You are on page 1of 170

0

( โปรแกรมเปิ ดให้ ใช้ ฟรี )

ต้ อนรับเข้ าสู่AECด้ วยการเขียนแบบสองมิติโดยคอมพิวเตอร์


ครบถ้ วนทุกคาสั่งของLibreCAD
รายละเอียดของคาสั่งอธิบายด้ วยภาพทุกขัน้ ตอน
โดย สุทิน พัชรวงศ์ ศักดา
1

คานา

ในปั จจุบนั นี ้คงไม่มีใครไม่ร้ ูจักคอมพิวเตอร์ มันเข้ ามามีบทบาทและเป็ นส่วนหนึง่ ที่สาคัญในชีวิตประจาวัน


โดยเฉพาะการพัฒนาโปรแกรมสาเร็จรูป LibreCADเป็ นโปรแกรมหนึง่ ของการเขียนแบบสองมิติที่มีการพัฒนามาตั ้งแต่
ปี คศ.2011 LibreCAD ที่นาเสนอนี ้ เป็ นเวอร์ ชนั่ 2.0.7และ2.0.8 ซึง่ เป็ นเวอร์ ชนั่ ที่นิยมใช้ กนั มากในขณะนี ้และกาลัง
พัฒนาต่อไป เป็ นโปรแกรม CAD (Computer aided design) ที่มีการนาวิธีการทางานจากคอมพิวเตอร์ มาช่วยการ
ออกแบบและเขียนแบบได้ อย่างอัจฉริ ยะ LibreCAD เป็ นโปรแกรมเขียนแบบสองมิติที่เปิ ดให้ ทกุ คนสามารถนาไปใช้ ฟรี
โดยไม่ต้องคานึงถึงลิขสิทธิ์ หรือ เรียกได้ ว่าเป็ นโปรแกรมOpen source รองรับกับการใช้ งานสาหรับ Windows ,Apple
และLinux LibreCAD จะเขียนแบบออกมาในรูปไฟล์DXF. ทั ้งยังสามารถอ่านไฟล์ DWG. และExport ไฟล์
SVG,JPG,PNG,PDF เนื่องจากข้ อจากัดเกี่ยวกับโปรแกรม และไม่ได้ ออกแบบตัวอักษรฟอนต์ไทย แต่ผ้ เู ขียนได้ หาวิธี
ที่จะเขียนแบบในLibreCADออกมาเป็ นภาษาไทยได้ ดงั ที่อธิบายวิธีการในหนังสือเล่มนี ้ LibreCAD สามารถดาวน์
โหลดและ ติดตั ้งง่าย รวดเร็ว และใช้ งานง่าย เป็ นที่นิยมในต่างประเทศ สามารถเข้ าไปดาวน์โหลดในWindowsที่
Google โดยพิมพ์ LibreCAD download/sourceforce.net หรือเพียงแต่พิมพ์ LibreCAD download บนGoogleแล้ วกด
Enter
LibreCAD มีลกั ษณะการใช้ งานคล้ ายคลึงกับ AutoCAD แต่ทางานง่ายกว่า AutoCAD สามารถใช้ ได้ ในการ
ปฏิบตั ิงานด้ านการเขียนแบบ ออกแบบสาหรับงานเครื่องกล โยธา และไฟฟ้า และอื่นๆ
หนังสือเล่มนีผ้ ้ เู ขียนได้ เขียนขึ ้นจากประสบการณ์โดยตรงของผู้เขียนซึง่ ได้ คลุกคลีกบั งานเขียนแบบมานาน โดย
เน้ นการอธิบายด้ วยภาพในขั ้นตอนต่างๆ ทาให้ เข้ าใจง่าย และผู้เขียนมีความมุ่งมัน่ ที่จะให้ คนไทยใช้ โปรแกรมการเขียน
แบบOpen source ได้ ศกึ ษาและนาไปปฏิบตั ิงานได้ โดยง่าย เหมาะกับบุคคลทัว่ ไปทั ้งที่เคยผ่านหรือไม่เคยใช้ การเขียน
แบบAutoCAD หรือผู้ที่เริ่มฝึ กหัดใหม่ และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี ้จะเป็ นประโยชน์ให้ ผ้ อู ่านสามารถใช้ งาน
LibreCAD ได้ เป็ นอย่างดีเพื่อทาให้ การเขียนแบบและออกแบบให้ มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ ้น และต้ องขอขอบคุณคณะผู้
คิดค้ นและพัฒนาโปรแกรมLibreCADและจัดทาเป็ นOpen source ให้ เราได้ นามาใช้ งานสาหรับการเขียนแบบและ
ออกแบบโดยไม่ต้องเสียเงินในการซื ้อโปรแกรมเขียนแบบซึง่ มีราคาแพงมากมาใช้ งาน

สุทิน พัชรวงศ์ศักดา

พฤษภาคม 2557
2

เกี่ยวกับผู้เขียน
ประวัติการศึกษา

ประถม. รร.วัดมหาพฤฒาราม

มัธยม. รร.วัดสุทธิวราราม

ปวช. ช่างกลปทุมวัน (ปั จจุบนั คือสถาบันเทคโนโลยี่ปทุมวัน )

ปวส. วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ (ปั จจุบนั คือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่ราชมงคลกรุงเทพ )

ป.ตรี วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ (ปั จจุบนั คือมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ )

ประวัติการทางาน

ปี พ.ศ. 2519-2523 บริษัท จรุงไทยไวร์ แอนด์เคเบิล จากัด

ปี พ.ศ. 2523-2524 บริษัท เฟลป์ดอดจ์ จากัด (ประเทศไทย)

ปี พ.ศ. 2524-2527 บริษัท ดีซีไอ จากัด (Delta Consolidated Industries Co.,Ltd.)

ปี พ.ศ. 2527-2528 บริษัทโตโยเอนจิเนียริ่ง จากัด (บริษัท ผู้ก่อสร้ างโรงงานแยกแก๊ ส ปตท. จังหวัดระยอง)

ปี พ.ศ. 2528-2552 บริษัทอูช่าสยามสตีลอินดัสตรีย์ จากัด

หากมีข้อผิดพลาดหรือบกพร่องในหนังสือเล่มนี ้ ผู้เขียนขอน้ อมรับคาติชมด้ วยความยินดี และขอขอบคุณ


ผู้อ่านที่ได้ ติดตามอ่านหนังสือเล่มนี ้

หนังสือเล่มนี ้สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติว่ าด้ วยการละเมิ ดลิขสิท ธิ์ ห้ ามมิ ให้ ผ้ ใู ดคัดลอกหรื อลอก
เลียนไม่ว่าส่วนหนึง่ ส่วนใดในหนังสือเล่มนี ้จะโดยรู ปแบบใดๆก็ตามนอกจากจะได้ รับอนุญาตเป็ นลายลักษณ์ อักษรจาก
ผู้เขียนเท่านั ้น

สุทิน พัชรวงศ์ศกั ดา
3

สารบัญ

บทที่1 เริ่มต้ นใช้ งานLibreCAD 11


การทาความคุ้นเคยกับLibreCAD 11
หน้ าต่างของLibreCAD (LibreCAD window) 11
รายละเอียดเพิ่มเติมบนหน้ าต่างชองLibreCAD 12
ระบบค่าพิกัดในLibreCAD 12
ค่าพิกดั แบบCartesian และแบบPolar 13
การกาหนดค่าพิกดั ในการเขียนแบบ 14
การกาหนดพิกัด ด้ วยการพิมพ์ ค่าพิกัดลงบนCommand line 14
ค่าพิกดั AbsoluteและRelative 15
การกาหนดพิกดั โดยการคลิกวางโดยตรงหรือ Manually 17
การกาหนดพิกัดแบบอ้ างอิงมุม 18
การใช้ เม๊ าส์ในการเขียนแบบด้ วยLibreCAD 19
บทที่2 Main menu (เมนูหลัก) 20
Top toolbar 21
Main CAD tools 21
หน้ าต่างของ Block list และ Layer list 22
บทที่3 Corner toolbar 23
Restore 23
Minimize 23
Stay on top 23
Close 25
บทที่4 File 26
New 26
New from template 26
Open 27
Save 27
Save as 27
4

Export 27
Import 27
Close 27
Print 27
Export as PDF. 27
Print preview 27
Quit: 27
บทที่5 Edit 28
Selection pointer 28
Undo 28
Redo 28
Cut 28
Copy 28
Paste 28
Draw order 29
Application preferences 30
Current drawing preferences 33
บทที่6View 38
Grid 38
Isometric grid 39
Draft 40
Redraw 42
Zoom in 42
Zoom out 43
Auto zoom 43
Previous view 44
Window zoom 44
Zoom panning 44
Status bar 45
45
Toolbars 46
45
Focus on command line 45
5

บทที่7Selection 46
Select all 46
Deselect all 47
(De)Select contour 47
(De)Select entity 48
Select window 49
De select window 51
Select intersected entities 51
De select intersected entities 52
Select layer 52
De select layer 53
Invert selection 53
บทที่8 Draw 55
Point 55
Lines 56
Line with two points 57
Line with given angle 58
Horizontal lines 59
Vertical lines 59
Rectangle 59
Bisector 60
Parallels with distance 61
Parallels through point 61
Tangents from circle to circle 62
Tangents from point to circle 63
Tangents to a circle, orthogonal to a line 63
Orthogonal lines 64
Line with relative angles 65
Polygons 66
Polygons with center and corner 66
Polygons with two corners 66
6

Moving Line (การย้ ายเส้ น) 67


Freehand Line 68
Circle 68
Circle with center and point 69
Circle with center and radius 69
Circle with two points and radius 71
Circle with two opposite points 71
Circle with three points 72
Concentric 72
Circle inscribed in a triangle 73
Tangential circle of two circles 73
Tangential circle of two circles passing a given point 74
Tangential circle of a circle passing two given points 74
Tangential circle of three circles 75
Ellipse 76
Ellipse with center and two points 76
Ellipse arc with center, two points and angles 77
Foci and a point on ellipse 78
Four points on ellipse 78
Center and three points on ellipse 79
Ellipse inscribed in a quadrilateral 79
Arc 80
Arc with center, point, angles 80
Arc with three points 81
Concentric arc 81
Arc tangential to base entity with radius 82
Spline 83
Spline through points 84
Polylines 86
Create polyline 86
Add node 87
7

Delete node 87
Append node 88
Delete between two nodes 89
Trim segment 89
Polyline equidistance 90
Create polyline from existing segments 90
Text 92
Multiline Text 92
ทดสอบการเขียนข้ อความ 95
การพิมพ์ข้อความภาษาไทยในLibreCAD 96
Hatch 100
Insert image 103
บทที่9 Dimensions 105
การตั ้งค่าDimension 105
Horizontal dimension 106
Vertical dimension 106
Aligned dimension 106
Linear dimension 106
Diametric dimension 107
Radial dimension 107
Angular dimension 107
Leader Line 108
Dimensions of Isometric Part 108
การบอกขนาดของรูปสเก็ตช์ 109
บทที่10Modify 112
Move 112
Copy 114
Rotate 115
Scale 117
Mirror 119
Move and Rotate 121
8

Rotate two 122


Revert direction 123
Trim 124
Trim two 125
Lengthen 126
Offset 127
Bevel 128
RoundหรือFillet 129
Divide 130
Stretch 131
Properties or Edit entity geometry 132
Edit entity attributes 134
Delete 135
Explode text into letters 136
Explode 137
Align 137
บทที่11 Snap 139
Snap on grid 140
Free snap 140
Snap end point 140
Snap on Entity 140
Snap center 140
Snap middle 140
Snap distance 141
Snap intersection 141
Restrict Horizontal 141
Restrict Vertical 141
Restrict Orthogonal 141
Restrict Nothing 141
Set relative zero position 141
9

Lock relative zero position 141


บทที่12 Info icon 142
Distance point to point 142
Distance entity to point 143
Angle between two lines 143
Total length of selected entities 144
Area of polygons 144
List entity 145
บทที่13 Layers 146
Hide all layers 146
Show all layers 147
Add layer 147
Remove Layer 148
Modify Layer attributes/rename or Edit Layer 148
Layer list 148
Toggle layer visibility 148
Toggle layer lock 148
Help Layer 149
การสร้ างเลเยอร์ ในLIbrCAD 149
Help Layer หรือ Construction layer 150
บทที่14 Block 152
วิธีการสร้ าง Block ,Create Block 153
Insert block 154
Explode Block 154
Remove Block 155
Save Block 155
Edit Block 155
Hide all Blocks 155
Show all Blocks 155
Add Block 155
Toggle Block visibility 156
10

การเพิ่มBlockไปยังLibrary 157
Title Block 160
บทที่15Window 161
Tab mode 161
Sub window mode 162
Window Tile 162
Tile vertically 162
Tile Horizontally 163
บทที่16 เทคนิคการทาให้ เขียนแบบในLibreCADง่ายขึ ้น 164
Short cut (คีย์ลดั )ที่ควรรู้ ในการเขียนแบบLibreCAD 165
บทที่17การใช้ คาสัง่ ใน Command Line 166
ตัวอย่างการพิมพ์คาสัง่ ในCommand line 166
11

บทที่1
เริ่ มต้ นใช้ งานLibreCAD
การทาความคุ้นเคยกับLibreCAD
ก่อนเข้ าสูข่ บวนการใช้ งานหรือทาการเขียนแบบด้ วยLibreCAD จาเป็ นอย่างยิ่งที่ต้องทาความรู้จัก
เข้ าใจ และศึกษาสิง่ ที่เกี่ยวข้ องกับ LibreCAD เพื่อให้ ค้ นุ เคยและทาให้ การเขียนแบบถูกต้ องและสมบูรณ์ ในเบื ้องต้ นจะ
แสดงให้ เห็นรูปและคาอธิบายโดยสังเขป ส่วนรายละเอียดจะได้ กล่าวไว้ ในบทลาดับต่อไป
หน้ าต่ างของLibreCAD (LibreCAD window)ประกอบด้ วย
 Main menu (เมนูหลัก)
 Top toolbar (แถบเครื่องมือที่อยู่ข้างบน)
 Main CAD tools (เครื่องมือหลักในการเขียนแบบ หรืออาจเรี ยกว่า เมนูที่อยู่
ซ้ ายมือ)
 Main drawing area or Model space (พื ้นที่เขียนแบบ)
 Command line (แถบบรรทัดสาหรับให้ ป้อนคาสัง่ )
 Status bar (แถบสถานะของค่าพิกดั )
 Layer list (รายการเลเยอร์ )
 Block list (รายการบล็อก)

Main menu
Top toolbar Layer list
Main CAD tools Block list
Main drawing area or Model space
Command line
Status bar

รูปแสดงหน้ า
ต่างของLibreCAD

หลังจากที่เราDownload โปรแกรม LibreCAD และเปิ ดนามันมาใช้ งานเป็ นครั ้งแรก เราอาจพบว่าบริเวณพื ้นที่
เขียนแบบ(Main drawing area ) ส่วนที่เป็ นพื ้นหลัง(Background)เป็ นสีดา ซึง่ ถ้ าเราต้ องการทาให้ สว่ นที่เป็ นพื ้นหลัง
(Background) เป็ นสีขาวหรือสีเทาเราก็สามารถทาได้ โดยการเข้ าไปตั ้งค่าในรายการของ Application Preferences ซึง่
จะได้ อธิบายขั ้นตอนรายละเอียดของส่วนประกอบบนหน้ าต่างLibreCAD ตลอดจนรายละเอียดคาสัง่ ต่างๆไว้ ในหนังสือ
เล่มนี ้
12

รายละเอียดเพิ่มเติมบนหน้ าต่ างของLibreCAD


 Pen selection (Attributes for the next draw) (การเลือกและตั ้งค่าคุณสมบัติหรือลักษณะของเส้ น เพื่อทา
การเขียนในครัง้ ต่อไป )
 Absolute zero point (จุดที่แกนXและแกนYตัดกันอย่างแท้ จริงที่ 0,0หรือจุดกาเนิดหรือจุดOrigin)
 Relative zero point (จุดอ้ างอิงจากจุดเขียนก่อนหน้ านี ้ซึ่งเปรียบเสมือนเป็ นจุด 0,0)
 Point of Grid ( 10 unit space) ( ค่าที่แสดงระยะห่างระหว่างจุดGrid มีระยะห่างกัน10หน่วย)
 Rectangle of Grid (100 unit wide) (ค่าที่แสดงขนาดความกว้ างของรูปสีเหลีย่ มอันเกิดจากGridรวมกันเป็ น
รูปสีเ่ หลีย่ ม มีขนาดความกว้ างเท่ากับ 100หน่วย)
 Command output and history (บรรทัดแสดงการบันทึกสิง่ ที่พิมพ์ลงไปบนบรรทัดCommand line)
 Command input line (บรรทัดแสดงการบอกคาสัง่ )
 Position of cursor (แสดงตาแหน่งเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์)
 Absolute (แสดงพิกัดของจุด Absolute หรือจุดที่ห่างจากจุดกาเนิด )
 Relative (แสดงพิกดั ของจุด Relative หรือจุดที่ห่างจากจุดที่เขียนก่อนหน้ านี ้)
 Option tool (กล่องเลือกค่า) ดังรูปข้ างล่าง

Option tool
Pen selection (Attributes for the next draw)
Rectangle of Grid ( 100 unit wide)
Point of Grid (10 unit space)
Absolute zero point Relative zero point
Command output and history
Position of cursor Command line
Relative zero point

Absolute Position of cursor RelativeCommand


Command
input input line
รูปแสดงรายละเอี
line ยดเพิ่มเติมของหน้ าต่างLibreCAD

ระบบค่ าพิกัดใน LibreCAD


เพื่อให้ การเขียนแบบในLibreCADออกมาดีที่สดุ สามารถนาไปใช้ งานจริ งและมีมาตราส่วนถูกต้ อง การวัด
ระยะในแบบแปลนที่พิมพ์ (Print)ออกมามีค่าตรงกับที่เรากาหนดในขณะเขียนแบบ จึงจาเป็ นต้ องเข้ าใจในระบบค่าพิกดั
(The coordinate system)และระบบพิกัดมันทางานอย่างไร ทุกสิง่ ที่เราเขียนลงในLibreCADจะแม่นยาและถูกต้ อง
แน่นอนขึ ้นอยู่กบั การระบุค่าที่ถกู ต้ องของระบบพิกดั จุดX,Y(X,Y coordinate system)
13

จุดกาเนิดสมบูรณ์ (Absolute origin)หรือจุดศูนย์ (Zero position)บนแบบของเรา จะอยู่ที่ซงึ่ จุดแกนXและแกนYตัด


กัน แทนด้ วยสัญลักษณ์ กากบาทสีแดงใหญ่ ทุกๆเส้ นที่เราเขียนจะตั ้งอยู่ตาแหน่งที่มีความสัมพันธ์ กบั จุดกาเนิดนี ้ แต่
เพื่อให้ การระบุจดุ พิกดั ง่ายและรวดเร็วสามารถเข้ าใจในการกาหนดจุดพิกัด ในLibreCAD มีวิธีการกาหนดค่าพิกัดให้
สัมพันธ์ หรืออ้ างอิงจากจุดที่เราเขียนก่อนหน้ านี ้ซึง่ เปรียบเหมือนเป็ นจุดศูนย์ (0,0) ซึง่ จุดนี ้มีชื่อว่าRelative zero point
แทนด้ วยสัญลักษณ์กากบาทสีแดงเล็กบรรจุในวงกลมเล็ก สีแดง ดังนั ้นทุกจุดพิกดั XและYที่เขียนภายหลังของเส้ นหรือ
จุดที่เขียน ขึ ้นมาใหม่จะวางอยู่จดุ ที่สมั พันธ์ หรือระยะห่างกับจุดก่อนหน้ านี ้ (Relative zero point หรือ กากบาทวงกลม
แดงเล็ก) เราสามารถทดสอบการทางานนี ้ได้ โดยการเขียนเส้ นตรงหรือจุดใดๆในพื ้นที่เขียนแบบLibreCAD จะพบว่าจุด
Relative zero point จะเปลีย่ นไปพร้ อมกับการคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์ ในแต่ละครั ้งที่เคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไปวาง และ
สังเกตตัวเลขค่าพิกดั ที่แสดงบนStatus barในแต่ละครั ้งที่เราเคลือ่ นและคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์จะทาให้ เราเข้ าใจดีขึ ้น
ในLibreCAD ระบบพิกดั 2D หน่วยของXทั ้งหมดจะถูกวัดในแนวนอน และหน่วยYจะถูกวัดในแนวดิ่ง จุดพิกดั
สามารถแสดงได้ ทั ้งค่าบวก(+)และค่าลบ(-)

โดยพื ้นฐานทัว่ ๆไปมีการเขียนแบบที่มีพิกดั อยู่สองชนิดคือแบบCartesianและPolar พิกัดแบบCartesian ( The


Cartesian coordinate system)เป็ นระบบพิกดั โดยมาตรฐานทัว่ ๆไป นิยมใช้ กนั มากในโปรแกรมเขียนแบบ(CAD
programs) เป็ นการวางจุดเฉพาะในแบบตาแหน่งที่มีระยะทางแน่นอนจากสองแกนคือแกนXและแกนY ดังตัวอย่างการ
วางจุดในแบบที่ตาแหน่งต่างๆ สังเกตเครื่องหมายคอมมา ( , )คัน่ ระหว่างตัวเลขสองจานวน โดยค่าXจะอยู่ข้างหน้ า
เครื่องหมายคอมมาร์ (,) และค่าYจะวางอยู่ข้างหลังเครื่องหมายคอมมา,) ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงพิกดั แบบCartesian
14

ส่วนระบบพิกัดแบบPolar(The Polar coordinate system)เป็ นระบบเขียนแบบค่าพิกดั ใช้ ระยะทางหนึง่ กับมุม


หนึง่ ในการกาหนดจุดพิกัดในแบบนี ้ ดังเช่น160<45 หมายถึง 160หน่วยความยาวและทามุม45องศากับแนวระดับ
สังเกตเครื่องหมาย(<)ใช้ แทนมุม ดังตัวอย่างข้ างล่าง

160<45

รูปแสดงค่าพิกดั แบบPolar

การเขียนแบบพิกดั Polar มีประโยชน์ในการเขียนแบบมากเพราะทาให้ เราทราบขนาดความยาวและมุมที่


แท้ จริง

การกาหนดค่ าพิกัดในการเขียนแบบ
การกาหนดค่าพิกดั ในการเขียนแบบ เป็ นการวางหรือระบุจดุ พิกดั ที่อ้างอิงแนวแกนXและแกนYลงบนพื ้นที่เขียน
แบบ(Main drawing area) ซึง่ มีวิธีการดังต่อไปนี ้
 การกาหนดพิกัดด้ วยการพิมพ์ ค่าพิกัดลงบนCommand line โดยอ้ างอิงจุดAbsolute coordinate และ
Relative coordinate
ในLibreCAD เส้ นตรง(Lines),จุด(Point),ส่วนโค้ ง(Arc),เส้ นPolylines,วงกลม(Circle)และเส้ นอีกหลายชนิด
(More entities) สามารถเขียนและวางมันลงบนพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area)โดยการใช้ วิธีการระบุหรือกาหนด
พิกดั แบบอ้ างอิงจุดพิกัดสมบูรณ์ (Absolute coordinate )และอ้ างอิงจุดพิกัดสัมพันธ์ (Relative coordinate )
การวางพิกดั อ้ างอิงจุดพิกดั สมบูรณ์ (Absolute coordinate)คือการอ้ างอิงจุดกาเนิด(Origin)หรืออาจเรี ยกว่าจุด
0,0 (ค่าพิกดั X=0,Y=0) ส่วนการวางพิกดั แบบอ้ างอิงพิกัดสัมพันธ์ (Relative coordinate) เป็ นการวางพิกดั อ้ างอิงจุดที่
เราวางก่อนหน้ านี ้ ซึง่ เปรียบเสมือนจุดก่อนหน้ านี ้มีค่าเป็ นจุด0,0 บางครั ้งอาจเรียกจุดอ้ างอิงพิกดั ก่อนหน้ านี(้ Relative
coordinate) ว่าพิกดั Relative zero
การวางค่าจุดพิกัดในLibreCAD เราสามารถพิมพ์ค่าที่เราต้ องการลงในคาสัง่ Command line ซึง่ การใช้ วิธีนี ้จะ
ทาให้ การเขียนแบบมีความแม่นยา อนึง่ ก่อนจะพิมพ์คาสัง่ ลงในCommand line เราต้ องทาให้ บรรทัดของCommand
line ที่จะพิมพ์ค่าพิกัด สามารถรับรู้หรือสือ่ คาสัง่ ได้ โดยการใช้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่Command line หรือกดSpace
barที่แป้นพิมพ์(Key board)ของคอมพิวเตอร์ หรืออาจพิมพ์ คีย์ลดั Ctrl+M วิธีใดวิธีหนึ่ง ซึง่ สังเกตได้ ว่าตัวอักษรคาว่า
15

Commandจะสว่างขึ ้นมาและเปลี่ยนเป็ นสีน ้าเงิน ดังรูปข้ างล่าง และหลังพิมพ์คาสัง่ แล้ วให้ กดEnter ดังรายละเอียดใน
รูปข้ างล่าง

ในการสือ่ สารกับCommand line ก่อน


จะพิมพ์คาสัง่ หรือค่าพิกดั ลงบน
Command line ให้ ทาอย่างใดอย่าง
หนึง่ คือ1 คลิกที่บรรทัดเติมคาสัง่ ใน
Command line หรื อ2 กดSpace bar
หรื อ3 กดทีแ่ ป้นCtrl+M

การวางพิกดั แบบสมบูรณ์ (Absolute coordinate) เป็ นการใช้ วิธีการใส่จดุ พิกดั โดยตรงสัมพันธ์ อ้างอิงกับจุด
กาเนิด(Origin หรือจุด 0,0) การทาเช่นนี ้ในLibreCAD อาจเรียกว่าAbsolute zero เช่นการใส่ค่าจุดแน่นอน60,45เป็ น
ต้ น โดยไม่ต้องพิมพ์ สญ
ั ลักษณ์ @หน้ าค่าพิกัด เพื่อให้ ได้ จดุ ที่สมั พันธ์ หรือจุดห่างกับจุดกาเนิด(Origin)หรือจุด0,0
ส่วนการวางพิกดั แบบ Relative coordinate(ค่าพิกัดนี ้แทนด้ วยสัญลักษณ์ กากบาทแดงในวงกลมเล็กสีแดง)
ดังที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ นในหัวข้ อ ของค่าพิกดั ในLibreCAD การใช้ วิธีนีจ้ ะทางานง่ายและเข้ าใจง่ายขึ ้นโดยค่าพิกัดถูก
ใส่ให้ สมั พันธ์ หรือห่างกับจุดก่อนหน้ านั ้น(ไม่ใช่จดุ กาเนิด)ดังเข่นถ้ าจุดแรกของเราอยู่ที่60,45 แล้ วเราต้ องการจุดต่อมาให้
สัมพันธ์ หรือห่างกับจุดนี ้ เราต้ องใช้ สญ
ั ลักษณ์ @นาหน้ าค่าพิกดั ในการพิมพ์ ลงไปบนบรรทัดของCommand line เช่น
@100,100 แล้ ว จะเป็ นการวางจุดพิกัดที่ถดั จากจุดก่อนหน้ าที่แล้ ว (60,45)โดยเป็ นจุดที่นบั จากแกนX(แนวนอน)เป็ น
ระยะทาง100หน่วยและแกนY(แนวดิ่ง)เป็ นระยะทาง100หน่วยอ้ างอิงกับจุด(60,45)ที่เขียนจุดก่อนหน้ านี ้ ดังรูปข้ างล่าง
อนึง่ สัญลักษณ์ @หน้ าจุดพิกดั มีความสาคัญมากเพราะถ้ าไม่ใส่สญ
ั ลักษณ์นี ้จะทาให้ ความหมายของค่าพิกดั ผิด
ไประหว่างมีสญ
ั ลักษณ์ @กับไม่มีสญ
ั ลักษณ์ @

สรุปว่าถ้ าพิมพ์ ค่าพิกดั ลงบนบรรทัดCommand line ถ้ าไม่มี@นาหน้ าค่าพิกัด จะเป็ นค่าพิกดั แบบ Relative
absolute zero หรือเรี ยกกันสั ้นๆว่า Absolute ซึง่ มีพิกดั ระยะห่างของX,Y อ้ างอิงจากจุดกาเนิด(Origin) ถ้ าพิมพ์ค่า
พิกดั ลงบนบรรทัดของCommand line มี@นาหน้ าค่าพิกัด จะเป็ นค่าพิกดั Relative zero หรือเรียกกันสั ้นๆว่าRelative
ซึง่ เป็ นค่าพิกัดที่มีระยะห่างX,Y หรือห่างจากจุดก่อนหน้ านี ้ เราสามารถตรวจสอบทั ้งสองค่าที่เราเขียนหรือวางเคอร์ เซอร์
ของเม๊ าส์ผ่านบนพื ้นที่เขียนแบบ โดยดูได้ ที่บรรทัดของStatus bar
16

Relative zeroหรื อ
เรี ยกRelative

Absolute zero หรื อ


เรี ยกAbsolute

พิกัด Absolute พิกัด Relative

ในการเขียนแบบด้ วยวิธีการพิมพ์ค่าพิกดั ลงบนCommand lineนี ้จะทาให้ ได้ เส้ นหรือรูปทรงเรขาคณิตที่


เขียนบนพื ้นที่เขียนแบบ ได้ ขนาดที่เป็ นจริ ง และแม่นยา
 ทดสอบการเขียนเส้ นจากจุดRelative zero
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกLine>Line with two points
 กดSpace bar หรือใช้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่บรรทัดของCommand line (บริเวณที่จะพิมพ์ค่าพิกัด)
 พิมพ์@10,10 แล้ วกดEnter แล้ วลองขยับเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์บนพื ้นที่เขียนแบบ จะพบว่ามีจดุ พิกดั จุดแรก
เกิดขึ ้นที่ตาแหน่ง@10,10
 ต่อไปกดSpace bar หรือใช้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่บรรทัดของCommand line (บริเวณที่จะพิมพ์ค่าพิกดั
แล้ วพิมพ์ @20,40 แล้ วกดEnter (อย่าลืมพิมพ์ @ เนื่องจากค่าพิกัดจะเปลีย่ นไปถ้ าไม่พิมพ์สญ
ั ลักษณ์ @)
 ต่อไปกดSpace bar หรือใช้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่บรรทัดของCommand line (บริเวณที่จะพิมพ์ค่าพิกดั
แล้ วพิมพ์ @35,0 แล้ วกดEnter (อย่าลืมพิมพ์ @ เนื่องจากค่าพิกดั จะเปลีย่ นไปถ้ าไม่พิมพ์สญ
ั ลักษณ์ @)
 ต่อไปกดSpace bar หรือใช้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่บรรทัดของCommand line (บริเวณที่จะพิมพ์ค่าพิกดั
แล้ วพิมพ์ @0,50 แล้ วกดEnter (อย่าลืมพิมพ์ @ เนื่องจากค่าพิกดั จะเปลีย่ นไปถ้ าไม่พิมพ์สญ
ั ลักษณ์ @)
 คลิกขวาสองครั ้งเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
17

4.สุดท้ายคลิกขวาสองครัง้
@ 0,50 เพื่อออกจากคาสัง่
1.คลิกLine
@20,40
2 คลิกเมนูยอ่ ย
@ 35,0
ของLineที่Line @10,10
with two points 3. คลิกที่บริ เวณCommand
line หรื อกดSpace barที่
แป้นพิมพ์ แล้วพิมพ์@ตามด้ วย
ค่าพิกดั

รูปแสดงการเขียนเส้ นโดยพิมพ์
ค่าพิกดั Relative zeroลงบนCommand line

อนึง่ ในการเขียนแบบเราอาจใช้ ค่าพิกัด Relative zero หรือเรียกกันตามที่เข้ าใจกันว่า Relative ที่มี


สัญลักษณ์ @ นาหน้ าตัวเลขค่าพิกดั ตลอดระยะเวลาที่เราเขียนแบบ ยกเว้ นเราเริ่ มต้ นเขียนใหม่หรือวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่
ต้ องการความสัมพันธ์ กบั จุดที่เคยเขียนมาก่อนหน้ านี ้ และการระบุค่าพิกดั Relative ที่มีสญ
ั ลักษณ์ @ นาหน้ านี ้ บางครั ้ง
เราอาจนึกค่าพิกัดที่จะพิมพ์ ลงบนCommand line ไม่ออกว่าจะต้ องพิมพ์ค่าอย่างไรถึงจะถูกต้ อง ให้ เราเคลือ่ นเคอร์ เซอร์
ของเม๊ าส์ไปยังตาแหน่งที่คิดว่าเป็ นตาแหน่งที่ใกล้ เคียงหรือถูกต้ องที่เราต้ องการ แล้ วสังเกตตัวเลขค่าRelative ที่Status
bar (ค่าพิกดั Relative)นั ้นเราสามารถที่จะเป็ นแนวทางให้ เราพิมพ์ ค่าพิกดั ที่ถกู ต้ องลงบนCommand line แต่ต้องไม่ลมื
พิมพ์สญ
ั ลักษณ์ @ นาหน้ าค่าพิกัด ยกเว้ นเราเริ่มต้ นเขียนใหม่หรือวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่ต้องการความสัมพันธ์ กบั จุดที่เคย
เขียนมาก่อนหน้ านี ้ เราอาจไปสังเกตดูที่ค่าพิกัดAbsolute ที่Status bar แล้ วพิมพ์ค่าพิกัดลงบนCommand line โดยไม่
ต้ องพิมพ์ @ นาหน้ าค่าพิกัด ดังรูปข้ างล่าง

ค่าแสดงค่าพิกดั ของAbsolute ค่าแสดงค่าพิกดั ของRelative


ค่าแถวบนแสดงค่าแบบCartesian ค่าแถวบนแสดงค่าแบบCartesian
ค่าแถวล่างแสดงค่าแบบPolar ค่าแถวล่างแสดงค่าแบบPolar

รูปแสดงค่าพิกัดที่Status bar

 การกาหนดพิกัดโดยการคลิกวางโดยตรงหรื อManually
เราสามารถเขียนแบบโดยการคลิกวางพิกัดโดยตรงหรือแบบManually โดยการเคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ซึ่งเปลีย่ นจาก
ลูกศรเป็ นกากบาท(Crosshair)หลังจากเราคลิกที่คาสัง่ เครื่องมือ (Tool)ที่เราต้ องการ แล้ ววางจุดพิกดั บนพื ้นที่เขียนแบบ
18

( Main drawing area)ในตาแหน่งที่ต้องการ ซึ่งสามารถมองเห็นตาแหน่งได้ บนพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area)


โดยตรง จะเห็นได้ ชดั ว่าวิธีนี ้จะให้ ความแม่นยาน้ อยเพราะอาจคลาดเคลือ่ นจากความเป็ นจริง แต่ก็ยอมรับได้ สาหรับ
งานที่ไม่เน้ นเรื่องขนาดระยะหรือมาตราส่วน เช่น การเขียนแบบงานสเก็ตช์หยาบบางงานหรืองานFreehand เป็ นต้ น

 การกาหนดพิกัดแบบอ้ างอิงมุม
มุมทุกมุมในLibreCADจะถูกวัดในลักษณะ360องศาและมีทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ดังรูปข้ างล่าง โดยเริ่ มจาก0
องศา(ตาแหน่งที่3นาฬกิ า) สัญลักษณ์ <จะนามาใช้ ก่อนจะพิมพ์ค่าของมุม

รูปแสดงการวัดค่ามุมใน
LibreCAD

การกาหนดพิกัดอ้ างอิงมุมสามารถทาโดยพิมพ์ @(ระยะ)<(มุม)ลงบนCommand line เช่นพิมพ์@160<45 ลง


บนบรรทัดของ Command line ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงผลจากการเขียนค่า
พิกดั มุมลงบน Command line
19

การใช้ เม๊ าส์ ในการเขียนแบบด้ วยLibreCAD

ปุ่ มซ้ าย : คลิกเพื่อเลือกคาสัง่ , คลิกทาตามคาสัง่ ในกระบวนการเขียนแบบหรือคลิก


Drag(กดค้ างแล้ วเคลือ่ นเม๊ าส์)

ปุ่ มกลาง : เลือ่ นเพื่อปรับมุมมองให้ ภาพขยายหรือย่อ (Zoom) หรือคลิกค้ างไว้ เพื่อ


เลือ่ นรูปภาพ(Pan)บนพื ้นที่เขียนแบบ

ปุ่ มขวา : คลิกเพื่อออกจากคาสัง่ หรือคลิกขวาที่คาสัง่ บนเมนูหลัก (Main menu)


เพื่อดูเมนูย่อย

อนึง่ ในการอธิบายเกี่ยวกับการใช้ เม๊ าส์ในLibreCADนี ้ ถ้ าบอกให้ คลิกที่เม๊ าส์ก็ให้ หมายถึงคลิกซ้ ายที่


เม๊ าส์ ยกเว้ นจากได้ ระบุให้ คลิกขวา
20

บทที่2
Main menu (เมนูหลัก)
Main menu (เมนูหลัก) เป็ นที่รวมคาสัง่ ต่างๆที่จะใช้ งานในหลายลักษณะเข่นการSaveหรือบันทึกไฟล์ การแก้ ไข
(Edit) การเขียนเส้ นรูปทรงเรขาคณิต การบอกขนาด เป็ นต้ น ติดตั ้งอยู่แถวบนสุดของหน้ าต่างLibreCAD ถ้ าเราคลิก
ซ้ ายบนรายการของเมนเมนูหรือเมนูหลักจะปรากฏให้ เห็นเมนูย่อยต่างๆ หรือคาสัง่ ย่อยต่างๆปรากฏขึ ้นมาแสดงให้ เรา
เลือกตามที่เราต้ องการ ถ้ าเราคลิกขวาที่แต่ละเมนูบนเมนูหลักนั ้นจะพบว่ามีคาสัง่ แสดงให้ เห็นสิ่งที่กาเครื่องหมายถูก
หน้ าข้ อความให้ ปรากฏเห็นบนหน้ าต่างLibreCAD ถ้ าไม่ต้องการให้ มนั ปรากฏให้ เห็นก็เพียงแต่คลิกเอาเครื่องหมายถูก
ออกจากหน้ าข้ อความ รายละเอียดต่างๆของเมนูหลัก (Main menu)แสดงในรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการคลิกซ้ ายที่เมนูหลัก
(Main menu)

รูปแสดงการคลิกขวาที่เมนูหลัก
(Main menu)
21

Top toolbar
ในการเขียนแบบด้ วยLibreCAD มีความสะดวกและประหยัดเวลาในการค้ นหาเครื่องมือโดยที่เมื่อเรานา
เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ ไปวางบนเครื่องมือ(Tool)ตัวใดแล้ วจะปรากฏตัวหนังสือให้ เราสามารถอ่านและเข้ าใจในความหมาย
ของเครื่องมือนั ้น โดยโปรแกรมได้ ออกแบบเป็ นแบบTool tips เสมือนเป็ นปลายปากกาชี ้ไปเครื่องมือ(Tool)ตัวใดก็จะมี
หนังสือปรากฏขึ ้นมา
Top toolbar เป็ นแถบเครื่องมือติดตั ้งอยู่แถวบนของหน้ าต่างLibreCAD รองลงมาจากแถบMain menu เป็ นการ
นาเครื่องมือจากคาสัง่ ที่ Main menu บางตัวมาสร้ างเป็ นไอคอนเครื่องมือ(Tool icon) เข่น ไอคอนจาก Snap, File,
Edit และ View ดังรูปข้ างล่าง

จากTop toolbar นี ้เราสามารถเปิ ดดูและใช้ งานจากไอคอนเครื่องมือบางตัวที่เก็บซ่อนเอาไว้ โดยการคลิกเข้ าไปที่


เครื่องหมาย>> ดังรูปข้ างบน(มุมขวาสุด)

รูปแสดงไอคอนในกลุ่ม Edit และ View บน Top toolbar


.
Main Cad Tools เป็ นกลุม่ ไอคอนเครื่องมือ(Tools icon) โดยการนาเอาเครื่องมือจากเมนูหลักข้ างบนที่เหลือจาก
การสร้ างไอคอนและวางอยู่บน Top toolbar อันได้ แก่ Select ,Draw, Dimension, Modify ,Info มาสร้ างเป็ นรูปไอคอน
และติดตั ้งอยู่ทางซ้ ายมือของพื ้นที่เขียนแบบ ทาให้ สามารถนามาใช้ งานได้ สะดวก และใช้ งานได้ รวดเร็ว เราอาจเรี ยก
Main CAD tools ว่าเมนูซ้ายมือ ดังรูปข้ างล่าง
Lines Arcs

