย
ใชในอรรถวาถือตัว (อโหปุริสโต ทปฺปเน ณิโก)๒
นักเรียนอาจคนดูศัพทนี้ไดที่คัมภีรปรมัตถมัญชุสา วิสุทธิมรรคมหา-
ฎีกา ภาค ๓ หนา ๒๗๐ ซึ่งเปนหนังสือประกอบการเรียน ป.ธ.๘๓
วาทสฺส ตัดบทเป็น วาโท+อสฺส, ภวสาโร (มงฺคล. ๒/๘๑/๗๑)
วาทสฺส ตัดบทเปน วาโท+อสฺส, พึงเทียบคำวา กุโต+เอตฺถ=กุเตตฺถ๔
สวนคำวา ภวสาโร แปลวา “การแลนไปสูภพ” อาจารยบอกตอๆ กันมาวา
หนังสือบางเลมแปลขอนี้คลาดเคลื่อน จึงแปลใหม ดังนี้
ตถา อตฺตโน วาทสฺส กสฺสจิ ภวสาโร เอว นตฺถิ ตตฺถ ตตฺเถว อุจฺฉิชฺชนโต
[วาทะของตนพึงเปนเชนนั้น, การแลนไปสูภพ ยอมไมมีแกใครๆ เลย
เพราะขาดสูญในฐานะนั้นๆ นั่นเอง]
๑ พั นตรี
ป. หลงสมบุ ญ, พจนานุ กรม มคธ-ไทย, (กรุ งเทพฯ สำนั กเรียนวั ดปากน้ ำ,
๒๕๔๐), หนา ๒๐๙.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๒๗๙ หนา ๑๑๓๓.
๓ พระธัมมปาลเถระ แหงชมพูทวีป, ปรมตฺถมฺชุสา นาม วิสุทฺธิมคฺคสํวณฺณนา มหา-
ฎีกาสมฺม ตา (ตติ โย ภาโค), พิ ม พ ครั้งที่ ๖, (กรุงเทพฯ: มหามกุ ฏราชวิทยาลั ย, ๒๕๔๘),
หนา ๒๗๐.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๐ หนา ๔๑.
๒๖ มังคลัตถวิภาวินี

โคพลิพัททนัย (มงฺคล.๒/๘๔/๗๒)
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๘๔ หนา ๗๒ ทานกลาวถึงนัยอยาง
หนึ่งวา โคพลิพัททนัย ตอไปนี้จะนำคำอธิบาย โคพลิพัททนัย ที่พิมพรวม
ในหนั ง สื อ เนตติ ห ารั ต ถที ป นี ฉบั บ แปลโดยท า น พระธั ม มานั น ทเถร
มาแสดง๑
โคพลี พทฺทนย คือ วิธีเหมือนวัวและวัวมีกำลัง หมายความวา วิธี ที่
ศัพทหนาหมายเอาสิ่งที่นอกจากศัพทหลัง
คำวา โค แปลวา วัว เปนคำสามัญไมจำเพาะเจาะจงลงไปวาวัวชนิด
ไหน ดังนั้น จึงหมายถึงหลายๆ ชนิดได เชน วจฺฉ (ลูกวัว) ทมฺม (วั วหนุม)
พลีพทฺท (วัวมีกำลัง) ชรคฺคว (วัวแก) แตถามี พลีพทฺท อยูขางหลัง คำวา โค
นี้ก็หมายถึง วจฺฉ, ทมฺม และ ชรคฺคว เทานั้น ไมไดหมายถึง พลีพทฺท เพราะ
มี พลีพทฺท ศัพทอยูตอมา ฉันใด วิธีนี้ก็เปนฉันนั้นเหมือนกัน เพราะศัพทที่
อยูขางหนาหมายเอาสิ่งที่นอกจากศัพทที่อยูขางหลัง
อุทาหรณวา ธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปฺ  ตฺโต๒ [พระธรรมและ
วินัยอันเราแสดงแลวบัญญัติแลว]
บทวา “ธมฺ โม” เป น โคพลี พทฺ ทนย เพราะหมายเอาพระสูตรและ
อภิธรรม ไมไดหมายเอาพระวินัยเพราะมีบทวา วินโย ตอมา. อธิบายวา คำ
วา พระธรรม เปนคำสามัญหมายเอาพระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรม
ไมไดหมายเอาพระวินัยเพราะมีแสดงแลวเหมือนในศัพทวา โคพลีพทฺท ที่
โค ศัพทหมายถึงวัวตางๆ มี วจฺฉ เปนตน เวน พลีพทฺท
นักศึกษาควรศึกษานัยอื่น ๆ อีก เชน เอกเสสนัย ปาริเสสนัย กิริยา-
ปธานนัย ทันตเฉทนนัย ทันตโสธนนัย เปนตน

๑ พระธั ม มานั น ทเถร


(แปล), เนตติ ห ารัต ถที ป นี อุ ป จาร และ นย, (กรุงเทพฯ:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓), หนา ๖๐.
๒ ที.ม. ๑๐/๑๔๑/๑๗๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๗

าตกสงฺคหกถา
-๐-

ปิตามโห ลง อามห ปัจจัย (เชน มงฺคล. ๒/๙๐/๗๙)


ป ต ามโห [ป ตุ +อามห ปจจัย +สิ ปฐมาวิภั ตติ] แปลว า ปู , มี หลั ก ว า
อามห ปจจัยในตัทธิต (นอกแบบ) ใชแทนมารดาบิดาของผูนั้น๑ เชน
มาตุ มาตา มาตามหี มารดาของมารดา ชื่อวา ยาย
มาตุ ปตา มาตามโห บิดาของมารดา ชื่อวา ตา
ปตุ มาตา ปตามหี มารดาของบิดา ชื่อวา ยา
ปตุ ปตา ปตามโห บิดาของบิดา ชื่อวา ปู๒
แมศัพทวา มาตามหเสิโน (ขอ ๓๓ หนา ๓๐), มาตามโห (ขอ ๙๑
หน า ๘๐), มาตามหสฺส (ขอ ๒๘๙ หน า ๒๑๙) ก็ พึ งทราบโดยหลัก การ
เดียวกันนี้
ปิตา จ...เตสํ ยุโค ปิตามหยุโค (มงฺคล. ๒/๙๑/๗๙)
นักศึกษาพึงนำขอความในขอ ๙๐ มาเติมใหเต็ม ดังตอไปนี้
ปตา จ [มาตา จ ปตโร ปตูนํ ปตโร ปตามหา] เตสํ ยุโค ปตามหยุโค

ปุริสคฺคหณญฺเจตฺถ...สมตฺถิตํ โหติ (มงฺคล. ๒/๙๐/๘๐)


ขอความในหนา ๘๐ ทานละไว พึงนำขอความในหนา ๗๙ มาเติม
ปุริสคฺคหณฺเจตฺถ อุกฺกนิทฺเทสวเสน กตนฺติ ทพฺพํ ฯ เอวฺหิ
มาติโตติ ปาลิวจนํ สมตฺถิตํ โหติ
๑ โมคฺ. สูตร ๔.๓๘.
๒ สุภ าพรรณ ณ บางชาง, รองศาสตราจารย, ดร., ไวยากรณ บาลี, พิมพครั้งที่ ๒,
(กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๔๖๑.
๒๘ มังคลัตถวิภาวินี

ปิตา จ...ปิตามหทฺวนฺทาติ (มงฺคล. ๒/๙๐/๘๐)


ในหนา ๘๐ ทานละขอความไว นำขอความในหนา ๗๙ มาเติมใหเต็ม
ปตา จ [มาตา จ ปตโร ปตูนํ ปตโร ปตามหา เตสํ ยุโค ปตามหยุโค ฯ
ตสฺมา ยาว สตฺตมา ปตามหยุคา] ปตามหทฺวนฺทาติ
โกเลยฺยกา (มงฺคล.๒/๙๔/๘๒)
โกเลยฺยกา ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๙๔ หนา ๘๒ ทาน
นำขอความใน กุกกุรชาดก มาเลาถึงสุนัขที่อยูในเขตพระราชฐาน จึงแปล
โกเลยฺยกา วา สุนัขที่อยูในวัง (วิเสสนะของ สุนขา)
โกเลยฺยก แปลตามศัพทวา ผูเกิดในตระกูล แปลให เข ากับ เรื่องว า
สุนัขที่อยูในวัง ทานวิเคราะหวา กุเล ชาโต โกเลยฺยโก ฯ คัมภีรโมคคัลลานะ
วา ลง เณยฺยก ปจจัย (นอกแบบ) ในตัทธิต ใชแทนเนื้อความวา มีในที่นั้น๑,
สวนในพจนานุกรมมคธ-ไทย ทานวา ลง เณยฺย ปจจัย ในราคาทิตัทธิต และ
ก สกตฺถ๒

ทฺวิชสงฺฆา, ทิโช (มงฺคล.๒/๙๘/๘๗)


ทฺ วิ ช -, ทิ โช แปลตามศัพ ท ว า เกิ ด สองครั้ ง (ทฺ วิ กฺ ข ตฺ ตุ  ชาตตาย
ทิโช)๓ โดยนัยนี้ ทฺวิช, ทิช จึงหมายถึง -
นก (เกิดจากแมนกและเกิดจากฟอง)
ฟน (เกิดเปนฟนน้ำนมและฟนแท)
พราหมณ (เกิดจากพระพรหมและกำเนิดนางพราหมณี)

๑ โมคฺ. สูตร ๔.๒๕.


๒ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, ๒๕๔๐, หนา ๒๑๔.
๓ ชา.อ. ๕/๓๖.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๙
อนวชฺชกมฺมกถา
-๐-

อนสนสงฺขาโต อุปวาโส (มงฺคล. ๒/๑๐๖/๙๒)


อนสนสงฺ ข าโต [น +อส อทเน/โภชเน +ยุ +สงฺ ข าต +สิ ] ในหนั ง สื อ
มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๑๐๖ หนา ๙๒ ทานแปลวา กลาวคือการไม
รับประทานอาหาร
อนสนสงฺข าโต ประกอบดว ย น + อส ธาตุ ในความกิ น + ยุ ป จ จั ย
แปลง ยุ เปน อน + สงฺขาต ศัพท + สิ ปฐมาวิภัตติ วิเคราะหวา
อสิยเต ภกฺขิยเตติ อสนํ [ภาวรูป ภาวสาธนะ]๑
น อสนํ อนสนํ [น บุพพบท กัมมธารยสมาส]
อนสนํ อิติ สงฺขาโต (อุปวาโส) [สัมภาวนบุพพบท กัมมธารยสมาส]
ปสนฺนมานโส (มงฺคล. ๒/๑๐๙/๙๓)
ปสนฺนมานโส มีรูปคลาย มนโส (ที่แปลง ส ทั้งสองเปน โอ แลวลง ส
อาคม เปน โส), ปสนฺนมานโส วิเคราะหวา
มนสิ ภวนฺติ มานสํ (ณ ปจจัยในตัทธิต ลง ส สกตฺเถ)๒ หรือ
มโน เอว มานสํ (ส สกตฺเถ)
ปสนฺนํ จ ตํ มานสํ จาติ ปสนฺนมานสํ
ปสนฺนมานสํ ยสฺส โส ปสนฺนมานโส

๑ กจฺจายน. สูตร ๖๔๑, สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๖๖๗, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ,


คาถา ๑๖ หนา ๑๘.
๒ โมคฺ. สูตร ๔.๑๒๘.
๓๐ มังคลัตถวิภาวินี

มหาชนปทานํ : ชื่อแควน นิยมเปนพหุวจนะ (มงฺคล. ๒/๑๓๑/๑๐๕)


ในคาถา ๑๘๔ แหงคัมภีรอภิธานัปปทีปกา ทานวา ชื่อแควนหรือ
มหาชนบท ใหใชเปน ปุ งลิงคแ ละพหุ ว จนะ ๑ นั ก ศึ กษาพึ งเห็ น ตัว อย างใน
มังคลัตถทีปนี ขอ ๑๓๑ หนา ๑๐๕ วา
เตนาห ภควา เสยฺยถาป วิสาเข โย อิเมส โสฬสนฺน มหาชนปทาน
ปหูตสตฺตรตนาน อิสฺสริยาธิปจฺจ รชฺช กาเรยฺย เสยฺยถีท องฺคาน มคธาน
กาสีน โกสลาน วชฺชีน มลฺลาน เจตีน วสาน กุรูน ปฺจาลาน มจฺฉาน
สุรเสนาน อสฺสกาน อวนฺตีน คนฺธาราน กมฺโพชาน องฺคสมนฺนาคตสฺส
อุโปสถสฺส เอต กล นาคฺฆติ โสฬสึ ฯ
[เพราะเหตุ นั้ น พระผู มี พ ระภาคจึ ง ตรั ส ไว ว า วิ ส าขา ผู ใ ดพึ ง
ครองราชยเปนอิสราธิบดีแหงมหาชนบท ๑๖ เหลานี้ ซึ่งมีรตนะ ๗ ประการ
มากมาย คื อ อั ง คะ มคธะ กาสี โกศล วั ช ชี มั ล ละ เจตี วั ง สะ กุ รุ
ปญจาละ มัจฉะ สุรเสนะ อัสสกะ อวันตี คันธาระ กัมโพชะ การครองราชย
ของผูนั้นนั่นยอมไมถึงเสี้ยวที่ ๑๖ แหงอุโบสถซึ่งประกอบดวยองค ๘]
เมื่อตรวจดูคัมภีรพระไตรปฎก ก็ปรากฏเปนความจริงวา ชื่อแควน
ทานนิยมใชเปนปุงลิงคและพหุพจน (ที่เปนเอกพจนมีบาง ในคาถา) นำมา
เปนตัวอยางเพียงบางสวน ดังตอไปนี้
เตน โข ปน สมเยน มคเธสุ ปฺ จ อาพาธา อุ สฺ ส นฺ น า โหนฺติ
กุ คณฺโฑ กิลาโส โสโส อปมาโร ฯ๒
[ก็สมัยนั้นแล ในมคธชนบทเกิดโรคระบาดขึ้น ๕ ชนิด คือ โรคเรื้อน

๑ พระคั น ธสาราภิ ว งศ เรี ยบเรี ย ง, พระธรรมโมลี และเวทย บรรณกรกุ ล ชำระ,


สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕), หนา [๒๕]., ใน อภิธานัปปทีปกา คาถาที่
๑๘๔ วา ปุมฺพหุตฺเต กุรู สกฺกา... เปนตน
๒ วินย. ๔/๑๐๑/๑๔๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓๑
โรคฝ โรคกลาก โรคมองครอ โรคลมบาหมู]
เอกํ สมยํ ภควา กุรูสุ วิหรติ กมฺมาสทมฺมํ นาม กุรูนํ นิคโม ฯ๑
[สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคประทับอยูในกุรชุ นบท มีนิคมของชาวกุรุ
ชื่อวา กัมมาสทัมมะ]
เตน โข ปน สมเยน อายสฺ ม า ยโส กากณฺ ฑ กปุ ตฺ โ ต วชฺ ชี สุ
จาริกฺจรมาโน เยน เวสาลี ตทวสริ ฯ๒
[สมัยนั้น ทานพระยสกากัณฑกบุตร เที่ยวจาริกในวัชชีชนบทถึงพระ
นครเวสาลี]
เตน โข ปน สมเยน อฺ ตโร ภิกฺขุ กาสีสุ วสฺสํ วุตฺโถ สาวตฺถึ
คจฺฉนฺโต ภควนฺตํ ทสฺสนาย เยน กิฏาคิริ ตทวสริ ฯ๓
[ก็โดยสมัยนั้ นแล ภิกษุรูปหนึ่งจำพรรษาในแคว นกาสี เดิน ทางไป
พระนครสาวัตถีเพื่อเฝาพระผูมีพระภาค ถึงชนบทกิฏาคีรีแลว]
นาสังเกตวา เมื่อทานออกชื่อแควน ถาไมมี ร ศัพทมาตอ ทานจะ
ใชเปนพหุวจนะ แตถามี ร ศัพทมาตอ ทานจะใชเปนเอกวจนะ เชน ใน
สมันตปาสาทิกา วา
มาคธิกนฺติ มคเธสุ ชาตํ ฯ มคธรเ ชาตํ ลสุณเมว หิ อิธ ลสุณนฺติ
อธิปฺเปตํ ฯ๔ [บทวา มาคธิกํ แปลวา เกิดแลวในแควนมคธ. จริงอยู เฉพาะ
กระเทียมที่เกิดในแควนมคธ ทานประสงคเอาวา ลสุณํ ในสิกขาบทนี]้
แตถึงอยางไรก็ ตาม ชื่อแคว นที่เปนเอกวจนะ ก็ ปรากฏในหนังสื อ
ไวยากรณที่เรียนกันมาวา มคเธ ชาโต มาคโธ [(ชน) เกิดแลวในแวนแควน
มคธ ชื่อมาคธะ], นักเรียนอาจวิเคราะหอีกแบบวา มคเธสุ ชาโต มาคโธ

๑ ที.ม. ๑๐/๒๗๓/๓๒๒.
๒ วินย. ๗/๖๓๑/๓๙๖.
๓ วินย. ๑/๖๑๕/๔๑๗.
๔ วินย.อ. ๒/๕๙๔.
๓๒ มังคลัตถวิภาวินี

เสยฺยถีทํ (มงฺคล. ๒/๑๓๑/๑๐๕)


เสยฺยถีทํ เปนนิบาต ในชั้นไวยากรณ แปลวา อยางไรนี้ แตในชั้น ป.ธ.
๕ นี้มุงแปลใหไดความ จึงควรแปลวา คือ, เสยฺยถีทํ เพราะเปนนิบาตจึงคง
รูปนี้ไว ใชไดกับทุกลิงค วจนะ และวิภัตติ๑
เรียนกันมาวา เสยฺยถีทํ ใชในกรณีจำแนกแสดงเนื้อความที่ยกขึ้นไว
เปนอยางๆ และเรียงไวหนาจำนวนบทที่แยกแยะออกไปนั้น๒
ทั้ งนี้ ท า นอธิ บ ายไว ในอรรถกถา ว า เสยฺ ย ถี ท นฺ ติ อนิ ย มิ ต นิ ย ม-
นิกฺขิตฺตอตฺถวิภาชนเ นิปาโต ฯ๓ เสยฺยถีทนฺติ อารทฺธปฺปการทสฺสนตฺเถ
นิปาโต ฯ๔ ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ นี้ ปรากฏ เสยฺยถีทํ ๒ แหง คือในขอ
๑๓๑ และขอ ๕๐๖
กุ ในคำวา กุราชภาเวน (มงฺคล. ๒/๑๓๒/๑๐๗)
กุราชภาเวน ในขอวา อิสฺสริยาธิปจฺจนฺติ อิสฺสรภาเวน จ อธิปติภาเวน
จ น กุราชภาเวนฯ ฉบับ มมร. แปลวา โดยความเปนพระราชาชั้นต่ำ ฉบับ
พระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺโม แปลวา ดวยความเปนพระราชาผูชั่วราย
คำวา “ชั้นต่ำ” และ “ชั่วราย” เปนคำแปลของศัพทวา กุ ซึ่งในที่นี้
ทานใชในอรรถวา ปาป/กุจฺฉิต แปลตามศัพทวา (ความเปนพระราชา) ผู
อั น บั ณ ฑิ ต เกลี ย ดแล ว เมื่ อ เขา บทสมาส ลบเสี ย เหลื อ แต กุ ได รู ป เป น
กุราชา พึงเทียบกับ กุทิ  ในแบบเรียนบาลีไวยากรณ, มีวิเคราะหวา
กุจฺฉิโต ราชา กุราชา๕ (กัมมธารยสมาส)
กุราชสฺส ภาโว กุราชภาโว ลง นา ตติยาวิภัตติ เปน กุราชภาเวน
๑ สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, หนา ๒๑.
๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒, หนา ๑๙๓.
๓ ที.อ. ๒/๑๕๕.
๔ วินย.อ. ๑/๒๑๑.
๕ รูปสิทฺธ,ิ สูตร ๓๔๕-๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓๓
นอกจาก กุ ใช ในอรรถว า ปาป/กุ จฺ ฉิ ต /กุ จฺ ฉ า/กุ จฺ ฉ น (ชั่ ว ทราม
นาเกลียด) แลว ยังใชในอรรถวา อีสตฺถ/ขุทฺทก/อปฺปก (เล็กนอย)๑
เพราะ กุ ใชในอรรถวาเล็กนอยก็ได ฉะนั้น บทวา กุราชภาเวน จะ
แปลวา ดวยความเปนพระราชาผูนอย ก็ได
ตอไปนี้เปนการอธิบายเพื่อเปนความรูประกอบ นักเรียนไมตองใสใจ
มาก เพราะคำอธิบายบางแหง ไมมีในหลักไวยากรณบาลีสนามหลวง
๑. ในคัมภีรบาลีไวยากรณ (ที่มักเรียกรวมๆ วาบาลีใหญ) ทานจัด กุ
เปนนิบาต และเรียกบทสมาสที่มี กุ นำหนาวา กุบุพพบท๒ กัมมธารยสมาส
(สมาสชื่อนี้ไมมีในหลักสูตรบาลีสนามหลวง)
๒. กุ ที่ใชในอรรถวา ขุทฺทก ตามที่ทานแสดงใว๓ เชน
ขุทฺทกา นที กุนนฺ ที (แมน้ำนอย)
ขุทฺทกํ วนํ กุพพฺ นํ (ปานอย)
๓. สระอยูหลัง แปลง กุ เปน กท๔ เชน
กุจฺฉิตํ อนฺนํ กทนฺนํ (อาหารเลว)
กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ (ของกินชั้นเลว)
กุจฺฉิโต อริโย กทริโย คนดีที่เลวแลว (คือคนตระหนี่)
๔. ในอรรถวา นอย๕ และ ชั่ว๖ แปลง กุ เปน กา เชน
อปฺปกํ ลวณํ กาลวณํ (เค็มนอย, กรอย)
อปฺปกํ ปุปฺผํ กาปุปฺผํ (ดอกไมนอย)
กุจฺฉิโต ปุริโส กาปุริโส (บุรุษชั่ว) [ไมแปลงก็มีบาง เชน กุปุริโส]
๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๑๑๕๙, ๑๑๙๗.
๒ สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๗๐๒ หนา ๖๒๒.
๓ นิรุตฺติทีปนี, สูตร ๓๔๙ หนา ๒๓๘.
๔ กจฺจายน. สูตร ๓๓๕; สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๗๑๙; โมคฺ. สูตร ๓.๑๐๗.
๕ รูปสิทฺธิ. สูตร ๓๔๗, โมคฺ. สูตร ๓.๑๐๘.
๖ สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๗๒๑ หนา ๗๐๙.
๓๔ มังคลัตถวิภาวินี

๕. ตัวอยางศัพทอื่นๆ เชน
กุจฺฉิโต ปุตฺโต กุปุตฺโต (บุตรชั่ว)
กุจฺฉิโต ทาโร กุทาโร (เมียชั่ว)
กุจฺฉิตํ กมฺมํ กุกมฺมํ (กรรมชั่ว)
ปญฺจงฺคิกํ ตุริยํ = ดนตรีมีองค์ ๕ (มงฺคล. ๒/๑๑๔/๙๖)
ในขอวา องฺคิกนฺติ ปฺจงฺคิกํ วิย ตุริยํ องฺคาวินิมุตฺตํ [บทวา
องฺคิกํ คือ ไม พนไปจากองค ๘ เหมือนดนตรีซึ่ งประกอบด วยองค ๕
ฉะนั้น]
ดนตรีป ระกอบด วยองค ๕ ได แ ก อาตตะ กลอง, วิ ต ตะ ตะโพน,
อาตตวิตตะ กลองบัณเฑาะว เปนตน, ฆนะ กรับหรือทับ, สุสิระ เครื่องเปา
มีปและขลุย เปนตน๑
มรุกนฺตาร = ทะเลทราย (มงฺคล. ๒/๑๔๒/๑๑๘)
มรุ ในคำวา มรุกนฺตาร แปลวา ทราย สวน กนฺตาร แปลวา กันดาร
แปลเอาความวา ทะเลทราย คำนี้ป รากฏในมั งคลัต ถที ป นี ภาคที่ ๒ ข อ
๑๔๒ หนา ๑๑๘
ตัวอยางคำอธิบาย มรุ ที่ปรากฏในคัมภีรอื่นๆ เชน มรุกนฺตารํ คจฺฉตีติ
วาลิกกนฺตารํ คจฺฉติฯ๒ แปลวา ขอว า ไปสูมรุกัน ดาร หมายความวา ไปสู
ทะเลทรายฯ, ทานอธิบาย มรุ วา วาลิก
มรุ [มร ปาณจาเค+อุ] วิเคราะหวา สตฺตา มรนฺติ อเนนาติ มรุ (ทราย
ที่ทำใหสัตวตาย ชื่อวา มรุ)๓

๑ ม.อ. ๒/๔๙๗, อภิธานวรรณนา, คาถา ๑๓๙.


๒ นิท.ฺ อ. ๑/๓๙๖.
๓ อภิธานวรรณนา, คาถา ๖๖๓.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓๕
กามทุโห (มงฺคล. ๒/๑๔๔/๑๒๐)
ทุห ในคำวา กามทุโห อิจฺฉิติจฺฉิตทายโก ทานแปลวา “ให” เพราะ
แปลตามอรรถแห งบทตั้งว า กามทโท และเที ย บอรรถแห งศั พ ท ห ลั งว า
อิจฺฉิติจฺฉิตทายโก เรียงศัพทใหเห็นเปน -ทโท -ทุโห –ทายโก
ทุ โห ประกอบด ว ย ทุ ห ธาตุ ใช ในอรรถว า รี ด ออก, ให เต็ ม , ฆ า ,
เบียดเบียน (โทหนปูรณวธนาเส)๑ อ ปจจัย วิ. ทุหตีติ ทุโห โทโห วา
อจฺฉสิ (มงฺคล. ๒/๑๔๗/๑๒๑)
อจฺฉสิ ในคำวา ตตฺถจฺฉสิ ปวสิ ขาทสิ จ ทานแปลวา ยอมอยู, ซึ่งเปน
คำแปลแบบใหเขากับเรื่อง, แปลตามอรรถแหงธาตุนี้วา “นั่ง”, (อาส ธาตุ)
ในอรรถกถาวิมานวัตถุ๒ ทานอธิบาย อาสติ วา นิสีทติ
อจฺฉสิ ประกอบดวย อาส ธาตุในนั่ง (อุปเวสเน)๓ อ ปจจัย สิ วัตตมานา-
วิภัตติ แปลง ส เปน จฺฉ๔
วิมลาทีสุ (มงฺคล. ๒/๑๕๑/๑๒๕)
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๑๕๑ หนา ๑๒๕ กลาวถึงสหายของ
พระยสเถระ ไวในคำวา วิมลาทีสุ
สหาย ๔ ท า น ได แ ก พระวิ ม ล พระสุ พ าหุ พระปุ ณ ณชิ และ
พระควัมปติ๕ ซึ่งตอมาเปนพระเถระในจำนวนพระมหาสาวกผูใหญ ๘๐ รูป
(อสีติมหาสาวก)
๑ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๑๙๖.
๒ วิมาน.อ. ๔๑๔.
๓ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๑๙; ใน สัททนีติธาตุมาลา (หนา ๔๙๗) ทาน
อธิบายวา อุปเวสนํ นิสีทนํ
๔ โมคฺคลฺลาน. สูตร ๕.๑๗๓: สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๐๓๕ หนา ๙๗๙.
๕ วินย. ๑/๓๐/๓๖.
๓๖ มังคลัตถวิภาวินี

ฉคาถายตฺถวณฺณนา
ปาปวิรติมชฺชปานสํยมกถา
-๐-

อวฺหย=ชือ่ (มงฺคล. ๒/๑๕๔/๑๒๗)


อวฺหย แปลวา ชื่อ, เชน ในคำวา มชฺชวฺหยสฺส สุราเมรยสฺส [สุราเมรัยที่
ชื่อวามัชชะ]
วิ. อวฺหยเตติ อวฺหโย, ประกอบดวย อา บทหนา, วฺเห ธาตุ ในการ
เรียก (อวฺหาเณ), ย ปจจัย, รัสสะ อา เปน อ, ลบ เอ ที่ วฺเห ธาตุ๑

ยโต : โต ปัจจัยเป็นเครื่องหมาย ๕ วิภัตติ (มงฺคล. ๒/๑๕๖/๑๒๘)


โต ป จจั ยในคำว า ยโตหํ นี้ นั ก เรีย นได เรี ยนกั น มาตั้ งแต ค รั้ งแปล
หนังสือ อุภัยพากยปริวัตน วา ยโต ใชในอรรถกาลสัตตมี๒
สวนในหลักสูต รบาลีไวยากรณ ที่เรียนกัน นี้ ท านวา โต ป จจัย เป น
เครื่องหมาย ตติยาวิภัตติ และปญจมีวิภัตติ
ความจริง โต ปจจัยเปนเครื่องหมายได ๕ วิภัตติ ไดแก ปฐมาวิภัตติ
ตติยาวิภัตติ ปญจมีวิภัตติ ฉัฏฐีวิภัตติ และสัตตมีวิภัตติ๓
ยโต ที่ใชในในอรรถแหงสัตตมีวิภัตตินี้ นักเรียนจะพบอีกครั้ง ในขอ
๒๕๔ หนา ๑๙๐ และในขอ ๒๕๕ ทานก็แกไวชัดเจน วา
ตตฺถ ยโต โขติ ยทา โข ฯ
๑ พั นตรี
ป. หลงสมบุ ญ, พจนานุ กรม มคธ-ไทย, (กรุ งเทพฯ สำนั กเรียนวั ดปากน้ ำ,
๒๕๔๐), หนา ๒๐๙.
๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อุภัยพากยปริวัตน, ขอ ๓๔๘.
๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๙๓, ๔๙๖.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓๗
วชฺช=คำพูด (มงฺคล. ๒/๑๕๖/๑๒๘)
คำวา เอเตน สจฺจวชฺเชน [เพราะการกลาวคำสัตย นี้ ], วชฺช ในที่นี้
แปลวา คำพูด, การกลาว ไมไดแปลวา โทษ
วชฺช [วท วาจายํ+ณฺย] วิเคราะหวา วทิตพฺพํ วตฺตพฺพนฺติ วชฺชํ ฯ๑
อโวจ (มงฺคล. ๒/๑๖๒/๑๓๑)
อโวจ [ได ก ล า วแล ว ] ประกอบด ว ย วจ ธาตุ ในการพู ด (วิ ยตฺ ติ ยํ /
วาจายํ) + อ ปจจัย + อา อัชชัตตนีวิภัตติ ฝายอัตตโนบท + อ อาคม แปลง
อ ที่ ว เปน โอ รัสสะ อา เปน อะ๒
ตชฺชํ (มงฺคล. ๒/๑๖๖/๑๓๓, ๒/๑๗๔/๑๓๗)
ตชฺชํ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๑๖๖ และขอ ๑๗๔ ทั้งสองแหง
ทานใชเปนคุณนาม คือเปนวิเสสนะ ในขอ ๑๖๖ ทานแปลวา เหมาะแก...
นั้น สวนในขอ ๑๗๔ ทานแปลวา อันเกิดแต...นั้น, นักเรียนสงสัยวา ตชฺชํ นี้
ทำไมทานแปลตางกัน
เทาที่คนพบ ทานใช ตชฺช ในความหมาย ๓ อยาง ไดแก
๑. ตชฺชํ แปลวา ที่เกิดแต...นั้น (ตชฺชาติกํ)๓
๒. ตชฺชํ แปลวา เหมาะแก...นั้น (ตทนุจฺฉวิกํ/ตทนุรูป)๔
๓. ตชฺชํ แปลวา มีสภาพเชน...นั้น (ตํสภาวํ)๕
ตชฺชํ ที่ แปลวา “เหมาะแก ...นั้น ” เพราะ ตชฺช ศั พท ใชในอรรถว า
สมควร, เหมาะสม (อนุจฺฉวิก/อนุรูป)

๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๒๖๔.