Circles Ellipses
Polylines Splines

Points
Dimensions
Multiline Text
Hatch Insert Image

Modify Info
Block
Select

รูปแสดงคาสัง่ ที่ Main CAD tools


22

สาหรับเครื่องมือ(Tool) อีกสองตัวบนเมนูหลัก ( Main menu) อันได้ แก่Layer และ Block ได้ ถกู นามาสร้ าง
เป็ นไอคอนเครื่องมือ(Tool icon) และถูกติดตั ้งอยู่ทางขวามือของLibreCAD ดังรูปข้ างล่าง

รูปหน้ าต่างของ Block list และ Layer list


23

บทที่3
Corner toolbar
Corner toolbar เป็ นคาสัง่ อันแรกชองเมนูหลัก(Main menu)ติดตั ้งอยู่มมุ ซ้ ายสุดที่ตาแหน่งโลโก้ ของLibre
CAD เป็ นคาสัง่ ที่ช่วยให้ เราสามารถเขียนแบบคราวละหลายๆไฟล์ และเปิ ดดูหน้ าต่างไฟล์เขียนแบบเหล่านั ้นได้ จาก
หน้ าต่างเล็กๆที่วางอยู่บนหน้ าต่างใหญ่ของพื ้นที่เขียนแบบ

Corner toolbar

รูปแสดงเมนูย่อยของCorner toolbar
Corner toolbar มีคาสัง่ ดังต่อไปนี ้
 Restore:แสดงหน้ าต่างการเขียนแบบของเราที่เขียนขึ ้นมาครั ้งละหลายไฟล์เขียนแบบ เก็บวางหน้ าต่างของ
การเขียนแบบหลายหน้ าต่างใหญ่ของการเขียนแบบบนพื ้นที่เขียนแบบให้ เป็ นหน้ าต่างเล็ก ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงหน้ าต่างเล็กๆบนพื ้นที่


เขียนแบบหลังจากคลิก Restore

 Minimize:เก็บซ่อนหน้ าต่างเขียนแบบที่กาลังเขียนอยู่ปัจจุบนั เข่นเดียวกับคาสัง่ ใช้ งานในโปรแกรมทัว่ ไป


 Stay on top: เป็ นคาสัง่ ต้ องการให้ แสดงหน้ าต่างเล็กๆที่เราRestore ให้ เห็นอยู่บนแถวบนของจอเขียนแบบ
ตลอดเวลา หรือไม่ต้องการแสดงให้ เห็นตลอดเวลาที่เราเขียนแบบ(หลังจากเราคลิกRestore) ถ้ าต้ องการให้ หน้ าต่าง
เล็กๆแสดงให้ เห็นบนแถบบนพื ้นที่เขียนแบบ ให้ คลิกที่เครื่องหมายโลโก้ LibreCADบนเมนูหลัก(Main menu)ให้ มีเมนู
Corner tool bar ปรากฏขึ ้นมาแล้ วคลิกให้ มีเครื่องหมายถูกหน้ าStay on top จากนั ้นคลิกอีกครั ้งที่โลโก้ LibreCAD(ที่
เดิม) แล้ วย้ อนมาคลิกที่Stay on topอีกครั ้งทาให้ เครื่องหมายถูกหน้ าStay on top หายไป จะเห็นว่ามีหน้ าต่างเล็กที่เรา
24

เขียนแบบไว้ แล้ วปรากฏอยู่แถบบนของพื ้นที่เขียนแบบ ในขณะเดียวกันถ้ าไม่ต้องการให้ เห็นหน้ าต่างเล็กวางอยู่แถบบน


พื ้นที่เขียนแบบ ให้ คลิกในทานองเดียวกันคือคลิกที่โลโก้ LibreCAD(บนเมนูหลัก) แล้ วมาคลิกที่ Stay on top ให้ มี
เครื่องหมายถูกที่หน้ าชื่อStay on top ดังรูปข้ างล่าง

คลิกทีS่ tay on top ให้ มี


เครื่ องหมายถูก อยู่หน้า

 อนึง่ ถ้ าเรานาเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ผ่านแถบบนสุดของหน้ าต่างเล็ก(แถบสีน ้าเงิน ซึง่ มีคาสัง่ ปิ ด, เปิ ดและซ่อน
หน้ าต่าง) หน้ าต่างเล็กเหล่านั ้นยังคงปรากฏให้ เห็นอยู่ แต่ถ้านาเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ผ่านบริเวณอื่นนอกเหนือจาก
บริเวณที่กล่าวมาแล้ วของหน้ าต่างเล็ก รูปหน้ าต่างเล็กเหล่านั ้น จะหายไป(ถูกซ่อนอีกครั ้ง)
1คลิกที่โลโก้ LibreCAD

2.คลิกให้ มีเครื่องหมาย
ถูก

ดก

รูปแสดงไม่ปรากฏหน้ าต่างเล็ก
ดก
1คลิกที่โลโก้ LibreCAD

2.คลิกอีกครัง้ ไม่ให้ มี
เครื่ องหมายถูก

ดก

รูปแสดงมีหน้ าต่างเล็กปรากฏบน
ดก
พื ้นที่เขียนแบบ หลังจากคลิกที่โลโก้ ของLibreCADบนMain menu>คลิกให้ เครื่องหมายถูกหายไปที่หน้ าชื่อ Stay on top
ดังรูปข้ างล่าง
25

คลิกทีS่ tay on top อีกครัง้ ให้


เครื่ องหมายถูกหายไป

ถ้ าเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์เคลือนผ่านแถบ


นี ้ หน้าต่างเล็กจะยังคงอยู่

ถ้ าเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์เคลือนผ่านแถบนี ้


หน้ าต่างเล็กจะหายไป(ถูกซ่อน)

ดก
รูปแสดงการทาหน้ าต่างเล็กปรากฏ
หรือไม่ปรากฏบนพื ้นที่เขียนแบบ
ดก
 เพื่อให้ เป็ นการง่ายและไม่สบั สน ในการเลือกหน้ าต่างเล็กให้ ปรากฏขึ ้นมาบนจอพื ้นที่เขียนแบบ ให้ เปิ ดการ
ทางานโดยการคลิกที่Restoreเท่านั ้น เราก็สามารถดูและเลือกหน้ าต่างเขียนแบบได้ ง่ายและสะดวกยิ่งขึ ้น

 Close: ปิ ดการเขียนแบบที่กาลังเขียนอยู่ในปั จจุบนั เมื่อต้ องการเขียนไฟล์เขียนแบบใหม่ให้ คลิกFile>New


26

บทที่4
File
File(ไฟล์) เป็ นโปรแกรมเขียนแบบส่วนหนึ่งในรูปของกราฟฟิ กและข้ อมูล เป็ นการรวมเอา
คาสัง่ เกี่ยวกับการจัดการก่อนและหลังจากเราเขียนแบบ ติดตั ้งอยู่บนเมนูหลัก(Main menu) ซึง่ ในLibreCAD สามารถ
เขียนแบบคราวละหลายๆไฟล์พร้ อมกันโดยเปิ ดทีละไฟล์ ดังเช่นเดียวกับการทางานบนไมโครซอร์ ฟออฟฟิ ส เรา
สามารถเรียกใช้ คาสัง่ File ได้ จากเมนูหลัก(Main menu) และที่ไอคอนเครื่องมือ(Tools icon)จากTop toolbar ดังรูป
ข้ างล่าง

รูปการเรี ยกใช้ คาสัง่ Fileจาก


เมนูหลัก(Main menu)

รูปการเรียกใช้
คาสัง่ FileจากไอคอนบนTop toolbar

คาสัง่ ของFile ประกอบด้ วย


 New: เปิ ด หรือทาการเขียนแบบขึ ้นมาใหม่
 New from template เป็ นการเปิ ดเรียกไฟล์DXF(ไฟล์ที่เขียนด้ วยLibreCAD)ที่เราสร้ างหรือเขียนมาก่อนเป็ น
ต้ นแบบ (Template)เก็บหรือsaveไว้ ในโฟลเดอร์ หรือPath ที่เราต้ องการ เวลาจะใช้ ก็คลิก ที่File>New from template
และโปรแกรมจะทาให้ เราค้ นหา(Browse) ไฟล์นั ้น เข่นเราสร้ างไฟล์เขียนแบบขึ ้นมาก่อนไฟล์หนึง่ มี ชื่อว่าTitle block
template2 ซึง่ เป็ นรูป ของกรอบและTitle block เก็บไว้ ในPathที่My document เพื่อนามาเขียนรูปและรายละเอียดของ
แบบเพิ่มเติมลงไปในนั ้น ในเวลาที่เราต้ องการ
เวลาเราจะนามาใช้ งานบนพื ้นที่เขียนแบบก็ให้ คลิกบนเมนูหลัก (Main menu) โดยการคลิกที่ File >New from
template จากนั ้นโปรแกรมจะให้ ค้นหา ในที่นี ้เราคลิกที่My document และคลิกที่ชื่อTitle block template 2 จากนั ้น
คลิกOpen แล้ วเราก็จะพบรูปภาพที่เราต้ องการ มาวางอยู่บนพื ้นที่เขียนแบบLibreCAD ดังรูปข้ างล่าง
27

รูปแสดงการเรียกไฟล์ที่เป็ น
Template มาใช้ งาน

 Open:เปิ ดใช้ งานที่มีการเก็บบันทึกไว้ ก่อน โดยทาการBrowseหาโฟลเดอร์ ในPathที่เราเก็บไว้ เพื่อทาการเขียน


ต่อ หรือแก้ ไขแบบ (ลักษณะคล้ ายกับ Open from template ต่างกันที่ไฟล์ที่เขียนแบบเป็ นTemplate ส่วนใหญ่ สร้ างกัน
ในรูปของBlock)
 Save : Saveหรือบันทึกแบบที่ไม่เคยเขียนมาก่อน แต่ถ้าเป็ นการบันทึกในไฟล์แบบที่เคยเขียนมาก่อนก็จะเป็ น
การบันทึกลงในไฟล์แบบเดิมนั ้น
 Save as: เป็ นการSaveหรือบันทึกแบบเคยบันทึกมาก่อนซึ่งสามารถกาหนดว่าจะบันทึกไปเก็บไว้ ที่โฟลเดอร์
ในPathตามที่เราต้ องการ
 Export เป็ นการที่เรานาแบบที่เราเขียนออกไปเก็บไว้ ไฟล์ข้างนอก
 Import เป็ นการนาไฟล์จากข้ างนอกเข้ ามาในLibreCAD
-Insert Image เป็ นการนาเอาไฟล์ที่เป็ นรูปภาพหรือเสมือนหนึง่ เป็ นรูปภาพเข้ ามาในพื ้นที่เขียนแบบ
LibreCAD
-Block เป็ นการเรี ยกแบบที่เราสร้ างเป็ นBlockที่เก็บไว้ นามาใช้ งาน
 Close:เป็ นการปิ ดการเขียนแบบที่กาลังเขียนอยู่ในปั จจุบนั
 Print: พิมพ์แบบแปลนที่เขียนปั จจุบนั ออกมาในรูปแบบบนกระดาษ
 Export as PDF :เป็ นการนาไฟล์เขียนแบบออกไปเก็บข้ างนอกในลักษณะเป็ นไฟล์ประเภทPDF ซึง่ เป็ นไฟล์ที่
เป็ นที่นิยมกันมาก
 Print preview :มองดูแบบจาลองที่เราเขียนไว้ เพื่อดูก่อนที่จะพิมพ์แบบแปลนออกมาจากเครื่องพิมพ์ (Printer)
 Quit: เป็ นการออกจากการเขียนแบบด้ วยLibreCAD
28

บทที่5
Edit
Edit เป็ นการรวมคาสัง่ เกี่ยวกับการแก้ ไขหรือเปลี่ยนแปลงแบบหรือไฟล์ที่เราเขียน เราสามารถ
เรียกใช้ คาสัง่ Edit ได้ ทั ้งทางเมนูหลัก(Main menu) และเมนูไอคอนซึง่ ติดตั ้งวางอยู่ที่Top toolbar ดังรูปข้ างล่าง

รูปการเรียกใช้ คาสัง่ ทางเมนูหลัก (Main menu)

รูปการเรียกใช้ คาสัง่ ทางไอคอนเมนูบนTop toolbar

 Selection pointer เป็ นการออกจากคาสัง่ ที่กาลังเขียนอยู่โดยการคลิกเมนูหลัก(Main menu)ที่Edit>Selection


pointer หรือคลิกที่ไอคอนสัญลักษณ์ รูปลูกศรที่Top toolbar โดยปกติสามารถทาการออกจากคาสัง่ ได้ โดยการคลิกขวาที่
เม๊ าส์ทาให้ เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์เปลี่ยนจากCrosshair (กากบาท)เป็ นลูกศร ดูSelection pointerดังรูปข้ างล่าง

 Undo: เลิกกระทาตามคาสัง่ ล่าสุด คาสัง่ นี ้จะเปิ ดต่อเมื่อเราได้ เขียนแบบ


 Redo: กระทาคาสัง่ เดิมที่ลบไป(Undo)อีกครั ้ง คาสัง่ นี ้จะเปิ ดต่อเมื่อเราปิ ดคาสัง่ Undo
 Cut: ตัดส่วนของรูปที่เขียนขึ ้นมาและเลือกไว้ แล้ วบนพื ้นที่เขียนแบบ
 Copy:คัดลอกส่วนของรูปที่เขียนแบบและเลือกไว้
 Paste:แปะหรือนาส่วนของรูปเขียนแบบที่คัดลอก(Copy)หรือตัด(Cut)แล้ วนามาวางบนพื ้นที่เขียนแบบ
29

 Draw order เป็ นการสัง่ ให้ วตั ถุที่เขียนเรียงซ้ อนกันหรือทับกัน เช่นรูปลวดลายภาคตัด (Cross section)ให้ แสดง
ออกมารูปใดรูปหนึง่ ตามที่เราต้ องการ ดังตัวอย่างแสดงให้ เห็นว่ารูปสีที่มีหลายรูปซ้ อนกันอยู่ แต่เราสามารถสัง่ ให้ มนั
แสดงให้ เป็ นรูปด้ านบนสุด หรือ รูปล่างสุด ดังรูปข้ างล่าง

 จากรู ป หากเราต้ อ งการน ารู ป สี่เหลี่ยมรู ป ใดขึน้ มาแสดงเป็ นภาพบนสุด เราก็ คลิ กที่ เมนูข้ างบนEdit>Draw
order>Move to top
 คลิกรูปที่ต้องการนาขึ ้นมาบนสุดในที่นี ้เราทดสอบโดยเอารูปสีเ่ หลีย่ มล่างสุด .ให้ คลิกที่ส่วนของรูปสีเ่ หลี่ยมอัน
ล่างสุด แล้ วกดEnter แล้ วคลิกซ้ ายอีกครัง้ รูปข้ างล่างจะปรากฏขึ ้นมาอยู่ข้างบนดังรูปข้ างล่าง อนึง่ ในการคลิกเลือก
ต้ องใช้ ความระมัดระวัง อย่าคลิกไปถูกส่วนที่ทบั ซ้ อนกัน มิฉะนั ้นมันอาจทางานผิดพลาดหรือไม่ทางานก็ได้

รูปการใช้ คาสัง่ ให้ รูปที่อยู่ล่างสุด


ขึ ้นมาแสดงอยู่ที่บนสุด
 ในทานองเดียวกันหากเราต้ องการทารูปใดให้ อยู่ข้างล่างสุด หรื อ ก่อนข้ างล่างสุด ข้ างบนสุด หรือก่อนบนสุด
เราก็ทาในทานองเดียวกับวิธีที่กล่าวมาข้ างบน โดยการเข้ าไปที่เมนูข้างบนEdit>Draw order ตามด้ วยคาสัง่ ใดคาสัง่
หนึง่ ในเมนูของDraw order ดังรูปข้ างล่าง
30

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Draw order

Application preferences
Application preferences เป็ นการเปลีย่ นแปลงค่าและการปรับตั ้งค่าในการเขียนแบบLibreCAD
 ขั ้นตอนแรกให้ คลิกEdit ที่เมนูหลัก(Main menu) แล้ วเลือก Application Preferences ดูช่องและดูสงิ่ ที่เรา
สามารถเปลีย่ นแปลง ซึง่ มีค่อนข้ างมากภายใต้ สงิ่ ที่มนั ปรากฏ เช่น ภาษา ซึง่ เราคงไม่ต้องไปเปลี่ยนมัน คงไว้ เป็ น
ภาษาอังกฤษ ในขั ้นตอนนี ้เราสามารถใช้ Default(การตั ้งค่าโปรแกรมตั ้งแต่แรกเริ่ม)ที่โปรแกรมLibreCADได้ ตั ้งค่าไว้ แล้ ว
ตอนแรกเริ่ มให้ แก่เรา อย่างไรก็ตามต้ องแน่ใจว่าที่ Graphic view>Show large crosshairsที่เลือกให้ Red Crosshair
(เครื่องหมายกากบาทสีแดงใหญ่)ในพื ้นที่เขียนแบบเปิ ดหรือปิ ด(กาเครื่องหมายถูกหมายถึงเปิ ด) ในส่วนของAutomatic
scale grid เป็ นการตั ้งมาตราส่วนของGrid โดยอัตโนมัติ (ทั ้งRed crosshair และ Automatic scale grid เป็ นค่า
Default)
 มีค่าหนึง่ บน Application preferences ที่น่าสนใจคือ Display splash เป็ นการเปิ ดให้ แสดงโลโก้ ของ
LibreCAD บนพื ้นที่เขียนแบบก่อนที่จะเข้ าสูข่ บวนการเขียนแบบ ถ้ าเราไม่ต้องการให้ แสดงโลโก้ ของLibreCAD ก่อนเข้ า
สูข่ บวนของการเขียนแบบเราสามารถปิ ดโดยการคลิกเอาเครื่องหมายถูกออก ดังรูปข้ างล่าง
31

รูปแสดง Display splash

รูปแสดงไม่มี Display splash

 ต่อไปเราลองคลิกปุ่ มPath ซึง่ จะแสดงให้ เราสามารถระบุPartหรือเส้ นทางที่เก็บโฟลเดอร์ สาหรับสิง่ ต่างๆเช่น


ตัวอักษร(Fonts),ลวดลาย(Hatch) หรือpart library หรือTemplate เป็ นต้ น ดังรูปข้ างล่าง
32

 ต่อไปคลิกปุ่ มDefault ใช้ สาหรับในกรณีที่ไม่ต้องการเปลีย่ นแปลงสิง่ ใดๆที่ตรงนี ้ในขณะนี ้ แต่เราสามารถ


เปลีย่ นประเภทหน่วย .ซึง่ เราสามารถเลือกหน่วยเป็ น มิลลิเมตร, นิ ้ว หรือ เมตร
 เลือกAuto backup (สารองไฟล์ข้อมูลอัตโนมัติ)
 คลิกOK.เพื่อปิ ด Edit Application preferences แล้ วตรวจสอบดูDrawing preferences ปั จจุบนั ทุกๆสิง่ ที่
กระทาจะมี ผลต่อแบบซึง่ ทางานอยู่ในขณะนี ้ ดังนั ้นให้ ตรวจสอบดูสงิ่ เหล่านั ้นด้ วย
 อนึง่ หากเราต้ องการเปลี่ยนสีของพื ้นที่เขียนแบบจากพื ้นหลัง(Background)จากสีดาให้ เป็ นสีขาว หรือสีเทาเรา
ก็สามารถเข้ าไปแก้ ไขได้ ในApplication Preferences โดยการคลิกที่แถบBackground แล้ วคลิกเปลีย่ นค่าในนั ้น
(Background#000000 เปลีย่ นค่าเป็ น #FFFFFF) หรืออาจเป็ นสีเทา (#COCOCO) แล้ วคลิกOK ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการแก้ ค่าให้ พื ้นหลัง


(Background) ของพื ้นที่เขียนแบบให้ เป็ นสีดาหรือสีขาว หรือสีเทา
33

 อนึง่ ถึงแม้ พื ้นหลัง(Background)จะเป็ นสีดา หรือสีเทา แต่เวลาพิมพ์แบบแปลนออกมาจะแสดงพื ้นหลัง(Back


ground)เป็ นสีขาวซึง่ เราสามารถตรวจสอบโดยเปิ ดดูโดยการคลิกที่ไอคอนPrint preview(ดูเค้ าโครงร่างก่อนพิมพ์แบบ
แปลนออกจากเครื่องพิมพ์)

รูปแสดงพื ้นที่เขียนแบบสีดา

รูปแสดงพื ้นที่เขียนแบบสีขาว

 การตั ้งค่าสี(Color) ในส่วนของAppearance บนหน้ าต่างของ Application preferences รายการMeta Grid


Color เป็ นการตั ้งค่าให้ เห็น Gridที่รวมกันเป็ นรูปสีเ่ หลี่ยม
 การตั ้งค่ารายการอื่นๆนอกจากที่กล่าวแล้ วจะไม่มีผลนักเพราะส่วนใหญ่ตั ้งค่ามาจากแรกเริ่ ม (Default)

Current drawing preferences


Current drawing preferences เป็ นหน้ าต่างที่ให้ เราสามารถเข้ าไปปรับตั ้งหรือกาหนดค่าต่างๆในแบบ
ขณะกาลังเขียนอยู่ตามที่เราต้ องการ เกี่ยวข้ องกับการเขียนแบบเพื่อให้ การเขียนแบบนั ้นสมบูรณ์และพิมพ์แบบแปลน
ออกมาอย่างถูกต้ อง ค่าที่กาหนดให้ ในหน้ าต่าง Current drawing preferences มีผลต่อแบบที่กาลังเขียนอยู่ ซึง่ มี
ขั ้นตอนต่างๆดังต่อไปนี ้
34

รูปแสดงหน้ าต่างของDrawing
Preferences

 ที่เมนูหลัก(Main menu)คลิกEditแล้ วเลือกคลิก Current drawing preferences สังเกตดูหน้ าต่างที่ปรากฏ


ขึ ้นมาบนหน้ าต่างของCurrent drawing preferences
 ทดสอบคลิกปุ่ มPaper ณ.ที่นี่เราสามารถเปลี่ยนขนาดของกระดาษเป็ นแบบA3 ,A4 หรือขนาดอื่นตามที่เราจะ
กาหนด ซึง่ สามารถเลือ่ นเลือก(Drop-down)ในเมนูของPaper format และเลือกมุมมอง (paper orientation )ของการ
พิมพ์รูปภาพที่พิมพ์ออกมาจากเครื่องพิมพ์ (Printer) ว่าต้ องการกระดาษที่พิมพ์ออกมาว่าจะเป็ นลักษณะLandscape
หรือ Portrait
 คลิกLandscapeและเลือ่ นเพื่อเลือกขนาดกระดาษที่เมนูขนาด(Size menu) การปรับตั ้งค่านี ้จะทาให้ พิมพ์
แบบงานออกจากคอมพ์ ตามต้ องการ ส่วนใหญ่นิยมพิมพ์แบบแปลนออกมาในลักษณะวางแบบLandscape คือรูปที่
พิมพ์ออกมาจะปรากฏในแนวนอน มากกว่าการพิมพ์แบบออกมาในแนวตั ้ง(Portrait)
 ต่อไปคลิกปุ่ มUnit ณ.ที่นี ้เราสามารถเปลี่ยนหน่วยเหมือนดังที่เราทาก่อนหน้ านั ้น แต่การเลือกนี ้มีผลต่อแบบนี ้
เท่านั ้น ส่วนเมนูเลือ่ น(Drop-down)เลือกค่าที่Format จะเป็ นการเลือกกาหนดรูปแบบทีเรากาลังเขียนอยู่ในขณะนี ้ เช่น
ในขณะนี ้เราต้ องการเขียนหน่วยทีมีค่าเป็ นทศนิยมเราจึงเลือกใส่ค่าที่นี่เป็ นDecimal
 ที่เมนูเกี่ยวกับหน่วย(Unit)เรายังสามารถเปลี่ยนทศนิยมให้ เป็ นสองตาแหน่งแทนที่จะเป็ นสีต่ าแหน่ง โดยการ
คลิกไปที่Precisionและเลือกโดยเลือ่ นลงมาจาก0.0000 ให้ เป็ น0.00 ในเมนูเลือ่ นเลือกค่า ในทานองเดียวกันวิธีการ
เปลีย่ นค่ามุมก็สามารถทาได้ ด้วยวิธีการเดียวกัน
 เมื่อกาหนดค่าหน่วย รวมถึงตาแหน่งจุดทศนิยม และค่าของมุม เราสามารถดูตวั อย่างได้ จากรายการPreview
ที่อยู่แถวล่างของหน้ าต่าง Drawing Preferences ดังรูปข้ างล่าง
35

 ต่อไปคลิกปุ่ มGrid ณ.ที่นี่เราต้ องการให้ แน่ใจว่าการแสดงGrid(ตารางสีเ่ หลีย่ ม) ที่เลือกเป็ นแบบ Orthogonal


(ตารางสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก) หรือเราอาจเลือกGridแบบIsometric(ตารางสีเ่ หลี่ยมหน้ าตัดทแยง) ถ้ าเราต้ องการเขียนรูปไอ
โซเมตริ ก ดังรูปข้ างล่าง

 จากรูปข้ างบนถ้ าเราเลือก Isometric Grid เราสังเกตในหน้ าต่างจะเห็นหัวข้ อCrosshair เป็ นการให้ เลือก
ลักษณะของCrosshair ว่าต้ องการเป็ นแบบซ้ าย (Left) หรือบน(Top) หรือแบบขวา(Right) แต่เนื่องจากLibreCAD เป็ น
การเขียนแบบ2D(สองมิติ) ดังนั ้นในส่วนของการเลือกCrosshairจะไม่มีผล คือยังคงสภาพของCrosshairเป็ นแบบ
Orthogonal Grid ส่วนค่า X spacing และค่าY spacing เป็ นค่าแสดงระยะห่างระหว่างจุดของGrid โดยปกติจะตั ้งค่า
ไว้ ที่Auto ซึง่ เป็ นค่าที่มนั สามารถปรับเปลีย่ นไปตามอัตราส่วนที่เรากาหนดบนพื ้นที่เขียนแบบเช่นส่วนใหญ่ จะเป็ น
10/100(สามารถสังเกตดูได้ ที่มุมล่างของพื ้นที่เขียนแบบ) แสดงว่าใน1ช่องเล็กของGridเท่ากับ10หน่วย และ1ตาราง
ใหญ่ของGrid เท่ากับ100หน่วย ดังรูปข้ างล่าง
36

 อนึง่ ในการปรับเปลีย่ นGrid spacing โดยอัตโนมัตินั ้น เราสามารถกระทาได้ โดยการเลือ่ นที่ปมกลางของเม๊


ุ่ าส์
(Scroll wheel) โดยการวางเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไว้ ที่บริเวณพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area) แล้ วเลือ่ นปุ่ มกลางของ
เม๊ าส์(Scroll wheel) ในทิศทางขึ ้นลง

รูปแสดงค่าระยะห่างของGrid
(Grid spacing)

 ต่อไปคลิกปุ่ มDimension สังเกตได้ ว่ามีค่าที่เราสามารถเปลีย่ นมากมายซึง่ มีความหมายในตัวมันของแต่ละค่า


เราสามารถเขียนแบบก่อน เมื่อให้ ขนาดในแบบ แล้ ววกกลับมาเปลีย่ นค่าเช่นขนาดตัวเลข ขนาดหัวลูกศร หรืออื่นๆ
ตามที่เราต้ องการโดยการคลิกที่เมนูหลัก(Main menu) แล้ วเลือก Edit>Current drawing preferences>Dimension
ซึง่ รายละเอียดเกี่ยวกับการตั ้งค่าDimension จะได้ กล่าวไว้ ในบทที่9เกี่ยวกับการบอกขนาด(Dimensioning) ดังรูป
ข้ างล่าง

รูปหน้ าต่างDimensionรายละเอียด
กล่าวไว้ ในบทที่9(Dimension)
37

 การตั ้งค่าตัวต่อไปคือSpline (รายละเอียดได้ กล่าวไว้ ในบทที่8 หัวข้ อ Spline) ให้ คงค่าไว้ ที่เดิม ซึ่งเป็ นค่าที่นิยม
ใช้ กนั คือค่าที่8
 ลาดับสุดท้ ายคลิกOK.เพื่อปิ ดหน้ าต่างนี ้
38

บทที่6
View
View เป็ นการรวมคาสัง่ เกี่ยวกับคาสัง่ ต่างๆมีลกั ษณะที่ทาให้ การเขียนแบบมองดูชดั เจนและมองดูดีทาให้
เขียนแบบได้ สะดวก ง่าย สวยงาม และถูกต้ อง เราสามารถเรียกใช้ คาสัง่ Viewได้ ทั ้งที่เมนูหลัก(Main menu)และที่ไอคอน
เครื่องมือ(Tools icon) ที่Top toolbar ดังรูปข้ างล่าง

รูปการเรียกใช้ คาสัง่ View จากเมนู


หลัก (Main menu)

รูปแสดงการเรียกใช้ คาสัง่ View จากTop toolbar

Grid
Grid เป็ นจุดบนพื ้นที่เขียนแบบมีมากับโปรแกรมLibreCAD เป็ นลักษณะคล้ ายกับกระดาษกราฟ ช่วยเพิ่ม
ความสะดวกในการเขียนแบบ และการกาหนดตาแหน่งในการเขียนแบบได้ แม่นยา เสมือนหนึง่ เราเขียนแบบบนกระดาษ
กราฟ
ถ้ าเราสังเกตดูที่พื ้นที่สาหรับเขียนแบบ (Main drawing area) จะมีจดุ เล็กๆเต็มจอ เราเรี ยกจุดนี ้ว่าGrid ถ้ าเรา
เคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ และเลือ่ นจอพื ้นที่เขียนแบบไปหรือเรี ยกว่าDrag (กดลูกเลือ่ นซึง่ อยู่ตรงกลางของเม๊ าส์ค้างไว้
ตลอดเวลาที่เราเคลือ่ นเม๊ าส์) เราจะพบกากบาทสีแดง ซึง่ เป็ นจุด0,0 (จุดกาเนิดหรือจุดOrigin)คือจุดที่X=0,Y=0
ใน1ช่องสีเ่ หลี่ยมของGrid จะเท่ากับ10จุด ซึง่ หมายถึง 10 มิลลิเมตรถ้ าเราใช้ หน่วยของมิลลิเมตร ซึง่ เป็ นค่าที่เราตั ้ง
ไว้ เป็ นค่าDefault(ค่าแรกเริ่ มที่กาหนดมา)โดยสามารถเปิ ดดูหรือแก้ ไขจากEdit>Application preferences>Apearance
39

รูปแสดงการตั ้งค่าที่Application
Preferences

ค่าตัวเลขการตั ้งค่าGrid จะแสดงให้ เราเห็นที่มุมล่างขวาในพื ้นที่เขียนแบบของหน้ าต่างLibreCAD ( Point


of Grid และ Rectangle of Grid) อนึง่ ถ้ าเราวางเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไว้ บนพื ้นที่เขียนแบบและหมุนลูกกลิ ้งของเม๊ าส์(ปุ่ ม
กลางของเม๊ าส์)ซึง่ เป็ นการซูมภาพจะสังเกตเห็นว่าค่าตัวเลขที่กล่าวนั ้นจะเปลีย่ นไปตามการซูมของภาพ

ตัวเลขแสดงค่าของGrid

รูปแสดงการปิ ด/เปิ ด Grid

ถ้ าเราไม่ต้องการให้ แสดง Grid บนพื ้นที่เขียนแบบ เราสามารถปิ ดมัน(switch off)โดยคลิกไปที่ไอคอนของGrid ที่


ขวามือของTop toolbar ถ้ าเราต้ องการให้ มีการแสดงGrid ก็ให้ เปิ ด(switch on)โดยการคลิกที่ไอคอนGrid ที่เดิมอีกครั ้ง
หนึง่ Gridมีความสาคัญและมีประโยชน์ ต่อการเขียนแบบมาก เพราะเป็ นจุดอ้ างอิงและทาให้ สามารถเขียนแบบได้
ต่อเนื่องกัน โดยมีจุดอีกจุดหนึง่ ซึง่ ทางานสัมพันธ์ กนั จุดนั ้นคือ Snap ซึง่ จะได้ กล่าวในต่อไปภายหลัง
Isometric grid
Isometric Grid เป็ นGridที่แสดงในรูปตารางทแยง เหมาะกับการเขียนแบบIsometric มีวิธีการทาดังต่อไปนี ้
 คลิกEditบนเมนูหลัก(Main menu) บนเมนูนี ้เลือ่ น(Drop down)เมนูย่อย เลือก current drawing preferences
 ที่หน้ าต่างDrawing preferences ให้ เลือกปุ่ ม Grid จะปรากฏให้ เลือกเกี่ยวกับGrid คลิกปุ่ มIsometric และ
คลิก OK. ที่ข้างล่างของหน้ าต่าง Drawing preferences เราสังเกตมีจุดGridมากมายเกิดขึ ้นมาในแนวทแยง
40

Isometric grid มีประโยชน์ ในการเขียนแบบIsometric และแบบ3D ซึง่ ในLibreCADนี ้จะอธิบายวิธีการใช้ งาน


เขียนแบบเป็ น2Dเท่านั ้น ถ้ าจะใช้ Isometric ประกอบการเขียน3D ต้ องเขียนด้ วยการระบุด้านด้ วยการไม่ใช้ โปรแกรม
(เขียนแบบManual) และเนื่องจากโปรแกรม LibreCAD เป็ นโปรแกรมเขียนแบบ2D เราจึงไม่อาจเลือกการวาง
ตาแหน่งของCrosshair แบบLeft หรือTop หรือRight เราสามารถเข้ าไปตั ้งค่าได้ ที่หน้ าต่างDrawing Preferences ดัง
ตัวอย่างรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการเลือกค่าIsometric
Grid

Y
Z X

รูปแสดง Isometric Gridที่


เกิดขึ ้นหลังจากเราตั ้งค่าที่หน้ าต่าง Drawing Preferences (คลิกEdit>Current drawing preferences)

 Draft: เปิ ด/ปิ ดโหมดเขียนแบบทาลวดลาย(Hatch) ซึง่ การทาลวดลายได้ อธิบายอยู่ในบทที่ 8 (Draw)


ถ้ าไม่ต้องการแสดงลวดลาย(Hatch)ของวัตถุหรือชิ ้นงานที่เขียนบนแบบ ให้ คลิกเปิ ดโหมดDraft (คลิกที่
View>Draft) ดังรูปข้ างล่าง โดยการคลิกที่Draft บนหน้ าต่างเมนูย่อยของView หรือเราอาจไปคลิกที่ไอคอนของView ที่
Top toolbar ก็ได้ เช่นกัน
41

1. คลิก View

2. คลิก Draft

รูปแสดงวิธีการเปิ ดโหมดDraft

รูปแสดงโหมดDraftถูกเปิ ดแล้ วหลังคลิกView>Draft

รูปแสดงผลจากการเปิ ดโหมด Draft

สาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการทาลวดลาย(Hatch)จะได้ กล่าวต่อไปในบทที่8 (ในบทเกี่ยวกับ Draw)


ถ้ าต้ องการให้ แสดงลวดลาย(Hatch)ให้ คลิกปิ ดโหมดDraft (คลิกView>Draftอีกครั ้ง)จะได้ ดงั รูปข้ างล่าง
42

รูปแสดงโหมดDraftถูกปิ ดหลังเราคลิกView>Draft
อีกครั ้ง

รูปแสดงลวดลาย(Hatch)เกิดขึ ้น
หลังปิ ดโหมดDraft

 Redraw (หรือคลิกที่แป้นพิมพ์ F5): ทาให้ เขียนแบบต่อไปบนพืน้ ที่เขียนแบบดีขึ ้น การใช้ คาสัง่ Redrawหรือ


กดแป้นF5 เป็ นการทาให้ รูปภาพบนจอให้ มีความสมบูรณ์ขึ ้นหลังการเขียนแบบมีการใช้ คาสัง่ ต่างๆ ซึง่ ในการมองดู เรา
อาจไม่พบการเปลีย่ นแปลงใดๆเกิดขึ ้นบนพื ้นที่เขียนแบบ
 Zoom in: ซูมหรือขยายภาพจากภาพเดิมทุกรูปบนพื ้นที่เขียนแบบ ด้ วยอัตราการขยายเป็ นอีกหนึง่ เท่าจากภาพ
เดิมดังรูปข้ างล่าง
43

คลิก Zoom in

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Zoom in รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Zoom in

 Zoom out: ย่อภาพจากภาพเดิมทุกรูปบนพื ้นที่เขียนแบบด้ วยอัตราการย่อครึ่งเท่าของภาพเดิม ตรงกันข้ ามกับ


วิธีZoom in ดังรูปข้ างล่าง

คลิก Zoom out

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Zoom out รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Zoom out

 Auto zoom: ซูมหรือขยายภาพทุกรูปเดิมให้ โตที่สดุ เท่าที่จะบรรจุอยู่ในพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area)

คลิก Auto zoom

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Auto zoom รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Auto zoom


44

 Previous view: กลับมาทีภ่ าพครั ้งก่อนหน้ านั ้น ดังรูปข้ างล่าง

คลิก Previous view

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Previous view รู ปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Previous view

 Window zoom: ซูมหรือขยายภาพโดยการใช้ หน้ าต่างหรือการลาก(Drag)สีเ่ หลีย่ มที่เกิดขึ ้นจากการคลิกซ้ าย


ค้ างไว้ ที่เม๊ าส์ คลุมวัตถุที่ต้องการขยาย ดังรูปข้ างล่าง

1คลิก Window zoom

2 Drag คลุมรูป
ที่จะขยาย
3 คลิกขวาที่
เม๊ าส์เพื่อออก
จากคาสัง่

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Window zoom รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Window zoom

 Zoom panning : Panหรือแดร๊ ก(Drag)ภาพที่เราต้ องการดูโดยการคลิกรูปที่ต้องการดู แล้ วคลิกปุ่ มซ้ ายของ


เม๊ าส์ค้างไว้ พร้ อมกับการเคลือ่ นเม๊ าส์(Drag)รูปนั ้นไปวางยังตาแหน่งที่ต้องการ ดังรูปข้ างล่าง

2 คลิกที่รูปและคลิกปุ่ มซ้ ายของเม๊ าส์


ค้ างไว้ แล้วแล้วเคลือ่ นเม๊ าส์ไป 3. วางรูปในตาแหน่งที่
ต้ องการแล้วปล่อยเม๊ าส์
1.คลิก Zoom panning
4. คลิกขวาที่เม๊ าส์
เพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Zoom panning รู ปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Zoom panning


45

 มีอีกวิธีหนึง่ ในการใช้ คาสัง่ Zoom panning โดยไม่ต้องไปคลิกที่ไอคอนZoom panning โดยการวางเคอร์ เซอร์


ของเม๊ าส์ลงบนรูปที่จะย้ าย แล้ วกดปุ่ มกลางของเม๊ าส์ (Scroll wheel)ค้ างไว้ พร้ อมกับเคลือ่ นเม๊ าส์ไป รูปทั ้งหมดบนพื ้นที่
เขียนแบบจะเคลือ่ นย้ ายไปด้ วย

 Status bar: เป็ นส่วนที่แสดงสถานะของคาสัง่ ที่ช่วยในการเขียนแบบ และแสดงพิกดั ของCrosshair และหัว


ลูกศรเม๊ าส์ในขณะนั ้น ติดตั ้งอยู่แถบล่างของหน้ าต่างเขียนแบบ ถ้ าไม่ต้องการให้ ปรากฏบนLibreCADก็เพียงคลิก
ไม่ให้ มีเครื่องหมายถูก หน้ าชื่อStatus bar ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงStatus bar
 Toolbars: แสดงรายละเอียดแถบเครื่องมือ ถ้ าไม่ต้องการแถบเครื่องมือ(Toolbar)ปรากฏให้ เห็นบนหน้ าต่าง
ของLibreCAD ก็เพียงคลิกที่ชื่อไม่ให้ มีเครื่องหมายถูก หน้ าชื่อTool bars ในทานองเดียวกันเราคลิกที่ชื่อToolbarsอีก
ครั ้งก็จะปรากฏมีเครื่องหมายถูกเกิดขึ ้นเพื่อให้ Toolbarที่เราคลิกปรากฏให้ เห็นบนหน้ าต่างLibreCAD สลับกันไป ดังรู ป
ข้ างล่าง

รูปการกาหนดให้ Toolbar ปรากฏ


ให้ เห็นบนหน้ าต่างเขียนแบบLibreCAD

 Focus on command line: เป็ นการเปิ ดให้ เขียนคาสัง่ ลงที่แถบCommand line หรือโดยการคลิกปุ่ มCtrl+M
หรือกดSpace barที่Key board (สังเกตจะเห็นคาว่าCommandจะสว่างทันทีที่เราคลิก) ดังรูปข้ างล่าง
46

บทที่7
Select
Select เป็ นการรวมคาสัง่ เกี่ยวกับการเลือกวัตถุหรือชิ ้นงานบนแบบ เพี่อทาการอย่างใดอย่างหนึง่ ตาม
คาสัง่ ที่ต้องการ เช่นเลือกเพื่อลบทิ ้ง(Delete) หรือเลือกเพื่อเคลือ่ นย้ าย(Move)เป็ นต้ น เส้ นหรือด้ าน(Entity)หลังจากถูก
คลิกเลือกจะมีลกั ษณะเป็ นเส้ นประสีแดง เราสามารถเรี ยกใช้ คาสัง่ Select ได้ ทางเมนูหลัก(Main menu)และที่ไอคอน
เครื่องมือ(Tool icon)ที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)ดังรูปข้ างล่าง

การเรียกใช้ คาสัง่ Selectจากเมนูหลัก(Main menu)

De select all Select all


(De-)select entity (De-)select contour
De select window Select window
De select intersected entities Select intersected entities

Invert selection Select Layer

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Select จากMain CAD tools

 ที่เมนูหลัก(Main menu) หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)มีไอคอนตัวหนึง่ คือSelect เมื่อเราคลิกที่มนั จะมี


เมนูย่อย(Sub menu).ให้ เราเลือกทาได้ หลายอย่าง ดังรูปข้ างบน
 Select all เป็ นเครื่องมือตัวหนึง่ ในรายการSelect เมื่อเราคลิกไอคอนSelect all แล้ ว ทุกรูปหรือทุกเส้ นบน
พื ้นที่เขียนแบบจะถูกเลือก (เส้ นเต็มจะเปลีย่ นเป็ นเส้ นประ)
 เราสามารถทดสอบโดยการเขียนรูปต่างๆขึ ้นมาบนพื ้นที่เขียนแบบ แล้ วคลิกที่เมนูหลัก (Main menu)หรือที่เมนู
ด้ านซ้ ายมือ(Main CAD tools)แล้ วคลิก Select>Select all ดังรูปข้ างล่าง
47

คลิกSelect all

รูปแสดงผลการคลิกSelect all

คลิก De select all

รูปแสดงผลการคลิกDe select all


 จะเห็นว่าหลังจากเราคลิกไอคอน Select all แล้ วทุกเส้ นหรือทุกรูปบนพื ้นที่เขียนแบบจะเปลีย่ นจากเส้ นเต็ม
กลายเป็ นเส้ นประสีแดง(เป็ นสัญลักษณ์ของการเลือก)
 ในทางกลับกันถ้ าเราคลิกไอคอน De select all มันจะกลับมาอยู่ในสภาพเดิมแบบครัง้ แรกคือเปลีย่ นจากเส้ น
ประสีแดงมาเป็ นเส้ นเต็ม ดังรูปบน
 (De)Select contour เป็ นSelectตัวหนึง่ ให้ เราเลือกเส้ นรอบรูป เฉพาะรูปที่เราคลิกมัน โดยการเอาเคอร์ เซอร์
(เปลีย่ นเป็ นกากบาท หลังจากไปคลิกที่ไอคอน(De)Select contour แล้ วไปคลิกที่จดุ ใดจุดหนึง่ บนเส้ นหรือด้ านของรูปที่
เราต้ องการทา ทาให้ เส้ นที่เราคลิกเปลีย่ นเป็ นเส้ นประ(สัญลักษณ์ ของSelect)
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
 ในทานองเดียวกันถ้ าเราคลิกที่เส้ นประหรือคลิกที่ไอคอนตัวของมันอีกครั ้ง แล้ วเอาเคอร์ เซอร์ (เปลี่ยนเป็ น
กากบาท)ไปคลิกที่จดุ ใดจุดหนึง่ บนเส้ นหรือขอบของรูปนั ้น มันก็จะกลับไปเป็ นเส้ นเต็มเหมือนรูปตอนแรก ดังรูปช้ าง
ล่าง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
48

1คลิก(De)Select contour

3. คลิกขวาเพื่อ
ออกจากจากคาสัง่

2นาเคอร์ เซอร์กากบาทมาคลิก

รูปแสดงการคลิก(De)Select
contour

1.คลิกDe select contourอีกครัง้

3. คลิกขวาเพื่อ
ออกจากจากคาสัง่

2นาเคอร์ เซอร์กากบาทมาคลิก

รูปแสดงการคลิก De select
contour อีกครัง้

 (De-)Select entity เป็ นการเลือกเส้ นหรือด้ านที่ต้องการทา เมือ่ เราคลิกไอคอน(De-)Select entity แล้ วเอา
เคอร์ เซอร์ (เปลี่ยนเป็ นกากบาท)ไปคลิกที่จดุ ใดจุดหนึง่ บนเส้ นหรือด้ านของรูปที่ต้องการ ก็จะเปลีย่ นรูปร่ างเป็ นเส้ นประ
เฉพาะอันที่เราเลือก
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
49

2. คลิกเลือก
1 คลิก
(De)Select entity

3. คลิกขวาเพื่อ
ออกจากจากคาสัง่

รูปแสดงคลิก(De) Select
entity

 ในทานองเดียวกันถ้ าเราคลิกที่เส้ นที่เปลีย่ นเป็ นเส้ นประหรือคลิก ที่ไอคอนตัวของมันอีกครั ้งแล้ วเอาเคอร์ เซอร์
(เปลีย่ นเป็ นกากบาท)ไปคลิกที่จดุ ใดจุดหนึ่งบนเส้ นหรือด้ านเก่านั ้นของรูปมันก็จะกลับเปลีย่ นไปเหมือนรูปเดิมตอนแรก
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

2. คลิกเลือกอีกครัง้
1 คลิกอีกครัง้
(De)Select entity

3. คลิกขวาเพื่อ
ออกจากจากคาสัง่

รูปแสดงคลิก(De) select
entityอีกครั ้ง

 Select window เป็ นการเลือกส่วนที่มีหน้ าต่างสีเ่ หลีย่ มมาคลุมมัน ถ้ าเราคลิกแล้ วDragหน้ าต่างคลุมส่วนที่
ต้ องการเลือก แล้ วปล่อยDrag ส่วนที่ถกู คลุมจะเปลี่ยนเป็ นเส้ นประ(สัญลักษณ์ของSelect) ดังรูปข้ างล่าง
50

1 คลิกSelect 3.Drag มาถีงจุดที่


window สองแล้วปล่อยเม๊ าส์

2. คลิกจุดแรกแล้วคลิกค้ างไว้

รูปแสดงวิธีการDragหน้ าต่าง
ของSelect window

1 คลิกSelect
window

2.Drag หน้ าต่าง มา


คลุมส่วนที่จะเลือก

รูปแสดง Select window ด้ าน


ของรูปหกเหลี่ยมที่เราเขียนขึ ้นมา

รูปแสดงผลของการทา select
window เฉพาะส่วน
51

 ในทานองเดียวกันถ้ าเราคลิก De select window แล้ วDragหน้ าต่างมาคลุมส่วนที่เราเลือก(เส้ นประ) แล้ ว


ปล่อยDrag เราก็จะได้ รูปกลับไปเหมือนสภาพเหมือนเก่าก่อนหน้ านี ้ (เส้ นจะเปลีย่ นจากเส้ นประเป็ นเส้ นเต็ม)

 Select intersected entities เป็ นการเลือกอีกวิธีหนึง่ โดยใช้ เส้ นแนวนอนหรือแนวดิ่งเป็ นเส้ นตัด ซึง่ เกิดขึ ้น
หลังจากเราคลิกที่ไอคอนSelect intersected entities ที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)แล้ วมาคลิกลากเส้ นแนวนอน
หรือแนวดิ่งที่เหนือเส้ นที่ต้องการวางพาดผ่านมัน ส่วนเส้ นหรือด้ านอื่นที่มนั ไม่พาดผ่านจะคงสภาพเดิมคือไม่ถกู เลือก(ไม่
เปลีย่ นเป็ นเส้ นประสีแดง)ดังรูปข้ างล่าง

1. คลิก Select intersected


entities

2. คลิกลากเส้ นตัดแนวนอน

3. คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการวางเส้ นตัดแนวนอน
พาดผ่านด้ านสองด้ านของรูปหกเหลีย่ มของการทา Select intersected entities จะทาให้ ด้านสองด้ านนั ้นถูกเลือก
(เปลีย่ นจากเส้ นเต็มเป็ นเส้ นประสีแดง) ดังรูปข้ างล่าง

เส้ นจะเปลี่ยนจากเส้ นเต็ม


เป็ นเส้ นประ(เส้ นที่ถกู เลือก)

เส้ นจะเปลี่ยนจากเส้ นเต็มเป็ น


เส้ นประ(เส้ นที่ถกู เลือก)

 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
52

 ในทานองเดียวกันเราสามารถวางเส้ นตัดแนวดิ่งพาดผ่านด้ านสองด้ านของรูปหกเหลี่ยมของการทาSelect


intersected entities จะทาให้ ด้านสองด้ านนั ้นถูกเลือก (เปลีย่ นจากเส้ นเต็มเป็ นเส้ นประสีแดง) ดังรูปข้ างล่าง

1. คลิก Select intersected


entities

2. คลิกลากเส้ นตัดแนวดิ่ง

3. คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปการวางเส้ นตัดแนวดิ่งพาด
ผ่านด้ านสองด้ านของรูปหกเหลี่ยมของการทาSelect intersected entities จะทาให้ ด้านสองด้ านนั ้นถูกเลือก (เปลีย่ น
จากเส้ นเต็มเป็ นเส้ นประสีแดง) ดังรูปข้ างล่าง

เส้ นจะเปลี่ยนจากเส้ นเต็มเป็ น


เส้ นประ(เส้ นที่ถกู เลือก)

เส้ นจะเปลี่ยนจากเส้ นเต็ม


เป็ นเส้ นประ(เส้ นที่ถกู เลือก)

 ในทานองเดียวกันถ้ าเราคลิกDe select intersected entities แล้ วคลิกเส้ นพาดผ่านด้ านหรือเส้ นที่ถกู เลือก
(เส้ นประสีแดง)มันจะเปลี่ยนกลับสภาพไปเป็ นรูปแบบเดิมเหมือนก่อนหน้ านั ้น(เส้ นเต็ม)
 อนึง่ การใช้ Select intersected entity กับรูปวงกลม มันจะถูกเลือก(เปลีย่ นเป็ นเส้ นประ)ทั ้งวงกลม

 Select layer เป็ นการเลือกรูปหรือเส้ นทั ้งหมดในเลเยอร์ โดยคลิกชื่อเลเยอร์ ในLayer list แล้ วคลิกSelect
layer แล้ วนาCrosshair(กากบาทที่เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์)มาวางใกล้ รูปแล้ วคลิกซ้ าย จะเห็นว่ารูปหรือเส้ นทั ้งหมดที่เขียน
ในเลเยอร์ นั ้นจะเปลีย่ นเป็ นเส้ นประสีแดงซึ่งหมายถึงการเลือกมัน ดังรูปข้ างล่าง
53

2.คลิกSelect Layer
1.เลือกเลเยอร์

3.นาเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกกับ


4.คลิกขวาเพื่อออก
รูปในเลเยอร์ ที่เลือก
จากคาสัง่

รูปแสดงการใช้ Select layer


เลือก Layer ชื่อ Layer”S”

 ในทานองเดียวกันถ้ าเราต้ องการให้ กลับไปอยู่ในสภาพเดิมก่อนหน้ านั ้นก็ให้ คลิกชื่อในLayer listแล้ วคลิกDe


select layer แล้ วดาเนินการตามขั ้นตอนที่กล่าวมาในการใช้ คาสัง่ Select layer จะได้ รูปกลับไปแบบเดิมดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการใช้ De select layer

 Invert selection เป็ นการใช้ คาสัง่ การเลือกให้ รูปทุกรูปกลับไปสภาพตรงกันข้ ามกับปั จจุบนั ดังรูปข้ างล่าง

คลิก Invert selection

ก่อนใช้ คาสัง่ Invert selection


54

หลังใช้ คาสัง่ Invert selection จะสังเกตเห็นว่ารูปจะเปลีย่ นจากรูปเดิมที่เป็ นเส้ นประเปลีย่ นเป็ นเส้ นเต็ม และจาก
รูปเดิมที่เป็ นเส้ นเต็มจะเปลี่ยนเป็ นเส้ นประ
55

บทที่8
Draw
Draw เป็ นการรวมคาสัง่ ของการเขียนรูปทรงเรขาคณิต และ การเขียนเส้ นต่างๆที่มีความสัมพันธ์ ของ
พิกดั ระหว่างจุดแรกและจุดสุดท้ าย ตลอดจนการรวมคาสัง่ เกี่ยวกับการทาลวดลาย(Hatch)ลงบนวัตถุหรือชิ ้นงานที่เขียน
เราสามารถเรี ยกใช้ คาสัง่ จากเมนูหลัก(Main menu)และเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)

การเขียนจุด(Point)

รูปการเขียนจุดจากเมนูหลัก (Main menu) รูปการเขียนจุดจากเมนู Main CAD tools

Point เป็ นคาสัง่ ให้ เขียนจุดซึง่ กาหนดลงบนพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area or model space)ในตาแหน่ง
ที่ต้องการ
 เราสามารถเขียนจุดใดๆบนพื ้นที่เขียนแบบ (Main working area or Model space) โดยการคลิกบนเมนู
หลัก(Main menu) และคลิก Draw>point หรือคลิกปุ่ มไอคอน Pointที่ Main CAD tools (เมนูซ้ายมือ)
 วางCrosshair (กากบาทที่เคลือ่ นไปพร้ อมกับเม๊ าส์)ในตาแหน่งที่ต้องการแล้ วคลิกหนึง่ ครั ้ง
 เราอาจใช้ คาสัง่ ที่Command line โดยกดSpace bar หรือCtrl+Mเพื่อให้ command line ทางาน(อักษร
Command สว่างเปลีย่ นเป็ นสีน ้าเงิน) แล้ วพิมพ์POแล้ วกดEnter จากนั ้นที่command line จะระบุให้ เราพิมพ์ค่าพิกดั
X,Y(Relative to originหรือRelative to absolute zero)ของจุดที่เราต้ องการเขียน หรืออาจพิมพ์พิกดั @X,Y(Relative to
zero coordinate)
 ทดสอบการเขียนจุด โดยต้ องการคลิกเขียนจุดแรกที่20,30 (จุด Relative to absolute zero หรือเรียกสั ้นๆว่า
Absolute zero ) กับคลิกเขียนอีกจุดที่@40,50 (จุดRelative zero) ดังรูปข้ างล่าง
 เมื่อคลิกจุดตามตาแหน่งที่ต้องการแล้ ว เวลาจะออกจากคาสัง่ ให้ คลิกขวาที่เม๊ าส์
56

1.คลิกPoint

3.คลิก@40,50

2.คลิก20,30

รูปแสดงการเขียนจุด(Point)

Lines (การเขียนเส้ นตรง )


Line เป็ นการรวมคาสัง่ ในการเขียนเส้ นตรงรูปแบบต่างๆโดยสามารถใช้ คาสัง่ ได้ จากการคลิกเมนูหลัก (Main
menu )โดยการคลิกที่Draw >Line หรืออาจคลิกที่ไอคอนเมนูซ้ายมือของLibreCAD (Main CAD tools) นอกจากนี ้เรายัง
สามารถใช้ คาสัง่ ผ่านทางCommand line ได้ ด้วย

รูปแสดงการเรี ยกใช้ คาสัง่ Line ที่เมนูหลัก(Main


menu)
.
Line with two points Line with given angle
Horizontal lines Vertical lines
Rectangle Bisector

Parallels with distance Parallels through point

Tangents from point to circle Tangents from circle to circle


Tangents a circle orthogonal to a line Orthogonal lines
Lines with relative angles Polygons with center and corner

Polygons with two corners Freehand lines

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ จากLine จากMain CAD tools


57

 เพื่อความรวดเร็ว เราสามารถเขียนเส้ นตรงโดยเลือกเมนูไอคอนLine ที่แถบเมนูแนวตั ้งซ้ ายมือ(Main CAD


tools)และคลิกที่Sub-menuของLineจะพบชนิดของการเขียนเส้ นตรงมาก แต่โดยพื ้นฐานส่วนใหญ่ใช้ การเขียนเส้ นจาก
Line with two points โดยเขียนเส้ นตรงจากจุดหนึง่ ไปยังอีกจุดหนึง่ บนพื ้นที่เขียนแบบบนจอ สังเกตระยะจากStatus
Bar และเราสามารถเขียนเส้ นตรงต่อเนื่องกันไปได้ เรื่อยๆ
 มีอกี วิธีหนึง่ เราสามารถเขียนเส้ นตรงผสมผสานกับทางCommand line โดยคลิกไปที่ไอคอน Line with two
points และสังเกตดูที่Command line ให้ ระบุจดุ แรก( Specify first point) ให้ เราคลิกที่Command line หรือ กดSpace
bar เพื่อให้ สามารถเติมตัวเลขค่าCoordinate(พิกดั )ลงไปเช่นในที่นี ้เราต้ องการจุดแรกที่พิกดั Absolute10,10 (พิกดั หรือ
coordinate ที่X=10,Y=10อ้ างอิงจากจุดกาเนิดหรือห่างจากจุดOrigin 0,0) แล้ วกดEnter
 ทีC่ ommand line ให้ ระบุต่อไปที่จุดที่สองอีก(Specify next point )โดยให้ เราคลิกที่Command line หรือ กด
Space bar เพื่อให้ สามารถเติมตัวเลขค่าCoordinate(พิกดั )ลงไป ในที่นี ้เราจะเติมพิกัดAbsoluteที่ X,Yเป็ น50,30(พิกดั
หรือcoordinate ที่อ้างอิงหรือห่างจากจุดกาเนิดหรือจุดOrigin 0,0) แล้ วกดEnter
 แล้ วเขียนเส้ นต่อไปอีกเส้ นหนึง่ โดยระบุจดุ ต่อไป(Specify next point )จุดพิกดั Relativeที่@10,30 (จุดพิกดั ที่
อ้ างอิงหรือห่างจากจุดก่อนหน้ านี ้คือจุด50,30) แล้ วกดEnter จะได้ เส้ นดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกจุดแรกหรื อ
1.คลิกLine พิมพ์ค่าพิกัดลงบน 5.คลิกจุดต่อมา
Command line หรื อพิมพ์ค่าพิกัดลงบนCommand
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
แล้ วกด Enter line แล้ วกดEnterแล้ วคลิกขวาสอง
LineทีL่ ine with two
ครัง้ เพื่อออกจากคาสัง่
points
4.คลิกจุดต่อมาหรือ
พิมพ์ค่าพิกัดลงบน
Command line แล้ ว
กด Enter
รูปการเขียนLine with two
points

1.คลิกLine
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 3.เขียนเส้ นตรง
LineทีL่ ine with two แนวนอนจากจุด
points แรกถึงจุดที่สอง

4.พิมพ์145<25ลงบน
Command lineแล้ วกด
Enter
58

รูปข้ างบนเป็ นการแสดงตัวอย่างการเขียนเส้ นยาว145มม.ที่จดุ Origin(0,0)ทามุม25องศาโดยใช้ คาสัง่ การ


เขียนผ่านCommand line โดยการคลิกที่Command line หรือ กดSpace bar เพื่อให้ สามารถเติมตัวเลข Coordinate
(พิกดั ) ลงไป ในที่นี ้ให้ เราทดสอบ พิมพ์ 145<25 ลงบนCommand line แล้ วกดEnter
 นอกจากนี ้เรายังสามารถทาการเปลีย่ นแปลงตาแหน่งเส้ นตรง โดยอาศัยการทางานของเม๊ าส์ เราสามารถ
ทดสอบยืดและหมุนเส้ นจากตัวอย่างที่เราเขียนรูปข้ างบนนั ้นรอบจุดเริ่มต้ น ด้ วยการคลิกที่เส้ นของตัวมันเอง สังเกตดู
จะพบว่าเส้ นนั ้นจะเปลีย่ นเป็ นเส้ นประสีแดง
 คลิกจุดปลายข้ างหนึง่ และคลิกซ้ ายของเม๊ าส์ค้างไว้ แล้ วลากยืดหรือหมุนไปรอบอีกจุดหนึง่ ซึง่ อยู่ตรงกันข้ าม
 คลิกซ้ ายเพื่อวางในตาแหน่งที่ต้องการ และคลิกซ้ ายที่เส้ นประอีกครั ้งจะกลายเป็ นเส้ นเต็มดังรูปข้ างล่าง

2.คลิกจุดปลายเส้ น(โดยคลิกค้ าง
ไว้ )แล้วยืดหรือหดหรือหมุนรอบจุด
ตรงกันข้ าม

1.คลิกเส้ นที่จะทาการ
เปลี่ยนตาแหน่ง
3.คลิกวางลงตาแหน่งทีต่ ้ องการแล้ว
คลิกซ้าย แล้วคลิกเส้ นประอีกครัง้ จะ
เป็ นเส้ นเต็ม

รูปการเปลี่ยนตาแหน่งของเส้ น

 การเขียนเส้ นตรงอีกเส้ นคือLine with given angle เป็ นการเขียนเส้ นตรงที่มีการระบุขนาดของมุม และความ
ยาว และ Snap point จากกล่องเลือกค่า (Option tool)ซึง่ ปรากฏขึ ้นมาอยู่เหนือบริเวณพื ้นที่เขียนแบบมาให้ เราเติมค่า
ลงไป ดังตัวอย่างการทดสอบต่อไปนี ้
 คลิกที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่ไอคอนที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)โดยคลิกที่ Line>Line with given
angle
 ที่กล่องเลือกค่า(Option tool)ซึง่ ปรากฏอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ (Main drawing area ) ให้ เติมค่าAngle=15,
Length=40 , Snap point=start จะปรากฏเส้ นตรงขึ ้นมาดังรูปข้ างล่าง
59

1.คลิกLine 3.ระบุมมุ ทีต่ ้ องการ,ความยาวเส้ น


2.คลิกเมนูยอ่ ยของ ,และSnapที่จดุ เริ่ มต้ นหรือจุด
LineทีL่ ine with กึ่งกลางหรื อจุดปลาย

given angle
4.คลิกวางเส้ นทีต่ าแหน่งที่
ต้ องการแล้วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียน Line with


given angle

 สาหรับการเขียนเส้ นตรงแบบHorizontal lines และvertical lines โดยสามารถคลิกได้ ที่เมนูLineที่เมนูหลัก


(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) เป็ นการเขียนเส้ นในแนวนอน(Horizontal lines)และเขียนเส้ นใน
แนวดิ่ง(Vertical lines) โดยสามารถกาหนดความยาวได้ โดยระบุไว้ ในแถบกล่องเลือกค่า (Option tool) เหนือพื ้นที่เขียน
แบบ ให้ เติมขนาดความยาวที่แถบคาว่าLength และเลือกให้ เส้ นนั ้นถูกSnapที่จดุ เริ่มต้ น หรือจุดกึ่งกลางหรือจุดปลาย
ของเส้ นนั ้น แล้ วคลิกวางเส้ นในตาแหน่งที่ต้องการ
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกLine
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
LineทีH่ orizontal
line 3.ระบุความยาว 3.ระบุความยาว
ของเส้ นและSnapที่ ของเส้ นและSnapที่
ต้ องการ 1.คลิกLine ต้ องการ
4.คลิกวางเส้ นทีต่ าแหน่งที่ 2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
ต้ องการแล้วคลิกขวาเพื่อ LineทีV่ ertical line 4.คลิกวางเส้ นทีต่ าแหน่งที่
ออกจากคาสัง่
ต้ องการแล้วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนเส้ นHorizontal line รูปแสดงการเขียนเส้ นVertical line

 ในคาสัง่ Line เรายังสามารถเขียนรู ปสี่เหลี่ยม(Rectangle) ใช้ สาหรับเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมมุมฉากทั ้งรูปสีเ่ หลีย่ ม


ผืนผ้ าและสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยคลิกที่ เมนูหลัก(Main menu) หรื อเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) แล้ วคลิก Line>
Rectangles
 คลิกจุดเริ่มต้ นที่มมุ แรกตามตาแหน่งที่ต้องการ แล้ วลากรูปสีเ่ หลี่ยมไปสุดที่มมุ ที่สองในตาแหน่งที่ต้องการ
60

 หรือเราอาจใช้ คาสัง่ ในCommand line โดยคลิกSpace bar หรือชี ้ปลายลูกศรเม๊ าส์ไปที่บริเวณCommand line
แล้ วคลิกซ้ าย จากนั ้นพิมพ์คาว่า Rectangleแล้ วกดEnter
 ใส่ค่าพิกดั X,Yที่จดุ มุมแรกตามคาสัง่ ในCommand line(Specify first corner) แล้ วกดEnter
 ใส่ค่าพิกดั X,Yที่จดุ มุมสองตามคาสัง่ ในCommand line(Specify second corner)แล้ วกดEnter ดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกวางจุดมุมที่สองแล้วคลิกขวาเพื่อออก
จากคาสัง่ หรื อพิมพ์ค่าพิกดั ลงบนCommand
lineแล้ วกดEnter
1.คลิกLine
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
LineทีR่ ectangle

3.คลิกวางจุดที่มมุ แรก
หรื อพิมพ์ค่าพิกัดลงบน
Command lineแล้ วกด
รูปการเขียนRectangle
Enter

 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

 มีเส้ นตรงอีกเส้ นหนึง่ ชื่อBisector เป็ นการเขียนเส้ นแบ่งมุม จะมีวิธีการเขียนโดยต้ องเขียนเส้ นแนวดิ่งและ
แนวนอนบรรจบกันให้ มีมมุ เกิดขึ ้นก่อน แล้ วคลิกที่เมนูหลัก(Main menu) หรือคลิกปุ่ ม ทีเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)
โดยการคลิกที่ไอคอน Bisectors
 ทดสอบโดยการเขียนเส้ นแบ่งมุมBisector ให้ ความยาวเส้ น(Length)=20 ,จานวน(Number)=3เส้ น
 ให้ เราระบุขนาดความยาวและจานวนเส้ นแบ่งมุมที่กล่องเลือกค่า (Option tool)ซึง่ จะปรากฏให้ เราเห็นบริเวณ
เหนือพื ้นที่เขียนแบบ
 คลิกที่เส้ นแรก และคลิกเส้ นที่สอง ของเส้ นที่ประกบกันเป็ นมุม จะปรากฏให้ เห็นเส้ นแบ่งมุมเกิดขึ ้น
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
61

6,เส้ นBisector ที่


3.ระบุความยาว
เกิดขึน้
และจานวนของเส้ น
1.คลิกLine
แบ่งมุม
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
LineทีB่ isector 4.คลิกที่เส้ นแรก
5.คลิกที่เส้ นทีส่ องแล้ ว
คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่

รูปแสดงการเขียนเส้ นBisector

 ส่วนการเขียนเส้ นแบบParallels with distance เป็ นการเขียนเส้ นใหม่ให้ ขนานกับเส้ นเดิมที่เราต้ องการ เรา
สามารถทดสอบการเขียนโดยเขียนเส้ นตรงขึ ้นมาหนึ่งเส้ น
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Line>Parallels with distance ถ้ าเราเอา
เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไปใกล้ เส้ นที่เขียนครั ้งแรกจะมีเส้ นใหม่ที่เราจะเขียน ปรากฏให้ เห็นลอยขึ ้นมาที่เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์
ขนานกับเส้ นที่เราเขียนไว้ ครั ้งแรก และจะขนานห่างกันเท่ากับค่าตัวเลขที่ระบุ(Length)และจานวนเส้ นขนาน(Number)ที่
ปรากฏบนกล่องเลือกค่า (Option tool)ซึง่ ตั ้งอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ (Main drawing area)
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
4.วางเส้ นขนานไว้
ตาแหน่งที่ต้องการแล้ ว
คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่ 3.ระบุค่าระยะห่าง
และจานวนเส้ นของ
เส้ นขนาน
1.คลิกLine
2.คลิกเมนูยอ่ ยของLineที่
Parallels with distance

รูปแสดงการเขียนเส้ นParallels
with distance
 มีการเขียนเส้ นตรงขนานอีกแบบคือ Parallels through point เป็ นการเขียนเส้ นขนานให้ เกิดใหม่โดยการคลิก
ที่จดุ ใดจุดหนึง่ ของเส้ นเดิมที่มีอยู่แล้ ว มีวิธีการเขียนเช่นเดียวกับParallels with distance แต่เส้ นขนานที่จะเขียนนี ้จะ
ขนานกับเส้ นที่เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไปคลิกจุดใดจุดหนึง่ ของเส้ นนั ้น เราสามารถทดสอบการเขียนเส้ น Parallels through
point ได้ ดงั ต่อไปนี ้
62

 เขียนเส้ นPolylines(เส้ นที่เขียนติดต่อกัน) ขึ ้นมาหนึง่ เส้ น ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD


tools)คลิกLine> Parallels through point
 ระบุจานวนเส้ นของเส้ นขนานที่จะเขียนให้ เกิดขึ ้นใหม่บนกล่องเลือกค่า (Option tool)ที่ปรากฏขึ ้นเหนือพื ้นที่
เขียนแบบ ในการทดสอบที่นี ้เราระบุจานวน2เส้ น
 คลิกที่จดุ หนึง่ จุดใดบนเส้ นส่วนที่เราจะทาให้ เกิดเส้ นขนานขึ ้นมาใหม่
 จะเห็นว่ามีเส้ นขนานเกิดขึ ้นมาจานวนสองเส้ นตามที่เราเลือก ซึง่ มีระยะห่างขึ ้นอยู่กบั เราเคลือ่ นเม๊ าส์ ให้ เรา
คลิกวางเส้ นขนานนั ้นในตาแหน่งที่เราต้ องการ
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3. ระบุจานวนเส้ นขนาน

1.คลิกLine 5. คลิกวางเส้ นขนานที่


2. คลิกเมนูย่อย 4.คลิกจุดบนเส้ นตรง เกิดขึนมาแล้
้ วคลิกขวา
ของLine ที่ เพื่อออกจากคาสัง่
Parallels through
point

รูปแสดงการเขียนเส้ นParallels
through point

 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูทางซ้ ายมือ(Main CAD tools) ทดสอบเขียนเส้ น Tangent from circle to


circle โดยก่อนอื่นให้ เขียนวงกลมขึ ้นมาสองวงโดยไม่ต้องระบุขนาดของรัศมี
 คลิกLine>Tangent from circle to circle สังเกตที่Command line จะบอกSelect first circle or ellipse
ดังนั ้นให้ เราใช้ เม๊ าส์คลิกเลือกวงกลมแรกและวงกลมที่สองตามคาสัง่ ในCommand line และคลิกขวาเพี่อออกจากคาสัง่
 จะเห็นว่าเกิดเส้ นตรงสัมผัสขอบวงกลมหนึง่ ไปยังอีกวงกลมหนึง่ ดังรูปข้ างล่าง
63

4.คลิกขอบ
3.คลิกขอบ วงกลมวงที่สอง
วงกลมวงที่หนึง่

1.คลิกLine 5 เกิดเส้ นสัมผัส


2. คลิกเมนูย่อย วงกลมสองวงขึน้
ของLine ที่ มาแล้ วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่
Tangents from
circle to circle

รูปแสดงการเขียนเส้ นTangents
from circle to circle
 ต่อไปลองทดสอบการเขียนเส้ นสัมผัสวงกลมจากจุดๆหนึง่ (Tangent from point to circle)จากรูปเดิม
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกLine>Tangents from point to circle
 สังเกตที่Command line จะบอกSpecify point ให้ เรากาหนดจุดโดยคลิกเม๊ าส์ที่จุดๆหนึง่ ที่ต้องการ
 ต่อไปที่คาสัง่ Command line จะระบุว่า Select circle ,arc,or ellipse ให้ เราคลิกที่วงกลมวงหนึ่งที่ต้องการให้
เกิดเส้ นสัมผัสวงกลม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ จะเห็นได้ ว่าเส้ นตรงจากจุดหนึ่งไปสัมผัสขอบวงกลมหนึ่งตามต้ องการดังรูป

1.คลิกLine 3.คลิกจุด
2. คลิกเมนูย่อย
ของLine ที่ 4.คลิกวงกลม 5.เกิดเส้ นสัมผัส
Tangents from วงกลมขึน้ แล้ ว
คลิกขวาเพื่อออก
point to circle
จากคาสัง่
รูปแสดงการเขียนเส้ นTangents
from point to circle

 การเขียนเส้ นTangents to a circle, orthogonal to a line เป็ นการเขียน เส้ นสัมผัสวงกลมและไปตั ้งฉากกับ
อีกเส้ นหนึง่ ที่ตั ้งอยู่ใกล้ ๆกับวงกลม วิธีทดสอบให้ เขียนวงกลมขึ ้นมาหนึง่ วง และเขียนเส้ นตรงใดๆขึ ้นมาหนึง่ เส้ นโดย
ไม่สมั ผัสวงกลม
64

 คลิกเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) โดยการคลิก Line>Tangents to a circle


,orthogonal to a line ตามด้ วยการคลิกเส้ นตรงใดๆที่เราเขียนขึ ้นมาก่อนหน้ านั ้น แล้ วคลิกวงกลมบริเวณที่ต้องการให้
เกิดเส้ นสัมผัสวงกลมและตั ้งฉากกับเส้ นตรงใดๆเส้ นนั ้นๆ
 จะเห็นว่าเกิดเส้ นตั ้งฉากกับเส้ นที่เขียนไว้ แล้ วและเส้ นนั ้นสัมผัสวงกลมด้ วย
 คลิกซ้ ายเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

5. คลิกวงกลมที่จดุ นี ้
จะเกิดเส้ นตัง้ ฉากกับ
3. คลิกเส้ นตรงที่ เส้ นตรงที่เขียนไว้ แล้ ว
เขียนไว้ แล้ ว
6.คลิกขวาเพื่อ
1.คลิกLine
ออกจากคาสัง่
2. คลิกเมนูย่อยของ
4. คลิกวงกลมที่จดุ นี ้
Line ที่ Tangents to
จะเกิดเส้ นตัง้ ฉากกับ
a circle,orthogonal เส้ นตรงที่เขียนไว้ แล้ ว
to a line
รูปแสดงการเขียนTangents to
a circle,orthogonal to a line

 การเขียน Orthogonal lines เป็ นการเขียนให้ เส้ นตรงเส้ นหนึ่งหรื อหลายเส้ นตัดกับเส้ นตรงที่มีอยู่แล้ วในลักษณะ
ตั ้งฉากกัน ทดลองวิธีการทาได้ โดยเขียนเส้ นตรงขึ ้นมาเส้ นหนึง่
 แล้ วคลิกเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) โดยการคลิก Line>Orthogonalแล้ วคลิกจุด
ที่เส้ นตรงที่จะทาให้ เกิดเส้ นตั ้งฉากตามคาสัง่ ในCommand line คือSelect base entity
 จะเห็นว่ามีเส้ นตรงเกิดขึ ้นมากับเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ โดยมีความยาวเท่ากับที่ระบุในกล่องเลือกค่า(Option tool)ที่
ปรากฏขึ ้นมาเหนือพื ้นที่เขียนแบบ และเส้ นที่เกิดใหม่มีลกั ษณะตั ้งฉากกับเส้ นเดิมที่เราคลิก
 ต่อไปคลิกวางเส้ นในตาแหน่งที่ต้องการ แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

5.เกิดเส้ นตัง้ ฉาก


ขึนมาแล้
้ วคลิก 3.ระบุความยาวของ
ขวาเพื่อออกจาก เส้ นที่จะเกิดขึนl้
คาสัง่
1.คลิกLine
2. คลิกเมนูย่อยของ
4. คลิกจุดบนเส้ น
Line ที่ Orthogonal

’รูปแสดงการเขียนOrthogonal
65

 การเขียนเส้ นตรงอีกชนิดหนึง่ คือ Line with relative angles เป็ นการเขียนเส้ นตรงตัดผ่านเส้ นตรงอีกเส้ นหนึง่
โดยทามุมกันตามที่เราต้ องการ เราสามารถทดลองเขียนได้ โดยเขียนเส้ นตรงใดๆขึ ้นมาเส้ นหนึง่
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Line>Line with relative angle จะปรากฏมี
กล่องเลือกค่า (Option tool) ปรากฏขึ ้นมาเหนือพื ้นที่เขียนแบบและให้ เราระบุมมุ และความยาวของเส้ นเกิดใหม่ในกล่อง
เลือกค่า(Option tool) นั ้น
 คลิกจุดใดจุดหนึ่งที่เส้ นตรงที่เราเขียนขึ ้นมาครั ้งแรกตามคาสัง่ ที่ Command lineคือ Select base entity แล้ ว
คลิกวางCrosshair(เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์เปลีย่ นเป็ นกากบาท)พร้ อมเส้ นเกิดใหม่ไว้ ที่จดุ ใดจุดหนึง่ บนเส้ นตรงเดิมนั ้นใน
ตาแหน่งที่ต้องการตามคาสัง่ ที่Command line คือ Specify position แล้ วคลิกซ้ าย ดังรูปข้ างล่าง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

3.ระบุมมุ และความ
ยาวของเส้ นเกิดใหม่

1.คลิกLine
2. คลิกเมนูย่อยของ 4.คลิกวางเส้ นเกิดใหม่ในตาแหน่งที่
Line ที่ Line with ต้ องการแล้วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

relative angle

รูปแสดงการเขียนเส้ นLine with


relative angle

 หลังจากเขียนได้ เส้ นตัดทามุมกับเส้ นตรงใดๆนั ้นแล้ ว เราสามารถคลิกที่เส้ นตัดนั ้นแล้ วยืดหรือหมุนเส้ นตัดนั ้นให้
ทามุมตามที่ต้องการ ดังรูปข้ างล่าง

คลิกที่เส้ นแล้ วคลิกDragจุดปลายยืดหรือ


หดหรือหมุนไป แล้ วคลิกเส้ นประให้ เป็ น
เส้ นเต็ม

รูปแสดงการวิธีการเปลีย่ นแปลง
ตาแหน่งของเส้ น
66

 การเขียนรูปหลายเหลี่ยม(Polygons) เราสามารถเขียนรูปหลายเหลีย่ มได้ สองแบบคือแบบPolygons with


center and corner และแบบ Polygons with two corners
 การเขียนรูปหลายเหลีย่ มแบบ Polygons with center and corner ทาได้ โดยคลิกที่เมนูหลัก(Main menu)หรือ
เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) โดยการคลิก Line>Polygons with center and corner
 แล้ วคลิกตาแหน่งจุดศูนย์ กลางของรูปที่จะเขียน ในที่นี ้เราจะเขียนรูปหกเหลีย่ ม ตามคาสัง่ ที่Command line
คือ Specify center หรือเราอาจใส่ค่าพิกดั X,YในCommand line
 ขั ้นต่อไปให้ เราไปเปลีย่ นแปลงค่าจานวนด้ านที่เราต้ องการ(Number)ที่กล่องเลือกค่า(Option tool) ซึง่ ปรากฏ
ขึ ้นมาอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area or Model space) แล้ วมาคลิกตาแหน่งมุมที่ต้องการตามคาสัง่
ในCommand line คือ Specify corner หรือเราอาจใส่ค่าพิกัดX,Y.ในCommand line ก็ได้
 คลิกขวาสองครั ้งเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกเลือก
3.คลิกจุด จานวนด้ าน
ศูนย์กลาง
1.คลิกLine
2. คลิกเมนูย่อยของ 5.คลิกวางรูปในตาแหน่งที่
ต้ องการและคลิกขวาสอง
Line ที่ Polygon
ครัง้ เพื่อออกจากคาสัง่
with center and
corner
รูปแสดงการเขียนรูปPolygon
with center and corner