๒ กจฺจายน. สูตร ๔๗๗, รูปสิทฺธิ. สูตร ๔๗๙, สัททนีติสุตตมาลา, หนา ๙๘๔.
๓ ม.อ. ๓/๗๔๑.
๔ องฺ.อ. ๒/๓๒๒. ใน วิสุทฺธิ.ฏี. ๒/๗๒ วา ตทนุรูป
๕ ม.อ. ๓/๘๘๘.
๓๘ มังคลัตถวิภาวินี

ตัวอยาง ตชฺช ที่ใชในความหมายวา สมควร/เหมาะ เชน ตชฺชา มโน-


วิ ฺ  าณธาตู ติ เตสํ ผสฺ ส าที นํ ธมฺ ม านํ อนุ จฺ ฉ วิ ก า มโนวิ ฺ  าณธาตุ ฯ๑
อนุจฺฉวิกตฺโถป หิ อยํ ตชฺชาสทฺโท โหติฯ๒ ตชฺชํ วายามนฺติ...อนุรูป วายามํ ฯ๓
ตชฺ ชํ ที่ แ ปลว า “ที่ เ กิ ด แต ” คื อ ตชฺ ชํ ประกอบด ว ย ต +ชน +
กฺ วิ ตั ว อย า ง ตชฺ ช ที่ แ ปลว า เกิ ด แต เช น ตชฺ ชํ ...ตชฺ ช าติ กํ ฯ ๔ ตานิ
อุปนิสฺสาย ชาตนฺติ ตชฺชํ๕

อนุวิธิยนาสุ (เชน มงฺคล. ๒/๑๘๕/๑๔๓)


คำวา อนุวิธิยนาสุ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๑๘๕ หนา ๑๔๓
วา โก ปน วาโท กาเยน วาจาย อนุวิธิยนาสุฯ ฉบับ มมร.แปลวา “จะกลาว
ไปไยในการทำเนืองๆ ดวยกาย ดวยวาจา” ฯ
ดูตอไปในขอ ๑๘๖ หนา ๑๔๔ อรรถกถาทานอธิบายวา อนุวิธิยนา-
กรณํ อาณาปนํ วา อุคฺคหปริปุจฺฉาทีนิ วา ฯ สวนในขอ ๑๘๗ หนา ๑๔๕
ฎีกาทานอธิบายวา อนุวิธิยนา อนุวิธานานิ ฯ
เทาที่ดูตามแนวนี้จับความไดวา ทานมุงที่ ธา ธาตุ ใชในความหมาย
วา กระทำ
อนุ วิธิ ยนาสุ ศั พ ทเดิม เป น อนุวิ ธิ ยนา [อนุ +วิ +ธา+ย+ยุ +โย ปฐมา-
วิภัตติ] วิ. อนุวิธียเตติ อนุวิธิยนาฯ เปนภาวรูป ภาวสาธนะ, มีหลักการที่
เกี่ยวของ ดังนี้

๑ นิท.ฺ อ. ๒/๓๓.
๒ สงฺคณี.อ. ๒๙๕.
๓ องฺ.อ. ๒/๓๒๕.
๔ ม.อ. ๓/๗๔๑.
๕ ม.ฏี. ๓/๔๑๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓๙
๑. ธา ธาตุ ที่มี อนุ และ วิ เปนบทหนาไดรูปเปน อนุวิธา ใชในอรรถ
วา กระทำตาม (อนุกรเณ)๑ และ ธา ธาตุ มี วิ เปนบทหนา ใชในอรรถว า
กระทำ๒
๒. ย ปจจัยที่ลงหลัง ธา ธาตุในภาววาจก แปลง อา เปน อี๓
๓. ยุ ปจจัย แปลง ยุ เปน อน ลง อา เปน อิตถีลิงค
๔. ลง โย ปฐมาวิภัตติ จึงเปน อนุวิธิยนา, ลง สุ สัตตมีวิภัตติ จึงเปน
อนุวิธิยนาสุ (แจกแบบ กฺา)
ฉะนั้น ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ฉบับ มมร. ทานแปล อนุวิธิยนาสุ วา
ในการกระทำเนืองๆ ก็เพราะวา ธา ธาตุ ที่มี วิ เปน บทหนา ใชในอรรถว า
กระทำ สวน อนุ ทานแปลวา เนืองๆ, ในบางคัมภีรทานแปล อนุวิธิยนา วา
การเลียนแบบ
วิลียติ (มงฺคล. ๒/๑๙๐/๑๔๗)
วิลียติ วิ บทหนา ลี ธาตุในความละลาย (ทฺรเว)๔ ย ปจจัย ติ วัตตมานา-
วิภัตติ, ในสัททนีตธิ าตุมาลา๕ วา วิลี ธาตุในความละลาย (วิลีนภาเว)
สปตฺตา (มงฺคล. ๒/๑๙๐/๑๔๗)
ที่ชื่อวา ขาศึก เพราะเปนเหมือนชู เพราะเปนเหตุแหงทุกข, ส อักษร
ใชในความหมายวา รากษส, ชื่อวา ขาศึก เพราะใหกันและกันถึงความไม
เปนประโยชนเกื้อกูล ไมเปนสุข เหมือน ส คือ รากษส๖
๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๖๐๘.
๒ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๐๐.
๓ กจฺจายน. สูตร ๕๐๒, รูปสิทฺธิ. สูตร ๔๙๓.
๔ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๓๔๐.
๕ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๖๒๓.
๖ พจนานุกรม มคธ-ไทย, หนา ๗๐๗.
๔๐ มังคลัตถวิภาวินี

เผณุทฺเทหกํ (มงฺคล. ๒/๒๐๗/๑๖๐)


สำนวนสนามหลวงวา ราชบุ ตรเหลานั้น หมกไหมอยูในน้ำกรดและ
น้ำเกลือ อันเดือดพลาน ผุดขึ้นเปนฟอง (เฉลยสนามหลวง ป ๕๐ น. ๑๗๗)
มีผูสันนิษฐานวา เผณุทฺเทหกํ เปน กิริยาวิเสสนะ, ฝากใหศึกษาคนควาเรื่อง
นี้ตอไป

เยสํ โน = เย มยํ (มงฺคล. ๒/๒๐๘/๑๖๑)


เยสํ โน เปนประธาน; คาถาในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๐๘ หนา
๑๖๑ ทานนำขอความในโลหกุมภีชาดกมาแสดงวา
ทุชฺชีวิตมชีวิมฺหา เยสํ โน น ททามฺห เส๑
วิชฺชมาเนสุ โภเคสุ ทีป นากมฺห อตฺตโนติ ฯ
คาถานี้ เคยออกเปนขอสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเปนไทย
ประโยค ป.ธ. ๕ ป ๒๕๕๐ ทานเฉลยวา
เราเหลาใด เมื่อโภคะทั้งหลายมีอยู ไมไดใหทาน ไมได
ทำที่พึ่งแกตน เราเหลานั้น จึงเปนอยูอยางแสนเข็ญ ฯ
คำวา เยสํ โน ที่ทานแปลวา เราเหลาใด ในที่นี้เปนฉัฏฐีวิภัตติ ใชใน
อรรถปฐมาวิภัตติ ดังที่อรรถกถาซึ่งแสดงไวตอจากคาถาในมังคลัตถทีปนี วา
เยสํ โนติ เย มยํ...ฯ ทานจึงแปล โน เปนประธานในประโยค สวน เยสํ เปน
วิเสสนะ ของ โน
ในหนังสืออธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒ ทานอธิบายวา เยสํ โน เปน
ฉัฏฐีวิภัตติ ใชในอรรถปฐมาวิภัตติ เรียกสัมพันธวา ฉัฏฐีปจจัตตะ๒ ที่ทาน
อธิบายอยางนี้ ทานมีแหลงอางอิงดังตอไปนี้

๑ พระไตรปฎกบาลี ฉบับ มมร. วา เยสนฺโน น ททามเส, บางแหงเปน เยสํ เต


๒ อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒, หนา ๑๙๐.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๔๑
บาลีมหาวิภังควา เอกสฺ ส ป เจ ภิ กฺ ขุ โ น นปฺ ป ฏิ ภ าเสยฺ ย ตํ ภิ กฺ ขุ นึ
อปสาเทตุ๑ [ถาภิกษุแมรูปหนึง่ ไมกลาวออกไป เพื่อจะรุกรานภิกษุณีนั้นไซร]
เอกสฺสป เจ ภิกฺขุโน อนปสาทิเต ขาทิสฺสามิ ภุฺชิสฺสามีติ ปฏิคฺคณฺหาติ
อาปตฺติ ทุกฺกฏสฺส ฯ๒ [ถาภิกษุแมรูปหนึ่งไมรุกราน รับดวยหวังวาจักเคี้ยว
จักฉัน ตองอาบัติทุกกฏ]
ในอรรถโยชนา๓ ทานอธิบายวา เอกสฺส ใชในอรรถ เอโก คือฉั ฏฐี-
วิภัตติ ใชในอรรถปฐมาวิภัตติ
(ปาลิยํ ปน เอกสฺส เจป ภิกฺขุโน นปฺ ปฏิภาเสยฺยาติ เอโก เอตํ ภิกฺขุนึ
เจป นปฺปฏิภาเสยฺยาติ อตฺโถฯ ปจฺจตฺเต หิ สามิวจนํฯ)
ในขอวา เยสํ โน นี้ ถา โน เรียงไวโดยไมมี เยสํ กำกับ การจะแปล โน
นั้นเปนปฐมาวิภัตติวา อ. เราทั้งหลาย ก็ไดไมมีปญหาอะไร เพราะ โน ที่เปน
ปฐมาวิภัตติ ก็มีปรากฏชัดอยูในแบบแจกแลว แตในที่นี้มี เยสํ กำกับไวดวย
เทากับวา โน นั้นเปนจตุตถีวิภัตติหรือฉัฏฐีวิภัตติ

มาริส (มงฺคล. ๒/๒๑๐/๑๖๑-๒)


มาริส ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ อยางนอย ๒ แหง ไดแก ใน
ขอ ๒๑๐ และ ๓๙๐ แปลกันวา เพื่อนยาก ผูนิรทุกข ผูเชนกับดวยเรา
มาริส [อมฺห+ทิส+กฺวิ] วิเคราะหวา มมิว นํ ปสฺสตีติ มาริโส, อหํ วิย
โส ทิ สฺ ส ตี ติ วา มาริ โส ๔ [ชื่ อ ว า มาริ ส เพราะเห็ น เขาเหมื อ นเห็ น เรา,
อีกประการหนึ่ง ชื่อวา มาริส เพราะเขาปรากฏเหมือนเรา]

๑ วินย. ๒/๗๗๔/๕๑๘.
๒ วินย. ๒/๗๗๔/๕๑๙.
๓ วินย. โย. ๒/๑๒๘.
๔ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, หนา ๕๗๔, ๕๗๖.
๔๒ มังคลัตถวิภาวินี

อมฺห บทหนา ทิส ธาตุ กฺวิ ปจจัย แปลง อมฺห เปน ม แลว ทีฆะ เปน
มา แปลง ท ที่ ทิส เป น ร๑ ในหนั งสื อเรียนนั้ น หน า ๑๖๒ ท านแก ไว วา
มาริสาติ มยา สทิสฯ
นาวหเร, ภเณ=น อวหรติ, ภรติ (มงฺคล. ๒/๒๑๒/๑๖๓)
คำวา นาวหเร และ ภเณ ในมังคลัตถทีปนีภาคที่ ๒ ในคาถา ทายขอ
๒๑๒ ทานแปลวา ยอมไมลัก, ยอมไมพูด, ที่แปลเชนนี้ เพราะในแกอรรถขอ
๒๑๓ ทานแกเปน อวหรติ, ภณติ
นักเรียนไดเรียนกันมาวา เอา เอยฺยาสิ, เอยฺยามิ, เอยฺย เปน เอ๒ เชน
วนฺเท=วนฺเทยฺยาสิ, วนฺเทยฺยามิ, หรือ ใช เอ วัตตมานาวิภัตติ ฝายอัตตโนบท
เชน วนฺเท=วนฺทามิ
นาสงสัยว า อาวหเร และ ภเณ ในที่นี้ ลงวิ ภัตติ อะไร ทำไมท านแก
อรรถเปน อวหรติ, ภณติ
เปน ไปได ไหมวา อวหเร และ ภเณ ลง เอยฺย วิ ภัตตินั่น แหละ (เอา
เอยฺย เปน เอ) แตเพราะทานมุงอธิบายวา อวหเร และ ภเณ เปนกิริยาบงถึง
ปจจุบันกาล ไมเชนอดีตกาลหรืออนาคตกาล จึงแกอรรถใหชัดวา อวหรติ,
ภณติ ขอนี้บัณฑิตพึงชี้แนะดวยเมตตา

อุปนาเมสิ (มงฺคล. ๒/๒๒๐/๑๖๘)


อุป นาเมสิ [อุ ป+นม ธาตุ ในความน อ ม ภู วาทิ คณะ+เณ +อี วิ ภัต ติ]
เปนเหตุกัตตุวาจก

๑ กจฺจายน. สูตร ๖๔๒, รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๘๘, สัททนีตส


ิ ุตตมาลา, สูตร ๑๒๖๙.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๐๘๘ หนา ๑๐๐๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๔๓
ลทฺธาน (มงฺคล. ๒/๒๒๓/๑๗๐)
ลทฺธาน [ไดแลว] ลภ ธาตุ ในความได + ตฺวาน ปจจัย, หลัง ลภ ธาตุ
เอา ตฺวาน ปจจัยเปน ทฺธาน และลบพยัญชนะที่สุดธาตุ๑
เสหิ (มงฺคล. ๒/๒๓๕/๑๗๘)
เสหิ [ส+หิ] อันเปนของตน, ใช สยํ แทน อตฺตโน แปลง สยํ เปน ส,
เปน คุณนาม แจกวิภัตติ ได ทั้ งสองวจนะและใช ได ทั้ ง ๓ ลิ งค๒ เช น เสหิ
ทาเรหิ สนฺตุโ [ผูยินดีดวยภรรยา อันเปนของตน]
วารุณี : ฤาษีเมาน้ำดอง (มงฺคล. ๒/๒๓๕/๑๗๘)
น้ำเมา ชื่อวา วารุณีและสุรา เพราะดาบสวรุณะและพรานปาชื่อสุระ
พบเปนครั้งแรก เรื่องมาในอรรถกถากุมภชาดก๓ ขอนำมาเลาโดยยอ
นานมาแลว ที่ปาหิมพานตมีตน ไมใหญแตกกิ่งเปน ๓ กิ่ง ตรงกลาง
เปนโพรงมีน้ำขัง ใกลตนไมนั้นมีพืชตางๆ จำพวกสมอ มะขามปอม พริกไทย
และขาวสาลีเกิดเอง ผลไมเหลานั้นสุกแลวรวงหลนลงที่โพรงไมนั้นบาง พวก
นกคาบมากินแลวหลนลงที่โพรงนั้นบาง
ตอมาธัญพืชเหลานั้นหมักดองจนกลายเปนน้ำเมา ถึงฤดูรอนพวกนก
ลงกินน้ำในโพรงนั้น จนเกิดอาการเมามาย แตไมถึงตาย เพราะไมใชยาพิษ
ตอมานายพรานชื่อสุระ เดินปาไปพบเขาจึงทดลองดื่มจนเมา และยัง
นำมาใหดาบสชื่อวรุณะทดลองดื่มดวย จนเปน ที่มาของน้ำเมาชื่อว า สุระ
และ วารุณี (เรื่องยังมีตออีก, ดู สัททนีติสุตตมาลา สูตร ๘๐๐-๘๐๑)
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๒๐๗ หนา ๑๐๘๗.
๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายบาลีไวยากรณ นามและอัพยยศัพท, หนา ๒๕.
๓ ชา.อ. ๗/๑๙๕. ใน พจนานุกรม มคธ-ไทย (หนา ๖๔๓) วา วรุเณน ปมํ ทิตฺตา

วรุณโต ชายตีติ วารุณี [ชื่อวารุณีเพราะเกิดจากดาบสวรุณะ เหตุทานพบเปนคนแรก)


๔๔ มังคลัตถวิภาวินี

อปฺปมาทกถา
-๐-

โยณฺณวา : สังเกตสังขยา (มงฺคล. ๒/๒๖๐/๑๙๓)


อณฺณว เปน สังเกตสังขยา แปลวา ๔; ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาค
ที่ ๒ ขอ ๒๖๐ หนา ๑๙๓ ทานนำคาถาที่ ๑๑๘ แห งคัมภี รวุตโตทัย๑ มา
แสดงวา
นากฺขเรสุ ปาเทสุ สฺนาทิมฺหา โยณฺณวา วตฺตํ๒
ในวุตโตทยมัญชรี ทานแปลคาถานี้วา
คาถาที่มี ย คณะทาย ๔ พยางค ไมมี ส น คณะท ายพยางค
แรก ในบาทที่มี ๘ พยางค ชื่อวา วัตตะ๓
ในมังคลัตถทีปนี ฉบับ มมร. ทานแปลวา
ส คณะ และ น คณะ ยอ มไม มี แต ห น า อั ก ษรตัว ตน ในบาท
ทั้งหลายที่มี ๘ อักษร, ย คณะ ย อ มมี ได แต ห น า ๔ อัก ษรใน
พฤทธิ์ใด พฤทธิ์นั้นชื่อวา "วัตตฉันท"
เรียงศัพทเต็มประโยคใหตรงกับคำแปล มมร. วา
น อกฺขเรสุ ปาเทสุ สฺนา อาทิมฺหา ภวนฺติ, ยสฺสํ วุตฺติยํ โย อณฺณวา
โหติ, สา วุตฺติ วตฺตํ
๑ วุต โตทั ย, คาถา ๑๑๘ ; คั มภีรวุตโตทั ย (วุตฺโตทยปกรณํ ) พระสังฆรักขิ ตะ ชาว
ลังกา รจนาในราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ วาดวยฉันทลักษณ, สวนวุตโตทยมัญชรี เปนหนังสือ
อธิบาย วุตโตทัย นั้น
๒ ในที่นี้ไดแก วตํ เปน วตฺตํ ใหตรงกับคัมภีรวุตโตทัย
๓ พระคันธสาราภิวงศ, วุตโตทยมัญ ชรี, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: พิทัก ษอักษร,
๒๕๔๕), หนา ๓๐๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๔๕
ยกศั พ ทม าแปลวา สฺน า ส คณะ และ น คณะ น ภวนฺ ติ ย อ มไมมี
อาทิมฺหา แตหนาอักษรตัวตน ปาเทสุ ในบาท ท. อกฺขเรสุ ที่มี ๘ อักษร,
โย ย คณะ ภวติ ยอมมีได อณฺณวา แตหนา ๔ อักษร ยสฺสํ วุตฺติยํ ในพฤทธิ์
ใด สา วุตฺติ พฤทธิ์นั้น วตฺตํ โหติ ชื่อวา "วัตตฉันท."
คำวา อณฺณวา ในคาถานั้น ทานแปลวา “แตหนา ๔ อักษร” อณฺณวา
ศัพทเดิมเปน อณฺณว เปนปุงลิงค แปลวา หวงน้ำ ลง สฺมา ปญจมีวิภัตติ ได
รูปเปน อณฺณวา (เทียบ ปุริสสฺมา ปุริสมฺหา ปุริสา) แต อณฺณวา ในที่นี้ทาน
ใชเปนสังเกตสังขยา แปลวา ๔ ไมแปลวา หวงน้ำ
สังเกตสังขยา ในคัมภีรวชิรสารัตถสังคหะ๑ เรียกวา โลกสัญ ญั งกิต-
สังขยา คือ จำนวนที่ชาวโลกหมายรูกัน เป น สั งขยาที่ก ำหนดนิ ยมกัน ขึ้ น
เพื่อใหความหมายแทนเลขทั่วไป ทานใชสังขยานี้ตามสิ่งที่มีปรากฏ ชาวโลก
รูกันทั่วไป มีจำนวนแนนอน ไมเพิ่มขึ้น หรือลดลงในกาลไหนๆ๒ เชน หตฺถ
(มือ) แทนเลข ๒ (มือมี ๒ คือมือซาย ๑ มือขวา ๑) ภว แทนเลข ๓ (ภพ มี
๓ คือ กามภพ ๑ รูปภพ ๑ อรูปภพ ๑)
อณฺณว (หวงน้ำ) ในที่นี้แทนเลข ๔ เพราะตามคติโบราณเชื่อกัน วา
แมน้ำใหญมี ๔ ไดแก ปตสาคร ขีรสาคร ผลิกสาคร และนีลสาคร๓ โดยมี
ภูเขาสิเนรุอยูกึ่งกลางเปนเครื่องหมายกำหนด๔
ความจริ ง แม น้ ำ ใหญ ๔ สาย มี ห ลายชุ ด ดั ง ที่ ป รากฏในอรรถ-
กถาอัสสสูตร และอรรถกถาอัฏฐสาลินี เชน

๑ พระสิริรัตนปญ ญาเถระ (รจนาเสร็จ พ.ศ. ๒๐๗๘), แยม ประพัฒนทอง (แปล),


วชิรสารัตถสังคหะ, (กรุงเทพฯ: วัดปากน้ำ, ๒๕๕๖), หนา ๗๙.
๒ พระคันธสาราภิวงศ, วุตโตทยมัญชรี, หนา ๓๒. (อธิบายคาถาที่ ๑๐)
๓ พระพุ ท ธรัก ขิ ต าจารย (ชาวศรี ลั งกา), ชิ น าลงฺ ก ารฏี ก า, (กรุง เทพฯ: โรงพิ ม พ
วิญญาณ, ๒๕๔๕), หนา ๖๕-๖๖.
๔ พระสิ ริ มังคลาจารย , จกฺก วาฬที ป นี , พิ มพ ครั้ งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: สำนั ก หอสมุ ด
แหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๘), หนา ๔๒.
๔๖ มังคลัตถวิภาวินี

๑) อรรถกถาอัสสสูตร สังยุตตนิกาย๑ ทานวา มหาสมุทร ๔ กำหนด


รอบเขาสิเนรุ ไดแก (๑) สมุทรเงิน อยูดานตะวันออก (๒) สมุทรแกวมณี
อยู ด านใต (๓) สมุ ท รแก ว ผลึ ก อยู ด า นตะวั น ตก และ (๔) สมุ ท รทอง
อยูดานเหนือ
๒) อรรถกถาอัฏฐสาลินี๒ ทานวา สาคร ๔ ไดแก (๑) สังสารสาคร
คือทางทองเที่ยวไปในวงแหงการเวียนวายตายเกิดซึ่งไมมีกำหนดเบื้องตน
และที่สุด (๒) ชลสาคร คือทะเลหรือแมน้ำใหญ (๓) นยสาคร คือพระพุทธ-
พจนหรือพระไตรปฎก และ (๔) ญาณสาคร คือพระสัพพัญุตญาณ
ศั พ ท ที่ ใช เป น สั ง เกตสังขยาแทนเลข ๔ เช น อมฺ พุ ธิ , ชลธิ , สิ นฺ ธุ ,
สมุทฺท (ทั้งหมดแปลวา สมุทร) คำวา สินฺธุโต ที่แปลวา ๔ นักเรียนเคยศึกษา
มาแลว ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๑ ในประโยค ป.ธ. ๔
ดวยการใช อณฺณว เปนสังเกตสังขยา ทานจึงไมแปล อณฺณว วา หวง
น้ำ แตแปลวา ๔, นักเรียนผูตองการความรูเพิ่มเติมควรศึกษาเรื่อง สังขยา
๕, ๖ และ ๗ ประเภท ตอไป
โดยสาระสำคั ญ ในคาถาดั ง กล า วนั้ น ท า นมุ ง สื่ อ ความหมายว า
ปฐยาวัตรฉันท ในบาท (บาทคี่) ที่มี ๘ อักษร หาม ส คณะ และ น คณะ ถัด
จากอักษรที่ ๑, ใหใช ย คณะ ถัดจากอักษรที่ ๔ ดังแสดงในผังนี้
หาม ส, น ใช ย
๑ ๒๓๔ ๕๖๗ ๘
ถัดจากอั กษรที่ ๑ ก็คือ ๒ ๓ ๔ ทานหาม ส คณะ และ น คณะ ถัด
จากอักษรที่ ๔ ก็คือ ๕ ๖ ๗ ใหใช ย คณะ สวนอักษรที่ ๑ และ ๘ ไมบังคับ
ส น และ ย คณะ คืออักษรที่มีเสียง ตอไปนี้

๑ สํ.อ. ๒/๒๔๘.
๒ สงฺคณี.อ. ๑๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๔๗
ส คณะ ลหุ ลหุ ครุ เชน สุคโต
น คณะ ลหุ ลหุ ลหุ เชน สุมุนิ
ย คณะ ลหุ ครุ ครุ เชน มเหสี
ในขั้นนี้สรุปไดวา การแตงวัตรคาถา ในบาทคี่ (โบราณวา บาทขอน
เขียนไวซายมือ) อักษรที่ ๒ ๓ ๔ หามแตงเปน ลหุ ลหุ ครุ หรือ ลหุ ลหุ ลหุ
สวนอักษรที่ ๕ ๖ ๗ ตองแตงเปน ลหุ ครุ ครุ
สังขยา ๕, ๖ และ ๗ ประเภท (สืบเนื่อง โยณฺณวา ใน มงฺคล. ๒/๒๖๐/๑๙๓)
ความรูเรื่องสังขยา ๕, ๖ หรือ ๗ ประเภทที่จะกลาวตอไปนี้ ขอให
ศึกษาเปน ความรูป ระกอบเทานั้น นักเรียนไมควรจำไปตอบขอสอบบาลี
สนามหลวง โดยขอใหถือวาเปนความรูประกอบ
ในหลักสูตรบาลีสนามหลวงในปจจุบัน พวกเราเรียนกันมาวาสังขยา
มี ๒ คือ ปกติสังขยา และ ปูรณสังขยา ความจริงสังขยายังมีอีกมาก ดังจะ
แสดงตอไปนี้
๑) สังขยา ๕ ประเภท
ในคั ม ภี รไวยากรณทั้งหลาย เช น คั ม ภี รสั ททนี ติ ป ทมาลา๑ คัม ภี ร-
กัจ จายนสุตตนิเทส๒ และคัม ภี รป ทวิ จาร๓ เป น ต น กล าวว า สังขยา มี ๕
ไดแก มิสสกสังขยา คุณิตสังขยา สัมพันธสังขยา สังเกตสังขยา และอเนก-
สัง ขยา [ดูค ำแปลและคำอธิบายต อจากนี้ ] ท านประพั น ธ เป น คาถาไวใน
คัมภีรกัจจายนสุตตนิเทส วา

๑ สัททนีติปทมาลา, หนา ๙๙๒-๑๐๐๗.


๒ พระสั ท ธั ม มโชติ ป าลเถระ
(รจนา), พระมหานิ มิ ต ร ธมฺ ม สาโร (ปริ ว รรต),
กัจจายนสุตตนิเทส, (กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน, ๒๕๔๕), หนา ๑๙๕-๑๙๖.
๓ พระญาณาลังการเถระ (รจนา), จำรู ญ ธรรมดา (แปล), ปทวิจาร, (กรุ งเทพฯ:
ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๗), หนา ๑๘๙.
๔๘ มังคลัตถวิภาวินี

มิสฺสคุณิตสมฺพนฺธ- สงฺเกตาเนกเภทโต
สงฺขฺยา ปฺจวิธา เยฺยา ปาิยา คตินยโต ฯ
[สังขยามี ๕ ประเภท พึงทราบโดยจำแนกเปนมิสสกสังขยา, คุณิต-
สังขยา, สัมพันธสังขยา, สังเกตสังขยา และอเนกสังขยา ตามนัยที่ดำเนินไป
ในพระบาลี]๑
๒) สังขยา ๖ ประเภท
ในคัมภีรวชิรสารัตถสังคหะ๒ ท านวา สังขยา มี ๖ (จาก ๕ นั้น เพิ่ ม
ปริมาณสังขยา ๑ เปน ๖) ไดแก
(๑) มิสสกสังขยา (๒) คุณสังขยา (๓) สัม พัน ธสังขยา (๔) สังเกต-
สังขยา (๕) อเนกปริยายสังขยา และ (๖) อเนกปริมาณสังขยา [ดูคำแปล
และคำอธิบายตอจากนี]้ และทานประพันธเปนคาถาไววา
คุณมิสฺสกสมฺพนฺธ- สงฺเกตปริมาณโต
สงฺขฺยาโย ฉพฺพิธา วุตฺตา อเนกปริยายโต ฯ
[สั ง ขยามี ๖ ประเภท กล า วไว ต ามคุ ณิ ต สั ง ขยา, มิ ส สกสั ง ขยา,
สัมพันธสังขยา, สังเกตสังขยา, ปริมาณสังขยา และอเนกปริยายสังขยา]๓
๓) สังขยา ๗ ประเภท
สวนในหนังสือชื่อ ปทวิจารทีปนี๔ ทานวา สังขยา มี ๗ ประเภท คือ
เพิ่ม ปกติสังขยา และ ปริมาณสังขยา เขาไปอีก [๕ เพิ่ม ๒ เปน ๗] ดังนี้

๑ พระคัน ธสาราภิ วงศ, สารั ตถที ปนี ฎี กา มหาวรรควรรณนา แปล, (กรุ งเทพฯ:
โครงการแปลคัมภีรพุทธศาสน, ๒๕๕๑), หนา ๑๑๙.
๒ พระสิริรัตนปญ ญาเถระ (รจนาเสร็จ พ.ศ. ๒๐๗๘), แยม ประพัฒนทอง (แปล),
วชิรสารัตถสังคหะ, คาถา ๒๖๒ หนา ๑๘๐.
๓ พระคันธสาราภิวงศ, สารัตถทีปนีฎีกา มหาวรรควรรณนา แปล, หนา ๑๑๙.
๔ พระมหานิ มิ ต ร ธมฺ ม สาโร, ปทวิ จ ารที ป นี , (กรุง เทพฯ: ไทยรายวั น การพิ ม พ ,
๒๕๔๗), หนา ๖๓๒-๖๖๓.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๔๙
(๑) มิส สกสั งขยา (๒) คุณ สั งขยา (๓) สั ม พั น ธสั งขยา (๔) สั งเกต-
สังขยา (๕) อเนกสังขยา/อเนกปริ ยายสั งขยา (๖) ปกติ สังขยา และ (๗)
ปริมาณสังขยา
ตอ ไปจะนำคำแปล และคำอธิ บ ายสั งขยาทั้ ง ๗ ประเภทมาแสดง
ดังตอไปนี้
๑. มิ ส สกสั งขยา สั งขยาที่ ได ม าด วยวิ ธี การบวก เชน จตุ จ ทส จ
จตุทฺทส “สี่บวกสิบเทากับสิบสี่” คำวา จตุทฺทส เปนสังขยาที่ไดจากผลลัพธ
ของการบวก จตุ + ทส เชน
ทเสตฺถ ราชิโย เสตา ทสฺสนียา มโนรมา
ฉ ปงฺคลา ปนฺนรส หลิทฺทาภา จตุทฺทสาติ
[เพชรเม็ดนี้ มีลายเสนสีขาว ๑๐ เสน ลายเสนแดง ๒๑ เสน และ
ลายเสนสีเหลืองดุจขมิ้น ๑๔ เสน งดงามตระการตา ตระการใจ]
ในตั ว อย า งนี้ มิ ส สกสั ง ขยา คื อ ศั พ ท ว า ฉ ป งฺ ค ลา ปนฺ น รส
(ปณฺ ณ รส) ที่ แ ปลว า “มี ลายเสนแดง ๒๑ เส น” คือ ฉ=๖+ปณฺ ณ รส=๑๕
บวกกันแลวเทากับ ๒๑
๒. คุณิต/คุณสังขยา สังขยาที่ไดมาดวยวิธีการคูณ เชน สตสฺส ทฺวิกํ
ทฺวิส ตํ “หมวด ๒ แหงรอย เปน สองรอ ย” (๒x๑๐๐) ในตัวอย างนี้ คำว า
ทฺวิสตํ เปนสังขยาที่ไดจากผลลัพทของการคูณ
วรทิพฺราสุสขลํ อุทฺวิปกุอมํนิติ
ติปฺจ คมฺภีรา ปฺหา สมฺพุทฺเธน วิยากตา๑
[ปญหาลุมลึก ๑๕ ขอ พระสัมมาสัมพุทธเจา ทรงพยากรณแลว
คือ วะ, ระ, ทิ, พฺรา, สุ, สะ, ขะ, ลํ, อุ, ทฺวิ, ป, กุ, อะ, มํ, นะ]

๑ วชิรสารัตถสังคหะ, คาถา ๒๕ หนา ๑๙.