 สาหรับการเขียนรูปหลายเหลีย่ มแบบ Polygons with two corners ก็มีวิธีการเขียนคล้ ายกับแบบPolygons


with center and corner เพียงแต่เริ่มต้ นการเขียนให้ ระบุมมุ แรกตามคาสัง่ ในCommand line คือSpecify first corner
และลากไปสิ ้นสุดที่มมุ ที่สองในตาแหน่งที่ต้องการตามคาสัง่ ในCommand line คือSpecify second corner
 คลิกเลือกจานวนด้ านที่จะเขียนรูปหลายเหลีย่ มที่กล่องเลือกค่า(Option tool)
 คลิกขวาสองครั ้งเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
67

4.คลิกเลือก
1.คลิกLine จานวนด้ าน
2. คลิกเมนูย่อยของ
Line ที่ Polygon 3.คลิกจุดที่
with two corners มุมแรก 5.คลิกจุดมุมที่สองวางรูป
ในตาแหน่งทีต่ ้ องการและ
คลิกขวาสองครัง้ เพื่อออก
จากคาสัง่
รูปแสดงการเขียนPolygons
with two corners

การย้ ายเส้ น (Moving a Line)

บางครั ้งมีความจาเป็ นที่ต้องเคลือ่ นย้ ายเส้ น เพราะเราต้ องการไปวางไว้ ที่อื่น เราสามารถทาได้ โดยถ้ าไม่ทา
วิธีการDragging ก็อาจใช้ วิธีMove/Copy (ในเมนูModify) มาดูวิธีการทาแบบDragging
 คลิกเส้ นที่ต้องการเคลือ่ นย้ าย โดยวางcursorบนเส้ นที่ต้องการย้ ายและคลิกที่เส้ น หนึง่ ครั ้งเพื่อเลือกมัน
 Dragเส้ นที่เลือก โดยแตะเส้ นนั ้นด้ วยcursorของเม๊ าส์และคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์ค้างไว้
 ขณะคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์ค้างไว้ พร้ อมเคลือ่ นเม๊ าส์นาเส้ น ลอย(preview line) ซึง่ เป็ นเส้ นประสีแดง ไปด้ วยกันพร้ อม
cursor ปล่อยคลิกซ้ ายของเม๊ าส์ที่ตาแหน่งใหม่
 หลังจากนาเส้ นไปวางที่ตาแหน่งใหม่และคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์หนึง่ ครัง้ เพื่อยอมรับที่จะวางมันในตาแหน่งใหม่ เรา
สามารถมองเห็นเส้ นที่เคลือ่ นย้ ายมา
 ถ้ าต้ องการยกเลิกเส้ นประ(ทาเส้ นประแดงให่เป็ นเส้ นเต็ม) ให้ คลิกวางที่เส้ นประด้ วยการคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์หนึง่
ครั ้ง หรือกดCtrl-Kหรือใช้ ลกู ศรชี ้ไปที่เมนูซ้ายมือแล้ วคลิกที่>Select>Deselect all ดังรูปข้ างล่าง

คลิกที่เส้ นให้ เป็ นเส้ นประ


และคลิกเม๊ าส์ค้างไว้

เคลื่อนเม๊ าส์ทคี่ ลิกค้ างไว้ เคลื่อน(Drag)ไปวาง


ตาแหน่งที่ต้องการแล้ วแล้ วปล่อยเม๊ าส์ คลิก
ซ้ ายที่เส้ นประ และคลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่
รูปแสดงการย้ ายเส้ นโดยการ
Dragging
68

 การเขียนFreehand Line
ในการเขียนFreehand Line จะไม่อธิบายในรายละเอียดมากเพราะใช้ งานง่ายเพียงทาการเรียกใช้ คาสัง่ จากเมนู
หลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)ที่Line>Freehand Line แล้ วคลิกวางเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไว้ บนพี ้น
ที่เขียนแบบแล้ วทาการDrag (คลิกซ้ ายที่เม๊ าส์ค้างไว้ )แล้ ววาดรูปตามที่ต้องการ

Circle (การเขียนวงกลม)
 การเขียนวงกลมสามารถเขียนจากหลายคาสัง่ ที่เมนูหลัก (Main menu)และที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)ดัง
รูปข้ างล่าง

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Circle จากเมนูหลัก (Main menu)

Circle with center and point Circle with center and radius

Circle with two opposite points Circle with two points and radius
Circle with three points Concentric
Circle inscribe in a triangle Tangential circle of 2 circles,1radius
Tangential circle of 2 circles,1point Tangential circle of a circle 2points
Tangential circle of 3lines/arcs/circles

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Circle จาก Main CAD tools


69

 การเขียนวงกลมCircle with center and point เป็ นวิธีการที่ส่วนใหญ่จะเขียนวงกลมแบบวิธีนี ้ ทดสอบการ


เขียนโดยการคลิกคาสัง่ จากเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)
 คลิกCircle> Circle with center and point สังเกตดูที่Command line จะบอกให้ เราระบุจุดศูนย์ กลาง
(Specify center ) ให้ เราคลิกตาแหน่งที่จะวางจุดศูนย์ กลางบนพื ้นที่เขียนแบบ
 ขณะนี ้เรามีทางเลือกที่จะลากเม๊ าส์เพื่อกาหนดขนาดวงกลมให้ มีขนาดโตตามที่เราต้ องการโดยพิจารณาจาก
GridหรือดูจากStatus bar
 คลิกซ้ ายเพื่อยอมรับขนาดของวงกลม และคลิกขวาสองครั ้งเพื่อออกจากคาสัง่
 หรือเราจะพิมพ์ขนาดรัศมีลงในCommand line ซึง่ บอกให้ เราระบุค่ารัศมี(Specify radius) ในที่นี่เราจะพิมพ์
รัศมีให้ มขี นาด100มม.ลงบนบรรทัดของCommand line แล้ วกดEnter
 อนึง่ ในการจะพิมพ์ ค่ารัศมีลงบนบรรทัดCommand line เราจาเป็ นต้ องทาให้ บรรทัดของCommand lineรับรู้
หรือสือ่ สารกับการที่จะพิมพ์เช่น คาสัง่ หรือค่ารัศมีหรือค่าพิกดั ที่จะพิมพ์ลงไป มิเช่นนั ้นเราไม่สามารถพิมพ์อะไรลงไปได้
ในการกระตุ้น(Activate)ให้ Command line ทางานรับรู้หรือสือ่ สารกับสิง่ ที่เราจะพิมพ์ ลงไปบนบรรทัดCommand line ก็
ไม่ยาก เพียงแต่เราคลิกที่บรรทัดของCommand line หรือกดSpace bar หรือกดCtrl+Mที่แป้นพิมพ์คอมพ์
 ตัวอย่างดังรูปข้ างล่างเราพิมพ์ 100 ลงบนCommand line เพื่อจะเขียนวงกลมที่มีจดุ ศูนย์กลางด้ วยรัศมี 100
มม.

1.คลิกCircle
3..คลิกจุดศูนย์กลาง
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
ของวงกลม
Circleที่ Circle with
center and point
4.คลิกขยายวงกลมให้ ได้ ขนาดตาม
ต้ องการแล้วคลิกซ้ ายและคลิกขวา
สองครัง้ เพื่อออกจากคาสัง่ หรือพิมพ์
ค่ารัศมีลงบนCommand lineแล้ วกด รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Enter
Circle with center and point

 กลับไปที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)ทดสอบการเขียนวงกลมอีกแบบหนึง่ โดยคลิก


ไอคอนCircleและคลิกSub menuของCircle แล้ วคลิกCircle with center and radius
70

 เราสามารถใส่ค่าของรัศมี(Radius) ที่กล่องเลือกค่า(Option tool) ที่อยู่ข้างบนพื ้นที่เขียนแบบ โดยให้ เติมตัวเลข


ขนาดของรัศมีตามที่เราต้ องการ
 หลังจากนั ้นจะมีวงกลมลอยมาพร้ อมกับการเคลือ่ นที่ของเม๊ าส์
 คลิกวางวงกลมในที่ตาแหน่งที่ต้องการบนพื ้นที่เขียนแบบ
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3.ระบุค่ารัศมี
1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Circleที่ Circle with
4.คลิกจุดศูนย์กลางและ
center and radius
คลิกวางวงกลมที่ลอย
ขึนมาด้
้ วยรัศมีตามที่ระบุ
ไว้ แล้ว คลิกขวาเพื่อออก
จากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Circle with center and radius

 หรือเราจะคลิกวงกลมที่มีค่ารัศมีคงที่(Fixed radius) ลงไปที่พื ้นที่เขียนแบบลงไปก่อน แล้ วคลิกที่วงกลมนั ้นให้


เปลีย่ นเป็ นเส้ นประสีแดงแล้ วลากหรือ Dragจุดน ้าเงินบนเส้ นประสีแดงออกมา(คลิกเม๊ าส์ค้างไว้ แล้ วดึงออกมา)ให้ วงกลม
มีขนาดโตเท่าที่ต้องการ แล้ วคลิกที่วงกลมเพื่อให้ ร้ ูว่าเป็ นการเลือก และคลิกซ้ ายอีกครั ้งเพื่อให้ วงกลมเป็ นเส้ นเต็ม ดังรูป
ข้ างล่าง

1.คลิกขอบวงกลมเดิม 2.คลิกจุดสีน ้าเงินของ


ให้ เกิดเป็ นเส้ นประ เส้ นประแล้วDragให้ ได้
ขนาดตามต้ องการแล้ ว
คลิกซ้ายเพื่อให้ร้ วู ่าเรา
3.คลิกซ้ายทีว่ งกลมใหม่ เลือกขนาดตามต้ องการ
(เส้ นประ)ให้ เป็ นเส้ น
เต็มแล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่
รูปการเขียนวงกลมแบบDrag รูป
เดิมให้ มีขนาดของรัศมีโตตามที่ต้องการ
71

 ทดสอบการเขียนรูปวงกลมต่อไปโดยคลิกที่เมนูหลัก(Main menu)หรือไอคอนเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)


โดยการคลิกCircle > Circle with two points and radius
 เราสามารถใส่ค่าของรัศมี(Radius) ที่กล่องเลือกค่าหรือกล่องให้ เติมตัวเลข(Option tool)ที่อยู่ข้างบนพื ้นที่เขียน
แบบ
 คลิกจุดแรกบนพื ้นที่เขียนแบบในตาแหน่งที่ต้องการ แล้ วคลิกจุดที่สอง จะปรากฏเห็นรูปวงกลมเกิดขึ ้นโดยเส้ น
รอบวงของวงกลมนั ้นจะผ่านจุดสองจุดที่เราคลิก ถ้ าไม่ปรากฏให้ เห็นวงกลมเนื่องจากจุดสองจุดที่เราคลิกนั ้นไม่สมั พันธ์
กับค่ารัศมีที่เราระบุบนกล่องให้ เลือก(Option tool) จะมีรายงานให้ เราทราบบนCommand line output
 คลิกวางตาแหน่งรูปวงกลมแล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรู ปข้ างล่าง

4.คลิกจุดแรก 3.ระบุค่ารัศมี
1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 5..คลิกจุดที่สองจะ
Circleที่ Circle with ปรากฏวงกลมเกิดขึน้
two points and แล้ วคลิกขวาเพื่อออก
radius จากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Circle with two points and radius
 ต่อไปทดสอบการเขียนวงกลมแบบCircle with two opposite points
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกCircle>Circle with two opposite points ให้
เรากาหนดจุดที่จะคลิกวางวงกลมจุดแรกและคลิกจุดที่สองอยู่ตรงกันข้ ามกัน ตามคาสัง่ ในCommand line จะเห็นว่า
วงกลมจะขยายออกไปโดยมีจดุ ตรงช้ ามอยู่ที่ขอบวงกลมซึง่ เคลือ่ นออกไป ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 3. คลิกจุดที่หนึง่
Circleที่ Circle with
two opposite points
4. คลิกจุดที่สอง
แล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Circle with two opposite points
72

 การเขียนวงกลมอีกแบบหนึ่งคือ Circle with three points จะมีวิธีการเช่นเดียวกับ ที่กล่าวมาข้ างต้ น ต่างกันก็


แต่ที่ให้ เราคลิกวางจุดสามจุดบนเส้ นรอบวงของวงกลม เราทดสอบการเขียนวงกลมแบบนี ้โดยการคลิกที่เมนูหลัก(Main
menu)หรือที่เมนูซ้ายมือโดยคลิกCircle> Circle with three points
 คลิกจุดแรกบนพื ้นที่เขียนแบบ ตามด้ วยการคลิกจุดที่สอง จะพบว่ามีวงกลมปรากฏขึ ้นมา แล้ วให้ เราคลิกจุด
ที่สาม ซึง่ จุดทั ้งสามจะจัดวางอยู่บนเส้ นรอบวง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกCircle 4.คลิกจุดที่สอง 5.คลิกจุดที่สาม


2.คลิกเมนูยอ่ ยของ แล้ วคลิกขวาเพื่อ
Circleที่ Circle with ออกจากคาสัง่
three points
3.คลิกจุดที่หนึง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Circle with three points
 มีการเขียนวงกลมอีกแบบหนึง่ ซึ่งเป็ นวงกลมขนานกับวงกลมเดิมหรือเป็ นวงกลมซ้ อนกัน(Concentric)โดยมี
ระยะห่างระหว่างวงกลมเท่ากับที่ระยะระบุไว้ บนCommand line ทดสอบโดยเขียนวงกลมขึ ้นมาวงหนึง่
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูด้านซ้ ายมือ(Main CAD tools) คลิกCircle>Concentric
 เคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไปที่วงกลมที่เราเขียนแต่แรก จะเห็นมีวงกลมอีกวงใหม่เกิดซ้ อนกันห่างกันเท่ากับ
ระยะที่ระบุไว้ ในCommand line และเราสามารถเปลีย่ นค่าระยะห่างระหว่างวงกลมทั ้งสอง โดยการพิมพ์ ค่าลงไปบน
Command line แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

4.วงกลมวงใหม่เกิดขึนมา

โดยมีระยะห่างเท่ากับทีร่ ะบุ
บนCommand line คลิก
1.คลิกCircle ขวาเพื่อออกจากคาสัง่
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Circleที่ Concentric 3.พิมพ์ค่าระยะห่าง
ระหว่างวงกลมที่
Command line แล้ ว
กดEnter

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Concentric
73

 สาหรับการเขียนวงกลมในกรอบสามเหลี่ยม( Circle inscribed in a triangle) เราสามารถทดสอบโดยให้ เขียน


รูปสามเหลีย่ มขึ ้นมารูปหนึง่ ก่อน
 คลิกเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)โดยการคลิกที่Circle>Circle inscribed in a
triangle
 คลิกด้ านที่หนึง่ ของรูปสามเหลีย่ ม(Specify the first line) ต่อไปคลิกด้ านที่สอง(Specify the second line)
ต่อไปคลิกด้ านที่สามของรูปสามเหลีย่ ม(Specify the third line) แล้ วคลิกซ้ าย จะพบว่ามีรูปวงกลมเกิดขึ ้นในรูป
สามเหลีย่ ม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกCircle
4.คลิกด้ านที่สอง
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 3.คลิกด้ านที่หนึง่
Circleที่ Circle
inscribed in a triangle
5.คลิกด้ านที่สาม แล้วคลิก
ขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Circle inscribed in a triangle

 การเขียนวงกลมอีกแบบคือTangential circle of two circles เป็ นการเขียนวงกลมวงหนึ่งให้ สมั ผัสวงกลมอีก


สองวง โดยวงกลมที่จะสัมผัสวงกลมสองวงก่อนต้ องมีรัศมีอยู่ในช่วงที่สามารถสัมผัสวงกลมสองวงนั ้นได้ ทดสอบการ
เขียนได้ โดยการเขียนวงกลมขึ ้นมาสองวงก่อน โดยให้ วางอยู่ห่างกันพอสมควรโดยวงกลมทั ้งสองวงไม่สมั ผัสกัน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกCircle> Tangential circle of two circles
จากนั ้นคลิกวงกลมวงที่หนึ่ง แล้ วไปกาหนดรัศมีที่จะสร้ างวงกลมวงใหม่(วงกลมวงที่สาม)ให้ สมั ผัสกับวงกลมสองวงก่อน
โดยเราสามารถแก้ ไขหรือระบุเปลี่ยนแปลงตัวเลขได้ ที่กล่องเลือกค่า (Option tool) ที่ปรากฏขึ ้นมาเหนือพื ้นที่เขียนแบบ
 หลังจากนั ้นให้ มาคลิกวงกลมที่สองที่เราเขียนไว้ ก่อนหน้ านั ้น จะปรากฏวงกลมวงที่สามเกิดขึ ้นมาใหม่สมั ผัส
กับวงกลมที่เขียนไว้ ก่อนแล้ วสองวงแรก
 อนึง่ ถ้ าไม่ปรากฏวงกลมวงที่สามที่สมั ผัสวงกลมสองวงแรก โดยที่มีการบ่งบอกถึงการคลิกวงกลมวงที่สองไม่ได้
แสดงว่ารัศมีของวงกลมวงที่สามที่ปรากฏในกล่องเลือกค่า(Option tool) มีค่าน้ อยไปจึงไม่อาจไปสัมผัสวงกลมสองวง
แรกได้ ให้ เราแก้ ไขค่ารัศมีที่แสดงในกล่องเลือกค่า (Option tool )ที่ปรากฏอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบนั ้น
 คลิกวางวงกลมวงใหม่(วงกลมวงที่สาม) แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
74

6.คลิกวางวงกลมวงที่สาม
(วงใหม่)แล้วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่ 4.ระบุรัศมีของวงกลมวงที่สาม

1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Circleที่ Tangential
circle of two circles
3.คลิกวงกลมวงที่หนึง่
5.คลิกวงกลมวงที่สอง

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Tangential circle of two circles

 การเขียนวงกลม Tangential circle of two circles passing a given point เป็ นการเขียนวงกลมวงหนึง่ ให้
สัมผัสกับวงกลมสองวงคล้ ายกับที่กล่าวมาข้ างต้ น แต่วงกลมวงใหม่ที่จะมาสัมผัสวงกลมสองวงนั ้นมีเส้ นรอบวงผ่านจุดที่
กาหนดด้ วย
 ทดสอบโดยการเขียนวงกลมขึ ้นมาก่อนสองวงให้ อยู่ห่างกันพอสมควร และกาหนดจุดขึ ้นมาหนึง่ จุดนอกวงกลม
ทั ้งสอง แล้ วคลิกเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ที่Circle> Tangential circle of two circles
passing a given point
 คลิกวงกลมวงที่หนึง่ แล้ วคลิกวงกลมวงที่สอง จะปรากฏวงกลมวงที่สามขึ ้นมาสัมผัสวงกลมสองวงแรกโดย
คลิกให้ เส้ นรอบวงของวงกลมที่สามผ่านจุดที่กาหนด แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกวงกลมวงที่หนึง่
1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
4.คลิกวงกลมวงที่สอง
Circleที่ Tangential
circle of two circles 5.คลิกวางวงกลมวงที่สาม(วง
passing a given point ใหม่)ที่มีจดุ บนเส้ นรอบวงแล้ ว
คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Tangential circle of two circles passing a given point

 การเขียนวงกลมอีกแบบคือ Tangential circle of a circle passing two given points เป็ นการเขียนวงกลม
วงหนึง่ ให้ สมั ผัสวงกลมอีกวงหนึง่ โดยให้ มีจดุ สองจุดที่กาหนดวางอยู่บนเส้ นรอบวงของวงกลมวงใหม่ ที่สมั ผัสที่วงกลมวง
แรก
75

 ทดสอบโดยเขียนวงกลมขึ ้นมาวงหนึ่ง และกาหนดจุดสองจุด แล้ วคลิกเมนูหลัก(Main menu)หรื อเมนูซ้ายมือ


(Main CAD tools)ที่ Circle> Tangential circle of a circle passing two given points แล้ วคลิกวงกลมที่เขียนไว้
ครั ้งแรก
 จะปรากฏวงกลมวงที่สองสัมผัสวงแรกที่มีจดุ สองจุดอยู่ที่เส้ นรอบวง(โดยการคลิกให้ ผ่านจุดสองจุดที่กาหนด)
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกวงกลมวงที่หนึง่

1.คลิกCircle
2.คลิกเมนูยอ่ ยของCircle
ที่ Tangential circle of
4.คลิกวางวงกลมวงที่สองที่มีจดุ
circle passing two
สองจุดผ่านเส้ นรอบวง แล้วคลิก
given points
ขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ>
Tangential circle of a circle passing two given points

 การเขียนวงกลมแบบ Tangential circle of three circles เป็ นการเขียนวงกลมให้ สมั ผัสวงกลมอีกสามวง


เราสามารถทดสอบการเขียนได้ โดย เขียนวงกลมขึ ้นมาก่อนจานวนสามวงขนาดใดๆก็ได้ และให้ ห่างกันพอสมควร
 คลิกเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)ที่ Circle> Tangential circle of three circles
แล้ วคลิกวงกลมวงที่หนึ่ง ,คลิกวงกลมวงที่สอง,คลิกวงกลมวงที่สาม จะปรากฏวงกลมวงที่สขี่ ึ ้นมาสัมผัสกับวงกลมทั ้ง
สามวง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกวงกลมวงที่หนึง่ 4.คลิกวงกลมวงที่สอง

1.คลิกCircle 6.คลิกวางวงกลมวง
2.คลิกเมนูยอ่ ยของCircle ที่4(เกิดใหม่) แล้ ว
ที่ Tangential circle of คลิกขวาเพื่อออกจาก
5..คลิกวงกลมวงที่สาม
three circles คาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงกลมแบบ
Tangential circle of three circles
76

Ellipse (การเขียนวงรี )
การเขียนวงรีเป็ นการใช้ คาสัง่ เขียนวงรีได้ หลายแบบ และสามารถเรียกใช้ คาสัง่ ได้ ทั ้งทางเมนูหลักและเมนู
ทางซ้ ายมือ(Main CAD tools)ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Ellipseจากเมนูหลัก (Main menu)

Ellipse with center and two points Ellipse arc with center, 2points and angle
Foci and point on Ellipse Ellipse with axis and 4points
Center and three points on Ellipse Ellipse inscribed in a quadrilateral

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ จาก (Main CAD tools)

 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ทดสอบเขียนวงรีโดยการคลิกที่ Ellipse>Ellipse


with center and two points เป็ นวิธีการเขียนวงรีที่นิยมกันมากคือการเขียนโดยระบุจดุ ศูนย์กลาง และระบุจดุ ปลายที่
แกนหลักและแกนรอง(แกนแนวยาวและแกนแนวกว้ างของวงรี )
 คลิกวางจุดศูนย์กลางและขยายออกไปในแนวนอน (แกนหลักหรื อ Major axis)ซึง่ เป็ นการกาหนดแนวนี ้ให้ เป็ น
ความยาวของวงรี เราสามารถปรับให้ ความยาวของวงรี ตามต้ องการโดยการยืดออกไปทางขวาและซ้ ายด้ วยCrosshair
(เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์) เมื่อได้ ความยาวของวงรีตามที่ต้องการแล้ วคลิกซ้ าย
 คลิกขยายขอบวงรีออกไปในแนวดิ่ง(Minor axis)ของวงรี ซึง่ แนวนี ้จะถูกกาหนดให้ เป็ นความกว้ างของวงรี และ
เราสามารถปรับให้ ความกว้ างของวงรีตามต้ องการโดยการยืดขึ ้นและลงด้ วยCrosshair (เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์) เมื่อได้
ความกว้ างของวงรี ตามต้ องการแล้ วคลิกซ้ าย
 จะเห็นได้ ว่าเกิดวงรีขึ ้นจากการกาหนดจุดศูนย์ กลางของวงรี และการคลิกสองครั ้งที่จดุ กาหนดความกว้ างและ
จุดกาหนดความยาวของวงรี (Ellipse with center and two points)
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
77

5.ขยายวงรี ออกมาแนวดิ่ง
แล้ วคลิกเมื่อได้ ความกว้ าง
1.คลิกEllipse ที่ต้องการ แล้ วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Ellipseที่ Ellipse with
center and two
points 3. คลิกจุดศูนย์กลาง
4..ขยายวงรีออกมา
แนวนอน แล้วคลิกเมื่อได้
ความยาวทีต่ ้ องการ

รูปการเขียนวงรีแบบ Ellipse
with center and two points

 ที่เมนูหลัก(Main menu) หรือเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) เราสามารถทดสอบการเขียนส่วนโค้ งของวงรีได้ โดย


การคลิกEllipse>Ellipse arc with center, two points and angles
 คลิกวางจุดศูนย์ กลางของวงรี และกาหนดจุดปลายของแกนหลักในแนวนอน
 ระบุจดุ ปลายของแกนรองในแนวดิ่ง
 ระบุจดุ ที่เกิดส่วนโค้ งจุดแรก(มุมแรก)
 ระบุจดุ ที่เกิดส่วนโค้ งจุดสุดท้ าย (มุมสุดท้ าย)
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

5..ขยายวงรีออกมาดิ่ง
1.คลิกEllipse แล้ วคลิกเมื่อได้ ความยาวที่ 6.คลิกจุดปลาย
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ ต้ องการ ส่วนโค้ งจุดแรก
Ellipseที่ Ellipse arc
with center, two
3. คลิกจุดศูนย์กลาง
points and angles 4..ขยายวงรีออกมา
แนวนอน แล้วคลิกเมื่อได้ 7..คลิกจุดปลายส่วนโค้ ง
ความยาวทีต่ ้ องการ จุดที่สอง แล้ วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนส่วนโค้ งวงรี
แบบ Ellipse arc with center, two points and angles
78

 การทดสอบเขียนวงรีแบบ Foci and a point on ellipse ซึง่ เป็ นการเขียนวงรีที่ระบุจดุ โฟกัสขึ ้นสองจุด(จุดที่ทา
ให้ เกิดส่วนโค้ งของวงรี) และระบุจดุ อีกจุดหนึ่งบนเส้ นขอบของวงรี โดยมีวิธีการเขียนดังต่อไปนี ้
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Ellipse> Foci and a point on ellipse
 คลิกจุดโฟกัสจุดแรก ตามด้ วยคลิกจุดโฟกัสจุดที่สอง แล้ วลากเม๊ าส์ออกมา จะพบวงรีถกู สร้ างขึ ้นแล้ วแต่
ทิศทางของเม๊ าส์จะกวาดไปหรือระบุความยาวของจุดทั ้งสองบนพื ้นที่เขียนแบบ เมื่อได้ ตาแหน่งที่ต้องการ ให้ คลิกซ้ าย
จะสังเกตได้ ว่าเราสามารถระบุจดุ ที่เส้ นรอบวงของวงรี ผ่านได้ เช่นกัน
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกจุดโฟกัสจุดที่สอง
1.คลิกEllipse ขยายวงรี ออกมา ให้ เส้ น
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ รอบวงผ่านจุดที่ต้องการ
Ellipseที่ Foci and a แล้ วคลิกซ้าย และคลิก
point on ellipse ขวาเพื่อออกจากคาสัง่
3..คลิกจุดโฟกัสจุดที่หนึง่

การเขียนวงรีแบบ Foci and a


point on ellipse

 การทดสอบเขียนวงรีแบบ Four points on ellipse


 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) คลิกEllipse> Four points on ellipse
 คลิกระบุจุดแรก,คลิกระบุจดุ ที่สอง,คลิกระบุจดุ ที่สาม, และคลิกระบุจดุ ที่สี่
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3..คลิกจุดที่หนึง่ 4.คลิกจุดที่สอง
1.คลิกEllipse
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Ellipseที่ Four points
5.คลิกจุดที่สาม
on ellipse 6.คลิกจุดที่สแี่ ล้ ว
คลิกขวาเพื่อออก
จากคาสัง่

รูปการเขียนวงรีแบบ Four
points on ellipse
79

 การทดสอบการเขียนวงรีแบบ Center and three points on ellipse


 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Ellipse>Center and three points
 คลิกระบุจุดศูนย์ กลาง ,คลิกจุดที่หนึง่ ,คลิกจุดทีสอง,คลิกจุดที่สาม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

3..คลิกจุดศูนย์กลาง
ของวงรี 4.คลิกจุดที่หนึง่
1.คลิกEllipse
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Ellipseที่ Center 5.คลิกจุดที่สอง
and three points 6.คลิกจุดที่สาม
on ellipse แล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนวงรีแบบ
Center and three points on ellipse

 การทดสอบการเขียนวงรีแบบ Ellipse inscribed in a quadrilateral ซึง่ เป็ นการเขียนวงรี ลงในรูปสีเ่ หลีย่ ม


 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มขึ ้นมารูปหนึง่ ก่อน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกEllipse>Ellipse inscribed in a qudrilateral
 ที่รูปสีเ่ หลีย่ ม คลิกด้ านที่หนึง่ , คลิกด้ านที่สอง,คลิกด้ านที่สาม,และคลิกด้ านที่สี่ จะปรากฏวงรีอยู่ในสีเ่ หลีย่ ม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกด้ านที่สอง
1.คลิกEllipse
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 5.คลิกด้ านที่สาม
Ellipseที่ Ellipse 3.คลิกด้ านที่หนึง่
inscribed in a
quadrilateral 6.คลิกด้ านที่สี่
แล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

I รูปการเขียนวงรีแบบ Ellipse
inscribed in a quadrilateral
80

Arc (การเขียนส่ วนโค้ ง)


การเขียนส่วนโค้ ง(Arc) เราสามารถเขียนจากคาสัง่ ที่เมนูหลัก(Main menu)และที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)
ดังรูปข้ างล่าง

 ทดสอบการเขียนส่วนโค้ งแบบ Arc with center ,point, angles โดยที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ


(Main CAD tools)คลิก Arc> Arc with center, point, angles
 คลิกวางจุดศูนย์กลางของวงกลม แล้ วขยายขอบของวงกลมด้ วยเม๊ าส์เมื่อได้ ขนาดที่ต้องการแล้ วให้ คลิกซ้ าย
หรืออาจระบุขนาดระยะของรัศมีในCommand lineแล้ วกดEnter เช่นทดสอบโดยในขณะนี ้กาหนดให้ รัศมีเท่ากับ50มม.
โดยพิมพ์ 50ลงบนCommand line(ก่อนพิมพ์ให้ คลิกที่บรรทัดของCommand line หรือกดSpace barที่คอมพ์)แล้ วกด
Enter
 บนCommand lineบอกให้ เราระบุสว่ นโค้ งที่มุมแรกหรือจุดแรก ให้ เราคลิกจุดแรกที่ต้องการให้ เกิดส่วนโค้ งหรือ
เราอาจพิมพ์ จานวนองศาลงไปที่Command line ในที่นี ้เราจะทดสอบโดยพิมพ์ลงไป90องศาลงบนCommand lineแล้ ว
กดEnter
 เคลือ่ นเม๊ าส์ไปรอบจุดศูนย์กลางด้ วยรัศมีที่เรากาหนดให้ คือในที่นี ้เรากาหนดให้ รัศมีเท่ากับ 50มม. และคลิกจุด
สุดท้ ายของส่วนโค้ งในตาแหน่งที่ๆเราต้ องการหรืออาจพิมพ์จานวนองศาของมุมที่ต้องการลงบนCommand line แล้ วกด
Enter เราจะได้ ส่วนโค้ งซึง่ เกิดจากจุดศูนย์ กลาง และจุด หรือมุม (จุดแรกถูกคลิกแล้ วโดยกาหนดให้ ตั ้งฉากหรือทามุม90
องศาและจุดสุดท้ ายที่เราได้ คลิกหรือระบุมมุ ในCommand line) ดังรูปข้ างล่าง
81
5.คลิกจุดที่สองแล้วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่ หรื อระบุ
ค่ามุมลงบนCommand line
แล้ วกด Enter

1. คลิก Arc
2.คลิกเมนูยอ่ ยของArc
4.คลิกจุดแรกหรื อระบุค่ามุม
ที่Arc with center 3.คลิกจุดศูนย์กลาง
ลงบนCommand lineแล้ ว
point,angles ของวงกลม
กด Enter

รูปแสดงการเขียนส่วนโค้ งแบบ
Arc> Arc with center, point, angles

 ต่อไปเป็ นการทดสอบการเขียนส่วนโค้ งจากจุดสามจุด(Arc with three points) โดยคลิกเมนูหลัก(Main menu)


ที่Arc>Arc with three points
 ให้ เราคลิกวางจุดแรกและจุดสอง จะเห็นได้ ว่าส่วนโค้ งสามารถยืดหยุ่นไปมาได้ เมื่อได้ ขนาดที่เราต้ องการแล้ ว
คลิกวางจุดที่สาม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

1. คลิก Arc
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
3.คลิกจุดแรก 4.คลิกจุดที่สอง
Arcที่Arc with three
points
5.คลิกจุดที่สาม
แล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปการเขียนส่วนโค้ งแบบ Arc


with three points

 สาหรับการเขียนส่วนโค้ งซ้ อนกัน ( Concentric arc) นั ้นมีวิธีการเขียนคล้ ายกันกับการเขียนวงกลมซ้ อนกัน


(Concentric circle) เราสามารถทดสอบการเขียนโดยการเขียนส่วนโค้ งขึ ้นมาก่อนหนึง่ เส้ น
 ที่เมนูหลัก(Main menu) หรือเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) คลิกArc>Concentric
 เคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ไปวางที่ใกล้ สว่ นโค้ งที่เราเขียนขึ ้นก่อน เราสามารถปรับตั ้งระยะห่างของส่วนโค้ งที่
ซ้ อนกันโดยคลิกที่Command line และพิมพ์จานวนตัวเลขของค่าที่ต้องการ(ก่อนพิมพ์ให้ คลิกที่บรรทัดของCommand
82

line หรือกดSpace barที่คอมพ์) แล้ วกดEnter ถ้ าส่วนโค้ งที่เขียนยังไม่ปรากฏระยะห่างดังค่าที่เราพิมพ์ ในCommand


line ให้ เรากดSpace bar(เพื่อกระตุ้นให้ Command lineทางาน)แล้ วกดEnter อีกครั ้ง
 คลิกวางส่วนโค้ งที่เกิดใหม่ที่มีระยะห่างเท่ากับค่าที่ระบุบนCommand line
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

1. คลิก Arc
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 4.คลิกวางเส้ นโค้ งแล้ว
Arcที่ Concentric คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่

3.พิมพ์ค่าระยะห่างลง
บนCommand line

รูปแสดงการเขียนส่วนโค้ ง
แบบConcentric

 การทดสอบเขียนส่วนโค้ งแบบ Arc tangential to base entity with radiusให้ เขียนเส้ นตรงขึ ้นมาเส้ นหนึ่งก่อน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Arc tangential to base entity with radius
 คลิกที่เส้ นตรง จะพบว่ามีส่วนโค้ งเกิดขึ ้นตามรัศมีทีระบุในกล่องเลือกค่า ( Option tool)ซึง่ อยู่เหนือพื ้นที่เขียน
แบบ(Main drawing area หรือ Model space)
 ระบุมมุ ที่กล่องเลือกค่า(Option tool) ที่อยู่บนเหนือพื ้นที่เขียนแบบ หรือจะกวาดเม๊ าส์ไปจนกว่าจะได้ สว่ นโค้ ง
ตามที่ต้องการแล้ วคลิกซ้ าย
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

4.ระบุค่ารัศมีของ
ส่วนโค้ ง 5.คลิกวางส่วนโค้ งหรือระบุ
1. คลิก Arc มุมที่กล่องเลือกค่าแล้วคลิก
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ ขวาเพื่อออกจากคาสัง่
Arcที่ Arc tangential
to base entity with 3.คลิกที่เส้ นตรงที่
radius เขียนขึนมาก่
้ อน

รูปการเขียนส่วนโค้ งแบบArc
tangential to base entity with radius
83

การเขียนSpline
การเขียนSpline เป็ นการเขียนส่วนโค้ ง(Curve)โดยเขียนติดต่อกัน ซึง่ ส่วนใหญ่ จะพบได้ เช่นในการเขียนงาน
แผนที่โดยแสดงเป็ นเส้ นชั ้นความสูง หรือใช้ เขียนในการสเก็ตช์เค้ าโครงร่างจากรูปภาพที่เราโหลดมาไว้ ในพื ้นที่เขียนแบบ
การเขียนSpline มีวิธีการเขียนสองแบบคือเขียนSpline ผ่านจุด และไม่ผ่านจุดที่กาหนด โดยสามารถเรี ยกใช้ คาสัง่ จาก
เมนูหลัก (Main menu)หรือจากเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) ดังรูปข้ างล่าง

Spline Spline through points


Spline

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Spline จากเมนูหลัก (Main menu) รูปแสดงการใช้ คาสัง่ SplineจากMain CAD tools

 ในขณะที่เราเขียนSplineไม่ผ่านจุดให้ ทาการคลิกโดยคลิกจากเมนเมนูหลัก(Main menu)หรือคลิกที่เมนูซ้ายมือ


(Main CAD tools) โดยการคลิก Draw >Spline> spline
 ตั ้งค่าที่กล่องเลือกค่า (Option tool) ที่อยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ โดยการระบุตวั เลขลงในกล่องเลือกค่า (Option
tool)ข้ างหน้ าข้ อความDegree ถ้ าต้ องการให้ เส้ นSplineมีมมุ โค้ งมากให้ เลือกDegreeที่3 ถ้ าต้ องการมุมโค้ งน้ อยให้ เลือก
Degreeที่2 หรือถ้ าเลือกDegreeที่1จะได้ มมุ แหลม
 เลือกชนิดของSpline เป็ นแบบClose (เส้ นจากจุดเริ่มต้ นและจุดปลายเส้ นสุดท้ ายจะบรรจบกัน)หรือไม่ ถ้ าเป็ น
แบบCloseให้ กาเครื่องหมายถูก ที่กล่องเลือกค่า(Option tool) ซึง่ เป็ นกล่องสีเ่ หลีย่ มเล็กๆหน้ าClose ในที่นี ้เรา
ทดสอบเลือกเขียนแบบไม่Close ดังนั ้นจึงไม่ต้องกาเครื่องหมายถูก หน้ าClose
 คลิกจุดแรกและจุดถัดไปจะเห็นว่าเกิดส่วนโค้ งนอกจุดที่เราคลิก
 เราสามารถเขียนส่วนโค้ งไปที่ใดๆที่ต้องการโดยให้ จุดที่คลิกอยู่ใกล้ ๆส่วนโค้ ง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังแสดงในรูปข้ างล่าง
84

3.คลิกระบุเลือก
ค่าDegree
1.คลิกSpline 4.คลิกเลือกClose
8.คลิกจุดถัดมา
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ หรื อไมClose
6.คลิกจุดถัดมา
Splineที่ Spline
9.คลิกจุดถัดมา แล้วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
5.คลิกจุดแรก
7.คลิกจุดถัดมา

รูปแสดงการเขียนเส้ น Spline
แบบไม่ผ่านจุดที่กาหนด

 อนึง่ เราสามารถยืดส่วนโค้ งของSplineที่เราเขียนขึ ้นมาแล้ ว โดยคลิกที่เส้ นSplineนั ้นให้ เห็นเป็ นเส้ นจุดสีแดง
สังเกตดูที่เส้ นประในขณะนี ้ จะเห็นจุดที่เราคลิกแต่แรกเปลีย่ นเป็ นจุดสีน ้าเงิน คลิกจุดสีน ้าเงินนี ค้ ้ างไว้ แล้ วDragจุดสีน ้า
เงินนั ้นออกมาจะพบว่าเส้ นโค้ งใกล้ จุดนั ้นยืดออกไปตามเม๊ าส์ที่เราDragไป
 คลิกวางเส้ นSpline (ที่ยงั เป็ นเส้ นประสีแดง) ในตาแหน่งที่ต้องการ
 คลิกที่เส้ นประนั ้นอีกครั ้ง เส้ น Spline จะเปลีย่ นสภาพเป็ นเส้ นเต็ม ดังรูปข้ างล่าง

2.คลิกจุดสีน ้าเงินแล้วDrag ออกมาวางส่วนโค้ งไว้


ในตาแหน่งทีต่ ้ องการ คลิกที่เส้ นประให้ เป็ นเส้ นเต็ม
แล้ วสามารถออกจากคาสัง่ โดยไม่ต้องคลิกขวา