๕๐ มังคลัตถวิภาวินี

นักศึกษาพึงดูเฉลยปญหาลุมลึกนี้ที่ วัมมิกสูตร ในมัชฌิมนิกาย๑, สวน


ในตัวอยางนี้ คุณิตสังขยา คือ ศัพท วา ติปฺ จ (สิบห า) เพราะ ติ (๓) คู ณ
ปฺจ (๕) เทากับ ๑๕
๓. สัมพันธสังขยา สังขยาที่ไดมาดวยการเชื่อมโยงคำสังขยา โดยมี
คำใดคำหนึ่งเปนคำแสดงหลักของสังขยา สวนคำที่เหลือตองสัมพันธเขากับ
คำนี้ เชน อส ิส ตสหสฺสุพฺเพโธ คิ ริราชา [เขาสุเมรุ สู งหนึ่ งแสนหก
หมื่นแปดพันโยชน]
ในตัวอยางนี้ สหสฺส เปนคำแสดงหลัก และนำคำที่เหลือเชื่อมเขา จึง
เปน อสหสฺส (๘,๐๐๐) สิสหสฺส (๖๐,๐๐๐) สตสหสฺส (๑๐๐,๐๐๐)
รวมเปนหนึ่งแสนหกหมื่นแปดพัน
๔. สังเกตสังขยา หรือ โลกสัญญังกิตสังขยา คือ จำนวนที่ชาวโลกรู
กัน เปนสังขยาที่กำหนดนิยมกันขึน้ เพื่อใหความหมายแทนเลขทั่วไป ทานใช
สังขยานี้ตามสิ่งที่มีปรากฏ ชาวโลกรูกันทั่วไป มีจำนวนแนนอน ไมเพิ่มขึ้น
หรือลดลงในกาลไหนๆ๒ เชน
ปาทเปโก ภวกฺขนฺโธ สรสาโข พหูทโล
สิเนรุคฺโค สุผลโท อวิสุ อิติ นามโก
[ตนไมหนึ่งตน มีลำตน ๓ มีกิ่ง ๕ มีใบมาก มียอด ๑ ใหผลดี มี
นามวา อวิส]ุ
ในตัวอยางนี้ คำวา ภว, สร, สิเนรุ เป นสังเกตสังขยา คือ ภว แทน
เลข ๓ เพราะภพมี ๓, สร แทนเลข ๕ เพราะลูกศรของพญามารมี ๕, สิเนรุ
แทนเลข ๑ เพราะเขาสิเนรุมีลูกเดียว
๕. อเนกสังขยา หรือ อเนกปริยายสังขยา คือ สังขยาที่มีคามากจน
ไมสามารถกำหนดเจาะจงลงไปได สวนมากใชคำวา สต และ สหสฺส เปนคำ

๑ ม.มู. ๑๒/๒๘๙/๒๘๐.
๒ พระคันธสาราภิวงศ, วุตโตทยมัญชรี, อธิบายคาถา ๑๐ หนา ๓๒.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕๑
แสดงแทนจำนวนมาก โดยใจความว า มากเหลื อ เกิ น คงตรงกั บ วลี ใน
ภาษาไทยวา “มีเปนรอย” โดยสื่อความวา มีมากมาย เชน สตเตโช ทิวากโร
“พระอาทิตยมีพลังงานเปน ๑๐๐” แมคำวา ปโรสตํ กวารอย, ปโรสหสฺสํ
กวาพัน ก็นาจะนับเขาสังขยาประเภทนี้
๖. ปริม าณสั ง ขยา สังขยาที่ นั บ โดยกำหนดจำนวน ระยะ ขนาด
น้ำหนัก ตามมาตราวัดตวงชั่ง เชน ถามวา กึปมาโณ กุมารสฺส ชาโต [เด็ก
เกิดนานเทาไร] ตอบวา มาโส ชาตสฺส อสฺส [หนึ่งเดือน] (คำวา มาโส เปน
ชื่อของ ๓๐ ราตรี คือ ๓๐ วันเปน ๑ เดือน), นี้จัดเปนปริมาณสังขยา
แมมาตราวัดตามวิธีโบราณก็พึงทราบวาเปนปริม าณสังขยา เชน ๑
ปสตะ (ซองมือ) ชื่อวา ๑ กุฑุวะ, ๔ กุฑุวะ เปน ๑ ปตถะ, ๔ ปตถะ เปน
๑ อาฬหกะ เปนตน
๗. ปกติสังขยา คือจำนวนนับ ที่นับโดยปกติ เชน เอโก (๑) เทฺว (๒)
ตโย (๓) เปนตน, ปกติสังขยานี้ มีปรากฏในวิชา บาลีไวยากรณ หลักสูตร
บาลีสนามหลวงที่เรียนกันนี้แลว จึงไมตองอธิบายใหมากนัก
เท า ที่ แ สดงมานี้ ผู ศึ ก ษาพึ งทราบว า สั งขยามี ห ลายประเภท นั บ
จำนวนได ๗ ประเภทแลว ถานับรวม ปูรณสังขยา ที่เรียนกันมาในหลักสูตร
บาลีไวยากรณเขาไปอีกก็รวมเปน ๘ ประเภท
ที่จริงมีสังขยา ที่ไมไดกลาวถึงในที่นี้อีก เชน วัณณสังขยา (สังขยาใช
อักษรแทนเลข), ปฎกสังขยา (ประชุมตัวอักษรแทนเลข) เทานี้ก็เห็น วามี
รายละเอียดมากแลว จึงยุติคำอธิบายไวกอน ขอใหนักศึกษาไปคนควาตอที่
หนังสือ ปทวิจารทีปนี (หนา ๖๔๘) และ วชิรสารัตถสังคหะ (หนา ๘๕)
ถึงตอนนี้นักเรียนคงจะตอบตัวเองในใจไดแลววา ทำไมในหลักสูตร
บาลีไวยากรณ ทานจึงแสดงสังขยาไวเพียง ๒ อยาง คือ ปกติสังขยา และ
ปูรณสังขยา, เพราะลำพังแคสังขยา ๒ อยางนั้น นักเรียนก็จดจำทำความ
เขาใจจะไมไหวแลว ถาทานแสดงสังขยาไวหลายอยาง คงไมเหมาะสำหรับ
นักเรียนผูเริ่มศึกษา
๕๒ มังคลัตถวิภาวินี

สตฺตมคาถายตฺถวณฺณนา
คารวกถา
-๐-
ปณฺฑุปลาส (มงฺคล. ๒/๒๗๔/๒๐๔)
ปณฺฑุปลาส แปลวา ใบไมเหลือง (ใบไมเกา), คนเตรียมบวช, คนจะ
ขอบวช๑ เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๗๔ วา ตตฺถ ปณฺฑุปลาสสฺส
ถาลเก ปกฺขิปตฺวาป ทาตุ วฏติ ฯ [บรรดาคนเหลานั้น สำหรับปณฑุปลาส
แมจะใสภาชนะใหก็ควร]
วตฺตํ/วฏฏํ แปลวา ค่าใช้สอย (มงฺคล. ๒/๒๗๗/๒๐๗-๘)
นักเรียนคอนขางคุนเคยคำวา วตฺต ที่แปลวา วัตร พอมาพบ วตฺต ที่
แปลวา ทรัพยคาอาหาร ก็สงสัย, ผูเขียนนีค้ นควาแลว บันทึกไวดังนี้
วตฺต ในคำวา ปกติวตฺตํ และ ปากวตฺตโต ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒
ขอ ๒๗๗ หนา ๒๐๗-๒๐๘ ทานแปลวา ทรัพยคาอาหาร ผูเขียนนี้ไดตรวจดู
อรรถกถาและฎีกาเภสัชชกรณวัตถุที่ทานอางแลว พบวา ในอรรถกถาและ
ฎีกานั้นทานใช วฏ ไมใช วตฺต ในแหลงเดิมจึงเปน ปกติวฏํ, ปากวฏโต
ฉะนั้น นักเรียนที่ตองการขอมูลซึ่งตรงกับแหลงเดิม ควรแก ปกติวตฺตํ เปน
ปกติวฏํ, แก ปากวตฺตโต เปน ปากวฏโต
คำวา ปกติว ฏํ ในที่ นี้ม าในอรรถกถาเภสัชชกรณวัตถุ แหงคัมภี ร
สมัน ตปาสาทิ กา๒ สวนคำวา ปากว ฏโต มาในสารัตถทีป นี ฎีก า๓ แตใน

๑ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท,


พิมพครั้งที่ ๑๑, (กรุงเทพฯ: บริษัท เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส จำกัด, ๒๕๕๑), หนา
๒๓๔.
๒ วินย.อ. ๑/๕๘๑.
๓ สารตฺถ.ฏี. ๒/๔๒๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕๓
อรรถโยชนาวินัยกลับแปลกออกไปวา วตฺต ทานทำเชิงอรรถบอกไววาปาฐะ
เปน ว ฏ และอธิบ ายวา ปกติ วตฺตํ คือ ปกติทานวตฺตํ๑ (ทรัพยค าอาหาร
หมายถึง ทาน/การให)
ศั พ ท ว า ว ฏ แปลได ห ลายอย า ง แต ใ นที่ นี้ แ ปลว า ค า ใช ส อย
(ปริพฺพย) เปน ปุงลิงค๒ เขาใจว าท านถื อตามนัยนี้ จึงแปล วตฺ ต (ที่ จริงคื อ
วฏ) วา ทรัพยคาอาหาร ดังที่กลาวแลว บางอาจารยแปลวา วัตถุอันบุคคล
พึงใหเปนไป, วัตถุเปนเครื่องเปนไป๓
การที่ วตฺต กลายเปน วฏ นี้ ถาวาตามหลักการอาเทสในสนธิแลว
พอเปนไปไดหรือไม ดังตัวอยางที่วา ทุกฺกตํ เปน ทุกฺกฏํ๔ แตหลักการนีม้ ีผตู งั้
ขอสังเกตวา การเปลี่ยน ต เปน ฏ มักเปลี่ยนทายธาตุที่มี ร อักษรอยูทาย๕
ขอฝากใหศึกษาคนควากันตอไป
ในขั้นนี้ สรุปไดแตเพียงวา วตฺต ในมังคลัตถทีปนี ไมตรงกับตนแหลง
เดิม และยังไมวินิจฉัยวาที่ถูกควรเปน วตฺต หรือ วฏ หรือถูกทั้งสองอยาง
ในจำนวนหนังสือเรียนตามหลักสูตรบาลีสนามหลวงนี้ ปรากฏศัพทวา
ปากวตฺต อยางนอย ๓ แหง คือ ในหนังสือธัมมปทัฏฐกถาภาค ๓ เรื่อง โจร
ผูท ำลายปม (คณฺ  เ ภทกโจรวตฺ ถุ ) ๒ แห ง และในภาค ๖ เรื่อ งนั น ทิ ย ะ
(นนฺ ทิ ย วตฺ ถุ ) ๑ แห ง๖ รวมกั บ ในมั งคลั ต ถที ป นี นี้ เป น ๔ แห ง ส ว นคำว า
ปกติวตฺต นั้นยังหาไมพบในที่อื่น

๑ วินย.โย. ๑/๔๐๙.
๒ อภิธานัปปทีปกา. คาถา ๑๐๑๘.
๓ พันตรี ป. หลวงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, หนา ๖๒๗.
๔ โมคฺ. สูตร ๑.๕๒.
๕ ปทวิจารทีปนี, หนา ๑๙๙.
๖ ธ.อ. ๓/๑๒๔, ธ.อ. ๖/๑๕๕.
๕๔ มังคลัตถวิภาวินี

เพราะปรากฏศัพทในธัมมปทัฏฐกถานี้เอง ในพจนานุกรมบาลี-ไทย
ธรรมบทภาค ๑-๔ อาจารยบุญสืบ อินสาร๑ จึงอธิบายไววา
ปากวตฺ ตํ (ธนํ ) แปลว า ทรั พ ย อั น เป น ไปเพื่ อ วั ต ถุ อั น บุ ค คลพึ ง
หุงตม วิเคราะหวา
ปจิตพฺพนฺติ ปากํ [ปจ ธาตุ ณ ปจจัย]
ปากสฺส (วตฺถุสฺส) วตฺตตีติ ปากวตฺตํ (ธนํ) [วตฺต ธาตุ อ ปจจัย]
ธมฺมสฺส โกวิทา : หักฉัฏฐีเปนสัตตมี (มงฺคล. ๒/๒๘๕/๒๑๕)
ธมฺมสฺส ในที่นี้เปนฉัฏฐีวิภัต ติ แตใช อรรถสัตตมีวิภัตติ พูดอย างไม
เปนทางการวา หักฉัฏฐีเปนสัตตมี ขอวา ธมฺมสฺส โกวิทา๒ ในอรรถกถาทาน
อธิบ ายไว วา เช าปจายนธมฺ เม กุ ส ลา๓ จึ งแปลวา ฉลาดในธรรม ไม
แปลวา ฉลาดแห งธรรม (ถานักเรียนแปลฉลาดแห งธรรม ถือวาไมมีภูมิรู
จัดเปนศิษยนอกสำนัก) ทั้งนี้มีหลักการวา
ฉัฏฐีวิภัตติใชในอรรถแหงสัตตมีวิภัตติในที่ประกอบดวยบทที่มีอรรถ
วาฉลาด เป น ต น ๔ เชน มคฺคามคฺคสฺ ส โกวิ ท า (ธ.อ. ๘/๑๒๙) [ฉลาดใน
มรรคและไมใชมรรค]
แตในที่บางแหง แมจะประกอบดวยบทที่มีอรรถวาฉลาด ทานก็คงใช
สัตตมีวิภัตติ นั่นเอง ไมใชฉัฏฐีวิภัตติ (มีตัวอยางมาก นำมาแสดงแค ๒ ก็
พอ) เชน ในปณามคาถา แหงธัมมปทัฏฐกถาวา ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท และ
ปรมัตถทีปนีวา อิทฺธิปาเทสุ โกวิโท๕

๑ บุญ สืบ อิ นสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ


สงเสริมสามเณร ในพระสังฆราชูปถัมภ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก, ๒๕๕๕), หนา ๕๑๙.
๒ ขุ.ชา. ๒๗/๓๗/๑๒.
๓ ชา.อ ๑/๓๘๕.
๔ กจฺจายน. สูตร ๓๐๘, รูปสิทฺธิ. สูตร ๓๑๗, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๓๙.
๕ ธ.อ. ๑/๑, เถร.อ. ๑/๕๑๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕๕
นิวาตกถา
-๐-

เกสรสีหา : ในราชสีห ๔ ประเภท (มงฺคล. ๒/๒๙๐/๒๒๑)


ในข อ ความว า ชาติ ส มฺ ป นฺ น า หิ สุ ร ตฺ ต หตฺ ถ ปาทา เกสรสี ห า
ตาทิสสฺส ชรสิคาลสฺส อาณ น กริสฺสนฺติ [เพราะพระยาไกรสรสีหะเปนสัตว
สมบูรณโดยชาติ มีเทาหนาและเทาหลังอันแดงดี จักไมทำตามคำสั่งของสุนัข
จิ้งจอกแกผูเช นกั บ ดวยทาน], ในที่ นี้ ควรศึกษาเรื่องราชสี ห ไวเป นความรู
ประกอบ, ในอรรถกถาทานอธิบายไววา ราชสีห มี ๔ จำพวก ไดแก
๑. ติณราชสีห มีรูปรางเหมือนแมโค สีคลายนกพิราบ และกินหญา
เปนอาหาร
๒. กาฬราชสีห มีรูปรางเป น เหมือนแมโคดำ กิ นหญ าเป นอาหาร
เหมือนกัน
๓. ปณ ฑุราชสีห มีรูปรางเปน เหมือนแมโคสีคลายใบไมเหลืองกิน
เนื้อเปนอาหาร
๔. ไกรสรราชสีห ประกอบดวย (ลักษณะคือ) ดวงหนา (ที่สวยงาม)
เปนเหมือนมีใครเอาน้ำครัง่ มาแตงเติมไวหางที่มีปลายสวยงามและปลายเทา
ทั้ง ๔ ตั้งแตศีรษะของราชสีหนั้นลงไปมีแนวปรากฏอยู ๓ แนวซึ่งเปนเหมือน
มีใครมาแตมไว ดวยสีน้ำครั่ง สีชาด และสีหิงคุ แนวทั้ง ๓ นั้นผานหลังไป สุด
ที่ภายในขาออน เปนวงทักษิณาวรรต ที่ตนคอของไกรสรราชสีหนั้น มีขนขึ้น
เป น พวง เหมื อ นวงไว ด ว ยผ า กั ม พล ราคาตั้ ง แสน ส ว นที่ เหลื อ ภายใน
รางกายมีสขี าวบริสุทธิ์ เหมือนแปงขาวสาลี และผงจุณแหงสังข๑
บรรดาราชสีห ๔ จำพวกนี้ ไกสรราชสีห เปน ยอด คือเปนพระยา
ราชสีห ผูเปนเจาแหงปา๒

๑ สํ.อ. ๒/๔๔๔, องฺ.อ. ๒/๔๘๕, ที.อ. ๓/๑๙.


๒ สุตฺต.อ. ๑/๑๗๑.
๕๖ มังคลัตถวิภาวินี

สนฺตุกิ ถา
-๐-

อิติ มาสฑฺฒ...วิตกฺกสนฺโตโส นาม (มงฺคล. ๒/๓๐๘/๒๔๐)


ขอวา อิติ มาสฑฺฒ...วิตกฺกสนฺโตโส นาม ทานละขอความที่เหลือไว
นักเรียนพึงนำขอความ ในขอ ๓๐๕ หนา ๒๓๔ มาเติม ดังตอไปนี้
อิติ มาสฑฺฒมาสมตฺต วิตกฺกน วิตกฺกสนฺโตโส นาม ฯ [การตรึกสิ้น
กาลเดือนหนึ่งหรือกึ่งเดือน ดังนี้ ชื่อวา วิตักกสันโดษ]
หายติ (มงฺคล. ๒/๓๑๒/๒๔๕)
ทานแปล หายติ อตฺถมฺหา ในมังคลัตถทีปนี เลม ๒ ขอ ๓๑๒ หนา
๒๔๕ (ในคาถา) เปนกัตตุวาจก วา ยอมเสื่อม จากประโยชนตน [หายติ=
หา ปริหานิยํ+ย+ติ]๑ นี้ไมมีปญหาอะไร
สวน หายติ ในคาถาวา หายตตฺตานํ ขอ ๓๑๓ หนา ๒๔๖ หนังสือ
ฉบับแปลไทยทุ กเลมที่ผูเขียนนี้มี ในปจจุบัน ๒ แปลเป นเหตุกัตตุว าจก วา
ยอมยังประโยชนตนใหเสื่อม ดวยเหตุผลวาทานแก หายติ เป น ชิยฺยติ =
ใหยอยยับ ดังนั้นจึงแปล หายติ เปนเหตุกัตตุวาจกดวย๓ นาสงสัยวา ชิยฺยติ
เปนเหตุกัตตุวาจกจริงหรือ
ในเรื่อ งว า หายติ และ ชิ ยฺ ย ติ เป น เหตุ กั ต ตุ ว าจกนี้ ขอให บั ณ ฑิ ต
เมตตาชี้แนะและฝากนักศึกษาคนควากันตอไป เพราะเทาที่คนพบในคัมภีร
๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๖๒๙.
๒ หนังสือแปลที่ผูเขีย นนี้มีไวเปนที่ ปรึกษา
๔ ฉบั บ ไดแก ฉบับแปลโดย (๑) มมร.
(๒) พระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺโม (๓) อาจารย บุญ สื บ อินสาร และ (๔) สมเด็ จพระวันรัต
(เขมจารีมหาเถระ) เรียกวา ฉบับ มหาธาตุวิทยาลัย ส. ธรรมภักดี จัดพิมพ
๓ บุญสืบ อินสาร, คูมือแปลมังคลทีปนี ภาค ๒, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ: สืบสาน
พุทธศาสน, ๒๕๕๖), เชิงอรรถ หนา ๑๙๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕๗
ไวยากรณ ทานวา หายติ และ ชิยฺยติ เปนกัตตุวาจก [ชร+ณฺย+ติ] (แปลง ชร
เปน ชีร หรือ ชิยฺย เชน ชีรติ ชิยฺยติ ยอมแก)๑ เปนไปไดหรือไมวา ณฺย ใน
ที่นี้เปนไดทั้ง ณฺย ปจจัยประจำหมวดจุรธาตุ ในกัตตุวาจก และเปนทั้ง ณฺย
ปจจัยในเหตุกัตตุวาจกดวย
อีกประการหนึ่ง นาสังเกตวา คาถาในมังคลัตถทีปนี ขอ ๓๑๓ ไมตรง
กับอรรถกถาวิภังคชื่อสัมโมหวิโนทนีที่ทานอาง คือในมังคลัตถทีปนีนี้ปรากฏวา
อตฺริจฺฉํ อติโลเภน อติโลภมเทน จ
เอวํ โส หายตตฺตานํ จนฺทํว อสิตาภุยาติฯ
ส วนในอรรถกถาวิภังคชื่ อ สัม โมหวิ โนทนี ที่ ใช อา งอิ งกั น ในป จจุ บั น
(ทั้ง ฉบับ มจร. มมร.) วา
อตฺริจฺฉา อติโลเภน อติโลภมเทน จ
เอวํ หายติ อตฺถมฺหา อหํว อสิตาภุยาติฯ๒
ทานทำเชิงอรรถวา อตฺริจฺฉา ฉบับพมาเปน อตฺริจฺฉํ คาถานี้ไมตรงกับ
ที่ทานแจงไวในมังคลัตถทีปนี แตกลับไปตรงกับอรรถกถาอสิตาภุชาดก๓
ถึงตอนนี้ก็ตองขอฝากใหศึกษากันตอไป วา ใน ๒ คัมภีรคืออรรถกถา
วิภังคที่ใชกันในปจจุบันกับมังคลัตถทีปนี คัมภีรไหนถูกชำระจนขอความตก
หลนจนแตกตางกัน
ที่ จริ งข อความในมังคลั ตถที ป นี ข อ ๓๑๓ (แก อรรถใตค าถา) ที่ วา
หายติ ชิยฺยติ นั้น ในอรรถกถาวิภังคซึ่งเปนตนแหลงเดิมทานใชศัพทตางกัน
วา หายติ ชียติ ๔ ซึ่งเมื่อตรวจดูคัม ภีรบาลี ไวยากรณ แลวก็ ทราบวา ชียติ
เปนกัตตุวาจก [เช+อ+ติ] มีอรรถเดียวกับ หายติ ศัพทวา ชียติ ประกอบดวย
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๐๑๘ หนา ๙๗๐.
๒ วิภงฺค.อ. ๑/๗๕๖.
๓ ชา.อ. ๓/๓๕๙.
๔ วิภงฺค.อ. ๑/๗๕๖.
๕๘ มังคลัตถวิภาวินี

เช ธาตุ ในความสิ้ น , เสื่อ ม แปลง เอ เป น อี ย ชี ยติ ย อ มเสื่อ ม๑ เป น กั ตตุ


วาจก
ส ว นในมั งคลั ต ที ป นี ข อ ๓๑๓ ที่ ว า ตํ ชิ ยฺย ติ จนฺ ท กิ นฺ นรึ ในฎี ก า
วิภังค๒ ฉบับที่ใชในปจจุบันกลับเปน นํ ชีรติ จนฺทกินนฺ รึ
แต ถึงอยางไรก็ตาม ทั้ งที่ทราบว าขอความไมตรงกับอรรถกถาและ
ฎีกา นักเรียนก็ควรยึดขอความในหนังสือเรียน (คือมังคลัตถทีปนี) นี้เป น
หลัก ควรแปลแบบรักษาขอความที่ปรากฏในหนังสือเรียนนี่เอง ไมควรดวน
ไปแกไขขอมูลของทานจนเสียรูปเดิม ซึ่งจะมีผลเสียในระยะยาว
สรุปวา หายติ ในขอ ๓๑๒ ทานแปลเปน กัตตุวาจก สวนในขอ ๓๑๓
ท า นแปลเป น เหตุ กั ต ตุ ว าจก ถู ก ผิ ด อย า งไรขอฝากให บั ณ ฑิ ต ร ว มกั น
พิจารณา

ปญฺาเปสิ : เป็ นทัง กัตตุ. และ เหตุ.กัต.? (มงฺคล. ๒/๓๒๗/๒๕๗)


ปฺาเปสิ บัญญัติแลว, ตั้งไวแลว, ปูลาดแลว ป+ป ธาตุ ในความ
บัญญัติ, แตงตั้ง, ปูลาด (นิกฺเขปเน)+เณ ปจจัย ในหมวดจุรธาตุ+อี อัชชัตตนี
วิภั ตติ ลง ส อาคม รั สสะ อี เป น อิ , มี รูป เป น รัส สะก็ มี เช น ปฺ  เปติ ๓
เปนกัตตุวาจก
อี ก นั ย หนึ่ ง ว า ปฺ  าเปสิ เป น เหตุ กั ต ตุ ว าจก แปลว า ให ...รู โ ดย
ประการต า ง ประกอบด ว ย ป +า ธาตุ ในความรู (อวโพธเน)+ณาเป
ปจจัย+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๔
๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๑๑๗.
๒ วิภงฺค.มูลฏี. ๑/๒๓๖.
๓ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๘๒๗.
๔ พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับ
แกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๕๑.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕๙
ปริสฺสยานํ สหิตา (มงฺคล. ๒/๓๕๑/๒๖๘)
สหิต า [สหฺ +อิ+ตุ +สิ] ในขอ วา ปริสฺ สยานํ สหิ ตา แปลวา ครอบงำ,
คำวา สหิ ตา ประกอบดวย สหฺ ธาตุ ตุ ป จจัย๑ ในนามกิ ตก ลง สิ ปฐมา-
วิภัตติ เอกวจนะ
วิ เคราะห ว า สหตี ติ สหิ ต า ผู ค รอบงำ/ผู ท นทาน (ลง อิ อาคม)๒,
เปนกัตตุรูป กัตตุสาธนะ, ศัพทเดิมเปน สหิตุ แจกแบบ สตฺถุ เอา อุ การันต
กับ สิ เปน อา๓
กปฺป ศัพท์ : ใชในอรรถเปรียบเทียบ (มงฺคล. ๒/๓๕๒/๒๖๙)
กปฺป ในคำวา ขคฺควิสาณกปฺโป แปลวา เหมือน/เชนกั บ/เสมือน มี
ความหมายเดียวกับ สทิส เพราะใชในอรรถวาเปรียบเทียบ (ปฏิภาค)
ความจริง กปฺ ป ศั พทนี้ มีความหมายหลายอยาง เช น อภิ สทฺ ท หน
(เชื่อ, เชื่อถือ), โวหาร (กลาว, พูด, บอก), กาล (เวลา, สมัย) ปฺตฺติ (ชื่อ,
ชื่อที่ตั้ง) พึงศึกษาความหมายของ กปฺป ศัพทในคัมภีรส ัททนีติธาตุมาลา๔
นิทฺธเม=นิทฺธเมยฺย (มงฺคล. ๒/๓๖๐/๒๗๓)
นิทฺธเม [นิ+ธมฺ สทฺทคฺคิสํโยเคสุ+อ+ติ] พึงกำจัด นิ อุปสัค ธมฺ ธาตุใน
ความเปาและก อไฟ (สทฺทคฺคิสํโยเคสุ) อ ปจจัย เอยฺย สัตตมีวิภัตติ แปลง
เอยฺย เปน เอ๕
๑ กจฺจายน. สูตร ๕๒๗, รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๖๘, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๐๙.
๒ กจฺจายน. สูตร ๖๐๕, รูปสิทธฺ ิ. สูตร ๕๔๗; พระมหาศักรินทร ศศพินทุรักษ, หลัก-
ควรจำบาลีไวยากรณ, หนา ๑๙๒.
๓ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่
๒ นามและอัพยยศัพท, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๖๑.
๔ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๘๓๑-๘๓๒.
๕ สัททนีติสุตตมาลา. สูตร ๑๐๘๘; สัททนีติธาตุมาลา. หนา ๓๖๐.
๖๐ มังคลัตถวิภาวินี

กตฺุตากถา
-๐-

ทเท=ททามิ, มุญฺเจ=มุญฺจามิ (มงฺคล. ๒/๓๖๒/๒๗๖)


ทเท [ทา+อ+เอ] ในขอวา ตสฺมา เตส อิณ ทเท [เพราะฉะนั้น เราจึง
ใหหนี้แกลูกนกเหลานั้น], ทเท ในที่นี้ลง เอ วัตตมานาวิภัตติ ฝายอัตตโนบท
ใชแทน มิ, มีตัวอยางปรากฏอยูบาง เชน
วนฺเท = วนฺทามิ๑
ลเภ = ลภามิ๒
กเร = กโรมิ๓
แมคำวา มุฺเจ ในคาถาเดียวกันนี้ ก็พึงทราบวา มุฺเจ=มุฺจามิ ใช
เอ แทน มิ ฯ

คตโยพฺพนา (มงฺคล. ๒/๓๖๒/๒๗๖)


คตโยพฺพนา เปนตติยาพหุพพิหิสมาส แปลโดยพยัญชนะวา “มีความ
เปนหนุมสาวอั นถึงแลว” แปลโดยมุงเอาความวา “ผานวัยหนุมสาวแลว”
วิเคราะหวา
คตํ โยพฺพนํ เยหิ เต คตโยพฺพนา (มาตา ปตา จ) [ความเปนหนุม
สาว อันมารดาและบิดาเหลาใดถึงแลว มารดาและบิ ดาเหลานั้น ชื่อวา มี
ความเปนหนุมสาวอันถึงแลว]
คำวา โยพฺ พนํ วิ. ยุว สฺส ภาโว โยพฺ พนํ [ความเป น หนุ มสาวชื่ อว า
โยพพนะ] ลง ณ ป จจัย ในภาวตัทธิต , พฤทธิ์ อุ เปน โอ แปลง ว เป น พ
๑ สํ.อ. ๑/๔๗๗.
๒ เถร.อ. ๒/๑๓๘.
๓ ชา.อ. ๓/๒๑๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๖๑
ซอน พฺ ลบ ณ ลง น อาคม๑, อีกมติห นึ่งว า ลง นณฺ ป จจั ยในภาวตัท ธิ ต
(ปจจัยนอกแบบ)๒

อนฺธการํ วิย (มงฺคล. ๒/๓๖๙/๒๘๐)


อนฺธการ ในขอวา อนฺธการภูโตติ อนฺธการํ วิย ภูโต ชาโตฯ นาสงสัย
วา ทำไมทานแกเปน อนฺธการํ วิย ไมเปน อนฺธกาโร วิย; ในพจนานุกรมทาน
วา อนฺธการ เปนปุงลิงค๓
อนฺธการาวตฺถํ (มงฺคล. ๒/๓๖๙/๒๘๐)
อนฺธการาวตฺถํ ในขอวา อปฺปกาสภาเวน อนฺธการาวตฺถํ วา ปตฺโต...ฯ
ฉบับ มมร. แปลวา ความตั้งลงในความมืด สนามหลวงแผนกบาลี แปลเฉลย
ขอสอบ พ.ศ. ๒๕๓๓ วา การกำหนดเปนผูมืด พระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺโม
แปลวา การกำหนดวาเปนผูมีความมืด
พึงสังเกตวา อวตฺถํ ในหนังสือที่แปลกอนๆ ทานแปลวา ความตั้งลง
ในยุคตอมาแปลวา การกำหนด
อนฺธการาวตฺถํ วิเคราะหวา อนฺธกาโร อิติ อวตฺถา อนฺธการาวตฺถา
ลง อํ ทุติยาวิภัตติ ไดรูปเปน อนฺธการาวตฺถํ
อวตฺถา [อว+ถา คตินิวตฺติยํ+อ+ตฺสํโยโค] เปนอิตถีลิงค ประกอบดวย
อว บทหนา ถา ธาตุในความยับยั้งการไป อ ปจจัย ซอน ตฺ
ในธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ ทานวา ถา ธาตุ (าเน) ใชในการตั้งอยู
ยืนอยู หยุดอยู กำหนด มั่นคง, อยูในหมวด ภู ธาตุ๔
๑ รูปสิทธฺ ิ. สูตร ๓๘๘.
๒ โมคฺ. สูตร ๔.๖๑.
๓ อภิธานัปปทีปกา, คาถา ๗๐.
๔ ธาตวัตถสังหคปาฐนิสสยะ, คาถา ๑๗๔.
๖๒ มังคลัตถวิภาวินี

ในสัททนีติธาตุมาลา (ฉบับแปล) ทานแปล อวตฺถา วา การดำรงอยู-


โดยชั่วครั้งชั่วคราว สวนคำวา การกำหนดนั้น ทานใชศัพทที่ประกอบดวย
ธาตุเดียวกันนี้แหละ แตไดรูปวา ววตฺถานํ๑
ขอวา อนฺธการาวตฺถํ วา ปตฺโต นี้ เมื่อเทียบกับฎีกาพบวาทานใชตาง
ไปวา อนฺธการตฺตํ วา ปตฺโต๒ แปลวา ถึงความมืด

ตโตเยว ใช้ในอรรถเหตุ (มงฺคล. ๒/๓๗๑/๒๘๑)


โต ปจจัยในขอวา ตโตเยว สา มงฺคล ฯ [เพราะเหตุนั้นนั่นแล ความ
เปนผูกตัญูนั้น จึงชื่อวา เปนมงคล] ลงในอรรถเหตุ แปลวา เพราะ เชน
ตโตติ ตสฺมา๓, ความจริง โต ปจจัยเปนเครื่องหมายไดหลายวิภัตติ๔

อมฺพณก=เรือโกลน (มงฺคล. ๒/๓๗๒/๒๘๓)


อมฺพณก แปลกันวา เรือโกลน; ตามรูปศัพท แปลวา เรือที่ใชบรรทุก
น้ำ (อมฺพุํ เนติ อเนนาติ อมฺพณํ อาเทศ อุ เปน อ, น เปน ณ, ลบสระหนา)
หรือ เรือที่สงเสียง ชื่อวา อัมพณะ (อมฺพ สทฺเท+ยุ, อาเทศ ยุ เปน อน, น
เปน ณ)๕
เรือโกลน ในภาษาไทย หมายถึง เรือที่ทำจากซุง เพียงเปดปกเจียน
หัวเจียนทายเปนเลาๆ พอใหมีลกั ษณะคลายเรือแตยังไมไดขุด๖

๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๑๙๓.