1.คลิกที่เส้ นSpline.
ให้ เปลี่ยนสภาพ
เป็ นเส้ นประ

รูปแสดงการยืดเส้ นSpline

 สาหรับการเขียนSplineผ่านจุดที่กาหนด (Spline throug points) ก็มีวิธีการเขียนเหมือนกับการเขียนไม่ผ่าน


จุดที่กาหนด ต่างกันที่เราจะเห็นว่าจุดที่เราคลิกจะอยู่บนเส้ นโค้ งของSpline ดังรูปข้ างล่าง
85

3.คลิกเลือกClosed
1.คลิกSpline
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 5.คลิกจุดถัดมา 7.คลิกจุดสุดท้ าย
Splineที่ Spline
through points
6.คลิกจุดถัดมา
4.คลิกจุดแรก
8. จุดสองจุดมาบรรจบกัน
ถ้ าเราเลือกให้ เป็ นClosed
บนกล่องเลือกค่า

รูปแสดงการเขียนSplineแบบ
ผ่านจุด(Spline through points) แบบClosed end

 Spline มีทั ้งแบบปลายเปิ ดและแบบปลายปิ ด( Opened end and closed end)ให้ เรากาเครื่องหมายถูก ลงใน
ช่องClosed(แบบปิ ด)ซึง่ เป็ นการเขียนSplineให้ ปลายสุดท้ ายบรรจบจุดแรกเริ่มต้ น (ดังรูปข้ างบน) หรือให้ เราคลิกเอา
เครื่องหมายถูก หน้ าClosed ออก ถ้ าต้ องการเขียนSplineไม่ให้ ปลายแรกและปลายสุดท้ ายบรรจบกัน
 การตั ้งค่าตัวเลขNumber of line segment per spline patch ในDrawing preferences (Edit>Current
drawing preferences >Spline) ถ้ าจานวนตัวเลขยิ่งมากยิ่งทาให้ การเขียนSplineแม่นยาและเส้ นมีความเรียบ สาหรับ
จานวนตัวเลขที่แนะนาและพอเพียงกับการเขียนSpline คือ 8 ดังรู ปข้ างล่าง
86

การเขียนเส้ นPolylines
Polylines เป็ นเส้ นตรงที่เกิดจากเราเขียนต่อเนื่องติดต่อกันตลอด ถึงแม้ จะมีหลายลักษณะแต่ก็ถือว่าเป็ นเส้ น
เดียว การเขียนPolylines สามารถเขียนได้ จากการเรี ยกใช้ คาสัง่ จากเมนูหลัก (Main menu) และที่เมนูซ้ายมือ(Main
CAD tools) และเขียนได้ หลายลักษณะดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Polylinesจากเมนูหลัก(Main menu)

Create polyline Add node

Append node Delete node

Delete between two nodes Trim segments

Create equidistant polyline Create polyline from existing segments

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Polylinesจาก Main CAD tools


 ทดสอบการเขียนเส้ นPolyline แบบ Create polyline ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD
tools)คลิกPolyline >Create polyline
 คลิกจุดแรก คลิกจุดถัดไปเรื่อยๆ ดังตัวอย่างรูปข้ างล่าง

4.คลิกจุดถัดไป
1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Polylineที่Create 3.คลิกจุดแรก 6.คลิกจุดสุดท้ าย
polyline แล้ วคลิกขวาเพื่อออก
5.คลิกจุดถัดไป จากคาสัง่

รูปแสดงการเขียนPolyline แบบ
Create polyline
87

นอกจากการเขียนเส้ นแบบCreate polyline แล้ วยังมี การเขียน Add node,Delete node, ,Append node, Delete
between two nodes, Trim segment, Polyline equidistance ดังรายละเอียดดังต่อไปนี ้
 การเขียน Add nodes เป็ นการเขียนจุดหรือปุ่ มบนเส้ น Polyline
 ทดลอบการเขียน Add nodes โดยเขียนเส้ นPolyline ขึ ้นมาหนึง่ เส้ นก่อน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Polyline >Add nodes
 เพื่อให้ การเขียนได้ ง่ายขึ ้นให้ คลิกไอคอน Snap on entityที่Top toolbar ตามด้ วยการคลิกที่เส้ นPolylineที่เรา
เขียนขึ ้นมาก่อนหน้ านั ้น ดังคาสัง่ บนcommand line แล้ วคลิกจุดในตาแหน่งที่ต้องการบนเส้ น Polyline
 หลังจากเราคลิกจุดที่เส้ นPolylineนี ้แล้ วเราอยากเห็นจุดที่เราคลิกนั ้น ให้ คลิกขวาสองครั ้งที่เม๊ าส์ เพื่อออกจาก
คาสัง่ ก่อน แล้ วนาลูกศรที่เม๊ าส์คลิกที่เส้ นPolylineนั ้น เราจะเห็นจุดซึง่ แสดงเป็ นจุดสีน ้าเงินเส้ นบนเส้ นประของเส้ น
Polyline นั ้นซึง่ เป็ นตาแหน่งที่ๆเราคลิกก่อนหน้ านั ้น ถ้ าต้ องการให้ เส้ นประกลับมากลายเป็ นเส้ นเต็มให้ คลิกที่เส้ นประนั ้น

3.คลิกSnap on entity

5.คลิกจุดที่เส้ นPolyline
1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Polylineที่Add nodes 7.คลิกจุดที่เส้ นPolyline
4.คลิกจุดที่เส้ นPolyline
6.คลิกจุดที่เส้ นPolyline

รูปแสดงการเขียน Add nodes


 Delete nodes เป็ นการลบจุดหรือปุ่ มที่เราเขียนAdd nodes รวมทั ้งปุ่ มบนยอดเส้ นตรงมุมหัก(มุมยอด)บน
เส้ นPolyline ซึง่ จะทาให้ จุดหรือปุ่ มนั ้นหายไปพร้ อมกับเกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเส้ นข่วงระยะที่เราลบจุดนั ้น
 วิธีการDelete nodes ให้ ทาคล้ ายกับการAdd nodes เพื่อให้ ง่ายต่อการทางานให้ คลิกSnap intersectionที่
Top toolbar
 เพี่อให้ มองเห็นจุดที่เราต้ องการจะลบออกบนเส้ นPolyline ได้ ชดั เจน ให้ คลิกที่เส้ นเต็มบนเส้ นPolylineก่อน
เพื่อให้ เปลีย่ นเป็ นเส้ นประที่มจี ดุ หรือปุ่ ม(สีน ้าเงิน)ที่เราต้ องการจะลบ
 คลิกที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) โดยคลิกPolyline>Delete nodes แล้ วคลิกที่
เส้ นPolylineตามคาสัง่ บนCommand line
 คลิกจุดหรือปุ่ มสีน ้าเงินเพื่อลบมันทิ ้งไป โดยให้ คลิกเริ่มจากปลายเส้ น ดังรูปข้ างล่าง จะเห็นว่าจุดที่เราคลิกจะ
หายไปพร้ อมกับการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเส้ นบริเวณนั ้น
 คลิกที่เส้ นประอีกครั ้งเพื่อให้ เป็ นเส้ นเต็ม ดังรูปข้ างล่าง
88

3.คลิกSnap intersection

4.คลิกจุดที่เส้ นPolyline
1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Polylineที่Delete
5.คลิกเส้ นประเพื่อให้ เป็ นเส้ นเต็ม
nodes

รูปแสดงการเขียนDelete nodes

 การเขียนAppend node เป็ นการคลิกใกล้ จุดเริ่มต้ นของเส้ นPolyline เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์จะวิ่งเข้ าไปจับที่
จุดเริ่มต้ นของเส้ นPolyline หรือถ้ าคลิกใกล้ จดุ ปลายของเส้ น Polyline เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์จะวิ่งเข้ าไปจับที่จดุ ปลายของ
เส้ นPolyline
 ทดสอบการเขียนโดยที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกPolyline>Append node
 ที่เส้ นPolyline ที่ถกู เขียนขึ ้นมาก่อน ถ้ าเราคลิกบริเวณใกล้ จุดเริ่ มต้ น จะสังเกตว่าเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์จะวิ่งเข้ า
ไปจับที่ปลายจุดเริ่มต้ น
 หรือถ้ าเราคลิกที่บริเวณใกล้ จดุ ปลาย จะสังเกตว่าเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์จะวิ่งเข้ าไปจับที่ปลายจุดสุดท้ ายของเส้ น
Polyline นั ้น
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
6.จะเกิดการการเขียน
เส้ นเริ่ มที่จดุ สุดท้ ายแล้ ว
คลิกขวาเพื่อออกจาก
3.คลิกใกล้ จดุ เริ่ มต้ น คาสัง่
1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 5.คลิกใกล้ จดุ สุดท้ าย
Polylineที่ Append
node 4.จะเกิดการการเขียน
เส้ นเริ่ มที่จดุ เริ่ มต้ น แล้ว
คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่

รูปแสดงการเขียนAppend
node
89

 Delete between two nodes เป็ นการลบเส้ นของPolylineช่วงที่ถดั จากจุดสองจุดที่เราคลิกบนPolyline


 จากรูปPolyline ที่เขียนไว้ เริ่มแรกให้ คลิกเมนูหลัก(Main menu) หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)โดยคลิก
Polyline>Delete between two nodes
 คลิกที่เส้ นPolylineตามคาสัง่ บนCommand line และเพื่อให้ คลิกง่ายและตรงจุดเราอาจใช้ Snap on end point
จากTop toolbar แล้ วคลิกจุดแรก และคลิกจุดถัดไป จะเห็นเส้ นPolyline เหลืออยู่เพียงช่วงที่เราคลิกระหว่างจุดสองจุด
ในขณะนี ้เท่านั ้น ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกSnap end point

4.คลิกเส้ นPolyline
7เส้ นส่วนที่หายไป
1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของPolylineที่
Delete between 5.คลิกจุดแรก 6.คลิกจุดถัดมา แล้ว
two nodes คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่

รูปแสดงการเขียน Delete
between two points

 Trim segment เป็ นการTrim(ขลิบ)เส้ นPolylineที่เขียนในลักษณะที่ตดั กัน


 ทดสอบโดยการเขียนPolyline ลักษณะเป็ นมุมตัดกันขึ ้นมาก่อน
 เพี่อให้ การทางานง่ายขึ ้นให้ คลิกSnap on entity ที่Top toolbar
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกPolyline> Trim segment
 คลิกที่เส้ นPolylineตามคาสัง่ บนCommand line แล้ วคลิกปลายเส้ นที่ด้านซ้ ายข้ างหนึง่ และตามด้ วยด้ านขวา
ข้ างหนึง่ ’
 จะปรากฏมุมที่ถูกTrim
 คลิกขวา เพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
90

6.เส้ นส่วนทีต่ ัดกันจะถูก


Trim ทาให้ หายไป แล้ว
3.คลิก Snap on entity
คลิกขวาเพื่อออกจาก
คาสัง่

5.คลิกเส้ นตรงเส้ นที่สอง


1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ย 4.คลิกเส้ นตรง
ของPolylineที่ เส้ นที่หนึง่
Trim segment

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Trim segment รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Trim segment

 Polyline equidistance เป็ นการเขียนเส้ นPolyline ที่มลี กั ษณะเดียวกับต้ นแบบ โดยจะมีกล่องเลือกค่า


(Option tool) ตั ้งอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบโดยให้ เลือกระยะห่างระหว่างเส้ น Polylineใหม่กบั เส้ นเก่าต้ นแบบ และตัวเลือก
จานวนPolylineที่เราคัดลอก
 ทดสอบการเขียนโดยการเขียนเส้ นPolyline ขึ ้นมาหนึง่ เส้ นเพื่อเป็ นเส้ นต้ นแบบ
 ที่เมนูหลัก(Main menu) หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกPolyline>Equidistant
 คลิกเส้ นPolyline (ต้ นแบบ) จะพบว่าเกิดเส้ นPolyline ใหม่เกิดขึ ้นโดยมีระยะห่างและจานวนเส้ นเกิดใหม่ตามที่
เราระบุหรือสามารถเข้ าไปแก้ ไขค่าในกล่องตัวเลือก(Option tool)วางอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกSnap on
entity
4.ตัง้ ค่าในกล่อง
เลือกค่า

1.คลิกPolyline
6.จะเกิดเส้ นเหมือน
2.คลิกเมนูยอ่ ย 5.คลิกเส้ นPolyline
ต้ นแบบ แล้ วคลิกขวา
ของPolylineที่ ต้ นแบบ
เพื่อออกจากคาสัง่
Equidistant

รูปแสดงการเขียนEquidistant

 Create polyline from existing segments


การเขียน Create polyline from existing segments เป็ นการทาเส้ นที่เขียนต่อกันแต่ไม่ใช่Polyline ให้ เป็ นเส้ น
Polyline ดังรูปข้ างล่างเป็ นการเขียนจาก Line with two points เราจะเห็นได้ ว่าเมื่อเราคลิกที่เส้ นมันจะเป็ นอิสระแต่
ละเส้ น(สังเกตจากเส้ นประ)
91

รูปแสดงการเขียนเส้ นต่อเนื่อง
จากคาสัง่ Line>Line with two points

 จากรูปข้ างบนคลิกเส้ นประให้ เป็ นเส้ นเต็มเพื่อจะทาให้ เป็ นเส้ น Polyline


 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Polyline>Create polyline from existing
segments
 คลิกที่สว่ นใดส่วนหนึง่ ของเส้ นนั ้น แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
 จะเห็นว่าเส้ นนั ้นจะกลายเป็ นเส้ น Polyline แล้ ว ทดสอบโดยคลิกที่เส้ นนั ้นดูจะพบว่าเป็ นเส้ นประหมดทุกเส้ น

1.คลิกPolyline
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของPolylineที่ 3คลิกส่วนหนึง่ ส่วนใดของเส้ น แล้ว 4. เส้ นที่เขียนจากLine with two pointsจะ
Create polyline คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ เปลี่ยนเป็ นเส้ นPolyline ซึง่ สามารถทดสอบโดย
from existing การคลิกที่เส้ นจะพบว่าเป็ นเส้ นประหมดทังเส้
้ น
segments

รูปแสดงก่อนเขียน Polyline with existing segments รูปแสดงหลังการเขียน Polyline with existing segments
92

Text ( การใช้ คาสั่งเขียนข้ อความ )


การใช้ คาสัง่ เขียนข้ อความในการเขียนแบบมีความสาคัญมากเพราะจะเป็ นการสือ่ ด้ วยการอธิบายด้ วยข้ อความ
ให้ ผ้ อู ่านแบบได้ เข้ าใจยิ่งขึ ้นนอกเหนือจากการสือ่ โดยการอธิบายด้ วยรูปภาพ
 มี2วิธีที่จะเปิ ดใช้ คาสัง่ Text คือเปิ ดด้ วยการใช้ คาสัง่ ที่เมนูหลัก(Main menu) และอีกวิธีหนึง่ ที่นิยมใช้ คือคลิก
ไอคอนTextที่เมนูด้านซ้ ายมือ(Main CAD tools) เราจะได้ คาสัง่ เป็ น Multi line text (MText)ซึง่ เป็ นคาสัง่ ให้ เขียน
ข้ อความที่มีความยาวหลายบรรทัดหรือไม่จากัดความยาว แต่ในทางปฏิ บตั ิถงึ แม้ จะเป็ นข้ อความสั ้นๆก็สามารถใช้ คาสัง่
MTextอันนี ้ได้
 ถ้ าเราคลิกที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ที่ไอคอนMultiline Text(MText) จะมีหน้ าต่างปรากฏขึ ้นมา ถ้ าเรา
สังเกตดูที่แถวบนสุดจะเป็ นช่องให้ เลือกชนิดของตัวอักษร(Font) ถัดลงมาเป็ นการให้ ตั ้งค่าขนาดความสูงของตัวอักษร
(Height) ตามด้ วยกล่องให้ เลือกค่าDefault(ค่าที่ตั ้งมาแต่เริ่ มต้ น)ของขนาดระยะห่างระหว่างบรรทัด (Line spacing)
 ที่บริเวณ Alignment เราจะพบมีTop left ,Top center, Top right เป็ นต้ น เป็ นการจัดวางตาแหน่งของ
Crosshair cursor(กากบาทแทนที่ลกู ศรของเม๊ าส์)สัมพันธ์ กบั ข้ อความที่เรานามาวางบนพื ้นที่เขียนแบบคือเป็ นการวาง
ข้ อความโดย Crosshair cursor ของเม๊ าส์จะพาข้ อความไปวางบนพื ้นที่เขียนแบบตามชนิดของ Align ที่เราเลือก เรา
สามารถทดสอบโดยเลือกคลิกชนิดใดชนิดหนึง่ ของการAlign แล้ วคลิกOK
 เราสามารถเลือกมุม (Angle) ที่จะให้ ข้อความทามุมกับแนวระดับบนพื ้นที่เขียนแบบ เราทดสอบพิมพ์คาว่า
LibreCAD และปรับค่าความสูงของตัวอักษร 2.5มม. และให้ เราคลิกที่มุม(Angle) เท่ากับ0องศา แล้ วคลิกOK.
 จะพบว่ามีข้อความตัวหนังสือปรากฏขึ ้นมา ให้ เรานาไปคลิกวางบริเวณพื ้นที่เขียนแบบบริเวณตาแหน่งที่เรา
ต้ องการ ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการตั ้งค่าและเขียน
ข้ อความบนหน้ าต่างของMText
93

รูปแสดงการคลิกวางข้ อความ
บนพื ้นที่เขียนแบบ
 เราสังเกตจะเห็นว่ามีข้อความเกิดขึ ้นอีกที่เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์แม้ ว่าเราจะคลิกวางบนพื ้นที่เขียนแบบแล้ วก็ตาม
ให้ เราคลิกขวาอีกครั ้งข้ อความที่เกิดซ้ อนขึ ้นมาจะหายไป
 ถ้ าเราเข้ าไปแก้ ไขในการตั ้งค่าโดยการเลือกให้ เป็ นมุมที่90องศาในหน้ าต่างMText แล้ วคลิกOK. เราจะได้ ข้อ
ความถูกวางดังข้ างล่าง

รูปแสดงการตั ้งค่ามุม

รูปแสดงการคลิกวางข้ อความ
บนพื ้นที่เขียนแบบหลังจากตั ้งค่ามุมเท่ากับ 90องศาที่หน้ าต่างMText
94

 ที่แถบล่างซ้ ายสุดของหน้ าต่างเขียนข้ อความ(MText)จะเป็ นการให้ เราใส่สญ


ั ลักษณ์ต่างๆ(Insert symbol) เข่น
ใส่สญ
ั ลักษณ์ของเส้ นผ่านศูนย์กลาง องศา และอื่นๆ เราสามารถทดสอบได้ โดยพิมพ์ที่บรรทัดข้ อความว่า 30 แล้ ว
เลือกใส่สญ
ั ลักษณ์เส้ นผ่านศูนย์กลาง( มีกล่องให้ เลือกลักษณะของสัญลักษณ์อยู่ใต้ ข้อความ Insert symbol ) และคลิก
OK. ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการเลือกสัญลักษณ์ที่
หน้ าต่างMText

รูปแสดงการคลิกวางสัญลักษณ์
ลงบนพื ้นที่เขียนแบบ

 สาหรับค่าInsert Unicode คงไม่มีการเปลีย่ นแปลงแม้ ว่าเราจะเลือ่ นเลือกตัวใดก็ตาม


 การเปิ ดใช้ งานคาสัง่ เขียนข้ อความอีกวิธีหนึง่ คือเปิ ดจากเมนูหลัก(Main menu)ที่Draw>Text ก็มีวิธีการใช้ งาน
คล้ ายคลึงกับการเปิ ดคาสัง่ เขียนข้ อความที่เมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) โดยเราสามารถคลิกเลือกเขียนข้ อความแบบ
Text ซึง่ สามารถเขียนข้ อความได้ ไม่มากและเขียนได้ แถวเดียว(Single line text) มีวิธีการเช่นเดียวกับการให้ เลือกแบบ
MTextคือเขียนข้ อความได้ ไม่จากัดและเขียนได้ หลายบรรทัด(Multi line Text) ดังวิธีที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น
 ทดสอบการเขียนข้ อความจากการเปิ ดเมนูหลัก (Main menu)ที่Draw>Text>Text จะปรากฏหน้ าต่างTextดัง
รูปข้ างล่าง
95

 ทดสอบเขียนข้ อความLibreCAD โดยการปรับตั ้งค่าคล้ ายคลึงกับหน้ าต่างMText(การใช้ คาสัง่ เขียนข้ อความ


แบบMultiline Text)ดังที่ได้ อธิบายมาแล้ วข้ างต้ น จะมีเพิ่มเติมบางอันเช่น
 Width factor เป็ นการกาหนดขนาดความกว้ างของตัวอักษรโดยระบุค่าเป็ นอัตราส่วนหรือตัวคูณ (Factor)
 ในส่วนของรายละเอียดบริเวณAlignment เป็ นลักษณะการวางข้ อความโดย Crosshair cursor ของเม๊ าส์ที่พา
ข้ อความไปวางบนพื ้นที่เขียนแบบ เราสามารถทดสอบโดยเลือกคลิกชนิดใดชนิดหนึง่ ของการAlign แล้ วคลิกOK. จะ
สังเกตเห็นการจัดวาง Crosshair cursor (เคอร์ เซอร์ กากบาทของเม๊ าส์) ที่พาตัวอักษรข้ อความไปวางบริเวณพื ้นที่เขียน
แบบเช่นเดียวกับการทางานในหน้ าต่างของMText สาหรับหน้ าต่างTextจะมีสว่ นเพิ่มเติมคือการวางตัวอักษรข้ อความ
แบบFitและแบบMiddle
 การวางข้ อความแบบMiddle คือการนาCrosshair cursor อยู่ตรงกลางข้ อความ
 การวางข้ อความแบบFit คือการนาเอาCrosshair cursor ไปวางแล้ วคลิกจะปรากฏเป็ นเส้ นตรงก่อน การ
กาหนดขนาดของตัวอักษรอยู่ที่ความยาวของเส้ นที่เกิดขึ ้นมาก่อนจะเปลีย่ นเป็ นตัวอักษรข้ อความ ดังรูปข้ างล่างกาหนด
ให้ ความสูงของตัวอักษร(Height)=2.5, มุม(Angle)=0, อัตราส่วนความกว้ างของตัวอักษร(Factor)=2 และที่
Alignmentเลือก Fit แล้ วคลิกOK.จะปรากฏข้ อความดังรูป

รูปการวางข้ อความโดยเลือกค่า
แบบFit และคลิกวางครัง้ แรกจะเป็ นเส้ นตรงก่อน
96

รูปการวางข้ อความโดยเลือกค่า
แบบFit และหลังจากการคลิกเป็ นเส้ นตรงแล้ วจะเปลี่ยนเป็ นข้ อความ

การใส่ ข้อความภาษาไทยในLibreCAD
ในLibreCADไม่อาจใช้ ข้อความ(Text)ที่มีตวั อักษร(Font)เป็ นภาษาไทยโดยตรงได้ เนื่องจากFontในLibreCAD
เป็ นโปรแกรมไฟล์แบบLFF ไม่ได้ รองรับโปรแกรมฟ๊ อนท์ไทย(Thai font) ซึง่ เป็ นโปรแกรมแบบ True type ต้ องทาการ
ดัดแปลงวิธีการใช้ เพื่อให้ สามารถพิมพ์ข้อความออกมาเป็ นภาษาไทย โดยการทาข้ อความภาษาไทยให้ เป็ นเสมือนหนึง่
เป็ นรูป (Image)แล้ วนามาวางใส่ในตาแหน่งที่ต้องการ
การสร้ างข้ อความให้ เป็ นเสมือนหนึง่ เป็ นรูปภาพ (Image)สามารถทาโดยอาศัยโปรแกรมPaint ที่มีมากับWindows
ซึง่ หาได้ โดยการคลิกStart>All programs>Accessories>Paint แล้ วทาตามขั ้นตอน ดังวิธีการต่อไปนี ้
 เปิ ดโปรแกรมPaint แล้ ว คลิกDragแถบพื ้นสีขาวบนจอของPaintโดยเริ่มจากจุดปลายล่างขวาสุดแล้ วร่นขึ ้นมา
ให้ มีพื ้นที่แถบขาวน้ อยที่สดุ เท่าที่พอวางข้ อความ ดังรูปข้ างล่าง

คลิกและDragพื ้นแถบ
ขาวโดยเริ่ มจากจุด
ปลายล่างสุดมุมขวา
97

3.คลิกพิมพ์
ข้ อความภาษาไทย
1.คลิกตัวอักษร Aซึง่ เป็ น
สัญลักษณ์ให้ พิมพ์ข้อความ
2.คลิกปลายแถบขาวแล้ ว
Drag แถบขาวออกมาให้
ยาวพอที่จะบรรจุข้อความได้
และเมื่อพิมพ์ข้อความเสร็ จ
แล้ วให้ ปรับแถบขาวอีกครัง้

 คลิกที่แถบขาวที่จะพิมพ์ใส่ข้อความ จะเห็นมีText boxปรากฏขึ ้นมา


 เลือกคุณสมบัติของตัวอักษร(Font)ในText box โดยเลือกชนิดของตัวอักษร ขนาด และ เลือกภาษาไทยแล้ ว
ให้ พิมพ์อกั ษรไทยเหมือนที่เราพิมพ์ไทยลงบนไมโครซอร์ ฟออฟฟิ ส ลงไปบริเวณแถบขาวโดยปรับแต่งแถบขาวให้ รองรับ
ข้ อความพอดีกบั ตัวอักษรที่พิมพ์ ดังรูปข้ างล่าง

ปรับขนาดของแถบ
ขาวให้ เท่ากับข้อความ

 Saveเก็บข้ อความที่พิมพ์ ไว้ ที่Pathที่เราสามารถเปิ ดดูได้ ง่าย เช่นเดียวกับที่เราพิมพ์งานทั่วไปแล้ วไปบันทึก


(Save as)ที่ Path ที่เราคุ้นเคย ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกSave as

2.เลือกPathทีจ่ ะSave

รูปแสดงคาสัง่ การใช้ คาสัง่ Save as ข้ อความ เก็บไว้ ที่Pathที่เราต้ องการ

 เปิ ดLibreCAD โดยคลิกเมนูหลัก หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) แล้ วคลิกDraw>Insert Image ดังรูป
ข้ างล่าง
98

โปรแกรมLibreCAD จะให้ เราค้ นหา(Browse) และนาเอาข้ อความที่เราบันทึกหรือ Saveไว้ ในโฟลเดอร์ หรือ


Pathที่เรากาหนด คลิกที่ข้อความแล้ วคลิกOpenที่หน้ าต่าง ของPathนั ้น จากนั ้นโปรแกรมLibreCAD จะนาข้ อความ
นั ้นไปวางไว้ ที่แบบในตาแหน่งที่ต้องการดังรูปข้ างล่าง

่ บริษัท
ชือ

 เมื่อใส่ข้อความแรกแล้ วเราก็นาข้ อความอื่นๆมาใส่โดยวิธีการเดียวกัน จนกระทั่งได้ ข้อความทั ้งหมดตามที่เรา


ต้ องการ ดังรูปข้ างล่าง

ในกรณีที่เราเลือกพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area or model space)เป็ นพื ้นสีดา ในการวาง


ข้ อความจะเป็ นแถบขาวที่เป็ นพื ้นของตัวหนังสือ แต่เวลาเราพิมพ์ (Print)กระดาษแบบแปลนออกมาก็เป็ นปกติเหมือน
99

บริเวณ ใกล้ เคียงซึ่งเราอาจเปิ ดดูโครงร่างก่อนพิมพ์แบบแปลน (Print preview ) ดูก่อนพิมพ์แบบแปลนงานออกมาดัง


รูปข้ างล่าง

รูปแสดงพื ้นที่เขียนแบบถูก
ตั ้งค่าเป็ นพื ้น(Background)สีดา

รูปแสดงที่ Print preview

 อนึง่ ถ้ าเกรงว่าข้ อความภาษาไทยที่นามาใส่ในแบบที่เราเขียนขึ ้นมาจะไม่ชดั เนื่องจากเป็ นข้ อความที่พิมพ์จาก


Image เราอาจพิมพ์ตวั อักษรแบบเส้ นหนาที่เราสามารถเลือกกาหนดก่อนการพิมพ์ในบริเวณการทางานของโปรแกรม
Paint ที่ปรากฏให้ เราเลือกได้ เช่นเดียวกับการพิมพ์งานบนไมโครซอร์ ฟออฟฟิ ส
100

ตัวอย่างการพิมพ์ภาษาไทยลงบนแบบLibreCAD

Hatch ( การทาลวดลายในรู ปภาพ)


การเขียนหรือทาลวดลายในรูปภาพที่เขียนนั ้นเพื่อแสดงให้ เห็นถึงความแตกต่างของชิ ้นงานต่างๆใน
แบบหรือเป็ นการเน้ นหรือทาให้ รูปภาพนั ้นเด่นชัดขึ ้น มีลวดลายหลากหลายให้ เลือกในการทาหรือเขียนลวดลายใน
รูปภาพ สิง่ สาคัญประการหนึง่ คือบริเวณหรืออาณาเขตของพื ้นที่ที่จะทาลวดลายต้ องมีลกั ษณะการเขียนแบบของเส้ น
เป็ นแบบปิ ดคือบรรจบกันที่จุดเริ่มต้ นและจุดสุดท้ าย(Close ended) เช่นเป็ นรูปเหลีย่ มPolygon (สามเหลี่ยม, สีเ่ หลีย่ ม
ฯลฯ)หรือรูปวงกลม เป็ นต้ น มิฉะนั ้นแล้ วจะไม่เกิดลวดลายที่รูปภาพที่เราต้ องการทาถึงแม้ จะทาตามขั ้นตอนทุกประการ
 ทดสอบเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมารูปหนึง่ ต้ องระวังเรื่องมาตราส่วนด้ วยมิฉะนั ้นลวดลายที่สร้ างขึ ้นมาจะเป็ นมาตรา
ส่วนไปด้ วย คลิกปุ่ มHatchที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูข้างซ้ ายมือ(Main CAD tools)โดยคลิกDraw>Hatch แล้ ว
คลิกเลือกทุกด้ านหรือคลิกSelect >Select window แล้ วลากสีเ่ หลีย่ มจากSelect windowมาคลุมบริเวณที่ต้องการทา
ลวดลาย ในที่นี ้เราจะคลุมรูปสีเ่ หลีย่ มที่เราเขียนขึ ้นมา เสร็จแล้ วกดEnter
 สังเกตจะพบมีหน้ าต่างเล็ก(Choose Hatch Attributes)ปรากฏขึน้ มา
 ถ้ าเรากาเครื่องหมายถูก ที่Solid fill เราจะได้ ลวดลาย(Hatch)เป็ นสีพื ้นแล้ วแต่สที ี่เราเลือก ทั ้งนี ้ขึ ้นอยู่กบั เรา
กาหนดสีในเลเยอร์ ดังรูปข้ างล่าง
101

รูปแสดงการทาลวดลาย(Hatch)แบบSolid fill
 ถ้ าเราเลือกลายที่ไม่ใช่Solid fill โดยเอาเครื่องหมายถูก ออกจากช่องหน้ าSolid fill เราสามารถเลือกลายต่างๆ
ในช่องให้ เลือกชนิดลวดลาย ในที่นี ้เราเลือกลายแบบansi31 และจะมีลวดลายชนิด ansi31 ปรากฏให้ เห็นที่หน้ าต่าง
เล็ก(Enable preview)
 กาหนดให้ มาตราส่วนของลวดลายที่เลือก(Scale) =2 กาหนดมุมเอียงของลวดลาย(Angle)=0 ดังรูปข้ างล่าง
แล้ วคลิกOK. จะได้ แบบดังรูปล่าง

 จะปรากฏรูปลาย(Hatch)ขึ ้นเป็ นเส้ นประสีแดงที่บริเวณที่เราเลือกทาลวดลาย(Hatch)บนพื ้นที่เขียนแบบ


 คลิกเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ทีS่ elect>Deselect all จะปรากฏให้ เห็นดังรูปข้ างล่าง
102

รูปแสดงลวดลายแบบansi31
scale=2
 จะสังเกตว่าจะเกิดลวดลายเกิดขึ ้นมาในรูปสีเ่ หลีย่ มใหญ่ที่เราเขียนขึ ้นมาและบรรจุเต็มในรูปสีเ่ หลีย่ ม เนื่องจาก
เราให้ Scale=2 ซึง่ มันใหญ่เกินไป ต่อไปลองให้ Scale=1 จะได้ แบบดังรูปช้ างล่าง

 จะปรากฏรูปลาย(Hatch)ขึ ้นเป็ นเส้ นประสีแดงที่บริเวณที่เราเลือกทาลวดลาย(Hatch)บนพื ้นที่เขียนแบบ


 คลิกเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ทีS่ elect>Deselect all จะปรากฏให้ เห็นดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงลวดลายแบบansi31
scale=1
 อนึง่ ในทางปฏิบตั ิจะพบสาเหตุที่เราไม่สามารถทาให้ เกิดลวดลาย(Hatch) ได้ หลายประการอาทิเช่น
103

 ไม่ได้ ปิดโหมดDraft(Draft mode)ให้ ทาการคลิกที่เมนูหลัก(Top menu)แล้ วคลิกView>Draft


 พื ้นที่ที่จะทาลวดลาย(Hatch)ไม่ชดั เจน ให้ ทาการขยาย(Zoom)โดยการคลิกไอคอนWindow zoom ที่Top
toolbarหรือคลิกView>Window zoom แล้ วคลิกซูมบริเวณที่จะทาลวดลาย(Hatch) จะทาให้ เรามองเห็นชัด
 มีเส้ นทับซ้ อนหรือเส้ นตัดกันหลายเส้ น เราอาจทาการคัดลอก (Move and Copy) บริเวณนั ้นออกมาข้ างนอก
พื ้นที่ที่ทางาน แล้ วทาลวดลาย(Hatch) ขึ ้นมาที่บริเวณข้ างนอกรูป จากนั ้นเราก็นาลวดลายที่ทาได้ แล้ ว ไปวางใน
บริเวณเดิมที่เราต้ องการทาลวดลาย(Hatch)

Insert image (การวางรู ปภาพบนพืน้ ที่เขียนแบบ)


ในโปรแกรมเขียนแบบ LibreCAD สามารถเขียนรูปเค้ าโครงจากรูปที่เราต้ องการ เพื่อให้ มีลกั ษณะเหมือนกับ
รูปภาพหรือใกล้ เคียงกับรูปภาพที่นามาทา โดยมีวิธีการดังต่อไปนี ้
 นารูปหรือภาพจากข้ างนอกที่เก็บไว้ ในคอมพิวเตอร์ และต้ องการแสดงในLibreCAD โดยการคลิกเมนูหลักที่
Draw>Insert image หรือคลิกไอคอน Insert image บนเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)
 จากนั ้นโปรแกรมLibreCAD จะให้ เราค้ นหา(Browse)รูป หรือภาพที่เราsave หรือเก็บไว้ ในโฟลเดอร์ ที่Pathที่
ต้ องการ
 คลิกรูปหรือภาพที่ต้องการและคลิกOpen บนหน้ าต่างของPath (Browse)นั ้น
 นามาคลิกวางในพื ้นที่เขียนแบบดังรูปข้ างล่าง

2.นารูปจากข้างนอกโดยBrowseหา
ที่Pathที่เก็บรูปไว้ แล้วคลิกวาง

1.คลิกInsert image

 จะเห็นได้ ว่าฟั งชัน่ นี ้มีประโยชน์ ในการนาเอารูปภาพมาเขียนโครงร่างหรือส่วนอื่นของภาพไปใช้ งานในพิ ้นที่


เขียนแบบ
 ถ้ านารูปภาพมาเขียนโครงร่างทั ้งหมดเสร็ จให้ คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
 คลิกที่รูปภาพ แล้ วกดปุ่ มDelete ที่แป้นพิมพ์ ดังแสดงในรูปข้ างล่าง
104

1.เขียนเส้ นโครงร่ าง
ทังหมด
้ แล้ วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่

2.คลิกทีร่ ูป
3.กดปุ่ มDelete
ที่แป้นพิมพ์

รูปแสดงการนาภาพมาเขียนโครงล่าง รูปแสดงโครงร่ างหลังเราDeleteรูปภาพนั ้นออกไป


105

บทที่9
Dimensions( การบอกขนาด)
ก่อนที่จะกาหนดให้ ขนาดในแบบ เราสามารถไปตั ้งค่าเกี่ยวกับการบอกขนาดโดยคลิกที่เมนเมนู
Edit>Current drawing preferences>Dimension แล้ วตั ้งค่าในช่องต่างๆตามความเหมาะสมบนหน้ าต่างDrawing
preferences ดังรูปข้ างล่าง

 ที่รายการตัง้ ค่ าDimension ของหน้ าต่างDrawing Preferences เราสามารถปรับตั ้งค่าลักษณะต่างๆเกี่ยวกับ


การบอกขนาด ดังต่อไปนี ้
 General Factor : บอกค่าของขนาดออกมามีค่าเท่ากับตัวคูณที่เรากาหนดให้ เช่นจากค่าความยาวที่แสดงอยู่
เท่ากับ100 ถ้ าเราระบุค่าที่General Factor=2 (ปกติมีค่า=1) เราจะพบตัวเลขของขนาดเปลีย่ นเป็ น200ทันทีหลังจาก
คลิกOK.
 General Scale:เป็ นการแสดงขนาดมาตราส่วนของตัวเลขหรือตัวอักษรให้ โตตามมาตราส่วนที่ระบุ จากปกติ
ที่กาหนดให้ มีค่าเท่ากับ1
 Text Height: กาหนดขนาดความสูงของตัวเลข
 Extension line extension: กาหนดความสูงของเส้ นปลายลูกศรบอกขนาดให้ สงู กว่าปลายลูกศรเท่าที่ระบุไว้
 Extension line offset : ระบุความห่างระหว่างเส้ นปลายลูกศรกับรู ป
 Dimension line gap : ระบุขนาดช่องว่างระหว่างเส้ นบอกขนาดกับตัวเลข
 Arrow size: ระบุขนาดหัวลูกศร
 Tick size : ระบุขนาดสัญลักษณ์ที่ปลายเส้ นบอกขนาด โดยปกติ ถ้ าสัญลักษณ์บอกขนาดเป็ นหัวลูกศรค่านี ้
(Tick size)จะมีค่าเท่ากับ0
 Alignment:เป็ นการจัดวางตัวเลขให้ สมั พันธ์ กบั เส้ นบอกขนาดว่าจะให้ เป็ นแบบใดระหว่างแบบDimension
aligned(ตัวเลขขนานกับเส้ นบอกขนาด) หรือจะวางแบบHorizontal (ตัวเลขตั ้งฉากกับเส้ นบอกขนาด)
106

 ทดสอบเขียนรูปเพื่อจะเขียนเส้ นบอกขนาดโดยเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้ าขึ ้นมาหนึ่งรูป และปรับตั ้งค่าตามตาราง


ที่ระบุไว้ ในหน้ าต่างของDrawing Preferences ดังรูปข้ างบน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกไอคอนDimension>Horizontal dimension
แล้ วคลิกจุดปลายสองมุมแนวนอน จะเห็นมีเส้ นบอกขนาดปรากฏขึ ้นมา ให้ เราเลือ่ นเส้ นบอกขนาดนี ้ขึ ้นไปวางบนรูปและ
คลิกซ้ าย ถ้ าหากเส้ นบอกขนาดไม่สามารถเลือ่ นขึ ้นไปเหนือรูปได้ ให้ เราปิ ดไอคอนSnapที่Top toolbar (ในเบื ้องต้ นเรา
อาจเปิ ด Snap on endpoints เพื่อง่ายต่อการคลิกจุด)
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกไอคอนVertical dimension แล้ วคลิกจุดปลาย
สองมุมแนวดิ่ง จะเห็นมีเส้ นบอกขนาดปรากฏขึ ้นมา ให้ เราเลือ่ นเส้ นบอกขนาดนี ้ออกไปวางเหนือรูปและคลิกซ้ าย ถ้ า
หากเส้ นบอกขนาดไม่สามารถเลือ่ นออกไปเหนือรูปได้ ให้ เราปิ ดไอคอนSnapที่ Top toolbar (ในเบื ้องต้ นเราอาจเปิ ด
Snap on endpoints เพื่อง่ายต่อการคลิกจุด) ดังรูปข้ างล่าง

รูปการบอกขนาดแบบ
Horizontal และVertical dimension

 ต่อไปลองเขียนเส้ นตรงเอียง ซึง่ การจะบอกให้ ขนาดให้ เราคลิก Aligned dimension แล้ วคลิกจุดปลายทั ้งสองจะ
เห็นเส้ นบอกขนาดปรากฏขึ ้นมาขนานกับเส้ นเอียงนั ้น ซึง่ จะแสดงขนาดความยาวที่แท้ จริงของเส้ นนั ้น
 ต่อไปคลิกไอคอนLinear dimension เราทาเหมือนกับการบอกขนาดข้ างต้ นคือคลิกปลายทั ้งสองของเส้ นตรง
นั ้นจะปรากฏเส้ นบอกขนาดขึ ้นมาในแนวระดับ ดังรูปข้ างล่าง
107

Linear dimension

รูปแสดงAligned และLinear
dimension
 เขียนวงกลมขึ ้นมาหนึ่งวง แล้ วคลิกไอคอน Diametric dimension และคลิกที่ขอบวงกลมจะปรากฏเส้ นบอก
ขนาดเส้ นผ่าศูนย์ กลางเกิดขึ ้นมา
 คลิกไอคอนRadial dimension แล้ วคลิกที่ขอบวงกลมจะปรากฏเส้ นบอกขนาดรัศมีเกิดขึ ้นดังแสดงในรูป
ข้ างล่าง

รูปแสดง Dimetricและ Radial


dimension
 ต่อไปเขียนเส้ นตรงสองเส้ นตั ้งฉากกันแล้ วคลิกไอคอน Angular dimension และให้ ทาตามคาสัง่ Command
line คือคลิกเส้ นที่หนึง่ แล้ วคลิกเส้ นตรงเส้ นที่สองจะปรากฏการบอกขนาดมุมเกิดขึ ้น ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงAngular dimension
108

 สาหรับเส้ นอีกเส้ นหนึ่งที่ระบุอยู่ในกลุม่ ของการบอกขนาด(Dimension)คือเส้ นLeader Line เป็ นเส้ นชี ้นาเพื่อ
จะมีรายละเอียดเป็ นข้ อความ(Text)แสดงประกอบด้ วย ซึง่ การเขียนเส้ นLeader นั ้นทาได้ โดยคลิกไอคอนLeaderแล้ ว
คลิกจุดแรกที่จะวางและคลิกจุดที่สองของเส้ น Leader จะปรากฏเส้ นLeaderขึ ้นมา ต่อไปเราต้ องไปคลิกไอคอนTextเพื่อ
จะนาข้ อความที่พิมพ์ออกมาวางที่ปลายเส้ น Leader Line ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงเส้ นLeader line

Dimensioning of Isometric Part ( การบอกขนาดชิน้ ส่ วนไอโซเมตริ ก )

 ทดสอบเขียนรูปไอโซเมตริกโดยไปตั ้งค่าที่ Edit>Current drawing preferences>Grid>Isometric gridแล้ ว


คลิก OK.
 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มไอโซเมตริก
 มาดูที่เมนูการบอกขนาด
 ปรับตั ้งค่าที่เกี่ยวกับDimension ในEdit>Current drawing preferences>Dimension แล้ วแก้ ไขค่าต่างๆ
ตามที่เราต้ องการ เช่น ขนาดตัวเลข ขนาดหัวลูกศร และอื่นๆ แล้ วคลิกOK.
 คลิกDimension>Align dimension
 หลังจากเลือกAlign
 คลิกที่จดุ ปลายข้ างหนึง่ ด้ านหรือเส้ นที่ต้องการบอกขนาด
 คลิกที่จดุ ปลายตรงข้ ามด้ านหรือเส้ นนั ้น
 โดยยังไม่ต้องคลิก เคลือ่ นเม๊ าส์ออกจากเส้ น และคลิกซ้ ายหนึ่งครัง้
 เคลือ่ นไปเส้ นต่อไป และทาซ ้าขั ้นตอน 1 2 และ3
 เมื่อเราให้ ขนาดเสร็ จทั ้งหมด ให้ คลิกขวาสองครัง้ เพื่อออกจากคาสัง่
109

รูปแสดงการบอกขนาดรูปไอโซ
เมตริก (Isometric dimension)

การบอกขนาดของรู ปสเก็ตช์
 บางครัง้ ในการเขียนแบบ การกาหนดค่าขนาดอาจไม่เป็ นไปตามรูปที่เขียนซึง่ เป็ นการเขียนแบบสเก็ตช์หรือ
เขียนหยาบๆ แต่เราต้ องการกาหนดตัวเลขของขนาดให้ เป็ นไปตามที่เราต้ องการ ดังตัวอย่างเราต้ องการเขียนรูป
สีเ่ หลีย่ มผืนผ้ าให้ มีขนาดกว้ าง1 M. ยาว2 M. แต่ในการเขียนแบบรู ปสีเ่ หลียมผืนผ้ า เราไม่เขียนตามสเกลหรือตามมาตรา
ส่วน เรามีวิธีการให้ ขนาดได้ ดงั นี ้
 เขียนเส้ นบอกขนาดที่ด้านกว้ างของรูปสีเ่ หลีย่ มโดยคลิกเมนูหลัก(Main menu)ที่Dimension>Vertical หรือ
คลิกไอคอนDimension>Vertical dimensionที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) แล้ วคลิกจุดที่มุมทั ้งสองในแนวตั ้ง จะได้
ค่าขนาดด้ านกว้ างตามจริ ง
 เขียนเส้ นบอกขนาดที่ด้านยาวของรูปสีเ่ หลี่ยมโดยคลิกเมนูหลักข้ างบนที่Dimension>Horizontalหรือคลิก
ไอคอนDimension>Horizontal dimensionที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) แล้ วคลิกจุดที่มมุ ทั ้งสองในแนวนอน จะได้
ค่าขนาดด้ านยาวตามจริง
 ที่เมนูหลักหรือไอคอนเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Modify>Explode
 คลิกวางCrosshair cursor (เคอร์ เซอร์ กากบาท)ที่เส้ นบอกขนาดทั ้งแนวตั ้งและแนวนอน เส้ นบอกขนาดและ
ตัวเลขบอกขนาดจะเปลี่ยนเป็ นเส้ นประ ดังรูปข้ างล่าง
110

3.คลิกเส้ นบอก
ขนาด
4.คลิกเส้ นบอก
ขนาด แล้ วกด
1.คลิก Modify Enter
2. คลิกเมนูย่อย
ของ Modifyที่
Explode

 กดEnter เส้ นประของเส้ นบอกขนาดและตัวเลขบอกขนาดจะเปลีย่ นเป็ นเส้ นเต็ม ที่ถกู การแตก(Explode)


 ลบหรือDelete ตัวเลขบอกขนาด ทั ้งสองค่าคือค่าบอกขนาดทางด้ านกว้ างและด้ านยาว โดยการคลิกที่ตัวเลข
ของทั ้งสองค่าแล้ วกดแป้นพิมพ์Delete ดังรูปข้ างล่าง

1.ลบตัวเลข
บอกขนาด

2..ลบตัวเลข
บอกขนาด

 ที่เมนูหลักข้ างบนคลิกDraw>Text แล้ วพิมพ์ที่ช่องตัวอักษร(Font setting) 1M , ที่ช่องAngle( มุม)ให้ พิมพ์


90องศาที่หน้ าต่าง Text แล้ วคลิกOK.นามาวางเป็ นค่าบอกขนาดด้ านกว้ าง ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกMulti 4.คลิกวาง
line Text ค่า 1M.

2.ระบุขนาด
3.ตัง้ ค่าเป็ น90 1M.
องศาแล้วคลิก
OK.
111

 ที่เมนูหลักข้ างบนคลิกDraw>Text แล้ วพิมพ์ช่องตัวอักษร(Font setting) 2M , ที่ช่องAngle( มุม) ให้ พิมพ์


0องศาที่หน้ าต่างText แล้ วคลิกOK.นามาวางเป็ นค่าบอกขนาดด้ านยาวดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกวาง
ค่า 2 M.

1.คลิกMulti
line Text

2.ระบุขนาด
3.ตัง้ ค่าเป็ น0 2 M.
องศาแล้วคลิก
OK.
112

บทที่10
Modify(การปรั บแต่ ง)
Modify เป็ นที่รวมคาสัง่ ในการปรับแต่งภาพหรือวัตถุชิ ้นงาน เพื่อวัตถุประสงค์ในการทาให้ การเขียน
แบบง่ายขึ ้น สะดวกขึ ้นหรือ ทาให้ วตั ถุหรือชิ ้นงานดูถกู ต้ องและสมบูรณ์ขึ ้น เราสามารถเรียกใช้ คาสัง่ Modifyได้ ทั ้งเมนู
หลัก(Main menu)และเมนูที่อยู่ทางซ้ ายมือ(Main CAD tools)มีรายละเอียดดังรูปข้ างล่าง

Modify

Move and copy Rotate

Scale Mirror

Move and rotate Rotate two


Trim Trim two
Lengthen Offset

Bevel Fillet

Divide Stretch
Property Attributes
Delete selected Explode

Explode text into letter Revert direction

รูปการใช้ คาสัง่ Modifyจากเมนูหลัก รูปการใช้ คาสัง่ Modify จาก Main CAD tools
(Main menu)

การทา Move และ Copy


การทาMove เป็ นการเปลีย่ นแปลงตาแหน่งที่อยู่ใหม่ของวัตถุหรือชิ ้นงาน(Object)ที่เราเขียนขึ ้นมาบนแบบ
การทาMove มีกรรมวิธีเช่นเดียวกับการทา Copy โดยคลิกเมนูหลัก(Main menu)ข้ างบนหรือคลิกไอคอนเมนู
ซ้ ายมือ(Main CAD tools)โดยการคลิก Modify>Move/copy
 ทดสอบการใช้ งาน Moveโดยการเขียนรูปสีเ่ หลีย่ มขึ ้นมาหนึง่ รูป
 เลือกด้ านสีด่ ้ านของรูปสีเ่ หลี่ยมโดยคลิกทีละด้ านหรือเลือกคลุมด้ านทั ้งหมดโดยคลิกที่เมนูซ้ายมือ (Main CAD
tools) ที่Select>Select window
 กดEnter ที่คีย์บอร์ ดคอมพิวเตอร์
 เลือกจุดอ้ างอิง โดยสามารถเลือกจุดที่เราต้ องการอ้ างอิง ในที่นี ้ เราเลือกจุดขวาล่างบนรูปสีเ่ หลีย่ ม
113

 เลือกTarget point (จุดที่จะวาง) โดยเลือกจุดใดจุดหนึง่ บนพื ้นที่เขียนแบบ แล้ วเคลือ่ นเม๊ าส์พร้ อมนารูปนั ้นไป
วางตาแหน่งที่ต้องการ ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย 4.คลิกเลือก
ของModifyที่ 3.คลิกเลือก จุดอ้ างอิง
Move/Copy ด้ านทังสี
้ ่แล้ว
กดEnter

5.คลิกจุดที่จะ
นารูปไปวาง

 จะมีหน้ าต่าง Move/copy option ปรากฏขึ ้นมา เราสามารถลบรูปเก่าหรือเก็บรูปเอาไว้ หรือทาสาเนาไว้


หลายๆรูป คลิกOK.ที่ข้างล่างของหน้ าต่าง Move/copy option ในขณะนี ้เราเลือกไม่เก็บรูปเก่าโดยคลิกDelete
original ดังรูปข้ างล่าง

6.เลือกค่าใน Move/Copy
option แล้ วคลิก ok.

 จะปรากฏเป็ นรูปเส้ นประของวัตถุหรือชิ ้นงานในทีนี ้เราให้ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ ม ให้ คลิกที่เส้ นประทั ้งหมดหรืออาจใช้
คาสัง่ จากเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกSelect> Deselect window แล้ วDrag
สีเ่ หลีย่ มคลุมรูปเส้ นประเหล่านั ้น หรือเราอาจคลิกที่ไอคอน Deselect all เพียงอย่างเดียว จะได้ รูปเป็ นเส้ นเต็ม
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
114

7.คลิกที่เส้ นประทังหมดหรื
้ อคลิกDe
select window คลุมเส้ นทังหมด

หรื อคลิก Deselect all จะ
เปลี่ยนเป็ นเส้ นเต็ม

รูปแสดงการทาMove]
การทาCopy
 การทาCopy เป็ นการคัดลอกหรือทาสาเนาวัตถุหรื อชิ ้นงานที่เราเขียนขึ ้นมาให้ ซ ้ากันและสามารถคัดลอกได้
หลายๆชิ ้นในคราวเดียวกัน มีกรรมวิธีการทาเช่นเดียวกับMove
 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มขึ ้นมาหนึง่ รูปเพื่อสาธิ ตการใช้ งานMoveและCopyและที่เมนูหลักข้ างบน( Main menu) คลิก
Modify>Move/copyหรือจะคลิกไอคอนที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิก Modify>Move/copy
 คลิกด้ านแต่ละด้ านของรูปสีเ่ หลีย่ ม หรือคลิกSelect>Select window แล้ วDrag คลุมรูปสีเ่ หลี่ยมที่ด้าน
ทั ้งหมด แล้ วกดEnter
 สังเกตดูในCommand lineบอกSpecify reference point คือให้ เราคลิกจุดReference point(จุดอ้ างอิง)ซึง่ เป็ น
จุดที่เราเลือกว่าจะเอาจุดนั ้นของรูปที่เราMove/copyไปวางจุดที่ๆเราต้ องการวาง(Target point) จุดReference point
อาจเป็ นจุดที่มุมใดมุมหนึง่ หรือจุดตรงกลางหรือที่ใดในรูปก็ได้ ในที่นี ้เราคลิกจุดมุมล่างขวามือเป็ นจุดReference point
จะเห็นได้ ว่ารูปสีเ่ หลีย่ มจะเคลือ่ นไปกับเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์
 เมื่อเราต้ องการวางบนตาแหน่งที่ใดบนพื ้นที่เขียนแบบก็ให้ คลิกซ้ ายและมีหน้ าต่าง ของ Move/copy option
ปรากฏขึ ้นมาให้ เราเลือกว่าเราจะเก็บรูปเก่าที่เราทาการMove/copyเอาไว้ หรือต้ องการลบทิ ้ง หรือต้ องการทาสาเนา
เพิ่มขึ ้นอีกจานวนเท่ากับตัวเลขที่เราเติมในหน้ าต่างMove/copy option

1.คลิก Modify 3.คลิกเลือก


2.คลิกเมนูยอ่ ย ด้ านทังสี
้ ่แล้ว 4.คลิกเลือก
ของModifyที่ กดEnter จุดอ้ างอิง
Move/Copy

5.คลิกจุดที่จะ
นารูปไปวาง
115

6.คลิกปุ่ มMultiple
copies แล้ วเติม
จานวนที่ต้องการทา
สาเนา แล้ วคลิกok.

7.คลิกที่เส้ นประทังหมด

หรื อคลิกDe select
window คลุมเส้ นทังหมด้
หรื อคลิก Deselect all
จะเปลี่ยนเป็ นเส้ นเต็ม

รูปแสดงการทาCopy

 จากรูปบนเราทาการCopyโดยทาสาเนา3รูปสีเ่ หลีย่ มและรักษาหรือเก็บรูปเก่าต้ นฉบับไว้ ดังที่เรากาหนดใน


หน้ าต่างMove/copy option และคลิกOK. จะปรากฏรูปล่าสุดมีรูปสีเ่ หลีย่ มที่เป็ นเส้ นประเกิดขึ ้นจานวนสามรูป
 หลังจากนั ้นให้ คลิกเส้ นประทีละเส้ นหรือคลิกไอคอนSelect> De select window ที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD
tools)หรือจะเลือกจากเมนูหลักข้ างบนคลิก Select >Deselect window แล้ วDrag สีเ่ หลี่ยมคลุมรูปเส้ นประเหล่า นั ้น
หรือคลิกDeselect all เพียงอย่างเดียว จะได้ รูปตามแบบข้ างบน
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

Rotate (การหมุนวัตถุ )
Rotate (การหมุนวัตถุ) เป็ นการหมุนของวัตถุหรือชิ ้นงาน(Object) จากตาแหน่งเดิมแล้ วหมุนไปยังตาแหน่งที่
ต้ องการจากการกาหนดเป็ นองศาตามที่ต้องการบนพื ้นที่เขียนแบบ
 ทดสอบโดยเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมาหนึง่ รูป และที่เมนูหลักข้ างบนคลิกModify>Rotate หรือคลิกไอคอนที่เมนู
ซ้ ายมือ(Main CAD tools)คลิกไอคอนModify> Rotate
116

 คลิกทุกด้ านเพื่อทาการเลือกสาหรับทาRotateหรือคลิกเมนูซ้ายมือ(Main CAD toolsที่Select>select window


แล้ วDragคลุมทุกด้ านที่จะเลือกทาRotateตามคาสัง่ บนCommand line แล้ วกดEnter
 ที่Command line จะบอกให้ เราระบุจุดหมุน (Rotation center) ให้ เราคลิกจุดๆหนึง่ ที่ต้องการให้ วตั ถุนั ้นหมุน
รอบจุดหมุนนั ้น
 ต่อไปคลิกจุดReference point คือจุดอ้ างอิงที่เราต้ องการนาวัตถุนั ้นไปหมุนรอบๆจุดหมุน (Rotation center)
ถ้ าเราเลือกจุดตรงกลางเป็ นReference point วัตถุที่เราเลือกจะนาจุดศูนย์กลางชองวัตถุหมุนรอบจุดหมุน ถ้ าเราเลือก
จุดที่มมุ เป็ นReference point วัตถุจะพาจุดที่มมุ หมุนรอบจุดหมุน
 ในขณะนี ้เราจะเลือกจุดที่มมุ รูปสีเ่ หลีย่ มเป็ นReference point จะสังเกตว่าวัตถุหมุนไปรอบจุดหมุนที่เราเลือก
ไว้ แล้ ว เมื่อหมุนไปจุดๆที่จะวาง(Target point)ให้ คลิกซ้ าย จะเห็นมีหน้ าต่างเล็ก(Rotation options)ปรากฏขึ ้นมาให้ เรา
เลือกว่า ต้ องการลบรูปเดิมหรือเก็บรูปเดิมไว้ หรือต้ องการทาสาเนารูปนัน้ ขึ ้นมาใหม่อีกกี่รูป ในที่นี ้เราเลือกทาสาเนา4
รูปและเลือกที่จะเก็บรักษารู ปเดิมเอาไว้
 และในหน้ าต่างเล็กนั ้นยังให้ เราเลือกเติมตัวเลขจานวนองศา(มุม)ของรูปที่จะวาง ในที่นี ้เราเลือกเติม45องศา
 คลิกOK. ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย 4. ระบุจดุ หมุน
ของModifyที่
Rotate

3.คลิกเลือก
ทุกด้ าน 5.คลิกจุดอ้ างอิง

6.เลือกค่าในRotation
options แล้ วคลิกok.
117

รูปแสดงการทาRotate

Scale ( การใช้ มาตราส่ วน )


การใช้ มาตราส่วน (Scale) เป็ นการเขียนรูปใหม่ให้ มีขนาดตามมาตราส่วนสัมพันธ์ กบั รูปเก่า
 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มขึ ้นมาหนึง่ รูปเพื่อใช้ สาธิตการใช้ มาตราส่วน และคลิกเมนูหลักข้ างบนหรือคลิกเมนูซ้ายมือ
(Main CAD tools) คลิก Modify>Scale
 คลิกด้ านทั ้งหมดของรู ปสีเ่ หลีย่ มเพื่อทามาตราส่วนตามคาสัง่ ในCommand line (อาจคลิกครั ้งละด้ านหรือใช้
Select window จากเมนูSelect ที่เมนูซ้ายมือคลุมหมดทั ้งรูป) แล้ วกดEnter
 คลิกจุดใดจุดหนึง่ ที่รูปสีเ่ หลีย่ มเดิมเพื่อใช้ เป็ นจุดอ้ างอิง (Reference point)จะมีหน้ าต่างเล็กๆ(Scaling option)
ปรากฏขึ ้นมาให้ เราเลือก ในขณะนี ้เราเลือกจุดล่างซ้ ายมือเป็ นจุด Reference point รูปใหม่ที่เกิดขึ ้นจะอ้ างอิงหรือ
เริ่มต้ นจากจุดนี ้ และที่หน้ าต่างScaling option เราคลิกที่มาตราส่วนแก้ ไขตัวเลขให้ เป็ น0.5 และในที่นี ้เราคลิก Keep
original เพื่อเก็บรักษารูปเดิม แล้ วคลิกOK.ที่หน้ าต่างScaling option
 จะเห็นได้ ว่ารูปสีเ่ หลีย่ มใหม่จะมีขนาดเป็ นครึ่งหนึง่ (มาตราส่วน 0.5)ของรูปเดิม

1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของModifyที่ 4.คลิกจุดอ้ างอิง
Scale
3.คลิกเลือกทุกด้ าน
แล้ วกด Enter
118

5.คลิกกาหนดมาตรา
ส่วน แล้วคลิกOk.

.
 จากหน้ าต่างScaling option เราเลือกให้ รูปใหม่มีมาตราส่วนลดลงโดยให้ มาตราส่วนทีแกนX=0.5 และที่แกน
Y=0.5 โดยเก็บรูปเก่าไว้ (Keep original) แล้ วคลิกOK. จะปรากฏภาพดังรูปข้ างล่าง

6.ลบรูปเก่าออกถ้ าไม่
ต้ องการโดยการคลิกที่
เส้ นทุกเส้ นของรูปเก่า
แล้ วกดแป้นDelete

 ถ้ าหากเราไม่ต้องการรูปเดิม(Original) เราสามารถลบทิ ้งในภายหลังได้ โดยคลิกทุกด้ านของรูปเดิม แล้ วกด


Delete ที่แป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ หรือลบโดยการคลิกที่เมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) คลิกไอคอนModify>Delete แล้ ว
คลิกทีละด้ านของรูปสีเ่ หลี่ยมเดิม(รูปสีเ่ หลีย่ มใหญ่)และเคาะEnter จะเหลือรู ปสีเ่ หลีย่ มรูปเล็ก(มาตราส่วน0.5) ดังรูป
ข้ างล่าง

รูปแสดงการเขียนรูปใหม่ให้ มีScale หรือมาตราส่วนลดลง0.5เท่าของรูปเดิม


119

การทาMirror
การทา Mirror เป็ นการใช้ คาสัง่ ทาให้ ภาพวัตถุหรือชิ ้นงานเกิดขึ ้นใหม่มีลกั ษณะต่างๆเหมือนกับต้ นฉบับ
เพียงแต่กลับด้ านจากซ้ ายเป็ นขวาเหมือนกับ รูปเกิดจากการสะท้ อนของกระจกเงา(Mirror)
 ทดสอบโดยเขียนรูปวัตถุใดๆรูปหนึง่ เพื่อทาการMirror ดังรู ปข้ างล่าง

5.Drag คลุมรูป
ทังหมด
้ แล้ วกด
Enter
1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของModifyที่ 3.คลิกเลือกรูปทังหมดโดยคลิ
้ ก
Select
Mirror
4.เลือกเมนูย่อยของSelectที่Select
window

 คลิกModify>Mirrorจากเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)


 คลิกเลือกวัตถุหรือรูปที่เราจะทาMirror โดยที่เมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิก
Select>Select Window แล้ วคลิกคลุมวัตถุที่เขียนขึ ้นมาก่อนทั ้งหมด แล้ วกดEnter
 แล้ วเลือกคลิกจุดใดจุดหนึง่ ของวัตถุที่เขียนตามคาสัง่ ในCommand line (Specify first point of mirror line
 แล้ วเลือกคลิกจุดที่สองของวัตถุที่เขียนตามคาสัง่ ในCommand line (Specify second point of mirror line)
 จะเห็นว่ามีรูปลอยขึ ้นมาเหมือนวัตถุที่เขียนแต่แรกเกิดขึ ้นที่เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ และให้ เราหมุนรูปนั ้นตาม
ต้ องการและคลิกซ้ าย จะมีหน้ าต่างMirroring optionปรากฏขึ ้นมาเพื่อให้ เราคลิกเลือกว่าต้ องการลบรูปเก่าหรือเก็บ
รักษารูปเก่าไว้ แล้ วคลิกOK. ในการทดสอบนี ้เราจะเก็บรูปเก่าไว้ (Keep original) ดังรูปข้ างล่าง

6.คลิกจุดที่หนึง่
และจุดที่สอง 7.เลือกค่าในMirroring
ของรูป option แล้ วคลิกOK.
120

รูปที่เกิดจากการทาMirror

 เราอาจเลือกทาMirrorเฉพาะบางส่วนของของวัตถุที่เขียนก็ได้ โดยคลิกเลือกบางด้ าน โดยเริ่มทาการMirrorใหม่


ให้ กลับไปที่เมนูคลิกModify>Mirrorแล้ วคลิกเลือกด้ านที่ต้องการทาMirror>Enter และทาตามวิธีการที่กล่าวมาแล้ ว
ข้ างต้ น ดังรูปข้ างล่าง
 อนึง่ ในการทาMirror เฉพาะบางส่วนของวัตถุ การเลือกด้ านหรือเส้ นที่เกิดจากการเขียนรูปที่ปลายบรรจบกัน
(Closed end line)เราจาเป็ นต้ องทาการExplode รูปนั ้นก่อนเพื่อให้ ด้านหรือเส้ นแต่ละเส้ นเป็ นอิสระต่อกันง่ายต่อการ
เลือกด้ านหรือเส้ น ถ้ าเราไม่ทาการExplode รูปนั ้น เวลาเราคลิกจะเลือกด้ านใดด้ านหนึง่ มันจะถูกเลือกไปหมดทั ้งรูป
สาหรับวิธีการExplode จะได้ กล่าวในคราวต่อไป
 เมื่อทาการเลือกด้ านใดด้ านหนึง่ หรือเส้ นใดเส้ นหนึ่งแล้ ว ก็ให้ ดาเนินการไปตามขั ้นตอนที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น
ดังรูปข้ างล่าง

คลิกเลือกส่วนที่
ต้ องการทาMirror

รูปแสดงการทาMirorเฉพาะส่วน
121

รูปที่เกิดจากการทาMirrorเฉพาะ
บางส่วน

การใช้ งานMove and Rotate


 การทาMove and Rotate จะเป็ นการทาให้ วัตถุเคลือ่ นไปและหมุนไปด้ วย ทดสอบโดยการเขียนรูปสีเ่ หลีย่ ม
ขึ ้นมาหนึง่ รูป
 จากเมนูหลัก(Main menu) หรือคลิกไอคอนจากเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกไอคอนModify>Move and
Rotate
 คลิกทีละด้ านของรูปสีเ่ หลี่ยมเพี่อเลือกทาMove and Rotateหรือคลิกเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools)ที่Select>
select window แล้ วDragคลุมทุกด้ านที่จะเลือกทาMove and Rotateตามคาสัง่ บนCommand line แล้ วกดEnter
 จะมีกล่องเลือกค่า(Option tool)ปรากฏขึ ้น เหนือพื ้นที่เขียนแบบ ให้ เราเลือกระบุองศา(มุม) ของวัตถุที่จะทา
การหมุน ในที่นี ้เราทดสอบให้ มุมเท่ากับ45องศา
 ระบุจดุ อ้ างอิง(Reference point)ของรูปสีเ่ หลีย่ ม แล้ วเคลือ่ นรูปสีเ่ หลีย่ มที่เกิดใหม่ไปวางจุดที่ต้องการ(Target
point) จะปรากฏหน้ าต่าง Move and Rotate option ขึ ้นมา

4.เลือกค่ามุมทีต่ ้ องการ

3.คลิกเลือกทุก 6.คลิกวางรูปใหม่
1.คลิก Modify
ด้ าน แล้วกด
2.คลิกเมนูยอ่ ย
Enter
ของModifyที่ 5.ระบุจดุ อ้ างอิง
Move and rotate

รูปแสดงการทาMove and Rotate


122

7.คลิกMultiple copies
และระบุจานวนรูปที่
ต้ องการแล้วคลิกOK.

 คลิกเลือกทาสาเนาMultiple copies และระบุจานวนรูปที่ต้องการทาสาเนา(Copy) ในที่นี ้เราต้ องการสีเ่ หลีย่ ม


จานวน4 รูป แล้ วคลิก OK. จะปรากฏให้ เห็นดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการทาMove and rotate

การใช้ คาสั่ง Rotate two


การใช้ คาสัง่ Rotate two เป็ นการสร้ างรูปสาเนาใหม่ขึ ้นมาอีกหนึง่ หรือมากกว่าหนึง่ รูปโดยมีแกนทามุมทั ้งสอง
มุมดังที่เราต้ องการ
 ทดสอบโดยการเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมผืนผ้ าขึ ้นมาหนึง่ รูป
 ที่เมนูหลักข้ างบน(Main menu) หรือที่ไอคอนเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Modify> Rotate two
 คลิกด้ านทั ้งสีห่ รือคลิกเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools)ที่Select>select windowแล้ วDragคลุมทุกด้ านที่จะ
เลือกทา Rotate two แล้ วกดEnter
 คลิกจุดอ้ างอิงหลักจุดแรกที่จดุ Origin และคลิกจุดอ้ างอิงรองจุดที่สองที่ตรงกลางของรูปสีเ่ หลี่ยม
 เติมค่ามุมที่หนึง่ และมุมที่สองดังแสดงในหน้ าต่างที่ปรากฏขึ ้นมา พร้ อมทั ้งแสดงความต้ องการรักษารูปเดิม
หรือไม่ พร้ อมทั ้งต้ อ งการให้ แสดงรูปสาเนาอีกกี่รูป ซึง่ เราสามารถระบุลงไปในหน้ าต่างนั ้น แล้ วคลิก OK. ดังแสดงในรูป
ข้ างล่าง ในที่นี ้ต้ องการทาสาเนาขึ ้นมาใหม่จานวน2รูปโดยทามุมที่1และมุมที่สองเท่ากันคือ30องศา
123

3.คลิกเลือก 5.คลิกจุดอ้ างอิง


ด้ านทังหมด
้ จุดที่สอง
1.คลิก Modify แล้ วกดEnter 6.คลิกระบุค่าใน
2.คลิกเมนูยอ่ ย Rotate two option
ของModifyที่ แล้ วคลิก OK.
4.คลิกจุดอ้ างอิง
Rotate two
จุดแรก

รูปแสดงการทาRotate two

การใช้ Revert direction


Revert direction เป็ นการเปลีย่ นทิศทางจุดเริ่มต้ นกลายเป็ นจุดสุดท้ ายภายในเส้ นนั ้น เราทดสอบได้ โดย
 คลิกเส้ นตรงเส้ นหนึง่ (สังเกตดูสที ี่จดุ ปลายทั ้งสองโดยคลิกที่เส้ นให้ เป็ นเส้ นประ จะพบว่าจุดเริ่มต้ นเป็ นสีเหลือง
ส่วนจุดสุดท้ ายเป็ นสีน ้าเงิน)
 ที่เมนูหลักข้ างบน(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิก Modify>Revert direction
 คลิกเส้ นตรงเส้ นนั ้นแล้ วกด Enterจะกลับกลายเป็ นเส้ นประสีแดง มีจดุ เริ่มต้ นเป็ นจุดสีน ้าเงิน และจุดปลายสุด
เป็ นจุดเหลือง
 จะสังเกตเห็นว่าจุดเริ่มของเส้ น(สีเหลือง)เปลีย่ นเป็ นจุดสุดท้ าย(สีน ้าเงิน) และจุดสุดท้ าย(สีน ้าเงิน)เปลีย่ นเป็ น
จุดเริ่มต้ น(สีเหลือง) ดังรูปข้ างล่าง
124

3.คลิกที่เส้ นแล้ ว
กดEnter
จุดสุดท้ าย(สีน ้าเงิน)
1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย จุดเริ่ มต้ น(สีเหลือง)
ของModifyที่
Revert direction

รูปแสดงก่อนการใช้ คาสัง่ Revert


direction

จุดสุดท้ าย(สีเหลือง)

จุดแรก(สีน ้าเงิน)

รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Revert


direction

การใช้ คาสั่งTrim
การใช้ คาสัง่ Trim เป็ นการเลาะหรือขลิบเส้ นส่วนที่ไม่ต้องการทิ ้ง อันเนื่องมาจากการตัดกันของเส้ นสองเส้ น ดัง
ตัวอย่างมีเส้ นสองเส้ นตัดกัน
 ทดสอบการใช้ งานTrimโดยเลือกเมนูหลักข้ างบน(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก
Modify>Trim
 จากเส้ นตัดกันสองเส้ นที่เขียนไว้ ก่อนนั ้นให้ คลิกเส้ นตัดที่ไม่ต้องการเลาะหรือขลิบ เส้ นจะเปลี่ยนเป็ นสีเทา
 คลิกเส้ นตัดอีกเส้ นที่ไม่ต้องการถูกเลาะออก(เส้ นที่ต้องการเก็บหรื อรักษาไว้ ) จะปรากฏเส้ นถูกเลาะออกจาก
เส้ นตัดที่เราคลิกครั ้งแรก(ส่วนของเส้ นที่ไม่ได้ คลิกจะถูกเลาะหรือขลิบออกไป)
 คลิกขวาหนึง่ ครั ้ง เส้ นสีเทาจะกลับเป็ นสีดา
 คลิกขวาอีกครั ้งเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
125

1.คลิก Modify 3.คลิกเส้ นตัด


2.คลิกเมนูยอ่ ย (จะเปลี่ยนเป็ นสี
ของModifyที่ เทา)
Trim

รูปแสดงวิธีการใช้ คาสัง่ Trim

5.เส้ นส่วนที่ไม่ได้
คลิกจะหายไป
แล้ วคลิกขวาเพื่อ
4.คลิกเส้ นทีต่ ้ องการ ออกจากคาสัง่
เก็บไว้ แล้ วคลิกขวา
เพี่อให้ เส้ นสีเทาเป็ น
สีดา

รูปแสดงหลังการใช้ คาสัง่ Trim

 ต่อไปทาการ ทดสอบการทาTrimแบบเลาะออกสองเส้ น(Modify>Trim two) ซึง่ มีวิธีการทาเช่นเดียวกับที่


กล่าวมาแล้ ว ข้ างบน(Modify>Trim)ต่างกันก็ที่การใช้ คาสัง่ คลิก Modify>Trim two
 คลิกเส้ นที่หนึง่ ที่ไม่ต้องการเลาะออก และคลิกเส้ นที่สองที่ไม่ต้องการเลาะออก แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

3.คลิกเส้ นที่
1.คลิก Modify หนึง่
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของModifyที่
Trim two

4.คลิกเส้ นที่สอง
แล้ วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Trim two


126

การใช้ คาสั่ง Lengthen

การใช้ คาสัง่ Lengthen เป็ นการขยายความยาวของเส้ นเพี่อให้ เชื่อมต่อกับส่วนที่ต้องการ


 ทดสอบการเขียนเส้ นต่อ(Lengthen) โดยการเขียนรูปไอโซเมตริก แต่เส้ นขาดไปส่วนหนึง่ ดังรูปข้ างล่าง

 จากรูปข้ างบน เส้ นขนานจะไม่ชนกัน นัน่ หมายถึงเราจะต้ องโมดิ ฟายเส้ นโดยการเขียนเส้ นให้ ต่อกัน เราทาได้
โดยการใช้ เมนูโมดิฟายจากเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Modify>Lengthen
 ให้ เราเคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์คลิกที่Command line และพิมพ์2หรือ3 แล้ วกดEnter หรืออาจจะพิมพ์ 2หรือ3
ที่กล่องเลือกค่า(Option tool)ที่ปรากฏอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ( ตัวเลขที่ระบุเป็ นความยาวที่เราต้ องการต่อขยาย)และ
โดยที่เรายังไม่ต้องคลิกที่เม๊ าส์ ให้ เคลือ่ นมันไปวางบนเส้ นแนวดิ่งตรงตาแหน่งที่จะต่อขยายความยาว และคลิกหนึง่ ครัง้
ด้ วยปุ่ มซ้ ายของเม๊ าส์
 การกาหนดขนาดความยาวต่อขยาย(Lengthen)ที่กล่องเลือกค่า(Option tool)เหนือพื ้นที่เขียนแบบนั ้น เรา
สามารถเติมตัวเลขทั ้งเป็ นค่าเพิ่มหรือค่าลดได้ ถ้ าไม่คลิกเครื่องหมายถูกที่ท้ายกล่องนั ้นแสดงว่าค่าที่เติมลงไปเป็ นค่า
เพิ่ม(ความยาวถูกต่อเพิ่ม) ถ้ าต้ องการความยาวลดลงให้ ยาวเท่ากับตัวเลขในกล่องเลือกค่า(Option tool)ให้ คลิกท้ าย
กล่องเลือกค่า(Option tool)ให้ มเี ครื่องหมายถูก ดังรูปข้ างล่าง (ต่อขยายความยาวเพิ่มโดยไม่คลิกให้ มีเครื่องหมายถูก
ท้ ายกล่องเลือกค่า)

3.พิมพ์ค่าความยาวที่ที่กล่อง
1.คลิก Modify เลือกค่าหรือพิมพ์ที่Command
2.คลิกเมนูยอ่ ย lineแล้ วกดEnter
ของModifyที่
4.คลิกส่วนที่
Lengthen
ต้ องการต่อขยาย

รูปแสดงการทาLengthen
127

ผลลัพธ์ ที่ได้ จะแสดงดังภาพข้ างบน ขณะนี ้ทั ้งหมดที่เหลือเพียงขั ้นตอนการใช้ เครื่องมื อTrimเพี่อทาการ
ขลิบเส้ นที่ไม่ต้องการออกไป ดังรูปข้ างล่าง

5.ทาการTrimความ
ยาวส่วนเกิน

รูปแสดงหลังการทาTrim

การเขียน Offset(ขนานกัน)
การเขียน Offsetเป็ นการเขียนเส้ นใหม่อาจเป็ นเส้ นตรงหรือเส้ นโค้ งเพื่อให้ ขนานกันกับเส้ นเดิม
 ทดสอบโดยเขียนเส้ นตรงใดๆหรือส่วนโค้ งขึ ้นมาเส้ นหนึง่ ในที่นี ้เราจะเขียนเป็ นส่วนโค้ ง
 คลิกเมนูหลัก(Main menu)ข้ างบนหรือไอคอนที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกที่Modify>Offset
 คลิกเส้ นเดิมที่จะทาOffset แล้ วกดEnter
 กาหนดค่าระยะห่างของเส้ นที่จะขนานกันจากกล่องเลือกค่า(Option tool )เหนือพื ้นที่เขียนแบบ ในที่นี ้กาหนด
ให้ มีค่าเท่ากับ5 มม.
 เลือกตาแหน่งทีจะวางเส้ นขนานกับเส้ นเดิม แล้ วคลิกซ้ าย และคลิกเส้ นใหม่อีกครัง้ (เส้ นประ) จะปรากฏดังรูป
ข้ างล่าง แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

3.คลิกเส้ นเดิม
1.คลิก Modify แล้ วกดEnter
4.เลือกเติมค่า
2.คลิกเมนูยอ่ ย ระยะห่างระหว่าง
ของModifyที่ เส้ นขนาน
Offset 5.วางตาแหน่งที่
ต้ องการแล้ว
6.คลิกเส้ นประ
คลิกซ้าย
อีกครัง้

รูปแสดงวิธีการทาOffset
128

7.คลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

รูปแสดงหลังการทาOffset

การทาลบมุม การทามุมมน (Bevel. round)