๒ ที.ฏี. ๓/๓๐๕, องฺ.ฏี. ๒/๓๙๕, สํ.ฏี. ๑/๒๐๗.
๓ อุ.อ. ๓๑๔, เปต.อ. ๑๕๔.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๙๓, ๔๙๖.
๕ อภิธานวรรณนา, คาถา ๖๖๘.
๖ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๖๓
สหตฺถา : ศัพทที่แปลงเปน ส (มงฺคล. ๒/๓๗๒/๒๘๔)
สหตฺ ถ า วิ เคราะห ว า สยํ (แทน อตฺ ต โน) หตฺ โถ สหตฺ โถ ลง สฺ ม า
ป ญ จมี วิ ภั ต ติ ใช ในอรรถแห ง ตติ ย าวิ ภั ต ติ แปลง สฺ ม า กั บ อ เป น อา
สำเร็จรูปเปน สหตฺถา แปลวา ดวยมือของตน ทานอธิบายไวในคัมภีรสมันต-
ปาสาทิกา อรรถกถาวินัย วา สหตฺถาติ สหตฺเถนฯ๑
ส ในที่นี้สองอรรถ อตฺตโน นั่นเอง, ตามหลักไวยากรณที่เรียนกันมา
วา สยํ แปลงเปน ส หรือ สก ใชเปน คุณบทไดทั้งสองวจนะ ใชแทน อตฺต
ศัพท๒
ความจริงในบาลีที่ศึกษากันนี้มีหลายศัพทที่สามารถแปลงเปน ส ได
ดังที่ทานกลาวไวในหนังสือสังวรรณนามัญชรี โดยอางถึงคัมภีรปทวิจารคัณฐิ
คัมภีรปทวิจารคัณฐิ (หนา ๓๓๔) กลาววา คำที่สามารถแปลงเปน ส
ได มีดังนี้ คือ สพฺพ, สนฺต, สห, สมาน, ต, อตฺต, ม
ตัวอยางเชน
สทา = สพฺพ ศัพท + ทา ปจจัย (ในกาลทุกเมื่อ)
สทฺธมฺม = สนฺต ศัพท + ธมฺม ศัพท (ธรรมของสัตบุรุษ)
สเทว = สห ศัพท + เทว ศัพท (ผูเปนไปกับดวยเทวดา)
สวณฺณ = สมาน ศัพท + วณฺณ ศัพท (ผูมีผิวพรรณเหมือนกัน)
โส = ต ศัพท + สิ วิภัตติ (บุรุษนั้น)
สก = อตฺต ศัพท + ณ ปจจัย (ของตน)
อสุ = อมุ ศัพท + สิ วิภัตติ (บุรษุ โนน)

๑ วินย.อ. ๑/๒๓๑; สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๕๔; สังวรรณนามัญชรี, หนา ๗๘.


๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายบาลีไวยากรณ นามและอัพยยศัพท, หนา ๒๕.
๖๔ มังคลัตถวิภาวินี

อภิราธเย (มงฺคล. ๒/๓๘๑/๒๙๗)


อภิ ราธเย [อภิ+ราธ+ณย+เอยฺย] ในบาทคาถาว า เนว นํ อภิ ราธเย
แปลวา ไมพึงยังเขาใหยินดี ประกอบดวย อภิ บทหนา+ราธ ธาตุ ในความ
ยินดี+ณย ปจจัย เอยฺย วิภัตติ
ราธ ธาตุจัดอยูในหมวด ทิว ธาตุ และ สุ ธาตุ สำหรับ ราธ ธาตุที่ลง
ในหมวด ทิ ว ธาตุ มีรูป เปนกัตตุวาจกว า อาราธยติ, อารชฺ ฌ ติ มีรูป เป น
เหตุกัตตุวาจกวา อาราเธติ, อาราธยติ, อาราธาเปติ๑
ทชฺชา (มงฺคล. ๒/๓๘๑/๒๙๗)
ทชฺชา ในคาถา ขอ ๓๘๑ แปลวา พึงให และแกอรรถวา ทเทยฺย, ทา
ธาตุ ในความให อ ปจจัย เอยฺย วิภัตติ แปลง ทา ธาตุ เปน ทชฺช๒ แปลง
เอยฺย เปน อา๓, ที่จริง ทชฺชา ลง ตฺวา และ ณฺย ปจจัยก็ได๔
ทชฺชา ทา ธาตุ ลง ตฺวา ปจจัย ไดรูปเปน ททิยฺย ในเพราะ ยฺย อักษร
เบื้ อ งหลั ง ให ล บสระ (ลบสระ อิ ที่ ทิ =ททฺ ยฺ ย ) เพราะพยั ญ ชนะสั ง โยค
ทั้งหลาย (๓ ตัว) ใหลบพยัญชนะสังโยคที่มีรูปเหมือนกัน (=ทยฺย) แปลง ทฺย
อักษรสังโยคเปน ชฺช (=ทชฺช) และทำทีฆะ สำเร็จรูปเปน ทชฺชา แปลวา ใหแลว
ทชฺชา ลง ณฺย ปจจัย (ทา+ณฺย ปจจัย) เทฺวภาว ทา (=ทาทาย) รัสสะ
ตัวหนา (=ททาย) ในเพราะ ย อักษรเบื้องหลัง ใหลบสระ (=ททฺย) แปลง ทฺย
เป น ชฺ ช (ทชฺ ช) ลง อา ป จ จัย เพราะเป น อิ ต ถี ลิ งค สำเร็ จ รู ป เป น ทชฺ ช า
แปลวา อันเขาพึงให เชน ทกฺขิณา ทชฺชา ฯ

๑ สั ท ทนี ติ ธ าตุ ม าลา,หน า ๖๐๖, พระมหานิ มิ ต ร ธมฺ ม สาโร และคณะ, วิ ช า


สั ม พั น ธไทย ธรรมบทภาคที่ ๗ ฉบั บ แก ไข/ปรั บ ปรุ ง, (กรุ งเทพฯ : ประยู ร สาส น ไทย
การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๑๔๖.
๒ รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๐๗.
๓ อธิบายบาลีไวยากรณ อาขยาต, หนา ๙๓.
๔ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๒๑๗-๒๒๐.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๖๕
ธมฺมสฺสวนกถา
-๐-

อหนิ=ในวัน (มงฺคล. ๒/๓๘๓/๓๐๐)


อหนิ ในขอวา ปฺ จเม ปฺจเม อหนิ ภวนฺติ ปฺจาหิ กํ ฯ [การฟ ง
ธรรมมีในวันที่ ๕ ๆ เหตุนั้นจึงชื่อวา ปญจาหิก]
อหนิ เป นปุ งลิงคแ ละนปุงสกลิงค ศัพทเดิมเปน อห ลง สฺมึ สัตตมี-
วิภัตติ เอกวจนะ แปลง สฺมึ กับ อ เปน นิ๑ แปลวา ในวัน
อห มีวิเคราะหวา ปจฺจาคมนํ น ชหาตีติ อหํ [กลางวันที่เวียนกลับมา
ไมเวน ชื่อวา อหะ] อาเทศ น เปน อ, ลบสระหนา๒

อุปปฺ ชฺชนฺตาปิ ...วุจฺจนฺติ (มงฺคล. ๒/๓๘๙/๓๐๔)


ขอ วา สภาคปฺ ป จฺจ ยวเสน ปุ น อุ ปฺ ป ชฺ ช นฺ ต าป ...วุ จฺ จนฺ ติ กิ จฺ จ -
สาธนวเสน ปวตฺตนโต ฯ ทานละขอความที่เหลือไว นักเรียนพึงนำขอความ
ขอ ๓๘๘ หนา ๓๐๓ มาเติม ดังนี้
สภาคปฺปจฺจยวเสน ปุน อุปฺปชฺชนฺตาป ตสฺมึ สมเย ภาวนาปาริปูรึ
คจฺฉนฺติ อิจฺเจว วุจฺจนฺติ กิจจฺ สาธนวเสน ปวตฺตนโต ฯ
[แม โพชฌงคที่ เกิ ด ขึ้ น ดว ยสามารถป จจัย มี ส ว นเสมอกั น พระผู มี -
พระภาค ยอมตรัสวา ในสมัยนั้นยอมถึงความเจริญเต็มที่ เพราะเปนไปดวย
สามารถยังกิจใหสำเร็จ]

๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๐๔ หนา ๒๘๖.


๒ อภิธานวรรณนา, คาถา ๖๗.
๖๖ มังคลัตถวิภาวินี

กุสโล เภริสทฺทสฺส, กุสโล สงฺขสทฺทสฺส (มงฺคล. ๒/๓๙๐/๓๐๕-๓๐๖)


เภริสทฺทสฺส ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ หนา ๓๐๕ และ สงฺขสทฺทสฺส
ในหนา ๓๐๖ ใหแปลหักฉัฏฐีวิภัตติเปนสัตตมีวิภัตติ แปลวา ในเสียงกลอง
และ ในเสียงสังข ดวยอำนาจ กุสล ศัพท
ทั้งนี้มีห ลักการทั่วไปวา ฉัฏฐีวิภัตติใชในอรรถแห งสัตตมีวิภัตติในที่
ประกอบดวยบทที่มีอรรถวา ฉลาด เปนตน๑

ปุตฺตกํ : ก ปัจจัยแปลได้หลายอย่าง (มงฺคล. ๒/๓๙๔/๓๑๐)


ก ปจจัย ในตัทธิต (ป จจัยนอกแบบ) ใชในอรรถว านอ ย เช น คำว า
ปุตฺตกํ แปลวา บุตรนอย
นอกจากนี้แลว ก ปจจัยยังใชในอรรถวา ไมดี นาเอ็นดู เปรียบเทียบ
นารังเกียจ และใชในอรรถสกัตถะ๒
แมคำวา หตฺถิโก ก็ลง ก ปจจัยใชในอรรถวาเปรียบเทียบ จึงแปลวา
ตุกตาชาง/เหมือนชาง
มา กโรสิ : วิธีการใช้ มา ปฏิเสธ (มงฺคล. ๒/๓๙๖/๓๑๒)
มา กโรสิ ในข อ ว า เถโร อาห อาวุ โส พุ ทฺ ธ รกฺ ขิ ต เอตฺ ต เกเนว
ปพฺพชิตกิจฺจ เม มตฺถกมฺปตฺตนฺติ สฺ มา กโรสีติ ฯ แปลวา [พระเถระ
กลาววา พุทธรักขิตผูมีอายุ คุณอยาทำความสำคัญวา กิจแหงบรรพชิตของ
เราถึงที่สุดแลวดวยเหตุเพียงเทานี้ทีเดียว]
นัก เรียนเห็ น ว า กโรสิ นี้ ลง สิ วัตตมานาวิ ภัตติ เพราะท านขึ้ น ตฺวํ
(คุณ) มาเปนประธาน ทำใหสงสัยตอไปอีกวา ทำไมตองใช มา ปฏิเสธกิริยา

๑ รูปสิทธฺ ิ. สูตร ๓๑๗; ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๐๒.


๒ โมคฺคลฺลาน. สูตร ๔.๔๐, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๘๓๕ หนา ๘๒๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๖๗
ที่เป นวัต ตมานาวิภัตติ เพราะเรียนกั น มาว า มา ปฏิ เสธกิ ริยาที่ ลงป ญ จมี
และอัชชัตตนีวิภัตติเทานั้น ฯ
ในขั้นแรกนี้ ขอใหนักเรียนทราบวา เปนความจริงวา ในชัน้ เรียนบาลี-
ไวยากรณ ตามหลักสูตรที่เรียนกันนี้ “มา ศัพท ปฏิเสธกิริยาหมวดปญจมี-
วิภัตติและอัชชัตตนีเทานั้น ใชกับกิริยาที่เปนวิภัตติอื่นไมได”๑ (นี้ถือวาเปน
หลั ก การทั่ ว ไป) สอดคล อ งกั บ สั ท ทนี ติ สุ ต ตมาลาว า มา ศั พ ท โดยมาก
ประกอบกับ กิริยาหมวดหิยัตตนีวิภัตติ และอัช ชัตตนีวิภั ตติ ประกอบกั บ
กิริยาหมวดปญจมีวิภัตติบาง๒
แตถึงอยางไรก็ตาม ปรากฏวา ทานใช มา ศัพท ปฏิเสธกิ ริยาหมวด
อื่ น ๆ นอกจากป ญ จมี วิ ภั ต ติ แ ละอั ช ชั ต ตนี วิ ภั ต ติ นั้ น บ า ง (นี้ ถื อ ว า เป น
ขอยกเวน) เชน
๑) มา ปฏิเสธกิริยาหมวดวัตตมานาวิภัตติ
มา เต อปฺ ป มตฺ ต กสฺ ส การณา มม อากาเส อุ ปฺ ป ตนํ รุ จฺจ ติ ...ฯ๓
[การเหาะขึ้นไป ในอากาศ แหงเรา เพราะเหตุแหงบาตร อันมีประมาณนอย
อันทาน อยาชอบใจอยู]
๒) มา ปฏิเสธกิริยาหมวดสัตตมีวิภัตติ
มา กเถยฺยาสิ...ฯ [ทาน อยาพึงกลาว], มา อาหเรยฺยาสิ...ฯ [เจา อยา
พึงนำมา]๔
๓) มา ปฏิเสธกิริยาหมวดปโรกขาวิภัตติ
มา เทว ปริเทเวสิ [ขอเดชะ พระองค อยาไดคร่ำครวญเลย]๕
๑ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อุภัยพากยปริวัตน, ขอ ๑๗.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๘๘๘-๘๘๙ หนา ๘๘๕.
๓ ธ.อ. ๖/๖๘. (ยมกปฺปาฏิหาริยวตฺถุ)
๔ ธ.อ. ๓/๖๒, ๖๙. (วิสาขาวตฺถุ)
๕ สัททนีติสุตตมาลา, หนา ๘๙๐.
๖๘ มังคลัตถวิภาวินี

สำหรับ คำว า กโรสิ นี้ ลง สิ วั ต ตมานาวิ ภั ตติ ดั งที่ ท านแจกรู ป ไว


ในสัททนีติธาตุมาลาวา กโรติ, กโรนฺติ, กโรสิ, กโรถ เปนตน สวน กร ธาตุที่
ประกอบหมวดอัชชัตตนีวิภัตติ ไดรูปเปน อกริ, กริ, อกาสิ, อกรุ, อกรึสุ
อกํสุ อกํสุ เปนตน๑
นักเรียนบางรูปบอกวา กโรสิ ในที่นี้ ไมไดลง สิ วัตตมานาวิภัตติ แต
ลง อี อัชชัต ตนีวิภัตติ ใชแ ทน โอ อัช ชั ตตนี วิภั ตติ [กร+โอ ป จจัยประจำ
หมวดธาตุ+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ใชแทน โอ อัชชัตตนีวิภัตติ] ดังที่ทานกลาววา
โอ อัชชัตตนีวิภัตติ ใช อี ปฐมบุรุษแทนโดยมาก๒
มํ น ปฏิภาติ : หักทุติยาเปนจตุตถีและฉัฏฐีวิภัตติ (มงฺคล. ๒/๓๙๗/๓๑๒)
ข อ ความว า เอกจฺ โ จ ปน อยํ คมฺ ภี โ ร สุ ณ นฺ ตํ มํ น ปฏิ ภ าตี ติ
คมฺภีรธมฺมํ น โสตุมิจฺฉติ ฯ
แปลกันวา “อนึ่ง กุลบุตรบางคนคิดวา ธรรมนี้ลึกซึ้ง ยอมไมแจมแจง
กะเรา ผูฟงอยู ดังนี้แลว ยอมไมปรารถนาจะฟงธรรมอันลึกซึ้ง”
มํ ในขอความดังกลาว ควรแปลวา ของเรา หรือ แกเรา ทั้งนี้เพราะมี
หลักการที่ทานแสดงในคัมภีรบาลีไวยากรณวา
ในที่ ป ระกอบด ว ย อนฺ ต รา (ระหว า ง), อภิ โ ต (ภายใน), ปริ โ ต
(โดยรอบ), ปติ (ใกล), และ ปฏิ หนา ภา ธาตุ (ปรากฏ) ใหทุติยาวิภัตติใชใน
อรรถฉัฏฐีวิภัตติ๓ เฉพาะขอวา มํ ปฏิภาติ นี้ทานแนะใหเพิ่มคำวา าณสฺส
เขามาแปล
ในที่นี้แปลใหมตามนัยคัมภีรบาลีไวยากรณ วา
๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๖๙๖, ๗๐๒.
๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค
ภาคที่ ๒ อาขยาต และกิตก, เชิงอรรถที่ ๓ หนา ๑๕๓.
๓ รูปสิทธฺ ิ. สูตร ๒๘๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๖๙
[อนึ่ง กุลบุตรบางคนคิดวา ธรรมนี้ลึกซึ้ง ยอมไมปรากฏ (แกญาณ)
ของเรา ผูฟงอยู ดังนี้แลว ยอมไมปรารถนาจะฟงธรรมอันลึกซึ้ง]
ถึงแมในคัม ภี รป ทรู ป สิทธิ เป น ต น ท า นกล าวว า ลงทุ ติ ยาวิ ภั ตติ ใน
อรรถของฉั ฏฐีวิภั ตติ โดยเพิ่ ม บทว า าณสฺ ส (แก ญ าณ) เข า มา สว นใน
คัมภีรอรรถกถาและฎีกา กลาววา ลงทุติยาวิภัตติในอรรถสัมปทาน (จตุตฺถี)
แปลใหมตามนัยอรรถกถาและฎีกาวา
[อนึ่ง กุลบุตรบางคนคิดวา ธรรมนี้ลึกซึ้ง ยอมไมปรากฏ แกเรา ผูฟง
อยู ดังนี้แลว ยอมไมปรารถนาจะฟงธรรมอันลึกซึ้ง]
ตัวอยางที่ทานแสดงไวในอรรถกถาและฎีกา เชน
อุปมา มํ อาวุโส สาริปุตฺต ปฏิภาตี ติ มยฺหํ อาวุโส สาริปุตฺต อุ ปมา
อุปาติ...ปฏิภาตุ ตนฺติ ตุยฺหํ ปฏิภาตุ อุปาตุ ฯ๑
[...ทานพระสารีบุตร ขอเปรียบเทียบปรากฏแกกระผม...จงปรากฏแก
ทาน]
พึงเห็นวา มํ ในที่นี้ทานแกเปน มยฺหํ สวน ตํ แกเปน ตุยฺหํ ฉะนั้นใน
ฎีกาทานจึงอธิบายตอไปอีกวา
มํ ตนฺติ จ อุปโยควจนํ ปฏิสทฺ ทโยเคนฯ อตฺโถ ปน สมฺป ทานเมวาติ
อาห มยฺหํ ตุยฺหนฺติ จ ฯ๒
[คำว า มํ ตํ ลงทุ ติ ย าวิ ภั ต ติ เพราะประกอบด ว ย ปฏิ ศั พ ท แต มี
ความหมายเปนสัมปทานเทานั้น ดังนั้น ทานจึงกลาววา มยฺหํ (แกกระผม)
ตุยฺหํ (แกทาน)]
ฉะนั้น มํ (ทุติยาวิภัตติ) ในที่ประกอบดวย ปฏิ นี้ จึงควรแปลวา แก
เรา (จตุตถีวิภัตติ) , หรือ ของเรา (ฉัฏฐีวิภัตติ)

๑ ม.อ. ๑/๒๕๗.
๒ ม.ฏี. ๑/๓๑๗.
๗๐ มังคลัตถวิภาวินี

กานนํ = ดง ป่ า หมู่ไม้ (มงฺคล. ๒/๓๙๗/๓๑๓)


กานนํ [ก+อนนํ] วิ. เกน ชเลน อนนํ ปาณนํ อสฺสาติ กานนํ ฯ [ปาที่
เปนอยูไดดวยน้ำ ชื่อวา กานนะ] (ลบสระหนา, ทีฆะสระหลัง) หรือ
กานนํ [กุ สทฺ เท +ยุ ] วิ. ต มชฺ ฌ นฺ ติ กสมเย กวติ สทฺ ทํ กโรตี ติ วา
กานนํ, โกกิลมยูราทโย กวนฺติ สทฺทายนฺติ กูชนฺติ เอตฺ ถาติ วา กานนํ ฯ
[ชื่อวา กานนะ เพราะมีเสียงดังในเวลาเที่ยงวัน อีกนัยหนึ่ง ชื่อวา กานนะ
เพราะเปนสถานที่รองของเหลาสัตวมีนกดุเหวาและนกยูง เปนตน] (ลบสระ
หนา, อาเทศ ยุ เปน อานน)๑
ปาทป=ต้นไม้ (มงฺคล. ๒/๓๙๗/๓๑๓)
ปาทป ในคำวา มหิรุหปาทปคหนสงฺขาต แปลตามรูปศัพทวา สิ่งที่
ดูดน้ำดวยราก หมายถึง ตนไม, วิ. ปาเทน มูเลน ปวตีติ ปาทโป๒ [ปาท+ปา
ธาตุ ในความดื่ม+อ ปจจัย] ธรรมชาติใดดื่มดวยเทาคือราก ธรรมชาตินั้นชื่อ
วา ปาทปะ
ปริปูเรนฺติ (เชน มงฺคล. ๒/๓๙๙/๓๑๖)
ปริปูเรนฺติ เปนไดทั้งกัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก ที่เปนกัตตุวาจกลง
เณ ปจจัยประจำหมวด จุร ธาตุ สวนที่เปนเหตุกัตตุวาจก จัดลงในหมวด ภู
ธาตุ ลง เณ ปจจัยในเหตุกัตตุวาจก๓
ปริปูเรนฺติ [ปริ+ปูร+เณ+อนฺติ] ปูร ธาตุ ในความเต็ม, ใหเต็ม (ปูรณมฺหิ)
ธาตุนี้จัดลงใน ๒ หมวดธาตุ คือ หมวด ภู ธาตุ และหมวด จุร ธาตุ๔
๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๕๓๖.
๒ อภิธานวรรณนา, คาถา ๕๓๙.
๓ พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับ
แกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๒๐๙.
๔ พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนา, พระราชปริยัติโมลี (อุปสโม) และคณะ ปริวรรต,
ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕), หนา ๒๕๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗๑
ปู ร ธาตุ ที่ จัด เข า ในหมวด จุ ร ธาตุ นั้ น ในกั ต ตุ วาจกลง เณ ป จ จั ย
ประจำหมวดธาตุ จึ งสำเร็จ เป น ปริ ปู เรนฺ ติ (ย อ มเต็ ม , ย อ มบริ บู รณ ) นี้
เปนกัตตุวาจก สวน ปูร ธาตุที่จัดเขาในหมวด จุร ธาตุ ในเหตุกัตตุวาจก ลง
ณาเป หรือ ณาปย ปจจัย ไดรูปเปน ปูราเปนฺติ หรือ ปูราปยนฺติ (ยอม..ให
เต็ม)
ปูร ธาตุที่จัดเขาในหมวด ภู ธาตุนั้น ในกัตตุวาจกลง อ ปจจัยประจำ
หมวดธาตุ จึงสำเร็จเปน ปริปูรนฺติ (ยอมเต็ม, ยอมบริบูรณ) นี้เปนกัตตุวาจก
สวน ปูร ธาตุที่จัดเขาในหมวด ภู ธาตุ ในเหตุกัตตุวาจก ลง เณ ณย ณาเป
ณาปย ปจจัย ไดรูปเปน ปริปูเรนฺติ, ปริปูรยนฺติ, ปริปูราเปนฺติ, ปริปูราปยนฺติ
(ยอมยัง...ใหเต็ม)
ฉะนั้น บทวา ปริปูเรนฺติ จึงเปนไดทั้งกั ตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก
นักศึกษาพึงสังเกตเนื้อความในที่นั้นๆ ใหดีวาควรแปลเปนวาจกอะไร

ทริโต (มงฺคล. ๒/๔๐๑/๓๑๗)


ทริโต [ทร เภทเน+อิ อาคม+ต] แปลวา อัน...ทำลายแลว, ในที่นี้ แปล
เอาความว า อั น น้ ำ เซาะแล ว , ดั ง ตั ว อย า งในข อ ว า กนฺ ติ ล ทฺ ธ นาเมน
อุทเกน ทริโต อุทกภินฺโน ปพฺพตปฺปเทโส [ประเทศแห งภูเขาอันน้ำ ที่ได
นามวา กํ เซาะแลว คือ อันน้ำทำลายแลว]
ในหนังสือธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ ทานแสดง ทร ธาตุ ลงในหมวด
ภู ธาตุ ใช ในความกลัว, เดือดรอน (ภยาทาเห) มี อา เปน บทหนา ใชใน
ความเอื้อเฟอ (อาทเร), ลงในหมวด ภู ธาตุ และ จุร ธาตุ ใชในความทำลาย
(เภทเน)๑

๑ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๑๘๓ หนา ๑๘๗.


๗๒ มังคลัตถวิภาวินี

อฏฺมคาถายตฺถวณฺณนา
ขนฺติกถา
-๐-

ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ : อักโกสวัตถุ ๑๐ (มงฺคล. ๒/๔๐๕/๓๒๐)


อัก โกสวั ต ถุ ๑๐ เรื่อ งสำหรับ ด า , ในอรรถกถาปริว าร ๑ แนะไว ว า
อักโกสวัตถุ มาในโอมสวาทสิกขาบท จึงตามไปดูที่ โอมสวาทสิกขาบทนั้น
ตามคำแนะนำ
โอมสวาทสิก ขาบท ว า “ภิ ก ษุ ก ล าวโอมสวาทแก ภิ ก ษุ ต อ งอาบั ติ
ปาจิตตีย แกอนุป สัม บัน ตองอาบัติทุกกฏ” (สิกขาบทที่ ๒ แห ง มุ สาวาท
วรรค ปาจิตติยกัณฑ)
คำพูดที่ เสียดแทงให เจ็บใจ ๑๐ อยาง ไดแก ๑. ชาติ ไดแก ชั้นหรือ
กำเนิดของคน ๒. ชื่อ ๓. โคตร คือตระกูลหรือแซ ๔. การงาน ๕. ศิลปะ
๖. โรค ๗. รูปพรรณ ๘. กิเลส ๙. อาบัติ ๑๐. คำดาอยางอื่นๆ๒
ตัวอยางคำดาที่มาใน เรื่อง อัตตโนปุพพกรรม ธัมมปทัฏฐกถาภาคที่
๗ และในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ นี๓้ วา
โจโรสิ พาโลสิ มูฬฺโหสิ โอโสิ โคโณสิ คทฺรโภสิ เนรยิโกสิ
ติรจฺฉานคโตสิ, นตฺถิ ตุยฺหํ สุคติ, ทุคฺคติเยว ตุยฺหํ ปาฏิกงฺขา
[เจาโจร เจาโง (พาล) เจาเซอ (หลง) เจาอูฐ เจาโค เจาลา เจาสัตว
นรก เจาสัตวดิรัจฉาน สุคติไมมีสำหรับเจาทุคติเทานั้นอันเจาพึงหวัง]

๑ วินย.อ. ๓/๕๒๖.
๒ วินย. ๒/๑๘๖/๑๖๔.
๓ ดูใน อตฺตโนวตฺถุ, ธ.อ. ๗/๑๓๖.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗๓
พหุ อตีตมทฺธาเน : พหุ ควรเป็ น อหุ (มงฺคล. ๒/๔๐๗/๓๒๒)
พหุ ในข อวา พหุ อตีตมทฺธาเน ไมตรงกั บขอความในพระไตรปฎก
นักศึกษาพึงแก พหุ (มาก) เปน อหุ (ไดมีแลว) ใหตรงกับพระไตรปฎกนั้น
เปน อหุ อตีตมทฺธาเน๑
อหุ ประกอบดวย อ อาคม หุ ธาตุ อ ปจจัย อี อัชชัตตนี ลงแลวลบ
หรือ อา หิยัตตนี รัสสะ๒ แปลวา ไดมีแลว
ยสฺสทานิ=ยสฺส อิทานิ (มงฺคล. ๒/๔๐๙/๓๒๔)
อาจารยบุ ญ สืบ อิน สาร ๓ แนะว า ยสฺ ส ทานิ ตั ด เป น ยสฺ ส -อิ ท านิ ,
เฉพาะ ยสฺส ตัดเปน โย-อสฺส, โย (คมนกาโล) กาลเปนที่ไปใด, อสฺส พึงมี,
ตฺวํ อ. ทาน มฺสิ จงสำคัญ (ยอมสำคัญ) (ตํ คมนกาลํ) ซึ่งกาลเปนที่ไปนั้น
ทุรุตฺตํ=คําพูดชัว (มงฺคล. ๒/๔๑๒/๓๒๖)
ทุรุ ตฺตํ [ทุ +ร +วจ+ต ] แปลว า คำพู ด ชั่ว เช น ในข อว า ปเรส ทุ กฺ ก ฏ
ทุรุตฺตฺจ ปฏิวิโรธากรเณน อตฺตโน อุปริ อาโรเปตฺวา วาสนตา ฯ [ความเปน
คืออันยกกรรมชั่ว และคำพูดชั่วของชนเหลาอื่นไวเหนือตนอดทนโดยไมทำ
การโกรธตอบ]
ทุรุตฺตํ ประกอบดวย ทุ บทหนา วจ ธาตุ ต ปจจัย แปลง ว เปน อุ,
แปลง จ เปน ตฺ ลง ร อาคม, บางมติวา ลง อุจ ธาตุ ในการออกเสียง๔, บาง
มติวา ลง รูป ธาตุ รัสสะ, แปลง ป เปน ตฺ๕
๑ ขุ.ชา. ๒๗/๕๕๒/๑๓๗.
๒ พจนานุกรมกิริยาอาขยาต ฉบับธรรมเจดีย, หนา ๓๓.
๓ บุญสืบ อินสาร, คูมือแปลมังคลทีปนี ภาค ๒, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ: สืบสาน
พุทธศาสน, ๒๕๕๖), เชิงอรรถ หนา ๒๕๒.
๔ โมคฺ. สูตร ๕.๑๑๑. ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๗ หนา ๒๘.
๕ พจนานุกรมกิริยากิตต ฉบับธรรมเจดีย, หนา ๒๑๔.
๗๔ มังคลัตถวิภาวินี

อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา: อักษรหาย ความหมายเปลี่ยน (มงฺคล. ๒/๔๑๖/๓๒๘)


เรื่องที่จะกลาวตอไปนี้ เปนปญหาของคำแปล ที่เกิดขึ้นเพราะคำบาลี
คลาดเคลื่อน คือขอความในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔๑๖ ไมตรงกั บ
ฎีกาซึ่งเปนตนแหลงที่ทานอาง
กอนอื่นขอนำขอความในขอ ๔๑๕ ซึ่งเปนอรรถกถามาแสดงไว เพื่อ
ประกอบการพิจารณาตอไป
อรรถกถาวา
เถโร อุณฺหภเยเนวมฺหิ อาวุโส อิธ นิสินฺโนติ อวีจิมหานิรยํ ปจฺจ-
เวกฺขิตวฺ า นิสีทิเยวฯ
[พระเถระกลาววา คุณ ผมนั่งในที่นี้ เพราะกลัวความรอนนั่นเอง ดังนี้
แลว ก็นั่งพิจารณาอเวจีมหานรกเรื่อยไป]
ตอ ไปเป น คำอธิ บ ายที่ พ ระฎี ก าจารย อ ธิ บ ายข อ ความข า งต น แต
คำอธิบายนั้น ในมังคลัตถทีปนีนี้ ตกหลนหายไป ทำใหมีปญหาในการแปล
ขอใหพิจารณาขอความเทียบกันทั้งในมังคลัตถทีปนี และในฎีกาดังนี้
มังคลัตถทีปนี ขอ ๔๑๖ วา
อุณฺหภเยเนว อาห อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวาติฯ...เอวํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา
[เพราะกลัวตอความรอนนั่นเอง พระเถระ จึงกลาว. สองบทวา อวีจิ-
มหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ไดแก พิจารณาอยางนี้วา...]
คำแปลนี้มีปญหาทีว่ า “อาห จึงกลาว” ซึ่งตองพิจารณาตอไป
ฎีกาวา
อุณฺหภเยเนวาติ นรกคฺคิอุณฺหภเยเนว. เตนาห "อวีจิมหานิรยํ ปจฺจ-
เวกฺขิตฺวา"ติ๑
๑ ม.ฏี. ๑/๒๑๓.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗๕
[บทวา อุณฺ หภเยเนว ได แก เพราะกลั วความรอนไฟนรกนั่ น เอง ฯ
เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารยจึงกลาววา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ดังนี้]
เมื่ อ เทียบกับ ฎีก าแลว ก็ เห็ น ไดทัน ที วา อิ ติ นรกคฺ คิ อุณฺ หภเยเนว.
เตน ไมปรากฏในมังคลัตถทีปนี บัณฑิตจะยอมรับหรือไมวา หลายบทนี้ตก
หลน หลายไป ขอให พิจารณาตอไปอี ก ที่ วามี ป ญ หาในการแปลนั้ น คือมี
ปญหาตรงไหน และอยางไร
ถาไดยอมรับวา ขอความภาษาบาลีในมังคลัตถทีปนีตกหลนหายไป ก็
ตองยอมรับในขั้นตอไปวา เมื่อขอความบาลีไมสมบูรณ คำแปลก็มักมีปญหา
ตามไปดวย
ขอความนี้ มีผแู ปลไวหลายสำนวน จึงขอนำมาพิจารณาอยางนอย ๒
สำนวน (นับสำนวนฎีกาเปน ๓)
สํานวนที ๑ (คำบาลีตรงกับมังคลัตถทีปนี)
อุณฺหภเยเนว อาห อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวาติ ฯ...เอวํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา
[เพราะกลั ว ต อ ความร อนนั่ น เอง พระเถระ จึ ง กล า ว ฯ สองบทว า
อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ไดแก พิจารณาอยางนี้วา... ]
ผูแปลแนะไววา ใหยายเครื่องหมาย “ ฯ ” หลัง ปจฺจเวกฺขิตฺวา ไปวาง
หลัง อาห (โดยนัยวา จบประโยคที่ อาห)
คำแปลนี้มีปญหาตรงที่วา พระเถระ จึงกลาว ฯ (จบประโยค) เพราะ
ผิดความนิยมการใช อาห
มีหลักวา ทานใช อาห ในการกลาวสนทนาโตตอบกันและมี อิติ รับ๑
คือใช อาห เปนกิริยาสำหรับเปด อิ ติ เขาเลขใน๒ ในคำแปลนี้ทานแปลวา
๑ พระธรรมกิตติวงศ, หลักการแปลไทยเปนมคธ, (กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง, ๒๕๔๑),
หนา ๒๑๐.
๒ ที่ไมมี อิติ มารับ เชน ๑. โสป ตเถวาห (ธ.อ. ๑/๘๑) ๒. กลฺยาณํ เทวทตฺโต อาห
(ธ.อ. ๑/๑๓๒)
๗๖ มังคลัตถวิภาวินี

พระเถระ จึงกลาวฯ ไมมี อิติ “วา” มารับตอเลย ฉะนั้น ถาแปลตามสำนวน


นี้ก็ตองยอม “ผิดความนิยม”
อนึ่ง คำวา กลัวตอ ถาถือเครงครัดแลว ควรแปลวา กลัวแต คือแปล
หักฉัฏฐีวิภัตติเปนปญจมีวิภัตติในที่ประกอบดวยศัพทที่มีอรรถวาเสื่อม และ
กลัว (ปริหานิภยตฺถโยเค)๑
สํานวนที ๒ (คำบาลีตรงกับมังคลัตถทีปนี)
อุณฺหภเยเนว อาห อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวาติ ฯ...เอวํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา
[พระเถระกลาววา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ดังนี้ เพราะกลัวความ
รอนนั่นเอง ฯ อธิบายวา (พระเถระ) พิจารณาอยางนี้วา...]
อาจารย ผู แ ปลสำนวนนี้ คงเห็ น ข อ บกพร อ งของสำนวนที่ ๑ จึ ง
พยายามยักเยื้องหาทางออก โดยใช อาห เปดถอยหลังเขาไปใน อิติ วา พระ
เถระกลาววา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ดังนี้ และแปลประโยคตอไปวา
อธิบายวา (พระเถระ) พิจารณาอยางนี้วา...ฯ
ทานแปลอยางนี้ก็เปนอันวาหมดปญหาเรื่องการใช อาห และไมตอง
ยายเครื่องหมาย “ ฯ ” ไปหลัง อาห, ซึ่งทานคงเห็นวาวางไวถูกแลว
อยางไรก็ตาม ถึงแปลสำนวนที่ ๒ นี้ ก็ยังมีปญหาอยูอีก คือมีปญหา
ตรงที่ พระเถระกลาว วา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิ ตฺวา ดังนี้ เพราะคำวา
อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา ไมใชคำกลาวของเถระ แตเปนคำกลาวของผู
เลาเรื่องคือพระอรรถกถาจารย ขอใหกลับไปดูที่มาของศัพทในอรรถกถาอีก
ครั้งวา
เถโร อุ ณฺ หภเยเนวมฺ หิ อาวุ โ ส อิ ธ นิ สิ นฺ โ นติ อวี จิ ม หานิ ร ยํ
ปจฺจเวกฺขิตฺวา นิสีทิเยวฯ [พระเถระกลาววา “คุณ ผมนั่งในที่นี้ เพราะกลัว
ความรอนนั่นเอง” ดังนี้แลว ก็นั่งพิจารณาอเวจีมหานรกเรื่อยไป]

๑ รูปสิทฺธ.ิ สูตร ๓๑๘.