เราสามารถปรับแต่ง(Modify)รูปของวัตถุหรือชิ ้นงานที่เราเขียนขึ ้นมาให้ มีมุมป้านหรือลบมุม(Bevel)หรือทาให้
มุมมน(Round orfillet ) ซึง่ เป็ นสิง่ ที่สาคัญและมีการใช้ งานบ่อย
 ทดสอบโดยการเขียนเส้ นตรงแนวดิ่งหนึง่ เส้ น และแนวนอนหนึ่งเส้ นบรรจบกันเป็ นมุมฉาก ที่มมุ หนึง่ ข้ างล่าง
แล้ วคลิกเมนูหลัก (Main menu) หรือเมนูไอคอนซ้ ายมือ(Main CAD tools) คลิก Modify>Bevelสังเกตดูเหนือพื ้นที่เขียน
แบบ(Main drawing area)จะพบว่ามีกล่องเลือกค่า(Option tool )เกี่ยวกับการทาBevelเกิดขึ ้นคือมีแถบTrim( ซึง่ เรา
สามารถเลือกว่าจะทาTrimหรือไม่ทา),แถบLength1,Length2
 คลิกเส้ นตรงเส้ นที่1และคลิกเส้ นตรงเส้ นที่สอง จะเกิดรูปลบมุมตามค่าที่เราเลือกไว้ ในกล่องเลือกค่า(Option
tool) ซึง่ อยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบในขณะนี ้เราเลือกให้ มีTrim(กาเครื่องหมายถูกหน้ าคาว่าTrim) เราคลิกเส้ นแรกโดยให้
ความยาว5มม. (Length1=5) และคลิกเส้ นที่สองโดยให้ ความยาว15มม.(Length2=15) ดังนั ้นรูปที่ออกมาจะเป็ น
ลักษณะดังรูปข้ างล่าง แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

1.คลิก Modify 3.ตัง้ ค่าทีO่ ption tool


2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของModifyที่
Bevel
4.คลิกเส้ นที่หนึง่
5.คลิกเส้ นที่สองแล้ว
คลิกขวาเพื่อออก
จากคาสัง่
รูปแสดงการทาBevel(ลบมุม)
129

 เราลองทาBevelใหม่โดยแก้ ค่าที่กล่องเลือกค่า(Option tool) ซึง่ อยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบที่เกี่ยวข้ องกับการทา


Bevel คือไม่มีTrim(เอาเครื่องหมายออก) และให้ Length1=5, Length2=15 แล้ วคลิกด้ านที่1 และคลิกด้ านที่2
 เราจะพบว่ารูปที่เกิดขึ ้นจะมีการลบมุม(Bevel)แต่ไม่เกิดการลบหรือเลาะ(Trim)เส้ นเดิมออกดังรูปข้ างล่าง

ตัง้ ค่าไม่มTี rim

ผลของตัง้ ค่าไม่มTี rim

รูปแสดงการทาBevel(ลบมุม)ที่
ไม่ทาการTrim

 ต่อไปเราจะทาRoundหรื อFillet(มุมมน) ให้ เราคลิกModify>Fillet ที่เมนูหลัก(Main menu)ข้ างบนหรือเมนู


ซ้ ายมือ (Main CAD tools)จะพบว่ามีกล่องหรือแถบเครื่องมือให้ เลือก(Option tool)ปรากฏขึ ้นมาอยู่เหนือพื ้นที่เขียน
แบบ
 ที่แถบหรือกล่องเลือกค่า(Option tool)ให้ เราเลือกจะทาTrimหรือไม่ทาTrim และมีค่ารัศมีมมุ มนให้ เราเลือก
เติม แล้ วคลิกด้ านที่1 และคลิกด้ านที่2 .ในขณะนี ้เราจะทาการทดสอบโดยเลือกทาTrim และให้ มีรัศมี(Radius)=10
จะได้ รูปทีมนที่มมุ ตามรัศมีที่เราระบุและมีการขลิบเส้ นที่มมุ (Trim)ตามที่เราต้ องการดังรูปข้ างล่าง

3.ตัง้ ค่าทีO่ ption tool


1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย
4.คลิกเส้ นที่หนึง่
ของModifyที่
Round

5.คลิกเส้ นที่สองแล้ว
คลิกขวาเพื่อออก
จากตาสัง่
รูปแสดงการทาRound(มนมุม)
130

การใช้ คาสั่งDivide (การตัดเส้ น)


Divide เป็ นการใช้ คาสัง่ ในการแบ่งหรือแยกเส้ นเพื่อลบเอาส่วนที่แบ่งหรือแยกทิ ้งไป เส้ นที่ทาการ
Divide อาจเป็ นได้ ทั ้งเส้ นตรง เส้ นโค้ ง เส้ น Polyline วงกลม วงรี หรือรูปเหลีย่ มต่างๆ
 ทดสอบโดย เขียนวงกลมขึ ้นมาหนึง่ วงเพื่อทาการDivide(ตัดเส้ นส่วนโค้ งที่ไม่ต้องการทิ ้งไป) คลิกที่เมนูหลัก
ข้ างบน (Main menu) หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) โดยคลิก Modify>Divide แล้ วทาตามคาสัง่ บนCommand
line
 คลิกวงกลมที่จะทาการDivideโดยการคลิกจุดใดจุดใดจุดหนึ่งบนเส้ นรอบวง(เส้ นรอบวงจะเปลี่ยนเป็ นสีเทา)
อนึง่ เพื่อให้ เกิดความแม่นยาในการะบุจุดลงบนเส้ นรอบวง ให้ เราเปิ ดSnapโดยการคลิกไปที่ไอคอนSnap on entity ที่
แถบไอคอนเครื่องมือข้ างบน(Top toolbar)ก่อน
 คลิกจุดตัดจุดแรกบนเส้ นรอบวงตาแหน่งที่เราจะทาการDivide
 คลิกที่เส้ นรอบวงอีกครั ้ง (เส้ นรอบวงจะเปลีย่ นเป็ นสีเทา)
 คลิกจุดตัดจุดที่สองบนเส้ นรอบวงตาแหน่งที่เราจะทาการDivide
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ Divide
 คลิกซ้ ายที่เส้ นรอบวงนั ้น จะเห็นเส้ นโค้ งส่วนที่ถูกตัดเปลีย่ นจากเส้ นเต็มเป็ นเส้ นประสีแดงปรากฏขึ ้น และ
สังเกตจะพบจุดสีเหลือง(จุดตัดแรก)และจุดสีน ้าเงิน(จุดตัดที่สอง)ที่ปลายเส้ นประนั ้น
 กดDeleteที่คีย์บอร์ ด เพื่อลบส่วนที่ไม่ต้องการ จะเห็นว่ามีแต่เส้ นส่วนโค้ งที่เราเลือกเท่านั ้นดังแสดงในรูป
ข้ างล่าง

3.คลิกSnap on entity
5.คลิกจุดตัดจุดที่หนึง่
4.คลิกทีข่ อบวงกลม
8.คลิกทีว่ งกลมจะเห็นเส้ นประ
1.คลิก Modify .6.คลิกที่ขอบ
2.คลิกเมนูยอ่ ย วงกลมอีกครัง้
ของModifyที่
Divide 7.คลิกจุดตัดจุดที่สอง
แล้ วคลิกขวาเพื่อออก
จากคาสัง่

รูปแสดงวิธีการทาDivide
131

9.กดปุ่ มDeleteที่
แป้นพิมพ์จะเห็นเหลือ
เพียงส่วนโค้ งที่เรา
ต้ องการ

Stretch (การยืด)
Stretch (การยืด)เป็ นการยืดภาพหรือรูปของวัตถุหรือชิ ้นงานที่เราเขียนขึ ้นมาเพื่อให้ มีความสัมพันธ์ กบั รูปที่อยู่
ใกล้ เคียง เนื่องจากในความเป็ นจริงแล้ วเราอาจไม่สามารถเขียนแบบให้ สมบูรณ์ขึ ้นมาในคราวเดียวกันได้ จึงต้ องทาการ
ปรับแต่ง(Modify)รูปภาพอันเดิมให้ เป็ นรูปภาพใหม่ตามที่เราต้ องการ
 ต่อไปจะทดสอบการทาStretch หรือการยืด ให้ เราเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมาก่อนรูปหนึง่ เพื่อจะทา Stretch ให้ คลิก
เมนูหลักข้ างบน(Main menu)หรือเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools) แล้ วคลิกที่ Modify>Stretch
 อนึง่ เพื่อให้ เกิดความแม่นยาในการระบุจดุ ลงบนเส้ นรูปสีเ่ หลี่ยม ให้ เราเปิ ดSnapโดยการคลิกไปที่ไอคอนSnap
on end point ที่แถบเมนูเครื่องมือข้ างบน(Top toolbar)
 คลิกตามคาสัง่ บนCommand line คือคลิกมุมแรกและมุมที่สอง แล้ วกลับไปปิ ดSnap โดยการคลิก Snap on
end point (ให้ ปมุ่ Snap on end point นั ้นปิ ด)หรือถ้ าไม่ปิดปุ่ มSnap on end points เราอาจเปิ ดปุ่ มFree snap(ไอคอน
ตัวแรกซ้ ายสุดบนแถบ Top toolbar )ขึ ้นมาอีกปุ่ มก็ได้
 คลิกจุดอ้ างอิง(Reference point) ที่ใดที่หนึง่ บนรูปสีเ่ หลี่ยม จะเห็นว่ามีเส้ นลอยปรากฏขึ ้นมาจากมุมสองข้ าง
และเคลือ่ นไปพร้ อมกับเคอร์ เซอร์
 คลิกส่วนที่ยืดออกมาไปวางตาแหน่งที่ต้องการ
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
132

3.คลิกSnap on end point

4.คลิกมุมที่หนึง่ 6..คลิกจุดอ้ างอิง


1.คลิก Modify
2.คลิกเมนูยอ่ ย
ของModifyที่ 5.คลิกมุมที่สอง
Stretch แล้ วปิ ดSnap on
7.คลิกวางส่วนทีย่ ืด
ออกมาในตาแหน่งที่ end point
ต้ องการ แล้วคลิกขวา
เพื่อออกจากคาสัง่
รูปแสดงวิธีการทาStretch(การ
ยืด)

รูปแสดงการหลังจากการทา
Stretch (การยืด)

Properties or Edit entity geometry( การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเส้ นของวัตถุท่ เี ขียน)


เมื่อเราเขียนแบบเสร็จแล้ ว และอยากจะเปลีย่ นคุณสมบัติของเส้ น เราสามารถทาได้ โดยการกระทาที่เมนู
Modify เราสามารถทาการเปลีย่ นสีเส้ น ความหนา ชนิดของเส้ น และแม้ กระทัง่ เปลีย่ นแปลงความยาวและตาแหน่ง
ผ่านเมนูนี ้ ไปดูการทางานว่าจะทาได้ อย่างไร
 เลือกเส้ นที่จะทาการเปลี่ยนคุณสมบัติ โดยคลิกModifyที่เมนูหลัก(Main menu) ให้ เลือ่ นลงไปคลิกที่Properties
หรือจะไปที่ไอคอนเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิกไอคอนModify>Edit entity geometry
 ต่อไปนา crosshair(เคอร์ เซอร์ กากบาทที่เม๊ าส์) ไปวางที่เส้ นนั ้นบนพื ้นที่เขียนแบบแล้ วคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์หนึง่ ครั ้ง
เราจะพบมีหน้ าต่างของLine ปรากฏขึ ้นมาดังรูปข้ างล่าง
133

 จากตารางในหน้ าต่างของLine ดูที่หวั ข้ อการเลือกที่ซ้ายมือ ได้ แก่ สี(Color) ความกว้ าง(Width) และชนิดของ
เส้ น(Line type) สาหรับสี (Color)เราสามารถเปลี่ยนสีของเส้ นที่เราเลือก โดยการคลิกที่เมนูสีในแถบColor แล้ วเลือกสี
ที่เราต้ องการ เช่นถ้ าเราเลือกสีเขียวแล้ วคลิกOK. สังเกตเส้ นของรูปที่เราคลิกก่อนหน้ านี ้จะเป็ นสีเขียวดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกที่เส้ นทีจ่ ะทา


การเปลีย่ นสี
1.คลิก Modify 4.คลิกเลือกสี
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ แล้ วคลิกOK.
Modifyที่Edit entity
geometry

5.สีของเส้ นจะ
เปลี่ยนตามสีที่
เลือก

 ความกว้ างหรือความหนาของเส้ น(Line width) ก็สามารถเปลีย่ นได้ ในลักษณะเดียวกัน เรามีทางเลือกว่าจะให้


เส้ นหนา (Line width)เท่าใดก็เลือกเช่นวิธีการเหมือนการเลือกสี(Line color) ดังที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น สาหรับชนิดของ
134

เส้ น(Line type) ให้ วางcrosshair (เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์)ลงบนที่เส้ นแล้ วคลิกอีกครัง้ หนึง่ หน้ าต่างLineจะปรากฏขึ ้นมา
อีกครั ้งและครั ้งนี ้เราต้ องการคลิกชนิดของเส้ น (Line type) ให้ เลือ่ นลง(Drop –down)ในเมนูที่หน้ าต่างLine จะปรากฏให้
เห็น ชนิดของเส้ นแตกต่างกันหลายชนิดให้ เราเลือก เช่น ถ้ าเราต้ องการเลือกเส้ นประเล็กจากตารางที่เลือ่ นลงมาแล้ วคลิก
dash (Small) แล้ วคลิก OK. จะเห็นเส้ นบนพื ้นที่เขียนแบบในขณะนี ้จะเป็ นเส้ นประ(Dash line) ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกที่เส้ นทีจ่ ะทา


การเปลีย่ นชนิด

1.คลิก Modify 4.คลิกเลือกชนิด


2.คลิกเมนูยอ่ ยของ ของเส้ นแล้วคลิก
Modifyที่Edit entity OK.
geometry

5.ชนิดของเส้ น
จะเปลี่ยนตาม
ชนิดที่เลือก

รูปแสดงการเลือกชนิดของเส้ น

Edit entity attributes (การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเส้ นของรู ปในLayer )


การเปลีย่ นคุณสมบัติของเส้ นในรูปที่จะกล่าวนี ้เป็ นการระบุการเปลีย่ นในLayer ซึง่ มีขั ้นตอนการทางาน
คล้ ายกับการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเส้ นดังที่กล่าวมาข้ างต้ นก่อนหน้ านี ้
 ที่เมนูหลัก(Main menu)คลิกModify>Attributes หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิกModify> Edit
entity attributes แล้ วคลิกด้ านที่ต้องการเปลีย่ นแปลงคุณสมบัติ หรือคลิกไอคอนSelect>Select window แล้ วDrag
คลุมด้ านที่เราจะเลือก แล้ วกด Enter
 จะปรากฏหน้ าต่างAttributes ให้ เราเลือกสิง่ ที่จะเลือกคือสี(Color) , ขนาดความหนาของเส้ น (Width) และ
ชนิดของเส้ น (Line type) ดังรูปข้ างล่าง
135

 การทางานของ Edit entity geometry(Properties) จะมีวิธีการทางานคล้ ายคลึงกันกับ Edit entity attributes


เพียงแต่เพิ่มการแก้ ไขมากขึ ้นเกี่ยวกับจุดพิกดั (Coordinate)ในตารางหน้ าต่างของ Edit entity geometry (Properties)

Delete (การลบ)
 ที่เมนูซ้ายมือมีไอคอน Deleteซึง่ เป็ นคาสัง่ อยู่ในเมนูModify หรื อที่เมนูหลัก(Main menu)ข้ างบน ให้ เราคลิก
Modify>Delete เป็ นการทาการลบเส้ นหรือด้ านที่เราไม่ต้องการ
 ทดลอบการทางานของDelete โดยการเขียนเส้ นหรือรูปขึ ้นมาเวลาจะลบเส้ นหรือด้ านใดก็คลิกที่ปมไอคอน
ุ่
Delete หรือ Modify>Delete แล้ วนาCrosshair(กากบาทที่เกิดขึ ้นเคลือ่ นพร้ อมกับการเคลือ่ นที่ของเม๊ าส์) ไปวางด้ าน
หรือเส้ นนั ้นแล้ วคลิกซ้ ายที่เม๊ าส์ เส้ น หรือด้ านนั ้นจะเปลี่ยนจากเส้ นเต็มเป็ นเส้ นประ จากนั ้นให้ กดEnter เส้ นหรือด้ าน
นั ้นจะหายไป
 หรือเราอาจลบโดยคลิกเส้ นหรือด้ านที่ไม่ต้องการแล้ วคลิกด้ านบนเมนูที่Modify>Delete selected
 มีวิธีการลบอีกวิธีหนึง่ ซึง่ เป็ นปุ่ มลัด (Short key) คือให้ คลิกที่เส้ นหรือด้ านที่เราจะลบแล้ วตามด้ วยการกดปุ่ ม
Deleteที่แป้นพิมพ์(Key board)ของคอมพิวเตอร์ ดังรูปข้ างล่าง
136

1.คลิกModify
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Modifyที่Delete

3.คลิกเส้ นที่จะทาการ
ลบแล้วกดEnter หรื อกด
ที่ปมDeleteที
ุ่ ่แป้นพิมพ์

รูปแสดงวิธีการลบ(Delete) รูปแสดงหลังการทาการลบ(Delete)

Explode text into letters


Explode text into letters เป็ นการทาการแตกตัวจากกลุ่ม ข้ อความหรื ออาจเรี ยกว่าระเบิด (Explode)ของกลุ่ม
ข้ อความ ให้ ตวั อักษรในข้ อความนั ้นเป็ นอิสระแก่กนั ทาให้ เราสามารถแก้ ไขตัวอักษรทีละตัวซึ่งอิ สระกันไม่ต้องแก้ ทั ้งกลุ่ม
ข้ อความ(ปกติการจะแก้ ไขหรือทาอะไรที่ข้อความมันจะต้ องทาทั ้งกลุม่ ตัวอักษร)
 เราสามารถทดสอบโดยการเขียนกลุม่ ข้ อความขึ ้นมาแล้ วคลิกเมนูซ้ายมือ (Main CAD tools)ที่ไอคอนExplode
text into letters หรือคลิกเมนูด้านบนที่Modify>Explode text into letters
 นาเคอร์ เซอร์ กากบาทที่เกิดขึ ้นไปคลิกกลุ่มข้ อความ จะเห็นตัวอักษรจะเป็ นอิสระแก่กนั ลองคลิกดูที่ตวั อักษร
จะรู้ว่ามีลกั ษณะต่างกับก่อนทาการExplode text into letters
 ทดสอบลบตัวอักษรบางตัวในกลุม่ ข้ อความทิ ้งไป ดังรูปข้ างล่าง

4.ลบตัวอักษรบางตัว

1.คลิกModify
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ 3.คลิกกลุ่มข้อความ
Modifyที่Expiode แล้ วกดEnter
text into letters

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Explode


text into letter
137

Explode มีวิธีการทางานเช่นเดียวกับที่กล่าวข้ างต้ น (Explode text into letters) เพียงแต่ Explode เป็ นการ
กระทากับเส้ นหรือรูปทรงเรขาคณิต ไม่ได้ กระทากับข้ อความ ดังตัวอย่างรูปข้ างล่าง เราสามารถExplode เส้ นPolyline
ให้ แตกตัวออกมาเป็ นด้ านแต่ละด้ านอิสระกัน ซึง่ ง่ายต่อการจะทาการแก้ ไขเส้ นที่เราต้ องการโดยไม่ต้องไปแก้ ไขเส้ น
ทั ้งหมด

3.คลิกที่เส้ น
Polylineแล้ ว
กดEnter

4.เส้ นPolylineจะกลายเป็ น
1.คลิกModify เส้ นอิสระสามารถคลิกเลือก
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ เส้ นใดเส้ นหนึง่ ที่ใดก็ได้
Modifyที่Expiode

รูปแสดงวิธีการใช้ คาสัง่ Explode รูปแสดงหลังการทาExplode

Align
การทาAlign เป็ นการนาเอารูปที่เราต้ องการย้ ายไปวางในตาแหน่งและแนวที่เราต้ องการ
 ทดสอบโดยเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมารูปหนึง่
 ที่เมนูหลัก(Main menu)ข้ างบน คลิก Modify>Align
 คลิกทุกด้ านหรืออาจใช้ เครื่องมือ Select>Select windowที่เมนูหลักหรือเมนูซ้ายมือ แล้ วDragคลุมรูปสีเ่ หลีย่ ม
 กดEnter
 คลิกจุดอ้ างอิงจุดแรกที่รูปสีเ่ หลีย่ ม แล้ วคลิกจุดที่ต้องการวางจุดแรกนอกรูปสีเ่ หลีย่ ม
 คลิกจุดอ้ างอิงจุดที่สองที่รูปสีเ่ หลียม แล้ วคลิกจุดที่ต้องการวางจุดที่สองนอกรูปสีเ่ หลีย่ ม จะปรากฏรูปสีเ่ หลี่ยม
นั ้นเคลือ่ นไปอยู่ในตาแหน่งใหม่ในรูปของเส้ นประ
 ที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) คลิก Select>Deselect window แล้ วDragคลุมทุกด้ าน(เส้ นประทั ้งหมดแล้ ว
ปล่อยเม๊ าส์ หรืออาจคลิกที่ปมDeselect
ุ่ all อย่างเดียว จะได้ รูปสีเ่ หลีย่ มรูปเก่าแต่อยู่ในตาแหน่งใหม่
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง
138

3.คลิกเลือกทุกด้ าน
แล้ วกดEnter
4.คลิกจุดอ้ างอิงจุด
ที่หนึง่ แล้ วนาไปวาง
ตาแหน่งที่ต้องการ 1.คลิกModify
5..คลิกจุดอ้ างอิงจุดที่สอง 2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
แล้ วนาไปวางตาแหน่งที่ Modifyที่Align
ต้ องการ แล้วคลิกขวาเพื่อ
ออกจากคาสัง่

6.คลิกSelect>Deselect
window แล้วDragคลุม
เส้ นประของรูปสี่เหลียมหรือ
คลิกปุ่ ม Deselect all จะ
เปลี่ยนเป็ นเส้ นเต็ม

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Align


139

บทที่11
Snap
Snap เป็ นการกาหนดการเคลือ่ นที่ของ Crosshair cursor (เคอร์ เซอร์ รูปกากบาทของเม๊ าส์)ในลักษณะเกาะติด
หรือจับสิ่งที่เราเลือก เช่นจับที่Grid หรือจับที่จดุ ปลายของเส้ น หรือ จุดตัดของเส้ นตัดกัน เป็ นต้ น แล้ วแต่เราจะเลือกชนิด
ของSnap ให้ ทางาน เพี่อให้ เกิดความสะดวกและแม่นยาในการระบุจดุ บนพื ้นที่เขียนแบบ การเปิ ดSnapให้ ทางานในสิง่
ที่เราต้ องการแล้ ว เมื่อบรรลุจุดประสงค์แล้ วควรปิ ดการทางานของSnap แล้ วดาเนินการเขียนแบบต่อไป เพราะบางงาน
ของการดาเนินงานขั ้นตอนต่อไปอาจติดขัดเพราะเราเปิ ดSnap (Snap on)ค้ างไว้ ดังตัวอย่างเช่นถ้ าเราเขียนรูปสีเ่ หลีย่ ม
ขึ ้นมาหนึง่ รูปแต่เราคลิกที่ไอคอน Snap on entityจากแถบทูลล์บาร์ ข้างบน(Top toolbar)ซึง่ เราเรียกว่าเปิ ดSnap on
entityค้ างไว้ แล้ วเราลองเขียนรูปสีเ่ หลีย่ มใหม่อีกรูปนอกเขตรูปสีเ่ หลีย่ มเก่า จะเห็นว่าเราไม่สามารถเขี ยนรูปสีเ่ หลีย่ ม
ใหม่ได้ จนกว่าเราจะปิ ด Snap on entity โดยการคลิกที่ไอคอนตัวมัน(Snap on entity)อีกครั ้ง หรือเราอาจคลิกเปิ ด
ไอคอนFree snap อีกตัวที่ตั ้งอยู่มุมซ้ ายสุดบรรทัดเดียวกัน แล้ วเราสามารถเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมใหม่ได้ ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการเปิ ดSnap เพื่อให้


คลิกวางจุดได้ ง่ายขึ ้นและให้ ปิดSnap เมื่อเราจะเขียนเส้ นใหม่

รูปแสดงการเปิ ดFree snap ไว้


ถ้ าเราไม่ต้องการปิ ดโหมดSnap ตัวอื่น
140

การเลือกใช้ Snap (Snap selection )

Snap on grid เป็ นการSnapกับเส้ นGridที่มนั ตัดกัน คาสัง่ ในCommand line คือsg
ประโยชน์ของการใช้ Snap on grid คือถ้ าเราลองเขียนเส้ นตรงเส้ นหนึง่ โดยมีจดุ แรกที่จดุ บนGrid เวลาเราลากเส้ น
ตรงนี ้ไปมันจะไปเป็ นเส้ นตรง ซึ่งจะทาให้ เราเขียนแบบได้ ง่ายขึ ้น
 ทดสอบโดย คลิกเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก Line>Line with two points สังเกตก่อนที่เราจะคลิก
วางเส้ นนั ้นเราสามารถเคลือ่ นเคอร์ เซอร์ ไปได้ อย่างอิสระบนทุกที่จอเขียนแบบ รวมทัง้ บนจุดทุกจุดของGrid
 เรากลับมาคลิกSnap>snap on grid ที่แถบทูลล์บาร์ ข้างบน(Top toolbar) สังเกตเห็นได้ ว่าเมื่อเราเคลือ่ น
Crosshair(เคอร์ เซอร์ ที่เม๊ าส์) มันจะพยายามเคลือ่ นจับจุดของGridที่อยู่ใกล้ ที่สดุ กับCrosshair ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกSnap on grid

2.เขียนเส้ นตรง จุดแรกและจุดสุดท้าย


จะเคลื่อนไปเกาะจับติดกับจุดGrid

Free snap ยอมให้ Crosshair เคลือ่ นที่ได้ อิสระในขณะที่ยงั มีโหมดSnapตัวอื่นอยู่

Snap end point จะมีการSnapที่จดุ ปลายของเส้ นตรงหรือส่วนของเส้ นโค้ ง

Snap on Entity จะมีการSnapที่ใดที่หนึง่ บนเส้ นหรื อด้ านที่เขียน

Snap center เป็ นการSnapที่จดุ ศูนย์กลางของเส้ นที่เขียนส่วนใหญ่จะเป็ นส่วนโค้ งหรือวงกลม

วงรี ที่มีจดุ ศูนย์กลาง

Snap middle เป็ นการSnapที่กงึ่ กลางเส้ นที่เขียน


141

Snap distance ถ้ าเราSnapจุดปลายของเส้ นที่เขียนเส้ นหนึง่ แล้ วใช้ Snap distance ที่50
หน่วย(ระบุที่กล่องเลือกค่าที่เป็ นแถบอยู่เหนือพื ้นที่เขียนแบบ) แล้ วมันจะทาการSnapจุดที่อยู่ห่างจากจุดปลาย(End
point)เป็ นระยะ50หน่วย อย่างไรก็ตามมันอาจไปSnap จุดที่ห่าง50หน่วยจากจุดปลายเส้ นอื่นก็ได้

Snap intersection มันจะSnapเส้ นที่เขียนสองเส้ นตัดกัน อันนี ้จะไม่ทางานกับเส้ นตรงหลาย


เส้ นเขียนครัง้ เดียวต่อเนื่องกัน (Polyline)

Restrict Horizontal:,มันจะSnapการเคลือ่ นที่ในแนวระดับเท่านั ้น

Restrict Vertical: มันจะSnap การเคลือ่ นที่ในแนวดิ่งเท่านั ้น

Restrict Orthogonal มันจะSnap เคลือ่ นเป็ นรูปสีเ่ หลี่ยมมุมฉาก

Restrict Nothing จะเปิ ดSnap ของRestrict Horizontal และ Restrict Vertical พร้ อมก้ น

Set relative zero position :ปรับความสัมพันธ์ ตาแหน่งจุดRelative zero(กากบาทแดงเล็ก)

Lock relative zero position :ล๊ อคตาแหน่งจุดRelative zero(กากบาทแดงเล็ก)ไม่ให้ ปรากฏ


ให้ เห็นในปั จจุบนั
142

บทที่12
Info icons
บนเมนูหลัก(Main menu)หรือเมนูไอคอนทางซ้ ายมือ(Main CAD tools)เราจะพบไอคอนInfo (ไอคอนรูปบรรทัดสี
เขียวแนวนอน)

คาสัง่ Info ทาให้ เราสามารถวัดขนาดสิง่ ที่มีอยู่จริงในแบบซึ่งปราศจากการบอกขนาดที่ตวั มัน Infoมีประโยชน์


สาหรับตรวจสอบงานของเราที่เราเขียนขึ ้นมาโดยตรวจสอบทัว่ ๆไปของรายละเอียดของสิง่ ที่มีอยู่จริง เมื่อเราคลิกไอคอน
ตัวนี ้เราจะเห็นเมนูย่อยของไอคอนต่างๆตามมา (Info icon/submenu)

 จากรูปข้ างบน( เมนูย่อยของInfo)ไอคอนตัวบนซ้ ายมือคือ Distance point to point จะให้ เราวัดระยะจากจุด


ถึงจากจุด เช่นเราจะวัดความยาวของจุดทั ้งสองในแนวนอนของมุมในรูปสีเ่ หลี่ยม ให้ เราเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมาหนึ่งรูป
เพื่อทดสอบ แล้ วคลิกเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)โดยคลิก Info>Distance point to point
 ทาตามคาสัง่ ในCommand lineโดยการคลิกระบุจดุ แรกที่มมุ ซ้ ายล่างของรูปสีเ่ หลี่ยม (อาจเปิ ดSnao on end
point ที่Top toolbar เพื่อช่วยในการระบุจุดได้ แม่นยาขึ ้น)
 คลิกระบุจุดที่สองที่มมุ ขวาล่างของรูปสีเ่ หลี่ยม (อาจเปิ ดSnap on end point ที่Top toolbar เพื่อช่วยในการ
ระบุจดุ ได้ แม่นยาขึ ้น
143

 เราจะสังเกตได้ ว่าจะมีคาตอบบอกระยะความยาวระหว่างจุดสองจุดขึ ้นบนบริเวณ Command output and


history ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกSnap on end
point

1.คลิกInfo
2.คลิกเมนูยอ่ ยของInfo
ที่ Distance point to
point 4.คลิกจุดแรก 5.คลิกจุดที่สอง

6.ขนาดระยะจะระบุให้ เราทราบ

 ถ้ าคลิกคาสัง่ Info จากเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ไอคอนตัวขวาบนของคาสัง่ Info คือคาสัง่ Distance


entity to point เป็ นการวัดระยะห่างจากด้ านหรือเส้ นที่ระบุ กับจุดที่ระบุ โดยมีวิธีการทาเช่นเดียวกับที่กล่าวมาแล้ ว
ข้ างต้ น ทดสอบโดยเขียนรูปสีเ่ หลี่ยมขึ ้นมาหนึง่ รูปพร้ อมเขียนเส้ น ทแยงมุมที่รูปสีเ่ หลีย่ มนั ้น
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ให้ คลิก Info>Distance entity to point
 คลิกด้ านที่ระบุและคลิกจุดที่ระบุ ในที่นี ้ให้ คลิกด้ านบนและจุดทแยงมุม จะได้ คาตอบระยะห่างที่ Command
output and history ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกทีด่ ้ านบน

1.คลิกInfo
4.คลิกทีจ่ ดุ ทแยงมุม
2.คลิกเมนูยอ่ ยของInfo
ที่ Distance entity to
point

5.คาตอบขนาดระยะห่าง

 ถ้ าคลิกคาสัง่ Info จากเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ไอคอนเมนูย่อยของคาสัง่ Info ซึง่ วางอยู่แถวกลางด้ าน


ซ้ ายมือคือคาสัง่ Angle between two lines จะให้ เราวัดค่าของมุมระหว่างด้ านสองด้ านหรือเส้ นสองเส้ น เราสามารถ
ทดสอบการวัดขนาดของมุมโดยเขียนเส้ นตรงสองเส้ นทามุมฉากกันขึ ้นมารูปหนึง่
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ให้ คลิก Info> Angle between two lines
144

 คลิกเส้ นที่หนึง่ (เส้ นแนวนอน) และคลิกเส้ นที่สอง(เส้ นแนวดิ่ง)


 จะได้ คาตอบขนาดของมุมที่เกิดจากเส้ นสองเส้ น ที่ Command output and history ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกInfo 4.คลิกที่เส้ นทีส่ อง


2.คลิกเมนูยอ่ ยของInfo
ที่ Angle between two
lines 3.คลิกที่เส้ นทีห่ นึง่
ด้ านบนฃ
5.คาตอบขนาดของมุม

 ถ้ าคลิกคาสัง่ Info จากเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ไอคอนขวาแถวกลางของเมนูย่อยคาสัง่ Info คือคาสัง่


Total length of selected entities จะให้ เราวัดความยาวด้ านที่มีอยู่ทั ้งหมด เราสามารถทดสอบโดยการใช้ รูปเก่า
ข้ างบน
 ที่เมนูหลัก(Main menu)หรือที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ให้ คลิก Info> Total length of selected entities
 คลิกเส้ นที่หนึง่ (เส้ นแนวนอน) และคลิกเส้ นที่สอง(เส้ นแนวดิ่ง)
 จะได้ คาตอบขนาดความยาวทั ้งหมดของเส้ นสองเส้ นรวมกันที่ Command output and history ดังรูปข้ างล่าง

4.คลิกที่เส้ นทีส่ อง
1.คลิกInfo
2.คลิกเมนูยอ่ ยของInfo
ที่ Total length of
3.คลิกที่เส้ นทีห่ นึง่
selected entities
ด้ านบนฃ
5.คาตอบขนาดของความยาวทังหมด

 ถ้ าคลิกคาสัง่ Info จากเมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) ไอคอนล่างสุดคือคาสัง่ Area of polygons จะให้ เราวัด
พื ้นที่รูปหลายเหลี่ยม เราสามารถทดสอบโดยการเขียนรูปสามเหลีย่ มขึ ้นมาก่อนหนึง่ รูป
 เพื่อความสะดวกในการคลิกจุดเราอาจคลิกเปิ ดปุ่ มSnap on end points ที่Top toolbar
 คลิกจุดแรก คลิกจุดถัดไป(จุดที่สอง) และคลิกจุดถัดไป(จุดที่สาม)
145

 จะได้ คาตอบขนาดพื ้นที่ทั ้งหมดของรูปสามเหลีย่ มที่ Command output and history ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกSnap on endpoints

6.คลิกจุดที่สาม

1.คลิกInfo
5.คลิกจุดที่
2.คลิกเมนูยอ่ ยของInfo
สอง
ที่ Area polygons
4.คลิกจุดที่หนึง่

7.คาตอบขนาดของพื ้นที่ทงหมด
ั้

นอกจากนี ้ถ้ าเราคลิกเมนูหลัก(Main menu)ข้ างบนและคลิกที่ Info>List entity แล้ ววางเคอร์ เซอร์ กากบาทคลิก
ลงด้ านใดด้ านหนึง่ หรือทุกด้ าน ตามด้ วยการกดEnter เราจะพบรายละเอียดของด้ านหรือเส้ นที่เราคลิกปรากฏขึ ้นมาให้
เราเห็น ดังรูปข้ างล่าง

จะเห็นว่าคาสัง่ จากเมนูย่อยของ Info นั ้นใช้ ง่ายเพียงแต่เราคลิกที่จดุ ๆหนึง่ หรือด้ านๆหนึง่ และคลิกจุดอื่นหรือ


ด้ านอื่นตามคาสัง่ Command line จะได้ ผลลัพธ์ ปรากฏที่ Command output and history
146

บทที่13
Layers (เลเยอร์ )
.Layers(เลเยอร์ ) เป็ นการเขียนขึ ้นมาแต่ละส่วนของวัตถุหรือชิ ้นงาน เป็ นการควบคุมการจัดเก็บลักษณะของเส้ นที่
สร้ างขึ ้นด้ วยคาสัง่ ต่างๆให้ เป็ นหมวดหมู่ มีความสาคัญพิเศษสาหรับการเขียนแบบโดยแท้ จริ ง การเขียนLayer(เลเยอร์ )
เป็ นการเขียนแบบในลักษณะเปรียบเหมือนแต่ละชิ ้นงานเขียนบนแผ่นใสแต่ละชั ้น เมื่อจะดูภาพรวมของแบบก็เอา
แผ่นใสนั ้นทุกชั ้นมาวาง หรืออีกนัยหนึง่ อาจพูดได้ ว่า Layers(เลเยอร์ ) มีความสาคัญมากในแบบเกี่ยวกับการประกอบ
(Assembly drawing) แบบการประกอบ(Assembly drawing)คือแบบแสดงสองสิง่ หรือมากกว่ามาประกอบกันบนแบบ
แต่ละส่วนถูกเขียนบนแต่ละLayer(เลเยอร์ )ของมัน เมื่อเลเยอร์ ทั ้งหมดถูกแสดงบนแบบ เราต้ องประกอบให้ สมบูรณ์ให้
เห็นในแบบนั ้น ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตวัสดุสงิ่ ของ แบบประกอบ(Assembly drawing)ของเครื่องจักรเครื่องหนึง่
อาจมีถงึ 50เลเยอร์ หรือมากกว่า แต่ละเลเยอร์ แสดงชิ ้นส่วนแต่ละอย่างแตกต่างกันไป ไม่เพียงแต่แสดงชิ ้นส่วนแต่ยงั
บอกว่าประกอบกันอย่างไรในการประกอบแต่ละครัง้ ในการตรวจแบบจากเลเยอร์ นี ้ทาให้ เราพบข้ อผิดพลาดซึง่ สามารถ
เกิดขึ ้นในการประกอบ และสามารถแก้ ไขได้ จากเลเยอร์ ส่วนที่ผิดพลาด
เราสามารถเรียกใช้ คาสัง่ เลเยอร์ (Layer)จากเมนูหลัก(Main menu) หรือรายการเลเยอร์ (Layer list) ที่กล่องเล
เยอร์ )Layer box)ซึง่ ติดตั ้งอยู่ทางขวามือของพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area ) ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงคาสัง่ เลเยอร์ (Layer)ที่เมนูหลัก(Main menu) รูปแสดง กล่องเลเยอร์ (Layer box)

 ดูที่กล่องเลเยอร์ (Layer box) เราจะสังเกตพบมีไอคอนหลายตัวคือไอคอนตัวแรกทางซ้ ายมือจะเป็ นไอคอน


Show all layers(รูปลูกตาเปิ ด) เมื่อคลิกไอคอนนี ้ให้ มนั ทางาน จะเห็นรูปที่เลเยอร์ ทั ้งหมดปรากฏบนพื ้นที่เขียนแบบ
 ไอคอนรูปลูกตาปิ ดเป็ นไอคอนตัวถัดมา ขื่อไอคอนHide all layers เมื่อคลิกที่ไอคอนนี ้จะทาให้ ทกุ รูปบนพื ้นที่
เขียนแบบหายไป ดังตัวอย่างรูปข้ างล่าง มีการเขียนแบบLayer0 และLayer ABC เมื่อเราคลิกไอคอน Hide all layers
จะพบว่าทุกรูปบนเลเยอร์ ทั ้งสองหายไป
147

เลเยอร์(Layer)ที่เรา
เขียน

คลิกHide all รูปที่


เขียนก็จะหายตามไป
ด้ วย(ถูกซ่อน)

 หากเราคลิกกลับไปที่ Show all layers จะพบว่ารูปทุกรูปบนเลเยอร์ ทั ้งหมดจะมาปรากฏบนพื ้นที่เขียนแบบ


ดังรูปข้ างล่าง

คลิกShow all รูปที่


เขียนจะปรากฏ

 ถัดไปคือไอคอน เครื่องหมายบวก(Add layer) ถ้ าเราคลิกที่ไอคอนนี ้จะเกิดเลเยอร์ ใหม่ คือเป็ นการสร้ างเลเยอร์


ใหม่ ทันทีที่เราคลิกไอคอนAdd layer (ไอคอนเครื่องหมายบวก)มันจะปรากฏหน้ าต่าง Layer settings ให้ เราตั ้งชื่อเล
เยอร์ ใหม่นี ้ พร้ อมทั ้งมีรายการเกี่ยวกับคุณสมบัติหรือคุณลักษณะของเส้ นเช่น สี (Color), ความหนาหรือความกว้ างของ
เส้ น (Width) และชนิดของเส้ น(Line type) ซึง่ เราสามารถเปลีย่ นแปลงหรือกาหนดให้ ตามที่เราต้ องการ แล้ วคลิก OK’.
ดังรูปข้ างล่าง
148

 ถัดต่อไปจะเป็ นไอคอนเครื่องหมายลบ ซึง่ แสดงถึงการลบเลเยอร์ (Remove Layer)ที่เขียนอยู่ปัจจุบนั และที่นี่