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗๗
ที่ จริง คำพู ด ของพระเถระมี เพี ยงว า อุ ณฺ ห ภเยเนวมฺ หิ อาวุ โส อิ ธ
นิสินฺโนติ [คุณ ผมนั่งในที่นี้ เพราะกลัวความรอนนั่นเอง] สวนคำวา อวีจิ-
มหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา นิสีทิเยวฯ [ก็นั่งพิจารณาอเวจีมหานรกเรื่อยไปฯ] นี้
เปนคำกลาวของผูเลาเรือ่ งคือพระอรรถกถาจารย ฉะนั้น ถาแปลตามสำนวน
ที่ ๒ นี้ก็ตองยอม “ผิดความหมาย”
แตบางทานอาจจะแยงตอไปอีกวา ถาอยางนั้นก็เปลี่ยนคำแปลจาก
เดิมว า [พระเถระกลาววา อวีจิม หานิ รยํ ปจฺ จเวกฺ ขิตฺ วา ดั งนี้ เพราะกลั ว
ความรอนนั่นเอง ฯ] เปลี่ยนประธานใหมใหเปน
[พระอรรถกถาจารย กล า วว า อวี จิ ม หานิ ร ยํ ปจฺ จเวกฺ ขิ ตฺ ว า ดั ง นี้
เพราะกลัวความรอนนั่นเอง ฯ]
ขอแย งนี้ก็มีปญ หาอีก เพราะคำวา อุ ณฺห ภเยเนว [เพราะกลัวความ
รอนนั่นเอง] เปนเหตุใหพระเถระนั่งพิจารณาอเวจีมหานรก ไมใชเปนเหตุให
พระเถระหรือพระอรรถกถาจารยกลาวคำวา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา
นี้ก็ “ผิดความหมาย”
สำนวนที่ ๓ (สำนวนฎีกา คำบาลีตางจากมังคลัตถทีปนี)
อุณฺหภเยเนวาติ นรกคฺคิอุณฺหภเยเนว. เตนาห "อวีจิมหานิรยํ ปจฺจ-
เวกฺขิตฺวา"ติ๑
[บทวา อุณฺหภเยเนว ไดแก เพราะกลัวความรอนแหงไฟนรกนั่นเอง ฯ
เพราะเหตุนั้น พระอรรถกถาจารยจึงกลาววา อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา
ดังนี้]
สำนวนนี้ไมมีปญหาเรื่องความนิยมและความหมาย แตมีปญหาที่ คำ
บาลีไม ตรงกั บ หนั งสื อเรียน ซึ่งอาจารย ผู ตรวจข อสอบอาจจะถื อว าแปล
ขอความอื่นจากหนังสือเรียนก็ได

๑ ม.ฏี. ๑/๒๑๓.
๗๘ มังคลัตถวิภาวินี

นี้เปนตัวอยางที่บอกชัดวา เมื่อคำบาลีตกหลนเพียงเล็กนอย หรือไม


ตรงกันเพียงบางสวน ก็เปนเหตุใหคำแปลมีปญหาตามไปดวย และยิ่งแกไข
ก็ยิ่งยุงกันใหญ ผูศึกษาจึงพึงระลึกเสมอวา จะศึกษาดวยความระมัดระวัง
ที่แ สดงนี้ มิไดมุงหมายกลา วตู ห รื อว าร ายท านที่ แปลไวก อ นนั้ น ว า
ผิดพลาด ในทางตรงกันขามกลับมีแตขอบพระคุณที่ทานทำงานแปลไวให
ศึกษาดวยความเพียรพยายามและปรารถนาดี บนฐานของขอมูลที่ทานทำไว
นั้น ผูทำงานในยุคหลังก็ยอมมีโอกาสเห็นสวนที่ตองเติมไดมากกวา
ถึงตอนนี้จึงเปนภาระของครูอาจารยและนักเรียนจะรวมกันพิจารณา
และเลือกทางออกที่ดีที่สุด โดยตั้งอยูบนฐานของความรูเทาทันขอมูล และ
ศรัทธาที่มีตอการศึกษาเพื่อรักษาพระศาสนา

วโจ : แปลง อํ ทุติยาวิภตั ติ เป็ น โอ (มงฺคล. ๒/๔๒๗/๓๓๓)


วโจ ในขอวา ภยา หิ เสสฺส วโจ ขเมถ [บุคคล พึงอดทนถอยคำ
ของผูประเสริฐได เพราะความกลัวแล]
วโจ ศัพทเดิมเปน วจ จัดเขาใน มโนคณะ, ลง อํ ทุติยาวิภัตติ แปลง
อํ เปน โอ๑, ตัวอยางที่นักเรียนคุนเคย เชน ยโส ลทฺธา น มชฺเชยฺย.

ตสฺสา อตฺถิตายาติ (มงฺคล. ๒/๔๓๐/๓๓๖)


ตสฺ ส า ในที่ นี้ นั ก ศึ ก ษาควรโยค ปุ น ปฺ ปุ นํ อุ ปฺ ป นฺ น าย ขนฺ ติ ย า,
เพื่อใหแปลไดงาย ควรประกอบศัพท ดังตอไปนี้
ตสฺสา อตฺถิตายาติ ตสฺสา [ปุนปฺปนุ ํ อุปฺปนฺนาย ขนฺติยา] อปรา-
ปรุปฺปตฺติสมุปจิตาย มารเสนาวิธมนิยา ขนฺติเสนาย อตฺถิตาย ฯ

๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๗๗ หนา ๒๖๙.


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗๙
พึงไข ตสฺส า [ปุนปฺปุนํ อุปฺปนฺนาย ขนฺติยาย] ที่ขึ้น มาใหมนั้น ไปที่
อปราปรุปฺปตฺติสมุปจิตาย มารเสนาวิธมนิยา ขนฺติเสนาย ทั้งสองชุดเปน
ภาวาทิสมฺพนฺธ ใน อตฺถิตาย

ขตฺติยวคฺคฏีกา (มงฺคล. ๒/๔๓๐/๓๓๖)


นักเรียนสงสัยวา ขัตติยวรรค ที่ทานกลาวถึงในมังคลัตถทีปนีนี้ มา
จากคัมภีรไหน
ขอความในมังคลัตถทีปนีวา จกฺกาทิติกํ สามฺเน เสนายํ เสนงฺเค
จ ฯ กริ ย เต วิ คฺ ค โห เยนาติ จกฺ กํ ฯ พล สํ ว รเณ ฯ อน สทฺ เท อี โ กติ
ขตฺติยวคฺคฏีกา ฯ๑
[ฎีกาขัตติยวรรค วา ศัพท ๓ ศัพท มี จกฺก ศัพท เปนตน ยอมเปนไป
ในเสนาดวย ในองคแหงเสนาดวย โดยความเสมอกัน ฯ การชิงชัย อันเสนา
ยอมกระทำ ดวยวัตถุใด เหตุนั้น วัตถุนั้น จึงชื่อวา จักร ฯ พล ธาตุ ในความ
ปองกัน ฯ อน ธาตุ ในความสงเสียง ลง อีก ปจจัย]
คำวา ขัตติยวรรค ที่พระสิริมังคลาจารย อางในมังคลัตถทีปนีนั้น ก็
คือ ขั ตติ ย วรรค แห งคั ม ภีรอ ภิธานั ป ปที ป ก า นั่ น เอง เฉพาะเรื่ อง จกฺ ก
เปนตนนี้ มาในคาถาที่ ๓๘๑ แหงคัมภีรอภิธานัปปทีปกา
นั ก ศึ ก ษาพึ ง ทราบว า คั ม ภี รอ ภิ ธ านั ป ปที ป ก านี้ มี คั ม ภี ร อ ธิ บ าย
เรีย กว า อภิ ธานปฺ ป ที ป กาฏีก า๒ ซึ่ งฎี ก านี้ สมเด็ จพระวั น รัต (เขมจารี)๓
เรียกชื่อวา จตุรงฺคธารินี
๑ ธาน.ฏีกา. ๑/๓๘๑/๒๗๑.
๒ อภิ ธานปฺ ป ที ป กาฏี ก า ที่ใชในไทย พระศรี สุ ทธิ พงศ วั ดชนะสงคราม ปริ วรรต,
วัดปากน้ำ จัดพิมพ พ.ศ. ๒๕๒๗
๓ สมเด็ จ พระวัน รั ต (เขมจารีม หาเถระ), มั งคลั ตถที ป นี ยกศั พ ท แปล คาถาที่ ๘,
(กรุงเทพฯ : ส. ธรรมภักดี, ๒๔๙๗?), หนา ๕๐.
๘๐ มังคลัตถวิภาวินี

จกฺกาทิติกํ (มงฺคล. ๒/๔๓๐/๓๓๖)


นักเรียนสงสัยวา “ศัพท ๓ ศัพท มี จกฺก ศัพท เป นตน ” นั้น เมื่อมี
เปนตน ก็ตองมีทามกลางและที่สุด ในที่นี้มีอะไรเปนทามกลางและที่สุด
อาทิ ศัพท ในคำวา จกฺกาทิติกํ [จกฺก+อาทิ+ติก] ที่แปลวา “ศัพท ๓
ศัพท มี จกฺก ศัพท เปนตน” รวมศัพทวา พล และ อนีก เขาไปดวยจึงเปน
๓ ศัพท (คือ จกฺก พล และ อนีก)
ในคาถาที่ ๓๘๑ แหงคัมภีรอภิธานัปปทีปกา วา
วาหินี ธชินี เสนา จมู จกฺกํ พลํ ตถา
อนีโก วาถ วินยฺ าโส พฺยูโห เสนาย กถฺยเต ฯ๑
เฉพาะศัพทนามนาม ในคาถานี้ ถาเริ่มนับ จกฺกํ เปนที่ ๑ ก็จะมี พลํ
เปนที่ ๒ และ อนีโก เปนที่ ๓ [ไมนับ ตถา]
จึงตอบนักเรียนวา จกฺก ศัพท เปนตน มี พล ศัพทเปนทามกลาง และ
อนีก ศัพท เปนที่สุด
ฉะนั้ นในข อ วา จกฺกาทิติ กํ สามฺ เน เสนายํ เสนงฺเค จ ฯ โดย
สาระสำคัญ สื่อความไทยวา จกฺก พล และ อนีก นี้มีความหมายเหมือนกัน
วา “กองทัพ” และ “องคประกอบกองทัพ” ตอจากนั้นทานก็วิเคราะห จกฺก
ศัพท และบอกธาตุ/ปจจัยของ พล และ อนีก
ตสฺเสว เตน ปาปิ โย (มงฺคล. ๒/๔๓๑/๓๓๖)
ในคาถาวา
ตสฺเสว เตน ปาปโย โย กุทฺธํ ปฏิกุชฺฌติ
กุทฺธํ อปฺปฏิกุชฺฌนฺโต สงฺคามํ เชติ ทุชฺชยํ ฯ
ตสฺเสว วิเสสนะของ ปุคฺคลสฺส ดวยอำนาจบทวา ปาป โย จึงแปล
ตสฺเสว ปุคฺคลสฺส ซึ่งเปนฉัฏฐีวิภัตติใชในอรรถปญ จมีวิภัตติ แปลวา กวา

๑ อภิธานัปปทีปกา, คาถา ๓๘๑.


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๘๑
บุ ค คลนั้ น เสี ย อี ก (ฎี ก าว า ตสฺ เสว โยคบทว า ปฏิ กุ ชฺ ฌ นกสฺ ส ขอให ดู
คำอธิบายบทวา ปาปกตรสฺส มติที่ ๒ ตอจากนี้)
ทั้งนี้ มีหลักการหักฉัฏฐีวิภัตติเปนปญ จมีวิภัตติวา เมื่อมีคุณนามชั้น
วิเสส อติวิเสส และเสฏฐตัทธิต ตลอดถึง มีศัพทจำพวกที่แปลวา “เลิศ”
เชน อคฺค, “ประเสริฐ” เชน วร, ปวร, วุฑฺฒ บังคับฉัฏฐีวิภัตติใหลงในอรรถ
แหงปญจมีวิภัตติ แปลวา กวา๑
ปาปโย ในคาถานี้ หนังสือบางเลม ทานแปลวา ความลามก เพราะ
ทานถือตามอรรถกถาวา ปาป โหติ กตรสฺสาติ แตอรรถกถาที่ถูกคัดมาใน
หนังสือมังคลัตถทีปนีนี้เปน ปาปกตรสฺส ดังจะอธิบายตอไป
ปาปกตรสฺส (มงฺคล. ๒/๔๓๑/๓๓๗)
คำว า ปาปกตรสฺ ส ในข อ ว า เตน โกเธน ตสฺ เ สว ปุ คฺ ค ลสฺ ส
ปาปกตรสฺส โย กุทฺธํ ปฏิกุชฺฌติ มีประเด็นที่ตองพิจารณา ๒ มติ คือ
๑) ปาปกตรสฺส ตัดบทเปน ปาปกตโร อสฺส
๒) ปาปกตรสฺส ตัดบทเปน ปาป กตรสฺส
มติที่ ๑ ในขอวา เตน โกเธน ตสฺเสว ปุคฺคลสฺส ปาปกตรสฺส คำวา
ปาปกตรสฺส ตัดบทเปน ปาปกตโร-อสฺส การตัดบทเชนนี้ มีปรากฏอยูบาง
เชน ยตสฺส =ยโต อสฺส ฯ ๒ ทานทำเชิ งอรรถบอกว า ปาปกตรสฺ ส ตา งกั บ
อรรถกถาสารัตถปกาสินี
สวนสองบทวา ตสฺเสว ปุคฺคลสฺส เปนฉัฏฐีวิภัตติ ใชในอรรถปญจมี-
วิภั ต ติ แปลว า กวาบุ ค คลผู โกรธนั้ น เสี ย อี ก , ถ าถื อ ตามมติ นี้ ต องขึ้น โส
ปฏิกุชฺฌนโก มาเปนประธาน และ เรียงประโยคใหเต็มวา
๑ พระราชเวที (สมพงษ พฺรหฺมวํโส), คูมือแปลมคธเปนไทย, (กรุงเทพฯ: วัดเบญจม-
บพิตร, ๒๕๔๗), หนา ๔๐.
๒ วินย.อ. ๒/๒๐๕; วินย. โย.๑/๕๔๗.
๘๒ มังคลัตถวิภาวินี

(โส ปฏิกุชฺฌนโก) เตน โกเธน ตสฺเสว ปุคฺคลสฺส ปาปกตโร อสฺส,


โย กุทฺธํ ปฏิกุชฺฌติ ฯ
[ผูใดโกรธตอบบุคคลผูโกรธ, ผูโกรธตอบนั้น พึงเปนผูเลวกวาบุคคลผู
โกรธนั้นเสียอีก เพราะความโกรธนั้น]
มตินี้ไมตรงกับ อรรถกถาและฎีกา แตนิยมแปลกันในป จจุบัน ขอให
ศึกษา มติที่ ๒ ตอไป
มติที ๒ ในอาคตสถาน คืออรรถกถาชื่อสารัตถปกาสินีทานวาตาง
ออกไปว า ปาปกตรสฺ ส ในที่ นี้ คื อ ปาป +กตรสฺ ส เรี ย งเต็ ม ประโยคว า
เตน โกเธน ตสฺ เสว ปุคฺคลสฺ ส ปาป โหติ ฯ กตรสฺ ส าติ ฯ โย กุ ทฺ ธํ
ปฏิกุชฺฌติ ฯ๑
ในฎีกาทานแนะไวตอไปอีกวาให ตสฺเสว โยค ปฏิกุชฺฌนกสฺส๒ จึงเรียง
ใหมตามฎีกาวา
เตน โกเธน ตสฺเสว ปฏิกุชฺฌนกสฺส ปุคฺคลสฺส ปาป โหติ ฯ กตรสฺสาติ ฯ
โย กุทฺธํ ปฏิกุชฺฌติ ฯ
ถาถือตามมตินี้ ก็ให ปาป เปนประธานไดเลย ในมังคลัตถทีปนีแปล
ฉบับมหาธาตุวิทยาลัย ทานแปลตามมติอรรถกถานี้ และฉบับ มมร. แปล ก็
แปลตามมตินี้ในเชิงอรรถวา
[ความลามกยอมมีแกบุ คคลผูโกรธตอบนั้นนั่นแล เพราะความโกรธ
นั้น ฯ ถามวา แกใคร ฯ แกวา แกบุคคลผูโกรธตอบ]
แปลตามมตินี้อีกสำนวนวา
[ปาปย อมมี แ ก บุ ค คลนั้ น นั่ น แหละ เพราะความโกรธนั้ น ฯ ถามว า
ปาปมีแก ใคร ฯ ตอบวา บุคคลใดโกรธตอบ (บาปยอมมีแกบุ คคลนั้น ) ฯ]
โบราณเรียกวา “แปลประโยคงวงชาง” (นาคโสณฺฑิ)
๑ สํ.อ. ๑/๔๖๕.
๒ สํ.ฏี. ๑/๓๕๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๘๓
ตตฺถฏฺิโตเยว (มงฺคล. ๒/๔๓๒/๓๓๗)
ตตฺ ถ   โ ตเยว ตั ด บทเป น ตตฺ ถ +โ ต +เอว, ในคำนั้ น ตตฺ ถ โยค
อธิวาสนกฺขนฺติยํ แปลวา “ในอธิวาสนขันตินั้น”
เวเทหิกา (มงฺคล. ๒/๔๓๒/๓๓๗)
คำวา เวเทหิกา เปนคำเรียกชาววิ เทหรัฐ หรือหมายถึง ผูที่ ดำเนิ น
ชีวิตดวยปญญา ดังที่อรรถกถาอธิบายวา
เวเท หิ กาติ วิ เ ทห ร วาสิ ก สฺ ส กุ ล สฺ ส ธี ต า, อถวา เวโทติ
ปฺา วุจฺจติ, เวเทน อีหติ อิริยตีติ เวเทหิกา ปณฺฑิตาติ อตฺโถ๑
[บทวา เวเทหิกา นี้เปนชื่อกุลธิดาผูอาศัยอยูในเวเทหรัฐ, อีกอยาง-
หนึ่ง ทานเรียกปญญาวาเวทะ, หญิงใดยอมไป ยอมดำเนินไป ดวยปญญา
เหตุนั้น หญิงนั้นชื่อวา เวเทหิกา อธิบายวา บัณฑิต]
คหปตานี (มงฺคล. ๒/๔๓๒/๓๓๗)
คหปตานี อิต. [คห+ปติ+อินี] ผูเปนใหญในเรือน, แมเจาเรือน, ดวย
อำนาจ อินี ปจจัย (ปจจัยประกอบศัพทใหเปนอิตถีลิงค) เอา อิ ที่ ปติ เปน
อ, คหปต+อินี ลบสระหลัง ทีฆะสระหนา)๒
วิ. คณฺหาติ ปุริเสน อานีตํ ธนนฺติ คหํ [คห อุปาทาเน+อ]
วิ. ปริวารํ ปาติ รกฺขตีติ ปติ [ปา รกฺขเณ+ติ] หรือ๓
วิ. คเห ปติ คหปติ, ใน อิต. ลง อินี เปน คหปตานี
อรรถกถาและฎี ก าแก ว า คหปตานี ติ ฆรสามิ นี เคหสามิ นี ฯ๔
คหปตานี คือ ผูเปนใหญในเรือน ฯ

๑ ม.อ. ๒/๑๖๖.
๒ กจฺจายน. สูตร ๙๑, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๒๔๘ หนา ๑๙๔.
๓ อภิธานวรรณนา, คาถา ๒๐๖, ๗๒๕.
๔ ม.อ. ๒/๑๖๖, ม.ฏี. ๒/๙๘.
๘๔ มังคลัตถวิภาวินี

อผาสุ, อผาสุกํ (มงฺคล. ๒/๔๓๒/๓๓๗)


อผาสุ (อิต.) [น+ผส สิเนหเน+ณุ] ความสบาย, ความสุข
วิ. ผสฺสติ สิเนหตีติ ผาสุ (ลบ ณฺ แปลง อ ที่ ผ เป น อา) ผุสติ วา
พาธติ ทุกฺขนฺติ ผาสุ (ผุส พาธเน+อุ, อาเทศ อุ เปน อา) ๑
วิ. น ผาสุ อผาสุ
อผาสุกํ (นปุ.) อผาสุ+ก สกตฺถ
อยฺเย ในคำวา ปสฺสถยฺเย (มงฺคล. ๒/๔๓๒/๓๓๘)
อยฺ เ ย ในคำว า ปสฺ ส ถยฺ เ ย ท า นแปลเป น พหุ ว จนะ ว า คุ ณ แม
ทั้งหลาย, แมเจาทั้งหลาย, แมพอทั้งหลาย, ทำไมทานแปล อยฺเย เปนพหุ-
วจนะ หนังสือแปล ฉบับมหาธาตุวิทยาลัย แปลเปนเอกวจนะวา ดูกอนแมเจา
เรี ยนกั นมาว า อยฺเย เปน อาลปนะ เอกวจนะ เดิ ม เป น อยฺย า เป น
อิตถีลิงค แจกแบบ กฺา๒ เมื่อใชเปนอาลปนะ เอก. ไดรูปเปน อยฺเย-ขา
แตแมเจา, พหุ. อยฺยาโย อยฺยา-ขาแตแมเจาทั้งหลาย เชน
อยฺ เ ย ปพฺ พ ตเทวเต สจาหํ สามิ เกน สทฺ ธึ อโรคา ชี วิ ตํ ลภิ สฺ ส ามิ
พลิกมฺมํ เต กริสฺสามิ...ฯ๓
อุทฺทิา โข อยฺยาโย อ ปาราชิกา ธมฺมา...ตตฺถยฺยาโย ปุ จฺฉามิ
กจฺจิตฺถ ปริสุทฺธา ฯ๔
แตในที่นี้ทานใช อยฺเย เสมือนเปนพหุวจนะ, เปนไปไดหรือไมวา (๑)
อยฺยา เมื่อใชเปนอาลปนะ ในอิตถีลิงคทานแปลงวิภัตติทั้งสองฝายเปน เอ
ซึ่งเทียบกับ ปุงลิงค ที่ทานแปลงเปน โอ ดังจะแสดงตอไป (๒) เป น ไปได
หรือไมวา ทานใช อยฺเย เปนนิบาต เหมือน ภทฺเท ซึ่งใชไดทั้งเอกวจนะและ
๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๘๘.
๒ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, หนา ๙๔.
๓ มงฺคล. ๒/๓๗๒/๒๘๓.
๔ วินย. ๓/๓๐/๒๒.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๘๕
พหุ ว จนะ (๓) เป น ไปได ห รือ ไม ว า ประโยคนี้ ค วามจริ ง ก็ เป น เอกวจนะ
นั่นแหละ แตทานใชในความเคารพจึงใชกิริยาคุมพากยวา ปสฺสถ โดยแยก
พูดกันทีละคน ขอฝากใหศึกษากันตอไป
สวน อยฺย ที่เปนปุงลิงคนั้น ในสัททนีต๑ิ ทานอธิบายวา อยฺย ศัพท ใน
ปุงลิงค เมื่อใชเปน อาลปนะ ใหแปลงวิภัตติทั้งฝายเอกวจนะและพหุวจนะ
เปน โอ เชน โภ อยฺโย ตฺวํ คจฺฉ, ภวนฺโต อยฺโย ตุมฺเห คจฺฉถ ฯ๒
ยโต=ยทา (มงฺคล. ๒/๔๓๓/๓๓๘)
ในข อ ๔๓๓ พึ ง เพิ่ ม น ปฏิ เสธ เข า ไปในข อ ว า ยาว ตํ อมนาปา
วจนปถา ผุสนฺ ติ ใหตรงกับ ขอ ความในพระไตรป ฎกว า ยาว น อมนาปา
วจนปถา ผุสนฺติ ฯ๓ (ไมมี ตํ) ยโต และ อถ ใชในกาล เปน ยทา และ ตทา
โสรโต (มงฺคล. ๒/๔๓๔/๓๓๘)
ในขอวา โสรตโสรโตติ เปนตน นักศึกษาควรขึ้น โหติ มาหลัง โสรโต
เปน อติวิย โสรโต โหติ และแปลไขไปจนถึง วตฺตพฺพตํ อาปชฺชติ
กุรุรา/กุรูรา (มงฺคล. ๒/๔๓๔/๓๓๘)
คำวา กุรุรา ในขอวา กิมฺพิสาติ กุรุรา ฯ [บทวา กิมฺพิสา ไดแก ต่ำชา]
ตางกับฎีกานิดหนอย คือในฎีกาวา กิพฺพิสาติ กุรูรา ฯ (ม.ฏี. ๒/๙๘)
กุ รู ร า วิ เ คราะห ว า อกฺ โ กสตี ติ กุ รู ร า (อิ ตฺ ถี ) [กุ ร ธาตุ อกฺ โ กเส
ในความดา+อูร ปจจัย] สตรีที่ดาชื่อวา กุรูรา (ผูดา, ผูหยาบคาย)
กิพฺพิสํ กโรตีติ กุรูรา (อิตฺถี) [กร ธาตุ วเธ/หึสายํ ในความเบียดเบียน+
อูร ปจจัย, อาเทศ อ เปน อุ] สตรีที่ทำรายชื่อวา กุรูรา (ผูชั่วชา)๔
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๘๓ หนา ๓๓๘.
๒ สุภ าพรรณ ณ บางชาง, รองศาสตราจารย, ดร., ไวยากรณ บาลี, พิมพครั้งที่ ๒,
(กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๒๐๒.
๓ ม.มู. ๑๒/๒๖๖/๒๕๕.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๓๑๖, โมคฺ. สูตร ๗.๑๗๒, อภิธานวรรณนา, คาถา ๗๑๔.
๘๖ มังคลัตถวิภาวินี

โสวจสฺสตากถา
-๐-
สุวโจ (ปุ.) (มงฺคล. ๒/๔๓๕/๓๔๐)
วิ. สุเขน วตฺตพฺโพ อนุสาสิตพฺโพติ สุวโจ (ปุคฺคโล) [สุ+วจ+ข] บุคคล
อันเขาพึงกลาวคือพึงสั่งสอนไดโดยงาย ชื่อวา สุวโจ

โสวจสฺสํ (มงฺคล. ๒/๔๓๕/๓๔๐)


วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ (นปุ.) [สุวจ+ณฺย] แปลง อุ เปน โอ ลบ ณฺ
ลง สฺ อาคม แปลง ย เปน ส หรือ แปลง สฺย เปน สฺส๑

โสวจสฺสตา (มงฺคล. ๒/๔๓๕/๓๔๐)


วิ. โสวจสฺสสฺส ภาโว โสวจสฺสตา (อิตฺ) [โสวจสฺส+ตา]

ปุรกฺขิตฺวา (มงฺคล. ๒/๔๓๕/๓๔๐)


ปุ รกฺขิตฺว า [ปุร+กร+อิ+ตฺวา] แปลง กร เปน ข ธาตุ ซอน กฺ ลง อิ
อาคม๒
วิปฺปจฺ จนีกสาเต : ทันตเฉทนนัย/ทันตโสธนนัย (มงฺคล. ๒/๔๓๕/๓๔๐)
วิ. วิปฺปจฺจนีกฺจ ตํ สาตฺจาติ วิปฺปจฺจนีกสาตํ (กมฺมํ)
วิ. วิปฺปจฺจนีกสาตํ ยสฺส โส วิปฺปจฺจนีกสาโต (ปุคฺคโล)
สำนวนฎีกา ในมังคลัตถทีปนี ขอ ๔๓๖ วา
ตสฺสา เอว วิปฺปจฺจนีกํ ทุปฺปฏิปตฺติ สาตํ อิ เอตสฺสาติ วิปฺปจฺจนีกสาโต ฯ
ตสฺมึ ฯ

๑ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, หนา ๗๗๔.