เราต้ องใช้ ความระมัดระวังเพราะว่ามันเป็ นไปได้ ว่าอาจเกิดอุบตั ิเหตุจากการลบเลเยอร์ ที่ผิดพลาด ดังนั ้นต้ องใช้ ความ
ระมัดระวัง และมัน่ ใจว่าลบไม่ผิดเลเยอร์
 ไอคอนตัวสุดท้ ายบนขวามือคือไอคอนโมดิฟายหรือEdit Layer (Modify Layer attributes/rename or Edit
Layer) ซึง่ ยอมให้ เราดัดแปลงคุณสมบัติเฉพาะตัวของเลเยอร์ หรื อเปลีย่ นชื่อมันก็ได้ วิธีการใช้ คาสัง่ นี ้ก็เพียงแต่คลิกที่
แถบขื่อเลเยอร์ ที่ต้องการแก้ ไขหรือดัดแปลง(Modify)แล้ วคลิกที่ไอคอน Modify layer attributes/rename จะปรากฏ
หน้ าต่างLayer settings ขึ ้นมาให้ เราเข้ าไปแก้ ไข ดังรูปข้ างล่าง

 ข้ างใต้ ไอคอนจะมีแถบรายการเลเยอร์ (Layer list) ที่นี่จะแสดงเลเยอร์ ทั ้งหมดในแบบ และถ้ าเลเยอร์ อนั ไหน
ต้ องการ มองเห็นหรือไม่เห็นในการพิมพ์แบบแปลนออกมา เราสามารถสัง่ ได้ จากการปิ ดหรือเปิ ดที่ไอคอนลูกตา(Toggle
layer visible)ของรายการเลเยอร์ นี ้ อนึง่ สาหรับชื่อเลเยอร์ 0เป็ นเลเยอร์ ที่มีติดตัวมาตั ้งแต่แรก(Default layer) เราไม่อาจ
เปลีย่ นเป็ นชื่อเลเยอร์ อื่นได้ และไม่สามารถลบ(Remove the current layer )เลเยอร์ 0นี ้
 Toggle layer visibility (ไอคอนรูปเครื่องหมายลูกตา ที่วางอยู่หน้ าสุดของแถบชื่อเลเยอร์ ในLayer list เป็ น
ไอคอนที่คลิกเพื่อให้ เราเห็นหรือไม่ต้องการให้ เห็นรูปที่เขียนบนเลเยอร์ ของแถบชื่อที่เราคลิก
 มีไอคอนตัวหนึง่ คือ Toggle layer lock (ไอคอนรูปแม่กุญแจ) เป็ นคาสัง่ ที่แสดงให้ ร้ ู ว่าถ้ าคลิกไอคอนนี ้ให้ ทา
งาน(ปรากฏไอคอนแม่กุญแจสีดา)บนเลเยอร์ ใด จะไม่สามารถคลิกที่เส้ นหรือด้ านเพื่อเลือกให้ ทางานอย่างใดอย่างหนึง่
149

 สาหรับไอคอนที่อยู่ใกล้ กบั ไอคอนเครื่องหมายแม่กญ


ุ แจ (Toggle layer lock) จะเป็ นไอคอนของเลเยอร์ ช่วย
(Help Layer) มีลกั ษณะของไอคอนเป็ นเครื่องหมายแท่นพิมพ์ (Printer) ถ้ าคลิกมันแล้ ว ทาให้ เกิดเส้ นConstruction line
ซึง่ จะได้ กล่าวในตอนท้ ายของหัวข้ อถัดจากนี ้ไป

การสร้ างเลเยอร์ ในLIbrCAD (LibreCAD Layer)


 ถ้ าเราสังเกตดูทางขวามือของLibreCADเราจะเห็นมีหน้ าต่างของกล่องเลเยอร์ (Layer box) ถ้ าไม่มีหรือไม่ได้ ทา
ให้ เห็น เราสามารถทาให้ มีหน้ าต่างของกล่องเลเยอร์ ได้ โดยคลิกView>Toolbars>Layer list
 โดยค่าที่ตั ้งมาแต่แรกเริ่ม(Default)เราจะมีเลเยอร์ ของเราเลเยอร์ แรกชื่อ Layer 0 ดังตัวอย่างเราเขียนรูปสีเ่ หลีย่ ม
ขึ ้นมารูปหนึง่ จะมีชื่อในเลเยอร์ นี ้ว่า Layer 0 ซึง่ เป็ นเลเยอร์ หลักที่กาหนดมาในการเขียนแบบแต่แรกเริ่ มและไม่สามารถ
ลบเลเยอร์ 0ได้ แต่สามารถปิ ดเปิ ดได้ ดังรูปข้ างล่าง

 เปิ ดเลเยอร์ ใหม่โดยคลิกไอคอนAdd layer (เครื่องหมายบวก)ในLayer list จะมีหน้ าต่างLayer settingขึ ้นมาให้
เราตั ้งชื่อ ในขณะนี ้เราจะให้ ชื่อว่าDim และมีช่องให้ เราเลือกสีที่จะเขียนเส้ นในที่นี ้เราเลือกสีเขียว และคลิก OK. ดังรูป
ข้ างล่าง

ตัง้ ค่าให้ เส้ นเป็ นสี


เขียวแล้วคลิก OK.
150

 หลังจากที่เราตั ้งค่าบนหน้ าต่าง Layer settingเสร็ จให้ เราเขียนเส้ นบอกขนาดในรูป จะปรากฏเส้ นบอกขนาด
เกิดเป็ นสีเขียวตามที่เราตั ้งค่าไว้ และถ้ าสังเกตจะพบที่แถบซ้ ายของ Pen selection จะมีสญ
ั ลักษณ์ สตี ามที่เราเลือกตั ้ง
ค่าใน Layer selection ด้ วย ดังรูปข้ างล่าง

สัญลักษณ์สีที่
เกิดขึนหลั
้ งตัง้ ค่าใน
Layer setting

สีของเส้ นที่เขียน
หลังตัง้ ค่าในLayer
setting แถบสีเทาคลุมชือ่ เล
เยอร์ แสดงถึงกาลัง
ทางานในเลเยอร์
นัน้

 สังเกตถ้ าเราคลิกชื่อเลเยอร์ ตรงบริเวณLayer listจะมีแถบสีเทาคลุมชื่อนั ้น ซึ่งในขณะนี ้เราคลิกปุ่ มDimensionที่


เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools) และให้ ขนาดทั ้งแนวนอนและแนวตั ้งใน Layer Dim
 เราสามารถปิ ด/เปิ ดเลเยอร์ โดยการคลิกที่ปมเครื ุ่ ่องหมายลูกตาหน้ าชื่อเลเยอร์ บริเวณLayer list
 ในกรณีที่ถ้าเราไม่ต้องการเลเยอร์ อื่นยกเว้ น Layer 0(ไม่สามารถลบทิ ้ง) เราสามารถลบโดยการคลิกปุ่ มRemove
layer(เครื่องหมายลบ)
 เราสามารถโมดิฟายเส้ นที่เราเขียนโดยคลิกปุ่ มModify layer จะปรากฏหน้ าต่างLayer settingเกิดขึ ้นเพื่อให้ เรา
สามารถเข้ าไปเปลีย่ นสีเส้ น ขนาดความหนาเส้ น ชนิดของเส้ นเช่นเส้ นประ เส้ นจุด เส้ นเต็มเป็ นต้ น
เลเยอร์ ช่ วย(Help Layer หรื อ Construction layer)
 เลเยอร์ ช่วย(Help Layer) ถูกออกแบบเพื่อให้ แสดงเส้ นสร้ างรูปทรงเรขาคณิต(Geometry construction lines)
เป็ นการนาทางหรือช่วยทาให้ การเขียนแบบได้ ง่ายและสะดวกขึ ้น การทาให้ เกิดเส้ นGeometry construction lines หรือ
เรียกสั ้นๆว่าเส้ นConstruction line ก็เพียงคลิกให้ เกิดเครื่องหมายถูกที่หน้ าชื่อConstruction layer บนหน้ าต่างLayer
setting
 เราสามารถคลิกHelp Layerที่ไอคอนบนแถบLayer list (ไอคอนสัญลักษณ์ รูปแท่นพิมพ์หรือ Printer หน้ าชื่อเล
เยอร์ )แทนที่จะคลิกที่หน้ าต่างLayer setting
 เลเยอร์ ช่วย(Help Layers)จะไม่ปรากฏเส้ น Geometry construction line บนพื ้นที่พิมพ์แบบแปลนออก(Print)
เราสามารถตรวจสอบโดยการคลิกดูที่ Print preview(การดูเค้ าโครงภาพก่อนพิมพ์แบบแปลนออกมา)ที่ไอคอนบนแถบ
เครื่องมือข้ างบน(Top toolbar)
 ทุกเส้ นตรงของHelper Layers เป็ นเส้ นยาวไม่สิ ้นสุด(Infinity) ดังรูปข้ างล่าง
151

คลิกให้ มีเครื่องหมายถูก

หรื ออาจคลิก
ที่สญ
ั ลัษณ์นี ้

รูปแสดงการเขียนเส้ นConstruction line หลังจากเราตั ้งค่าConstruction Layer ที่หน้ าต่างของ


Layer setting
152

บทที่14
Block
Block เป็ นการเขียนรูปภาพวัตถุหรือชิ ้นงาน เก็บเอาไว้ เป็ นกลุ่มเพื่อสะดวกในการเรียกมันมาใช้ ในลักษณะทีต้อง
เขียนซ ้าๆในลักษณะเดิม เป็ นการประหยัดเวลาไม่ต้องเริ่ มต้ นเขียนรูปวัตถุเดิมนั ้นใหม่ เช่นเมื่อเขียนรูปภาพของบ้ านที่
มีประตูพร้ อมวงกบที่มีขนาดเดียวกันหลายๆที่ในบ้ าน เราสามารถเขียนบานประตูพร้ อมวงกบชุดเดียวและทาการเก็บ
รูปแบบบานประตูพร้ อมวงกบไว้ ในรู ปของBlock แล้ วนาBlockที่สร้ างไว้ แล้ วไปใช้ วางในตาแหน่งที่ต้องการได้ อนึง่ ใน
การเขียนแบบในBlock ควรเขียนด้ วยมาตราส่วน1:1 เนื่องจากง่ายต่อการนาไปใช้ งาน และควรทาหมายเหตุหรือที่ๆ
สังเกตง่ายต่อการค้ นหาจุดที่จะนาBlockไปเก็บไว้
เราสามารถเรียกใช้ คาสัง่ Block จากเมนูหลัก(Main menu)หรือรายการบล๊ อก ( Block list)ที่กล่องบล๊ อก ( Block
box)ซึง่ ติดตั ้งอยู่ทางขวามือของพื ้นที่เขียนแบบ(Main drawing area ) ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการเขียนแบบเพื่อทาเป็ น
Block
153

วิธีการสร้ าง Block
 จากตัวอย่างรูปข้ างบนจะเห็นเป็ นรูป Nutหกเหลีย่ มด้ านบนและด้ านหน้ าหรือด้ านข้ าง ในการเขียนรูปเช่นนี ้
ประกอบด้ วยการเขียนเลเยอร์ 6เลเยอร์ (ดูLayer listทางด้ านขวามือ)
 จากเมนูหลัก(Main menu)ข้ างบนคลิกBlock>Create block หรื ออาจคลิกไอคอน Create Block จากBlock
box (รายการ Block list)
 ต่อไปคลิกไอคอน Select>select windowจากเมนูด้านซ้ ายมือ(Main CAD tools) แล้ วคลิกลาก(Drag)คลุม
รูปNut หกเหลีย่ มที่เราจะทาBlock จากนั ้นกดEnter
 คลิกจุดอ้ างอิงโดยคลิกจุดใดจุดหนึ่งบนรูปที่จะทาBlock จะมีหน้ าต่างเล็กๆ(Block settings)ปรากฏขึ ้นมา ให้
เราเติมชื่ออะไรก็ได้ ในการทดสอบนี ้เราจะให้ ชื่อว่า Block แล้ วกดOK.ที่หน้ าต่างBlock settings นั ้น ดังรูปข้ างล่าง

2.คลิกเลือกทังหมดโดยคลิ
้ ก
1.คลิกCreate Block
ที่Select>Select window
แล้ วDragคลุมรูปทังหมดแล้
้ ว
3.คลิกจุดอ้ างอิงที่ใดที่
กดEnter หนึง่ บนรูป

4.ระบุชอื่ Blockแล้ ว
คลิกOK.
1.คลิกCreate
Block

 หลังจากนั ้นชื่อของBlock จะไปปรากฏบริเวณBlock list


 เราสามารถปิ ดเปิ ดรูปBlockบนจอโดยการคลิกไอคอนเครื่องหมายลูกตา(Toggle Block visibility)หน้ าชื่อ
Block
6.เราสามารถปิ ด/เปิ ดโดย
การคลิก Toggle Block
visibility

5.ชื่อ Blockจะมาปรากฏ

รูปแสดงการสร้ างBlock
154

 ถ้ าเราต้ องการเพิ่มรูปจากการทาBlock ไปยังตาแหน่งต่างๆที่ต้องการบนพื ้นที่เขียนแบบ


 ให้ เราคลิกแถบชื่อBlock แล้ วคลิกไอคอนInsert blockที่หน้ าต่างBlock box( รายการBlock list) หรือคลิก
จากเมนูหลัก (Main menu)ข้ างบน Block>Insert block
 จะเห็นว่ามีรูปนั ้นลอยขึ ้นมาเคลือ่ นที่ไปพร้ อมกับเม๊ าส์ แล้ วคลิกวางตาแหน่งที่ต้องการดังรูปข้ างล่าง
 คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่ ดังรูปข้ างล่าง

2.คลิกInsert Block

1.คลิกแถบชือ่

3.คลิกวางรูปที่เกิดใหม่ที่
ตาแหน่งที่ต้องการ แล้ว
คลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Insert


Block

 ต่อจากนี ้ไปเราจะลองทาการExplode Block ให้ เราคลิกเมนูหลัก(Main menu) หรือคลิกที่ไอคอนเมนูซ้ายมือ


(Main CAD tools)คลิกที่ Modify>Explode และคลิกSelect>select window ที่เมนูด้านซ้ ายมือ(Main CAD tools)
จากนั ้นให้ เราDragหน้ าต่างคลุมรูปBlockอันนั ้นแล้ วกดEnter ดังรูปข้ างล่าง

3.คลิกเลือกทังหมดโดยการคลิ
้ ก
Select>Select windowแล้ ว
Dragคลุมรูปทังหมด
้ แล้ วกดOK.

1.คลิกModify
2.คลิกเมนูยอ่ ยของ
Modifyที่Explode

รูปแสดงการทาExplode ที่Block

 เราจะเห็นว่ารูปที่เราExplodeนั ้นจะไม่เป็ นBlockอีกต่อไป


155

 สาหรับวิธีลบBlock (Remove Block) ให้ เราคลิกเมนูหลัก(Main menu) โดยคลิกBlock>Remove Block หรือ


คลิกไอคอน(เครื่องหมายลบ)ที่Block list และคลิกที่ชื่อBlockที่ต้องการจะลบ(บริเวณ Block list จะมีแถบสีเทาคลุมชื่อ
Blockที่เราจะลบ) แล้ วจะมีหน้ าต่างเล็กๆ(Remove block)ปรากฏขึ ้นมาถามเราว่าจะลบBlockดังกล่าวหรือไม่ ให้ คลิก
OK. ดังรูปข้ างล่าง

1.คลิกDelete Block

2.คลิกชื่อ Block

4.รูปBlockจะถูกลบ

3.คลิกOK.

 ถ้ าเราจะSave Block ที่เราสร้ างขึ ้นมา ให้ เราคลิกไอคอนSave Block ที่Block list หรือที่เมนูหลัก(Main
menu) คลิก Block>Save block ซึง่ เราสามารถบันทึกBlockนั ้นไปเก็บไว้ ในPath file ที่ต้องการ
 เวลาจะเปิ ดBlockที่เราSaveไว้ นามาใช้ งานในLibreCAD ให้ คลิกFile>Import>Block>คลิกชื่อBlock.ในPath
ที่เราเก็บไว้ และคลิกOpen ที่หน้ าต่างPathนั ้น
 นอกจากนี ้ยังมีไอคอนEdit Block สาหรับการนาBlock มาทาการแก้ ไข แต่หลังจากการแก้ ไขเป็ นรูปใหม่แล้ วไม่
สามารถSave เป็ นBlockได้ ถ้ าต้ องการแก้ ไขและSaveเป็ นBlockต้ องทาการExplodeก่อนแล้ วถึงนารูปที่แก้ ไขนั ้นมา
สร้ างเป็ นBlock และSaveเก็บเอาไว้
 สาหรับไอคอนรูปลูกตาปิ ดเป็ นไอคอน ขื่อHide all Blocks เมื่อคลิกที่ไอคอนนี ้จะทาให้ ทุกรูปที่เขียนเป็ นBlock
บนพื ้นที่เขียนแบบหายไป
 ส่วนไอคอนรูปลูกตาเปิ ดเป็ นไอคอน ขื่อ Show all Blocks เมื่อคลิกที่ไอคอนนี ้จะทาให้ ทุกรูปที่เขียนเป็ นBlock
บนพื ้นที่เขียนแบบนั ้นปรากฏขึ ้นมา

ตัวอย่ างการใช้ Add Block และ Edit Block


 ที่เมนูหลัก(Main menu)คลิกFile>New
 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตุรัสขนาด200มม.x200มม.
 คลิกBlock>Add Block จะปรากฏหน้ าต่างBlock settingขึ ้นมาให้ เราใส่ชื่อBlock ในขณะนี ้เราให้ ชื่อBlockว่า
Square แล้ วคลิกOK.
156

 ชื่อของBlock(Square)จะไปปรากฏที่Block list

3.ชื่อจะมาปรากฏที่
Block list
1.คลิกAdd Block
4.คลิกชือ่ ของBlock
5.คลิก Edit
Block
2.ระบุชอื่ แล้ วคลิกOK.

 คลิกชื่อSquareที่Block list แล้ วคลิกBlock>Edit the active Block จะเกิดหน้ าต่างว่างเปล่าขึ ้นที่พื ้นที่เขียน
แบบและชื่อSquareที่Block listก็หายไปด้ วย
 เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มจัตุรัสขนาด 50มม.x50มม.ขึ ้นมาใหม่หนึง่ รูป
 ปิ ดหน้ าต่างBlock edit โดยคลิกที่Corner toolbar (ตาแหน่งLogoของLibreCAD ตั ้งอยู่ที่มุมซ้ ายสุดบนแถบ
Top toolbar) แล้ วคลิกClose จะปรากฏมีรูปสีเ่ หลีย่ มขนาด200มม.x200มม.เกิดขึ ้น
 คลิกBlock>Insert จะปรากฏว่ามีรูปสีเ่ หลีย่ มขนาด50มม.x50มม.,มาพร้ อมกับเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์ ให้ คลิก
วางรูปนั ้นใกล้ รูปเดิมขนาด200x200มม. แล้ วคลิกขวาเพื่อออกจากคาสัง่
 เราสามารถลบรูปขนาด200x200นี ้ได้ เหลือไว้ เพียงรูปสีเ่ หลีย่ มขนาด50x50มม.รูปนี ้จะเป็ นBlockของSquare
ดังรูปข้ างล่าง

11.ลบรูปสี่เหลี่ยมเก่า
7.คลิกทืCorner
toolbar
9.คลิกInsert Block
8.คลิกCloseที่เมนู
ย่อยของCorner
toolbar 6..เขียนรูปสี่เหลี่ยม
ขึนมาใหม่
้ 10.คลิกวางรูปสี่เหลี่ยมใหม่

 เราสามารถคลิกชื่อSquare ไปSaveไว้ ในFileที่ต้องการโดยคลิกBlock>Save Block


 Toggle Block visibility (ไอคอนรูปเครื่องหมายลูกตา) ที่วางอยู่หน้ าสุดของแถบชื่อBlock ในBlock list เป็ น
ไอคอนที่คลิกเพื่อให้ เราเห็นหรือไม่ต้องการให้ เห็นรูปที่เขี ยนเป็ น Blockของแถบชื่อที่เราคลิก
157

การเพิ่มBlockไปยังLibrary
การเขียนBlockแล้ วไปเก็บเพิ่มที่Library เปรียบเสมือนห้ องสมุดให้ เราเก็บหนังสือ เวลาเราจะนาBlock มา
ใช้ จะสะดวก ค้ นหาง่ายขึ ้น และสามารถค้ นหาได้ เร็ว LibreCAD LibraryจะมีติดตัวมากับโปรแกรมของLibreCAD ซึง่ เรา
สามารถค้ นหาได้ ไม่ยากดังที่จะกล่าวต่อไป
 เขียนรูปใดๆขึ ้นมารูปหนึ่งอาจสร้ างเลเยอร์ ขึ ้นมาหรือในขณะนี ้เราใช้ เลเยอร์ 0และเขียนรูป ดังรูปข้ างล่าง

 ทารูปข้ างบนให้ เป็ นBlockก่อนโดยคลิกBlock>create block และที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)คลิก


Select>Select all>Enter หรือจะใช้ คาสัง่ Select>Select window แล้ วDrag คลุมรูปที่ต้องการทาBlockแล้ วกดEnter
 คลิกจุดReference point(จุดอ้ างอิงที่จดุ ใดๆบนรูป) จะปรากฏหน้ าต่างเล็กๆ(Block setting)ให้ เรา
พิมพ์ชื่ออะไรก็ได้ ในที่นี ้เราจะให้ ชื่อBlockนี ้ว่า Spurgear แล้ วกด OK. จะเห็นได้ ว่าจะมีชื่อSpurgearไปปรากฏที่ Block
listดังรูปข้ างล่าง

 คลิกView>Toolbars>Library browser เพื่อดูว่าที่Library browser มีBlock อะไรบ้ าง และเราสามารถนา


Block ขื่อ Spurgearมาเก็บไว้ ในLibrary ได้ โดยวิธีการดังต่อไปนี ้
 คลิกEdit >Application preferences>Path แล้ วคัดลอกPathของLibrary ถ้ าไม่พบชื่อของPath Library ให้
ทาการดังต่อไปนี ้คือไปค้ นหา Path ของโปรแกรมไฟล์ LibreCAD( ไดร๊ ฟ์ที่เราดาวน์โหลดซึ่งส่วนใหญ่อยู่ทีไดร๊ ฟ์ C )แล้ ว
คลิกที่LibreCAD>Resource>Library แล้ วคัดลอกPathมาไว้ ดงั รู ปข้ างล่าง
158

1.คลิกProgram Fileจาก
ไดร๊ ฟ์ที่เราDownloadมา
2.คลิกLibreCAD

4.คลิกLibrary
3.คลิกResource

5.คลิกทีP่ ath แล้ วCopy

8.วาง(paste)Pathที่คดั ลอก 7.คลิกทีS่ ave Block

มาแล้ วคลิกSave

6.คลิกทีช่ ื่อ
Block(Spurgear)

 กลับไปคลิกที่แถบชื่อของBlock ในแบบLibreCADที่เรากาลังทางานอยู่ ในที่นี ้เราคลิกชื่อSpurgear แล้ วคลิก


Block>save Block จะพบว่ามีหน้ าต่างSave Block as โดยให้ เราBrowse(หาPathที่จะเก็บบันทึก)เพื่อSave Block
 ที่File name บนหน้ าต่างSave Block as ให้ เราPaste ชื่อของLibrary pathที่เราคัดลอกมา แล้ วคลิกSave ดังรูป
ข้ างบน
 จะพบว่ามีBrowserของLibraryปรากฏขึ ้นอีกครั ้ง ให้ เราคลิก Misc และใส่ขื่อBlockที่File name ซึง่ ในที่นี ้ชื่อ
Spurgearแล้ วคลิกSaveอีกครัง้ หนึง่ ดังรูปข้ างล่าง

9.คลิกMisc
10.พิมพ์ชื่อของ
Block(Spurgear)แล้ ว
คลิก Save
159

 กลับมาดูที่Library browser โดยการคลิกที่View>Toolbars>Library browser จะเห็นมีรูปBlockที่ชื่อ


Spurgearอยู่ที่หน้ าต่างLibrary browser ข้ างล่าง ซึ่งเราสามารถคลิกมันและคลิกInsertเพื่อให้ รูปนั ้นปรากฏที่จอเขียน
แบบได้ ดังรูปข้ างล่าง

12.คลิก Misc
11.คลิก
View>Toolbars>Library
13.คลิกชือ่ Block(Spurgear)
browser

14.คลิกInsert

รูปแสดงหลังการInsert
 อนึง่ เราสามารถSaveหรือบันทึกPath ของ Path library เก็บไว้ ที่หน้ าต่างของApplication Preferencesได้
โดยการคลิกที่เมนูหลัก(Main menu)แล้ วคลิกEdit>Application Preferences>Path แล้ ววาง(Paste)Path Libraryลง
ไปที่ช่อง Path Libraries แล้ วกดEnterดังรู ปข้ างล่าง

14.คลิกPaths

คลิกวาง(Paste)ชื่อของPath Libraryที่
คัดลอกมาจาก LibreCAD (Program File)
แล้ วคลิกOK.

 คราวต่อไปเราสามารถมาคัดลอกชื่อของPath Library ได้ ที่หน้ าต่างนี ้ แล้ วนาไปวางที่หน้ าต่าง(Save Block


as)หลังจากเราSave Block โดยไม่ต้องไปเริ่ มต้ นทาการค้ นหาPath Libraryจาก Program FileของLibreCADดังที่กล่าว
มาข้ างต้ น
160

Title Block ปก
แบบทุกแบบแปลน จะมีTitle Block ซึง่ เป็ นที่ๆอยู่สาหรับรายงานพิเศษเกี่ยวกับชื่อบริษัท ชื่อชิ ้นส่วน ชื่อ
ผู้เขียนแบบ ชื่อวัสดุ ความหนา มาตราส่วน และเลขหมายหรือเลขที่ชิ ้นส่วน หรือเลขที่แบบแปลน ซึง่ จะทาเป็ นBlock
โดยที่เราอาจทาเป็ นBlockธรรมดาๆหรือสลับซับซ้ อนแล้ วแต่เราต้ องการ ดังรูปข้ างล่าง

Title Block แบบ


ว่างเปล่า

Title Block พร้ อม


ข้ อความ

มีคาแนะนาสาหรับเขียนTitle Block .ให้ เขียนแยกเลเยอร์ บนแบบว่างเปล่า(Blank drawing file) ที่เราsave


เอาไว้ ก่อนหน้ านั ้น ซึง่ จะทาให้ เราไม่ต้องเขียนTitle Blockใหม่ ทุกๆครั ้ง เมื่อเราสร้ างBlockให้ ชื่อTitle Block ดังนั ้นจะ
ทาให้ เราจาได้ ว่าชื่ออะไร เราสามารถทาบล็อกให้ ใหญ่ขึ ้นเพื่อใส่รายละเอียดหรือเปลีย่ นแถบชื่อในกล่องได้ ตามที่เรา
ต้ องการ
161

บทที่15
Window

สาหรับเครื่องมือตัวสุดท้ ายที่ติดตั ้งอยู่บนแถบเมนูหลัก (Main menu) ได้ แก่ Window คาสัง่ Window เป็ น
คาสัง่ ที่ใช้ เรี ยกงานไฟล์เขียนแบบหลายไฟล์ในคราวเดียวกัน เป็ นการทาให้ การทางานได้ รวดเร็ วขึ ้น นอกจากนี ้ยังใช้ ใน
การจัดเรียงหน้ าจอเขียนแบบของแต่ละไฟล์ในลักษณะต่างๆกันแล้ วแต่จะเรียง การที่จะเรี ยกคาสัง่ Window ดังรูป
ข้ างล่างนี ้ ต้ องทาการเขียนแบบบนหน้ าต่างเขียนแบบอย่างน้ อย 2 หน้ าต่าง(2ไฟล์เขียนแบบ) เก็บไว้ ในคราวเดียวกัน

จากรูปข้ างบนถ้ าเราคลิกเมนเมนูที่ Window จะพบเมนูย่อยดังต่อไปนี ้คือ


 Tab mode เป็ นแถบแสดงชื่อของแบบซึง่ เราเขียนขึ ้นมา ทดสอบโดยการเขียนแบบขึ ้นมาสองไฟล์ ขื่อไฟล์
Unnamed document 1(เขียนรูปวงกลมหนึง่ รูป) และไฟล์อีกไฟล์ชื่อ Unnamed document2(เขียนรูปสีเ่ หลีย่ มหนึง่ รูป)
 คลิก Window >Tab mode จะแสดงให้ เราเห็นชื่อของทั ้งสองไฟล์ ซึง่ เราสามารถเลือกทางานไฟล์ใดไฟล์หนึ่งดัง
รูปข้ างล่าง
162

 ทีT่ ab mode ยังสามารถเรี ยกดู Sub window mode หรือ Cascadeซึง่ จะปรากฏให้ เห็นหน้ าต่างทั ้งสองไฟล์
ซ้ อนกัน ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการใช้ คาสัง่ Sub


window mode (Cascade)
 Window Tile เป็ นการจัดหน้ าต่างของไฟล์ในลักษณะเรี ยงกัน ถ้ าต้ องการให้ เรียงกันแบบแนวตั ้งก็ให้ คลิกเมน
เมนูที่Window>Tile vertically ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการจัดเรียงหน้ าต่าง
แบบ Tile vertically
163

 ถ้ าต้ องการจัดเรี ยงให้ หน้ าต่างไฟล์เขียนแบบเรี ยงกันแบบแนวนอน ให้ คลิกที่เมนูหลักโดยคลิก Window>Tile


Horizontally ดังรูปข้ างล่าง

รูปแสดงการเรียงหน้ าต่างแบบ
Tile Horizontally
 มีวิธีการเรี ยกไฟล์เขียนแบบอีกวิธีหนึง่ ที่เมนูย่อยของWindow ให้ เราคลิกเครื่องหมายถูกที่หน้ าชื่อของไฟล์ที่
เราจะเขียน(บริเวณบรรทัดสุดท้ าย) ดังรูปข้ างล่าง
164

บทที่16
เทคนิ คการทาให้ เขียนแบบในLibreCADง่ ายขึน้
 ตั ้งค่าหน่วยที่ต้องการให้ เป็ นค่าที่ Default จะทาให้ เราประหยัดเวลาในตอนเริ่มต้ น ซึง่ เราจะพบได้ ตอนติดตั ้ง
โปรแกรมLibreCAD
 ในการค้ นหาปุ่ มบนเมนูให้ ชี ้เม๊ าส์ไปบนปุ่ มเครื่องมือเพื่อใช้ คาอธิบายบนเครื่องมือ (Tool tip )
เมื่อเราทางานบนLibreCAD เราต้ องค้ นหาเครื่องมือเขียนแบบ(Drawing tools)ต่างๆซึง่ ส่วนใหญ่จะเก็บ
ไว้ ในกลุม่ เครื่องมือที่แสดงอยู่บนแถบเครื่องมือซ้ ายมือของจอ(Main CAD tools) ที่กลุม่ ของเครื่องมือเหล่านี ้แต่ละ
เครื่องมือยังประกอบด้ วยกลุ่มเครื่องมือย่อยๆ ดังตัวอย่างเมื่อเราคลิกที่เครื่องมือ Line จะมีเครื่องมือเป็ นแถว(Drop-
down)แสดงออกมาซึ่งจะทาให้ เราสามารถนาไปเขียนให้ เป็ นเส้ นและรูปทรงซึง่ ประกอบกันเป็ นเส้ นได้
คุณลักษณะที่ดีอย่างหนึง่ ของLibreCAD คือเมื่อเราวางเคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์บนปุ่ มเครื่องมือมันจะปรากฏ
รายละเอียดเกี่ยวกับเครื่องมือตัวนั ้นให้ เราทราบ หากจะมีความสับสน เกี่ยวกับสัญลักษณ์ของปุ่ มเครื่องมือ ที่เราวาง
เคอร์ เซอร์ ของเม๊ าส์อยู่บ้าง แต่ก็ไม่มีปัญหามากเพราะปุ่ มเหล่านั ้นจะอธิบายหน้ าที่ของมันให้ เราทราบได้
 ใช้ Snap to grid และ Snap อื่นๆประกอบการเขียนแบบจะทาให้ การทางานง่ายขึ ้น
ในLibreCAD เราสามารถใช้ Snap to Grid ในการเขียนให้ เส้ นหรือรูปทรงให้ เกาะจับ (Snap)กับจุดที่
Gridทาให้ เราสามารถวางแนวและตาแหน่งได้ แน่นอน รวมทั ้งอาจใช้ Snap ตัวอื่นๆเช่น Snap on end points หรือ
Snap on entity เป็ นต้ น แต่อย่าลืมปิ ดSnapเมื่อเราต้ องใช้ คาสัง่ เขียนต่อไป หรืออาจเปิ ดปุ่ มFree Snap ทิ ้งไว้ ถ้าเราไม่
ต้ องการปิ ดSnap ในโหมดอื่น
 ใช้ Layer ประกอบในการเขียนแบบ
ในการเขียนแบบด้ วยCAD วิธีดีที่สดุ คือการสร้ างLayerในการเขียนแบบ แบบพื ้นฐานทัว่ ๆไปจะวาง
Layerอยู่ชั ้นบนของแบบอื่นๆ มันเปรียบเหมือนเราวางแผ่นใสซึง่ ระบุรายการชองแบบต่างๆวางซ้ อนกัน เราสามารถเพิ่ม
หรือถอดมันออกจากชั ้นบนได้
ใช้ เมนูLayerที่เมนูหลัก(Main menu)หรือคลิกที่ไอคอนของเลเยอร์ ในบริเวณLayer list แล้ วสร้ างและเพิ่ม
Layerโดยกาหนดให้ มีสขี องวัตถุหรือเส้ นต่างๆในแต่ละLayer
ถ้ าเราสังเกตจะพบว่าตอนแรกเขียนแบบจะมีLayer ที่เป็ นDefault (มีชื่อLayer 0)ซึง่ จะมีสเี ส้ นมาพร้ อมกับ
Default layer เมื่อเราทาการเขียนและเพิ่มLayerไป จะทาให้ เราสามารถจัดการเขียนแบบงานใหญ่ได้ โดยอย่างดีเลิศ
เมื่อเราต้ องการเน้ นวัตถุหรือเอาวัตถุที่สบั สนของการเขียนแบบที่เหลืออยู่ก็เพียงแต่เราเพิ่มหรือถอดออก
จากLayerนั ้นได้ โดยง่าย
 ใช้ ข้อความ(Text)ตลอดการเขียนแบบ
หลักการนี ้ขึ ้นอยู่กบั แบบที่เราเขียน แต่แบบส่วนใหญ่จะไม่ค่อยมีข้อความบอกมากในแบบ ข้ อความจะ
สือ่ ให้ เรารู้ว่ามันหมายถึงอะไรหรือวัตถุประสงค์ของพื ้นที่ต่างกันในแบบของเรา
165

ข้ อความ(Text)สามารถทาได้ ง่ายในLibreCAD เพียงแต่เราคลิกปุ่ มText ที่เมนูซ้ายมือ(Main CAD tools)


แล้ วเลือกขนาด ตัวอักษร และจัดตาแหน่งในการวาง
เมื่อเราเปิ ดรายการทาข้ อความขึ ้นมา เราสามารถทาข้ อความและวางไว้ ตามตาแหน่งที่เราต้ องการได้
 วางการวัดระยะ(Measurement)ไว้ ในแบบ
ในLibreCAD เราสามารถทาการวัดระยะและขนาดภายในแบบได้ โดยการคลิกที่ปมุ่ Info ที่เมนูด้าน
ซ้ ายมือ (Main CAD tools)และคลิกจุดสองจุดในแบบที่เราต้ องการวัดขนาด จะปรากฏตัวเลขพิมพ์ขึ ้นมาที่Output
command
 หมัน่ Save แบบที่เรากาลังเขียน เพื่อป้องกันการผิดพลาดในเหตุที่เราคาดไม่ถึง
 ซูมขยายสาหรับเพื่อทาให้ เห็นชัดในเวลาทาการเขียนแบบ

Short cut (คีย์ลัด)ที่ควรรู้ ในการเขียนแบบLibreCAD

 Ctrl+N: เปิ ดไฟล์เขียนแบบใหม่


 Ctrl+O: ค้ นหาไฟล์เขียนแบบที่เราเซฟไว้ แล้ วเพื่อทาการแก้ ไขหรื อเพิ่มเติม
 Ctrl+S: เซฟ(Save)หรือบันทึกไฟล์เขียนแบบหรือสิง่ ที่เราเพิ่มเติมหรือแก้ ไขในแบบ
 Ctrl+M or Space: เปิ ดการทางานของCommand line ในการที่เราจะให้ ทางานโดยพิมพ์หรือป้อนคาสัง่ ลงไป
 Ctrl+A: เลือกทุกเส้ นหรือด้ านของรูปในพื ้นที่เขียนแบบ
 Ctrl+K: ยกเลิกหรือไม่เลือกทุกเส้ นหรือด้ านของรูปในพื ้นที่เขียนแบบ
 Esc: กลับไปที่เมื่อก่อนนั ้น หรือสิ ้นสุดการทางานปั จจุบนั
 Double-Click ที่ปมกลางของเม๊
ุ่ าส์ (scroll wheel) เพื่อซูมขยาย
 Del ลบเส้ นหรือด้ านที่เราคลิกเลือกมัน
166

บทที่ 17
การใช้ คาสั่งใน Command Line
การเขียนแบบในLibreCAD มีการใช้ คาสัง่ อีกทางหนึง่ โดยใช้ Command line นอกเหนือจากการใช้ คาสัง่ โดย
ทางเมนูหลัก(Main menu) และการใช้ คาสัง่ โดยการคลิกที่ไอคอนเครื่องมือ (Tool icon)ดังที่กล่าวมาแล้ ว การใช้ คาสัง่
โดยใช้ Command line เป็ นการโต้ ตอบกับโปรแกรมผ่านแป้นพิมพ์คอมพิวเตอร์ ซึง่ เราสามารถใช้ คาสัง่ ที่จะทางาน
เฉพาะและแม่นยาในตาแหน่งในแบบ เราสามารถเขียนเส้ นต่างๆ รูปสีเ่ หลีย่ ม วงกลม และอีกมากมาย Command line
ปรากฏขึ ้นบนพื ้นที่เขียนแบบของเราในLibreCAD

สังเกตมีกล่องถัดจากคาว่าCommand กล่องอันนี ้จะเป็ นที่ๆเราพิมพ์ รายงานของเรา เราสามารถทาได้ โดย


คลิกที่ข้างในกล่องนี ้ หรือพิมพ์ Ctrl +M หรือ<space> คาCommand จะเปลีย่ นเป็ นสีฟ้า เพื่อแสดงว่ามันพร้ อม
ทางานและรอคาสัง่ ของเรา

ตัวอย่ างการพิมพ์ คาสั่งในCommand line

Draw
Point พิมพ์ po, point
Line พิมพ์ l,li,line
Polyline พิมพ์ pl,polyline
Line Parallel พิมพ์ o,pa,offset,parallel
Arc 3 P พิมพ์ a , ar, arc
Circle พิมพ์ ci , circle
Line Rectangle พิมพ์ rec , rect, rectangle
M-Text พิมพ์ mtext
Text พิมพ์ text
167

View
Zoom Redraw พิมพ์ zr ,rg,regent, redraw
Zoom Window พิมพ์ zw
ZoomAuto พิมพ์ za
ZoomPan พิมพ์ zp
ZoomPrevious พิมพ์ zv

Edit
Edit Undo พิมพ์ u ,undo .oo
Edit Redo พิมพ์ r, redo , uu

Dimension
Dimaligned พิมพ์ da
DimLinearHor พิมพ์ dh
DimLinearVer พิมพ์ dv
DimLeader พิมพ์ ld

Modify
Modify Trim พิมพ์ xt ,rm
ModifyTrim2 พิมพ์ tm
Modify Move พิมพ์ mv
Modify Bevel พิมพ์ ch, fillet
Modify Mirror พิมพ์ mi
Modify Rotate พิมพ์ ro
Modify Scale พิมพ์ sz
Modify Stretch พิมพ์ ss
Modify Delete พิมพ์ er
Blocks Explode พิมพ์ Xp
168
169

You might also like