๒ กจฺจายน. สูตร ๕๙๔, สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๑๑๙๘. โมคฺ. สูตร ๕.๑๓๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๘๗
ในขอนี้ นักเรียนสงสัยวา ทำไมทานเรียง ตสฺมึ ไวโดดๆ เรียงไวเพื่ อ
อะไร สื่อถึงนัยอะไร, จึงตอบนักเรียนดังตอไปนี้
การอธิบายบทตั้งในบางกรณี อาจจะอธิบายดวยวิภัตติตางกัน และ
เมื่ออธิบายเสร็จแลวก็คืนวิภัตติใหตรงกับบทตั้งนั้น การอธิบายบทตั้งดวย
วิภัตติตางกันนี้ เรียกวา ทันตเฉทนนัย (นัยเหมือนการตัดงาชาง) และการ
คืนวิภัตติเดิมให ตรงกับ บทตั้ ง เรียกว า ทั นตโสธนนัย (นั ยเหมื อนการตอ
งาชาง)๑
เชนในที่นี้ คำวา วิปฺปจฺจนีกสาเต ในขอ ๔๓๕ เปนสัตตมีวิภัตติ ทาน
อธิบายไวในขอ ๔๓๖ วา ตสฺส า เอว วิปฺปจฺ จนีกํ ทุปฺปฏิปตฺติ สาตํ อิ
เอตสฺสาติ วิปฺปจฺจนีกสาโต ฯ ในขั้นนี้เปน ทันตเฉทนนัย คือตัดจาก สัตตมี-
วิภัตติ (วิปฺปจฺจนีกสาเต) เปนปฐมาวิภัตติ (วิปฺปจฺจนีกสาโต)
เมื่ออธิบายโดยการวิเคราะห ศัพทเสร็จแลว ท านจึงคืนปฐมาวิภัตติ
(วิ ปฺป จฺจ นีก สาโต) ให เป น สัต ตมี วิภั ตติ โดยขึ้ น ตสฺ มึ มารั บ ในขั้ น นี้ เป น
ทันตโสธนนัย คือตอปฐมาวิภัตติใหกลับคืนเปนสัตตมีวิภัตติ
ฉะนั้น จึงสรุปไดวา คำวา ตสฺส า เอว ฯลฯ วิ ปฺปจฺจนีกสาโต เป น
ทันตเฉทนนัย สวน ตสฺมึ เปน ทันตโสธนนัย
อนุโลมสาเต (มงฺคล. ๒/๔๓๖/๓๔๑)
วิ. อนุโลมฺจ ตํ สาตฺจาติ อนุโลมสาตํ (กมฺมํ)
วิ. อนุโลมสาตํ ยสฺส โส อนุโลมสาโต (ปุคฺคโล) หรือ
วิ. อนุโลมํ สุปฏิปตฺติ สาตํ อิ เอตสฺสาติ อนุโลมสาโต

๑ พระธั ม มานั น ทเถร


(แปล), เนตติ ห ารัต ถที ป นี อุ ป จาร และ นย, (กรุงเทพฯ:
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓), หนา ๖๙-๗๐.
๘๘ มังคลัตถวิภาวินี

ขโม (มงฺคล. ๒/๔๓๘/๓๔๑)


วิ. ขมตีติ ขโม, ขมนํ วา ขโม [ขมฺ หรือ ขมุ สหเน+อ] ผู อดทน
ชื่อวา ขโม (ผูอดทน), อีกอยางหนึ่ง การอดทน ชื่อวา ขโม (การอดทน)
ขโม ในเรื่องโสวจัสสตานี้ ท านอธิบ ายวา ขโมติ ขนฺตา จึงใช ใน
อรรถกัตตา แปลวา ผูอดทน
ขนฺตา (มงฺคล. ๒/๔๓๘/๓๔๑)
วิ. ขมตีติ ขนฺตา [ขมฺ หรือ ขมุ สหเน+ตุ] ผูอดทน ชื่อวา ขนฺตา ลบ อุ
ธาตุมี ม เปนที่สุดอยูหนา เอาที่สุดธาตุเปน นฺ๑ แจกแบบ สตฺถุ ลง สิ ปฐมา-
วิภัตติ, ในสัททนีติธาตุมาลา วา ขมุ ธาตุในอรรถภาวะ เชน ขนฺติ, ขโม, ขมนํ
(ความอดทน), ใชในอรรถกัตตา เชน ขนฺตา, ขมิตา (ผูอดทน)๒
ปฏานิภาเวน (มงฺคล. ๒/๔๓๘/๓๔๑)
วิ. ปฏิ อ นตี ติ ปฏาโน [ปฏิ +อน สทฺ เท +ณ ] ผู ส ง เสี ย งโต แ ย ง ชื่ อ ว า
ปฏาน (ขาศึก) (สบสระหนา ทีฆะสระหลัง)
วิ. ปฏานสฺส ภาโว ปฏานิภาโว [ปฏาน+อิ+ภู] ความเปนแหงผูสงเสียง
ตอบชื่อวา ปฏานิภาโว (อาคม อิ วัณณะ หนา ภู ธาตุ)๓
วิเสสาธิคมสฺส ทูเร/อทูเร (มงฺคล. ๒/๔๔๑/๓๔๓)
นักเรียนสงสัยวา คำวา วิเสสาธิคมสฺส ควรแปลวา จาก หรือ แหง
ได ต อบนั ก เรี ยนวา ถา ชอบสำนวนเฉลยของกองบาลี ส นามหลวง
ซึ่งเขากับภาษาไทยสนิทดีและฟงไมขัดหู ใหแปลวา จาก แตถาชอบรักษา
ไวยากรณ ใหแปลวา แหง หรือแปลไมออกสำเนียงอายตนิบาต

๑ พระมหาศักรินทร ศศพินทุรักษ, หลักควรจำบาลีไวยากรณ, หนา ๑๙๒.


๒ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๓๖๒.
๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๓๓๘ หนา ๑๑๖๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๘๙
ใน ๓ ขอความดังตอไปนี้ คือ
๑) อปจ วิเสสาธิคมสฺส อวิทูรภิ าวโต มงฺคลํ ฯ
๒) โส วิเสสาธิคมสฺส ทูเร โหติ ฯ
๓) โส วิเสสาธิคมสฺส อทูเร โหติ
คำวา วิเสสาธิคมสฺส เปนฉัฏฐีวิภัตติ แตในเฉลยขอสอบสนามหลวง
ครั้งที่ ๒ ขอ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ ทานแปลเปนปญจมีวิภัตติวา ไกล/ไมไกล จาก
การบรรลุคุณวิเสส เสมือนหนึ่งวา วิเสสาธิคมสฺส ในที่นี้ใชในอรรถปญจมี-
วิภัต ติ (หนั งสือ ฉบับแปลโดย อาจารยบุ ญ สืบ อิ น สาร และฉบั บแปลโดย
พระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺ โม แปลตามสำนวนสนามหลวง ซึ่งถือเปนเรื่อง
ปกติ) ที่สนามหลวงทานแปลเชนนี้ ก็อาจจะมีหลักของทานเปนธรรมดา, นี้
สำนวนที่ ๑
แตในหนังสือแปลฉบับ มมร. แปลโดย พระมหานาค อุปนาโค ทาน
แปลว า ไกล/ไมไกล การบรรลุคุ ณ วิ เสส, (แปลไม ออกสำเนียงวิ ภัตติ) นี้
สำนวนที่ ๒
สวนฉบับมหาธาตุวิทยาลัย แปลโดย สมเด็จพระวันรัต (เขมจารีมหา-
เถระ) ทานแปลวา ไกล/ไมไกล แหงอันบรรลุซึ่ งคุณ วิเสส (ตน ฉบับ ทาน
เขียน บัลลุ ในที่นี้ ได สะกดตามที่นิยมในปจจุ บัน), สำนวนนี้ ท านยึดหลัก
บาลีไวยากรณอยางเครงครัด ดังจะอธิบายตอไป, นี้สำนวนที่ ๓
ผูเขี ยนนี้ แนะนำใหนั กเรียนของตน แปลตามสำนวนที่ ๒ และ ๓
เพราะมุงไมใหเสียหลักไวยากรณ สวนสำนวนที่ ๑ ยกไวเปนกรณีศึกษาโดย
เคารพ
โดยทั่วไปฉัฏฐีวิภัตตินิยมใชในอรรถแหงปญจมีวิภัตติ (แต,จาก) ในที่
ประกอบดวยบทที่มีอรรถวา เสื่อมและกลัว (เสื่อมจาก, กลัวแต) [ปฺจมิยตฺเถ
ปริหานิภยตฺถโยเค] พึงดู ปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๓๑๘ เชน
อสฺสวนตา ธมฺมสฺส ปริหายนฺ ติ (สัตวทั้งหลายยอมเสื่อ มจากธรรม
เพราะการไมฟง), สพฺเพ ตสนฺติ ทณฺฑสฺส (สัตวทั้งปวงกลัวแตการลงโทษ)
๙๐ มังคลัตถวิภาวินี

แตในที่นี้คำวา วิเสสาธิคมสฺส เปนฉัฏฐีวิภัตติ ไมไดประกอบดวยบท


ที่มีอรรถวา เสื่อมและกลัว แตป ระกอบดวย ทูร ศัพท ทำไมท านแปลวา
จากการบรรลุคุณวิเสส
ในปทรูปสิทธิ (อธิบาย สูตรที่ ๓๑๖) ทานอธิบายไวคอนขางชัดวา ลง
ฉัฏฐีวิภัตติในคำที่เกี่ยวเนื่องกับที่ใกล (สมีปสมฺพนฺเธ) เชน อมฺพวนสฺส อวิทูเร
[ในที่ไมไกลแหงปามะมวง] นิพพ ฺ านสฺเสว สนฺติเก [ในที่ใกลแหงพระนิพพาน
นั่นเอง]
ถึงแมคำแปลวา ไกล/ไมไกล แหงอันบรรลุซึ่งคุณวิเสส จะฟงขัดหู แต
ก็ถูกหลักไวยากรณ ฉะนั้น จึงแนะนำใหนักเรียนเลือกแปลตามสำนวนที่
ชอบใจเถิด
กตฺวา เปนกิริยาปธานนัย (มงฺคล. ๒/๔๔๖/๓๔๗)
กตฺ วา ในขอความวา อถ เช ยกฺ ขิ นี เช วาณิ ชํ อวเสสยกฺ ขิ นิ โย
อวเสสวาณิ เช สามิเก กตฺว า รตฺติ ภาเค เตสุ นิ ทฺ ทู ปคเตสุ อุาย คนฺตฺว า
กรณฆเร มนุสฺเส ขาทิตฺวา อาคมึสุ ฯ เปนกิริยาปธานนัย
อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา: อกโรนฺตา/อกโรนฺตี ? (มงฺคล. ๒/๔๔๗/๓๔๗-๘)
คำวา อกโรนฺตา ในขอวา อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา ตามหลักบาลี-
ไวยากรณที่เรียนกันนี้ ตองเปน อกโรนฺตี เพราะ อนฺต ปจจัยที่เปนอิตถีลิงค
แจกแบบ นารี
แต ในสัททนีติปทมาลา ทานอธิบายวา มหนฺต ศัพทที่เป นอิตถีลิงค
แจกตามแบบ อิตฺถี อีกนัยหนึ่งแจกแบบ กฺา ก็ได๑
ฉะนั้น จึ งเปนไปไดวา อกโรนฺ ตา ในที่ นี้ ทานแจกแบบ กฺ า โดย
อนุวัตนตาม มหนฺต ศัพทที่แสดงไวในสัททนีตินั้น
๑ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๘๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙๑
ลักษณะเชนนี้ นักเรียนเคยพบมาแลว เมื่อครั้งเรียน ประโยค ป.ธ. ๔
ในมั ง คลั ต ถที ป นี ภาค ๑ ข อ ๑๒๔ หน า ๑๔๒ ที่ ว า เตเนว สา สจฺ ฉิ -
กิริยาภิสมเยน วิภูตํ ปากฏํ กโรนฺตา ปสฺสติ ปจฺจกฺขํ กโรติ...ฯ
มีขอสังเกตวา อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา นี้ในอรรถกถาชาดกซึ่งเปน
ตนแหลงเดิม ที่ทานนำมาอางในมังคลัตถทีปนีนี้ ท านแสดงตางออกไปว า
อกโรนฺตา ภิกฺขูป ภิกฺขุนิโยป อุปาสกาป อุปาสิกาโยปฯ๑
จตูสุ อปาเยสุ [อบาย ๔] (มงฺคล. ๒/๔๔๗/๓๔๘)
อบาย, อบายภูมิ ภูมิกำเนิดที่ปราศจากความเจริญ มี ๔ อยาง คือ
นิร ยะ นรก ติรัจ ฉานโยนิ กำเนิ ดดิ รัจฉาน ป ต ติ วิ สั ย ภู มิ แ ห งเปรต และ
อสุรกาย พวกอสุรกาย๒
๑. นิรยะ นรก ไดแก (๑) มหานรก (๒) อุสสทนรก (๓) ยมโลกนรก
(๔) โลกันตริกนรก
๒. ติรัจฉานโยนิ กำเนิดสัตวเดรัจฉาน (๑) อปทะ จำพวกที่ไมมีข า
(๒) ทวิปทะ จำพวกที่มี ๒ ขา (๓) จตุปปทะ จำพวกที่มี ๔ ขา (๔) พหุปปทะ
จำพวกที่มีมากกวา ๔ ขาขึ้นไป
๓. ปตติวิสัย ภูมิแหงเปรต (๑) ปรทัตตูปชีวิกเปรต เปรตที่เลี้ยงชีวิต
ดวยสวนบุญที่เขาอุทิศให (๒) ขุปปปาสิกเปรต เปรตที่อดอยาก หิวขาวน้ำ
อยูตลอดเวลา (๓) นิชฌามตัณหิกเปรต เปรตที่ถูกไฟเผาใหรอนรนอยูเสมอ
(๔) กาลกัญจิกเปรต เปรตในจำพวกอสุรกาย
๔. อสุรกาย พวกอสูร (๑) เทวอสุรา อสุรกายที่เปนเทวดา (๒) เปติ-
อสุรา อสุรกายที่เปนพวกเปรต (๓) นิรยอสุรา อสุรกายที่เปนพวกสัตวนรก

๑ ชา.อ. ๓/๒๐๒.
๒ ขุ.อิติ. ๒๕/๒๗๓/๓๐๑.
๙๒ มังคลัตถวิภาวินี

ป ฺจวิธพนฺธนกมฺมกรณฏฺานาทีสุ (มงฺคล. ๒/๔๔๗/๓๔๘)


ปฺ จวิธ พนฺธ นํ (เครื่อ งผูก ๕ อย าง) ในคำวา ปฺ จวิ ธพนฺ ธนกมฺ ม-
กรณานาทีสุ คือ การใชตะปูรอนลุกโชนตรึงที่ มือขวา มือซาย เทาขวา
เทาซาย และอก๑

กาหนฺติ (มงฺคล. ๒/๔๔๗/๓๔๘)


กาหนฺ ติ [กร+โอ +สฺ ส นฺ ติ ] แปลว า จั ก กระทำ ไม ค วรแปลว า ย อ ม
กระทำ เชน ในขอวา เย น กาหนฺติ โอวาท นรา พุทฺเธน เทสิตํ [นระเหลา
ใดจักไมกระทำตามโอวาทที่พระพุทธเจาทรงแสดงแลว]
แปลง กร กับ โอ เปน กาห ลง สฺสนฺติ วิภัตติ แลวลบ สฺส หรือ เอา ร
แหง กร กับ โอ และ สฺส เปน อาห๒
สวนในหนังสืออธิบายบาลีไวยากรณทานวา กร ธาตุ อา ปจจัย สฺสติ
วิภัตติ เพราะภวิสฺสนฺติ วิภัตติ แปลง กรฺ เปน กาห ลบ สฺส แหง สฺสติ วิภัตติ
เสีย คงไวแต ติ๓



๑ เชน ม.อุ. ๑๔/๔๗๕/๓๑๕.


๒ กจฺจายน. สูตร ๔๘๑, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๙๖๒, โมคฺ. สูตร ๖.๒๕
๓ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายบาลีไวยากรณ อาขยาต, หนา ๘๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙๓

สมณทสฺสนกถา
-๐-

ตถาสมาหิตํ (มงฺคล. ๒/๔๔๙/๓๕๑)


สมาหิตํ [สํ+อา+ธา+อิ+ต] ในขอวา ตถาสมาหิตํ จิตฺตํ แปลวา จิตที่ตั้ง
มั่นแลวอยางนั้น, ธา ธาตุ จัดลงในหมวด ภู ธาตุ ถา อา เปนบทหนาใชใน
ความหมายวายกขึ้น, ตั้งขึ้น (อาโรปเน)๑, แปลง ธา เปน ห, อิ อาคม๒
สวนในคัมภีรโมคคัลลานะ ทานอธิบายวา ลง ต ปจจัยแลว แปลง ธา
ธาตุ เปน หิ๓, แมคำวา ปณิหิตํ, นิหิต- ก็พึงทราบลง ธา ธาตุ แปลง ธา เปน
ห หรือ หิ โดยนัยนี้เหมือนกัน
อชฺฌุเปกฺขิตา (มงฺคล. ๒/๔๔๙/๓๕๑)
อชฺ ฌุ เปกฺ ขิ ต า [อธิ +อุ ป +อิ กฺ ข ทสฺ ส นงฺ เกสุ +ตุ +สิ ] อชฺ ฌุ เ ปกฺ ข ตี ติ
อชฺฌุเปกฺขิตา ผูเพง, ผูเพงดู (อธิ เปน อชฺฌ, อิ เปน เอ, อิ อาคม, อุ การันต
กับ สิ เปน อา)
นิสินฺนสฺส (มงฺคล. ๒/๔๕๓/๓๕๓)
บทว า นิสินฺนสฺส ในขอ ๔๕๓ หน า ๓๕๓ พึ งสั มพั น ธเข ากับ บทว า
อนุสฺสรณํ และในขอ ๔๕๔ ก็นัยนี้เหมือนกัน
ตตฺถาปิ ตโต (มงฺคล. ๒/๔๕๖/๓๕๖)
ตฺตถาป ตโต ในขอ ๔๕๖ พึงนำศัพทในขอ ๔๕๔ มาประกอบ ดังนี้
๑ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๐๐ หนา ๒๐๙.
๒ พจนานุกรมกิริยากิตต ฉบับธรรมเจดีย, หนา ๒๕๑.
๓ โมคฺ. สูตร ๔.๗๒.
๙๔ มังคลัตถวิภาวินี

๑. ตตฺ ถ =เตสุ ป รตฺ ติ   านทิ ว าาเนสุ [ในที่ พั กกลางคื น และที่ พั ก


กลางวันแมนั้น]
๒. ตโต=ตมฺหา อริยสนฺติกา [จากสำนักของพระอริยเจานั้น]

สตสหสฺสมตฺตา (มงฺคล. ๒/๔๕๖/๓๕๖)


ขอ ว า สตสหสฺ ส มตฺต า อเหสุ  สมนฺ ต ปาสาทิ ก ตฺ ต า ปห สฺ ส ขึ้ น
ประธาน ตามขอความในขอ ๔๕๕ ใหเต็มประโยควา
(มหากสฺสปตฺเถรสฺส อนุปฺปพฺพชฺชํ ปพฺพชิตา กุลปุตฺตา) สตสหสฺส-
มตฺตา อเหสุ สมนฺตปาสาทิกตฺตา ปหสฺส
แปล [(กุ ล บุ ต รทั้ ง หลายผู บ วชตามพระมหากั ส สปะเถระ) ได มี
ประมาณแสนหนึ่ ง เพราะการบวชของพระมหากั สสปะเถระนำความ
เลื่อมใสมาโดยรอบดาน]

มหินฺท...ปพฺพชนฺติ นาม (มงฺคล. ๒/๔๕๖/๓๕๖)


ขอวา มหินฺท...ปพฺพชนฺติ นาม นักศึกษานำศัพทในขอ ๔๕๕ หน า
๓๕๕ มาเติมใหเต็มวา
มหินทฺ ตฺเถรสฺเสว ปพฺพชฺชํ อนุปฺปพฺพชนฺติ นาม
[(กุลบุตรทั้งหลาย) ชื่อวายอมบวชตามพระมหินทเถระนั่นแหละ]

ปาตุกมฺมาย (มงฺคล. ๒/๔๖๐/๓๕๙)


ในประโยควา โก ปจฺจโย สิตสฺส ปาตุกมฺมาย ฯ
คำว า ปาตุกมฺมาย ลง ส จตุตถี วิภัตติ แตใชในอรรถแห งวิ ภัตติอื่น ,
หนังสือฉบับแปล นิยมแปลวา แหงการทรงทำการแยมพระสรวลใหปรากฏ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙๕
และสัมพันธวา สิตสฺส ฉีกมฺม ใน -กมฺมาย ปาตุกมฺมาย สามีสมฺพนฺธ ใน
ปจฺจโย๑, ปาตุกมฺมาย เปนจตุตถีวิภัตติใชในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ๒
อีกมติหนึ่ง ปาตุกมฺมาย มีวิภัตติวิปลาส คือลง ส จตุตถีวิภัตติ แตใช
ในอรรถสัตตมีวิภัตติ๓ โดยอางสูตรในสัททนี ติ๔ ได รูป เป น ปาตุ ก มฺ มาย=
ปาตุกมฺเม ฉะนั้น จึงแปลวา ในการทรงทำการแยมพระสรวลใหปรากฏ

อตีวมหา : บทว่า มหา เป็ นได้ ๓ ลิงค์ (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๐)


ในขอวา อตีวมหา อโหสิ ปหาโร [ไดเปนการประหารอยางถนัดยิ่ง]
อตีวมหา [อตีว+มหา], อตีว เปนนิบาต แปลวา ดี, ยิ่ง, ดียิ่ง, ยิ่งนัก,
เหลือเกิน, อยางยิ่ง๕, มหา เปนคุณนาม แปลวา ใหญ, มาก, กวาง เปนตน
มหา ศัพทเดิมเปน มหนฺต ตามมติของสัททนีติปทมาลา ทานอาศัย
ตัวอยางจากพระบาลี จึงแจก มหนฺต ศัพทไดรูปเปน มหา ครบทั้ง ๓ ลิงค๖ เชน
อุปาสก มหา เต ปริจฺจาโค๗ [อุบาสก การบริจาคของทาน ยิ่งใหญ]
พาราณสีรชฺชํ นาม มหา๘ [ชื่อวาแควนพาราณสี กวางใหญนัก]
เสนา สา ทิสฺสเต มหา๙ [กองทัพนั้น ปรากฏเปนกองทัพที่ยิ่งใหญ]
๑ พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๘ ฉบับ
สมบูรณ, (กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๒๐.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๗๒ หนา ๕๗๑-๕๗๒.
๓ สุภาพรรณ ณ บางชาง, ไวยากรณบาลี, หนา ๓๔๑.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๗๒ หนา ๕๗๑.
๕ พั นตรี ป. หลงสมบุ ญ, พจนานุ กรม มคธ-ไทย, (กรุ งเทพฯ สำนั กเรียนวั ดปากน้ ำ,
๒๕๔๐), หนา ๒๖.
๖ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๘๗-๕๙๐.
๗ ชา.อ. ๖/๒๑๓.
๘ อุ.อ. ๑/๓๖๙.
๙ ขุ.ชา. ๒๘/๖๗๙/๒๔๓.
๙๖ มังคลัตถวิภาวินี

อฑฺฒฏฺรตนํ (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๐)


อฑฺฒรตนํ [อฑฺฒ +อ+รตนํ] (นาคํ) ชางตัวมีประมาณ ๗ ศอก
ครึ่ง, ชางตัวมีประมาณ ๗ ศอกคืบ
วิ . อฑฺ ฒ   มรตนนฺ ติ อฑฺ เฒน อ  นฺ นํ ปู ร ณนฺ ติ อฑฺ ฒ   มานิ ฯ
อฑฺฒมานิ รตนานิ ปมาณํ เอตสฺสาติ อฑฺฒมรตโน (นาโค) ฯ ตํ ฯ๑
นาค ศัพท์เดียว แปลได้หลายอย่าง (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๐)
นาค ในขอนี้ หมายถึง หตฺถินาคํ แปลวา ชาง, ความจริง นาค ศัพทนี้
แปลไดหลายอยาง
นาค แปลไดห ลายอยาง ดั งนี้ ๑) ผู ป ระเสริฐ ไดแ ก พระราชา ๒)
สั ต ว ป ระเสริ ฐ ได แ ก ช า ง ๓) ต น กากะทิ ง ๔) ผู ห มดกิ เ ลส ได แ ก
พระพุทธเจา หรือ พระอรหันต และ ๕. งู เชน ในวชิรสารัตถสังคหะวา๒
นาโคว นาคมารุยฺห นาคมูลํ อุปาคมิ
นาคปุปฺผํ คเหตฺวาน นาคสฺส อภิปูชยิ
[พระราชานั่นแหละ ทรงชาง เขาไปใกลโคนตน
กากะทิง เก็บดอกกากะทิง นอมบูชาพระพุทธเจา]
ทานอธิบายดวยคาถานี้วา
ติณคฺคํ ขาทติ เภกํ คิลติ กาลปุปฺผิโต
นาโค เทวมนุสฺสานํ ธมฺมํ เทเสติ เกวลํ
[นาค ๑ เคี้ยวยอดหญา (ชาง) นาค ๑ กลืนกิน
กบ (งู) นาค ๑ มี ด อกบานตามฤดู ก าล (ต น
กากะทิง) นาค ๑ แสดงธรรม (พระพุทธเจา)]

๑ การอธิบายเชนนี้ เรียกวา ทันตเฉทนนัย และ ทันตโสธนนัย


๒ พระสิริรัตนปญ ญาเถระ (รจนาเสร็จ พ.ศ. ๒๐๗๘), แยม ประพัฒนทอง (แปล),
วชิรสารัตถสังคหะ, (กรุงเทพฯ: วัดปากน้ำ, ๒๕๕๖), หนา ๙๒, ๑๗๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙๗
วิธีแปล ขมนีย/ํ ยาปนียํ (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๑)
คำวา ขมนี ยํ, ยาปนี ยํ ในชั้ น ประโยค ป.ธ. ๕ นี้ แปลโดยอรรถว า
พอทนได, พอใหเปนไปได เชน
ขมนียํ เม อาวุโส โมคฺคลฺลาน, ยาปนียํ เม อาวุโส โมคฺคลฺลาน
[โมคคัลลานะผูมีอายุ เราพอทนได, โมคคัลลานะผูมีอายุ เราพอ
ใหเปนไปได]
ในขอนี้ คำวา ขมนียํ, ยาปนียํ เปนกิริยา ถานักเรียนประสงคจะขึ้น
ประธาน ขอใหถื อ ตามอรรถกถาวิ นั ย ซึ่ งท านแนะให ขึ้ น อิ ทํ จตุ จฺจ กฺ กํ
นวทฺวารํ สรีรยนฺตํ๑ มาเปนประธาน จึงไดรูปประโยคเชนนี้วา
[อิ ทํ เม จตุ จฺ จ กฺ กํ นวทฺ ว ารํ สรี ร ยนฺ ตํ ] ขมนี ยํ อาวุ โ ส
โมคฺ ค ลฺ ล าน, [อิ ทํ เม จตุ จฺ จ กฺ กํ นวทฺ ว ารํ สรี ร ยนฺ ตํ ] ยาปนี ยํ
อาวุโส โมคฺคลฺลาน
[โมคคัลลานะผูมีอายุ ยนต คือสรี ระ มี สี่ลอ เกาประตูนี้
เราพอทนได , โมคคัลลานะผูมี อ ายุ ยนต คือ สรี ระ มี สี่ ลอ เก า
ประตูนี้ เราพอใหเปนไปได]

นิทฺทํ อุปคตสฺส (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๑)


ขอวา อนฺโตสมาปตฺติยํ อปฺปฺายมานทุกฺขฺหิ กายนิสฺสติ ตฺตา นิทฺทํ
อุปคตสฺส มกสาทิชนิตํ วิย ปฏิพุทฺธสฺส โถกํ ปฺายิตฺถ ฯ
เรียงเต็มประโยควา
อนฺโตสมาปตฺตยิ ํ อปฺปฺายมานทุกฺขฺหิ กายนิสฺสติ ตฺตา
[นิทฺทํ อุปคตสฺส มกสาทิชนิตํ อปฺปฺายมานทุกฺขํ วิย ปฏิพุทฺธสฺส
โถกํ ปฺายนฺตํ] โถกํ ปฺายิตถฺ ฯ
๑ เชน วินย.อ. ๑/๗๐๕, สมนฺตปาสาทิกา ภาค ๑ ที่ใชเปนหนังสือเรียน หนา ๕๘๙.
๙๘ มังคลัตถวิภาวินี

[ความจริ ง ทุก ขที่ ไม ป รากฏอยู ในภายในแห งสมาบั ติ


ปรากฏแลวหน อยหนึ่ง เพราะความเป น สภาพอาศัยกาย (ดุ จ
ทุกขที่ เกิ ดขึ้นเพราะยุงเปน ตน ไมปรากฏอยู แกบุค คลผูเข าถึ ง
ความหลับ ปรากฏแกเขาผูตื่นแลวเพียงเล็กนอย ฉะนั้น)]
ฑยฺหามิ (มงฺคล. ๒/๔๖๒/๓๖๑)
ฑยฺหามิ เราเรารอน, เราอันความรอนแผดเผา [ทห ธาตุในความเผา
ภสฺมีกรเณ+ย กรรมวาจก+มิ] แปลง ท เปน ฑ๑ สลับ ย ไปไวหนา ห๒ เปน
กัมมวาจก
ในกัตตุวาจก ไดรูปเปน ทหติ เชน อคารานิ อคฺคิ ทหติ ฯ นักศึกษาพึง
ศึกษารูปกิริยากิตก เชน อคฺคินา ทฑฺฒํ เคหํ ฯ

ธมฺมสากจฺฉากถา
-๐-

ใน ธมฺมสากจฺฉากถา มีเนื้อความชัดเจน ไมมีเนื้อความที่ตองอธิบาย


เพิ่มเติม ทั้งนักเรียนก็ไมไดสงสัยอะไร จึงขอขามไปอธิบาย ตปกถา เลย



๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๕๑๕.


๒ นิรุตติทีป นี,
หน า ๕๒. พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิช า สัมพันธไทย
ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับแกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒),
หนา ๑๕๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙๙
นวมคาถายตฺถวณฺณนา
ตปกถา
-๐-

ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา : วิเสสลาภี (มงฺคล. ๒/๔๗๑/๓๖๖)


ตีติกฺขา วิเสสลาภี ของ ขนฺตี ฯ๑ แปลวา ขันติคือความอดกลั้น แปล
ยกศั พ ท ว า ข นฺ ตี ความ อดท น คื อ ตี ติ กฺ ขา ความ อ ดกลั้ น ต โป
โหติ เปนตบะ ปรมํ อยางยิ่ง๒
ตีติกขฺ า (มงฺคล. ๒/๔๗๑/๓๖๖)
ติ ติ กฺ ข า (อิ ต .) [ติ ชฺ ขนฺ ติยํ +ข ] ความอดทน , ความอดกลั้ น , ความ-
ทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทฺวภาว ติ แปลง ชฺ เปน
กฺ อา อิต. เปน ตีติกฺขา บาง๓
มหาหํสชาตก (มงฺคล. ๒/๔๗๑/๓๖๗)
ทานยกขอความแหงมหาหังสชาดกมาแสดงเพียงบางสวน ในหนังสือ
ฉบับแปลทานนำขอความมาเติมใหเต็มประโยค ขอความเต็มมีดังตอไปนี้
ทานํ สีลํ ปริจฺจาคํ อาชฺชวํ มทฺทวํ ตป
[อกฺโกธํ อวิหึสฺจ ขนฺตึ จ อวิโรธนํ
อิจฺเจเต กุสเล ธมฺเม เต ปสฺสามิ อตฺตนีต]ิ ๔
มหาหํสชาตเก อุโปสถกมฺมํ ฯ

๑ พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๖ ฉบับ


สมบูรณ, (กรุงเทพฯ : ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๗), หนา ๒๕๘.
๒ อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒, หนา ๔.
๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๙๐๖, พจนานุกรม มคธ-ไทย, หนา ๓๐๖.
๔ ชา.อ. ๘/๒๘๑.
๑๐๐ มังคลัตถวิภาวินี

แปล
อุโบสถกรรม ชื่อวาตบะ ในมหาหั งสชาดก ว า เรา
พิจารณาเห็น กุศลธรรมเหลานั้ น คือ ทาน ๑ ศีล ๑
บริจาค ๑ ความซื่อตรง ๑ ความออน โยน ๑ ตบะ ๑
[ความไม โ กรธ ๑ ความไม เบี ย ดเบี ย น ๑ ความ
อดทน ๑ ความไมยินราย ๑ ซึ่งตั้งอยูแลวในตน]

ยตฺวาธิกรณเมนํ (มงฺคล. ๒/๔๗๓/๓๖๘)


ยตฺวาธิกรณเมนํ [ยตฺวาธิกรณํ+เอนํ], กอนอื่น ขอใหนักเรียนทำความ
เขาใจหลักการเบื้องตนกอนวา
๑. ย, ต สัพ พนาม ไม วาจะประกอบวิ ภัต ติไหน เมื่ อเข าสมาสแล ว
นิยมลงนิ คคหิต อาคมหรือ ซอ นพยัญ ชนะ๑ เป น ยํ , ตํ อุ . ยสฺ ส การณา=ยํ
การณา
๒. ปฐมาวิภัตติที่ ยํ, ตํ ดังกลาวนั้น แปลงเปน โต เชน ยโต, ตโต ได
บาง อุ. ตํนิทานํ=ตโตนิทานํ (ดูอางอิงในเชิงอรรถเดียวกันกับขอ ๕)
๓. บทวา เหตุ, อธิกรณํ เปนปฐมาวิภัตติใชอรรถการณะ
๔. บางมติ ว า ยํ ก ารณา, ตโตนิ ท านํ เป น ต น เป น นิ บ าต จึ ง ไม
จำเปนตองแจกดวยวิภัตติ
๕. บางมติวา เอนํ เปนปทปูรณะ๒
คำว า ยตฺ ว าธิ ก รณํ ในวิ สุ ท ธิ ม รรคอธิ บ ายว า ยํ ก ารณา, ยสฺ ส
จกฺขุนฺทฺริยาสํวรสฺส เหตุ, ฎีกาอธิบายวา ยสฺส จกฺขุนฺทฺริยสฺส การณา

๑ พระราชเวที,
ศัพท-สำนวน มังคลัตถทีปนี, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง,
๒๕๓๔), หนา ๒๔; สัททนีติปทมาลา, หนา ๘๙๒, ๙๐๑.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๙๗, ๖๔๙, ๖๕๕. และ หนา ๑๒๔๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๐๑
ฉะนั้น คำวา ยตฺวาธิกรณํ จึงแปลวา เพราะเหตุการไมสำรวมอินทรีย
คือจักษุใด
ยตฺ ว าธิก รณํ ตั ด บทเป น ยโต-อธิ ก รณํ ๑ แปลว า เพราะเหตุ ...ใด,
อธิกรณํ เปนปฐมาวิภัตติใชในอรรถการณะ แปลวา เพราะเหตุ, ยโต คือรูป
ของ ยํ ที่ เปลี่ ยนไปตามหลักการว า เมื่ อ นิ ทาน ศั พท เป น ต น อยู ห ลั ง ให
เปลี่ยนปฐมาวิภัตติที่ ยํ, ตํ เปน โต๒ (ยโต ตโต), ยํอธิกรณํ เปลี่ยนเปน ยโต-
อธิกรณํ
ฉะนั้นทานจึงแก ยโต อธิกรณํ วา ยํการณา และอธิบายตอวา ยสฺส
จกฺขุนฺทฺริยสฺส การณา, (ยํ ในที่นี้คือ ยสฺส) ยสฺส เขาสมาสจึ งกลายเปน ยํ
ในที่นี้โยค จกฺขุนฺทฺริยสฺส, นักศึกษาพึงเห็นลำดับการเปลีย่ นรูป ยโต-ยํ-ยสฺส
สรุปการจำแนกศัพทโดยลำดับดังนี้
ยตฺวาธิกรณํ - ยโต อธิกรณํ [ตัดบทเปน ยโต-อธิกรณํ]
ยโต อธิกรณํ - ยํอธิกรณํ [ยํ เปลี่ยนปฐมาที่ ยํ เปน โต]
ยํอธิกรณํ - ยํการณา [อธิกรณํ ปฐมา. ในอรรถการณะ]
ยํการณา - ยสฺส จกฺขุนฺทฺริยสฺส การณา [ยสฺส เขาสมาสจึงเปน ยํ]
หรือ ยสฺส จกฺขุนฺทฺริยาสํวรสฺส เหตุ [เหตุ ปฐมา. ในอรรถการณะ]

หตฺถปาทสิตหสิตกถิตวิโลกิตาทิเภทํ: ต ปจจัย ๔ สาธนะ (มงฺคล. ๒/๔๗๔/๓๖๙)


บทวา สิตหสิตกถิตวิโลกิต ลง ต ปจจัย, ในที่นี้ทานใชเปนนามนาม
ไมใชเปนคุณนามหรือกิริยากิตต แปลวา การหัวเราะ ยิ้มแยม เจรจา และ
เหลียวดู
ต ปจจัยในที่นี้ทานใชเปนภาวสาธนะ วิ. หสนํ หสิตํ (การหัวเราะ ชื่อ
วา หสิตะ), ทั้งนี้มีหลักการวา ต ปจจัยมีความหมายได ๔ สาธนะ คือ

๑ ปทวิจารทีปนี, หนา ๑๓๓.


๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๔๙, ๔๙๗.
๑๐๒ มังคลัตถวิภาวินี

๑. กัตตุสาธนะ เชน คโต (ผูไป), นิสินฺโน (ผูนั่ง)


๒. กัมมสาธนะ เชน อภิภูโต (อันเขาครอบงำแลว)
๓. ภาวสาธนะ เชน คตํ (การไป), นิสินฺนํ (การนั่ง), สยิตํ (การนอน)
๔. อธิกรณสาธนะ เชน อาสีตํ (ที่นั่ง), นิปนฺนํ (ที่นอน)๑
ต ปจจัยที่ใชเปนนามนามนี้ มีตัวอยางใหเห็นอยูบาง เชน อาคตนฺติ
อาคมนํ ฯ๒

หิ ศัพท์ (มงฺคล. ๒/๔๗๕/๓๗๑)


หิ ศัพทในขอความวา ยตฺวาธิกรณนฺติ หิ ยสฺส จกฺขุนฺทฺริยสฺส การณาติ
อตฺโถ ฯ ทานแปลวา นัยหนึ่ง
นั ก เรียนรูสึก แปลกใจ ที่ทานแปล หิ วา นั ยหนึ่ ง (อปรนั ย) เพราะ
เทาที่เรียนกั นมาไมเคยพบเจอ, หิ ในข อ ความนี้ เท าที่ พบทานแปลไว ๓
สำนวน ดังนีว้ า
๑. ก็ (วากฺยารมฺภ) [เฉลยสนามหลวง ป ๒๕๑๕]
๒. อีกนัยหนึ่ง (อปรนย)
๓. เพราะ (การณโชตก)
สำนวนที่ ๑ และ ๒ ที่แปลวา ก็, อีกนัยหนึ่ง นั้นไมยาก นักเรียนแปล
ไดทันที สวนสำนวนที่ ๓ ที่แปล หิ วา เพราะเหตุใด นี้นาสนใจ สำนวนนี้
ทานพระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺโม แปล หิ วา เพราะ และไขไปที่ การณา วา
ยตฺวาธิกรณนฺติ หิ ยสฺส จกฺขุนฺทฺริยสฺส การณาติ อตฺโถ ฯ
๑ พระคั น ธสาราภิ ว งศ
เรี ยบเรี ย ง, พระธรรมโมลี และเวทย บรรณกรกุ ล ชำระ,
สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุ ทธโฆส, ๒๕๔๕), หนา ๙๓. ศึกษาเพิ่มเติมที่ ปทรูปสิ ทธิ
(อธิบายสูตร ๖๐๖, ๖๑๒, ๖๒๒, ๖๓๓)
๒ ที.อ. ๒/๑๕๕.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๐๓
[บทวา ยตฺวาธิกรณํ คือ เพราะเหตุใด ไดแก เพราะเหตุแหงอินทรีย
คือจักษุใด]
ความจริง ในคัมภีรคันถาภรณมัญชรี๑ ทานวา หิ ศัพทใชในอรรถ ๙
อยาง คือ วากยารัมภะ (ก็), วิตถาระ (ความพิสดารวา), ทัฬหีกรณะ (จริงอยู),
ผล (ดวยวา), การณะ (เพราะวา), ตัปปากฎีกรณะ (เหมือนอยางวา), วิเสสะ
(แตวา), อันวยะ (อัน) และพยติเรกะ (อัน)
ยถา=ยสฺมา (มงฺคล. ๒/๔๘๑/๓๗๗)
ยถา ในคาถาวา
ยถา อุคฺคตป สนฺต อิสึ โลมสกสฺสป
ปตุ อตฺถาย จนฺทวตี วาชเปยฺย อยาชยีติ ฯ
[เพราะพระนางจัน ทวดีไดน ำพระโลมสกัส สป
ฤษี ผู มี ต บ ะสู ง สงบแล ว มาบู ช ายั ญ เพื่ อ
ประโยชนแกพระราชบิดาได]
ถา ปจจั ยในที่นี้ลงในอรรถเหตุ มี คาเท ากั บ ยสฺมา (เหตุใด), เท าที่
คนพบ ทานอธิบายไววา ถา ปจจัย ใชแทน ปการ ศัพท๒ อาจลงวิภัตติไดทั้ง
๗ หมวด แตลบวิภัตติที่ลงนั้นเสียเพราะเปนอัพยยตัทธิต๓ ในที่ไดลงตติยา
หรือปญจมีวิภัตติ จึงแปลวา เหตุ, เพราะ
วิ. ยสฺมา ปการา ยถา เพราะประการใด ชื่อวา ยถา๔

๑ พระอริยวงศ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร แปล, คันถาภรณมัญชรี, (กรุงเทพฯ:


พิทักษอักษร, ๒๕๔๕), หนา ๙.
๒ มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายบาลีไวยากรณ สมาสและตัทธิต, หนา ๘๙.
๓ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๓ (ตัทธิต), หนา ๔๗๑.
๔ วิเคราะห ยถา ศัพทนี้ ไดเทียบเคียงกับวิเคราะห ตถา, ดู สุภาพรรณ ณ บางชาง,
รองศาสตราจารย , ดร., ไวยากรณ บาลี, พิมพ ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: มูล นิธิมหามกุ ฏราช-
วิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๔๕๕.
๑๐๔ มังคลัตถวิภาวินี

อกมฺม ฺโ (มงฺคล. ๒/๔๘๓/๓๗๙)


อกมฺมฺโ แปลวา ไมควรแกการงาน ฯ เชน ในขอความวา ตสฺส เม
กาโย กิลนฺโต อกมฺมฺโ ฯ [กายของเรานั้นเหน็ดเหนื่ อยแลว ไมควรแก
การงาน]
อกมฺมฺโ ประกอบดวย น+กมฺม+ณฺย๑ หรือ ฺ๒ ปจจัย ในตัทธิต
ใชแทนความหมายวา ดี ในที่นี้แทนความหมายวา เหมาะ
วิ. กมฺมนิ สาธุ กมฺมฺ ฯ
วิ. นตฺถิ ตสฺส กมฺมฺนฺติ อกมฺมฺโ (กาโย) ฯ
ม ฺเ=วิย (มงฺคล. ๒/๔๘๓/๓๘๐)
นั ก เรี ย น เรีย นกั น มาวา มฺ เ แปลว า เห็ น จะ เรี ย กสั ม พั น ธ ว า
สํสยตฺถ, แต มฺเ ในขอวา มาสาจิตํ มฺเ แปลวา เหมือน ลงในอรรถ
เปรียบเทียบ เชน นชฺโช มฺเ วิสฺสนฺทนฺตีติ นทิโย วิย วิสฺสนฺทนฺติ ฯ๓



๑ โมคฺ. สูตร ๔.๗๒, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๗๘๓ หนา ๗๘๑.


๒ โมคฺ. สูตร ๔.๗๓.
๓ องฺ.อ. ๓/๔๔๒.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๐๕
พฺรหฺมจริยกถา
-๐-

อห ฺจ ภริยา จ : ปโรปุริส (มงฺคล. ๒/๔๙๔/๓๙๑)


ในข อ ๔๙๔ ขอ ความวา อหฺ จ ภริย า จ ... อหุ มฺ ห า ท านขึ้ น มยํ
เปนประธาน, พึงสัมพันธ อหํ และ ภริยา สรูปใน มยํๆ สยกตฺตา ใน อหุมฺหา
ในทางไวยากรณ อ ธิบ ายไว ว า ในกรณี ที่ป ระธานมีบุ รุษ ต างกั น ทำ
กิริยาในกาลเดียวกัน ใหกระจายกิริยาเปนบุรุษที่อยูหลัง เรียกวา ปโรปุริส๑
และนิยมฝายพหุวจนะ (เปนเอกวจนะก็มีบาง) เชน
๑. ถาประธานบุรุษที่ ๑ และบุรุษที่ ๒ ใหกระจายกิริยาเปน บุรุษที่ ๒
ฝายพหุวจนะ เชน โส จ ตฺวฺจ ปจถ [๑ และ ๒ ใช ๒ พหุ.]
๒. ถาประธานบุรษุ ที่ ๑ และที่ ๓ ใหกระจายกิริยาเปน บุรุษที่ ๓ ฝาย
พหุวจนะ เชน โส จ อหฺจ ปจาม [๑ และ ๓ ใช ๓ พหุ.]
๓. ถาประธานบุรษุ ที่ ๒ และที่ ๓ ใหกระจายกิริยาเปน บุรุษที่ ๓ ฝาย
พหุวจนะ เชน ตฺวฺจ อหฺจ ปจาม [๒ และ ๓ ใช ๓ พหุ.]
๔. ถาประธานบุรุษที่ ๑, ๒ และที่ ๓ ใหกระจายกิริยาเปน บุรุษที่ ๓
ฝายพหุวจนะ เชน โส จ ตฺวฺจ อหฺจ ปจาม [๑, ๒ และ ๓ ใช ๓ พหุ.] ยัง
มีตัวอยางอีกมาก นักศึกษาพึงตรวจดูที่ นิรุตฺติทีปนี อธิบายสูตรที่ ๕๖๓
ในขอวา อหฺจ ภริยา จ...อหุมฺหา นี้ ภริยา เปนบุรุษที่ ๑ อหํ เปน
บุรุษที่ ๓ จึงกระจายกิริยาเปนบุรุษที่ ๓ ฝายพหุวจนะเปน อหุมฺหา

๑ สั ท ทนี ติ สุ ต ตมาลา, สู ต ร ๘๖๘, กจฺ จ ายน. สู ต ร ๔๐๙, รู ป สิ ทฺ ธิ . สู ต ร ๔๔๑,


นิรุตติทีปนี, สูตร ๕๖๓.
๑๐๖ มังคลัตถวิภาวินี

อริยสจฺจทสฺสนกถา
-๐-

ทุกขฺ ํ อริยสจฺจํ : วิเสสลาภี (มงฺคล. ๒/๕๓๑/๔๑๑)


ทุกฺขํ วิเสสลาภี ของ อริยสจฺจํ แปลวา อริ ยสั จ คื อทุ กข , แม คำว า
ทุกฺขสมุท โย ทุ กฺขนิโรโธ ทุกฺขนิโรธคามิ นี ปฏิ ปทา ก็เปน วิ เสสลาภี ของ
อริยสจฺจ๑ํ (วิเสสลาภี ควรแปลวา คือ ทุกตัว)

ภวา (มงฺคล. ๒/๕๔๒/๔๒๐)


คำว า ภวา ท านอธิบ ายวา วตฺ ต มานา สั ม พั น ธ เข ากั บ เอกา ธาตุ
ทิธมฺมิกา เปนอิตถีลิงค เอกวจนะ, นาสงสัยวา ภวา ทำตัวอยางไร เรื่องนี้
ตองรอทานผูรูแนะนำ, เทาที่คนพบหลักฐาน ไดขอสันนิษฐานวา
๑. ภวา ศั พ ท เดิ ม เป น ภว (ภู +อ) ภวตี ติ ภโว แปลว า มี ใช เป น
คุณนาม แจกได ๓ ลิงค แจกแบบ ปุริส, กฺา, กุลํ ตามลำดับ เชน
ตํสมฺปยุตฺตตาย มนสิ ภโวติ ราโค มานโส ฯ คุณปริปุณฺ ณตาย ปุเร
ภวาติ โปรี ฯ๒ เจตสิ ภวํ ตทายตฺตวุตฺติตายาติ เจตสิกํ ฯ๓ อุทเร ภวํ อุทริยํ๔
๒. ขอใหพิจารณา อรหนฺต และ มหนฺต ศัพท ที่ไดรูปเปน อรหา และ
มหา ใชเป น อิตถีลิงค ตามแนวที่ทานแสดงไวสัททนีติปทมาลา เชน อิตฺถี
อรหา อโหสิ ฯ๕ เสนา สา ทิสฺสเต มหา ฯ๖ เปนไปไดหรือไมวา ภวา ศัพท
เดิมคือ ภวนฺต (ภู+อนฺต) ทำตัวเหมือน อรหา, มหา นั้น
๑ อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒, หนา ๔.
๒ มงฺคล. ๒/๕๖๒/๔๓๓ และ มงฺคล. ๒/๖๑/๕๕.
๓ สงฺคห.ฏี. ๑/๖๗.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๗๗๔ หนา ๗๗๔.
๕ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๖๗, ๕๘๗-๕๘๘.
๖ ขุ.ชา. ๒๘/๖๗๙/๒๔๓.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๐๗
นิพฺพานสจฺฉิกิริยากถา
-๐-

ก ฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ : แปลแลวยกขึ้นตั้งอรรถ (มงฺคล. ๒/๕๔๔/๔๒๒)


คำวา กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ ทำหนาที่ ๒ อยาง คือ (๑) เปนสวนหนึ่ง
ของประโยคหนา โดย อุปาทิยติ ทำหนาที่กิริยาคุมพากยและ กฺจิ ธมฺมํ
เปนบทที่เนื่องกับกิริยาคุมพากย (๒) กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ เปนบทตั้งอรรถ
ของประโยคหลัง
นั ก เรี ย นจึ ง ควรแปลซ้ ำ ๒ ครั้ ง คื อ แปลไปจนจบประโยคที่
กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ แลวยก กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ นั้นขึ้นแปลเปนบทตั้ง
ขึ้น อตฺโถ มาเปนตัวเปด อิติ ทาย อุปาทิยติ ทั้ง ๒ บท และไข สหิตํ
ไปที่ ปวตฺตํ วา
น จ อุ ป าทานสมฺ ป ยุ ตฺ ต นฺ ติ อุ ป าทาเนหิ สหิ ตํ เอกสฺ มึ
ปติ ต วเสนาป อุ ป าทาเนหิ สห ปวตฺ ตํ หุ ตฺ ว า น จ กฺ จิ ธมฺ มํ
อุปาทิยตีติ กสฺสจิ ธมฺมสฺส อารมฺมณกรณวเสน อุปาทิยตีติ ฯ
บทวา น จ อุปาทานสมฺปยุตฺตํ ความวา พระอรหัตผลนั้น
หาเปนธรรมชาตประกอบดวยอุปาทานทั้งหลาย คือ เปนไปกับ
ดวยอุปาทานทั้งหลาย แมดวยสามารถที่ตกไปในอุปาทานอยาง
หนึ่ง ยึดมั่นธรรมอะไรๆ ไมฯ
หลายบทวา กฺ จิ ธมฺ มํ อุป าทิ ยติ ความว า ย อมยึดมั่ น
ดวยสามารถการทำธรรมอะไรๆ ใหเปนอารมณ (หามิได) ฯ

ลักษณะประโยคอยางนี้ นักเรียนเคยพบมาบางแลว ในหนังสือธัมม-


ปทัฏฐกถา ภาค ๖ อตฺตทตฺถตฺเถรวตฺถุ แกอรรถที่วา สทตฺถปฺปสุโต สิยาฯ๑
๑ ธ.อ. ๖/๒๗.
๑๐๘ มังคลัตถวิภาวินี

อาลมฺเพติ (มงฺคล. ๒/๕๕๒/๔๒๖)


อาลมฺ เพติ [อา+ลพิ อวสํสเน ๑+เอ+ติ, ลงนิคคหิ ตกลางธาตุ แปลง
เป น มฺ ๒] ย อ มหน ว งเหนี่ ย ว, ในข อ เดี ย วกั น นี้ พึ ง แก อารมฺ เพยฺ ยุ  เป น
อาลมฺเพยฺยุ

อาโท ลง สฺมึ สัตตมีวิภตั ติ (มงฺคล. ๒/๕๕๔/๔๒๗)


อาโท ในขอวา อิธ ปนาโท ปาทตฺตยํ นวนวกฺขริกํ ฯ [ก็ในคาถานี้ ๓
บาทขางตน มีอักษรบาทละ ๙], นักเรียนสงสัยวา อาโท ลงวิภัตติอะไร
อาโท ศัพทเดิมเปน อาทิ ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ แปลง สฺมึ กับ อิ เปน
โอ ไดรูปเปน อาโท แปลวา ในเบื้องตน
ทั้งนี้ มีหลักการวา หลัง อาทิ ศัพทเปนตน แปลง สฺมึ วิภัตติ เปน อํ
เปน โอ บาง๓ เชน อาทึ, อาโท ในเบื้องตน, รตฺโต ในเวลากลางคืน
อาทิ ศัพท วิเคราะหวา อาที ยเต ปมํ คณฺ หี ยเตติ อาทิ สวนที่ถูก
ถือเอากอน ชื่อวาอาทิ (อา+ทา+อิ, ลบสระหนา)๔



๑ สัททนีติธาตุมาลา, หนา ๓๓๙.


๒ กจฺจายน. สูตร ๓๑, ปฺจิกา.โย. ๑/๑๖๔.
๓ กจฺจายน. สูตร ๖๙, รูปสิทฺธิ สูตร ๑๘๖ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๒๑๘ หนา ๑๗๖.
๔ อภิธานวรรณนา, คาถา ๗๑๕ หนา ๘๗๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๐๙
ทสมคาถายตฺถวณฺณนา
อกมฺปตจิตฺตกถา
-๐-

อุปายาเสหิ : อุปายาส คืออะไร (มงฺคล. ๒/๕๖๖/๔๓๗)


ในขอวา
โส เอวํ อนุโรธวิโรธสมาปนฺโน น ปริมุจฺจติ ชาติยา ชรา-
มรเณน โสเกหิ ปริเทเวหิ ทุกเฺ ขหิ โทมนสฺเสหิ อุปายาเสหิ ฯ
[เขาถึงพรอมดวยความยินดีและความยินรายอยางนี้ ยอม
ไม พ น จากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริ เทวะ ทุ ก ข โทมนั ส
อุปายาส]
นั ก เรีย นสงสัยว า อุ ป ายาส คื อ อะไร โสกะ ปริเทวะ ทุ ก ข โทมนั ส
อุปายาส ตางกันอยางไร
อุปายาส [อุป+อายาส] แปลกันวา ความคับแคนใจ, คำวา อุปายาส
เปนกัมมธารยสมาส วิ. ภูโส อายาโส อุปายาโส๑ [ความลำบากใจอยางมาก
ชื่อวา อุปายาส]
อุป ในที่นี้หมายความวา ภูส/ภุส๒ หรือ พลว แปลวา กลา, รุนแรง,
มาก, มีกำลัง
อายาส [อา ยา คติยํ ส] แปลวา “ความลำบากใจ” ทานอธิบายวา
อายาโสติ สํสีทนวิสีทนาการปฺปตฺโต จิตฺตกิลมโถ ฯ พลว-
ภาเวน อายาโส อุปายาโส ฯ

๑ อุ.อ. ๑/๖๔. (ฉบับพมาเปน ภุโส)


๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๘๗๐.
๑๑๐ มังคลัตถวิภาวินี

[อายาส คือความลำบากใจซึ่งเปนไปโดยอาการใจหายใจ
คว่ำ, ความลำบากใจเหลือกำลัง ชื่อวาอุปายาส]
อุปายาส มีลักษณะติดของงวนอยูกับอารมณที่ใหเกิดความไมสบาย
ใจ (พฺยาสตฺติลกฺขโณ) ทำใหเกิดการทอดถอนหมดอาลัย (นิตฺถุนนรโส) และ
ปรากฏผลเปนความเศราใจ (วิสาทปจฺจุปาโน)
ขอให นักเรียนอา นเรื่องในอรรถกถามหานิเทส ดั งต อไปนี้ จะเห็ น
ความตางของ ทุกข (ทุกขกาย) โทมนัส (ทุกขใจ) โสกะ ปริเทวะ อุปายาส
ความโศก พึ ง เห็ น เหมื อ นการหุ งต ม ภายในภาชนะด ว ยไฟอ อ นๆ
ปริเทวะ พึงเห็น เหมื อ นการลน ออกนอกภาชนะของอาหารที่ หุ งตม ดว ย
ไฟแรง อุปายาส พึงเห็นเหมือนการเคีย้ วอาหารทีเ่ หลือจากลนออกภายนอก
ลนออกไมไดอีก เคี่ยวภายในภาชนะนั่นแหละจนกวาจะหมด๑
จริงอยู เมื่ อ บุ ค คลถูก พระราชากริ้ วแล วก็ ท รงถอดยศ ทั้ งบุ ตรและ
พี่ชายนองชายของเขาก็ถูกประหาร ทั้งตัวเขาเองก็ถูกสั่งประหาร เพราะเขา
กลัวจึงหลบหนีไปในดง ถึงความเปนผูเศราใจอยางใหญ หลวง เกิดทุกขะ
(ทุกขกาย) มีกำลังเพราะยืนเปนทุกขนอนเปนทุกขนั่งเปนทุกข เมื่อคิดอยูวา
พวกญาติของเราเทานี้ โภคทรัพยเทานี้ ฉิบหายแลว ดังนี้ โทมนัส (ทุกขใจ)
มีกำลังก็ยอมเกิดขึ้น
จริงอยู เมื่อบุคคลประสบทุกข โดยทุกขคือการถูกตัดมือตัดเทา และ
ตัดหูตัดจมูกซึ่งนอนวางกระเบื้องเกาไวขางหนาขออาหารในศาลาของคน-
อนาถา เมื่ อ มีหมูห นอนออกจากแผลทั้ งหลาย ทุ ก ข กายเหลือ กำลั งย อม
เกิดขึ้น โทมนัสรุนแรงก็ยอมเกิดเพราะเห็นมหาชนผูมีเสือ้ ผายอมดวยสีตา งๆ
ประดับไดตามชอบใจเลนงานนักษัตรอยู

๑ นิทฺ.อ. ๑/๑๐๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑๑

อโสกจิตฺตกถา
-๐-

อนฺโต ลงแลวลบวิภัตติ (มงฺคล. ๒/๕๗๐/๔๔๐)


อนฺโต เป นนิบาต ลงแลวลบวิภัตติ คงรูปเป น อนฺโต อยางเดิม เชน
อนฺโต ลงแลวลบ อํ ทุติยาวิภัตติ ในขอวา
อพฺ ภ นฺ ต รนฺ ติ อตฺต ภาวสฺ ส อนฺ โต อตฺ ต โน ลู ข ภาวตาย
โสเสนฺโต ถามคมเนน สมนฺตโต โสสนวเสน ปริโสเสนฺโต
[บทวา อพฺภนฺตรํ เป นตน ความวา ความโศกนั้น ชื่อวา
ยังภายในอัตภาพใหแหงเหือด เพราะความที่ตนมีภาวะเศรา-
หมอง ชื่อวา ยังภายในอัตภาพใหแหงผาก ดวยอำนาจความ-
แหงเหือดโดยรอบ เพราะถึงความรุนแรง]
อนฺโต เดิมเปน นิบาต ในที่นี้ใชเปนนามนาม ลง อํ ทุติยาวิภัตติแลว
ลบ อํ นั้นเสีย คงเปน อนฺโต เรียกสัมพันธวา การิตกมฺม ใน โสเสนฺโต และ
ปริโสเสนฺโต, อนฺโต ในที่นี้สองอรรถ อพฺภนฺตร
การลบวิภัตติหลังอุปสัคและนิบาต เปนตนนี้ นักศึกษาพึงคนควาจาก
คัมภีรไวยากรณทั้งหลาย เชน คัมภีรปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๒๘๒ วา
สพฺพ าสมาวุโสปสคฺคนิปาตาที หิ จ [ลบวิ ภัตติทั้ งปวงทาย อาวุโส
อุปสัค และนิบาต เปนตนนั่นเทียว]๑
ตัวอยางการลบวิภัตติหลังอุปสัคและนิบ าต เชน นโม ที่ เปน นิบาต๒
เมื่อจะใชเปนนามนาม ใหลงวิภัตติแลวลบ คงรูปเปน นโม เชน
๑ กจฺจายน. สูตร ๒๒๑, รูปสิทฺธิ. สูตร ๒๘๒, สัททนีตส
ิ ุตตมาลา, สูตร ๔๔๘ หนา ๓๑๐.
๒ นโม เปน นิบาต ดู อธิบายวากยสัมพันธ เลม ๒, หนา ๑๑๔.
๑๑๒ มังคลัตถวิภาวินี

นโม อตฺถ๑ุ (ลบ สิ ที่ นโม)


[ขอความนอบนอม จงมี]
นโม กโรหิ นาคสฺส๒ (ลบ อํ ที่ นโม)
[ทานจงกระทำความนอบนอมแดพระอรหันต]

ฌาเปสิ (มงฺคล. ๒/๕๗๒/๔๔๒)


ฌาเปสิ เป น ทั้ ง กั ต ตุ ว าจกและเหตุ กั ต ตุ ว าจก ที่ เ ป น กั ต ตุ ว าจก
ประกอบดวย ฌป ธาตุ (จุราทิคณะ)+เณ ปจจัย+ส อาคม+ อี วิภัตติ สวนที่
เปน เหตุกัตตุวาจก ประกอบดวย เฌ ธาตุ (ภูวาทิคณะ)+ณาเป ป จจัย+ส
อาคม+ อี วิภัตติ
เฌ ธาตุใช ในอรรถวา สอ งสว า ง,ลู ก โพลง, เร าร อ น, ไหม (ทิ ตฺ ติ ยํ ,
ทหนทิตฺตีสุ) จัดลงในหมวด ภู ธาตุ ในกั ตตุวาจกมีรูปเป น ฌายติ สวนใน
เหตุกัตตุวาจกมีรูปเปน ฌาเปติ
ฌป ธาตุใชในอรรถวา เผา, เรารอน, ไหม (ทาเห, วิทาเห) จัดลงใน
หมวด ภู ธาตุและ จุร ธาตุ ในกัตตุวาจกมีรูปเปน ฌปติ (ลง อ ปจจัยประจำ
หมวด ภู ธาตุ) และ ฌาเปติ (ลง เณ ปจจัยประจำหมวด จุร ธาตุ)
สวนในเหตุกัตตุวาจกมีรูปเปน ฌาปาเปติ, ฌาปาปยติ สวนในคัมภีร
สัททนีติ ธาตุมาลา ฉบับแปล หนา ๘๒๙ กลาววา ฌาป ธาตุ ที่ประกอบใน
เหตุกัตตุวาจกลงปจจัยได ๒ ตัว คือ ณาเป และ ณาปย๓

๑ วิมติ.ฏี. ๑/๓.
๒ ม.มู. ๑๒/๒๘๙/๒๘๑.
๓ พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับ
แกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๑๕๐.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑๓
อาคา (มงฺคล. ๒/๕๗๔/๔๔๓)
อาคา [อา+คม/คมุ ธาตุ+อ ปจจัย+อี อัชชัตตนีวิภัตติ], อาคา ในขอ
วา อนวฺหาโต ตโต อาคา แปลวา มาแลว, เอา อี กับที่สุดธาตุเปน อา
ในคัมภีรโมคคัลลานะวา เมื่อลง อา หิยัตตนีวิภัตติ และ อี อัชชัตตนี-
วิภัตติแลว เอาตัวทายแหง คม ธาตุเปน อา๑

กาลกเต (มงฺคล. ๒/๕๗๓/๔๔๓)


ผูเขียนนีไ้ ดตรวจสอบหลักฐานแลว เห็นวาควรแก กาลากเต เปน
กาลกเต ดังแสดงในคาถานี้วา
อุรโคว ตจํ ชิณฺณํ หิตฺวา คจฺฉติ สนฺตนุ
เอวํ สรีเร นิพฺโภเค เปเต กาลกเต สติ ฯ๒
ตสฺส [ตํ อสฺส] (มงฺคล. ๒/๕๗๓/๔๔๓)
ตสฺ ส ดั ง จะแสดงต อ ไปนี้ ตั ด บทเป น ตํ -อสฺ ส เมื่ อ มี ส ระหรื อ
พยัญชนะอยูเบื้องหลัง ลบนิคคหิตซึ่งอยูหนาบางก็ได จึงตอเปน ตสฺส มี อุ.
วา วิทูน-ํ อคฺคํ เปน วิทูนคฺค๓ํ , ขอใหพิจารณา ตสฺส ในคาถานี้
ฑยฺหมาโน น ชานาติ าตีนํ ปริเทวิตํ ฯ
ตสฺมา เอตํ ม โสจามิ คโต โส ตสฺส ยา คตีติ ฯ๔
[บุตรของขาพระองคนั้นอันพวกขาพระองค ประชุมกันเผาอยู ยอม
ไมรูถึงความคร่ำครวญของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ขาพระองคจึงไมเศราโศก
ถึงเขา เขาไปสูคติของเขาแลว]
๑ โมคฺ. สูตร ๖.๒๙.
๒ เปต.อ. ๘๙.
๓ รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๓.
๔ เปต.อ. ๘๙.
๑๑๔ มังคลัตถวิภาวินี

พึงทราบวา ตสฺส ในคาถานี้ ตัดบทเปน ตํ-อสฺส ซึ่งสอดคลองกั บที่


ทานอธิบายไวในแกอรรถวา ยา จสฺส อตฺตโน คติ ตํ โส คโต [และคติใดเปน
คติของตนของเขา เขาไปสูคตินั้นแลว]
แม ตสฺส ในคาถา ขอที่ ๕๗๔-๕๗๗ ก็ตัดตอบทเชนเดียวกับที่แสดง
มาแลวนี้

ปริณเต (มงฺคล. ๒/๕๘๐/๔๔๗)


ปริณเต [ปริ+นมุ+ต+สฺมึ] ปริ บทหนา นมุ ธาตุ นมเน ในความนอม,
นอบนอม ต ปจจัย ลบ มุ ที่สุดธาตุ แปลง น เปน ณ ดังที่คัมภีรปทรูปสิทธิ
วา ตถา โณ นสฺส ปปริอาทิโต [หลังอุปสัค ป ปริ เปนตน แปลง น เปน ณ]๑
ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ ไดรูปเปน ปริณเต



๑ รูปสิทฺธิ. อธิบายสูตร ๔๒.


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑๕

วิรชจิตฺตกถา
-๐-

ภยมนฺตรโต (มงฺคล. ๒/๕๘๘/๔๕๓)


ภยมนฺตรโต [ภยํ+อนฺตรโต], โต ปจจัยในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ
๕๘๘ ดังจะแสดงตอไปนี้ ใชในอรรถสัตตมีวิภัตติ แปลวา ใน
ภยมนฺตรโต ชาตํ ตฺชโน นาวพุชฺฌติ
[ชนยอมไมรูสึกถึงภัยนั้นอันเกิดแลวในภายใน]
ในขอตอไปทานแกวา อนฺตรโต อพฺภนฺตเร อตฺตโน จิตฺเตเยว และวา
อนฺตรโตติ อพฺภนฺตรโต จิตฺตโต วา
นักเรียนบาลี เรียนกันมาวา โต ปจจัย เปน เครื่องหมายตติยาวิภัตติ
และปญจมีวิภัตติ๑ แตที่จริงปรากฏวา ทานใช โต ปจจัย ในอรรถวิภัตติอื่นๆ
อีก เชน โต ปจจัยใชในอรรถสัตตมีวิภัตติ ดังที่ทานอธิบายไว เนปาติกปท
แหงปทรูปสิทธิวา โต สตฺตมฺยตฺเถป๒ [โต ปจจัยลงในอรรถสัตตมีก็ได]



๑ บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ นามและอัพยยศัพท, หนา ๑๐๔.


๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๘๙๑.
๑๑๖ มังคลัตถวิภาวินี

เขมจิตฺตกถา
-๐-

ราช ฺโ (มงฺคล. ๒/๕๙๙/๔๖๒)


ราชฺโ [ราช+ฺ+สิ] เจานคร, พระราชาที่ยังไมไดราชาภิเษก; ลง
ฺ ปจจัยในโคตตตัทธิตหรืออป จจตัทธิต (ปจจัยนอกแบบ) ลงหลัง ราช
ศัพท ใชแทน อปจฺจ ศัพท, วิ. รฺโ อปจฺจํ ราชฺโ๑
อิยตมกิเอสานมนฺตสฺสโร (มงฺคล. ๒/๖๑๒/๔๗๐)
ในหนังสือเรียน ขอ ๖๑๒ ทานวิเคราะหและอธิบายคำวา อีทิสานิ ไว
จับสาระสำคัญไดวา
อีทิสานิ ประกอบดวย อิม+ทุสฺ เปกฺขเน+กฺวิ+โย ลบ ม ที่ อิม แลว
ทีฆะ อิ เปน อี, แปลง อุ ที่ ทุสฺ เปน อิ, แปลง สฺ ที่ ทุสฺ เปน ส, ลบ กฺวิ และ
ลง โย ปฐมาวิภัตติ
วิธีการ “ทีฆะ อิ เปน อี” เปนตนนั้ น ท านทำตามวิ ธีที่แสดงในสูตร
๖๔๒ แหงคัมภีรกัจจายนะ ซึ่งคัมภีรนยาสะอธิบายไวอีกทอดหนึ่ง
สูตรดังกลาวนั้น ทานแสดงไวอยางยอ และซอนคำซอนความ ผูเขียน
นี้จึงขอนำสูตรมาแสดงแลวแปลโดยพยัญชนะ โดยอรรถ อธิบายและแสดง
การทำตัวไวดวย
๏ สูตร
อิยตมกิเอสานมนฺตสฺสโร ทีฆํ กฺวจิ ทุสสฺส๒ คุณํ โท รํ สกฺขี จ๓

๑ โมคฺ. สูตร ๔.๖.


๒ กจฺจายน. สูตร ๖๔๒; รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๘๘; สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๒๖๙.
๓ กจฺจายน. สูตร ๖๔๒ วา ทุสสฺส, สวนใน รูปสิทฺธิ. สูตร ๕๘๘ วา ทิสสฺส
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑๗
๏ แปลโดยพยัญชนะ
อนฺตสฺสโร อ. สระที่สุด อิ-ย-ต-ม-กิ-เอ-สานํ แหง อิ-ย-ต-
ม-กิ-เอ และ ส ศัพท ท. (อาปชฺชเต) ยอมถึง ทีฆํ ซึ่งความเปน
ที ฆ ะ (จ ด ว ย), (อุ ก าโร) อ. อุ อั ก ษร ทุ ส สฺ ส ของ ทุ สฺ ธาตุ
(อาปชฺชเต) ยอมถึง คุณํ ซึ่งความเปนสระขั้นคุณ (คือเปน อิ),
โท อ. ท อักษร (ทุสสฺส) ของ ทุสฺ ธาตุ (อาปชฺชเต) ยอมถึง รํ
ซึ่งความเปน ร กฺวจิ บาง (จ ดวย), (อาเทสา) อ. การแปลง ท.
(ธาตุอนฺตสฺส ) ซึ่งที่สุดธาตุ สกฺขี (โหนฺติ ) เป น ส, กฺข และ อี
ยอมมี จ ดวย๑
๏ แปลโดยอรรถ
สระที่สุด แหง อิ-ย-ต-ม-กิ -เอ และ ส ให ทีฆะ, แปลง อุ
แหง ทุสฺ ธาตุ เปนสระขั้นคุ ณ (คือเป น อิ), แปลง ท แห ง ทุ สฺ
ธาตุ เปน ร ไดบาง และแปลง สฺ แหง ทุสฺ ธาตุ เปน ส, กฺข และ
อี ไดบาง
๏ อธิบายสูตร
อิยตมกึเอสอิจฺเจเตสํ สพฺพนามานมนฺโต สโร ทีฆมาปชฺชเต,
กฺวจิ ทุสอิจฺเจตสฺสธาตุสฺส อุกาโร คุณมาปชฺชเต, ทกาโร
รการมาปชฺชเต, ธาตุอนฺตสฺส จ สกฺข อี จาเทสา โหนฺต๒ิ
สระอันเปนที่สุดแหงสรรพนามเหลานี้คือ อิ-ย-ต-ม-กิ-เอ
และ ส ศั พท ยอมถึงการที ฆะ, แปลง อุ ของ ทุ สฺ ธาตุนั้ นเป น
คุณสระ, แปลง ท เปน ร บาง, และอาเทส ที่สุดธาตุเปน ส, กฺข
และ อี บาง
๑ ปรับจาก สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๒๖๙. ซึ่งแปลโดย จำรูญ ธรรมดา
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๒๖๙ หนา ๑๑๒๖.
๑๑๘ มังคลัตถวิภาวินี

อิ-ย-ต-ม-กิ-เอ และ ส ในที่นี้เปนศัพทที่ถูกลดรูปแลว ไดแก


อิ คือ อิม ที่ลบ ม แลว เหลือ อิ
ย และ ต ก็คือ ย และ ต สัพพนามนั่นเอง
ม คือ อมฺห ที่แปลงเปน ม
กิ คือ กึ ที่ลบ นิคคหิตแลว เปน กิ
เอ คือ เอต ที่ลบ ต แลว เหลือ เอ
ส คือ สมาน ที่แปลงเปน ส
สอดคลองกับคัมภีรสัททนีติ อธิบายสูตร ๑๒๖๙ นั้นวา ในสูตรนี้ คำ
วา อิ หมายเอา อิม ศัพท, คำวา ม หมายเอา อมฺห ศัพท, คำวา เอ หมาย
เอา เอต ศัพท, คำวา ส หมายเอา สมาน ศัพท
ศัพทเหลานี้ เมื่อขยาย ทุส ธาตุ และ ลง กฺวิ ปจจัยแลว ใหทีฆะ เชน
อิม+ทุส+ฺ กฺวิ=อีทิส (ลบ ม ทีฆะ อิ เปน อี)
ในเรื่องดังกลาวนี้ สรุปสาระสำคัญได ดังนี้
๑. ทำทีฆะสระ เชน อิม+ทุส+ฺ กฺวิ ทีฆะเปน อีทิส
๒. แปลง อุ แหง ทุสฺ เปนคุณสระ (คือเปน อิ) ไดรูปเปน ทิสฺ [คุณสระ
หรือสระขั้นคุณจะอธิบายตอไป]
๓. แปลงที่สุดธาตุ
แปลง สฺ เปน ส ไดรูปเปน -ทิส
แปลง สฺ เปน กฺข ไดรูปเปน -ทิกฺข
แปลง สฺ เปน อี ไดรูปเปน -ที เชน ตาที
๔. แปลง ท แหง เปน ร ไดรูปเปน -ริส, -ริกฺข
๕. ลบ กฺวิ ปจจัย
๏ ตัวอยาง
อิม+ทุสฺ+กฺวิ=อีทิส, อีทิกฺข, อีที, อีริส
วิ. อยํ วิย โส ทิสฺสตีติ อีทิโส, อีทิกฺโข, อีที, อีริโส (ปุริโส)
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑๙
ย+ทุส+ฺ กฺวิ=ยาทิส, ยาทิกฺข, ยาที, ยาริส
วิ. โย วิย โส ทิสฺสตีติ ยาทิโส, ยาทิกฺโข, ยาที, ยาริโส (ปุริโส)
ต+ทุสฺ+กฺวิ=ตาทิส, ตาทิกฺข, ตาที, ตาริส
วิ. โส วิย โส ทิสฺสตีติ ตาทิโส, ตาทิกฺโข, ตาที, ตาริโส (ปุริโส)
อมฺห+ทุสฺ+กฺวิ=มาทิส, มาทิกฺข, มาที, มาริส
วิ. อหํ วิย โส ทิสฺสตีติ มาทิโส, มาทิกฺโข, มาที, มาริโส (ปุริโส)
กึ+ทุส+ฺ กฺวิ=กีทิส, กีทิกฺข, กีที, กีริส
วิ. โก วิย โส ทิสฺสตีติ กีทิโส, กีทิกฺโข, กีที, กีริโส (ปุริโส)
เอต+ทุส+ฺ กฺวิ=เอทิส, เอทิกฺข, เอที, เอริส
วิ. เอโส วิย โส ทิสฺสตีติ เอทิโส, เอทิกฺโข, เอที, เอริโส (ปุริโส)
สมาน+ทุสฺ+กฺวิ=สาทิส, สาริกฺข, สาที, สาริส หรือ สทิส, สริส, สริกฺข
วิ. สมาโน วิย โส ทิสสตีติ สาทิโส ฯลฯ (ปุริโส)
๏ ตัวอยางการทำตัว
อีทสิ านิ อิม บทหนา ทุสฺ ธาตุในการเห็น กฺวิ ปจจัย โย วิภัตติ
อิม+ทุสฺ+กฺวิ
อิ+ทุส+ฺ กฺวิ [ลบ ม]
อี+ทุส+ฺ กฺวิ [ทีฆะ อิ เปน อี]
อีทิส +กฺวิ [แปลง อุ ที่ ทุ เปนคุณสระคือ อิ, แปลง สฺ เปน ส]
อีทิส [ลบ กฺวิ ปจจัย]
อีทิส+โย [เอา อ กับ โย เปน อานิ]
อีทิสานิ [สำเร็จรูปเปน อีทิสานิ]
๏ คุณสระ-สระขั้นคุณ
ในสูตรที่ วา “ทุสสฺส คุณํ (อุกาโร) แปลง อุ แหง ทุสฺ ธาตุ เปนสระ
ขั้นคุณ (คือเปน อิ)” นั้น ไดอธิบาย คุณสระ-สระขั้นคุณ คางไว
๑๒๐ มังคลัตถวิภาวินี

คุณ สระ หรือ สระขั้นคุณ ในที่นี้ หมายถึ ง สระ อ เป น ต น ซึ่งเป น


ลำดับขั้นสระที่จัดตามแนวคิดที่ไดรับอิทธิพลจากไวยากรณสันสกฤต
การจัดขั้นสระตามไวยากรณสันสกฤต แบงสระเปน ๓ ขั้น ไดแก
ขั้นสามัญ ไดแก อ อิ อุ
ขั้นคุณ ไดแก อา อี อู
ขั้นวุทธิ ไดแก เอ โอ
แตสำหรับในสูตรบาลีไวยากรณนี้ จัดเปน ๒ ไดแก
คุณสระ ไดแก อ อิ อุ
วุทธิสระ ไดแก อา อี อู เอ โอ
ดัง ที่ คั ม ภี รสั ท ทนี ติ อธิ บ ายสู ต ร ๑๒๖๙ นั้ น ว า ก็ ในสู ต รนี้ คำว า
“คุณํ” หมายเอารัสสะมี อิ เปนตน เพราะ อา อักษรเปนตนถูกถือเอาดวย
คำวาวุทธิ ฉะนั้น อุ ที่ ทุสฺ ธาตุ จึงถูกแปลงเปน อิ เชน อีทิส


พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๒๑
เอกาทสมคาถายตฺถวณฺณนา
-๐-

คจฺ เฉ (มงฺคล. ๒/๖๒๗/๔๘๑)


ในคาถา หน า ๔๘๑ ขอความว า สเจ เนตฺ ถ ผลํ คจฺ เฉ แปลวา ถ า
ขาพเจาไมพึงบรรลุอรหัตผลในชาตินั้น
คจฺเฉ [คม+อ+เอยฺยํ] (อหํ) เราพึงไป, ถึง, บรรลุ แปลง ม เป น จฺ ฉ
แปลง เอยฺ ยํ เป น เอ ในคั ม ภี ร ป ทรู ป สิ ท ธิ ท า นอธิ บ ายว า แปลง เอยฺ ย
เอยฺยาสิ เอยฺยามิ เอยฺยํ เปน เอ๑
เมื่อทำตัวตามวิธีนี้ คจฺเฉ จึงเปนกิริยาของประธานฝายเอกวจนะครบ
๓ บุรุษ ไดรูปตางๆ ดังนี้
โส คจฺเฉ-โส คจฺเฉยฺย, เขาพึงไป
ตฺวํ คจฺเฉ-ตฺวํ คจฺเฉยฺยาสิ, ทานพึงไป
อหํ คจฺเฉ-อหํ คจฺเฉยฺยามิ, คจฺเฉยฺยํ, เราพึงไป
คจฺเฉ ในที่นี้ มีรูปเหมือน คจฺเฉ ที่ลง เอ วัตตมานา อุตตมบุรุษ เอก-
วจนะ เชน วนฺเท-วนฺทามิ
อหํ คจฺเฉ, อหํ คจฺฉามิ เรายอมไป

อุรุ ศัพท์ ในคำวา สิรฺยาทิมงฺคลภิธานยุโตรุเถโร (มงฺคล. ๒/๖๒๖/๔๗๙)


สิรฺยาทิมงฺคลภิธานยุโตรุเถโร [สิริ-อาทิ-มงฺคล-อภิธาน-ยุ โต-อุรุ-เถโร]
ทานแปลวา “พระเถระผูประเสริฐ (มหาเถระ) ประกอบดวยนามวา มงคล
มี สิริ ศัพท เปนบทตน”, คำวา ผูประเสริฐ (มหาเถระ) เปนคำแปลของศัพท
วา อุรุ

๑ รูปสิทธฺ ิ. อธิบายสูตร ๔๔๒, ๔๕๔.


๑๒๒ มังคลัตถวิภาวินี

ในพจนานุกรมมคธ-ไทย ทานแปล อุรุ ศัพทนี้วา ใหญ , หนา, มาก,


เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ, มีคา๑
สอดคลองกับวิมติวิโนทนีฎีกาวา อุรุ ศัพท สองอรรถวา ใหญ เชน อุรุ
ศัพท ในคำวา อุรุเวลา [อุรุเวลายนฺติ เอตฺถ อุรสุ ทฺโท มหนฺตวาจี]๒
บันทึกท้ายเล่ม
๑. หนั งสื อ นี้ เกิด ขึ้น เพราะคำถามของนั ก เรี ยนก็ จ ริง อยู แต เพราะ
ตอ งการความกระชับ และไดห นั งสื อ เล ม บาง ฉะนั้ น ในที่ บ างแห งจึ งตั ด
คำถามนั้นออก คงไวแตคำตอบ ผูศึกษาพึงกำหนดไดเปนธรรมดาวา คำตอบ
ก็โยงไปถึงคำถามนั่นเอง
๒. เนื่ องจากมี ผูรอเปนเจาภาพพิ ม พ อยู แ ล ว ผู เขี ย นนี้ จึงไม ควรยื้ อ
เวลาออกไปมากนัก เพื่อใหหนังสือเสร็จออกมาขั้นหนึ่งกอน จึงไดกันเนื้อหา
บางสวนออกไปรอไวพิมพครั้งตอไป เนื้อหาที่กันออกไปรอไวนั้น เชน
ยงฺกิฺจิ (มงฺคล. ๒/๕/๓) กึ ที่มี ย นำหนา มี จิ ตอทาย แปลวา ทัง้ หมด
(สกล) เชน อนฺนนฺติ ยงฺกิฺจิ ขาทนียํ โภชนียํ ฯ๓
อมา ศั พท (มงฺคล. ๒/๑๐๗/๙๒) เป นอั พยยศัพท จำพวกนิบาต ใช ใน
อรรถเดียวกันกับ สห, สทฺธึ (ใชในอรรถทำพรอมกัน)๔
สพฺพลหุโส (มงฺคล. ๒/๑๘๘/๑๔๖) ส ในที่นี้ใชเปนสกัตถ (ส สกตฺเถ)๕
ภิยฺโยโส มตฺตาย (มงฺคล. ๒/๓๒๕/๒๕๕) มตฺตาย ลง ส จตุตถีวิภัตติ ใช
ในอรรถป ญ จมี วิ ภั ต ติ ห รื อ ตติ ย าวิ ภั ต ติ แปลว า กว า ประมาณ หรื อ
โดยประมาณ๖
๑ พั นตรี ป. หลงสมบุ ญ, พจนานุ กรม มคธ-ไทย, (กรุ งเทพฯ สำนั กเรียนวั ดปากน้ ำ,
๒๕๔๐), หนา ๑๔๐.
๒ วิมติ.ฏี. ๒/๑๐๗.
๓ สารัตถทีปนีฎีกา มหาวรรควรรณนา แปล, หนา ๑๒๗.
๔ สัททนีติสุตตมาลา, จตุปทวิภาค หนา ๑๒๗๓.
๕ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๘๓๙.
๖ สัททนีติสุตตมาลา, อธิบายสูตร ๖๗๒ หนา ๕๗๐.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๒๓
บรรณานุกรม

กองตำรา มหามกุฏราชวิทยาลัย, อธิบายบาลีไวยากรณ นามและอัพยยศัพท,
กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๘๓.
............, อธิบายบาลี ไวยากรณ อาขยาต, กรุงเทพฯ: มหามกุ ฏ ราชวิทยาลัย ,
๒๔๘๓.
............, อธิบ ายบาลี ไวยากรณ สมาสและตั ท ธิ ต , กรุ งเทพฯ: มหามกุ ฏ ราช-
วิทยาลัย, ๒๔๘๓.
............, อธิ บ ายวากยสั ม พั น ธ เล ม ๒, กรุ ง เทพฯ: มหามกุ ฏ ราชวิ ท ยาลั ย ,
๒๔๘๓.
บุญสืบ อินสาร, คูมือแปลมังคลทีปนี ภาค ๒, พิมพครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ: สืบสาน-
พุทธศาสน, ๒๕๕๖.
............, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, กรุงเทพฯ: มูลนิธิสงเสริม-
สามเณร ในพระสังฆราชูปถัมภ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก, ๒๕๕๕.
แผนกตำรา มหามกุ ฏราชวิ ทยาลัย, อธิ บายวากยสัมพันธ เล ม ๒, กรุงเทพฯ:
มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๙๓.
พระเจาวรวงศเธอ กรมหลวงชินวรสิริวฒ ั น สมเด็จพระสังฆราชเจา, อภิธานัปปทีปกา,
พิมพครั้งที่ ๔, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๑.
พระคัน ธสาราภิ ว งศ แปลและอธิบ าย, ปทรูป สิ ท ธิ มั ญ ชรี เล ม ๑, นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส,
๒๕๔๗.
............, ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๓ (ตัทธิต), กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจำกัด ประยูร-
สาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๔.
............, วุตโตทยมัญชรี, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ: พิทักษอักษร, ๒๕๔๕.
............, สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, นครปฐม: มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศกึ ษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕.
............, สารัตถทีปนีฎีกา มหาวรรควรรณนา แปล, กรุงเทพฯ: โครงการแปล
คัมภีรพุทธศาสน, ๒๕๕๑.
๑๒๔ มังคลัตถวิภาวินี
พระญาณกิตติเถระ แหงเชียงใหม, อภิธมฺมตฺถวิภ าวินิยา ปฺจิกา นาม อตฺถ-
โยชนา, พิมพครั้งที่ ๗, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
พระญาณธชเถระ รจนา, สมควร ถ วนนอก ปริวรรต, นิ รุต ติทีป นี , นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส,
๒๕๔๘.
พระญาณาลังการเถระ (รจนา), จำรูญ ธรรมดา (แปล), ปทวิจาร, นครปฐม :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาลีศึกษาพุทธโฆส,
๒๕๔๔.
พระธรรมกิตติวงศ, หลักการแปลไทยเปนมคธ, กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง, ๒๕๔๑.
พระธัมมปาลเถระ แหงชมพูทวีป, ปรมตฺถมฺชุสา นาม วิสุทฺธิมคฺคสํวณฺณนา
มหาฏีกาสมฺมตา (ตติโย ภาโค), พิมพ ครั้งที่ ๖, กรุงเทพฯ: มหามกุฏ-
ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
พระธัมมานันทเถร (แปล), เนตติหารัตถทีปนี อุปจาร และ นย, กรุงเทพฯ: มหา-
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๓.
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท,
พิ ม พ ค รั้ งที่ ๑๑, กรุ งเทพฯ: บริ ษั ท เอส.อาร.พริ้น ติ้ ง แมส โปรดั ก ส
จำกัด, ๒๕๕๑.
พระพุทธัปปยเถระ แหงชมพูทวีปตอนใต รจนา, ปทรูปสิทฺธิ, กรุงเทพฯ: ชมรม-
นิรุตติศึกษา, ๒๕๔๓.
พระพุ ท ธรักขิตาจารย (ชาวศรีลั งกา), ชิ น าลงฺก ารฏี ก า, กรุงเทพฯ: โรงพิ มพ
วิญญาณ, ๒๕๔๕.
พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับ
แกไข/ปรับปรุง, กรุงเทพฯ : ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒.
............, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๖ ฉบับสมบูรณ, กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน-
การพิมพ, ๒๕๔๗.
............, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๗ ฉบับแกไข/ปรับปรุง, กรุงเทพฯ:
ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒.
พระมหานิ มิ ตร ธมฺ ม สาโร,วิชา สั มพั นธ ไทย ธรรมบทภาคที่ ๘ ฉบั บสมบู รณ ,
กรุงเทพฯ : ไทยรายวัน การพิมพ, ๒๕๔๘.
............, ปทวิจารทีปนี, กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๒๕
พระมหาศักรินทร ศศพินทุรักษ, หลักควรจำบาลีไวยากรณ, กรุงเทพฯ: เลี่ยง-
เชียงจงเจริญ, ๒๕๑๕.
พระมหาสมบูรณ ทสฺสธมฺโม, มั งคลั ตถที ปนี แปลไทย ภาคที่ ๒, กาญจนบุรี:
ธรรมเมธี-สหายพัฒนาการพิมพ, ๒๕๔๙.
พระมหาสมปอง มุทิ โต, อภิ ธ านวรรณนา, พิ ม พ ครั้ งที่ ๒, กรุ งเทพฯ: บริษั ท
ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗.
พระราชเวที (สมพงษ พฺรหฺมวํโส), คูมือแปลมคธเปนไทย, กรุงเทพฯ: วัดเบญจม-
บพิตร, ๒๕๔๗.
............, ศัพ ท -สำนวน มั งคลั ต ถที ปนี , พิ ม พ ครั้ งที่ ๒, กรุ งเทพฯ: เลี่ ย งเชี ยง,
๒๕๓๔.
พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนาที่ พมา, พระราชปริยัติโมลี (อุปสโม) และคณะ
ปริวรรต, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระสัทธัมมโชติปาลเถระ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร ปริวรรต, กัจจายน-
สุตตนิเทส, กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน, ๒๕๔๕.
พระสิริมังคลาจารย, จกฺ กวาฬที ปนี, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ: สำนักหอสมุด-
แหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๘.
พระสิริรัตนปญญาเถระ (รจนาเสร็จ พ.ศ. ๒๐๗๘), แยม ประพัฒนทอง (แปล),
วชิรสารัตถสังคหะ, กรุงเทพฯ: วัดปากน้ำ, ๒๕๕๖.
พระอริ ย วงศ รจนา, พระมหานิ มิ ต ร ธมฺ ม สาโร แปล, คั น ถาภรณมั ญ ชรี ,
กรุงเทพฯ: พิทักษอักษร, ๒๕๔๕.
พระอัคควังสเถระ รจนา, พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชำระ, สัททนีติ-
สุตตมาลา, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยา-
เขตบาีศกึ ษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕.
............, สั ท ทนี ติ ธ าตุ ม าลา, นครปฐม: มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราช-
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖.
พระอัคควังสมหาเถระ รจนา, พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร ปริวรรต, สทฺท-
นีติปฺปกรณํ (สุตฺตมาลา), กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙.
๑๒๖ มังคลัตถวิภาวินี
พระอัครวังสเถระ รจนา, พระมหานิ มิตร ธมฺมสาโร และจำรูญ ธรรมดา แปล,
สัททนีติปทมาลา, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖.
พระอุ ด รคณาธิ ก าร (ชวิ น ทร สระคำ), ศ.พิ เ ศษ ดร.จำลอง สารพั ด นึ ก ,
พจนานุกรม บาลี-ไทย สำหรับนักศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม, พิมพครั้ง
ที่ ๖, กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด, ๒๕๕๒.
พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรม มคธ-ไทย, กรุงเทพฯ: สำนักเรียนวัดปากน้ำ,
๒๕๔๐.
............, พจนานุ ก รมกิ ริ ย ากิ ต ต ฉบั บ ธรรมเจดี ย , กรุ งเทพฯ: เรื อ งป ญ ญา,
ม.ป.ป.
............, พจนานุกรมกิริยาอาขยาต ฉบับธรรมเจดีย, กรุงเทพฯ: เรืองปญ ญา,
๒๕๔๕.
มหามกุฏราชวิทยาลัย, อุภัยพากยปริวัตน, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๔๓๖.
ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒, กรุงเทพฯ:
นานมีบุคสพับลิเคชั่น, ๒๕๔๖.
สทฺทปารคูหิ โปราณิ เกหิ อาจริยวเรหิ รจิตานิ , เอกตฺ ตึส จูฬสทฺท ปฺ ปกรณานิ
ประมวลจูฬสัททศาสตร ๓๑ คัมภีร, กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอไอ เซ็นเตอร
จำกัด, ๒๕๕๑.
สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค
ภาคที่ ๒ อาขยาต และกิตก, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
............, บาลีไวยากรณ วจีวิภาคที่ ๒ นามและอัพยยศัพท, กรุงเทพฯ: มหา-
มกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑.
สมเด็จพระวันรัต (เขมจารีมหาเถระ), มังคลัตถทีปนี ยกศัพทแปล คาถาที่ ๘,
กรุงเทพฯ : ส. ธรรมภักดี, ๒๔๙๗?.
สิริมหาจตุรงคพล มหาอำมาตย (ชาวพม า) รจนา, พระศรีสุทธิพงศ (อุ ป สโม)
ปริวรรต, อภิธานปฺปทีปกาฏีกา, กรุงเทพฯ : วัดปากน้ำ, ๒๕๒๗.
สุภาพรรณ ณ บางชาง, รองศาสตราจารย, ดร., ไวยากรณบาลี, พิมพครั้งที่ ๒,
กรุงเทพฯ: มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘.
T. W. Rhys Davids and William Stede, The Pali text Society Pali-
English Dictionary, London: The Pali Text Society, 2004.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๒๗
หนังสือทีพ่ มิ พ์เป็นทาน
***

ดินสีอรุณ : นิทานธรรมบท สำนวนอีสาน


จายผญาธรรม : พุทธศาสนสุภาษิต บาลี-ไทย-อีสาน
เอิ้นสั่งเสียงผญา : มรณกถา เพื่อความไมประมาท
หลักสัมพันธไทย : สำหรับทองจำ
ประโยคโบราณ : ในธัมมปทัฏฐกถา ภาคที่ ๑-๘
มงคลวิเสสกถาปกาสินี : สำนวนตัวอยาง วิชา แตงไทยเปนมคธ
เลือดลางบัลลังกทอง : นิทานธรรมบท สำนวนอีสาน
คาถาธัมมปทัฏฐกถา : ภาคที่ ๕-๘ แปลโดยพยัญชนะ
มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕


๑๒๘ มังคลัตถวิภาวินี

รายนามผู้ร่วมพิมพ์ หนังสื อ
พลเรือ เอกชัยณรงค เจริญ รักษ ๑๐๐ เลม สายบุ ญ ของคุณฐิติม า
วิ ท ยานนท เ อกทวี ๑๐๐ เล ม คุ ณ มี ณ ชญภั ท ร เนี ย มหอม ๓๖ เล ม
คุณภาณุวัฒณ มีสัตย ๒๔ เลม
นางสาวเกณิกา วุฒิกรกัลยาณี ๑๒ เลม นางสาวพิตะวัน ยุพดีรังสีกุล
๑๐ เล ม คุ ณ เกษม-คุ ณ อาทร พิ ร พั ฒ น ๒๐ เล ม คุ ณ กนกพร มณี ร อด
๑๐ เลม นางสาวกิรณา ศุภสินฐาโนดม นายสมชาย-ด.ญ.ณิชา จอมสงาวงษ
๑๐ เลม นายยุทธพงศ-สมศรี จิตตวิริยะกุล และครอบครัว ๘ เลม
คุณจำนงค-คุณสมหวัง อนุมา และครอบครัว ๘ เลม นางสาวจตุพร
ประชุ ม พั น ธ และครอบครั ว ๕ เล ม นายภาคภู มิ นั น ทนิ ต ย วรกุ ล และ
ครอบครัว ๕ เลม คุณชมปภัคคม ธรรมวิสธุ ีร และครอบครัว ๕ เลม
คุณ อาภรณ สาวิโร และครอบครัว ๕ เล ม นายลั่ น ทม สิ งห ท อง
๔ เลม นาวาโทสมภพ-คุณกิตติมา พิรพัฒน ๔ เลม นายปวันศิลปชัย-บุศพร
จิตตวิริย ะกุล ๔ เลม คุณ พิ เชษฐ ทองปากน้ ำ ๔ เล ม นางสาวหยกธรณ
ยิ่งยวดหิรัญกุล ๓ เลม
คุณภานุมาศ มีสมงาม ๓ เลม คุณกานดา ธรรมมานุสรณ ๒ เลม
คุณเอนกพร พิรพัฒ น ๒ เลม นางสาวอนงค เอี่ยมมา ๒ เลม คุณ สุชาดา
หนอสิงหา และครอบครัว ๒ เลม คุณเอื้อมพร อปปะตะ ๒ เลม คุณวาสนา
มณีใหม-ด.ช.ปยะ สังสมศักดิ์ ๒ เลม คุณปองนุช เถื่อนศิริ ๒ เลม
นาวาตรี ห ญิ ง วรนุ ช มี สั ต ย ๒ เล ม นายโอภาส มี สั ต ย ๒ เล ม
นางภัชชภร เศรษฐวรางกูร ๑ เลม นองน้ำตาล ๑ เลม (รวมจำนวน ๔๐๐
เลม, เลมละ ๕๕ บาท รวมเปนเงิน ๒๒,๐๐๐ บาท)
ผูส มทบทุ นคา ออกแบบปกหนั งสื อ : พระมหาสงวน สุ ทฺ ธิ าโณ
๕๐๐ บาท พระมหาอภิญ อภิลาโภ และคุณ Laura Bruneau ๑,๐๐๐ บาท

You might also like